ALWAYS MOVING FORWARD TOGETHER
'6& 6 '4 N6 Č ä煄
'è-5 ./"5 618 A 1'ĘC2) 8ù N6 5 |%/6 }
3@6=.#=4%ó
I'ö%7%BQ L% >/1 #D%‡&/@ >/ ð3.L -Dï -=Q%*= %>‡6/ð> D ï>L7ð6= -
*=%$ @
‡ 1 #D%L% @ >/#AQ-AK9 >6I /@s ð>37%ð>
Â&#x2021; I*@Q- 3>-*B *9L Â&#x2021; L% >/6%=&6%D% >% >/ ð>J1<&/@ >/
Â&#x2021; *= %>63%9D!6>7 //-M'6Eï->!/ >%6> 1
Â&#x2021; 6ï I6/@-L7ð&/@5=#-A >/ V> =& EJ1 @ >/#AQ AÂ&#x2021; *= %>&D 1> /L7ð-A 3>-/EðÂ&#x2021; D $//-J1< /@.$//-Â&#x2021; !19 %/=&(@ 9&!ï96= -J1<6@Q J3 1ð9-
I'ë>7->.
Â&#x2021; .>.!=3#> $D/ @ 9.ï> .=Q .C%
ความภาคภูมิใจ
ได้รับรางวัลระดับนานาชาติ BEST THAILAND DEAL of the Year 2017 Saha Pathana Inter-Holding Public Company’s $2.902 billion restructuring of four listed entities into one จากนิตยสาร FinanceAsia
ได้รับรางวัลตราสารหนี้ยอดเยี่ยมแห่งปี 2560 ประเภท Most Innovation Deal จากสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย
ได้รับโล่เกียรติยศประชารัฐร่วมใจ จากโครงการประชารัฐร่วมใจเครือสหพัฒน์ ซึ่งบริษัทฯ ร่วมด�ำเนินโครงการประชารัฐผ่านโครงการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ และประชารัฐเพื่อสังคม ทางด้านการเกษตร ในโครงการ “เกษตรพอเพียง ดร.เทียม โชควัฒนา” และด้านคมนาคม ในโครงการ “ปลูกจิตส�ำนึกขับขี่ปลอดภัย”
สารบัญ
บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2560
ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน รายงานคณะกรรมการ รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน รายงานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและ บริหารความเสี่ยง
004 005 006 007
การประกอบธุรกิจ • นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ • วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย หรือกลยุทธ์ในการด�ำเนินงาน • การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ • โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท • ลักษณะการประกอบธุรกิจ • ปัจจัยความเสี่ยง • ข้อพิพาททางกฎหมาย
009 009
การจัดการ • ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น • โครงสร้างการจัดการ การก�ำกับดูแลกิจการ • นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ • คณะกรรมการชุดย่อย • การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูง • การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย และบริษัทร่วม • การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน • ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี • การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องอื่นๆ
008
010 011 017 021 041 044 045 045 050 066 067 096 107 112 112 113 114
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง รายงานระบบการควบคุมภายในด้านการบัญชี รายการระหว่างกัน การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีอนุญาต งบการเงิน ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น • การลงทุน
116 120 122 134 137 138 143 206 208
คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการบริหาร • คณะกรรมการบริษัท • คณะกรรมการบริหาร • ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร • กรรมการที่ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่มีรายการระหว่างกัน
211 214 215 232
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
234
ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้จาก แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th)
ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน
ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน 2560
2559
2558
6,733 4,253 3,794 3,165 35,130 29,320 4,968 10,401 9,080 24,729 1,075
4,575 2,244 1,932 1,698 25,126 19,916 4,643 2,638 1,760 22,488 972
4,211 1,848 1,528 1,317 23,185 18,021 4,266 2,731 1,800 20,454 851
63.16% 56.35% 47.01% 11.58% 13.41%
49.04% 42.24% 37.11% 7.07% 7.91%
43.89% 36.28% 31.28% 5.81% 6.62%
0.42 0.37 10.60
0.12 0.08 23.74
0.13 0.09 19.71
6.41 50.06 0.65 10.15%
3.44 45.52 0.45 13.10%
2.67 41.40 0.23 8.63%
1.00 75.00 494,034,300 37,053
1.00 33.00 494,034,300 16,303
1.00 24.20 494,034,300 11,956
งบการเงินรวม (ล้านบาท) รายได้รวม ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรก่อนดอกเบี้ย ภาษีเงินได้และค่าเสื่อมราคา ก�ำไรสุทธิ สินทรัพย์รวม เงินลงทุน อสังหาริมทรัพย์และสินทรัพย์ถาวร หนี้สินรวม หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจ่าย ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม กระแสเงินสดสุทธิจากการด�ำเนินงาน
ความสามารถในการท�ำก�ำไร (ร้อยละ) อัตราก�ำไรขั้นต้น อัตราก�ำไรก่อนดอกเบีย้ ภาษีเงินได้และค่าเสือ่ มราคา อัตราก�ำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นรวม
อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ อัตราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบี้ย
ข้อมูลต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น มูลค่าหุ้นตามบัญชี เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น* อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อก�ำไร (%)
ข้อมูลหลักทรัพย์ มูลค่าที่ตราไว้ (บาทต่อหุ้น) ราคาหุ้น (บาทต่อหุ้น) จ�ำนวนหุ้นสามัญช�ำระแล้ว (หุ้น) มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (ล้านบาท)
4
หมายเหตุ: ในปี 2560 บริษทั มีรายการพิเศษอันเนือ่ งมาจากการรับโอนกิจการบริษทั เพรซิเดนท์โฮลดิง้ จ�ำกัด เมือ่ วันที่ 8 มิถนุ ายน 2560 ดังนี้ 1) ก�ำไรจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน จ�ำนวน 1,015.17 ล้านบาท (812.14 ล้านบาท สุทธิจากภาษี) 2) ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อจ�ำนวน 817.65 ล้านบาท (654.12 ล้านบาท สุทธิจากภาษี) 3) ค่าธรรมเนียมที่ปรึกษาที่เกี่ยวข้องกับการรับโอนกิจการและการออกหุ้นกู้แปลงสภาพซึ่งเกิดขึ้นครั้งเดียวรวมเป็นจ�ำนวน 118.39 ล้านบาท (94.71 ล้านบาท สุทธิจากภาษี) * เงินปันผลจ่ายต่อหุ้นส�ำหรับปี 2560 ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2561 และน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 ในวันที่ 23 เมษายน 2561 เพื่ออนุมัติ
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
รายงานคณะกรรมการ
รายงานคณะกรรมการ เศรษฐกิจไทยปี 2560 ขยายตัวร้อยละ 3.9 โดยมูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 9.7 การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุน รวมขยายตัวร้อยละ 3.2 และร้อยละ 0.9 ตามล�ำดับ เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับเศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวอยู่ในเกณฑ์ดี อย่างไรก็ตามแม้ เศรษฐกิจโลกในภาพรวมจะดีขึ้น คณะกรรมการบริษัทยังคงค�ำนึงถึงปัจจัยที่ท้าทายต่างๆ และการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง จึงได้มีการ ด�ำเนินการอย่างระมัดระวัง โดยมีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ ปี 2560 เป็นปีแห่งการเริ่มต้นการเปลี่ยนแปลงของบริษัท เพื่อเตรียมพร้อมสู่การแข่งขันที่เพิ่มมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงที่ รวดเร็ว และการพัฒนาของเทคโนโลยีดิจิทัลที่อาจเข้ามาทดแทนรูปแบบธุรกิจปัจจุบันผ่านพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีทางเลือกมากขึ้น และซับซ้อนขึ้น บริษัทฯ ในฐานะบริษัท Holding ของกลุ่มสหพัฒน์ ได้เริ่มจากการปรับโครงสร้างการถือหุ้นในกลุ่มธุรกิจอาหาร ด้วยวิธี รับโอนกิจการทั้งหมด (Entire Business Transfer) จากบริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด รวมถึงการท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมด (Tender Offer) ของบริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท เพรซิเดนท์เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) โดยมีมูลค่าธุรกรรม ทั้งสิ้นกว่า 8 พันล้านบาท ทั้งนี้บริษัทฯ ได้จัดหาเงินทุนส่วนหนึ่ง โดยใช้เครื่องมือทางการเงินผ่านการออกหุ้นกู้แปลงสภาพเสนอขายต่อ ผู้ถือหุ้นเดิม แทนการออกหุ้นเพิ่มทุน สามารถชะลอผลกระทบที่มีต่อผู้ถือหุ้น (Dilution Effect) และลดต้นทุนการกู้ยืมด้วยอัตราดอกเบี้ย หุ้นกู้แปลงสภาพที่ต�่ำกว่าหุ้นกู้ปกติ และบริษัทฯ ยังคงได้รับการจัดอันดับเครดิตองค์กรที่ระดับ AA แนวโน้มอันดับเครดิตคงที่ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด ส�ำหรับผลประกอบการปี 2560 บริษทั ฯ มีรายได้ 6,733 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 47.2 มีกำ� ไรสุทธิ 3,171 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 86.8 ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากรายการพิเศษจากการท�ำธุรกรรมดังกล่าวข้างต้น ผลการด�ำเนินงานที่ดีขึ้นของธุรกิจที่บริษัทฯ ได้ลงทุน เมื่อ พิจารณาผลการด�ำเนินงาน ฐานะการเงินและสภาวะแวดล้อมต่างๆ คณะกรรมการบริษัทจึงมีมติเสนอที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 เพื่อพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี 2560 ในอัตราหุ้นละ 0.65 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 44.4 จากความร่วม มือ และการสนับสนุนของทุกภาคส่วน ส่งผลให้ในปี 2560 บริษัทฯ ได้รับรางวัลระดับนานาชาติ Best Thailand Deal of the Year 2017 จาก นิตยสาร FinanceAsia และรางวัล Best Bond Awards 2017 ประเภท Most Innovative Deal จากสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย อีกทั้งผลการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยอยู่ในระดับ “ดีมาก” และผลประเมินคุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ อยู่ในระดับ “ดีเลิศ” โดยบริษัทฯ ได้เต็ม 100 คะแนน เป็นปีที่ 9 ติดต่อกัน ปี 2561 ยังคงเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลง และมีความท้าทาย โดยบริษัทฯ ได้เตรียมแผนด�ำเนินการต่างๆ อาทิเช่น การประยุกต์ ใช้ Big Data ในการวิเคราะห์ข้อมูล การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ การบริหารสินทรัพย์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นรวมถึงการเตรียมความ พร้อมรองรับกระแสเงินลงทุนในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตามแผนยุทธศาสตร์ ไทยแลนด์ 4.0 คณะกรรมการบริษัท ขอขอบคุณผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นกู้ พันธมิตรทางธุรกิจ บริษัทคู่ค้า ลูกค้า ผู้บริหาร พนักงานทุกท่าน รวมถึง สถาบันการเงินทัง้ ในและต่างประเทศ หน่วยงานราชการ และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่สนับสนุนการด�ำเนินงานของบริษัทด้วยดีตลอดมา และ บริษัทฯ จะยังคงยึดถือแนวทางปฏิบัติที่ว่า “คนดี สินค้าดี สังคมดี” เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนตลอดไป
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
5
รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ผู้ถือหุ้น บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2560 ประกอบด้วย กรรมการอิสระ และไม่ได้เป็นผู้บริหาร จ�ำนวน 3 ท่าน มีคุณสมบัติตามข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมี นายนพพร พงษ์เวช เป็นประธานกรรมการ ตรวจสอบ นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต และ นางสาวนฤมล สอาดโฉม เป็นกรรมการตรวจสอบ มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 1 ปี ในปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม 12 ครั้ง โดย รายชื่อ ตำ�แหน่ง จำ�นวนครั้งที่เข้าร่วมประชมุ 1. นายนพพร พงษ์เวช ประธานกรรมการตรวจสอบ 12/12 2 พลต�ำรวจโทอัมรินทร์ เนียมสกุล กรรมการตรวจสอบ 4/4 (พ้นจากการด�ำรงต�ำแหน่ง วันที่ 25 เมษายน 2560) 3. นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต กรรมการตรวจสอบ 12/12 4. นางสาวนฤมล สอาดโฉม กรรมการตรวจสอบ 7/7 (เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง วันที่ 12 พฤษภาคม 2560) คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีภ่ ายใต้ขอบเขตและความรับผิดชอบที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั สรุปได้ดงั นี้ 1. สอบทานงบการเงินของบริษทั ทัง้ รายไตรมาสและประจ�ำปี 2560 ทีผ่ า่ นการสอบทานและตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีแล้ว งบการเงิน ได้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ได้รับฟังค�ำชี้แจง หารือ จากผู้สอบบัญชีและแผนกบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่างบการเงินดัง กล่าว มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง ตามข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย เพื่อปรึกษาหารือและแสดงความเห็น อย่างเป็นอิสระ 2. สอบทานระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง การปฏิบตั ติ ามนโยบายต่อต้านการคอร์รปั ชัน และให้ความเห็นชอบ แผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปี ติดตามผลการตรวจสอบภายใน ซึ่งแผนกตรวจสอบภายในได้ด�ำเนินงานไประหว่างปี เพื่อให้มั่นใจว่า บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ และเหมาะสมกับสภาพธุรกิจ และจากการทีไ่ ด้เปิดช่องทางการร้องเรียน ไม่พบว่ามีการร้องเรียน แต่อย่างใด 3. ประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชี เพือ่ สอบทานความเป็นอิสระ และผลการปฏิบตั งิ านการสอบบัญชี รวมทัง้ ความเห็นของผูส้ อบบัญชี ต่อระบบการควบคุมภายในด้านการบัญชีของบริษัท 4. พิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและก�ำหนดค่าสอบบัญชี ประจ�ำปี 2561 บริษัทมีนโยบายที่จะเปลี่ยนผู้สอบบัญชี และได้มี บริษัทสอบบัญชีเสนอการให้บริการและค่าสอบบัญชีแก่บริษัท คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาและคัดเลือกผู้สอบบัญชี โดยพิจารณา จากคุณสมบัติตามข้อบังคับบริษัท และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ความเป็นอิสระ มาตรฐานการ ท�ำงาน ผลงานทีผ่ า่ นมา ความสามารถในการรองรับปริมาณงานทีเ่ พิม่ ขึน้ และเปรียบเทียบอัตราค่าสอบบัญชีของบริษทั จดทะเบียนอืน่ ใน ระดับเดียวกันแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เป็นบริษัทสอบบัญชีที่สามารถรองรับปริมาณงานของ บริษัทที่เพิ่มขึ้นได้และมีค่าสอบบัญชีที่เหมาะสม โดยเห็นชอบให้เสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เป็นบริษัทสอบ บัญชีของบริษัท ประจ�ำปี 2561 เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาให้ความเห็นชอบ เพื่อขออนุมัติต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นต่อไป 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันรวมทั้งรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าการ ท�ำรายการต่างๆ ของบริษัท เป็นไปตามธุรกิจปกติ โปร่งใส เป็นธรรม และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท มีการเปิดเผยข้อมูลตามข้อ ก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 6. ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบอีกทั้งมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
6
( นายนพพร พงษ์เวช ) ประธานกรรมการตรวจสอบ รายงานประจำ � ปี 2 5 60
รายงานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
รายงานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน โดยมีกรรมการบริษัท จ�ำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย รายชื่อ ต�ำแหน่ง 1. นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 2. นายทนง ศรีจิตร์ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 3. นางสาวศิริกุล ธนสารศิลป์ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ได้ปฎิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งก�ำหนดไว้ใน กฎบัตร ดังนี้ ด้านการสรรหา มีหน้าที่ สรรหาบุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสม เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั โดยพิจารณาจากพืน้ ฐานความ เชีย่ วชาญทีต่ รงกับความต้องการของบริษทั มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ภาวะผูน้ ำ � วิสยั ทัศน์ คุณธรรมและจริยธรรม รวมทัง้ มี คุณสมบัติ และไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ประกาศทีเ่ กีย่ วข้อง และข้อบังคับของบริษทั เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั มีกระบวนการสรรหา บุคคลเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั อย่างโปร่งใส ทัง้ นี้ ได้มกี ารวิเคราะห์ทกั ษะ ประสบการณ์ ความรู้ และความเชีย่ วชาญเฉพาะด้านของ คณะกรรมการบริษทั (Board Skill Matrix) และได้พจิ ารณารายชือ่ บุคคลทีม่ คี วามสามารถในการเป็นกรรมการบริษทั จดทะเบียนจากฐานข้อมูล กรรมการ (Director Pool) และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ให้ความเห็นชอบ ก่อนทีจ่ ะเสนอให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ อนุมตั ิ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยมีสว่ นร่วมในการเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เป็นกรรมการบริษทั ล่วงหน้า ก่อนวันประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ปรากฎว่าใน ปี 2560 ไม่มผี ถู้ อื หุน้ เสนอชือ่ บุคคล เพือ่ รับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการบริษทั แต่อย่างใด ด้านการก�ำหนดค่าตอบแทน มีหน้าที่ พิจารณาหลักเกณฑ์ในการจ่าย และรูปแบบค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท เพื่อให้มั่นใจ ว่าบริษัทมีการพิจารณาค่าตอบแทนอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม ในปี 2560 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 2 ครั้ง ดังนี้ ด้านการสรรหา คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ได้มกี ารสรรหากรรมการบริษทั แทนกรรมการบริษทั ทีต่ อ้ งออกตาม วาระ โดยคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนไม่รวมกรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสีย ได้พจิ ารณาคุณสมบัตขิ องบุคคลที่ได้รบั การเสนอ ชื่อเพื่อเป็นกรรมการบริษัทแทนกรรมการบริษัทที่ต้องออกตามวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 โดยพิจารณากรรมการบริษัท ที่ครบวาระ จ�ำนวน 4 ท่านคือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา นายส�ำเริง มนูญผล นางสาวศิริกุล ธนสารศิลป์ และนายพิพัฒ พะเนียงเวทย์ ซึ่งมีคุณสมบัติและความเชี่ยวชาญตรงกับความต้องการของบริษัท กลับเข้าเป็นกรรมการบริษัทอีกวาระหนึ่ง และได้พิจารณาสรรหาและ เสนอชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละความเชีย่ วชาญตรงกับความต้องการของบริษทั อีก 2 ท่าน คือ นายนิพนธ์ พัวพงศกร และนางสาวนฤมล สอาดโฉม เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทแทน นายอะกิระ มูราโคชิ กรรมการบริษัทที่ลาออก และพลต�ำรวจโทอัมรินทร์ เนียมสกุล กรรมการบริษัทที่ครบก�ำหนดออกตามวาระและไม่ประสงค์ขอกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทอีก ด้านการก�ำหนดค่าตอบแทน ได้พิจารณาหลักเกณฑ์ในการจ่ายและรูปแบบค่าตอบแทน รวมทั้งพิจารณาวงเงินค่าตอบแทนและ การจัดสรรค่าตอบแทนจ่ายให้แก่กรรมการบริษัท ในการท�ำหน้าที่ คือ หน้าที่กรรมการบริษัท หน้าที่กรรมการตรวจสอบ หน้าที่กรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และหน้าที่กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 46 เพื่อ อนุมัติ โดยบริษัทฯ ได้เปิดเผยค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทเป็นรายบุคคล ไว้ในรายงานประจ�ำปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำ ปี (แบบ 56-1) นอกจากนี้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนมีการทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนเป็น ประจ�ำทุกปี เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีขอบเขตความรับผิดชอบทีช่ ดั เจน และให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั ิ งานของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
(นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ) ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
7
รายงานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง
รายงานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง โดยมีกรรมการจ�ำนวน 5 ท่าน ประกอบด้วย รายชื่อ ต�ำแหน่ง 1. นายนพพร พงษ์เวช ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง 2. นายทนง ศรีจิตร์ กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง 3. นายวิชัย กุลสมภพ กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง 4. นางดรุณี สุนทรธ�ำรง กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง 5. นายชูโต จิระคุณากร กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง มีประธานกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง เป็นกรรมการอิสระ ได้ปฏิบตั ิ หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งก�ำหนดไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง โดย มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการก�ำกับดูแลและติดตามการด�ำเนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และมีการจัดการ ความเสีย่ งให้อยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ ตลอดจนให้คำ� แนะน�ำต่าง ๆ เพือ่ ให้การด�ำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย เป็นการสร้างมูลค่าเพิม่ ทาง ธุรกิจ ความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน ในปี 2560 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง มีการประชุม จ�ำนวน 2 ครั้ง เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย สรุปได้ดังนี้ 1. อนุมัติแต่งตั้งคณะท�ำงานด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะท�ำงานด้านการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี ซึ่งเป็นการรวมคณะท�ำงานย่อย 3 คณะ คือ คณะท�ำงานด้านธรรมาภิบาลและต่อต้านการคอร์รัปชัน คณะท�ำงานด้าน การบริหารความเสี่ยงและคณะท�ำงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นคณะเดียว เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการท�ำหน้าที่ สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง 2. ให้ความเห็นชอบการน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2560 (Corporate Governance Code : CG Code) ไปปรับใช้ตามบริบททางธุรกิจของบริษทั โดยได้ศกึ ษาและรับฟังค�ำบรรยายหลักปฏิบตั ติ าม CG Code จนเข้าใจประโยชน์ และหลักปฏิบัติในการน�ำไปใช้สร้างคุณค่าให้องค์กรอย่างยั่งยืนเป็นอย่างดีแล้ว และได้ประเมินการปฏิบัติตามหลักปฏิบัติใน CG Code แต่ละข้อ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีกระบวนการที่ได้ปรับใช้หรือมีแผนพัฒนาให้เหมาะสมกับธุรกิจแล้วและได้นำ� เสนอคณะกรรมการ บริษัทอนุมัติ ก่อนเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) 3. พิจารณาร่วมกับคณะท�ำงานด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในเรื่องปัจจัยความเสี่ยงและแผนจัดการลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ ตลอดจนมีการติดตามและให้ค�ำแนะน�ำเพื่อให้การด�ำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย 4. สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการจัดท�ำรายงาน SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5. ก�ำกับดูแลและติดตามให้บริษทั ฯ มีการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี มีระบบการควบคุมภายใน และการบริหารจัดการ ความเสีย่ งทีเ่ พียงพอและเหมาะสมกับสภาพการด�ำเนินงานในปัจจุบนั ส่งผลให้บริษทั ฯ ได้รบั ผลการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการ ในระดับ “ดีมาก” ได้รับผลการประเมินคุณภาพการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560 อยู่ในระดับ “ดีเลิศ” ด้วยคะแนนเต็ม 100 มาอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 9 ติดต่อกัน และได้รับโล่เกียรติยศประชารัฐร่วมใจ จากโครงการประชารัฐร่วมใจเครือสหพัฒน์ ซึ่งบริษัทฯ ร่วมด�ำเนินโครงการประชารัฐผ่านโครงการยกระดับคุณภาพวิชาชีพและประชารัฐเพื่อสังคม ทางด้านการเกษตร ในโครงการ “เกษตรพอเพียง ดร. เทียม โชควัฒนา” และด้านคมนาคม ในโครงการ “ปลูกจิตส�ำนึกขับขี่ปลอดภัย” 6. ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง และประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการธรรมาภิบาล และบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร ก�ำกับดูแลและติดตามให้ บริษัทฯ มีการด�ำเนินธุรกิจ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มีการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน มีการบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมทั้งมีระบบการ ควบคุมภายในที่เพียงพอ โดยมีหน่วยงานตรวจสอบภายในท�ำหน้าที่ตรวจสอบ และมีคณะกรรมการตรวจสอบท�ำหน้าที่สอบทานในเรื่อง ดังกล่าว คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงมุ่งมั่นที่จะพัฒนาด้านการก�ำกับดูแลกิจการและระบบการควบคุมภายในอย่าง ต่อเนือ่ ง ซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญในการด�ำเนินงานให้มปี ระสิทธิภาพ และได้รบั ความไว้วางใจจากผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ อันเป็นการสร้างคุณค่า ให้กิจการอย่างยั่งยืน
8
( นายนพพร พงษ์เวช ) ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ปัจจุบันบริษัทฯ มีการประกอบธุรกิจหลัก 3 ประเภท ดังต่อไปนี้
ธุรกิจการลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ บริษทั ฯ ลงทุนในหุน้ บริษทั ต่างๆ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่บริษทั ฯ ในระยะยาว กิจการทีบ่ ริษทั ฯ ลงทุนจะประกอบ ธุรกิจที่เสริมกับธุรกิจที่บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ด�ำเนินการอยู่ หรือเป็นธุรกิจที่บริษทั ฯ คาดว่าจะเข้าไปด�ำเนินการในอนาคต เนื่องจากเล็งเห็น ถึงศักยภาพในการท�ำก�ำไร โดยบริษัทฯ จะได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล กิจการที่บริษัทฯ เข้าลงทุน ประกอบด้วย 3 สายธุรกิจ หลัก คือ สายธุรกิจการผลิต สายธุรกิจจัดจ�ำหน่าย และสายธุรกิจบริการและอื่นๆ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวนบริษัทที่บริษัทฯ ได้เข้าลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 158 บริษัท จ�ำนวนบริษัท
มูลค่าเงินลงทุนสุทธิ หน่วย : พันบาท
1. สายธุรกิจการผลิต 2. สายธุรกิจจัดจ�ำหน่าย
81 25
20,862,359 6,998,130
3. สายธุรกิจบริการและอื่นๆ รวม
52 158
1,459,535 29,320,024
สายธุรกิจ
ธุรกิจการให้เช่าและบริการ บริษทั ฯ เป็นผูด้ ำ� เนินการเองในส่วนของการให้เช่าและบริการ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ รองรับการขยายตัวและเพิม่ ศักยภาพในด้านการ แข่งขันให้กับบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ เป็นการให้บริการเช่าที่ดิน อาคาร และให้บริการด้านระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน โดยบริษัทฯ ได้รับ ค่าตอบแทนในรูปค่าเช่ารับ และค่าบริการสาธารณูปโภครับนั้นๆ รวมทั้ง การให้บริการไฟฟ้าและไอน�้ำแก่บริษัทที่อยู่ในสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ ศรีราชา นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เพิ่มธุรกิจให้บริการโรงแรมและสนามกอล์ฟ โดยได้รับค่าตอบแทนในรูปค่าบริการห้องพัก ค่าธรรมเนียมการใช้สนามกอล์ฟ ค่าอาหารและเครือ่ งดืม่ ฯลฯ บริษทั ฯ ยังเป็นตัวกลางในการติดต่อขอลิขสิทธิแ์ ละเครือ่ งหมายการค้าของ ผลิตภัณฑ์ทมี่ ชี อื่ เสียงจากต่างประเทศ และให้สทิ ธิบริษทั กลุม่ สหพัฒน์ใช้เครือ่ งหมายการค้าเหล่านัน้ เช่น Guy Laroche, ELLE, Absorba โดยได้รับค่าตอบแทนในรูปของ ค่าลิขสิทธิ์รับ (Royalty Fees) ส�ำหรับเครื่องหมายการค้าในประเทศที่บริษัทฯ เป็นเจ้าของ บริษัทฯ ได้ทำ� สัญญายินยอมให้บริษทั กลุม่ สหพัฒน์ใช้เครือ่ งหมายการค้าดังกล่าว เพือ่ ท�ำการผลิตและจ�ำหน่ายสินค้าภายใต้เครือ่ งหมายการค้านัน้ ๆ โดยได้รับค่าตอบแทนในรูปค่าเครื่องหมายการค้ารับ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ให้บริการด้านการให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ วางแผนด้านธุรกิจ การจัดการและการด�ำเนินโครงการใหม่ๆ การจัดหาช่องทางการจัดจ�ำหน่ายสินค้าแก่บริษทั กลุม่ สหพัฒน์ โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้รบั ค่าตอบแทนในรูปค่าปรึกษารับ และค่าบริการรับ
ธุรกิจสวนอุตสาหกรรม บริษัทฯ ได้ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรก เพื่อรองรับการขยายก�ำลังการผลิตของโรงงาน ของบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ และเป็นการสนองต่อนโยบายของรัฐบาลในการสนับสนุนการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมให้กระจายออกไป ยังส่วนภูมิภาค อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีนโยบายเพิ่มการจ�ำหน่ายที่ดินให้แก่บุคคลภายนอก เพื่อให้มีรายรับจากการขายพื้นที่เพิ่มขึ้น ปัจจุบัน บริษัทฯ มีสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ที่ด�ำเนินการอยู่ 4 แห่ง ในเขตพื้นที่ อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน และอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ซึ่งปัจจุบัน จังหวัดตาก จัดเป็นพื้นที่เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
9
การประกอบธุรกิจ
2. วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมายหรือกลยุทธ์ ในการดำ�เนินงาน คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงความส�ำคัญในการด�ำเนินงานของบริษทั โดยได้กำ� หนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของบริษทั เพือ่ ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน มีจุดมุ่งหมายในการด�ำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีนโยบายที่จะพิจารณาทบทวนเป็นประจ�ำ ทุกปี ในปี 2560 บริษัทฯ ได้ทบทวนแล้วเห็นว่า วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ยังมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และสอดคล้องกับนโยบายการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท
วิสัยทัศน์ (VISION) และพันธกิจ (MISSION) ของบริษัท
คณะกรรมการบริษัท ได้มีการก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของบริษัท เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการด�ำเนินธุรกิจ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
วิสัยทัศน์ (VISION)
“เป็นหนึ่งในการลงทุน บริการด้วยใจ มุ่งมั่นพัฒนา สร้างคุณค่าให้สังคม”
พันธกิจ (MISSION) • ลงทุนในกิจการที่มีโอกาสเจริญก้าวหน้า • เพิ่มความพึงพอใจในการสนับสนุนงานการค้าและบริการ • พัฒนาสวนอุตสาหกรรมไปสู่มาตรฐานสากล • ส่งเสริมให้บริษทั มีการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี พัฒนาบุคลากรให้มคี วามรู้ คุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย (TARGET)
ขยายตัวทางธุรกิจอย่างยั่งยืน
ในปี 2561 คณะกรรมการบริษัทได้มีการทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของบริษัท เพื่อให้สอดคล้องกับการด�ำเนินธุรกิจ ในปัจจุบัน จึงได้มีการก�ำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของบริษัท โดยมีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะ วิสัยทัศน์ เป็นดังนี้ วิสัยทัศน์ (VISION) “เป็นหนึ่งในการลงทุน บริการด้วยใจ มุ่งมั่นพัฒนา สร้างคุณค่าให้กิจการอย่างยั่งยืน” จากวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายดังกล่าว บริษทั ฯ ได้กำ� หนดกลยุทธ์หลักในการขับเคลือ่ นบริษทั ฯ สูค่ วามยัง่ ยืน โดยคณะกรรมการ บริษัท ได้ก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินธุรกิจ ภายใต้กลยุทธ์องค์กร ส�ำหรับปี 2560 ดังนี้ 1. ด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ มุ่งพัฒนาด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการบริษัทตระหนักถึง บทบาทหน้าที่ในฐานะผู้น�ำขององค์กร และมอบให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง ศึกษา รับฟังค�ำบรรยายหลักปฏิบัติ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 (Corporate Governance Code : CG Code) จนเข้าใจประโยชน์และ หลักปฏิบตั ิในการน�ำไปใช้สร้างคุณค่าให้กจิ การอย่างยัง่ ยืนเป็นอย่างดีแล้ว และคณะกรรมการบริษทั ได้ประเมินการปฏิบตั ติ ามหลักปฏิบตั ิ ใน CG Code แต่ละข้อเพื่อให้มั่นใจว่ามีกระบวนการที่ได้ปรับใช้หรือมีแผนพัฒนาให้เหมาะสมกับธุรกิจแล้ว 2. ด้านการลงทุน บริษทั ฯ ได้ขยายการลงทุนในกลุม่ ธุรกิจอาหาร ซึง่ มีแนวโน้มการเติบโตอย่างยัง่ ยืน บริษทั ฯ ได้รบั โอนกิจการทัง้ หมด จาก บริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (PH) ซึ่งเป็นบริษัทที่ถือหุ้นใหญ่ในธุรกิจอาหาร รวมทั้งการท�ำค�ำเสนอซื้อในหลักทรัพย์ทั้งหมด ใน บริษัท เพรซิเดนท์ ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) (PR) และ บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) (PB) อันเป็นผลมาจากการ
10
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
รับโอนกิจการทั้งหมดจาก PH ซึ่งเป็นการเพิ่มสัดส่วนการลงทุนในธุรกิจอาหาร จากการรับโอนกิจการครั้งนี้ บริษัทฯ ได้รับรางวัล “BEST THAILAND DEAL Saha Pathana Inter-Holding Public Company’s $2.902 billion restructuring of four listed entities into one” นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้เข้าร่วมลงทุนในบริษัท อเมริกันฟู้ด จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ผลิตไอศกรีมภายใต้เครื่องหมายการค้า BUD’s และ เพิ่มสัดส่วนการลงทุนใน บริษัท เคนมินฟู้ดส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตอาหารที่ท�ำจากข้าวและแป้ง 3. ด้านสวนอุตสาหกรรม บริษทั ฯ มุง่ เน้นการพัฒนาพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมทีม่ อี ยูแ่ ล้ว สูเ่ มืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (ECO Industrial Town) และยกระดับโครงการประชารัฐ (โครงการเกษตรพอเพียง ดร.เทียม โชควัฒนา จังหวัดล�ำพูน) ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาของ รัฐบาลและโครงการสนับสนุน เช่น การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC), โครงการ พัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อเสริมสร้างให้ชุมชนในท้องถิ่นมีรายได้ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้กับสังคมโดยรอบมีคุณภาพชีวิตที่ดี สภาพแวดล้อมดี มีรายได้เติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ การพัฒนาบุคลากรและพื้นที่ให้เติบโตอย่างยั่งยืน บริษัทฯ ยึดหลักการบริหาร ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมให้สอดคล้องกับหลัก Global Reporting Initiative : GRI standard 2018 และด�ำเนินกิจการภายใต้นโยบาย “คนดี สินค้าดี สังคมดี” โดยคณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงเป็นผู้รับผิดชอบ การด�ำเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยยึดมั่นวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นเรื่องการประกอบธุรกิจควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม และการอยู่ร่วมกับชุมชนอย่างยั่งยืน
3. การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำ�คัญ บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2515 ในนาม บริษัท สหพัฒนาอินเวสเมนต์ จ�ำกัด ด้วยทุนจดทะเบียน 6 ล้านบาท ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 582,923,188 บาท ทุนที่เรียกช�ำระแล้ว 494,034,300 บาท ประกอบธุรกิจหลัก 3 ประเภท คือ ธุรกิจการลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ ธุรกิจการให้เช่าและบริการ และธุรกิจ สวนอุตสาหกรรม ปี 2515 - เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 10,000,000 บาท ปี 2516 - เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 40,000,000 บาท ปี 2517 - ก่อตั้งโครงการสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ณ จังหวัดชลบุรี ปี 2520 - เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปี 2521 - เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 60,000,000 บาท ปี 2526 - เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 120,000,000 บาท ปี 2527 - เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด ปี 2529 - เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 240,000,000 บาท ปี 2531 - เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 350,000,000 บาท ปี 2532 - ก่อตั้งโครงการสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี และโครงการสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน - เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 800,000,000 บาท ปี 2537 - วันที่ 9 พฤษภาคม จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน จ�ำกัด ปี 2546 - เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นสามัญจากเดิมหุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นละ 1 บาท ปี 2547 - ย้ายส�ำนักงานใหญ่จากเลขที่ 2156 ถนนเพชรบุรตี ดั ใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ไปยังเลขที่ 530 ซอยสาธุประดิษฐ์ 58 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 ปี 2550 - จดทะเบียนเพิม่ สาขาที่ 4 เลขที่ 196 หมูท่ ี่ 11 ต�ำบลวังดาล อ�ำเภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นการเพิม่ ธุรกิจ ให้บริการสนามกอล์ฟ โดยใช้ชื่อว่า สนามกอล์ฟกบินทร์บุรี สปอร์ตคลับ ปี 2552 - จดทะเบียนเพิม่ สาขาที่ 5 เลขที่ 269 หมูท่ ี่ 15 ต�ำบลแม่กาษา อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เป็นการขยายธุรกิจไปยัง อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ปี 2557 - จดทะเบียนเพิ่มสาขาที่ 6 เลขที่ 1 หมู่ที่ 6 ต�ำบลสุรศักดิ์ อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นการเพิ่มธุรกิจให้บริการ ศูนย์การค้า (Shopping Mall) โดยใช้ชื่อ J-Park Sriracha Nihon Mura - ธุรกิจโรงแรม เคบีเอสซี ตัง้ อยู่ในเขตพืน้ ที่ ต�ำบลวังดาล อ�ำเภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุร ี ซึง่ เป็นทีพ่ กั แห่งเดียว ในจังหวัดปราจีนบุรี ที่ตั้งอยู่ภายในสนามกอล์ฟ บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
11
การประกอบธุรกิจ
ปี 2559 - ปี 2560 -
ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559 อนุมัติให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ มูลค่าเงินต้นรวมของหุ้นกู้ ไม่เกิน 15,000 ล้านบาท โดยเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 บริษัทฯ ได้ออกและ เสนอขายหุ้นกู้ จ�ำนวน 2 ชุด มูลค่ารวม จ�ำนวน 2,000 ล้านบาท ชุดที่ 1 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี 2563 มูลค่า 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ 2.39% ต่อปี ชุดทื่ 2 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี 2567 มูลค่า 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ 3.44% ต่อปี รับโอนกิจการทั้งหมดของ บริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด และ การท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดใน บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) จากการรับ โอนกิจการดังกล่าว บริษัทฯ ได้รับรางวัล “BEST THAILAND DEAL Saha Pathana Inter-Holding Public Company’s $2.902 billion restructuring of four listed entities into one” จากนิตยสาร FinanceAsia - ออกหุ้นกู้แปลงสภาพครั้งที่ 1/2560 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2567 ซึ่งมีข้อก�ำหนดบังคับแปลงสภาพโดยมี มูลค่ารวมทั้งสิ้น 3,505 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ 0.7% ต่อปี และบริษัทฯ ได้รับรางวัล Most Innovative Deal จากสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย - ลดทุนจดทะเบียน จากเดิมทุนจดทะเบียน 800,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียน 494,034,300 บาท โดยการ ตัดหุ้นที่ยังไม่ได้ออกจ�ำหน่ายของบริษัท - เพิ่มทุนจดทะเบียน จากเดิมทุนจดทะเบียน 494,034,300 บาท เป็นทุนจดทะเบียน 582,923,188 บาท เพื่อ รองรับการออกหุ้นกู้แปลงสภาพ
ด้านสิ่งแวดล้อม ปี 2537 - ปี 2545 - ปี 2546 - ปี 2549 - ปี 2550 - ปี 2551 - ปี 2552 - - - - 12
ระบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ส่ ว นกลางที่ ส วนอุ ต สาหกรรมเครื อ สหพั ฒ น์ ศรี ร าชา ได้ รั บ เกี ย รติ บั ต รจากชมรม สภาวะแวดล้อม สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บรุ ี ล�ำพูน ได้เริม่ น�ำระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 ด้านการ พัฒนาที่ดินและบริการสาธารณูปโภคพื้นฐานมาใช้ สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บรุ ี ล�ำพูน ได้ผา่ นการตรวจรับรอง ISO 9001:2000 จากสถาบัน รับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ ด้านการพัฒนาที่ดินและบริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บรุ ี พัฒนาพืน้ ทีว่ า่ งเปล่าให้เกิดประโยชน์ โดยจัดสร้างสนามกอล์ฟ ขนาด มาตรฐาน 18 หลุม เพื่อรองรับปริมาณน�้ำใช้ที่ผ่านการบ�ำบัดแล้วเข้ามาใช้ประโยชน์ได้ในปริมาณมาก สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา เข้าร่วมโครงการยกระดับมาตรฐาน ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม ด้วยระบบ การจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001 สนับสนุนโดย กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และสถาบัน รับรองมาตรฐานไอเอสโอ สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รบั การรับรองระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001:2004 ของระบบ Central Wastewater Treatment จาก TUVNORD (Thailand) Ltd. ตามใบ Certificate Registration No. 44 104 082444 วันที่ 20 สิงหาคม สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ได้รับการรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004 ของ ระบบ Central Wastewater Treatment จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับเกียรติบัตรจากกระทรวงอุตสาหกรรมให้เป็นสถานประกอบ การอุตสาหกรรม ทีป่ ฏิบตั ติ ามมาตรฐานความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม พ.ศ. 2552 ( Standard for Corporate Social Responsibility ( CSR-DIW) B.E. 2552 ) สวนอุ ต สาหกรรมเครื อ สหพั ฒ น์ ศรี ร าชา ได้ รั บ การรั บ รองระบบการจั ด การมาตรฐานแรงงานไทย (มรท.8001-2546) ระดับสมบูรณ์ ขั้นริเริ่มจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลางที่สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา และ กบินทร์บุรี ได้รับเกียรติบัตรจาก กระทรวงอุตสาหกรรมให้เป็นสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่ด�ำเนินงานตามหลักเกณฑ์ธรรมาภิบาล สิ่งแวดล้อม
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
- ปี 2553 - ปี 2554 - ปี 2555
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บุรี ล�ำพูน ได้ผ่านการตรวจรับรอง ISO 9001:2000 จาก สถาบัน รับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ ด้านการพัฒนาที่ดินและบริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน ได้ยกระดับเป็น ISO 9001:2008 สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บรุ ี ได้รบั การรับรองระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001:2004 ของระบบ Central Wastewater Treatment จากส�ำนักรับรองระบบคุณภาพ (สรร.) สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว) และได้รบั เกียรติบตั รจากกระทรวงอุตสาหกรรม ให้เป็นสถานประกอบการ อุตสาหกรรมที่ปฏิบัติตามมาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม พ.ศ. 2553 (Standard for Corporate Social Responsibility (CSR-DIW) B.E. 2553 ) สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับประกาศนียบัตรจากกระทรวงอุตสาหกรรมในส่วนของระบบ บ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลาง ให้เป็นระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียรวมที่ได้รบั มาตรฐานโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม “ระดับ เหรียญทอง” ภายใต้ “โครงการยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสีย” ประจ�ำปีงบประมาณ 2554 - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ได้รบั เกียรติบตั รจากกระทรวงอุตสาหกรรมให้เป็นสถานประกอบการ อุตสาหกรรม ที่ปฏิบัติตามมาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม พ.ศ. 2554 (Standard for Corporate Social Responsibility (CSR-DIW) B.E. 2554) - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี ได้รับเกียรติบัตรจากศูนย์ปฎิบัติการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดปราจีนบุรี ให้เป็นนิคมอุตสาหกรรมสีขาวป้องกันยาเสพติด ประจ�ำปี พ.ศ. 2554 - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ได้รับประกาศนียบัตร จากกระทรวงอุตสาหกรรมในเรื่องของการปฎิบัติตาม มาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง พ.ศ. 2555 (Standard for Corporate Social Responsibility (CSR-DIW) B.E. 2555) CSR-DIW Continuous Award - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา และล�ำพูน ได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงอุตสาหกรรม ให้เป็น สมาชิกเครือข่าย CSR-DIW Network ตามมาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อ สังคม Standard for Corporate Social Responsibility (CSR-DIW Network Center) - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับมอบประกาศเกียรติคุณจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้ผ่าน เกณฑ์การตรวจประเมินตาม โครงการระบบการจัดการพลังงาน (EnMS-DIW) ในส่วนของระบบบ�ำบัดน�้ำ เสียส่วนกลาง (Central Wastewater Treatment) ภายใต้โครงการตรวจประเมิน เพื่อรองรับระบบการจัดการ พลังงานตามมาตรฐานสากล (ISO 50001:2011) โดยได้ดำ� เนินการจัดท�ำรูปแบบการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ลง 5% เมื่อเทียบกับค่าไฟฟ้า ปี 2554 - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บุรี และล�ำพูน ได้รับการรับรองระบบอย่างต่อเนื่อง จาก การบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน เลขที่ มอก. 9001-2552 (ISO 9001:2008) ขอบข่ายการรับรอง “การพัฒนาที่ดินและการให้บริการระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน” โดยสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ (Management System Certification Institute (Thailand), Foundation For Industrial Development) - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับการรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004 จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว) ภายใต้ขอบข่ายการดูแลระบบบ�ำบัดน�้ำ เสียส่วนกลาง - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รบั รางวัลดีเด่นนวัตกรรมเทคโนโลยีสเี ขียว “Green Industrial Park” - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับมอบโล่รางวัลดีเด่นด้าน Green Industrial Park จากกรม โรงงานอุตสาหกรรม วันที่ 12 กรกฎาคม - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา และกบินทร์บุรี ได้ร่วมด�ำเนินการเข้าสู่โครงการการพัฒนา อุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพืน้ ที่ (Eco Industrial Complex) ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ได้ด�ำเนินการจัดท�ำพื้นที่ไร่นาสวนผสม ภายใต้ “โครงการเศรษฐกิจ พอเพียง ดร.เทียม โชควัฒนา จังหวัดล�ำพูน” ให้เป็นศูนย์การเรียนรูค้ วามสมดุลระหว่างการเกษตรกรรมและ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ตลอดจนถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ชุมชนโดยรอบพื้นที่สวนอุตสาหกรรม บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
13
การประกอบธุรกิจ
ปี 2556 - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับการรับรองจากสถาบันรับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ เป็นกลุ่ม อุตสาหกรรมหรือนิคมอุตสาหกรรมแห่งแรกในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO 50001:2011 - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ได้รับการรับรองมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2008 แบบ Multisite รวม 3 แห่ง คือ ศรีราชา กบินทร์บุรี ล�ำพูน จาก สถาบันส�ำนักรับรองระบบคุณภาพ (สรร.) สังกัดสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว) ซึ่งเป็นปีแรกส�ำหรับการขอการรับรองใน รูปแบบ Multisite - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บุรี ล�ำพูน มีการเพิ่มปริมาณการน�ำน�้ำรีไซเคิลกลับมาใช้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุดในพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นจากเดิม เพื่อลดปริมาณการทิ้งน�้ำเสียลงสู่แหล่งน�้ำสาธารณะ - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับมอบรางวัล “ความร่วมมือในการอนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น�้ำเป็น อย่างดี” ประจ�ำปี 2556 จากกระทรวงอุตสาหกรรม - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา และล�ำพูน ได้รับเกียรติบัตรจาก กระทรวงอุตสาหกรรม ในเรื่อง ของการปฎิบัติตามมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง CSR-DIW Continuous Award 2013 ภายใต้โครงการส่งเสริมโรงงานอุตสาหกรรมทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคม ให้ยกระดับสูว่ ฒ ั นธรรมและเครือข่าย สีเขียวอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ปี 2557 - บริษทั ฯ ได้รบั รางวัล CSR Recognition ประจ�ำปี 2557 ประเภทรางวัล Rising Star จัดขึน้ โดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ซึง่ เป็นประกาศเกียรติคณ ุ ทีแ่ สดงถึงความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาองค์กรสูค่ วามยัง่ ยืน และให้ความ ส�ำคัญกับการด�ำเนินธุรกิจอย่างสมดุล ในมิติด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา และกบินทร์บรุ ี เข้าร่วม “โครงการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town)” โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับคัดเลือกจาก มหาวิทยาลัยกริฟฟิธ ประเทศออสเตรเลีย สาขา วิศวกรรมศาสตร์ ในการเข้าร่วมโครงการวิจยั เรือ่ ง “การศึกษาอรรถประโยชน์จากการด�ำเนินงานด้านสุขภาพ และความปลอดภัย ในการพัฒนาโครงการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บรุ ี เข้าร่วม “โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการน�ำ้ ในโรงงาน อุตสาหกรรม” โดยอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี น�ำหลัก 3R มาใช้ในการบริหารจัดการน�ำ้ ภายในโรงงาน - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี เข้าร่วม “โครงการยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสียประจ�ำ ปี 2557” โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อตรวจสอบและให้ค�ำแนะน�ำในการจัดการของเสีย - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บุรี และล�ำพูน ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบบริหารงาน คุณภาพ ISO 9001:2008 จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอและมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004 แบบ Multisite จากสถาบันรับรองระบบคุณภาพ (วว.) รวมถึงสวนอุตสาหกรรมเครือสห พัฒน์ ศรีราชา ยังคงรักษามาตรฐานการจัดการด้านพลังงาน ISO 50001:2011 อย่างต่อเนื่อง - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ได้รบั รางวัล CSR-DIW Continuous Award 2014 จัดขึน้ โดย กระทรวง อุตสาหกรรม ถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ชุมชน และบรรษัทภิบาล - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ได้รบั การรับรองจากกระทรวงอุตสาหกรรม ให้เป็นสถานประกอบการ อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 3 ซึ่งเป็นการบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ มีการติดตามประเมิน ผล และทบทวนเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ปี 2558 - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับการรับรองเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 3 จากกระทรวง อุตสาหกรรม โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และประกอบกิจการด้วยความรับผิดชอบต่อ สังคม - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้เข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมให้โรงงานภายในสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ เข้าสู่การรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวโครงการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (จังหวัด ปทุมธานี จังหวัดชลบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดสระบุรี) ประจ�ำปีงบประมาณ 2558 ของ กระทรวงอุตสาหกรรม 14
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
- สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ศึกษาการบริหารจัดการกากอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบถูกต้องตามหลักวิชาการและกฎหมาย จากกากตะกอน เพื่อผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ตามมาตรฐานของกรมวิชาการเกษตร - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บรุ ี และล�ำพูน ได้รบั การรับรอง ISO 9001:2008 จากสถาบัน รับรองมาตรฐานไอเอสโอ และได้มีการเปลี่ยนผู้ให้การรับรองเป็นสถาบันรับรองระบบคุณภาพ (วว.) - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี เข้าร่วมกิจกรรมโครงการตามแผนแม่บทการพัฒนาเข้าสู่เมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จังหวัดปราจีนบุรี - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บรุ ี ได้รบั เกียรติบตั รจากการเข้าร่วม “โครงการส่งเสริมและพัฒนาการ บริหารจัดการน�้ำในโรงงานอุตสาหกรรม” โดยอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี เพื่อส่งเสริมให้โรงงานในเขต จังหวัดปราจีนบุรี น�ำหลัก 3R มาใช้ในการบริหารจัดการน�้ำภายในโรงงาน - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี ได้รับโล่รางวัลมาตรฐานโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม “ระดับ เหรียญทอง” จากการบันทึกข้อตกลงโครงการยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสีย ประจ�ำปี 2557 โดยกรม โรงงานอุตสาหกรรม - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บรุ ี ได้รบั เกียรติบตั ร สถานประกอบการอุตสาหกรรมทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม ปรับปรุงประสิทธิภาพระบบบ�ำบัดมลพิษทางอากาศและน�้ำ - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ได้รบั เกียรติบตั ร การเป็นสถานประกอบการอุตสาหกรรมทีด่ ำ� เนินงาน ตามหลักเกณฑ์ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม ประจ�ำปี 2558 - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ได้รบั การรับรองจาก กระทรวงอุตสาหกรรม ให้เป็นสถานประกอบการ อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 3 ซึ่งเป็นการบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ได้รบั รางวัล CSR-DIW Continuous Award 2015 จัดขึน้ โดยกระทรวง อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นประกาศเกียรติคุณที่แสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาองค์กรสู่ความยั่งยืน ปี 2559 - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับรางวัล CSR-DIW Continuous Award 2016 จัดขึ้นโดย กระทรวงอุตสาหกรรม ซึง่ เป็นปีแรกที่ได้นำ� มาตรฐานความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม (Standard of Social Responsibility, Department of Industrial Works : CSR-DIW) ผนวกกับมาตรฐาน ตามกรอบการรายงานสากล GRI-G4 (Global Reporting Initiative) และแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม ตามมาตรฐาน ISO 26000 - บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลดีเด่น ด้านการจัดการสิง่ แวดล้อมอุตสาหกรรม (Industrial Environmental Management) ประจ�ำปี 2559 จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รบั คัดเลือกเป็นพืน้ ทีเ่ ขตประกอบการอุตสาหกรรมน�ำร่องของพืน้ ที่ จังหวัดชลบุรี ในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรี ภายใต้การศึกษาแผนแม่บทการพัฒนาเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ร่วมกับอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี และกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม - ระบบผลิตน�ำ้ ประปา สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รบั การขึน้ ทะเบียนคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ของผลิตภัณฑ์ น�ำ้ ประปา กับ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ซึง่ เป็นการประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจก ในรูปของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทปี่ ล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตน�ำ้ ประปาของสวนอุตสาหกรรม ปี 2560 - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา และกบินทร์บุรี ได้เข้าร่วมโครงการและเข้าร่วมกิจกรรมยกระดับ โรงงานอุตสาหกรรม มุ่งสู่การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บุรี และล�ำพูน ได้รับการรับรองระบบมาตรฐานการจัดการ สิ่งแวดล้อม ISO 14001:2015 จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ได้รบั เกียรติบตั ร การเป็นสถานประกอบการอุตสาหกรรมทีด่ ำ� เนินงาน ตามหลักเกณฑ์ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม ประจ�ำปี 2560 - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ได้รับเกียรติบัตร ด้านการมุ่งมั่นน�ำหลักการแนวปฏิบัติการใช้แรงงาน ที่ดี (Good Labour Practices: GLP) ไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการด้านแรงงานประจ�ำปี 2560
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
15
การประกอบธุรกิจ
ด้านการบริหารจัดการ ปี 2540 - ร่วมกับบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ จัดงาน SAHA GROUPEXPORT’ 98 โดยเน้นตลาดต่างประเทศ ปี 2541 - ร่วมกับบริษัทกลุ่มสหพัฒน์จัดงาน SAHA GROUP EXPORT & TRADE EXHIBITION เน้นทั้งตลาดต่างประเทศ และในประเทศ และได้จัดต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี ปี 2545 - ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7 (ชุดที่ 9) เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ได้มีมติอนุมัตินโยบายในการก�ำกับดูแล กิจการ จริยธรรมธุรกิจ และจรรยาบรรณพนักงาน - ขายที่ดินในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ให้กับบุคคลภายนอกเป็นครั้งแรก โดยขายที่ดินในสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ให้แก่ บริษัท แอบบีเครสท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งประกอบธุรกิจเครื่องประดับ ปี 2546 - ปรับองค์กรใหม่ โดยมี 2 หน่วยงานใหญ่ คือ บริหาร 1 ดูแลและบริหารงานส�ำนักงานใหญ่ และบริหาร 2 ดูแล และบริหารงานสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ปี 2551 - คณะกรรมการบริษัทมีมติแต่งตั้ง นางดรุณี สุนทรธ�ำรง เป็นเลขานุการบริษัท เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม - คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุมตั กิ ฎบัตรคณะกรรมการบริษทั กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ กฎบัตรคณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กฎบัตรคณะกรรมการบริหารและอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม และมีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 19 ธันวาคม เป็นต้นไป - น�ำหุน้ ของบริษทั ทีเ่ ป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทีบ่ ริษทั ฯ ถืออยูเ่ ข้าฝากในระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (Scripless) กับ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ประเทศไทย จ�ำกัด (TSD) ปี 2552 - งาน SAHA GROUP EXPORT& TRADE EXHIBITION เปลี่ยนเป็นงาน SAHA GROUP FAIR ปี 2553 - แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 3 วัตถุประสงค์ของบริษัท โดยให้แก้ไขข้อ 4 และเพิ่มเติมอีก 4 ข้อ จากวัตถุประสงค์เดิม 37 ข้อ รวมเป็นวัตถุประสงค์ทั้งสิ้น 41 ข้อ - แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับของบริษัทข้อ 30 และยกเลิกข้อ 18 และข้อ 65 ดังนั้น ข้อบังคับของบริษัทลดลงจากเดิม 65 ข้อ เป็น 63 ข้อ ปี 2554 - เพิ่มหน่วยงานบริหารและพัฒนาองค์กร และกลยุทธ์บริหารการลงทุน ปี 2556 - แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อ 3 วัตถุประสงค์ของบริษัท โดยให้แก้ไขข้อ 6 และเพิ่มเติมอีก 1 ข้อ จาก วัตถุประสงค์เดิม 41 ข้อ รวมเป็นวัตถุประสงค์ทั้งสิ้น 42 ข้อ - ปรับปรุงระเบียบบริษัทฯ พ.ศ. 2556 จ�ำนวน 6 ฉบับ ซึ่งเป็นเรื่องการเบิกจ่ายเงิน การจัดซื้อ จัดจ้าง และการขาย/ จ�ำหน่ายทรัพย์สินและวัสดุเหลือใช้ - ปรับปรุงระเบียบการควบคุมภายใน โดยปรับปรุงระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Consulting) ตามหลักการ สากล (COSO : The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission) - ปรับปรุงระเบียบการประเมินผลและสวัสดิการ - ปรับแผนผังองค์กรใหม่ โดยปรับสายการบังคับบัญขา ประกอบด้วย 2 สายงานหลัก คือ สายงานพัฒนาและ บริหารโครงการและทรัพย์สินและสายงานสนับสนุนองค์กร การลงทุน/การค้า นอกจาก 2 สายงานหลัก ยังมี ส�ำนักกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ปรับปรุงอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ให้สอดคล้องกับการบริหารงานในปัจจุบัน - โครงการ J-Park Sriracha Nihon Mura ซึ่งเป็น Shopping Mall โดยการเปิดให้เช่าพื้นที่ ประกอบด้วย ร้านเสื้อผ้า ร้านอาหาร ร้านสะดวกซื้อและ Supermarket ในแถบชายฝั่งทะเลตะวันออก(Eastern Seaboard) ตั้งอยู่ที่ ต�ำบล สุรศักดิ์ อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ปี 2557 - แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อ 3 วัตถุประสงค์ของบริษัท โดยให้เพิ่มเติมอีก 9 ข้อ จากวัตถุประสงค์เดิม 42 ข้อ รวมเป็นวัตถุประสงค์ทั้งสิ้น 51 ข้อ - ปรับปรุงระเบียบบริษัทฯ พ.ศ. 2557 จ�ำนวน 6 ฉบับ ซึ่งเป็นเรื่องการเบิกจ่ายเงิน การจัดซื้อ จัดจ้าง และการขาย/ จ�ำหน่ายทรัพย์สินและวัสดุเหลือใช้ - ปรับปรุงอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ให้สอดคล้องกับการบริหารงานในปัจจุบัน - ก�ำหนดแผนธุรกิจ ประจ�ำปี 2557 รวม 7 แผนงาน และปลายปี 2557 ได้ปรับแผนธุรกิจจาก 7 แผน เป็น 5 แผน
16
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
- แต่งตั้งคณะท�ำงานด้านการลงทุน เพื่อศึกษาและเสนอแนะการลงทุนของบริษัท และบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ ให้เกิด ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและมีผลตอบแทนที่ชัดเจน ตรงตามนโยบายการลงทุนของบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ - แต่งตัง้ คณะท�ำงานพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนพนักงาน เพือ่ ร่วมพิจารณาผลการปฏิบตั งิ าน ก�ำหนดหลักเกณฑ์ การพิจารณาปรับเงินเดือนและเงินอุดหนุนประจ�ำปี เพื่อให้เกิดความเสมอภาค ชัดเจน โปร่งใส ตรวจสอบได้ - ปรับปรุงโครงสร้างองค์กร กฎระเบียบต่างๆ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ระเบียบ / สวัสดิการ (เกษียณอายุ) รวมถึงการวางแผนพัฒนาบุคลากร - พัฒนาฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการเก็บรวบรวม ปรับปรุง และการสืบค้นข้อมูล ปรับแต่ง วิเคราะห์ และการแสดงผลข้อมูล เชิงพื้นที่ ปี 2558 - ปรับปรุงระเบียบบริษัทฯ พ.ศ. 2558 จ�ำนวน 6 ฉบับ ซึ่งเป็นเรื่องการเบิกจ่ายเงิน การจัดซื้อ จัดจ้าง และการ ขาย/จ�ำหน่ายทรัพย์สินและวัสดุเหลือใช้ - ปรับปรุงอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ให้สอดคล้องกับการบริหารงานในปัจจุบัน - จัดตั้งฝ่ายศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาระบบสารสนเทศภายในบริษัท เพื่อสนับสนุนงานบริหารให้เป็นฐาน ข้อมูลเดียวกัน เพื่อเข้าสู่การเป็น Digital Economy - คณะกรรมการบริษัทมีมติแต่งตั้งคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง - คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง แต่งตั้งคณะท�ำงานด้านธรรมาภิบาลและต่อต้านการคอร์รัปชั่น คณะท�ำงานด้านการบริหารความเสีย่ ง และคณะท�ำงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม เพือ่ ท�ำหน้าทีส่ นับสนุนการ ปฏิบัติงานของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง ปี 2559 - จัดท�ำคู่มือการปฏิบัติงาน (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1) - ปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2559 โดยยกเลิก กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบฉบับที่มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 19 ธันวาคม 2551 - ได้รับการรับรอง เป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2559 ปี 2560 - แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อ 3 วัตถุประสงค์ของบริษัท โดยให้เพิ่มเติมอีก 1 ข้อ จากวัตถุประสงค์เดิม 51 ข้อ รวมเป็นวัตถุประสงค์ทั้งสิ้น 52 ข้อ - ปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการบริษัท กฎบัตรคณะกรรมการบริหาร และอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ให้เหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบัน - ปรับปรุงโครงสร้างองค์กร ปรับปรุงระเบียบบริษัทฯ พ.ศ. 2560 จ�ำนวน 6 ฉบับ ซึ่งเป็นเรื่องการเบิกจ่ายเงิน การ จัดซื้อ จัดจ้าง และการขาย/จ�ำหน่ายทรัพย์สินและวัสดุเหลือใช้ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน
4. โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท (1) นโยบายการแบ่งการด�ำเนินงานของบริษัทในกลุ่ม บริษัทฯ จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2515 ในนาม บริษัท สหพัฒนาอินเวสเมนต์ จ�ำกัด ด้วยทุนจดทะเบียน 6 ล้านบาท ปัจจุบัน มีทุนจดทะเบียน 582,923,188 บาท ทุนที่เรียกช�ำระแล้ว 494,034,300 บาท ประกอบธุรกิจหลัก 3 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจการลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ ธุรกิจการให้เช่าและบริการ และธุรกิจสวนอุตสาหกรรม บริษัทฯ และบริษัทกลุ่มสหพัฒน์จะพิจารณา ศักยภาพในการลงทุนและจะลงทุนร่วมกัน โดยพิจารณาลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกัน หรือเอื้อประโยชน์ต่อกัน มีนโยบายให้บริษัทที่ร่วม ลงทุนและท�ำธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับกิจการทีล่ งทุนมากทีส่ ดุ เป็นผูต้ ดิ ตามผลการด�ำเนินงานของบริษทั นัน้ ๆ และปัจจุบนั มีหน่วยงานด้านการ ลงทุน ท�ำการวิเคราะห์และติดตามด้วย เพื่อให้ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นและรายงานให้บริษัทฯ และผู้ถือหุ้นกลุ่มสหพัฒน์ทราบ เพื่อร่วมกัน เสนอแนวทางแก้ไขให้ทนั กับสถานการณ์ ทัง้ นี้ การด�ำเนินงานของแต่ละบริษทั ทีบ่ ริษทั ฯ เข้าไปร่วมลงทุนเป็นอ�ำนาจอิสระของคณะกรรมการ ของบริษัทนั้นๆ ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้ขยายการลงทุนอย่างต่อเนื่อง ในสายธุรกิจการผลิต สายธุรกิจจัดจ�ำหน่าย สายธุรกิจบริการ และอื่นๆ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
17
การประกอบธุรกิจ
(2) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ ถือหุ้นในบริษัทย่อย 1 บริษัท และบริษัทร่วม 22 บริษัท รวมเป็น 23 บริษัท สัดส่วน ของสิทธิออกเสียง เป็นไปตามสัดส่วนการถือหุ้น แยกตามสายธุรกิจได้ดังนี้
บริษัท โชควัฒนา จ�ำกัด ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (16.51%) บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) สายธุรกิจการผลิต
สายธุรกิจจัดจ�ำหน่าย
สายธุรกิจบริการและอื่นๆ
บจ. ฮูเวอร์อุตสาหกรรม (ประเทศไทย) (33.58%)
บมจ. ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล (22.49%)
บจ. เพรซิเดนท์อินเตอร์ฟูดส์ (51.00)
บจ. ไหมทอง (32.11%)
บมจ. สหพัฒนพิบูล (20.00%)
บจ. สหพัฒน์เรียลเอสเตท (40.00%)
บจ. สหชลผลพืช (26.30%)
บจ. อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 (40.00%)
บมจ. ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ (25.06%)
บจ. บุญ แคปปิตอลโฮลดิ้ง (36.00%)
บจ. อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอราทอรี่ส์ (25.00%)
บจ. พิทักษ์กิจ (33.52%)
บจ. ไลอ้อน (ประเทศไทย) (24.80%)
บจ. กรีน ไลฟ์ แมนเนจเมนท์ (30.00%)
บมจ. ธนูลักษณ์ (23.52%)
บจ. เฟิสท์ยูไนเต็ดอินดัสตรี (28.15%)
บมจ. เพรซิเดนท์เบเกอรี่ (21.58%)
บจ. ทรัพย์สินสหพัฒน์ (26.25%)
บมจ. ไทยวาโก้ (21.26%)
บจ. รักษาความปลอดภัย ไทยซีคอม (25.50%)
บจ. ท้อปเทร็นด์ แมนูแฟคเจอริ่ง (20.00%)
บจ. เส-นอร์สห โลจิสติกส์ (23.50%) บจ. สห โตคิว คอร์ปอเรชั่น (20.00%)
โครงสร้างการถือหุ้น 1. ในปี 2560 คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร รวมคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะถือหุ้นของบริษัท รวมกันเท่ากับร้อยละ 3.56 ซึ่งไม่เกินร้อยละ 25 ของหุ้นที่ออกจ�ำหน่ายและเรียกช�ำระแล้ว และบริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นของ Free Float เท่ากับ ร้อยละ 45.04 ซึ่งมากกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นที่ออกจ�ำหน่ายและเรียกช�ำระแล้ว 2. บริษัทฯ มีโครงสร้างการถือหุ้นแบบไขว้ แต่การถือหุ้นไขว้ดังกล่าวไม่มีลักษณะเป็นการถือหุ้นไขว้ที่ขัดหรือแย้งกับหลักเกณฑ์ ข้อ 14 ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนที่ ทจ.28/2551 เรื่องการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ 3. บริษัทฯ ไม่ได้สร้างกลไกเพื่อป้องกันการครอบง�ำกิจการ บริษัทฯ ได้เปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นในกลุ่มธุรกิจและการถือหุ้นไขว้ ระหว่างกัน ในหัวข้อ การถือหุ้นไขว้ 4. ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนสถาบันต่างชาติ จ�ำนวน 61,428,490 หุ้น เท่ากับร้อยละ 12.43 และสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนสถาบันไทยจ�ำนวน 34,070 หุ้น เท่ากับร้อยละ 0.01 รวมสัดส่วนการถือหุ้นของนัก ลงทุนสถาบัน จ�ำนวน 61,462,560 หุ้น เท่ากับร้อยละ 12.44 5. บริษัทฯ ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน หากบริษัทฯ มีเรื่องการซื้อหุ้นคืน แต่ในปี 2560 บริษัทฯ ไม่มีการซื้อหุ้นคืน 6. บริษัทฯ ได้เผยแพร่ข่าวสาร ข้อมูล ของบริษัท ผ่านระบบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) สนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ ยังจัดงาน นักวิเคราะห์ นักลงทุน พบกลุ่มสหพัฒน์ 18
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
ซึ่งในปี 2560 เป็นการจัดงานครั้งที่ 9 โดยเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ นักลงทุน และผู้สนใจทั่วไป ได้พบกับผู้บริหารและ ยังได้พบกับผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ นักลงทุนอื่นๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน 7. บริษทั ฯ ไม่มขี อ้ ตกลงระหว่างผูถ้ อื หุน้ (Shareholders agreement) ทีม่ ผี ลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อบริษทั ฯ หรือผูถ้ อื หุน้ รายอืน่
การถือหุ้นไขว้ บริษัทฯ มีการถือหุ้นไขว้ระหว่างกัน ดังนี้ (1) การถือหุ้นเกินกว่า 50% (ก) บริษัทอื่นเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทฯ เกินกว่า 50% บริษัทฯ ต้องไม่ถือหุ้นไขว้ในบริษัทอื่น - ไม่มี (ข) บริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทอื่น เกินกว่า 50% ต้องไม่ปรากฏว่าบริษัทอื่นถือหุ้นไขว้ในบริษัทฯ - ไม่มี (ค) บริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นเกินกว่า 50% ในบริษัทอื่น ตั้งแต่ 2 บริษัทขึ้นไป ต้องไม่ปรากฏว่าบริษัทอื่นเหล่านั้น ถือหุ้นไขว้ระหว่างกัน - ไม่มี ตามรายละเอียด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ดังนี้.ล�ำดับ 1.
ชื่อบริษัท บจ. เพรซิเดนท์อินเตอร์ฟูดส์
บริษัทฯ ถือหุ้นในบริษัทอื่น
บริษัทอื่นถือหุ้นในบริษัทฯ
สัดส่วนการถือหุ้น
สัดส่วนการถือหุ้น
51.00
-
(2) การถือหุ้นเกินกว่า 25% แต่ไม่เกินกว่า 50% (ก) บริษัทอื่นเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทฯ เกินกว่า 25% แต่ไม่เกินกว่า 50% บริษัทฯ ต้องไม่ถือหุ้นไขว้ในบริษัทอื่นเกินกว่า 10% - ไม่มี (ข) บริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทอื่น เกินกว่า 25% แต่ไม่เกินกว่า 50% ต้องไม่ปรากฏว่าบริษัทอื่นถือหุ้นไขว้ในบริษัทฯ เกินกว่า 10% - ไม่มี ตามรายละเอียด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ดังนี้.ล�ำดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ชื่อบริษัท บจ. สหพัฒน์เรียลเอสเตท บจ. อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 บจ. บุญ แคปปิตอลโฮลดิ้ง บจ. ฮูเวอร์อุตสาหกรรม (ประเทศไทย) บจ. พิทักษ์กิจ บจ. ไหมทอง บจ. กรีน ไลฟ์ แมนเนจเม้นท์ บจ. เฟิสท์ยูไนเต็ดอินดัสตรี บจ. สหชลผลพืช บจ. ทรัพย์สินสหพัฒน์
บริษัทฯ ถือหุ้นในบริษัทอื่น
บริษัทอื่นถือหุ้นในบริษัทฯ
สัดส่วนการถือหุ้น
สัดส่วนการถือหุ้น
40.00 40.00 36.00 33.58 33.52 32.11 30.00 28.15 26.30 26.25
0.16 0.59 0.07
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
19
การประกอบธุรกิจ
ล�ำดับ 11. 12.
ชื่อบริษัท บจ. รักษาความปลอดภัย ไทยซีคอม บมจ. ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์
บริษัทฯ ถือหุ้นในบริษัทอื่น
บริษัทอื่นถือหุ้นในบริษัทฯ
สัดส่วนการถือหุ้น
สัดส่วนการถือหุ้น
25.50 25.06
1.20
(3) การถือหุ้นไม่เกินกว่า 25% (ก บริษัทอื่นเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทฯ ไม่เกินกว่า 25% บริษัทฯ ต้องไม่ถือหุ้นไขว้ในบริษัทอื่นเกินกว่า 25% - ไม่มี (ข) บริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทอื่น ไม่เกินกว่า 25% ต้องไม่ปรากฏว่าบริษัทอื่นถือหุ้นไขว้ในบริษัทฯ เกินกว่า 25% - ไม่มี ตามรายละเอียด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ดังนี้.ล�ำดับ
ชื่อบริษัท
บริษัทฯ ถือหุ้นในบริษัทอื่น สัดส่วนการถือหุ้น
บริษัทอื่นถือหุ้นในบริษัทฯ สัดส่วนการถือหุ้น
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16.
บจ. อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอราทอรีส์ บจ. ไลอ้อน (ประเทศไทย) บมจ. ธนูลักษณ์ บมจ. ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนล บมจ. ไทยวาโก้ บมจ. สหพัฒนพิบูล บมจ. นิวซิตี้ (กรุงเทพฯ) บมจ. เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชัน่ แนล เอนเตอร์ไพรส์ บมจ. ฟาร์อีสท์ ดีดีบี บมจ. ประชาอาภรณ์ บมจ. โอ ซี ซี บมจ. เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ บจ. เบทเตอร์เวย์ (ประเทศไทย) บมจ. นิวพลัสนิตติ้ง บมจ. สหยูเนี่ยน Lion Corporation
25.00 24.80 23.52 22.49 21.26 20.00 15.50 16.02 14.08 13.78 12.73 12.03 11.77 5.33 0.30 0.11
0.30 0.51 0.90 9.74 0.68 7.72 0.07 0.28 0.28 0.49 0.06 0.09 0.30 0.02 1.81 2.02
หมายเหตุ: บริษทั ฯ มีโครงสร้างการถือหุน้ แบบไขว้ แต่การถือหุน้ ไขว้ดงั กล่าวไม่มลี กั ษณะเป็นการถือหุน้ ไขว้ระหว่างกันทีข่ ดั หรือแย้งกับหลักเกณฑ์ ข้อ 14 ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุน ที่ ทจ. 28/2551 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่
ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ - ไม่มี -
20
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
5. ลักษณะการประกอบธุรกิจ
บริษทั ฯ ประกอบธุรกิจหลัก 3 ประเภท คือ ธุรกิจการลงทุนในหุน้ บริษทั ต่างๆ ธุรกิจการให้เช่าและบริการ และธุรกิจสวนอุตสาหกรรม โดยมีรายละเอียด ดังนี้
(1) โครงสร้างรายได้ (หน่วย : พันบาท) ปี 2560
กลุ่มธุรกิจ
ด�ำเนินการโดย
ปี 2559
ปี 2557
% การถือหุ้น ของบริษัท จ�ำนวนเงิน ร้อยละ จ�ำนวนเงิน ร้อยละ จ�ำนวนเงิน ร้อยละ
ธุรกิจการลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม บริษัทร่วมในกลุ่ม เงินปันผล
บริษัทต่างๆ
ธุรกิจให้เช่าและบริการ
บริษัทฯ
ธุรกิจสวนอุตสาหกรรม
บริษัทฯ
อื่นๆ
บริษัทฯ รวม
20 - 40
1,810,254 26.89 1,416,661 30.96 1,186,547
0.03 -19.99
272,054
244,030
5.80
2,518,110 37.40 2,425,279 53.01 2,429,453
57.23
209,124
4.04 3.11
369,273 271,795
8.07
28.18
5.94
181,877
4.32
1,923,429 28.56 92,226 2.02 168,828 4.47 6,732,971 100.00 4,575,234 100.00 4,210,735 100.00
(2) การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์
บริษัทฯ ประกอบธุรกิจหลัก 3 ประเภท คือ ธุรกิจการลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ ธุรกิจการให้เช่าและบริการ และธุรกิจสวน อุตสาหกรรม โดยมีรายละเอียด ดังนี้
2.1 ธุรกิจการลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ
2.1.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการ บริษัทฯ ลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่บริษัทฯ ในระยะยาวและเป็นธุรกิจที่เสริม กับธุรกิจที่บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ด�ำเนินการอยู่ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน โดยบริษัทฯ จะได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล ในปี 2560 บริษัทฯ มีนโยบายขยายการลงทุนในกลุ่มธุรกิจอาหาร โดยได้รับโอนกิจการทั้งหมดจาก บริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (PH) ซึง่ เป็นบริษทั ทีถ่ อื หุน้ ใหญ่ในธุรกิจอาหาร เป็นมูลค่า 7,748,000,000.- บาท รวมทัง้ การท�ำค�ำเสนอซือ้ หลักทรัพย์ทงั้ หมด ใน บริษทั เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) (PR) และ บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) (PB) อันเป็นผลมาจากการรับโอน กิจการทั้งหมดจาก PH เป็นมูลค่า 37,191,546.50 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 7,785,191,546.50 บาท และจากการควบรวมบริษัทระหว่าง บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) (TF) กับ PR ท�ำให้สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทใน TF เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 22.04 เป็นร้อยละ 25.06 และสัดส่วนการถือหุน้ ใน PB เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 2.82 เป็นร้อยละ 21.58 นอกจากนี้ ยังได้เพิม่ สัดส่วนการลงทุนใน บริษทั เคนมินฟูด้ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จากร้อยละ 6.67 เป็นร้อยละ 14.24 ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตอาหารที่ท�ำจากข้าวและแป้ง เป็นมูลค่า 30,537,000.- บาท อีกทัง้ ได้มกี ารลงทุนในบริษทั อเมริกนั ฟูด้ จ�ำกัด ในสัดส่วนร้อยละ 15 ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตไอศกรีมภายใต้เครือ่ งหมายการค้า BUD’s เป็นมูลค่า 21,000,000.- บาท เป็นการเพิ่มสัดส่วนการลงทุนในธุรกิจอาหาร โดยในปี 2560 มีเงินลงทุนในบริษัทใหม่ทั้งสิ้น จ�ำนวน 7 บริษัท เป็น เงินทั้งสิ้น 169,279,935.- บาท และมีการยกเลิกการลงทุนเนื่องจากการเลิกกิจการและจ�ำหน่ายออก จ�ำนวน 3 บริษัท
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
21
การประกอบธุรกิจ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวนบริษัทที่บริษัทฯ ได้ลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 158 บริษัท ประกอบด้วย 3 สายธุรกิจหลัก 1. สายธุรกิจการผลิต 2. สายธุรกิจจัดจ�ำหน่าย 3. สายธุรกิจบริการและอื่นๆ สายธุรกิจการผลิต บริษทั ฯ ร่วมลงทุนกับผูป้ ระกอบการทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยลงทุนในบริษทั ผูผ้ ลิตวัตถุดบิ ผู้ ผลิตสินค้าส�ำเร็จรูปทัง้ อุปโภคและบริโภค ภายใต้เครือ่ งหมายการค้าของบริษทั และบริษทั กลุม่ สหพัฒน์ และเครือ่ งหมายการค้าทีบ่ ริษทั ฯ และบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ ได้รับลิขสิทธิ์จากต่างประเทศ เช่น · บริษทั ไลอ้อน (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผูผ้ ลิตสินค้าอุปโภค ภายใต้เครือ่ งหมายการค้า เช่น เปา โคโดโม โชกุบสุ ซึโมโนกา ตาริ ซิสเท็มมา คิเรอิคเิ รอิ และซือ่ สัตย์ เป็นต้น · บริษทั ธนูลกั ษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) ผูผ้ ลิตเสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูปและเครือ่ งหนัง ภายใต้เครือ่ งหมายการค้า เช่น Arrow, Guy Laroche, DAKS เป็นต้น · บริษัท ไทยวาโก้ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตชุดชั้นในสตรีและเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ภายใต้เครื่องหมายการค้า เช่น Wacoal, ELLE, Enfant และ BSC เป็นต้น · บริษทั ไทยเพรซิเดนท์ฟดู ส์ จ�ำกัด (มหาชน) ผูผ้ ลิตบะหมีก่ งึ่ ส�ำเร็จรูป ภายใต้เครือ่ งหมายการค้า เช่น มาม่า เป็นต้น · บริษทั เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชัน่ แนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) ผูผ้ ลิตเครือ่ งส�ำอาง เช่น BSC เป็นต้น สายธุรกิจจัดจ�ำหน่าย บริษทั ฯ ลงทุนในบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจจัดจ�ำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค และบริษทั ขายตรง ซึง่ ส่วน ใหญ่เป็นการร่วมลงทุนของบริษทั กลุม่ สหพัฒน์ และสินค้าทีจ่ ดั จ�ำหน่ายส่วนใหญ่เป็นสินค้าทีผ่ ลิตโดยบริษทั ผลิตของกลุม่ เช่นกัน เช่น · บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค เช่น ผงซักฟอก เปา บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูปมาม่า ผลิตภัณฑ์ซิสเท็มมา สบู่เหลวโชกุบุสซึโมโนกาตาริ น�้ำยาล้างจานไลปอนเอฟ ผลิตภัณฑ์โคโดโม คิเรอิคิเรอิ i-Healti Q10 ซื่อสัตย์ บะหมี่อบแห้งกึ่งส�ำเร็จรูปมาม่าราเมงและเครื่องดื่ม POCARI SWEAT เป็นต้น · บริษทั ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำหน่ายสินค้าประเภทต่างๆ เช่น เสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูป Arrow, Lacoste, Guy Laroche, ELLE, DAKS, ชุดชั้นใน Wacoal, เสื้อผ้าเด็ก Enfant, Absorba, รองเท้า Regal, Naturalizer, Sby, ผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่องหมายการค้า BSC เป็นต้น · บริษัท เบทเตอร์เวย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ขายตรงเครื่องส�ำอาง ภายใต้เครื่องหมายการค้า Mistine และ Faris by Naris · บริษัท เวิลด์ สหแฟชั่น จ�ำกัด จัดจ�ำหน่ายเครื่องแต่งกาย ภายใต้เครื่องหมายการค้า TAKEO KIKUCHI นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ขยายการลงทุน โดยการร่วมทุนในบริษัทที่ประกอบธุรกิจร้านสะดวกซื้อ ร้านค้าปลีก จ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์บ�ำรุงสุขภาพ และเสริมความงาม รวมทั้งสินค้าอุปโภคและบริโภค เช่น · บริษทั สห ลอว์สนั จ�ำกัด ประกอบธุรกิจ ร้านสะดวกซือ้ (Convenient Store) ภายใต้เครือ่ งหมายการค้า Lawson108 · บริษัท ซูรูฮะ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ประกอบธุรกิจ ร้านค้าปลีกและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์บ�ำรุงสุขภาพและเสริมความ งาม รวมทัง้ สินค้าอุปโภคและบริโภคในประเทศไทยและประเทศในกลุม่ อาเซียน (เป็นร้านค้าปลีกสไตล์ญปี่ นุ่ ให้บริการ ในแบบ One Stop Service มีสินค้าให้เลือกหลากหลาย) สายธุรกิจบริการและอื่นๆ บริษัทฯ ลงทุนในธุรกิจอื่นๆ ที่มีศักยภาพ ให้ผลตอบแทนที่น่าพอใจในระยะยาว และประกอบ ธุรกิจที่สนับสนุนบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ บริษัทในสายนี้อยู่ในสายงานบริการ ร้านอาหาร การลงทุนและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เช่น · บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน) ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า และไอน�้ำ · บริษทั ฟาร์อสี ท์ เฟมไลน์ ดีดบี ี จ�ำกัด (มหาชน) รับจ้างผลิตงานโฆษณาและเป็นนายหน้าขายบริการด้านโฆษณา ุ ภาพน�ำ้ และอากาศ · บริษทั อีสเทิรน์ ไทยคอนซัลติง้ 1992 จ�ำกัด ประกอบธุรกิจ เกีย่ วกับสิง่ แวดล้อม ตรวจวิเคราะห์คณ ควบคุมระบบบ�ำบัดน�้ำเสียและระบบผลิตน�้ำประปา · บริษัท นิปปอน เต ซาโต จ�ำกัด ประกอบธุรกิจ ร้านอาหาร · บริษทั สห โตคิว คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ประกอบธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โครงการ HamoniQ · บริษัท โมบาย โลจิสติกส์ จ�ำกัด ประกอบธุรกิจ จัดเก็บ รับฝาก กระจาย และจัดส่งสินค้า · บริษัท ทรานสคอสมอส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ประกอบธุรกิจ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
22
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
2.1.2 การตลาด และการแข่งขัน การตลาด บริษัทฯ ประกอบธุรกิจลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ ซึ่งมีทั้งบริษัทผลิตวัตถุดิบ เพื่อป้อนให้แก่บริษัทผลิตสินค้า ส�ำเร็จรูปและบริษัทจ�ำหน่าย ปัจจุบัน การตลาดมีการแข่งขันสูงและรุนแรงมากขึ้น เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน และสร้างความพึงพอใจแก่ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างเหมาะสม โดยค�ำนึงถึงดุลยภาพด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ผู้ผลิตจึงมุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรม ซึ่งไม่ได้จ�ำกัดเพียง การพัฒนาสินค้าและบริการใหม่ๆ ที่สามารถแข่งขันได้เท่านั้น แต่ยังต้องสามารถตอบสนองความต้องการของสังคมที่ตระหนักถึงความ รับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพิ่มมากขึ้น รวมถึงการให้ความส�ำคัญกับการมุ่งสู่ “เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy)” โดยการเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้า มุ่งเน้นสินค้าประเภท Green Productivity ซึ่งจะมีส่วนในการสร้างความได้เปรียบใน การแข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมถึงการสื่อสารถึงผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้บริโภคให้ความส�ำคัญและเป็นปัจจัย หนึ่งในการตัดสินใจซื้อ ดังนั้น บริษัทในสายธุรกิจการผลิตได้จัดหาวัตถุดิบและการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มคุณภาพของ สินค้าให้สนองความต้องการของผู้บริโภคยุคใหม่ นอกจากนี้ ผู้ผลิตต้องมุ่งพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตที่ท�ำให้เกิดการบริหารต้นทุนให้ ลดลง และต้องมีความคล่องตัวในการจัดการ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันจึงจะสามารถรักษาและเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดได้ ซึ่งบริษัทกลุ่มสหพัฒน์จะได้เปรียบคู่แข่งในด้านความหลากหลายและต้นทุนที่ต�่ำกว่า มีการวิจัยค้นคว้าและพัฒนาวัตถุดิบใหม่ๆ อย่าง สม�่ำเสมอ และบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ส่วนใหญ่ได้รับมาตรฐานการผลิต ISO 9001:2008 นอกจากด้านการผลิตแล้ว ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายก็เป็นอีกกลยุทธ์หนึง่ ทีส่ ำ� คัญ สินค้าของบริษทั กลุม่ สหพัฒน์สว่ นใหญ่จะ จัดจ�ำหน่ายผ่านบริษทั ผูจ้ ดั จ�ำหน่ายบริษทั กลุม่ สหพัฒน์ เช่น บริษทั สหพัฒนพิบลู จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ แนวโน้มพฤติกรรมผูบ้ ริโภคได้เปลีย่ นแปลงจากเดิมไปมาก ปัจจัยเทคโนโลยีทเี่ ติบโตก้าวกระโดดเป็นแรงผลักดันส�ำคัญ เช่น คลาวด์ Line ทีท่ ำ� ให้การติดต่อสือ่ สารเป็นไปอย่างรวดเร็ว เข้าถึงผูบ้ ริโภคได้ทนั ที การเข้ามาของเทคโนโลยีดงั กล่าวท�ำให้ความต้องการของผูบ้ ริโภค เปลีย่ นไป เครื่องส�ำอางและเครื่องหอม บริษัทจ�ำหน่ายของกลุ่มสหพัฒน์ได้มีการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอางมาตั้งแต่ปี 2507 และได้มีการขยายธุรกิจเครื่องส�ำอางโดยการเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายเครื่องส�ำอางภายใต้เครื่องหมายการค้าต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใน เดือนตุลาคม 2548 เริ่มแนะน�ำแบรนด์เครื่องส�ำอาง BSC Cosmetology ซึ่งเป็นแบรนด์เครื่องส�ำอางของกลุ่มสหพัฒน์ให้ก้าวสู่ระดับ สากล และได้ขยายตลาดเข้าสู่ ธุรกิจออนไลน์เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย โดยเพิ่มการขายในตลาด ด็อทคอม เบนโตะ เว็บไซต์ Seven-Eleven Online Catalogue, Ookbee.Com, O-Shopping ทั้งนี้รวมถึง www.eThailandBEST.com ซึ่งเป็นช่องทางการ ค้าออนไลน์ใหม่ ในปี 2560 เครือสหพัฒน์ ได้ร่วมลงนามกับลาซาด้า ยักษ์ใหญ่แห่งวงการค้าปลีกออนไลน์ ซึ่งจะท�ำให้สามารถขยาย ฐานลูกค้าได้เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ มีการเพิ่มสัดส่วนการสื่อสารทางการตลาดผ่านสื่อ Digital จัดท�ำ Viral VDO เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ และตราสินค้าให้เป็นที่รู้จักเพิ่มมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการรีวิวสินค้าจาก Influencer ที่ผู้บริโภคมีความมั่นใจ และส�ำหรับตัวผลิตภัณฑ์เครื่อง ส�ำอางต่างๆ ได้มีการพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า ชุดชั้นในสตรี บริษัทกลุ่มสหพัฒน์มีศักยภาพในการท�ำตลาดชุดชั้นใน เนื่องจากเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายชุด ชั้นใน ถึง 5 แบรนด์ หลัก คือ Wacoal, BSC, BSC SIGNATURE, ELLE และ KULLASATRI กลยุทธ์ในการสร้างความโดดเด่นในตลาด คือ การ สร้างความแตกต่างในแต่ละแบรนด์ และการท�ำตลาดแบบครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย โดยการเพิ่มประสิทธิภาพในตัวผลิตภัณฑ์ ตลอด จนเพิ่มฟังก์ชั่นการใช้งานที่เหมาะสมกับการสวมใส่ และสร้างนวัตกรรมใหม่ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้สูงขึ้น โดยในปี 2560 มีการปรับเปลี่ยน แนวทางการตลาดให้สอดรับกับ Lifestyle ของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป การให้ความสนใจกับสื่อต่างๆ บนโลก Digital ที่มีมากขึ้น ผู้ บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าได้หลากหลายช่องทางทั้ง Online และ Offline เครื่องแต่งกายบุรุษ บริษัทกลุ่มสหพัฒน์เป็นผู้จัดจ�ำหน่ายเครื่องแต่งกายสุภาพบุรุษภายใต้แบรนด์ต่างๆ เช่น ARROW, DAKS, GUY LAROCHE, ELLE HOMME, LACOSTE และ HAZZYS โดยช่องทางจัดจ�ำหน่ายหลัก คือ ห้างสรรพสินค้า ที่มีพนักงาน ขายประจ�ำ เพื่อให้ค�ำแนะน�ำผลิตภัณฑ์และให้บริการหลังการขาย และได้มีการขยายช่องทางการจัดจ�ำหน่ายเข้าไปในดิสเคาน์สโตร์ รวม ทั้งการเปิดร้านในศูนย์การค้า ช่องทางขายทางทีวี และ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) โดยการน�ำนวัตกรรมใหม่มาใช้กับตัว สินค้า เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค สินค้าอุปโภคบริโภค การแข่งขันยังคงความรุนแรง บริษทั จ�ำหน่ายของกลุม่ สหพัฒน์ยงั สามารถรักษาฐานยอดขายสินค้า ที่มีอยู่ให้เติบโตได้ พร้อมทั้งมีการเพิ่มสินค้าใหม่เพื่อสนองความต้องการของลูกค้า อย่างไรก็ตามสินค้ากลุ่มสหพัฒน์เน้นด้านคุณภาพ ราคาซื่อสัตย์ยุติธรรมต่อผู้บริโภค และขยายช่องทางการจ�ำหน่ายให้ครอบคลุมทุกช่องทาง กลยุทธ์ทางการตลาดเน้นการเลือกส่วนแบ่ง การตลาดที่สอดคล้องกับต�ำแหน่งของสินค้าและบริการ ในปี 2560 ภาพรวมของตลาดบะหมี่และเส้นหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป มีการเติบโตร้อยละ 4.3 โดยมีมูลค่าตลาดรวมอยู่ที่ประมาณ 17,080 ล้านบาท ประเภทซองมีการเติบโตร้อยละ 5.5 ในขณะที่ประเภทถ้วยมีมูลค่าตลาดเท่าเดิม โดยช่องทางการจัดจ�ำหน่ายในร้าน บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
23
การประกอบธุรกิจ
สะดวกซื้อมีการเติบโตขึ้นรัอยละ 13.1 และช่องทางซูเปอร์ไฮเปอร์มาร์เกต มีการเติบโตขึ้นร้อยละ 2.7 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ถึงแม้ ในปี 2560 ตลาดบะหมี่และเส้นหมี่กึ่งส�ำเร็จรูปจะมีการแข่งขันที่รุนแรง และสภาวะตลาดการบริโภคบะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูปน้อยลง เพราะ พฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป แต่แบรนด์มาม่ายังรักษาความเป็นผู้น�ำอันดับ 1 ด้วยส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 47.9 โดยประเภทซองมี ส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 45.8 และประเภทถ้วยมีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 51.2 หากแยกตามประเภทมีรายละเอียด ดังนี้ ตลาดบะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป ภาพรวมปี 2560 มีการเติบโตขึ้นร้อยละ 3.7 มูลค่าตลาดรวมอยู่ที่ประมาณ 15,601 ล้านบาท โดยประเภทซองมีการเติบโตขึ้นร้อยละ 5.5 ประเภทถ้วยมีมูลค่าตลาดใกล้เคียงกับปีก่อน โดยร้านสะดวกซื้อ ประเภทซองมีการเติบโตขึ้น ร้อยละ 21 และประเภทถ้วยมีการเติบโตขึ้นร้อยละ 4 ส่วนช่องทางซูเปอร์ ไฮเปอร์ ประเภทถ้วยไม่มีการเติบโต อย่างไรก็ตามแบรนด์มา ม่า ยังสามารถรักษาความเป็นผู้น�ำอันดับ 1 ด้วยส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 47.2 โดยประเภทซองมีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 45.8 และ ประเภทถ้วย มีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 51.2 ตลาดเส้นหมี่ ก๋วยเตี๋ยวและวุ้นเส้นกึ่งส�ำเร็จรูป ในปี 2560 ตลาดในประเทศมีมูลค่ารวม 1,084 ล้านบาท มีการเติบโต ร้อยละ 3.8 แบรนด์มาม่ามีส่วนแบ่งตลาดอันดับ 1 ที่ร้อยละ 70.2 ส่วนช่องทางการขายตรง บริษัท เบทเตอร์เวย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้จัดจ�ำหน่ายสินค้า Mistine มีการปรับกลยุทธ์ทาง ด้านการขายตรงอยู่ตลอดเวลา และมีการเพิ่มตัวสินค้าใหม่ ภายใต้แบรนด์ Mistine และ Faris by Naris ท�ำให้เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป ส�ำหรับผู้บริโภคในยุคดิจิทัล บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ ได้ท�ำการตลาด ผ่านทีวีดาวเทียม Super Channel (S Channel) การ ตลาดออนไลน์ เช่น Facebook และ Line เพื่อให้ตรงใจกับความต้องการสิ่งใหม่ๆ ของผู้บริโภค นอกจากนี้ ยังมี ลอว์สัน 108 ซึ่งเป็นร้านสะดวกซื้อ และ ซูรูฮะ ซึ่งเป็นร้านค้าปลีก จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์บ�ำรุงสุขภาพและ เสริมความงาม เป็นร้านค้าปลีกสไตล์ญี่ปุ่นที่มีสินค้าให้เลือกหลากหลาย จากจุดเด่นของบริษทั กลุม่ สหพัฒน์ทมี่ กี ารบริหารงานอย่างอิสระ มีการแข่งขันกัน ท�ำให้แต่ละบริษทั มีการพัฒนาและคิดค้น นวัตกรรมใหม่ๆ ในการผลิต เพื่อเป็นการสร้างมูลค่าให้แก่สินค้า และเป็นการเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่าย สามารถตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภคได้เพิ่มขึ้น แต่เมื่อใดที่ต้องการความร่วมมือ จะเกิดความร่วมมือกัน เพื่อแสดงศักยภาพของบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ เช่น งาน Saha Group Fair ซึ่งได้รับความสนใจและมีผู้เข้าชมงานและซื้อสินค้าเป็นจ�ำนวนมาก จึงมีการจัดงานดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2560 ได้จัดเป็นครั้งที่ 21 ซึ่งแต่ละบริษัทได้น�ำสินค้า ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมใหม่ๆ มาร่วมแสดงในงาน เพื่อเป็นการเชิญชวนลูกค้า ทั้งรายเก่าและรายใหม่ๆ ให้เข้าร่วมงาน เป็นการพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ ความต้องการซึ่งกันและกัน และสามารถท�ำการค้าระหว่าง กัน ซึ่งเป็นช่องทางในการร่วมทุน และขยายตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศอีกด้วย และยังท�ำให้บริษัทกลุ่มสหพัฒน์สามารถปรับ ตัวได้คล่องตัวขึ้น ตามภาวะเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงและผันผวนอยู่ตลอดเวลา เป็นการกระตุ้นให้บริษัทกลุ่มสหพัฒน์มุ่งมั่นพัฒนา นวัตกรรมใหม่ๆ ทั้งด้านผลิตภัณฑ์และกิจกรรมทางการตลาดอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการบริการและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับลูกค้า ตลอดจนในงานยังมีการจ�ำหน่ายสินค้าในราคาประหยัด เพื่อขอบคุณและช่วยเหลือประชาชนทั่วไป การแข่งขัน สินค้าที่บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ผลิตและจ�ำหน่าย ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าประเภทอุปโภค บริโภค ซึ่งล้วนแต่เป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีความส�ำคัญต่อการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน เช่น เสื้อผ้าบุรุษ สตรี และเด็ก ชุดชั้นใน เครื่องส�ำอาง บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป ผง ซักฟอก เครื่องหนัง และอาหาร เป็นต้น การเปิดการค้าเสรี มีผลให้ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น ผู้ประกอบการในประเทศต้องประสบกับ การแข่งขันกับสินค้าน�ำเข้า ผลิตภัณฑ์ของบริษทั กลุม่ สหพัฒน์ จึงมีการพัฒนาและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ เข้าสูต่ ลาดอย่างสม�ำ่ เสมอ เป็น ที่รู้จัก และยอมรับในด้านชื่อเสียงและคุณภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค สินค้าแต่ละประเภทก็มีการแข่งขันที่ต่างกัน เช่น - เครื่องส�ำอางและเครื่องหอม Counter Sale มีการแข่งขันสูงและรุนแรงมากขึน้ จากแบรนด์ใหม่ๆ ทีเ่ พิม่ ขึน้ และความภักดีในตราสินค้าของผูบ้ ริโภค มีแนวโน้มลดลงเรื่องๆ ภาพรวมตลาดสินค้าความงามยังคงสามารถเติบโตได้ ในปี 2560 เครื่องส�ำอางที่ขายแบบเคาน์เตอร์เซลล์เลือกใช้ สื่อทางโทรทัศน์ร่วมกับสื่อออนไลน์มากขึ้น ตลอดจนแนะน�ำสินค้าใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยการใช้สื่อโรงภาพยนตร์ สื่อทางอินเทอร์เน็ต และสื่อในรถไฟฟ้าเป็นสื่อที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน เพื่อเป็นการรักษายอดขายและขยายฐานลูกค้าใหม่ๆ ได้เพิ่มกลยุทธ์ การตลาดต่างๆ มากมาย จัดกิจกรรมกระตุน้ การจับจ่ายทีม่ คี วามรุนแรงมากขึน้ ทัง้ ในแง่ความถีแ่ ละการจัดชุดสินค้าทีม่ รี าคาไม่สงู มากเป็น ตัวกระตุ้น โดยแต่ละแบรนด์จัด Value Set เพื่อให้เกิดการทดลองใช้และดึงดูดใจลูกค้ากลุ่มใหม่ การน�ำเทคโนโลยีทันสมัยมาให้บริการ มากขึ้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นให้กับลูกค้า กลุ่มเครื่องส�ำอางเคาน์เตอร์แบรนด์ต่างน�ำเครื่องมือที่ทันสมัยมาให้บริการกันอย่างทั่วหน้า โดยเฉพาะเครื่องเช็คผิว ใช้เวลาให้บริการเพียง 3 - 5 นาที สามารถวิเคราะห์สภาพผิวได้อย่างละเอียด เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่สร้าง ความน่าเชื่อถือให้กับแบรนด์ และยังสามารถสร้างความรู้สึกคุ้มค่าในการจับจ่ายเพิ่มมากขึ้น
24
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
ดิสเคาน์สโตร์ (Discount Store) ปัจจุบันมีการใช้กลยุทธ์ด้านราคาที่เข้มข้นและรุนแรง ควบคู่กับการขยายสาขาไปยัง พื้นที่ชุมชนขนาดใหญ่ต่างๆ ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และจังหวัดใหญ่ในภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ สร้างผลกระทบเป็นวงกว้างกับผู้ ผลิต คนกลางทางการตลาดดั้งเดิม (Traditional Trade) ทั้งค้าส่ง ค้าปลีก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภค ในตลาด เครื่องส�ำอางของกลุ่มสหพัฒน์ ได้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ เพื่อพยายามช่วงชิงพื้นที่ได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร์ ในการขยายสาขาไปยัง ชุมชน หรือพื้นที่ต่างๆ อย่างกว้างขวาง การสร้างความแตกต่างของสินค้า เช่น การสร้างความประหยัดจากขนาด (Economy of Scale) การวางต�ำแหน่งทางการค้า และการออกผลิตภัณฑ์ใหม่เฉพาะตลาด เป็นต้น แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขันในอนาคต เครือ่ งส�ำอางยังเป็นปัจจัยที่ 5 ทีผ่ หู้ ญิงต้องการ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ บ�ำรุงผิวที่มีมูลค่าเกือบครึ่งหนึ่งของตลาด โดยเฉพาะกลุ่มลดเลือนริ้วรอย (Anti-aging) เนื่องจากปัจจุบันกระแสของผลิตภัณฑ์ลดเลือน ริ้วรอยก�ำลังได้รับความนิยมสูงขึ้น นอกจากนี้ แนวโน้มตลาดยังมุ่งเน้นการขายทางออนไลน์ โดยเห็นได้จากการเติบโตอย่างก้าวกระโดด ของยอดขายที่ผ่านทางช่องทางออนไลน์ - ชุดชั้นในสตรี มีการพัฒนาสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคที่ปรับเปลี่ยนไปตามไลฟ์ สไตล์ในยุคดิจิตอล มีการน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ จากต่างประเทศมาปรับปรุงพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เป็นทางเลือกที่ดีท่ีสุด และเป็นตัวช่วยให้แก่ผู้หญิงที่สนใจดูแลรูปร่างของตัวเอง ได้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับสรีระที่มีความแตกต่างกัน มั่นใจในการ สวมใส่ในทุกโอกาส และทุกช่วงเวลาของแต่ละกิจกรรมในแต่ละวัน มีการวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคและท�ำวิจัยอย่างต่อเนื่องเพื่อหาความ ต้องการของลูกค้า เพื่อน�ำมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีการบริหารจัดการสินค้าแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง การวางแผนกระจายสินค้า และ การเติมสินค้าอัตโนมัติ (Auto Replenishment) โดยใช้ Quick Response Management System (QRMS) มาบริหารสินค้าในร้านค้า ให้สมบูรณ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้สินค้ามีพอเพียง ตรงกับความต้องการของลูกค้าด้วยปริมาณที่เหมาะสม และเพื่อเป็นการรักษา ฐานลูกค้าเดิมได้จัดระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM : Customer Relationship Management) โดยผ่านบัตรสะสมคะแนน His & Her Plus Point ในส่วนลูกค้าใหม่สร้างการรับรู้ในตราสินค้า (Brand Awareness) ผ่านกิจกรรมต่างๆ ทั้งนี้ได้เพิ่มช่องทางการขายใหม่ๆ เช่น e-Commerce, TV Shopping เพื่อให้ผู้บริโภคเข้าถึงกลุ่มสินค้าที่มีนวัตกรรม และเชื่อมโยงมายังจุดขายได้ในรูปแบบการตลาดแบบ Omni Channel คือ การเชื่อมโยงช่องทางการตลาดต่างๆ ให้เป็นอันเดียวกัน เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการได้ทุกที่ทุก เวลาซึ่งมีแนวโน้มเติบโตเพิ่มขึ้นตามพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่มสหพัฒน์ยังให้ความส�ำคัญกับคู่ค้าทั้งช่องทางเดิมและช่องทางใหม่ท�ำให้ สามารถขยายฐานลูกค้าครอบคลุมผู้บริโภคในทุกความต้องการ โดยครองส่วนแบ่งตลาดจากช่องทางขายหลักเกินกว่าร้อยละ 60 ในปี 2560 ได้มีการปรับแนวทางการน�ำเสนอเนื้อหาที่ตรงใจกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มลูกค้าออนไลน์ โดยใช้เครื่องมือสื่อสาร แบบบูรณาการผ่านช่องทางออนไลน์แบบ 360 องศา อาทิ การใช้ Influencer สื่อจากพันธมิตรทางธุรกิจ เพื่อเป็นช่องทางในการเผยแพร่ เนื้อหา รวมถึงการปรับเปลี่ยนวิธีการสื่อสารบนช่องทางออนไลน์เพื่อให้เข้าถึงผู้บริโภค - เครื่องแต่งกายสุภาพบุรุษ ในช่วงปีที่ผ่านมาตลาดเครื่องแต่งกายชาย ลดลงประมาณร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่าน มา เนื่องจากผู้บริโภคชะลอการซื้อสินค้าเสื้อผ้าสีสันอย่างมีนัยส�ำคัญ และผู้บริโภคส่วนใหญ่ระมัดระวังเกี่ยวกับการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น ประกอบกับผู้บริโภคพิถีพิถันในการเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพมากขึ้น โดยค�ำนึงถึงนวัตกรรมใหม่ของสินค้าอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ผู้ ผลิตส่วนใหญ่ใช้กลยุทธ์ ลด แลก แจก แถม เพื่อเพิ่มยอดขายและลดสต็อกที่มีอยู่ โดยแทบไม่มีการท�ำการตลาดด้านอื่นๆ ท�ำให้ผู้ผลิต ต้องมุ่งพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตบริหารต้นทุนให้ลดลง และความคล่องตัวในการจัดการ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน และ มีงบประมาณในการท�ำกิจกรรมการตลาด เพื่อให้เกิดความได้เปรียบในระยะยาว บริษัทกลุ่มสหพัฒน์มีความได้เปรียบในการแข่งขัน โดย มีการสร้าง Portfolio ของกลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกายชาย ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายในหลากหลาย Segment ท�ำให้เกิดการกระจาย ที่ครอบคลุมการครองตลาดเครื่องแต่งกายชาย และเกิดดุลต่อรองในการจัดจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ของบริษัทกลุ่มสหพัฒน์เป็นที่รู้จักและ ยอมรับในด้านชื่อเสียงและคุณภาพ มีการพัฒนาและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ เพราะได้รับการสนับสนุนจากผู้ผลิตรายใหญ่ของประเทศ ซึ่ง เป็นบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ มีการขยายโรงงานที่สามารถรองรับการเติบโต โดยมีตั้งแต่โรงงานปั่นด้าย โรงงานฟอกย้อม โรงงานตกแต่งผ้า และโรงงานผลิตเสื้อส�ำเร็จรูป มีบุคลากรที่เข้มแข็งพร้อมที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีนโยบายการใช้ Big Data มาวิเคราะห์ข้อมูลและพฤติกรรมการซื้อของลูกค้า และการพยากรณ์ ไปข้างหน้าถึงความต้องการของลูกค้าในอนาคต แนวโน้มตลาดเครื่องแต่งกายสุภาพบุรุษ จากภาวะก�ำลังซื้อที่เคยซบเซาต่อเนื่อง แต่อุตสาหกรรมมีแนวโน้มที่จะทรงตัว หรือเติบโตได้เพราะผู้บริโภคให้ความใส่ใจในการแต่งกายมากขึ้น ขณะเดียวกันการแข่งขันมีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากจ�ำนวนคู่ แข่งขันจากต่างประเทศมากขึ้น รวมทั้งสินค้าราคาถูกจากประเทศจีนเข้ามาแข่งขันในตลาดมากขึ้น ท�ำให้คู่แข่งขันในตลาดต้องท�ำการ วิเคราะห์ถึงสภาพตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภคในแต่ละพื้นที่ มีการสร้างนวัตกรรมในมิติต่างๆ ทั้งทางด้านผลิตภัณฑ์ สื่อการตลาด รวม ถึงการค้นหาจุดแข็งของตัวสินค้าและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะท�ำให้สามารถปรับกลยุทธ์ให้ธุรกิจอยู่รอดได้ ภายใต้ การแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
25
การประกอบธุรกิจ
- สินค้าอุปโภคบริโภค สินค้าของบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ เป็นสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน แบ่งออกเป็น 4 หมวดใหญ่ คือ ผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ส่วนบุคคล และผลิตภัณฑ์เด็ก เช่น น�้ำยาล้างจาน ไลปอนเอฟ ผงซักฟอกเปา บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูปมาม่า ผลิตภัณฑ์ซิสเท็มมา และผลิตภัณฑ์โคโดโม นอกจากนี้ ยังได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้ตรงกับความต้องการ ของผู้บริโภคที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย โดยใช้กลยุทธ์การตลาด Focus Marketing ส�ำหรับการท�ำการตลาดที่แตกต่างกันใน แต่ละภูมิภาค (Localize Marketing Campaign) เพื่อให้สอดรับกับการแข่งขันในแต่ละพื้นที่ หรือพฤติกรรมของผู้บริโภคแต่ละภูมิภาค อย่างไรก็ตามสินค้าบางอย่างยังจ�ำเป็นต้องท�ำ Nationwide Campaign เป็นการท�ำตามสถานการณ์การแข่งขันที่รุนแรง สินค้าอุปโภค บริโภคในปี 2560 ยังคงมีการแข่งขันที่รุนแรง เช่น บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูปมาม่า ได้ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดและการประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ ทั้งสื่อโฆษณา กิจกรรมทั่วประเทศ และมุ่งเน้นการสื่อสารทาง Above the line ทั้งสื่อโฆษณาทาง โทรทัศน์ วิทยุ บิลบอร์ด สื่อออนไลน์ เต็มรูปแบบ รวมไปถึงกิจกรรม ณ จุดขาย รวมทั้งได้มีการจัดรายการโปรโมชั่นที่ห้างโมเดินเทรด นอกจากนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูป แบบบรรจุภัณฑ์ให้ดูทันสมัยมากขึ้น รวมไปถึงได้มีการใช้ Presenter โฆษณาสินค้าในแต่รสชาติ รวมทั้งได้ออกสินค้ารสชาติใหม่ คือ รสชาติกะเพราแซบแห้ง เพื่อกระตุ้นการเติบโตและสร้างความหลากหลาย และมีแผนที่จะพัฒนารสชาติใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเน้น ที่ตลาดแบบพรีเมี่ยม เพื่อกระตุ้นยอดขายและเป็นทางเลือกให้กับผู้บริโภค เศรษฐกิจไทยปี 2560 ขยายตัวร้อยละ 3.9 โดยมูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 9.7 การบริโภคภาคเอกชน และ การลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 3.2 และร้อยละ 0.3 ตามล�ำดับ เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับเศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวอยู่ในเกณฑ์ดี อย่างไร ก็ตามแม้เศรษฐกิจโลกในภาพรวมจะดีขึ้น คณะกรรมการบริษัทยังคงค�ำนึงถึงปัจจัยที่ท้าทายต่างๆ และการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง จึงได้มีการด�ำเนินการอย่างระมัดระวัง โดยมีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ ปี 2560 เป็นปีแห่งการเริม่ ต้นการเปลีย่ นแปลงของบริษทั เพือ่ เตรียมพร้อมสูก่ ารแข่งขันทีเ่ พิม่ มากขึน้ การเปลีย่ นแปลงที่ รวดเร็ว และการพัฒนาของเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทีอ่ าจเข้ามาทดแทนรูปแบบธุรกิจปัจจุบนั ผ่านพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคทีม่ ที างเลือกมากขึน้ และ ซับซ้อนขึน้ บริษทั ฯ ในฐานะบริษทั Holding ของกลุม่ สหพัฒน์ ได้เริม่ จากการปรับโครงสร้างการถือหุน้ ในกลุม่ ธุรกิจอาหาร ด้วยวิธรี บั โอน กิจการทัง้ หมด (Entire Business Transfer) จากบริษทั เพรซิเดนท์โฮลดิง้ จ�ำกัด รวมถึงการท�ำค�ำเสนอซือ้ หลักทรัพย์ทงั้ หมด (Tender Offer) ของบริษทั เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักซ์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั เพรซิเดนท์เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) โดยมีมลู ค่าธุรกรรมทัง้ สิน้ กว่า 8,000 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้จัดหาเงินทุนส่วนหนึ่ง โดยใช้เครื่องมือทางการเงินผ่านการออกหุ้นกู้แปลงสภาพเสนอขายต่อผู้ถือหุ้นเดิม แทนการออกหุน้ เพิม่ ทุน สามารถชะลอผลกระทบทีม่ ตี อ่ ผูถ้ อื หุน้ (Dilution Effect) และลดต้นทุนการกูย้ มื ด้วยอัตราดอกเบีย้ หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ ทีต่ ำ�่ กว่าหุน้ กูป้ กติ และบริษทั ฯ ยังคงได้รบั การจัดอันดับเครดิตองค์กรทีร่ ะดับ AA แนวโน้มอันดับเครดิตคงที่ โดยบริษทั ทริสเรทติง้ จ�ำกัด ส�ำหรับผลประกอบการปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้ 6,733 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 47.2 มีก�ำไรสุทธิ 3,171 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 86.8 ซึง่ ส่วนหนึง่ เป็นผลจากรายการพิเศษจากการท�ำธุรกรรมดังกล่าวข้างต้น ผลการด�ำเนินงานทีด่ ขี นึ้ ของธุรกิจทีบ่ ริษทั ฯ ได้ลงทุน เมื่อพิจารณาผลการด�ำเนินงาน ฐานะการเงินและสภาวะแวดล้อมต่างๆ คณะกรรมการบริษัทจึงมีมติเสนอที่ประชุมสามัญผู้ถือ หุ้นประจ�ำปี 2561 เพื่อพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี 2560 ในอัตราหุ้นละ 0.65 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 44.4 จากความร่วมมือและการสนับสนุนของทุกภาคส่วน ส่งผลให้ในปี 2560 บริษัทฯ ได้รับรางวัลระดับนานาชาติ Best Thailand Deal of the Year 2017 จาก นิตยสาร Finance Asia และรางวัล Best Bond Awards 2017 ประเภท Most Innovative Deal จากสมาคมตลาด ตราสารหนี้ไทย อีกทัง้ ผลการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียนไทยอยู่ในระดับ “ดีมาก” และผลประเมินคุณภาพการประชุม ผู้ถือหุ้นสามัญ อยู่ในระดับ “ดีเลิศ” โดยบริษัทฯ ได้เต็ม 100 คะแนน เป็นปีที่ 9 ติดต่อกัน ปี 2561 ยังคงเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลง และมีความท้าทาย โดยบริษัทฯ ได้เตรียมแผนด�ำเนินการต่างๆ อาทิเช่น การประยุกต์ใช้ Big Data ในการวิเคราะห์ข้อมูล การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ การบริหารสินทรัพย์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึง การเตรียมความพร้อมรองรับกระแสเงินลงทุนในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกตามแผนยุทธศาสตร์ ไทยแลนด์ 4.0 2.1.3 การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ ส�ำหรับธุรกิจการลงทุนในหุน้ บริษทั ต่างๆ บริษทั ฯ จะลงทุนในธุรกิจทีต่ อ่ เนือ่ งหรือเสริมกับธุรกิจเดิม รวมทัง้ ลงทุนในธุรกิจ ใหม่ที่คาดว่าจะให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าต่อการลงทุน มีการสรรหาผู้ร่วมลงทุนที่มีศักยภาพ มีเทคโนโลยี ใหม่ๆ และมีประสิทธิภาพในการ ด�ำเนินงาน โดยได้รับการแนะน�ำและชักชวนจากผู้ร่วมลงทุนเดิมหรือสถาบันการเงินต่างๆ รวมทั้งกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ หากมีการร่วมลงทุนและต้องการเข้ามาอยู่ในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ของบริษัท บริษัทฯ จะให้ความช่วยเหลือ และให้ค�ำแนะน�ำในด้านการจัดตั้ง การจัดหาสถานที่ การขออนุญาตต่างๆ จากทางราชการ เพื่อให้การด�ำเนินการบรรลุตามเป้าหมายที่
26
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
ก�ำหนดไว้ โดยในด้านสถานที่ บริษัทฯ มีที่ดินและอาคารในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ถึง 4 แห่ง ที่พร้อมให้เช่าหรือขาย รวมทั้งมี อาคาร โรงงานส�ำเร็จรูป ให้เช่า ที่ต�ำบลแม่กาษา อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เพื่อใช้ประกอบกิจการในราคาที่เอื้อประโยชน์ต่อผู้ลงทุน ท�ำให้สามารถด�ำเนินการผลิตสินค้าและสร้างผลก�ำไรได้ในเวลาที่รวดเร็ว 2.1.4 งานที่ยังไม่ได้ส่งมอบ - ไม่มี -
2.2 ธุรกิจการให้เช่าและบริการ 2.2.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการ ธุรกิจการให้เช่าและบริการเป็นธุรกิจที่บริษัทฯ เป็นผู้ด�ำเนินการเอง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อรองรับการขยายตัวและเพิ่ม ศักยภาพในด้านการแข่งขันให้กับบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ สามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้ (1) การให้เช่าและบริการ ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ที่เปิดด�ำเนินการแล้ว บริษัทฯ มีการให้เช่าที่ดิน อาคาร บริการ ระบบ สาธารณูปโภคพื้นฐาน สิ่งอ�ำนวยความสะดวกและบ�ำรุงรักษา เช่น บริการบ�ำบัดน�้ำเสีย เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ขยายธุรกิจให้ เช่าและบริการไปที่ J-Park ต�ำบลสุรศักดิ์ อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี รวมทั้ง มีการพัฒนาธุรกิจการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ ประเภท อาคารส�ำนักงาน ซึง่ มีการออกแบบอาคารตามความต้องการของลูกค้า โดยได้รบั ค่าตอบแทนในรูปค่าเช่ารับและค่าบริการสาธารณูปโภค รับนัน้ ๆ ตลอดจนได้รบั ใบอนุญาตจ�ำหน่ายไฟฟ้า และใบอนุญาตระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา เพือ่ ให้บริการแก่ลูกค้าที่อยู่ในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา โดยได้รับค่าตอบแทนในรูปค่าไฟฟ้าและไอน�้ำรับ ในปี 2560 มี บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด ได้เช่าที่ดินที่ต�ำบลแม่กาษา อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ส�ำหรับสร้างโรงงาน เพื่อผลิตสินค้าภายในกลุ่มธนูลักษณ์ รวมผู้เช่าที่ดินและอาคารทั้งสิ้น 159 ราย ผู้ใช้บริการไฟฟ้าจ�ำนวน 97 ราย และไอน�้ำจ�ำนวน 25 ราย (2) การให้ค�ำปรึกษาและบริการ บริษทั ฯ ให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำ วางแผนด้านธุรกิจ การจัดการ และการด�ำเนินโครงการใหม่ๆ แก่บริษทั กลุม่ สหพัฒน์ โดยบริษทั ฯ จะได้รบั ค่าตอบแทนในรูปของค่าทีป่ รึกษาธุรกิจรับและค่าบริการรับ ในปี 2560 มีผใู้ ช้บริการจ�ำนวน 87 ราย (3) บริการด้านเครื่องหมายการค้า บริษทั ฯ ให้บริการด้านเครือ่ งหมายการค้าแก่บริษทั กลุม่ สหพัฒน์ โดยเครือ่ งหมายการค้า แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ - เครือ่ งหมายการค้าต่างประเทศ บริษทั ฯ เป็นผูไ้ ด้รบั สิทธิเครือ่ งหมายการค้าของผลิตภัณฑ์ทมี่ ชี อื่ เสียงในต่างประเทศ และได้ทำ� สัญญายินยอมให้บริษทั กลุม่ สหพัฒน์ใช้เครือ่ งหมายการค้าดังกล่าว เพือ่ ท�ำการผลิตและจ�ำหน่ายสินค้าภายใต้เครือ่ งหมายการค้านัน้ ๆ เช่น Guy Laroche, ELLE, Absorba โดยบริษทั ฯ จะได้รบั ค่าตอบแทนในรูปของค่าลิขสิทธิร์ บั ในปี 2560 มีผใู้ ช้บริการจ�ำนวน 12 ราย - เครือ่ งหมายการค้าในประเทศ บริษทั ฯ เป็นเจ้าของและจดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้าต่อกรม ทรัพย์สนิ ทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ตามประเภทของผลิตภัณฑ์ และได้ท�ำสัญญายินยอมให้บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ใช้เครื่องหมายการค้าดังกล่าว เพื่อท�ำการ ผลิตและจ�ำหน่ายสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้านั้นๆ เช่น กุลสตรี Rain Flower และ Homecare เป็นต้น โดยได้รับค่าตอบแทนในรูป เครื่องหมายการค้ารับ ในปี 2560 มีผู้ใช้บริการจ�ำนวน 3 ราย (4) บริการด้านธุรกิจสนามกอล์ฟ และโรงแรม อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี บริษทั ฯ เปิดให้บริการสนามกอล์ฟกบินทร์บรุ ี สปอร์ตคลับ ขนาดมาตรฐาน 18 หลุม พร้อมโรงแรมทีพ่ กั ทีต่ ำ� บล วังดาล อ�ำเภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี ซึง่ เป็นทีพ่ กั แห่งเดียวในจังหวัดปราจีนบุรี ทีต่ งั้ อยูภ่ ายในสนามกอล์ฟ โดยได้รบั ค่าตอบแทน ในรูปค่าธรรมเนียมการใช้สนามกอล์ฟ ค่าอาหาร ค่าเครือ่ งดืม่ และค่าห้องพัก อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน บริษทั ฯ เปิดให้บริการสนามกอล์ฟหริภญุ ชัยกอล์ฟคลับ ขนาด 9 หลุม ตัง้ อยูภ่ ายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน โดยได้รบั ค่าตอบแทนในรูปค่าธรรมเนียมการใช้สนามกอล์ฟ ค่าอาหาร และค่าเครือ่ งดืม่
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
27
การประกอบธุรกิจ
2.2.2 การตลาดและการแข่งขัน การตลาด บริษทั ฯ ได้ทำ� การตลาดทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยด้านตลาดต่างประเทศ บริษทั ฯ ได้ชกั ชวนกลุม่ นัก ลงทุนจากต่างประเทศ ให้เข้ามาลงทุนในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ของบริษทั นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้ให้ขอ้ มูลไว้กบั ส�ำนักงานคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) โดยบริษทั ฯ ได้จดั หาผูม้ ปี ระสบการณ์ ผูช้ ำ� นาญการ และ ทีป่ รึกษา ทีม่ คี วามรู้ ความสามารถในด้านต่างๆ ไว้ เพือ่ คอยให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำ แก่ลกู ค้าตลอดเวลา บริษทั ฯ ได้จดั เตรียมทีด่ นิ และอาคารส�ำเร็จรูป ไว้รองรับผูป้ ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในสวน อุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บรุ ี ล�ำพูน และแม่สอด โดยผูเ้ ช่าสามารถประกอบกิจการได้ทนั ที ส�ำหรับการให้บริการด้าน สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน บริษทั ฯ จะเน้นในด้านความพร้อมและความเพียงพอในการให้บริการ เช่น มีระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีม่ คี ณุ ภาพ บริการจัด เก็บ และก�ำจัดขยะมูลฝอย และได้นำ� ระบบ ISO 9001:2008 ซึง่ เป็นระบบบริหารงานคุณภาพด้านการพัฒนาทีด่ นิ และบริการสาธารณูปโภค พืน้ ฐานมาใช้ และปรับปรุงระบบการบริหารงานคุณภาพมาอย่างต่อเนือ่ ง ปัจจุบนั การทีจ่ ะเพิม่ การให้เช่าและบริการได้ แนวโน้มตลาดมุง่ เน้น การสร้างภาพลักษณ์ทดี่ ี โดยการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม ซึง่ ก�ำลังกลายเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดทีส่ ำ� คัญ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมโครงการเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม เพือ่ ยกระดับการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยมีกรอบแนวทางในการด�ำเนินงานในด้านการบริหารจัดการ ด้านกายภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิง่ แวดล้อม ซึง่ ได้รบั การตอบรับ และสนับสนุนจากผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียเป็นอย่างดี และเข้ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพือ่ ให้อตุ สาหกรรมและชุมชน อยูร่ ว่ มกันอย่างเป็นสุขและยัง่ ยืน เป็นการเพิม่ ศักยภาพทางด้านการตลาด สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ลูกค้าต่อบริการของบริษทั ตลอดจนสร้าง แรงจูงใจให้กบั นักธุรกิจรายใหม่ ในการตัดสินใจลงทุนภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ และบริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการพัฒนาและปรับปรุงด้าน สิง่ แวดล้อมภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์อย่างต่อเนือ่ ง ด้วยการรับรองระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001:2015 ของระบบ Central Wastewater Treatment จากส�ำนักรับรองระบบคุณภาพ (สรร.) สังกัดสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว) ส�ำหรับสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ปัจจุบนั มีพนื้ ทีค่ อ่ นข้างจ�ำกัด บริษทั ฯ จึงมุง่ เน้นการให้เช่าพืน้ ที่ อาคาร ส�ำเร็จรูป หรืออาคารเก็บสินค้า เนือ่ งจากพืน้ ทีอ่ ยู่ใกล้ทา่ เรือแหลมฉบัง การแข่งขัน ในด้านธุรกิจการให้เช่าและบริการ ส่วนใหญ่เป็นการให้เช่าและบริการแก่บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ จึงไม่ประสบ ปัญหาด้านการแข่งขันมากนัก และหากเป็นบุคคลภายนอก บริษัทฯ จะคัดเลือกบริษัทที่ประกอบธุรกิจที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ด้านการให้เช่า บริษัทฯ ค�ำนึงถึงความเหมาะสมในการจัดพื้นที่อาคารและที่ดิน ส�ำหรับนักธุรกิจที่จะมาลงทุนในสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ทั้งรายใหญ่ และรายย่อย เมื่อเปรียบเทียบอัตราค่าเช่า อาคาร โรงงานภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กับ เขตอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียง สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์มีอัตราค่าเช่าพื้นที่ต่อตารางเมตรต�่ำกว่า ส่วนด้านการให้บริการ บริษัทฯ มีการพัฒนาและปรับปรุงด้านบริการและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ลูกค้าเกิดความเชื่อมั่น ในการอยู่ในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ของบริษัท นอกจากนี้ ส�ำหรับสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มีการให้บริการ ด้านกระแสไฟฟ้า คู่แข่งจะมีแต่เฉพาะการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเท่านั้น บริษัทฯ เป็นผู้ได้รับใบอนุญาตจ�ำหน่ายไฟฟ้าด้วย ย่อมมีความ มั่นคงของระบบการจ่ายกระแสไฟฟ้า ความสะดวกและความรวดเร็วในการให้บริการ ส่วนการให้บริการไอน�้ำ ของสวนอุตสาหกรรมเครือ สหพัฒน์ ศรีราชานัน้ เนือ่ งจากทีผ่ า่ นมาต้นทุนไอน�ำ้ ของลูกค้าทีซ่ อื้ จากบริษทั ฯ ยังต�ำ่ กว่าต้นทุนการผลิตไอน�ำ้ ทีล่ กู ค้าผลิตใช้เอง บริษทั ฯ จึงไม่ประสบปัญหาด้านการแข่งขัน อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี และล�ำพูน ไม่มีโรงไฟฟ้าตั้งอยู่ ภายในพื้นที่สวนอุตสาหกรรม แต่ยังคงมีการให้บริการด้านกระแสไฟฟ้า ผ่านการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งมีสถานีไฟฟ้าย่อย (Substation) ตั้งอยู่ภายในพื้นที่ และมีปริมาณเพียงพอที่จะรองรับผู้ประกอบการภายในสวนอุตสาหกรรม นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดพื้นที่ภายใน สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน เป็นพื้นที่สันทนาการให้กับพนักงาน และประชาชนทั่วไป โดยเปิดให้บริการสนามแบดมินตัน และสนามฟุตซอล ภายใต้ชื่อ Saha Sport Arena ส�ำหรับออกก�ำลังกาย จากสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น ถือเป็นส่วนหนึ่งในการจูงใจให้ผู้ประกอบการสนใจมาเช่าพื้นที่ใน สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ นอกจากนี้ บริษทั ฯ เปิดให้เช่าพืน้ ที่ J-Park Sriracha Nihon Mura ซึง่ เป็นธุรกิจ Shopping Mall บนเนือ้ ที่ 22-1-14 ไร่ ในแถบชายฝัง่ ทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard) ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลสุรศักดิ์ อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วสไตล์ญปี่ นุ่ ทีไ่ ด้รบั ความนิยมจากชาวญีป่ นุ่ จ�ำนวนมาก ผูบ้ ริหารมีแนวคิดการออกแบบเพือ่ เป็นศูนย์สง่ เสริมและแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมไทย-ญีป่ นุ่ โดย เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการเชือ่ มความ สัมพันธ์ระหว่างคนไทยและคนญีป่ นุ่ ตัวอาคาร สถานที่ ออกแบบให้เป็นเหมือนเมืองญีป่ นุ่ สมัย
28
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
ดัง้ เดิม (สมัยเอโดะ) จุดเด่นอีกอย่างหนึง่ คือ ทีต่ งั้ อยู่ใจกลางแหล่งชุมชน หมูบ่ า้ นจัดสรรและโรงเรียน ในส่วนของบริษทั มีการออกแบบพืน้ ที่ การให้บริการระหว่าง 2 ฝัง่ ถนนแบบครบวงจร ซึง่ ประกอบไปด้วย โรงเรียนอนุบาล Oisca Japanese Kindergarten โครงการ HarmoniQ Residence Sriracha ในรูปแบบเซอร์วสิ อพาร์ตเมนต์ ซึง่ ตัง้ อยูบ่ ริเวณฝัง่ ตรงข้าม J-Park Sriracha Nihon Mura นอกจากนีย้ งั มี บริษทั รักษาความปลอดภัย ไทยซีคอม จ�ำกัด ให้บริการด้านรักษาความปลอดภัย และโรงพยาบาล สมิตเิ วช ศรีราชา เป็นศูนย์รวมการให้บริการ ทางการแพทย์อย่างครบวงจรมีชอื่ เสียงในการให้บริการทางการแพทย์สำ� หรับชาวญีป่ นุ่ ในปี 2560 ได้มกี ารก่อสร้างสะพานเชือ่ มทางระหว่าง 2 ฝัง่ ถนน โดยได้เปิดให้บริการเรียบร้อยแล้ว เพือ่ เป็นการสร้างแรงดึงดูดและเพิม่ ขีดความสามารถในการรองรับนักลงทุนชาวญีป่ นุ่ ทีม่ าลงทุน ใน อ�ำเภอศรีราชา และพืน้ ทีใ่ กล้เคียง กอปรกับพืน้ ทีบ่ ริเวณดังกล่าว มีศกั ยภาพในการพัฒนาเพือ่ เป็นศูนย์กลางของชาวญีป่ นุ่ ได้อย่างเหมาะสม ส�ำหรับธุรกิจสนามกอล์ฟและโรงแรม จากการทีส่ วนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บรุ ี และล�ำพูน มีปริมาณน�ำ้ เสียทีผ่ า่ น การบ�ำบัดแล้วเป็นจ�ำนวนมาก ได้ดำ� เนินการบริหารจัดการเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรร่วมกัน และมีการสร้างโอกาสความเป็นไปได้ใน การน�ำของเสียจากอุตสาหกรรมมาใช้เป็นวัตถุดบิ ส่งผลให้เกิดดุลยภาพในมิตเิ ชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม อันจะน�ำไปสูก่ ารพัฒนาอย่าง ยัง่ ยืน ในขณะเดียวกัน เพือ่ ให้การบริหารจัดการน�ำ้ ทิง้ มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการสถานทีน่ นั ทนาการ ทีจ่ ะสร้างผลตอบแทนได้ ในระดับหนึง่ บริษทั ฯ ได้เล็งเห็นว่าธุรกิจสนามกอล์ฟในตลาดปัจจุบนั เป็นธุรกิจทีม่ กี ารขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง และเพือ่ เป็นการบริหารน�ำ้ ใช้อย่าง ยัง่ ยืน บริษทั ฯ จึงได้สร้างสนามกอล์ฟ และสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ เพือ่ เป็นการสร้างรายได้ให้แก่บริษทั ฯ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. สนามกอล์ฟ กบินทร์บุรี สปอร์ต คลับ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลวังดาล อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นสนามกอล์ฟ มาตรฐาน 18 หลุม เอกลักษณ์พิเศษของสนามกอล์ฟแห่งนี้ คือ มีความยาวของสนามที่ยาวที่สุดในประเทศไทย จากการที่มีผู้ใช้บริการ เพิ่มขึ้น บริษัทฯ จึงได้เปิดให้บริการโรงแรม ซึ่งเป็นที่พักแห่งเดียวในจังหวัดปราจีนบุรี ที่ตั้งอยู่ภายในสนามกอล์ฟ เพื่อความสะดวกของ ผู้มาใช้บริการ ปัจจุบันมีจ�ำนวนห้องพักทั้งหมด 36 ห้อง พร้อมด้วยบริการ สระว่ายน�้ำ ห้องประชุมขนาดเล็ก ห้องอาหาร เพื่อให้บริการ ลูกค้าเต็มรูปแบบ ซึ่งลูกค้าส่วนใหญ่จะเข้าใช้บริการห้องพักพร้อมกับออกรอบเล่นกอล์ฟ จึงสามารถดึงดูดและสร้างความท้าทายให้นัก กอล์ฟโดยทั่วไปมาใช้บริการ ส่งผลให้ธุรกิจสนามกอล์ฟ กบินทร์บุรี สปอร์ต คลับ ได้เปรียบผู้ประกอบการรายอื่นในเขตอุตสาหกรรมใกล้ เคียงเป็นอย่างมาก และยังเป็นที่พักของนักเรียนการบิน โรงเรียนการบิน ศรีราชา เอวิเอชั่น ซึ่งเป็นบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ที่สอนการบิน 2. สนามกอล์ฟ หริภญุ ชัย กอล์ฟ คลับ ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลเวียงยอง อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน ซึง่ เป็นการพัฒนาสนาม กอล์ฟในระยะแรกขนาด 9 หลุม เป็นรูปแบบที่ผสมผสานระหว่าง ป่าไม้เบญจพรรณ บัวน�้ำ ท้องนา เพื่อสะท้อนภาพความกลมกลืนของ ธรรมชาติกบั ชุมชน อีกทัง้ การออกแบบแต่ละหลุมนัน้ มีลกั ษณะโดดเด่นแตกต่างกัน เพือ่ เป็นการทดสอบฝีมอื รวมถึงสร้างความท้าทายความ สามารถของนักกอล์ฟ ด้วยการตีกอล์ฟข้ามหลุมที่มีการออกแบบให้มีน�้ำล้อมรอบ นอกจากนี้ นักกอล์ฟยังสามารถมองเห็นองค์พระธาตุ หริภญุ ชัย ดอยสุเทพ และดอยอินทนนท์ ซึง่ เป็นจุดเด่นทีจ่ ะเชิญชวนให้นกั กอล์ฟเข้ามาสัมผัสบรรยากาศที่โอบล้อมด้วยธรรมชาติทสี่ วยงาม พื้นที่ปกคลุมด้วยสิ่งแวดล้อมและอากาศที่ดี สร้างความประทับใจให้กับนักกอล์ฟที่มาใช้บริการ การสร้างสนามกอล์ฟทั้ง 2 แห่ง เป็นสิ่งจูงใจให้นักธุรกิจตัดสินใจมาลงทุนในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี และล�ำพูน ได้ง่ายขึ้น และยังเป็นการเพิ่มมูลค่าที่ดิน สร้างรายได้ให้กับบริษัทฯ และชุมชน 2.2.3 การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ บริษัทฯ ได้จัดที่ดินและอาคารส�ำเร็จรูปในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ รวมถึงการพัฒนาที่ดินที่อยู่ภายนอกสวน อุตสาหกรรม โดยการก่อสร้างอาคารส�ำเร็จรูปให้เช่า เช่น ส�ำนักงานให้เช่า โพลีคลินิก โรงเรียน และ J-Park Sriracha Nihon Mura โดย การให้เช่าทีด่ นิ อาคาร ร้านค้า เพือ่ รองรับนักธุรกิจทีต่ อ้ งการประกอบกิจการ พร้อมทัง้ ได้จดั เตรียมบุคลากร ทัง้ ในด้านการบัญชี ด้านการ ต่างประเทศ ด้านกฎหมาย และด้านอื่นๆ เพื่อให้บริการลูกค้าที่ประสบปัญหาและไม่สามารถที่จะแก้ปัญหาดังกล่าวได้ ส่วนในเรื่องของ ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้าของผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงจากต่างประเทศ ที่ได้รับความนิยมและมีความต้องการทั้งตลาดในประเทศและ ต่างประเทศ มีทงั้ ทีบ่ ริษทั ฯ เป็นผูต้ ดิ ต่อจัดหา และบริษทั กลุม่ สหพัฒน์จดั หามาให้ โดยบริษทั ฯ เป็นผูจ้ ดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้าหรือ จัดหาลิขสิทธิ์ เพื่อให้มีความหลากหลายในประเภทของสินค้า ซึ่งสามารถก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น ตลอดจนการสร้างเครื่องหมายการค้า ของตนเองขึ้นมาใหม่ให้เป็นที่ยอมรับของตลาดทั่วไป เพื่อลดต้นทุนในเรื่องลิขสิทธิ์ของการผลิตสินค้า บริษัทฯ ได้พัฒนาพื้นที่ว่างเปล่า ของบริษัท ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยจัดสร้างสนามกอล์ฟ และโรงแรม ซึ่งเป็นการเพิ่มธุรกิจบริการให้กับบริษัทฯ 2.2.4 งานที่ยังไม่ได้ส่งมอบ - ไม่มี-
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
29
การประกอบธุรกิจ
2.3 ธุรกิจสวนอุตสาหกรรม 2.3.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการ บริษัทฯ ได้ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรก เพื่อรองรับการขยายก�ำลังการผลิต ของโรงงานของบริษทั กลุม่ สหพัฒน์ และเป็นการสนองต่อนโยบายของรัฐบาลในการสนับสนุนการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมให้กระจายออก ไปยังส่วนภูมภิ าค เพือ่ เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมให้เจริญก้าวหน้า ควบคูก่ บั การเสริมสร้างเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม พร้อมทัง้ มีการบริหารจัดการตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ น�ำไปสูก่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืน โดยมีรายได้ในรูปของรายรับจากการขาย พื้นที่ในจังหวัดชลบุรี จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดล�ำพูน เหตุทเี่ ป็น “สวนอุตสาหกรรม” เพราะบริษทั ฯ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาสภาพแวดล้อมให้รม่ รืน่ บรรยากาศอบอุน่ ส�ำหรับทุกชีวติ ในชายคา สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ภายใต้ปรัชญา “สร้างสิง่ ทีม่ ากกว่าค�ำว่าเขตอุตสาหกรรม” ปัจจุบนั ลูกค้าของบริษทั ทีด่ ำ� เนินการอยู่ นอกจากบริษทั กลุม่ สหพัฒน์แล้ว บริษทั ฯ ยังเปิดกว้างส�ำหรับอุตสาหกรรมทีใ่ ห้ความสนใจ ดังนัน้ เพือ่ ให้ลกู ค้าเกิดความเชือ่ มัน่ ในบริการสวนอุตสาหกรรมเครือ สหพัฒน์ จึงได้นำ� ระบบ ISO 9001:2008 ซึง่ เป็นระบบบริหารงานคุณภาพด้านการพัฒนาทีด่ นิ และบริการสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน มาใช้ในสวน อุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บรุ ี และล�ำพูน โดยมีการปรับปรุงระบบการบริหารงานคุณภาพมาอย่างต่อเนือ่ ง วัตถุประสงค์ในการน�ำระบบบริหารคุณภาพมาใช้เพื่อ 1. เป็นแนวทางในการบริหารระบบคุณภาพของบริษัท 2. ควบคุมและปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการด�ำเนินการของบริษัท 3. เพิ่มพูนความพึงพอใจของลูกค้าในงานบริการของบริษัท ในปี 2553 ได้มีการทบทวนระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2008 และเห็นชอบให้น�ำด�ำริของ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ประธานเครือสหพัฒน์ “คนดี สินค้าดี สังคมดี” มาก�ำหนดเป็นนโยบายคุณภาพส�ำหรับธุรกิจบริการภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บุรี และล�ำพูน เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยนโยบายดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ คือ พนักงานของบริษัท ให้บริการลูกค้าด้วยความรวดเร็ว สุภาพ มีความรู้ คุณธรรมและจริยธรรม ระบบสาธารณูปโภคที่ให้บริการ ลูกค้ามีคณ ุ ภาพเพียงพอและพัฒนาตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนด ส่งเสริมและพัฒนาด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยสุขภาพและสิง่ แวดล้อม ของพนักงานในองค์กร และชุมชนบริเวณรอบพืน้ ทีค่ วบคูไ่ ปกับนโยบายด้านการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001:2015 ทีม่ งุ่ เน้นการบริหาร จัดการด้านสิง่ แวดล้อมอย่างเป็นระบบ รวมถึงการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมโดยรวมของสวนอุตสาหกรรมให้สวยงาม ร่วมช่วยเหลือสังคม และสันทนาการร่วมกัน โดยพนักงานทุกระดับต้องน�ำนโยบายดังกล่าวไปปฏิบัติโดยเคร่งครัด ให้ได้ประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการพัฒนาและปรับปรุงด้านสิ่งแวดล้อมภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์อย่างต่อเนื่อง ด้วยระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2015 ของระบบ Central Wastewater Treatment โดยการรับรองจากส�ำนักรับรองระบบคุณภาพ (สรร.) สังกัดสถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว) นโยบายสิง่ แวดล้อม จะสือ่ สารให้กบั พนักงานทุกระดับ โดยผ่านการฝึกอบรม และการติดประกาศภายในบริษทั ฯ ผูจ้ ดั การฝ่าย / ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่าย มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าพนักงานใต้บงั คับบัญชาทุกคน มีความเข้าใจและปฏิบตั ติ ามแนวทางของนโยบายสิง่ แวดล้อม ของบริษทั รวมถึงการเปิดเผยความมุง่ มัน่ อืน่ ๆ ในการปกป้องสิง่ แวดล้อม การป้องกันมลพิษ และความมุง่ มัน่ เฉพาะอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในบริบท องค์กรต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้มกี ารด�ำเนินการจัดการด้านพลังงาน โดยน�ำนโยบายด้านพลังงานจากผูบ้ ริหาร มาก�ำหนดเป็นนโยบายพลังงานภายใต้ขอบเขตระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลางของบริษทั เพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงานและมีการพัฒนาด้านพลังงาน อย่างต่อเนือ่ ง โดยนโยบายดังกล่าว มีวตั ถุประสงค์ทมี่ งุ่ เน้นการปรับปรุงการจัดการสมรรถนะด้านพลังงานอย่างเหมาะสม ควบคูไ่ ปกับการ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลาง โดยพนักงานทุกระดับต้องน�ำนโยบายดังกล่าวไปปฏิบตั โิ ดยเคร่งครัด เพือ่ ให้ได้ตาม เป้าหมายในการพัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลางและกระบวนการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังคงรักษาระบบมาตรฐานการ จัดการด้านพลังงาน ISO 50001:2011 ที่ได้รบั การรับรองระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลางเป็นกลุม่ อุตสาหกรรมหรือนิคมอุตสาหกรรมแห่งแรก ในประเทศไทย ซึง่ ได้รบั การรับรองระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลางจากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (MASCI) อย่างต่อเนือ่ งมาโดยตลอด มาตรฐานการจัดการต่างๆ ทีบ่ ริษทั ฯ ได้ผา่ นการรับรองนัน้ เป็นสิง่ ทีส่ ะท้อนให้เห็นว่าธุรกิจและบริการของบริษทั อยู่ในระดับ สากล สามารถด�ำเนินธุรกิจและบริการทีม่ คี ณุ ภาพสนองต่อความต้องการของลูกค้า ตามกฎหมาย และครอบคลุมผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกระดับ โดย ค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและพลังงาน รวมถึงมีการจัดการด้านชีวอนามัยและความปลอดภัยทีด่ อี กี ด้วย
30
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
พนักงานของบริษัท ถือเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง และเป็นหัวใจส�ำคัญที่เกื้อกูลให้การด�ำเนินการด้านการจัดการ พลังงานให้ประสบผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย บริษัทฯ ได้มุ่งพัฒนา เสริมสร้าง และสนับสนุนให้เกิดการสร้างความรู้ ความสามารถของ พนักงานอย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ บริษัทฯ จึงจัดให้มีการฝึกอบรมให้กับพนักงานทุกระดับ ทั้งการจัดอบรมภายในและการเข้ารับการ อบรมจากภายนอกและบริษัทฯ ยังได้ด�ำเนินการจัดการด้านพลังงาน เพื่อพัฒนาบริษัทฯ อย่างเป็นระบบ ซึ่งจะท�ำให้บริษัทฯ มีความเข้ม แข็งและขับเคลื่อนไปอย่างถูกทิศทางและได้น�ำการจัดการด้านพลังงานมาปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง อีก ทัง้ ยังเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน อันจะน�ำสูก่ ารพัฒนาคุณภาพทีต่ อ่ เนือ่ ง และเป็นการส่งเสริมการเรียนรูอ้ ย่างไร้ขดี จ�ำกัดเพือ่ มุง่ มั่นสู่การเป็นองค์กรที่พัฒนาอย่างยั่งยืน และสร้างคุณค่าสู่สังคม จากนโยบายดังกล่าว ในปี 2560 บริษทั ฯ ได้ควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้า ตามหน่วยบ�ำบัดทีม่ นี ยั ส�ำคัญ ภายในระบบ บ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลาง สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ซึง่ ได้มกี ารควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้าระหว่าง 0.87 - 1.08 เมกกะจูลต่อ ลูกบาศก์เมตร และการควบคุมการใช้ไฟฟ้าของระบบผลิตน�ำ้ ประปาระหว่าง 1.49 – 1.59 เมกกะจูลต่อลูกบาศก์เมตร โดยสามารถควบคุม การใช้พลังงานไฟฟ้าให้อยู่ในเกณฑ์ดงั กล่าวได้ และยังคงไว้ซงึ่ โครงการด้านพลังงานทีด่ ำ� เนินการไป ส่งผลให้การอนุรกั ษ์พลังงานโดยรวม ของบริษทั มีความต่อเนือ่ งและยัง่ ยืนมากยิง่ ขึน้ สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ปัจจุบันมีทั้งกลุ่มโรงงานบริษัทที่กลุ่มสหพัฒน์ร่วมลงทุน และไม่ได้ร่วมลงทุน อย่างไร ก็ตาม พื้นที่ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา เริ่มมีความหนาแน่นมากขึ้น ประกอบกับ ที่ดินมีมูลค่าสูงขึ้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงสนับสนุนนักลงทุนทีม่ เี ทคโนโลยีการผลิตขัน้ สูงเข้ามาลงทุนจัดตัง้ โรงงานภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ส�ำหรับโรงงาน ที่ต้องการขยายตัวด้านการผลิต ให้ขยายการผลิตไปยังสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี ซึ่งปัจจุบันบริษัทฯ ได้พัฒนาพื้นที่ ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี ให้เป็นพื้นที่ขาย/ให้เช่า เพื่อรองรับความต้องการของนักลงทุน นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้พัฒนาที่ดินภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน เพื่อรองรับการขยายตัวของกลุ่มโรงงานที่มีการผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง อาทิ บริษัท แพนดอร่า โพรดักชั่น จ�ำกัด ผลิตเครื่องประดับท�ำมือสัญชาติเดนมาร์ก และ บริษัท ลา ครูเซ แมนูแฟคเจอริ่ง (ไทยแลนด์) จ�ำกัด เป็นโรงงานผลิตภัณฑ์เซรามิคและเป็นศูนย์กลางการวิจัยพัฒนา ผลิต และจ�ำหน่ายเครื่องครัวและเครื่องใช้เซรามิคทุกชนิด ซึ่งได้ เปิดด�ำเนินการแล้ว
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
31
การประกอบธุรกิจ
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน
บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) SAHA PATHANA INTER-HOLDING PUBLIC COMPANY LIMITED
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ แม่สอด
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา
โครงการเครือสหพัฒน์ ราชบุรี
MASTER PLAN พื้นที่โครงการสวนอุตสาหกรรม พื้นที่โรงงานที่เปิดด�ำเนินการแล้ว พื้นที่สาธารณูปโภค พื้นที่ยังไม่มีการจอง
32
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
บริษัทฯ มีสวนอุตสาหกรรมที่ด�ำเนินการอยู่ 4 แห่ง ดังนี้ (1) สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา บริษัทฯ เริ่มด�ำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2520 โดยตั้งอยู่ในเขตเทศบาล ต�ำบลแหลมฉบัง บริเวณหมู่ที่ 11 ต�ำบลหนองขาม และ หมู่ที่ 1 ต�ำบลบึง อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ปัจจุบันมีเนื้อที่ประมาณ 1,800 ไร่ โดยมีระบบสาธารณูปโภค และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ ดังนี้ · โรงงานผลิตไฟฟ้าขนาดก�ำลังการผลิต 215 เมกะวัตต์ ที่สามารถส�ำรองไฟฟ้าได้อย่างเพียงพอตลอด 24 ชั่วโมง ด�ำเนิน การโดย บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งบริษัทฯ ได้รับใบอนุญาตจ�ำหน่ายไฟฟ้า จากส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน กระทรวงพลังงาน นอกจากนี้ ไอน�้ำที่เหลือจากการผลิตไฟฟ้าจะจ�ำหน่ายให้แก่โรงงาน ต่างๆ ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ด้วย · ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลาง ซึง่ ได้รบั เกียรติบตั รจากชมรมสภาวะแวดล้อมสยามในปี 2537 รองรับน�ำ้ เสียได้ประมาณวันละ 12,000 ลูกบาศก์เมตร · สนามบินที่ได้รับอนุญาตจากกรมการบินพลเรือน · อ่างเก็บน�้ำที่สามารถส�ำรองน�้ำดิบได้จ�ำนวน 850,000 ลูกบาศก์เมตร · ระบบผลิตน�้ำประปาที่มีก�ำลังการผลิต 20,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน · สวนพักผ่อน · ส่วนบริการเสริมธุรกิจซึ่งเป็นศูนย์จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์กลุ่มสหพัฒน์ด�ำเนินการโดย บริษัท กบินทร์พัฒนกิจ จ�ำกัด
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
33
การประกอบธุรกิจ
(2) สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี บริษทั ฯ เริม่ ด�ำเนินการเมือ่ ปี 2532 โดยตัง้ อยู่ในเขตพืน้ ทีต่ ำ� บลนนทรี และต�ำบลวังดาล อ�ำเภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี ปัจจุบนั มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 3,900 ไร่ โดยมีระบบสาธารณูปโภคและสิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ดังนี้ · อ่างเก็บน�้ำที่สามารถส�ำรองน�้ำดิบได้จ�ำนวน 1,000,000 ลูกบาศก์เมตร · ระบบผลิตน�้ำประปาที่มีก�ำลังการผลิต 6,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน · สถานีไฟฟ้าย่อยของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคขนาด 50 x 2 เมกะวัตต์ · ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลาง สามารถบ�ำบัดน�้ำเสียได้วันละ 16,000 ลูกบาศก์เมตร · สนามบินที่ได้รับอนุญาตจากกรมการบินพลเรือน · เตาเผามูลฝอยขนาด 100 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ได้รับอนุญาตจากกระทรวงอุตสาหกรรม
34
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
(3) สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน บริษทั ฯ เริม่ ด�ำเนินการเมือ่ ปี 2532 โดยตัง้ อยูใ่ นเขตพืน้ ทีต่ ำ� บลป่าสักและต�ำบลเวียงยอง อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน ปัจจุบนั มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 2,200 ไร่ โดยมีระบบสาธารณูปโภค และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ดังนี้ · อ่างเก็บน�้ำที่สามารถส�ำรองน�้ำดิบได้จ�ำนวน 1,000,000 ลูกบาศก์เมตร · ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ซึ่งสามารถบ�ำบัดน�้ำเสียได้วันละ 6,500 ลูกบาศก์เมตร · สถานีไฟฟ้าย่อยของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ขนาด 50 x 2 เมกะวัตต์ · สนามบิน ที่ได้รับอนุญาตจากกรมการบินพลเรือน · เตาเผามูลฝอยขนาด 50 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ได้รับอนุญาตจากกระทรวงอุตสาหกรรม · ระบบน�ำ้ อุปโภคและบริโภคจากบ่อบาดาล โดยมีอตั ราการสูบขึน้ มาใช้ประโยชน์ได้ ประมาณวันละ 4,000 ลูกบาศก์เมตร · ระบบน�้ำอุปโภคและบริโภคจากระบบผลิตน�้ำประปาวันละ 1,100 ลูกบาศก์เมตร
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
35
การประกอบธุรกิจ
(4) สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ แม่สอด บริษทั ฯ เริม่ ด�ำเนินการเมือ่ ปี 2551 โดยตัง้ อยู่ในเขตพืน้ ที่ ต�ำบลแม่กาษา อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ปัจจุบนั มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 255 ไร่ โดยมีระบบสาธารณูปโภค และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ดังนี้ · อ่างเก็บน�้ำที่สามารถส�ำรองน�้ำดิบได้จ�ำนวน 55,000 ลูกบาศก์เมตร · ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ซึ่งสามารถบ�ำบัดน�้ำเสียได้วันละ 400 ลูกบาศก์เมตร · สถานีไฟฟ้าย่อยของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค แม่สอด 2 (อยู่ภายนอกโครงการ) ขนาด 25 เมกะวัตต์ และแม่สอด 1 ขนาด 50 เมกะวัตต์ รวม 75 เมกะวัตต์ · ระบบน�้ำอุปโภคและบริโภคจากบ่อบาดาลโดยมีอัตราการสูบขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ ประมาณวันละ 120 ลูกบาศก์เมตร · ระบบน�้ำอุปโภคและบริโภคจากระบบผลิตน�้ำประปาวันละ 600 ลูกบาศก์เมตร
36
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
2.3.2 การตลาดและการแข่งขัน การตลาด บริษทั ฯ ด�ำเนินการพัฒนาสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ โดยเริม่ ตัง้ แต่การคัดเลือกท�ำเลทีต่ งั้ ทีเ่ หมาะสม การ ออกแบบและวางผังโครงการ การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคให้เพียงพอ การจัดให้มสี งิ่ อ�ำนวยความสะดวกและบริการทีด่ ี การควบคุมรักษาสิง่ แวดล้อมให้อยูใ่ นสภาพทีด่ ี การคัดเลือกบริษทั ทีจ่ ะเข้ามาประกอบกิจการในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ จะพิจารณาโรงงานทีไ่ ม่สง่ ผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อม หรือโรงงานทีจ่ ดั ให้มกี ารป้องกันผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมอย่างเข้มงวด และจะติดตามผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมของโรงงานต่างๆ อย่างสม�ำ่ เสมอ มีการก�ำหนดพืน้ ทีส่ ำ� หรับโรงงานประเภทต่างๆ เพือ่ ง่ายต่อการควบคุม โดยบริษทั ฯ ได้เน้นถึงการรักษาสิง่ แวดล้อมทีจ่ ะไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบหรือความเสียหายแก่ชมุ ชน ซึง่ ลูกค้าส่วนใหญ่จะได้รบั ข้อมูลของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์จากธนาคาร สถาบันการเงินที่ ลูกค้าติดต่อเป็นประจ�ำ บริษทั คูค่ า้ ของบริษทั หรือผูร้ ว่ มทุนกับบริษทั ฯ ทัง้ ในและต่างประเทศ ตลอดจนเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) และ บริษทั ฯ ยังได้ให้ขอ้ มูลของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ไว้กบั ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เพือ่ ให้นกั ลงทุนต่างชาติทสี่ นใจเข้า มาลงทุนในประเทศไทยได้รบั ข้อมูลสะดวกขึน้ การทีจ่ ะมีลกู ค้าสนใจทีจ่ ะมาอยูใ่ นสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์เพิม่ ขึน้ นอกจากคุณภาพในด้านการพัฒนาทีด่ นิ หรือบริการ แล้ว แนวโน้มตลาดมุง่ เน้นการสร้างภาพลักษณ์ทดี่ ี โดยการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม ซึง่ ก�ำลังกลายเป็นกลยุทธ์ ทางการตลาดทีส่ ำ� คัญ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมโครงการเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม เพือ่ ยกระดับการพัฒนาเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยมีกรอบแนวทางในการด�ำเนินงานในด้านการบริหารจัดการ ด้านกายภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิง่ แวดล้อม ซึง่ ได้รบั การตอบรับและสนับสนุนจากผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียเป็นอย่างดี และเข้ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพือ่ ให้อตุ สาหกรรม และชุมชนอยูร่ ว่ มกันอย่างเป็นสุขและยัง่ ยืน เป็นการเพิม่ ศักยภาพทางด้านการตลาด สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ลูกค้า ตลอดจนสร้างแรงจูงใจให้ กับนักธุรกิจรายใหม่ ในการตัดสินใจลงทุนภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ บริษทั ฯ จึงได้มกี ารพัฒนาและปรับปรุงด้านสิง่ แวดล้อมอย่างต่อ เนือ่ ง จนได้รบั การรับรองและเกียรติบตั รต่างๆ ตามรายละเอียดทีไ่ ด้เปิดเผยไว้ใน หัวข้อการเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ ำ� คัญ ส�ำหรับสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ปัจจุบันมีพื้นที่ค่อนข้างจ�ำกัด บริษัทฯ จึงมุ่งเน้นการตลาด โดยการ ขาย / เช่าที่ดิน ให้แก่กลุ่มอุตสาหกรรมที่มีเทคโนโลยีขั้นสูง และคัดเลือกโรงงานอุตสาหกรรม หรือลูกค้าที่มีเครื่องจักรที่ทันสมัย และ ลดมลพิษด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากปัจจุบันมีชุมชนอาศัยอยู่ติดกับสวนอุตสาหกรรมจ�ำนวนมาก บริษัทฯ ได้สนับสนุนให้โรงงานภายใน สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ปรับเปลี่ยนการผลิตโดยการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง แทนเครื่องจักรเดิมหรือลดการใช้แรงงาน เพื่อลดต้นทุน การผลิตและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีโรงงานบางส่วนปรับเปลี่ยนโดยการใช้เครื่องจักรที่มีเทคโนโลยีขั้นสูงแทนเครื่องจักรเดิม รวมถึงบริษัทฯ มีการศึกษาความเป็นไปได้ในการลดต้นทุน ส�ำหรับการใช้ทรัพยากร โดยริเริ่มโครงการวิจัยและพัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย และการน�ำน�ำ้ เสียกลับมาใช้ประโยชน์ ภายในสวนอุตสาหกรรมให้ได้มากทีส่ ดุ ด้วยการปรับปรุงระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียแบบ MBR (Membrane Batch Reactor) โดยใช้เมมเบรน ระดับ Micro Filtration แบบ Flat Sheet ต่อด้วยการเข้าสู่ระบบกรองด้วยเมมเบรน RO (Reverse Osmosis) เพื่อบ�ำบัดขั้นสุดท้าย และฆ่าเชื้อโรคก่อนน�ำไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ซึ่งจากผลการ ทดลองที่ผ่านมานั้น พบว่าประสิทธิภาพในการบ�ำบัดน�้ำเสียด้วยการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวนั้นค่อนข้างดี มีการก�ำจัดค่าความสกปรก (COD) และความขุ่นได้มากกว่า 90% ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นในการต่อยอดในการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุด อีกทั้ง ยังเป็นแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมให้เกิดการปรับปรุง พัฒนา และสร้างเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยยึดแนวทางการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั เป็นส�ำคัญ ทัง้ นี้ การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคถือเป็นส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นธุรกิจสวนอุตสาหกรรมให้สมบูรณ์มากยิง่ ขึน้ ซึง่ นอกจาก จะเป็นการลดต้นทุนในการใช้ทรัพยากรแล้ว ยังเป็นการลดการปล่อยมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อมอีกด้วย การแข่งขัน สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ของบริษัท ได้ด�ำเนินธุรกิจสวนอุตสาหกรรม โดยเริ่มต้นจากการจัดให้มีศูนย์ การผลิตของบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ ด้วยการตั้งสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ เพื่อรองรับการขยายตัวของบริษัทกลุ่มสหพัฒน์และบริษัท ร่วมทุน แต่ต่อมาเมื่อบริษัทฯ ได้เปิดกว้างส�ำหรับอุตสาหกรรมที่ให้ความสนใจ ท�ำให้บริษัทฯ ต้องแข่งขันกับนิคมอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่อยู่ ในพื้นที่ใกล้เคียงทั้งที่เป็นของภาครัฐบาลและเอกชน กลยุทธ์การแข่งขันทีส่ ำ� คัญ คือ การเน้นการแข่งขันด้วยคุณภาพและบริการระบบสาธารณูปโภคและสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าในปัจจุบัน และลูกค้าในอนาคตผ่านทีมขาย / ลูกค้าสัมพันธ์ ซึ่งจะประสานงานดูแลลูกค้ากับ ผู้บริหารและผู้จัดการฝ่ายต่างๆ ของบริษัท ทัง้ นี้ การให้บริการของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ในลักษณะเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service) จึงเป็นทางเลือก ใหม่ ส�ำหรับผูป้ ระกอบการทีม่ คี วามประสงค์จะแก้ปญั หาด้านต่างๆ เช่น แรงงาน สิง่ แวดล้อม หรือก�ำลังมองหาพืน้ ทีท่ มี่ คี วามพร้อมในด้านระบบ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
37
การประกอบธุรกิจ
สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน เช่น ไฟฟ้า น�ำ้ ประปา ระบบระบายน�ำ ้ และโทรคมนาคม อีกทัง้ ยังมุง่ เน้นพัฒนาธุรกิจให้เป็นเขตอุตสาหกรรมชัน้ น�ำเชิงนิเวศ (Eco Industrial Park) ทีม่ งุ่ เน้นการจัดการทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย อันได้แก่ ชุมชนรอบสวนอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรมใกล้เคียง เป็นต้น เพือ่ สร้างสังคมทีน่ า่ อยูค่ วบคูไ่ ปกับการด�ำเนินธุรกิจทีต่ อ่ เนือ่ ง Brand Positioning การก�ำหนดคุณสมบัตพิ เิ ศษของทีด่ นิ ว่ามีลกั ษณะพิเศษในการแข่งขันอย่างไร ซึง่ ในกลยุทธ์การแข่งขัน นั้น บริษัทฯ มีการน�ำเสนอความแตกต่างการเป็นผู้น�ำด้านความมั่นคงของระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน อาทิ ไฟฟ้า น�้ำประปา และ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ที่สามารถบ�ำบัดน�้ำเสียผ่านมาตรฐานกรมโรงงาน ด้วยระบบที่ใช้กระแสไฟฟ้าอย่างคุ้มค่าที่สุด ซึ่งถือเป็นแนวทางการ จัดการพลังงานอย่างยั่งยืน อีกทั้ง ท�ำเลที่ตั้งสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ยังตั้งอยู่บนพื้นที่ที่เหมาะแก่การขนส่งสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ไปยังเขตนิคมอุตสาหกรรมอื่นๆ หรือท่าเรือต่างๆ บริษทั ฯ สามารถควบคุมภาพลักษณ์ของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ โดยมีการจัดหาและคัดเลือกโรงงาน และบริษทั ทีจ่ ะ เข้ามาประกอบธุรกิจภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ราคาพืน้ ทีภ่ ายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์จงึ มีราคาสูง เพือ่ ป้องกันโรงงาน ทีไ่ ม่มคี วามสมบูรณ์และความพร้อมในทุกๆ ด้าน ดังนัน้ นักลงทุนต่างชาติยนิ ดีซอื้ ทีด่ นิ ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ เพือ่ ประกอบ ธุรกิจ ในราคาสูง เปรียบเสมือนผลิตภัณฑ์ Brand name ถึงมีราคาสูงเพียงใด ก็ยงั คงมีลกู ค้าสนใจในผลิตภัณฑ์นนั้ ๆ ส�ำหรับราคาขายทีด่ นิ ต่อไร่ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์มรี าคาทีส่ งู กว่า เมือ่ เปรียบเทียบกับพืน้ ทีเ่ ขตอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรมข้างเคียงในแต่ละ ภูมภิ าค แต่ผปู้ ระกอบการยังตัดสินใจมาลงทุนในพืน้ ทีเ่ ครือสหพัฒน์ ทัง้ นี้ เนือ่ งจากความได้เปรียบในด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน ทีม่ คี วามพร้อม และความมัน่ คงในระบบไฟฟ้า โดยภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ทกุ แห่ง เป็นทีต่ งั้ ของสถานีไฟฟ้าย่อย (Sub-Station) ของการไฟฟ้า ส่วนภูมภิ าค รวมทัง้ มีโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ และชีวมวล ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา และล�ำพูน ระบบ ส�ำรองน�ำ้ ดิบทีเ่ พียงพอ ระบบผลิตประปาทีไ่ ด้ตามมาตรฐานการประปาส่วนภูมภิ าคและระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย บริษทั ฯ ได้นำ� ระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2008 ด้านการพัฒนาทีด่ นิ และบริการสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน และระบบ การจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001:2015 ด้านระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียกลาง (Central Wastewater Treatment) มาใช้ในสวนอุตสาหกรรมเครือ สหพัฒน์ศรีราชา กบินทร์บรุ ี และล�ำพูน นอกจากนี้ ในปี 2556 สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้นำ� ระบบการจัดการด้านพลังงาน ISO 50001:2011 จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (MASCI) ขอบเขตภายใต้ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียมาใช้ เป็นกลุม่ อุตสาหกรรมหรือนิคม อุตสาหกรรมแห่งแรกในประเทศไทย อีกทัง้ ยังได้รบั การรับรองเป็นสถานประกอบการทีป่ ฏิบตั ติ ามมาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคมของ ธุรกิจไทยตามระบบการจัดการมาตรฐานแรงงานไทย (มรท. 8001-2546) และในปี 2554 ได้รบั ประกาศนียบัตรจากกระทรวงอุตสาหกรรม ในส่วนของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลาง ให้เป็นระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลางที่ได้รบั มาตรฐานโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม “ระดับเหรียญ ทอง” ภายใต้ “โครงการยกระดับผูป้ ระกอบการจัดการของเสีย” โดยสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา เป็นหนึง่ ในกลุม่ อุตสาหกรรมที่ มีศกั ยภาพ ซึง่ วางแผนทีจ่ ะพัฒนาไปสูอ่ ตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ตามโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม อีกทัง้ บริษทั ฯ ยังแสดงถึงความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดและมาตรการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้องเป็น กรอบในการปฏิบตั งิ าน รวมถึงเล็งเห็นความส�ำคัญต่อการส่งเสริมสุขภาพและอาชีวอนามัย ความปลอดภัยของผูป้ ฏิบตั งิ าน ชุมชน และ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ๆ ตลอดจนป้องกันความเสีย่ งด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม โดยมุง่ เน้นการป้องกันมลพิษ ทีแ่ หล่งก�ำเนิด รวมถึงสนับสนุน ผลักดันให้เกิดการปฏิบตั ติ ามมาตรการทีส่ วนอุตสาหกรรมได้กำ� หนดไว้อย่างจริงจัง ทัง้ นี้ สวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รบั การคัดเลือก จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกริฟฟิธ ประเทศออสเตรเลีย (Griffith University) เข้าร่วมโครงการวิจยั เรือ่ ง “การศึกษาอรรถประโยชน์จากการด�ำเนินงานด้านสุขภาพและความปลอดภัย” ในการพัฒนาโครงการอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ ซึง่ โครงการวิจยั ฯ ได้เผยแพร่สสู่ าธารณชน จุดเด่นของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ เหตุผลที่ลูกค้าเลือกประกอบกิจการในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1. ท�ำเลที่ตั้งสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ เป็นท�ำเลที่มีศักยภาพในการพัฒนา และการขยายตัวทางเศรษฐกิจสูง มีความ สะดวกและประหยัดเวลาในการขนส่งสินค้า ทั้งทางบก ทางอากาศ และทางทะเล คือ (1) ทางบก สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บุรี ล�ำพูน และแม่สอด ทั้ง 4 แห่ง ตั้งอยู่บนถนนทางหลวงสายหลัก ที่เอื้ออ�ำนวยต่อการคมนาคมขนส่งไปยังภูมิภาคต่างๆ โดย - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ตั้งอยู่ถนนสุขาภิบาล 8 เชื่อมกับทางหลวง พิเศษหมายเลข 7 (ถนนสายกรุงเทพฯ-พัทยา-ระยอง)
38
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
- สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี ตั้งอยู่ทางหลวงหมายเลข 33 (ถนนสุวรรณศร) ซึง่ เป็นเส้นทางเชือ่ มต่อไป ยังเมืองปอยเปต จังหวัดบันเตียเมียนเจย ราชอาณาจักรกัมพูชา - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ตัง้ อยูท่ างหลวงหมายเลข 116 (ถนนเลีย่ งเมือง ล�ำพูน-ป่าซาง) - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ แม่สอด ตัง้ อยูท่ างหลวงหมายเลข 105 ต�ำบลแม่กาษา (ถนนสาย อ�ำเภอแม่สอด - อ�ำเภอ แม่ระมาด จังหวัดตาก ) โดยบริเวณรอบๆ สวนอุตสาหกรรมมีความเจริญ มีสถานศึกษา ธนาคาร โรงพยาบาล และส่วนราชการที่จะอ�ำนวยความสะดวกได้ ครบถ้วน (2) ทางอากาศ - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา อยู่ห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิ เพียง 98 กิโลเมตร และสนามบินอู่ตะเภา 59 กิโลเมตร - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์กบินทร์บุรี อยูห่ า่ งจากสนามบินสุวรรณภูมิ เพียง 155 กิโลเมตร และสนามบินอู่ตะเภา 195 กิโลเมตร - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน อยูห่ า่ งจากสนามบินเชียงใหม่ เพียง 35 กิโลเมตร - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ แม่สอด อยูห่ า่ งจากสนามบินแม่สอด เพียง 12 กิโลเมตร (3) ทางทะเล - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา อยู่ห่างจากท่าเรือน�้ำลึกแหลมฉบัง เพียง 6 กิโลเมตร และเป็นท่าเรือขนส่ง ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ที่สามารถเชื่อมต่อไปยังภูมิภาค ต่างๆ 2. มีคุณภาพในการพัฒนาสวนอุตสาหกรรม และความพร้อมทางด้านระบบสาธารณูปโภค และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ ส�ำหรับรองรับการลงทุน โดยจัดให้มีการให้บริการในเรื่องการผลิตน�้ำ เพื่ออุตสาหกรรมระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลางที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ระบบรักษาความปลอดภัย ทัง้ ในยามปกติและยามมีเหตุฉกุ เฉินการดูแลรักษาภูมทิ ศั น์สภาพแวดล้อม สถานพยาบาลส่วนกลาง และร้านค้า Factory Outlet เป็นต้น 3. บริษทั ฯ มีโครงสร้างทางการเงินทีม่ นั่ คง โดยแต่ละสวนอุตสาหกรรมจะมีทดี่ นิ อาคาร โรงงานส�ำเร็จรูป (SMEs Factory) ทัง้ แบบขาย และให้เช่า ไว้พร้อมรองรับการขยายการลงทุนของผูป้ ระกอบการในกลุม่ อาเซียน 4. สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ เป็นการด�ำเนินธุรกิจบริหารงานโดยเอกชน ท�ำให้มคี วามยืดหยุน่ ในการปรับปรุง และพัฒนาการ ให้บริการได้มากกว่าการบริหารงานโดยเขตอุตสาหกรรมอืน่ ทีใ่ กล้เคียงกันและสามารถน�ำเสนอรูปแบบของการบริการทีร่ วดเร็ว ตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าได้ดี อีกทัง้ ผูบ้ ริหารยังเล็งเห็นความส�ำคัญในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ หรืออุตสาหกรรมสีเขียวอย่างต่อเนือ่ ง มุ่งเน้นการพัฒนาในทุกภาคส่วน สร้างความสมดุลทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน 5. สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บรุ ี และล�ำพูน ตัง้ อยู่ในพืน้ ทีร่ าบสูง เป็นท�ำเลทีเ่ หมาะสม และเป็นปัจจัยส�ำคัญของ นักธุรกิจในการตัดสินใจตัง้ สถานประกอบการอุตสาหกรรม ส�ำหรับสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ทีต่ งั้ อยู่ในพืน้ ทีร่ าบชายฝัง่ ทะเล ภาคตะวันออก อาจเกิดน�ำ้ หลากเข้าพืน้ ทีส่ วนอุตสาหกรรมในระยะเวลาสัน้ ๆ จากล�ำห้วยสาธารณะ หรืออ่างเก็บน�ำ ้ โดยเฉพาะในฤดูทมี่ ฝี นมาก ผิดปกติ ประเด็นปัญหาอุทกภัยทีเ่ กิดขึน้ บริษทั ฯ ได้จดั ท�ำแผนป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ฉกุ เฉินไว้พร้อมแล้ว 6. สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ทั้ง 4 แห่ง ได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษี อากร ส�ำหรับการลงทุน ถือเป็นการดึงดูดนักลงทุน ที่มีศักยภาพ และสร้างโอกาสทางธุรกิจให้กับบริษัทฯ มากขึ้น 7. สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน เป็นเขตอุตสาหกรรมรายเดียวของภาคเหนือ ที่มีการจัดสรรทรัพยากรน�้ำดิบ ภายใน พื้นที่โดยการจัดสรรที่ดินเป็นกรณีพิเศษในการสร้างอ่างเก็บน�้ำดิบที่ใหญ่ที่สุด มีความจุมากกว่า 1 ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อรองรับการ ขยายตัวของอุตสาหกรรมในอนาคต จุดด้อยของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ เป็นพืน้ ทีเ่ ตรียมพร้อมไว้สำ� หรับอุตสาหกรรมทัว่ ไป ซึง่ ยังไม่ได้มกี ารจัดตัง้ เขตปลอดภาษี อากร (Free Zone-FZ) ส�ำหรับอุตสาหกรรมที่เน้นการส่งออกเป็นหลัก เพื่อประโยชน์ด้านภาษี
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
39
การประกอบธุรกิจ
2.3.3 การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ (1) การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ บริษทั ฯ จะจัดเตรียมทีด่ นิ ในแต่ละสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ โดยมีหลักเกณฑ์ในการด�ำเนินการออกแบบและวาง ผังโครงการ ศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อม และก�ำหนดความต้องการในการขยายตัวของบริษทั กลุม่ สหพัฒน์ โดยจัดให้มรี ะบบสาธารณูปโภค อย่างครบถ้วน เพียงพอต่อความต้องการของบริษทั ทีป่ ระสงค์จะเข้ามาประกอบกิจการ ซึง่ ในการพัฒนาทีด่ นิ ดังกล่าวด�ำเนินการในลักษณะที่ จะเป็นการพัฒนาเป็นขัน้ ๆ ตามความต้องการในการใช้ประโยชน์ให้คมุ้ ค่า โดยไม่ให้เกิดการสูญเปล่าในการลงทุน (2) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ประกอบด้วย โรงงานจ�ำนวนมาก ซึ่งอาจน�ำไปสู่ปัญหาสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จึงด�ำเนินการพัฒนาก�ำหนดมาตรการ แนวทาง และวิธีการ ในการด�ำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม โดยในระยะเริ่มแรกได้มีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นมา เพื่อรับผิดชอบรวบรวมข้อมูล ทดลอง และวิจยั เพือ่ ควบคุมและป้องกัน ไม่ให้การด�ำเนินงานของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐาน ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมก�ำหนด ต่อมาเมื่อมีโรงงานมากขึ้น งานมากขึ้น จากหน่วยงานของบริษัท จึงได้แยกตัวออกมาจัดตั้งเป็น บริษทั อีสเทิรน์ ไทยคอนซัลติง้ 1992 จ�ำกัด เพือ่ ท�ำหน้าที่ในการวิจยั พัฒนาและดูแลด้านสิง่ แวดล้อมทัง้ หมดของสวนอุตสาหกรรมเครือสห พัฒน์ ทั้ง 4 แห่ง ทั้งเรื่องการบ�ำบัดน�้ำเสีย การก�ำจัดขยะมูลฝอย การจัดท�ำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม เช่น ตรวจวัดคุณภาพอากาศ และเสียง ซึ่งที่ผ่านมา ผลการตรวจวัดของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้ ในแต่ละสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ บริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลาง ด�ำเนินการพัฒนาและปรับปรุงด้านสิ่งแวดล้อมภายในสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์อย่างต่อเนื่อง ด้วยการรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2015 ของระบบ Central Wastewater Treatment จากส�ำนักรับรองระบบคุณภาพ (สรร.) สังกัดสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว) อีกทั้ง ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้ ตระหนักถึงความส�ำคัญในการจัดการน�ำ้ เสียโรงงานต้นทางก่อนทีจ่ ะเข้าสูร่ ะบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลาง เพือ่ ลดปัญหาและป้องกันผลกระทบ ร้ายแรงที่อาจจะเกิดขึ้นภายในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลาง ซึ่งเป็นหน่วยบ�ำบัดสุดท้ายก่อนปล่อยออกสู่สาธารณะ จึงได้ก�ำหนดแนวทาง ในการจัดการน�ำ้ เสียโรงงานต้นทางก่อนปล่อยเข้าสูร่ ะบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลาง โดยการเฝ้าระวังสถิตกิ ารทิง้ น�ำ้ เสียของโรงงานภายในสวน อุตสาหกรรม รวมถึงการเข้าพบโรงงานทีเ่ ป็นกลุม่ เสีย่ ง ซึง่ อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบบ�ำบัดได้ เพือ่ ติดตามผลและร่วมแก้ไขปัญหา ด้านน�้ำเสียที่เกิดขึ้นภายในโรงงานอีกด้วย นอกจากนี้ ที่ผ่านมากลุ่มอุตสาหกรรมฟอกย้อม เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีการขยายก�ำลังการ ผลิตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้คุณภาพน�้ำเสียที่ปล่อยเข้าสู่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลางไม่ผ่านมาตรฐานของสวนอุตสาหกรรม ดังนั้น เพือ่ เป็นการรักษาสมดุลทางระบบนิเวศและสิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ จึงผลักดันให้กลุม่ อุตสาหกรรมฟอกย้อมออกแบบและก่อสร้างระบบบ�ำบัด น�ำ้ เสียทีส่ ามารถรองรับน�ำ้ เสียเข้มข้นจากกลุม่ อุตสาหกรรมฟอกย้อม เพือ่ ไม่ให้เกิดผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้เข้าร่วม โครงการเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อยกระดับการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยมีกรอบแนวทาง ในการด�ำเนินงานในด้านการบริหารจัดการ ด้านกายภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้รับการตอบรับและสนับสนุน จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นอย่างดี และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อให้อุตสาหกรรมและชุมชนอยู่ร่วม กันอย่างเป็นสุขและยั่งยืน 2.3.4 งานที่ยังไม่ได้ส่งมอบ - ไม่มี -
40
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
6. ปัจจัยความเสี่ยง
ความเสี่ยงต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท สามารถจ�ำแนกได้ ดังนี้
1. ความเสี่ยงจากการลงทุน 1.1 การลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ
บริษัทฯ ร่วมลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ การลงทุนจะกระจายไปในหลายประเภทธุรกิจ เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยง มีบริษทั จ�ำนวนหนึง่ ถือหุน้ ในลักษณะไขว้กนั หรือย้อนกลับ โดยสัดส่วนการถือหุน้ ทีถ่ อื ย้อนกลับนัน้ นับเป็นสัดส่วนทีน่ อ้ ยมาก บริษทั ฯ ไม่มี อ�ำนาจควบคุมกิจการในบริษัทที่ลงทุน ทั้งนี้ การด�ำเนินการของบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ เป็นอ�ำนาจอิสระของคณะกรรมการของบริษัทนั้นๆ บริษัทฯ ก�ำหนดแผนงานประจ�ำปี ซึ่งหนึ่งในแผนงานคือ แผนงานด้านการลงทุน โดยมีหน่วยงานด้านการลงทุน ท�ำการวิเคราะห์ ติดตาม โดยพิจารณาศักยภาพในการลงทุนและจะลงทุนร่วมกันในธุรกิจที่มีศักยภาพ และเกี่ยวเนื่อง หรือเอื้อประโยชน์ ต่อกัน มีนโยบายให้บริษทั ทีร่ ว่ มลงทุนและท�ำธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับกิจการทีล่ งทุนมากทีส่ ดุ เป็นผูต้ ดิ ตามผลการด�ำเนินงานของบริษทั นัน้ ๆ เพือ่ ให้ทราบปัญหาทีเ่ กิดขึน้ และรายงานให้บริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ ในกลุม่ ทราบ เพือ่ ร่วมกันเสนอแนวทางแก้ไขให้ทนั กับสถานการณ์นนั้ ๆ บริษัทฯ ได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนในรูปของเงินปันผล แต่หากบริษัทใดมีผลขาดทุน นอกจากบริษัทฯ ไม่ได้รับเงินปันผลแล้ว ยัง ต้องบันทึกการด้อยค่าของเงินลงทุน ซึ่งมีผลกระทบต่อก�ำไรและขาดทุน ตลอดจนมูลค่าทรัพย์สินของบริษัท ปี 2560 จ�ำนวนบริษัทที่บริษัทฯ ได้ร่วมลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 158 บริษัท และมีการบันทึกผล ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน จ�ำนวน 30 บริษัท เป็นเงินทั้งสิ้น 171.07 ล้านบาท
1.2 การค�้ำประกัน
บริษัทฯ มีการค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อให้กับบริษัทที่บริษัทฯ ได้ร่วมลงทุน ทั้งบริษัทที่ตั้งขึ้นใหม่และบริษัทที่ร่วม ลงทุนเดิม ซึ่งจะพิจารณาจากความจ�ำเป็น และเป็นการค�้ำประกันตามสัดส่วนการลงทุน การค�้ำประกันมีความเสี่ยง หากบริษัทที่บริษัทฯ ค�ำ้ ประกันไม่สามารถช�ำระหนี้ให้แก่เจ้าหนีไ้ ด้ อาจมีผลกระทบต่อบริษทั ฯ ทีต่ อ้ งไปร่วมรับผิดชอบ และหากบริษทั ดังกล่าวมีผลการด�ำเนินงาน ที่ขาดทุน บริษัทฯ ต้องบันทึกผลขาดทุนจากภาระค�้ำประกัน ส่งผลต่อการด�ำเนินงานของบริษัท โดยบริษัทฯ มอบหมายให้หน่วยงาน ด้านการลงทุน ท�ำการวิเคราะห์ ติดตามผลการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบถึงฐานะและความสามารถในการช�ำระคืนเงินกู้ ซึ่งจะเป็นการลดความเสี่ยงในการค�้ำประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีวงเงินค�ำ้ ประกันสินเชือ่ จ�ำนวน 12 บริษทั วงเงินรวมประมาณ 850.53 ล้านบาท ยอดใช้ไปรวมประมาณ 689.23 ล้านบาท ในปีทผี่ า่ นมา มีการค�ำ้ ประกันวงเงินสินเชือ่ เพิม่ 4 บริษทั คือ บริษทั สหพัฒน์เรียลเอสเตท จ�ำกัด บริษทั เอ เทค เท็กซ์ไทล์ จ�ำกัด บริษทั โตโยโบะ สห เซฟตี้ วีฟ จ�ำกัด และ PT Dynic Textile Prestige
1.3 ความเสี่ยงด้านการเงิน
บริษัทฯ มีการด�ำเนินธุรกิจการลงทุนในหุ้นในบริษัทต่างๆ ธุรกิจการให้เช่าและบริการ และธุรกิจสวนอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นการลงทุนระยะยาว เพื่อป้องกันความเสี่ยง รวมถึงให้บริษัทฯ มีศักยภาพเพียงพอในการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดแผน ในการจัดหาแหล่งเงินทุนและเครื่องมือทางการเงินในการระดมทุนที่เหมาะสมและพอเพียง เพื่อให้ต้นทุนทางการเงินและอัตราส่วน หนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ อยู่ในระดับทีเ่ หมาะสม สามารถด�ำรงสภาพคล่องในการขยายธุรกิจ และมีการใช้นโยบายการเงินอย่างระมัดระวัง เพื่อให้ได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม และเกิดความเชื่อมั่นว่า มีการบริหารจัดการความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้ความเสี่ยงที่ยอมรับได้และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยมีการพิจารณาเรื่อง ความผันผวนของ อัตราดอกเบี้ย ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน และสภาพคล่อง
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
41
การประกอบธุรกิจ
2. ความเสี่ยงจากการให้เช่าและบริการ
2.1 การให้เช่าและบริการ
2.2 การไม่ได้รับการต่ออายุลิขสิทธิ์เครื่องหมายการค้า
บริษทั ฯ มีรายได้จากการให้เช่าและบริการสาธารณูปโภคภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ บริษทั ฯ จ�ำเป็นต้อง จัดเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ทั้งในด้านอาคารส�ำนักงาน โรงงาน และระบบสาธารณูปโภค เพื่อให้ครอบคลุมการบริการต่อลูกค้าที่ จะมาด�ำเนินกิจการในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ หากทรัพย์สินดังกล่าวเกิดความเสียหาย บริษัทฯ จะได้รับผลกระทบในด้านรายได้ ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีมาตรการในการป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากทรัพย์สิน โดยการท�ำประกันวินาศภัย เพื่อลดและกระจาย ความเสี่ยงต่อทรัพย์สินดังกล่าว วงเงินจ�ำนวน 1,971,610,450.- บาท ปี 2560 บริษทั ฯ มีรายได้จากการให้เช่า จ�ำนวน 186,308,656.12 บาท และมีรายได้จากบริการสาธารณูปโภค จ�ำนวน 2,060,916,018.73 บาท บริษัทฯ เป็นผู้ได้รับสิทธิเครื่องหมายการค้าของผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงในต่างประเทศ และได้ท�ำสัญญายินยอมให้ บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ใช้เครื่องหมายการค้าดังกล่าว เพื่อท�ำการผลิตและจ�ำหน่าย ภายใต้เครื่องหมายการค้านั้นๆ โดยบริษัทฯ จะได้รับค่า ตอบแทนในรูปของค่าลิขสิทธิร์ บั หากบริษทั ฯ ไม่ได้รบั การต่ออายุลขิ สิทธิเ์ ครือ่ งหมายการค้า จะท�ำให้บริษทั ฯ สูญเสียรายได้คา่ ลิขสิทธิร์ บั เพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยงในเรื่องดังกล่าว บริษัทฯ ได้มีการท�ำสัญญากับผู้ให้ลิขสิทธิ์เป็นสัญญาระยะยาว และด�ำเนินการภายใต้ข้อ ตกลงและข้อก�ำหนดต่างๆ ที่ระบุไว้ในสัญญาอย่างเคร่งครัด ส�ำหรับค่าลิขสิทธิ์รับ เป็นรายได้ที่ไม่มีนัยส�ำคัญต่อรายได้รวมของบริษัท
3. ความเสี่ยงในธุรกิจสวนอุตสาหกรรม 3.1 ด้านความพร้อมด้านสาธารณูปโภค
บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาสวนอุตสาหกรรม ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพในการพัฒนามาอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงเป็น เขตอุตสาหกรรมที่ได้รับสิทธิประโยชน์เพื่อส่งเสริมการลงทุนจากหน่วยงานต่างๆ ส่งผลให้นักลงทุนเข้ามาลงทุนภายในสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ ทั้ง 4 แห่ง เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งอาจจะส่งผลให้บริษัทฯ เผชิญความเสี่ยงในด้านความเพียงพอของระบบสาธารณูปโภค บริษัทฯ จึงได้พัฒนาที่ดินพร้อมระบบสาธาณูปโภคต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ได้แก่ ระบบถนน ระบบระบายน�้ำฝน ระบบน�้ำประปา ระบบระบายน�ำ้ เสีย ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ระบบไฟฟ้า และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกอืน่ ๆ อีกทัง้ ยังมีการจัดให้มบี ริการระบบสาธารณูปการอืน่ ๆ เพิ่มเติม ได้แก่ การจัดระบบอ�ำนวยความสะดวกในการติดต่อหน่วยงานราชการ สถานพยาบาล สถานที่พักผ่อนภายในสวนอุตสาหกรรม พื้นที่สีเขียว เพื่อรองรับผู้ประกอบการ บริษัทฯ ได้ประเมิน และวิเคราะห์ผลกระทบต่อการด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อป้องกัน หรือลด ผลกระทบจากปัจจัยดังกล่าว ให้เหลือน้อยที่สุด โดยการประเมินปริมาณความต้องการการใช้ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ให้สอดคล้อง กับประมาณการใช้งานในปัจจุบัน ซึ่งจากการวิเคราะห์พบว่า ปัจจุบันระบบสาธารณูปโภคมีการใช้งานไปประมาณร้อยละ 50 ของ ปริมาณรองรับสูงสุด ซึ่งเพียงพอต่อการใช้งานของผู้ประกอบการ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังได้น�ำระบบมาตรฐานสากล ISO 9001 : 2008 ISO 50001:2011 และ ISO 14001:2015 ส�ำหรับควบคุมการด�ำเนินงานด้านสาธารณูปโภคต่างๆ ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ และให้ความส�ำคัญกับความพึงพอใจของผู้ประกอบการเป็นส�ำคัญ รวมถึงเพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น โดยก�ำหนดเป็น แผนงานเพือ่ รองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมในอนาคต อาทิ การวางแผนการส�ำรองน�ำ้ ดิบ การก�ำหนดแผนการบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกัน ระบบระบายน�ำ้ ฝน ระบบประปา ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ระบบการจ�ำหน่ายไฟฟ้า เป็นต้น ซึง่ จะท�ำให้ผปู้ ระกอบการมัน่ ใจได้วา่ บริษทั ฯ มีความ พร้อมในด้านสาธารณูปโภคเพื่อรองรับนักลงทุนที่จะเข้ามาลงทุนภายในพื้นที่
3.2 ด้านสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาติ 3.2.1 ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ เป็นผู้ประกอบการธุรกิจสวนอุตสาหกรรม ตระหนักดีถึงปัญหาด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม โดยได้ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ เกี่ยวกับผลกระทบต่ออาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม โดย บริษทั ฯ ได้มกี ารจัดท�ำรายงานผลการปฏิบตั ติ ามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม (EIA) เสนอต่อส�ำนักนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีการติดตาม เฝ้าระวังความเสี่ยงที่อาจ เกิดขึ้น เพื่อให้สถานประกอบการต่างๆ ที่อยู่ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ปราศจากปัญหาด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น การเฝ้าระวังปัญหามลพิษทางอากาศและน�้ำเสีย ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสียหรือชุมชนโดยรอบ และ 42
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การประกอบธุรกิจ
อาจน�ำไปสูก่ ารฟ้องร้องทางกฎหมาย ท�ำให้บริษทั ฯ ต้องเสียชือ่ เสียงและเสียค่าสินไหมตามคดีความทีเ่ กิดขึน้ จนไม่สามารถด�ำเนินธุรกิจ ต่อไปได้ ซึ่งที่ผ่านมา ไม่มีปัญหาดังกล่าว และเพื่อให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของผู้บริหารที่ต้องการให้อุตสาหกรรมอยู่ร่วมกับชุมชน อย่างยัง่ ยืน บริษทั ฯ ส่งเสริมให้พนักงานมีจติ ส�ำนึกและมีความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม โดยได้ประชุมและท�ำกิจกรรม ร่วมกับเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนโดยรอบ จ�ำนวน 14 ชุมชน ที่เป็นผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างอาชีพ อีกทั้งยังเข้า ร่วมรับฟังความคิดเห็นและเรื่องร้องเรียนที่เกิดขึ้นของโรงงานซึ่งตั้งอยู่ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ โดยให้ค�ำปรึกษาโรงงาน และผูป้ ระกอบการทีพ่ บปัญหาด้านมลพิษสิง่ แวดล้อม ส่งผลให้โรงงานผูป้ ระกอบการในสวนอุตสาหกรรม และชุมชนอยูร่ ว่ มกันอย่างยัง่ ยืน จากการทีส่ วนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ทงั้ 3 แห่ง ได้รบั การรับรองระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001:2004 ของระบบ Central Wastewater Treatment แบบ Multisite บริษัทฯ ยังด�ำเนินธุรกิจสวนอุตสาหกรรมมุ่งสู่มาตรฐานสากล ด้วยระบบ มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม และได้รับการยกระดับมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001: 2015 จากส�ำนักรับรองระบบ คุณภาพ (สรร.) สังกัดสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว) อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ทีผ่ า่ นมา สวนอุตสาหกรรม ตระหนัก ถึงความส�ำคัญของภาวะฉุกเฉินทีอ่ าจเกิดขึน้ และก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อการประกอบธุรกิจภายในสวนอุตสาหกรรม ได้ จัดให้มีการฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินด้านอัคคีภัยภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บุรี และล�ำพูน อย่างจริงจัง ซึ่งได้ฝึก ซ้อมสถานการณ์สมมติสารเคมีหกรัว่ ไหลและอัคคีภยั ภายในโรงงาน โดยจ�ำลองปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากเหตุการณ์จริงทีผ่ า่ นมา ร่วมกับผูช้ ำ� นาญ การจากหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้องในแต่ละพืน้ ทีเ่ ป็นผูฝ้ กึ ซ้อม นอกจากนี้ สวนอุตสาหกรรมได้เล็งเห็นความส�ำคัญของอุปกรณ์ระงับเหตุ ฉุกเฉินที่มีความแตกต่างต่อภาวะฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในอดีต จากการประเมินความเสี่ยงต่อโรงงานภายในสวนอุตสาหกรรม จึงได้จัดเตรียม โฟมดับเพลิงในปริมาณที่เพียงพอต่อการควบคุมสถานการณ์หรือภาวะฉุกเฉิน และจัดซื้อรถดับเพลิงเพื่อเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉินที่ อาจจะเกิดขึ้นโดยมิได้คาดหมาย ในปี 2560 บริษัทฯ ได้มีการเตรียมการจัดตั้งศูนย์ความปลอดภัย บรรเทาสาธารณภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา (Saha Group Safety Center : SGSC) โดยเป็นศูนย์ที่มี ระบบ และเป็นมาตรฐานที่ใช้ร่วมกันกับทุกบริษัทที่อยู่ในเขตพื้นที่สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา เพื่อพัฒนาศักยภาพสู่ EEC และบูรณาการการใช้ BIG Data พร้อมเป็นศูนย์ฝึกอบรม น�ำเสนอ และแลกเปลี่ยนข้อมูล เพื่อการป้องกันด้านอัคคีภัย และสารเคมีของ โรงงานอุตสาหกรรม ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา โดยส่งเสริมการสร้างเครือข่ายชมรมเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการ ท�ำงานเครือสหพัฒน์ กับหน่วยงานรัฐ และเอกชน โดยเป็นศูนย์กลางแบบครบวงจรด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน รวมถึงการสร้าง บุคลากรเพื่อให้ความรู้ด้านความปลอดภัยจากการท�ำงานหรือเกี่ยวกับการท�ำงานของพนักงาน ให้ปราศจากเหตุอันจะท�ำให้เกิดอันตราย ต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัยอย่างมีประสิทธิภาพ 3.2.2 ความเสี่ยงในด้านอุทกภัย สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ตั้งอยู่ในพื้นที่ราบชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกอาจเกิดน�้ำหลาก เข้าพื้นที่สวนอุตสาหกรรมในระยะเวลาสั้นๆ จากล�ำห้วยสาธารณะหรืออ่างเก็บน�้ำ โดยเฉพาะในฤดูที่มีฝนมากผิดปกติ ประเด็นปัญหา อุทกภัยที่เกิดขึ้น บริษัทฯ ได้จัดท�ำแผนป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน กรณีเกิดอุทกภัยไว้พร้อมแล้ว โดยในแผนป้องกันประกอบ ด้วย ชุดปฏิบัติงานติดตามเฝ้าระวังปริมาณและระดับน�้ำบริเวณรอบๆ พื้นที่สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ในรัศมี 5 กิโลเมตร ตลอด 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ ได้ก�ำหนดเกณฑ์การเฝ้าระวังไว้ 3 ระดับ คือ ระดับปกติ ระดับเฝ้าระวัง และแจ้งเตือน ระดับแจ้งเตือนโรงงานและ ปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน โดยท�ำการติดตามข่าวจากกรมอุตุนิยมวิทยา และน�ำข้อมูลแผนที่อากาศมาวิเคราะห์เป็นประจ�ำอย่างต่อเนื่อง มี การซ้อมแผนดังกล่าวทุกปี นอกจากนี้ เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน�้ำและแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมขังภายในพื้นที่ ซึ่งจะระบาย น�้ำฝนผ่านคลองย่อยลงสู่แหล่งน�้ำสาธารณะหลักได้อย่างรวดเร็ว สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มีการลงทุนงบประมาณ 12 ล้านบาท เพื่อการปรับปรุงระบบระบายน�้ำฝนใหม่ โดยการออกแบบระบบระบายน�้ำฝนให้ใหญ่ขึ้น เพื่อรองรับปริมาณน�้ำฝนเพิ่มมากขึ้น รวมถึงการจัดให้มีการขุดลอกระบบระบายน�้ำฝนภายในพื้นที่สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา เป็นประจ�ำทุกปี โดยในปีที่ผ่านมา สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ทุกแห่ง ไม่ประสบอุทุกภัย 3.2.3 ความเสี่ยงในด้านภัยแล้งนอกฤดูกาล ในปี 2560 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จากอิทธิพลของ El Nino ลดความรุนแรงลง ส่งผลให้ ประเทศไทยมีฝนตกตามฤดูกาล รวมถึงฝนตกนอกฤดูกาลในบางช่วงเวลา และจากอิทธิพลของพายุหมุนเขตร้อนทีเ่ ข้ามาทางฝัง่ ประเทศ เวียดนาม และใกล้เคียงกับประเทศไทย ท�ำให้เกิดฝนตกในประเทศหลายช่วง ในรอบปีที่ผ่านมา จากข้อมูลปริมาณน�้ำกักเก็บในอ่างเก็บ น�้ำหลักในภาคตะวันออก พบว่า สามารถกักเก็บน�้ำได้เต็มความจุของอ่าง ในบางช่วงเวลามีปริมาณน�้ำกักเก็บได้มากกว่าความจุจนต้อง ท�ำการระบายน�้ำเพื่อป้องกันความเสียหายของโครงสร้างอ่างเก็บน�้ำ ในขณะเดียวกันความต้องการการใช้น�้ำทวีสูงขึ้น เนื่องจากการเพิ่ม ขึ้นของประชากร และการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การผลิตกระแสไฟฟ้า จากนโยบาย EEC ของรัฐบาล เป็นต้น อาจส่งผลให้เกิดภาวะขาดแคลนน�ำ้ ขึน้ ซึง่ มีแนวโน้มจะเพิม่ ความรุนแรงในหลายพืน้ ที่ โดยปัจจุบนั สวนอุตสาหกรรม บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
43
การประกอบธุรกิจ
เครือสหพัฒน์ ศรีราชา มีการจัดซือ้ ทรัพยากรน�ำ้ ดิบจาก บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ จัดสรร น�้ำดิบจากอ่างเก็บน�้ำหลักภายในพื้นที่ภาคตะวันออกของประเทศ กระจายให้กับกลุ่มลูกค้า ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และกลุ่มอุตสาหกรรม บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ได้มีการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำอย่างเป็นระบบและยั่งยืน เพื่อ แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน�ำ้ ในระยะสัน้ และระยะยาวในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชลบุรแี ละจังหวัดระยอง อีกทัง้ สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้มกี ารใช้ระบบปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ ด้วยเทคโนโลยีโอโซน ซึง่ สามารถน�ำน�ำ้ ในแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติทมี่ คี ณ ุ ภาพต�ำ่ ในช่วงฤดูแล้ง มาผลิตเป็น น�้ำดิบเพื่อใช้ในสวนอุตสาหกรรมได้ถึงวันละ 6,000 ลูกบาศก์เมตร ในขณะเดียวกัน สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี มีการรับ น�ำ้ ดิบจากแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติเก็บกักภายในอ่างเก็บน�ำ้ ขนาด 1 ล้านลูกบาศก์เมตร ซึง่ มีการจัดสรรได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการใช้นำ�้ จากแหล่งน�้ำบาดาล ภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน และในส่วนสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ แม่สอด ได้มีการยกเลิก การใช้น�้ำบาดาล เนื่องจากคุณภาพน�้ำไม่สามารถใช้ได้ จึงได้ท�ำการขุดอ่างเก็บน�้ำเพื่อรองรับน�้ำธรรมชาติในพื้นที่ โดยมีปริมาตร 50,000 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งปริมาณน�้ำดังกล่าว สามารถรองรับการใช้น�้ำในพื้นที่ได้อย่างเพียงพอ ซึ่งถือเป็นการจัดการทรัพยากรน�้ำอย่างยั่งยืน โดยทีม่ คี วามเสีย่ งจากภาวะภัยแล้งนอกฤดูกาลน้อยลง อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้ตดิ ตามสถานการณ์นำ�้ ของพืน้ ที่ในเขตสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ส่งผลให้ที่ผ่านมา สวนอุตสาหกรรมยังไม่เคยประสบปัญหาการขาดแคลนน�้ำขั้นวิกฤต
3.3 ความเสี่ยงจากสารเคมี
จากการส�ำรวจ การด�ำเนินธุรกิจสวนอุตสาหกรรม ทีป่ ระกอบด้วยโรงงาน ซึง่ ใช้สารเคมีเป็นองค์ประกอบในการด�ำเนิน การผลิตหลายประเภทนั้น ย่อมส่งผลให้เกิดความเสี่ยงสูงจากเหตุฉุกเฉินหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นการระเบิด การรั่วไหล การปนเปื้อน การฟุ้งกระจาย และเหตุอันตรายอื่นๆ ที่ไม่สามารถคาดการณ์ ได้ ด้วยเหตุการณ์เหล่านี้ อาจก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างมีนัยส�ำคัญต่อ บุคลากร ทรัพย์สิน หรือการด�ำเนินธุรกิจ ในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ มีหลายบริษทั ทีจ่ ำ� เป็นต้องใช้สารเคมี เพือ่ น�ำมาใช้ในทางการผลิต บริษทั ฯ จึงได้ ประกาศใช้มาตรการควบคุมการขนส่งสารเคมีทกุ ชนิด ของเสียอันตรายทีเ่ ข้าและออกภายในพืน้ ทีส่ วนอุตสาหกรรม เพือ่ ช่วยลดความเสีย่ ง และป้องกันอันตราย ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากสารเคมี มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่ 1 ธันวาคม 2555 เป็นต้นมา และมีการทบทวนมาตรการควบคุมการ ขนส่งสารเคมีอย่างสม�ำ่ เสมอ ว่ามีความเพียงพอต่อการป้องกันความเสีย่ งดังกล่าว จึงไม่เกิดเหตุสารเคมีรวั่ ไหลตลอดหลายปีทผี่ า่ นมา
4. ความเสี่ยงต่อการลงทุนของผู้ถือหลักทรัพย์
เนื่องจากหุ้นของบริษัท มีการซื้อขายหมุนเวียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยค่อนข้างน้อย จึงมีสภาพคล่องของตัว หลักทรัพย์ต�่ำ ดังนั้น ผู้ถือหุ้นจึงอาจมีความเสี่ยงที่จะไม่สามารถซื้อขายหุ้นได้ทันทีในราคาที่ต้องการ
7. ข้อพิพาททางกฎหมาย 1. คดีที่อาจมีผลกระทบด้านลบต่อสินทรัพย์ของบริษัท หรือบริษัทย่อย ที่มีจ�ำนวนสูงกว่าร้อยละ 5 ของส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2560 - ไม่มี 2. คดีทกี่ ระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั หรือบริษทั ย่อย อย่างมีนยั ส�ำคัญ แต่ไม่สามารถประเมินผลกระทบเป็นตัวเลขได้ - ไม่มี 3. คดีที่มิได้เกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติของบริษัท หรือบริษัทย่อย - ไม่มี -
44
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การจัดการ
การจัดการ 1. ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น
1.1 จ�ำนวนทุนจดทะเบียนและทุนช�ำระแล้ว
(1) ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ทุนจดทะเบียน : 582,923,188 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ จ�ำนวน 582,923,188 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว : 494,034,300 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ จ�ำนวน 494,034,300 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท (2) หลักทรัพย์อื่นที่มีสิทธิ์หรือเงื่อนไขแตกต่างจากหุ้นสามัญ เช่น หุ้นบุริมสิทธิ - ไม่มี (3) หลักทรัพย์อื่นที่ไม่ใช่หุ้นสามัญ เช่น หุ้นกู้ ตั๋วเงิน หลักทรัพย์แปลงสภาพ หรือตราสารหนี้ - หุ้นกู้ของบริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2560 ชุดที่ 1 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2563 (หุ้นกู้ชุดที่ 1) จ�ำนวน 1,000,000 หน่วย เป็นเงิน 1,000 ล้านบาท - หุ้นกู้ของบริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2560 ชุดที่ 2 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2567 (หุ้นกู้ชุดที่ 2) จ�ำนวน 1,000,000 หน่วย เป็นเงิน 1,000 ล้านบาท - หุ้นกู้แปลงสภาพ จ�ำนวน 3,505,448 หน่วย เป็นเงิน 3,505,448,000.- บาท (4) ข้อตกลงระหว่างกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ในเรื่องที่มีผลกระทบต่อการออก และเสนอขาย หลักทรัพย์ หรือการบริหารงานของบริษัท โดยที่ข้อตกลงดังกล่าวมีบริษัทฯ ร่วมลงนามด้วย - ไม่มี -
1.2
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ผู้ถือหุ้น
(1) รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายชือ่ ผู้ถือหุ้นของบริษัท ปิดสมุดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 รายชื่อผู้ถือหุ้น
จ�ำนวนหุ้น
ร้อยละ
บริษัท โชควัฒนา จ�ำกัด บริษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) SMBC NIKKO SECURITIES INC. - CLIENT ACCOUNT บริษัท ยูนีเซ็นทรัล จ�ำกัด นายวีรพัฒน์ พูนศักดิ์อุดมสิน NOMURA SECURITIES CO LTD-CLIENT A/C บริษัท ไอ.ดี.เอฟ. จ�ำกัด บริษัท ยูนีเว็ลธ์ จ�ำกัด LION CORPORATION รวม
81,562,322 48,141,856 38,159,873 20,220,550 20,195,960 17,835,100 17,625,000 16,046,216 13,740,310 10,000,000 283,527,187
16.51 9.74 7.72 4.09 4.09 3.61 3.57 3.25 2.78 2.02 57.38
หมายเหตุ : ผู้ลงทุนสามารถดูรายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ที่ถือสูงสุด 10 รายแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น เพื่อประชุมสามัญประจ�ำปี ปัจจุบันได้จากเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
45
การจัดการ
การกระจายการถือหุ้นตามจ�ำนวนรายที่ถือ โดยแบ่งช่วงจ�ำนวนหุ้นที่ถือ ตามจ�ำนวนรายของผู้ถือหุ้น ตามรายละเอียด ดังนี้
ช่วงจ�ำนวนหุ้นที่ถือ 1 - 50 51 - 100 101 - 500 501 - 1,000 1,001 - 3,000 3,001 - 5,000 5,000 - ขึ้นไป รวม
ปี 2560 จ�ำนวนรายที่ถือ 142 72 123 103 127 75 472 1,114
% 12.75 6.46 11.04 9.25 11.40 6.73 42.37 100.00
การกระจายการถือหุ้นตามประเภทของบุคคลที่ถือ โดยแบ่งประเภทของบุคคลที่ถือตามจ�ำนวนหุ้นที่ถืออยู่ตามรายละเอียด ดังนี้ ประเภทบุคคล บริษัทจ�ำกัด และบริษัทมหาชน ธนาคารพาณิชย์ และสถาบันการเงิน บุคคลภายนอกทั่วไปที่ไม่ใช่พนักงานบริษัท พนักงานบริษัท นักลงทุนต่างประเทศ รวม
ปี 2559 จ�ำนวนหุ้น
%
317,594,853 349,570 101,419,247 11,950,450 62,720,180 494,034,300
64.29 0.07 20.52 2.42 12.70 100.00
(2) ข้อตกลงระหว่างผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ (Shareholders’ Agreement) ในเรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรือการบริหารงานของบริษัท โดยข้อตกลงดังกล่าวมีบริษัทฯ ร่วมลงนามด้วย - ไม่มี -
1.3 การออกหลักทรัพย์อนื่
(1) หลักทรัพย์แปลงสภาพ ตามมติทปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 46 เมือ่ วันที่ 25 เมษายน 2560 ให้บริษทั ฯ ออกและเสนอขายหุน้ กูแ้ ปลง สภาพจ�ำนวนไม่เกิน 4 ล้านหน่วย ราคาหน่วยละ 1,000.- บาท มูลค่าทัง้ สิน้ ไม่เกิน 4,000 ล้านบาท ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั รายทีม่ สี ทิ ธิ ได้รบั การจัดสรรตามสัดส่วนการถือหุน้ และมีมติอนุมตั ลิ ดทุนจดทะเบียนของบริษทั จ�ำนวน 305,965,700.- บาท จากเดิมทุนจดทะเบียน 800,000,000.- บาท เป็นทุนจดทะเบียน 494,034,300.- บาท โดยการตัดหุน้ ทีย่ งั ไม่ได้ออกจ�ำหน่ายของบริษทั และอนุมตั เิ พิม่ ทุนจดทะเบียน อีกจ�ำนวน 88,888,888.- บาท เป็นทุนจดทะเบียน 582,923,188.- บาท โดยการออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุน จ�ำนวน 88,888,888 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1.- บาท เพือ่ รองรับการแปลงสภาพของหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ และเมือ่ วันที่ 29 มิถนุ ายน 2560 มีผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั รายทีม่ สี ทิ ธิได้รบั การ จัดสรรจองซือ้ หุน้ กูแ้ ปลงสภาพดังกล่าว จ�ำนวน 3,505,448 หน่วย ราคาหน่วยละ 1,000.- บาท เป็นเงินทัง้ สิน้ 3,505,448,000.- บาท โดยมีขอ้ ก�ำหนดและเงือ่ นไขหลักของหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ ดังนี้
46
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การจัดการ
ชื่อหุ้นกู้แปลงสภาพ
หุ้นกู้แปลงสภาพของบริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2560 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ.2567 ซึ่งมีข้อก�ำหนดบังคับแปลงสภาพ ("หุ้นกู้แปลงสภาพ")
ประเภทของหุ้นกู้แปลงสภาพ
หุน้ กูแ้ ปลงสภาพชนิดระบุชอื่ ผูถ้ อื มีสทิ ธิแปลงสภาพเป็นหุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่ของบริษทั ไม่ ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้
มูลค่าที่ขาย
3,505,448,000 บาท
จ�ำนวนหุ้นกู้แปลงสภาพ
3,505,448 หน่วย
ราคาหน้าตั๋ว (Face Value)
1,000 (หนึ่งพัน) บาท ต่อ1 (หนึ่ง) หุ้นกู้แปลงสภาพ (หรือเรียกว่า "มูลค่าที่ตราไว้")
อัตราดอกเบี้ย
ร้อยละ 0.70 (ศูนย์จุดเจ็ดศูนย์) ต่อปี
วันออกหุ้นกู้แปลงสภาพ
29 มิถุนายน 2560
วันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้แปลงสภาพ
29 มิถุนายน 2567
วันก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ย
ปีละ 4 ครั้ง ในวันที่ 29 มีนาคม 29 มิถุนายน 29 กันยายน และ 29 ธันวาคมของทุกปี โดยวันก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2560 และวันก�ำหนดช�ำระ ดอกเบี้ยงวดสุดท้าย คือวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้แปลงสภาพ
ราคาแปลงสภาพ
45 (สี่สิบห้า) บาทต่อ 1 (หนึ่ง) หุ้นสามัญของบริษท ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตาม เงื่อนไขที่ก�ำหนดไว้ในข้อก�ำหนดสิทธิ
อัตราส่วนการแปลงสภาพ
1 หุ้นกู้แปลงสภาพ : 22.222222 หุ้น (หรือ อัตราอื่นที่เกิดจากการปรับราคาแปลงสภาพ ตามเงื่อนไขการก�ำหนดสิทธิ
วันแปลงสภาพ
ปีละ 4 ครั้ง ในเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคม ของทุกปี และสามารถเริ่ม แปลงสภาพได้ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561
การบังคับแปลงสภาพ
ในกรณีทรี่ าคาถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักของหุน้ สามัญในตลาดหลักทรัพย์ยอ้ นหลัง 15 วันท�ำการ ติดต่อกันก่อนวันใช้สทิ ธิแปลงสภาพครัง้ สุดท้ายก่อนไถ่ถอนของหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ มีราคาสูง กว่า 52 บาท บริษัทฯ จะบังคับแปลงสภาพหุ้นกู้แปลงสภาพที่ยังไม่ได้ไถ่ถอนหรือแปลง สภาพทั้งหมดเป็นหุ้นสามัญของบริษัทในวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ ตามอัตราการแปลง สภาพและทีร่ าคาแปลงสภาพทีม่ ผี ลบังคับ ณ วันใช้สทิ ธิแปลงสภาพครัง้ สุดท้ายก่อนไถ่ถอน
อันดับความน่าเชื่อถือของบริษัท
“AA” แนวโน้มมีเสถียรภาพโดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด
การขึ้นทะเบียนของหุ้นกู้แปลงสภาพ
สมาคมตราสารหนี้ไทย (Thai Bond Market Association หรือ ThaiBMA)
นายทะเบียนหุ้นกู้แปลงสภาพ
ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)
ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้แปลงสภาพ
ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)
ตัวแทนรับแปลงสภาพ
ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
47
การจัดการ
(2) หลักทรัพย์ทเี่ ป็นตราสารหนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มียอดหนีค้ งค้างของหุน้ กูช้ นิดระบุชอื่ ผูถ้ อื ไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และไม่มผี แู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ จ�ำนวน 2,000,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 2,000 ล้านบาท จ�ำนวน 2 ชุด โดยมีราย ละเอียด ดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้
“หุ้นกู้ของ บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2560 ชุดที่ 1 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2563” หุ้นกู้ชุดที่ 1 และ “หุ้นกู้ของ บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2560 ชุดที่ 2 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2567” (หุ้นกู้ชุดที่ 2)
ประเภทหุ้นกู้
หุน้ กูช้ นิดระบุชอื่ ผูถ้ อื ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มปี ระกัน และไม่มผี แู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้
วัตถุประสงค์
เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการด�ำเนินกิจการของบริษัท และ/หรือ ใช้ส�ำหรับการลงทุน และ/หรือ ช�ำระคืนเงินกู้ของบริษัท
ประเภทของการจัดจ�ำหน่าย
ผู้ลงทุนสถาบัน และ/หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่
ชุดหุ้นกู้
หุ้นกู้ชุดที่ 1
หุ้นกู้ชุดที่ 2
อายุหุ้นกู้
3 ปี
7 ปี
มูลค่าที่ตราไว้ หน่วยละ
1,000 บาท
1,000 บาท
จ�ำนวนหุ้นกู้ที่เสนอขาย
1,000,000 หน่วย
1,000,000 หน่วย
1,000,000,000 บาท
1,000,000,000 บาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล (ณ 18 มกราคม 2560)
1.81%
2.47%
อัตราดอกเบี้ย
2.39%
3.44%
มูลค่ารวมของหุ้นกู้
การช�ำระดอกเบี้ย
ทุก 6 เดือน
การช�ำระคืนเงินต้น
ครั้งเดียวเมื่อครบก�ำหนดไถ่ถอน (Bullet Payment)
วันที่ออกหุ้นกู้
ภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2560
อันดับความน่าเชือ่ ถือของบริษทั
AA แนวโน้มมีเสถียรภาพ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด
ผู้จัดการการจัดจ�ำหน่าย
ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)
การรับประกันการจ�ำหน่าย
จัดจ�ำหน่ายแบบรับประกันการจัดจ�ำหน่ายแบบแน่นอนทั้งจ�ำนวน
นายทะเบียนหุ้นกู้
ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)
48
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การจัดการ
1.4
นโยบายการจ่ายเงินปันผล - บริษทั ฯ บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะจ่ายเงินปันผลขัน้ ต�ำ ่ 0.10 บาทต่อหุน้ (เท่ากับ ร้อยละ 10 ของราคามูลค่าหุน้ ) แต่ทผี่ า่ มา บริษทั ฯ จ่ายเงินปันผลมากกว่านโยบาย โดยพิจารณาจากผลการด�ำเนินงาน กระแสเงินสดของบริษทั และภาวะเศรษฐกิจ ปี
2560
2559**
2558
2557
2556
อัตราก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท)
6.41
3.44
2.67
2.33
2.63
อัตราเงินปันผลต่อหุ้น* (บาท)
0.65
0.45
0.23
0.23
0.23
อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อก�ำไรสุทธิ (%)
10.15 %
13.10 %
8.61 %
9.87 %
8.74 %
อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อก�ำไรสุทธิ (%) (เฉพาะกิจการ)
20.63 %
28.36 %
18.25 %
20.00 %
15.72 %
หมายเหตุ : * ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 12 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2561 มีมติให้น�ำเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ซึ่งก�ำหนดให้มีขึ้น ในวันที่ 23 เมษายน 2561 เพื่ออนุมัติการจ่ายเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.65 บาท เป็นเงินทั้งสิ้น 321,122,295.- บาท โดยที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 8 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 มีมติอนุมัติจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลไปแล้ว ในอัตราหุ้นละ 0.10 บาท เป็นเงิน 49,403,430.- บาท คงเหลือจ่าย ในอัตราหุ้นละ 0.55 เป็นเงิน 271,718,865.- บาท
** ในปี 2560 บริษัทฯ ได้ปรับปรุงงบการเงินของปี 2559 เนื่องจากมีการปรับปรุงข้อมูลของเงินลงทุนในบริษัทร่วม ท�ำให้อัตราก�ำไรสุทธิต่อหุ้น เปลี่ยนเปลงจาก 3.41% เป็น 3.44% และอัตราการจ่ายเงินปันผลต่อก�ำไรสุทธิ เปลี่ยนแปลงจาก 13.22% เป็น 13.10%
-
บริษัทฯ ไม่มีนโยบายก�ำหนดการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย
บริษัทย่อย
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
49
การจัดการ
2. โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษทั คณะกรรมการบริษทั รับผิดชอบในการก�ำหนดและทบทวนโครงสร้างคณะกรรมการทัง้ ในเรือ่ งขนาด องค์ ป ระกอบ สั ด ส่ ว นกรรมการอิ ส ระ ที่ เ หมาะสมและจ� ำ เป็ น ต่ อ การน� ำ พาองค์ กรสู ่ วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมายหลั ก ที่ ก� ำ หนด มีโครงสร้างการบริหารที่ชัดเจน ถ่วงดุล และสามารถตรวจสอบได้ มีการมอบอ�ำนาจระหว่างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และฝ่ายจัดการที่ชัดเจน ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยอีก 3 ชุด ช่วยกลั่นกรองงานที่มีความส�ำคัญ คือ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง โดยมีฝา่ ยบริหาร (ฝ่ายจัดการ) เป็นผูบ้ ริหารจัดการกิจการของบริษทั ปัจจุบนั ประกอบด้วยคณะกรรมการบริหาร ผูจ้ ดั การใหญ่ รองผูจ้ ดั การใหญ่ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้จัดการฝ่าย มีการก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุดต่างๆ และของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในกฎบัตร และในอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ซึ่งได้รับการอนุมัติจากที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทแล้ว มีเลขานุการบริษัท ท�ำหน้าที่ตามที่กฎหมายก�ำหนด และตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 1. คณะกรรมการบริษทั มีบทบาทส�ำคัญในการสร้างและขับเคลือ่ นวัฒนธรรมองค์ในทุกๆด้าน ยึดมัน่ ในการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้น และให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท มติคณะกรรมการ บริษทั และมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซือ่ สัตย์ สุจริต เยีย่ งวิญญูชน ผูป้ ระกอบธุรกิจเช่นนัน้ จะพึงกระท�ำภายใต้ สถานการณ์อย่างเดียวกัน ด้วยอ�ำนาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีต่ นมีสถานะเป็นกรรมการบริษทั บริษทั ฯ มีโครงสร้าง การบริหารงานที่ชัดเจน ถ่วงดุล และสามารถตรวจสอบได้ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษทั มีภาวะผูน้ ำ � วิสยั ทัศน์ เข้าใจ บทบาท หน้าที่ มีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของ บริษทั และผูถ้ อื หุน้ โดยรวม 2. โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท และการจัดการ มีการตรวจสอบและถ่วงดุลกันอย่างเพียงพอโดย 2.1 คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการบริษัทที่มีคุณสมบัติหลากหลาย ทั้งในด้านทักษะ ประสบการณ์ ความ สามารถเฉพาะด้านทีเ่ ป็นประโยชน์กบั บริษทั ฯ ไม่จำ� กัดเพศ มีคณ ุ สมบัตติ ามทีก่ ฎหมายก�ำหนด มีจำ� นวนทีเ่ หมาะสม สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน ในปี 2560 คณะกรรมการบริษัท มีจ�ำนวน 18 คน โดยเป็นกรรมการบริษัทที่มา จากฝ่ายบริหาร จ�ำนวน 6 คน และกรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหาร จ�ำนวน 12 คน ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการ บริษัทออกจากต�ำแหน่ง เป็นจ�ำนวน 1 ใน 3 เป็นอัตรา ถ้าจ�ำนวนกรรมการบริษัทที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดย จ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการบริษัทซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการเลือกตั้งใหม่ได้ 2.2 กรรมการอิสระ บริษัทฯ มีกรรมการบริษัทที่มีความเป็นอิสระจากผู้ถือหุ้นใหญ่ หรือกลุ่มของผู้ถือหุ้นใหญ่และผู้ บริหาร มีคุณสมบัติครบตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนก�ำหนด จ�ำนวน 6 คน ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในเรื่อง สัดส่วน กรรมการอิสระ ที่ก�ำหนดให้บริษัทจดทะเบียน ต้องมีกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการบริษัททั้งหมด แต่ต้องไม่น้อย กว่า 3 คน โดยมีกรรมการอิสระที่เป็นผู้หญิง จ�ำนวน 2 คน 2.3 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการบริษัท จ�ำนวน 3 คน ที่มีความเป็นอิสระ มี คุณสมบัติเป็นกรรมการตรวจสอบ ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน เป็นคณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่ก�ำกับดูแลให้มีการ จัดท�ำรายงานทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลทีถ่ กู ต้อง เป็นไปตามมาตรฐานการรายงาน มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบ ภายในที่เพียงพอตามกฎบัตร ซึ่งเป็นไปตามคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยประกาศก�ำหนด คณะ กรรมการตรวจสอบของบริษัท ประกอบด้วย ผู้ที่มีความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ และด้านบัญชี การเงิน เป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ที่ จะสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน และทั้ง 3 คน สามารถท�ำหน้าที่อื่นในฐานะกรรมการตรวจสอบได้ 2.4 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการบริษัท จ�ำนวน 3 คน เป็น คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน มีหน้าที่ตามกฎบัตร และช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท ในการ สรรหาและกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ให้เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท และเพื่อพิจารณาหลักเกณฑ์ในการจ่าย และรูป แบบค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท 2.5 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการบริษัท จ�ำนวน 3 คน ผู้บริหาร จ�ำนวน 1 คน และเลขานุการบริษัทจ�ำนวน 1 คน รวมจ�ำนวน 5 คน เป็นคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่ตามกฎบัตร และช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทด้านธรรมาภิบาล การต่อต้านการคอร์รัปชั่น และการ บริหารความเสี่ยง
50
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การจัดการ
2.6 การมอบอ� ำ นาจระหว่ า งคณะกรรมการบริ ษั ท และฝ่ า ยจั ด การ คณะกรรมการบริ ษั ท มี ก ารมอบอ� ำ นาจระหว่ า งคณะ กรรมการบริ ษั ท และฝ่ า ยจั ด การที่ ชั ด เจน มี การก� ำ หนดอ� ำ นาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการชุ ด ต่ า งๆ และกรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ ไว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรในกฎบั ต ร และในอ� ำ นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของกรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ ตามรายละเอี ย ดที่ ไ ด้ เ ปิ ด เผยไว้ ใน การก�ำกับดูแลกิจการ หัวข้อ คณะกรรมการชุดย่อย จ�ำนวนครั้งของการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการแต่ละชุด ในปี 2560 คณะกรรมการแต่ละชุดมีการประชุม ตามรายละเอียด ดังนี้ รายชื่อ 1. นายบุณยสิทธิ์ 2. นายบุญปกรณ์ 3. นายทนง
กรรมการ กรรมการ การเข้าประชุม กรรมการ กรรมการ สรรหาและ ธรรมาภิ บ าล สามัญผู้ถือหุ้น บริษัท ตรวจสอบ ก�ำหนดค่า และ ครั้งที่ 46 รวม 13 รวม 12 ตอบแทน บริ ห ารความเสี ย ่ ง จ�ำนวน ครั้ง/ปี ครั้ง/ปี รวม 2 ครั้ง/ปี รวม 2 ครั้ง 1 ครัง้
ต�ำแหน่ง
โชควัฒนา โชควัฒนา ศรีจิตร์
ประธานกรรมการบริษัท รองประธานกรรมการบริษัท กรรมการผู้จัดการใหญ่
13/13 13/13 12/13
-
2/2 2/2
1/2
1/1 1/1 1/1
กุลสมภพ
กรรมการรองผู้จัดการใหญ่
13/13
-
-
1/2
1/1
13/13 11/13 13/13 12/13 9/13 13/13 11/13 13/13 13/13
12/12
2/2 -
2/2
1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1
12/13
12/12
-
-
1/1
4/4
4/4
-
-
1/1
9/9
7/7
-
-
0/0
7/9
-
-
-
0/0
13/13 13/13 -
-
-
2/2 2/2
1/1 1/1 0/0 1/1
(เสียชีวติ เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม 2561)
4. นายวิชัย
(ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ตงั้ แต่วนั ที่ 12 มีนาคม 2561)
5. นายส�ำเริง 6. นายมนู 7. นางสาวศิริกุล 8. นายพิพัฒ 9. นายก�ำธร 10. นายบุญเกียรติ 11. นายบุญชัย 12. นายสุจริต 13. นายนพพร
มนูญผล ลีลานุวัฒน์ ธนสารศิลป์ พะเนียงเวทย์ พูนศักดิ์อุดมสิน โชควัฒนา โชควัฒนา ปัจฉิมนันท์ พงษ์เวช
กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 14. นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 15. พลต�ำรวจโท อัมรินทร์ เนียมสกุล กรรมการตรวจสอบ (ครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 25 เม.ย. 2560) และกรรมการอิสระ 16. นางสาวนฤมล สอาดโฉม กรรมการตรวจสอบ (ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2560) และกรรมการอิสระ 17. นายอะกิระ มูราโคชิ กรรมการอิสระ (ลาออกจากการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 20 มี.ค 2560)
18. นายนิพนธ์
พัวพงศกร
กรรมการอิสระ
19. นายสุรชัย 20. นายสมพงษ์ 21. นายชูโต 22. นางดรุณี
ดนัยตั้งตระกูล สังข์รังสรรค์ จิระคุณากร สุนทรธ�ำรง
กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ เลขานุการบริษัท
(ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2560)
1/3
หมายเหตุ : - คุณสมบัติของกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบของบริษัท เป็นไปตามประกาศที่เกี่ยวข้องก�ำหนด - กรรมการบริษัท ที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทได้ เนือ่ งจาก ป่วย หรือ ติดธุระจ�ำเป็น หรือเดินทางไปต่างประเทศ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
51
การจัดการ
กรรมการบริษัทที่มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ กรรมการบริษัทสองในสิบคนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราส�ำคัญของบริษัท (ข้อมูล ณ วันที่ 14 มีนาคม 2561) 1. นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา 2. นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา 3. นายส�ำเริง มนูญผล 4. นายบุญเกียรติ โชควัฒนา 5. นายก�ำธร พูนศักดิ์อุดมสิน 6. นายพิพัฒ พะเนียงเวทย์ 7. นายมนู ลีลานุวัฒน์ 8. นายบุญชัย โชควัฒนา 9. นายวิชัย กุลสมภพ 10. นางสาวศิริกุล ธนสารศิลป์
2. ผู้บริหาร (ฝ่ายจัดการ) ประกอบด้วย 2.1 คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษทั เป็นผูแ้ ต่งตัง้ กรรมการบริษทั และ/หรือ บุคคลอืน่ ทัง้ ทีม่ ฐี านะเป็นพนักงาน หรือลูกจ้างของบริษทั และ/หรือบุคคลภายนอก เป็นคณะกรรมการบริหาร ทัง้ นี้ ต้องมีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอ ทีจ่ ะท�ำหน้าทีบ่ ริหาร จัดการกิจการของบริษทั ได้เป็นอย่างดี มีฐานะเป็นฝ่ายจัดการ ท�ำหน้าทีบ่ ริหารจัดการกิจการของบริษทั ตามที่ได้รบั มอบหมายจากคณะ กรรมการบริษทั ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซือ่ สัตย์ สุจริต เยีย่ งวิญญูชนผูป้ ระกอบธุรกิจเช่นนัน้ จะพึงกระท�ำภายใต้สถานการณ์อย่าง เดียวกัน ด้วยอ�ำนาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีต่ นมีสถานะเป็นกรรมการบริหาร มีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน ดังนี้ รายชื่อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
นายบุณยสิทธิ์ นายวิชัย นายส�ำเริง นายมนู นางสาวศิริกุล นายมนัส นายทนง
โชควัฒนา กุลสมภพ มนูญผล ลีลานุวัฒน์ ธนสารศิลป์ องค์สรณะคม ศรีจิตร์
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61 พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61 พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61 พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61 พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61 พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61 พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
(เสียชีวติ เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม 2561)
2.2 ผู้บริหาร ประกอบด้วย รายชื่อ 1.
นายทนง
ต�ำแหน่ง ศรีจิตร์
ผู้จัดการใหญ่
กุลสมภพ
รองผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารสูงสุดทางด้านบัญชีและการเงิน
(เสียชีวติ เมือ่ วันที่ 2 มี.ค.2561)
2.
นายวิชัย
(ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ตัง้ แต่วนั ที่ 12 มี.ค.2561)
3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
นายชูโต นายสนทยา นายทินกร นายวัชรา นายอ�ำพล นายกิตติพงษ์ นางทัศนีย์
จิระคุณากร ทับขันต์ บุนนาค แย้มแก้ว วัฒนวรพงศ์ คงพัฒน์ยืน อินทปุระ
ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ ผู้จัดการฝ่ายสิ่งแวดล้อม ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาพื้นที่ ผู้จัดการฝ่ายภูมิสถาปัตย์ ผู้จัดการฝ่ายการตลาดอสังหาริมทรัพย์ ผู้จัดการฝ่ายสารสนเทศ ผู้จัดการฝ่ายส�ำนักงาน
(ด�ำรงต�ำแหน่งถึงวันที่ 31 ธ.ค.2560)
ซึ่งผู้ด�ำรงต�ำแหน่งข้างต้นจัดเป็นผู้บริหาร ตามค�ำจ�ำกัดความของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
52
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การจัดการ
โครงสร้างการบริหารจัดการของบริษัท
ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร
ฝ่ายตรวจสอบภายใน
กรรมการผู้จัดการใหญ่
คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการธรรมาภิบาล และบริหารความเสี่ยง
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่
กรรมการรองผู้จัดการใหญ่
ส�ำนักงานใหญ่
ส�ำนักงานสาขา
ฝ่ายการเงินและลงทุน
ฝ่ายสิ่งแวดล้อม
ฝ่ายบัญชี
ฝ่ายพัฒนาพื้นที่
ฝ่ายก�ำกับดูแลกิจการ
ฝ่ายภูมิสถาปัตย์
ฝ่ายงานสนับสนุนองค์กร
ฝ่ายการตลาดอสังหาริมทรัพย์ ฝ่ายส�ำนักงาน ฝ่ายสารสนเทศ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
53
การจัดการ
การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์บริษัทฯ ของกรรมการบริษัท และผู้บริหาร ณ 31 ธันวาคม 2560 รายชื่อ
กรรมการ / ผู้บริหาร
คู่สมรส / บุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ
เพิ่ม (ลด) ระหว่างปี
รวม หุ้นสามัญ
%
1. นายบุณยสิทธิ์
โชควัฒนา
5,854,680
-
-
5,854,680
1.185
2. นายบุญปกรณ์
โชควัฒนา
1,410,020
192,600
-
1,602,620
0.324
3. นายทนง
ศรีจิตร์
115,000
-
-
115,000
0.023
(เสียชีวติ เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม 2561)
4. นายวิชัย
กุลสมภพ
-
310,172
30,000
340,172
0.069
5. นายส�ำเริง
มนูญผล
1,488,460
-
-
1,488,460
0.301
6. นายมนู
ลีลานุวัฒน์
-
-
-
-
-
7. นางสาวศิริกุล
ธนสารศิลป์
2,997,720
-
-
2,997,720
0.607
8. นายพิพัฒ
พะเนียงเวทย์
8,260
-
-
8,260
0.002
9. นายก�ำธร
พูนศักดิ์อุดมสิน
10,050
-
-
10,050
0.002
10. นายบุญเกียรติ
โชควัฒนา
4,723,580
194,880
-
4,918,460
0.996
11. นายบุญชัย
โชควัฒนา
200,000
-
-
200,000
0.040
12. นายสุจริต
ปัจฉิมนันท์
13. นายนพพร
พงษ์เวช
-
-
-
-
-
14. นางพรรณี
วรวุฒิจงสถิต
-
-
-
-
-
15. นางสาวนฤมล
-
-
-
-
-
16. นายนิพนธ์
สอาดโฉม พัวพงศกร
-
-
-
-
-
17. นายสุรชัย
ดนัยตั้งตระกูล
-
-
-
-
-
18. นายสมพงษ์
สังข์รังสรรค์
26,470
5,280
-
31,750
0.006
19. นายมนัส
องค์สรณะคม
8,220
-
1,800
10,020
0.002
20. นายชูโต
จิระคุณากร
-
-
-
-
-
21. นางทัศนีย์
อินทปุระ
-
-
-
-
-
22. นายสนทยา
ทับขันต์
-
-
-
-
-
23. นายทินกร
บุนนาค
-
-
-
-
-
24. นายวัชรา
แย้มแก้ว
-
-
-
-
-
25. นายอ�ำพล
วัฒนวรพงศ์
-
-
-
-
-
26. นายกิตติพงษ์
คงพัฒน์ยืน
-
-
-
-
-
54
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การจัดการ
- ผลประโยชน์ตอบแทน หุ้น หุ้นกู้ ที่กรรมการบริษัทได้รับจากบริษัทฯ ในปี 2560 - ไม่มี -
3. เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีมติแต่งตั้ง นางดรุณี สุนทรธ�ำรง ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเลขานุการบริษัท ตั้งแต่
วันที่ 12 พฤษภาคม 2551 จบการศึกษาปริญญาตรีสาขาการเงินการธนาคาร (เกียรตินยิ มอันดับ 2) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง และผ่านการ อบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเลขานุการบริษัท โดยคุณสมบัติของเลขานุการบริษัท ปรากฏในเอกสารแนบ 1 ใน แบบ 56-1 และแบบ 56-2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการบริษัท ผู้บริหาร ผู้มีอ�ำนาจควบคุมและเลขานุการบริษัท มีหน้าที่ตามที่ก�ำหนด ในมาตรา 89/15 และมาตรา 89/16 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งมีผลใช้บังคับในวัน ที่ 31 สิงหาคม 2551 ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และซื่อสัตย์ สุจริต รวมทั้ง ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อ บังคับบริษัท มติคณะกรรมการบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ หน้าที่ตามกฎหมายของเลขานุการบริษัทมีดังนี้ 1. จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสาร ดังต่อไปนี้ - ทะเบียนกรรมการ - หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษัท รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทและรายงานประจ�ำปีของบริษัท - หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการบริษัท หรือผู้บริหาร และจัดส่งส�ำเนารายงานการมีส่วนได้ เสียตามมาตรา 89/14 ให้ประธานกรรมการบริษัทและประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันท�ำการ นับแต่วันที่บริษัทฯ ได้รับ รายงานนั้น 3. ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด นอกจากนี้ เลขานุการบริษัท ยังมีหน้าที่ด�ำเนินการตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย และหน้าที่อื่นๆ เช่น 1. สนับสนุนให้การก�ำกับดูแลกิจการเป็นไปตามมาตรฐานการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยให้คำ� แนะน�ำเบือ้ งต้นแก่กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร ด้านกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ตา่ งๆ และข้อบังคับของบริษทั รวมถึงรายงานการเปลีย่ นแปลงทีม่ นี ยั ส�ำคัญแก่กรรมการบริษทั 2. ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษทั ประสานงานระหว่างกรรมการบริษทั และฝ่ายจัดการ ประสานงานด้านกฎหมาย กฎเกณฑ์ตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ด�ำเนินการให้มกี ารปฏิบตั ติ ามอย่างถูกต้อง ติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติคณะกรรมการบริษทั และรายงานผล การปฏิบตั งิ านต่อคณะกรรมการบริษทั ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ถัดไป รวมทัง้ ติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ 3. จัดการประชุมคณะกรรมการบริษัทและการประชุมผู้ถือหุ้น ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัท และข้อ พึงปฏิบัติต่างๆ 4. บันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 5. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล เช่น ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูล และรายงานสารสนเทศต่อหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลและสาธารณชน ให้ถูกต้องตามกฎหมาย 6. ให้ข่าวสารกับผู้ถือหุ้นในเรื่องสิทธิต่างๆ ของผู้ถือหุ้น และให้ข่าวสารของบริษัท อย่างสม�่ำเสมอครบถ้วน 7. จัดให้มีคู่มือกรรมการบริษัท มีการปฐมนิเทศ และให้ค�ำแนะน�ำแก่กรรมการบริษัทที่ได้รับการเลือกตั้งใหม่ 8. หน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
55
การจัดการ
4. ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท และผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัท ได้พิจารณาโครงสร้างและอัตราค่าตอบแทนให้มีความเหมาะสมกับความรับผิดชอบและจูงใจให้ คณะกรรมการบริษทั น�ำพาองค์กรให้ดำ� เนินงานได้ตามเป้าหมายทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว โดยแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทน เป็นผูพ้ จิ ารณาค่าตอบแทนของกรรมการให้สอดคล้องกับภาระ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละคน โดยพิจารณา จากผลประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัททั้งคณะโดยรวมในแต่ละปี ผลการด�ำเนินงานของบริษัท วงเงินค่าตอบแทนที่ได้ รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น และจ�ำนวนเงินค่าตอบแทนที่จ่ายในปีที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับบริษัทอื่นที่อยู่ในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน เพื่อ น�ำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทพิจารณา และน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่ออนุมัติ 1. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน (ก) ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 ได้อนุมัติค่าตอบแทนกรรมการบริษัทวงเงินรวมไม่เกิน ปีละ 20 ล้านบาท เท่าเดิม ทั้งนี้ ไม่รวมถึงค่าตอบแทนหรือสวัสดิการที่กรรมการบริษัทได้รับในฐานะพนักงาน หรือลูกจ้างของบริษัท โดยให้จ่ายในการท�ำหน้าที่ ดังนี้ 1. กรรมการบริษัท - ค่าเบี้ยประชุม (เฉพาะกรรมการบริษัทที่เข้าประชุม) ประธาน 12,000.- บาท/ครั้ง กรรมการ 10,000.- บาท/ครั้ง (ปี 2560 จ่ายเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 2,206,000.- บาท) - ค่าต�ำแหน่ง จ่ายเฉพาะประธานกรรมการบริษัท ที่ไม่มีฐานะเป็นพนักงาน หรือ ลูกจ้างของบริษัท โดยให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนไป พิจารณาจัดสรรและเสนอคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ (ปี 2560 จ่ายเป็นเงินรวมทั้งสิ้น - บาท) - ค่าตอบแทนประจ�ำปี จ่ายให้แก่กรรมการบริษัททุกคน โดยให้คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทนไปพิจารณาจัดสรร และเสนอคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ (ปี 2560 จ่ายเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 11,480,000.- บาท) 2. กรรมการตรวจสอบ - ค่าเบี้ยประชุมรายไตรมาส ประธาน ไตรมาสละ 60,000.- บาท กรรมการ ไตรมาสละ 30,000.- บาท (ปี 2560 จ่ายเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 475,280.- บาท) 3. กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน - ค่าเบี้ยประชุม (เฉพาะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนที่เข้าประชุม) ประธาน 12,000.- บาท/ครั้ง กรรมการ 10,000.- บาท/ครั้ง (ปี 2560 จ่ายเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 64,000.- บาท) 4. กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง - ค่าเบี้ยประชุม (เฉพาะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงที่เข้าประชุม) ประธาน 12,000.- บาท/ครั้ง กรรมการ 10,000.- บาท/ครั้ง (ปี 2560 จ่ายเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 44,000.- บาท) ส�ำหรับสิทธิประโยชน์อื่น -ไม่มี- ทั้งนี้ ตั้งแต่ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัติและให้ใช้จนกว่ามีการเปลี่ยนแปลง โดย ค่าตอบแทนที่จ่ายต้องไม่เกินวงเงินที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น รวมค่าตอบแทนกรรมการบริษัทที่จ่าย ในปี 2560 เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 14,269,280.- บาท
56
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การจัดการ
ค่าตอบแทนที่กรรมการบริษัทแต่ละรายได้รับ ในปี 2560 มีดังนี้ หน่วย : บาท ค่าต�ำแหน่ง คณะกรรมการ จ่ายเฉพาะ ค่าตอบแทน คณะ คณะกรรมการ สรรหาและ เบีย้ ประชุม ประธาน คณะกรรมการ กรรมการ ก�ำหนดค่า ธรรมาภิบาล และบริหาร กรรมการ ประจ�ำปี ตรวจสอบ ตอบแทน ความเสี่ยง บริษัท
รายชื่อ
รวมค่า ตอบแทน กรรมการ
1. นายบุณยสิทธิ์
โชควัฒนา
156,000
-
850,000
-
24,000
-
1,030,000
2. นายบุญปกรณ์
โชควัฒนา
130,000
-
800,000
-
-
-
930,000
3. นายทนง
ศรีจิตร์
120,000
-
800,000
-
20,000
10,000
950,000
4. นายวิชัย
กุลสมภพ
130,000
-
800,000
-
-
10,000
940,000
5. นายส�ำเริง
มนูญผล
130,000
-
800,000
-
-
-
930,000
6. นายมนู
ลีลานุวัฒน์
110,000
-
800,000
-
-
-
910,000
7. นางสาวศิริกุล
ธนสารศิลป์
130,000
-
800,000
-
20,000
-
950,000
8. นายพิพัฒ
พะเนียงเวทย์
120,000
-
530,000
-
-
-
650,000
9. นายก�ำธร
พูนศักดิ์อุดมสิน
90,000
-
530,000
-
-
-
620,000
10. นายบุญเกียรติ
โชควัฒนา
130,000
-
530,000
-
-
-
660,000
11. นายบุญชัย
โชควัฒนา
110,000
-
530,000
-
-
-
640,000
12. นายสุจริต
ปัจฉิมนันท์
130,000
530,000
-
13. นายนพพร
พงษ์เวช
130,000
-
530,000
240,000
-
24,000
924,000
14. นางพรรณี
วงวุฒิจงสถิต
120,000
-
530,000
120,000
-
-
770,000
(เสียชีวติ เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม 2561)
15. พลต�ำรวจโทอัมรินทร์ เนียมสกุล
660,000
40,000
-
55,280
-
-
95,280
90,000
530,000
60,000
-
-
680,000
10,000
-
-
-
-
10,000
(ครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 25 เม.ย.2560)
16. นางสาวนฤมล
สอาดโฉม
(ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2560)
17. นายอะกิระ
มูราโคชิ
(ลาออกจากการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 20 มี.ค.2560)
18. นายนิพนธ์
พัวพงศกร
70,000
-
530,000
-
-
-
600,000
(ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 25 เม.ย.2560)
19. นายสุรชัย
ดนัยตั้งตระกูล
130,000
-
530,000
-
-
-
660,000
20. นายสมพงษ์
สังข์รังสรรค์
130,000
-
530,000
-
-
-
660,000
2,206,000
-
11,480,000
64,000
44,000 14,269,280
รวม
475,280
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
57
การจัดการ
(ข) ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร และผู้บริหาร ส�ำหรับผู้บริหารอื่นๆ ฝ่ายบริหารจะเป็นผู้พิจารณา ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์และนโยบายของบริษัท โดยพิจารณา จากผลการด�ำเนินงานของบริษัท และผลการปฏิบัติงานรายบุคคล โดยในปี 2560 ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร ผู้บริหารสี่รายแรกรอง จากผู้จัดการลงมา และผู้บริหารในระดับเทียบเท่ารายที่สี่ทุกราย รวม 14 คน มีการจ่ายค่าตอบแทนในรูปเงินเดือน เบี้ยประชุม เบี้ยเลี้ยง เงินอุดหนุน เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 76,965,633.- บาท และจ่ายเงินตอบแทนการเกษียณอายุ เป็นจ�ำนวนเงิน 4,976,221.25 บาท 2. ค่าตอบแทนอื่น (ก) ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการบริษัท - ไม่มี (ข) ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการบริหาร และผู้บริหาร บริษทั ฯ ได้ตงั้ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ โดยเข้าร่วมเป็นหนึง่ ในบริษทั ของกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพไทยพาณิชย์เพิม่ ผล 1 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีกรรมการบริหาร และผู้บริหารที่เป็นสมาชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ จ�ำนวน 10 คน จะได้รับเงินสมทบกองทุนทุกเดือน ในอัตราร้อยละ 8 ของค่าจ้าง เป็นเงินทั้งสิ้น 3,230,290.- บาท และสมาชิกสามารถเลือกอัตราเงิน สะสมเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 8 - 15 ของค่าจ้าง เมื่อสมาชิกสิ้นสภาพลง สมาชิกจะได้รับเงินสะสมและเงินสมทบ รวมทั้งส่วนเฉลี่ย ผลประโยชน์สุทธิตามเงื่อนไขของกองทุน
5. บุคลากร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีพนักงานรวมทั้งสิ้น 123 คน (ไม่รวมพนักงานที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริหาร และผู้ บริหาร) โดยในปี 2560 บริษัทฯ ได้จ่ายผลตอบแทนให้แก่พนักงานในรูปเงินเดือน ค่าล่วงเวลา เบี้ยเลี้ยง เงินอุดหนุน เป็นจ�ำนวนเงินทั้ง สิ้น 112,289,813.50 บาท และจ่ายเงินตอบแทนการเกษียณอายุ เป็นจ�ำนวนเงิน 3,810,264.06 บาท ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทฯ สนับสนุนให้พนักงานพัฒนาความรู้ ความสามารถ อย่างต่อเนื่อง และส่งเสริมให้พนักงาน รู้จักการใช้จ่าย การใช้ชีวิต และท�ำงานร่วมกันอย่างมีความสุข ส่งผลให้บริษัทฯ ไม่มีข้อพิพาทด้านแรงงาน
ค่าตอบแทนอื่น บริษัทฯ ได้ตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ โดยเข้าร่วมเป็นหนึ่งในบริษัทของกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพไทยพาณิชย์เพิ่มผล 1 ซึ่งจด ทะเบียนแล้ว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีพนักงานทีเ่ ป็นสมาชิกกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ จ�ำนวน 104 คน จะได้รบั เงินสมทบกองทุนทุก เดือน ในอัตราร้อยละ 8 ของค่าจ้าง เป็นเงินทั้งสิ้น 6,076,627.- บาท และสมาชิกสามารถเลือกอัตราเงินสะสมเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 8 - 15 ของค่าจ้าง เมื่อสมาชิกสิ้นสภาพลง สมาชิกจะได้รับเงินสะสมและเงินสมทบ รวมทั้งส่วนเฉลี่ยผลประโยชน์สุทธิตามเงื่อนไข ของกองทุน
นโยบายด้านบุคลากร บริษัทฯ มีนโยบายด้านบุคลากร โดยให้ความส�ำคัญกับบุคลากรทุกระดับอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันภายใต้การบริหาร งานเชิงกลยุทธ์ ที่สามารถสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท และเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงในด้าน ต่างๆ ที่เกิดขึ้นทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยมีแนวทางในการปฎิบัติ ดังนี้ • การทบทวนเหตุการณ์ต่างๆ ของบริษัท ที่เกิดขึ้นในอดีตมาเป็นบทเรียน • การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของบริษัท ทั้งภายในและภายนอก • การสร้างวิสัยทัศน์ใหม่และพร้อมท�ำการปรับเปลี่ยนรูปแบบการท�ำงานใหม่ • การปรับกลยุทธ์ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัท • การบริหารความเปลี่ยนแปลง (Change Agent) เน้นการสร้างความยืดหยุ่นการท�ำงานอย่างเป็นระบบ • การให้ความส�ำคัญด้านการก�ำกับดูแลกิจการและการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน ทั้งนี้ บริษัทฯ ตระหนักและส่งเสริมให้พนักงานมีการพัฒนาความรู้ (Knowledged) ความสามารถ (Ability) และทักษะ (Skill) ให้เกิดความ
58
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การจัดการ
เชี่ยวชาญเพิ่มขึ้น รวมถึงการพัฒนาทัศนคติ ลักษณะนิสัย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้บริษัทฯ เติบโตและก้าวหน้าได้อย่างยั่งยืน โดยบริษัทฯ ได้ด�ำเนินการด้านบุคลากร ดังนี้
1. ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล • การปรับโครงสร้างองค์กร ปรับโครงสร้างองค์กรให้มปี ระสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ พร้อมรับการเปลีย่ นแปลงของการด�ำเนินธุรกิจ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต และยกระดับศักยภาพการบริหารงาน ให้มีความคล่องตัวสอดคล้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท โดยก�ำหนด โครงสร้างที่ชัดเจน โปร่งใส และเป็นธรรม โดยในปี 2560 ได้จัดตั้งฝ่ายสารสนเทศ เพื่อรองรับแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประเทศไทย 4.0 และเตรียมความพร้อมด้าน Big Data ให้กับบริษัทในกลุ่ม • การวางแผนการสืบทอดงาน เพื่อให้การด�ำเนินงานของบริษัทเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอยู่เสมอ บริษัทฯ ได้วางนโยบายในการสืบทอดต�ำแหน่งของพนักงานในหน้าที่ต่างๆ โดยก�ำหนดระดับต�ำแหน่งงาน ทิศทางการพัฒนาบุคลากร เพื่อเตรียมบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ส�ำหรับทดแทนและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งในการวางแผนต้องจัดท�ำให้มีความ เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และกลยุทธ์ของบริษัท โดยเฉพาะในต�ำแหน่งสายงานหลักที่ส่งผลต่อการด�ำเนินงานของบริษัท รวมถึงในกรณีที่บริษัทฯ มีการปรับเปลี่ยนต�ำแหน่งหน้าที่ หรือในกรณีที่พนักงานจะพ้นจากต�ำแหน่งเดิมโดยการลาออก เกษียณอายุหรือ ถึงแก่กรรม บริษัทฯ มีหลักการวางแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง ดังนี้ - สรรหา คัดเลือกบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพและความสามารถจากภายในบริษทั ฯ โดยพิจารณาบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ามหลัก เกณฑ์ที่บริษัทฯ ก�ำหนด และต้องเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เหมาะสมกับวัฒนธรรมองค์กร - การสรรหา คัดเลือก หากต้องเลือกจากพนักงานหลายคนเพื่อก้าวสู่ต�ำแหน่งที่สูงขึ้น ต้องพิจารณาจากการประเมิน ผลความพร้อมผู้สืบทอดต�ำแหน่ง ประกอบกับการประเมินผลการปฎิบัติงานการท�ำงาน - พิจารณาจากหลักการก�ำหนดความสามารถ (Competencies) ซึ่งหมายถึง ความรู้ ทักษะ บุคลิกภาพของพนักงาน ในต�ำแหน่งนั้นๆ - การพัฒนาความรูห้ รือทักษะเพิม่ เติม สามารถกระท�ำได้โดยการเข้าอบรมในหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับหน้าทีท่ จี่ ะต้องรับผิดชอบ - ปฎิบัติตามหลักก�ำกับดูแลกิจการที่ดี • การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน บริษทั ฯ ก�ำหนดให้มกี ารการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานในระดับผูจ้ ดั การ ระดับ พนักงานปฎิบตั งิ าน และระดับผูช้ ำ� นาญการ ปีละ 2 ครัง้ ในเดือนมกราคมและกรกฎาคมของทุกปี ท�ำให้ทราบถึงศักยภาพของพนักงานแต่ละคน เพือ่ ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาพนักงานให้มคี ณุ สมบัติ ความสามารถในการปฎิบตั งิ านได้เพิม่ ขึน้ และยังเป็นประโยชน์ประกอบการพิจารณา บริหารค่าตอบแทน การเลือ่ นต�ำแหน่ง การโยกย้าย การวางแผนก�ำลังคน ได้อย่างเหมาะสมตรงตามศักยภาพของพนักงาน • ระเบียบ สวัสดิการ บริษทั ฯ ได้ประเมิน และแก้ไข ปรับปรุง ระเบียบ สวัสดิการของบริษทั เพือ่ ให้เกิดความชัดเจนสอดคล้องกับ การปฏิบตั จิ ริง และได้กำ� หนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร รูปแบบการว่าจ้าง อัตราค่าตอบแทน แก่พนักงานหลังการเกษียณอายุ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะค�ำนึง ถึงความจ�ำเป็น ความเหมาะสม และเกิดประโยชน์สำ� หรับพนักงานทีไ่ ด้ปฏิบตั งิ านกับบริษทั ฯ เป็นระยะเวลานาน • การปฐมนิเทศ เป็นกระบวนการหนึง่ ทีบ่ ริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญ เพราะถือเป็นการสร้างความประทับใจครัง้ แรกส�ำหรับพนักงานที่ เริม่ เข้าท�ำงานใหม่ โดยทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำ ชีแ้ จงเรือ่ งต่างๆ อาทิ นโยบาย โครงสร้างองค์กร ระเบียบ สวัสดิการของบริษทั ตลอดจนให้พนักงานมีความเข้าใจเกีย่ วกับงานทีต่ อ้ งปฏิบตั แิ ละทราบถึงหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ ประกอบด้วย นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ จรรยาบรรณกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงาน โดยน�ำเสนอในรูปแบบวีดทิ ศั น์ (Animation) รวมถึงนโยบาย การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน และข้อปฏิบตั ติ ามนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ซึง่ เป็นหัวใจส�ำคัญของบริษทั เป็นผลให้พนักงานเกิด การเรียนรู้ เข้าใจ และมีความความมัน่ ใจในการปฏิบตั งิ าน สามารถเข้าใจวัฒนธรรมองค์กร อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การท�ำงานต่อไป
2. ด้านการพัฒนาบุคลากร บริษัทฯ ส่งเสริมให้พนักงานเติบโตในหน้าที่การงานตามความรู้ ความสามารถ รู้จักแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง มี ความพร้อมในการปฏิบัติงานให้หลากหลาย เพื่อสามารถรองรับต่อการเติบโตของบริษัท และสามารถที่จะน�ำความรู้และประสบการณ์ที่ ได้รับมาสร้างให้พนักงานเป็น “คนดีและคนเก่ง” โดยบริษัทฯ ได้มุ่งเน้นด้านการพัฒนาบุคลากร ดังนี้ • การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร เปรียบเสมือนก้าวแรกของการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทฯ จึงได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการ สรรหาคัดเลือกพนักงานด้วยความยุติธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยด�ำเนินการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรที่มีความสามารถ มี
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
59
การจัดการ
ทัศนคติแง่บวก และคุณสมบัติที่เหมาะสมกับลักษณะของงานที่บริษัทฯ ต้องการ รวมทั้งสามารถอยู่ร่วมกับวัฒนธรรมของบริษัทได้อย่าง มีความสุข หลักการของการสรรหาคัดเลือกบุคลากรผ่านระบบการคัดกรองบุคลากร เริม่ จากการคัดเลือกบุคลากรภายในองค์กร โดย พิจารณาจากความรู้ ความสามารถ เพื่อเปิดโอกาสให้มีการหมุนเวียนการท�ำงาน หากไม่สามารถด�ำเนินการสรรหาคัดเลือกบุคคลากร ภายในองค์กรได้ บริษัทฯ จะเปิดรับสมัคร โดยมีเงื่อนไขการประกาศรับสมัครเช่น คุณสมบัติ คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การท�ำงาน ประกอบกับการทดสอบ ด้านทัศนคติ บุคลิกภาพ จากเครื่องมือวิเคราะห์พฤติกรรม และแบบทดสอบบุคลิกภาพที่เรียกว่า “DISC” และ จากการสัมภาษณ์ เพื่อเป็นเกณฑ์ในการตรวจสอบและคัดเลือกบุคลากร นอกจากนี้การจัดระบบและวิธีการสรรหาคัดเลือกของบริษัท ได้ บูรณาการระบบคุณธรรม (Merit system) “หลักแห่งความดี” เข้ามาใช้เป็นแนวทางในการสรรหาบุคลากร ประกอบด้วยปัจจัยส�ำคัญ 4 ประการ คือ - ใช้หลักความสามารถ โดยก�ำหนดเงื่อนไขการรับสมัครบุคลากร ได้แก่ คุณสมบัติ คุณวุฒิทางการศึกษา และ ประสบการณ์การท�ำงานของผู้สมัคร - ใช้หลักความเสมอภาค โดยค�ำนึงถึงหลักการแห่งสิทธิของความเสมอภาคของบุคคล ซึง่ การใช้หลักความเสมอภาคนี้ จะไม่จ�ำกัดการคัดเลือกบุคคลจากภูมิล�ำเนา ถิ่นที่อยู่ เชื้อชาติ เพศ ศาสนา ผู้ปกครองหรือผู้รับรอง - ใช้หลักความมัน่ คง เป็นการให้หลักประกันความมัน่ คงแห่งอาชีพให้แก่บคุ ลากรทุกระดับในบริษทั ฯ ให้มขี วัญและก�ำลัง ใจในการท�ำงาน โดยหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการถูกกลั่นแกล้งในการท�ำงาน การไม่ถูกลงโทษ หรือสั่งให้พักงานโดยไม่มีเหตุผลเพียงพอ - ใช้หลักความเป็นกลาง การบริหารงานบุคคลของบริษัท มีแนวทางและหลักการในการปฏิบัติส�ำหรับบุคลากร โดยให้ ผู้ที่ด�ำรงต�ำแหน่งต่างๆ วางตนเป็นกลาง ไม่กระท�ำการใดๆ อันส่อเจตนาว่าเป็นการนิยม ฝักใฝ่ อุดหนุนหน่วยงานใดหรือหน่วยงานหนึ่ง นอกจากนี้ เพือ่ สนับสนุนการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน่ บริษทั ฯ มีการขอตรวจดูขอ้ มูลข่าวสารส่วนบุคคล (ประวัติ อาชญากรรม) ของบุคคลที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมท�ำงานกับบริษัทฯ จากกองทะเบียนประวัติอาชญากร ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ • การฝึกอบรมและพัฒนา บริษัทฯ มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาพนักงาน ให้มีความรู้ ความช�ำนาญและสามารถน�ำมาใช้ใน การปฏิบัติงาน โดยมีการส�ำรวจความจ�ำเป็นในการฝึกอบรม (Training Needs Survey ) เพื่อรับทราบปัญหาในปีที่ผ่านมา รวมถึงความ ต้องการด้านการฝึกอบรม การพัฒนาตนเองของพนักงาน และน�ำบทสรุปจากการส�ำรวจความต้องการฝึกอบรม ตลอดจน แผนกลยุทธ์ ด้านการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรของบริษัทมาใช้บูรณาการ เพื่อจัดท�ำแผนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร โดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนด ให้พนักงานของบริษัทต้องได้รับการอบรม / สัมมนา อย่างน้อยคนละ 3 หลักสูตรต่อปี แบ่งเป็น หลักสูตรที่เกี่ยวเนื่องกับการปฎิบัติงาน อย่างน้อยปีละ 1 หลักสูตร และ หลักสูตรทั่วไป อย่างน้อยปีละ 2 หลักสูตร ซึ่งในปี 2560 บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการฝึกอบรมแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ดังนี้ กลุ่มที่ 1. การพัฒนาพนักงาน เป็นการพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่พนักงาน โดยบริษัทฯ ส่งพนักงานเข้าอบรมภายนอก (Public Training) กับองค์กร สถาบัน หน่วยงานภายนอก ในด้านการบริหาร บัญชีและการเงิน การลงทุน เทคโนโลยีสารสนเทศ การ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กฎหมาย และด้านพัฒนาบุคลากร รวมทั้งสิ้น 106 หลักสูตร จ�ำนวน 117 คน (คิดเป็นร้อยละ 92.86% ของจ�ำนวน พนักงานทั้งหมด) และมีจ�ำนวนชั่วโมงฝึกอบรมทั้งสิ้น 2,591 ชั่วโมง ในส่วนการจัดอบรมหลักสูตรภายในบริษัท (In-house training) บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการจัดอบรมให้แก่พนักงานและบริษัทใน กลุ่มในหลักสูตร Update ภาษีใหม่ประจ�ำปี 2560 หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ฉบับปรับปรุงใหม่ ส�ำหรับปี 2560 และ บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ กฎหมายหลักทรัพย์ (ฉบับใหม่)
60
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การจัดการ
โดยสามารถจ�ำแนกจ�ำนวนบุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรม ดังนี้ สัดสวนพนักงานที่เขาอบรม ประจำป 2560 พนักงานที่ไมไดเขาอบรม
7.14%
พนักงานที่เขาอบรม
92.86%
พนักงานที่เขาอบรม
พนักงานที่ไมไดเขาอบรม
เปรียบเทียบการอบรมของพนักงานประจำป 2559 และ ป 2560 3000
2,591
2,500 1,861
2.000 1,500 1,000 500 0 ป2559 ป 2560
76
111
106
จำนวนหลักสูตร 76 106
จำนวนชั�วโมง (ชม.) 1,861 2,591 ป2559
117
จำนวนพนักงานเขาอบรม (คน) 111 117
ป 2560
กลุ่มที่ 2. การพัฒนากรรมการบริษัทและผู้บริหาร บริษทั ฯ ส่งเสริมให้กรรมการบริษทั และ ผูบ้ ริหารทุกคนมีโอกาสพัฒนา ความรู้ โดยให้ความส�ำคัญต่อการเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั หิ น้าที่ ทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสมาคมบริษทั จดทะเบียน รวมทัง้ กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร มีการพบปะแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารระดับสูงขององค์กรต่างๆ อยูเ่ สมอ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยกรรมการบริษัทได้เข้าอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ดังนี้
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
61
การจัดการ
62
1. หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 2. หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 3. หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND) 4. หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) 5. หลักสูตร Role of Compensation Committee (RCC) 6. หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) 7. หลักสูตร Chartered Director Class (CDC) 8. หลักสูตร Improving the Quality of Financial Reporting (QFR) 9. หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA) 10. หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) 11. หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM) 12. หลักสูตร Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) 13. หลักสูตร DCP Refresher Course (RE DCP) 14. หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) 15. หลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) 16. หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) 17. หลักสูตร Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG) 18. หลักสูตร Ethical Leadership Program (ELP) 19. หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) 20. หลักสูตร Driving Company Success with IT Governance (ITG)
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
โชควัฒนา
ศรีจิตร์
กุลสมภพ
มนูญผล
ลีลานุวัฒน์
ธนสารศิลป์*
ปัจฉิมนันท์
พะเนียงเวทย์
พูนศักดิอ์ ดุ มสิน
โชควัฒนา
โชควัฒนา
พงษ์เวช
วรวุฒิจงสถิต
สอาดโฉม
พัวพงศกร
ดนัยตั้งตระกูล
สังข์รังสรรค์
2. นายบุญปกรณ์
3. นายทนง
4. นายวิชัย
5. นายส�ำเริง
6. นายมนู
7. นางสาวศิริกุล
8. นายสุจริต
9. นายพิพัฒ
10. นายก�ำธร
11. นายบุญเกียรติ
12. นายบุญชัย
13. นายนพพร
14. นางพรรณี
15. นางสาวนฤมล
16. นายนิพนธ์
17. นายสุรชัย
18. นายสมพงษ์
3/2003
11/2004
14/2002
-
2/2003
-
-
FND รุ่น
68/2005
41/2004
68/2005
39/2004
-
68/2005
68/2005
-
61/2005
-
-
-
224/2016
38/2003
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
72/2006 9/2004
68/2005
68/2005
DCP รุ่น
38/2005 71/2006
3/2003
3/2003
3/2003
3/2003
41/2005
3/2003
3/2003
3/2003
-
3/2003
3/2003
3/2003
DAP รุ่น
-
-
-
-
2/2004
12/2006
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ACP รุ่น
-
-
-
21/2016
7/2008
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
7/2008
-
RCC รุ่น
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน) -
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
MIA รุ่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
MIR รุ่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
MFM รุ่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
MFR RE DCP รุน่ รุ่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
RCP รุ่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ACEP รุ่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ACPG รุ่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ELP รุ่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
1/2001 10/2014 10/2014 2/2015
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
RNG รุ่น
ทั้งนี้ กรรมการของบริษัท ได้เข้าร่วมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่กรรมการบริษัท มากกว่าร้อยละ 75 ของจ�ำนวนกรรมการบริษัททั้งคณะ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
QFR รุ่น
3/2008 1/2006 1/2007 2/2008 1/2009 5/2007 2/2009 25/2001
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
8/2014
-
-
CDC รุ่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
18/2006
-
-
-
CSP รุ่น
หมายเหตุ * นางสาวศิริกุล ธนสารศิลป์ ได้เข้าอบรมหลักสูตร Board and CEO Assessmet รุ่น 2/2003
โชควัฒนา
1. นายบุณยสิทธิ์
รายชื่อ
-
-
-
21/2017
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
AACP รุ่น
-
-
-
-
4/2017
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ITG รุ่น
การจัดการ
63
การจัดการ
ในปี 2560 กรรมการบริษัท ได้เข้าอบรมหลักสูตร 1. หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) 2. หลักสูตร Driving Company Success with IT Governance (ITG) ในปี 2560 บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญในการเข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition หรือ CAC) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้ส่งเสริมให้ผู้บริหารและพนักงานได้รับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง กับหลักธรรมาภิบาลและการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ ในด้านการต่อต้านการทุจริตการ คอร์รัปชัน ได้แก่ • หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ฉบับปรับปรุงใหม่ ส�ำหรับปี 2560 • Enhancing Good Corporate Governance based on CGR Scorecard • เสวนาวิชาการ “รัฐบาลใหม่! คอร์รัปชันเก่า?” • กรรมการอิสระ : บทบาท หน้าที่ และความหวังของผู้ถือหุ้นรายบุคคล • บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ และการใช้ข้อมูลวงใน :กรณีศึกษา • บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของงกรรมการ กฎหมายหลักทรัพย์ (ฉบับใหม่) ตลอดจนบริษัทฯ ได้ให้พนักงานท�ำแบบทดสอบวัดความรู้ในการปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อทบทวนความรู้ ความเข้าใจ ในการปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านคอร์รัปชัน และให้พนักงานท�ำแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจด้านการก�ำกับดูแลกิจการ เพื่อให้เข้าใจหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี • การศึกษาดูงาน เป็นแนวทางเพิ่มพูนคุณวุฒิแก่บุคลากรให้มีความรู้ที่ทันสมัยอยู่ตลอด อันเป็นวิธีการที่เอื้อต่อการบรรลุ วัตถุประสงค์ในการปฏิบัติงาน ในปี 2560 ผู้บริหารและพนักงานไปศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศในด้านการลงทุน ด้านธุรกิจอาหาร และบริการ ด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ด้านธุรกิจสิ่งทอ ด้านคลังสินค้า และด้านโลจิสติกส์ เพื่อน�ำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงานมา ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และเป็นการเตรียมความพร้อมในการศึกษาหาแนวทางในการร่วมลงทุนของบริษัท • การสร้างสัมพันธภาพทีด่ รี ะหว่างผูบ้ ริหารและพนักงาน บริษทั ฯ ได้จดั กิจกรรม เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่างผูบ้ ริหาร และพนักงาน และยังเป็นการถ่ายทอดข้อมูลระหว่างผู้บริหารถึงพนักงานทุกระดับ (Top - Down) ให้ได้รับทราบถึงนโยบาย แผนงาน แนวทางการด�ำเนินงาน ความคืบหน้าของโครงการ อุปสรรค ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และอื่นๆ รวมทั้งเปิดโอกาสให้พนักงานแสดงความ คิดเห็นและมีสว่ นร่วมในการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงานของบริษทั โดยได้จดั รูปแบบการสือ่ สารระหว่างผูบ้ ริหารและ พนักงาน เช่น การประชุม Steering การประชุมพนักงาน เป็นประจ�ำทุกเดือน ร่วมถึงการสัมมนาประจ�ำปีของบริษัท
64
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
งานสหกรุ๊ปแฟร์ ครั้งที่ 21 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
นักวิเคราะห์ นักลงทุน พบกลุ่มสหพัฒน์ ครั้งที่ 9 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
65
การกำ�กับดูแลกิจการ
การกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท ได้ให้ความส�ำคัญต่อการสร้างระบบการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ด�ำเนินธุรกิจด้วยการมีระบบบริหารจัดการที่ ดี โปร่งใส ซื่อสัตย์ และตรวจสอบได้ มีการถ่วงดุลอ�ำนาจ และระบบการควบคุมภายในที่มีความเพียงพอและเหมาะสม ควบคู่ไปกับ การเคารพสิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น ค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียโดยรวม เพื่อสร้างความเจริญ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและ ความมั่งคั่งแก่ผู้ถือหุ้น โดยยึดหลักการบริหารงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และบน พื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดี โดยอาศัยความรู้ ความรอบคอบ และ ความระมัดระวัง มาใช้ในการวางแผน และการด�ำเนินงาน ขณะเดียวกันได้เสริมสร้างให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน มีการแบ่งปัน และใช้สติปัญญาในการด�ำเนินงาน พร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อประโยชน์สุขอย่างสมดุลและยั่งยืน คณะกรรมการบริษัท ได้มีการทบทวนหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท เป็นประจ�ำทุกปี ในปี 2560 ตามที่ส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพนย์มีจดหมาย ที่ กลต. สภ.(ว) 152560/ เรื่อง “หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับ บริษัทจดทะเบียน ปี 2560 (Corporate Governance Code : CG Code)” ซึ่งจะใช้แทนหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัท จดทะเบียน ปี 2555 คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้น�ำขององค์กร โดยมีคณะกรรมการธรรมาภิบาลและ บริหารความเสี่ยง ศึกษา รับฟังค�ำบรรยายหลักปฏิบัติตาม CG Code จนเข้าใจประโยชน์และหลักปฏิบัติในการน�ำไปใช้สร้างคุณค่า ให้แก่กิจการอย่างยั่งยืนเป็นอย่างดีแล้ว รวมทั้งคณะกรรมการบริษัทได้ประเมินการปฏิบัติตามหลักปฏิบัติใน CG Code แต่ละข้อ เพื่อให้มั่นใจว่ามีกระบวนการที่ได้ปรับใช้หรือมีแผนพัฒนาให้เหมาะสมกับธุรกิจแล้ว
แนวปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท ได้จัดท�ำ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1) เพื่อให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของ ASEAN CG Scorecard และเป็นไปตามแนวทางหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ซึ่งได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 9 (ชุดที่ 20) เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2557 และได้จัดท�ำ นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 11 (ชุดที่ 21) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2558 พร้อมทั้ง ข้อปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 11 (ชุดที่ 22) เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2559 โดยได้แจกให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน และเปิดเผยในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) เพื่อให้เป็น แนวทางในการปฏิบัติ ในการด�ำเนินธุรกิจ และเป็นหลักยึดในการท�ำงาน ประกอบด้วย 1. นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ 2. หลักการก�ำกับดูแลกิจการ 5 หมวด 3. จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ 4. จรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน 5. นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน 6. ข้อปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน และอยู่ในระหว่างการน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2560 ไปปรับใช้ตามบริบททางธุรกิจของบริษัท
66
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
1. นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท มีความเชื่อมั่นว่าการมีระบบบริหารจัดการที่ดี โปร่งใส และตรวจสอบได้ ตลอดจนมีการถ่วง ดุลอ�ำนาจ และระบบการควบคุมภายในที่มีความเพียงพอและเหมาะสม ควบคู่ไปกับการเคารพสิทธิและความเท่าเทียมกันของ ผู้ถือหุ้นและรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย จะเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ช่วยเสริมสร้างให้องค์กรมีภูมิคุ้มกันที่ดี และสร้างความเจริญเติบโต อย่างสมดุลและยั่งยืนในระยะยาว คณะกรรมการบริษัท ได้ก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ เพื่อให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ยึดถือ เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน มุ่งมั่นที่จะน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการ จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และ จรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ไปปฏิบัติในการด�ำเนินงานของบริษัท 2. กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต โดย ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับบริษัท และประกาศที่เกี่ยวข้อง 3. ด�ำเนินการให้โครงสร้างการจัดการของบริษัท มีการก�ำหนด อ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการแต่ละ คณะ และผู้บริหารอย่างชัดเจน 4. ด�ำเนินการให้มรี ะบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง ให้อยู่ในระดับทีเ่ หมาะสม รวมถึงการมีระบบบัญชีและ รายงานทางการเงินที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ 5. ด�ำเนินการให้มีการเปิดเผยสารสนเทศที่ส�ำคัญอย่างเพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา ตราบเท่าที่ไม่กระทบต่อประโยชน์ อันชอบธรรมของบริษัท 6. ตระหนักและเคารพในสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของของผู้ถือหุ้น ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 7. ด�ำเนินการโดยค�ำนึงถึงความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสีย ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม 8. มุง่ มัน่ สูค่ วามเป็นเลิศในการด�ำเนินธุรกิจ โดยยึดมัน่ ในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลกู ค้าด้วยการรับฟังและทบทวนตนเอง เพื่อเพิ่มศักยภาพในการบริหารและสร้างสรรค์สิ่งที่ดีที่สุดอยู่เสมอ 9. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม สร้างจิตส�ำนึกอันดีงาม ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานด้วยความเป็นธรรม ตลอดจนมุง่ มัน่ ในการพัฒนาและ ยกระดับขีดความสามารถของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 10. ต่อต้านการทุจริต การคอร์รัปชัน ไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา เคารพต่อกฎหมาย และสิทธิมนุษยชน 11. ดำ� เนินการกับความขัดแย้งของผลประโยชน์ ด้วยความรอบคอบและมีเหตุผล โดยยึดถือประโยชน์ของบริษทั เป็นที่ตั้ง
การด�ำเนินงานนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั มีบทบาทส�ำคัญในการสร้างและขับเคลือ่ นวัฒนธรรมองค์กรในทุกๆ ด้าน ยึดมัน่ ในการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี สามารถปรับตัวภายใต้ปจั จัยการเปลีย่ นแปลง คณะกรรมการบริษทั ประพฤติตนเป็นแบบอย่างในฐานะผูน้ ำ� ในการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยจัดให้มีนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และจรรยาบรรณของกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทแล้ว ตลอดจนได้จัดท�ำในรูปแบบสื่อวีดิทัศน์ (Animation) เพื่อใช้อบรม ให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ มีความเข้าใจได้ง่ายขึ้น และใช้เผยแพร่ สื่อสาร กับบุคคลภายนอก ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และคูค่ า้ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ยังให้ความส�ำคัญในเรือ่ งต่อต้านการคอร์รปั ชัน โดยได้จดั ท�ำนโยบาย และข้อปฏิบตั ติ ามนโยบาย ต่อต้านการคอร์รัปชัน ซึ่งบริษัทฯ ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เมื่อ วันที่ 14 ตุลาคม 2559 ซึ่งเป็นการสร้างมูลค่าให้แก่กิจการอย่างยั่งยืน ส่งเสริมให้บริษัทฯ มีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ปี 2560 คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงบทบาทหน้าทีใ่ นฐานะผูน้ ำ� ขององค์กร โดยมอบหมายให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลและ บริหารความเสี่ยง ศึกษา รับฟังค�ำบรรยายหลักปฏิบัติตาม CG Code จนเข้าใจประโยชน์และหลักปฏิบัติในการน�ำไปใช้สร้างคุณค่าให้แก่ กิจการอย่างยัง่ ยืนเป็นอย่างดีแล้ว และคณะกรรมการบริษทั ได้ประเมินการปฏิบตั ติ ามหลักปฏิบตั ใิ น CG Code แต่ละข้อ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามี กระบวนการทีไ่ ด้ปรับใช้หรือมีแผนพัฒนาให้เหมาะสมกับธุรกิจแล้ว ซึง่ เป็นการยกระดับมาตรฐานและการปฏิบตั ดิ า้ นการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีของบริษัท ให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
67
การกำ�กับดูแลกิจการ
ส�ำหรับการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน จากการที่บริษัทฯ ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อ ต้านการทุจริต เมื่อ วันที่ 14 ตุลาคม 2559 บริษัทฯ ได้พัฒนาและขยายเครือข่าย โดยสนับสนุนให้บริษทั ในกลุม่ สหพัฒน์ทจี่ ดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ เป็นลูกค้าและคูค่ า้ ของบริษทั ยื่นเรื่องเพื่อขอรับรองการเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชน ไทยในการต่อต้านการทุจริต ซึ่งมีบริษัทที่ได้รับการรับรองจ�ำนวน 11 บริษัท ดังนี้ 1.
บริษทั เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน)
2.
บริษทั ไทยเพรซิเดนท์ฟดู ส์ จ�ำกัด (มหาชน)
3.
บริษทั เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)
4.
บริษทั สหพัฒนพิบลู จ�ำกัด (มหาชน)
5.
บริษทั ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (มหาชน)
6.
บริษทั ไทยวาโก้ จ�ำกัด (มหาชน)
7.
บริษทั ธนูลกั ษณ์ จ�ำกัด (มหาชน)
8.
บริษทั สหโคเจน (ชลบุร)ี จ�ำกัด (มหาชน)
9.
บริษทั เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จ�ำกัด (มหาชน)
10.
บริษทั ประชาอาภรณ์ จ�ำกัด (มหาชน)
11. บริษทั เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชัน่ แนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน)
และในปี 2560 มีบริษทั ในกลุม่ สหพัฒน์ที่ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เพิม่ อีก 1 บริษัท คือ บริษัท โอซีซี จ�ำกัด (มหาชน) การพัฒนาหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ ในปี 2560 บริษัทฯ ได้รับคะแนน ดังนี้ - ผลประเมินคุณภาพการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญ ประจ�ำปี 2560 บริษทั ฯ ได้คะแนน 100 คะแนนเต็มเป็นปีที่ 9 ติดต่อกัน ผลประเมิน อยู่ในระดับ “ดีเลิศ” - ผลประเมินการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย ประจ�ำปี 2560 โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) บริษัทฯ ได้คะแนนอยู่ในระดับ “ดีมาก” ปี 2560 บริษทั ฯ บริหารงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ สี ำ� หรับบริษทั จดทะเบียน ปี 2555 ซึง่ ครอบคลุมเนือ้ หา 5 หมวด
หลักการก�ำกับดูแลกิจการ 5 หมวด ประกอบด้วย 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น
1.1 คณะกรรมการบริษทั ตระหนักและเคารพในสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของของผูถ้ อื หุน้ ไม่มกี ารกระท�ำใดๆ อันเป็นการละเมิด หรือลิดรอนสิทธิของผูถ้ อื หุน้ โดยท�ำหน้าทีด่ แู ลผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ อย่างเป็นธรรม ตลอดจนสนับสนุนและส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ ทุกกลุม่ ไม่ว่าเป็นผู้ถือหุ้นในประเทศหรือต่างประเทศ ทั้งที่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายย่อย หรือผู้ถือหุ้นประเภทสถาบันได้ใช้สิทธิของตน ทัง้ สิทธิขนั้ พืน้ ฐานของผูถ้ อื หุน้ สิทธิในการเข้าถึงสารสนเทศอย่างเพียงพอและทันเวลา และสิทธิในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ก�ำหนด ทิศทางการด�ำเนินงานและตัดสินใจในเรื่องที่มีผลกระทบที่มีนัยส�ำคัญต่อบริษัท 1.2 คณะกรรมการบริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอวาระการประชุมและส่งค�ำถามล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น โดยเผย แพร่หลักเกณฑ์การเสนอวาระการประชุมและการส่งค�ำถามล่วงหน้าบนเว็บไซต์ของบริษัท 1.3 คณะกรรมการบริษัทดูแลให้มีการให้ข้อมูล วัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุม โดยมีค�ำชี้แจงและเหตุผลประกอบ ในแต่ละวาระในหนังสือนัดประชุม รวมทั้งสถานที่จัดประชุมผู้ถือหุ้นสะดวกต่อการเดินทาง 1.4 คณะกรรมการบริษัทให้สิทธิผู้ถือหุ้นเป็นผู้อนุมัติค่าตอบแทนกรรมการบริษัทเป็นประจ�ำทุกปี มีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ การให้ค่าตอบแทนกรรมการในแต่ละคณะ 1.5 คณะกรรมการบริษัทส่งเสริมการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้เกิดความถูกต้อง รวดเร็ว มีการลง มติเป็นแต่ละรายการ ให้สิทธิผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการบริษัทเป็นรายบุคคล และมีการใช้บัตรลงคะแนน รวมทั้งมีบุคคลที่เป็นอิสระเป็น ผู้ตรวจสอบการนับคะแนน 1.6 คณะกรรมการบริษัทเปิดเผยให้สาธารณชนทราบถึงมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น พร้อมผลการลงคะแนนในแต่ละวาระในวัน
68
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
ท�ำการถัดไปบนเว็บไซต์ของบริษัท 1.7 คณะกรรมการบริษทั จัดท�ำรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยบันทึกการชีแ้ จงขัน้ ตอนการลงคะแนน รายชือ่ กรรมการบริษทั กรรมการชุดย่อย และผู้บริหารที่มาประชุมและลาประชุม ผลการลงคะแนนในแต่ละวาระพร้อมค�ำถามค�ำตอบ ไม่มีการเพิ่มวาระที่ไม่ได้ ระบุในหนังสือนัดประชุม และเปิดเผยต่อสาธารณชนบนเว็บไซต์ของบริษัท จากนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ และหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ในหมวด สิทธิของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญ ของผู้ถือหุ้นและเคารพสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของ นอกจากสิทธิในการลงคะแนนเสียงในที่ประชุม บริษัทฯ ได้ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุกกลุ่ม ไม่ว่าเป็นผู้ถือหุ้นในประเทศหรือต่างประเทศ ทั้งที่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายย่อย หรือผู้ถือหุ้นประเภทสถาบันได้ใช้สิทธิของตน และตระหนักถึงหน้าที่ในการดูแลและคุ้มครองให้ผู้ถือหุ้นทุกรายได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานโดยเท่าเทียมกัน เป็นธรรม ตามที่ก�ำหนดไว้ใน ข้อบังคับ และจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น ได้แก่ - สิทธิในความเป็นเจ้าของหุ้น การซื้อขาย และการโอนหุ้น - สิทธิการมีส่วนแบ่งในก�ำไร - สิทธิในการรับข่าวสารข้อมูลของบริษัท อย่างเพียงพอ - สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อใช้สิทธิในการแสดงความคิดเห็นและร่วมตัดสินใจ โดยการออกเสียงในที่ประชุม ผู้ถือหุ้น เช่น การเลือกตั้งหรือถอดถอนกรรมการบริษัท การก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัท การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี การอนุมัติเรื่องที่มีผลกระทบต่อบริษัทฯ เช่น การจัดสรรเงินปันผล การก�ำหนดหรือการแก้ไขข้อบังคับ และหนังสือ บริคณห์สนธิ การลดทุน หรือเพิ่มทุน และการอนุมัติรายการพิเศษ รวมทั้งสิทธิในการแสดงความคิดเห็น และซักถามใน การประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากสิทธิขนั้ พืน้ ฐาน คณะกรรมการบริษทั ยังค�ำนึงถึงสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ ตามกฎหมาย และด�ำเนินการในเรือ่ งต่างๆ ทีเ่ ป็น การส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น โดยไม่ละเมิดสิทธิ หรือลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น ส่งเสริมและอ�ำนวยความ สะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้ (1.1) สิทธิในการรับทราบข้อมูล ผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิรบั ทราบข้อมูลอย่างเท่าเทียมกัน โดยบริษทั ฯ ได้เผยแพร่ทง้ั ภาษาไทยและภาษา อังกฤษ ผ่านระบบเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มีชอ่ งทาง ที่จะได้รับข่าวสารข้อมูลของบริษัทได้มากขึ้น เช่น ผลการด�ำเนินงาน ข้อมูลการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน การซื้อขายสินทรัพย์ที่ส�ำคัญ รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรกของบริษัท ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น เพื่อประชุมสามัญประจ�ำปีปัจจุบันก่อนวันประชุม รายงานการ ประชุมผู้ถือหุ้นภายใน 14 วัน นับจากวันประชุม จ�ำนวนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย และข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น โดยเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส (1.2) สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเป็นประจ�ำทุกปีภายใน 4 เดือน นับแต่วัน สิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัท โดยวัน เวลา สถานที่ และวิธีการ ไม่เป็นอุปสรรคในการเข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีส่วน ร่วมในการติดตามดูแลผลการด�ำเนินงานของบริษทั และหากมีความจ�ำเป็นต้องเสนอวาระเป็นกรณีพเิ ศษ ซึง่ เป็นเรือ่ งทีอ่ าจกระทบกับผล ประโยชน์ของผู้ถือหุ้น กฎเกณฑ์หรือกฎหมายที่ใช้บังคับ และต้องได้รับอนุมัติจากผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเป็น กรณีไป ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามแนวทางการจัดประชุมผู้ถือหุ้นตาม AGM Checklist ในปี 2560 บริษัทฯ จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 ณ โรงแรมมณเฑียรริเวอร์ ไซด์ เลขที่ 372 ถนนพระราม 3 แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 ซึ่งเป็นโรงแรมที่บริษัทฯ ได้จัดการประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำทุกปี เพื่อไม่ ให้ผถู้ อื หุน้ สับสน พร้อมแนบแผนที่ สถานทีป่ ระชุมไปกับหนังสือบอกกล่าวนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และหนังสือบอกกล่าวนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ ก�ำหนดวาระการประชุมผู้ถือหุ้นไว้เป็นเรื่องๆ อย่างชัดเจน เช่น ในวาระเกี่ยวกับกรรมการบริษัท ได้แยกเรื่องการเลือกตั้งกรรมการบริษัท และค่าตอบแทนกรรมการบริษัท ออกเป็นแต่ละวาระ
ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น
1. บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสว่ นร่วมในการประชุม โดยให้สทิ ธิผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอเรือ่ งเพือ่ บรรจุเป็นวาระการประชุม และ/หรือ เสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่งค�ำถามล่วงหน้า ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปี 2560 บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุม และ/หรือ เสนอ ชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560 ตั้งแต่วันที่ 1-30 ธันวาคม 2559 โดยเผยแพร่ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านระบบเผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่งค�ำถามล่วงหน้า ปรากฏว่าไม่มีผู้ถือหุ้นเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุม และ/
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
69
การกำ�กับดูแลกิจการ
หรือเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท และไม่มีการส่งค�ำถามล่วงหน้า 2. บริษัทฯ แจ้งมติก�ำหนดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น พร้อมวาระและรายละเอียดการประชุม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านระบบเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตัง้ แต่วนั ที่ 16 มีนาคม 2560 ก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ 40 วัน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถจัดเวลาเข้าร่วมประชุม พร้อมเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) 3. บริษทั ฯ เปิดเผยหนังสือบอกกล่าวนัดประชุม พร้อมเอกสารประกอบการประชุมทัง้ หมดทีม่ ขี อ้ มูลเหมือนกับข้อมูลทีบ่ ริษทั ฯ ส่งให้ผู้ถือหุ้นในรูปเอกสารทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) เพื่อให้ผู้ถือหุ้นทั้งชาวไทยและต่าง ชาติ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยสะดวก รวดเร็ว และมีเวลาพิจารณาข้อมูล ล่วงหน้า 18 วัน ก่อนวันประชุม โดยเปิดเผยตั้งแต่วันที่ 7 เมษายน 2560 ซึ่งน้อยกว่า 30 วัน เนื่องจากบริษัทฯ มีรายการรับโอนกิจการ ซึ่งต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของประกาศคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4. บริษทั ฯ ส่งหนังสือบอกกล่าวนัดประชุม ซึง่ มีการก�ำหนดวัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุมไว้เป็นเรื่องๆ อย่างชัดเจน โดยระบุวา่ เป็นเรือ่ งเพือ่ ทราบหรือเพือ่ อนุมตั ิ พร้อมข้อเท็จจริงและเหตุผล รวมทัง้ ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ในแต่ละวาระ พร้อม เอกสารข้อมูลประกอบการประชุม ประกอบด้วย รายงานประจ�ำปี งบการเงิน ประวัตขิ องบุคคลที่ได้รบั การเสนอชือ่ ให้เลือกตัง้ เป็นกรรมการ บริษัท นิยามกรรมการอิสระ ข้อมูลกรรมการตรวจสอบที่บริษัทฯ เสนอชื่อให้เป็นผู้รับมอบฉันทะ ข้อบังคับบริษัทในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การประชุมผูถ้ อื หุน้ ค�ำอธิบายเอกสารและหลักฐานทีผ่ ถู้ อื หุน้ ต้องน�ำมาแสดงในการเข้าร่วมประชุม ขัน้ ตอนการเข้าร่วมประชุม แผนทีข่ อง สถานที่จัดประชุม และหนังสือมอบฉันทะแบบ ข. แบบฟอร์มลงทะเบียน และขั้นตอนการส่งคําถามล่วงหน้าเกี่ยวกับการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า ก่อนวันประชุม 15 วัน โดยส่งวันที่ 10 เมษายน 2560 เพื่อให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาล่วงหน้า อีกทั้งได้ลงประกาศ โฆษณาในหนังสือพิมพ์ เป็นเวลาติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุม 7 วัน ตั้งแต่วันที่ 18-20 เมษายน 2560 กรณีผถู้ อื หุน้ ต่างชาติหรือประเภทสถาบัน บริษทั ฯ ได้จดั ส่งหนังสือบอกกล่าวนัดประชุมพร้อมเอกสารประกอบการประชุม ซึง่ มีการแปลเป็นภาษาอังกฤษไปพร้อมกับชุดภาษาไทย เพื่อส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุกประเภทรวมนักลงทุนสถาบันเข้าร่วมประชุม นอกจากนี้ ผูถ้ อื หุน้ ยังสามารถดูรายละเอียดทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วกับการประชุมได้จากเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) และสามารถ Download หนังสือ มอบฉันทะทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ได้จัดท�ำและปฏิบัติตามประกาศของกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งมี 3 แบบ คือ แบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค. โดยสามารถเลือกหนังสือมอบฉันทะแบบใดแบบหนึ่ง ในปี 2560 มีผู้ถือหุ้นต่างชาติที่มอบฉันทะให้คนของตน เข้าร่วมประชุม 3 ราย ส่วนนักลงทุนสถาบันมอบฉันทะให้ประธาน กรรมการตรวจสอบของบริษัทประชุมแทน 2 ราย 5. บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่งค�ำถามล่วงหน้า โดยได้ระบุไว้ในจดหมายบอกกล่าวนัดประชุม ซึง่ ได้เปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ ของบริษัท (www.spi.co.th) ล่วงหน้า 18 วัน ก่อนวันประชุม
วันประชุมผู้ถือหุ้น
1. คณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญต่อการประชุมผู้ถือหุ้น และมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น โดยถือเป็นหน้าที่ที่ต้องเข้า ร่วมประชุม เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามข้อมูลของบริษัท ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 กรรมการบริษัทเข้าร่วมประชุม 17 คน จาก 17 คน คิด เป็นร้อยละ 100 โดยมีประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ประธาน กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง เข้าร่วมประชุม ส่วนฝ่ายจัดการมี ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ผูบ้ ริหาร สูงสุดทางด้านบัญชีและการเงิน และกรรมการบริหาร เข้าร่วมประชุม นอกจากนี้ มีผู้สอบบัญชีของบริษัท จ�ำนวน 1 คน และบริษัทฯ จัด ให้มี Inspector ซึ่งเป็นตัวแทนจากบริษัทสอบบัญชีของบริษัท จ�ำนวน 2 คน เป็นสักขีพยานในการนับคะแนนเสียงในแต่ละวาระ และใน การประชุมครั้งนี้ บริษัทฯ มีรายการรับโอนกิจการ และการออกหุ้นกู้แปลงสภาพ บริษัทฯ จึงจัดให้มีที่ปรึกษาทางการเงินในธุรกรรมการ รับโอนกิจการ จ�ำนวน 2 คน ที่ปรึกษากฎหมายในธุรกรรมการรับโอนกิจการ จ�ำนวน 2 คน ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระเกี่ยวกับรายการได้ มาซึง่ สินทรัพย์และการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน จ�ำนวน 2 คน ผูจ้ ดั จ�ำหน่ายและทีป่ รึกษาทางการเงินในการออกหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ จ�ำนวน 2 คน ที่ปรึกษากฎหมายในการออกหุ้นกู้แปลงสภาพ จ�ำนวน 2 คน เข้าร่วมประชุมด้วย เพื่อให้การประชุมเป็นไปอย่างโปร่งใส ถูกต้อง ตามกฎหมาย และข้อบังคับของบริษัท มีการบันทึกรายชื่อคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี รวมทั้งที่ ปรึกษาทางการเงิน ที่ปรึกษากฎหมาย ในธุรกรรมการรับโอนกิจการ ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระเกี่ยวกับรายการได้มาซึ่งสินทรัพย์และ การท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน ผู้จัดจ�ำหน่าย ที่ปรึกษาทางการเงิน และที่ปรึกษากฎหมาย ในการออกหุ้นกู้แปลงสภาพ รวมทั้งตัวแทน จากบริษัทสอบบัญชีที่เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น ไว้ในรายงานการประชุม ตามรายละเอียดในรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 46 ที่เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th)
70
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
2. บริษัทฯ ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันทุกราย เมื่อถึงเวลาประชุม เลขานุการบริษัทได้แจ้งจ�ำนวน/สัดส่วนผู้ถือหุ้น ที่เข้าประชุม หลังจากนั้น ประธานกรรมการบริษัทกล่าวเปิดประชุม และมอบให้นายทนง ศรีจิตร์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นผู้ด�ำเนิน การต่อไป โดยนายทนง ศรีจิตร์ ได้แนะน�ำกรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย ผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท จากนั้น นายทนง ศรีจิตร์ ได้มอบให้เลขานุการบริษัท แนะน�ำ ผู้สอบบัญชี ตัวแทนจากบริษัทสอบบัญชี ตัวแทนจากบริษัทที่ปรึกษา ที่เข้าร่วมประชุม พร้อมทั้ง ชี้แจงรายละเอียด กติกาทั้งหมด รวมถึงวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่ลงมติในแต่ละวาระ ตามข้อกฎหมาย และ ข้อบังคับของบริษัท บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมทุกรายซักถาม แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ได้อย่างเต็มที่ใน ทุกวาระ ตอบข้อซักถามอย่างชัดเจน ตรงประเด็น และสรุปผลการลงมติจากการนับคะแนนเสียงในทุกวาระ ด้วยระบบ Barcode ทั้ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และบัตรเสีย (ถ้ามี) พร้อมทั้งมีการบันทึกในรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 อย่างชัดเจน ถูกต้อง ในปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ชี้แจงภาพรวมของผลการด�ำเนินงานในแต่ละสายธุรกิจ และการด�ำเนินงานด้านการคอร์รัปชันให้ ผู้ถือหุ้นเข้าใจ จึงไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดซักถาม ตามรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 ที่บริษัทฯ เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) 3. ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 46 เมือ่ วันที่ 25 เมษายน 2560 บริษทั ฯ ได้ใช้ระบบ Barcode ในการลงทะเบียนและนับ คะแนนเสียง เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุม การตรวจนับคะแนนในแต่ละวาระใช้ระบบ Barcode โดยมี Inspector ซึ่งเป็นตัวแทนจากบริษัทสอบบัญชีของบริษัท จ�ำนวน 2 คน เป็นสักขีพยานในการนับคะแนนเสียงในแต่ละวาระ เพื่อให้การประชุมเป็น ไปอย่างโปร่งใส ถูกต้องตามกฎหมาย และข้อบังคับของบริษัท นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้น/ผู้รับมอบฉันทะทุกคน ยังสามารถเห็นผลคะแนนบน หน้าจอในห้องประชุมในแต่ละวาระว่ามีผู้เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และบัตรเสีย (ถ้ามี) ไปพร้อมกันทันที การลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระจะกระท�ำโดยเปิดเผย โดยบริษทั ฯ ได้เตรียมบัตรลงคะแนนให้กบั ผูถ้ อื หุน้ /ผูร้ บั มอบฉันทะทุก วาระ และจะเก็บบัตรลงคะแนนพร้อมลงนามรับรอง เฉพาะกรณีทผี่ ถู้ อื หุน้ /ผูร้ บั มอบฉันทะไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง ยกเว้นวาระเลือกตัง้ กรรมการบริษทั บริษทั ฯ ได้แจกบัตรลงคะแนนส�ำหรับวาระนีต้ งั้ แต่ขน้ั ตอนการลงทะเบียนร่วมประชุม และจะเก็บบัตรลงคะแนนจากผูถ้ อื หุน้ / ผูร้ บั มอบฉันทะทุกรายทีเ่ ข้าร่วมประชุม การนับคะแนนเสียงจะนับเฉพาะผูท้ ี่ไม่เห็นด้วย และ/หรือ งดออกเสียงเท่านัน้ และจะน�ำมาหักออก จากจ�ำนวนเสียงทัง้ หมดทีเ่ ข้าร่วมประชุม ส่วนทีเ่ หลือจะถือว่าเป็นคะแนนเสียงทีเ่ ห็นด้วยในวาระนัน้ ๆ นอกจากนี้ ก่อนเข้าแต่ละวาระหากมีผถู้ อื หุน้ เข้าร่วมประชุมเพิม่ จะมีการแจ้งจ�ำนวนผูถ้ อื หุน้ และจ�ำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละวาระ ในปี 2560 การลงคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นในแต่ละวาระ เป็นดังนี้ วาระ
จ�ำนวนผู้เข้าประชุม (ราย)
1 3 4 5.1.1 5.1.2 5.1.3 5.1.4 5.1.5 5.1.6 6 7 8
9 10 11 12 13 14 15
เห็นด้วย
ไม่เห็นด้วย
งดออกเสียง
หุ้น
%
หุ้น
%
หุ้น
%
137
406,204,500
100.00
-
-
-
-
140 140 140 140 140 140 140 140 141 141 141 (4)
406,205,900 406,205,900 406,205,900 406,205,900 406,205,900 406,205,900 406,205,900 406,205,900 406,213,901 406,213,901 406,213,901 (24,708,090)
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
-
-
-
-
(ผู้มีส่วนได้เสีย) 137 เหลือ
381,505,811
100.00
-
-
-
-
141 141 142 142 142 142 142
406,213,901 406,213,901 406,213,902 406,213,902 406,213,902 406,213,902 406,213,902
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
-
-
-
-
ตามรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 ที่เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
71
การกำ�กับดูแลกิจการ
4. บริษทั ฯ ด�ำเนินการประชุมเรียงตามล�ำดับวาระการประชุม ไม่มกี ารสลับวาระและไม่มกี ารเพิม่ วาระอืน่ นอกเหนือจากที่ได้ ก�ำหนดไว้ ในหนังสือบอกกล่าวนัดประชุมผู้ถือหุ้น หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลส�ำคัญโดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า พร้อมทั้งได้เปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการสอบถาม แสดงความคิดเห็น หรือเสนอแนะได้อย่างเต็มที่ในทุกวาระ 5. บริษทั ฯ มีการบันทึกวีดทิ ศั น์การประชุมผูถ้ อื หุน้ ตลอดระยะเวลาการประชุม ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ สามารถติดต่อได้ทเี่ ลขานุการบริษทั และได้เผยแพร่ภาพการประชุมผ่านเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) 6. วาระการประชุมผู้ถือหุ้นที่ส�ำคัญ ได้แก่ (1) การจ่ายเงินปันผล : บริษทั ฯ เสนอรายละเอียดเกีย่ วกับการจัดสรรก�ำไร อัตราเงินปันผลทีเ่ สนอจ่าย พร้อมเหตุผลและ ข้อมูลประกอบ ซึง่ เป็นไปตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษทั มีการเปรียบเทียบระหว่างเงินปันผลทีจ่ า่ ยกับนโยบาย (เสนอจ่ายหุน้ ละ 0.45 บาท นโยบายหุ้นละ 0.10 บาท) และระหว่างเงินปันผลทีจ่ ่ายในปีปัจจุบนั กับปีทผี่ ่านมา พร้อมระบุวันก�ำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นทีม่ ีสิทธิ รับเงินปันผล วันปิดสมุดทะเบียนการโอนหุ้น และวันจ่ายเงินปันผล (2) การเลือกตั้งกรรมการบริษัท : บริษัทฯ ให้สิทธิผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการบริษัทเป็นรายคน และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น เสนอชื่อบุคคล เพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท กรรมการบริษัทที่ได้รับการเสนอชื่อได้ผ่านการพิจารณากลั่นกรองจาก คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และหากเป็นกรรมการอิสระ ต้องมีคุณสมบัติตามที่บริษัทฯ ก�ำหนดและตามประกาศของ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน โดยในหนังสือบอกกล่าวนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ มีการระบุชอื่ พร้อมแนบประวัตยิ อ่ ของกรรมการบริษทั แต่ละคน ที่จะเสนอให้เลือกตั้ง ซึ่งประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล อายุ ต�ำแหน่ง ประวัติการศึกษา ประวัติการท�ำงาน จ�ำนวนบริษัทที่ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการบริษัท/ผู้บริหารในบริษัทจดทะเบียนและบริษัททั่วไป การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท การ ถือหุ้นในบริษัทฯ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา ประเภทของกรรมการที่เสนอ กรณีเป็นการเสนอชื่อกรรมการเดิมกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ใหม่ มีข้อมูลการเข้าร่วมประชุมในปีที่ผ่านมา และวันที่/เดือน/ปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท ตามหนังสือบอกกล่าวนัดประชุม สามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 และในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) (3) ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท : บริษัทฯ มีการเสนอวงเงินค่าตอบแทน และรูปแบบค่าตอบแทนให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น อนุมัติเป็นประจ�ำทุกปี โดยผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ซึ่งพิจารณาจากผลการด�ำเนินงาน ผลการปฏิบัติงาน วงเงินค่าตอบแทนที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น จ�ำนวนเงินค่าตอบแทนที่จ่ายในปีที่ผ่านมา และเปรียบเทียบกับ ระดับที่ปฏิบัติอยู่ในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน รวมถึงอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ มีการน�ำเสนอถึงนโยบาย ในการก�ำหนดค่าตอบแทน รวมทั้งหลักเกณฑ์การให้ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทแต่ละต�ำแหน่ง โดยแยกเป็นการท�ำหน้าที่กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง มีการสรุปวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จ�ำนวนเงินที่ จ่ายจริง และรูปแบบในการจ่าย รวมทั้ง จ�ำนวนเงินที่จ่ายให้แก่คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทนและคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง เป็นรายบุคคล ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) รายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) ในหัวข้อ ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท (4) การแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีและก�ำหนดจ�ำนวนเงินค่าสอบบัญชี : คณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผูพ้ จิ ารณา คัดเลือกเสนอชือ่ ผูส้ อบบัญชีและค่าสอบบัญชี โดยพิจารณาความเป็นอิสระ ผลการปฏิบตั งิ าน จ�ำนวนปีทที่ ำ� หน้าที่ เหตุผลทีเ่ ปลีย่ นผูส้ อบบัญชี มีการเปรียบ เทียบค่าสอบบัญชีระหว่างปีปัจจุบันกับปีที่ผ่านมา และค่าบริการอื่นที่มีการรับบริการจากบริษัทสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด นอกจากนี้ ยังได้พิจารณาเปรียบเทียบกับปริมาณงาน และอัตราค่าสอบบัญชีของบริษัทจดทะเบียนอื่นในระดับเดียวกัน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทให้ความเห็นชอบ และคณะกรรมการบริษัท เสนอให้ผู้ถือหุ้นอนุมัติ ตามหนังสือบอกกล่าวนัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 และ ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th)
หลังประชุมผู้ถือหุ้น
บริษัทฯ แจ้งมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และผลการลงคะแนนในแต่ละวาระ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ผ่านระบบข้อมูลของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามเวลาที่ก�ำหนด และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) ในวันท�ำการถัดไป จัดท�ำ รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษอย่างละเอียด ชัดเจน ตรงตามข้อเท็จจริงในแต่ละวาระ มีการบันทึก รายชื่อคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี รวมทั้งที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ปรึกษากฎหมาย ในธุรกรรม การรับโอนกิจการ ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระเกี่ยวกับรายการได้มาซึ่งสินทรัพย์และการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน ผู้จัดจ�ำหน่าย ที่ปรึกษา ทางการเงิน และที่ปรึกษากฎหมาย ในการออกหุ้นกู้แปลงสภาพ รวมทั้งตัวแทนจากบริษัทสอบบัญชีซึ่งเป็นสักขีพยานตรวจสอบการนับ คะแนน ที่เข้าร่วมประชุม บันทึกวิธีการลงคะแนน และนับคะแนน บันทึกจ�ำนวนคะแนนเสียงที่ได้รับในแต่ละวาระ ทั้งเห็นด้วย ไม่เห็น ด้วย งดออกเสียง และบัตรเสีย (ถ้ามี) บันทึกค�ำถามค�ำตอบ ซึ่งรายงานการประชุมดังกล่าว ได้รับการสอบทานจากฝ่ายกฎหมาย และ ประธานกรรมการบริษทั ก่อนลงนามในฐานะประธานทีป่ ระชุม และบริษทั ฯ ได้สง่ ให้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะ 72
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พร้อมทัง้ เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ภายใน 14 วัน นับจากวันประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อเป็นช่องทางให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบข้อมูลได้ โดยไม่จ�ำเป็นต้องรอให้ถึงการประชุม ครั้งต่อไป พร้อมทั้งน�ำส่งกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ภายในเวลาที่กฎหมายก�ำหนด ตามรายงานการประชุมสามัญผู้ถือ หุ้นครั้งที่ 46 ที่บริษัทฯ เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th)
2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน
2.1 คณะกรรมการบริษัทปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน โดยหุ้นประเภทเดียวกันมีสิทธิออกเสียง เท่าเทียมกัน เท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 2.2 คณะกรรมการบริษัทสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าร่วม ประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทน โดยใช้หนังสือมอบฉันทะรูปแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถก�ำหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ และเสนอ ชื่อกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เป็นทางเลือกในการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น 2.3 คณะกรรมการบริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอชื่อบุคคล เพื่อรับเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท ในการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2.4 คณะกรรมการบริษัทได้เผยแพร่หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น บนเว็บไซต์ของบริษัทล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ก่อนวัน ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2.5 คณะกรรมการบริษัทสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นทุกรายใช้สิทธิของตนในฐานะผู้ถือหุ้น โดยส่งหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและ เอกสารประกอบการประชุม เพื่อการพิจารณาล่วงหน้า โดยได้จัดท�ำฉบับภาษาอังกฤษให้กับผู้ถือหุ้นต่างชาติ 2.6 คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดนโยบายการป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน และมีมาตรการป้องกันการน�ำข้อมูลภายในไปใช้ เพื่อหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองและผู้อื่นโดยมิชอบ โดยห้ามมิให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ซึ่งอยู่ในหน่วยงานที่รับทราบ ข้อมูลภายใน ท�ำการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท ในช่วง 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยงบการเงินแก่สาธารณชน 2.7 คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร รายงานการมีส่วนได้เสียของตนและบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ด�ำเนินการกับความขัดแย้งของผลประโยชน์ด้วยความรอบคอบ ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ จากนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ และหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ในหมวด การปฎิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิและความเท่าเทียมกัน ดังนี้ (2.1) การใช้สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น 1. การก�ำหนดสิทธิออกเสียงในที่ประชุม เป็นไปตามจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นถืออยู่ โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิเท่ากับหนึ่งเสียง และ บริษัทฯ มีหุ้นประเภทเดียว คือ หุ้นสามัญ 2. การประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เสนอเรื่องเพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุม และ/หรือ เสนอชื่อ บุคคลเพือ่ รับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ล่วงหน้า ก่อนการประชุมตามหลักเกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการบริษทั ก�ำหนด รวมถึงช่อง ทางและช่วงเวลารับเรือ่ ง ระหว่างวันที่ 1-30 ธันวาคม 2559 โดยเผยแพร่ทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) รวมทัง้ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่งค�ำถามล่วงหน้า ซึง่ ไม่มผี ถู้ อื หุน้ เสนอเรือ่ ง เสนอ ชื่อบุคคลและส่งค�ำถามล่วงหน้า 3. การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 บริษัทฯ ส่งหนังสือบอกกล่าวนัดประชุม พร้อม เอกสารประกอบการประชุมล่วงหน้า ก่อนการประชุม 15 วัน โดยส่งวันที่ 10 เมษายน 2560 ประกอบด้วย รายละเอียด วาระการ ประชุม รายงานประจ�ำปี งบการเงิน ประวัติของบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อให้เลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท นิยามกรรมการอิสระ ข้อมูล กรรมการตรวจสอบที่บริษัทฯ เสนอชื่อให้เป็นผู้รับมอบฉันทะ ข้อบังคับบริษัทส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประชุมผู้ถือหุ้น ค�ำอธิบายเอกสาร และหลักฐานที่ผู้ถือหุ้นต้องน�ำมาแสดงในการเข้าร่วมประชุม ขั้นตอนการเข้าร่วมประชุม แผนที่ของสถานที่จัดประชุม และหนังสือ มอบฉันทะแบบ ข. แบบฟอร์มลงทะเบียน และขั้นตอนการส่งคําถามล่วงหน้าเกี่ยวกับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมี เวลาศึกษาข้อมูลก่อนการประชุม บริษัทฯ อ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้ถือหุ้น กรณีเป็นผู้ถือหุ้นต่างชาติ หรือนักลงทุนสถาบัน บริษัทฯ ได้จัดส่งชุดแปลเป็น ภาษาอังกฤษครบชุดทั้งหนังสือบอกกล่าวนัดประชุม และเอกสารประกอบการประชุมไปพร้อมชุดภาษาไทย เพื่อส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุก ประเภทรวมนักลงทุนสถาบันเข้าร่วมประชุม นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้เผยแพร่หนังสือบอกกล่าวนัดประชุมและเอกสารประกอบการประชุม บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
73
การกำ�กับดูแลกิจการ
ผู้ถือหุ้นครบชุดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในเว็บไซต์ของบริษัท ล่วงหน้า 18 วัน ก่อนวันประชุม โดยเปิดเผยตั้งแต่วันที่ 7 เมษายน 2560 ซึ่งน้อยกว่า 30 วัน เนื่องจากบริษัทฯ มีรายการรับโอนกิจการ ซึ่งต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาด ทุน และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ เป็นข้อมูลเดียวกับทีบ่ ริษทั ฯ ส่งให้ผถู้ อื หุน้ ในรูปเอกสาร เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยสะดวกและรวดเร็ว มีเวลาพิจารณาข้อมูล 4. บริษทั ฯ สนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ทุกคนมีสว่ นร่วมในการพิจารณาและออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งส�ำคัญๆ ของบริษทั ตาม ระเบียบวาระการประชุม โดยผูถ้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถมอบฉันทะให้บคุ คลใดบุคคลหนึง่ หรือกรรมการตรวจสอบ ซึง่ เป็นกรรมการอิสระของบริษทั คนใดคนหนึง่ เข้าประชุมแทน เพือ่ เป็นตัวแทนรักษาสิทธิของตน ซึง่ บริษทั ฯ ได้ให้ชอื่ ทีอ่ ยูแ่ ละการมีสว่ นได้ เสียในวาระการประชุมของกรรมการตรวจสอบทัง้ 3 คน ไว้ในหนังสือบอกกล่าวนัดประชุม หรือสามารถดูขอ้ มูลเกีย่ วกับกรรมการตรวจสอบ ทัง้ 3 คน ได้จากรายงานประจ�ำปี ทีส่ ง่ ไปพร้อมหนังสือบอกกล่าวนัดประชุมหรือในเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) บริษัทฯ อ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง โดยได้ส่งหนังสือมอบฉันทะแบบ ข. ไป พร้อมหนังสือบอกกล่าวนัดประชุม เพื่อสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นใช้หนังสือมอบฉันทะที่สามารถก�ำหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ ระบุ ถึงเอกสาร/หลักฐาน รวมทั้งค�ำแนะน�ำขั้นตอนในการมอบฉันทะ และไม่ได้ก�ำหนดกฏเกณฑ์ที่ท�ำให้ยากต่อการมอบฉันทะ หรือสามารถ Download หนังสือมอบฉันทะ ซึ่งมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ที่ได้จัดท�ำและปฏิบัติตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์จากเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) ซึ่งมี 3 แบบ คือ แบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค. (ใช้เฉพาะกรณีผู้ถือหุ้นเป็นผู้ลงทุนต่าง ประเทศ และแต่งตั้งให้คัสโตเดียนในประเทศไทยเป็นผู้รับฝากและดูแลหุ้น) ในปี 2560 บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 46 วันที่ 25 เมษายน 2560 ราย ผู้ถือหุ้นตามทะเบียนรวม ผู้ถือหุ้นเข้าประชุม เข้าประชุมด้วยตนเอง มอบฉันทะ - มอบให้กรรมการตรวจสอบ - มอบให้ผู้อื่น
1,062 142 51 91 2 89
หุ้น 494,034,300 406,213,902 38,206,051 368,007,851 26,160,893 341,846,958
% 100.00 82.22 7.73 74.49 5.30 69.19
5. บริษัทฯ จัดให้มีอากรแสตมป์ส�ำหรับติดหนังสือมอบฉันทะไว้บริการผู้ถือหุ้น โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย 6. บริษัทฯ อ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้น ได้ใช้สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นและออกเสียงอย่างเต็มที่ การลง ทะเบียนเข้าประชุมสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการประชุมไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง และให้สิทธิผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมภายหลังที่ได้ เริ่มประชุมไปแล้วมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในวาระที่ยังไม่มีการพิจารณา และนับเป็นองค์ประชุมตั้งแต่วาระที่ใช้สิทธิในการออกเสียง เป็นต้นไป 7. บริษัทฯ ด�ำเนินการประชุมตามล�ำดับระเบียบวาระการประชุม ไม่มีการสลับวาระ และไม่มีการเพิ่มวาระการประชุม หรือ เปลี่ยนแปลงข้อมูลส�ำคัญโดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า 8. ในการลงคะแนนเสียงแต่ละวาระ จะกระท�ำโดยเปิดเผย โดยบริษัทฯ ได้เตรียมบัตรลงคะแนนให้กับผู้ถือหุ้น/ผู้รับ มอบฉันทะทุกวาระ และจะเก็บบัตรลงคะแนนพร้อมลงนามรับรอง เฉพาะกรณีที่ผู้ถือหุ้น/ผู้รับมอบฉันทะไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง ยกเว้นวาระเลือกตั้งกรรมการบริษัท บริษัทฯ ได้แจกบัตรลงคะแนนส�ำหรับวาระนี้ตั้งแต่ขั้นตอนการลงทะเบียนร่วมประชุม และจะเก็บ บัตรลงคะแนนจากผู้ถือหุ้น/ผู้รับมอบฉันทะทุกรายที่เข้าร่วมประชุม การนับคะแนนเสียงจะนับเฉพาะผู้ที่ไม่เห็นด้วย และ/หรือ งดออก เสียงเท่านั้น และจะน�ำมาหักออกจากจ�ำนวนเสียงทั้งหมดที่เข้าร่วมประชุม ส่วนที่เหลือจะถือว่าเป็นคะแนนเสียงที่เห็นด้วยในวาระนั้นๆ บริษัทฯ ได้จัดให้มีบุคลากรและเทคโนโลยีอย่างเพียงพอในการลงทะเบียนเข้าประชุมและการนับคะแนนเสียงในแต่ละวาระ โดยใช้ระบบ Barcode เพื่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็วและโปร่งใส
74
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
(2.2) การดูแลการใช้ข้อมูลภายใน กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท ส่วนใหญ่อยู่กับบริษัทฯ เป็นเวลานาน ได้รับการปลูกฝังปรัชญาของ ดร.เทียม โชควัฒนา มาเป็นเวลานาน ท�ำให้มีความซื่อสัตย์ รักองค์กร ดูแลทรัพย์สินของบริษัท ไม่ให้มีการน�ำทรัพย์สินของบริษัท ไปใช้โดยมิชอบ และปัจจุบันมีการก�ำหนดอ�ำนาจ หน้าที่ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร บริหารงานโดยคณะบุคคล มีการประชุมหารือร่วมกัน บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามหลักการการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มีมาตรการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน โดยก�ำหนดไว้เป็น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร โดยเป็ น นโยบายหนึ่ ง ในการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ใน จริ ย ธรรมในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ หั ว ข้ อ ความขั ด แย้ ง ของผลประโยชน์ และจรรยาบรรณกรรมการบริ ษั ท ผู ้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน หั ว ข้ อ ความรั บ ผิ ด ชอบในหน้ า ที่ โดยให้ กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย และมีจิตส�ำนึก ที่ ดี ต ่ อ ส่ ว นรวมและต่ อ ตนเอง โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ ข องบริ ษั ท เป็ น ส� ำ คั ญ ไม่ ใ ช้ ต� ำ แหน่ ง หน้ า ที่ แ สวงหาประโยชน์ เ พื่ อ ตนเอง และ/หรือ ผู้อื่นโดยมิชอบ รักษาผลประโยชน์และทรัพย์สินของบริษัท โดยไม่น�ำข้อมูลและทรัพย์สินของบริษัท ไปใช้ เพื่อประโยชน์ของตนเอง และ/หรือ ผู้อื่น และห้ามกระท�ำการอันเป็นการสนับสนุนบุคคลอื่นใดให้ท�ำธุรกิจแข่งขันกับบริษัทฯ มีการจัดท�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี ป็นรูปเล่มแจกให้แก่กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคน พร้อมทัง้ เผยแพร่ในเว็บไซต์ ของบริษัท (www.spi.co.th) เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนในการด�ำเนินธุรกิจ และเป็นหลักยึดในการท�ำงานและยังได้ยึดหลักปฏิบัติ ตาม ISO 9001:2008 ซึ่งเป็นระบบบริหารงานคุณภาพ นอกจากนี้ ระเบียบข้อบังคับเกีย่ วกับการท�ำงานของบริษทั มีการก�ำหนดเรือ่ งดังกล่าว โดยก�ำหนดบทลงโทษทางวินยั ไว้สงู สุด คือ การเลิกจ้าง ซึ่งกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานได้ปฎิบัติตามที่ก�ำหนด (2.3) การดูแลการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทและการรายงานการมีส่วนได้เสีย บริษทั ฯ มีมาตรการดูแลการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั โดยก�ำหนดไว้ใน จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ หัวข้อ ความขัดแย้ง ของผลประโยชน์ และจรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน หัวข้อ ความรับผิดชอบในหน้าที่ ห้ามมิให้กรรมการบริษัท ผู้บริหารและพนักงาน ซึ่งอยู่ในหน่วยงานที่รับทราบข้อมูลภายใน ท�ำการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท ในช่วง 1 เดือน ก่อนการเปิดเผย งบการเงินแก่สาธารณชนทุกไตรมาส เลขานุการบริษทั ได้ออกจดหมายแจ้งเตือนให้ กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และผูท้ เี่ กีย่ วข้อง รับทราบ ช่วงระยะเวลาการห้ามซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั จนกว่าจะพ้นระยะเวลา 24 ชัว่ โมง นับแต่ได้มีการเปิดเผยข้อมูลสู่สาธารณะแล้ว และ ก�ำหนดให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร (รวมทั้งคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) ที่มีหน้าที่รายงานการถือหลักทรัพย์ หากมีการซื้อ ขายหลักทรัพย์ของบริษัท ต้องแจ้งต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และส่งส�ำเนาให้เลขานุการบริษัท เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งต่อไป ซึ่งในการประชุมคณะกรรมการบริษัททุกครั้ง จะมีวาระ รายงานการถือหลักทรัพย์บริษัทฯ ของกรรมการบริษัท และผู้บริหาร และหากมีประกาศเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว เลขานุการ บริษทั จะส่งจดหมายแจ้งให้กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารทราบ พร้อมแนบส�ำเนาจดหมายและประกาศของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ในเรื่องดังกล่าว ในปี 2560 กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ได้ปฏิบตั ติ ามนโยบาย ไม่ปรากฎการซือ้ ขายในช่วงเวลาทีห่ า้ ม บริษทั ฯ ได้มกี ารสรุปการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์บริษทั ฯ ของกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจ�ำปี (แบบ 56-1) รายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) ในหัวข้อ การเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์บริษทั ฯ ของกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร การรายงานการมีสว่ นได้เสีย บริษทั ฯ มีมาตรการดูแลการมีสว่ นได้เสียของกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร โดยก�ำหนดให้กรรมการ บริษทั และผูบ้ ริหาร ต้องรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง ซึง่ เป็นส่วนได้เสียทีเ่ กีย่ วข้อง กับการบริหารจัดการกิจการของบริษัท ดังนี้ 1. รายงานเมื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท หรือผู้บริหารครั้งแรก 2. รายงานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการมีส่วนได้เสีย 3. กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ส่งแบบรายงานการมีสว่ นได้เสียแก่เลขานุการบริษทั และเลขานุการบริษทั จะส่งส�ำเนารายงาน การมีส่วนได้เสียให้ประธานกรรมการบริษัท และประธานกรรมการตรวจสอบ ทราบภายใน 7 วันท�ำการ นับแต่วันที่ได้รับ รายงาน ในปี 2560 กรรมการบริษัท และผู้บริหาร ได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด (2.4) การด�ำเนินการกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทฯ ด�ำเนินการกับความขัดแย้งของผลประโยชน์และรายการที่เกี่ยวโยงกัน ด้วยความรอบคอบ มีเหตุมีผล ค�ำนึงถึง ประโยชน์สงู สุดของบริษทั การก�ำหนดราคาเป็นไปตามเงือ่ นไขการค้าทีเ่ ป็นธรรม เสมือนการท�ำรายการกับบุคคลทัว่ ไป จัดวางระบบการ ปฏิบัติด้วยความโปร่งใส ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน โดยก�ำหนดเป็นนโยบายหนึ่งในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และ บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
75
การกำ�กับดูแลกิจการ
ก�ำหนดไว้ ในจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ มีการเปิดเผยข้อมูล เพือ่ ให้เกิดความเท่าเทียมกันในการรับทราบข้อมูล สามารถดูรายละเอียด ใน จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ หัวข้อ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และ หัวข้อ รายการระหว่างกัน
3. การค�ำนึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย
3.1 คณะกรรมการบริษทั ตระหนักและเคารพในสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ โดยค�ำนึงถึงสิทธิตามกฎหมายหรือข้อตกลง ที่มีกับบริษัท เพื่อให้มั่นใจได้ว่าสิทธิดังกล่าว ได้รับการคุ้มครองและการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน จึงได้ก�ำหนดนโยบาย เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่ม ตลอดจนค�ำนึงถึง ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ต่อต้านการทุจริต การคอร์รัปชัน ไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา รวมถึงการเคารพต่อสิทธิมนุษยชน 3.2 คณะกรรมการบริษัทสนับสนุนให้จัดท�ำรายงานความรับผิดชอบทางสังคม โดยเป็นส่วนหนึ่งของรายงานประจ�ำปี 3.3 คณะกรรมการบริษัทด�ำเนินการ ให้มีช่องทางและขั้นตอนที่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มสามารถรายงานหรือร้องเรียนในเรื่อง ที่อาจท�ำให้เกิดความเสียหายต่อบริษัท ความถูกต้องของรายงานทางการเงินหรือเรื่องที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม 3.4 คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบาย หรือแนวทางในการปกป้องคุ้มครองพนักงาน หรือผู้แจ้งเบาะแส ในเรื่องที่อาจ ท�ำให้เกิดความเสียหายต่อบริษัท หรือเรื่องที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม จากนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ และหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ในหัวข้อ การค�ำนึงถึงบทบาทผูม้ สี ว่ นได้เสีย คณะกรรมการบริษทั ยึดมัน่ ในความรับผิดชอบและเคารพต่อสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุ่มต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ค�ำนึงถึงการเจริญเติบโตทางธุรกิจร่วมกัน เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน อันจะ น�ำไปสู่การท�ำธุรกิจที่ยั่งยืน เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสิทธิตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องของผู้มีส่วนได้เสียจะได้รับการดูแลอย่างเป็นธรรม ทุกฝ่าย และปฏิบัติด้วยความเสมอภาค กรณีที่เกิดความเสียหาย บริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ จะมีการปรึกษาหารือและร่วม กันก�ำหนดมาตรการที่เหมาะสมเป็นประโยชน์กับทุกฝ่าย โดยได้กำ� หนดนโยบายและแนวทางการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียไว้ ใน หัวข้อ จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ
ช่องทางการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย คณะกรรมการบริษัท จัดให้มีช่องทางส�ำหรับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มที่สามารถติดต่อสื่อสาร เสนอแนะ รายงานหรือร้องเรียน ในเรือ่ งทีอ่ าจท�ำให้เกิดความเสียหายต่อบริษทั ฯ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งความถูกต้องของรายงานทางการเงิน ระบบการควบคุมภายในทีบ่ กพร่อง หรือการกระท�ำผิดกฎหมายและผิดจรรยาบรรณ การทุจริตหรือประพฤติมิชอบของพนักงานในบริษัทฯ หรือ ในเรื่องที่ผู้มีส่วนได้เสียถูก ละเมิดสิทธิ หรือ ไม่ได้รับความเป็นธรรมพนักงานหรือผูม้ สี ว่ นได้เสียทีพ่ บเห็น หรือมีหลักฐาน หรือมีขอ้ สงสัยว่ามีพนักงานหรือบุคคลซึง่ กระท�ำในนามบริษทั ฯ ได้เข้าไปมีสว่ นร่วมในการให้สนิ บน หรือคอร์รปั ชัน ทัง้ ทางตรงหรือทางอ้อม การทุจริตกระท�ำผิดกฎหมายการฝ่าฝืน กฎระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายของบริษทั การไม่ปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงานการไม่ได้รบั ความเป็น ธรรมในการปฏิบตั งิ าน สามารถแจ้งเบาะแส ข้อร้องเรียนการกระท�ำดังกล่าว ดังนี้ 1. ช่องทางการร้องเรียน มีแนวทางการปฏิบัติ ดังนี้ 1. ร้องเรียนได้โดยตรงด้วยวาจา หรือท�ำเป็นหนังสือถึงผู้รับข้อร้องเรียน - ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายในองค์กร โทรศัพท์ 00030-293- ต่อ 510 - ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล โทรศัพท์ 00030-293- ต่อ 400 - เลขานุการบริษัท โทรศัพท์ 00030-293- ต่อ 300 - ผู้จัดการฝ่ายบัญชี โทรศัพท์ 00030-293- ต่อ 509 2. ผ่านทาง E-mail Address : cac@spi.co.th ของผู้รับข้อร้องเรียน 3. กล่องรับข้อเสนอแนะ 4. ผ่านทางไปรษณีย์ ตู้ปณ.3 ปณฝ.สาธุประดิษฐ์ กรุงเทพฯ 10124 5. ในกรณีผู้ร้องเรียนเลือกที่จะไม่เปิดเผยชื่อ ต้องระบุรายละเอียดข้อเท็จจริง หรือหลักฐานที่ชัดเจนเพียงพอ ที่จะแสดงให้ เห็นว่ามีเหตุอันควร เชื่อว่ามีการเข้าไปมีส่วนร่วมในการให้สินบน หรือคอร์รัปชัน ทั้งนี้ บริษัทฯ จะเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้เป็นความลับ และค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ร้องเรียน เว้นแต่กรณีที่ต้องเปิดเผย ตามที่กฎหมายก�ำหนด
76
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
2. การร้องเรียนโดยไม่สุจริต หากการแจ้งเบาะแส ข้อร้องเรียน ให้ถ้อยค�ำ หรือให้ข้อมูลใดๆ ที่พิสูจน์ ได้ว่า เป็นการกระท�ำโดยไม่สุจริต อันส่งผลให้บุคคล หรือบริษัทฯ ได้รับความเสียหาย กรณีเป็นพนักงานของบริษัทจะได้รับการลงโทษทางวินัย ตามระเบียบข้อบังคับเกีย่ วกับการท�ำงาน และ/ หรือ ด�ำเนินคดีตามกฎหมาย แต่หากเป็นบุคคลภายนอกทีก่ ารกระท�ำนัน้ ท�ำให้บริษทั ฯ ได้รบั ความเสียหาย บริษทั ฯ สงวนสิทธิ์ในการด�ำเนิน คดีตามกฎหมายกับบุคคลนั้นๆ 3. เงื่อนไขและการพิจารณาข้อร้องเรียน หรือเบาะแสการกระท�ำผิด 1. รายละเอียดของเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสการกระท�ำผิด ต้องเป็นความจริง มีความชัดเจนเพียงพอที่จะน�ำสืบหาข้อเท็จ จริงเพื่อด�ำเนินการต่อไปได้ 2. ข้อมูลที่ได้รับจะถือเป็นความลับ ไม่มีการเปิดเผยชื่อผู้ร้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแส หากไม่ได้รับการยินยอม 3. ผูร้ อ้ งเรียนหรือผูแ้ จ้งเบาะแสการกระท�ำผิดทีม่ เี จตนาโดยสุจริตจะได้รบั การดูแลและให้ความเป็นธรรม ไม่วา่ จะเป็นพนักงาน หรือบุคคลภายนอก 4. ระยะเวลาในการด�ำเนินการข้อร้องเรียน ขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของเรื่อง ความเพียงพอของเอกสารหลักฐานที่ได้รับจาก ผู้ร้องเรียน รวมถึงเอกสารหลักฐานและค�ำชี้แจงของผู้ถูกร้องเรียน 5. ผู้รับข้อร้องเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการตรวจสอบหาข้อเท็จจริง ต้องเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องเป็นความลับ จะเปิดเผยเท่าที่จ�ำเป็น โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัย และความเสียหายของผู้ร้องเรียน หรือผู้ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง หรือแหล่งที่มาของข้อมูลหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง 4. บุคคลที่เกี่ยวข้อง 1. ผู้แจ้งข้อมูล หมายถึง ผู้ร้องเรียนหรือผู้ที่แจ้งเบาะแสการกระท�ำผิด 2. ผู้รับข้อร้องเรียน หมายถึง บุคคลตามช่องทางการร้องเรียน ข้อ 1 5. การตรวจสอบข้อเท็จจริง 1. ผู้รับข้อร้องเรียนจะเป็นผู้ด�ำเนินการตรวจสอบ และรวบรวมข้อเท็จจริงหรืออาจมอบหมายให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ไว้ วางใจเป็นผู้กระท�ำการแทนได้ 2. ผู้รับข้อร้องเรียน หรือผู้ได้รับมอบหมายสามารถเชิญพนักงานมาให้ข้อมูล หรือขอให้จัดส่งเอกสารใดๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ การตรวจสอบหาข้อเท็จจริง 3. ข้อร้องเรียนต่างๆ ทีผ่ า่ นการพิจารณาแล้ว ให้ผรู้ บั ข้อร้องเรียนรายงานต่อผูบ้ ริหารระดับสูง เพือ่ รายงานต่อคณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท ส�ำหรับข้อร้องเรียนทีเ่ ป็นความจริง จะต้องมีการลงโทษทางวินยั หรือกฎหมาย ให้ฝา่ ยทรัพยากรบุคคลเสนอเรือ่ ง พร้อมความ เห็นต่อผู้บริหารระดับสูง เพื่อพิจารณาสั่งการ ในกรณีที่ข้อร้องเรียนก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ใดผู้หนึ่งจะเสนอวิธีการบรรเทาความเสียหายที่เหมาะสมและเป็นธรรมให้ กับผู้เสียหาย 6. มาตรการคุ้มครองผู้ที่แจ้งข้อมูลหรือให้เบาะแส บริษัทฯ จะคุ้มครองสิทธิของผู้ร้องเรียน และผู้ให้ข้อมูลที่กระท�ำโดยเจตนาสุจริต ด้วยการปกปิดชื่อที่อยู่หรือข้อมูลใดๆ ที่ สามารถระบุตัวผู้ร้องเรียน หรือผู้ให้ข้อมูล และเก็บรักษาข้อมูลของผู้ร้องเรียน และผู้ให้ข้อมูลไว้เป็นความลับ โดยจ�ำกัดเฉพาะผูท้ มี่ หี น้าที่ รับผิดชอบในการด�ำเนินการตรวจสอบเรือ่ งร้องเรียนเท่านัน้ ทัง้ นี้ ให้ถอื ปฏิบตั ติ ามมาตรการคุม้ ครองผูร้ อ้ งเรียน ทีก่ ำ� หนดไว้ ใน จรรยาบรรณ กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน 7. การคุ้มครองพนักงาน บริษทั ฯ จะให้การดูแล และคุม้ ครองผูท้ ี่ได้ปฏิบตั ติ าม นโยบายต่อต้านการคอร์รปั ชัน และข้อปฏิบตั นิ ี้ โดยใช้มาตรการคุม้ ครอง ผู้ร้องเรียน ที่ก�ำหนดไว้ ใน จรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ในปี 2560 จากช่องทางการร้องเรียนที่บริษัทฯ ก�ำหนด บริษัทฯ ไม่ได้รับข้อร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียแต่อย่างใด
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
77
การกำ�กับดูแลกิจการ
4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 4.1 คณะกรรมการบริษัทก�ำกับดูแลให้มีการเปิดเผยสารสนเทศที่ส�ำคัญอย่างถูกต้อง โปร่งใส ทันเวลา ตามกฎหมายและข้อ ก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง ทั้งสารสนเทศที่รายงานตามรอบระยะเวลาบัญชี และสารสนเทศที่รายงานตามเหตุการณ์ ซึ่งมีผลกระทบต่อสิทธิ ประโยชน์ของผู้ถือหุ้น รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลอื่นตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตราบเท่าที่ ไม่กระทบต่อประโยชน์อนั ชอบธรรมของบริษทั โดยเปิดเผยสารสนเทศผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ช่องทางการเผยแพร่ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และช่องทางอื่นๆ ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างทั่วถึง เท่าเทียมกัน 4.2 คณะกรรมการบริษัทจัดให้มีหน่วยงาน หรือผู้รับผิดชอบในการท�ำหน้าที่ นักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อสื่อสารกับบุคคลภายนอก อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม จากนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ และหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ในหัวข้อ การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษทั ให้ความส�ำคัญของการมีระบบการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษทั หลักเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีการเปิดเผยสารสนเทศส�ำคัญที่มี หรืออาจมีผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงในราคาหลักทรัพย์ของบริษัท หรือต่อการตัดสินใจลงทุน หรือต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้สนใจ ลงทุน ได้ทราบข่าวสารที่ส�ำคัญอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันเวลา โปร่งใส เท่าเทียมกันและคุณภาพเดียวกัน (1) สารสนเทศที่รายงานตามรอบระยะเวลาบัญชี ได้แก่ งบการเงิน แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงาน ประจ�ำปี (แบบ 56-2) (2) สารสนเทศที่รายงานตามเหตุการณ์ ได้แก่ การได้มา/จ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ รายการที่เกี่ยวโยงกัน การเข้าร่วมลงทุน การจ่าย/ไม่จ่ายปันผล การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ฯลฯ โดยจัดส่งสารสนเทศดังกล่าว ผ่านระบบเผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยพร้อมทั้งเผยแพร่ ในเว็บไซต์ ของบริษัท (www.spi.co.th) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสม�่ำเสมอ ปีที่ผ่านมาบริษัทฯ ไม่มีประวัติการกระท�ำผิดกฎระเบียบของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย สารสนเทศที่เปิดเผยใน แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) ได้จัดท�ำและเปิดเผย ตามหลักเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ปี 2555 เพื่อแสดงถึงความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ ดังนี้ (1) โครงสร้างผู้ถือหุ้น มีการเปิดเผยรายชื่อผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรกของบริษัท ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น เพื่อประชุม สามัญประจ�ำปีปีปัจจุบัน และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) (2) การถือหุ้นของกรรมการบริษัทและผู้บริหาร มีการเปิดเผยการเปลี่ยนแปลงการถือหุ้นบริษัทฯ ของกรรมการบริษัทและ ผู้บริหาร / คู่สมรส / บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ใน โครงสร้างการจัดการ หัวข้อ การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์บริษัทฯ ของกรรมการ บริษัทและผู้บริหาร (3) ลักษณะการประกอบธุรกิจ มีการเปิดเผยให้ทราบถึง การด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน (4) โครงสร้างกลุม่ ธุรกิจ มีการเปิดเผยโครงสร้างกลุม่ ธุรกิจ โดยระบุสดั ส่วนการถือหุน้ อย่างชัดเจน ในหัวข้อ โครงสร้างรายได้ (5) ความเสี่ยงในการด�ำเนินธุรกิจ มีการเปิดเผยถึงปัจจัยความเสี่ยงต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท โดยกล่าวถึงลักษณะ ความเสี่ยง สาเหตุและผลกระทบ รวมทั้งแนวทางในการป้องกันหรือ ลดความเสี่ยง ในหัวข้อ ปัจจัยความเสี่ยง (6) ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน มีการวิเคราะห์ฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน การเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญ รวมทัง้ ปัจจัย ทีเ่ ป็นสาเหตุหรือผลต่อฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน ในหัวข้อ ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน (7) ประวัตขิ องคณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร มีการเปิดเผยประวัตขิ องกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร พร้อมทัง้ ระบุวา่ กรรมการ บริษัทรายใดเป็นกรรมการอิสระ มีการเปิดเผยถึงบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย การถือครอง หลักทรัพย์ จ�ำนวนบริษัทที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท และประวัติการอบรมของกรรมการบริษัท ในหัวข้อ รายละเอียดเกี่ยวกับ กรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอ�ำนาจควบคุม และเลขานุการบริษัท (8) ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทและผู้บริหาร มีการเปิดเผยหลักเกณฑ์ และรูปแบบการจ่ายค่าตอบแทนแก่กรรมการบริษัท และผูบ้ ริหาร โดยในส่วนของกรรมการบริษทั มีการเปิดเผยค่าตอบแทนเป็นรายบุคคล มีการแจกแจงประเภทของค่าตอบแทนและจ�ำนวน เงินที่ได้รับ ในหัวข้อ ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท ส่วนค่าตอบแทนของผู้บริหาร มีการเปิดเผยนโยบายและรูปแบบของค่าตอบแทน ใน หัวข้อ ค่าตอบแทนกรรมการบริหารและผู้บริหาร (9) จ�ำนวนครัง้ ของการประชุมคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อย และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริษทั แต่ละคน 78
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
มีการเปิดเผยจ�ำนวนครัง้ ของการประชุม คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อย และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริษทั แต่ละคน ในหัวข้อ โครงสร้างการจัดการ (10) การเข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรมของกรรมการ มีการเปิดเผยการเข้าอบรมการท�ำหน้าที่กรรมการบริษัท ในหัวข้อ โครงสร้างการจัดการ (11) การประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท มีการเปิดเผยการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริษทั ซึง่ เป็นความเห็นของกรรมการบริษทั แต่ละคนต่อผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ทัง้ คณะโดยรวม ในปีทผี่ า่ นมา คะแนน เฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดี (83.98%) ในหัวข้อ การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องอื่นๆ (12) นโยบายการจ่ายเงินปันผล มีการเปิดเผยนโยบายการจ่ายเงินปันผล คือ ขั้นต�่ำ 0.10 บาทต่อหุ้น โดยพิจารณาจากผล การด�ำเนินงาน กระแสเงินสด และภาวะเศรษฐกิจ ซึ่งที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้จ่ายมากกว่านโยบายอย่างต่อเนื่อง (13) การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ มีการเปิดเผยนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ หลักการก�ำกับดูแลกิจการ 5 หมวด จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ จรรยาบรรณกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร และเผยแพร่ในเว็บไซต์ ของบริษัท (www.spi.co.th) ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายงานผลการปฏิบัติตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ซึ่งสอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเผยแพร่ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) รายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) และเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) และอยู่ในระหว่างการน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ีสำ� หรับบริษทั จดทะเบียน ปี 2560 ไปปรับ ใช้ตามบริบททางธุรกิจของบริษัท (14) ความรับผิดชอบต่อสังคม มีการเปิดเผย นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม และการปฏิบัติตามนโยบาย โดยได้จัดท�ำ รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม เปิดเผยไว้ในแบบ 56-1 และแบบ 56-2 ในหัวข้อ SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน (15) การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง มีการเปิดเผยทั้งในรายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ รายงาน ระบบการควบคุมภายในด้านการบัญชีจากผูส้ อบบัญชี และเปิดเผยให้ทราบถึงผลการประเมินของคณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับระบบการ ควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัท ในด้านต่างๆ 5 ส่วน (16) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความรับ ผิดชอบต่อความเชื่อถือได้ และความถูกต้องของข้อมูลทางการเงิน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นหรือนักลงทุนใช้ประกอบในการตัดสินใจ จึงได้จัดท�ำ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ต่อรายงานทางการเงิน ลงนามโดยประธานกรรมการบริษทั และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ แสดงไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) (17) การท�ำรายการระหว่างกันหรือความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษทั ด�ำเนินการกับรายการระหว่างกันหรือ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ด้วยความรอบคอบ มีเหตุมผี ล ค�ำนึงถึงประโยชน์สงู สุดของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการบริษทั ก�ำหนด ให้มกี ารปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ บริษทั ฯ ได้กำ� หนดเป็นนโยบายหนึง่ ในการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และในจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ ยังมีการก�ำหนดไว้ในระเบียบ ของบริษทั ในกรณีทมี่ กี ารท�ำรายการทีม่ ใิ ช่ปกติวสิ ยั ทางการค้าทีม่ มี ลู ค่าเกินร้อยละ 0.03 ของ NTA บริษทั ฯ ก�ำหนดให้นำ� เสนอต่อคณะกรรมการ บริหารพิจารณา ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาให้ความเห็นชอบ และให้นำ� เสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ ซึง่ ก�ำหนดให้กรรมการบริษทั ผูม้ สี ว่ นได้เสียในวาระใด ต้องออกจากห้องประชุม และไม่ออกเสียงในวาระนัน้ เมื่อเสร็จสิ้นการประชุม ได้เปิดเผย การท�ำรายการดังกล่าว ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www. spi.co.th) โดยได้เปิดเผยถึง ชื่อ ความสัมพันธ์ของบุคคลที่เกี่ยวโยง การก�ำหนดราคา มูลค่าของรายการ คู่สัญญา เหตุผลความจ�ำเป็น ของรายการดังกล่าว ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั และความเห็นทีแ่ ตกต่าง (ถ้ามี) รวมทัง้ มีการบันทึกในรายงานการประชุม สามารถ ตรวจสอบได้ และยังได้ท�ำการสรุปไว้ในแบบแสดงรายงานข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 561-) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 562-) (18) การรายงานผลการด�ำเนินงานรายไตรมาส บริษทั ฯ มีการรายงานผลการด�ำเนินงานทุกไตรมาส พร้อมการวิเคราะห์และค�ำ อธิบายของฝ่ายจัดการ (MD & A) ผ่านระบบเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) (19) การรายงานการซื้อ-ขาย / ถือครองหลักทรัพย์ของบริษัท บริษัทฯ มีการก�ำหนดเรื่อง การซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท ไว้ในจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และจรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ห้ามมิให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และ พนักงาน ซึ่งอยู่ในหน่วยงานที่รับทราบข้อมูลภายใน ท�ำการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท ในช่วง 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยงบการเงินแก่ สาธารณชน นอกจากนี้ กรรมการบริษัท ผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ มีหน้าที่ต้องรายงาน การเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์บริษัทฯ ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และต้องรายงานต่อ บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
79
การกำ�กับดูแลกิจการ
คณะกรรมการบริษทั ในการประชุมครัง้ ต่อไป และมีการเปิดเผยการเปลีย่ นแปลงการถือครองหุน้ บริษทั ฯ ของกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร โดยแสดงจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ ต้นปี สิน้ ปี และการซือ้ ขายระหว่างปี ไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 561-) รายงานประจ�ำปี (แบบ 562-) ใน โครงสร้างการจัดการ หัวข้อ การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์บริษัทฯ ของกรรมการบริษัทและผู้บริหาร (20) การรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการบริษทั บริษทั ฯ ก�ำหนดหลักเกณฑ์ให้กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ต้องรายงานการ มีสว่ นได้เสียของกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง เมือ่ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั หรือผูบ้ ริหารครัง้ แรก และ รายงานเมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงข้อมูลการมีสว่ นได้เสีย โดยส่งแบบรายงานการมีสว่ นได้เสียแก่เลขานุการบริษทั และเลขานุการบริษทั จะส่ง ส�ำเนารายงานการมีสว่ นได้เสียให้ประธานกรรมการบริษทั และประธานกรรมการตรวจสอบ ทราบภายใน 7 วันท�ำการนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั รายงาน (21) ผูส้ อบบัญชี มีความเป็นอิสระ น่าเชื่อถือ และเป็นผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในปี 2560 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติแต่งตั้ง นางสาวสมจินตนา พลหิรัญรัตน์ และ/หรือ นายนพฤกษ์ พิษณุวงษ์ และ/หรือ นางสาวสุภาภรณ์ มั่งจิตร แห่งบริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท โดยผ่านการ พิจารณาจากคณะกรรมการตรวจสอบ และก�ำหนดจ�ำนวนเงินค่าสอบบัญชี เป็นเงินทั้งสิ้น 2,400,000.- บาท ส�ำหรับค่าบริการอื่น คือ การสอบทานค่าลิขสิทธิ์ เป็นเงิน 40,000.- บาท ในปี 2560 งบการเงินของบริษทั ได้รบั การรับรอง จากผูส้ อบบัญชี และน�ำส่งงบการเงินต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตรงเวลา ทั้งรายไตรมาส รายปี และไม่ถูกสั่งแก้ไขงบการเงินโดยส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (22) การสือ่ สารข้อมูลของบริษทั บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลทีม่ คี วามโปร่งใสเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ /ผูล้ งทุน สามารถ เข้าถึงข้อมูลของบริษทั ได้อย่างสะดวก ทัว่ ถึง และเท่าเทียมกัน โดยจัดให้มชี อ่ งทางในการเข้าถึงข้อมูลไว้หลายๆ ช่องทาง เช่น ผ่านระบบ เผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แบบ 56-1 แบบ 56-2 รายงานผลการด�ำเนินงานรายไตรมาส เว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) การพบปะนักวิเคราะห์/นักลงทุน ผู้สื่อข่าว พร้อมจัดท�ำเอกสารแสดงถึงฐานะการเงินของบริษัท (23) การเผยแพร่ขอ้ มูลผ่านเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) บริษทั ฯ ได้จดั ท�ำเว็บไซต์ เพือ่ เป็นช่องทางในการสือ่ สารข้อมูล และเผยแพร่เหตุการณ์เกีย่ วกับบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ /ผูล้ งทุน โดยจัดท�ำเป็นทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สามารถดูได้จากเว็บไซต์ของบริษทั หัวข้อ เกี่ยวกับเรา หัวข้อ การก�ำกับดูแลกิจการ และหัวข้อ ข้อมูลนักลงทุน (24) ความสัมพันธ์กบั ผูล้ งทุน งานด้านผูล้ งทุนสัมพันธ์ บริษทั ฯ มีหน่วยงานด้านก�ำกับดูแลกิจการ ท�ำหน้าทีด่ า้ นผูล้ งทุนสัมพันธ์ ในการให้ข้อมูลและข่าวสารตามที่นักลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้องต้องการ โดยสามารถติดต่อได้ที่ นางสาวรัตนา ชัยเลิศกมลเดช โทรศัพท์ 0-2293-0030 ต่อ 307 โทรสาร 0-2293-0040 ในปี 2560 บริษัทฯ และบริษัทในกลุ่มสหพัฒน์ ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จัดงาน“นักวิเคราะห์ นักลงทุน พบ กลุ่มสหพัฒน์” ต่อเนื่องเป็นปีที่ 9 ในงาน Saha Group Fair ครั้งที่ 21 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เพื่อให้นักวิเคราะห์ นักลงทุน และสื่อมวลชน ได้พบกับกรรมการบริษัท และผู้บริหารอย่างใกล้ชิด และบริษัทฯ ได้จัดท�ำหนังสือสรุปข้อมูลประวัติและผลประกอบการที่ ส�ำคัญ แจกให้กับนักวิเคราะห์ นักลงทุน และสื่อมวลชน ที่มาร่วมงาน ตลอดจนให้ทุกท่านได้เข้าชมผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมใหม่ๆ ของ บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ที่ได้จัดแสดงในงาน Saha Group Fair ครั้งที่ 21 พร้อมได้ซื้อสินค้าในราคาพิเศษ ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี มี ผู้ร่วมงานเพิ่มขึ้นทุกปี ท�ำให้นักวิเคราะห์ นักลงทุนและสื่อมวลชน ทราบถึงภาพรวมของการประกอบธุรกิจของกลุ่มสหพัฒน์มากขึ้น ซึ่ง งานดังกล่าวได้เผยแพร่ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th)
5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท
5.1 คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดโครงสร้างคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย บุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ที่หลากหลาย ไม่จ�ำกัดเพศ และมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายก�ำหนด โดยมีกรรมการบริษัทที่ไม่ได้เป็นกรรมการบริหารอย่างน้อย 1 คน ที่มีประสบการณ์ในธุรกิจที่บริษัทด�ำเนินกิจการอยู่ มีกรรมการอิสระตามประกาศของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ 5.2 คณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดนิยามกรรมการอิสระ อย่างน้อยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ทสี่ ำ� นักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ก�ำหนด 5.3 คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย ช่วยกลั่นกรองงานที่ส�ำคัญเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท
80
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
5.4 คณะกรรมการบริษัทได้จัดท�ำกฎบัตรคณะกรรมการแต่ละคณะ โดยก�ำหนดวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ เพื่อแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และฝ่ายจัดการ ไว้อย่างชัดเจน 5.5 คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายให้กรรมการบริษัท และผู้บริหาร ที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทในบริษัทอื่น ต้องรายงาน ให้ประธานกรรมการบริษัท และประธานกรรมการตรวจสอบทราบ 5.6 คณะกรรมการบริษัทจัดให้มีเลขานุการบริษัท เพื่อท�ำหน้าที่ตามกฎหมาย และตามที่ได้รับมอบหมาย โดยคุณสมบัติของ เลขานุการบริษัทควรเป็นผู้ที่มีความรู้ด้านกฎหมาย หรือบัญชี หรือผ่านการอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของเลขานุการ บริษัท มีการอบรมและพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง 5.7 คณะกรรมการบริษัทจัดท�ำนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และจรรยาบรรณ เพื่อให้กรรมการ บริษัท ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท ถือปฏิบัติให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน 5.8 คณะกรรมการบริษัทมีการก�ำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจของบริษัท เพื่อให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน มีจุดมุ่ง หมายไปในทิศทางเดียวกัน 5.9 คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาความรู้ กรรมการบริษัท ผู้บริหารและพนักงาน อย่าง ต่อเนื่อง 5.10 คณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดตารางการประชุมล่วงหน้าทุกปี ซึง่ ในการพิจารณาวาระต่างๆ จะค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างเป็นธรรม กรรมการบริษัททุกท่านมีความเป็นอิสระในการร่วมแสดงความคิดเห็น โดยกรรมการบริษัท ผู้มีส่วนได้เสียไม่มีสิทธิออกเสียงในวาระที่ตนมีส่วนได้เสีย 5.11 คณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดให้กรรมการบริษทั มีหน้าทีเ่ ข้าประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ ยกเว้นกรณีทมี่ เี หตุจำ� เป็น 5.12 คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายสนับสนุนให้ผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท 5.13 คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายเปิดโอกาสให้กรรมการบริษทั ที่ไม่เป็นผูบ้ ริหาร มีโอกาสทีจ่ ะประชุมระหว่างกันเองตามความ จ�ำเป็น โดยไม่มีฝ่ายจัดการร่วมด้วย และควรแจ้งให้กรรมการผู้จัดการทราบถึงผลการประชุม 5.14 คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายส่งเสริมให้กรรมการบริษัททุกท่าน เข้าถึงสารสนเทศที่จ�ำเป็นเพิ่มเติมได้จากกรรมการ ผู้จัดการ เลขานุการบริษัท หรือผู้บริหารอื่นที่ได้รับมอบหมาย ภายในขอบเขตนโยบายที่ก�ำหนด และในกรณีที่จ�ำเป็น คณะกรรมการ บริษัทอาจจัดให้มีความเห็นอิสระจากที่ปรึกษา หรือผู้ประกอบวิชาชีพภายนอก โดยถือเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัท 5.15 คณะกรรมการบริษัทมีมาตรการด�ำเนินการกับความขัดแย้งของผลประโยชน์ ด้วยความรอบคอบ มีเหตุมีผล และปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5.16 คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดให้กรรมการบริษัท และผู้บริหาร ห้ามท�ำการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยงบการเงินแก่สาธารณชน 5.17 คณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดให้กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร รวมทัง้ คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะมีหน้าทีร่ ายงานการถือ ครองหลักทรัพย์ และการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และส่งส�ำเนาให้เลขานุการบริษัท เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งต่อไป 5.18 คณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดให้กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร ต้องรายงานการมีสว่ นได้เสียของตนและบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด 5.19 คณะกรรมการบริษัทจัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายในขึ้น เป็นหน่วยงานหนึ่งภายในบริษัท โดยมีสายการรายงานไปยัง คณะกรรมการตรวจสอบ 5.20 คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดให้มีการประเมินผลงานประจ�ำปีของคณะกรรมการบริษัท 5.21 คณะกรรมการบริษัทจัดท�ำรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงินเสนอไว้ในรายงาน ประจ�ำปี 5.22 คณะกรรมการบริษัทดูแลและด�ำเนินการให้มีการจ่ายค่าตอบแทนที่เหมาะสมแก่กรรมการแต่ละคณะ ตามอ�ำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ และเปรียบเทียบกับระดับที่ปฏิบัติในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน 5.23 คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดนโยบายในการสืบทอดต�ำแหน่งของพนักงานในหน้าที่ต่างๆ เพื่อการก้าวสู่ต�ำแหน่งที่สูงขึ้น 5.24 คณะกรรมการบริษัทจัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการบริษัทที่เข้ารับต�ำแหน่งในบริษัทเป็นครั้งแรก 5.25 คณะกรรมการบริษัทจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและระบบบริหารความเสี่ยง
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
81
การกำ�กับดูแลกิจการ
5.26 คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดให้มีการติดตาม และประเมินการก�ำกับดูแลกิจการ ด้วยการจัดให้มีคณะกรรมการก�ำกับดูแล
กิจการ จากนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ และหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ในหัวข้อ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะ กรรมการบริษัทได้ด�ำเนินการ ดังนี้ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. ภาวะผู้น�ำ และวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการบริษัทที่มีคุณสมบัติหลากหลาย ทั้งในด้านทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถ เฉพาะด้านทีเ่ ป็นประโยชน์กบั บริษทั ฯ มีภาวะผูน้ ำ� และมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ ด�ำเนินกิจการของบริษทั ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายทีก่ ำ� หนด เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ ปี 2560 คณะกรรมการบริษทั มีการทบทวนวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และเห็นว่ายังมีความเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบนั มี การก�ำหนดเป้าหมาย แผนงาน และงบประมาณประจ�ำปี เพือ่ ให้กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงาน มีจดุ มุง่ หมายไปในทิศทางเดียวกัน มีการปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ข้อบังคับบริษทั กฎบัตร มีการติดตามผลการด�ำเนินงาน และผลการปฏิบตั งิ านตามมติคณะกรรมการ บริษทั เป็นประจ�ำทุกเดือนในการประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง 2. ด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารทบทวนหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั และได้ประเมินการปฏิบตั ติ ามหลักปฏิบตั ใิ น CG Code แต่ละข้อ เพื่อให้มั่นใจว่า มีกระบวนการที่ได้ปรับใช้ หรือมีแผนพัฒนาให้เหมาะสมกับธุรกิจแล้ว 3. การจัดท�ำนโยบายความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษทั ให้ความส�ำคัญกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยต้องด�ำเนินการด้วยความโปร่งใส ซึง่ ได้ก�ำหนดไว้ในนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ สามารถดูรายละเอียดได้จาก จริยธรรมในการด�ำเนิน ธุรกิจ หัวข้อ ความขัดแย้งทางธุรกิจ ในปี 2560 บริษัทฯ มีการท�ำรายการระหว่างกันที่เป็นรายการที่เกี่ยวโยงกันที่เข้าข่ายต้องขออนุมัติจากผู้ถือหุ้น 1 รายการ คือ การรับโอนกิจการทั้งหมดของบริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด รวมถึงการท�ำค�ำเสนอซือ้ หลักทรัพย์ทงั้ หมดใน บริษทั เพรซิเดนท์ไรซ์ โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ ได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 46 เมือ่ วันที่ 25 เมษายน 2560 โดยได้เปิดเผยรายละเอียดรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในหัวข้อ “รายการระหว่างกัน” 4. การก�ำกับดูแลระบบการควบคุม การบริหารความเสี่ยง และการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริษัท จัดให้มีระบบการควบคุมภายในทั้งทางด้านการเงิน การด�ำเนินงาน และด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งการบริหารความเสี่ยง โดยมีคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงดูแลเรือ่ งเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และการ บริหารความเสีย่ ง มีฝา่ ยตรวจสอบภายในท�ำหน้าทีต่ รวจสอบ ประเมินผล และตรวจติดตามผลการปฏิบัติงานของระบบต่างๆ ตลอดจนให้ ค�ำแนะน�ำเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้ดำ� เนินการตามแนวทางที่ก�ำหนด มีความเป็นอิสระ ฝ่ายตรวจสอบภายในมีการรายงานตรงต่อคณะ กรรมการตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกเดือน เพือ่ ให้คณะกรรมการตรวสอบท�ำการสอบทานว่าบริษทั ฯ ได้มกี ารปฏิบตั ติ ามระบบควบคุมภายใน และระบบบริหารความเสี่ยงอย่างเพียงพอ สามารถดูรายละเอียดได้จากหัวข้อ การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง 5. การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ก�ำหนดให้มีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง กรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญกับการเข้าร่วมประชุม คณะกรรมการบริษทั และถือเป็นหน้าทีส่ ำ� คัญเพือ่ รับทราบและร่วมตัดสินใจในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ในปี 2560 บริษทั ฯ ได้มกี ารประชุม คณะกรรมการบริษัท 13 ครั้ง โดยก�ำหนดตารางการประชุมไว้ล่วงหน้าทุกปี และได้แจกตารางการประชุมให้กรรมการบริษัททุกคนทราบ ล่วงหน้า เลขานุการบริษัทจะส่งจดหมายเชิญประชุม ซึ่งมีการก�ำหนดระเบียบวาระการประชุมทั้งวาระเพื่อทราบและวาระเพื่อพิจารณา รายงานการประชุมครั้งก่อน และเอกสารประกอบการประชุมให้คณะกรรมการบริษัททราบเรื่องเพื่อพิจารณาล่วงหน้า ตามระยะเวลาที่ กฎหมายก�ำหนด และข้อบังคับของบริษัท ที่ก�ำหนดให้ส่งหนังสือนัดประชุมไปยังกรรมการบริษัทไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม ซึ่งไม่ น้อยกว่า 5 วันท�ำการ รวมทั้งแนบแบบ 59-2 เพื่อเป็นการเตือนให้กรรมการบริษัทรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของบริษัท หากมีการเปลี่ยนแปลงในรอบเดือนที่ผ่านมา โดยประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ จะร่วม กันพิจารณาเรื่องเข้าวาระการประชุม นอกจากนี้ กรรมการบริษัททุกคน สามารถเสนอเรื่อง เพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุมคณะกรรมการ 82
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
บริษัทได้ โดยเสนอผ่านเลขานุการบริษัท และหากต้องการข้อมูลเพิ่ม สามารถขอข้อมูลเพิ่มจาก กรรมการผู้จัดการใหญ่ หรือเลขานุการ บริษัทได้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริษัท ท�ำหน้าที่ประธานที่ประชุมด�ำเนินและควบคุมการประชุมให้เป็น ไปตามระเบียบวาระการประชุม ดังนี้ เรื่องสืบเนือ่ ง เป็นการรายงานผลการติดตามการปฏิบัติงานจากการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งก่อน วาระเพื่อทราบ เป็นการรายงานในเรื่องส�ำคัญ เช่น วาระการรายงานผลประกอบการ เป็นการรายงานผลประกอบการในรอบ เดือนที่ผ่านมา และวาระการถือหลักทรัพย์บริษัทฯ ของกรรมการบริษัท เป็นการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์บริษัทฯ ของ กรรมการบริษัท คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ วาระเพื่อพิจารณา เป็นวาระที่เสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาให้ความเห็นชอบ หรืออนุมัติ โดยกรรมการบริษัทผู้มี ส่วนได้เสียในวาระใดต้องออกจากการประชุม และไม่มีสิทธิลงคะแนนเสียงในวาระนั้น ประธานกรรมการบริษัทเปิดโอกาส และสนับสนุน ให้กรรมการบริษัททุกคนแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระ กรรมการบริษัทมีการอภิปราย และแสดงความคิดเห็นอย่างเปิดเผย ประธานที่ ประชุมเป็นผู้ประมวลความเห็น ข้อสรุปที่ได้จากที่ประชุม ควบคุมการประชุมให้เป็นไปตามวาระและเวลาที่เหมาะสม การวินิจฉัยชี้ขาด ให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการบริษัทคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียง ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่ง เป็นเสียงชี้ขาด ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท นอกจากผู้บริหารระดับสูงที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทได้เข้าร่วมประชุม เพื่อชี้แจง เรื่องต่างๆ แล้ว ยังได้เชิญผู้บริหารอื่นในฐานะผู้เกี่ยวข้องกับปัญหาโดยตรงเข้าประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อชี้แจงข้อมูลด้วย เมือ่ เสร็จสิน้ การประชุม เลขานุการบริษทั จะจัดท�ำรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อกั ษรและจัดเก็บรายงานการประชุม ทีป่ ระธาน กรรมการบริษทั ได้ลงนามและผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริษทั พร้อมเอกสารประกอบการประชุมเพือ่ สะดวกในการสืบค้นอ้างอิง นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ยังเปิดโอกาสให้กรรมการบริษทั ที่ไม่เป็นผูบ้ ริหาร สามารถประชุมระหว่างกันเอง และรายงาน ให้คณะกรรมการบริษัททราบ ในปี 2560 มีการประชุมคณะกรรมการบริษัท 13 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริษัท มีรายละเอียดอยูใ่ นหัวข้อ โครงสร้างการจัดการ ในจ�ำนวนกรรมการบริษัท มีกรรมการบริษัท เข้าร่วมประชุมมากกว่าร้อยละ 75 ของการประชุมทั้งปี 6. การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทประจ�ำปี 2560 ซึ่งเป็นความเห็นของ กรรมการบริษัทแต่ละคน ต่อผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัททั้งคณะโดยรวม ซึ่งได้เก็บคะแนนประเมินไว้ทุกปี ตั้งแต่เริ่มการ ประเมินเพือ่ เปรียบเทียบและทบทวนผลงาน ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในระหว่างปีทผี่ า่ นมา เพือ่ น�ำมาปรับปรุงให้เกิดประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ หลักเกณฑ์การประเมินผลคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็มในแต่ละข้อ ดังนี้
เกณฑ์ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
คะแนน มากกว่าร้อยละ 90 ขึน้ ไป มากกว่าร้อยละ 70 ขึน้ ไป มากกว่าร้อยละ 50 ขึน้ ไป ตัง้ แต่รอ้ ยละ 50
- การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ
คณะกรรมการบริษทั จัดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ทัง้ คณะ โดยแบ่งการประเมินเป็น 3 ด้าน ดังนี้ 1. ผลการด�ำเนินงาน บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 2. ความเป็นอิสระของกรรมการบริษัท 3. ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหารและผู้มีส่วนได้เสีย
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
83
การกำ�กับดูแลกิจการ
ในปี 2560 ผลการประเมินโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ “ดี” มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 83.98 - การประเมินผลงานประจ�ำปีของคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัท จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดย่อย โดยให้กรรมการชุดย่อยแต่ละคน ประเมินผลงานของคณะกรรมการชุดย่อยที่ตนด�ำรงต�ำแหน่งในภาพรวม ในปี 2560 มีผลการประเมิน สรุปได้ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ
ผลการประเมิน
มีคะแนนเฉลีย่ ร้อยละ 100.00
คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
ผลการประเมิน
มีคะแนนเฉลีย่ ร้อยละ 70.63
คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง
ผลการประเมิน
มีคะแนนเฉลีย่ ร้อยละ 83.00
7. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อความเชื่อถือได้ และความถูกต้องของข้อมูลทางการเงิน เพื่อให้ผู้ถือหุ้น หรือนักลงทุนใช้ประกอบในการตัดสินใจ จึงได้จดั ท�ำรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ต่อรายงานทางการเงิน ลงนามโดย ประธานกรรมการบริษทั และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ แสดงไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) ในปี 2560 บริษัทฯ ไม่มีประวัติการกระท�ำผิดกฎระเบียบของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ ประกอบด้วย 1. ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ได้จัดท�ำจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจเป็นลายลักษณ์อักษร แจกให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน และเปิดเผยในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) เพื่อให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ พนักงาน ชุมชนและสังคม สิ่งแวดล้อม และภาครัฐ คณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญต่อจริยธรรม ในการประกอบธุรกิจอย่างมาก เพราะธุรกิจจะอยูไ่ ด้ตอ้ งมี จริยธรรม คุณธรรมทีด่ ี เป็นทีเ่ ชือ่ ถือและยอมรับโดยทัว่ ไป ซึง่ จะส่งผลให้บริษทั ฯ มีความเจริญก้าวหน้า มั่นคงอย่างยั่งยืน ดังนี้ (1.1) ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต เพื่อสร้างผลตอบแทนที่ดีให้กับผู้ถือหุ้น อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยก�ำหนดเป็นนโยบายและแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. เคารพในสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของและปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม 2. ด�ำเนินงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ จะช่วยสร้างความเชือ่ มัน่ และความมัน่ ใจต่อผูถ้ อื หุน้ อันจะน�ำไปสูค่ วาม เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน 3. มีการพัฒนากิจการของบริษัทให้เจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง ให้ผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้นอย่างเหมาะสม 4. รายงานสารสนเทศส�ำคัญทีม่ หี รืออาจมีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ สารสนเทศทีร่ ายงานตามรอบระยะเวลา บัญชี และสารสนเทศที่รายงานตามเหตุการณ์ ตามกฎหมาย และประกาศที่เกี่ยวข้อง โดยไม่กระท�ำการใดๆ ที่มีลักษณะเป็นการจ�ำกัด สิทธิของผู้ถือหุ้นในการเข้าถึงสารสนเทศของบริษัท 5. จัดให้มีรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงินในรายงานประจ�ำปี 6. เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อย เสนอเรือ่ งเพือ่ บรรจุเป็นวาระการประชุม และ/หรือเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ รับการพิจารณาเลือก ตั้งเป็นกรรมการบริษัทในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 7. เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่งค�ำถามที่เกี่ยวข้องกับการประชุมเป็นการล่วงหน้า ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น 8. เผยแพร่หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ บนเว็บไซต์ของบริษทั ล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นรับทราบและศึกษาข้อมูลก่อนการประชุม 9. อ�ำนวยความสะดวกในการประชุมผู้ถือหุ้น โดยวัน เวลา สถานที่ และวิธีการ ไม่เป็นอุปสรรคในการเข้าร่วมประชุมของ
84
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
ผู้ถือหุ้น รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถมาร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถมอบฉันทะให้ผู้อื่น มาร่วมประชุมและออกเสียงลง คะแนนแทน 10. ด�ำเนินการกับความขัดแย้งของผลประโยชน์อย่างรอบคอบ ด้วยความมีเหตุมีผล และเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน 11. ปกป้องผลประโยชน์ และดูแลทรัพย์สินของบริษัท เสมือนวิญญูชนพึงรักษาทรัพย์สินของตนเอง ขจัดการแสวงหาผล ประโยชน์อันมิควรได้โดยชอบไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม จากนโยบายและแนวทางปฏิบัติดังกล่าว บริษัทฯ มีกลไกที่ท�ำให้ผู้ถือหุ้นมีความเชื่อมั่นว่าจะได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง และผล ตอบแทนที่เหมาะสมเป็นธรรม ตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท มีการควบคุมการท�ำรายการระหว่างกัน มีมาตรการป้องกัน การขัดแย้งทางผลประโยชน์ ป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเกี่ยวกับข่าวสารที่เป็นความลับ และก�ำหนดให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และ ผูป้ ฏิบตั งิ าน ทีร่ บั ทราบข้อมูลภายในน�ำข้อมูลภายในของบริษทั ไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตนหรือบุคคลอืน่ โดยมิชอบ เพือ่ การซือ้ ขายหลัก ทรัพย์ของบริษัท ในช่วง 1 เดือน ก่อนเผยแพร่งบการเงินแก่สาธารณชน ในปี 2560 บริษัทฯ ได้มีการจ่ายเงินปันผลจากผลประกอบการปี 2559 ในอัตรา 0.45 บาทต่อหุ้น คิดเป็นอัตราการจ่าย เงินปันผลร้อยละ 13.10 ของก�ำไรสุทธิ (ร้อยละ 28.36 ของก�ำไรสุทธิเฉพาะกิจการ) โดยก�ำหนดจ่ายใน วันที่ 22 พฤษภาคม 2560 ซึ่ง เป็นอัตราที่สูงกว่านโยบายการจ่ายเงินปันผลที่ก�ำหนดไว้ คือ ขั้นต�่ำ 0.10 บาทต่อหุ้น เป็นการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้นอย่างต่อเนื่อง ถือเป็นการสร้างความมั่งคั่งในระยะยาวให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างแท้จริง ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นทุกรายได้รับเชิญเข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำ ปี 2560 และมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในทุกวาระ โดยได้รับข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญ ในหลากหลายรูปแบบ อาทิ เอกสารสิ่งพิมพ์ และ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้รายงานผลการด�ำเนินงานของบริษัท เป็นประจ�ำทุกไตรมาส และเปิดเผยการท�ำรายการ ที่ส�ำคัญ เช่น การลงทุน รายการที่เกี่ยวโยงกัน ผ่านระบบเผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเปิดเผยในเว็บไซต์ ของบริษัท (www.spi.co.th) (1.2) ลูกค้า คณะกรรมการบริษทั ตระหนักว่าความพึงพอใจ และความเชือ่ มัน่ ของลูกค้า เป็นกุญแจส�ำคัญอันน�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จของบริษทั อย่างยั่งยืน โดยก�ำหนดเป็นนโยบายและแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ด�ำเนินธุรกิจด้านผลิต จ�ำหน่ายสินค้า และบริการ ที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2. ด�ำเนินธุรกิจด้วยความมุ่งมั่น พัฒนาสินค้าและบริการ คิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ เพิ่มคุณค่าให้แก่สินค้าและบริการ เพื่อตอบ สนองความต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการให้ข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อการตัดสินใจโดยไม่ปิดบัง หรือบิดเบือนข้อเท็จจริง 3. ด�ำเนินธุรกิจโดยยึดถือความซื่อสัตย์ สุจริต เป็นธรรม และไม่กระท�ำการใดๆ ที่เป็นการละเมิดสิทธิของลูกค้า รักษาความ ลับทางการค้าของลูกค้า ไม่น�ำไปใช้เพื่อประโยชน์ตนเองหรือผู้ที่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ 4. ไม่เรียก รับ หรือยินยอมที่จะรับ ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่ไม่สุจริตจากลูกค้า ทั้งทางตรงและทางอ้อม 5. ปฏิบัติตามข้อตกลงทางการค้า ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติได้ ให้รีบแจ้งลูกค้าเป็นการล่วงหน้า เพื่อร่วมกันหาแนวทาง แก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหาย 6. จัดให้มีช่องทางการสื่อสาร เพื่อให้ลูกค้าสามารถร้องเรียนต่อบริษัท และค�ำร้องเรียนพึงได้รับการเอาใจใส่และด�ำเนินการ อย่างเป็นธรรม จากนโยบายและแนวทางปฏิบัติดังกล่าวบริษัทฯ ได้ด�ำเนินธุรกิจโดยยึดถือความซื่อสัตย์ ยุติธรรมให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ลูกค้า ให้บริการและปฏิบัติต่อลูกค้าด้วยความมีน�้ำใจ สนองตอบความต้องการของลูกค้าอย่างรวดเร็ว ตลอดจนบริษัทฯ ได้พัฒนาและปรับปรุง ระบบต่างๆ และการบริการทีด่ ีในทุกสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ จนได้รบั การรับรองจากหน่วยงานต่างๆ ดูรายละเอียด ในหัวข้อ การ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ การได้รับการรับรองและเกียรติบัตรต่างๆ ย่อมท�ำให้ลูกค้าเกิดความเชื่อมั่นในการที่จะเข้ามาประกอบกิจการภายในสวน อุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ในปี 2560 สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ได้ท�ำการส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้าภายใน เดือนมิถุนายนของทุกปี โดยผลการส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้าภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ลูกค้าส่วนใหญ่ให้ ความส�ำคัญกับ ความปลอดภัยของพนักงานเป็นหลัก มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุจากการจราจรภายในพื้นที่ สวนอุตสาหกรรม และให้ตดิ ตัง้ ระบบไฟฟ้าแสงสว่างบริเวณจุดเสีย่ งต่างๆ จัดหาสถานทีจ่ อดรถและขอให้ดแู ลระบบระบายน�ำ้ ฝนให้สามารถ ระบายน�้ำได้อย่างรวดเร็ว ในส่วนของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ลูกค้ามีข้อเสนอแนะให้กวดขันวินัยจราจร เพราะในปี 2560 มีรถยนต์ขนาดใหญ่วิ่งรับส่งพนักงานเพิ่มขึ้นจ�ำนวนมาก เนื่องจากมีโรงงานเพิ่มขึ้นอีก 2 โรงงาน จึงส่งผลให้การจราจรภายในติดขัดและ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
85
การกำ�กับดูแลกิจการ
มีความเสี่ยงที่จะเกิดอันตราร นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีฝ่ายการตลาดอสังหาริมทรัพย์ เพื่อให้ข้อมูลแก่ลูกค้า ซึ่งลูกค้าสามารถ สอบถามข้อมูล แสดงความคิดเห็นและแจ้งข้อร้องเรียนได้ที่ นายอ�ำพล วัฒนวรพงศ์ ผู้จัดการฝ่ายการตลาดอสังหาริมทรัพย์ โทรศัพท์ (038) 480-444 E-Mail address : amphol@spi.co.th หรือเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) ภายหลังจากได้รับข้อร้องเรียนหรือข้อ เสนอแนะ ผูร้ บั ผิดชอบจะน�ำข้อเสนอแนะต่างๆ เสนอต่อทีป่ ระชุม Steering Committee เพือ่ หาข้อสรุปและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขพร้อม กับมอบหมายหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เข้าชีแ้ จงผลการด�ำเนินงานต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ ชีแ้ จงให้ผรู้ อ้ งเรียนทราบ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังใส่ใจ และติดตามถึงข้อเสนอแนะทัง้ ในส่วนภายในและภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องต่อการด�ำเนินงานของบริษทั ส�ำหรับพนักงานของบริษทั สามารถให้ ค�ำแนะน�ำและเสนอแนะการด�ำเนินการของบริษัทได้หลากหลายช่องทาง เช่น ที่ประชุมโครงการ ส่งข้อมูลผ่านเว็บไซต์ และกล่องรับข้อ ร้องเรียนผ่านทางงานบุคคลที่ส�ำนักงานโครงการ ในปี 2560 มีบุคคลภายนอกท�ำการติดต่อผ่านเว็บไซต์ของบริษัท ที่ช่องทาง Contact us ซึ่งทั้งหมดเป็นการสอบถามข้อมูล เกีย่ วกับการให้เช่าและบริการของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ และรายละเอียดเกีย่ วกับโครงการ J-Park Sriracha Nihon Mura เท่านัน้ และไม่พบว่ามีการร้องเรียนเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินกิจการสวนอุตสาหกรรมแต่อย่างใด (1.3) คู่ค้า คณะกรรมการบริษทั ปฏิบตั ติ อ่ คูค่ า้ ด้วยความเสมอภาค และค�ำนึงถึงผลประโยชน์รว่ มกัน โดยก�ำหนดเป็นนโยบายและแนวทาง ปฏิบัติ ดังนี้ 1. มีระบบการคัดเลือกคู่ค้าในห่วงโซ่อุปทาน (Value Chain) ที่มีการด�ำเนินธุรกิจ ตามกฎหมาย ปฏิบัติตามมาตรฐานความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีการปฏิบัติต่อคู่ค้าบนพื้นฐานของการแข่งขันที่เป็นธรรม เสมอภาค และเคารพ ซึ่งกันและกัน 2. รักษาความลับ หรือข้อมูลทางสารสนเทศของคู่ค้า ไม่น�ำไปใช้เพื่อประโยชน์ตนเองหรือผู้เกี่ยวข้องโดยมิชอบ 3. สร้างสัมพันธภาพและความเข้าใจที่ดีต่อกัน แลกเปลี่ยนความรู้ ร่วมกันพัฒนา และเพิ่มคุณค่าให้แก่สินค้าและบริการ เพื่อการเจริญเติบโตร่วมกัน 4. ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงทางการค้าและให้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง ในกรณีที่ ไม่สามารถปฏิบตั ไิ ด้ ให้รบี เจรจากับคูค่ า้ เป็นการล่วงหน้า เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหาย 5. ไม่เรียก รับ หรือยินยอมที่จะรับทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อื่นใด ซึ่งอยู่นอกเหนือข้อตกลงทางการค้า จากนโยบายและแนวทางปฏิบตั ดิ งั กล่าว บริษทั ฯ ได้มกี ารคัดเลือกคูค่ า้ อย่างเป็นธรรม และปฏิบตั ติ อ่ คูค่ า้ ตามข้อตกลง เงือ่ นไข ทางการค้า และให้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง มีการสร้างสัมพันธภาพและความเข้าใจทีด่ ตี อ่ กันเป็นห่วงโซ่อปุ ทาน รวมถึงแลกเปลีย่ นความรู้ ร่วมกัน พัฒนาสินค้าและบริการ เพื่อเพิ่มคุณค่าให้แก่สินค้าและบริการ โดยพัฒนาให้เกิดกระบวนการผลิตที่ไม่เป็นอันตรายต่อพนักงาน ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ไม่เรียก รับ หรือยินยอมที่จะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งอยู่นอกเหนือข้อตกลงทางการค้า บริษัทฯ ให้ ความส�ำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของคู่ค้า ควบคู่กับการเจริญเติบโตร่วมกับบริษัทฯ ในปี 2560 ไม่มีกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามสัญญาที่มีต่อคู่ค้า (1.4) คู่แข่ง คณะกรรมการบริษัทด�ำเนินธุรกิจภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย โดยก�ำหนดเป็นนโยบายและแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ประพฤติปฏิบัติภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่เป็นธรรม โดยค�ำนึงถึงจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และกฎหมาย แข่งขันทางการค้าในประเทศต่างๆ ที่บริษัทฯ เข้าไปด�ำเนินธุรกิจ 2. ไม่ท�ำลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้า จากนโยบายและแนวทางปฏิบัติดังกล่าว บริษัทฯ ได้ด�ำเนินธุรกิจโดยปฏิบัติตามกรอบกติกาของการแข่งขันที่เป็นธรรม โดย สุจริตภายใต้กรอบของกฎหมายอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ บริษัทฯ ถือว่าคู่แข่งเป็นส่วนหนึ่งในการเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรให้มีความ มั่นคงและแข็งแรงยิ่งขึ้น ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาบริษัทฯ ไม่เคยมีข้อพิพาทใดๆ กับคู่แข่งทางการค้า (1.5) เจ้าหนี้ คณะกรรมการบริษทั ยึดมัน่ ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีหลักการและมีวนิ ยั เพือ่ สร้างความเชือ่ ถือให้กบั เจ้าหนี้ โดยก�ำหนดเป็น นโยบายและแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ทุกกลุ่มอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม 2. ปฏิบัติตามสัญญาหรือเงื่อนไขต่างๆ ที่ตกลงกันอย่างเคร่งครัด
86
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
3. บริหารงานเพื่อให้เจ้าหนี้มั่นใจในฐานะทางการเงินและความสามารถในการช�ำระหนี้ที่ดี 4. เปิดเผยฐานะทางการเงินอย่างถูกต้อง ตรงเวลา 5. ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ให้รีบแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบเป็นการล่วงหน้าเพื่อร่วมกันหาแนวทาง แก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหาย เจ้าหนี้ของบริษัท แบ่งออกเป็น เจ้าหนี้การค้า บริษัทฯ ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้การค้า โดยจ่ายเงินให้กับเจ้าหนี้ตรงตามข้อตกลงทางการค้า ไม่ว่าสถานการณ์ทาง เศรษฐกิจเป็นอย่างไร โดยใช้วิธีการโอนเงินผ่านธนาคารในระบบ Smart ก�ำหนดให้มีการวางบิลทุกวันที่ 1-7 ของทุกเดือน และโอนเงิน ให้เจ้าหนี้การค้าทุกวันที่ 26 ของเดือนนั้นๆ หากตรงกับวันหยุดจะเลื่อนเป็นวันท�ำการถัดไป เจ้าหนี้เงินกู้ บริษัทฯ ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้เงินกู้โดยเคร่งครัด โดยจ่ายคืนเงินกู้และดอกเบี้ย ตามเงื่อนไขที่ก�ำหนด ไม่มีการ ผิดนัดช�ำระแต่อย่างใด และเงินกู้ที่บริษัทฯ ได้รับเป็น Clean Loan (1.6) พนักงาน คณะกรรมการบริษัทถือว่าพนักงานเป็นทรัพยากรที่มีค่าและเป็นปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของบริษัท โดยก�ำหนดเป็นนโยบาย และแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ปฏิบัติต่อพนักงานโดยเคารพต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และสิทธิขั้นพื้นฐานในการท�ำงานตลอดจนไม่เปิดเผย หรือส่ง ผ่านข้อมูล หรือความลับของพนักงานต่อบุคคลภายนอก หรือผู้ไม่เกี่ยวข้อง 2. ปฏิบัติต่อพนักงานภายใต้กรอบกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงานของบริษัท 3. ส่งเสริมความเท่าเทียมกัน ในการจ้างแรงงาน ไม่เลือกปฏิบตั ิ ไม่กดี กันด้วยเหตุทางเพศ สีผวิ เชือ้ ชาติ ศาสนา อายุ ความ พิการ หรือสถานะอื่นใดที่ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติงาน 4. สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการฝึกอบรม แลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากรอย่างทั่วถึง สร้างความมั่นคงในอาชีพ และให้โอกาสในการเจริญก้าวหน้าตามศักยภาพของแต่ละคน 5. ส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินงานและการพัฒนาบริษัท 6. ให้ผลตอบแทนด้วยความเป็นธรรม เหมาะสมตามความรู้ความสามารถ หน้าที่ ความรับผิดชอบและผลการปฏิบัติงาน 7. จัดให้มีสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ที่เหมาะสมแก่พนักงาน อาทิ การรักษาพยาบาล กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ สหกรณ์ ออมทรัพย์ เป็นต้น 8. เปิดโอกาสให้พนักงานมีชอ่ งทางสือ่ สารเสนอแนะและร้องทุกข์เกีย่ วกับการท�ำงาน ซึง่ ข้อเสนอต่างๆ จะได้รบั การพิจารณา และก�ำหนดวิธีการแก้ไข เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ายและสร้างความสัมพันธ์อันดีในการท�ำงานร่วมกัน 9. จัดหาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งจัดสภาพแวดล้อมการท�ำงาน โดยค�ำนึงถึงหลักความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย เพื่อเป็นการส่งเสริมและยกระดับคุณภาพชีวิตของพนักงาน 10. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกระดับในการด�ำเนินกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทฯ ได้จัดสวัสดิการต่างๆ ให้กับพนักงาน นอกเหนือจากสวัสดิการขั้นพื้นฐาน เช่น สวัสดิการช่วยเหลือ เมื่อพนักงาน ประสบอัคคีภยั วาตภัย อุทกภัยหรือภัยอืน่ ใด และอุบตั เิ หตุหรือเจ็บป่วย สวัสดิการเงินช่วยเหลือ กรณีพนักงาน บิดา มารดา สามี ภรรยา หรือบุตร ถึงแก่กรรม แล้วบริษัทฯ ยังได้มีการจัดสวัสดิการอื่นๆ ให้กับพนักงานเพิ่มเติม อาทิ - ห้องพยาบาล บริษัทฯ จัดให้มีห้องพยาบาล เพื่อดูแลให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำด้านสุขภาพและให้การรักษาพยาบาล บรรเทา อาการเจ็บป่วยเบื้องต้นให้แก่พนักงาน โดยพนักงานจะได้รับการบริการด้านการรักษาพยาบาลที่ได้มาตรฐาน และถูกต้องตามหลักการ แพทย์โดยแพทย์และพยาบาลวิชาชีพ - การตรวจสุขภาพประจ�ำปี เพื่อส่งเสริมให้พนักงานดูแลสุขภาพ สามารถประเมิน ป้องกัน และปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับอายุของพนักงาน นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้จดั กิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงการดูแลสุขภาพ รูจ้ กั การป้องกันตนเอง เป็นประจ�ำทุก ปี ได้แก่ การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตลอดจนจัดให้มเี จลอนามัยล้างมือตามจุดต่างๆ ในบริษทั ฯ อย่างเพียงพอและทั่วถึง และจัดเตรียมหน้ากากอนามัย ส�ำหรับแจกให้พนักงานเมื่อเจ็บป่วย ตลอดจนบริษัทฯ จัดให้มีเครื่องฟอกอากาศ และเครื่องก�ำเนิดโอโซน ส�ำหรับใช้ในการอบก๊าซโอโซน เพื่อช่วยลดปริมาณเชื้อโรคสะสมภายในบริษัทฯ บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
87
การกำ�กับดูแลกิจการ
- กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ เพือ่ การออมเงินและเป็นการสร้างหลักประกันระยะยาวแก่พนักงานในอนาคต โดยสามารถส่งเงิน สะสมเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 8 - 15 ของค่าจ้าง และจะได้รับเงินสมทบกองทุนจากบริษัทฯ ทุกเดือนในอัตราร้อยละ 8 ของค่าจ้าง - สหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อพนักงานเครือสหพัฒน์ เพื่อส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงการออม ตามหลักการสหกรณ์ออม ทรัพย์ ในรูปแบบของทุนเรือนหุ้นและเงินฝาก รวมถึงการให้ความรู้ ความเข้าใจ ในสิทธิประโยชน์ของเงินกู้ประเภทต่างๆ เพื่อแบ่งเบา ภาระหนี้สินให้แก่พนักงาน - เงินบ�ำเหน็จเกษียณให้กบั พนักงานทุกคนเมือ่ เกษียณอายุการท�ำงาน บริษทั ฯ จัดให้มเี งินตอบแทนการเกษียณอายุ ส�ำหรับ พนักงานทุกคนทีท่ ำ� งานกับบริษทั จนเกษียณอายุ เพือ่ พนักงานจะได้นำ� เงินดังกล่าว ไปใช้ในการด�ำเนินชีวติ ได้อย่างมีความสุขหลังเกษียณ อายุการท�ำงาน - การประกันภัยกลุ่ม บริษัทฯ ได้จัดสวัสดิการด้านการประกันภัยกลุ่ม ครอบคลุมทุนประกันชีวิตและทุนประกันอุบัติเหตุให้ กับพนักงานทุกคน เพื่อเป็นหลักประกันความเสี่ยงภัยที่อาจเกิดขึ้นกับพนักงาน - การประกันสุขภาพกลุ่ม เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระและคุ้มครองค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการรักษาพยาบาล การเจ็บป่วย หรือ บาดเจ็บที่เกิดขึ้นของพนักงาน ทั้งในกรณีผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก รวมถึงกรณีเสียชีวิต - เงินกูเ้ พือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมโครงการสวัสดิการเงินกู้ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยกับสถาบันการเงินต่างๆ เพือ่ แบ่งเบาภาระ หนี้สินให้แก่พนักงาน - เครื่องแต่งกายพนักงาน เพื่อความเป็นระเบียบและเหมาะสมกับการปฏิบัติงานของบริษัท - การฝึกอบรมและสัมมนา บริษทั ฯ จัดให้มกี ารอบรมสัมมนาทัง้ ภายใน และภายนอกองค์กร เพือ่ เป็นการพัฒนาเพิม่ ความ รู้ ความสามารถ ทักษะในการท�ำงานให้แก่พนักงานอย่างต่อเนื่อง และสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ จัดให้มี สวนพักผ่อน สนามกีฬา ลานแอโรบิค สนามฝึกซ้อมกอล์ฟและสนามกอล์ฟ สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับการรับรองระบบการจัดการมาตรฐานแรงงานไทย (มรท. 8001-2546) ระดับ สมบูรณ์ ขั้นริเริ่มจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ซึ่งถือว่าบริษัทฯ ได้ปฏิบัติเป็นไปตามมาตรฐานความรับผิด ชอบทางสังคมของธุรกิจไทย ช่องทางการสื่อสารส�ำหรับพนักงาน บริษทั ฯ จัดตัง้ คณะกรรมการสวัสดิการ เพือ่ เป็นสือ่ กลางระหว่างพนักงานกับบริษทั ฯ ในเรือ่ งสวัสดิการต่างๆ โดยเปิดโอกาสให้ พนักงานทุกคนได้มสี ว่ นร่วมในการบริหารสวัสดิการได้อย่างทัว่ ถึง นอกจากช่องทางการร้องเรียนของผูม้ สี ว่ นได้เสียข้างต้นแล้ว บริษทั ฯ ยัง มีชอ่ งทางโดยตรง ในการสือ่ สาร เสนอแนะ ร้องเรียนและแจ้งปัญหาต่างๆ ระหว่างพนักงานกับผูบ้ งั คับบัญชา โดยผ่านกล่องรับข้อมูลมายัง แผนกตรวจสอบภายใน หรือผ่านทางไปรษณีย์ ตู้ ปณ.3 ปณฝ.สาธุประดิษฐ์ กรุงเทพฯ 10124 หรือ E-mail Address : cac@spi.co.th (1.7) ชุมชนและสังคม คณะกรรมการบริษัทด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงหน้าที่และความรับผิดชอบที่พึงมีต่อประเทศชาติ ชุมชนและสังคม ตลอดจน ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น เพื่อธ�ำรงรักษาไว้ซึ่งสังคมและส่วนรวมที่ดี โดยก�ำหนดเป็นนโยบายและแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ไม่ด�ำเนินธุรกิจที่ท�ำให้สังคมเสื่อมลง และไม่ละเมิดสิทธิของบุคคลอื่นที่อยู่ร่วมในชุมชนและสังคม 2. ปลูกฝังจิตส�ำนึกความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคมโดยส่วนรวม ให้เกิดขึน้ ในบริษทั และพนักงานทุกระดับอย่างต่อเนือ่ ง 3. ก�ำหนดให้มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชุมชนและสังคม อันเนื่องมาจากการด�ำเนินงานของบริษัท 4. ส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น 5. ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการพัฒนาชุมชน 6. ให้การสนับสนุนในกิจกรรมที่ก่อให้เกิดสาธารณประโยชน์ 7. สร้างรายได้และส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน โดยสนับสนุนการจ้างงานและผลิตภัณฑ์ชุมชน 8. สร้างความสัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้นระหว่างบริษัทกับชุมชนและสังคม บนพื้นฐานของความถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรม จากนโยบายและแนวทางปฏิบตั ดิ งั กล่าว บริษทั ฯ ได้สง่ เสริมการจัดกิจกรรมหรือเข้าไปมีสว่ นร่วมสนับสนุนกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง กับการพัฒนาชุมชน โดยมีการปลูกฝังจิตส�ำนึกความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคมโดยส่วนรวมให้เกิดขึน้ ในบริษทั ฯ โดยกระท�ำอย่างต่อ เนื่อง ก�ำกับดูแลไม่ให้สร้างปัญหาแก่ชุมชน สนับสนุนช่วยเหลือและเกื้อกูลแก่ชุมชนเพื่อประโยชน์สุขร่วมกัน และสนับสนุนกิจกรรมอัน เป็นประโยชน์ตอ่ ชุมชนและสังคมโดยส่วนรวม เช่น การศึกษา การส่งเสริมอาชีพ โดยร่วมกับหน่วยงานราชการในการเปิดให้พนื้ ทีภ่ ายใน สวนอุตสาหกรรมเป็นพื้นที่อบรมด้านความปลอดภัยในการจราจรสอบใบขับขี่ การตรวจมะเร็งปากมดลูก การบริจาคโลหิต การแข่งขัน กีฬาระหว่างผู้บริหารของโรงงานต่างๆ ร่วมกับชุมชน จัดอบรมสัมมนาประจ�ำปี มอบทุนการศึกษา การอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการ 88
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
ขยะชุมชนและการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้จากผลการด�ำเนินการต่างๆ ทีผ่ า่ นมาสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ได้รบั ความ ร่วมมือ ในการด�ำเนินงานกิจกรรมต่างๆ จากชุมชนโดยรอบสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์เป็นอย่างดี ตามรายละเอียดที่เปิดเผยไว้ใน หัวข้อ ความรับผิดชอบต่อสังคม และเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้แต่งตั้ง นางออมสิน พันธุ์สิน ที่ปรึกษางานทรัพยากรบุคคล ให้ดูแลงานในด้านงานชุมชนสัมพันธ์ สามารถ ติดต่อได้ที่โทรศัพท์ (038) 480-444 หรือ E-Mail address : omsin@spi.co.th (1.8) สิ่งแวดล้อม คณะกรรมการบริษัทด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงความรับผิดชอบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีการก�ำหนดเป็นนโยบายและแนวทาง ปฏิบัติ ดังนี้ 1. ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ ส อดคล้ อ งตามกฎหมาย กฎระเบี ย บ และนโยบายด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ผลกระทบต่ อ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการทบทวนและประเมินผลการด�ำเนินงานอย่างสม�่ำเสมอ 2. สร้างวัฒนธรรมองค์กรและสร้างจิตส�ำนึกให้พนักงานทุกระดับ เกิดความร่วมมือและความรับผิดชอบในการจัดการ สิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน 3. ส่งเสริมให้ความรู้ และฝึกอบรมแก่พนักงานทุกคนในเรื่องสิ่งแวดล้อม 4. ส่งเสริมระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด มีมาตรการบ�ำบัดและฟื้นฟู การทดแทน การเฝ้าระวังดูแลและป้องกันผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 5. มีระบบคัดเลือกคู่ค้าในห่วงโซ่อุปทาน (Value Chain) ที่ด�ำเนินธุรกิจเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 6. ส่งเสริมการพัฒนาและเผยแพร่เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จากนโยบายและแนวทางปฏิบตั ดิ งั กล่าว บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินธุรกิจ โดยค�ำนึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ เชือ่ ว่างานคุณภาพและการท�ำงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพมาจากบุคลากรทีม่ คี วามสุข จึงได้สร้างสรรค์ “สวนอุตสาหกรรม” ให้เป็นบ้าน หลังใหญ่ ส�ำหรับสมาชิกครอบครัวหลายหมืน่ ชีวติ ทีพ่ รัง่ พร้อมด้วยสิง่ อ�ำนวยความสะดวก เพือ่ ให้ทกุ คนได้ทำ� งานอย่างมีความสุข พร้อม ไปกับการใช้ชวี ติ ทีอ่ บอุน่ ภายใต้ปรัชญา “สร้างสิง่ ทีม่ ากกว่าค�ำว่า เขตอุตสาหกรรม” ซึง่ ได้มกี ารพัฒนาสภาพแวดล้อมให้รม่ รืน่ บรรยากาศ อบอุ่น ดูแลต้นไม้ทุกต้นด้วยความใส่ใจ เพื่อให้สมกับความเป็น “สวนอุตสาหกรรม” ส�ำหรับทุกชีวิตภายใต้ชายคาสวนอุตสาหกรรมเครือ สหพัฒน์ และได้วา่ จ้างให้ บริษทั อีสเทิรน์ ไทยคอนซัลติง้ 1992 จ�ำกัด ท�ำการวิจยั พัฒนาและควบคุมสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนือ่ งทัง้ เรือ่ ง น�ำ ้ เสียง อากาศ และขยะ ซึ่งผลของการตรวจวัดของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ทั้ง 4 แห่ง เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ผลการด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมที่ได้ด�ำเนินการมาแล้ว ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. การจัดการน�ำน�ำ้ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้วจากระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลาง ใช้รดน�ำ้ ต้นไม้ในพืน้ ที่ สีเขียว ของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บุรี และล�ำพูน โดยก�ำหนดเป้าหมายการใช้เป็นสัดส่วน >30%, 40% และ >90% ของปริมาณน�ำ้ ทิง้ ทัง้ หมด จะเห็นได้วา่ พืน้ ที่ในส่วนของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน มีปริมาณการน�ำน�ำ้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัด แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ได้สูงสุด เนื่องจากมีการปรับปรุงพื้นที่ใช้น�้ำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการปลูกพืชและการจัดท�ำโครงการต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้คุณภาพด้านสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการจัดสรรหาแหล่งน�้ำมาใช้ในพื้นที่สีเขียวเป็นอย่างดี 2. บริษัทฯ ได้ศึกษา วิจัยการใช้ประโยชน์จากกากตะกอนระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลาง เพื่อผลิตปุ๋ยให้ได้ตามมาตรฐานกรม วิชาการเกษตร ร่วมกับคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพือ่ การศึกษาแนวทางการใช้ประโยชน์ และข้อจ�ำกัดของกากตะกอน และ เป็นอีกแนวทางหนึง่ ในการจัดการกากตะกอนระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ทีส่ ะสมอยูภ่ ายในระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลาง สวนอุตสาหกรรมเครือสห พัฒน์ ศรีราชา ซึ่งเป็นการลดการปลดปล่อยของเสียภายใต้หลักการของ Waste minimization ที่ท�ำให้ของเสียกลายเป็นประโยชน์ทั้งต่อ ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีเ่ ป็นแหล่งก�ำเนิดกากตะกอนและสิง่ แวดล้อม ในแง่ของการลดต้นทุนในการบ�ำบัดน�ำ้ เสียหลังจากจบโครงการศึกษาวิจยั หมักปุย๋ อินทรียจ์ ากกากตะกอนในระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ได้สตู รปุย๋ จ�ำนวน 2 สูตร ได้แก่ ปุย๋ จากกากตะกอนและขุยมะพร้าว และปุย๋ จากกาก ตะกอนและผักตบชวา ซึ่งปุ๋ยสามารถผสมเข้ากันได้ทั้งหมด และไม่มีกลิ่นของตะกอนที่เกิดจากการหมัก ซึ่งปัจจุบันได้ท�ำการจัดเก็บปุ๋ย หมักไว้ในกระสอบและเก็บในที่แห้ง เพื่อศึกษาคุณลักษณะทางเคมี และชีวภาพบางประการตามมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ตามมาตรฐานกรม วิชาการเกษตร การศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมต่อพืชประเภทต่างๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในกระบวนการท�ำปุ๋ยและการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่ เกิดขึ้นของกากตะกอนน�้ำเสีย และการทดสอบอิทธิพลของปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่ออัตราส่วนของธาตุอาหารในปุ๋ยอินทรีย์
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
89
การกำ�กับดูแลกิจการ
3. เพือ่ ให้เกิดความเชือ่ มัน่ และความใส่ใจในคุณภาพชีวติ ของชุมชน พนักงาน และสิง่ แวดล้อมทีด่ สี วนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา กบินทร์บุรี และล�ำพูน ได้มีการด�ำเนินงานตรวจวัดคุณภาพอากาศ ตรวจวัดคุณภาพน�้ำเสียที่ผ่านการบ�ำบัดติดตามคุณภาพ น�้ำดิบจากคลองต่างๆ ทั้งก่อนและหลังการไหลผ่านสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ เสียงรบกวนต่างๆ ตามข้อก�ำหนด ระบบการจัดการ ขยะมูลฝอย ฯลฯ อย่างน้อยปีละ 1-2 ครั้งหรือเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อรายงานต่อราชการส่วนท้องถิ่น กรมโรงงานและกรมควบคุมมลพิษ 4. โครงการเกษตรพอเพียง ดร.เทียม โชควัฒนา จังหวัดล�ำพูน เป็นโครงการที่ใช้พื้นที่ของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน ปลูกข้าว ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ยึดหลักการประหยัดพลังงาน และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มีการใช้สารเคมีสังเคราะห์ ปฏิบัติ ตามแนวทางในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูสภาพนิเวศการเกษตรและเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ตามรายละเอียดที่เปิดเผยไว้ ใน SPI...กับการ พัฒนาอย่างยั่งยืน การให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานในเรื่องสิ่งแวดล้อม คณะท�ำงานด้านสิ่งแวดล้อม ได้ท�ำการประเมินบริบทองค์กร ประเด็นภายในด้านการบริหารองค์กรที่ดี โครงสร้าง (นโยบาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และวิสัยทัศน์) ซึ่งผู้บริหาร มีความตระหนักและใส่ใจในการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยก�ำหนดโอกาสในการปรับปรุง หรือพัฒนาบุคลากรในองค์กร ให้มคี วามรูด้ า้ นสิง่ แวดล้อม พบว่า ท�ำให้คะแนนการประเมินอยู่ในระดับสูง จึงได้กำ� หนดให้มกี ารจัดท�ำเป็น โครงการสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้บรรลุตามโอกาสในการปรับปรุงพัฒนาที่ได้ประเมินไว้ โดยมีหวั ข้อในการอบรมและประเมินวัดผล 6 หัวข้อ ดังนี้ 1. การสร้างความตระหนักและปลูกจิตส�ำนึกด้านสิ่งแวดล้อมของพนักงานในองค์กร 2. นโยบายสิ่งแวดล้อมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3. การควบคุมระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลาง ศรีราชา และการดูแลสิ่งแวดล้อมภายในโครงการ 4. แผนฉุกเฉินที่เกี่ยวข้องกับระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลาง ศรีราชา 5. โครงการสิ่งแวดล้อมปี 2560 และโครงการประหยัดพลังงานภายในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลาง รวมทัง้ ได้ทำ� การประเมินบริบทองค์กร ประเด็นภายนอกด้านความต้องการของสังคม วัฒนธรรมและสาธารณชน โดยก�ำหนด โอกาสในการปรับปรุงหรือพัฒนาภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร / มีโอกาสปรับปรุงระบบฯ ให้เป็นพื้นที่ศึกษาดูงาน โดยกลุ่มเป้าหมายเป็น กลุ่มบุคคลที่เข้ามาเยี่ยมชม ได้แก่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ระบุในการประเมินผู้มีส่วนได้เสีย และจัดท�ำรายงานไปยังตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (เฉพาะผู้ถือหุ้น) (1.9) ภาครัฐ คณะกรรมการบริษัทด�ำเนินธุรกิจโดยปฏิบัติตามกฎระเบียบของภาครัฐ โดยก�ำหนดเป็นนโยบายและแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศึกษาและท�ำความเข้าใจในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน และไม่ด�ำเนินการใดๆ อันเป็นการขัดต่อกฎหมาย 2. ด�ำเนินการอย่างถูกต้อง เมื่อมีการติดต่อท�ำธุรกรรมกับเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐ 3. สร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทและภาครัฐในขอบเขตที่เหมาะสม 4. ปฏิบัติตามกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ ในแต่ละประเทศ หรือท้องถิ่น จากนโยบายและแนวทางปฏิบัติดังกล่าว บริษัทฯ ได้จ่ายภาษีต่างๆ อย่างถูกต้อง ทันเวลา ตามข้อก�ำหนดของกฎหมาย 2. ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายด�ำเนินการกับความขัดแย้งของผลประโยชน์ โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ด�ำเนินการกับความขัดแย้งของผลประโยชน์หรือรายการที่เกี่ยวโยงกันอย่างรอบคอบ เป็นธรรม สมเหตุสมผล มี กระบวนการที่โปร่งใสในการอนุมัติเข้าท�ำรายการ โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของบริษัท เป็นส�ำคัญ กรรมการบริษัทผู้มีส่วนได้เสียไม่มี สิทธิออกเสียง และเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2. ยึดถือประโยชน์ของบริษัทภายใต้ความถูกต้องตามกฎหมาย โดยไม่กระท�ำการใดๆ อันเป็นการขัดผลประโยชน์กับบริษัท รวมทั้งไม่มีการเอื้อประโยชน์ หรือให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใด 3. กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ต้องรายงานการมีสว่ นได้เสียของตนและบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง ตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด 4. กรรมการบริษัทผู้บริหาร และพนักงาน ซึ่งอยู่ในหน่วยงานที่รับทราบข้อมูลภายใน ห้ามท�ำการซื้อขายหลักทรัพย์ของ บริษัท ในช่วง 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยงบการเงินแก่สาธารณชน 5. ก�ำหนดให้กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร รวมทัง้ คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ มีหน้าทีร่ ายงานการถือครองหลักทรัพย์ และการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทต่อคณะกรรมการบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งต่อไป 6. ไม่เปิดเผยหรือส่งผ่านข้อมูล หรือความลับของบริษทั ทีต่ นเองทราบหรือได้รบั ทราบต่อบุคคลภายนอกหรือผูท้ ี่ไม่เกีย่ วข้อง 90
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
7. การเปิดเผยข้อมูลต้องเป็นไปโดยพนักงานของบริษทั ทีม่ อี ำ� นาจหน้าที่ อาจมีการก�ำหนดชัน้ ความลับของข้อมูลตามความ ส�ำคัญของข้อมูล และการให้ข้อมูลต้องอยู่ในกรอบของหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากนโยบายและแนวทางการปฏิบัติดังกล่าว บริษัทฯ มีการควบคุมดูแลการท�ำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน ให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกรณีที่มีการท�ำ รายการที่เกี่ยวโยงกันที่มิใช่ปกติวิสัยทางการค้าที่มีมูลค่าเกินร้อยละ 0.03 ของ NTA บริษัทฯ ก�ำหนดให้น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร พิจารณา ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาให้ความเห็นชอบ และให้น�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ ซึ่ง ก�ำหนดให้กรรมการบริษัทผู้มีส่วนได้เสียในวาระใด ต้องออกจากห้องประชุม และไม่ออกเสียงในวาระนั้น การพิจารณาการท�ำรายการดัง กล่าว ได้พิจารณาถึงเหตุผล ความจ�ำเป็นของการท�ำรายการเพื่อประโยชน์ของบริษัท เมื่อเสร็จสิ้นการประชุม ได้เปิดเผยการท�ำรายการ ดังกล่าว ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) โดย ได้เปิดเผยถึง ชื่อ ความสัมพันธ์ของบุคคลที่เกี่ยวโยง การก�ำหนดราคา มูลค่าของรายการ คู่สัญญา เหตุผลความจ�ำเป็นของรายการดัง กล่าว ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั และความเห็นทีแ่ ตกต่าง (ถ้ามี) รวมทัง้ มีการบันทึกในรายงานการประชุม สามารถตรวจสอบได้ และยังได้ท�ำการสรุปไว้ในแบบแสดงรายงานข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) ซึ่งในปี 2560 มีการแจ้งท�ำ รายการที่เกี่ยวโยงกัน ประเภททรัพย์สินหรือบริการ 12 รายการ และประเภทรายการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน 6 รายการ ตามราย ละเอียดที่ได้เปิดเผย ใน หัวข้อ รายการระหว่างกัน ส่วนรายการที่เกี่ยวโยงกันที่เข้าข่ายต้องขออนุมัติจากผู้ถือหุ้น มี 1 รายการ คือ การ รับโอนกิจการทัง้ หมดของ บริษทั เพรซิเดนท์โฮลดิง้ จ�ำกัด รวมถึงการท�ำค�ำเสนอซือ้ หลักทรัพย์ทงั้ หมดใน บริษทั เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 และไม่มีการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือการซื้อขายสินทรัพย์ ที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรณีรายการระหว่างกันที่เป็นธุรกิจปกติ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้มีการอนุมัติหลักการเกี่ยวกับข้อตกลงทางการค้าที่มีเงื่อนไข การค้าทัว่ ไป ในการท�ำธุรกรรมระหว่างบริษทั ฯ กับกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีม่ คี วามเกี่ยวข้องเป็นประจ�ำทุกปี ในการประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1 หลังจากการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี เพื่อให้กรรมการบริษัทชุดใหม่ได้ทราบเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว และให้สรุปรายการดังกล่าวทุกไตรมาส เพือ่ รายงานให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ และได้เปิดเผยไว้ในในแบบแสดงรายงานข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) ว่ารายการระหว่างกันได้กระท�ำอย่างยุติธรรม เป็นไปตามปกติธุรกิจการค้า บริษัทฯ มีมาตรการควบคุมการท�ำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน และจ�ำกัดการ ให้ความช่วยเหลือทางการเงินกับบริษัทที่ไม่ใช่บริษัทย่อย โดยการให้กู้ยืมเงินหรือค�้ำประกันเงินกู้ตามสัดส่วนการถือหุ้นที่เป็นไปตาม สัญญาร่วมทุน นอกจากนี้ บริษัทฯ ดูแลการซื้อขายสินทรัพย์ให้เป็นไป ตามประกาศของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน เรื่อง การได้มาหรือ จ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ ทั้งนี้ ในการท�ำรายการเกี่ยวโยงกันและการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ กรรมการบริษัท ผู้มีส่วนได้เสีย ไม่มีส่วนร่วม ในการตัดสินใจ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรม 3. การเลี้ยงรับรอง การรับ หรือการให้ของขวัญ คณะกรรมการบริษัทมุ่งหวังให้การด�ำเนินธุรกิจของบริษัท เป็นไปในทางที่มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม อย่างไรก็ตามการเลี้ยง รับรอง การรับ หรือการให้ของขวัญ หรือการรับการเลีย้ งรับรอง ตามธรรมเนียมประเพณีปฏิบตั ิ เพือ่ รักษาไว้ซงึ่ ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่าง กัน เป็นสิ่งอันควรปฏิบัติตามความเหมาะสม โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ไม่รับ หรือให้ของขวัญ ของก�ำนัล การเลี้ยงรับรอง ที่อาจท�ำให้เกิดอิทธิพลในการตัดสินใจอย่างหนึ่งอย่างใด หากจ�ำเป็นต้อง รับหรือให้ของขวัญ ของก�ำนัล การเลี้ยงรับรองตามประเพณีที่มีมูลค่าเกินกว่าปกติวิสัย ให้รายงานผู้บังคับบัญชาตามล�ำดับ 2. กรณีได้รับมอบหมาย หรือได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชาให้ไปช่วยเหลือหน่วยงานภายนอกอาจรับเงิน สิ่งของหรือของ ขวัญได้ตามหลักเกณฑ์หรือมาตรฐานภายนอกนัน้ ก�ำหนดและใช้เป็นการทัว่ ไป เช่น การได้รบั ของขวัญ ของก�ำนัล การจับฉลากชิงรางวัล เป็นต้น 3. กรณีที่ตัวแทน คู่สัญญา หุ้นส่วน หรือผู้อื่นใด ที่ต้องการให้ของขวัญ ของก�ำนัล หรือการเลี้ยงรับรองในนามของบริษัท ต้อง ได้รับการอนุมัติจากบริษัทก่อน 4. ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในเรื่องเหล่านี้ ควรจะอยู่ภายใต้งบประมาณที่เหมาะสม บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
91
การกำ�กับดูแลกิจการ
จากนโยบายและแนวทางปฏิบตั ดิ งั กล่าว บริษทั ฯ ได้มกี ารก�ำหนดระเบียบเกีย่ วกับการเบิกค่าเลีย้ งรับรอง การรับ หรือการให้ของ ขวัญ ไว้ในระเบียบว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ในปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามแนวทางและระเบียบที่ก�ำหนด 4. นโยบายการต่อต้านการทุจริต การคอร์รัปชัน คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายปฏิบตั ติ ามกฎหมายต่อต้านการคอร์รปั ชัน และห้ามจ่ายสินบนเพือ่ ผลประโยชน์ทางธุรกิจของบริษทั โดยก�ำหนดนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน และข้อปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน สามารถดูได้จากเว็บไซต์ของบริษัท (www. spi.co.th) เป็นส่วนหนึ่งในจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ ควบคู่ไปกับการสร้างจิตส�ำนึก ค่านิยม ทัศนคติให้แก่พนักงานในการปฏิบัติงาน ตามกฎหมาย กฎระเบียบ ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ห้ามกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน เรียก รับ หรือยินยอมที่จะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด รวมทั้งห้ามให้หรือเสนอที่จะให้ทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใดแก่บุคคลภายนอก เพื่อจูงใจให้บุคคลนั้นกระท�ำหรือ ละเว้นการกระท�ำใดที่ผิดกฎหมาย หรือโดยมิชอบต่อต�ำแหน่งหน้าที่ของตน ซึ่งบริษัทฯ ได้ก�ำหนดโทษทางวินัยไว้ส�ำหรับผู้ที่ละเมิด และ จะต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายก�ำหนด (ถ้ามี) บริษทั ฯ มีกระบวนการในการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินความเสีย่ งจากการคอร์รปั ชัน มีการจัดท�ำแผนป้องกันความเสีย่ งดังกล่าว โดยมีฝา่ ยตรวจสอบภายในท�ำหน้าทีต่ รวจสอบและน�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อท�ำหน้าที่สอบทานระบบควบคุมภายใน และติดตามผลการตรวจสอบภายใน ในกรณีที่มีการทุจริต ฝ่ายตรวจสอบภายในจะรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะ กรรมการตรวจสอบจะรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทตามล�ำดับ ปี 2560 จากการทีบ่ ริษทั ฯ ได้รบั การรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต บริษทั ฯ จัดให้ มีการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ และฝึกอบรมนโยบายและข้อปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน รวมทั้งโทษทางวินัยไปยังกรรมการ บริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง เพื่อปลูกฝังจิตส�ำนึกให้กบั คนในบริษทั ฯ และมีการวัดผลผ่านการท�ำแบบทดสอบ คือ ผูท้ ดสอบผ่านเกณฑ์ประเมินร้อยละ 80 โดยมีผู้ผ่านการประเมินร้อยละ 100 สะท้อนให้เห็นถึงการมีวินัยในการปฏิบัติตามนโยบายต่อ ต้านการคอร์รปั ชัน ตลอดจนบริษทั ฯ น�ำนโยบายต่อต้านการคอร์รปั ชันมาเป็นส่วนหนึง่ ในการบริหารงานบุคคล ตัง้ แต่การสรรหาคัดเลือก บุคลากร การปฐมนิเทศ การฝึกอบรม การประเมินผลงาน การก�ำหนดค่าตอบแทน และการเลื่อนต�ำแหน่ง โดยก�ำหนดให้ผู้บังคับบัญชา ทุกระดับ สือ่ สารท�ำความเข้าใจกับพนักงาน เพือ่ ใช้ในกิจกรรมทางธุรกิจทีอ่ ยู่ในความรับผิดชอบและควบคุมดูแลการปฏิบตั ิให้เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้พัฒนาและขยายเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง โดยสนับสนุนในบริษัทในกลุ่มสหพัฒน์ ที่จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นคู่ค้าและลูกค้าของบริษัท ยื่นเรื่องเพื่อขอรับรองการเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชน ไทยในการต่อต้านการทุจริต ซึ่งในปี 2559 นอกจากบริษัทฯ แล้วยังมีอีก 11 บริษัท (ดูรายชื่อได้จาก การด�ำเนินงานนโยบายการก�ำกับ ดูแลกิจการ) ที่ได้รับการรับรอง ส�ำหรับปี 2560 มีบริษัทในกลุ่มสหพัฒน์ที่ได้รับการรับรองอีก 1 บริษัท คือ บริษัท โอซีซี จ�ำกัด (มหาชน) ในปี 2560 บริษทั ฯ ไม่พบประเด็นปัญหาข้อบกพร่องทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญเกีย่ วกับการทุจริตคอร์รปั ชัน และการด�ำเนินงานที่ไม่สอด คล้องกับกฏหมายหรือข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนการละเมิดจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจแต่อย่างใด 5. การไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายไม่ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญา โดยก�ำหนดไว้ใน จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และมีแนวทางปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. ด�ำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับกฎหมาย ข้อบังคับ และข้อผูกพันตามสัญญาที่เกี่ยวกับสิทธิ ในทรัพย์สินทางปัญญา 2. ดูแลรักษางานอันเป็นทรัพย์สนิ ทางปัญญาของบริษทั และไม่นำ� ทรัพย์สนิ ทางปัญญาดังกล่าวไปใช้ หรือให้บคุ คลอืน่ ใช้โดยมิได้รบั อนุญาต 3. เคารพสิทธิในทรัพย์สนิ ทางปัญญาของผูอ้ นื่ ไม่ละเมิดหรือน�ำผลงานของผูอ้ นื่ ไปใช้ เพือ่ ประโยชน์สว่ นตน เว้นแต่ได้รบั อนุญาต หรือให้ค่าตอบแทนแก่เจ้าของผลงาน 4. ผลงานทีพ่ นักงานได้สร้างสรรค์ หรือทีเ่ กิดขึน้ จากการปฏิบตั หิ น้าที่ให้ถอื เป็นทรัพย์สนิ ทางปัญญาของบริษัท และเมื่อพ้นสภาพ จากการเป็นพนักงานแล้วจะต้องส่งมอบทรัพย์สินทางปัญญาดังกล่าวคืนให้บริษัท ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่เก็บไว้ในรูปแบบใด จากนโยบายและแนวทางปฏิบัติดังกล่าว บริษัทฯ ไม่มีการลอกเลียนแบบหรือน�ำทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่นมาใช้ในธุรกิจโดย ไม่ได้รับอนุญาต 1. การบริการด้านเครื่องหมายการค้าของบริษัท แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.1 เครือ่ งหมายการค้าต่างประเทศ บริษทั ฯ เป็นผูไ้ ด้รบั สิทธิเครือ่ งหมายการค้าของผลิตภัณฑ์ทมี่ ชี อื่ เสียงในต่างประเทศอย่างถูก 92
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
ต้อง และได้ทำ� สัญญายินยอมให้บริษทั กลุม่ สหพัฒน์ใช้เครือ่ งหมายการค้าอย่างถูกต้องเช่นกัน เช่น Guy Laroche, ELLE โดยได้รบั ค่าตอบแทน ในรูปค่าลิขสิทธิ์ 1.2 เครื่องหมายการค้าในประเทศ บริษัทฯ เป็นเจ้าของและจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ และได้ทำ� สัญญายินยอมให้บริษทั กลุม่ สหพัฒน์ใช้เครือ่ งหมายการค้านั้นๆ เช่น กุลสตรี Rain Flower โดยได้รับค่า ตอบแทนในรูปเครื่องหมายการค้ารับ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังร่วมกับบริษัทกลุ่มสหพัฒน์สนับสนุนให้พนักงานส่งนวัตกรรมเข้าประกวดในโครงการประกวดนวัตกรรม เครือสหพัฒน์ (Chairman Awards) ซึง่ สร้างความภูมิใจให้แก่พนักงานที่ได้รบั รางวัล และเป็นแรงบันดาลใจให้พนักงานมุ่งที่จะสร้างสรรค์ นวัตกรรมอยู่ตลอดเวลา 2. การใช้งานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษทั ฯ มีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทมี่ ลี ขิ สิทธิอ์ ย่างถูกต้อง และด�ำเนินการ อย่างมุง่ มัน่ จากผูบ้ ริหารระดับสูงให้พนักงานทุกคนใส่ใจและตระหนักถึงการไม่ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญา การใช้งานให้เป็นไปตามพระราช บัญญัตวิ า่ ด้วยการกระท�ำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 และ “ระเบียบปฏิบตั ขิ องพนักงานในการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์” ซึง่ ควบคุมดูแลการใช้งานโดยฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของ บริษทั ดังนี้ 2.1 พนักงานจะต้องไม่ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยมีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ - เพื่อการกระท�ำผิดกฎหมาย หรือเพื่อก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น - เพื่อการกระท�ำที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน - เพื่อกระท�ำการอันมีลักษณะเป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาขององค์กร หรือของบุคคลอื่น - เพื่อให้ทราบข้อมูลข่าวสารของบุคคลอื่น โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของ หรือผู้ที่มีสิทธิในข้อมูลดังกล่าว - เพื่อการรับหรือส่งข้อมูลซึ่งก่อหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายให้แก่องค์กร เช่น การรับหรือส่งข้อมูลที่มีลักษณะ เป็นจดหมายลูกโซ่ หรือการรับหรือส่งข้อมูลที่ได้รับจากบุคคล ภายนอกอันมีลกั ษณะเป็นการละเมิดต่อกฎหมายหรือสิทธิของบุคคลอืน่ ไป ยังพนักงานหรือบุคคลอื่น เป็นต้น 2.2 เพื่อความปลอดภัยในการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยส่วนรวม พนักงานจะต้อง - ไม่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีลักษณะเป็นการละเมิดสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ของบุคคลอื่น - ไม่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ในการตรวจสอบข้อมูลบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เว้นแต่จะได้รับ อนุญาตจากผู้บังคับบัญชาก่อน - ไม่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นใดเพิ่มเติมในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของ องค์กร เพื่อให้บุคคลอื่นสามารถใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลนั้นหรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กรได้ - ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ตนเองครอบครองใช้งานอยู่เมื่อใช้งานประจ�ำวันเสร็จสิ้น หรือเมื่อมีการยุติ การใช้งานเกินกว่า 1 ชั่วโมง เว้นแต่เครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เป็นเครื่องบริการ (server) ที่ต้องใช้งานตลอด 24 ชั่วโมง - ตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับจากภายนอกองค์กรทุกครั้ง ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�ำหรับตรวจสอบและก�ำจัดไวรัส คอมพิวเตอร์ที่องค์กรจัดให้และหากตรวจพบไวรัสคอมพิวเตอร์ ฝังตัวอยู่ในข้อมูลส่วนใด จะต้องรีบจัดการท�ำลายไวรัสคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลนั้นโดยเร็วที่สุด - ลบข้อมูลที่ไม่จ�ำเป็นต่อการใช้งานออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของตน เพื่อ เป็นการประหยัดปริมาณ หน่วยความจ�ำบนสื่อบันทึกข้อมูล - ให้ความร่วมมือและอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้บังคับบัญชาผู้ดูแลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในการตรวจสอบระบบ ความปลอดภัยของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของพนักงานและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของผู้บังคับ บัญชา ผู้ดูแลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้วย - ระมัดระวังการใช้งาน และสงวนรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์เหมือนเช่นบุคคล ทั่วไปจะพึงปฏิบัติ ในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แล้วแต่กรณี - ไม่เข้าไปในสถานที่ตั้งของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อนได้รับอนุญาต - คืนทรัพย์สินอันเกี่ยวข้องกับการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เป็นขององค์กร เช่น ข้อมูลและส�ำเนาของข้อมูล กุญแจ บัตรประจ�ำตัว บัตรผ่านเข้าหรือออก ฯลฯ ให้แก่องค์กรรวมทัง้ ขอรับข้อมูลส่วนบุคคลทีอ่ ยูบ่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์คนื จากองค์กร ภายในก�ำหนด 7 วัน นับแต่วันพ้นสภาพการเป็นพนักงาน บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
93
การกำ�กับดูแลกิจการ
2.3 บริษัทฯ จะไม่รับผิดชอบใดๆ กรณีพนักงานกระท�ำการฝ่าฝืนหรือกระท�ำผิดพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระ ท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ก่อหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่องค์กร หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด และบริษัทฯ พิจารณาด�ำเนินการ ลงโทษทางวินัยแก่พนักงานที่ กระท�ำการฝ่าฝืนตามสมควรต่อไป ในปีที่ 2560 บริษัทฯ ไม่มีกรณีละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาแต่อย่างใด 6. การไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการบริษทั เคารพต่อสิทธิมนุษยชน โดยก�ำหนดนโยบายไว้ในจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ไม่กระท�ำการใดๆ หรือไม่สนับสนุนกิจการที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน 2. ให้ความรู้ความเข้าใจในหลักสิทธิมนุษยชนแก่พนักงานเพื่อน�ำไปเป็นส่วนหนึ่งในการปฏิบัติงาน 3. ไม่จำ� กัดความเป็นอิสระหรือความแตกต่างทางความคิด เพศ เชือ้ ชาติ ศาสนา การเมืองหรือเรือ่ งอืน่ ใด ทัง้ นีพ้ งึ หลีกเลีย่ งการแสดง ความคิดเห็นที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งหรือแตกแยก 4. จัดให้มชี อ่ งทางการสือ่ สาร เพือ่ ให้พนักงานหรือผูท้ เี่ ชือ่ ว่าสิทธิของตนถูกละเมิดหรือได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างไม่เป็นธรรมสามารถ ร้องเรียนต่อบริษัท และค�ำร้องเรียนพึงได้รับการเอาใจใส่และด�ำเนินการอย่างเป็นธรรม ตลอดเวลายาวนานในการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทฯ ไม่มีกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชน 7. ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย คณะกรรมการบริษทั ให้ความส�ำคัญด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. ด�ำเนินธุรกิจให้สอดคล้องตามกฎหมาย กฎระเบียบและนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงาน โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สนิ และผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงาน คูค่ า้ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย รวมถึงมีการตรวจ ติดตามและประเมินผลด้านความปลอดภัยอย่างสม�่ำเสมอ 2. สนับสนุนให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงาน โดยก�ำหนดระเบียบ วิธปี ฏิบตั ิ และมาตรฐานการท�ำงานทีป่ ลอดภัยในการท�ำงาน ทีส่ อดคล้องตามความเสีย่ งตลอดจนการปรับปรุงสภาพการท�ำงาน สภาพแวดล้อม วิธกี ารท�ำงานทีป่ ลอดภัย รวมถึงการจัดเครือ่ งมือและ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยให้กับพนักงาน 3. มีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยจัดท�ำ ฝึกซ้อมและปรับปรุงแผนฉุกเฉินอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อ ป้องกันและลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของบริษัท พนักงาน คู่ค้าและผู้เกี่ยวข้อง 4. สร้างวัฒนธรรมการท�ำงานที่ปลอดภัยทั่วทั้งองค์กร ซึ่งจะช่วยให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงานได้อย่างยั่งยืน จากนโยบายและแนวทางปฏิบัติดังกล่าว บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรม 5 ส. และส่งเสริมมาตรการด้านความปลอดภัยต่างๆ อาทิ จัด ให้มีการซ้อมแผนฉุกเฉินสารเคมีหกรั่วไหลให้ทัดเทียมกับมาตรฐานการระงับเหตุระดับสากลการตรวจสอบซ่อมบ�ำรุงระบบไฟ สัญญาณ เตือนภัยต่างๆ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ รวมถึงให้ความรู้ด้านการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย ชี้แจงแนวปฏิบัติตามกฎหมาย ใหม่ เรื่อง การอพยพหนีไฟและการดับเพลิง สาธิตวิธีใช้ถังดับเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง ปลอดภัย ให้กับพนักงาน ตลอดจนติด ตั้งถังดับเพลิงชนิดสารสะอาดไม่เป็นอันตราย ตามจุดต่างๆ บริเวณบริษัทฯ อย่างทั่วถึง จรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน คณะกรรมการบริษัท ยังได้ก�ำหนดจรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ดังนี้ 1. ความรับผิดชอบในหน้าที่ คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ได้มกี ารด�ำเนินการมาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้กรรมการ บริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงาน รับทราบและถือปฏิบตั ิให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันภายใต้กรอบจรรยาบรรณ และด�ำรงตนอยูไ่ ด้ดว้ ยความ ซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวังรอบคอบ เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จึงได้ก�ำหนดจรรยาบรรณ ดังนี้ กรรมการบริษัท และผู้บริหาร 11. ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซือ่ สัตย์สจุ ริต โดยปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคับบริษทั และประกาศทีเ่ กีย่ วข้อง 22. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเต็มความสามารถเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั รวมถึงการเข้าประชุมทุกครัง้ ยกเว้นกรณีทมี่ เี หตุจำ� เป็น 33. ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความเป็นกลาง โดยในการประชุมกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ไม่มสี ทิ ธิออกเสียงในเรือ่ งทีต่ นมีสว่ นได้เสีย
94
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
44. ปฏิบตั หิ น้าที่โดยด�ำเนินการกับความขัดแย้งของผลประโยชน์ดว้ ยความรอบคอบและมีเหตุผล โดยยึดถือประโยชน์ของบริษทั เพื่อให้การบริหารงานเป็นไปอย่างโปร่งใส 55. ในการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งหลักทรัพย์ของบริษัท กรรมการบริษัท และผู้บริหาร รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องและรายงานให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบในการประชุมคราวถัดไป 66. ห้ามกรรมการบริษัท และผู้บริหาร ทําการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัท ในช่วง 1 เดือนก่อนการเปิดเผยงบการเงินแก่ สาธารณชน 77. กรรมการบริษัท และผู้บริหารต้องรายงานการมีส่วนได้เสียของตนและผู้ที่มีความเกี่ยวข้อง ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด 88. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทเป็นประจ�ำทุกปี
พนักงาน 11. สนับสนุนและให้ความร่วมมือในการด�ำเนินกิจการของบริษทั อย่างสม�ำ่ เสมอและปฏิบตั งิ านในหน้าทีท่ ี่ได้รบั มอบหมายอย่าง เต็มความสามารถเพื่อให้เกิดผลดีและความเจริญก้าวหน้าแก่บริษัท และพนักงาน 22. ปฏิบัติตามกฎหมาย นโยบาย ข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงาน ระเบียบ และประกาศต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง 33. ปฏิบัติต่อผู้มาติดต่อด้วยกิริยามารยาท อัธยาศัยอันดีงาม และการบริการที่เป็นเลิศ รักษาภาพลักษณ์และชื่อเสียงของบริษัท 44. รักษาความลับทางการค้าและไม่น�ำข้อมูลภายในของบริษัท เปิดเผยต่อบุคคลภายนอก 55. ห้ามกูย้ มื เงินจากลูกค้า ผูเ้ กีย่ วข้องกับลูกค้า หรือผูท้ าํ ธุรกิจกับบริษทั เว้นแต่เป็นการกูย้ มื เงินจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน 66. ปฏิบัติตามค�ำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายของผู้บังคับบัญชา 77. ยึดมั่นในการท�ำงานเป็นทีมช่วยเหลือ สามัคคี และเคารพในสิทธิซึ่งกันและกัน เพื่อประโยชน์ของบริษัท และพนักงาน 88. ปฏิบตั ติ อ่ ผูร้ ว่ มงานด้วยความมีนำ�้ ใจและมนุษยสัมพันธ์อนั ดีไม่กล่าวร้ายต่อผูอ้ นื่ โดยปราศจากความจริง รวมทัง้ ไม่นำ� ผลงาน ของบุคคลอื่นมาอ้างเป็นผลงานตนเอง 99. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความตั้งใจ ซื่อสัตย์สุจริต ไม่แสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ส�ำหรับตนเองหรือผู้อื่น โดยอาศัยหน้าที่การงาน ที่ท�ำกับบริษัท 1010 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ไม่ประมาทเลินเล่อ จนเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายต่องาน หรือทรัพย์สิน ของบริษัท 1111 ปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองดี ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยใช้สิทธิทางการเมืองอย่างเหมาะสม หลีกเลี่ยงการมีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อย ศีลธรรมอันดีของประชาชน 2. การดูแลรักษาทรัพย์สินของบริษัท กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหารและพนักงาน มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการดูแลการใช้ทรัพย์สนิ ของบริษทั และทรัพย์สินภายใต้ การดูแลของบริษัทอย่างมีประสิทธิภาพ โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 11. ใช้ทรัพย์สินในการด�ำเนินธุรกิจโดยไม่น�ำทรัพย์สินดังกล่าวไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือบุคคลภายนอก 22. ปกป้องผลประโยชน์และดูแลทรัพย์สนิ มิให้สญู หายชํารุดหรือนําไปใช้ในทางทีผ่ ดิ เสมือนวิญญูชนพึงรักษาทรัพย์สนิ ของตนเอง ขจัดการแสวงหาประโยชน์อันมิควรได้โดยชอบ ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม 33. ด�ำเนินการให้มีการประกันภัยในวงเงินที่เพียงพอต่อความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับทรัพย์สิน 44. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ท�ำร้าย ละเมิด สอดแนม แก้ไขแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น หรือสร้างหลักฐานที่เป็นเท็จอันอาจก่อให้เกิดการ โจรกรรมข้อมูลข่าวสาร และจัดให้มกี ารรักษาความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีส่ อดคล้องตามมาตรฐานสากล 55. ใช้อีเมล์และอินเทอร์เน็ตที่จัดให้ เพื่อธุรกิจของบริษัทอย่างระมัดระวัง และไม่น�ำมาซึ่งความเสื่อมเสียชื่อเสียงของบริษัท 66. เก็บรักษาและไม่ยินยอมให้ผู้อื่นใช้รหัสผ่านส�ำหรับเข้าใช้งานระบบสารสนเทศต่างๆ ของบริษัท 77. ไม่นำ� ทรัพย์สนิ ทางปัญญาของบริษทั ไปท�ำซ�ำ ้ ดัดแปลงหรือกระท�ำการใดๆ เพือ่ ประโยชน์สว่ นตัวหรือประโยชน์ของผูอ้ นื่ โดย ไม่ได้รับอนุญาตจากบริษัท 88. รายงานต่อผู้บังคับบัญชา เมื่อพบเห็นการกระท�ำที่เป็นการละเมิดสิทธิ หรืออาจน�ำไปสู่การละเมิดสิทธิ หรือการกระท�ำที่อาจ ก่อให้เกิดข้อพิพาทเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาของบริษัท 99. ดูแลให้มีการจัดเก็บเอกสารที่ส�ำคัญของบริษัท ให้ครบถ้วนตามเวลาที่กฎหมาย หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องก�ำหนดและเมื่อพ้น
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
95
การกำ�กับดูแลกิจการ
ช่วงระยะเวลาที่ต้องเก็บรักษาเอกสารแล้ว พนักงานที่เกี่ยวข้องต้องดูแลให้มีการท�ำลายด้วยวิธีที่เหมาะสม 3. การแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน และมาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียน คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดช่องทางการร้องเรียนจากผูม้ สี ว่ นได้เสีย ไว้ในจรรยาบรรณกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงาน และในข้อปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน และมีมาตรการคุม้ ครองผูท้ แี่ จ้งข้อมูลหรือให้เบาะแส โดยบริษัทฯ จะเก็บข้อมูลที่ เกี่ยวข้องไว้เป็นความลับ และค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ร้องเรียน โดยก�ำหนดมาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียนที่เป็นพนักงาน รวมถึงผู้ ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง จะได้รับความคุม้ ครองจากการปฏิบตั ทิ ไี่ ม่เป็นธรรม อันเนือ่ งมาจากสาเหตุแห่งการแจ้งข้อร้อง เรียน เช่น รบกวนการปฏิบตั งิ าน เปลี่ยนต�ำแหน่งงาน เลิกจ้าง เป็นต้น ดูรายละเอียดได้จากเว็บไซต์ของบริษทั (www.spi.co.th) และใน การค�ำนึงถึงบทบาทของผูม้ สี ว่ นได้เสีย หัวข้อ ช่องทางการมีสว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นได้เสีย ในปี 2560 จากช่องทางการร้องเรียนที่บริษัทฯ ก�ำหนด บริษัทฯ ไม่ได้รับข้อร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียแต่อย่างใด
2. คณะกรรมการชุดย่อย
คณะกรรมการบริษทั รับผิดชอบในการก�ำหนดและทบทวนโครงสร้างคณะกรรมการบริษทั ทัง้ ในเรือ่ งขนาด องค์ประกอบ สัดส่วน กรรมการทีเ่ ป็นอิสระ ทีเ่ หมาะสมและจ�ำเป็นต่อการน�ำพาองค์กรสูว่ ตั ถุประสงค์และเป้าหมายหลักทีก่ ำ� หนด มีโครงสร้างการบริหารทีช่ ดั เจน ถ่วงดุล และสามารถตรวจสอบได้ มีการมอบอ�ำนาจระหว่างคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อย และฝ่ายจัดการทีช่ ดั เจน โครงสร้าง คณะกรรมการของบริษทั ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยอีก 3 ชุด ช่วยกลัน่ กรองงานทีม่ คี วามส�ำคัญ คือ คณะ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง 2.1 คณะกรรมการบริษทั จัดตัง้ ขึน้ ท�ำหน้าทีก่ ำ� กับดูแลกิจการให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลทีด่ ี เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ และให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั มติคณะกรรมการบริษทั และมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วย ความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซือ่ สัตย์ สุจริต เยีย่ งวิญญูชนผูป้ ระกอบธุรกิจเช่นนั้นจะพึงกระท�ำ ภายใต้สถานการณ์อย่างเดียวกัน ด้วยอ�ำนาจ ต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีต่ นมีสถานะเป็นกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วย บุคคลทีม่ คี วามรู้ ความ สามารถ ประสบการณ์ทหี่ ลากหลาย ไม่มกี ารกีดกันทางเพศ มีความเข้าใจบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของการเป็นกรรมการบริษทั และ ลักษณะการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท มีรายละเอียด ดังนี้ (1) การถ่วงดุลของกรรมการบริษัท บริษัทฯ ก�ำหนดให้ต้องมีคณะกรรมการของบริษัทไม่น้อยกว่า 5 คน และคุณสมบัติของ กรรมการบริษัทต้องเป็นบุคคลธรรมดา และ (1) บรรลุนิติภาวะ (2) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (3) ไม่เคยรับโทษจ�ำคุก โดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดให้จ�ำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่ได้กระท�ำโดย ทุจริต (4) ไม่เคยถูกลงโทษ ไล่ออก หรือปลดออกจากราชการ หรือองค์กร หรือหน่วยงานของรัฐ ฐานทุจริตต่อหน้าที่ ปี 2560 คณะกรรมการบริษัทมีจ�ำนวน 18 คน ประกอบด้วย - กรรมการบริษัทที่เป็นผู้บริหาร 6 คน - กรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหาร 12 คน ( 66.67 %) กรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหาร จ�ำนวน 12 คน ในจ�ำนวนนี้เป็นกรรมการอิสระ จ�ำนวน 6 คน ในจ�ำนวนกรรมการอิสระ 6 คน เป็น กรรมการตรวจสอบ จ�ำนวน 3 คน โดยมีกรรมการอิสระทีเ่ ป็นผูห้ ญิง จ�ำนวน 2 คน ซึง่ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในเรือ่ งสัดส่วนกรรมการอิสระ ที่ก�ำหนดให้บริษัทจดทะเบียน ต้องมีกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน กรรมการ บริษัททุกคนมีความตั้งใจในการปฏิบัติหน้าที่ ตามที่ได้รับความไว้วางใจจากคณะกรรมการบริษัท และผู้ถือหุ้น มีความเป็นอิสระในการ แสดงความคิดเห็น พิจารณาและให้ความเห็นชอบในเรื่องต่างๆ โดยค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัท และ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2561 นายทนง ศรีจิตร์ ได้เสียชีวิต ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้ขอสงวนต�ำแหน่งไว้ 1 ต�ำแหน่ง (2) วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการบริษทั กรรมการบริษทั มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งตามข้อบังคับของบริษทั และเมือ่ ครบ วาระแล้วอาจได้รบั การเลือกตัง้ กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งต่อไปได้อกี โดยมีคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน เป็นผู้ท�ำหน้าที่สรรหา และกลั่นกรองบุคคลที่เหมาะสม เพื่อให้มั่นใจว่าบุคคลที่จะเข้ามาเป็นกรรมการบริษัท เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีพื้น ฐานความเชี่ยวชาญจากหลากหลายวิชาชีพที่บริษัทฯ ต้องการ เหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ก่อนเสนอชื่อให้คณะกรรมการ บริษัทพิจารณา
96
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
(3) สัดส่วนการเป็นกรรมการบริษทั ตามเงินลงทุน จ�ำนวนบริษทั ทีก่ รรมการบริษทั ไปด�ำรงต�ำแหน่ง อายุกรรมการและจ�ำนวน วาระทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่ง บริษทั ฯ ไม่ได้กำ� หนดสัดส่วนการเป็นกรรมการบริษทั ตามเงินลงทุน จ�ำนวนบริษทั ทีก่ รรมการบริษทั แต่ละคนด�ำรง ต�ำแหน่งอายุกรรมการและจ�ำนวนวาระทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันได้นานทีส่ ดุ เพราะเชือ่ ว่าความสามารถทางธุรกิจ และความเชีย่ วชาญของ กรรมการบริษทั แต่ละคนไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั อายุหรือจ�ำนวนบริษทั ทีด่ ำ� รงต�ำแหน่ง ตราบเท่าทีก่ รรมการบริษทั ทุกคนมีความตัง้ ใจและจริงใจในการ ปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการบริษทั ตามทีไ่ ด้รบั ความไว้วางใจจากคณะกรรมการบริษทั และผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้เปิดเผยรายชือ่ กรรมการบริษทั และเปิดเผยว่ากรรมการบริษทั คนใดเป็นกรรมการอิสระ เปิดเผย ประวัติ ประสบการณ์ การถือหุน้ บริษทั ฯ วันและปีทกี่ รรมการบริษทั เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั อีกทัง้ ไม่มกี รรมการอิสระคนใดทีด่ ำ� รงต�ำแหน่งเป็นกรรมการ ในบริษทั จดทะเบียนมากกว่า 5 แห่ง เและได้เปิดเผยข้อมูลการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั ทีบ่ ริษทั อืน่ ของกรรมการบริษทั แต่ละคน ในแบบ 56-1 และ แบบ 56-2 ปัจจุบนั บริษทั ฯ ไม่มีกรรมการบริษัทที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทจดทะเบียนมากกว่า 5 แห่ง (4) การรวมหรือแยกต�ำแหน่ง ประธานกรรมการบริษัท และประธานกรรมการบริหาร ไม่ได้เป็นบุคคลเดียวกันกับกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ จึงท�ำหน้าทีต่ า่ งกัน แต่กถ็ ว่ งดุลซึง่ กันและกัน ถึงแม้ประธานกรรมการบริษทั และประธานกรรมการบริหารจะเป็นบุคคลคน เดียวกัน แต่มกี ารแบ่งแยกหน้าที่โดยชัดเจน โดยประธานกรรมการบริษทั เป็นผู้น�ำฝ่ายนโยบายก�ำกับดูแลการท�ำงานของฝ่ายบริหาร และ เป็นผู้ควบคุมการประชุมคณะกรรมการบริษัท การประชุมผู้ถือหุ้นให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เปิดโอกาสให้กรรมการบริษัท แสดง ความคิดเห็นได้อย่างอิสระในการประชุมคณะกรรมการบริษทั และเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ซักถามได้อย่างเต็มที่ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ประธาน กรรมการบริหารเป็นผูน้ ำ� ในการบริหารงานและวางแผนการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ก�ำหนด ส่วนกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นผูน้ ำ� ในการจัดการให้เป็นไปตามแผนการปฏิบตั งิ านและนโยบายทีก่ ำ� หนด นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ของคณะกรรมการแต่ละคณะ และของฝ่ายจัดการไว้อย่างชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร จัดท�ำเป็นกฎบัตรคณะกรรมการแต่ละคณะ กฎบัตรคณะกรรมการบริหาร และก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นลายลักษณ์อักษร มีการแยก อ�ำนาจไว้อย่างชัดเจน เพื่อความโปร่งใสในการบริหารจัดการ (5) กรรมการบริษัทไม่มีใครเคยเป็นพนักงานหรือหุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกที่บริษัทฯ ใช้บริการอยู่ (6) ในคณะกรรมการบริษัท ไม่มีกรรมการอิสระที่ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการในบริษัทจดทะเบียนมากกว่า 5 แห่ง (7) ในคณะกรรมการบริษทั มีกรรมการบริษทั ทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร จ�ำนวน 6 คน ใน 12 คน ทีม่ ปี ระสบการณ์การท�ำงานทีเ่ กีย่ วข้อง กับธุรกิจของบริษทั ในปีที่ผ่านมา - บริษัทฯ ไม่มีการกระท�ำที่ขัดต่อกฎระเบียบที่ร้ายแรง ตามกฎระเบียบของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - บริษัทฯ ไม่มีการกระท�ำผิดด้านการทุจริตหรือกระท�ำผิดจริยธรรม - บริษทั ฯ ไม่มกี รณีทกี่ รรมการบริษทั ทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารลาออก เนือ่ งจากประเด็นการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั - บริษัทฯ ไม่มีกรณีเกี่ยวกับชื่อเสียงในทางลบของบริษัท เนื่องจากความล้มเหลวในการท�ำหน้าที่สอดส่องดูแลของคณะ กรรมการบริษัท อ�ำนาจด�ำเนินการของคณะกรรมการบริษัท 11. แต่งตัง้ ถอดถอน มอบอ�ำนาจหน้าที่ ให้แก่ทปี่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดต่าง ๆ และ/หรือบุคคลอืน่ ใดไปปฏิบตั ิ 22. อนุมตั กิ ารให้กยู้ มื เงินแก่บริษทั ทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ในฐานะผูถ้ อื หุน้ หรือบริษทั ทีม่ กี ารประกอบธุรกิจทางการค้า ต่อกัน หรือบริษัทอื่น ในวงเงินส่วนที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร 33. อนุมัติการเข้าค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อแก่บริษัทที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท ในฐานะผู้ถือหุ้น หรือบริษัทที่มีการประกอบ ธุรกิจทางการค้าต่อกันหรือบริษัทอื่น ในวงเงินส่วนที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร 44. อนุมัติการเข้าท�ำนิติกรรมที่มิใช่ธุรกรรมทางการเงิน ในวงเงินส่วนที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร 55. อนุมัติการได้รับหรือยกเลิกวงเงินสินเชื่อ ในวงเงินส่วนที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
97
การกำ�กับดูแลกิจการ
66. 77. 88. 99.
อนุมัติการลงทุน ขายเงินลงทุนในหุ้นสามัญ และ/หรือ หลักทรัพย์อื่นใด ในวงเงินส่วนที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร อนุมัติการจัดหา และลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ในวงเงินส่วนที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร อนุมัติการจ�ำหน่าย จ่าย โอน ในสินทรัพย์ถาวร ในวงเงินส่วนที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร อนุมัติการปรับสภาพ ท�ำลาย ตัดบัญชี ซึ่งสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนที่เลิกใช้ ช�ำรุด สูญหาย ถูกท�ำลาย เสื่อม สภาพ หรือล้าสมัยไม่สามารถใช้งานได้ มีมูลค่าทางบัญชีรวมในวงเงินส่วนที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร 1010 อนุมัติการปรับสภาพราคา การท�ำลาย ซึ่งวัตถุดิบ และ/หรือสินค้าคงเหลือที่เสื่อมสภาพ หรือล้าสมัยซึ่งจะท�ำให้มีมูลค่าทางบัญชี ลดลง ในวงเงินส่วนที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร 1111 อนุมัติการประนีประนอม การระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ การร้องทุกข์ การฟ้องร้องคดี และ/หรือ การด�ำเนินการตาม กระบวนพิจารณาคดีใด ๆ ในนามบริษทั ส�ำหรับเรือ่ งทีม่ ิใช่ปกติวสิ ยั ทางการค้า และ/หรือ ทีเ่ ป็นปกติวสิ ยั ทางการค้า ทีม่ ที นุ ทรัพย์ เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหารในกรณีทมี่ คี วามจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการเป็นการรีบด่วน มอบอ�ำนาจให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็น ผู้อนุมัติในเรื่องดังกล่าว และให้น�ำเสนอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัททราบในคราวถัดไป 1212 บรรดาอ�ำนาจด�ำเนินการของคณะกรรมการบริษัทที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์และการท�ำรายการที่ เกี่ยวโยงกัน ให้ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน 1313 เสนอการเพิ่มทุน หรือลดทุน หรือการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้น การแก้ไข เปลี่ยนแปลงหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อบังคับ และ/หรือ วัตถุประสงค์ของบริษัทต่อผู้ถือหุ้น 1414 อนุมัติการก่อตั้ง ควบรวม หรือเลิกบริษัทย่อย 1515 อนุมัติให้ประธานกรรมการหรือคณะกรรมการบริหารเป็นผู้ก�ำหนดคู่มืออ�ำนาจด�ำเนินการ 1616 มอบอ�ำนาจให้แก่ฝ่ายจัดการ พนักงานระดับบริหารของบริษัท หรือบุคคลอื่นใดท�ำการแทนได้ 1717 มีอ�ำนาจเชิญฝ่ายจัดการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวข้องมาชี้แจง ให้ความเห็น ร่วมประชุมหรือส่งเอกสารตามที่ เห็นว่าเกี่ยวข้องจ�ำเป็น 1818 ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ หรือ ที่ปรึกษาของบริษัท (ถ้ามี) หรือ จ้างที่ปรึกษา หรือผู้เชี่ยวชาญภายนอก ในกรณีจ�ำเป็นด้วยค่าใช้จ่าย ของบริษัท 1919 แต่งตั้งและถอดถอนเลขานุการบริษัท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 11. ก�ำหนดทิศทาง เป้าหมาย และนโยบายทางธุรกิจของบริษัท 22. อนุมตั แิ ผนงานและงบประมาณประจ�ำปี รวมทัง้ ก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของฝ่ายจัดการ ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบายและแผน งานที่ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 33. ส่งเสริมให้จดั ท�ำนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ จริยธรรมและจรรยาบรรณธุรกิจทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติในการด�ำเนินธุรกิจ และติดตามให้มีการปฏิบัติตามอย่างจริงจัง 44. จัดให้มรี ะบบควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ เหมาะสม เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า การท�ำรายการต่างๆ ได้รบั อนุมตั จิ ากผูม้ อี ำ� นาจ มีการสอบทาน และจัดท�ำบัญชีที่ถูกต้อง ตลอดจนมีระบบต่างๆ ที่สามารถป้องกันการน�ำทรัพย์สินของบริษัทไปใช้ในทางมิชอบ 55. การท�ำรายการที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ ต้องมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ มีแนวทางที่ชัดเจนและเป็นไปเพื่อผล ประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้น โดยผู้มีส่วนได้เสียไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และปฏิบัติตามข้อก�ำหนดเกี่ยวกับขั้นตอนการ ด�ำเนินการ และการเปิดเผยข้อมูลของรายการที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ให้ถูกต้อง 66. ให้ความเห็นชอบรายงานทางการเงินที่ผู้สอบบัญชีได้ตรวจสอบ และ/หรือสอบทานแล้ว และได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะ กรรมการตรวจสอบแล้ว 77. รับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และมีการเปิดเผยข้อมูลต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนอย่างถูกต้อง มีมาตรฐานและโปร่งใส 88. รับทราบรายงานการบริหารกิจการจากคณะกรรมการบริหาร 99. เรียกประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยก�ำหนด วัน เวลา สถานที่ และระเบียบวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนก�ำหนดอัตราการจ่ายเงินปันผล (หากมี) และความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับเรื่องที่เสนอต่อผู้ถือหุ้น ในระหว่าง 21 วันก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละ ครั้ง บริษัทจะงดรับลงทะเบียนการโอนหุ้นก็ได้ โดยประกาศให้ผู้ถือหุ้นทราบ ณ ส�ำนักงานใหญ่และส�ำนักงานสาขาของบริษัท ไม่น้อยกว่า 14 วัน ก่อนวันงดรับลงทะเบียนการโอนหุ้น หรือ ก�ำหนดวันเพื่อก�ำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้น (Record Date : RD) ล่วง หน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นไม่เกิน 2 เดือน เพื่อสิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น และสิทธิในการรับเงินปันผล
98
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
1010 จัดท�ำรายงาน “ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน” โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท (แบบ 56-1) และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-2) 1111 ติดตามดูแลเอกสารที่จะยื่นต่อหน่วยงานก�ำกับดูแลที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มั่นใจว่าได้แสดงข้อความหรือลงรายการ เป็นไปโดยถูก ต้องตรงตามข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในสมุดบัญชี ทะเบียน หรือเอกสารอื่นใดของบริษัท 1212 อนุมัติกฎบัตรคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการชุดอื่น 1313 ปฏิบัติการอื่นใด ที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหารหรือตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร ปี 2560 คณะกรรมการบริษัท มีการประชุมทั้งหมด 13 ครั้ง มีการทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ของบริษัท และเห็นว่ายังมีความ เหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบนั มีการก�ำหนดเป้าหมาย นโยบายการด�ำเนินงาน และงบประมาณ เพือ่ ให้กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงาน มีจุดมุ่งหมายไปในทิศทางเดียวกัน มีการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ข้อบังคับบริษัท กฎบัตร มีการติดตามผลการ ด�ำเนินงานเป็นประจ�ำทุกเดือน การเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละคน สามารถดูได้ที่หัวข้อ โครงสร้างการจัดการ ประธานกรรมการ คณะกรรมการบริษัท เลือกกรรมการบริษัทที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม 1 คน เป็นประธาน กรรมการ อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานกรรมการบริษัท มีดังนี้ 11. มีบทบาทในฐานะผู้น�ำของคณะกรรมการบริษัท ในการก�ำกับ ติดตาม ดูแลให้มั่นใจได้ว่า การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการบริษัท เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 22. เป็นประธานในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ควบคุมการประชุม ให้เป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท ว่าด้วยการประชุม ด�ำเนินการประชุมให้ เป็นไปตามล�ำดับ ระเบียบวาระทีก่ ำ� หนดไว้ในหนังสือนัดประชุม เว้นแต่ทปี่ ระชุมจะมีมติให้เปลีย่ นล�ำดับระเบียบวาระ ด้วยคะแนน เสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม 33. เรียกประชุมคณะกรรมการบริษัท หรืออาจมอบหมายให้บุคคลอื่นด�ำเนินการแทน เป็นผู้ก�ำหนดวาระการประชุม โดยหารือกับ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และดูแลเรื่องส�ำคัญได้ถูกบรรจุเป็นวาระการประชุม 44. เป็นประธานในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ในกรณีที่คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานกรรมการบริษัทออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียง หนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด 55. ดูแลให้มั่นใจว่ากรรมการบริษัททุกคนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่มีจริยธรรมและการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี 66. จัดสรรเวลาไว้อย่างเพียงพอ ที่ฝ่ายจัดการจะเสนอเรื่องและมากพอที่กรรมการบริษัทอภิปรายประเด็นส�ำคัญอย่างรอบคอบ ส่ง เสริมให้กรรมการบริษัทมีการใช้ดุลยพินิจที่รอบคอบ ให้ความเห็นได้อย่างอิสระ 77. เสริมสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างกรรมการบริษทั ทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารและกรรมการบริษทั ที่ไม่เป็นผูบ้ ริหาร และระหว่างคณะกรรมการ บริษัทและฝ่ายจัดการ 88. ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั เป็นผูแ้ ต่งตัง้ กรรมการบริษทั ทีม่ คี ณุ สมบัตเิ ป็นกรรมการตรวจสอบตามประกาศ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และมีความเป็นอิสระ จ�ำนวน 3 คน เป็นคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเป็นผู้หญิง จ�ำนวน 2 คน เพื่อท�ำหน้าที่ สนับสนุนการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ในการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ โี ดยเฉพาะด้านกระบวนการรายงานทางการเงิน ระบบควบคุม ภายในและความเสี่ยง การต่อต้านการคอร์รัปชัน กระบวนการตรวจสอบ และการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง ดังราย ชื่อต่อไปนี้
รายชื่อ
(วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ)
1. นายนพพร พงษ์เวช - 13 พ.ค. 2554 2. นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต - 25 เม.ย. 2559 3. นางสาวนฤมล สอาดโฉม - 12 พ.ค. 2560 4. พลต�ำรวจโทอัมรินทร์ เนียมสกุล
(ครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง วันที่ 25 เม.ย.2560)
ต�ำแหน่ง
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง
ประธานกรรมการตรวจสอบ มีความเชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ และ ด้าน บัญชีการเงิน กรรมการตรวจสอบ มีความเชี่ยวชาญด้านบัญชีการเงิน กรรมการตรวจสอบ มีความเชี่ยวชาญด้านบัญชีการเงิน
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
กรรมการตรวจสอบ
พฤษภาคม 59 - พฤษภาคม 60
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61 พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
99
การกำ�กับดูแลกิจการ
อ�ำนาจด�ำเนินการของคณะกรรมการตรวจสอบ 11. ก�ำหนดให้มกี ารประสานความเข้าใจให้อยูใ่ นแนวทางเดียวกันระหว่างผูส้ อบบัญชี คณะกรรมการบริษทั และหน่วยงานตรวจสอบภายใน 22. มีอำ� นาจเชิญ ผูบ้ ริหาร ฝ่ายจัดการ ฝ่ายตรวจสอบภายใน หรือพนักงานของบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องมาชีแ้ จงให้ความเห็นร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจ�ำเป็น ตลอดจนเข้าถึงข้อมูลได้ทุกระดับขององค์กร 33. มีอำ� นาจในการตรวจสอบผูท้ เี่ กีย่ วข้อง และเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง ภายในขอบเขตของอ�ำนาจและหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ 44. ปรึกษาผูเ้ ชีย่ วชาญ หรือทีป่ รึกษาของบริษทั (ถ้ามี) หรือจ้างทีป่ รึกษา หรือผูเ้ ชีย่ วชาญภายนอก ในกรณีจำ� เป็นด้วยค่าใช้จา่ ยของบริษทั หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 11. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ โดยสอบทานนโยบายทางบัญชีที่ส�ำคัญของบริษัท รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 22. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสม และมีประสิทธิผล 33. สอบทานการปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชันของบริษัท 44. พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน 55. พิจารณาอนุมัติแผนการตรวจสอบ และติดตามการปฏิบัติตามแผนของหน่วยงานตรวจสอบภายใน 66. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 77. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระ เพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทน ของบุคคลดังกล่าว เพื่อขอรับการแต่งตั้งจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการ เข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 88. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสม เหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 99. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท (ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท (ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท (ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ฉ) จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) (ซ) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท 1010 ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการ หรือการกระท�ำดังต่อไปนี้ ซึง่ อาจมีผลก ระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษทั ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัท เพื่อด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร (ก) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ข) การทุจริตคอร์รัปชัน หรือมีสิ่งผิดปกติ หรือมีความบกพร่องที่ส�ำคัญในระบบควบคุมภายใน (ค) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท หากคณะกรรมการบริษทั หรือผูบ้ ริหาร ไม่ดำ� เนินการให้มกี ารปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีก่ ำ� หนด กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึง่ อาจ รายงานว่ามีรายการหรือการกระท�ำดังกล่าวต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 100
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
1111 สนับสนุนและติดตามให้บริษัทมีระบบการบริหารความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพ 1212 ดูแลให้บริษทั มีชอ่ งทางการรับแจ้งเบาะแสและข้อร้องเรียนต่างๆ เกีย่ วกับรายการในงบการเงินที่ไม่เหมาะสม การทุจริตคอร์รปั ชัน หรือประเด็นอื่น ๆ โดยมีกระบวนการป้องกัน และรักษาความลับของผู้แจ้งเบาะแส รวมทั้งมีกระบวนการสอบสวนที่เป็นอิสระ และมีการด�ำเนินการในการติดตามที่เหมาะสม 1313 ดูแลให้บริษัทมีระบบการบริหารงานด้วยหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี 1414 ทบทวน ปรับปรุง และแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ 1515 จัดให้มีการประเมินตนเองอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 1616 ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ โดยอาศัยอ�ำนาจตาม ข้อบังคับของบริษัท และตามกฎหมาย ในการปฏิบตั หิ น้าทีด่ งั กล่าวข้างต้น คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษทั โดยตรง และคณะกรรมการ บริษัท ยังคงมีความรับผิดชอบในการด�ำเนินงานของบริษัทต่อบุคคลภายนอก ปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบมีจ�ำนวน 3 คน และทั้ง 3 คน มีความเชี่ยวชาญด้านบัญชี การเงิน มีการประชุมทั้งหมด 12 ครั้ง โดยกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุม คิดเป็นร้อยละ 100 และคณะกรรมการตรวจสอบได้จัดท�ำรายงานการตรวจสอบ เสนอที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส นอกจากนี้ได้จัดท�ำ “รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ” เพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานประจ�ำ ปีต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และได้เปิดเผยไว้ในแบบ 56-1 และแบบ 56-2 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (1) มีการเปิดเผยจ�ำนวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบในรอบปี (2) มีการประเมิน และสอบทานระบบการควบคุมภายในและความเสี่ยง (3) มีการสอบทานการท�ำรายการระหว่างกัน (4) มีการพิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี (5) มีการสอบทานรายงานทางการเงิน (6) มีการดูแลด้านการปฏิบัติงานต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบาย และถูกต้องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และระเบียบข้อบังคับต่างๆ ของทางราชการ (7) มีข้อสรุป/ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อการด�ำเนินการในด้านต่างๆ โดยรวม การเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละคน สามารถดูได้ที่หัวข้อ โครงสร้างการจัดการ 2.3 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการบริษัท จ�ำนวน 3 คน เป็นคณะ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ท�ำหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การสรรหา เพื่อสรรหาและกลั่นกรองบุคคล ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจได้ว่า บริษัทมีกระบวนการสรรหาบุคคลดังกล่าวอย่างโปร่งใส การก�ำหนดค่าตอบแทน เพือ่ พิจารณาหลักเกณฑ์ในการจ่าย และรูปแบบค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั ทัง้ นี้ เพื่อให้มนั่ ใจได้ ว่าบริษัทมีการพิจารณาค่าตอบแทนอย่างโปร่งใส และเป็นธรรม ดังรายชื่อต่อไปนี้ รายชื่อ (วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน)
ต�ำแหน่ง
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง
1. นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา - 14 พ.ค. 2550
ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
2. นางสาวศิริกุล ธนสารศิลป์ - 15 ธ.ค. 2559
กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
3. นายทนง ศรีจิตร์ (เสียชีวิต เมื่อวันที่ 2 มี.ค.2561)
กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
มีนาคม 61 - พฤษภาคม 61
4. นายวิชัย กุลสมภพ - 12 มี.ค. 2561
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
101
การกำ�กับดูแลกิจการ
อ�ำนาจด�ำเนินการของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 11. มีอ�ำนาจเชิญฝ่ายจัดการ หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวข้องมาชี้แจง ให้ความเห็นร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามที่เห็น ว่าเกี่ยวข้องจ�ำเป็น 22. ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ หรือ ที่ปรึกษาของบริษัท (ถ้ามี) หรือจ้างที่ปรึกษา หรือผู้เชี่ยวชาญภายนอก ในกรณีจ�ำเป็นด้วย ค่าใช้จ่ายของบริษัท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 11. พิจารณาสรรหาคัดเลือกบุคคลผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 22. ตรวจสอบประวัติและข้อมูลต่างๆ ของบุคคลที่ได้รับการคัดเลือก โดยค�ำนึงถึงความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ความ เชี่ยวชาญจากหลากหลายวิชาชีพ มีคุณสมบัติที่เหมาะสม โดยเป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 33. จัดท�ำความเห็นหรือข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณา 44. เสนอชื่อบุคคลที่ได้รับการคัดเลือกต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณา 55. ปรับปรุงและแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 66. ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย การก�ำหนดค่าตอบแทน 11. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ในแต่ละปี 22. พิจารณาก�ำหนดวงเงินค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการบริษทั โดยพิจารณาจากผลการด�ำเนินงานของบริษทั วงเงินค่าตอบแทนที่ ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และจ�ำนวนเงินค่าตอบแทนทีจ่ า่ ยในปีทผี่ า่ นมา เพือ่ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั พิจารณา และน�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ อนุมตั ิ 33. พิจารณาจัดสรรค่าตอบแทนแก่กรรมการบริษทั โดยพิจารณาจากผลการปฏิบตั งิ าน อ�ำนาจหน้าทีแ่ ละปริมาณความรับผิด ชอบ ภายในวงเงินทีผ่ ถู้ อื หุน้ ได้อนุมตั ิ และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ อนุมตั ิ 44. พิจารณาจัดสรรค่าตอบแทนแก่กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน (ทีม่ ไิ ด้ดำ� รงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั ) โดยพิจารณา จากผลการปฏิบตั งิ าน อ�ำนาจ หน้าที่ และปริมาณความรับผิดชอบ และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ อนุมตั ิ 55. ปรับปรุงและแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา อนุมตั ิ 66. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใด ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ปี 2560 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน มีจ�ำนวน 3 คน มีการประชุมทั้งหมด 2 ครั้ง โดยกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน เข้าร่วมประชุม คิดเป็นมากกว่าร้อยละ 75 และคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ได้จัดท�ำ “รายงานจาก คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน” เพือ่ รายงานผลการปฏิบตั ิงานประจ�ำปีต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และได้เปิดเผยไว้ ในแบบ 56-1 และแบบ 56-2 การเข้าร่วมประชุมของกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน แต่ละคน สามารถดูได้ที่หัวข้อ โครงสร้าง การจัดการ 2.4 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการบริษทั จ�ำนวน 3 คน ผูบ้ ริหาร จ�ำนวน 1 คน และเลขานุการบริษทั จ�ำนวน 1 คน รวมจ�ำนวน 5 คน เป็นคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง ท�ำหน้าทีส่ นับสนุน การปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ด้านธรรมาภิบาล การต่อต้านการคอร์รปั ชัน และบริหารความเสีย่ ง เพือ่ เป็นการ สร้างมูลค่าเพิ่ม ความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน ดังรายชื่อต่อไปนี้
102
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
รายชื่อ (วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง) 1. นายนพพร พงษ์เวช - 4 ส.ค. 2558 2. นายทนง ศรีจิตร์ (เสียชีวิต เมื่อวันที่ 2 มี.ค.2561) 3. นายวิชัย กุลสมภพ - 15 ธ.ค. 2559 4. นายชูโต จิระคุณากร - 4 ส.ค. 2558 5. นางดรุณี สุนทรธ�ำรง - 4 ส.ค. 2558
ต�ำแหน่ง
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง
ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
อ�ำนาจด�ำเนินการของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง 11. มีอ�ำนาจเชิญฝ่ายจัดการ หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวข้องมาชี้แจง ให้ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามที่ เห็นว่าเกี่ยวข้องจ�ำเป็น 22. ปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ หรือที่ปรึกษาของบริษัท (ถ้ามี) หรือจ้างที่ปรึกษา หรือผู้เชี่ยวชาญภายนอกในกรณีจ�ำเป็นด้วย ค่าใช้จ่ายของบริษัท 33. มีอ�ำนาจแต่งตั้งคณะท�ำงาน เพื่อด�ำเนินการด้านธรรมาภิบาลและการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล 11. ก�ำหนด ทบทวน และปรับปรุงนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ หลักการก�ำกับดูแลกิจการ จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ จรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน และระเบียบปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อย่างต่อเนื่อง 22. ก�ำหนดแนวทางการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน พร้อมทั้งติดตามดูแล และ ประเมินผลการปฏิบัติงาน 33. ส่งเสริม และสนับสนุนให้กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงาน มีการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ และนโยบาย ต่อต้านการคอร์รัปชัน 44. ทบทวน แก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 55. ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ด้านการบริหารความเสี่ยง 11. ก�ำหนดนโยบาย เป้าหมาย วางแผน ประเมินความเสีย่ ง และจัดให้มรี ะบบการบริหารความเสีย่ งของบริษทั อย่างชัดเจนและ ต่อเนื่อง เพื่อการจัดการความเสี่ยงต่างๆ ที่ส�ำคัญและรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท 22. ส่งเสริมและผลักดัน ให้เกิดความร่วมมือในการบริหารจัดการความเสี่ยงทุกระดับในองค์กร 33. ติดตาม ดูแล ประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้บริษัทมีการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ โดยให้ ความส�ำคัญกับสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า และรายการผิดปกติทั้งหลาย 44. พัฒนาระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงทั้งองค์กร ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง 55. ทบทวน แก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 66. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใด ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ปี 2560 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง มีจ�ำนวน 5 คน มีการประชุมทั้งหมด 2 ครั้ง โดยกรรมการ ธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง เข้าร่วมประชุม คิดเป็นมากกว่าร้อยละ 75 และคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง ได้ จัดท�ำ “รายงานจากคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง” เพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานประจ�ำปีต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท และได้เปิดเผยไว้ในแบบ 56-1 และแบบ 56-2 การเข้าร่วมประชุมของกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงแต่ละคน สามารถดูได้ที่หัวข้อ โครงสร้างการจัดการ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
103
การกำ�กับดูแลกิจการ
2.5 คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการบริษัท และ/หรือ บุคคลอื่น ทั้งที่มีฐานะเป็นพนักงาน หรือลูกจ้างของบริษัท และ/หรือบุคคลภายนอก เป็นคณะกรรมการบริหาร ซึ่งเป็นฝ่ายจัดการ ทั้งนี้ ต้องมีความรู้และประสบการณ์เพียง พอที่จะท�ำหน้าที่บริหารจัดการกิจการของบริษัทได้เป็นอย่างดี มีฐานะเป็นฝ่ายจัดการ ท�ำหน้าที่บริหารจัดการกิจการของบริษัท ตามที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต เยี่ยงวิญญูชนผู้ประกอบธุรกิจเช่นนั้นจะพึง กระท�ำภายใต้สถานการณ์อย่างเดียวกัน ด้วยอ�ำนาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพล ในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการบริหาร มี จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน ดังนี้ รายชื่อ
ต�ำแหน่ง
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง
ประธานกรรมการบริหาร
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
2. นายทนง ศรีจิตร์ (เสียชีวิต เมื่อวันที่ 2 มี.ค.2561)
กรรมการบริหาร
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
3. นายวิชัย
กุลสมภพ
กรรมการบริหาร
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
4. นายส�ำเริง
มนูญผล
กรรมการบริหาร
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
5. นายมนู
ลีลานุวัฒน์
กรรมการบริหาร
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
6. นางสาวศิริกุล
ธนสารศิลป์
กรรมการบริหาร
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
7. นายมนัส
องค์สรณะคม
กรรมการบริหาร
พฤษภาคม 60 - พฤษภาคม 61
1. นายบุณยสิทธิ์
104
โชควัฒนา
อ�ำนาจด�ำเนินการของคณะกรรมการบริหาร 11. แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้าย พิจารณาความดีความชอบ ตลอดจนก�ำหนดค่าตอบแทนและสวัสดิการ แก่พนักงานระดับต่าง ๆ 22. แต่งตั้ง ถอดถอน คณะท�ำงานอื่นใดเพื่อด�ำเนินกิจการต่าง ๆ ในการบริหารงานของบริษัท 33. ออกระเบียบ ประกาศ ว่าด้วยการปฏิบัติงาน และสามารถมอบอ�ำนาจให้แก่กรรรมการบริหาร และ/หรือ พนักงานผู้ด�ำรง ต�ำแหน่งทางการบริหาร เป็นผู้ลงนามอนุมัติเบิกจ่ายสินทรัพย์ของบริษัทได้ 44. อนุมัติการให้กู้ยืมเงินแก่บริษัทที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท ในฐานะผู้ถือหุ้น หรือบริษัทที่มีการประกอบธุรกิจ ทางการค้าต่อกัน หรือบริษัทอื่น ในวงเงินแห่งละไม่เกิน จ�ำนวน 50 ล้านบาท 55. อนุมัติการเข้าค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อแก่บริษัทที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท ในฐานะผู้ถือหุ้น หรือ บริษัทที่มีการ ประกอบธุรกิจทางการค้าต่อกัน หรือบริษัทอื่น ในวงเงินแห่งละไม่เกิน จ�ำนวน 50 ล้านบาท 66. อนุมัติการเข้าท�ำนิติกรรมที่มิใช่ธุรกรรมทางการเงิน ในวงเงินแต่ละครั้งไม่เกิน จ�ำนวน 50 ล้านบาท 77. อนุมัติการได้รับหรือยกเลิกวงเงินสินเชื่อ ในวงเงินแต่ละครั้งไม่เกิน จ�ำนวน 50 ล้านบาท 88. อนุมัติการลงทุน ขายเงินลงทุนในหุ้นสามัญ และ/หรือ หลักทรัพย์อื่นใด ในวงเงินแต่ละครั้งไม่เกิน จ�ำนวน 50 ล้านบาท 99. อนุมัติการจัดหาและลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ในวงเงินแต่ละครั้งไม่เกิน จ�ำนวน 50 ล้านบาท 1010 อนุมัติการจ�ำหน่าย จ่าย โอน ในสินทรัพย์ถาวร ในวงเงินแต่ละครั้งไม่เกิน จ�ำนวน 50 ล้านบาท 1111 อนุมัติการปรับสภาพ ท�ำลาย ตัดบัญชี ซึ่งสินทรัพย์ถาวร และสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน ที่เลิกใช้ ช�ำรุด สูญหาย ถูกท�ำลาย เสื่อมสภาพหรือล้าสมัยไม่สามารถใช้งานได้ มีมูลค่าทางบัญชีรวมไม่เกินครั้งละจ�ำนวน 50 ล้านบาท 1212 อนุมตั กิ ารปรับสภาพ ราคา การท�ำลาย ซึง่ วัตถุดบิ และ/หรือ สินค้าคงเหลือทีเ่ สือ่ มสภาพ หรือล้าสมัย ซึง่ จะท�ำให้มมี ลู ค่า ทางบัญชีลดลงไม่เกินครั้งละ จ�ำนวน 50 ล้านบาท 1313 อนุมตั กิ ารประนีประนอม การระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ การร้องทุกข์ การฟ้องร้องคดี และ/หรือการด�ำเนินการ ตามกระบวนพิจารณาคดีใด ๆ ในนามบริษทั ส�ำหรับเรือ่ งทีม่ ิใช่ปกติวสิ ยั ทางการค้า ทีม่ ที นุ ทรัพย์ไม่เกิน จ�ำนวน 2 ล้านบาท และ/หรือ ที่เป็นปกติวิสัยทางการค้าที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน จ�ำนวน 50 ล้านบาท ในกรณีทมี่ คี วามจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการเป็นการรีบด่วน มอบอ�ำนาจให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นผูอ้ นุมตั ใิ นเรือ่ งดังกล่าว และให้น�ำเสนอที่ประชุมคณะกรรมการบริหารทราบในคราวถัดไป
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
1414 บรรดาอ�ำนาจด�ำเนินการของคณะกรรมการบริหารที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์และการท�ำ รายการที่เกี่ยวโยงกัน ให้ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน 1515 มอบอ�ำนาจให้แก่พนักงานระดับบริหารของบริษัท หรือบุคคลอื่นใดท�ำการแทนได้ 1616 มีอ�ำนาจเชิญผู้บริหาร หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวข้องมาชี้แจง ให้ความเห็นร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามที่เห็น ว่าเกี่ยวข้องจ�ำเป็น 1717 ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ หรือ ที่ปรึกษาของบริษัท (ถ้ามี) หรือ จ้างที่ปรึกษา หรือผู้เชี่ยวชาญภายนอก ในกรณีจ�ำเป็นด้วยค่า ใช้จ่ายของบริษัท 1818 ออกระเบียบปฏิบัติงานอื่นใดตามที่เห็นสมควร หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 11. เสนอเป้าหมาย นโยบาย แผนงาน และงบประมาณประจ�ำปีต่อคณะกรรมการบริษัท 22. รับผิดชอบในการบริหารกิจการของบริษัทให้เป็นไปตามทิศทาง เป้าหมาย นโยบายทางธุรกิจของบริษัท 33. รับผิดชอบในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของบริษัท และส่งเสริมให้มีการคิดค้นนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง 44. รับผิดชอบการด�ำเนินงานของบริษัท ให้เป็นไปตาม กฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น มติ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ตลอดจนระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง 55. กรรมการบริหารอาจแบ่งงานกันรับผิดชอบได้ โดยต้องรายงานความเป็นไปของกิจการทีต่ นดูแลต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริหารให้ทราบ 66. ดูแลให้มกี ารจัดท�ำรายงานทางการเงิน เพือ่ ให้ผสู้ อบบัญชีทำ� การตรวจสอบ และ/หรือ สอบทานก่อนเสนอต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท ตามล�ำดับ 77. พิจารณาเรื่องที่จะเสนอให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณาให้ความเห็นชอบหรืออนุมัติต่อไป 88. ปรับปรุงและแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการบริหาร และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 99. ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ปี 2560 คณะกรรมการบริหาร มีจ�ำนวน 7 คน มีการประชุมทั้งหมด 12 ครั้ง โดยกรรมการบริหาร เข้าร่วมประชุม คิด เป็นมากกว่าร้อยละ 75 คณะกรรมการบริหาร ได้ปฎิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร และพิจารณาอนุมัติตามอ�ำนาจอนุมัติ ส่วนเรื่องที่เกินอ�ำนาจ จะพิจารณาให้ความเห็นชอบและให้เหตุผลก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ การเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริหาร ปี 2560 คณะกรรมการบริหาร มีการประชุมร่วมกับผู้บริหารอื่นๆ เป็นประจ�ำทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง โดยก�ำหนดไว้เป็นทางการล่วง หน้าตลอดปี ดังนี้ รายชื่อ 1. นายบุณยสิทธิ์ 2. นายทนง
โชควัฒนา ศรีจิตร์
จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม 12 / 12 11 / 12
(เสียชีวิต เมื่อวันที่ 2 มี.ค.2561)
3. 4. 5. 6. 7.
นายวิชัย นายส�ำเริง นายมนู นางสาวศิริกุล นายมนัส
กุลสมภพ มนูญผล ลีลานุวัฒน์ ธนสารศิลป์ องค์สรณะคม
12 / 12 12 / 12 10 / 12 11 / 12 12 / 12
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
105
การกำ�กับดูแลกิจการ
2.6 ผู้บริหาร ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วย รายชื่อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
นายทนง
ศรีจิตร์
ต�ำแหน่ง ผู้จัดการใหญ่
(เสียชีวิต เมื่อวันที่ 2 มี.ค.2561)
นายวิชัย
กุลสมภพ
(เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่เมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2561)
นายชูโต นายสนทยา นายทินกร นายวัชรา นายอ�ำพล นายกิตติพงศ์ นางทัศนีย์
จิระคุณากร ทับขันต์ บุนนาค แย้มแก้ว วัฒนวรพงศ์ คงพัฒน์ยืน อินทปุระ
(ด�ำรงต�ำแหน่งถึงวันที่ 31 ธ.ค.2560)
รองผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารสูงสุดทางด้านบัญชีและการเงิน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้จัดการฝ่ายสิ่งแวดล้อม ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาพื้นที่ ผู้จัดการฝ่ายภูมิสถาปัตย์ ผู้จัดการฝ่ายการตลาดอสังหาริมทรัพย์ ผู้จัดการฝ่ายสารสนเทศ ผู้จัดการฝ่ายส�ำนักงาน
ซึง่ ผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งข้างต้นจัดเป็นผูบ้ ริหาร ตามค�ำจ�ำกัดความของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ อ�ำนาจ - หน้าที่ของกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการบริษทั เป็นผูพ้ จิ ารณาแต่งตัง้ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ โดยมีอำ� นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ 11. มีอ�ำนาจในการบริหารกิจการของบริษัท ให้เป็นไปตามนโยบาย กฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท มติที่ประชุม ผู้ถือหุ้น มติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท มติที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร ตลอดจนระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง 22. มีอ�ำนาจในการสั่งการ ด�ำเนินการใด ๆ ที่จ�ำเป็นและสมควร เพื่อให้การด�ำเนินการตามข้อ 1. ส�ำเร็จลุล่วงไป และหาก เป็นเรื่องส�ำคัญให้รายงาน และ/หรือ แจ้งให้คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการบริหารรับทราบ 33. มีอำ� นาจบังคับบัญชา บรรจุ แต่งตัง้ ถอดถอน โอนย้าย พิจารณาความดีความชอบ มาตรการทางวินยั ตลอดจนก�ำหนดค่า ตอบแทนและสวัสดิการของพนักงาน ทัง้ นี้ การด�ำเนินการต่าง ๆ ดังกล่าวต้องไม่ขดั แย้งกับอ�ำนาจของคณะกรรมการบริหาร 44. มีอ�ำนาจออกระเบียบว่าด้วยการปฏิบัติงานของบริษัท โดยไม่ขัดหรือแย้งกับนโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อก�ำหนด ค�ำ สั่งและมติใด ๆ ของคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการบริหาร 55. มีอ�ำนาจอนุมัติจัดหา และลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ในวงเงินแต่ละครั้งไม่เกิน จ�ำนวน 10 ล้านบาท 66. มีอ�ำนาจอนุมัติการจ�ำหน่าย จ่าย โอน ในสินทรัพย์ถาวร ในวงเงินแต่ละครั้งไม่เกิน จ�ำนวน 10 ล้านบาท 77. มีอ�ำนาจอนุมัติเงินลงทุน ขายเงินลงทุนในหุ้นสามัญ และ/หรือ หลักทรัพย์อื่นใดที่ออกโดยบริษัทอื่นในวงเงินแต่ละครั้ง ไม่เกิน จ�ำนวน 10 ล้านบาท 88. มีอ�ำนาจอนุมัติการเข้าท�ำนิติกรรมสัญญาทุกประเภท เว้นแต่นิติกรรมสัญญาที่เป็นการจ่ายเงิน อนุมัติได้ในวงเงินแต่ละ ครั้งไม่เกิน จ�ำนวน 10 ล้านบาท 99. อนุมัติการประนีประนอม การระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ การร้องทุกข์ การฟ้องร้องคดี และ/หรือ การด�ำเนิน การตามกระบวนพิจารณาคดีใด ๆ ในนามบริษทั ส�ำหรับเรือ่ งทีม่ ิใช่ปกติวสิ ยั ทางการค้า และ/หรือ ทีเ่ ป็นปกติวสิ ยั ทางการ ค้า ในกรณีที่มีความจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการเป็นการรีบด่วน 1010 บรรดาอ�ำนาจด�ำเนินการของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ทเี่ กีย่ วข้องกับเรือ่ ง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์และการท�ำ รายการที่เกี่ยวโยงกัน ให้ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน 1111 มอบอ�ำนาจ และ/หรือ มอบหมาย ให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนได้ 1212 การใช้อ�ำนาจของกรรมการผู้จัดการใหญ่ข้างต้นไม่สามารถกระท�ำได้ หากกรรมการผู้จัดการใหญ่อาจมีส่วนได้เสีย หรือ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใด ๆ กับบริษัท 1313 ในการใช้อ�ำนาจดังกล่าวหากมีข้อสงสัย หรือความไม่ชัดเจนในการใช้อ�ำนาจหน้าที่ตามที่ก�ำหนดนี้ ให้เสนอเรื่องให้คณะ 106
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
กรรมการบริษัทพิจารณา 1414 ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการบริหารมอบหมาย อ�ำนาจ - หน้าที่ของผู้บริหารรายอื่นๆ ที่ส�ำคัญ มีดังนี้ 11. มีหน้าที่ในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตาม นโยบาย กฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ ระเบียบบริษัท มติคณะกรรมการ บริหาร มติคณะกรรมการบริษัท และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต 22. ด�ำเนินกิจการงานของบริษัท ให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดไว้เป็นแนวทาง ปฏิบัติ 33. อื่นๆ ตามที่กรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษัทมอบหมาย โดยมีการแบ่งแยกอ�ำนาจ หน้าที่ตามความรับผิดชอบ
3. การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูง 3.1 กรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ท�ำหน้าที่ สรรหาและคัดเลือกบุคคล ทีไ่ ม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย และข้อบังคับ ของบริษัท รวมทั้ง ต้องไม่มีลักษณะที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะได้รับความไว้วางใจให้บริหารจัดการกิจการ ที่มีมหาชนเป็น ผู้ถือหุ้น ตามที่คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ประกาศก�ำหนด โดยค�ำนึงถึงความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ มีวิสัยทัศน์ และคุณธรรม สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ และต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามนิยามกรรมการอิสระ ของบริษัท ก่อนเสนอชื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา และน�ำเสนอให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาเลือกตั้ง กรรมการอิสระ หมายถึง บุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตคิ รบถ้วน และมีความเป็นอิสระ จากฝ่ายบริหารและผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ นิยาม “กรรมการ อิสระ” ของบริษัท เท่ากับ ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ดังนี้ (1) ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละหนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ทัง้ นี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็น หรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้างพนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจ�ำ หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นวันที่ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ ทัง้ นี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึง กรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการหรือที่ปรึกษาของส่วนราชการ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท (3) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่ น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหาร หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย (4) ไม่มี หรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็น หรือเคยเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ ผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะ ได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าว มาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการท�ำรายการทางการค้าที่กระท�ำเป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่า อสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้ หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค�้ำประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นท�ำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทหรือ คู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องช�ำระต่อ อีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละสามของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทหรือตั้งแต่ยี่สิบล้านบาทขึ้นไปแล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้ การ ค�ำนวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธกี ารค�ำนวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลัก เกณฑ์ในการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนีด้ งั กล่าว ให้นบั รวมภาระหนีท้ เี่ กิดขึน้ ในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่ มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
107
การกำ�กับดูแลกิจการ
(5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัยผู้มีอำ� นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยบริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้วไม่ น้อยกว่าสองปีกอ่ นวันที่ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ (6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมาย หรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปี จากบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทและไม่ เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมหรือหุน้ ส่วนของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่ น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ (7) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้น เพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่ เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษทั ย่อย หรือไม่เป็นหุน้ ส่วน ทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วนหรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่ง ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของ บริษัท หรือบริษัทย่อย (9) ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของบริษทั ทั้งนี้ หากคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติกรรมการอิสระ กรรมการอิสระของบริษัท ต้องมี คุณสมบัติตามที่ได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงไปทุกประการ ภายหลังได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นกรรมการอิสระทีม่ ลี กั ษณะเป็นไปตาม (1) ถึง (9) แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รบั มอบหมายจากคณะ กรรมการบริษทั ให้ตดั สินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้ ทั้งนี้ ในรอบระยะเวลาบัญชีที่ผ่านมากรรมการอิสระของบริษัทไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือการให้บริการทางวิชาชีพ หรือ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระ ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือการให้บริการทางวิชาชีพในมูลค่าเกินกว่าหลัก เกณฑ์ทกี่ ำ� หนดในประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ 3.2 การสรรหากรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน จะพิจารณาสรรหา โดยพิจารณาจากคุณสมบัติเป็นรายบุคคลและมีพนื้ ฐานความ เชีย่ วชาญจากหลากหลายวิชาชีพ เพือ่ คัดเลือกบุคคลทีไ่ ม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษทั รวมทัง้ ต้องไม่มลี กั ษณะ ที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะได้รับความไว้วางใจให้บริหารจัดการกิจการที่มีมหาชนเป็นผู้ถือหุ้น ตามที่คณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ประกาศก�ำหนด เพื่อเสนอเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั แทนกรรมการบริษทั ทีต่ อ้ งออกตามวาระต่อ คณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาและน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาเลือกตั้งเป็นรายบุคคล เว้นแต่ กรณีที่มิใช่เป็นการออกตาม วาระ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน จะพิจารณาสรรหาบุคคล เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาเลือกตั้งเข้าเป็น กรรมการบริษัทในต�ำแหน่งที่ว่างลงตามข้อบังคับของบริษัท นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยมีสทิ ธิเสนอชือ่ บุคคล เพือ่ รับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ในการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด ซึ่งสามารถดูได้จากเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) 1. คณะกรรมการบริษัท องค์ประกอบและการเลือกตั้ง ตามข้อบังคับบริษัทฯ หมวดที่ 3 คณะกรรมการ ข้อ 18 และกฎบัตร ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้ ก�ำหนดจ�ำนวนต�ำแหน่งกรรมการบริษัท แต่ต้องไม่น้อยกว่า 5 คน และเลือกตั้งบุคคลที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย และข้อบังคับ ของบริษัท รวมทั้งต้องไม่มีลักษณะที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะได้รับความไว้วางใจให้บริหารจัดการกิจการ ที่มีมหาชนเป็นผู้
108
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
ถือหุน้ ตามทีค่ ณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ประกาศก�ำหนด และกรรมการบริษทั ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนกรรมการ บริษทั ทัง้ หมดต้องมีถนิ่ ทีอ่ ยูใ่ นราชอาณาจักร และมีจ�ำนวนกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบเป็นไปตามประกาศของคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน วิธีเลือกตั้งกรรมการบริษัท ตามข้อบังคับบริษัทฯ หมวดที่ 3 คณะกรรมการ ข้อ 20 กรรมการบริษัทนั้นให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น เลือกตั้ง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ 11. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อเสียงหนึ่ง 22. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนต้องใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 33. บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการทีท่ ปี่ ระชุม ผูถ้ อื หุน้ ต้องเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในล�ำดับถัด ลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวน กรรมการที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นต้องเลือกตั้งในครั้งนั้นให้ ประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง (ก) การออกตามวาระ ตามข้อบังคับบริษัทฯ หมวดที่ 3 คณะกรรมการ ข้อ 21 และกฎบัตรก�ำหนดให้ในการประชุมสามัญ ประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการบริษัทออกจากต�ำแหน่ง เป็นจ�ำนวนหนึ่งในสามเป็นอัตราถ้าจ�ำนวนกรรมการบริษัทที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็น สามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม กรรมการบริษัทที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีที่สอง ภายหลัง จดทะเบียนบริษัทนั้นให้จับฉลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการบริษัทคนที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดนั้น เป็นผู้ออกจาก ต�ำแหน่ง กรรมการบริษัทซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งแล้วอาจได้รับเลือกตั้งใหม่ได้ (ข) การออกที่มิใช่การออกตามวาระ 1. ตามข้อบังคับบริษัทฯ หมวดที่ 3 คณะกรรมการ ข้อ 22 และ 24 และกฎบัตรก�ำหนดให้กรรมการบริษัทพ้นจากต�ำแหน่ง (นอกจากการออกตามวาระ) ดังนี้ 1.1 ตาย 1.2 ลาออก 1.3 ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย หรือข้อบังคับบริษัทฯ 1.4 มีลกั ษณะทีแ่ สดงถึงการขาดความเหมาะสม ทีจ่ ะได้รบั ความไว้วางใจให้บริหารจัดการ กิจการที่มีมหาชนเป็นผู้ถือหุ้นตามที่คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ประกาศก�ำหนด 1.5 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออก 1.6 ศาลมีค�ำสั่งให้ออก และเมือ่ ต�ำแหน่งกรรมการบริษทั ว่างลง (นอกจากถึงคราวออกตามวาระ) ให้คณะกรรมการบริษทั เลือกบุคคลซึง่ มีคณุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะ ต้องห้ามตามกฎหมายเข้าเป็นกรรมการบริษทั แทนต�ำแหน่งกรรมการบริษทั ทีว่ า่ งในการประชุมคณะกรรมการบริษทั คราวถัดไป เว้นแต่วาระ ของกรรมการบริษทั จะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน และจะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการบริษทั ได้เพียงเท่าวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการบริษทั ทีต่ นแทน 2. ตามข้อบังคับบริษทั ฯ หมวดที่ 3 คณะกรรมการ ข้อ 25 ก�ำหนดให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการบริษัทคนใดออกจาก ต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้น ซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงและมี หุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่ถืออยู่โดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง บริษัทฯ ไม่ได้ก�ำหนดจ�ำนวนวาระที่จะด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันได้นานที่สุด เพราะเชื่อว่าความสามารถทางธุรกิจและความ เชีย่ วชาญของกรรมการบริษทั แต่ละคนไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั อายุ ตราบเท่าทีก่ รรมการบริษทั ทุกคนมีความตัง้ ใจและจริงใจในการปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการ บริษทั ตามทีไ่ ด้รบั ความไว้วางใจจากคณะกรรมการบริษทั และผูถ้ อื หุน้ เพราะอ�ำนาจการตัดสินใจในการเลือกตัง้ บุคคลเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ บริษทั นัน้ เป็นสิทธิของผูถ้ อื หุน้ โดยแท้ทจี่ ะคัดเลือกบุคคลเข้าท�ำหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบายและควบคุมการด�ำเนินงานของบริษทั แทนตน 2. คณะกรรมการตรวจสอบ องค์ประกอบและการแต่งตัง้ ตามกฎบัตร ต้องมีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่า 3 คน โดยทัง้ หมดต้องเป็นกรรมการบริษทั และมีคณ ุ สมบัติ เป็นกรรมการตรวจสอบตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ดังนี้ บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
109
การกำ�กับดูแลกิจการ
1. ได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น 2. เป็นกรรมการอิสระ 3. ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ให้ตดั สินใจในการด�ำเนินการของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง 4. ไม่เป็นกรรมการของบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย หรือบริษัทย่อยล�ำดับเดียวกันเฉพาะที่เป็นบริษัทจดทะเบียน 5. มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ต้องมีกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยหนึ่งคน ที่มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ ในการ สอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ ทั้งนี้หากคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติกรรมการตรวจสอบใหม่กรรมการตรวจสอบ ของบริษัท ต้องมีคุณสมบัติตามที่ได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงไปทุกประการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง (ก) การออกตามวาระ ตามกฎบัตรมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 1 ปี นับจากวันทีม่ มี ติแต่งตัง้ และเมือ่ ครบวาระแล้ว หากคณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น ยังไม่ได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม่ก็ให้คณะกรรมการตรวจสอบชุดเดิม ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่าคณะกรรมการบริษัท หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม่ แทนคณะกรรมการ ตรวจสอบชุดเดิมทีห่ มดวาระลง ในการแต่งตัง้ ต้องกระท�ำภายใน 2 เดือนนับแต่วนั ครบวาระของคณะกรรมการตรวจสอบชุดเดิม กรรมการ ตรวจสอบซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่ได้ (ข) การออกที่มใิ ช่การออกตามวาระ ตามกฎบัตรก�ำหนดให้กรรมการตรวจสอบพ้นจากต�ำแหน่ง (นอกจากการออกตาม วาระ) ดังนี้ 1. ตาย 2. ลาออก 3. พ้นจากสภาพการเป็นกรรมการบริษัท 4. คณะกรรมการบริษัทมีมติถอดถอนให้พ้นจากต�ำแหน่งก่อนครบวาระ 5. ขาดคุณสมบัติการเป็นกรรมการตรวจสอบ ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและ เมื่อต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลง (นอกจากถึงคราวออกตามวาระ) และยังคงเหลือ วาระไม่น้อยกว่า 2 เดือน ให้คณะกรรมการบริษัท หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นแต่งตั้งบุคคลที่มี คุณสมบัติครบถ้วน เป็นกรรมการตรวจสอบแทนต�ำแหน่งที่ว่างในการประชุมคราวถัดไปและ จะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงเท่าวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการตรวจสอบที่ตนแทน บริษทั ฯ ไม่กำ� หนดจ�ำนวนวาระทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันได้นานทีส่ ดุ ของกรรมการตรวจสอบขึน้ อยูก่ บั การพิจารณาของคณะ กรรมการบริษัท 3. คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน องค์ประกอบและการแต่งตั้ง ตามกฎบัตรต้องมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้แต่งตั้งกรรมการ บริษัท และ/หรือ บุคคลอื่นให้ด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่าว ทั้งนี้ ต้องมีความรู้และประสบการณ์เพียงพอ ที่จะท�ำหน้าที่สรรหาและพิจารณาค่า ตอบแทนกรรมการบริษัท วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง (ก) การออกตามวาระ ตามกฎบัตรมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 1 ปี นับจากวันทีม่ มี ติแต่งตัง้ และเมือ่ ครบวาระแล้ว หากคณะ กรรมการบริษทั ยังไม่ได้มมี ติแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนชุดใหม่ ก็ให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนชุด เดิมปฏิบตั หิ น้าทีต่ อ่ ไป จนกว่าคณะกรรมการบริษทั จะได้แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนชุดใหม่ แทนคณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนชุดเดิมทีห่ มดวาระลง ในการแต่งตัง้ ต้องกระท�ำภายใน 2 เดือนนับแต่วนั ครบวาระของคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทนชุดเดิมกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่ได้
110
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
(ข) การออกทีม่ ใิ ช่การออกตามวาระ ตามกฎบัตรก�ำหนดให้กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนพ้นจากต�ำแหน่ง (นอกจาก การออกตามวาระ) ดังนี้ 1. ตาย 2. ลาออก 3. คณะกรรมการบริษัทมีมติให้พ้นจากต�ำแหน่ง และเมือ่ ต�ำแหน่งกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนว่างลง (นอกจากถึงคราวออกตามวาระ) และยังคงเหลือวาระไม่น้อยกว่า 2 เดือน ให้คณะกรรมการบริษทั แต่งตัง้ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน แทนต�ำแหน่งทีว่ า่ งในการประชุมคราวถัดไปและจะอยู่ในต�ำแหน่ง ได้เพียงเท่าวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนทีต่ นแทน บริษทั ฯ ไม่กำ� หนดจ�ำนวนวาระทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันได้นานทีส่ ดุ ของกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ขึ้นอยู่กับการ พิจารณาของคณะกรรมการบริษัท 4. คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง องค์ประกอบและการแต่งตัง้ ตามกฎบัตรต้องมีจ�ำนวนอย่างน้อย 3 คน โดยคณะกรรมการบริษัทเป็นผูแ้ ต่งตัง้ กรรมการบริษทั และ/หรือบุคคลอืน่ ทัง้ ทีม่ ฐี านะเป็นพนักงาน หรือลูกจ้างของบริษทั และ/หรือบุคคลภายนอกให้ดำ� รงต�ำแหน่งดังกล่าว ทัง้ นี้ ต้องมีความรู้ และประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะท�ำหน้าทีด่ า้ นธรรมาภิบาลและการบริหารความเสีย่ ง วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง (ก) การออกตามวาระ ตามกฎบัตร มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 1 ปี นับจากวันที่คณะกรรมการบริษัทมีมติแต่งตั้ง และเมื่อครบวาระ หากคณะกรรมการบริษัทยังไม่ได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ งชุดใหม่ ให้คณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ งชุดเดิมปฏิบตั หิ น้าทีต่ อ่ ไป จนกว่าคณะกรรมการบริษทั จะแต่งตัง้ คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความ เสีย่ งชุดใหม่ แทนคณะกรรมการธรรมาภิบาล และบริหารความเสี่ยงชุดเดิมที่หมดวาระลง ในการแต่งตั้งต้องกระท�ำภายใน 2 เดือน นับแต่ วันครบวาระของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงชุดเดิม ทั้งนี้ กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง ซึ่งพ้นจาก ต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่อีกได้ (ข) การออกที่มิใช่การออกตามวาระ ตามกฎบัตร ก�ำหนดให้กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงพ้นจากต�ำแหน่ง (นอกจากการออกตามวาระ) ดังนี้ 1. ตาย 2. ลาออก 3. คณะกรรมการบริษัทมีมติให้พ้นจากต�ำแหน่ง และเมือ่ ต�ำแหน่งกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ งว่างลง (นอกจากถึงคราวออกตามวาระ) และยังคงเหลือวาระไม่นอ้ ยกว่า 2 เดือน ให้คณะกรรมการบริษทั แต่งตัง้ กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง แทนต�ำแหน่งทีว่ า่ ง ในการประชุมคราวถัดไป และจะอยู่ในต�ำแหน่ง ได้เพียงเท่าวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงที่ตนแทน บริษัทฯ ไม่ก�ำหนดจ�ำนวนวาระที่จะด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันได้นานที่สุดของกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง ขึ้นอยู่ กับการพิจารณาของคณะกรรมการบริษัท 5. คณะกรรมการบริหาร องค์ประกอบและการแต่งตั้ง ตามกฎบัตรต้องมีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน โดยคณะกรรมการบริษทั เป็นผูแ้ ต่งตัง้ กรรมการบริษทั และ/ หรือ บุคคลอืน่ ทัง้ ทีม่ ฐี านะเป็นพนักงาน หรือลูกจ้างของบริษทั และ/หรือ บุคคลภายนอกให้ด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่าว ทั้งนี้ ต้องมีความรู้และ ประสบการณ์เพียงพอที่จะท�ำหน้าที่บริหารจัดการกิจการของบริษัท ได้เป็นอย่างดี วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง (ก) การออกตามวาระ ตามกฎบัตร มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 1 ปี นับจากวันทีม่ มี ติแต่งตัง้ และเมือ่ ครบวาระแล้ว หากคณะ กรรมการบริษทั ยังไม่ได้มมี ติแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารชุดใหม่ก็ให้คณะกรรมการบริหารชุดเดิมปฏิบตั หิ น้าทีต่ อ่ ไป จนกว่าคณะกรรมการบริษทั จะได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารชุดใหม่แทนคณะกรรมการ บริหารชุดเดิมที่หมดวาระลง ในการแต่งตั้งต้องกระท�ำภายใน 2 เดือนนับแต่วัน บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
111
การกำ�กับดูแลกิจการ
ครบวาระของคณะกรรมการบริหารชุดเดิม กรรมการบริหารซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่ได้ (ข) การออกที่มิใช่การออกตามวาระ ตามกฎบัตร ก�ำหนดให้กรรมการบริหารพ้นจากต�ำแหน่ง(นอกจากการออกตามวาระ) ดังนี้ 1. ตาย 2. ลาออก 3. มีลักษณะที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสม ที่จะได้รับความไว้วางใจให้บริหารกิจการที่มี มหาชนเป็นผู้ถือหุ้น ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน 4. คณะกรรมการบริษัทมีมติให้พ้นจากต�ำแหน่ง และเมื่อต�ำแหน่งกรรมการบริหารว่างลง (นอกจากถึงคราวออกตามวาระ) และยังคงเหลือวาระไม่น้อยกว่า 2 เดือน ให้คณะกรรมการ บริษทั แต่งตัง้ กรรมการบริหาร แทนต�ำแหน่งทีว่ า่ งในการประชุมคราวถัดไปและจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงเท่าวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการ บริหารที่ตนแทน 6. การแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การใหญ่ รองผูจ้ ดั การใหญ่ และผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั โดยพิจารณาจาก ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และแนวทางการด�ำเนินงานของบริษทั 7. การแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารรายอืน่ ๆ ฝ่ายบริหารเป็นผูพ้ จิ ารณา ซึง่ เป็นไปตามกฎระเบียบของบริษทั ซึง่ จะพิจารณาจากพนักงานของ บริษัท ที่มีความสามารถและเหมาะสม
4. การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษทั ฯ และบริษทั กลุม่ สหพัฒน์จะพิจารณาศักยภาพในการลงทุนและจะลงทุนร่วมกัน หรือร่วมลงทุนกับบริษทั ร่วมทุนอืน่ โดยมีนโย บายให้บริษทั ทีร่ ว่ มลงทุนและท�ำธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับกิจการทีล่ งทุนมากทีส่ ดุ เป็นผูต้ ดิ ตามผลการด�ำเนินงานของบริษทั นัน้ ๆ เพือ่ ให้ทราบ ปัญหาที่เกิดขึ้น และรายงานให้บริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ ในกลุม่ ทราบ เพือ่ ร่วมกันเสนอแนวทางแก้ไขให้ทนั กับสถานการณ์นนั้ ๆ ซึง่ นโยบายและ วิธปี ฏิบตั ใิ นการไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั ทีบ่ ริษทั อืน่ ของกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารกลุม่ สหพัฒน์ จะมีทมี ผูบ้ ริหารระดับสูงเป็นผู้ พิจารณาว่าบริษทั นัน้ ประกอบธุรกิจอะไร จะพิจารณากรรมการบริษทั หรือผูบ้ ริหารในกลุม่ ทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ และมีความช�ำนาญใน ธุรกิจนั้นๆ เข้าไปเป็นตัวแทนของกลุ่มในฐานะผู้ร่วมทุนหรือตามสัญญาร่วมทุน มีหน้าที่ด�ำเนินการเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของบริษัทร่วม ทุนนั้นๆ โดยบริษัทฯ ไม่มีอ�ำนาจในการควบคุม อ�ำนาจในการบริหารนั้นขึ้นอยู่กับคณะกรรมการของบริษัทนั้นๆ
5. การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษทั ฯ มีการปฏิบตั ติ ามหลักการการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี มีมาตรการดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยก�ำหนดไว้เป็นลายลักษณ์ อักษรใน จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ หัวข้อ ความขัดแย้งของผลประโยชน์ และจรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน หัวข้อ ความรับผิดชอบในหน้าที่ โดยให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย และมีจิตส�ำนึกที่ดีต่อส่วนรวมและต่อตนเอง โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของบริษัท เป็นส�ำคัญ ไม่ใช้ต�ำแหน่งหน้าที่แสวงหา ประโยชน์เพื่อตนเอง และ/หรือผู้อื่นโดยมิชอบ รักษาผลประโยชน์และทรัพย์สินของบริษัท โดยไม่น�ำข้อมูลและทรัพย์สินของบริษัท ไป ใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองและ/หรือผู้อื่น และห้ามกระท�ำการอันเป็นการสนับสนุนบุคคลอื่นใดให้ท�ำธุรกิจแข่งขันกับบริษัทฯ รวมทั้งมี การก�ำหนดเรื่องการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท ห้ามมิให้กรรมการบริษัท ผู้บริหารและพนักงาน ซึ่งอยู่ในหน่วยงานที่รับทราบข้อมูล ภายในท�ำการซื้อ/ขายหลักทรัพย์ของบริษัท ในช่วง 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยงบการเงินแก่สาธารณชน ทุกไตรมาส เลขานุการบริษัทได้ ออกจดหมายแจ้งเตือนให้กรรมการบริษัท ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบช่วงระยะเวลาการห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท จนกว่า จะเกินระยะเวลา 24 ชั่วโมง นับแต่ได้มีการเปิดเผยข้อมูลสู่สาธารณชนแล้ว นอกจากนี้ กรรมการบริษัท ผู้บริหาร รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะมีหน้าที่ต้องรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ ครองหลักทรัพย์บริษัทฯ ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทใน การประชุมครัง้ ต่อไป และยังก�ำหนดหลักเกณฑ์ให้กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารต้องรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องเ มื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทหรือผู้บริหารครั้งแรก และรายงานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการมี ส่วนได้เสีย โดยส่งแบบรายงานการมีสว่ นได้เสียแก่เลขานุการบริษทั และเลขานุการบริษทั จะส่งส�ำเนารายงานการมีสว่ นได้เสียให้ประธาน 112
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
กรรมการบริษัท และประธานกรรมการตรวจสอบ ทราบภายใน 7 วันท�ำการนับแต่วันที่ได้รับรายงาน บริษัทฯ ได้แจกนโยบายในการก�ำกับดูแลกิจการ หลักการก�ำกับดูแลกิจการ 5 หมวด จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และจรรยา บรรณกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ให้แก่กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคน พร้อมทั้งเปิดเผยในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนในการด�ำเนินธุรกิจ และเป็นหลักยึดในการท�ำงาน นอกจากนี้ ระเบียบข้อบังคับเกีย่ วกับการท�ำงานของบริษทั มีการก�ำหนดเรือ่ งดังกล่าว โดยก�ำหนดบทลงโทษทางวินยั ไว้สงู สุด คือ การเลิกจ้าง ซึง่ กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงานได้ปฎิบตั ติ ามทีก่ ำ� หนด กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ส่วนใหญ่ อยู่กับบริษัทฯ เป็นเวลานาน ได้รับการปลูกฝังปรัชญาของ ดร.เทียม โชควัฒนา มาเป็นเวลานาน ท�ำให้มีความซื่อสัตย์ รักองค์กร ดูแล ทรัพย์สินของบริษัท ไม่ให้มีการน�ำทรัพย์สินของบริษัท ไปใช้โดยมิชอบ และปัจจุบันมีการก�ำหนดอ�ำนาจ หน้าที่ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร บริหารงานโดยคณะบุคคล มีการประชุมหารือร่วมกัน
6. ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 6.1 ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) บริษทั ฯ จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ผสู้ อบบัญชีของบริษทั คือ บริษทั สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ใน รอบปีบัญชีที่ผ่านมา ดังนี้ 1.
ค่าสอบทานงบการเงิน ไตรมาส 1,2,3,4 รวม
1,100,000.- บาท
- ไตรมาส 1 เป็นเงิน 200,000.- บาท - ไตรมาส 2 - 4 ไตรมาสละ 300,000.- บาท 2.
ค่าสอบบัญชีประจ�ำงวด วันที่ 31 ธันวาคม 2560
920,000.- บาท
3.
ค่าบริการในการสอบทานงานของผู้สอบบัญชีอื่น รวมทั้งสิ้น
380,000.- บาท 2,400,000.- บาท
6.2 ค่าบริการอื่น (Non-audit fee) บริษทั ฯ จ่ายค่าตอบแทนงานบริการอืน่ ให้แก่ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั คือ บริษทั สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ใน รอบปีบัญชีที่ผ่านมา ดังนี้ การสอบทานค่าลิขสิทธิ์
40,000.- บาท
ค่าบริการอื่นที่จะต้องจ่ายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ยังให้บริการไม่แล้วเสร็จในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา - ไม่มี -
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
113
การกำ�กับดูแลกิจการ
7. การปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องอื่นๆ และเรื่องที่ยังไม่ได้ปฏบัติ บริษทั ฯ มีการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ส�ำหรับบริษทั จดทะเบียน ตามแนวทางทีต่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก�ำหนด ในเรื่องอื่นๆ นอกจากเรื่องที่เปิดเผยไว้ข้างต้นแล้ว ดังนี้ การปฐมนิเทศและคู่มือกรรมการบริษัท กรรมการบริษทั ทีเ่ ข้ารับต�ำแหน่งใหม่ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั จะมีการแนะน�ำกรรมการบริษทั คนใหม่แนะน�ำนโยบายธุรกิจ ของบริษทั รวมทัง้ มอบคูม่ อื กรรมการบริษทั และรายงานประจ�ำปี ซึง่ คูม่ อื กรรมการบริษทั ได้มกี ารปรับปรุงและได้แจกให้แก่กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารทุกคน เพือ่ ใช้เป็นคูม่ อื ในการปฏิบตั หิ น้าที่ ประกอบด้วย 1. การเปรียบเทียบ ข้อบังคับบริษทั พ.ร.บ.บริษทั มหาชน พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี ในหัวข้อต่างๆ ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการบริษัทและผู้บริหาร เช่น การจัดประชุมคณะกรรมการบริษัท หน้าที่และความ รับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ความมีผลสมบูรณ์ในการด�ำเนินกิจการของคณะกรรมการบริษัท และการเลือกตั้งกรรมการบริษัท 2. กฎบัตรคณะกรรมการชุดต่างๆ 3. หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ประกอบด้วย นโยบายในการก�ำกับดูแลกิจการ หลักการก�ำกับดูแลกิจการ 5 หมวด จริยธรรมใน การด�ำเนินธุรกิจ และจรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน
114
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การกำ�กับดูแลกิจการ
ส�ำหรับส่วนที่บริษัทฯ ยังไม่ได้ปฏิบัติ บริษัทฯ จะน�ำไปเป็นแนวทางในการปรับใช้ให้เหมาะสมต่อไป เหตุผล
ข้อที่ยังไม่ได้ปฏิบัติ 1. บริษทั ฯ มีโครงสร้างการถือหุน้ แบบไขว้หรือแบบ ปิรามิด ในกลุม่ ของบริษทั
เนือ่ งจากเป็นลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษทั ทีม่ มี าตัง้ แต่กอ่ นเข้า จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แต่การถือหุน้ ไขว้ดงั กล่าว ไม่มลี กั ษณะเป็นการถือหุน้ ไขว้ระหว่างกันทีข่ ดั หรือแย้งกับหลัก เกณฑ์ขอ้ 14 ตามประกาศคณะกรรมการตลาดทุน ที่ ทจ. 28/2551 เรือ่ ง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุน้ ทีอ่ อกใหม่
2. คณะกรรมการบริษทั ไม่มกี ารก�ำหนดสัดส่วนการเป็นกรรมการ บริษทั ตามเงินลงทุน จ�ำนวนบริษทั ทีก่ รรมการบริษทั ไปด�ำรง ต�ำแหน่ง อายุกรรมการ และจ�ำนวนวาระทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่ง
คณะกรรมการบริษัท ไม่ได้ก�ำหนดสัดส่วนการเป็นกรรมการบริษัท
ตามเงินลงทุน จ�ำนวนบริษทั ทีก่ รรมการบริษทั แต่ละคนด�ำรงต�ำแหน่ง อายุกรรมการ และจ�ำนวนวาระทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันได้นานทีส่ ดุ เพราะเชือ่ ว่าความสามารถทางธุรกิจ และความเชีย่ วชาญของกรรมการ บริษัทแต่ละคนไม่ได้ขึ้นอยู่กับอายุหรือจ�ำนวนบริษัทที่ด�ำรงต�ำแหน่ง ตราบเท่าทีก่ รรมการบริษทั ทุกคนมีความตัง้ ใจและจริงใจในการปฏิบตั ิ หน้าทีก่ รรมการบริษทั ตามที่ได้รบั ความไว้วางใจจากคณะกรรมการ บริษทั และผูถ้ อื หุน้ ในปี 2560 ในคณะกรรมการบริษทั ไม่มกี รรมการ บริษทั หรือกรรมการอิสระ ทีด่ ำ� รงต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนเกิน 5 แห่ง และไม่มกี รรมการอิสระด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระเกิน 9 ปี
3. ประธานคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ไม่ ได้เป็นกรรมการอิสระและไม่ได้ประกอบด้วยกรรมการอิสระ
ถึงแม้วา่ ประธานและคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนไม่ ได้เป็นกรรมการอิสระ แต่ทกุ คนเป็นกรรมการทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ มีความเชีย่ วชาญ มีประสบการณ์ในการท�ำหน้าทีด่ งั กล่าว อีกทัง้ ได้ ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบ ซือ่ สัตย์สจุ ริต และไม่ได้ออกเสียง ในวาระทีต่ นมีสว่ นได้เสีย
4. ประธานกรรมการบริษทั ไม่ได้เป็นกรรมการอิสระ
ถึงแม้ประธานกรรมการบริษทั ไม่ได้เป็นกรรมการอิสระ แต่เนือ่ งจาก เป็นผูม้ คี วามรู้ มีประสบการณ์ และมีความเชีย่ วชาญในธุรกิจของบริษทั และได้ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความเป็นอิสระ เปิดโอกาสให้กรรมการบริษทั ทุกคนมีอสิ ระในการแสดงความคิดเห็น และเสนอข้อเสนอแนะทีเ่ ป็น ประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ
5. คณะกรรมการบริษัท ยังไม่มีการประเมินผลงานกรรมการ เป็นรายบุคคล
เนื่องจากการประเมินในรูปแบบกรรมการบริษัททั้งคณะ สามารถ สะท้อนการปฏิบัติงานในภาพรวม ซึ่งกรรมการบริษัทแต่ละท่าน สามารถน�ำมาพัฒนาในแต่ละหัวข้อได้เป็นอย่างดี
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
115
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง 1. ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับความเพียงพอและความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในของบริษทั
ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 12 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2561 โดยมีกรรมการอิสระทั้ง 6 คน ซึ่งเป็น กรรมการตรวจสอบ 3 คน เข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษัทได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท ประจ�ำปี 2560 ซึ่งใช้แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามแนวคิด COSO ที่ได้ปรับปรุง Framework ใหม่ โดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นผู้สอบ ทานแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ที่จัดท�ำโดยหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษัทและรายงานของคณะ กรรมการตรวจสอบ ที่รายงานว่า การด�ำเนินงานของบริษัทเป็นไปตามธุรกิจปกติ ไม่ปรากฎสิ่งผิดปกติที่เป็นนัยส�ำคัญ ปฏิบัติตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งที่ประชุมได้สรุปว่าจากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท ในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบ คณะ กรรมการบริษัทเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษัท มีความเพียงพอและเหมาะสมกับสภาพการด�ำเนินงานในปัจจุบัน โดย บริษัทฯ ได้จัดให้มีสายงานตรวจสอบ ซึ่งเป็นบุคลากรของบริษัทอย่างเพียงพอ ด�ำเนินการตรวจสอบอย่างสม�่ำเสมอ ตามแผนงานการ ตรวจสอบ ท�ำหน้าที่ตรวจสอบอย่างเป็นอิสระและน�ำเสนอรายงานผลการตรวจสอบภายในแก่คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรง และ สนับสนุนภารกิจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ ที่จะด�ำเนินการตามระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้
1. การควบคุมภายในองค์กร
บริษัทฯ มีการก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจที่ชัดเจน โดยค�ำนึงถึงความเป็นธรรมต่อพนักงาน ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ ภาครัฐ ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม และได้มีการทบทวนการปฏิบัติตามเป้า หมายที่ก�ำหนดไว้อยู่เสมอ เพื่อให้สามารถปรับตัวได้ภายใต้ปัจจัยการเปลี่ยนแปลง บริษัทฯ มีการจัดโครงสร้างองค์กรที่มีลักษณะการกระจายอ�ำนาจ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัว เกิดการตรวจ สอบและถ่วงดุลระหว่างกัน มีการจัดท�ำกฏบัตรของคณะกรรมการชุดต่างๆ อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการ ใหญ่เป็นลายลักษณ์อักษร และระเบียบวิธีการปฏิบัติในการท�ำงาน เพื่อแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท และฝ่ายจัดการออกจากกัน ท�ำให้สามารถด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีการก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ จรรยาบรรณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ไว้เป็นลายลักษณ์ อักษร พร้อมทั้งสื่อสารให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน รับทราบ เพื่อเป็นแนวทางให้ทุกคนปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิด ชอบ ระมัดระวัง และซื่อสัตย์ ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึงการไม่ทุจริต คอร์รัปชัน อันท�ำให้เกิดความเสียหาย ต่อบริษัทฯ อีกทั้ง มีหน่วยงานตรวจสอบภายใน ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผู้ตรวจสอบการใช้อ�ำนาจตามกฎบัตร และระเบียบวิธปี ฏิบตั ิในการท�ำงาน รวมทัง้ มีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี กฎบัตร และระเบียบปฏิบัติในการท�ำงาน ซึ่งหากพบการไม่ปฏิบัติตาม บริษัทฯ มีกระบวนการลงโทษ หรือจัดการกับการฝ่าฝืนได้อย่างเหมาะสม ภายในเวลาอันควร โดยเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับการท�ำงานของพนักงานและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2. การประเมินความเสี่ยง
คณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสีย่ ง ท�ำหน้าทีด่ แู ลการบริหารความเสีย่ งอย่าง เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ที่อาจส่งผลกระทบต่อการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัท มีการก�ำหนดแผนงานและขั้นตอนการด�ำเนินงาน ตลอดจนมีการติดตามผลการจัดการความเสี่ยงอย่างต่อ เนื่องให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมทั้งผู้บริหารทุกระดับมีส่วนร่วมในการบริหารความเสี่ยงและได้มีการสื่อสารให้พนักงานรับทราบ และถือปฏิบัติเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง มีการประเมินโอกาสที่จะเกิดการทุจริต มีการทบทวนเป้าหมายการ ปฏิบัติงานอย่างรอบคอบ และมีการติดตามให้มีการปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน และข้อปฎิบัติตามนโยบายต่อต้านการ คอร์รปั ชัน รวมทัง้ ได้พจิ ารณาความสมเหตุสมผลของการให้สงิ่ จูงใจหรือผลตอบแทนแก่พนักงานว่าไม่มลี กั ษณะส่งเสริมให้พนักงานกระท�ำ ในสิ่งที่ไม่เหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามหลักการบัญชีรับรองทั่วไปและเหมาะสมกับธุรกิจ โดยได้เปิดเผยรายงานทางการเงินที่มี ข้อมูลที่ถูกต้อง และสะท้อนถึงกิจกรรมการด�ำเนินงานของบริษัท
116
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
3. การควบคุมการปฏิบัติงาน
บริษัทฯ ได้ก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ และวงเงินอนุมัติของฝ่ายบริหารในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร รวมถึงมีการแบ่งแยกหน้าที่ ความรับผิดชอบในงาน 3 ด้าน คือ หน้าที่อนุมัติ หน้าที่บันทึกรายการบัญชีและข้อมูลสารสนเทศ และ หน้าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สิน ออกจากกันโดยเด็ดขาด เพื่อเป็นการตรวจสอบซึ่งกันและกัน รวมทั้งได้จัดให้มีระเบียบวิธีการ ปฏิบัติเกี่ยวกับการท�ำธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซื้อ และการบริหารทั่วไปไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อป้องกันการใช้อ�ำนาจหน้าที่ ในการน�ำทรัพย์สินของบริษัทไปใช้โดยมิชอบ หรือเกินกว่าอ�ำนาจที่ได้รับมอบหมาย ตลอดจนมีมาตรการติดตามให้การด�ำเนินงาน ของบริษัทเป็นไปตามกฏหมายที่เกี่ยวข้อง และก�ำหนดการควบคุมความปลอดภัยด้านระบบเทคโนโลยี ให้เป็นไปตามมาตรฐาน สากล ในกรณีที่มีการท�ำธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการบริษัท ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว รวมถึงรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฏเกณฑ์ที่ เกี่ยวข้องโดยค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นส�ำคัญ และมีนโยบายก�ำหนดให้การพิจารณาอนุมัติธุรกรรมต่างๆ ต้องกระท�ำ โดยผู้ไม่มีส่วนได้เสีย เพื่อป้องกันการหาโอกาสหรือน�ำผลประโยขน์ของบริษัทไปใช้ส่วนตัว นอกจากนี้ ในกรณีที่มีการอนุมัติธุรกรรมในลักษณะที่มีผลผูกพันกับบริษัทฯ ในระยะยาว บริษัทฯ มีการติดตามให้มีการ ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ รวมถึงมีการติดตาม ดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมอย่างสม�่ำเสมอ
4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล
บริษัทฯ มีการน�ำเสนอข้อมูลและเอกสารประกอบการตัดสินใจอย่างเพียงพอเป็นการล่วงหน้า เพื่อให้คณะกรรมการ บริษัทใช้พิจารณาประกอบการตัดสินใจ ตลอดจนมีการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (TFRS) โดยมีการ เลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมกับลักษณะธุรกิจของบริษัท รวมทั้งมีการจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีไว้อย่างครบถ้วน เป็นหมวดหมู่ในสถานที่ที่ปลอดภัยตามระยะเวลาที่กฎหมายก�ำหนด บริษัทฯ มีกระบวนการสื่อสารข้อมูลทั้งภายในและภายนอกองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ และมีช่องทางการสื่อสารที่เหมาะ สมเพื่อสนับสนุนให้การควบคุมภายในสามารถด�ำเนินไปได้ตามที่ก�ำหนด โดยบริษัทฯ จัดให้มีช่องทางการสื่อสารเพื่อรับแจ้งข้อมูล หรือเบาะแส เกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชัน ทั้งจากบุคคลภายในและภายนอกองค์กร โดยข้อมูลของผู้แจ้งเบาะแสและข้อร้องเรียน จะถูกรักษาไว้เป็นความลับ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลส�ำรอง (Disaster Recovery Site) ที่พร้อมท�ำงานทดแทนได้ในระยะเวลา อันสั้น เพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินจากภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้น
5. ระบบการติดตาม
บริษัทฯ ก�ำหนดให้ผู้บังคับบัญชาแต่ละฝ่ายงานติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้ม่ันใจว่าการ ควบคุมภายในได้ด�ำเนินการไปอย่างครบถ้วน เหมาะสม โดยมีหน่วยงานตรวจสอบภายในรับผิดชอบในการตรวจสอบ วิเคราะห์ ประเมินผลการควบคุมภายในของระบบงานต่าง ๆ และตรวจติดตามผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง รายงานผลการตรวจสอบ โดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งมีการประชุมร่วมกันเป็นประจ�ำทุกเดือน กรณีที่ตรวจพบข้อบกพร่องที่มีสาระส�ำคัญ คณะ กรรมการตรวจสอบจะรายงานต่อฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการบริษัทเพื่อเสนอให้ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไข และให้มีการตรวจ ติดตามความคืบหน้าในการปรับปรุงข้อบกพร่องอย่างสม�่ำเสมอ
2. ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการบริษัทเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัท มีความเหมาะสมเพียงพอ โดยคณะกรรมการตรวจสอบไม่มี ความเห็นที่แตกต่างจากความเห็นของคณะกรรมการบริษัท (รายละเอียดเพิ่มเติมดูในแบบ 56-1 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ) และ ผู้สอบบัญชีไม่มีข้อสังเกตเกี่ยวกับการควบคุมภายในแต่ประการใด
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
117
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
3. หัวหน้างานตรวจสอบภายในและหัวหน้างานก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท
คณะกรรมการบริษัทมีการจัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายในขึ้น เป็นหน่วยงานหนึ่งภายในบริษัทชื่อสายงานตรวจสอบมี นางสาวเพลินพิศ บุญศิริ เป็นผูจ้ ดั การแผนกตรวจสอบภายใน จบการศึกษาปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ ได้เข้ารับการอบรมในหลักสูตร ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายใน ได้แก่ หลักสูตร บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ และการใช้ ข้อมูลวงใน : กรณีศึกษา, กรรมการอิสระ : บทบาท หน้าที่ และความหวังของผู้ถือหุ้นรายบุคคล, Updated COSO Enterprise Risk Management: Integrating with Strategy and Performance, Update ภาษีใหม่ประจ�ำปี 2560, Thailand’s Big Strategic Move, Advances For Corporate Secretaries, หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ฉบับปรับปรุงใหม่ ส�ำหรับปี 2560, Enhancing Good Corporate Governance based on CGR Scorecard, ปรับกลยุทธ์การออกตราสารหนี้รับสถานการณ์ปัจจุบัน และเสวนาวิชาการ “รัฐบาลใหม่! คอร์รัปชันเก่า?” พร้อมทั้งมีความเข้าใจในกิจกรรมและการด�ำเนินงานของบริษัท จึงเห็นว่ามีความเหมาะสมที่จะปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวได้ อย่างเหมาะสมเพียงพอ มีสายการรายงานไปยังคณะกรรมการตรวจสอบโดยตรง โดยมีขอบเขตและความรับผิดชอบดังนี้ 1. วางแผนงานการตรวจสอบภายในประจ�ำปีให้เป็นไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพตรวจสอบภายใน 2. ก�ำหนดขั้นตอน แนวทางการปฏิบัติและวิธีการตรวจสอบของสายงานตรวจสอบ 3. ควบคุมการตรวจสอบภายในให้มีการปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ 4. ประเมินผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ 5. น�ำเสนอผลงานการตรวจสอบภายในต่อคณะกรรมการตรวจสอบ 6. ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ 7. ประสานงานกับพนักงานทั้งหมด รวมทั้งผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทั้งนี้ การพิจารณาและอนุมัติแต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริษัท จะต้อง ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ โดยได้เปิดเผยประวัติของหัวหน้างานตรวจสอบภายในไว้ในแบบ 56-1 (ปรากฎในเอกสาร แนบ 3) และแบบ 56-2 ในรายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานตรวจสอบภายใน ส่วนหัวหน้างานก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท บริษัทฯ ยังไม่มีการแต่งตั้งต�ำแหน่งดังกล่าว
รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานตรวจสอบภายในและหัวหน้างานก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท ชื่อ อายุ สัญชาติ การศึกษา ด�ำรงต�ำแหน่ง จ�ำนวนปีที่ด�ำรงต�ำแหน่ง การอบรม
118
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
: : : : : : :
นางสาวเพลินพิศ บุญศิริ 52 ปี ไทย ปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ผู้จัดการแผนกตรวจสอบภายใน ซึ่งเป็นหัวหน้างานตรวจสอบภายใน 0.6 ปี (เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง วันที่ 15 มิถุนายน 2560) - หลักสูตร บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ และการใช้ข้อมูลวงใน : กรณีศึกษา - กรรมการอิสระ : บทบาท หน้าที่ และความหวัง ของผู้ถือหุ้นรายบุคคล - Updated COSO Enterprise Risk Management : Integrating with Strategy and Performance - Update ภาษีใหม่ประจ�ำปี 2560 - Thailand’s Big Strategic Move - Advances For Corporate Secretaries - หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ฉบับปรับปรุงใหม่ ส�ำหรับปี 2560 - Enchancing Good Corporate Governance based on CGR Scorecard - ปรับกลยุทธ์การออกตราสารหนี้รับสถานการณ์ปัจจุบัน - เสวนาวิชาการ “รัฐบาลใหม่! คอร์รัปชันเก่า?”
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
ประสบการณ์การท�ำงาน 15 มิ.ย.2560 - ปัจจุบัน
ผู้จัดการแผนกตรวจสอบภายใน เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นหัวหน้างานตรวจสอบภายใน
ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ไม่มกี ารแต่งตัง้ หน่วยงานและหัวหน้างานก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษทั โดยตรง แต่บริษทั ฯ ได้มอบหมาย ให้หวั หน้างานเป็นผูร้ บั ผิดชอบตามสายงานในแต่ละเรือ่ ง เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านเป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และข้อก�ำหนด ที่เกี่ยวข้อง
4 ข้อมูลผู้ท�ำบัญชีของบริษัท
ผู้ท�ำบัญชีของบริษัท ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 คือ นางสาวเกษรา สั่มกาญจนรักษ์ ต�ำแหน่งผู้จัดการแผนก บัญชี จบการศึกษา ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร เป็นผู้ดูแลการจัดท�ำงบการเงินและการเปิด เผยข้อมูลทางบัญชี ให้มีความครบถ้วนและถูกต้อง โดยมีคุณสมบัติของผู้ท�ำบัญชี
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
119
รายงานระบบการควบคุมภายในด้านการบัญชี
120
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายการระหว่างกัน
รายการระหว่างกัน มาตรการในการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกันที่เป็นรายการเกี่ยวโยงกัน บริษัทฯ มีการก�ำหนดนโยบายในการปฏิบัติการท�ำ รายการระหว่างกัน ต้องเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนด เป็นนโยบายหนึ่งในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และในจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ ยังมีการก�ำหนดไว้ในระเบียบของบริษัท ในกรณีที่มีการท�ำรายการที่มิใช่ปกติวิสัยทางการค้าที่มีมูลค่าเกินร้อยละ 0.03 ของ NTA บริษัทฯ ก�ำหนดให้น�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริหารพิจารณา ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาให้ความเห็นชอบ และให้นำ� เสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ ซึ่งก�ำหนดให้กรรมการบริษัทผู้มีส่วนได้เสียในวาระใด ต้องออกจากห้องประชุม และไม่ออกเสียงในวาระนั้น เมื่อเสร็จสิ้นการประชุม ได้ เปิดเผยการท�ำรายการดังกล่าว ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.spi.co.th) นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาอนุมตั หิ ลักการให้ฝา่ ยจัดการ สามารถท�ำธุรกรรมทีเ่ ป็นรายการธุรกิจปกติหรือสนับสนุน ธุรกิจปกติ ทีม่ ขี อ้ ตกลงทางการค้าทีเ่ ป็นเงือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไปในลักษณะเดียวกับทีว่ ญิ ญูชนจะพึงกระท�ำกับคูส่ ญั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์ เดียวกันด้วยอ�ำนาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีต่ นมีสถานะเป็นกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง โดยขออนุมัติหลักการทุกปีและสรุปรายการระหว่างกันทุกไตรมาส เพื่อรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทและได้สรุปเปิดเผยไว้ใน แบบ 56-1 และแบบ 56-2 แนวโน้มในการท�ำรายการระหว่างกันทีเ่ ป็นรายการเกีย่ วโยงกันในการท�ำธุรกิจของบริษทั ส่วนใหญ่เป็นการท�ำธุรกิจกับบริษทั กลุม่ สหพัฒน์ ซึง่ เป็นการด�ำเนินการตามธุรกิจปกติทางการค้า โดยมีเงือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไปและบริษทั ฯ มีมาตรการดูแลการท�ำรายการระหว่าง กันให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งในปี 2560 มีการท�ำรายการระหว่างกัน ที่เป็นรายการเกี่ยวโยงกัน ดังนี้
1. รายการที่ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น 1.1 ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 46 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ รับโอนกิจการทั้งหมดของบริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (PH) มูลค่ารวมประมาณ 7,920,000,000.- บาท รวมถึงการท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดในบริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) (PR) และบริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) (PB) อันเป็นผลจากการรับโอนกิจการ ทัง้ หมดของ PH และเมือ่ วันที่ 8 มิถนุ ายน 2560 บริษทั ฯ ได้แจ้งเรือ่ งการรับโอนกิจการทัง้ หมดของ (PH) เป็นจ�ำนวนเงิน 7,748,000,000.บาท และส�ำหรับการท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดใน PR และ PB เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามหน้าที่ภายหลังการได้หุ้นสามัญใน PR และ PB มาจากการรับโอนกิจการทั้งหมดของ PH เป็นมูลค่ารวมทั้งหมด 37,191,546.50 บาท บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา นายพิพัฒ พะเนียงเวทย์ และนายก�ำธร พูนศักดิ์อุดมสิน ในฐานะ กรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด และนายวีรพัฒน์ พูนศักดิ์อุดมสิน ในฐานะญาติสนิทของ กรรมการ และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด
2. รายการที่ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท
2.1 การซื้อ/ขายหุ้น 1. ตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 10 (ชุดที่ 23) เมือ่ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 อนุมตั ิให้บริษทั ฯ ขายหุน้ สามัญ บริษัท แชมป์เอช จ�ำกัด จ�ำนวน 22,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 311.73 บาท (ราคามูลค่าหุ้นตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) เป็นเงิน 6,858,060.- บาท ให้แก่ บริษัท สินภราดร จ�ำกัด บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา นายส�ำเริง มนูญผล และนายบุญเกียรติ โชควัฒนา ในฐานะ กรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท สินภราดร จ�ำกัด 2. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ ขายหุ้นสามัญ บริษทั เอส แอพพาเรล จ�ำกัด จ�ำนวน 36,000 หุน้ ราคาหุน้ ละ 76.48 บาท (ราคามูลค่าหุน้ ตามบัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560) เป็นจ�ำนวนเงิน 2,753,280.- บาท ให้แก่ บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) บุ ค คลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณ ยสิทธิ์ โชควัฒ นา ในฐานะกรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) 122
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
รายการระหว่างกัน
3. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 4 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ ขายหุ้นสามัญ บริษทั ศรีราชาขนส่ง จ�ำกัด จ�ำนวน 20,000 หุน้ ราคาหุน้ ละ 114.17 บาท (ราคามูลค่าหุน้ ตามบัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560) เป็นจ�ำนวนเงิน 2,283,400.- บาท ให้แก่ บริษัท สินภราดร จ�ำกัด บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา นายส�ำเริง มนูญผล และนายบุญเกียรติ โชควัฒนา ในฐานะ กรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท สินภราดร จ�ำกัด 4. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 6 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ ซื้อหุ้นสามัญ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 54,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 232.- บาท เป็นเงิน 125,280,000.- บาท จากบุคคลเกี่ยวโยง ดังนี้ 4.1 ซื้อหุ้นสามัญ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 100,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 232.- บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 23,200,000.- บาท จาก บริษัท ไอ.ดี.เอฟ. จ�ำกัด บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ในฐานะกรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท ไอ.ดี.เอฟ. จ�ำกัด 4.2 ซื้อหุ้นสามัญ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 150,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 232.- บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 34,800,000.- บาท จาก บริษัท หลานปู่ จ�ำกัด บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายณรงค์ โชควัฒนา และ นางกิตยาภรณ์ ชัยถาวรเสถียร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของ บริษัท หลานปู่ จ�ำกัด ในฐานะญาติสนิทของกรรมการบริษัท 4.3 ซื้อหุ้นสามัญ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 70,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 232.- บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 16,240,000.- บาท จาก บริษัท โชควัฒนา จ�ำกัด บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา ในฐานะกรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท โชควัฒนา จ�ำกัด 4.4 ซื้อหุ้นสามัญ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 120,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 232.- บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 27,840,000.- บาท จาก นายเพชร พะเนียงเวทย์ บุคคลเกี่ยวโยง คือ นายเพชร พะเนียงเวทย์ ในฐานะญาติสนิทของกรรมการบริษัท 4.5 ซื้อหุ้นสามัญ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 100,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 232.- บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 23,200,000.- บาท จาก นายวีรพัฒน์ พูนศักดิ์อุดมสิน บุคคลเกี่ยวโยง คือ นายวีรพัฒน์ พูนศักดิ์อุดมสิน ในฐานะญาติสนิทของกรรมการบริษัท 5. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ ขายหุ้นสามัญ บริษัท เอส.ที. (ไทยแลนด์) จ�ำกัด จ�ำนวน 71,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 150.66 บาท (ราคามูลค่าหุ้นตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) เป็นจ�ำนวนเงิน 10,696,860.- ให้แก่ บริษัท ไอ.ดี.เอฟ. จ�ำกัด บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒ นา ในฐานะกรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ข อง บริษัท ไอ.ดี.เอฟ. จ�ำกัด 6. ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 8 (ชุดที่ 24) เมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 อนุมตั ิให้บริษทั ฯ ขายหุน้ สามัญ Canchana International Co., Ltd. จ�ำนวน 200 หุน้ ราคาหุน้ ละ USD 1,020.861 (มูลค่าหุน้ ตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) เป็นจ�ำนวนเงิน USD 204,172.20 เทียบเท่าเงินบาท เป็นเงินทั้งสิ้น 7,350,710.- บาท ให้แก่ บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ในฐานะกรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
123
รายการระหว่างกัน
7. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 9 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ ขายหุ้นสามัญ บริษทั ฮูเวอร์อตุ สาหกรรม (ประเทศไทย) จ�ำกัด จ�ำนวน 110,000 หุน้ ราคาหุน้ ละ 3,000.- บาท ซึง่ เป็นราคาทีเ่ จรจาตกลงกัน โดยเป็นราคาที่อยู่ในช่วงราคาประเมินมูลค่ายุติธรรมที่ 2,862 – 3,270 บาทต่อหุ้น (วิธีคิดลดกระแสเงินสด) ซึ่งสูงกว่า ราคามูลค่าหุ้นตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซึ่งอยู่ที่ 2,771.54 บาทต่อหุ้น เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้นประมาณ 330,000,000.- บาท ให้แก่ บริษัท บุญ แคปปิตอลโฮลดิ้ง จ�ำกัด โดยแบ่งการขาย เป็นดังนี้ 7.1 หุ้นสามัญ บริษัท ฮูเวอร์อุตสาหกรรม (ประเทศไทย) จ�ำกัด จ�ำนวน 24,900 หุ้น ราคาหุ้นละ 3,000.- บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 74,700,000.- บาท ในเดือน ธันวาคม 2560 7.2 หุน้ สามัญ บริษทั ฮูเวอร์อตุ สาหกรรม (ประเทศไทย) จ�ำกัด จ�ำนวน 85,100 หุ้น ในราคามูลค่ายุติธรรมแต่ไม่ต�่ำกว่า ราคาหุ้นละ 3,000.- บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้นประมาณ 255,300,000.- บาท ขายภายในไม่เกินเดือน ธันวาคม 2562 ทั้งนี้ บริษัทฯ จะพิจารณาการขายเป็นการขายทั้งจ�ำนวน หรือทยอยขายนั้น ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขการช�ำระราคาซึ่งมาจาก การเจรจาต่อรอง โดยพิจารณาเพือ่ ให้เหมาะสมกับความสามารถในการช�ำระเงินค่าหุน้ ของบริษทั บุญ แคปปิตอลโฮลดิง้ จ�ำกัด บุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ในฐานะกรรมการบริษทั และเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของ บริษทั ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท บุญแคปปิตอลโฮลดิ้ง จ�ำกัด 2.2 การซื้อระบบสาธารณูปโภค 1. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 12 (ชุดที่ 23) เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ ลงนามใน สัญญาซื้อขาย เครื่องกรองระบบ Fiber Filter Capacity 100 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และเครื่องโอโซน พร้อมติดตั้ง เป็น จ�ำนวนเงิน 11,450,000.- บาท กับ บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด บุ ค คลที่ เ กี่ ย วโยงกั น คื อ นายบุ ณ ยสิ ท ธิ์ โชวั ฒ นา ในฐานะกรรมการบริ ษั ท และเป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ ข อง บริษทั อีสเทิรน์ ไทยคอนซัลติง้ 1992 จ�ำกัด 2. ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4 (ชุดที่ 24) เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม 2560 อนุมตั ิให้บริษทั ฯ ลงนามในสัญญา ซื้อขายระบบบ�ำบัดน�้ำหมุนเวียน สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี (A-7) เป็นจ�ำนวนเงิน 12,465,000.- บาท และสัญญาซื้อขายระบบสูบจ่ายน�้ำสนามกอล์ฟ KBSC เป็นจ�ำนวนเงิน 4,190,000.- บาท รวมเป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 16,655,000.- บาท กับ บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ในฐานะกรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด 3. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 6 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ ลงนามในสัญญา ซื้อขายระบบผลิตน�้ำประปา ขนาด 2,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน เป็นจ�ำนวนเงิน 15,068,000.- บาท กับ บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ในฐานะกรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด 4. ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 8 (ชุดที่ 24) เมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 อนุมตั ิให้บริษทั ฯ ลงนามในสัญญา ซื้อขายระบบผลิตน�้ำประปา ขนาด 8,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา เป็นจ�ำนวนเงิน 46,990,000.- บาท และสัญญาว่าจ้างงานติดตั้งสถานีสูบน�ำ้ ดิบ สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี เป็นจ�ำนวน เงิน 5,484,000.- บาท รวมเป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 52,474,000.- บาท กับ บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ในฐานะกรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด
124
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
รายการระหว่างกัน
2.3 การก่อสร้างอาคารส�ำนักงาน สาขาศรีราชา ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 10 (ชุดที่ 23) เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 อนุมัติงบประมาณการก่อสร้างอาคาร ส�ำนักงาน สาขาศรีราชา เป็นวงเงินไม่เกิน 43,000,000.- บาท โดยงานก่อสร้างอาคาร และงานภายนอก สุขาภิบาล ถนน (จอดรถ) บริษัทฯ ว่าจ้าง บริษัท พิทักษ์กิจ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบุคคลที่เกี่ยวโยงกันเป็นผู้ด�ำเนินการ เป็นเงินจ�ำนวนประมาณ 30,000,000.- บาท บุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ในฐานะกรรมการบริษทั และเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั พิทกั ษ์กจิ จ�ำกัด 2.4 ค�้ำประกัน/ให้กู้ยืม 1. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 9 (ชุดที่ 23) เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2560 และมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ ค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อให้แก่ บริษัท สหพัฒน์เรียลเอสเตท จ�ำกัด ตามสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท ร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียน เป็นจ�ำนวนเงิน 152,000,000.- บาท เริ่มตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2560 (ผ่อนช�ำระภายใน 5 ปี) และจ�ำนวนเงิน 280,000,000.- บาท ตามล�ำดับ ต่อ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา กรรมการบริษัท และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของ บริษัท สหพัฒน์ เรียลเอสเตท จ�ำกัด และนายบุญชัย โชควัฒนา กรรมการบริษัท และเป็นประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อ�ำนวยการ บริษัท สห พัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของ บริษัท สหพัฒน์เรียลเอสเตท จ�ำกัด 2. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 10 (ชุดที่ 23) เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ ค�้ำประกัน วงเงินสินเชื่อให้แก่ บริษัท ซูรูฮะ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ตามสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท ร้อยละ 15 ของทุนจดทะเบียน เป็นจ�ำนวนเงิน 30,910,000.- บาท เริ่มตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2561 ต่อ ธนาคาร ซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุญชัย โชควัฒนา กรรมการบริษัท และเป็นประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อ�ำนวย การ บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของ บริษัท ซูรูฮะ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 3. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 11 (ชุดที่ 23) เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2560 และมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2560 อนุมัติให้ บริษัทฯ ค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อให้แก่ บริษัท สห โตคิว คอร์ปอร์เรชั่น จ�ำกัด ตามสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท ร้อยละ 20 ของทุนจดทะเบียน เป็นจ�ำนวนเงิน 140,000,000.- บาท และจ�ำนวนเงิน 137,900,000.บาท ตามล�ำดับ ต่อ TOKYU CORPORATION (ญี่ปุ่น) บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุญชัย โชควัฒนา กรรมการบริษัท และเป็นประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อ�ำนวย การ บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของ บริษัท สห โตคิว คอร์ปอร์เรชั่น จ�ำกัด 4. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 11 (ชุดที่ 23) เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2560 อนุมัติให้บริษัทฯ ค�้ำประกันวงเงินสิน เชื่อให้แก่ บริษัท ทรานสคอสมอส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ตามสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท ร้อยละ 9 ของทุนจดทะเบียน เป็นจ�ำนวนเงิน 9,000,000.- บาท ต่อ Transcosmos Inc บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน คือ นายบุญชัย โชควัฒนา กรรมการบริษัท และเป็นประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้ อ�ำนวยการ บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท ทรานสคอสมอส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีวงเงินค�้ำประกันสินเชื่อให้กับบริษัท กลุ่มสหพัฒน์จ�ำนวน 12 บริษัท วงเงินรวม ประมาณ 850.53 ล้านบาท ยอดใช้ไปรวมประมาณ 689.23 ล้านบาท ในปี 2560 บริษทั ฯ มีรายรับจากค่าค�ำ้ ประกันจ�ำนวน 2.28 ล้านบาท จากบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน 11 ราย โดยคิดค่าธรรมเนียม การค�้ำประกันในอัตราร้อยละ 0.5-1 ของมูลค่าวงเงิน บริษัทฯ จะจัดเก็บจากบริษัทที่จ่ายค่าปรึกษาธุรกิจในอัตราร้อยละ 0.5 และจะจัด เก็บจากบริษัทที่ไม่ได้จ่ายค่าปรึกษาธุรกิจร้อยละ 1 และจะไม่เก็บค่าธรรมเนียมค�้ำประกันจากบริษัทร่วมลงทุนจากต่างประเทศ เนื่องจาก เป็นการค�ำ้ ประกันตามสัดส่วนการลงทุนและเป็นไปตามสัญญาร่วมทุน ในปี 2560 บริษทั ฯ ได้เริม่ เจรจากับบริษทั ร่วมลงทุนจากต่างประเทศ เพื่อเรียกเก็บค่าธรรมเนียมค�้ำประกันเพิ่มขึ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
125
รายการระหว่างกัน
(หน่วย : บาท) ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
ชื่อบริษัท บริษัท สหพัฒน์เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท สหชลผลพืช จำ�กัด บริษัท พิทักษ์กิจ จำ�กัด บริษัท สห โตคิว คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด บริษัท โมบาย โลจิสติกส์ จำ�กัด บริษัท ทรานสคอสมอส (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท โอสถ อินเตอร์ แลบบอราทอรีส์ จำ�กัด บริษัท เอ เทค เท็กซ์ไทล์ จำ�กัด บริษัท ไหมทอง จำ�กัด PT. DYNIC TEXTILE PRESTIGE CO.,LTD. บริษัท โตโยโบะ สห เซฟตี้ วีฟ จำ�กัด รวม
1,187,506.86 430,000.15 160,000.04 146,714.71 122,342.97 67,500.04 58,082.21 45,772.04 25,000.00 18,229.91 17,122.18 2,278,271.11
3. ค่าไฟฟ้าและค่าไอน�้ำ ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าไฟฟ้าและไอน�้ำรับจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจ�ำนวน 18 รายเป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 235.25 ล้านบาท โดย ในการซื้อขายส่วนใหญ่จะท�ำเป็นสัญญาซื้อขายระยะยาว โดยมีอายุสัญญา 15 ปี และในการคิดค่าไฟฟ้านั้น บริษัทฯ จะคิดในราคาไม่ เกินกว่าราคาจ�ำหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ส่วนราคาค่าไอน�้ำไม่ต�่ำกว่าราคาซื้อจากบริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่ง รายการที่มีมูลค่ามากกว่า 500,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 99.59 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท) ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
126
ชื่อบริษัท บริษัท ท้อปเทร็นด์แมนูแฟคเจอริ่ง จำ�กัด บริษัท เอสแอนด์เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท บางกอกโตเกียวช็อคส์จำ�กัด บริษัท โอสถอินเตอร์แลบบอราทอรี่ส์ จำ�กัด บริษัท ราชาอูชิโน จำ�กัด บริษัท เฟิสท์ยูไนเต็ดอินดัสตรี จำ�กัด บริษัท สหชลผลพืช จำ�กัด บริษัท กบินทร์พัฒนกิจ จำ�กัด บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จำ�กัด บริษัท เอ็กแซ็ค คิว จำ�กัด บริษัท พิทักษ์กิจ จำ�กัด บริษัทอื่นๆ รวม
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
ลักษณะความสัมพันธ์
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
B
55,929,659.03
B, C B B A,B B B A B, C A,B C B B
43,851,314.77 38,089,628.88 32,710,255.89 16,932,852.59 15,071,115.51 7,860,638.46 6,931,543.22 6,656,149.71 4,676,839.37 2,583,694.27 1,699,150.15 1,296,467.67 956,009.49 235,245,319.01
รายการระหว่างกัน
4. ค่าลิขสิทธิ์รับ บริษทั ฯ ได้ทำ� สัญญายินยอมให้ใช้เครือ่ งหมายการค้ากับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันโดยสัญญามีระยะเวลาเฉลีย่ 1-3 ปี และ บริษทั ฯ คิด ค่าตอบแทนในอัตราร้อยละ 3.50-8.30 ของราคายอดขายสุทธิ โดยใน ปี 2560 บริษัทฯ มีค่าลิขสิทธิ์รับจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจ�ำนวน 6 รายเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 61.69 ล้านบาท ซึ่งรายการที่มีมูลค่ามากกว่า 500,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 99.12 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท)
ลำ�ดับ 1 2 3 4
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
บริษัท ธนูลักษณ์จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ภัทยาอุตสาหกิจ จำ�กัด บริษัทอื่นๆ รวม
B B B
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
36,845,173.40 19,439,663.71 4,861,311.61 542,970.48 61,689,119.20
5. ค่าปรึกษารับ ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าปรึกษาธุรกิจจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 12 ราย เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 5.90 ล้านบาท โดยค่าปรึกษาธุรกิจจะ พิจารณาจากลักษณะของการใช้บริการ ซึ่งรายการที่มีมูลค่ามากกว่า 500,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 50.85 มีรายละเอียดดังนี้
ลำ�ดับ 1 2 3
(หน่วย : บาท)
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
บริษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนลจำ�กัด (มหาชน) บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอราทอรี่ส์ จำ�กัด บริษัทอื่นๆ รวม
B B
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
1,800,000.00 1,200,000.00 2,900,000.00 5,900,000.00
6. ค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์รับ บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์กับบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน โดยสัญญาเช่ามีระยะเวลาเฉลี่ย 1 ถึง 3 ปี โดยการก�ำหนดราคา จะขึ้นอยู่กับท�ำเลที่ตั้งและต้นทุนในการลงทุนของบริษัท ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์รับจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 23 ราย เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 54.81 ล้านบาท ซึ่งรายการที่มีมูลค่ามากกว่า 500,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 96.89 มีรายละเอียดดังนี้
ล�ำดับ 1 2
3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
ชื่อบริษัท
บริษัท เฟิสท์ยูไนเต็ดอินดัสตรี จ�ำกัด บริษัท เอสแอนด์ เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ศรีราชาเอวิเอชั่น จ�ำกัด บริษัท กบินทร์พัฒนกิจ จ�ำกัด บริษัท เอช แอนด์ บี อินเตอร์เท็กซ์ จ�ำกัด บริษัท ท้อปเทร็นด์แมนูแฟคเจอริ่งจ�ำกัด บริษัท โมเดอร์น เทคโนโลยี่ คอมโพเน้นท์ จ�ำกัด บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท เอสเอสดีซี (ไทเกอร์เท็กซ์) จ�ำกัด บริษัท บีเอ็นซีแม่สอด จ�ำกัด บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทอื่นๆ รวม
(หน่วย : บาท)
ลักษณะความสัมพันธ์ A
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
B, C C A,B B B B B B B C B
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
29,084,700.00
7,200,624.00 3,000,000.00 2,994,240.00 2,574,060.00 2,570,686.56 1,500,000.00 1,101,600.00 1,027,584.00 794,160.00 748,643.28 515,490.00 1,702,797.40 54,814,585.24
127
รายการระหว่างกัน
7. ค่าน�้ำรับ ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าน�้ำรับจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจ�ำนวน 38 ราย เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 18.30 ล้านบาท โดยการคิดค่าน�้ำนั้น บริษัทฯ จะคิดในราคาไม่เกินกว่าราคาจ�ำหน่ายของการประปาส่วนภูมิภาค ซึ่งรายการที่มีมูลค่ามากกว่า 500,000.00 บาท คิดเป็น ร้อยละ 80.58 มีรายละเอียดดังนี้
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
(หน่วย : บาท)
ชื่อบริษัท บริษัท เอสเอสดีซี (ไทเกอร์เท็กซ์) จ�ำกัด บริษัท เอสแอนด์เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราชาอูชิโน จ�ำกัด บริษัท ท้อปเทร็นด์แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด บริษัท โอสถอินเตอร์แลบบอราทอรี่ส์ จ�ำกัด บริษัท สหโคเจน กรีน จ�ำกัด บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท สหชลผลพืช จ�ำกัด บริษัทอื่นๆ รวม
ลักษณะความสัมพันธ์ B B, C B B B B B B, C
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 4,199,020.00 3,906,576.00 1,735,392.00 1,257,240.00 1,071,412.80 985,750.00 970,562.15 621,824.00 3,554,140.15 18,301,917.10
8. ค่าบ�ำบัดน�้ำเสีย ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายรับค่าบ�ำบัดน�้ำเสียจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจ�ำนวน 31 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 11.02 ล้านบาท โดยคิดราคาจากลักษณะการให้บริการ จ�ำนวน ระยะเวลา รวมถึงต้นทุนในการบริการ ซึ่งรายการที่มีมูลค่ามากกว่า 500,000.00 บาท คิด เป็นร้อยละ 83.41 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท)
ล�ำดับ 1 2
3 4 5 6
ชื่อบริษัท
บริษัท เอสเอสดีซี (ไทเกอร์เท็กซ์) จ�ำกัด บริษัท เอสแอนด์เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ท้อปเทร็นด์แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด บริษัทอื่นๆ รวม
ลักษณะความสัมพันธ์ B
B, C B B B
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
4,904,390.40
2,144,220.48 926,283.36 714,563.20 502,896.00 1,828,309.44 11,020,662.88
9. รายได้งานแสดงสินค้า ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้งานแสดงสินค้าจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจ�ำนวน 33 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 38.80 ล้านบาท โดย คิดราคาจากลักษณะการให้บริการ จ�ำนวน ระยะเวลา รวมถึงต้นทุนในการบริการ ซึ่งรายการที่มีมูลค่ามากกว่า 500,000.00 บาท คิดเป็น ร้อยละ 93.65 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท)
128
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
รายการระหว่างกัน
ล�ำดับ
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
1
บริษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน)
B
21,209,980.00
2
บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด (มหาชน)
B
4,154,350.00
3
บริษัท กบินทร์พัฒนกิจ จ�ำกัด
A, B
2,164,500.00
4
บริษัท ประชาอาภรณ์ จ�ำกัด (มหาชน)
B
1,671,000.00
5
บริษัท โอซีซี จ�ำกัด (มหาชน)
B, C
1,400,000.00
6
บริษัท ยูนีเวอร์สบิวตี้ จ�ำกัด
B, D
1,230,000.00
7
บริษัท นิวซิตี้ (กรุงเทพฯ) จ�ำกัด (มหาชน)
B
980,200.00
8
บริษัท วีน อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด
B
933,000.00
9
บริษัท ภัทยาอุตสาหกิจ จ�ำกัด
B
917,000.00
10
บริษัท เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จ�ำกัด (มหาชน)
B
576,000.00
11
บริษัท เอช แอนด์ บี อินเตอร์เท็กซ์ จ�ำกัด
B
549,500.00
12
บริษัท บุญวัฒนโชค จ�ำกัด
C
553,000.00
13
บริษัทอื่นๆ รวม
2,465,769.76 38,804,299.76
10. ค่าบริการส่วนกลางและค่าสาธารณูปโภครับ ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าบริการส่วนกลางและค่าสาธารณูปโภครับจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจ�ำนวน 36 ราย เป็นจ�ำนวนเงิน ทั้งสิ้น 30.91 ล้านบาท โดยคิดราคาจากพื้นที่การให้บริการ จ�ำนวน ระยะเวลา รวมถึงต้นทุนในการบริการ ซึ่งรายการที่มีมูลค่ามากกว่า 500,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 91.04 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท) ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
ชื่อบริษัท
บริษัท เอสแอนด์เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กบินทร์พัฒนกิจ จ�ำกัด บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท เอช แอนด์ บี อินเตอร์เท็กซ์ จ�ำกัด บริษัท ไทย ไอซาว่า พิทักษ์กิจ จ�ำกัด บริษัท พิทักษ์กิจ จ�ำกัด บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ซูรูฮะ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ศรีราชา เอวิเอชั่น จ�ำกัด บริษัท บีเอ็นซีแม่สอด จ�ำกัด บริษัท เฟิสท์ยูไนเต็ดอินดัสตรี จ�ำกัด บริษัทอื่นๆ รวม
ลักษณะความสัมพันธ์
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
B, C A, B B B B B B B B B B A
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
10,836,972.00 5,387,735.00 2,256,261.09 1,640,652.16 1,514,941.94 1,274,862.20 1,135,241.14 957,777.60 917,098.27 869,141.00 789,660.00 563,344.80 2,769,458.90 30,913,146.10
129
รายการระหว่างกัน
11. ค่าบริการในส่วนอื่นๆ ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายรับอื่นๆ จากบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 48.54 ล้านบาท โดยคิดราคาจากลักษณะการให้บริการ จ�ำนวน ระยะเวลา รวมถึงต้นทุนในการบริการ มีรายละเอียดดังนี้
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
ประเภทรายรับ
1. ขายเงินลงทุน 2. ขายอสังหาริมทรัพย์ 3. ค่าบริการรับ 4. ดอกเบี้ยรับตามสัญญาเช่า 5. เครื่องหมายการค้ารับ 6. ค่าเช่าสังหารับ 7. ค่ารักษาพยาบาล 8. สิทธิการเช่ารับ 9. รายได้อื่น รวม
29,942,310.00 6,825,000.00 5,396,622.75 3,657,192.23 866,522.75 230,000.00 216,730.51 55,103.50 1,580,189.04 48,769,670.78
12. ต้นทุนค่าไฟฟ้าและไอน�้ำ บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะเวลา 15 ปี กับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน คือ บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งจ�ำนวนเงินที่จ่ายไม่สูงกว่าราคาที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคก�ำหนด โดยในปี 2560 บริษัทฯ มีต้นทุนค่าบริการไฟฟ้าและไอน�้ำ ดังนี้
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 1. ต้นทุนค่าไฟฟ้า
337,129,739.99
2. ต้นทุนค่าไอน�้ำ
74,983,337.80 412,113,077.79
รวม
13. ค่าไฟฟ้าและไฟฟ้าโรงกรองน�้ำ ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าไฟฟ้าจ่ายให้แก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 2 ราย ซึ่งราคาเป็นไปตามที่ผู้ให้บริการก�ำหนดไม่สูงกว่าราคา ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 2.53 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท)
ล�ำดับ 1 2
130
ชื่อบริษัท บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) รวม
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
ลักษณความสัมพันธ์ B B
งบการเงินที่รวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 1,557,708.06 972,040..52 2,529,748.58
รายการระหว่างกัน
14. ค่ารักษาความปลอดภัย ในปี 2560บริษัทฯ มีค่ารักษาความปลอดภัยกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 1 ราย โดยพิจารณาจากจ�ำนวนพนักงานรักษาความ ปลอดภัย เวลาและพื้นที่ในการใช้บริการ โดยมีรายละเอียดดังนี้
ล�ำดับ 1
ชื่อบริษัท
(หน่วย : บาท)
ลักษณะความสัมพันธ์
บริษัท รักษาความปลอดภัย พิทักษ์กิจ จ�ำกัด
B
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 27,056,811.03
15. ค่าบ�ำบัดน�้ำเสีย ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าบ�ำบัดน�้ำเสียกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 1 ราย ซึ่งการจ่ายค่าตอบแทนเป็นไปตามสัญญาและปริมาณ การใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นจริง ตามราคาตลาดทั่วไป มีรายละเอียดดังนี้
ล�ำดับ 1
ชื่อบริษัท บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด
(หน่วย : บาท)
ลักษณะความสัมพันธ์ C
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 26,913,590.28
16. ค่าเช่าจ่าย ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าเช่าจ่ายให้แก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 5 ราย โดยพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนตามสัญญา มีการเปรียบ เทียบกับผู้ให้เช่ารายอื่น และพิจารณาจากท�ำเลที่ตั้ง ลักษณะสภาพและการใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์ เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 3.71 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท) ล�ำดับ 1 2 3 4 5
ชื่อบริษัท
บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ทรัพย์สินสหพัฒน์ จ�ำกัด บริษัท สินภราดร จ�ำกัด บริษัท พิทักษ์กิจ จ�ำกัด บริษัท พี ที เค มัลติเซอร์วิส จ�ำกัด รวม
ลักษณะความสัมพันธ์ B A B B B
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2,648,400.00 773,042.82 240,000.00 47,261.49 588.50 3,709,292.81
17. การก่อสร้างและซื้อสินทรัพย์ ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าก่อสร้างและซื้อสินทรัพย์ที่จ่ายให้แก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 5 ราย ซึ่งค่าตอบแทนที่จ่ายพิจารณาจาก รูปแบบ ขนาดอาคาร วัสดุ และเทคนิคการตกแต่งติดตั้งเปรียบเทียบราคากับผู้เสนอรายอื่น เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 191.17 ล้านบาท โดย มีรายละเอียดดังนี้
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
131
รายการระหว่างกัน
(หน่วย : บาท)
ล�ำดับ 1 2 3 4 5
ชื่อบริษัท บริษัท พิทักษ์กิจ จ�ำกัด บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด บริษัท ไอ.ดี.เอฟ. จ�ำกัด บริษัท พี ที เค มัลติเซอร์วิส จ�ำกัด บริษัท รักษาความปลอดภัย พิทักษ์กิจ จ�ำกัด รวม
ลักษณะความสัมพันธ์ B C B B B
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 103,624,583.90 85,525,389.00 1,676,265.00 262,144.07 85,868.10 191,174,250.07
18. ค่าใช้จ่ายงานแสดงสินค้า ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายงานแสดงสินค้าที่จ่ายให้แก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 12 ราย โดยพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนตาม ลักษณะงาน ท�ำเล ปริมาณ และระยะเวลาของการใช้บริการ เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 3.82 ล้านบาท รายการที่มีมูลค่ามากกว่า 500,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 22.08 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ล�ำดับ 1 2 3 4
ชื่อบริษัท บริษัท กบินทร์พัฒนกิจ จ�ำกัด บริษัท พิทักษ์กิจ จ�ำกัด บริษัท รักษาความปลอดภัย พิทักษ์กิจ จ�ำกัด บริษัทอื่นๆ
ลักษณะความสัมพันธ์ B B A,B
รวม
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 956,359.81 626,680.00 584,761.64 1,650,038.21 3,817,839.66
19. ค่าใช้จ่ายอื่น ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายอื่นที่จ่ายให้แก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 58 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น189.41 ล้านบาท ซึ่งเป็น ราคาตลาดเทียบเคียงกับผูใ้ ห้บริการรายอืน่ ในลักษณะเดียวกันโดยทัว่ ไป รายการทีม่ มี ลู ค่ามากกว่า 500,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 98.56 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท)
ล�ำดับ
132
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
1
บริษัท พี ที เค มัลติเซอร์วิส จ�ำกัด
B
97,189,498.15
2
บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด
C
68,899,943.35
3
บริษัท พิทักษ์กิจ จ�ำกัด
B
5,784,712.56
4
บริษัท กบินทร์พัฒนกิจ จ�ำกัด
A,B
3,068,055.67
5
บริษัท ศรีราชาเอวิเอชั่น จ�ำกัด
C
2,568,000.00
6
บริษัท โชควัฒนา จ�ำกัด
B
2,355,646.14
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
รายการระหว่างกัน
(หน่วย : บาท)
ล�ำดับ
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ
7
บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน)
B
1,732,325.71
8
บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน)
A
1,430,267.46
9
บริษัท เทรชเชอร์ ฮิลล์ จ�ำกัด
B
1,221,467.00
10
บริษัท รักษาความปลอดภัย พิทักษ์กิจ จ�ำกัด
B
937,450.66
11
บริษัท วัสตรมัย จ�ำกัด
A
750,859.75
12
บริษัท ไอ.ดี.เอฟ. จ�ำกัด
B
732,220.37
13
บริษัทอื่นๆ
2,734,828.59 189,405,275.41
รวม
เนื่องจากรายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่เป็นรายการที่ด�ำเนินไปตามธุรกิจปกติ และเพื่อเป็นการ สนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ เช่น การซื้อขายไฟฟ้าในสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ การให้บริการรับปรึกษา ธุรกิจ การให้บริการเครื่องหมายการค้า เป็นต้น ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้มีการอนุมัติหลักการเกี่ยวกับข้อตกลงทางการค้า ที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไปในการท�ำธุรกรรมระหว่างบริษัทฯ กับ กรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง เป็นประจ�ำทุกปีในการ ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1 หลังจากการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี เพื่อให้กรรมการบริษัทชุดใหม่ได้ทราบเกี่ยวกับเรื่องดัง กล่าว และให้สรุปรายการดังกล่าวทุกไตรมาส เพือ่ รายงานให้แก่คณะกรรมการบริษทั ทราบอย่างไรก็ตาม รายการระหว่างกันที่ไม่ใช่ธรุ กิจ ปกติ บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ทจ.21/2551 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน นโยบายในการท�ำรายการระหว่างกันของบริษัท ส�ำหรับรายการที่เป็นปกติทางธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันนั้น มีแนวโน้มที่จะ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต แต่ในส่วนของการให้กู้ยืมเงิน บริษัทฯ มีนโยบายลดการให้กู้ยืมแก่บริษัทต่างๆ ลงอย่างต่อเนื่อง และมี นโยบายที่จะลดวงเงินค�้ำประกันที่เกินความจ�ำเป็นและลดการค�้ำประกันให้แก่บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ลง โดยจะให้บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ที่ รับผิดชอบการติดตามสายธุรกิจนั้นๆ เป็นผู้ค�้ำประกันแทน หมายเหตุ: ลักษณะความสัมพันธ์ A กรรมการ/ผู้บริหาร เป็น MD C กรรมการ / ผู้บริหารเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
B กรรมการ / ผู้บริหาร รวมผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ D ญาติสนิทกรรมการ / ผู้บริหารเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
133
การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ ผลการด�ำเนินงานในปี 2560
ในปี 2560 มีรายได้รวมเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 47 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการบันทึกรายการพิเศษจากการรับโอนกิจการบริษทั เพรซิเดนท์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560
รายได้จ�ำแนกตามประเภทธุรกิจ ประเภทรายได้
หน่วย: ล้านบาท
สายธุรกิจการลงทุนและอื่นๆ สายธุรกิจการให้เช่าและบริการ สายธุรกิจสวนอุตสาหกรรม รายได้รวม
ปี 2560 4,006 2,518 209 6,733
ปี 2559 1,878 2,425 272 4,575
% เพิ่ม (ลด) 113 4 (23) 47
หมายเหตุ: ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายการพิเศษอันเนื่องมาจากการรับโอนกิจการบริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 ดังนี้ 1) ก�ำไรจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน จ�ำนวน 1,015.17 ล้านบาท (หรือ 812.14 ล้านบาท สุทธิจากภาษี) 2) ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อจ�ำนวน 817.65 ล้านบาท (หรือ 654.12 ล้านบาท สุทธิจากภาษี) 3) ค่าธรรมเนียมที่ปรึกษาที่เกี่ยวข้องกับการรับโอนกิจการและการออกหุ้นกู้แปลงสภาพซึ่งเกิดขึ้นครั้งเดียวรวมเป็นจ�ำนวน 118.39 ล้าน บาท (หรือ 94.71 ล้านบาท สุทธิจากภาษี)
รายได้จากสายธุรกิจการลงทุนและอื่นๆ
บริษัทฯ มีรายได้จากสายธุรกิจการลงทุนและอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 113 ในปี 2560 เนื่องจากบริษัทฯ มีรายการพิเศษอันเนื่องมา จากการรับโอนกิจการบริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 รวมถึง บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ส่วนใหญ่มีการขยายก�ำลัง การผลิตและพัฒนาสินค้าใหม่ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า จึงส่งผลให้บริษัทกลุ่มสหพัฒน์ยังคงมีการเติบโตของก�ำไรอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียของบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น
รายได้จากสายธุรกิจให้เช่าและบริการ
บริษัทฯ มีรายได้จากค่าเช่าและค่าบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 4 เนื่องมาจากการปรับอัตราค่าเช่าและค่าบริการสาธารณูปโภค
รายได้จากสายธุรกิจสวนอุตสาหกรรม
บริษัทฯ มีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงร้อยละ 23 เนื่องจากมีการโอนกรรมสิทธิ์จากการขายที่ดินน้อยกว่าปีก่อน
ก�ำไรสุทธิ
ในปี 2560 บริษัทฯ มีก�ำไรสุทธิเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 87 ส่วนใหญ่มาจากรายการพิเศษจากการรับโอนกิจการบริษัท เพรซิเดนท์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 หน่วย: ล้านบาท รายการ
ปี 2560
ปี 2559
% เพิ่ม (ลด)
ก�ำไรสุทธิ
3,171
1,698
87
อัตราการท�ำก�ำไรสุทธิ
47%
37%
134
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
งบแสดงฐานะการเงินและกระแสเงินสด
ในปี 2560 บริษัทฯ ได้ปรับปรุงงบแสดงฐานะการเงินของปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เนื่องจากมีการปรับปรุงข้อมูลของเงิน ลงทุนในบริษัทร่วมบางบริษัทให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินส�ำหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ โดยมีสินทรัพย์รวม ณ สิ้นปี 2560 จ�ำนวน 35,130 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 10,004 ล้านบาทจากจ�ำนวน 25,126 ล้านบาท ในปี 2559 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก 1. การเพิม่ ขึน้ ของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม จ�ำนวน 10,050 ล้านบาท สาเหตุมาจากการรับโอนกิจการทัง้ หมดของบริษทั เพรซิเดนท์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด มีผลท�ำให้บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์ โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทร่วม (ต่อมา บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์ โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ควบรวมกิจการกับบริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) (TF) ภายใต้ชื่อบริษัทใหม่ คือ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) (TFMAMA) เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2560) 2. การลดลงของเงินลงทุนเผื่อขายในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ�ำนวน 828 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการเปลี่ยนสถานะเงินลงทุน ในบริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์ โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) จาก ”เงินลงทุนเผื่อ ขายในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน” เป็น “เงินลงทุนในบริษัทร่วม” 3. การเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนระยะยาวอื่นในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ�ำนวน 162 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการลงทุนเพิ่มขึ้นใน ธุรกิจต่างๆ 4. การเพิ่มขึ้นของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 262 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการซื้อที่ดินเพิ่มขึ้นที่สวนอุตสาหกรรมเครือ สหพัฒน์ ศรีราชาและแม่สอด บริษัทมีหนี้สินรวม 10,401 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2560 เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 7,763 ล้านบาท จาก 2,638 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2559 โดย มีสาเหตุหลักมาจาก 1. การเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะสั้น จ�ำนวน 3,520 บาท 2. การออกหุ้นกู้อายุ 3 ปี จ�ำนวน 1,000 ล้านบาทและหุ้นกู้อายุ 7 ปี จ�ำนวน 1,000 ล้านบาท 3. การออกหุ้นกู้แปลงสภาพ จ�ำนวน 3,505 ล้านบาท โดยบันทึกในหนี้สินหุ้นกู้แปลงสภาพจ�ำนวน 3,000 ล้านบาททั้งหมดนี้ เพื่อจ่ายซื้อกิจการของบริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด สุทธิกับ 4. การลดลงของเงินกู้ระยะยาว จ�ำนวน 1,200 ล้านบาท ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทเพิ่มขึ้น 2,241 ล้านบาทจาก 22,488 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2559 เป็น 24,729 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2560 ซึ่งเป็นผลมาจาก (1) ก�ำไรสุทธิปี 2560 จ�ำนวน 3,165 ล้านบาท (2) ส่วนที่เป็นทุนของหุ้นกู้แปลงสภาพ จ�ำนวน 502 ล้านบาท สุทธิกับ (3) ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย จ�ำนวน 1,197 ล้านบาท และ (4) เงินปันผลจ่ายจ�ำนวน 222 ล้านบาท ในปี 2560 บริษัทมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลง 5 ล้านบาทจาก 104 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2559 เป็น 99 ล้านบาท ณ สิ้น ปี 2560 ซึ่งประกอบด้วย (1) เงินสดสุทธิรับจากกิจกรรมการด�ำเนินงานจ�ำนวน 1,075 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากก�ำไรจากการด�ำเนินงาน และเงินปันผลรับ (2) เงินสดรับจากกิจกรรมจัดหาจ�ำนวน 7,603 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากเงินกู้ธนาคารจ�ำนวน 3,520 ล้านบาท การออก หุ้นกู้อายุ 3 ปีและ 7 ปี จ�ำนวน 2,000 ล้านบาท และหุ้นกู้แปลงสภาพจ�ำนวน 3,505 ล้านบาท สุทธิกับ (3) เงินสดสุทธิจ่ายจากกิจกรรมการ ลงทุนจ�ำนวน 8,682 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากเงินสดจ่ายเพื่อรับโอนกิจการจากบริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด จ�ำนวน 7,748 ล้านบาท
การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน บริษัทมีอัตราการท�ำก�ำไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 37.1 ในปี 2559 เป็นร้อยละ 47.0 ในปี 2560 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการบันทึก รายการพิเศษ จากการรับโอนกิจการทั้งหมดของบริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด หากไม่รวมรายการดังกล่าว อัตราการท�ำก�ำไรสุทธิของ ปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 36.6 อัตราผลตอบแทนต่อผูถ้ อื หุน้ เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 7.9 ในปี 2559 เป็นร้อยละ 13.4 ในปี 2560 ในขณะเดียวกันอัตราผลตอบแทนจาก สินทรัพย์เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 7.1 ในปี 2559 เป็นร้อยละ 11.6 ในปี 2560 โดยการเพิ่มขึ้นของอัตราส่วนทั้งสองเป็นผลมาจากการบันทึก รายการพิเศษจากการรับโอนเงินลงทุนทั้งหมดของบริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด หากไม่รวมรายการดังกล่าว อัตราผลตอบแทนต่อผู้ ถือหุ้นและอัตราตอบแทนจากสินทรัพย์ของปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 7.6 และร้อยละ 7.0 ตามล�ำดับ บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
135
การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
ปัจจัยที่อาจมีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานในอนาคต ปี 2561 ยังคงเป็นปีแห่งความท้าทาย ทั้งจากปัจจัยต่างๆทั้งภายในและภายนอกประเทศ เช่น อัตราแลกเปลี่ยนที่ผันผวน การปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ ของธนาคารกลางในประเทศต่างๆ การกีดกันทางการค้า และมาตรการตอบโต้ระหว่างสหรัฐอเมริกากับ ประเทศคู่ค้า รวมถึงการพัฒนาของเทคโนโลยีดิจิทัลที่ก�ำลังเข้ามาทดแทนรูปแบบธุรกิจปัจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของผู้บริโภค เป็นต้น โดยบริษัทฯ ได้เตรียมแผนด�ำเนินการต่างๆ รองรับความท้าทายที่ก�ำลังเกิดขึ้น อาทิเช่น การประยุกต์ใช้ Big Data ในการวิเคราะห์ข้อมูล การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ การบริหารสินทรัพย์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงการเตรียม ความพร้อมรองรับกระแสเงินลงทุนในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตามแผนยุทธศาสตร์ ไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งบริษัทฯ จะ ด�ำเนินการเหล่านี้ให้เป็นไปอย่างระมัดระวัง ทั้งนี้ ปัจจัยและความเสี่ยงหลักที่อาจมีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานในอนาคต อาทิ ความเสี่ยงจากการลงทุน ความเสี่ยง ด้านการเงิน ความเสี่ยงจากการให้เช่าและบริการ ความเสี่ยงในธุรกิจสวนอุตสาหกรรม ได้มีการเปิดเผยไว้แล้วภายใต้การบริหาร ความเสี่ยงที่ส�ำคัญตามที่ได้ระบุไว้ใน ปัจจัยความเสี่ยง
136
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
137
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ความเห็นอย่างมีเงื่อนไข ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย (“กลุ่มบริษทั ”) และของเฉพาะบริษทั สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) ซึง่ ประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงินรวมและ งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะ กิจการ งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมและงบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวม และงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและเฉพาะกิจการ รวมถึงหมายเหตุ สรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ ข้าพเจ้าเห็นว่า ยกเว้นผลกระทบซึง่ อาจจะเกิดขึน้ ของเรือ่ งทีก่ ล่าวไว้ในวรรคเกณฑ์ในการแสดงความเห็นอย่างมีเงือ่ นไข งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 และผลการ ด�ำเนินงานรวม และผลการด�ำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
เกณฑ์ในการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไข ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 11 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 บริษัทฯ บันทึกเงินลงทุนในบริษัทร่วมโดยวิธีส่วนได้เสีย ในงบการเงินรวมจ�ำนวน 13 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 6.64 ของยอดสินทรัพย์รวม และมีส่วนแบ่งก�ำไรคิดเป็นร้อยละ 6.34 ของก�ำไรสุทธิ ซึง่ เป็นกิจการที่ไม่มสี ว่ นได้เสียสาธารณะดังนัน้ จึงใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินส�ำหรับกิจการที่ไม่มสี ว่ นได้เสียสาธารณะ โดยไม่ได้ ปฏิบตั ติ ามนโยบายบัญชีเช่นเดียวกับบริษทั ฯ และบริษทั ร่วมดังกล่าวไม่ให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมแก่บริษทั ในการจัดท�ำงบการเงินให้เสมือนว่าบริษทั ดังกล่าวได้ใช้นโยบายบัญชีเช่นเดียวกัน ซึ่งฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ไม่มีอ�ำนาจควบคุมสั่งการในบริษัทร่วมเหล่านั้น ในจ�ำนวนบริษัทร่วม ดังกล่าว บริษัทฯ ได้บันทึกเงินลงทุนจากงบการเงินของผู้บริหารที่ยังไม่ผ่านการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี จ�ำนวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 0.16 ของยอดสินทรัพย์รวม และมีส่วนแบ่งขาดทุนคิดเป็นร้อยละ 0.20 ของก�ำไรสุทธิ ข้าพเจ้าไม่สามารถใช้วิธีการตรวจสอบอื่นให้เป็น ที่พอใจได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริษัทฯ บันทึกเงินลงทุนในบริษัทร่วม 19 แห่ง จากบริษัทร่วมทั้งหมดจ�ำนวน 26 แห่ง ดังนี้ เงินลงทุนในบริษัทร่วมบันทึกจากงบการเงินที่ผ่านการตรวจสอบแล้วโดยผู้สอบบัญชีอื่น จ�ำนวน 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 16.20 ของยอด รวมสินทรัพย์ และมีส่วนแบ่งก�ำไรคิดเป็นร้อยละ 14.21 ของก�ำไรสุทธิ และบันทึกจากงบการเงินของผู้บริหารที่ยังไม่ผ่านการตรวจสอบ โดยผู้สอบบัญชี จ�ำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 0.57 ของยอดรวมสินทรัพย์ และมีส่วนแบ่งขาดทุนคิดเป็นร้อยละ 0.78 ของก�ำไรสุทธิ และข้าพเจ้าไม่สามารถใช้วิธีการตรวจสอบอื่นให้เป็นที่พอใจได้ นอกจากนี้บริษัทร่วม 19 แห่ง ซึ่งเป็นกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ดังนั้นจึงใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินส�ำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ โดยไม่ได้ปฏิบัติตามนโยบายบัญชีเช่นเดียว กับบริษัท และบริษัทร่วมดังกล่าวไม่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมแก่บริษัทในการจัดท�ำงบการเงินให้เสมือนว่าบริษัทดังกล่าวได้ใช้นโยบายบัญชี เช่นเดียวกัน ซึ่งฝ่ายบริหารของบริษัทไม่มีอ�ำนาจควบคุมสั่งการในบริษัทร่วมเหล่านั้น และข้าพเจ้าไม่สามารถใช้วิธีการตรวจสอบอื่น ให้เป็นที่พอใจได้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 จึงมีเงื่อนไขในเรื่องดังกล่าว และความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินงวดปัจจุบันจึงมีเงื่อนไขในเรื่องนี้ด้วย เนื่องจากอาจมีผลกระทบ ต่อการเปรียบเทียบตัวเลขงวดปัจจุบันกับตัวเลขงวดก่อน
138
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรคความรับผิดชอบของ ผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระจากกลุ่มบริษัท และบริษัทตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่ก�ำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอื่นๆ ซึ่งเป็นไปตามข้อก�ำหนด เหล่านี้ ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าหลักฐานการสอบบัญชีทขี่ า้ พเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสมเพือ่ ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นอย่างมีเงือ่ นไข ของข้าพเจ้า
เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ เรือ่ งส�ำคัญในการตรวจสอบคือเรือ่ งต่างๆ ทีม่ นี ยั ส�ำคัญทีส่ ดุ ตามดุลยพินจิ เยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบการ เงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการส�ำหรับงวดปัจจุบัน ข้าพเจ้าได้น�ำเรื่องเหล่านี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากส�ำหรับเรื่อง เหล่านี้ นอกจากเรื่องที่กล่าวไว้ในวรรคเกณฑ์ในการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไข ข้าพเจ้าได้ก�ำหนดเรื่องที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นเรื่องส�ำคัญ ในการตรวจสอบเพื่อสื่อสารในรายงานของข้าพเจ้า
มูลค่าของเงินลงทุนระยะยาว ตามที่ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 11 13 และ 14 บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทร่วม และเงินลงทุนระยะยาวอื่นเป็น จ�ำนวนหลายแห่ง บริษทั มีความเสีย่ งทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญเกีย่ วกับการประเมินมูลค่าของเงินลงทุน โดยเฉพาะการพิจารณาค่าเผือ่ การด้อยค่า ของเงินลงทุน ผู้บริหารต้องใช้ดุลยพินิจที่ส�ำคัญในการพิจารณาผลการด�ำเนินงานในอดีตและความเป็นไปได้ของผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะ ได้รับ รวมถึงการตั้งข้อสมมติฐานที่ส�ำคัญต่างๆ เพื่อพิจารณาความเพียงพอของค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนระยะยาว เพื่อให้แสดง มูลค่าที่เหมาะสม ข้าพเจ้าได้รับความเชื่อมั่นเกี่ยวกับมูลค่าของเงินลงทุนระยะยาว ดังนี้ • ท�ำความเข้าใจ และประเมินกระบวนการในการระบุข้อบ่งชี้ของการด้อยค่าของเงินลงทุน • พิจารณาความสามารถในการท�ำก�ำไรของบริษัทที่ลงทุนจากผลการด�ำเนินงาน ข้อมูลทางการเงินในอดีต รวมถึงข้อมูลอื่นเพื่อ ประเมินความเพียงพอของการตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน • พิจารณาความเหมาะสมของข้อสมมติฐานที่ใช้ในการค�ำนวณ • ทดสอบความถูกต้องของการค�ำนวณ • ประเมินความเพียงพอของการเปิดเผยข้อมูลตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง
รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ตามที่ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 39 บริษัทมีรายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันหลายแห่ง และเป็นจ�ำนวน ที่มีนัยส�ำคัญในงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยรายการลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า รายได้จากการขาย และรายการค้าต่างๆ โดยบริษัทได้ ก�ำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูลเพื่อน�ำมาบันทึกบัญชี และเปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินได้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง และมี การปฏิบัติเป็นไปตามนโยบายการก�ำหนดราคาที่ได้เปิดเผยไว้ ข้าพเจ้าได้รับความเชื่อมั่นเกี่ยวกับรายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดังนี้ • ท�ำความเข้าใจในระบบการควบคุมเกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูลและการระบุบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่จะเปิดเผย • พิจารณาถึงนโยบายในการก�ำหนดราคากับกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน และพิจารณาถึงความสมเหตุสมผลและการอนุมตั ริ ายการโดย ผู้มีอ�ำนาจที่เหมาะสม บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
139
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
• • • • •
สุ่มขอค�ำยืนยันยอดรายการระหว่างกัน วิเคราะห์เปรียบเทียบรายการที่ผิดปกติอย่างเป็นสาระส�ำคัญ สุ่มตรวจสอบรายการค้าที่เกิดขึ้นในระหว่างปีเปรียบเทียบกับนโยบายการก�ำหนดราคาของบริษัท และเปรียบเทียบรายการ ลักษณะเดียวกันที่มีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับกิจการอื่น ตรวจสอบหลักฐานประกอบการบันทึกรายการขาย รายการซือ้ การรับช�ำระเงิน การจ่ายเงิน โดยพิจารณาว่ามีหลักฐานประกอบ ที่เพียงพอและเหมาะสม ตรวจสอบการบันทึกบัญชี และการจัดประเภทบัญชีรวมถึงความครบถ้วนของการเปิดเผยรายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ข้อมูลอื่น ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ข้อมูลอื่นประกอบด้วย ข้อมูลซึ่งรวมอยู่ในรายงานประจ�ำปี แต่ไม่รวมถึงงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการและรายงานของผู้สอบบัญชีที่อยู่ในรายงานประจ�ำปีนั้น ซึ่งคาดว่าจะถูกจัดเตรียมให้ข้าพเจ้าภายหลังวันที่ใน รายงานของผู้สอบบัญชีนี้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื่อมั่นต่อ ข้อมูลอื่น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการคือ การอ่านและพิจารณาว่า ข้อมูลอืน่ มีความขัดแย้งทีม่ สี าระส�ำคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการหรือกับความรูท้ ี่ได้รบั จากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรือปรากกฎว่าข้อมูลอื่นมีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจ�ำปีตามที่กล่าวข้างต้น และหากสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญ ข้าพเจ้าจะสื่อสารเรื่องดังกล่าวให้ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลทราบ เพื่อให้มีการด�ำเนินการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป
ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบ้ ริหารมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้โดยถูกต้องตามทีค่ วรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกีย่ วกับการควบคุมภายในทีผ่ บู้ ริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพือ่ ให้สามารถจัดท�ำงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการทีป่ ราศจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการจัดท�ำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบ้ ริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุม่ บริษทั และบริษทั ใน การด�ำเนินงานต่อเนื่อง เปิดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานต่อเนื่องตามความเหมาะสม และการใช้เกณฑ์การบัญชีส�ำหรับการด�ำเนิน งานต่อเนื่องเว้นแต่ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริษัทและบริษัทหรือหยุดด�ำเนินงานหรือไม่สามารถด�ำเนินงานต่อเนื่องต่อไปได้ ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดท�ำรายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัทและบริษัท
ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดย รวมปราศจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงาน ของผูส้ อบบัญชีซงึ่ รวมความเห็นของข้าพเจ้าอยูด่ ว้ ยความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลคือความเชือ่ มัน่ ในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกัน ว่าการปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญทีม่ อี ยูไ่ ด้เสมอไป
140
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และถือว่ามีสาระส�ำคัญเมื่อคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการจากการใช้งบการเงินเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชีขา้ พเจ้าได้ใช้ดลุ ยพินจิ และการสังเกตและสงสัยเยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพตลอด การตรวจสอบ การปฏิบัติงานของข้าพเจ้ารวมถึง • ระบุและประเมินความเสีย่ งจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพือ่ ตอบสนองต่อความเสี่ยงเหล่านั้น และได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็นเกณฑ์ ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ยงที่ไม่พบ ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งเป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่าความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจาก การทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ ตรงตามข้อเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน • ท�ำความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบเพือ่ ออกแบบวิธกี ารตรวจสอบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทและบริษัท • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และการเปิดเผย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดท�ำโดยผู้บริหาร • สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสำ� หรับการด�ำเนินงานต่อเนื่องของผู้บริหาร และจากหลักฐานการสอบ บัญชีทไี่ ด้รบั ว่ามีความไม่แน่นอนทีม่ สี าระส�ำคัญทีเ่ กีย่ วกับเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ทอี่ าจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนยั ส�ำคัญ ต่อความสามารถของกลุม่ บริษทั และบริษทั ในการด�ำเนินงานต่อเนือ่ งหรือไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนทีม่ สี าระส�ำคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้าโดยให้ขอ้ สังเกตถึงการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการที่เกี่ยวข้อง หรือถ้าการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้าจะเปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของ ข้าพเจ้าขึน้ อยูก่ บั หลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รบั จนถึงวันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้าอย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือ สถานการณ์ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุ่มบริษัทและบริษัทต้องหยุดการด�ำเนินงานต่อเนื่อง • ประเมินการน�ำเสนอ โครงสร้างและเนือ้ หาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลว่างบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการและเหตุการณ์ ในรูปแบบที่ท�ำให้มีการน�ำเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควรหรือไม่ • ได้รบั หลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสมอย่างเพียงพอ เกีย่ วกับข้อมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุม่ หรือกิจกรรมทางธุรกิจ ภายในกลุ่มบริษัทเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการก�ำหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการ ปฏิบัติงานตรวจสอบกลุ่มบริษัท ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลในเรื่องต่างๆ ที่ส�ำคัญ ซึ่งรวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้ วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนัยส�ำคัญที่พบจากการตรวจสอบ รวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยส�ำคัญในระบบการควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบ ในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้ค�ำรับรองแก่ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระ และได้สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทั้งหมดตลอดจนเรื่องอื่น ซึ่งข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอก อาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข้าพเจ้าขาดความเป็นอิสระ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
141
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
จากเรื่องที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยส�ำคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปัจจุบันและก�ำหนดเป็นเรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่านี้ในรายงานของผู้ สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับไม่ให้เปิดเผยต่อสาธารณะเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว หรือในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้า พิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระท�ำดังกล่าวสามารถคาดการณ์ ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมี ผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ต่อส่วนได้เสียสาธารณะจากการสื่อสารดังกล่าว
บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด
(นางสาวสมจินตนา พลหิรัญรัตน์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 5599 วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2561
142
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย : บาท) สินทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีห้ มุนเวียนอืน่ -กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีห้ มุนเวียนอืน่ -อืน่ ๆ ลูกหนีต้ ามสัญญาเช่าซือ้ ทีค่ รบกำ�หนดชำ�ระใน 1 ปี สินค้าคงเหลือ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ลูกหนีต้ ามสัญญาเช่าซือ้ ทีค่ รบกำ�หนดชำ�ระเกินกว่า 1 ปี เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในบริษทั ร่วม บันทึกโดยวิธสี ว่ นได้เสีย บันทึกโดยวิธรี าคาทุน เงินลงทุนในกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เงินลงทุนเผือ่ ขาย เงินลงทุนระยะยาวอืน่ เงินลงทุนระยะยาวอืน่ เงินลงทุนเผือ่ ขาย เงินลงทุนระยะยาวอืน่ อสังหาริมทรัพย์ตามสัญญาจะซือ้ จะขาย อสังหาริมทรัพย์รอการขาย อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ เงินมัดจำ�ค่าทีด่ นิ ภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย อืน่ ๆ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
หมายเหตุ งบการเงินรวม งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 1 มกราคม 2559 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) 6 7 8 9 10
98,756,538.91 61,042,440.82 219,101,210.57 34,371,854.27 47,530,312.41 2,558,431.24 463,360,788.22
104,135,961.05 0.00 172,457,582.50 26,650,480.85 0.00 2,429,344.53 305,673,368.93
337,526,130.91 0.00 165,732,522.09 28,553,917.45 0.00 2,221,117.97 534,033,688.42
91,281,006.18 0.00 212,761,364.91 34,244,772.37 47,530,312.41 2,558,431.24 388,375,887.11
104,135,961.05 0.00 172,457,582.50 26,650,480.85 0.00 2,429,344.53 305,673,368.93
10 12
47,935,697.39 0.00
0.00 0.00
0.00 0.00
47,935,697.39 12,321,654.00
0.00 0.00
11 11
25,188,993,972.10 15,138,479,329.45 13,735,978,586.07 0.00 0.00 0.00 0.00 11,039,670,855.01
0.00 2,203,091,277.95
13 13
2,391,588,012.50 1,566,652,764.46
3,219,255,465.88 1,404,181,106.78
2,847,600,459.26 1,211,888,507.65
2,391,588,012.50 1,565,113,406.87
3,219,255,465.88 1,404,181,106.78
14 14
126,709,873.80 46,079,079.26 2,926,304.98 606,443,723.56 3,041,091,919.84 1,320,438,804.60 8,936,189.85 222,951,365.57
111,990,349.50 41,817,560.63 621,770.34 631,516,632.56 2,778,974,000.51 1,232,178,391.67 10,523,743.94 161,959,498.50
183,651,021.50 41,820,500.30 59,354,515.94 721,997,967.14 2,365,808,250.18 1,178,607,217.87 11,129,016.19 181,018,266.37
126,709,873.80 46,079,079.26 2,926,304.98 606,443,723.56 3,041,091,919.84 1,318,277,482.42 8,936,189.85 245,379,731.45
111,990,349.50 41,817,560.63 621,770.34 631,516,632.56 2,778,974,000.51 1,232,178,391.67 10,523,743.94 180,691,484.33
15 16 17 18 30 19
42,527,100.00 42,527,100.00 42,527,100.00 42,527,100.00 42,527,100.00 48,150,425.16 42,209,354.35 61,636,628.04 48,150,425.16 42,209,354.35 5,065,668.60 4,504,292.77 7,974,453.79 5,064,468.60 4,504,292.77 95,743,193.76 89,240,747.12 112,138,181.83 95,741,993.76 89,240,747.12 34,666,490,901.67 24,820,738,596.88 22,650,992,490.30 20,548,215,924.69 11,904,082,531.21 35,129,851,689.89 25,126,411,965.81 23,185,026,178.72 20,936,591,811.80 12,209,755,900.14
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
143
งบการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย : บาท) หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หนีส้ นิ หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีห้ มุนเวียนอืน่ ส่วนของหนีส้ นิ ระยะยาวทีถ่ งึ กำ�หนดชำ�ระใน 1 ปี ประมาณการหนีส้ นิ หมุนเวียนสำ�หรับ ผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน เจ้าหนีเ้ งินลงทุน เงินรับล่วงหน้า เงินประกัน เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู้ หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ - องค์ประกอบทีเ่ ป็นหนีส้ นิ ภาระหนีส้ นิ จากการค้ำ�ประกัน ประมาณการหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียนสำ�หรับ ผลประโยชน์พนักงาน หนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี รวมหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ นิ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 582,923,188 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท หุน้ สามัญ 800,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนทีอ่ อกและเรียกชำ�ระแล้ว หุน้ สามัญ 494,034,300 หุน้ หุน้ ละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ส่วนเกินทุนหุน้ ทุนซือ้ คืนของบริษทั ร่วม กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว สำ�รองตามกฎหมาย สำ�รองทัว่ ไป ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมส่วนของบริษทั ใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มอี ำ�นาจควบคุม รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมหนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้
หมายเหตุ งบการเงินรวม งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 1 มกราคม 2559 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) 20
4,080,000,000.00 330,372,758.68 0.00
560,000,000.00 252,722,589.23 300,000,000.00
0.00 335,451,349.23 300,000,000.00
4,080,000,000.00 324,895,819.54 0.00
560,000,000.00 252,722,589.23 300,000,000.00
3,863,141.87 4,414,235,900.55
5,985,953.00 1,118,708,542.23
0.00 635,451,349.23
0.00 4,404,895,819.54
5,985,953.00 1,118,708,542.23
0.00 142,703,343.28 86,353,151.04 0.00 2,000,000,000.00 2,999,766,560.71 13,574,409.75
599,700.00 24,517,959.95 86,461,857.48 900,000,000.00 0.00 0.00 4,574,409.75
599,700.00 32,873,406.40 83,156,746.83 1,500,000,000.00 0.00 0.00 4,574,409.75
0.00 142,703,343.28 86,353,151.04 0.00 2,000,000,000.00 2,999,766,560.71 13,574,409.75
599,700.00 24,517,959.95 86,461,857.48 900,000,000.00 0.00 0.00 4,574,409.75
25 30
91,109,474.27 653,077,243.99 5,986,584,183.04 10,400,820,083.59
50,502,398.17 452,758,510.58 1,519,414,835.93 2,638,123,378.16
72,437,395.00 77,948,720.29 401,480,022.86 489,447,757.00 2,095,121,680.84 5,809,793,942.07 2,730,573,030.07 10,214,689,761.61
50,502,398.17 452,758,510.58 1,519,414,835.93 2,638,123,378.16
26 26
582,923,188.00
21 25
21 22 23 24
28 29
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 144
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
582,923,188.00
800,000,000.00
800,000,000.00
494,034,300.00 1,041,357,580.00 6,151,888.73
494,034,300.00 1,041,357,580.00 6,151,888.73
494,034,300.00 1,041,357,580.00 6,151,888.73
80,000,000.00 280,000,000.00 19,706,204,657.56 3,092,838,010.23 24,700,586,436.52 28,445,169.78 24,729,031,606.30 35,129,851,689.89
80,000,000.00 280,000,000.00 16,794,271,390.91 3,792,473,428.01 22,488,288,587.65 0.00 22,488,288,587.65 25,126,411,965.81
80,000,000.00 80,000,000.00 80,000,000.00 280,000,000.00 280,000,000.00 280,000,000.00 15,274,542,425.49 7,180,150,867.72 5,865,564,295.97 3,278,366,954.43 1,646,359,302.47 1,810,676,346.01 20,454,453,148.65 10,721,902,050.19 9,571,632,521.98 0.00 0.00 0.00 20,454,453,148.65 10,721,902,050.19 9,571,632,521.98 23,185,026,178.72 20,936,591,811.80 12,209,755,900.14
494,034,300.00 1,041,357,580.00 0.00
800,000,000.00 494,034,300.00 1,041,357,580.00 0.00
งบการเงิน
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย : บาท) หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2560
รายได้ รายได้ค่าสาธารณูปโภครับ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าปรึกษาและบริการ รายได้ดอกผลตามสัญญาเช่าซื้อ ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ตามวิธีส่วนได้เสีย รายได้เงินปันผลรับ รายได้อื่น กำ�ไรจากการต่อรองราคาซื้อ กำ�ไรจากการเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน กำ�ไรจากการจำ�หน่ายทรัพย์สิน กำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุน รายการกลับบัญชีผลขาดทุน จากการด้อยค่าของเงินลงทุน กำ�ไรจากการปริวรรตเงินตรา ดอกเบี้ยรับ รายการโอนกลับค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ อื่นๆ รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนค่าสาธารณูปโภค ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนค่าบริการ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนใน บริษัทร่วมตามวิธีส่วนได้เสีย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอื่น ขาดทุนจากการจำ�หน่ายเงินลงทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ขาดทุนจากเงินลงทุน ขาดทุนจากการปริวรรตเงินตรา ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล (ค่าใช้จ่าย)รายได้ภาษีเงินได้นิติบุคคล กำ�ไรสำ�หรับปี
5 11.2
30
งบการเงินที่แสดง เงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2559 (ปรับปรุงใหม่)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560
2559
2,060,916,018.73 209,123,750.00 457,193,516.96 33,660,872.54
2,026,172,765.92 271,795,750.00 399,105,982.64 0.00
2,060,916,018.73 209,123,750.00 420,888,137.02 33,660,872.54
2,026,172,765.92 271,795,750.00 399,105,982.64 0.00
1,839,568,970.15 272,054,348.50
1,461,890,956.46 369,273,163.02
0.00 1,054,609,640.40
0.00 878,588,763.32
817,646,968.93 1,015,170,600.00 2,792,190.10 253,155.74
0.00 0.00 4,202,676.67 4,413,310.33
0.00 1,015,170,600.00 2,787,002.37 84,647,630.00
0.00 0.00 4,202,676.67 4,413,310.33
6,740,885.42 200,863.53 2,447,721.64 0.00 15,201,297.02 6,732,971,159.26
21,000,000.00 390,102.84 1,036,798.65 1,255,250.01 14,697,151.90 4,575,233,908.44
6,740,885.42 200,863.53 1,813,030.20 0.00 15,168,680.19 4,905,727,110.40
26,250,000.00 390,102.84 1,036,798.65 1,255,250.01 14,697,151.90 3,627,908,552.28
1,875,061,582.36 33,163,283.75 339,769,653.98
1,844,538,975.89 63,360,955.67 328,689,861.02
1,875,061,582.36 33,163,283.75 329,140,167.87
1,844,538,975.89 63,360,955.67 328,689,861.02
29,315,484.20 652,518,172.54
45,230,223.32 490,863,029.59
0.00 640,595,546.77
0.00 490,863,029.59
31,902,853.05 171,067,664.97 0.00 44,975.26 112,573,748.61 3,245,417,418.72 3,487,553,740.54 (317,021,394.97) 3,170,532,345.57
9,334,583.45 38,622,851.42 1,819,141.02 64,298.73 43,771,256.92 2,866,295,177.03 1,708,938,731.41 (11,282,863.87) 1,697,655,867.54
8,880,920.00 206,573,461.10 0.00 44,975.26 112,573,748.61 3,206,033,685.72 1,699,693,424.68 (143,329,782.73) 1,556,363,641.95
9,334,583.45 54,122,851.42 0.00 64,298.73 43,771,256.92 2,834,745,812.69 793,162,739.59 (9,232,863.87) 783,929,875.72
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
145
งบการเงิน
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย : บาท) หมายเหตุ งบการเงินรวม งบการเงินที่แสดง เงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย 2560 2559 (ปรับปรุงใหม่) กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น :- รายการทีอ่ าจถูกจัดประเภทใหม่ไว้ในกำ�ไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลกำ�ไร(ขาดทุน)จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย (สุทธิจากภาษีเงินได้) ผลกำ�ไร(ขาดทุน)จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย -บริษัทร่วม (สุทธิจากภาษีเงินได้) ส่วนเกินทุนจากการเปลีย่ นแปลงสัดส่วนเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินของบริษัทร่วม รวมรายการทีอ่ าจถูกจัดประเภทใหม่ไว้ในกำ�ไรหรือขาดทุนในภายหลัง รายการทีจ่ ะไม่ถกู จัดประเภทใหม่ไว้ในกำ�ไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลกำ�ไร(ขาดทุน)จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย (สุทธิจากภาษีเงินได้) ผลกำ�ไร(ขาดทุน)จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยของบริษัทร่วม (สุทธิจากภาษีเงินได้) รวมรายการทีจ่ ะไม่ถกู จัดประเภทใหม่ไว้ในกำ�ไรหรือขาดทุนในภายหลัง กำ�ไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นสำ�หรับปี- สุทธิจากภาษี
(665,507,372.94) 11.2
กำ�ไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี การแบ่งปันกำ�ไร ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม การแบ่งปันกำ�ไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560
239,995,467.70 (665,853,498.54)
2559
239,995,467.70
(531,162,304.55) (51,366.97) (4,450,828.32) (1,201,171,872.78)
278,062,718.47 0.00 (3,951,712.59) 514,106,473.58
0.00 0.00 0.00 (665,853,498.54)
0.00 0.00 0.00 239,995,467.70
(9,890,163.88)
(3,777,900.80)
(19,461,635.20)
(3,777,900.80)
(16,128,108.44) (26,018,272.32) (1,227,190,145.10)
(11,117,682.32) (14,895,583.12) 499,210,890.46
0.00 (19,461,635.20) (685,315,133.74)
0.00 (3,777,900.80) 236,217,566.90
1,943,342,200.47
2,196,866,758.00
871,048,508.21
1,020,147,442.62
3,164,956,994.92 5,575,350.65
1,697,655,867.54 1,556,363,641.95 0.00 0.00
783,929,875.72 0.00
1,933,076,828.87 10,265,371.60
2,196,866,758.00 0.00
871,048,508.21 1,020,147,442.62 0.00 0.00
กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัท จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ย (หุ้น)
36
6.41 494,034,300
3.44 494,034,300
3.15 494,034,300
1.59 494,034,300
กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด กำ�ไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัท จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ย (หุ้น)
36
5.95 533,730,697
3.44 494,034,300
2.93 533,730,697
1.59 494,034,300
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
146
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
ในบริษัทย่อย ณ วันซื้อ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
19,706,204,657.56
3,164,956,994.92
(222,315,435.00)
16,794,271,390.91
111,692,051.34
6,682,579,339.57
16,794,271,390.91
(14,895,583.12)
1,697,655,867.54
(163,031,319.00)
15,274,542,425.49
96,764,400.82
15,177,778,024.67
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
280,000,000.00
280,000,000.00
280,000,000.00
280,000,000.00
280,000,000.00
280,000,000.00
จัดสรร
(30,708,293.27) 80,000,000.00
80,000,000.00
80,000,000.00
80,000,000.00
80,000,000.00
80,000,000.00
สำ�รองทั่วไป
กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 6,151,888.73
6,151,888.73
6,151,888.73
6,151,888.73
6,151,888.73
6,151,888.73
ตามกฎหมาย
สำ�รอง
ยังไม่ได้
กำ�ไรสุทธิ
494,034,300.00 1,041,357,580.00
494,034,300.00 1,041,357,580.00
494,034,300.00 1,041,357,580.00
494,034,300.00 1,041,357,580.00
494,034,300.00 1,041,357,580.00
494,034,300.00 1,041,357,580.00
ของบริษัทร่วม
หุ้นทุนซื้อคืน
จัดสรรแล้ว
23
5
27.1, 27.2
43
27.3, 27.4
43
มูลค่าหุ้น
ชำ�ระแล้ว
ออกและ
ส่วนเกินทุน
กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวม สำ�หรับปี
ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ - องค์ประกอบที่เป็นทุน
ส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม
เงินปันผลจ่าย
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 (หลังปรับปรุงใหม่)
ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาดทางบัญชี - บริษัทร่วม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 (ตามทีร่ ายงานไว้เดิม)
งบการเงินรวม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
กำ�ไรสุทธิ
กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวม สำ�หรับป
เงินปันผลจ่าย
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 (หลังปรับปรุงใหม่)
ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาดทางบัญชี - บริษัทร่วม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 (ตามทีร่ ายงานไว้เดิม)
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย
หมายเหตุ
ส่วนเกิน ่ า) (ตำ�กว่
ทุนเรือนหุ้นที่
กำ�ไรสะสม
1,145,168,973.07
(665,507,372.94)
1,810,676,346.01
1,810,676,346.01
1,810,676,346.01
239,995,467.70
1,570,680,878.31
1,570,680,878.31
เงินลงทุนเผื่อขาย
จากการวัดมูลค่า
ผลกำ�ไร
440,390.80
1,424,056,988.87
(531,162,304.55)
1,955,219,293.42
(980,206.30)
1,956,199,499.72
1,955,219,293.42
278,062,718.47
1,677,156,574.95
20,016,798.64
(51,366.97)
20,068,165.61
20,068,165.61
20,068,165.61
20,068,165.61
20,068,165.61
ในบริษัทร่วม
บริษัทร่วม
1,676,716,184.15
สัดส่วนเงินลงทุน
เผื่อขายของ
วัดมูลค่าเงินลงทุน การเปลี่ยนแปลง
2,058,794.65
(4,450,828.32)
6,509,622.97
6,509,622.97
6,509,622.97
(3,951,712.59)
10,461,335.56
10,461,335.56
ของบริษัทร่วม
งบการเงิน
แปลงค่า
รวม
รวมทั้งสิ้น
501,536,455.00
18,179,798.18
4,690,020.95 (1,227,190,145.10)
5,575,350.65 3,170,532,345.57
18,179,798.18
(222,315,435.00)
0.00 22,488,288,587.65
110,711,845.04
0.00 22,377,576,742.61
0.00 22,488,288,587.65
499,210,890.46
1,697,655,867.54
(163,031,319.00)
0.00 20,454,453,148.65
97,204,791.62
0.00 20,357,248,357.03
ควบคุม
ที่ไม่มีอำ�นาจ
ส่วนได้เสีย
(หน่วย : บาท)
501,536,455.00 3,092,838,010.23 28,445,169.78 24,729,031,606.30
(1,201,171,872.78)
501,536,455.00
0.00 3,792,473,428.01
(980,206.30)
0.00 3,793,453,634.31
0.00 3,792,473,428.01
514,106,473.58
0.00 3,278,366,954.43
440,390.80
0.00 3,277,926,563.63
501,536,455.00
ที่เป็นทุน
องค์ประกอบ
ส่วนเกินทุนจาก ผลต่างจากการ หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ -
องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ผลกำ�ไรจากการ
งบการเงินรวม / งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560
งบการเงิน
147
148
รายงานประจำ � ปี 2 5 60 80,000,000.00
280,000,000.00
1,556,363,641.95
(222,315,435.00)
5,865,564,295.97
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
(19,461,635.20) 1,041,357,580.00
280,000,000.00
5,865,564,295.97
(3,777,900.80)
783,929,875.72
(163,031,319.00)
5,248,443,640.05
จัดสรร
7,180,150,867.72
494,034,300.00
80,000,000.00
280,000,000.00
280,000,000.00
สำ�รองทั่วไป
ยังไม่ได้
กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
23
1,041,357,580.00
80,000,000.00
80,000,000.00
ตามกฎหมาย
สำ�รอง
จัดสรรแล้ว
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
กำ�ไรสุทธิ
กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวม สำ�หรับปี
ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ - องค์ประกอบที่เป็นทุน
เงินปันผลจ่าย
494,034,300.00
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560
1,041,357,580.00
1,041,357,580.00
494,034,300.00
494,034,300.00
27.1, 27.2
27.3, 27.4
มูลค่าหุ้น
ชำ�ระแล้ว
ออกและ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
กำ�ไรสุทธิ
กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวม สำ�หรับปี
เงินปันผลจ่าย
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559
หมายเหตุ
ส่วนเกิน ่ า) (ตำ�กว่
ทุนเรือนหุ้นที่
กำ�ไรสะสม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
1,144,822,847.47
(665,853,498.54)
1,810,676,346.01
1,810,676,346.01
239,995,467.70
1,570,680,878.31
เงินลงทุนเผื่อขาย
จากการวัดมูลค่า
ผลกำ�ไร
0.00
0.00
0.00
501,536,455.00
501,536,455.00
ที่เป็นทุน
องค์ประกอบ
หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ รวม
783,929,875.72
(163,031,319.00)
8,714,516,398.36
รวม
(หน่วย : บาท)
1,646,359,302.47
(665,853,498.54)
501,536,455.00
1,810,676,346.01
1,810,676,346.01
10,721,902,050.19
(685,315,133.74)
1,556,363,641.95
501,536,455.00
(222,315,435.00)
9,571,632,521.98
9,571,632,521.98
239,995,467.70 2 3 6 , 2 1 7 , 5 6 6 . 9 0
1,570,680,878.31
องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560
งบการเงิน
งบการเงิน
งบกระแสเงินสด ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบการเงินรวม 2560 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล บวก รายการปรับกระทบยอดกำ�ไร(ขาดทุน)สุทธิ เป็นเงินสดรับ(จ่าย)จากกิจกรรมดำ�เนินงาน ค่าเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชี ต้นทุนทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ส่วนแบ่ง(กำ�ไร)จากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย เงินปันผลรับจากการลงทุน รายการกลับบัญชีผลขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน (กำ�ไร) ขาดทุนจากการขายเงินลงทุน (กำ�ไร) ขาดทุนจากเงินลงทุน (กำ�ไร) ขาดทุนจากการขายทรัพย์สิน (กำ�ไร) จากการต่อรองซื้อ (กำ�ไร) ขาดทุนจากการเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ขาดทุนจากภาระค้ำ�ประกัน หนี้สงสัยจะสูญ รายการโอนกลับค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กำ�ไร(ขาดทุน)จากการดำ�เนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน สินทรัพย์ดำ�เนินงาน(เพิ่มขึ้น)ลดลง สินค้าคงเหลือ อสังหาริมทรัพย์รอการขาย อสังหาริมทรัพย์ตามสัญญาจะซื้อจะขาย สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น - อื่นๆ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น เงินรับล่วงหน้า เงินประกัน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานจ่าย
งบการเงินทีแ่ สดงเงิน ลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสีย 2559 (ปรับปรุงใหม่)
(หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560
2559
3,487,553,740.54
1,708,938,731.41
1,699,693,424.68
793,162,739.59
194,206,897.16 112,573,748.61 7,679,375.43 (1,839,568,970.15) 29,315,484.20 782,555,291.90 (6,740,885.42) 171,067,664.97 31,649,697.31 0.00 (2,792,190.10) (817,646,968.93) (1,015,170,600.00) 9,000,000.00 1,631,308.15 0.00
179,722,829.68 43,771,256.92 4,555,831.00 (1,461,890,956.46) 45,230,223.32 509,315,600.30 (21,000,000.00) 38,622,851.42 4,921,273.12 1,819,141.02 (4,202,676.67) 0.00 0.00 0.00 227,979.22 (1,255,250.01)
193,787,589.26 112,573,748.61 5,919,810.43 0.00 0.00 0.00 (6,740,885.42) 206,573,461.10 (75,766,710.00) 0.00 (2,787,002.37) 0.00 (1,015,170,600.00) 9,000,000.00 1,631,308.15 0.00
179,722,829.68 43,771,256.92 4,555,831.00 0.00 0.00 0.00 (26,250,000.00) 54,122,851.42 4,921,273.12 0.00 (4,202,676.67) 0.00 0.00 0.00 227,979.22 (1,255,250.01)
1,145,313,593.67
1,048,776,834.27
1,128,714,144.44
1,048,776,834.27
(129,086.71) 0.00 21,658,239.31 (25,743.44) (40,704,495.94) (7,959,626.25) (96,706,380.54) 15,955,986.74
(208,226.56) (125,991.17) 61,858,173.72 (946,894.17) (4,575,347.03) 780,994.01 0.00 44,065,984.04
(129,086.71) 0.00 21,658,239.31 (25,743.44) (40,358,032.41) (7,930,978.93) (96,706,380.54) 15,955,986.74
(208,226.56) (125,991.17) 61,858,173.72 (946,894.17) (4,575,347.03) 780,994.01 0.00 44,065,984.04
46,558,186.65 118,185,383.33 (108,706.44) (9,136,485.31)
(80,015,828.49) (8,355,446.45) 3,305,110.65 (25,227,250.83)
48,641,970.86 118,185,383.33 (108,706.44) (8,786,485.31)
(80,015,828.49) (8,355,446.45) 3,305,110.65 (25,227,250.83)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
149
งบการเงิน
งบกระแสเงินสด (ต่อ) ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบการเงินรวม 2560 เงินสดรับ(จ่าย)จากการดำ�เนินงาน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มา(ใช้ไป)จากกิจกรรมดำ�เนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราว ซื้อหลักทรัพย์หุ้นทุน ขายหลักทรัพย์หุ้นทุน ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายยานพาหนะ และอุปกรณ์สำ�นักงาน ซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดสุทธิได้มา(ใช้ไป)จากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจ้าหนี้เงินลงทุน เพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้แปลงสภาพ จ่ายเงินปันผล เงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น(ลดลง) เงินสดสุทธิได้มา(ใช้ไป)จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
150
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงินทีแ่ สดงเงิน ลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสีย 2559 (ปรับปรุงใหม่)
(หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560
2559
1,192,900,865.07 (89,042,489.16) (29,176,509.19) 1,074,681,866.72
1,039,332,111.99 (46,484,188.43) (21,204,505.50) 971,643,418.06
1,179,110,310.90 (89,042,489.16) (26,955,439.31) 1,063,112,382.43
1,039,332,111.99 (46,484,188.43) (21,204,505.50) 971,643,418.06
(10,000,000.00) (8,247,609,026.72) 111,250,719.65 (206,383,086.77) 11,966,765.69 (343,797,417.05) 1,977,891.34 (8,682,594,153.86)
0.00 (491,166,212.00) 42,351,000.00 (106,579,911.76) 4,236,170.23 (450,843,315.39) 0.00 (1,002,002,268.92)
0.00 (8,253,609,979.20) 111,250,719.65 (206,281,640.67) 11,960,223.63 (343,797,417.05) 1,977,891.34 (8,678,500,202.30)
0.00 (491,166,212.00) 42,351,000.00 (106,579,911.76) 4,236,170.23 (450,843,315.39) 0.00 (1,002,002,268.92)
3,520,000,000.00 (599,700.00) 2,000,000,000.00 3,505,448,000.00 (222,315,435.00) (1,200,000,000.00) 7,602,532,865.00 (5,379,422.14) 104,135,961.05 98,756,538.91
560,000,000.00 0.00 0.00 0.00 (163,031,319.00) (600,000,000.00) (203,031,319.00) (233,390,169.86) 337,526,130.91 104,135,961.05
3,520,000,000.00 (599,700.00) 2,000,000,000.00 3,505,448,000.00 (222,315,435.00) (1,200,000,000.00) 7,602,532,865.00 (12,854,954.87) 104,135,961.05 91,281,006.18
560,000,000.00 0.00 0.00 0.00 (163,031,319.00) (600,000,000.00) (203,031,319.00) (233,390,169.86) 337,526,130.91 104,135,961.05
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป็นบริษัทมหาชนที่จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2537 ทะเบียนนิตบิ คุ คล เลขที่ 0107537001340 และมีภมู ลิ ำ� เนาในประเทศไทย ตามทีอ่ ยูท่ ไี่ ด้จดทะเบียน ไว้ดงั นี้ เลขที่ 530 ซอยสาธุประดิษฐ์ 58 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร มีสาขา 6 สาขาดังนี้ สาขาที่ 1 เลขที่ 999 หมู่ 11 ถนนสุขาภิบาล 8 ต�ำบลหนองขาม อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สาขาที่ 2 เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนสุวรรณศร ต�ำบลนนทรี อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี สาขาที่ 3 เลขที่ 189 หมู่ 15 ถนนเลี่ยงเมืองล�ำพูน - ป่าซาง อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน สาขาที่ 4 เลขที่ 196 หมู่ 11 ต�ำบลวังดาล อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี สาขาที่ 5 เลขที่ 269 หมู่ 15 ต�ำบลแม่กาษา อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก สาขาที่ 6 เลขที่ 1 หมู่ 6 ต�ำบลสุรศักดิ์ อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 1.2 บริษัทฯ ประกอบธุรกิจลงทุน ธุรกิจให้เช่าและบริการ สวนอุตสาหกรรม (ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์) ธุรกิจซื้อขายสินค้า และ ธุรกิจให้เช่าทรัพย์สนิ ระยะยาวหรือให้เช่าแบบลีสซิง่ โดยมีบริษทั ย่อยประกอบธุรกิจอืน่ ๆ ตามรายละเอียดในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 3
2. เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงิน 2.1 เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงิน งบการเงินนี้ได้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และแสดง รายการตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าโดยกระทรวงพาณิชย์ ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 เรือ่ งก�ำหนดรายการย่อทีต่ อ้ งมีในงบการเงิน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 และตามกฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง งบการเงินของบริษัทฯ จัดท�ำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของรายการในงบการเงิน ยกเว้น รายการที่เปิดเผยไว้ในนโยบายการบัญชีที่เกี่ยวข้อง งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯ ใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจาก งบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ 2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่มมีผลบังคับในปีบัญชีปัจจุบันและที่จะมีผลบังคับในอนาคต มีรายละเอียดดังนี้ ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่มมีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน ในระหว่างปี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ได้นำ� มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงาน ฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2559) รวมถึงแนวปฏิบตั ทิ างบัญชีฉบับใหม่ ซึง่ มีผลบังคับใช้สำ� หรับงบการเงินทีม่ รี อบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2560 มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รบั การปรับปรุงหรือจัดให้มขี นึ้ เพือ่ ให้มเี นือ้ หา เท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นการปรับปรุงถ้อยค�ำและค�ำศัพท์การตีความและ การให้แนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีกบั ผูใ้ ช้มาตรฐาน การน�ำมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือปฏิบตั นิ ี้ไม่มผี ลกระทบ อย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
151
งบการเงิน
2. เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงิน (ต่อ) ข)
มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับใช้ในอนาคต ในระหว่างปีปจั จุบนั สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2560) จ�ำนวนหลายฉบับ ซึง่ มีผลบังคับใช้สำ� หรับงบการเงินทีม่ รี อบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2561 มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้น เพื่อให้มีเนื้อหา เท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นการปรับปรุงและอธิบายให้ชดั เจนเกีย่ วกับการ เปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเชื่อว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุงจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็น สาระส�ำคัญต่องบการเงินเมื่อน�ำมาถือปฏิบัติ
3. หลักเกณฑ์การจัดท�ำงบการเงินรวม 3.1 งบการเงินรวมนี้ได้รวมงบการเงินของบริษทั สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ซึง่ ถือหลักเกณฑ์การรวม เฉพาะบริษัทย่อย ซึ่งบริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) มีอ�ำนาจในการควบคุมดังนี้ ชื่อบริษัท
ประเภทธุรกิจ
จัดตั้งขึ้นใน
บริษทั ย่อยโดยตรง บริษทั เพรซิเดนท์อนิ เตอร์ฟดู จ�ำกัด ให้บริการส่งออกสินค้าบริโภค ประเทศไทย ต่างๆและรับเป็นนายหน้าของ บริษทั ในเครือไทยเพรซิเดนท์ฟดู ส์ จำ�กัด และบริษัทในเครือ
อัตราร้อยละของการถือหุ้นหรือส่วนได้เสีย 2560 2559 51.00
0.00
3.2 ยอดคงค้างและรายการบัญชีระหว่างกันของบริษัทฯ กับบริษัทย่อย และยอดเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียกับส่วนของผู้ถือหุ้น ของบริษัทย่อย ได้ตัดออกในการจัดท�ำงบการเงินรวม 3.3 ผลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย รวมอยู่ในงบการเงินรวม เริ่มจากวันที่เข้าควบคุมจนถึงวันที่ขายออกไป 3.4 งบการเงินรวมนีจ้ ดั ท�ำขึน้ โดยใช้นโยบายทางบัญชีเดียวกัน ส�ำหรับรายการบัญชีเหมือนกัน หรือเหตุการณ์ทางบัญชีทคี่ ล้ายคลึงกัน ของบริษัทย่อย ได้ตัดออกในการจัดท�ำงบการเงินรวม 3.5 เมือ่ วันที่ 8 มิถนุ ายน 2560 บริษทั ฯ ได้รบั โอนสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทัง้ หมดของ บริษทั เพรซิเดนท์โฮลดิง้ จ�ำกัด และได้รบั หุน้ สามัญ ของ บริษัท เพรซิเดนท์อินเตอร์ฟูด จ�ำกัด เป็นสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 51 และได้น�ำมาจัดท�ำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ 8 มิถนุ ายน 2560 บริษทั ฯ ได้รบั รูส้ นิ ทรัพย์ และหนีส้ นิ ของบริษทั ย่อยดังกล่าวด้วยมูลค่ายุตธิ รรม ผลต่างระหว่าง ต้นทุนการรวมกิจการ กับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ และหนี้สินที่รับรู้ แสดงเป็นก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ตามหมายเหตุข้อ 5
152
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน
4. สรุปนโยบายบัญชีที่ส�ำคัญ 4.1 บริษัทฯ รับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้าง 4.2 บริษัทฯ รับรู้รายได้จากค่าบริการเมื่อได้ให้บริการแก่ลูกค้าแล้ว 4.3 บริษทั ฯ รับรูร้ ายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์เมือ่ ได้โอนความเสีย่ ง และผลตอบแทนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญของความเป็นเจ้าของ ให้กับผู้ซื้อแล้ว 4.4 บริษัทฯ รับรู้รายได้จากการขายสินค้า เมื่อมีการส่งมอบหลังจากหักรับคืน และส่วนลดจ่าย 4.5 บริษัทฯ รับรู้รายได้จากเงินปันผล เมื่อมีการประกาศจ่าย 4.6 บริษทั ฯ รับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ จากการให้เช่าซือ้ และจากสัญญาเช่าการเงินตามเกณฑ์คงค้าง โดยรับรูร้ ายได้ตามวิธอี ตั ราดอกเบีย้ ที่แท้จริง (Effective interest method) และบริษัทฯ หยุดรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้างเมื่อลูกหนี้ค้างช�ำระค่างวดเกินก�ำหนด 3 งวดนับจากวันครบก�ำหนดช�ำระ การบันทึกรายได้ดอกเบี้ยรับหลังจากนั้นจะบันทึกตามเกณฑ์เงินสดจนกว่าจะได้รับ ช�ำระหนี้ที่ค้างเกินก�ำหนดช�ำระดังกล่าวแล้ว 4.7 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ได้แก่ เงินสดในมือ และเงินฝากธนาคารระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน 4.8 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษัทฯ ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจากลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บเงินไม่ได้ โดยพิจารณาและวิเคราะห์สถานะของลูกหนี้ แต่ละรายประกอบ 4.9 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงิน และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงิน แสดงตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ โดยแสดงด้วยจ�ำนวนหนี้คงเหลือ ตามสัญญา หักด้วยดอกผลเช่าซื้อรอตัดบัญชีและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษัทฯ ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญส�ำหรับผลขาดทุน โดยประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์ อายุลูกหนี้ บริษัทฯ ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามอัตรา ดังต่อไปนี้ โดยมีหลักเกณฑ์อัตราการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อในแต่ละงวดดังนี้ ร้อยละ ลูกหนี้ปกติและค้างช�ำระไม่เกิน 1 งวด 1 ลูกหนี้ค้างช�ำระเกินกว่า 1 งวด 2 ลูกหนี้ค้างช�ำระเกินกว่า 3 งวด 20 ลูกหนี้ค้างช�ำระเกินกว่า 6 งวด 50 ลูกหนี้ค้างช�ำระเกินกว่า 12 งวด 100 4.10 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า ราคาทุนของสินค้าค�ำนวณโดย วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก (Weighted average) 4.11 เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษทั ย่อย ในงบการเงินเฉพาะกิจการบันทึกในราคาทุนสุทธิจากค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน (ถ้ามี)
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
153
งบการเงิน
4. สรุปนโยบายบัญชีที่ส�ำคัญ (ต่อ) 4.12 เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทร่วม เป็นเงินลงทุนในกิจการที่เข้าไปลงทุนจนถือว่ามีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญ แต่ไม่มีอ�ำนาจเข้าไปมี ส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินและการด�ำเนินงาน และไม่ถึงระดับการควบคุม เงินลงทุนในบริษัทร่วม ในงบการเงินเฉพาะกิจการบันทึกในราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน ส่วนในงบการเงินรวมได้แสดงตามวิธี ส่วนได้เสีย และจะรับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนจากบริษัทร่วมเพียงเงินลงทุนเท่ากับศูนย์ เว้นแต่กรณีที่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพัน ตามกฎหมายแทนบริษัทร่วม 4.13 เงินลงทุนในตราสารทุน เงินลงทุนระยะยาวที่เป็นเงินลงทุนในตราสารทุนในความต้องการของตลาด - ในประเทศ ซึ่งบริษัทฯ ถือเป็นหลักทรัพย์ เผื่อขายแสดงด้วยมูลค่ายุติธรรม ผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีกับมูลค่ายุติธรรมแสดงเป็นก�ำไร(ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้น จากการเปลีย่ นแปลงมูลค่าของเงินลงทุนไว้เป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของผูถ้ อื หุน้ จนกระทัง่ บริษทั ฯ จ�ำหน่ายเงินลงทุนนัน้ จึงบันทึกมูลค่าที่เปลี่ยนแปลงดังกล่าวในงบก�ำไรขาดทุน เงินลงทุนระยะยาวทีเ่ ป็นเงินลงทุนในความต้องการของตลาด - ต่างประเทศ ซึง่ บริษทั ฯ ถือเป็นหลักทรัพย์เผือ่ ขายแสดงด้วย มูลค่ายุติธรรม โดยแปลงค่าเป็นเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวด ผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีกับมูลค่ายุติธรรม แสดงเป็นก�ำไร (ขาดทุน) ทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงมูลค่าของเงินลงทุนไว้เป็นรายการแยกต่างหาก ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ จนกระทั่งบริษัทฯ จ�ำหน่ายเงินลงทุนนั้น จึงบันทึกมูลค่าที่เปลี่ยนแปลงดังกล่าวในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เงินลงทุนระยะยาวที่เป็นเงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด - ในประเทศ ซึ่งบริษัทฯ ถือเป็น เงินลงทุนทั่วไปแสดงในราคาทุนปรับลดด้วยค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน เงินลงทุนระยะยาวที่เป็นเงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด - ต่างประเทศ ซึ่งบริษัทฯ ถือเป็น เงินลงทุนทั่วไปแสดงในราคาทุนปรับลดด้วยค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน โดยแปลงค่าเป็นเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ ต้นทุนของเงินลงทุนระยะยาวที่จ�ำหน่ายระหว่างปี ค�ำนวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก 4.14 ค่าความนิยม บริษัทฯ บันทึกมูลค่าเริ่มแรกของค่าความนิยมในราคาทุน ซึ่งเท่ากับต้นทุนการรวมธุรกิจส่วนที่สูงกว่ามูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์สทุ ธิที่ได้มา หากมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธิที่ได้มาสูงกว่าต้นทุนการรวมธุรกิจ บริษทั ฯ จะรับรูส้ ว่ นทีส่ งู กว่านี้ เป็นก�ำไรในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนทันที บริษัทฯ แสดงค่าความนิยมตามราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) และจะทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยม ทุกปี หรือเมื่อใดก็ตามที่มีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่าเกิดขึ้น 4.15 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ได้แก่ อสังหาริมทรัพย์ทถี่ อื ครองเพือ่ หาประโยชน์จากรายได้คา่ เช่า หรือจากมูลค่าทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือทัง้ สองอย่าง ทัง้ นีไ้ ม่ได้มไี ว้เพือ่ ขายตามปกติธรุ กิจ หรือใช้ในการผลิต หรือจัดหาสินค้า หรือให้บริการ หรือใช้ในการบริหารงาน อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสือ่ มราคาสะสมและค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ค�ำนวณโดยวิธีเส้นตรงในระยะเวลา 20 - 34 ปี
154
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน
4. สรุปนโยบายบัญชีที่ส�ำคัญ (ต่อ) 4.16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ บันทึกราคาสินทรัพย์ ในราคาทุน ราคาทุนประกอบด้วย ต้นทุนเริ่มแรกเพื่อให้ได้มาซึ่ง สินทรัพย์ ต้นทุนการรือ้ ถอน การขนย้าย และการบูรณะสภาพของสินทรัพย์หกั ด้วยค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) การก�ำหนดค่าเสื่อมราคา พิจารณาแต่ละส่วนแยกต่างหากจากกัน เมื่อแต่ละส่วนประกอบนั้นมีสาระส�ำคัญ อาคาร และอุปกรณ์ ตัดค่าเสื่อมราคาโดยใช้วิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์มีดังต่อไปนี้ อาคาร และสิ่งปลูกสร้าง 20 - 34 ปี ระบบสาธารณูปโภค 10 ปี ถนน และทางเท้า 15 - 25 ปี สินทรัพย์อื่น 5 ปี 4.17 ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน แสดงในราคาทุน ซึ่งประกอบด้วยต้นทุนในการได้มาซึ่งที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าใช้จ่ายและ ดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้องกับโครงการ 4.18 ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ คือ จ�ำนวนของมูลค่าตามบัญชีทสี่ งู กว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์ ซึง่ จะบันทึก เป็นผลขาดทุนจากการด้อยค่าในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และเมือ่ มีขอ้ บ่งชีแ้ สดงให้เห็นว่ารายการขาดทุนจากการด้อยค่านัน้ ได้ลดลงอย่างเป็นสาระส�ำคัญ จะบันทึกเป็นรายการขาดทุนของการด้อยค่าสินทรัพย์กลับบัญชีซงึ่ แสดงในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 4.19 บัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ บัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันสิ้นปี แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ซึ่งก�ำหนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ก�ำไรขาดทุนจากการแปลงค่าแสดงรวมไว้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 4.20 สิทธิการเช่า สิทธิการเช่าแสดงในราคาทุนสุทธิจากการตัดจ่ายตามระยะเวลาของสัญญาเช่า 4.21 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ประกอบด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รอตัดจ่ายภายใน 10 ปี ส่วนค่าใช้จ่ายอื่นรอการตัดจ่าย ตัดจ่ายภายใน 5 ปี
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
155
งบการเงิน
4. สรุปนโยบายบัญชีที่ส�ำคัญ (ต่อ)
4.22 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ประกอบด้วยภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน บริษัทฯ บันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบันตามจ�ำนวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยค�ำนวณจาก ก�ำไรทางภาษี ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯ บันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ และหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องนั้น โดยใช้อัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯ รับรู้หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวที่ต้องเสียภาษีทุกรายการ แต่รับรู้สินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ส�ำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ ใช้หักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ในจ�ำนวน เท่าที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่บริษัทฯจะมีก�ำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราว ที่ใช้หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้นั้น บริษัทฯ จะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงานและจะท�ำการ ปรับลดมูลค่าตามบัญชีดังกล่าว หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่า บริษัทฯ จะไม่มีก�ำไรทางภาษีเพียงพอต่อการน�ำ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ บริษัทฯ จะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี โดยตรง ไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น หากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับรายการที่ได้บันทึกโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น 4.23 ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ค�ำนวณโดยการหารยอดก�ำไร(ขาดทุน)สุทธิส�ำหรับปี ด้วยจ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ที่จ�ำหน่ายและเรียกช�ำระแล้ว ก�ำไรต่อหุน้ ปรับลด ค�ำนวณโดยการหารยอดก�ำไร(ขาดทุน)สุทธิสำ� หรับปี ด้วยจ�ำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักทีอ่ อก และเรียกช�ำระแล้ว บวกด้วยจ�ำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯ อาจต้องออกเพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่า ปรับลดทั้งสิ้นให้เป็นหุ้นสามัญ โดยสมมติว่าได้มีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออกหุ้นสามัญเทียบเท่า 4.24 รายการกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน หมายถึง บุคคลและกิจการทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกันกับกลุม่ บริษทั และบริษทั โดยการถือหุน้ ร่วมกันหรือการมีผู้ถือหุ้น หรือกรรมการบางส่วนร่วมกัน รายการบัญชีที่เกิดขึ้นได้ก�ำหนดโดยใช้ราคาตามปกติทางการค้า กับบริษัทอื่น บุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันได้แสดงรายการอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 8, 10, 11, 12, 13, 14 , 37 และ 39 4.25 ประมาณการหนีส้ นิ บริษัทฯ จะบันทึกประมาณการหนี้สินเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ของการเกิดภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมาย หรือจากการอนุมานอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ ในอดีต ภาระผูกพันดังกล่าวคาดว่าจะส่งผลให้สูญเสียทรัพยากร ทีม่ ปี ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจ เพือ่ จ่ายช�ำระภาระผูกพันและจ�ำนวนทีต่ อ้ งจ่ายสามารถประมาณการได้อย่างน่าเชือ่ ถือ หากบริษทั ฯ คาดว่าจะได้รับคืนรายจ่ายที่จ่ายช�ำระไปตามประมาณการหนี้สินทั้งหมดหรือบางส่วนอย่างแน่นอน บริษัทฯ จะรับรู้รายจ่าย ที่ได้รับคืนเป็นสินทรัพย์แยกต่างหากแต่ต้องไม่เกินจ�ำนวนประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวข้อง
156
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน
4. สรุปนโยบายบัญชีที่ส�ำคัญ (ต่อ)
4.26 ผลประโยชน์พนักงาน 4.26.1 กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ จัดให้มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งเป็นลักษณะของแผนการจ่ายสมทบตามที่ได้ก�ำหนดการจ่ายสมทบไว้แล้ว สินทรัพย์ของกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพได้แยกออกไปจากสินทรัพย์ของบริษทั และได้รบั การบริหารโดยผูจ้ ดั การกองทุนภายนอก กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพดังกล่าวได้รบั เงินสะสมเข้ากองทุนจากพนักงาน และเงินสมทบจากบริษทั เงินจ่ายสมทบกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น 4.26.2 ผลประโยชน์พนักงาน บริษทั ฯ จัดให้มผี ลประโยชน์ของพนักงานหลังการเลิกจ้าง เพือ่ จ่ายให้พนักงานเป็นไปตามกฎหมายแรงงานไทย มูลค่า ปัจจุบันของหนี้สินผลประโยชน์พนักงานได้ถูกรับรู้รายการในงบการเงินโดยการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย จากผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระ (นักคณิตศาสตร์ประกันภัย) ด้วยใช้วธิ คี ดิ ลดแต่ละหน่วยทีป่ ระมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) ภายใต้สมมติฐานเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคตที่บริษัทฯ ก�ำหนดขึ้นอย่างเหมาะสม ผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ส�ำหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู้ทันทีในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 4.27 ส่วนงานด�ำเนินงาน ส่วนงานด�ำเนินงาน เป็นการน�ำเสนอมุมมองของผู้บริหารในการรายงานข้อมูลส่วนงาน โดยข้อมูลส่วนงานอ้างอิงจาก ข้อมูลภายในที่ได้รายงานต่อผู้มีอ�ำนาจ ตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานของบริษัทฯอย่างสม�่ำเสมอ การเปลีย่ นแปลงการน�ำเสนอและการเปิดเผยข้อมูลส่วนงานนี้ไม่มผี ลกระทบทีม่ สี าระส�ำคัญต่อข้อมูลส่วนงานทีเ่ คยน�ำเสนอ ในงบการเงินของบริษัทฯ และไม่มีผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน หรือก�ำไรต่อหุ้นของบริษัทฯ 4.28 การวัดมูลค่ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลของบริษทั หลายข้อก�ำหนดให้มกี ารวัดมูลค่ายุตธิ รรมทัง้ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงิน และไม่ใช่ทางการเงิน บริษัทฯ ก�ำหนดกรอบแนวคิดของการควบคุมเกี่ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรม กรอบแนวคิดนี้รวมถึงผู้ประเมินมูลค่า ซึ่งมี ความรับผิดชอบโดยรวมต่อการวัดมูลค่ายุตธิ รรมทีม่ นี ยั ส�ำคัญ รวมถึงการวัดมูลค่ายุตธิ รรมระดับ 3 และรายงานโดยตรงต่อผูบ้ ริหาร สูงสุดทางด้านการเงิน ผูป้ ระเมินมูลค่ามีการทบทวนข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ และปรับปรุงการวัดมูลค่าทีม่ นี ยั ส�ำคัญอย่างสม�ำ่ เสมอหากมีการ ใช้ข้อมูลจากบุคคลที่สามเพื่อวัดมูลค่ายุติธรรม เช่น ราคาจากนายหน้า หรือการตั้งราคาผู้ประเมินได้ประเมินหลักฐานที่ได้มา จากบุคคลที่สามที่สนับสนุนข้อสรุปเกี่ยวกับการวัดมูลค่ารวมถึงการจัดระดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมว่าเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ ในมาตรฐานการรายงานทางการเงินอย่างเหมาะสม เมื่อวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หรือหนี้สิน บริษัทได้ใช้ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ให้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ มูลค่า ยุติธรรมเหล่านี้ถูกจัดประเภทในแต่ละล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมตามข้อมูลที่ใช้ในการประเมินมูลค่าดังนี้ - ข้อมูลระดับ 1 เป็นราคาเสนอซือ้ ขาย (ไม่ตอ้ งปรับปรุง) ในตลาดทีม่ สี ภาพคล่องส�ำหรับสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ อย่างเดียวกัน และกิจการสามารถเข้าถึงตลาดนั้น ณ วันที่วัดมูลค่า - ข้อมูลระดับ 2 เป็นข้อมูลอืน่ ทีส่ งั เกตได้โดยตรง (เช่น ราคาขาย) หรือโดยอ้อม (เช่น ราคาทีส่ งั เกตได้) ส�ำหรับสินทรัพย์นนั้ หรือหนี้สินนั้นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้อขายซึ่งรวมอยู่ในข้อมูลระดับ 1 - ข้อมูลระดับ 3 เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ส�ำหรับสินทรัพย์นั้นหรือหนี้สินนั้น
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
157
งบการเงิน
4. สรุปนโยบายบัญชีที่ส�ำคัญ (ต่อ) 4.28 การวัดมูลค่ายุติธรรม (ต่อ) หากข้อมูลทีน่ ำ� มาใช้ในการวัดมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ถูกจัดประเภทล�ำดับชัน้ ทีแ่ ตกต่างกันของมูลค่ายุตธิ รรม ในภาพรวม การวัดมูลค่ายุตธิ รรมในภาพรวมจะถูกจัดประเภทในระดับเดียวกันกับล�ำดับชัน้ ของมูลค่ายุตธิ รรมของข้อมูลทีอ่ ยู่ ในระดับต�่ำสุดที่มีนัยส�ำคัญส�ำหรับการวัดมูลค่ายุติธรรมในภาพรวม บริษัทฯ รับรู้การโอนระหว่างล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานที่การโอนเกิดขึ้น 4.29 การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ ในการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ และ การประมาณการในเรือ่ ง ที่มีความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อจ�ำนวนเงินที่แสดงในงบการเงิน และต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจ�ำนวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่ส�ำคัญมีดังนี้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดว่า จะเกิดขึน้ จากลูกหนีแ้ ต่ละราย โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนีท้ คี่ งค้างและสภาวะเศรษฐกิจทีเ่ ป็นอยู่ ในขณะนั้น เป็นต้น ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ บริษัทฯ จะตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายและเงินลงทุนทั่วไปเมื่อมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน ดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระส�ำคัญและเป็นระยะเวลานานหรือเมือ่ มีขอ้ บ่งชีข้ องการด้อยค่า การทีจ่ ะสรุปว่าเงินลงทุนดังกล่าว ได้ลดลงอย่างมีสาระส�ำคัญหรือเป็นระยะเวลานานหรือไม่นั้นจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ในการค�ำนวณค่าเสือ่ มราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องท�ำการประมาณอายุการให้ประโยชน์และมูลค่า คงเหลือเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุน จากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้อง ใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลค่าของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน ณ วันที่ได้มา ตลอดจนการทดสอบการด้อยค่าในภายหลัง ฝ่ายบริหาร จ�ำเป็นต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์ หรือ หน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการค�ำนวณหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯ จะรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีส�ำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและขาดทุนทางภาษีที่ไม่ได้ใช้ เมือ่ มีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ บริษทั ฯ จะมีกำ� ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวและ ขาดทุนนั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องประมาณการว่าบริษัทฯ ควรรับรู้จ�ำนวนสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็น จ�ำนวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจ�ำนวนก�ำไรทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา
158
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน
4. สรุปนโยบายบัญชีที่ส�ำคัญ (ต่อ) 4.29 การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ (ต่อ) สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงานหรือสัญญาเช่าการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจ ในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนีส้ นิ ตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานประมาณขึน้ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึง่ ต้องอาศัย ข้อสมมติฐานต่างๆในการประมาณการนั้น เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตรา การเปลี่ยนแปลงในจ�ำนวนพนักงาน เป็นต้น คดีฟ้องร้อง บริษทั มีหนีส้ นิ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ซึง่ ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประเมินผลของคดี ที่ถูกฟ้องร้องแล้วและเชื่อมั่นว่าจะไม่มีความเสียหายเกิดขึ้นจึงไม่ได้บันทึกประมาณการหนี้สินดังกล่าว ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน
5. การรับโอนกิจการ ตามที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 46 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 ซึ่งที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้บริษัทฯ รับโอนกิจการทั้งหมดของ บริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (“PH”) รวมถึงการท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดใน บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“PR”) และ บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอร์รี่ จ�ำกัด (มหาชน) (“PB”) อันเป็นผลมาจากการรับโอนกิจการทั้งหมดของบริษัท เพรซิเดนท์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 บริษัทฯ ได้เข้ารับโอนกิจการทั้งหมดของ บริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด โดยรับโอนสินทรัพย์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจการ ซึ่งรวมถึงสิทธิและหนี้สินที่เกี่ยวกับธุรกิจให้เช่าระยะยาวยานพาหนะและเครื่องจักร (หน่วย : บาท) สินทรัพย์และหนี้สิน ที่ระบุได้ ณ วันรับโอนกิจการ เงินลงทุนในบริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“TF”) เงินลงทุนในบริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“PR”) เงินลงทุนในบริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) (“PB”) เงินลงทุนในบริษัท เอส. แพ็ค แอนด์ พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) (“SPACK”) เงินลงทุนในบริษัท เพรซิเดนท์อินเตอร์ฟูด จ�ำกัด (“PI”) เงินลงทุนระยะยาวในบริษัท ศรีราชาขนส่ง จ�ำกัด (“STC”) เงินลงทุนระยะยาวในบริษัท ไทซันฟูดส์ จ�ำกัด (“TSC”) ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าทางการเงิน สุทธิ เงินประกันตามสัญญาเช่าการเงิน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์สุทธิ สิ่งตอบแทนในการจ่ายซื้อ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ เงินสดที่จ่ายไปในการซื้อ หัก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริษัทย่อย (“PI”) กระแสเงินสดจ่ายในการรับโอนกิจการ - สุทธิจากเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดที่ได้รับ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
33,072,000.00 2,954,479,250.00 5,404,800,000.00 7,637,604.00 18,921,831.34 2,295,446.00 10,499,031.59 165,733,250.00 (31,961,444.00) 170,000.00 8,565,646,968.93 (7,748,000,000.00) 817,646,968.93 7,748,000,000.00 (6,000,952.48) 7,741,999,047.52
159
งบการเงิน
5. การรับโอนกิจการ (ต่อ)
ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2559) บริษัทฯ จะต้องพิจารณามูลค่ายุติธรรมสุทธิของสินทรัพย์ หนี้สิน และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่ระบุได้จากการรับโอนกิจการของบริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด ณ วันที่รับโอน บริษัทฯ ได้ประเมินมูลค่า ยุติธรรมเสร็จสิ้นแล้ว ส่วนต่างของมูลค่าสินทรัพย์สุทธิกับต้นทุนการจ่ายซื้อทั้งสิ้น 817.65 ล้านบาท จึงได้บันทึกเป็น “ก�ำไรจากการต่อ รองราคาซื้อ” แสดงไว้เป็นรายได้อื่นในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม เนื่องจากการรับโอนกิจการทั้งหมดของ บริษัท เพรซิเดนท์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัทฯ ได้รับโอนหุ้นในบริษัทดังกล่าวข้างต้น จ�ำนวน 7 บริษัท มีผลท�ำให้สัดส่วนการถือหุ้นเปลี่ยนแปลงดังนี้ (หน่วย : บาท) มู ล ค่ า เงิ น ลงทุ น หลั ง การรั บ โอนกิ จการ สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) ก่อนการรับ หลังการรับ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ โอนกิจการ โอนกิจการ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักซ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอส.แพ็ค แอนด์ พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เพรซิเดนท์อินเตอร์ฟูด จ�ำกัด บริษัท ศรีราชาขนส่ง จ�ำกัด บริษัท ไทซันฟูดส์ จ�ำกัด
21.96 3.01 2.82 0.00 0.00 18.00 0.00
22.04 35.76 21.58 0.98 51.00 38.00 6.00
3,579,550,980.63 3,225,604,250.00 6,215,654,400.00 7,637,604.00 18,921,831.34 5,247,802.50 10,499,031.59
119,255,895.47 2,877,441,550.00 5,757,935,400.00 8,070,261.00 12,321,654.00 5,315,611.50 8,959,674.00
จากการรับโอนกิจการทั้งหมดของ บริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด มีผลท�ำให้ บริษัท เพรซิเดนท์อินเตอร์ฟูด จ�ำกัด เป็นบริษัทย่อย และ บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักซ์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทร่วม ณ วันที่ 2 สิงหาคม 2560 บริษัทฯ ได้มีการจ�ำหน่ายเงินลงทุนใน บริษัท ศรีราชาขนส่ง จ�ำกัด ให้บริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง ในสัดส่วนร้อยละ 20 ท�ำให้สัดส่วนการถือหุ้นหลังจ�ำหน่าย เป็นร้อยละ 18 จากการรับโอนสินทรัพย์และหนี้สินทั้งหมดของ บริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จ�ำกัด ท�ำให้บริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในบริษัท เพรซิเดนท์อนิ เตอร์ฟูด จ�ำกัด เป็นสัดส่วนร้อยละ 51 ท�ำให้บริษัทฯ ได้อำ� นาจควบคุมในบริษัทดังกล่าว และบันทึกเป็น เงินลงทุนในบริษทั ย่อย ซึ่งมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ และหนี้สินในบริษัท เพรซิเดนท์อินเตอร์ฟูด จ�ำกัด เป็นดังนี้ (หน่วย : บาท) มูลค่าตามยุติธรรมของกิจการ ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2560 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า และเจ้าหนี้อื่น ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น ผลประโยชน์พนักงาน สินทรัพย์สุทธิ ส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในบริษัทย่อย ณ วันซื้อ สินทรัพย์สุทธิที่ได้รับ
160
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
6,000,952.48 51,042,440.82 5,993,382.13 98,434.58 5,515,734.00 2,480,538.31 1,200.00 (659,280.66) (799,089.51) (4,994,012.63) (27,578,670.00) 37,101,629.52 (18,179,798.18) 18,921,831.34
งบการเงิน
5. การรับโอนกิจการ (ต่อ)
ตามที่บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการเข้ารับโอนกิจการทั้งหมดของบริษัท เพรซิเดนท์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด และได้มาซึ่งหุ้นสามัญในบริษัท เพรซิเดนท์ ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) จนมีสัดส่วนการถือหุ้นข้ามจุดที่ต้องท�ำ ค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดใน บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) (Mandatory Tender Offer) บริษัทฯ จึงมีหน้าที่ต้องท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดใน บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) ที่ราคาหุ้นละ 53.15 บาท และ บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) ที่ราคาหุ้นละ 58.58 บาท ตามหลักเกณฑ์ของประกาศ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ ทจ.12/2554 โดย ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2560 บริษัทฯ ได้รับซื้อหลักทรัพย์ของบริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์ โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) ตามที่มีผู้แสดงเจตนาขายจ�ำนวน 691,150 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.46 ของหุ้นที่จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมดและได้ รับซื้อหลักทรัพย์ของบริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) ตามที่มีผู้แสดงเจตนาขาย จ�ำนวน 7,800 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00169 ของหุ้นที่จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมด
6. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ได้แก่ เงินสดในมือและเงินฝากสถาบันการเงิน ประกอบด้วย งบการเงินรวม เงินสดในมือ เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ รวม
2560 1,829,711.00 4,522,155.61 92,404,672.30 98,756,538.91
งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2559 1,289,654.88 1,563,567.18 101,282,738.99 104,135,961.05
(หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 1,798,736.02 3,494,428.93 85,987,841.23 91,281,006.18
2559 1,289,654.88 1,563,567.18 101,282,738.99 104,135,961.05
7. เงินลงทุนชั่วคราว
ใบรับเงินฝากประจำ� ( ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จากสถาบันการเงินหนึง่ แห่ง รวม 11 ฉบับ อัตราดอกเบีย้ 1.65 - 1.75%) เงินฝากประจำ�ธนาคาร รวม
(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม
2560 47,000,000.00
2559
14,042,440.82 61,042,440.82
0.00 0.00 0.00
8. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้การค้า และลูกหนี้หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีรายละเอียด ดังนี้
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวม
2560 219,155,460.57 (54,250.00) 219,101,210.57
งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2559 172,457,582.50 0.00 172,457,582.50
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 212,815,614.91 (54,250.00) 212,761,364.91
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
2559 172,457,582.50 0.00 172,457,582.50 161
งบการเงิน
8. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกันแยกตามอายุหนี้ที่ค้างช�ำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ได้ดังนี้
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 3 เดือน มากกว่า 3 เดือน ถึง 6 เดือน มากกว่า 6 เดือน ถึง 12 เดือน มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีห้ มุนเวียนอืน่ กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน
2560 209,483,922.92 9,609,899.50 5,450.00 28,498.15 27,690.00 219,155,460.57 (54,250.00) 219,101,210.57
งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2559 163,711,933.43 8,599,299.68 25,535.60 21,630.00 99,183.79 172,457,582.50 0.00 172,457,582.50
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 204,044,214.76 8,709,762.00 5,450.00 28,498.15 27,690.00 212,815,614.91 (54,250.00) 212,761,364.91
2559 163,711,933.43 8,599,299.68 25,535.60 21,630.00 99,183.79 172,457,582.50 0.00 172,457,582.50
9. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น - อื่นๆ ลูกหนี้การค้า และลูกหนี้หมุนเวียนอื่น-อื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีรายละเอียด ดังนี้
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม 2560 26,461,743.36 7,910,110.91 34,371,854.27
ลูกหนี้การค้า - อื่นๆ ลูกหนี้หมุนเวียนอื่น รวม
งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2559 23,717,627.27 2,932,853.58 26,650,480.85
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 26,461,743.36 7,783,029.01 34,244,772.37
2559 23,717,627.27 2,932,853.58 26,650,480.85
ลูกหนี้การค้า - อื่นๆ แยกตามอายุหนี้ที่ค้างช�ำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ได้ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 3 เดือน มากกว่า 3 เดือน ถึง 6 เดือน มากกว่า 6 เดือน ถึง 12 เดือน มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - อื่นๆ
162
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
2560 24,426,076.01 2,164,902.68 37,761.46 140,609.09 4,024,729.55 30,794,078.79 (4,332,335.43) 26,461,743.36
2559 21,422,321.24 752,231.93 1,978,371.19 318,248.50 3,242,102.43 27,713,275.29 (3,995,648.02) 23,717,627.27
2560 24,426,076.01 2,164,902.68 37,761.46 140,609.09 4,024,729.55 30,794,078.79 (4,332,335.43) 26,461,743.36
2559 21,422,321.24 752,231.93 1,978,371.19 318,248.50 3,242,102.43 27,713,275.29 (3,995,648.02) 23,717,627.27
งบการเงิน
10. ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ แบ่งตามระยะเวลาครบก�ำหนดตามสัญญาได้ดังนี้
(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ
มูลค่าตามสัญญา
ส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ภายใน 1 ปี
ลูกหนี้เช่าซื้อ-ยานพาหนะ รายได้ดอกเบี้ยรับรอตัดบัญชี ลูกหนี้เช่าซื้อ เงินประกัน ลูกหนี้เช่าซื้อ สำ�รองค่าเผื่อหนี้สูญ-ลูกหนี้เช่าซื้อ-ยานพาหนะ ลูกหนี้เช่าซื้อ -สุทธิ
178,912,550.08 (54,875,476.46) 124,037,073.62 (27,330,693.08) 96,706,380.54 (1,240,370.74) 95,466,009.80
90,546,255.00 (32,434,121.25) 58,112,133.75 (10,000,700.00) 48,111,433.75 (581,121.34) 47,530,312.41
เกิน 1 ปี 88,366,295.08 (22,441,355.21) 65,924,939.87 (17,329,993.08) 48,594,946.79 (659,249.40) 47,935,697.39
(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 81,905,425.04 13,560,584.76 95,466,009.80
ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ-กิจการอื่น รวมลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ
2559 0.00 0.00 0.00
10.1 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดังนี้
(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ
กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน
ส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ภายใน 1 ปี
ลูกหนี้เช่าซื้อ-ยานพาหนะ รายได้ดอกเบี้ยรับรอตัดบัญชี ลูกหนี้เช่าซื้อ เงินประกัน ลูกหนี้เช่าซื้อ สำ�รองค่าเผื่อหนี้สูญ-ลูกหนี้เช่าซื้อ-ยานพาหนะ ลูกหนี้เช่าซื้อ -สุทธิ
134,338,169.08 (43,416,514.41) 90,921,654.67 (8,107,013.08) 82,814,641.59 (909,216.55) 81,905,425.04
65,917,768.00 (26,004,758.23) 39,913,009.77 (920,300.00) 38,992,709.77 (399,130.10) 38,593,579.67
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
เกิน 1 ปี 68,420,401.08 (17,411,756.18) 51,008,644.90 (7,186,713.08) 43,821,931.82 (510,086.45) 43,311,845.37
163
งบการเงิน
10. ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ-กิจการที่เกี่ยวข้องกันแบ่งตามงวดค้างช�ำระได้ดังนี้ (หน่วย : บาท) อายุลูกหนี้ ลูกหนี้ปกติและค้างชำ�ระไม่เกิน 1 งวด รวม
ยอดลูกหนี้หลังหัก อัตราค่าเผื่อหนี้ รายได้ดอกเบี้ย สงสัยจะสูญ รอการรับรู้
จำ�นวนสัญญา 167 167
6 6
90,921,654.67 90,921,654.67
1%
ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ 909,216.55 909,216.55
10.2 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ-กิจการอื่น มีดังนี้
(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ
กิจการอื่น
ส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ภายใน 1 ปี
ลูกหนี้เช่าซื้อ-ยานพาหนะ รายได้ดอกเบี้ยรับรอตัดบัญชี ลูกหนี้เช่าซื้อ เงินประกัน ลูกหนี้เช่าซื้อ สำ�รองค่าเผื่อหนี้สูญ-ลูกหนี้เช่าซื้อ-ยานพาหนะ ลูกหนี้เช่าซื้อ -สุทธิ
44,574,381.00 (11,458,962.05) 33,115,418.95 (19,223,680.00) 13,891,738.95 (331,154.19) 13,560,584.76
24,628,487.00 (6,429,363.02) 18,199,123.98 (9,080,400.00) 9,118,723.98 (181,991.24) 8,936,732.74
เกิน 1 ปี 19,945,894.00 (5,029,599.03) 14,916,294.97 (10,143,280.00) 4,773,014.97 (149,162.95) 4,623,852.02
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ-กิจการอื่น แบ่งตามงวดค้างช�ำระได้ดังนี้ (หน่วย : บาท) อายุลูกหนี้ ลูกหนี้ปกติและค้างชำ�ระไม่เกิน 1 งวด รวม
ยอดลูกหนี้หลังหัก อัตราค่าเผื่อหนี้ รายได้ดอกเบี้ย สงสัยจะสูญ รอการรับรู้
จำ�นวนสัญญา 36 36
6 6
33,115,418.95 33,115,418.95
164
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
1%
ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ 331,154.19 331,154.19
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29
ลำ�ดับ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ (หลังควบรวมกิจการ) เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล สหพัฒนพิบูล ไทยวาโก้ ธนูลักษณ์ ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ (ก่อนควบรวมกิจการ) เพรซเดนท์ไรซ์โปรดักส์ (ก่อนควบรวมกิจการ) ไลอ้อน (ประเทศไทย) อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอราทอรีส์ ฮูเวอร์อุตสาหกรรม (ประเทศไทย) รักษาความปลอดภัย ไทยซีคอม (เดิมชื่อ ไทยซีคอมพิทักษ์กิจ) สหพัฒน์เรียลเอสเตท เฟิสท์ยูไนเต็ดอินดัสตรี ท้อปเทร็นด์ แมนูแฟคเจอริ่ง บุญ แคปปิตอลโฮลดิ้ง สห โตคิว คอร์ปอเรชั่น สหชลผลพืช พิทักษ์กิจ อีสเทิร์น ไทย คอนซัลติ้ง 1992 เส-นอร์สห โลจิสติกส์ ไหมทอง กรีน ไลฟ์ แมนเนจเมนท์ ทรัพย์สินสหพัฒน์ เอส.ที.(ไทยแลนด์) CANCHANA INTERNATIONAL CO., LTD. เอส. แอพพาเรล แชมป์เอช ที.ยู.ซี.อีลาสติค
รวม หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่า รวมเงินลงทุนในบริษัทร่วม
บจ. บจ. บจ.
บมจ. บมจ. บมจ. บมจ. บมจ. บมจ. บมจ. บมจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ.
ชื่อบริษัท
11.1 เงินลงทุนในบริษัทร่วม
11. เงินลงทุนในบริษัทร่วม
บะหมี่กึ่งสำ�เร็จรูป เบเกอรี่ ฟาสต์ฟดู้ ภัตตาคาร อุปโภคบริโภค อุปโภคบริโภค ชุดชั้นใน เสื้อผ้า บะหมี่กึ่งสำ�เร็จรูป ผลิตภัณฑ์จากข้าว ผงซักฟอก เครื่องสำ�อาง บรรจุภัณฑ์พลาสติก ระบบรักษาความปลอดภัย พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ลงทุน บรรจุภัณฑ์พลาสติก ลงทุน บริการบ้านพัก เกษตร บริการ ธุรกิจสิ่งแวดล้อม ระบบขนส่งสินค้า เสื้อผ้า บริการห้องพัก ลงทุน ถุงมือยาง จำ�หน่ายสินค้า เสื้อผ้า เสื้อผ้า ผ้ายืดเพาเวอร์เนท
ประเภทกิจการ
A, B, E, F A, B, E, F A, B, E, F A, B, E, F A, B, E, F A, E, F A, B, E, F A, E, F A, B, E, F A, B, E, F A, B, E, F A, B, E A, B, C, E, F A, B, E, F A, B, E, F A, B A, B, C, E A, B, C, E, F A, B, C, E, F A, B, E A, B, E A, B, C, E A, B, E A, B, E, F A, B, C, E, F A, B, F A, E, F A, B, E, F A, B, E, F
ลักษณะ ความสัมพันธ์
2559 25.06 21.58 22.49 20.00 21.26 23.52 24.80 25.00 33.58 25.50 40.00 28.15 20.00 36.00 20.00 26.30 33.52 40.00 23.50 32.11 30.00 26.25 -
2560 22.49 20.00 21.26 23.52 21.96 24.80 25.00 37.73 25.50 40.00 28.15 20.00 36.00 20.00 24.78 33.52 40.00 23.50 32.11 30.00 26.25 23.75 20.00 20.00 22.50 -
2559
(ร้อยละ)
(พันบาท)
329,704 450,000 290,634 290,634 330,000 330,000 120,000 120,000 120,000 120,000 180,000 300,000 300,000 120,000 120,000 60,000 60,000 378,934 378,934 250,000 412,500 40,000 40,000 120,000 120,000 270,000 343,000 332,000 332,000 345,000 325,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 111,250 111,250 10,000 10,000 20,000 20,000 142,000 - KHR 2,000,000 36,000 40,000 -
2560
สัดส่วนเงินลงทุน
ทุนชำ�ระแล้ว
(บาท) 2559 (ปรับปรุงใหม่)
งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2560
(บาท)
702,907,481.99 319,800,476.00 63,545,155.00 28,688,920.22 90,310,095.47 74,400,000.00 165,000,000.00 22,639,600.00 196,965,028.00 100,000,000.00 11,258,200.00 47,625,000.00 97,199,990.00 66,400,000.00 148,407,884.00 6,704,000.00 10,000,000.00 17,285,646.74 58,152,029.69 11,049,900.00 5,250,000.00 33,725,000.00 3,236,800.00 7,200,000.00 9,000,000.00 2,296,751,207.11 (93,659,929.16) 2,203,091,277.95
2559
งบการเงินเฉพาะกิจการ วิธีราคาทุน
6,692,685,940.83 - 3,180,573,043.07 6,314,305,384.45 - 5,758,392,324.00 3,766,776,555.34 3,654,021,352.40 702,907,481.99 2,699,894,002.18 2,502,413,250.88 319,955,400.86 1,184,042,965.09 1,144,839,092.66 63,545,155.00 819,723,884.25 803,225,676.80 28,688,920.22 - 3,426,108,432.19 1,029,707,130.57 995,547,504.52 74,400,000.00 936,655,613.04 901,120,118.67 165,000,000.00 668,315,901.93 627,420,666.49 20,149,600.00 239,921,318.34 230,562,294.82 196,965,028.00 213,136,327.04 163,851,521.75 165,000,000.00 141,455,520.31 124,495,661.15 11,258,200.00 122,253,183.55 115,630,802.89 47,625,000.00 123,500,609.84 97,005,316.02 123,479,990.00 71,694,803.36 66,637,227.40 66,400,000.00 55,574,960.76 67,410,379.08 148,407,884.00 54,578,477.73 60,622,357.42 6,704,000.00 27,150,305.85 25,246,647.61 10,000,000.00 18,659,828.17 22,767,200.11 17,285,646.74 12,353,023.27 12,353,023.27 58,152,029.69 8,961,259.47 10,702,689.37 11,049,900.00 5,250,000.00 50,809,940.98 6,894,743.58 3,214,412.52 25,579,016.87 25,201,346,995.37 15,138,479,329.45 11,181,189,603.57 (12,353,023.27) - (141,518,748.56) 25,188,993,972.10 15,138,479,329.45 11,039,670,855.01
2560
งบการเงินรวม
68,960,454.00 75,156,686.00 118,800,117.00 33,166,250.00 23,987,697.00 199,126,306.40 53,143,587.00 140,184,480.00 21,000,000.00 22,639,600.00 18,521,579.50 3,377,460.00 1,440,000.00 335,200.00 800,000.00 1,200,000.00 210,000.00 505,875.00 782,555,291.90 782,555,291.90
2560
(บาท)
เงินปันผล
68,621,322.00 72,600,071.50 28,063,750.00 21,165,615.00 187,328,686.80 79,236,000.00 24,000,000.00 19,243,660.00 1,000,000.00 3,377,460.00 335,200.00 800,000.00 940,000.00 1,200,000.00 525,000.00 505,875.00 372,960.00 509,315,600.30 509,315,600.30
2559
งบการเงิน
165
งบการเงิน
11. เงินลงทุนในบริษัทร่วม (ต่อ)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ บันทึกเงินลงทุนในบริษัทร่วม จ�ำนวน 22 แห่ง และ 26 แห่ง ดังนี้ เงินลงทุนในบริษัทมหาชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ บันทึกเงินลงทุนและส่วนได้เสียจากงบการเงิน ที่ผ่านการตรวจสอบแล้ว จ�ำนวน 1 แห่ง มียอดเงินลงทุน จ�ำนวน 2,699.89 ล้านบาท และ 2,502.41 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.69 และ 9.96 ของ ยอดรวมสินทรัพย์ มีส่วนแบ่งก�ำไร จ�ำนวน 306.84 ล้านบาท และ 272.56 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.68 และ 16.06 ของ ก�ำไรสุทธิของแต่ละปี ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ บันทึกเงินลงทุนและส่วนได้เสียจากงบการเงิน ที่ผ่านการตรวจสอบแล้ว โดยผูส้ อบบัญชีสำ� นักงานอืน่ จ�ำนวน 5 แห่ง และ 4 แห่ง มียอดเงินลงทุน จ�ำนวน 18,777.53 ล้านบาท และ 9,028.18 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 53.45 และ 35.93 ของยอดรวมสินทรัพย์ มีส่วนแบ่งก�ำไร จ�ำนวน 1,077.20 ล้านบาท และ 800.92 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 33.98 และ 47.18 ของก�ำไรสุทธิของแต่ละปี ตามล�ำดับ เงินลงทุนในบริษัทจ�ำกัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ บันทึกเงินลงทุน และส่วนได้เสียในบริษัทจ�ำกัด จากงบการเงินที่ผ่านการ ตรวจสอบแล้ว จ�ำนวน 1 แห่ง มียอดเงินลงทุนจ�ำนวน 1,029.71 ล้านบาท และ 995.55 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.93 และ 3.96 ของยอดรวมสินทรัพย์ มีส่วนแบ่งก�ำไรจ�ำนวน 194.30 ล้านบาท และ 194.45 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.13 และ 11.45 ของก�ำไรสุทธิ ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ บันทึกเงินลงทุน และส่วนได้เสียในบริษัทจ�ำกัด จ�ำนวน 15 แห่ง และ 20 แห่ง จากงบการเงินที่ผ่านการตรวจสอบแล้วโดยผู้สอบบัญชีส�ำนักงานอื่น จ�ำนวน 14 แห่ง และ 16 แห่ง มียอดเงินลงทุน จ�ำนวน 2,639.63 ล้านบาท และ 2,468.41 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.51 และ 9.83 ของยอดรวมสินทรัพย์ มีส่วนแบ่งก�ำไร จ�ำนวน 243.88 ล้านบาท และ 161.98 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.70 และ 9.54 ของก�ำไรสุทธิของแต่ละปี และบันทึกจาก งบการเงินของผูบ้ ริหารทีย่ งั ไม่ผา่ นการตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชี จ�ำนวน 1 แห่ง และ 4 แห่ง มียอดเงินลงทุน จ�ำนวน 54.58 ล้านบาท และ 143.91 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.16 และ 0.57 ของยอดรวมสินทรัพย์ มีส่วนแบ่งขาดทุน จ�ำนวน 6.39 ล้านบาท และ 13.25 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.20 และ 0.78 ของก�ำไรสุทธิของแต่ละปี ตามล�ำดับ นอกจากนี้บริษัทร่วมจ�ำนวน 13 แห่ง ข้างต้น (ปี 2559 จ�ำนวน 19 แห่ง) เป็นกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะดังนั้นจึง ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินส�ำหรับกิจการทีไ่ ม่มสี ว่ นได้เสียสาธารณะ โดยไม่ได้ปฏิบตั ติ ามนโยบายบัญชีเช่นเดียวกับบริษทั และบริษทั ร่วมดังกล่าวไม่ให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมแก่บริษทั ในการจัดท�ำงบการเงิน ให้เสมือนว่าบริษทั ดังกล่าวได้ใช้นโยบายบัญชีเช่นเดียวกัน ซึ่งฝ่ายบริหารของบริษัทฯไม่มีอ�ำนาจควบคุมสั่งการ 11.2 ข้อมูลเพิ่มเติมของบริษัทร่วม ในระหว่างปี บริษทั ฯ จ�ำหน่ายเงินลงทุนใน บริษทั แชมป์เอช จ�ำกัด บางส่วน ท�ำให้สดั ส่วนการถือหุน้ ลดลงจากร้อยละ 22.50 เป็นร้อยละ 17.00 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว และจ�ำหน่ายเงินลงทุนใน บริษัท เอส.ที. (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บางส่วน ท�ำให้ สัดส่วนการถือหุน้ ลดลงจากร้อยละ 23.75 เป็นร้อยละ 18.75 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว และภายหลังการลดสัดส่วนการถือหุน้ บริษัทฯ ไม่ได้มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญในบริษัทดังกล่าวแล้ว ท�ำให้บริษัทฯ ต้องเปลี่ยนสถานะการจัดประเภทเงินลงทุน จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม เป็นเงินลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน-เงินลงทุนทั่วไป ตามหมายเหตุข้อ 13 จากการรับโอนกิจการทัง้ หมดของ บริษทั เพรซิเดนท์โฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั ฯ ได้รบั โอนหุน้ ใน บริษทั เพรซิเดนท์ไรซ์ โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) จากเดิมถือในสัดส่วนร้อยละ 3.01 เป็นร้อยละ 35.76 และรับโอนหุน้ ในบริษทั เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) จากเดิมถือในสัดส่วนร้อยละ 2.82 เป็นร้อยละ 21.58 ท�ำให้บริษัทฯ มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญในบริษัทดังกล่าว บริษทั ฯ ได้โอนเปลีย่ นประเภทเงินลงทุน จากเงินลงทุนในกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันหลักทรัพย์เผือ่ ขายมาเป็นเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ซึง่ ณ วันโอนเปลีย่ นประเภทเงินลงทุน บริษทั ฯ ได้กลับรายการก�ำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการปรับมูลค่ายุตธิ รรมในหลักทรัพย์เผือ่ ขาย จ�ำนวน 812.14 ล้านบาท (สุทธิจากภาษี 203.03 ล้านบาท) ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ และวัดมูลค่าของเงินลงทุนทีถ่ อื อยูเ่ ดิม ด้วยมูลค่ายุติธรรม ท�ำให้มีก�ำไรจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน จ�ำนวน 1,015.17 ล้านบาท แสดงไว้เป็นรายได้อื่น ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
166
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน
11. เงินลงทุนในบริษัทร่วม (ต่อ) 11.2 ข้อมูลเพิ่มเติมของบริษัทร่วม (ต่อ) เมือ่ วันที่ 16 ตุลาคม 2560 บริษทั ไทยเพรซิเดนท์ฟดู ส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ควบรวมกิจการภายใต้ชอื่ บริษทั ใหม่ คือ บริษทั ไทยเพรซิเดนท์ฟดู ส์ จ�ำกัด (มหาชน) หลังการควบรวมกิจการบริษทั ฯ มีสดั ส่วน การถือหุน้ ร้อยละ 25.06 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วของบริษทั ดังกล่าว บริษทั ฯ น�ำเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสียของเงินลงทุน ในบริษัทเดิมมารวมกัน ณ วันก่อนควบรวมกิจการ และรับรู้ส่วนได้เสียของบริษัทใหม่ตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม 2560 เป็นต้นไป บริษัทเดิมทั้งสองมีเงินลงทุนในบริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งบริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ถือเงินลงทุนดังกล่าวเป็นเงินลงทุนเผื่อขาย ผลการควบรวมกิจการท�ำให้สัดส่วนการลงทุนของบริษัทเดิมทั้งสอง ในบริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 46.90 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว และถือเป็นบริษัทย่อย ของบริษทั ไทยเพรซิเดนท์ฟดู ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (บริษทั ใหม่) โดยถือเป็นบริษทั ย่อยภายใต้การควบคุมเดียวกัน ซึง่ ต้องรวมกัน ด้วยราคาตามบัญชี มีผลให้เกิดการกลับรายการผลก�ำไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย ณ วันควบรวมกิจการ และส่งผล ต่อการรับรู้ส่วนได้เสียของบริษัทฯ เป็นจ�ำนวนเงิน 466.59 ล้านบาท ซึ่งแสดงในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (เฉพาะบริษทั ร่วมทีม่ ตี ราสารทุนทีม่ กี ารซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ค�ำนวณจากราคาเสนอซือ้ ปัจจุบนั ณ วันทีใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) มีรายละเอียดดังนี้ มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในบริษัทร่วม ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) บริษัทร่วม 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 บมจ. ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ (หลังควบรวมกิจการ) บมจ. ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ (ก่อนควบรวมกิจการ) บมจ. เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ บมจ. สหพัฒนพิบูล บมจ. ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล บมจ. ไทยวาโก้ บมจ. ธนูลักษณ์ รวม
15,698,389,380.00 0.00 6,167,589,900.00 3,448,503,396.25 2,516,115,140.00 1,192,709,375.00 586,993,056.00 29,610,300,247.25
0.00 7,568,237,030.00 0.00 2,920,502,876.25 2,336,392,630.00 1,205,465,625.00 640,612,614.00 14,671,210,775.25
12. เงินลงทุนในบริษัทย่อย ลำ�ดับที่
ชื่อบริษัท
ประเภทกิจการ
ลักษณะ ความสัมพันธ์
ทุนชำ�ระแล้ว
สัดส่วนเงินลงทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
เงินปันผล
(พันบาท)
(ร้อยละ)
(บาท)
(บาท)
2560 1
บจ. เพรซิเดนท์อินเตอร์ฟูด
อุปโภคบริโภค
A, B, F
2559 3,000
2560 -
2559
51.00
2560 -
2559
12,321,654.00
2560 -
2559 -
-
13. เงินลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
13.1 เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย
ลำ�ดับที่
1 2 3 4 5 6 7
ชื่อบริษัท
ประเภทกิจการ
บมจ. สหโคเจน (ชลบุรี) กระแสไฟฟ้า บมจ. บางกอกรับเบอร์ รองเท้ากีฬา บมจ. แพนเอเซียฟุตแวร์ รองเท้ากีฬา บมจ. เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชั่นแนลฯ เครื่องสำ�อาง LION CORPORATION (JAPAN) ผงซักฟอก บมจ. ซิงเกอร์ประเทศไทย จำ�หน่ายสินค้า บมจ. ประชาอาภรณ์ เสื้อผ้า
ลักษณะ ความสัมพันธ์
A, B, E A, E A, B, E A, B, E, F A, E A, B, E A, B, E, F
ทุนชำ�ระแล้ว
สัดส่วนเงินลงทุน
(พันบาท)
(ร้อยละ)
2560
2559
955,000 275,400 149,930 ¥34,433 270,000 96,000
955,000 1,634,572 275,400 149,930 ¥34,433 270,000 96,000
2560 16.81 5.65 16.02 0.11 2.09 13.78
2559 15.57 4.48 5.65 15.35 0.11 2.09 13.78
งบการเงินรวม
งบการเงิน ทีแ่ สดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย (บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
เงินปันผล
(บาท)
(บาท)
2560
2559
2560
2559
321,685,407.99 195,978,047.96 150,691,632.29 92,656,195.00 76,720,760.76 56,886,983.49
264,227,129.37 197,844,509.73 195,978,047.96 130,042,427.82 92,656,195.00 76,720,760.76 56,886,983.49
321,685,407.99 195,978,047.96 150,691,632.29 92,656,195.00 76,720,760.76 56,886,983.49
264,227,129.37 197,844,509.73 195,978,047.96 130,042,427.82 92,656,195.00 76,720,760.76 56,886,983.49
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
2560
2559
20,817,584.20 14,869,703.00 677,457.60 622,528.60 27,619,285.20 23,016,071.00 1,371,596.21 977,233.73 1,409,300.00 1,691,160.00 -
167
งบการเงิน
13. เงินลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ลำ�ดับที่
ชื่อบริษัท
ประเภทกิจการ
ลักษณะ ความสัมพันธ์
ทุนชำ�ระแล้ว
สัดส่วนเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะ งบการเงิน กิจการ ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย
(พันบาท) 8 9 10 11 12 13 14 15
บมจ. นิวซิตี้ (กรุงเทพฯ) บมจ. เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ บมจ. บูติคนิวซิตี้ บมจ. ฟาร์อีสท์ ดีดีบี บมจ. เพรซิเดนท์ไรซ์ โปรดักส์ บมจ. เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ บมจ. โอ ซี ซี บมจ. นิวพลัสนิตติ้ง
อุปโภค เบเกอรี่ เสื้อผ้าสำ�เร็จรูปสตรี โฆษณา ผลิตภัณฑ์จากข้าว ผ้าลูกไม้ปัก อุปโภค ถุงน่อง
A, B, E, F A, B, E, F A, E, F A, B, E, F A, E, F A, B, E A, B, E, F A, E, F
(ร้อยละ)
2560
2559
2560
149,510 120,000 75,000 108,000 60,000 100,000
149,510 450,000 120,000 75,000 149,704 108,000 60,000 100,000
เงินปันผล
(บาท)
(บาท)
(บาท)
2559
15.50 8.53 14.08 12.03 12.73 5.33
งบการเงินเฉพาะกิจการ
15.50 2.82 8.53 14.08 3.01 12.03 12.73 5.33
รวม บวก กำ�ไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการปรับมูลค่ายุติธรรม หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่า รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
2560
2559
2560
2559
2560
2559
43,120,478.00 34,040,231.12 29,154,287.52 12,993,750.00 12,215,983.30 11,199,960.00
43,120,478.00 38,008,800.00 34,040,231.12 29,154,287.52 28,800,000.00 12,993,750.00 12,215,983.30 11,199,960.00
43,120,478.00 34,040,231.12 29,154,287.52 12,993,750.00 12,215,983.30 11,199,960.00
43,120,478.00 38,008,800.00 34,040,231.12 29,154,287.52 28,800,000.00 12,993,750.00 12,215,983.30 11,199,960.00
509,902.36 11,529,336.00 768,000.00 7,389,900.00 5,490,000.00 9,095,625.00 5,344,500.00 127,999.68
463,547.60 19,891,272.00 6,334,200.00 9,180,000.00 20,790,000.00 5,344,500.00 106,666.40
1,037,343,717.43 1,223,889,544.07 1,037,343,717.43 1,223,889,544.07 92,150,486.25 103,286,882.3 1,354,244,295.07 2,193,210,431.54 1,354,244,295.07 2,193,210,431.54 - (197,844,509.73) - (197,844,509.73) 2,391,588,012.50 3,219,255,465.88 2,391,588,012.50 3,219,255,465.88 92,150,486.25 103,286,882.33
13.2 เงินลงทุนทั่วไป ลำ�ดับที่
ชื่อบริษัท
ประเภทกิจการ
ลักษณะ ความสัมพันธ์
ทุนชำ�ระแล้ว
สัดส่วนเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะ งบการเงิน กิจการ ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย
(พันบาท) 2560 16 บมจ. บางกอกรับเบอร์ 17 บจ. เอ เทค เท็กซ์ไทล์ 18 บจ. เอราวัณสิ่งทอ 19 บจ. อาซาฮี คาเซอิ สปันบอนด์ (ประเทศไทย) 20 บจ. สห ลอว์สัน 21 บจ. โตโยโบะ สห เซฟตี้ วีฟ 22 บจ. ไทย อาซาฮี คาเซอิ สแปนเด็กซ์ 23 บจ. เอสเอสดีซี (ไทเกอร์เท็กซ์) 24 บจ. บางกอกแอธเลติก 25 บจ. ซูรูฮะ (ประเทศไทย) 26 บจ. เจ แอนด์ พี (ประเทศไทย) 27 บจ. แพนแลนด์ 28 บจ. จี เทค แมททีเรียล 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41
168
รองเท้ากีฬา ผลิตวัตถุดบิ สำ�หรับชุดชัน้ ในสตรี ปัน่ ด้าย, ทอผ้า
ผลิตเส้นใยไฟเบอร์ ร้านค้าปลีก ถุงลมนิรภัยยานยนต์ เส้นใย SPANDEX ฟอกย้อม ชุดกีฬา ร้านขายยา ลงทุน พัฒนาทีด่ นิ ผลิตวัตถุดบิ สำ�หรับชุดชัน้ ในสตรี บจ. โอสถ อินเตอร์ แลบบอราทอรีส์ ยารักษาโรค บจ. คาร์บอน เมจิก (ประเทศไทย) ผลิตชิน้ ส่วน อุปกรณ์รถยนต์ บมจ. ไทยซัมซุง ประกันชีวิต ประกันภัย บจ. บีเอ็นซี เรียลเอสเตท อสังหาริมทรัพย์ บจ. ร่วมประโยชน์ ลงทุน บจ. ไทยซัมซุง อิเลคโทรนิคส์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า บจ. เจนเนอร์รัลกลาส ผลิตขวดแก้ว THAI PRESIDENT FOODS (Hungary) Kft. ผลิตบะหมีก่ ง่ึ สำ�เร็จรูป บจ. โมบาย โลจิสติกส์ โลจิสติกส์ บจ. บางกอกโตเกียว ซ็อคส์ ถุงเท้า บจ. คิวพี (ประเทศไทย) ซอส บจ. เอส.ที.(ไทยแลนด์) ถุงมือยาง บจ. ไทยชิกิโบ ปัน่ ด้ายฝ้าย
A, E A, C, E A, B, E A, B, E A, B, E, F A, C, E A, E A, B, E A, E, F A, B, C, E, F A, B A, B, F A, E A, B, E A, B, E A, B, E A, B, E A, B, E, F A, B, E A, B, E, F A A, B, C, E A, B, E A, B, E, F A, B, C, E, F A, B, E
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
1,634,572
(ร้อยละ)
2559
2560 -
4.48
1,000,000 1,000,000 621,463 621,463 2,110,000 1,087,000 1,000,000 1,350,000 324,000 200,000 250,000 132,500 300,000
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(บาท)
2559
2560 - 197,844,509.73
เงินปันผล
(บาท) 2559
2560
2560
2559
-
-
-
19.00 16.04
19.00 190,000,000.00 190,000,000.00 190,000,000.00 190,000,000.00 16.04 126,256,111.36 126,256,111.36 126,256,111.36 126,256,111.36
-
-
2,110,000 1,087,000 1,350,000 324,000 200,000 250,000 132,500 300,000
6.78 9.00 10.00 6.00 19.71 18.16 15.00 9.00 19.33
6.78 115,469,900.00 104,759,900.00 115,469,900.00 104,759,900.00 9.00 97,830,000.00 97,830,000.00 97,830,000.00 97,830,000.00 - 100,000,000.00 - 100,000,000.00 6.00 81,000,000.00 81,000,000.00 81,000,000.00 81,000,000.00 13,980,240.00 9,234,000.00 19.71 76,609,202.82 76,609,202.82 76,609,202.82 76,609,202.82 2,554,068.00 2,873,326.50 18.16 69,561,939.58 69,561,939.58 69,561,939.58 69,561,939.58 15.00 60,000,000.00 60,000,000.00 60,000,000.00 60,000,000.00 9.00 11,925,000.00 11,925,000.00 11,925,000.00 11,925,000.00 19.33 58,000,000.00 58,000,000.00 58,000,000.00 58,000,000.00 -
300,000 300,000 600,000 600,000
19.00 9.00
19.00 57,000,000.00 57,000,000.00 57,000,000.00 57,000,000.00 9.00 54,937,500.00 54,937,500.00 54,937,500.00 54,937,500.00
590,000 590,000 3,200,000 2,000,000 240,000 240,000 350,000 350,000 1,200,000 1,200,000 145,000 145,000 HUF 2,350,000 HUF 2,350,000 300,000 300,000 143,220 143,220 260,000 260,000 142,000 237,500 237,500
8.33 3.65 16.67 9.24 3.00 15.00 10.00 9.00 19.55 10.00 18.75 10.00
8.33 2.42 16.67 9.24 3.00 15.00 10.00 9.00 19.55 10.00 10.00
49,167,000.00 112,625,862.00 40,000,000.00 39,574,300.00 36,000,000.00 34,339,805.49 32,182,363.55 27,000,000.00 26,764,312.50 26,000,000.00 26,625,000.00 23,760,000.00
- 197,844,509.73
(บาท) 2559
49,167,000.00 47,123,280.00 40,000,000.00 39,574,300.00 36,000,000.00 34,339,805.49 32,182,363.55 27,000,000.00 26,764,312.50 26,000,000.00 23,760,000.00
49,167,000.00 112,625,862.00 40,000,000.00 39,574,300.00 36,000,000.00 34,339,805.49 32,182,363.55 27,000,000.00 26,764,312.50 26,000,000.00 26,625,000.00 23,760,000.00
49,167,000.00 47,123,280.00 40,000,000.00 39,574,300.00 36,000,000.00 34,339,805.49 32,182,363.55 27,000,000.00 26,764,312.50 26,000,000.00 23,760,000.00
-
-
1,617,845.00 3,235,690.00 10,800,000.00 10,800,000.00 1,120,000.00 5,200,000.00 4,680,000.00 3,326,400.00 950,400.00
งบการเงิน
13. เงินลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ลำ�ดับที่
42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84
ชื่อบริษัท
ประเภทกิจการ
โรงพยาบาล นิคมอุตสาหกรรม ชุดชัน้ ในชาย อะไหล่รถจักรยานยนต์ ชิน้ ส่วนรถยนต์ ทีท่ ำ�จากยาง นม บจ. แดรี่ไทย พลาสติก บจ. สหเซวา ผลิตผ้าลูกไม้ บจ. ไทยทาเคดะเลซ กล่องกระดาษ บจ. ไทยโคบาชิ บจ. วิจัยและพัฒนา สหโอซูก้า เอเชีย วิจยั และพัฒนา จักรเย็บผ้า บจ. จาโนเม่ (ประเทศไทย) ประเภทบอล บจ. มอลเทน (ไทยแลนด์) ขายตรง บจ. เบทเตอร์เวย์ (ประเทศไทย) หมากฝรัง่ บจ. ไทยลอตเต้ บจ. ชิเซโด้ โปรเฟสชั่นแนล (ไทยแลนด์) สถานบริการความงาม ผ้าขนหนู บจ. ราชาอูชิโน Logistic บจ. ซันร้อยแปด สนามกอล์ฟ บจ. เทรชเชอร์ ฮิลล์ KALLOL THAI PRESIDENT FOODS (BD) ผลิตบะหมีก่ ง่ึ สำ�เร็จรูป บจ. เคพี ซอฟท์ บริการ บจ. ฟูจิกซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�หน่ายด้ายเย็บ บจ. ไทซันฟูดส์ เครือ่ งดืม่ และขนม บจ. ไทเกอร์ ดิสทริบวิ ชัน่ แอนด์ โลจิสติคส์ บริหารจัดการสินค้า PT. DYNIC TEXTILE PRESTIGE ผลิตและจำ�หน่าย แอร์แบค บจ. สหนำ�เท็กซ์ไทล์ สิง่ ทอ บจ. เอช แอนด์ บี อินเตอร์เท็กซ์ ผลิตและจำ�หน่าย ของเล่นทีท่ ำ�จากผ้า บจ. เวิลด์ สหแฟชั่น ผลิตและจำ�หน่าย เสือ้ ผ้าสุภาพบุรษุ บจ. อินเตอร์เนชั่นแนล เลทเธอร์แฟชั่น รองเท้าหนัง บจ. ราชสีมาชอปปิ้ง คอมเพล็กซ์ ห้างสรรพสินค้า บจ. สหอุบลนคร สวนอุตสาหกรรม บจ. แชมป์เอช เสือ้ ผ้า บจ. ทรานสคอสมอส (ไทยแลนด์) ให้คำ�ปรึกษา บจ. โทเทิลเวย์อิมเมจ เครือ่ งหนัง บจ. ไทยสเตเฟล็กซ์ ผ้าซับในฉาบกาว บจ. ไทยมอนสเตอร์ เสือ้ ผ้า PT. TRINITY LUXTRO APPAREL จำ�หน่ายเสือ้ ผ้าสำ�เร็จรูป ขนส่ง บจ. ศรีราชาขนส่ง บจ. เค.คอมเมอร์เชียล แอนด์ คอนสตรัคชัน่ ก่อสร้าง บจ. สยามออโต้แบคส์ ชิน้ ส่วนอุปกรณ์ เกีย่ วกับรถยนต์ บจ. ภัทยาอุตสาหกิจ ชุดชัน้ ใน บจ. มอร์แกน เดอ ทัว (ประเทศไทย) จำ�หน่ายเสือ้ ผ้าสำ�เร็จรูป AMIS DU MONDE SARL จำ�หน่ายสินค้า ในต่างประเทศ ถุงเท้า บจ. โตโย เท็กซ์ไทล์ ไทย บมจ. เคพีเอ็น เฮลท์แคร์ บจ. สหรัตนนคร บจ. ไทยกุลแซ่ บจ. ไทยอาราอิ บจ. มอลเท็นเอเซียโพลิเมอร์ โปรดักส์
ลักษณะ ความสัมพันธ์
A A A, B, E A, B, E
ทุนชำ�ระแล้ว (พันบาท) 2560 2559 950,000 180,000 180,000 180,000 180,000 126,000 126,000
สัดส่วนเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะ งบการเงิน กิจการ ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย (ร้อยละ) (บาท) 2560 2559 2560 2559 - 23,750,000.00 2.50 12.50 12.50 22,500,000.00 22,500,000.00 11.00 11.00 19,800,000.00 19,800,000.00 14.75 14.75 19,202,504.36 19,202,504.36 18,720,000.00 17,550,000.00 15,250,000.00 15,053,034.16 15,000,000.00 13,066,600.00 12,416,490.00 12,000,000.00 11,773,620.00 11,000,000.00 10,500,000.00 10,080,960.00 30,000,000.00 10,000,000.00 9,420,105.03 9,000,000.00 10,499,031.59 12,546,200.00
งบการเงินเฉพาะกิจการ
เงินปันผล
(บาท) (บาท) 2560 2559 2560 2559 23,750,000.00 22,500,000.00 22,500,000.00 19,800,000.00 19,800,000.00 19,202,504.36 19,202,504.36 442,500.00 442,500.00
120,000 120,000 A, E, F 67,125 67,125 A, B 145,000 145,000 A, B, E 127,000 127,000 A, B, E 100,000 100,000 A, E 80,000 80,000 A, B 97,400 97,400 A, B, E 100,000 100,000 A, E, F A, B, E, F 100,000 100,000 3,013,000 3,013,000 A, E 70,000 70,000 A, E, F 121,500 121,500 A, B, E A, B, E, F 300,000 100,000 A, B, E, F 200,000 200,000 TAKA 630,000 TAKA 630,000 A - 120,000 A, F 100,000 100,000 A 50,000 A, B, E, F 20,000 20,000 A, B, E
15.60 9.13 10.52 8.78 15.00 16.33 9.00 12.00 11.77 0.37 15.00 12.41 10.00 6.00 3.75 9.00 6.00 19.00
15.60 9.13 10.52 8.78 15.00 16.33 9.00 12.00 11.77 0.37 15.00 12.41 10.00 6.00 3.75 4.00 9.00 15.00
18,720,000.00 17,550,000.00 15,250,000.00 15,053,034.16 15,000,000.00 13,066,600.00 12,416,490.00 12,000,000.00 11,773,620.00 11,000,000.00 10,500,000.00 10,080,960.00 10,000,000.00 10,000,000.00 9,420,105.03 9,200,000.00 9,000,000.00 8,427,000.00
3,744,000.00 1,672,500.00 2,191,500.00 1,200,000.00 82,415,340.00 1,289,400.00 1,508,280.00 21,000,000.00 1,500,000.00
3,744,000.00 1,672,500.00 2,191,500.00 1,200,000.00 86,148,450.00 1,808,100.00 150,828.00 1,000,000.00 2,250,000.00
USD 5,000 USD 5,000 36,000 36,000
5.00 18.00
5.00 8,151,350.00 8,151,350.00 8,151,350.00 8,151,350.00 18.00 3,535,488.00 7,747,488.00 3,535,488.00 7,747,488.00
-
-
40,000
19.00
19.00 7,600,000.00 7,600,000.00 7,600,000.00 7,600,000.00
-
380,000.00
A, F 50,000 50,000 A, B, E, F 50,000 50,000 A, B 350,000 350,000 A 7,813 7,813 A, B, E, F 40,000 A, C, E, F 70,000 70,000 A, E, F 20,000 20,000 A, B, E 60,000 60,000 A, E, F 5,000 20,000 A USD 1,200 USD 1,200 A, B, E, F 10,000 10,000 A, B, E, F 50,000 50,000
15.00 14.00 2.00 19.50 17.00 9.00 19.50 10.00 19.50 15.00 18.00 10.00
15.00 14.00 2.00 19.50 9.00 19.50 10.00 19.50 15.00 18.00 10.00
700,000.00 155,992.00 900,000.00 190,000.00 500,000.00
700,000.00 467,976.00 360,000.00 90,000.00 -
39,900 30,000 40,000
12.53 16.00 12.00
12.53 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 16.00 4,922,582.50 4,922,582.50 4,922,582.50 4,922,582.50 1,440,000.00 1,920,000.00 12.00 4,800,000.00 4,800,000.00 4,800,000.00 4,800,000.00 -
EUR 1,200 EUR 1,200 30,000 30,000
9.00 15.00
9.00 4,658,140.00 4,658,140.00 4,658,140.00 4,658,140.00 15.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00
A, C A, B A, B, E, F
A A, B, E A, E, F A A, B, E
40,000
39,900 30,000 40,000
7,500,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 6,998,437.50 6,800,000.00 6,300,000.00 6,246,583.44 6,000,000.00 5,906,141.75 5,861,700.00 2,518,011.50 5,150,406.14
18,720,000.00 17,550,000.00 15,250,000.00 15,053,034.16 15,000,000.00 13,066,600.00 12,416,490.00 12,000,000.00 11,773,620.00 11,000,000.00 10,500,000.00 10,080,960.00 10,000,000.00 10,000,000.00 9,420,105.03 9,200,000.00 9,000,000.00 8,427,000.00
7,500,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 6,998,437.50 6,300,000.00 6,246,583.44 6,000,000.00 5,906,141.75 5,861,700.00 2,952,357.50 5,150,406.14
18,720,000.00 17,550,000.00 15,250,000.00 15,053,034.16 15,000,000.00 13,066,600.00 12,416,490.00 12,000,000.00 11,773,620.00 11,000,000.00 10,500,000.00 10,080,960.00 30,000,000.00 10,000,000.00 9,420,105.03 9,000,000.00 8,959,674.00 12,546,200.00
7,500,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 6,998,437.50 6,800,000.00 6,300,000.00 6,246,583.44 6,000,000.00 5,906,141.75 5,861,700.00 2,518,011.50 5,150,406.14
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
7,500,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 6,998,437.50 6,300,000.00 6,246,583.44 6,000,000.00 5,906,141.75 5,861,700.00 2,952,357.50 5,150,406.14
-
-
169
งบการเงิน
13. เงินลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ลำ�ดับที่
ชื่อบริษัท
ประเภทกิจการ
85 86 87 88 89 90 91
บจ. อีสเทิร์น รับเบอร์ บจ. บีเอ็นซี แม่สอด บจ. ไทย คิวบิค เทคโนโลยี่ บจ. แม่สอด ซาคาเอะเลซ บจ. วีน อินเตอร์เนชั่นแนล บจ. นิปปอน เต ซาโต บจ. เพนส์ มาร์เก็ตติง้ แอนด์ ดิสทริบวิ ชัน่
92 93 94 95 96 97 98 99
บจ. เอ็มซีที โฮลดิง้ บจ. ไทยทาคายา บจ. แวลู แอ๊ดเด็ด เท็กซ์ไทล์ บจ. ศรีราชา เอวิเอชัน่ บจ. ไทยแน็กซิส บจ. วาเซดะ เอ็ดดูเคชัน่ (ไทยแลนด์) บจ. เค.ที.วาย อินดัสตรี INTERNATIONAL COMMERCIAL COORDINATION LTD. (H.K) บจ. ไทยโทมาโด บจ. ไทย บุนกะ แฟชัน่ บจ. เคนมิน ฟูด้ ส์ (ไทยแลนด์) บจ. บุญรวี KYOSHUN TIGER MK LOGISTICS (MYANMAR) บจ. ไทยสปอร์ตการ์เมนต์ บจ. ยู ซี ซี อูเอะชิมา่ คอฟฟี่ (ประเทศไทย)
100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116
ลักษณะ ความสัมพันธ์
พืน้ รองเท้า A, B, F ผลิตถุงเท้า A, B, E Cubic Printing A, B, E, F ผลิตลูกไม้ A, B, E ขายตรง A, B, E ร้านอาหาร A, B, E จำ�หน่ายสินค้า อุปโภคบริโภค A, E, F ลงทุน A, E เสือ้ ผ้า A, E, F ปักเสือ้ A ขนส่งทางอากาศ A, B, E, F ป้ายยีห่ อ้ A, B, E โรงเรียนอบรมภาษา A, B, E ปัน่ ด้าย,ฟอกย้อม A, B, E
ตัวแทนขาย กรอบหน้าต่าง โรงเรียน เส้นหมีข่ าว บริการ เทรดดิง้ ขนส่ง เสือ้ ผ้า ผลิตและจำ�หน่าย กาแฟกระป๋อง ห้างสรรพสินค้า บจ. เดอะมอลล์ราชสีมา นายหน้าประกันภัย บจ. เอ็มบีทเี อส โบรกกิง้ เซอร์วสิ บริการฝังเข็ม บจ. ฮัวถอ (ประเทศไทย) เช่าซือ้ ทรัพย์สนิ บจ. ยูนลิ สิ ซ่อมและบำ�รุง บจ. ไทยฟลายอิง้ เมนเท็นแนนซ์ รักษาเครือ่ งบิน ตกแต่งภายใน ARUSU MYANMAR CO., LTD. สินค้าอุปโภค บจ. สัมพันธมิตร ไอศกรีม บจ. อเมริกนั ฟูด้ บจ. รักษาความปลอดภัย ไทยซีคอม ระบบรักษา (เดิมชือ่ บจ.ไทยซีคอมพิทกั ษ์กจิ ) ความปลอดภัย
170
สัดส่วนเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะ งบการเงิน กิจการ ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย
(พันบาท) (ร้อยละ) 2560 2559 2560 2559 30,000 30,000 15.00 15.00 60,000 60,000 7.50 7.50 40,000 40,000 10.00 10.00 50,000 50,000 8.00 8.00 30,000 30,000 12.00 12.00 60,000 60,000 6.00 6.00
งบการเงินเฉพาะกิจการ
เงินปันผล
(บาท) 2560 2559 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 3,999,900.00 3,999,900.00 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00
(บาท) (บาท) 2560 2559 2560 2559 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 400,000.00 400,000.00 3,999,900.00 3,999,900.00 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 -
100,000 100,000 100,000 100,000 30,000 30,000 16,500 16,500 55,000 55,000 20,000 20,000 21,952 31,360 28,000 28,000
3.50 3.50 10.00 6.00 5.45 3.38 7.14 9.00
3.50 3.50 10.00 6.00 5.45 3.38 7.14 9.00
3,500,000.00 3,500,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 2,700,000.00 1,568,000.00 2,521,000.00
3,500,000.00 3,500,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 2,700,000.00 2,240,000.00 2,521,000.00
3,500,000.00 3,500,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 2,700,000.00 1,568,000.00 2,521,000.00
3,500,000.00 3,500,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 2,700,000.00 2,240,000.00 2,521,000.00
A, B, F HK$ 5,000 HK$ 2,000 20,000 20,000 A, E 25,000 25,000 A, B, E, F 33,000 30,000 A, E 20,000 20,000 A, F Y 30,000 Y 30,000 A USD 300 USD 300 A 10,000 10,000 A, B, E, F
18.00 10.00 8.00 14.27 10.00 18.33 18.00 15.00
18.00 10.00 8.00 6.67 10.00 18.33 18.00 15.00
4,483,997.26 2,000,000.00 2,000,000.00 32,537,000.00 2,000,000.00 1,997,600.00 1,781,720.00 1,500,000.00
2,161,197.26 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 1,997,600.00 1,781,720.00 1,500,000.00
4,483,997.26 2,000,000.00 2,000,000.00 32,537,000.00 2,000,000.00 1,997,600.00 1,781,720.00 1,500,000.00
2,161,197.26 2,000,000.00 - 100,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 700,000.00 680,000.00 2,000,000.00 1,997,600.00 1,781,720.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00
15,000 50,000 5,000 12,000 30,000
10.00 2.00 19.99 4.75 1.67
10.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 2.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 19.99 999,500.00 999,500.00 999,500.00 999,500.00 3,278,360.00 2,398,800.00 4.75 570,000.00 570,000.00 570,000.00 570,000.00 1.67 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 -
2,000 2,000 USD 100 USD 100 5,000 5,000 140,000 -
15.00 9.00 5.42 15.00
15.00 300,000.00 9.00 313,370.00 5.42 270,800.00 - 21,000,000.00
A, B, E A, B A, E ,F A A, F A, B, F A A, E, F A A, B, E
รวมราคาทุน (หัก) ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่า รวมเงินลงทุนทั่วไป - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวมเงินลงทุน - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ทุนชำ�ระแล้ว
15,000 50,000 5,000 12,000 30,000
-
-
-
-
-
300,000.00 300,000.00 313,370.00 313,370.00 270,800.00 270,800.00 - 21,000,000.00 -
-
105,000.00 300,000.00 189,000.00 5,042,000.00
300,000.00 313,370.00 270,800.00 270,800.00 -
13,540.00 -
- 110,076,992.59
2,337,793,080.26 1,832,601,302.94 2,336,253,722.67 1,832,601,302.94 171,233,225.00 252,590,753.09 (771,140,315.80) (428,420,196.16) (771,140,315.80) (428,420,196.16) 1,566,652,764.46 1,404,181,106.78 1,565,113,406.87 1,404,181,106.78 171,233,225.00 252,590,753.09 3,958,240,776.96 4,623,436,572.66 3,956,701,419.37 4,623,436,572.66 263,383,711.25 355,877,635.42
หมายเหตุ : ลักษณะความสัมพันธ์ A บริษัทถือหุ้น และ/หรือการถือหุ้นร่วมกัน D บริษัทให้กู้ยืมเงิน B บริษัทที่มีกรรมการร่วมกัน E บริษัทมีรายการซื้อขายระหว่างกัน C บริษัทค�้ำประกัน F ผู้ถือหุ้นหรือกรรมการเป็นญาติสนิทกรรมการ รายงานประจำ � ปี 2 5 60
105,000.00 450,000.00 189,000.00 378,150.00
งบการเงิน
14. เงินลงทุนระยะยาวอื่น 14.1 เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย บริษัทอื่น ลำ�ดับที่
1 2 3 4 5 6
ชื่อกิจการ
ทุนชำ�ระแล้ว
สัดส่วนเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินเฉพาะกิจการ ลงทุน ทีแ่ สดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย (พันบาท) (ร้อยละ) (บาท) (บาท) 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559
บมจ. เนชัน่ มัลติมเี ดีย กรุป๊ 2,155,959 2,155,959 บมจ. สหยูเนีย่ น 3,000,000 3,000,000 บมจ. เอส. แพ็ค แอนด์ พริน้ ท์ 300,000 บมจ. อมตะ วีเอ็น 467,500 467,500 บมจ. ไทยโทเรเท็กซ์ ไทล์มลิ ลส์ 60,000 60,000 บมจ. ยูเนีย่ นไพโอเนียร์ 75,000 75,000 รวม บวก ก�ำไร(ขาดทุน)ทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการปรับมูลค่ายุตธิ รรม รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขาย - บริษัทอืน่
14.2 เงินลงทุนทั่วไป บริษัทอื่น ลำ�ดับที่
7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
ชื่อกิจการ
0.49 0.30 0.98 0.82 0.50 0.03
เงินปันผล (บาท) 2560
2559
- 594,441.00 0.49 21,819,138.54 21,819,138.54 21,819,138.54 21,819,138.54 0.30 16,727,150.00 16,727,150.00 16,727,150.00 16,727,150.00 1,824,780.00 1,368,585.00 - 8,070,261.00 - 7,637,604.00 0.82 3,010,800.00 3,010,800.00 3,010,800.00 3,010,800.00 384,300.00 1,152,900.00 265,320.00 265,320.00 265,320.00 265,320.00 30,000.00 60,000.00 0.50 32,940.00 32,940.00 32,940.00 32,940.00 15,336.00 10,584.00 0.03 49,492,952.54 41,855,348.54 49,925,609.54 41,855,348.54 2,254,416.00 3,186,510.00 77,216,921.26 70,135,000.96 76,784,264.26 70,135,000.96 126,709,873.80 111,990,349.50 126,709,873.80 111,990,349.50 2,254,416.00 3,186,510.00
ทุนชำ�ระแล้ว
สัดส่วนเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินเฉพาะกิจการ ลงทุน ทีแ่ สดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย (พันบาท) (ร้อยละ) (บาท) (บาท) 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559
บจ. ไดโซ ซังเกียว (ประเทศไทย) 280,000 280,000 6.45 6.45 18,052,630.00 18,052,630.00 18,052,630.00 18,052,630.00 บจ. ไทยโอซูกา้ 35,000 35,000 4.00 4.00 8,400,000.00 8,400,000.00 8,400,000.00 8,400,000.00 บจ. โอซูกา้ นิวทราซูตคิ อล (ประเทศไทย) 300,000 - 2.50 - 7,500,000.00 - 7,500,000.00 บมจ. อิมพีเรียล เทคโนโลยี แมเนจเม้นท์ เซอร์วสิ 3,549,400 3,549,400 0.18 0.18 6,250,000.00 6,250,000.00 6,250,000.00 6,250,000.00 บมจ. ซันล็อต เอ็นเตอร์ไพรส์ (ประเทศไทย) 130,000 130,000 3.85 3.85 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 บจ. สยาม ดีซเี อ็ม 82,500 82,500 1.52 1.52 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 บจ. สหเซเรน 780,000 780,000 0.58 0.58 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 บมจ. ศูนย์การแพทย์ไทย 200,539 200,539 0.002 0.002 4,100,000.00 4,100,000.00 4,100,000.00 4,100,000.00 บจ. บางกอกคลับ 450,000 450,000 0.44 0.44 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 บจ. อมตะ ซิตี้ 450,000 450,000 0.67 0.67 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 บจ. โนเบิล เพลซ 296,250 296,250 0.08 0.08 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 บจ. นูบนู 35,000 35,000 3.83 3.83 1,340,000.00 1,340,000.00 1,340,000.00 1,340,000.00 บจ. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย 80,000 80,000 1.50 1.50 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 บจ. สยาม ไอ -โลจิสติคส์ 15,000 15,000 7.00 7.00 1,050,000.00 1,050,000.00 1,050,000.00 1,050,000.00 บจ. ประชารัฐรักสามัคคี (ประเทศไทย) 100,000 100,000 1.00 1.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 บจ. ขอนแก่นวิเทศศึกษา 60,000 60,000 1.67 1.67 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 บมจ. นครหลวงแฟคตอริง่ 18,000 18,000 3.78 3.78 539,665.00 680,000.00 539,665.00 680,000.00 บจ. วินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ 320,325 320,325 0.02 0.02 520,000.00 520,000.00 520,000.00 520,000.00 รวมราคาทุน 72,952,295.00 65,592,630.00 72,952,295.00 65,592,630.00 (หัก) ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่า (26,873,215.74) (23,775,069.37) (26,873,215.74) (23,775,069.37) รวมเงินลงทุนทั่วไป - บริษัทอื่น 46,079,079.26 41,817,560.63 46,079,079.26 41,817,560.63 รวมเงินลงทุน - บริษัทอื่น 172,788,953.06 153,807,910.13 172,788,953.06 153,807,910.13 บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
เงินปันผล (บาท) 2560
2559
1,480,315.66 1,299,789.36 3,276,560.00 2,674,840.00 588,970.59 3,970,588.24 2,000.00 2,000.00 600,000.00 1,800,000.00 361,800.00 361,800.00 43,200.00 60,000.00 100,000.00 3,375.00 6,416,221.25 10,209,017.60 6,416,221.25 10,209,017.60 8,670,637.25 13,395,527.60 171
งบการเงิน
15. อสังหาริมทรัพย์รอการขาย (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม และ ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย และ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 275,149,410.04 271,855,130.78 68,378,924.56 615,383,465.38 (8,939,741.82) 606,443,723.56
อสังหาริมทรัพย์รอการขาย - ศรีราชา อสังหาริมทรัพย์รอการขาย - ล�ำพูน อสังหาริมทรัพย์รอการขาย - กบินทร์บุรี รวม หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่า สุทธิ
2559 300,222,319.04 271,855,130.78 68,378,924.56 640,456,374.38 (8,939,741.82) 631,516,632.56
ในระหว่างปี บริษทั ฯ ได้จดั ประเภททรัพย์สนิ ให้ถกู ต้องตามประเภทการใช้งานใหม่โดยโอนไปเป็นอสังหาริมทรัพย์ตามสัญญา จะซื้อจะขาย จ�ำนวน 24.85 ล้านบาท และโอนไปเป็นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ จ�ำนวน 0.22 ล้านบาท
16. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
16.1 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน - ทีด่ นิ อืน่ ทีแ่ สดงไว้ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีรายละเอียดดังนี้
งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ
ศรีราชา แม่สอด ราชบุรี ลพบุรี ชัยนาท ล�ำพูน รวม
ที่ดิน 411,592,633.87 409,540,250.00 64,565,160.44 4,028,000.00 2,825,500.00 24,410,219.00 916,961,763.31
2560 ค่าพัฒนา 6,982,654.56 5,455,125.78 12,641,516.27 0.00 0.00 0.00 25,079,296.61
รวม 418,575,288.43 414,995,375.78 77,206,676.71 4,028,000.00 2,825,500.00 24,410,219.00 942,041,059.92
(หน่วย : บาท) งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย และ งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดิน 279,042,640.87 307,960,500.00 64,565,160.44 4,028,000.00 2,825,500.00 0.00 658,421,801.31
2559 ค่าพัฒนา 6,791,124.56 5,455,125.78 12,641,516.27 0.00 0.00 0.00 24,887,766.61
รวม 285,833,765.43 313,415,625.78 77,206,676.71 4,028,000.00 2,825,500.00 0.00 683,309,567.92
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มูลค่ายุตธิ รรมของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน - ทีด่ นิ อืน่ ซึง่ ประเมินโดยผูป้ ระเมินอิสระ มีมลู ค่า 1,712.16 ล้านบาท และ 1,453.43 ล้านบาท ตามล�ำดับ
172
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน
16. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (ต่อ)
16.2 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน - ให้เช่า ทีแ่ สดงไว้ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดิน และค่าพัฒนาที่ดิน ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซื้อ โอน จ�ำหน่ายหรือตัดจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย จ�ำหน่ายหรือตัดจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เพิ่ม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
ทรัพย์สินระหว่าง ก่อสร้าง
สิ่งปลูกสร้าง
1,204,965,607.76 1,274,969,332.82 5,052,964.00 5,940,035.58 (2,441,247.17) 60,258,791.88 (1,954,891.34) 0.00 1,205,622,433.25 1,341,168,160.28
รวม
3,543,300.00 2,483,478,240.58 74,072,925.47 85,065,925.05 (77,130,109.86) (19,312,565.15) (23,000.00) (1,977,891.34) 463,115.61 2,547,253,709.14
0.00 0.00 0.00 0.00
322,688,573.44 60,389,041.23 0.00 383,077,614.67
0.00 0.00 0.00 0.00
322,688,573.44 60,389,041.23 0.00 383,077,614.67
65,125,234.55 0.00 65,125,234.55
0.00 0.00 0.00
0.00 0.00 0.00
65,125,234.55 0.00 65,125,234.55
1,139,840,373.21 1,140,497,198.70
952,280,759.38 958,090,545.61
3,543,300.00 2,095,664,432.59 463,115.61 2,099,050,859.92
ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 จ�ำนวน 60.39 ล้านบาท และ 50.99 ล้านบาท ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มูลค่ายุตธิ รรมของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน - ให้เช่า ซึง่ ประเมินโดยผูป้ ระเมินอิสระ มีมูลค่า 4,318.74 ล้านบาท และ 4,372.71 ล้านบาท ตามล�ำดับ ในระหว่างปี บริษัทฯ ได้จัดประเภททรัพย์สินให้ถูกต้องตามประเภทการใช้งานใหม่ โดยโอนไปเป็นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ จ�ำนวน 16.90 ล้านบาท และโอนไปเป็นอสังหาริมทรัพย์ตามสัญญาจะซื้อจะขาย จ�ำนวน 2.41 ล้านบาท (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม และ ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย และ งบการเงินเฉพาะกิจการ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - ที่ดินอื่น (สุทธิ) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - ให้เช่า (สุทธิ) รวมอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนทั้งสิ้น
2560 942,041,059.92 2,099,050,859.92 3,041,091,919.84
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
2559 683,309,567.92 2,095,664,432.59 2,778,974,000.51
173
งบการเงิน
16. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (ต่อ) จ�ำนวนทีร่ บั รูใ้ นงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของบริษทั ฯ จากอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนส�ำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ทีส่ ำ� คัญมีดงั นี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม และ ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย และ งบการเงินเฉพาะกิจการ รายได้ ค่าเช่า ค่าบริการ รวมรายได้ ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานทางตรง ก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าและบริการ ต้นทุนค่าบริการ ค่าเสื่อมราคาสิ่งก่อสร้าง รวมค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานทางตรง
2560
2559
191,839,448.29 136,751,839.37 328,591,287.66
171,837,736.52 134,626,535.04 306,464,271.56
89,281,899.51 60,389,041.23 149,670,940.74
90,627,206.25 50,990,337.33 141,617,543.58
17. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ทีแ่ สดงไว้ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม ที่ดิน
สิ่งปลูกสร้าง
ยานพาหนะ
อุปกรณ์ เครื่องใช้สำ�นักงาน ทรัพย์สนิ ระหว่าง และอื่นๆ ก่อสร้าง
ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 297,479,209.92 1,555,353,240.77 206,574,850.46 118,380,932.78 ซื้อ 0.00 5,832,647.41 34,523,563.55 8,196,217.61 เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทย่อย 0.00 0.00 5,453,946.64 0.00 โอน 3,551,382.22 17,768,351.12 0.00 7,779,144.03 จ�ำหน่าย หรือ ตัดจ่าย 0.00 (13,906,703.72) (14,034,458.79) 0.00 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 301,030,592.14 1,565,047,535.58 232,517,901.86 134,356,294.42 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 0.00 790,938,657.46 149,970,461.50 97,506,623.82 ค่าเสื่อมราคา 0.00 63,242,813.99 22,710,532.23 9,426,424.84 เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทย่อย 0.00 0.00 3,734,494.85 0.00 จ�ำหน่าย 0.00 (4,728,161.42) (14,039,836.32) 0.00 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 0.00 849,453,310.03 162,375,652.26 106,933,048.66 ราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 297,479,209.92 764,414,583.31 56,604,388.96 20,874,308.96 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 301,030,592.14 715,594,225.55 70,142,249.60 27,423,245.76
รวม
598,307,367.04 5,734,983.79 2,781,830,584.76 19,435,473.76 138,395,184.44 206,383,086.77 6,416,342.37 0.00 11,870,289.01 35,769,277.20 (44,445,454.37) 20,422,700.20 (485,484.02) 0.00 (28,426,646.53) 659,442,976.35 99,684,713.86 2,992,080,014.21 511,236,450.31 36,471,565.70 5,655,255.85 (484,073.20) 552,879,198.66
0.00 1,549,652,193.09 0.00 131,851,336.76 0.00 9,389,750.70 0.00 (19,252,070.94) 0.00 1,671,641,209.61
87,070,916.73 5,734,983.79 1,232,178,391.67 106,563,777.69 99,684,713.86 1,320,438,804.60
ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 จ�ำนวน 131.85 ล้านบาท และ 127.14 ล้านบาท ตามล�ำดับ ในระหว่างปี บริษทั ฯ ได้จดั ประเภททรัพย์สนิ ให้ถกู ต้องตามประเภทการใช้งานใหม่ โดยรับโอนจากอสังหาริมทรัพย์ตามสัญญา จะซือ้ จะขาย จ�ำนวน 3.30 ล้านบาท รับโอนจากอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน จ�ำนวน 16.90 ล้านบาท และรับโอนจากอสังหาริมทรัพย์ รอการขาย จ�ำนวน 0.22 ล้านบาท
174
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน
17. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ) ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ทีแ่ สดงไว้ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดิน ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซื้อ โอน จ�ำหน่าย หรือ ตัดจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสื่อมราคา จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
สิ่งปลูกสร้าง
ยานพาหนะ
อุปกรณ์ เครื่องใช้สำ�นักงาน ทรัพย์สนิ ระหว่าง และอื่นๆ ก่อสร้าง
297,479,209.92 1,555,353,240.77 206,574,850.46 118,380,932.78 0.00 5,832,647.41 34,523,563.55 8,196,217.61 3,551,382.22 17,768,351.12 0.00 7,779,144.03 0.00 (13,906,703.72) (14,034,458.79) 0.00 301,030,592.14 1,565,047,535.58 227,063,955.22 134,356,294.42 0.00 0.00 0.00 0.00
790,938,657.46 149,970,461.50 97,506,623.82 63,242,813.99 22,488,418.91 9,426,424.84 (4,728,161.42) (14,039,836.32) 0.00 849,453,310.03 158,419,044.09 106,933,048.66
297,479,209.92 764,414,583.31 56,604,388.96 20,874,308.96 301,030,592.14 715,594,225.55 68,644,911.13 27,423,245.76
รวม
598,307,367.04 5,734,983.79 2,781,830,584.76 19,334,027.66 138,395,184.44 206,281,640.67 35,769,277.20 (44,445,454.37) 20,422,700.20 (373,227.51) 0.00 (28,314,390.02) 653,037,444.39 99,684,713.86 2,980,220,535.61 511,236,450.31 36,274,371.12 (373,171.02) 547,137,650.41
0.00 1,549,652,193.09 0.00 131,432,028.86 0.00 (19,141,168.76) 0.00 1,661,943,053.19
87,070,916.73 5,734,983.79 1,232,178,391.67 105,899,793.98 99,684,713.86 1,318,277,482.42
ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 จ�ำนวน 131.43 ล้านบาท และ 127.14 ล้านบาท ตามล�ำดับ ในระหว่างปี บริษทั ฯ ได้จดั ประเภททรัพย์สนิ ให้ถกู ต้องตามประเภทการใช้งานใหม่ โดยรับโอนจากอสังหาริมทรัพย์ตามสัญญา จะซือ้ จะขาย จ�ำนวน 3.30 ล้านบาท รับโอนจากอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน จ�ำนวน 16.90 ล้านบาท และรับโอนจากอสังหาริมทรัพย์ รอการขาย จ�ำนวน 0.22 ล้านบาท
18. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
(หน่วย : บาท) โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่าใช้จ่ายตัดจ่ายสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ตัดจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ตัดจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
30,948,285.61 946,894.17 31,895,179.78 25,743.44 31,920,923.22 19,819,269.42 1,552,166.42 21,371,435.84 1,613,297.53 22,984,733.37 10,523,743.94 8,936,189.85
ค่าใช้จา่ ยตัดจ่ายส�ำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 จ�ำนวน 1,613,297.53 บาท และ 1,552,166.42 บาท ตามล�ำดับ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
175
งบการเงิน
19. เงินมัดจ�ำค่าที่ดิน
เงินมัดจ�ำค่าที่ดิน - โครงการนอร์ธปาร์ค หัก ค่าเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่า สุทธิ
(หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม และ ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย และ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 60,753,000.00 (18,225,900.00) 42,527,100.00
2559 60,753,000.00 (18,225,900.00) 42,527,100.00
บริษทั ฯ ท�ำสัญญาจะซือ้ จะขายทีด่ นิ ในโครงการนอร์ธปาร์คกับบริษทั นอร์ธปาร์ค เรียลเอสเตท จ�ำกัด เนือ้ ทีป่ ระมาณ 2 ไร่ 1 งาน 20.5 ตารางวา จ�ำนวน 60,753,000.00 บาท โดยบริษัทฯ ช�ำระค่าที่ดินครบถ้วนและตามสัญญา บริษัทฯ จะได้รับโอนกรรมสิทธิ์ ในที่ดินเมื่อด�ำเนินการปลูกสร้างอาคารให้แล้วเสร็จ (ภายใน 54 เดือน นับแต่วันท�ำสัญญา) บริษทั ฯ ยังไม่ได้ดำ� เนินการเกีย่ วกับการก่อสร้างอาคาร ให้เป็นไปตามสัญญา ท�ำให้อาจเกิดผลเสียจ�ำนวน 18,225,900.00 บาท ซึ่งบริษัทฯ ได้บันทึกค่าเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่าดังกล่าวแล้ว
20. เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม และ ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย และ งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินกู้ยืมจากธนาคาร รวม
2560 4,080,000,000.00 4,080,000,000.00
2559 560,000,000.00 560,000,000.00
20.1 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ มีวงเงินเบิกเกินบัญชีกบั ธนาคาร 7 แห่ง และ 8 แห่ง จ�ำนวนเงิน 150 ล้านบาท และ 180 ล้านบาท ตามล�ำดับ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ MOR ลบด้วยอัตราส่วนเพิ่มคงที่ต่อปี ตามสัญญา 20.2 เงินกู้ยืมจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ มีวงเงินกูย้ มื จากธนาคารและสถาบันการเงินในประเทศ 5 แห่ง และ 6 แห่ง จ�ำนวนเงิน 11,390 ล้านบาท และ 3,740 ล้านบาท ตามล�ำดับ และวงเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงินต่างประเทศ 3 แห่ง และ 2 แห่ง จ�ำนวนเงิน 6,210 ล้านบาท และ 700 ล้านบาท ตามล�ำดับ อัตราดอกเบีย้ คงทีต่ ามตัว๋ สัญญาใช้เงินและตามสัญญาทีต่ กลงกัน
21. เงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทฯ มีเงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคาร ดังนี้
(หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม และ ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย และ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560
เงินกู้ยืมระยะยาว หัก ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี เงินกู้ยืมระยะยาว 176
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
0.00 0.00 0.00
2559 1,200,000,000.00 (300,000,000.00) 900,000,000.00
งบการเงิน
21. เงินกู้ยืมระยะยาว (ต่อ) 21.1 ในปี 2558 บริษทั ฯ ได้กยู้ มื เงินจากธนาคารพาณิชย์แห่งหนึง่ จ�ำนวน 1,000.00 ล้านบาท โดยช�ำระคืนเงินต้นงวดแรกตามสัญญา จ�ำนวน 100.00 ล้านบาท ภายในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 ส่วนทีเ่ หลือช�ำระคืนเงินต้นทุก 6 เดือน จ�ำนวน 9 งวด เป็นเงินงวดละ 100.00 ล้านบาท สิน้ สุดสัญญา วันที่ 11 พฤษภาคม 2564 (อัตราดอกเบีย้ BIBOR บวกด้วยอัตราส่วนเพิม่ คงทีต่ อ่ ปีตามสัญญา โดยช�ำระดอกเบีย้ เป็นรายเดือน) โดยในปี 2560 บริษทั ฯ ได้จา่ ยคืนเงินต้น และดอกเบีย้ ให้แก่ธนาคารพาณิชย์ครบแล้วทัง้ จ�ำนวน 21.2 ในปี 2557 บริษทั ฯ ได้กยู้ มื เงินจากธนาคารพาณิชย์แห่งหนึง่ จ�ำนวน 500.00 ล้านบาท โดยช�ำระคืนเงินต้นงวดแรกตามสัญญา จ�ำนวน 50.00 ล้านบาท ภายในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558 ส่วนทีเ่ หลือช�ำระคืนเงินต้นทุก 6 เดือน จ�ำนวน 9 งวด เป็นเงิน งวดละ 50.00 ล้านบาท สิน้ สุดสัญญาวันที่ 15 สิงหาคม 2562 (อัตราดอกเบีย้ BIBOR บวกด้วยอัตราส่วนเพิม่ คงทีต่ อ่ ปีตามสัญญา โดยช�ำระดอกเบีย้ เป็นรายเดือน) โดยในปี 2560 บริษทั ฯ ได้จา่ ยคืนเงินต้น และดอกเบีย้ ให้แก่ธนาคารพาณิชย์ครบแล้วทัง้ จ�ำนวน
22. หุ้นกู้ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวน 2,000,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 2,000 ล้านบาท จ�ำนวน 2 ชุด โดยชุดที่ 1 หุ้นกู้อายุ 3 ปี มูลค่ารวม 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.39 ต่อปี ช�ำระดอกเบี้ยทุกๆ 6 เดือน ตลอดอายุหุ้นกู้ และชุดที่ 2 หุ้นกู้อายุ 7 ปี มูลค่ารวม 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.44 ต่อปี ช�ำระดอกเบี้ยทุกๆ 6 เดือน ตลอดอายุหุ้นกู้ ซึ่งหุ้นกู้ดังกล่าวออกตาม มติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559
23. หุ้นกู้แปลงสภาพ ตามมติทปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 46 เมือ่ วันที่ 25 เมษายน 2560 ให้บริษทั ฯ ออกและเสนอขายหุน้ กูแ้ ปลงสภาพจ�ำนวนไม่เกิน 4 ล้านหน่วย ราคาหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่าทั้งสิ้นไม่เกิน 4,000 ล้านบาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ รายที่มีสิทธิได้รับ จัดสรรตามสัดส่วนการถือหุ้น และมีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ ตามที่กล่าวในหมายเหตุ 25 เพื่อรองรับการ ใช้สิทธิแปลงสภาพของหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าว และเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2560 บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าว โดยมีข้อก�ำหนดและเงื่อนไขหลักของหุ้นกู้แปลงสภาพดังนี้ ชือ่ หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ ประเภทของหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ
หุน้ กูแ้ ปลงสภาพของบริษทั สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิง้ จำ�กัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2560 ครบกำ�หนดไถ่ถอน ปี พ.ศ.2567 ซึง่ มีขอ้ กำ�หนดบังคับแปลงสภาพ (“หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ”) หุน้ กูแ้ ปลงสภาพชนิดระบุชอ่ื ผูถ้ อื มีสทิ ธิแปลงสภาพเป็นหุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่ของบริษทั ฯ ไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มปี ระกัน และมีผแู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู ้ มูลค่าทีเ่ สนอขาย 3,505,448,000 บาท จ�ำนวนหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ 3,505,448 หน่วย ราคาหน้าตัว๋ (Face Value) 1,000 (หนึง่ พัน) บาท ต่อ 1 (หนึง่ ) หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ (หรือเรียกว่า “มูลค่าทีต่ ราไว้”) อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 0.70 (ศูนย์จดุ เจ็ดศูนย์) ต่อปี วันออกหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ 29 มิถนุ ายน 2560 วันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ 29 มิถนุ ายน 2567 วันก�ำหนดช�ำระดอกเบีย้ ปีละ 4 ครัง้ ในวันที่ 29 มีนาคม 29 มิถนุ ายน 29 กันยายน และ 29 ธันวาคมของทุกปี โดยวันกำ�หนด ชำ�ระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2560 และวันกำ�หนดชำ�ระดอกเบี้ยงวดสุดท้าย คือวันครบกำ�หนดไถ่ถอนหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ ราคาแปลงสภาพ 45 (สีส่ บิ ห้า) บาทต่อ 1 (หนึง่ ) หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ซึง่ อาจมีการเปลีย่ นแปลงได้ตามเงือ่ นไขทีก่ ำ�หนด ไว้ในข้อกำ�หนดสิทธิ อัตราส่วนการแปลงสภาพ 1 หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ : 22.222222 หุน้ (หรือ อัตราอืน่ ทีเ่ กิดจากการปรับราคาแปลงสภาพตามเงือ่ นไข การกำ�หนดสิทธิ วันแปลงสภาพ ปีละ 4 ครัง้ ในเดือนมีนาคม มิถนุ ายน กันยายน และธันวาคม ของทุกปี และสามารถเริม่ แปลงสภาพได้ ในเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2561 การบังคับแปลงสภาพ ในกรณีทร่ี าคาถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำ�หนักของหุน้ สามัญของบริษทั ในตลาดหลักทรัพย์ยอ้ นหลัง 15 วัน ทำ�การ ติดต่อกันก่อนวันใช้สทิ ธิแปลงสภาพครัง้ สุดท้ายก่อนไถ่ถอน มีราคาสูงกว่า 52 บาท บริษทั ฯ จะบังคับ แปลงสภาพหุน้ กูแ้ ปลงสภาพทีย่ งั ไม่ได้ไถ่ถอนหรือแปลงสภาพทัง้ หมดเป็นหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ในวัน ครบกำ�หนดไถ่ถอนหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ ทัง้ นีต้ ามอัตราแปลงสภาพและทีร่ าคาแปลงสภาพทีม่ ผี ลบังคับ ณ วันใช้สทิ ธิแปลงสภาพครัง้ สุดท้ายก่อนไถ่ถอน บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
177
งบการเงิน
23. หุ้นกู้แปลงสภาพ (ต่อ)
ณ วันออกหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าวบริษัทฯ ได้แยกองค์ประกอบของหนี้สินและองค์ประกอบของส่วนของเจ้าของออกจากกัน โดยองค์ประกอบของหนีส้ นิ นัน้ ได้คำ� นวณจากกระแสเงินสดของเงินต้นและดอกเบีย้ ทีต่ อ้ งจ่ายในอนาคตคิดลดด้วย อัตราดอกเบีย้ ในตลาดทีเ่ ป็นอยูข่ ณะนัน้ หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ - องค์ประกอบทีเ่ ป็นทุนคือผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของหุน้ กูแ้ ปลงสภาพหักด้วย ส่วนที่เป็นองค์ประกอบของหนี้สิน ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม และ งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่าจากการออกหุ้นกู้แปลงสภาพ ต้นทุนทางตรง เงินสดรับสุทธิ มูลค่าที่จัดประเภทเป็นส่วนของเจ้าของ ต้นทุนตัดจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
3,505,448,000.00 (4,462,249.76) 3,500,985,750.24 (501,536,455.00) 317,265.47 2,999,766,560.71
24. ภาระหนี้สินจากการค�้ำประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ มีภาระหนีส้ นิ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากการค�ำ้ ประกันเงินกูย้ มื ของกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน 2 แห่ง และ 1 แห่ง จ�ำนวนเงิน 13.57 ล้านบาท และ 4.57 ล้านบาท ตามล�ำดับ
25. ประมาณการหนี้สินส�ำหรับผลประโยชน์พนักงาน บริษทั ฯจ่ายค่าชดเชยผลประโยชน์หลังออกจากงานและบ�ำเหน็จตามข้อก�ำหนดของพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ และผลประโยชน์ระยะยาวอื่นแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงานการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ปัจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม ประมาณการหนี้สินส�ำหรับผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ต้นทุนบริการปัจจุบันและดอกเบี้ย ผลประโยชน์พนักงานของบริษัทย่อยจากการรับโอนกิจการ ผลประโยชน์พนักงานจ่าย ขาดทุน(ก�ำไร)จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ประมาณการหนี้สินส�ำหรับผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
56,488,351.17 7,679,375.43 27,578,670.00 (9,136,485.31) 12,362,704.85 94,972,616.14
ประมาณการหนี้สินส�ำหรับผลประโยชน์พนักงานที่บริษัทฯ คาดว่าจะจ่ายตามระยะเวลา ดังนี้ งบการเงินรวม
ภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายภายใน 1 ปี ภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายเกินกว่า 1 ปี รวม
178
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
2560 3,863,141.87 91,109,474.27 94,972,616.14
งบการเงินเฉพาะกิจการ 56,488,351.17 5,919,810.43 0.00 (8,786,485.31) 24,327,044.00 77,948,720.29
(หน่วย : บาท) งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2559 5,985,953.00 50,502,398.17 56,488,351.17
งบการเงิน
25. ประมาณการหนี้สินส�ำหรับผลประโยชน์พนักงาน (ต่อ) ประมาณการหนี้สินส�ำหรับผลประโยชน์พนักงานที่บริษัทฯ คาดว่าจะจ่ายตามระยะเวลา ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม ภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายภายใน 1 ปี ภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายเกินกว่า 1 ปี รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
0.00 77,948,720.29 77,948,720.29
5,985,953.00 50,502,398.17 56,488,351.17
จ�ำนวนทีร่ บั รูใ้ นค่าใช้จา่ ยในการบริหารทีแ่ สดงอยูใ่ นในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ส�ำหรับปี มีดงั นี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย รวม
2560 5,575,887.77 2,103,487.66 7,679,375.43
2559 3,073,554.00 1,482,277.00 4,555,831.00
2560 4,283,780.43 1,636,030.00 5,919,810.43
2559 3,073,554.00 1,482,277.00 4,555,831.00
ข้อสมมติฐานหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่รายงาน
อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน อัตราการหมุนเวียนพนักงาน อัตรามรณะ * ขึ้นอยู่กับอายุของพนักงาน ** ตารางมรณะไทยปี 2560
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(ร้อยละ) 2.46 - 2.65 5.00 0-22* TMO2017**
(ร้อยละ) 2.46 5.00 0-22* TMO2017**
การวิเคราะห์ความอ่อนไหว การเปลี่ยนแปลงในแต่ละข้อสมมติฐานที่เกี่ยวข้องในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่อาจเป็นไปได้อย่าง สมเหตุสมผล ณ วันที่รายงาน โดยถือว่าข้อสมมติฐานอื่นๆ คงที่ จะมีผลกระทบต่อภาระผูกพันผลประโยชน์ที่กำ� หนดไว้เป็น จ�ำนวนเงินดังต่อไปนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม ประมาณการหนี้สินส�ำหรับผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5) อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 0.5) เงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 - 1.0) เงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 0.5 - 1.0) อัตราหมุนเวียนพนักงาน (เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 - 20) อัตราหมุนเวียนพนักงาน (เปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 10- 20) อัตรามรณะ (เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 - 20) อัตรามรณะ (เปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 0.5 - 20)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(4,604,991.00) 4,951,798.00 5,159,504.00 (4,804,251.00) (1,659,172.81) 1,754,916.70 (99,716.74) 100,325.86
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
(4,013,479.00) 4,321,957.00 4,025,536.00 (3,784,427.00) (1,006,971.81) 1,045,576.70 (20,129.74) 20,135.86 179
งบการเงิน
26. ทุนจดทะเบียน ตามรายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 46 เมือ่ วันที่ 25 เมษายน 2560 มีมติเห็นชอบอนุมตั กิ ารลดและเพิม่ ทุนจดทะเบียน ของบริษัทฯ ให้สอดคล้องกัน 26.1 การลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ โดยการลดทุนจดทะเบียนจาก 800,000,000.00 บาท เป็น 494,034,300.00 บาท โดยการตัดหุน้ สามัญทีย่ งั ไม่ได้ออกจ�ำหน่ายของบริษทั ฯ จ�ำนวน 305,965,700 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาท บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการ แก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทฯ ข้อ 4 เรื่อง ทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2560 26.2 การเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯ จาก 494,034,300.00 บาท เป็น 582,923,188.00 บาท โดยการออกหุน้ สามัญใหม่ จ�ำนวน 88,888,888 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาท เพือ่ รองรับการแปลงสภาพ บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิ ของบริษัทฯ ข้อ 4 เรื่อง ทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2560
27. เงินปันผล 27.1 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 8 (ชุดที่ 24) เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลจากการ ด�ำเนินงาน ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานส�ำหรับงวด 6 เดือนแรกของปี 2560 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2560 ในอัตรา 0.10 บาทต่อหุ้น จ�ำนวน 494,034,300 หุ้น จ�ำนวนเงินรวม 49,403,430 บาท ซึ่งได้จ่ายให้ ผู้ถือหุ้นเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2560 27.2 ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 46 ประจ�ำปี 2560 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลจากการ ด�ำเนินงานส�ำหรับปี 2559 ในอัตรา 0.35 บาทต่อหุ้น จ�ำนวน 494,034,300 หุ้น จ�ำนวนเงินรวม 172,912,005.00 บาท ซึ่งได้จ่ายให้ผู้ถือหุ้นเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2560 27.3 ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 7 (ชุดที่ 23) เมือ่ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 อนุมตั ิให้จา่ ยเงินปันผลระหว่างกาล ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานส�ำหรับงวด 6 เดือนแรกของปี 2559 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2559 ในอัตรา 0.10 บาทต่อหุน้ จ�ำนวน 494,034,300 หุน้ จ�ำนวนเงินรวม 49,403,430.00 บาท ซึง่ ได้จา่ ยให้ผถู้ อื หุน้ เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2559 27.4 ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 45 ประจ�ำปี 2559 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2559 อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลจากการ ด�ำเนินงานส�ำหรับปี 2558 ในอัตรา 0.23 บาทต่อหุ้น จ�ำนวน 494,034,300 หุ้น จ�ำนวนเงินรวม 113,627,889.00 บาท ซึ่งได้จ่ายให้ผู้ถือหุ้นเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2559
28. ส�ำรองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ.2535 บริษทั ฯ ต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีสว่ นหนึง่ ไว้เป็นทุนส�ำรองไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละห้าของก�ำไรสุทธิสำ� หรับปี หักยอดขาดทุนสะสมต้นปี (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรองตามกฎหมายนีจ้ ะมีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละสิบ ของทุนจดทะเบียน ทุนส�ำรองดังกล่าวจะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้
29. ส�ำรองทั่วไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ ได้จดั สรรก�ำไรส่วนหนึง่ ไว้เป็นเงินส�ำรองทัว่ ไป จ�ำนวน 280 ล้านบาท ซึง่ ไม่ได้ระบุ
180
วัตถุประสงค์เพื่อการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน
30. ภาษีเงินได้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพย์ภาษีเงินได้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ 248,074.15 0.00 248,074.15 0.00 ค่าเผื่อการด้อยค่าเงินลงทุน 162,073,310.97 129,689,681.05 187,906,456.02 148,421,666.88 ค่าเผื่อการด้อยค่า - อสังหาริมทรัพย์รอการขาย 1,787,948.36 1,787,948.36 1,787,948.36 1,787,948.36 ค่าเผื่อการด้อยค่า - อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - ที่ดินให้เช่า 13,025,046.91 13,025,046.91 13,025,046.91 13,025,046.91 ค่าเผื่อการด้อยค่า - เงินมัดจ�ำที่ดิน 3,645,180.00 3,645,180.00 3,645,180.00 3,645,180.00 เงินรับล่วงหน้า 20,462,400.00 1,599,090.00 20,462,400.00 1,599,090.00 ภาระหนี้สินจากการค�้ำประกัน 2,714,881.95 914,881.95 2,714,881.95 914,881.95 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 18,994,523.23 11,297,670.23 15,589,744.06 11,297,670.23 รวม 222,951,365.57 161,959,498.50 245,379,731.45 180,691,484.33 หนี้สินภาษีเงินได้ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อเงินลงทุน (163,542,955.59) 0.00 0.00 0.00 ก�ำไรจากการเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนในบริษัทร่วม (203,034,120.00) 0.00 (203,034,120.00) 0.00 ก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการปรับมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน ในหลักทรัพย์เผื่อขาย (286,292,243.26) (452,669,086.50) (286,205,711.86) (452,669,086.50) อสังหาริมทรัพย์ตามสัญญาจะซื้อจะขาย (ผลต่างเกณฑ์บัญชีกับเกณฑ์ภาษี) (207,925.14) (89,424.08) (207,925.14) (89,424.08) รวม (653,077,243.99) (452,758,510.58) (489,447,757.00) (452,758,510.58) สุทธิ (430,125,878.42) (290,799,012.08) (244,068,025.55) (272,067,026.25)
ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุปได้ดังนี้
(หน่วย : บาท)
งบการเงิน งบการเงินรวม ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 ภาษีเงินได้ปัจจุบัน : ภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับปี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี : ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากผลแตกต่างชั่วคราวและ การกลับรายการผลแตกต่างชั่วคราว ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
(3,329,410.51)
0.00
0.00
0.00
(313,691,984.46) (11,282,863.87) (143,329,782.73) (9,232,863.87) (317,021,394.97) (11,282,863.87) (143,329,782.73) (9,232,863.87)
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
181
งบการเงิน
30. ภาษีเงินได้ (ต่อ)
รายการกระทบยอดจ�ำนวนเงินระหว่างค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้กบั ผลคูณของก�ำไรทางบัญชีกบั อัตราภาษีที่ใช้สำ� หรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สามารถแสดงได้ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 3,487,553,740.54 1,707,938,731.41 1,699,693,424.68 793,162,739.59 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล 20% 20% 20% 20% ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลคูณอัตราภาษี 697,510,748.11 341,787,746.28 339,938,684.94 158,632,547.92 ผลกระทบทางภาษีส�ำหรับ : รายจ่ายต้องห้าม 5,054,386.83 3,125,414.23 4,866,425.20 2,761,586.03 รายได้อื่นที่เกณฑ์บัญชีต่างจากเกณฑ์ภาษี (381,970,138.14) (356,841,862.03) (197,901,725.58) (175,372,835.47) รายการลดหย่อนทางภาษี ผลขาดทุนสะสมที่(ใช้)ไม่ใช้ประโยชน์ทางภาษี (3,573,601.83) 23,211,565.39 (3,573,601.83) 23,211,565.39 รวม (380,489,353.14) (330,504,882.41) (196,608,902.21) (149,399,684.05) ค่าใช้จ่าย(รายได้)ภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ใน งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 317,021,394.97 11,282,863.87 143,329,782.73 9,232,863.87 อัตราภาษีเงินได้ที่แท้จริง 9.09% 0.66% 8.43% 1.16%
31. กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ และพนักงานร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพตาม พรบ. กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยจัดตั้ง ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2533 และมอบหมายให้ผจู้ ดั การรับอนุญาตเป็นผูจ้ ดั การกองทุนนี้ โดยหักจากเงินเดือนพนักงานส่วนหนึง่ และบริษทั ฯ จ่ายสมทบส่วนหนึ่งและจ่ายให้พนักงานในกรณีที่ออกจากงานตามระเบียบการที่ก�ำหนด ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ จ่ายเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ จ�ำนวน 9.31 ล้านบาท และ 9.09 ล้านบาทตามล�ำดับ
32. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ
รายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำคัญ ดังต่อไปนี้ งบการเงิน งบการเงินรวม ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย ต้นทุนค่าไฟฟ้า ต้นทุนค่าน�้ำและไอน�้ำ ต้นทุนค่าเช่า ต้นทุนงานแสดงสินค้า ต้นทุนค่าลิขสิทธิ์ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับอาคารสถานทีแ่ ละอุปกรณ์ ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ
182
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2560 2559 2560 2559 1,436,962,655.36 1,441,854,519.87 1,436,962,655.36 1,441,854,519.87 355,017,318.08 325,626,346.48 355,017,318.08 325,626,346.48 72,900,139.14 74,667,919.91 72,900,139.14 74,667,919.91 46,755,799.64 47,956,414.40 46,755,799.64 47,956,414.40 53,858,867.14 64,462,363.93 53,858,867.14 64,462,363.93 177,811,804.98 154,294,808.69 158,536,016.00 154,294,808.69 193,883,855.65 179,722,829.68 193,464,966.75 179,722,829.68 53,488,978.82 51,485,288.81 52,773,319.13 51,485,288.81 65,507,784.00 56,999,361.44 63,643,408.25 56,999,361.44 14,854,280.00 12,824,000.00 14,269,280.00 12,824,000.00
งบการเงิน
33. การบริหารการจัดการทุน วัตถุประสงค์ของบริษทั ฯ ในการบริหารทางการเงินคือ การด�ำรงไว้ซงึ่ ความสามารถในการด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ ง และด�ำรงไว้ซงึ่ โครงสร้างทุนที่เหมาะสม
34. ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการนีเ้ ป็นประโยชน์ทจี่ า่ ยให้แก่กรรมการของบริษทั ฯ ตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน จ�ำกัด โดยไม่รวมเงินเดือนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องที่จ่ายให้กับกรรมการในฐานะผู้บริหาร
35. ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร ผูจ้ ดั การและผูบ้ ริหารสีร่ ายแรกรองจากผูจ้ ดั การลงมา และผูบ้ ริหารในระดับเทียบเท่ารายทีส่ ที่ กุ ราย ประกอบด้วย เงินเดือน เงินอุดหนุน เงินตอบแทนการเกษียณอายุ และเบี้ยประชุม
36. ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและก�ำไรต่อหุ้นปรับลด แสดงการค�ำนวณได้ดังนี้ งบการเงินรวม กำ�ไรสุทธิ (บาท) 2560
จำ�นวนหุ้น
2559
2560
กำ�ไรต่อหุ้น 2559
2560
ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรสุทธิทเี่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ สามัญ 3,164,956,994.92 1,697,655,867.54 494,034,300 494,034,300 ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่า ปรับลด (สิทธิที่แปลงหุ้น) 10,003,492.16 39,696,397 ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด ก�ำไรสุทธิทเี่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ สามัญ สมมติว่ามีการเปลี่ยนแปลง เป็นหุ้นสามัญ 3,174,960,487.08 1 ,697,655,867.54 533,730,697 494,034,300
2559
6.41
3.44
5.95
3.44
งบการเงินเฉพาะกิจการ กำ�ไรสุทธิ (บาท) 2560
จำ�นวนหุ้น
2559
ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรสุทธิทเี่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ สามัญ 1,556,363,641.95 ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่า ปรับลด (สิทธิที่แปลงหุ้น) 10,003,492.16 ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด ก�ำไรสุทธิทเี่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ สามัญ สมมติว่ามีการเปลี่ยนแปลง เป็นหุ้นสามัญ 1,566,367,134.11
2560
กำ�ไรต่อหุ้น 2559
2560
783,929,875.72 494,034,300 494,034,300 -
39,696,397
2559
3.15
1.59
2.93
1.59
-
783,929,875.72 533,730,697 494,034,300
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
183
งบการเงิน
37. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหน้า 37.1 บริษัทฯ มีภาระผูกพันที่แสดงไว้ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ดังนี้ 37.1.1 บริษทั ฯ ขอให้ธนาคารออกหนังสือค�ำ้ ประกันการใช้กระแสไฟฟ้ากับการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค จ�ำนวน 7,222,380.13 บาท และจ�ำนวน 6,322,380.13 บาท ตามล�ำดับ และค�้ำประกันการใช้น�้ำดิบกับ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 1,130,000.00 บาท และจ�ำนวน 1,720,000.00 บาท ตามล�ำดับ 37.1.2 บริษทั ฯ ท�ำสัญญาใช้เครือ่ งหมายการค้ากับบริษทั ในต่างประเทศ ส�ำหรับสินค้าอุปโภคบริโภคซึง่ เป็นสัญญาต่างตอบแทน คู่สัญญาต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญาตามอัตราที่ตกลงต่อยอดขาย 37.1.3 บริษทั ฯ ได้ทำ� สัญญาในการซือ้ กระแสไฟฟ้าจากบริษทั ในเครือแห่งหนึง่ เป็นระยะเวลา 15 ปี เพือ่ จ�ำหน่ายแก่ผใู้ ช้กระแสไฟฟ้า ในโครงการสวนอุตสาหกรรมฯ ศรีราชา บริษทั ฯ จะต้องจ่ายช�ำระค่ากระแสไฟฟ้าตามเงือ่ นไขทีก่ ำ� หนดไว้ในสัญญา โดยผูใ้ ช้กระแสไฟฟ้าจะต้องค�ำ้ ประกันการใช้ไฟฟ้าต่อบริษทั ฯ ตามขนาดของหม้อแปลงไฟฟ้าทีข่ อใช้โดยคิดในราคา 400.00 บาท ต่อ 1 KVA โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีผู้ใช้กระแสไฟฟ้า จ�ำนวน 60 ราย โดยจ�ำนวน 49 รายให้ธนาคารพาณิชย์เป็น ผูค้ ำ�้ ประกันการใช้กระแสไฟฟ้าต่อบริษทั ฯ จ�ำนวน 197,800,300.00 บาท จ�ำนวน 6 ราย ได้คำ�้ ประกันด้วยเงินสด จ�ำนวน 1,487,000.00 บาท จ�ำนวน 1 ราย ค�้ำประกันด้วยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 5,000,000.00 บาท และส่วนที่เหลืออีก 4 ราย ค�้ำประกัน โดยธนาคารพาณิชย์และเงินสด จ�ำนวน 13,097,344.00 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีผู้ใช้กระแสไฟฟ้า จ�ำนวน 58 ราย โดยจ�ำนวน 47 ราย ให้ธนาคารพาณิชย์เป็น ผูค้ ำ�้ ประกันการใช้กระแสไฟฟ้าต่อบริษทั ฯ จ�ำนวน 181,848,300.00 บาท จ�ำนวน 6 ราย ได้คำ�้ ประกันด้วยเงินสด จ�ำนวน 1,487,000.00 บาท จ�ำนวน 1 ราย ค�้ำประกันด้วยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 6,220,000.00 บาท และส่วนที่เหลืออีก 4 ราย ค�้ำประกัน โดยธนาคารพาณิชย์และเงินสด จ�ำนวน 11,935,044.00 บาท 37.1.4 บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาในการซื้อไอน�้ำจากบริษัทในเครือแห่งหนึ่งเป็นระยะเวลา 15 ปี เพื่อจ�ำหน่ายแก่ผู้ใช้ไอน�้ำ ในโครงการสวนอุตสาหกรรมฯ ศรีราชา บริษทั ฯ จะต้องช�ำระค่าไอน�ำ้ ตามเงือ่ นไขทีก่ ำ� หนดไว้ในสัญญา โดยผูใ้ ช้ ไอน�ำ้ จะต้องท�ำการค�้ำประกันการใช้ไอน�้ำต่อบริษัทฯ ตั้งแต่เริ่มแรกที่ใช้ไอน�้ำตามอัตราที่ผู้ขายก�ำหนด แต่ไม่น้อยกว่า ค่าไอน�้ำสูงสุดของปีที่ผ่านมา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีผู้ใช้ไอน�้ำ จ�ำนวน 22 ราย โดยจ�ำนวน 21 ราย ให้ธนาคารพาณิชย์เป็นผู้ค�้ำประกัน การใช้ไอน�้ำต่อบริษัทฯ จ�ำนวน 19,390,510.00 บาท และส่วนที่เหลืออีก 1 ราย ค�้ำประกันโดยด้วยพันธบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 12,000,000.00 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีผู้ใช้ไอน�้ำ จ�ำนวน 22 ราย โดยจ�ำนวน 21 ราย ให้ธนาคารพาณิชย์เป็นผู้ค�้ำประกัน การใช้ไอน�้ำต่อบริษัทฯ จ�ำนวน 20,039,710.00 บาท และส่วนที่เหลืออีก 1 ราย ค�้ำประกันโดยด้วยพันธบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 10,382,000.00 บาท 37.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ มีภาระผูกพันจากสัญญาก่อสร้างภายในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ โดยมีสญั ญา ก่อสร้าง จ�ำนวน 12 สัญญา และ 4 สัญญา เป็นจ�ำนวนคงเหลือตามสัญญา 21.93 ล้านบาท และ 6.13 ล้านบาท ตามล�ำดับ 37.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ มีวงเงินส�ำหรับการใช้จ่ายเงินตราต่างประเทศกับธนาคารพาณิชย์ 2 แห่ง จ�ำนวน 13,000,000 USD
184
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน
37. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหน้า (ต่อ)
37.4 บริษัทฯ มีวงเงินค�้ำประกันที่ท�ำกับธนาคาร สถาบันการเงินและบริษัทต่างๆ ให้กับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม และ ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย และ งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัทร่วม - บริษัท สหพัฒน์เรียลเอสเตท จ�ำกัด - บริษัท สห โตคิว คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด - บริษัท สหชลผลพืช จ�ำกัด - บริษัท พิทักษ์กิจ จ�ำกัด - บริษัท ไหมทอง จ�ำกัด - บริษัท เอส.ที.(ไทยแลนด์) จ�ำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - บริษัท โตโยโบะ สห เซฟตี้ วีฟ จ�ำกัด - บริษัท ซูรูฮะ (ประเทศไทย) จ�ำกัด - บริษัท โมบาย โลจิสติกส์ จ�ำกัด - PT. DYNIC TEXTILE PRESTIGE - บริษัท เอ เทค เท็กซ์ไทล์ จ�ำกัด - บริษัท เอส.ที.(ไทยแลนด์) จ�ำกัด - บริษัท โอสถ อินเตอร์ แลบบอราทอรี่ส์ จ�ำกัด - บริษัท ทรานสคอสมอส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด รวม รวมวงเงินค�้ำประกันทั้งสิ้น
ลักษณะความสัมพันธ์ A, B, C, E, F A, B, C, E A, B, C, E, F A, B, C, E, F A, B, C, E A, B, C, E, F
A, C, E A, B, C, E, F A, B, C, E A, C A, C, E A, B, C, E, F A, B, E A, C, E, F
31 ธันวาคม 2560 430,000,000.00 137,900,000.00 43,000,000.00 16,000,000.00 5,000,000.00 0.00 631,900,000.00 100,800,000.00 35,500,000.00 25,200,000.00 18,065,960.00 18,061,400.00 12,000,000.00 0.00 9,000,000.00 218,627,360.00 850,527,360.00
31 ธันวาคม 2559 0.00 140,000,000.00 43,000,000.00 16,000,000.00 5,000,000.00 12,000,000.00 216,000,000.00 0.00 35,500,000.00 25,200,000.00 16,201,125.00 0.00 0.00 10,000,000.00 9,000,000.00 95,901,125.00 311,901,125.00
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ มียอดวงเงินค�ำ้ ประกัน จ�ำนวน 850.53 ล้านบาท และจ�ำนวน 311.90 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยมียอดใช้ไป จ�ำนวน 689.23 ล้านบาท และจ�ำนวน 156.94 ล้านบาท ตามล�ำดับ บริษทั ฯ จะคิดค่าธรรมเนียมการค�ำ้ ประกันในอัตราร้อยละ 0.5 - 1 ของมูลค่าวงเงิน โดยบริษทั ฯ จะจัดเก็บจากบริษทั ทีจ่ า่ ยค่าปรึกษาธุรกิจ ในอัตราร้อยละ 0.5 และจะจัดเก็บจากบริษทั ที่ไม่ได้จา่ ยค่าปรึกษาธุรกิจร้อยละ 1ยกเว้น บริษทั ฯ ทีร่ ว่ มทุนกับต่างประเทศ บริษทั ฯ จะไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมค�ำ้ ประกัน หมายเหตุ : ลักษณะความสัมพันธ์ A บริษทั ถือหุน้ และ/หรือ การถือหุน้ ร่วมกัน B บริษทั มีกรรมการร่วมกัน C บริษทั ค�ำ้ ประกัน D บริษทั ให้กยู้ มื E บริษทั มีรายการซือ้ ขายระหว่างกัน F ผูถ้ อื หุน้ หรือกรรมการเป็นญาติสนิทกรรมการ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
185
186
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
รายได้ ค่าใช้จ่าย ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ก�ำไรสุทธิ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์รวม หนี้สินที่จ�ำแนกตามส่วนงานได้ หนี้สินที่จ�ำแนกตามส่วนงานไม่ได้ หนี้สินรวม
2559 1,876,514 (95,007) 1,781,507
162,495 600
2560 4,005,537 (232,286) 3,773,251
172,416 0
331,713
828,624
2560 2,518,310 (2,214,876) 303,434
277,933
752,478
2559 2,426,924 (2,173,293) 253,631
102,312
319,399
2560 209,124 (33,163) 175,961
7,995
317,206
2559 271,796 (63,361) 208,435
2560 6,732,971 (2,480,325) 4,252,646 (652,518) (112,574) (317,021) 3,170,533 1,320,439 33,809,413 35,129,852 434,025 9,966,795 10,400,820
2559 4,575,234 (2,331,661) 2,243,573 (490,863) (43,771) (11,283) 1,697,656 1,232,179 23,984,233 25,216,412 286,528 2,351,595 2,638,123
ข้อมูลส่วนงานด�ำเนินงาน เป็นการน�ำเสนอมุมมองของผูบ้ ริหารในการรายงานข้อมูลส่วนงาน โดยข้อมูลส่วนงานอ้างอิงจากข้อมูลภายในที่ได้รายงานต่อผูม้ อี ำ� นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนิน งานของบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ บริษัทฯ ด�ำเนินกิจการในส่วนงานธุรกิจเงินลงทุน ธุรกิจให้เช่าและบริการ ธุรกิจสวนอุตสาหกรรม และธุรกิจขายสินค้า ซึ่งด�ำเนินธุรกิจในส่วนงานทางภูมิศาสตร์ในประเทศไทย ดังนั้นการด�ำเนิน งานของแต่ละส่วนงานที่รายงานของบริษัทฯโดยสรุปมีดังนี้ 38.1 ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน ในงบการเงินรวม ส�ำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และงบการเงินทีแ่ สดงเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสีย ส�ำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ดังนี ้ (หน่วย : พันบาท) ธุรกิจเงินลงทุนและอื่นๆ ธุรกิจเช่าและบริการ ธุรกิจสวนอุตสาหกรรม รวม
38. การเสนอข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน
งบการเงิน
รายได้ ค่าใช้จ่าย ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ก�ำไรสุทธิ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์รวม หนี้สินที่จ�ำแนกตามส่วนงานได้ หนี้สินที่จ�ำแนกตามส่วนงานไม่ได้ หนี้สินรวม
2559 929,189 (47,958) 881,231
162,495 600
2560 2,214,598 (215,454) 1,999,144
170,255 0
331,713
828,623
2560 2,482,005 (2,204,247) 277,758
277,933
752,478
2559 2,426,924 (2,173,293) 253,631
102,312
319,399
2560 209,124 (33,163) 175,961
7,995
317,206
2559 271,796 (63,361) 208,435
2559 3,627,909 (2,284,612) 1,343,297 (506,363) (43,771) (9,233) 783,930 1,232,179 10,977,577 12,209,756 286,528 2,351,595 2,638,123
(หน่วย : พันบาท) รวม
2560 4,905,727 (2,452,864) 2,452,863 (640,595) (112,574) (143,330) 1,556,364 1,318,277 19,618,315 20,936,592 434,025 9,780,665 10,214,690
38.2 ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน ในงบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ดังนี้ ธุรกิจเงินลงทุนและอื่นๆ ธุรกิจเช่าและบริการ ธุรกิจสวนอุตสาหกรรม
38. การเสนอข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน (ต่อ)
งบการเงิน
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
187
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯ มีรายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการเหล่านี้เกี่ยวข้องกัน โดยการถือหุ้นร่วมกันหรือการมีผู้ถือหุ้นหรือ
กรรมการบางส่วนร่วมกัน ซึ่งรายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นตามปกติทางการค้าเช่นเดียวกับบริษัทอื่น รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่เป็นสาระส�ำคัญ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย 2560 สินทรัพย์ / หนี้สิน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น เงินรับล่วงหน้าและเงินประกัน
2559
219,155,460.57 82,814,641.59 188,644,607.52 161,213,302.54
172,457,582.50 0.00 163,090,204.96 56,750,796.96
2560 212,815,614.91 82,814,641.59 188,536,353.08 161,213,302.54
งบการเงินรวม 2560 รายได้ ค่าไฟฟ้า และ ไอน�้ำรับ 1,567,484,954.52 ค่าเช่ารับ 128,040,375.72 ค่าสาธารณูปโภครับ 90,304,889.53 ค่าลิขสิทธิ์รับ 68,253,135.49 รายได้จากงานแสดงสินค้า 55,101,296.25 ค่าน�้ำรับ 61,966,660.20 รายได้ค่านายหน้า 33,709,879.94 รายได้อื่น 30,570,609.26 ดอกเบีย้ รับตามสัญญาเช่าทางการเงิน 22,260,872.54 ค่าบ�ำบัดน�้ำเสียรับ 28,412,650.47 ค่าปรึกษารับ 20,048,267.93 รายได้จากบริการส่งออก ค่าค�้ำประกันรับ ขายอสังหาริมทรัพย์ ตามสัญญาจะซื้อจะขาย
188
2,595,500.00 2,252,168.49 202,623,750.00
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย
2559 172,457,582.50 0.00 163,090,204.96 56,750,796.96
(หน่วย : บาท) นโยบายการกำ�หนดราคา
2559
1,550,963,470.85 ค่าไฟฟ้าไม่เกินกว่าราคาจำ�หน่ายของ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ค่าไอน้ำ�ราคาตามสัญญาไม่ต่ำ�กว่าราคาซื้อ จากบริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จำ�กัด (มหาชน) 120,907,089.79 อัตราตามสัญญาโดยพิจารณาจากทำ�เลที่ตั้ง และต้นทุนในการลงทุนของบริษัทฯ 82,035,516.22 อัตราตามสัญญา ซึ่งเท่ากับลูกค้ารายอื่น 79,101,132.28 อัตราร้อยละ 3.5 - 8 ของราคายอดขายสุทธิ 51,073,045.20 ต้นทุนบวกส่วนเพิ่ม 64,962,840.53 ไม่เกินกว่าราคาจำ�หน่ายของการประปาส่วน ภูมิภาค 0.00 ราคาตามสัญญา 32,680,516.41 อัตราตามสัญญาหรือตกลงกันโดยพิจารณา จากลักษณะของการให้บริการ จำ�นวน ระยะเวลา รวมถึงต้นทุนในการให้บริการ 0.00 อัตราตามที่ตกลงกัน 29,943,857.89 อัตราตามสัญญาขึ้นอยู่กับลักษณะ และ ปริมาณของน้ำ�เสีย 18,306,957.50 อัตราตามที่ตกลงกันโดยอ้างอิงจากลักษณะ ของการให้บริการ 0.00 ราคาตามสัญญา 784,148.48 อัตราร้อยละ 0.5 - 1 ของมูลค่าวงเงิน 73,000,000.00 อัตราตามที่กำ�หนดไว้ในสัญญา
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560
(หน่วย : บาท) นโยบายการกำ�หนดราคา
2559
รายได้ 1,567,484,954.52 ค่าไฟฟ้า และ ไอน�้ำรับ 128,040,375.72 ค่าเช่ารับ 90,304,889.53 ค่าสาธารณูปโภครับ 68,253,135.49 ค่าลิขสิทธิ์รับ 55,101,296.25 รายได้จากงานแสดงสินค้า 61,966,660.20 ค่าน�้ำรับ 30,570,609.26 รายได้อื่น ดอกเบีย้ รับตามสัญญาเช่าทางการเงิน 22,260,872.54 ค่าบ�ำบัดน�้ำเสียรับ 28,412,650.47 ค่าปรึกษารับ 20,048,267.93 ค่าค�้ำประกันรับ 2,252,168.49 ขายอสังหาริมทรัพย์ ตามสัญญาจะซื้อจะขาย 202,623,750.00
1,550,963,470.85 ค่าไฟฟ้าไม่เกินกว่าราคาจำ�หน่ายของ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ค่าไอน้ำ�ราคาตามสัญญาไม่ต่ำ�กว่าราคาซื้อ จากบริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จำ�กัด (มหาชน) 120,907,089.79 อัตราตามสัญญาโดยพิจารณาจากทำ�เลที่ตั้ง และต้นทุนในการลงทุนของบริษัทฯ 82,035,516.22 อัตราตามสัญญา ซึ่งเท่ากับลูกค้ารายอื่น 79,101,132.28 อัตราร้อยละ 3.5 - 8 ของราคายอดขายสุทธิ 51,073,045.20 ต้นทุนบวกส่วนเพิ่ม 64,962,840.53 ไม่เกินกว่าราคาจำ�หน่ายของการประปาส่วน ภูมิภาค 32,680,516.41 อัตราตามสัญญาหรือตกลงกันโดยพิจารณา จากลักษณะของการให้บริการ จำ�นวน ระยะเวลา รวมถึงต้นทุนในการให้บริการ 0.00 อัตราตามที่ตกลงกัน 29,943,857.89 อัตราตามสัญญาขึ้นอยู่กับลักษณะ และ ปริมาณของน้ำ�เสีย 18,306,957.50 อัตราตามที่ตกลงกันโดยอ้างอิงจากลักษณะ ของการให้บริการ 784,148.48 อัตราร้อยละ 0.5 - 1 ของมูลค่าวงเงิน 73,000,000.00 อัตราตามที่กำ�หนดไว้ในสัญญา
(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม เงินปันผลรับ
2560 263,383,711.25
งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2559 355,877,635.42
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 1,045,939,003.15
2559 865,193,235.72
ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 รายได้ค่าไฟฟ้าและค่าไอน�้ำเป็นรายได้ที่รับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ�ำนวน 1,567.48 ล้านบาท และ 1,550.96 ล้านบาท และรับจากบริษทั อืน่ จ�ำนวน 176.07 ล้านบาท และ 168.75 ล้านบาท รวมเป็นเงิน 1,743.55 ล้านบาท และ 1,719.71 ล้านบาท ตามล�ำดับ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
189
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ)
งบการเงินรวม 2560 ค่าใช้จ่าย ต้นทุนค่าไฟฟ้า และไอน�้ำ
1,724,073,316.68
รายจ่ายเพื่อการก่อสร้าง
191,174,250.07
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
89,884,878.96
ค่าใช้จ่ายพัฒนาที่ดิน
65,206,320.25
ค่าใช้จ่ายโรงกรองน�้ำ
31,763,479.42
ค่ารักษาความปลอดภัย
27,056,811.03
ดอกเบีย้ จ่ายหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ
11,891,670.58
ค่าบ�ำบัดน�้ำเสียจ่าย
26,913,590.28
ค่าใช้จ่ายวิเคราะห์น�้ำ
8,047,596.50
ค่าใช้จ่ายในงานแสดงสินค้า
3,831,839.66
ค่าไฟฟ้าโรงกรองน�ำ้ บ่อบ�ำบัด ค่าเบี้ยประกัน
6,455,136.31 1,434,673.14
งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย
นโยบายการกำ�หนดราคา
2559
1,711,928,859.33 ค่าไฟฟ้าตามอัตราของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หักอัตราส่วนลด ค่าไอน้ำ�ราคาตามสัญญา 81,170,611.97 กำ�หนดจากรูปแบบ ขนาดอาคาร วัสดุ และ เทคนิคการตกแต่ง 74,474,441.78 ราคาตลาด หรือ ราคาเทียบเคียงกับ ผู้ให้บริการรายอื่น 67,181,818.86 ราคาตลาด หรือ ราคาเทียบเคียงกับ ผู้ให้บริการรายอื่น 28,318,761.06 ราคาตลาด หรือ ราคาเทียบเคียงกับ ผู้ให้บริการรายอื่น 27,002,958.90 อัตราตามสัญญาอ้างอิงจากจำ�นวนเจ้าหน้าที่ ระยะเวลา และพื้นที่ในการใช้บริการ 0.00 กำ�หนดตามอายุหุ้นกู้ และการจัดอันดับ ความน่าเชื่อถือของบริษัท (AA) 22,891,227.40 อัตราตามสัญญาและปริมาณการใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่เกิดจริง ตามราคาตลาดทั่วไป 7,153,473.00 ราคาตลาด หรือ ราคาเทียบเคียงกับ ผู้ให้บริการรายอื่น 3,278,324.63 กำ�หนดตามลักษณะงาน ปริมาณ ระยะเวลา ของการใช้บริการ 10,870,538.37 ตามที่ผู้ให้บริการกำ�หนด 1,164,834.38 ราคาตลาด หรือ ราคาเทียบเคียงกับ ผู้ให้บริการรายอื่น
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับปี
2560 ค่าใช้จ่าย ต้นทุนค่าไฟฟ้า และไอน�้ำ
1,724,073,316.68
รายจ่ายเพื่อการก่อสร้าง
191,174,250.07
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
89,132,105.79
ค่าใช้จ่ายพัฒนาที่ดิน
65,206,320.25
ค่าใช้จ่ายโรงกรองน�้ำ
31,763,479.42
ค่ารักษาความปลอดภัย
27,056,811.03
190
(หน่วย : บาท)
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
นโยบายการกำ�หนดราคา
2559
1,711,928,859.33 ค่าไฟฟ้าตามอัตราของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หักอัตราส่วนลด ค่าไอน้ำ�ราคาตามสัญญา 81,170,611.97 กำ�หนดจากรูปแบบ ขนาดอาคาร วัสดุ และ เทคนิคการตกแต่ง 74,474,441.78 ราคาตลาด หรือ ราคาเทียบเคียงกับ ผู้ให้บริการรายอื่น 67,181,818.86 ราคาตลาด หรือ ราคาเทียบเคียงกับ ผู้ให้บริการรายอื่น 28,318,761.06 ราคาตลาด หรือ ราคาเทียบเคียงกับ ผู้ให้บริการรายอื่น 27,002,958.90 อัตราตามสัญญาอ้างอิงจากจำ�นวนเจ้าหน้าที่ ระยะเวลา และพื้นที่ในการใช้บริการ
งบการเงิน
39. รายการบั ญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) งบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับปี
2560 ค่าใช้จ่าย (ต่อ) ดอกเบี้ยจ่ายหุ้นกู้แปลงสภาพ ค่าบ�ำบัดน�้ำเสียจ่าย ค่าใช้จ่ายวิเคราะห์น�้ำ ค่าใช้จ่ายในงานแสดงสินค้า ค่าไฟฟ้าโรงกรองน�้ำ บ่อบ�ำบัด ค่าเบี้ยประกัน
(หน่วย : บาท) นโยบายการกำ�หนดราคา
2559
11,891,670.58 26,913,590.28 8,047,596.50 3,831,839.66 6,455,136.31 1,434,673.14
0.00 กำ�หนดตามอายุหุ้นกู้ และการจัดอันดับ ความน่าเชื่อถือของบริษัท (AA) 22,891,227.40 อัตราตามสัญญาและปริมาณการใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่เกิดจริง ตามราคาตลาดทั่วไป 7,153,473.00 ราคาตลาด หรือ ราคาเทียบเคียงกับ ผู้ให้บริการรายอื่น 3,278,324.63 กำ�หนดตามลักษณะงาน ปริมาณ ระยะเวลา ของการใช้บริการ 10,870,538.37 ตามที่ผู้ให้บริการกำ�หนด 1,164,834.38 ราคาตลาด หรือ ราคาเทียบเคียงกับ ผู้ให้บริการรายอื่น
ส�ำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ต้นทุนค่าไฟฟ้าและไอน�ำ้ จ�ำนวน 1,725.60 ล้านบาท และ 1,711.93 ล้านบาท ตามล�ำดับ เป็นต้นทุนทีจ่ า่ ยให้บริษทั สหโคเจน (ชลบุร)ี จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ เป็นกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน และได้ขายให้กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน และบริษัทอื่น รายการซื้อ-ขายสินทรัพย์กับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม และ ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย และ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 434,579.44
รายการขายยานพาหนะ
2559 1,400,000.00
รายการซื้อ-ขายเงินลงทุนกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม และ ที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีส่วนได้เสีย และ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 27,319,200.00 104,642,310.00
รายการซิ้อเงินลงทุน รายการขายเงินลงทุน
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดังนี้ งบการเงินรวม ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์ระยะยาว รวม
2560 78,933,213.00 1,428,851.00 80,362,064.00
งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2559 69,589,043.44 234,318.00 69,823,361.44
2559
0.00 0.00
(หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 76,204,906.25 1,707,782.00 77,912,688.25
2559 69,589,043.44 234,318.00 69,823,361.44
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
191
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 39.1 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีลกู หนีก้ ารค้าและลูกหนีห้ มุนเวียนอืน่ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันตามงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการจ�ำนวน 89 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 219,155,460.57 บาท และ 212,815,614.91 บาท ตามล�ำดับ ( ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จ�ำนวน 87 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 172,457,582.50 บาท) มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย ลักษณะ ความสัมพันธ์ A, E, F
1 บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) (หลังควบรวมกิจการ) A, B, E, F 3 บริษัท สหชลผลพืช จ�ำกัด A, B, C, E, F 4 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จ�ำกัด A, B, E, F 5 บริษัท ท้อปเทร็นด์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด A, B, E, F 6 บริษัท เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) A, B, E, F 7 บริษัท บูติคนิวซิตี้ จ�ำกัด (มหาชน) A, E, F 8 บริษัท ภัทยาอุตสาหกิจ จ�ำกัด A, B, E 9 บริษัท ไทยซัมซุง อิเลคโทรนิคส์ จ�ำกัด A, B, E 10 บริษัท ไทยชิกิโบ จ�ำกัด A, B, E 11 บริษัท จาโนเม่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด A, B, E 12 บริษัท บางกอกโตเกียว ซ็อคส์ จ�ำกัด A, B, E 13 บริษัท ราชาอูชิโน จ�ำกัด A, B, E 14 บริษัท ไทยอาราอิ จ�ำกัด A, B, E 15 บริษัท เอสเอสดีซี (ไทเกอร์เท็กซ์) จ�ำกัด A, B, E 16 บริษัท ไทยลอตเต้ จ�ำกัด A, E 17 บริษัท ไทยคามาย่า จ�ำกัด E 18 บริษัท โอสถ อินเตอร์ แลบบอราทอรีส์ จ�ำกัด A, B, E 19 บริษัท ไทย อาซาฮี คาเซอิ สแปนเด็กซ์ จ�ำกัด A, E 20 บริษทั ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (มหาชน) A, B, E, F 21 บริษัท กบินทร์พัฒนกิจ จ�ำกัด B, E 22 บริษัท เคนมิน ฟู้ดส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด A, E 23 บริษัท โตโย เท็กซ์ไทล์ ไทย จ�ำกัด A, B, E 24 บริษัท เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จ�ำกัด (มหาชน) A, B, E 25 บริษัท มอลเทน (ไทยแลนด์) จ�ำกัด A, E, F 26 บริษทั มอลเท็นเอเซียโพลิเมอร์ โปรดักส์ จ�ำกัด A, E, F 27 บริษัท สหเซวา จ�ำกัด A, B, E 28 บริษัท เอส.ที.(ไทยแลนด์) จ�ำกัด A, B, C, E, F 29 บริษัท เฟิสท์ยูไนเต็ดอินดัสตรี จ�ำกัด A, B, E, F 30 บริษัท เอ็กแซ็ค คิว จ�ำกัด B, E 31 บริษัท อาซาฮี คาเซอิ สปันบอนด์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด A, B, E 32 บริษัท ประชาอาภรณ์ จ�ำกัด (มหาชน) A, B, E, F 33 บริษัท ศรีราชา เอวิเอชั่น จ�ำกัด A, B, E, F
192
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
2560 7,011,483.65
2559 7,042,365.75
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 7,011,483.65
2559 7,042,365.75
23,595,948.76 15,232,568.56 17,256,103.10 15,232,568.56 954,634.03 810,997.91 954,634.03 810,997.91 61,443,387.66 13,372,756.79 61,443,387.66 13,372,756.79 5,009,370.60 4,622,210.45 5,009,370.60 4,622,210.45 3,740,303.78 4,019,689.30 3,740,303.78 4,019,689.30 1,452,310.79 1,845,826.30 1,452,310.79 1,845,826.30 977,291.82 1,187,346.51 977,291.82 1,187,346.51 19,436,005.70 19,740,500.34 19,436,005.70 19,740,500.34 6,207.98 6,010,064.27 6,207.98 6,010,064.27 1,334,486.27 1,423,291.19 1,334,486.27 1,423,291.19 2,054,460.94 1,936,677.64 2,054,460.94 1,936,677.64 3,718,570.09 4,501,755.38 3,718,570.09 4,501,755.38 7,111,053.09 6,386,482.13 7,111,053.09 6,386,482.13 908,906.31 809,577.31 908,906.31 809,577.31 22,718.27 945,680.43 22,718.27 945,680.43 2,623,959.89 2,687,606.16 2,623,959.89 2,687,606.16 1,530,900.60 1,280,021.31 1,530,900.60 1,280,021.31 16,085,851.79 15,133,249.16 16,085,851.79 15,133,249.16 5,779,182.61 10,026,987.59 5,779,182.61 10,026,987.59 534,015.53 539,783.51 534,015.53 539,783.51 2,586,393.65 2,339,277.90 2,586,393.65 2,339,277.90 1,372,057.64 886,430.12 1,372,057.64 886,430.12 3,105,467.93 3,128,736.15 3,105,467.93 3,128,736.15 2,153,866.27 2,134,271.72 2,153,866.27 2,134,271.72 4,067,350.35 3,894,553.76 4,067,350.35 3,894,553.76 3,712,062.94 3,394,698.36 3,712,062.94 3,394,698.36 617,664.65 615,776.02 617,664.65 615,776.02 628,613.88 642,841.90 628,613.88 642,841.90 762,785.17 592,338.20 762,785.17 592,338.20 21,718,028.34 20,566,081.46 21,718,028.34 20,566,081.46 45,305.08 2,175,431.36 45,305.08 2,175,431.36 923,188.52 672,585.34 923,188.52 672,585.34
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ)
39.1 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย 34 บริษัท คาร์บอน เมจิก (ประเทศไทย) จ�ำกัด 35 บริษัท ไทยซิลิเกตเคมิคัล จ�ำกัด 36 บริษัท เอ เทค เท็กซ์ไทล์ จ�ำกัด 37 บริษัท นิปปอน เต ซาโต จ�ำกัด 38 บริษัท วาโก้ศรีราชา จ�ำกัด (เดิมชื่อ บริษัท เอสอาร์.ดับบลิว.การ์เมนท์ จ�ำกัด) 39 กิจการที่เกี่ยวข้องอื่น รวม
ลักษณะ ความสัมพันธ์ A, B, E E, F A, C, E A, B, E B, E
2560 1,607,966.16 2,947,797.67 1,697,612.78 630,096.88
2559
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560
1,271,817.35 2,536,851.81 1,781,827.62 276,529.01
1,607,966.16 2,947,797.67 1,697,612.78 630,096.88
2559 1,271,817.35 2,536,851.81 1,781,827.62 276,529.01
522,032.03 487,436.01 522,032.03 487,436.01 4,726,120.47 5,504,660.42 4,726,120.47 5,504,660.42 219,155,460.57 172,457,582.50 212,815,614.91 172,457,582.50
39.2 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีลกู หนีต้ ามสัญญาเช่าซือ้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน จ�ำนวน 16 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 82,814,641.59 บาท มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธสี ว่ นได้เสีย ลักษณะ ความสัมพันธ์ A, B, E, F
2560
1,376,329.30 1 บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) (หลังควบรวมกิจการ) 2 บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) A, B, E, F 36,477,311.91 3 บริษัท พิทักษ์กิจ จ�ำกัด A, B, C, E, F 3,226,484.25 7,348,624.69 4 บริษัท อีสเทิร์น ไทย คอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด A, B, E 3,247,164.59 5 บริษัท เส-นอร์สห โลจิสติกส์ จ�ำกัด A, B, E 1,320,038.85 6 บริษัท กบินทร์พัฒนกิจ จ�ำกัด B, E 2,199,207.03 7 บริษทั เพนส์ มาร์เก็ตติง้ แอนด์ ดิสทริบวิ ชัน่ จ�ำกัด A, E, F 677,391.54 8 บริษัท พี ที เค มัลติเซอร์วิส จ�ำกัด B, E 9 บริษัท ไทซันฟูดส์ จ�ำกัด A, B, E, F 25,886,356.44 596,253.63 10 บริษัท ไดอิชิแพคเกจจิ้ง จ�ำกัด E, F 459,479.36 11 กิจการที่เกี่ยวข้องอื่น 82,814,641.59 รวม
2559
2560 0.00
2559
1,376,329.30
0.00
0.00 36,477,311.91 0.00 3,226,484.25 0.00 7,348,624.69 0.00 3,247,164.59 0.00 1,320,038.85 0.00 2,199,207.03 0.00 677,391.54 0.00 25,886,356.44 0.00 596,253.63 0.00 459,479.36 0.00 82,814,641.59
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
193
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 39.3 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีเจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีห้ มุนเวียนอืน่ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันตามงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวน 95 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 188,644,607.52 บาท และ 188,536,353.08 บาท ตามล�ำดับ ( ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จ�ำนวน 15 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 163,090,204.96 บาท) มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย 1 2 3 4 5
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ลักษณะ 2560 2559 2560 2559 ความสัมพันธ์ บริษัท พิทักษ์กิจ จ�ำกัด A, B, C, E, F 8,533,562.04 5,452,590.92 8,533,562.04 5,452,590.92 บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน) A, B, E 139,397,506.24 136,524,364.23 139,397,506.24 136,524,364.23 บริษัท อีสเทิร์น ไทยคอนซัลติ้ง 1992 จ�ำกัด A, B, E 32,606,511.48 5,326,720.72 32,606,511.48 5,326,720.72 6,626,636.23 14,557,458.62 6,626,636.23 14,557,458.62 บริษัท พี ที เค มัลติเซอร์วิส จ�ำกัด B, E 1,480,391.53 1,229,070.47 1,372,137.09 1,229,070.47 กิจการที่เกี่ยวข้องอื่น 188,644,607.52 163,090,204.96 188,536,353.08 163,090,204.96 รวม
39.4 เงินรับล่วงหน้าและเงินประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีเงินรับล่วงหน้าและเงินประกันจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันตามงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวน 54 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 161,213,302.54 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จ�ำนวน 48 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 56,750,796.96 บาท ) มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธสี ว่ นได้เสีย ลักษณะ ความสัมพันธ์ 1 บริษัท เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษัท ท้อปเทร็นด์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด 3 บริษัท ไทย คิวบิค เทคโนโลยี่ จ�ำกัด 4 บริษัท ไทยซัมซุง อิเลคโทรนิคส์ จ�ำกัด 5 บริษัท ไทยลอตเต้ จ�ำกัด 6 บริษัท ไทยอาราอิ จ�ำกัด 7 บริษัท เฟิสท์ยูไนเต็ดอินดัสตรี จ�ำกัด 8 บริษัท เอส.ที.(ไทยแลนด์) จ�ำกัด 9 บริษัท กบินทร์พัฒนกิจ จ�ำกัด 10 บริษัท ไทยโคบาชิ จ�ำกัด 11 บริษัท สหเซวา จ�ำกัด 12 บริษัท ซูรูฮะ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 13 บริษัท บีเอ็นซี แม่สอด จ�ำกัด 14 บริษัท คาร์บอน เมจิก (ประเทศไทย) จ�ำกัด 15 บริษัท รักษาความปลอดภัย ไทยซีคอม จ�ำกัด (เดิมชือ่ บริษทั ไทยซีคอมพิทกั ษ์กจิ จ�ำกัด)
2560
2559
2560
2559
A, B, E, F 4,492,120.00 4,492,120.00 4,492,120.00 4,492,120.00 578,911.53 596,494.13 578,911.53 596,494.13 A, B, E, F 0.00 1,976,400.00 0.00 1,976,400.00 A, B, E, F 6,240,008.09 6,066,260.45 6,240,008.09 6,066,260.45 A, B, E 656,100.00 656,100.00 656,100.00 656,100.00 A, E 6,206,960.00 6,206,960.00 6,206,960.00 6,206,960.00 A, B, E A, B, E, F 7,198,275.00 7,198,275.00 7,198,275.00 7,198,275.00 A, B, C, E, F 1,539,399.00 1,539,399.00 1,539,399.00 1,539,399.00 1,167,010.00 1,167,000.00 1,167,010.00 1,167,000.00 B, E 1,603,800.00 1,603,800.00 1,603,800.00 1,603,800.00 A, E 1,305,618.30 994,578.30 1,305,618.30 994,578.30 A, B, E A, B, C, E, F 1,024,400.00 1,024,400.00 1,024,400.00 1,024,400.00 510,040.00 510,040.00 510,040.00 510,040.00 A, B, E A, B, E 15,403,093.75 17,442,718.75 15,403,093.75 17,442,718.75 A, B, E
900,000.00
900,000.00
900,000.00
900,000.00
รายงานประจำ � ปี 2 5 60 194
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 39.4 เงินรับล่วงหน้าและเงินประกัน (ต่อ)
(หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย
16 บริษทั เคนมิน ฟูด้ ส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 17 บริษทั เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จ�ำกัด (มหาชน) 18 บริษทั ไลอ้อน (ประเทศไทย) จ�ำกัด 19 บริษทั แม่สอด ซาคาเอะเลซ จ�ำกัด 20 บริษทั นิปปอน เต ซาโต จ�ำกัด 21 กิจการทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ลักษณะ 2560 2559 2560 2559 ความสัมพันธ์ 72,391,529.75 16,263.12 72,391,529.75 16,263.12 A, E 39,386.82 29,925,553.49 39,386.82 A, B, E 29,925,553.49 4,000.00 3,879,040.00 4,000.00 A, B, E, F 3,879,040.00 1,047,957.50 0.00 1,047,957.50 0.00 A, B, E 644,000.00 0.00 644,000.00 0.00 A, B, E 4,499,486.13 4,316,601.39 4,499,486.13 4,316,601.39 161,213,302.54 56,750,796.96 161,213,302.54 56,750,796.96
39.5 รายได้ ในปี 2560 บริษทั ฯ มีรายได้จากกิจการจากกิจการและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกันตามงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวน 155 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 2,540,703,377.65 บาท และ 3,323,258,669.55 บาท ตามล�ำดับ ( ในปี 2559 จ�ำนวน 133 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 2,459,636,210.57 บาท และ 2,968,951,810.87 บาท ตามล�ำดับ) มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธสี ว่ นได้เสีย 1 บริษทั ธนูลกั ษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษทั ไทยเพรซิเดนท์ฟดู ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (ก่อนควบรวมกิจการ) 3 บริษทั ไทยเพรซิเดนท์ฟดู ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (หลังควบรวมกิจการ) 4 บริษทั ไทยวาโก้ จ�ำกัด (มหาชน) 5 บริษทั สหพัฒนพิบลู จ�ำกัด (มหาชน) 6 บริษทั ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (มหาชน) 7 บริษทั ฮูเวอร์อตุ สาหกรรม (ประเทศไทย) จ�ำกัด 8 บริษทั พิทกั ษ์กจิ จ�ำกัด 9 บริษทั ไหมทอง จ�ำกัด 10 บริษทั อีสเทิรน์ ไทย คอนซัลติง้ 1992 จ�ำกัด 11 บริษทั สหชลผลพืช จ�ำกัด 12 บริษทั เฟิสท์ยไู นเต็ดอินดัสตรี จ�ำกัด 13 บริษทั ไลอ้อน (ประเทศไทย) จ�ำกัด 14 บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล แลบบอราทอรีส์ จ�ำกัด 15 บริษทั ชาล์ดอง (ประเทศไทย) จ�ำกัด 16 บริษทั เอส.ที.(ไทยแลนด์) จ�ำกัด 17 บริษทั ท้อปเทร็นด์ แมนูแฟคเจอริง่ จ�ำกัด 18 บริษทั สหพัฒน์เรียลเอสเตท จ�ำกัด
2560 2559 2560 2559 ลักษณะ ความสัมพันธ์ A, E, F 44,771,406.63 43,169,196.57 68,759,103.63 64,334,811.57 A, B, E, F 140,601,507.16 175,866,918.68 339,727,813.56 363,195,605.48 A, B, E, F A, B, E, F A, B, E, F A, B, E, F A, B, E, F A, B, C, E, F A, B, C, E A, B, E A, B, C, E, F A, B, E, F A, B, E, F A, B, E, F E A, B, C, E, F A, B, E, F A, B, C, E, F
49,556,121.13 5,229,448.64 4,142,449.33 44,182,889.39 284,566.00 10,898,259.75 435,477.23 5,732,621.87 10,064,846.68 37,788,543.52 156,483,013.46 1,536,000.00 2,697,304.43 13,624,066.76 60,671,896.27 1,191,568.86
0.00 4,661,253.43 4,099,873.60 49,026,916.85 284,362.00 3,156,951.58 446,231.40 3,712,920.71 9,058,979.64 38,195,779.24 133,992,888.31 1,568,500.00 2,024,207.77 13,899,603.28 62,470,269.97 1,846.50
49,556,121.13 38,395,698.64 122,942,566.33 119,339,575.39 22,924,166.00 11,233,459.75 435,477.23 6,532,621.87 10,064,846.68 41,166,003.52 296,667,493.46 22,536,000.00 2,697,304.43 14,129,941.76 62,111,896.27 1,191,568.86
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
0.00 32,725,003.43 76,699,945.10 117,648,238.85 19,528,022.00 3,492,151.58 446,231.40 4,512,920.71 9,058,979.64 41,573,239.24 213,228,888.31 25,568,500.00 2,024,207.77 14,405,478.28 62,470,269.97 1,001,846.50
195
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 39.5 รายได้ (ต่อ)
(หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย
19 บริษทั เส-นอร์สห โลจิสติกส์ จ�ำกัด 20 บริษทั เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชัน่ แนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) 21 บริษทั โอ ซี ซี จ�ำกัด (มหาชน) 22 บริษทั บางกอกรับเบอร์ จ�ำกัด (มหาชน) 23 บริษทั บูตคิ นิวซิตี้ จ�ำกัด (มหาชน) 24 บริษทั แพนเอเซียฟุตแวร์ จ�ำกัด (มหาชน) 25 บริษทั สหโคเจน (ชลบุร)ี จ�ำกัด (มหาชน) 26 บริษทั บางกอกแอธเลติก จ�ำกัด 27 บริษทั ไทยทาเคดะเลซ จ�ำกัด 28 บริษทั โทเทิลเวย์อมิ เมจ จ�ำกัด 29 บริษทั ไทยมอนสเตอร์ จ�ำกัด 30 บริษทั ภัทยาอุตสาหกิจ จ�ำกัด 31 บริษทั ไทยซัมซุง อิเลคโทรนิคส์ จ�ำกัด 32 บริษทั ไทยชิกโิ บ จ�ำกัด 33 บริษทั รักษาความปลอดภัย ไทยซีคอม จ�ำกัด (เดิมชือ่ บริษทั ไทยซีคอมพิทกั ษ์กจิ จ�ำกัด) 34 บริษทั เบทเตอร์เวย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 35 บริษทั จาโนเม่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 36 บริษทั บางกอกโตเกียว ซ็อคส์ จ�ำกัด 37 บริษทั ไทยสปอร์ตการ์เมนต์ จ�ำกัด 38 บริษทั ราชาอูชโิ น จ�ำกัด 39 บริษทั ไทยสเตเฟล็กซ์ จ�ำกัด 40 บริษทั ไทยอาราอิ จ�ำกัด 41 บริษทั เอสเอสดีซี (ไทเกอร์เท็กซ์) จ�ำกัด 42 บริษทั ไทย คิวบิค เทคโนโลยี่ จ�ำกัด 43 บริษทั ไทยลอตเต้ จ�ำกัด 44 บริษทั ไทยคามาย่า จ�ำกัด 45 บริษทั โอสถ อินเตอร์ แลบบอราทอรีส์ จ�ำกัด 46 บริษทั คิวพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด 47 บริษทั ไทย อาซาฮี คาเซอิ สแปนเด็กซ์ จ�ำกัด 48 บริษทั ชิเซโด้ โปรเฟสชัน่ แนล (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 49 บริษทั เอช แอนด์ บี อินเตอร์เท็กซ์ จ�ำกัด 50 บริษทั เอ็มบีทเี อส โบรกกิง้ เซอร์วสิ จ�ำกัด 51 บริษทั สหโคเจน กรีน จ�ำกัด 52 LION CORPORATION (JAPAN) 53 บริษทั มอลเท็นเอเซียโพลิเมอร์ โปรดักส์ จ�ำกัด 54 บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนลเลทเธอร์แฟชัน่ จ�ำกัด 55 บริษทั นิวซิตี้ (กรุงเทพฯ) จ�ำกัด (มหาชน) 56 บริษทั ประชาอาภรณ์ จ�ำกัด (มหาชน)
196
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
ลักษณะ ความสัมพันธ์ A, B, E
2560 1,309,388.44
2559
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560
2559
524,895.34
1,309,388.44
1,464,895.34
A, B, E, F 96,399,778.06 94,026,622.03 A, B, E, F 7,673,925.74 7,557,240.79 638,172.00 1,839,292.00 A, E 7,801,742.21 7,913,666.45 A, E, F 751,057.60 693,128.60 A, B, E A, B, E 30,883,120.56 25,196,405.98 1,742,600.00 1,697,360.00 A, E, F 6,633,712.00 5,749,012.58 A, B, E 1,153,363.57 2,142,120.56 A, E, F 554,641.74 650,730.57 A, E, F 7,912,865.14 8,298,580.57 A, B, E A, B, E 327,764,405.30 323,103,556.02 A, B, E 51,662,551.24 75,968,006.58
96,399,778.06 7,673,925.74 638,172.00 7,801,742.21 751,057.60 30,883,120.56 1,742,600.00 6,633,712.00 1,153,363.57 554,641.74 7,912,865.14 327,764,405.30 51,662,551.24
94,026,622.03 7,557,240.79 1,839,292.00 7,913,666.45 693,128.60 25,196,405.98 1,697,360.00 5,749,012.58 2,142,120.56 650,730.57 8,298,580.57 323,103,556.02 75,968,006.58
4,213,647.90 111,534,195.09 A, B, E A, B, E, F 82,455,340.00 86,188,450.00 A, B, E 17,986,783.70 18,744,027.78 A, B, E 24,342,123.10 23,819,646.64 A, B, E, F 1,500,000.00 1,500,000.00 A, B, E 40,834,405.60 45,741,065.09 6,691,224.00 6,522,966.22 A, B, E A, B, E 50,550,001.86 48,467,838.12 A, B, E 12,985,498.40 14,615,565.05 803,454.92 16,265,400.09 A, B, E, F 5,868,701.61 12,266,286.99 A, E 30,876,486.05 27,375,883.41 E A, B, E 16,673,887.32 16,233,704.09 A, B, E, F 5,466,500.00 4,940,000.00 A, E 196,061,186.94 190,986,002.70 1,289,400.00 1,808,100.00 A, E, F A, B, E, F 6,885,023.93 6,977,835.65 3,318,360.00 2,438,800.00 A, E, F 3,299,359.70 2,479,222.48 B, E 1,371,596.21 977,233.73 A, E A, E, F 51,352,950.19 50,400,292.35 A, B, E, F 3,764,465.94 3,890,380.25 A, B, E, F 1,630,102.36 1,689,847.60 A, B, E, F 2,443,569.48 6,055,632.29
22,735,227.40 82,455,340.00 17,986,783.70 24,342,123.10 1,500,000.00 40,834,405.60 6,691,224.00 50,550,001.86 12,985,498.40 803,454.92 5,868,701.61 30,876,486.05 16,673,887.32 5,466,500.00 196,061,186.94 1,289,400.00 6,885,023.93 3,318,360.00 3,299,359.70 1,371,596.21 51,352,950.19 3,764,465.94 1,630,102.36 2,443,569.48
111,534,195.09 86,188,450.00 18,744,027.78 23,819,646.64 1,500,000.00 45,741,065.09 6,522,966.22 48,467,838.12 14,615,565.05 16,265,400.09 12,266,286.99 27,375,883.41 16,233,704.09 4,940,000.00 190,986,002.70 1,808,100.00 6,977,835.65 2,438,800.00 2,479,222.48 977,233.73 50,400,292.35 3,890,380.25 1,689,847.60 6,055,632.29
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 39.5 รายได้ (ต่อ)
(หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย
57 บริษทั เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จ�ำกัด (มหาชน) 58 บริษทั นิวพลัสนิตติง้ จ�ำกัด (มหาชน) 59 บริษทั เค.คอมเมอร์เชียล แอนด์ คอนสตรัคชัน่ จ�ำกัด 60 บริษทั ไทยทาคายา จ�ำกัด 61 บริษทั มอลเทน (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 62 บริษทั วีน อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด 63 บริษทั สหเซวา จ�ำกัด 64 บริษทั เคนมิน ฟูด้ ส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 65 บริษทั กบินทร์พฒั นกิจ จ�ำกัด 66 บริษทั เอ็กแซ็ค คิว จ�ำกัด 67 บริษทั โตโย เท็กซ์ไทล์ ไทย จ�ำกัด 68 บริษทั ฟาร์อสี ท์ ดีดบี ี จ�ำกัด (มหาชน) 69 บริษทั เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) (ก่อนควบรวมกิจการ) 70 บริษทั เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) 71 บริษทั คาร์บอน เมจิก (ประเทศไทย) จ�ำกัด 72 บริษทั ไทยกุลแซ่ จ�ำกัด 73 บริษทั ไทเกอร์ ดิสทริบวิ ชัน่ แอนด์ โลจิสติคส์ จ�ำกัด 74 บริษทั ไทยโทมาโด จ�ำกัด 75 บริษทั ไทยโคบาชิ จ�ำกัด 76 บริษทั เทรชเชอร์ฮลิ ล์ จ�ำกัด 77 บริษทั ร่วมประโยชน์ จ�ำกัด 78 บริษทั อาซาฮี คาเซอิ สปันบอนด์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 79 บริษทั เพนส์ มาร์เก็ตติง้ แอนด์ ดิสทริบวิ ชัน่ จ�ำกัด 80 บริษทั โชคชัยพิบลู จ�ำกัด 81 บริษทั สห ลอว์สนั จ�ำกัด 82 บริษทั ซูรฮู ะ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 83 บริษทั ทรัพย์สนิ สหพัฒน์ จ�ำกัด 84 บริษทั ศรีราชา เอวิเอชัน่ จ�ำกัด 85 บริษทั โมเดอร์น เทคโนโลยี่ คอมโพเน้นท์ จ�ำกัด 86 บริษทั บีเอ็นซี แม่สอด จ�ำกัด 87 บริษทั กรีน ไลฟ์ แมนเนจเมนท์ จ�ำกัด 88 บริษทั ไทยซิลเิ กตเคมิคลั จ�ำกัด 89 บริษทั ซันร้อยแปด จ�ำกัด 90 บริษทั เค.ที.วาย อินดัสตรี จ�ำกัด 91 บริษทั พี ที เค มัลติเซอร์วสิ จ�ำกัด 92 บริษทั ซิงเกอร์ประเทศไทย จ�ำกัด (มหาชน) 93 บริษทั นิปปอน เต ซาโต จ�ำกัด
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2560 2559 2560 2559 ลักษณะ ความสัมพันธ์ A, B, E 49,709,861.14 68,244,281.89 49,709,861.14 68,244,281.89 129,999.68 70,106,666.40 129,999.68 70,106,666.40 A, E, F A, B, E, F A, E, F A, E, F A, B, E A, B, E A, E B, E B, E A, B, E A, B, E, F
500,000.00 2,542,356.77 28,844,497.35 1,082,500.00 49,464,553.10 31,692,448.05 16,362,521.48 8,580,661.47 14,141,093.86 7,393,900.00
0.00 5,438,997.34 27,905,381.68 1,343,800.00 43,055,811.03 29,180,535.48 15,260,216.78 9,782,446.21 12,926,793.74 6,334,200.00
500,000.00 2,542,356.77 28,844,497.35 1,082,500.00 49,464,553.10 31,692,448.05 16,362,521.48 8,580,661.47 14,141,093.86 7,393,900.00
0.00 5,438,997.34 27,905,381.68 1,343,800.00 43,055,811.03 29,180,535.48 15,260,216.78 9,782,446.21 12,926,793.74 6,334,200.00
A, E, F A, B, E, F A, B, E A, B, E A, B, E A, E A, E A, B, E, F A, B, E, F
6,666,748.38 9,180,000.00 59,810,335.38 9,180,000.00 20,830,727.74 20,706,272.00 89,791,181.74 20,706,272.00 25,446,761.91 25,596,286.22 25,446,761.91 25,596,286.22 2,249,680.60 2,316,188.68 2,249,680.60 2,316,188.68 1,500,000.00 2,250,000.00 1,500,000.00 2,250,000.00 1,144,847.31 1,199,943.89 1,144,847.31 1,199,943.89 4,322,620.88 4,473,176.61 4,322,620.88 4,473,176.61 2,584,429.00 2,677,570.09 2,584,429.00 2,677,570.09 1,617,845.00 3,235,690.00 1,617,845.00 3,235,690.00
A, B, E 418,726,095.97 202,662,811.76 418,726,095.97 202,662,811.76 2,076,292.96 714,000.00 2,076,292.96 714,000.00 A, E, F 1,030,906.40 991,950.40 1,030,906.40 991,950.40 E, F A, B, E, F 2,381,595.79 1,622,200.76 2,381,595.79 1,622,200.76 A, B, C, E, F 5,176,916.44 4,285,527.78 5,176,916.44 4,285,527.78 3,777.00 2,730.00 213,777.00 527,730.00 A, B, E, F A, B, E, F 4,275,981.00 3,953,241.56 4,275,981.00 3,953,241.56 6,581,872.00 6,526,880.00 6,581,872.00 6,526,880.00 B, E 2,355,012.75 2,285,138.40 2,355,012.75 2,285,138.40 A, B, E 3,433.50 0.00 1,203,433.50 1,200,000.00 A, B, E, F 28,794,638.71 29,209,437.49 28,794,638.71 29,209,437.49 E, F A, B, E, F 21,285,239.60 1,253,600.10 21,285,239.60 1,253,600.10 5,212,612.00 550,704.82 5,212,612.00 550,704.82 A, B, E 6,908,608.93 3,160,468.58 6,908,608.93 3,160,468.58 B, E 1,506,927.80 1,760,888.79 1,506,927.80 1,760,888.79 A, B, E 2,658,339.06 2,680,747.84 2,658,339.06 2,680,747.84 A, B, E บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
197
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 39.5 รายได้ (ต่อ)
(หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย ลักษณะ ความสัมพันธ์
94 บริษทั วาโก้ศรีราชา จ�ำกัด (เดิมชือ่ บริษทั เอสอาร์.ดับบลิว.การ์เมนท์ จ�ำกัด) 95 บริษทั ดับเบิล้ ยูบแี อลพี จ�ำกัด 96 บริษทั เอ เทค เท็กซ์ไทล์ จ�ำกัด 97 บริษทั จี เทค แมททีเรียล จ�ำกัด 98 บริษทั บุญวัฒนโชค จ�ำกัด 99 บริษทั แอดแวนเทจ ฟุตแวร์ จ�ำกัด 100 บริษทั ไทซันฟูดส์ จ�ำกัด 101 บริษทั ยูนเี วอร์สบิวตี้ จ�ำกัด 102 บริษทั แม่สอด ซาคาเอะเลซ จ�ำกัด 103 บริษทั บางกอกรับเบอร์ ดีเวลลอปเมนต์ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด 104 กิจการทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ รวม
B, E B, E A, C, E A, E B, E, F B, E A, B, E, F B, E, F A, B, E E, F
2560 6,431,907.37 2,617,618.59 20,780,878.78 893,741.25 558,500.00 522,400.00 7,162,423.66 1,733,391.87 567,538.09
2559 6,275,405.35 2,250,009.18 18,608,795.55 638,595.22 465,000.00 356,144.00 124,500.00 0.00 0.00
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 6,431,907.37 2,617,618.59 20,780,878.78 893,741.25 558,500.00 522,400.00 7,162,423.66 1,733,391.87 567,538.09
2559 6,275,405.35 2,250,009.18 18,608,795.55 638,595.22 465,000.00 356,144.00 124,500.00 0.00 0.00
1,243,620.00 0.00 1,243,620.00 0.00 6,967,674.49 5,127,481.73 6,967,674.49 5,500,441.73 2,540,703,377.65 2,459,636,210.57 3,323,258,669.55 2,968,951,810.87
39.6 ต้นทุนสาธารณูปโภคและค่าบริการ ในปี 2560 บริษทั ฯ มีตน้ ทุนสาธารณูปโภคและค่าบริการจากกิจการและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกันตามงบการเงินรวม และ งบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวน 17 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 1,894,829,473.57 บาท ( ในปี 2559 จ�ำนวน 20 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 1,879,785,395.93 บาท) มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธสี ว่ นได้เสีย ลักษณะ ความสัมพันธ์ 1 บริษทั ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษทั พิทกั ษ์กจิ จ�ำกัด 3 บริษทั อีสเทิรน์ ไทย คอนซัลติง้ 1992 จ�ำกัด 4 บริษทั สหโคเจน (ชลบุร)ี จ�ำกัด (มหาชน) 5 บริษทั พี ที เค มัลติเซอร์วสิ จ�ำกัด 6 บริษทั เอ็มบีทเี อส โบรกกิง้ เซอร์วสิ จ�ำกัด 7 บริษทั กบินทร์พฒั นกิจ จ�ำกัด 8 บริษทั รักษาความปลอดภัย พิทกั ษ์กจิ จ�ำกัด 9 บริษทั เอ็นไวรอนเมนทอล เทคโนโลยี คอนซัลแตนท์ จ�ำกัด 10 กิจการทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ รวม
198
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
2560
2559
2560
2559
A, B, E, F 8,667.93 1,149,598.90 8,667.93 1,149,598.90 A, B, E 1,244,811.58 683,646.00 1,244,811.58 683,646.00 A, B, E 79,831,012.62 71,849,323.54 79,831,012.62 71,849,323.54 A, B, E 1,730,528,452.99 1,721,732,003.46 1,730,528,452.99 1,721,732,003.46 B, E 52,143,563.25 65,671,427.54 52,143,563.25 65,671,427.54 A, E, F 1,280,787.67 523,868.64 1,280,787.67 523,868.64 B, E 956,359.81 865,013.39 956,359.81 865,013.39 B, E 27,641,572.67 13,932,156.62 27,641,572.67 13,932,156.62 B, E
0.00 2,011,600.00 0.00 2,011,600.00 1,194,245.05 1,372,157.84 1,194,245.05 1,372,157.84 1,894,829,473.57 1,879,790,795.93 1,894,829,473.57 1,879,790,795.93
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 39.7 รายจ่ายเพื่อการก่อสร้าง ในปี 2560 บริษทั ฯ มีรายจ่ายเพือ่ การก่อสร้างจากกิจการและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกันตามงบการเงินรวม และงบการเงิน เฉพาะกิจการ จ�ำนวน 5 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 191,174,250.07 บาท ( ในปี 2559 จ�ำนวน 3 ราย เป็นจ�ำนวนเงิน ทั้งสิ้น 81,170,611.97 บาท ) มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธสี ว่ นได้เสีย 1 2 3 4
บริษทั พิทกั ษ์กจิ จ�ำกัด บริษทั อีสเทิรน์ ไทย คอนซัลติง้ 1992 จ�ำกัด บริษทั ไอ.ดี.เอฟ. จ�ำกัด กิจการทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ รวม
ลักษณะ 2560 ความสัมพันธ์ A, B, E, F 103,624,583.90 A, B, E 85,525,389.00 B, E 1,676,265.00 348,012.17 191,174,250.07
2559
2560
77,533,276.93 103,624,583.90 3,227,929.50 85,525,389.00 0.00 1,676,265.00 409,405.54 348,012.17 81,170,611.97 191,174,250.07
2559 77,533,276.93 3,227,929.50 0.00 409,405.54 81,170,611.97
39.8 ค่าใช้จ่ายอื่น ในปี 2560 บริษทั ฯ มีคา่ ใช้จา่ ยอืน่ จากกิจการและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกันตามงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวน 104 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 101,023,776.38 บาท (ในปี 2559 จ�ำนวน 26 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 74,474,441.78 บาท ) มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธสี ว่ นได้เสีย 1 บริษทั สหพัฒนพิบลู จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษทั ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (มหาชน) 3 บริษทั พิทกั ษ์กจิ จ�ำกัด 4 บริษทั อีสเทิรน์ ไทย คอนซัลติง้ 1992 จ�ำกัด 5 บริษทั สินภราดร จ�ำกัด 6 บริษทั พี ที เค มัลติเซอร์วสิ จ�ำกัด 7 บริษทั ศรีราชา เอวิเอชัน่ จ�ำกัด 8 บริษทั กบินทร์พฒั นกิจ จ�ำกัด 9 บริษทั เทรชเชอร์ฮลิ ล์ จ�ำกัด 10 บริษทั ทรัพย์สนิ สหพัฒน์ จ�ำกัด 11 บริษทั สหโคเจน (ชลบุร)ี จ�ำกัด (มหาชน) 12 บริษทั รักษาความปลอดภัย พิทกั ษ์กจิ จ�ำกัด 13 บริษทั โชควัฒนา จ�ำกัด 14 บริษทั เบทเตอร์เวย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 15 บรัท วัตสตรมัย จ�ำกัด 16 บริษทั ไอ. ดี. เอฟ. จ�ำกัด 17 กิจการทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ รวม
ลักษณะ ความสัมพันธ์ A, B, E, F A, B, E, F A, B, C, E, F A, B, E B, E, F B, E A, B, E, F B, E A, B, E, F A, B, E, F A, B, E B, E B, E, F A, B, E, F B, E, F B, E
2560 5,482,786.34 5,352,766.23 5,213,842.47 16,385,421.01 265,829.05 45,532,549.40 2,568,000.00 3,080,758.82 1,221,467.00 773,042.82 4,343,734.58 937,450.66 2,355,646.14 1,070,136.97 750,859.75 505,015.37 5,184,469.77 101,023,776.38
2559 3,204,440.47
2560
2559
5,482,786.34
3,204,440.47
2,904,473.54 5,352,766.23 4,279,287.29 5,213,842.47 12,962,694.05 16,385,421.01 1,320,000.00 265,829.05 42,111,952.41 45,532,549.40 2,568,000.00 2,568,000.00 2,265,040.87 3,080,758.82 661,971.00 1,221,467.00 585,000.00 773,042.82 0.00 4,343,734.58 125,488.72 937,450.66 0.00 2,355,646.14 0.00 1,070,136.97 0.00 750,859.75 0.00 505,015.37 1,486,093.43 5,184,469.77 74,474,441.78 101,023,776.38
2,904,473.54 4,279,287.29 12,962,694.05 1,320,000.00 42,111,952.41 2,568,000.00 2,265,040.87 661,971.00 585,000.00 0.00 125,488.72 0.00 0.00 0.00 0.00 1,486,093.43 74,474,441.78
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
199
งบการเงิน
39. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 39.9 ขายทรัพย์สิน ในปี 2560 บริษทั ฯ มีการขายทรัพย์สนิ ให้กจิ การและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกันตามงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวน 2 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 434,579.44 บาท (ในปี 2559 จ�ำนวน 1 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 1,400,000.00 บาท) มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธสี ว่ นได้เสีย 1 บริษทั สหพัฒนพิบลู จ�ำกัด (มหาชน) 2 กิจการทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ รวม
ลักษณะ ความสัมพันธ์ A, B, E, F
2560 0.00 434,579.44 434,579.44
2559
2560
1,400,000.00 0.00 1,400,000.00
0.00 434,579.44 434,579.44
2559 1,400,000.00 0.00 1,400,000.00
39.10 ซื้อเงินลงทุน ในปี 2560 บริษทั ฯ มีการซือ้ เงินลงทุนจากกิจการและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกันตามงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวน 1 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 27,319,200.00 บาท มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธสี ว่ นได้เสีย 1 บริษทั ไอ.ดี.เอฟ. จ�ำกัด รวม
ลักษณะ ความสัมพันธ์ B, E
2560
2559
27,319,200.00 27,319,200.00
2560 0.00 0.00
2559
27,319,200.00 27,319,200.00
0.00 0.00
39.11 ขายเงินลงทุน ในปี 2560 บริษทั ฯ มีการขายเงินลงทุนจากกิจการและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกันตามงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวน 5 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 104,642,310.00 บาท มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงิน งบการเงินรวม ทีแ่ สดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธสี ว่ นได้เสีย 1 บริษทั ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษทั ธนูลกั ษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) 3 บริษทั บุญ แคปปิตอลโฮลดิง้ จ�ำกัด 4 บริษทั ไอ.ดี.เอฟ. จ�ำกัด 5 บริษทั สินภราดร จ�ำกัด รวม
200
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
ลักษณะ ความสัมพันธ์
2560
A, B, E, F A, E, F A, B, E B, E B, E, F
7,350,710.00 2,753,280.00 74,700,000.00 10,696,860.00 9,141,460.00 104,642,310.00
2559
2560 0.00 7,350,710.00 0.00 2,753,280.00 0.00 74,700,000.00 0.00 10,696,860.00 0.00 9,141,460.00 0.00 104,642,310.00
2559 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
งบการเงิน
40. การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน 40.1 นโยบายการบัญชี รายละเอียดของนโยบายการบัญชีทสี่ ำ� คัญ วิธกี ารใช้ซงึ่ รวมถึงเกณฑ์ในการรับรูแ้ ละวัดมูลค่าทีเ่ กีย่ วกับสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ทางการเงินแต่ละประเภท ได้เปิดเผยไว้แล้วในหมายเหตุข้อ 3 40.2 การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ไม่มีนโยบายในการประกอบธุรกรรมทางตราสารทางการเงิน เพื่อเก็งก�ำไรหรือเพื่อค้า 40.3 ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯ อาจมีความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งมีผลกระทบต่อผลการด�ำเนินงานและ กระแสเงินสด 40.4 ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ บริษทั ฯ มีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารค้า โดยมีนโยบายการให้สนิ เชือ่ อย่างระมัดระวัง ซึง่ ลูกหนี้ การค้าส่วนใหญ่มกี ารติดต่อกันมาเป็นเวลานาน ยกเว้นลูกหนีก้ ารค้ากิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันรายหนึง่ เป็นลูกหนีจ้ ากการขาย สินค้าโดยบริษทั ฯ ก�ำหนดระยะเวลาการให้สนิ เชือ่ มากกว่าลูกหนีก้ ารค้ารายอืน่ โดยก�ำหนดไว้จำ� นวน 180 วัน อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ เชื่อว่าไม่มีความเสี่ยงจากการที่ลูกหนี้การค้าจะไม่ช�ำระหนี้ 40.5 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯ มีความเสีย่ งเกีย่ วกับอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศในธุรกิจทางการค้า จากค่าลิขสิทธิร์ บั และค่าลิขสิทธิจ์ า่ ย การซื้อสินค้า และเงินลงทุนในต่างประเทศ โดยบริษัทฯ มิได้ท�ำสัญญาป้องกันความเสี่ยงไว้เป็นการล่วงหน้า เนื่องจาก ความเสี่ยงอยู่ในระดับต�่ำจนไม่มีนัยส�ำคัญ 40.6 ราคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนือ่ งจากสินทรัพย์ทางการเงินส่วนใหญ่จดั เป็นระยะสัน้ และเงินกูย้ มื มีอตั ราดอกเบีย้ อยู่ในเกณฑ์เดียวกับตลาด ราคาตามบัญชี ของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีแ่ สดงในงบแสดงฐานะการเงินมีมลู ค่าใกล้เคียงกับมูลค่ายุตธิ รรม นอกจากนีผ้ บู้ ริหาร เชื่อว่าบริษัทฯ ไม่มีความเสี่ยงจากเครื่องมือทางการเงินที่มีนัยส�ำคัญ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
201
202
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
2,000.00 2,999.77
92.40 61.04 4,080.00 -
6.35 4,080.00 2,000.00 2,999.77
98.75 61.04
รวม
-
-
-
ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระใน 1 ปี
เงินกู้ยืมระยะยาว
หุ้นกู้ หุ้นกู้แปลงสภาพ
-
0.375% - 1.25% 1.65% - 1.75%
อัตราดอกเบี้ย
-
2.39%, 3.44% 0.70%
-
4,080.00 อัตราคงทีต่ ามตัว๋ สัญญาใช้เงิน และตามสัญญาทีต่ กลงกัน -
92.40 61.04
2,000.00 2,000.00 2,999.77 2,999.77
-
-
4,080.00
-
-
-
-
92.40 61.04
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมสถาบันการเงิน
งบการเงินรวม 2560 เมื่อทวงถาม ภายใน มากกว่า รวม 12 เดือน 12 เดือน
(หน่วย : ล้านบาท)
560.00 300.00 900.00 -
101.28 -
-
-
560.00 300.00 900.00 -
104.13 -
-
-
-
-
101.28 -
-
-
300.00
560.00
-
-
900.00
-
-
-
0.375% - 1.25% 560.00 MOR - อัตราเพิ่มคงที่ ตามสัญญา 300.00 BIBOR+อัตราเพิ่มคงที่ ตามสัญญา 900.00 BIBOR+อัตราเพิ่มคงที่ ตามสัญญา -
101.28 -
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย 2559 เมื่อทวงถาม ภายใน มากกว่า รวม อัตราดอกเบี้ย 12 เดือน 12 เดือน
(หน่วย : ล้านบาท)
2.85 -
-
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย 2559 อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย ไม่มีอัตรา รวม ลอยตัว คงที่ ดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยและเงินที่ครบก�ำหนดของเครื่องมือทางการเงินจากวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ดังนี้
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมสถาบันการเงิน ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระใน 1 ปี เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ หุ้นกู้แปลงสภาพ
งบการเงินรวม 2560 อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย ไม่มีอัตรา ลอยตัว คงที่ ดอกเบี้ย
40.6 ราคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ มีสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่มีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ดังนี้
40. การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน (ต่อ) งบการเงิน
2,000.00 2,999.77
85.99 4,080.00 -
5.29 91.28 4,080.00 2,000.00 2,999.77
รวม
560.00 300.00 900.00 -
101.28
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
-
-
-
-
ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระใน 1 ปี
เงินกู้ยืมระยะยาว
หุ้นกู้ หุ้นกู้แปลงสภาพ
2,000.00 2,000.00 2,999.77 2,999.77
-
-
4,080.00
-
อัตราดอกเบี้ย
2.39%, 3.44% 0.70%
-
-
-
-
-
-
101.28
-
-
300.00
560.00
-
-
900.00
-
-
-
-
560.00 300.00 900.00 -
104.13
อัตราดอกเบี้ย
(หน่วย : ล้านบาท)
2.85
รวม
(หน่วย : ล้านบาท)
560.00 MOR - อัตราเพิ่มคงที่ ตามสัญญา 300.00 BIBOR+อัตราเพิ่มคงที่ ตามสัญญา 900.00 BIBOR+อัตราเพิ่มคงที่ ตามสัญญา -
101.28 0.375% - 1.25%
2559 เมื่อทวงถาม ภายใน มากกว่า รวม 12 เดือน 12 เดือน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
91.28 0.375% - 1.25% อัตราคงทีต่ ามตัว๋ สัญญา 4,080.00 ใช้เงินและตามสัญญาทีต่ กลงกัน
-
-
91.28
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมสถาบันการเงิน
2560 เมื่อทวงถาม ภายใน มากกว่า รวม 12 เดือน 12 เดือน
-
-
2559 อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย ไม่มีอัตรา ลอยตัว คงที่ ดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยและเงินที่ครบก�ำหนดของเครื่องมือทางการเงินจากวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ดังนี้
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมสถาบันการเงิน ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระใน 1 ปี เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ หุ้นกู้แปลงสภาพ
2560 อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย ไม่มีอัตรา ลอยตัว คงที่ ดอกเบี้ย
งบการเงินเฉพาะกิจการ
40.6 ราคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ มีสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่มีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ดังนี้
40. การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน (ต่อ)
งบการเงิน
203
งบการเงิน
41. การวัดมูลค่ายุติธรรม บริษัทฯ ใช้วิธีราคาตลาดในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินซึ่งมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ก�ำหนดให้ตอ้ งวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุตธิ รรม ยกเว้นในกรณีที่ไม่มตี ลาดทีม่ สี ภาพคล่อง หรือไม่สามารถหาราคาเสนอซือ้ ขายในตลาด ที่มีสภาพคล่องได้ บริษัทฯจะใช้วิธีราคาทุนหรือวิธีรายได้ในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ และหนี้สินดังกล่าวแทน ล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ในการน�ำเทคนิคการวัดมูลค่ายุตธิ รรมข้างต้นมาใช้ กิจการต้องใช้ขอ้ มูลทีส่ ามารถสังเกตได้ทเี่ กีย่ วข้องกับสินทรัพย์ หรือหนีส้ นิ ที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมให้มากที่สุด โดยให้ค�ำนิยามของล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมที่แตกต่างกัน ดังนี้ ข้อมูลระดับ 1 เป็นราคาเสนอซือ้ ขาย (ไม่ตอ้ งปรับปรุง) ในตลาดทีม่ สี ภาพคล่องส�ำหรับสินทรัพย์หรือหนิส้ นิ อย่างเดียวกัน และกิจการสามารถเข้าถึงตลาดนั้น ณ วันที่วัดมูลค่าได้ ข้อมูลระดับ 2 เป็นข้อมูลอืน่ ทีส่ งั เกตได้ไม่วา่ โดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมส�ำหรับสินทรัพย์นนั้ หรือหนีส้ นิ นัน้ นอกเหนือจาก ราคาเสนอซื้อขายซึ่งรวมอยู่ในข้อมูลระดับ 1 ข้อมูลระดับ 3 เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ส�ำหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีสินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมแยกแสดงตามล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ (หน่วย : บาท) ระดับ 1 สินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย : เงินลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น
ระดับ 2
2,391,588,012.50 126,709,873.80
ระดับ 3 0.00 0.00
รวม 0.00 2,391,588,012.50 0.00 126,709,873.80
ในระหว่างปีปัจจุบัน ไม่มีการโอนรายการระหว่างล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม
42. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 12 ( ชุดที่ 24 ) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2561 มีมติเห็นชอบให้เสนอขออนุมัติ ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.55 บาท จ�ำนวน 494,034,300 หุ้น จ�ำนวนเงินรวม 271,718,865.00 บาท
43. การแก้ไขข้อผิดพลาด ในปี 2560 บริษัทร่วมมีการปรับปรุงงบการเงินย้อนหลัง ซึ่งมีผลกระทบต่องบการเงินของบริษัท ดังนี้
(หน่วย : บาท)
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ก่อนปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง งบแสดงฐานะการเงิน เงินลงทุนในบริษัทร่วม - บันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย ก�ำไรสะสม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น
204
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
15,027,767,484.41 16,682,579,339.57 3,793,453,634.31
110,711,845.04 111,692,051.34 (980,206.30)
15,138,479,329.45 16,794,271,390.91 3,792,473,428.01
งบการเงิน
43. การแก้ไขข้อผิดพลาด (ต่อ)
(หน่วย : บาท) งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ก่อนปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี - สุทธิจากภาษี
1,682,271,350.22 501,088,354.36
15,384,517.32 (1,877,463.90)
1,697,655,867.54 499,210,890.46
(หน่วย : บาท) งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ก่อนปรับปรุง ปรับปรุง หลังปรับปรุง งบแสดงฐานะการเงิน เงินลงทุนในบริษัทร่วม - บันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย ก�ำไรสะสม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น
13,638,773,794.45 15,177,778,024.67 3,277,926,563.63
97,204,791.62 96,764,400.82 440,390.80
13,735,978,586.07 15,274,542,425.49 3,278,366,954.43
44. การอนุมัติงบการเงิน
งบการเงินนี้ได้รับการอนุมัติให้ออกงบการเงินโดยคณะกรรมการของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2561
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
205
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น
1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 ชื่อ สถานที่ตั้งส�ำนักงาน ชื่อ : บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : 530 ซอยสาธุประดิษฐ์ 58 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 ประเภทธุรกิจ : ประกอบธุรกิจหลัก 3 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจการลงทุนในหุ้นบริษัทต่างๆ ธุรกิจการให้เช่าและบริการ และธุรกิจสวน อุตสาหกรรม เลขทะเบียนบริษัท/ เลขประจ�ำตัวผู้เสียภาษีอากร : 0107537001340 โทรศัพท์ : 0-2293-0030 โทรสาร : 0-2293-0040 โฮมเพจ : http://www.spi.co.th อีเมล : เลขานุการบริษัท darunee@spi.co.th ผู้จัดการแผนกตรวจสอบภายใน pleanpit@spi.co.th ผู้รับผิดชอบด้านนักลงทุนสัมพันธ์ rattana@spi.co.th ผู้จัดการฝ่ายการตลาดอสังหาริมทรัพย์ amphol@spi.co.th ที่ปรึกษางานทรัพยากรบุคคล (งานชุมชนสัมพันธ์) omsin@spi.co.th ทุนจดทะเบียน : ทุนจดจ�ำนวน 582,923,188 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ จ�ำนวน 582,923,188 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว : จ�ำนวน 494,034,300 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ จ�ำนวน 494,034,300 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ที่ตั้งสาขา สาขาที่ 1 โทรศัพท์ โทรสาร สาขาที่ 2 โทรศัพท์ โทรสาร สาขาที่ 3 โทรศัพท์ โทรสาร
206
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
: 999 หมู่ที่ 11 ต�ำบลหนองขาม อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 (038) 480-444 (038) 480-505 : 1 หมู่ที่ 5 ต�ำบลนนทรี อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25110 (037) 205-203-7 (037) 205-202 : 189 หมู่ที่ 15 ต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน 51000 (053) 584-072-4 (053) 584-080
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น
สาขาที่ 4 โทรศัพท์ โทรสาร สาขาที่ 5 โทรศัพท์ โทรสาร สาขาที่ 6 โทรศัพท์ โทรสาร 1.2
บุคคลอ้างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์ ผู้สอบบัญชี
: 196 หมู่ที่ 11 ต�ำบลวังดาล อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25110 (037) 290-345 (037) 290-345 : 269 หมู่ที่ 15 ต�ำบลแม่กาษา อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110 (055) 546-634 (055) 546-634 : 1 หมู่ที่ 6 ต�ำบลสุรศักดิ์ อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 (038) 338-444 (038) 480-505 : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2009-9000 โทรสาร 0-2009-9991 : นางสาวสมจินตนา พลหิรัญรัตน์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 5599 นายนพฤกษ์ พิษณุวงษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 7764 และ/หรือ นางสาวสุภาภรณ์ มั่งจิตร ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 8125 และ/หรือ บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด 16/32 ซอยสุขุมวิท 22 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2259-5300 โทรสาร 0-2260-1553
2. ข้อมูลส�ำคัญอื่น -ไม่มี-
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
207
การลงทุน
การลงทุนของบริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)
ชื่อ สถานที่ตั้งส�ำนักงาน ประเภทธุรกิจ จ�ำนวนหุ้น ชนิดของหุ้น ที่จ�ำหน่ายได้ทั้งหมดของบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ของจ�ำนวนหุ้นที่ออกจ�ำหน่ายแล้วมีรายละเอียด ดังนี้ ชื่อบริษัท
สถานที่ตั้ง
บริษัทจ�ำหน่าย 1 บมจ.ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนล 2 บมจ. สหพัฒนพิบูล 3 KYOSHUN CO., LTD. 4 บจ. บางกอกแอธเลติก 5 INTERNATIONAL COMMERCIAL CORDINATION LTD. (H.K) 6 TIGER MK LOGISTICS (MYANMAR) COMPANY LIMITED 7 บมจ. นิวซิตี้ (กรุงเทพฯ) 8 บจ. ซูรูฮะ (ประเทศไทย) 9 บจ. เวิล์ด สหแฟชั่น 10 PT. TRINITY LUXTRO 11 บมจ. โอ ซี ซี 12 บจ. มอร์แกน เดอ ทัว (ประเทศไทย) 13 บจ. วีน อินเตอร์เนชั่นแนล 14 บจ. เบทเตอร์เวย์ (ประเทศไทย) 15 บจ. ซันร้อยแปด รวมบริษัทจ�ำหน่าย บริษัทผลิต 1 บจ. ฮูเวอร์อุตสาหกรรม (ประเทศไทย) 2 บจ. ไหมทอง 3 บจ. สหชลผลพืช 4 บมจ. ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
บจ. อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอราทอรีส์ บจ. ไลอ้อน (ประเทศไทย) บมจ. ธนูลักษณ์ บมจ. เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ บมจ. ไทยวาโก้ บจ. ท้อปเทร็นด์ แมนูแฟคเจอริ่ง บจ. เอสเอสดีซี (ไทเกอร์เท็กซ์) บจ. บางกอกโตเกียวซอคส์ บจ. โทเทิลเวย์ อิมเมจ บจ. ไทยมอนสเตอร์ บจ. จี เทค แมททีเรียล บจ. เอ เทค เท็กซ์ไทล์
208
ประเภทธุรกิจ
ประเภท หุ้น
จ�ำนวนหุ้น ที่ออก จ�ำหน่าย
กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ญี่ปุ่น กรุงเทพฯ ฮ่องกง
อุปโภคบริโภค อุปโภคบริโภค ตัวแทนขาย ชุดกีฬา ตัวแทนขาย
สามัญ 290,633,730 สามัญ 330,000,000 สามัญ 600 สามัญ 2,000,000 สามัญ 50,000
เมียนมาร์
ขนส่ง
สามัญ
กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ อินโดนีเซีย กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ
อุปโภค ร้านขายยา ผลิตและจ�ำหน่ายเสือ้ ผ้าบุรษุ ตัวแทนขาย อุปโภค ขายตรง ขายตรง ขายตรง ผู้กระจายสินค้า
สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ
สมุทรปราการ กรุงเทพฯ ชลบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ชลบุรี ปราจีนบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
จ�ำนวนหุ้น สัดเงิส่นวน ที่ SPI ลงทุน ลงทุน
มูลค่าเงินลงทุน
65,353,640 66,003,065 110 363,155 9,000
22.49 20.00 18.33 18.16 18.00
702,907,481.99 319,955,400.86 1,997,600.00 69,561,939.58 4,483,997.26
30,000
5,400
18.00
1,781,720.00
14,951,000 250,000 50,000 120,000 60,000,000 400,000 300,000 10,000,000 30,000,000
2,317,738 37,500 7,500 18,000 7,635,000 48,000 36,000 1,177,362 3,000,000
15.50 15.00 15.00 15.00 12.73 12.00 12.00 11.77 10.00
43,120,478.00 60,000,000.00 7,500,000.00 5,861,700.00 12,215,983.30 4,800,000.00 3,600,000.00 11,773,620.00 30,000,000.00 1,279,559,920.99
บรรจุภัณฑ์พลาสติก เสื้อผ้า เกษตร บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูปและ
สามัญ 600,000 สามัญ 1,400,000 สามัญ 3,250,000 สามัญ 329,704,014
201,496 449,500 854,830 82,623,102
33.58 20,149,600.00 32.11 58,152,029.69 26.30 148,407,884.00 25.06 3,180,573,043.07
ขนมปังกรอบ เครื่องส�ำอาง ผงซักฟอก เสื้อผ้าและเครื่องหนัง ขนมปังและเบเกอรี่อื่นๆ ชุดชั้นใน บรรจุภัณฑ์พลาสติก ปั่นด้าย ถุงเท้า เครื่องหนัง เสื้อผ้า ผลิตส่วนประกอบชุดชั้นใน ผลิตส่วนประกอบชุดชั้นใน
สามัญ 12,000,000 สามัญ 3,000,000 สามัญ 120,000,000 สามัญ 450,000,000 สามัญ 120,000,000 สามัญ 1,200,000 สามัญ 32,400,000 สามัญ 1,432,200 สามัญ 200,000 สามัญ 50,000 สามัญ 3,000,000 สามัญ 10,000,000
3,000,000 744,000 28,220,820 97,127,400 25,512,500 240,000 6,385,170 280,000 38,998 9,750 570,000 1,900,000
25.00 165,000,000.00 24.80 74,400,000.00 23.52 28,688,920.22 21.58 5,758,392,324.00 21.26 63,545,155.00 20.00 47,625,000.00 19.71 76,609,202.82 19.55 26,764,312.50 19.50 6,246,583.44 19.50 5,906,141.75 19.50 6,246,583.44 19.00 190,000,000.00
การลงทุน
ชื่อบริษัท 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48
บจ. เอชแอนด์บี อินเตอร์เท็กซ์ บจ. เอส.ที. (ไทยแลนด์) บจ. สหน�ำเท็กซ์ไทล์ บจ. แชมป์เอช บมจ. สหโคเจน (ชลบุรี) บจ, บีเอ็นซี เรียลเอสเตท บจ. เอราวัณสิ่งทอ บมจ. เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ บจ. ภัทยาอุตสาหกิจ บจ. มอลเท็นเอเซียโพลิเมอร์ โปรดักส์ บจ. เจนเนอร์รัลกลาส บจ. โตโย เท็กซ์ ไทล์ ไทย บจ. ไทยโคบาชิ บจ. ไทยสปอร์ตการ์เม้นท์ บจ. อีสเทิร์นรับเบอร์ บจ. อเมริกันฟู้ด บจ. ไทยอาราอิ บจ. เคนมิน ฟู้ดส์ (ไทยแลนด์) บจ. อินเตอร์เนชั่นแนลเลทเธอร์แฟชั่น บมจ. ประชาอาภรณ์ บจ. ราชาอูชิโน บมจ. เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ บจ. มอลเทน (ไทยแลนด์) บจ. ไทยกุลแซ่ บจ. สหเซวา บจ. คิวพี (ประเทศไทย) บจ. โตโยโบะ สห เซฟตี้ วีฟ บจ. ไทยชิกิโบ บจ. ไทยทาคายา บจ. ไทยโทมาโด บจ. ไทยสเตเฟล็กซ์ บจ. ยู.ซี.ซี.อูเอะชิม่า คอฟฟี่ (ประเทศไทย)
สถานที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
ประเภท หุ้น
จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนหุ้น สัดเงิส่นวน ที่ออก ที่ SPI ลงทุน ลงทุน จ�ำหน่าย 400,000 76,000 19.00 1,420,000 266,250 18.75 360,000 64,800 18.00 400,000 68,000 17.00 955,000,000 160,507,132 16.81 2,400,000 400,000 16.67 6,214,634 996,795 16.04 149,930,828 24,016,071 16.02
กรุงเทพฯ ชลบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ชลบุรี กรุงเทพฯ สมุทรปราการ กรุงเทพฯ
ตุ๊กตาผ้า ถุงมือยาง สิ่งทอ เสื้อผ้า กระแสไฟฟ้า อสังหาริมทรัพย์ สิ่งทอ เครื่องส�ำอาง
สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ
กรุงเทพฯ ชลบุรี ชลบุรี กรุงเทพฯ ชลบุรี กรุงเทพฯ ชลบุรี ปทุมธานี ชลบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ กรุงเทพฯ ชลบุรี ปราจีนบุรี ชลบุรี กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ชลบุรี กรุงเทพฯ ชลบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ
ชุดชั้นใน ชิ้นส่วนรถยนต์ที่ท�ำจากยาง ผลิตขวดแก้ว ถุงเท้า กล่องกระดาษ เสื้อผ้า พื้นรองเท้า ไอศครีม BUD'S อะไหล่รถจักรยานยนต์ เส้นหมี่ เส้นก๋วยเตี๋ยว รองเท้าหนัง เสื้อผ้า ผ้าขนหนู ผ้าลูกไม้ปัก อุปกรณ์กีฬาประเภทบอล ชุดชั้นในชาย ผลิตภัณฑ์พลาสติก ซอส ถุงลมนิรภัยยานยนต์ ปั่นด้ายฝ้าย เสื้อผ้า กรอบหน้าต่างอลูมิเนียม ผ้าซับในฉาบกาว ผลิตและจ�ำหน่ายกาแฟ กระป๋อง บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป
สามัญ 3,000,000 สามัญ 1,200,000 สามัญ 14,500,000 สามัญ 300,000 สามัญ 1,000,000 สามัญ 100,000 สามัญ 300,000 สามัญ 14,000,000 สามัญ 1,260,000 สามัญ 330,000 สามัญ 500,000 สามัญ 96,000,000 สามัญ 1,215,000 สามัญ 108,000,000 สามัญ 1,000,000 สามัญ 1,800,000 สามัญ 14,500,000 สามัญ 2,600,000 สามัญ 10,000,000 สามัญ 2,375,000 สามัญ 300,000 สามัญ 200,000 สามัญ 600,000 สามัญ 150,000
49 THAI PRESIDENT FOODS (Hungary) Kft. ฮังการี
480,000 187,200 2,175,000 45,000 150,000 15,000 45,000 2,100,000 185,850 47,000 70,000 13,228,666 150,828 12,993,750 120,000 198,000 1,525,000 260,000 1,000,000 237,600 30,000 20,000 60,000 15,000
สามัญ
รวมบริษัทผลิต
มูลค่าเงินลงทุน 7,600,000.00 26,625,000.00 7,747,488.00 6,800,000.00 321,685,407.99 40,000,000.00 126,256,111.36 150,691,632.29
16.00 15.60 15.00 15.00 15.00 15.00 15.00 15.00 14.75 14.24 14.00 13.78 12.41 12.03 12.00 11.00 10.52 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00
4,922,582.50 18,720,000.00 34,339,805.49 4,500,000.00 15,000,000.00 1,500,000.00 4,500,000.00 21,000,000.00 19,202,504.36 32,537,000.00 7,000,000.00 56,886,983.49 10,080,960.00 12,993,750.00 12,000,000.00 19,800,000.00 15,250,000.00 26,000,000.00 100,000,000.00 23,760,000.00 3,000,000.00 2,000,000.00 6,000,000.00 1,500,000.00
10.00
32,182,363.55 11,079,541,785.52
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
209
การลงทุน
ชื่อบริษัท
สถานที่ตั้ง
บริษัทอื่น 1 บจ. เพรซิเดนท์อินเตอร์ฟูด 2 บจ. สหพัฒน์ เรียลเอสเตท 3 บจ. อีสเทิร์นไทย คอนซัลติ้ง 1992 4 บจ. บุญ แคปปิตอลโฮลดิ้ง 5 บจ. พิทักษ์กิจ 6 บจ. กรีน ไลฟ์ แมนเนจเมนท์ 7 บจ. เฟิสท์ยูไนเต็ดอินดัสตรี 8 บจ. ทรัพย์สินสหพัฒน์ 9 บจ. รักษาความปลอดภัย ไทยซีคอม 10 บจ. เส-นอร์สห โลจิสติกส์ 11 บจ. สห โตคิว คอร์ปอเรชั่น 12 บจ. เอ็มบีทีเอส โบรกกิ้ง เซอร์วิส 13 บจ. สหอุบลนคร 14 บจ. แพนแลนด์ 15 บจ. ไทเกอร์ ดิสทริบิวชั่น แอนด์ โลจิสติคส์ 16 บจ. ศรีราชาขนส่ง 17 บจ. วิจัยและพัฒนา สหโอซูก้าเอเซีย 18 บจ. ชิเซโด้ โปรเฟสชั่นแนล (ไทยแลนด์) 19 บจ. ไทยฟลายอิ้งเมนเท็นแนนซ์ 20 บมจ. ฟาร์อีสท์ ดีดีบี 21 บจ. สยามออโต้แบคส์ 22 บจ. สหรัตนนคร 23 บจ. เค.คอมเมอร์เชียล แอนด์ คอนสตรัคชั่น 24 บจ. ไทย คิวบิค เทคโนโลยี่ 25 บจ. บุญรวี รวมบริษัทอื่น ยอดรวมทั้งสิ้น
210
กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ชลบุรี กรุงเทพฯ ชลบุรี ชลบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ชลบุรี ชลบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ชลบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ชลบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ชลบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
ประเภทธุรกิจ
ประเภท หุ้น
จ�ำนวนหุ้น ที่ออก จ�ำหน่าย
ตัวแทน นายหน้า พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจสิ่งแวดล้อม ลงทุน บริการ Service Apartment ให้เช่าทรัพย์สิน ลงทุน ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบขนส่งสินค้า บริการบ้านพักอาศัย ประกันภัย สวนอุตสาหกรรม พัฒนาที่ดิน ขนส่ง ขนส่ง วิจัย สถานบริการความงาม ซ่อมและบ�ำรุงรักษาเครือ่ งบิน โฆษณา อุปกรณ์รถยนต์ นิคมอุตสาหกรรม ก่อสร้าง CUBIC PRINTING บริการ
สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ สามัญ
300,000 36,000,000 200,000 34,300,000 200,000 100,000 400,000 200,000 3,788,572 2,000,000 332,000 50,000 1,250,000 3,000,000 2,000,000 100,000 800,000 7,000,000 20,000 7,500,000 3,990,000 1,800,000 500,000 400,000 200,000
จ�ำนวนหุ้น สัดเงิส่นวน ที่ SPI ลงทุน ลงทุน 153,000 14,400,000 80,000 12,347,999 67,040 30,000 112,582 52,500 966,282 470,000 66,400 9,995 243,750 580,000 380,000 18,000 130,666 1,050,000 3,000 1,055,700 500,000 225,000 50,000 40,000 20,000
51.00 40.00 40.00 36.00 33.52 30.00 28.15 26.25 25.50 23.50 20.00 19.99 19.50 19.33 19.00 18.00 16.33 15.00 15.00 14.08 12.53 12.50 10.00 10.00 10.00
มูลค่าเงินลงทุน
12,321,654.00 165,000,000.00 10,000,000.00 123,479,990.00 6,704,000.00 11,049,900.00 11,258,200.00 5,250,000.00 196,965,028.00 17,285,646.74 66,400,000.00 999,500.00 6,998,437.50 58,000,000.00 12,546,200.00 2,518,011.50 13,066,600.00 10,500,000.00 300,000.00 29,154,287.52 5,000,000.00 22,500,000.00 5,150,406.14 4,000,000.00 2,000,000.00 798,447,861.40 13,157,549,567.91
คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริษัท
นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา
นายวิชัย กุลสมภพ
นายส�ำเริง มนูญผล
นายมนู ลีลานุวัฒน์
รองประธานกรรมการ
กรรมการ
กรรมการผู้จัดการใหญ่ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยง ผู้บริหารสูงสุดทางด้านบัญชีและการเงิน
กรรมการ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
211
คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริษัท
นางสาวศิริกุล ธนสารศิลป์
นายสุจริต ปัจฉิมนันท์
นายพิพัฒ พะเนียงเวทย์
นายก�ำธร พูนศักดิ์อุดมสิน
นายบุญเกียรติ โชควัฒนา
นายบุญชัย โชควัฒนา
กรรมการ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
กรรมการ
กรรมการ
212
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริษัท
นายสุรชัย ดนัยตั้งตระกูล
นายสมพงษ์ สังข์รังสรรค์
นายนิพนธ์ พัวพงศกร
นายนพพร พงษ์เวช
นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต
นางสาวนฤมล สอาดโฉม
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล และบริหารความเสี่ยง
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
213
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริหาร
นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา
นายวิชัย กุลสมภพ
นายส�ำเริง มนูญผล
นายมนู ลีลานุวัฒน์
นางสาวศิริกุล ธนสารศิลป์
นายมนัส องค์สรณะคม
ประธานกรรมการบริหาร
กรรมการบริหาร
กรรมการบริหาร
214
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
กรรมการบริหาร
กรรมการบริหาร
กรรมการบริหาร
อายุ (ปี )
80
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
1. นายบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการบริ หาร - ประธานกรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทน - กรรมการผู้มีอานาจลงนาม ผูกพันบริ ษัท - 20 มีนาคม 2516
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
- ปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ - สาขาบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ (นิด้า) มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย - สาขาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - สาขากฎหมาย มหาวิทยาลัยวาเซดะ - สาขาวิทยาศาสตร์ (สิง่ ทอและเครื่ องนุ่งห่ม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ - Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 3/2003 - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 68/2005 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) 1.185
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร 2, 4, 11, 12
ตาแหน่ ง
บริษัทจดทะเบียน 2553 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ 2504 – 2553 ประธานกรรมการ ก.ค. 2559 – ปั จจุบนั ที่ปรึกษาคณะกรรมการ 2553 – ก.ค. 2559 กรรมการที่ปรึกษา 2518 – 2553 ประธานกรรมการ 2545 – ปั จจุบนั กรรมการ ธ.ค.2559 - ปั จจุบนั ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ พ.ค.2559 - ธ.ค.2559 กรรมการที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ 2534 – พ.ค.2559 รองประธานกรรมการ 2515 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2560 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทน 2553 – ปั จจุบนั ที่ปรึกษา 2533 – 2553 กรรมการที่ปรึกษา 2553 – ปั จจุบนั ที่ปรึกษาคณะกรรมการ 2523 – 2553 กรรมการที่ปรึกษาคณะกรรมการ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท 2560 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2557 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2554 – ปั จจุบนั กรรมการ 2552 – ปั จจุบนั กรรมการ 2551 – ปั จจุบนั กรรมการ 2550 – ปั จจุบนั กรรมการ 2539 – ปั จจุบนั กรรมการ
ช่ วงเวลา
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท บีเอสซี โซอิน จากัด บริ ษัท สห โตคิว คอร์ ปอเรชัน่ จากัด บริ ษัท ร่วมประโยชน์ จากัด บริ ษัท บีเอสทีดี 109 จากัด บริ ษัท บี เอส ที อาร์ สี่ศนู ย์แปด จากัด บริ ษัท บี ที เอ็น สิบสองศูนย์เจ็ด จากัด บริ ษัท สายพิณวัฒนา จากัด
บริ ษัท ไทยวาโก้ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไทยวาโก้ จากัด (มหาชน) บริ ษัท เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จากัด (มหาชน) บริ ษัท เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จากัด (มหาชน) จานวน 23 แห่ง
บริ ษัท สหพัฒนพิบลู จากัด (มหาชน) บริ ษัท สหพัฒนพิบลู จากัด (มหาชน) บริ ษัท ธนูลกั ษณ์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ธนูลกั ษณ์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ธนูลกั ษณ์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จากัด (มหาชน)
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท มีดังนี ้
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอ�ำนาจควบคุม และเลขานุการบริษัท มีดังนี้
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
215
216
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 3. นายทนง ศรี จิตร์ 62 - ปริ ญญาตรี รัฐศาสตร์ 0.023 - กรรมการผู้จดั การใหญ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 15 ธันวาคม 2559 - Director Accreditation Program - กรรมการบริ หาร (DAP) รุ่ น 3/2003 - กรรมการสรรหาและ - Finance for Non - Finance Director กาหนดค่าตอบแทน (FND) รุ่ น 9/2004 - กรรมการธรรมาภิบาลและ - Director Certification Program บริ หารความเสีย่ ง (DCP) รุ่ น 72/2006
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 2. นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา 82 - Assumption Commercial College 0.324 1, 11, 12 - รองประธานกรรมการ - ปริ ญญาตรี เศรษฐศาสตร์ - กรรมการผู้มีอานาจลงนาม The University of Nottingham ผูกพันบริ ษัท สหราชอาณาจักร - 23 มีนาคม 2515 - Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 3/2003 - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 68/2005 - Role of Compensation Committee (RCC) รุ่ น 7/2008 - จากสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
2560 – ปั จจุบนั 2560 – ปั จจุบนั
2545 – ปั จจุบนั
2555 – ปั จจุบนั 2549 – ปั จจุบนั
2539 – ปั จจุบนั 2532 – ปั จจุบนั 2515 – ปั จจุบนั
2546 – 2554
2545 – ปั จจุบนั 2537 – ปั จจุบนั 2505 – 2536 2512 – ปั จจุบนั 2551 – 2554
2535 – ปั จจุบนั
2527 – ปั จจุบนั 2521 – ปั จจุบนั 2515 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา ประธานกรรมการ กรรมการผู้จดั การ กรรมการ - ไม่มี ประธานกรรมการ บริษัทจดทะเบียน กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการสรรหาและ กาหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ กรรมการ กรรมการ - ไม่มี ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา บริษัทจดทะเบียน กรรมการ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท สหพัฒน์เรี ยลเอสเตท จากัด บริ ษัท แพนแลนด์ จากัด
บริ ษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จากัด (มหาชน) จานวน 26 แห่ง
ตารวจภูธรภาค 2 ชุมชนบ้ านหนองขาม
บริ ษัท สายพิณวัฒนา จากัด บริ ษัท ร่วมประโยชน์ จากัด บริ ษัท โชควัฒนา จากัด
บริ ษัท โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ จากัด (มหาชน) จานวน 4 แห่ง
บริ ษัท ไอที ซิตี ้ จากัด (มหาชน) บริ ษัท สหพัฒนพิบลู จากัด (มหาชน) บริ ษัท สหพัฒนพิบลู จากัด (มหาชน) บริ ษัท นิวซิตี ้ (กรุ งเทพฯ) จากัด (มหาชน) บริ ษัท โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ จากัด (มหาชน)
มูลนิธิ ดร.เทียม โชควัฒนา
บริ ษัท สหมนูญผล จากัด บริ ษัท วัตสดรมัย จากัด บริ ษัท โชควัฒนา จากัด
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
อายุ (ปี )
- Chartered Director Class (CDC) รุ่ น 8/2014 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 4. นายวิชยั กุลสมภพ 40 - ปริ ญญาตรี คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี 0.069 1 - กรรมการรองผู้จดั การใหญ่ ภาควิชาบริ หารธุรกิจ,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - กรรมการบริ หาร - Master of Advanced Business - กรรมการธรรมาภิบาลและ Practice University of South Australia บริ หารความเสีย่ ง - ปริ ญญาโท การตลาด (ภาคภาษาอังกฤษ) - ผู้บริ หารสูงสุดด้ านบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และการเงิน - ปริ ญญาโท ภาควิชาธุรกิจระหว่างประเทศ - กรรมการผู้มีอานาจลงนาม (Exchange Program) ผูกพันบริษัท - Norwegian School of Economics and - 23 เมษายน 2555 Business Administration, Norway หมายเหตุ - หลักสูตรนักบริ หารระดับสูงด้ านการพัฒนา - กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธุรกิจอุตสาหกรรมและการลงทุน (วธอ.) รุ่ นที่ 1 - กรรมการสรรหาและ สถาบันวิทยาการธุรกิจและอุตสาหกรรม กาหนดค่ าตอบแทน - หลักสูตรวิทยาการประกันภัย ระดับสูง (วปส.) - 12 มีนาคม 2561 รุ่ นที่ 1 สถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง สานักงานคณะกรรมการกากับและ ส่งเสริ มการประกอบธุรกิจประกันภัย - Executive Leadership Program รุ่ นที่ 2 Wharton Business School, University of Pennsylvenia, USA & NIDA, Thailand
- เสียชีวิต เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2561
- กรรมการผู้มีอานาจลงนาม ผูกพันบริ ษัท - 14 มีนาคม 2539
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
2560 – ปั จจุบนั 2560 – ปั จจุบนั 2560 – ปั จจุบนั 2559 – ปั จจุบนั 2557 – ปั จจุบนั 2557 – ปั จจุบนั 2557 – ปั จจุบนั 2557 – ปั จจุบนั 2556 – ปั จจุบนั 2556 – ปั จจุบนั 2556 – ปั จจุบนั 2555 – ปั จจุบนั
2558 – ปั จจุบนั 2549 - 2556
2560 – ปั จจุบนั 2557 – ปั จจุบนั 2547 – ปั จจุบนั 2545 – ปั จจุบนั 2543 – ปั จจุบนั 2531 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการผู้จดั การ - ไม่มี บริษัทจดทะเบียน กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการผู้จดั การ กรรมการผู้จดั การ กรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จดั การ
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท บีเอสซี โซอิน จากัด บริ ษัท แพนแลนด์ จากัด บริ ษัท สหพัฒน์เรี ยลเอสเตท จากัด บริ ษัท เฟิ สท์ยไู นเต็ดอินดัสตรี จากัด บริ ษัท สห โตคิว คอร์ ปอเรชัน่ จากัด บริ ษัท ดับเบิ ้ลยู บี อาร์ อี จากัด บริ ษัท บีเอ็นซี เรี ยลเอสเตท จากัด บริ ษัท ทรัพย์สนิ สหพัฒน์ จากัด บริ ษัท ไอ.ดี.เอฟ. จากัด บริ ษัท ปาร์ ค แคปปิ ตอล โฮลดิ ้ง จากัด บริ ษัท เอสเอสไอ โฮลดิ ้ง จากัด บริ ษัท บุญ แคปปิ ตอลโฮลดิ ้ง จากัด
บริ ษัท ซิงเกอร์ ประเทศไทย จากัด (มหาชน) บริ ษัท เงินทุน กรุ งเทพธนาทร จากัด (มหาชน) จานวน 28 แห่ง
บริ ษัท สหเอเซียแปซิฟิค จากัด บริ ษัท สห โตคิว คอร์ ปอเรชัน่ จากัด บริ ษัท สินภราดร จากัด บริ ษัท ทรัพย์สนิ สหพัฒน์ จากัด บริ ษัท เทรชเชอร์ ฮิลล์ จากัด บริ ษัท เฟิ สท์ยไู นเต็ดอินดัสตรี จากัด
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
217
218
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
- หลักสูตรกลยุทธ์การบริ หารอสังหาริ มทรัพย์ (RE-CU26) สมาคมผู้บริ หารธุรกิจ อสังหาริ มทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรนักวางแผนกลยุทธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรนักวางแผนกลยุทธ์ สมาคมบริษัทจัดการลงทุน - หลักสูตรภูมิพลังแผ่นดินรุ่ นที่ 4 สาหรับผู้บริ หาร ระดับสูง (ภพผ.) ศูนย์วิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Strategic CFO in Capital Markets รุ่ นที่ 4 ศูนย์สง่ เสริ มการพัฒนาความรู้ ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 61/2005 - Company Secretary Program (CSP) รุ่ น 18/2006 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 5. นายสาเริง มนูญผล 81 - มัธยมศึกษา โรงเรี ยนราชบพิธ 0.301 - กรรมการ - Director Accreditation Program - กรรมการบริ หาร (DAP) รุ่ น 3/2003 - กรรมการผู้มีอานาจลงนาม จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ ผูกพันบริ ษัท บริษัทไทย (IOD) - 23 มีนาคม 2515
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
รายงานประจำ � ปี 2 5 60 2559 – ปั จจุบนั 2557 – ปั จจุบนั 2527 – ปั จจุบนั
2551 – ปั จจุบนั 2553 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
- ไม่มี บริษัทจดทะเบียน ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท เฟิ สท์ยไู นเต็ดอินดัสตรี จากัด บริ ษัท บีเอ็นซี เรี ยลเอสเตท จากัด บริ ษัท สหมนูญผล จากัด
บริ ษัท สหพัฒนพิบลู จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน) จานวน 8 แห่ง
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 7. นางสาวศิริกลุ ธนสารศิลป์ 70 - ปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์ 0.607 - กรรมการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - กรรมการบริหาร - ปริญญาโท ( บริหารธุรกิจ ) - กรรมการสรรหาและ คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี กาหนดค่าตอบแทน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - กรรมการผู้มีอานาจลงนาม - ประกาศนียบัตร การป้องกันราชอาณาจักร ผูกพันบริษัท ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 10 - 16 มิถนุ ายน 2559 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร - ประกาศนียบัตร สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 16 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 6. นายมนู ลีลานุวฒ ั น์ 72 - ปริ ญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ - กรรมการ วิชาเอกเครื่ องกล - กรรมการบริ หาร Chiba University, Japan - กรรมการผู้มีอานาจลงนาม - Director Accreditation Program ผูกพันบริ ษัท (DAP) รุ่ น 3/2003 - 23 เมษายน 2550 - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 68/2005 - จากสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
2560 – ปั จจุบนั 2560 – ปั จจุบนั 2559 – ปั จจุบนั 2553 – ปั จจุบนั 2545 – ปั จจุบนั 2529 – ปั จจุบนั
2519 – ปั จจุบนั 2547 – เม.ย.2560
2557 – ปั จจุบนั
2547 – ปั จจุบนั 2533 – ปั จจุบนั 2517 – 2533 2516 – 2517 2530 – ปั จจุบนั 2523 – ปั จจุบนั 2519 - 2523 2553 – 2556 2541 – 2553 2522 – 2541
2526 – ปั จจุบนั 2521 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
- ไม่มี บริษัทจดทะเบียน กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการผู้จดั การ กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ - ไม่มี บริษัทจดทะเบียน กรรมการ รองประธานกรรมการ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริษัท เอสเอสไอ โฮลดิ ้ง จากัด บริษัท ปาร์ ค แคปปิ ตอล โฮลดิ ้ง จากัด บริษัท แพนแลนด์ จากัด บริษัท สหเอเชียแปซิฟิค จากัด บริษัท สหพัฒน์เรี ยลเอสเตท จากัด บริษัท สรี ราภรณ์ จากัด
บริษัท เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จากัด (มหาชน) บริษัท ไทยวาโก้ จากัด (มหาชน) จานวน 19 แห่ง
บริ ษัท บีเอ็นซี เรี ยลเอสเตท จากัด
บริ ษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไทยวาโก้ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไทยวาโก้ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไทยวาโก้ จากัด (มหาชน) บริ ษัท โอ ซี ซี จากัด (มหาชน) บริ ษัท เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จากัด (มหาชน) บริ ษัท เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ธนูลกั ษณ์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ธนูลกั ษณ์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ธนูลกั ษณ์ จากัด (มหาชน) จานวน 20 แห่ง
บริ ษัท ทรัพย์สนิ สหพัฒน์ จากัด บริ ษัท วัตสดรมัย จากัด
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
219
220
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
- Board and CEO Assessment รุ่ น 2/2003 - Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 3/2003 - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 68/2005 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 8. นายสุจริ ต ปั จฉิมนันท์ 72 - ปริ ญญาตรี รัฐศาสตร์ (การปกครอง) - กรรมการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - 15 ธันวาคม 2559 - ปริ ญญาโท รัฐศาสตร์ (บริ หารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 41/2005 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 9. นายพิพฒ ั พะเนียงเวทย์ 78 - Bachelor’s Degree in Education 0.002 - กรรมการ Science, Quanzhou Physical Culture - กรรมการผู้มีอานาจลงนาม Institute, People’s Republic of China ผูกพันบริ ษัท - Stamford Executive Program, - 27 มิถนุ ายน 2546 Stamford University California, USA - ปริ ญญาโท สาขาบริ หารธุรกิจ (Master of Business Administration) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
รายงานประจำ � ปี 2 5 60 2553 – ปั จจุบนั
2556 – ปั จจุบนั 2550 – 2556 2552 – ปั จจุบนั 2537 – 2552 2550 – ปั จจุบนั
2551 – 2559 2556 – ปั จจุบนั 2550 – พ.ค.2560
2559 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
- ไม่มี บริษัทจดทะเบียน ประธานกรรมการ และประธานกรรมการ สรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการ และกรรมการบริ หาร กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท - ไม่มี กรรมการกิตติมศักดิ์ รองประธานกรรมการ เหรัญญิก กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ บริษัทจดทะเบียน รองประธานกรรมการและ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จากัด (มหาชน)
หอการค้ าไทย หอการค้ าไทย สหพันธ์ว่ายน ้านานาชาติ (FINA) สหพันธ์ว่ายน ้านานาชาติ (FINA) คณะกรรมการโอลิมปิ คแห่งประเทศไทย
บริ ษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จากัด (มหาชน) บริ ษัท แพนเอเซียฟุตแวร์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท สหพัฒนพิบลู จากัด (มหาชน) จานวน 3 แห่ง - ไม่มี -
บริ ษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จากัด (มหาชน)
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
- ปริ ญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก - ปริ ญญาศิลปศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนอร์ ท – เชียงใหม่ - ปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพัฒนคหเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง - หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่ วมเอกชน รุ่ น 2 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร - Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 3/2003 - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 39/2004 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 10. นายกาธร พูนศักดิอ์ ดุ มสิน 82 - มัธยมศึกษา โรงเรี ยนเผยอิง 0.002 - กรรมการ - Director Accreditation Program - กรรมการผู้มีอานาจลงนาม (DAP) รุ่ น 3/2003 ผูกพันบริ ษัท - Director Certification Program - 27 มิถนุ ายน 2546 (DCP) รุ่ น 68/2005 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
2559 – ปั จจุบนั 2559 – ปั จจุบนั 2559 – ปั จจุบนั 2559 – ปั จจุบนั
2547 – ปั จจุบนั 2538 – ปั จจุบนั
2543 – ปั จจุบนั
2515 – 2553 2560 – ปั จจุบนั 2538 – ปั จจุบนั 2523 – ปั จจุบนั 2526 – 2556
ช่ วงเวลา
- ไม่มี บริษัทจดทะเบียน กรรมการ รองประธานกรรมการ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
กรรมการผู้อานวยการ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท ยูนีเซ็นทรัล จากัด บริ ษัท ยูนีแชมป์ จากัด บริ ษัท ยูนีเว็ลธ์ จากัด บริ ษัท ยูนีซอยส์ จากัด
บริ ษัท ไอที ซิตี ้ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จากัด (มหาชน) จานวน 11 แห่ง
บริ ษัท ไทย-เมียนม่าร์ ซัคเซสเวนเจอร์ จากัด
บริ ษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไทย โอ.พี.พี. จากัด (มหาชน) บริ ษัท เพรซิเดนท์เบเกอรี่ จากัด (มหาชน) บริ ษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จากัด (มหาชน) จานวน 8 แห่ง
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
221
222
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 11. นายบุญเกียรติ โชควัฒนา 70 - ปริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ 0.996 1, 2, 12 - กรรมการ สาขาวิศวกรรมเครื่ องกล - กรรมการผู้มีอานาจลงนาม สถาบันวูร์สเตอร์ โพลีเทคนิค ผูกพันบริ ษัท รัฐแมสซาชูเซทส์ ประเทศสหรัฐอเมริ กา - 21 เมษายน 2529 - ปริ ญญาบริ หารธุรกิจดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ - สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม - วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา - มหาวิทยาลัยนเรศวร - ปริ ญญาบัตร วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐร่ วมเอกชน รุ่ นที่ 388 - Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 3/2003 - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 41/2004 - จากสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ตาแหน่ ง
รายงานประจำ � ปี 2 5 60 2557 – ปั จจุบนั 2557 – ปั จจุบนั
2516 – 2553
กรรมการ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ
- ไม่มี ที่ปรึกษา อุปนายก กรรมการ กรรมการ บริษัทจดทะเบียน พ.ค.2559 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริษัท และ ประธานกรรมการบริ หาร 2558 – พ.ค. 2559 กรรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร 2523 – 2558 กรรมการผู้อานวยการ 2555 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2554 – 2555 กรรมการและกรรมการบริ หาร 2559 – ปั จจุบนั กรรมการ 2551 – 2559 ประธานกรรมการ 2539 – 2550 กรรมการ 2537 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2536 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2553 – ปั จจุบนั 2550 – 2552 2548 – 2550 2550 – 2551
2559 – ปั จจุบนั 2539 – ปั จจุบนั 2538 – ปั จจุบนั 2533 – ปั จจุบนั 2532 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท ดับเบิ ้ลยู บี อาร์ อี จากัด บริ ษัท ร่วมอิสสระ ดีเวล็อปเมนท์ จากัด
บริ ษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน) บริ ษัท แพนเอเซียฟุตแวร์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท แพนเอเซียฟุตแวร์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จากัด (มหาชน) บริ ษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จากัด (มหาชน) บริ ษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จากัด (มหาชน) บริ ษัท ประชาอาภรณ์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท เอส แอนด์ เจ อินเตอร์ เนชัน่ แนล เอนเตอร์ ไพรส์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท โอ ซี ซี จากัด (มหาชน) จานวน 61 แห่ง
บริ ษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน)
สมาคมบริ ษัทจดทะเบียนไทย สมาคมบริ ษัทจดทะเบียนไทย สมาคมบริ ษัทจดทะเบียนไทย บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด
บริ ษัท ยูนีฟันด์ส จากัด บริ ษัท ยูนีเวอร์ ส บิวตี ้แลนด์ จากัด บริ ษัท บอร์ เนียวเวิล์ด จากัด บริ ษัท ไทย อาร์ เช่ คอนเมติคส์ จากัด บริ ษัท ยูนีฟิลด์ จากัด
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 12. นายบุญชัย โชควัฒนา 70 - ปริ ญญาตรี ศิลปศาสตร์ (รัฐศาสตร์ ) 0.040 1, 2, 11 - กรรมการ มหาวิทยาลัยรามคาแหง - กรรมการผู้มีอานาจลงนาม - ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ ผูกพันบริ ษัท Wisconsin State University - 23 เมษายน 2555 At Superior, USA - ปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ - สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร - สาขาบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 3/2003 - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 68/2005 จากสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษัทไทย (IOD)
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
2558 – ปั จจุบนั 2554 – ปั จจุบนั 2535 – ปั จจุบนั 2532 – ปั จจุบนั 2529 – ปั จจุบนั
2554 – ปั จจุบนั 2553 – ปั จจุบนั 2515 – 2553 2513 – ปั จจุบนั 2555 – 2557 2554 – 2555 2550 – 2557
2557 – ปั จจุบนั 2551 – 2557
2556 – ปั จจุบนั 2554 – ปั จจุบนั 2554 – ปั จจุบนั 2543 – ปั จจุบนั 2539 – ปั จจุบนั 2532 – ปั จจุบนั 2522 – ปั จจุบนั 2515 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
- ไม่มี สมาชิกสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ สมาชิกวุฒสิ ภา บริษัทจดทะเบียน กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท ร่วมอิสสระ ดีเวล็อปเมนท์ จากัด บริ ษัท เอกปกรณ์ จากัด บริ ษัท สายพิณวัฒนา จากัด บริ ษัท แพนแลนด์ จากัด บริ ษัท ร่วมประโยชน์ จากัด
บริ ษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท สหพัฒนพิบลู จากัด (มหาชน) บริ ษัท สหพัฒนพิบลู จากัด (มหาชน) บริ ษัท ฟาร์ อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จากัด (มหาชน) บริ ษัท แพนเอเซียฟุตแวร์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท แพนเอเซียฟุตแวร์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท หลักทรัพย์จดั การกองทุน เอ็มเอฟซี จากัด (มหาชน) จานวน 21 แห่ง
รัฐสภา วุฒสิ ภา
บริ ษัท ทอฝัน เอสเตท จากัด บริ ษัท ทอฝัน พร็ อพเพอร์ ตี ้ จากัด บริ ษัท ร่วมประโยชน์ จากัด บริ ษัท เทรชเชอร์ ฮิลล์ จากัด บริ ษัท สายพิณวัฒนา จากัด บริ ษัท แพนแลนด์ จากัด บริ ษัท ชัยลดาดล จากัด บริ ษัท โชควัฒนา จากัด
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
223
224
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 13. **นายสุรชัย ดนัยตังตระกู ้ ล 63 - ปริ ญญาตรี นิตศิ าสตรบัณฑิต - กรรมการอิสระ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - 13 มีนาคม 2557 - ปริ ญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - ประกาศนียบัตร หลักสูตรนักบริ หารระดับสูง ธรรมศาสตร์ เพื่อสังคม (นมธ.) รุ่ นที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตรประกาศนียบัตรชันสู ้ ง การเมือง การปกครองในระบบประชาธิปไตย สาหรับนักบริ หารระดับสูง (ปปร.) รุ่ นที่ 4 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้ า - หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง (วปม.) รุ่ นที่ 3/2548 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร - Director Accredication Program (DAP) รุ่ น 11/2004 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
2559 – ปั จจุบนั
2543 – 2549
2547 – 2549
ธ.ค. 2560 – ปั จจุบนั 2558 – ปั จจุบนั 2554 – 2557 2549 2548
2522 – ปั จจุบนั 2515 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
- ไม่มี -
- ไม่มี -
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการบริ หาร ประธานกรรมาธิการวิสามัญกิจการ วุฒสิ ภา ประธานกรรมาธิการวิสามัญงบประมาณ วุฒสิ ภา ประธานคณะกรรมาธิการการคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน วุฒสิ ภา สมาชิกวุฒสิ ภา จังหวัดร้ อยเอ็ด บริษัทจดทะเบียน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท
กรรมการ กรรมการผู้จดั การ
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) จานวน 7 แห่ง - ไม่มี -
วุฒสิ ภา
วุฒสิ ภา
บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้ าแห่งประเทศไทย วุฒสิ ภา วุฒสิ ภา
บริ ษัท ชัยลดาดล จากัด บริ ษัท โชควัฒนา จากัด
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
74
14. **นายสมพงษ์ สังข์รังสรรค์ - กรรมการอิสระ - 20 กันยายน 2559
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) 0.006
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร -
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ
- ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.) โรงเรี ยนกรุ งเทพการบัญชีวิทยาลัย - Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 3/2003 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 15. **นายนิพนธ์ พัวพงศกร 69 - ปริ ญญาตรี (เกียรตินิยมดี) คณะเศรษฐศาสตร์ - กรรมการอิสระ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - 25 เมษายน 2560 - ปริ ญญาโท (เศรษฐศาสตร์ cum laude) Middle Tennessee State University, USA - ปริ ญญาเอก ด้ านเศรษฐศาสตร์ University of Hawaii, USA - หลักสูตรวิทยาลัยตลาดทุน รุ่ นที่ 10 ศูนย์สง่ เสริ มการพัฒนาความรู้ ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 14/2002 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
อายุ (ปี )
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
คณะกรรมการนโยบายและบริ หารจัดการข้ าว สมาคมเศรษฐศาสตร์ แห่งประเทศไทย Global Business Leaders Program, School of Management, Kyoto University Asian Society of Agricultural Economists สภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการการปรับปรุ ง ระบบการเงินและงบประมาณ คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย สานักงานกฤษฎีกา สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ สมาคมเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มูลนิธิบรู ณะชนบทแห่งประเทศไทย สถาบันป๋ วย อึ ้งภากรณ์ คณะกรรมการวินิจฉัยข้ อมูลข่าวสารด้ านเศรษฐกิจ และการคลังของประเทศ
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริษัทจดทะเบียน กรรมการอิสระ บริ ษัท ธนูลกั ษณ์ จากัด (มหาชน) กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) - ไม่มี เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท - ไม่มี - ไม่มี -
คณะกรรมการ กรรมการ ที่ปรึกษา กรรมการอานวยการ กรรมการบริ หาร คณะกรรมการ
2553 – ปั จจุบนั 2553 – ปั จจุบนั 2553 – ปั จจุบนั 2552 – ปั จจุบนั 2551 – ปั จจุบนั 2542 – ปั จจุบนั
2559 – ปั จจุบนั
Board of Director กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะอนุกรรมการ
คณะกรรมการ นายกสมาคม Visiting Professor
- ไม่มี -
บริษัทจดทะเบียน - ไม่มี กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) - ไม่มี เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท - ไม่มี -
ตาแหน่ ง
2556 – ปั จจุบนั 2556 – ปั จจุบนั 2554 – ปั จจุบนั
2557 – ปั จจุบนั 2557 – ปั จจุบนั 2556 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
225
226
69
อายุ (ปี )
- Director Accreditation Program
- ปริ ญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ University of Oregon, USA - ปริ ญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ Oregon State University, USA
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) -
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร -
(DAP) รุ่ น 38/2005 - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 71/2006 - Audit Committee Program (ACP) รุ่ น 12/2006 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 17. **นางพรรณี วรวุฒจิ งสถิต 65 - ปริ ญญาโท / ปริญญาตรี - กรรมการอิสระ คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี - กรรมการตรวจสอบ วิชาเอก การบัญชี - 25 เมษายน 2559 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) เลขทะเบียน 2960 สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ - Certified Internal Auditors (CIA) The Institute of Internal Auditor (IIA) - Certified Professional Internal Auditors (CPIA) - Qualified Internal Auditors (QIA) สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย - Driving Company Success with IT Governance (ITG) รุ่ น 4/2017
ธรรมาภิบาลและบริ หาร ความเสี่ยง - 26 เมษายน 2553
- ประธานกรรมการ
16. **นายนพพร พงษ์ เวช - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการ ตรวจสอบ
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
รายงานประจำ � ปี 2 5 60 2559 – ปั จจุบนั
2557 – 2560 2560 – ปั จจุบนั 2554 – 2560 2558 – ปั จจุบนั 2553 – 2560
2560 – ปั จจุบนั 2560 – ปั จจุบนั
2558 – ปั จจุบนั
2548 – ปั จจุบนั
2558 – ปั จจุบนั
2560 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
- ไม่มี กรรมการตรวจสอบ ที่ปรึกษาในคณะกรรมการวิชาชีพบัญชี ด้ านการภาษี อากร คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบบัญชีชดุ เดียว คณะอนุกรรมการประสานงานการบริ หาร สานักงานสาขาวิชาชีพบัญชี กรรมการวิชาชีพบัญชี ด้ านการบัญชีภาษี อากร ที่ปรึกษากรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการภาษี อากร บริษัทจดทะเบียน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล
กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ
ประธานกรรมการธรรมาภิบาล
บริษัทจดทะเบียน กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ และ
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท ดับบลิวเอชเอ ยูทลิ ติ ี ้ส์ แอนด์ พาวเวอร์ จากัด (มหาชน)
สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมส่งเสริ มผู้ลงทุนไทย สมาคมส่งเสริ มผู้ลงทุนไทย มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย สภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย
สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
บริ ษัท สหเอเซียแปซิฟิค จากัด
จานวน 1 แห่ง
บริ ษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จากัด (มหาชน)
บริ ษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน)
บริ ษัท กันตนา กรุ๊ ป จากัด (มหาชน)
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
จานวน 1 แห่ง - ไม่มี -
บริ ษัท เหมราชพัฒนาที่ดนิ จากัด (มหาชน)
บริ ษัท ไทยวาโก้ จากัด (มหาชน) บริ ษัท โมโน เทคโนโลยี จากัด (มหาชน) บริ ษัท โมโน เทคโนโลยี จากัด (มหาชน) บริ ษัท บรุ๊ คเกอร์ กรุ๊ ป จากัด (มหาชน)
2543 – 2559
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา และ ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาล และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท 2553 – ปั จจุบนั 2550 – ปั จจุบนั ก.พ.2560 – ปั จจุบนั 2547 – ปั จจุบนั
ตาแหน่ ง
- Ethical Leadership Program (ELP) รุ่ น 2/2015 - Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG) รุ่ น 10/2014 - Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) รุ่ น 10/2014 - Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) รุ่ น 1/2011 - Role of the Chairman Program (RCP) รุ่ น 25/2011 - DCP Refresher Course (RE DCP) รุ่ น 2/2009 - Monitoring Fraud Risk Management (MFM) รุ่ น 1/2009 - Role of the Compensation Committee (RCC) รุ่ น 7/2008 - Chartered Director Class (CDC) รุ่ น 3/2008 - Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) รุ่ น 2/2008 - Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) 5/2007 - Monitoring the Internal Audit Function (MIA) รุ่ น 1/2007 - Improving the Quality of Financial Reporting (QFR) รุ่ น 1/2006
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา - Ethical Leadership Program (ELP) รุ่น 2/2015 - Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG) รุ่น 10/2014 - Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) รุ่น 10/2014 - Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) รุ่ น 1/2011 - Role of the Chairman Program (RCP) รุ่ น 25/2011 - DCP Refresher Course (RE DCP) รุ่ น 2/2009 - Monitoring Fraud Risk Management (MFM) รุ่ น 1/2009 - Role of the Compensation Committee (RCC) รุ่ น 7/2008 - Chartered Director Class (CDC) รุ่ น 3/2008 - Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) รุ่ น 2/2008 - Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) 5/2007 - Monitoring the Internal Audit Function (MIA) รุ่ น 1/2007
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ช่ วงเวลา 2553 – ปั จจุบนั 2550 – ปั จจุบนั ก.พ.60 – ปั จจุบนั 2547 – ปั จจุบนั
2543 – 2559
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ไทยวาโก้ จากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท โมโน เทคโนโลยี จากัด (มหาชน) กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริ ษัท โมโน เทคโนโลยี จากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ บริ ษัท บรุ๊ คเกอร์ กรุ๊ ป จากัด (มหาชน) ประธานกรรมการสรรหา และ ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ บริ ษัท เหมราชพัฒนาที่ดนิ จากัด (มหาชน) กรรมการธรรมาภิบาล และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน จานวน 1 แห่ง กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท - ไม่มี -
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
227
228
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
18. **นางสาวนฤมล สอาดโฉม - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ - 25 เมษายน 2560
44
- ปริ ญญาตรี สถิติ คณะพาณิชยศาสตร์ และ การบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริ ญญาโท คณิตศาสตร์ ประกันภัย J.Mack Robinson Clooage of Business, Georgia State University, Atlanta, GA,USA - ปริ ญญาโท เศรษฐศาสตร์ ประยุกต์ The Wharton School, University of Pennsylvania, Pholadelphia, PA, USA - ปริ ญญาเอก การบริ หารความเสี่ยงและการเงิน The Wharton School, University of Pennsylvania, Pholadelphia, PA, USA - Advanced Audit Committee Program (AACP) รุ่ น 21/2017 - Role of the Compensation Committee (RCC) รุ่ น 21/2016
-
-
- Improving the Quality of Financial Reporting (QFR) รุ่ น 1/2006 - Audit Committee Program (ACP) รุ่ น 2/2004 - Director Certification Program (DCP) รุ่ น 38/2003 - Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 2/2003 จากสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้ ตาแหน่ ง
กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท
- ไม่มี ประธานกรรมการคณะอนุกรรมการบริ หาร ความเสี่ยง ก.ค.2560 – ปั จจุบนั กรรมการอิสระ ส.ค.2560 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หารความเสี่ยง กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน และ กรรมการกาหนดกลยุทธ์และนโยบายทางด้ าน IT 2556 – 2560 ที่ปรึกษาด้ านการบริ หารความเสีย่ ง 2550 – ปั จจุบนั ที่ปรึกษาด้ านการบริ หารความเสีย่ ง บริษัทจดทะเบียน ส.ค.2560 – ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 2555 – ปั จจุบนั กรรมการบริ หารความเสี่ยง 2558 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริ ษัท จี เจ สตีล จากัด (มหาชน) บริ ษัท เอส แอนด์ เจ อินเตอร์ เนชัน่ แนล เอนเตอร์ ไพรส์ จากัด (มหาชน) จานวน 4 แห่ง - ไม่มี -
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
สานักงานประกันสังคม
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
อายุ (ปี )
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครั ว ระหว่ าง ผู้บริหาร
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 20. นางดุรณี สุนทรธารง 63 - ปริญญาตรี สาขาการเงินการธนาคาร 0.0009 - เลขานุการบริษัท (เกียรตินิยมอันดับ 2) - 12 พฤษภาคม 2551 มหาวิทยาลัยรามคาแหง - กรรมการธรรมาภิบาล - หลักสูตรกฎหมายและระเบียบปฏิบตั ิ และบริหารความเสี่ยง สาหรับเลขานุการบริษัท - 4 สิงหาคม 2558 จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Corporate Secretary Development Program จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโดย สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย - Fundamental Practice for Corporate Secretary (FPCS 19) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย - Effective Minute Taking รุ่น 14/2009 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ
- Director Certification Program (DCP) รุ่ น 224/2016 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 19. นายมนัส องค์สรณะ 64 - ปริญญาตรี การบัญชี 0.002 - กรรมการบริหาร มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย - 21 กรกฎาคม 2559 - Director Certification Program (DCP) รุ่น 27/2003 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
กรรมการ
2531 – ปั จจุบนั
- ไม่มี -
กรรมการ
2539 – ปั จจุบนั
2552 – ปั จจุบนั 2542 – ปั จจุบนั
กรรมการ บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ กรรมการผู้จดั การ
- ไม่มี -
- ไม่มี รองประธานกรรมการ บริษัทจดทะเบียน กรรมการบริหารความเสี่ยง กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการผู้จดั การ กรรมการ
ตาแหน่ ง
2559 – ปั จจุบนั
2559 – ปั จจุบนั 2557 – ปั จจุบนั
2553 – ปั จจุบนั
2559 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริษัท เฟิ สท์ยไู นเต็ดอินดัสตรี จากัด
บริษัท ทรัพย์สินสหพัฒน์ จากัด
บริษัท สหพัฒน์เรี ยลเอสเตท จากัด บริษัท สินภราดร จากัด
สหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อพนักงานเครื อสหพัฒน์ จากัด - ไม่มี จานวน 5 แห่ง
บริษัท สรี ราภรณ์ จากัด บริษัท บีเอ็นซี เรี ยลเอสเตท จากัด
บริษัท ไทยวาโก้ จากัด (มหาชน) จานวน 21 แห่ง
สหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อพนักงาน เครื อสหพัฒน์ จากัด
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
229
230
อายุ (ปี )
- ปริ ญญาตรี สาขาสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครั ว ในบริษัท ระหว่ าง (%) ผู้บริหาร -
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 24. นายทินกร บุนนาค 52 - ปริ ญญาตรี สาขาสถาปั ตยกรรมศาสตร์ - ผู้จดั การฝ่ ายพัฒนาพื ้นที่ มหาวิทยาลัยศิลปากร - 1 มีนาคม 2553
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 23. นายสนทยา ทับขันต์ 53 - ปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า - ผู้จดั การฝ่ ายพัฒนาและ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บริ การสาธารณูปโภค - 11 มกราคม 2549
(สิ ้นสุดสัญญาจ้ าง 1 มกราคม 2561)
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 22. นางทัศนีย์ อินทปุระ 60 - เลขานุการ วิทยาลัยเทคโนโลยีและ - ผู้จดั การฝ่ ายสานักงาน อาชีวศึกษา - 1 มีนาคม 2550 วิทยาเขตพาณิชยการพระนคร
บริ หารความเสี่ยง
21. นายชูโต จิระคุณากร 58 - ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ - 15 มกราคม 2558 - กรรมการธรรมาภิบาลและ
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
2560 – ปั จจุบนั 2557 – ปั จจุบนั 2547 – ปั จจุบนั
2547 – ปั จจุบนั
2545 – ปั จจุบนั
2547 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
- ไม่มี -
- ไม่มี บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ กรรมการ กรรมการ
- ไม่มี บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ
บริ ษัท สหเอเซียแปซิฟิค จากัด บริ ษัท แพนแลนด์ จากัด บริ ษัท เทรซเซอร์ ฮิลล์ จากัด
- ไม่มี จานวน 4 แห่ง
บริ ษัท เทรซเซอร์ ฮิลล์ จากัด
- ไม่มี จานวน 11 แห่ง
- ไม่มี จานวน 3 แห่ง - ไม่มี -
บริ ษัท ทรัพย์สนิ สหพัฒน์ จากัด
กรรมการ - ไม่มี บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท
บริ ษัท เทรชเชอร์ ฮิลล์ จากัด
- ไม่มี จานวน 8 แห่ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ
ตาแหน่ ง
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
53
25. นายวัชรา แย้ มแก้ ว - ผู้จดั การฝ่ ายภูมิสถาปั ตย์ - 1 พฤษภาคม 2553
- ปริ ญญาตรี สาขาเทคโนโลยีภมู ิทศั น์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
คุณวุฒิทางการศึกษา
*สัดส่ วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครั ว ในบริษัท ระหว่ าง (%) ผู้บริหาร -
2560 – ปั จจุบนั
2554 – ปั จจุบนั
ช่ วงเวลา
- ไม่มี -
- ไม่มี บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท
- ไม่มี บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ
บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่น (ที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) เป็ นกิจการที่แข่ งขันกับธุรกิจของบริษัท กรรมการ
ตาแหน่ ง
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
- ไม่มี จานวน 2 แห่ง - ไม่มี -
- ไม่มี-ยแปซิฟิค จากัด บริ ษัท สหเอเซี
- ไม่มี จานวน 12 แห่ง
บริ ษัท เทรซเซอร์ ฮิลล์ จากัด
- ไม่มี จานวน 2 แห่ง
ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
หมายเหตุ : * รวมการถือหุ้นของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ** กรรมการอิสระไม่เคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรื อการให้ บริ การทางวิชาชีพกับบริ ษัทฯ บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้ นรายใหญ่ หรื อผู้มีอานาจควบคุมของบริ ษัท
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 27. นายกิตติพงษ์ คงพัฒน์ยืน 47 - ปริ ญญาตรี สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ - ผู้จดั การฝ่ ายสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 12 กรกฎาคม 2560
การดารงตาแหน่ งใด ๆ ในกิจการหรื อองค์ กรอื่นในปี ที่ผ่านมาที่มีผลกระทบกับการอุทศิ เวลาอย่ างมีนัยสาคัญ 26. นายอาพล วัฒนวรพงศ์ 47 - ปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรไฟฟ้า - ผู้จดั การฝ่ ายการตลาด NIHON UNIVERSITY อสังหาริ มทรัพย์ - 7 มกราคม 2558
อายุ (ปี )
ชื่อ – สกุล / ตาแหน่ ง วันที่ได้ รับแต่ งตัง้
ประวัติกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
231
232
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
โชควัฒนา โชควัฒนา ศรีจิตร์ กุลสมภพ มนูญผล ลีลานุวฒ ั น์ ธนสารศิลป์ ปั จฉิมนันท์ พะเนียงเวทย์ พูนศักดิ์อดุ มสิน โชควัฒนา โชควัฒนา ดนัยตังตระกู ้งตระกูล สังข์รังสรรค์ พงษ์ เวช วรวุฒิจงสถิต พัวพงศ์กร สอาดโฉม
X , // / // // // // // / / / / / / / / / / /
บริษัท
/
1
X
2
// / X
3
/
4 / // / X
5
รายชื่อ บริษัท ที่ม ีร ายการระหว่ างกัน มูล ค่ าตัง้ แต่ 5 แสนบาทขึน้ ไปในปี 2560 มีด ังนี ้ 1. บจ.อีสเทิร์น ไทย คอนซัลติ ้ง 1992 7. บจ.อินเตอร์ เนชัน่ แนล แลบบอราทอรีส์ 2. บจ.พิทกั ษ์ กิจ 8. บจ.ไลอ้ อน (ประเทศไทย) 3. บจ.เฟิ สท์ยไู นเต็ดอินดัสตรี 9. บมจ.ธนูลกั ษณ์ 4. บจ. สหชลผลพืช 10. บมจ.ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์ เนชัน่ แนล 11. บจ.ท้ อปเทร็นด์ แมนูแฟคเจอริ่ง 5. บจ.ทรัพย์สินสหพัฒน์ 6. บจ.รักษาความปลอดภัย พิทกั ษ์ กิจ 12. บมจ.สหพัฒนพิบลู
1. นายบุณยสิทธิ์ 2. นายบุญปกรณ์ 3. นายทนง 4. นายวิชยั 5. นายสําเริง 6. นายมนู 7. นางสาวศิริกลุ 8. นายสุจริต 9. นายพิพฒ ั นายกํำาธร ธร 10. นายก� 11. นายบุญเกียรติ 12. นายบุญชัย 13. นายสุรชัย 14. นายสมพงษ์ 15. นายนพพร 16. นางพรรณี 17. นายนิพนธ์ 18. นางสาวนฤมล X = ประธานกรรมการ
รายชื่อ 7 /
/
/
8
9
/
X
/
X X
X ,//
X
/
/
X
X
X //
X
19. บจ.ซูรูฮะ (ประเทศไทย) 20. บมจ.ประชาอาภรณ์ 21. บมจ.โอ ซี ซี 22. บจ.ราชาอูชิโน 23. บมจ.เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ 24. บจ.วีน อินเตอร์ เนชัน่ แนล
/ = กรรมการ
X
/
X /
X /
บริษัท ที่ม ีร ายการระหว่ างกัน 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 / / X / / X /
13. บจ.บางกอกโตเกียว ช็อคส์ 14. บจ.เอช แอนด์ บี อินเตอร์ เท็กซ์ 15. บมจ.สหโคเจน (ชลบุรี) 16. บมจ.เอส แอนด์ เจ อินเตอร์ เนชัน่ แนล เอนเตอร์ ไพรส์ 17. บจ.ภัทยาอุตสาหกิจ 18. บมจ.นิวซิตี ้ (กรุงเทพ)
// = กรรมการบริห าร
/
6
เอกสารแนบ 2 : รายละเอีย ดเกี่ย วกับ กรรมการที่ด าํ รงตําแหน่ งในบริษัท ที่ม ีร ายการระหว่ างกัน ตามตารางดังนี ้
กรรมการที่ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่มีรายการระหว่างกัน
กรรมการที่ดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่มีรายการระหว่างกัน
โชควัฒนา โชควัฒนา ศรี จิตร์ กุลสมภพ มนูญผล ลีลานุวฒ ั น์ ธนสารศิลป์ ปั จฉิมนันท์ พะเนียงเวทย์ พูนศักดิอ์ ุดมสิน โชควัฒนา โชควัฒนา ดนัยตั้ง้งตระกู ตระกูล สังข์รังสรรค์ พงษ์ เวช วรวุฒิจงสถิต พัวพงศ์กร สอาดโฉม
X , // / // // // // // / / / / / / / / / / /
บริ ษัท
/
25
X
26
/
/
/
28
27
รายชื่อ บริ ษัท ที่ม ีร ายการระหว่ างกัน มูล ค่ าตัง้ แต่ 5 แสนบาทขึน้ ไปในปี 2560 มีด งั นี ้ 25. บจ.โอสถ อินเตอร์ แลบบอราทอรี่ส์ 30. บจ.กบินทร์ พฒ ั นกิจ 26. บจ.บีเอ็นซี แม่สอด 31. บจ.ไอ.ดี.เอฟ. 27. บจ.เทรชเชอร์ ฮิลล์ 32. บจ.เอสเอสดีซี (ไทเกอร์ เท็กซ์) 33. บจ.สินภราดร 28. บจ.ศรี ราชา เอวิเอชัน่ 29. บจ.พี ที เค มัลติเซอร์ วิส 34. โชควัฒนา
1. นายบุณยสิทธิ์ 2. นายบุญปกรณ์ 3. นายทนง 4. นายวิชยั 5. นายสําเริ ง 6. นายมนู 7. นางสาวศิริกลุ 8. นายสุจริ ต 9. นายพิพฒ ั 10. นายก� นายกํำาธร ธร 11. นายบุญเกียรติ 12. นายบุญชัย 13. นายสุรชัย 14. นายสมพงษ์ 15. นายนพพร 16. นางพรรณี 17. นายนิพนธ์ 18. นางสาวนฤมล X = ประธานกรรมการ
รายชื่อ
X
30
/ /
/
35. บจ.เอ็กแซ็ค คิว 36. บจ.ไทย ไอซาว่า พิทกั ษ์ กิจ 37. ยูนีเวอร์ สบิวตี ้ 38. บจ.โมเดอร์ น เทคโนโลยี่ คอมโพเน้ นท์ 39. บจ.สหโคเจน กรี น
X
บริ ษัท ที่ม ีร ายการระหว่ างกัน 31 32 33 34 35 36 / / / /
// = กรรมการบริ ห าร
X
29
รายละเอีย ดเกี่ย วกับ กรรมการที่ด าํ รงตําแหน่ งในบริ ษัท ที่ม ีร ายการระหว่ างกัน ตามตารางดังนี ้ (ต่ อ )
กรรมการที่ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่มีรายการระหว่างกัน
X
37
/
X
39 X
41
/ = กรรมการ
X
40 //
40. วัตสดรมัย 41. บุญวัฒนโชค 42. บจ.ดับเบิ ้ลยูบีแอลพี
/
38
/
42
กรรมการที่ดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่มีรายการระหว่างกัน
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
233
SPI ... กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2560
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สารบัญ 237
สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่
238
ปรัชญาการด�ำเนินธุรกิจ
239
ข้อมูลทั่วไปของบริษัท
243
การพัฒนาที่ยั่งยืน
245
เกี่ยวกับรายงาน
247
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม สู่ความส�ำเร็จที่ยั่งยืน
247 คนดี 250 สินค้าดี (ธุรกิจ) 262 สังคมดี (ชุมชน)
236
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่
ในปี 2560 ประเทศไทยเข้าสูส่ ภาวะการพัฒนาเศรษฐกิจ ภายใต้รฐั บาลใหม่ทเี่ ริม่ เข้ามาปรับปรุงและยกระดับการพัฒนาประเทศ ดังจะเห็นได้วา่ อัตราการเติบโตในด้านการส่งออกมีอตั ราทีส่ งู ขึน้ และภาคการท่องเทีย่ วได้รบั ประโยชน์จากมาตรการของทางรัฐบาลอย่าง ต่อเนื่อง การส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมในส่วนของการส่งเสริมเขตเศรษฐกิจพิเศษและโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) จะเป็นแนวทางการส่งเสริมการลงทุนเป็นอย่างมาก และเป็นการกระตุ้นให้ภาคครัวเรือนมีการใช้จ่ายสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากกิจกรรม ต่างๆ ดังกล่าว ส่งผลให้ธุรกิจของบริษัทในเครือสหพัฒน์มียอดการจ�ำหน่ายที่สูงขึ้น จากกิจกรรมส่งเสริมในส่วนของการกระตุน้ เศรษฐกิจควบคูก่ บั การขับเคลือ่ นของโครงการประชารัฐ บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการโครงการ ประชารัฐอย่างต่อเนือ่ ง โดยขยายการลงทุนการปลูกพืชและผลไม้รวมถึงการจัดท�ำเป็นศูนย์เรียนรูด้ ว้ ยการยกระดับให้เป็นศูนย์พฒ ั นาและ เป็นหน่วยงานกลางให้ชุมชนในท้องถิ่น นักเรียน นักศึกษา เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโครงการเศษฐกิจพอเพียง และน�ำผลิตภัณฑ์ จ�ำหน่าย และแจกจ่ายเมล็ดพันธุ์พืชให้แก่เกษตรกรน�ำไปเพาะปลูกเพื่อเสริมสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนให้เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ในส่วนของการพัฒนาเขตประกอบการสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ได้แต่งตั้งให้มีคณะท�ำงานของบริษัทร่วมกับกรมโรงงาน อุตสาหกรรม เพื่อยกระดับการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยมีกรอบแนวทางในการด�ำเนินงานในด้านการบริหารจัดการ ด้าน กายภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งผลจากกการศึกษาตามแนวทางดังกล่าวพบว่า บริษัทฯ ได้คะแนนการประเมิน สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานโดยกิจกรรมทั้งหมดที่เกิดขึ้นได้รับการตอบรับและสนับสนุนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นอย่างดีและเข้ามามีส่วน ร่วมในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อให้อุตสาหกรรมและชุมชนอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขและยั่งยืน นอกเหนือจากนี้ บริษทั ฯ ได้ยกระดับมาตรฐานสากลการจัดการสิง่ แวดล้อมของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ให้ได้รบั การรับรอง มาตรฐาน ISO14001:2015 โดยได้ประเมินปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ ลดการใช้พลังงาน ปฏิบัติตามกฏหมาย ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยให้กระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด จากกิจกรรมดังกล่าวที่ผ่านมาเป็นเพียงกิจกรรมส่วนหนึ่งเท่านั้นที่บริษัทฯ มีความตั้งใจที่จะส่งเสริมให้บริษัทอยู่ร่วมกับชุมชน อย่างเป็นสุขและยั่งยืน และในโอกาสต่อไป บริษัทจะด�ำเนินการพัฒนาและยกระดับกิจกรรมต่างๆ ให้สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนด บนพืน้ ฐานของความเชือ่ มัน่ ว่าหากธุรกิจของบริษทั จะเติบโตอย่างต่อเนือ่ งได้ ชุมชนต้องมีความเข้มแข็ง ต้องมีสงิ่ แวดล้อมทีด่ แี ละสูงกว่า มาตรฐาน จะเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ภายใต้นโยบายบริหาร “คนดี สินค้าดี สังคมดี”
นายวิชัย กุลสมภพ กรรมการผู้จัดการใหญ่
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
237
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ปรัชญาการด�ำเนินธุรกิจ SPI เชื่อมั่นว่า...
ดร.เทียม โชควัฒนา ผู้ก่อตั้ง
“การด�ำเนินธุรกิจที่ดี ต้องไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน และท�ำสิ่งต่าง ๆ อย่างมีจริยธรรม”
238
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
หลักคิด บริการด้วยความรวดเร็ว สุภาพ ซื่อสัตย์ เที่ยงตรง และยุติธรรม
คนดี สินค้าดี สังคมดี
มีคุณภาพ เพียงพอ และพัฒนาให้ เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนด
อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพ แวดล้อมของพนักงานภายในองค์กร และชุมชนบริเวณโดยรอบพื้นที่
สินค้าดี คนดี
สังคมดี
ข้อมูลทั่วไปของบริษัท โครงสร้างองค์กร
31 ธันวาคม 2560 เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท www.spi.co.th บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
239
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ค่านิยม
คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงความส�ำคัญในการด�ำเนินงานของบริษทั โดยได้กำ� หนดปรัชญาการด�ำเนินธุรกิจ วิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และค่านิยมของบริษัท เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน มีจุดมุ่งหมายในการด�ำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน ดังนี้
ปรัชญาการด�ำเนินธุรกิจ (Business Philosophy) การด�ำเนินธุรกิจที่ดีต้องไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน และท�ำสิ่งต่างๆ อย่างมีจริยธรรม
วิสัยทัศน์ (VISION) “เป็นหนึ่งในการลงทุน บริการด้วยใจ มุ่งมั่นพัฒนา สร้างคุณค่าให้สังคม”
พันธกิจ (MISSION) ลงทุนในกิจการที่มีโอกาสเจริญก้าวหน้า เพิ่มความพึงพอใจในการสนับสนุนงานการค้าและบริการ พัฒนาสวนอุตสาหกรรมไปสู่มาตรฐานสากล ส่งเสริมให้บริษัทมีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ คุณธรรม และจริยธรรม ตลอดจนรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย (TARGET) ขยายตัวทางธุรกิจอย่างยั่งยืน
ค่านิยม (Value) 7 ประการ ได้แก่
240
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
พัฒนาการที่ส�ำคัญ ปี 2560 • วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้จ�ำนวน 2 ชุด จ�ำนวน 2,000 ล้านบาท ได้แก่ ชุดที่ 1 ครบก�ำหนด ไถ่ถอนปี 2563 มูลค่า 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ 2.39% ต่อปี ชุดที่ 2 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี 2567 มูลค่า 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ 3.44% ต่อปี • รับโอนกิจการทั้งหมดของ บริษัท เพรซิเดนท์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด และ การท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดใน บริษัท เพรซิเดนท์ ไรซ์ โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) จากการรับโอนกิจการดังกล่าว บริษัทฯ ได้รับรางวัล “BEST THAILAND DEAL Saha Pathana Inter-Holding Public Company’s $2.902 billion restructuring of four listed entities into one” จากนิตยสาร FinanceAsia • ออกหุ้นกู้แปลงสภาพครั้งที่ 1/2560 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2567 ซึ่งมีข้อก�ำหนดบังคับแปลงสภาพโดยมีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 3,505 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ 0.7% ต่อปี และบริษัทฯ ได้รับรางวัล Most Innovative Deal จากสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย • เริ่มด�ำเนินการพัฒนาสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ให้เป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้ด�ำเนินการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศครอบคลุมพื้นที่เมืองหรืออ�ำเภอที่มีการประกอบอุตสาหกรรมหนาแน่น พื้นที่น�ำร่อง ประกอบด้วย จังหวัดระยอง สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และชลบุรี ซึ่งสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการดังกล่าว ในการจัดท�ำแผนงาน การจัดกิจกรรม และการด�ำเนินการโครงการต่างๆ เพื่อประกาศเป็น “ECO Industrial Park”
ปี 2559 • ได้รับรางวัลดีเด่นด้าน การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม (IndustialEnvironmental Management)ประจ�ำปี 2559 จาก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับรางวัล SCR-DIW Continuous Award 2016 จัดโดยกระทรวงอุตสาหกรรม • สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับเลือกเป็นพื้นที่เขตประกอบอุตสาหกรรมน�ำร่องของพื้นที่ จังหวัดชลบุรี ในการ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรี ภายใต้การศึกษาแผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ร่วมกับ อุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี และกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม • ระบบผลิตประปา สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับการขึ้นทะเบียนคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์น�้ำประปา กับ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ซึ่งเป็นการประเมินก๊าซเรือนกระจก ในรูปของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ปล่อยออกมา จากกระบวนการผลิตน�้ำประปาของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา • ได้รับการรับรอง เป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC)
ปี 2558
• สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ได้รับการรับรองเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 3 กระทรวงอุตสาหกรรม โดยมุ่งเน้นการ พัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และประกอบกิจการด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม • สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ศึกษาการบริหาร จัดการกากอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบถูกต้องตามหลักวิชาการและกฎหมาย จากกากตะกอนเพื่อผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ตามาตรฐาน ของกรมวิชาการเกษตร • สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ กบินทร์บุรี เข้าร่วมกิจกรรมโครงการตามแผนแม่บทการพัฒนาเข้าสู่เมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จังหวัดปราจีนบุรี • สวนอุ ต สาหกรรมเครือ สหพัฒน์ ล�ำพูน ได้รับรางวัล CSR-DIW Continuous Award 2015 จัดโดยกระทรวง อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นประกาศเกียรติคุณที่แสดงถึง ความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาองค์กรสู่ความยั่งยืน • แต่งตั้งคณะกรรมการธรรมาภิบาลและ บริหารความเสี่ยง
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
241
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
รางวัลที่ส�ำคัญ ปี 2560 • ได้รับผลประเมินคุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ อยู่ในระดับ “ดีเลิศ” โดยบริษัทฯ ได้เต็ม 100 คะแนน เป็นปีที่ 9 ติดต่อกัน • ผลการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย ผลประเมินอยู่ในระดับ “ดีมาก” • ได้รับรางวัลระดับนานาชาติ BEST THAILAND DEAL of the Year 2017 Saha Pathana Inter-Holding Public Company’s $2.902 billion restructuring of four listed entities into one จาก นิตยสาร FinanceAsia
• ได้ รั บ รางวั ล ตราสารหนี้ ย อดเยี่ ย มแห่ ง ปี 2560 ประเภท Most Innovation Deal จากสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย
• ได้รับโล่เกียรติยศประชารัฐร่วมใจ จากโครงการประชารัฐร่วมใจ เครือสหพัฒน์ ซึ่งบริษัทฯ ร่วมด�ำเนินโครงการประชารัฐผ่าน โครงการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ และประชารัฐเพื่อสังคม ทาง ด้านการเกษตร ในโครงการ “เกษตรพอเพียง ดร.เทียม โชค วัฒ นา” และด้านคมนาคม ในโครงการ “ปลูกจิตส�ำนึกขั บขี่ ปลอดภัย”
ปี 2559 • ได้รับการรับรอง เป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) • ได้รับรางวัล CSR-DIW Continuous Award 2016 จัดโดยกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งแสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาองค์กรสู่ความ ยั่งยืน และให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินกิจการที่ถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ชุมชน และบรรษัทภิบาล อีกทั้ง ยังแสดงถึงการส่งเสริมศักยภาพมุ่งสู่การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างยั่งยืน • ได้รับรางวัลดีเด่นด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม (Industrial Environmental Management) จากวิศวกรรมสถานแห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ปี 2558 • ได้รับเกียรติบัตรการเป็นสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่ด�ำเนินงานตามหลักเกณฑ์ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม โดยมีจิตส�ำนึกและ ยึดหลักธรรมาภิบาลเป็นหลักในการด�ำเนินงานโดยให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการเสนอความเห็นในการแก้ไขปัญหาเพือ่ น�ำไปสูก่ ารสร้าง เครือข่ายระหว่างชุมชนกับผู้ประกอบการและภาครัฐในการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขและยั่งยืน • ได้รับการรับรองเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ระดับที่ 3 จากกระทรวงอุตสาหกรรมโดยมุ่งเน้นการพัฒนาและปรับปรุง อย่างต่อเนือ่ ง และประกอบกิจการด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมทัง้ ภายในและภายนอกสวนอุตสาหกรรม เพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
242
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
การพัฒนาที่ยั่งยืน กลยุทธ์หลักในการขับเคลื่อนบริษัทสู่ความยั่งยืน
ด้วยวิสัยทัศน์ของบริษัทที่มุ่งมั่นเป็นหนึ่งในการลงทุน บริการด้วยใจ มุ่งมั่นพัฒนา สร้างคุณค่าให้สังคม โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และปฎิบัติตนเป็นคนดีบนพื้นฐานการบริการด้วยความรวดเร็ว สุภาพ ซื่อสัตย์ เที่ยงตรง และยุติธรรม ต่อผู้มีส่วนได้เสีย และ สังคม มุ่งสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยคณะกรรมการบริษัท ได้ร่วมก�ำหนดทิศทางและกลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจสู่ความยั่งยืน
กลยุทธ์มุ่งสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town)
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
243
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาที่ยั่งยืน
ในฐานะผู้น�ำด้านการลงทุนของกลุ่มสหพัฒน์ บริษัทฯ มีแผนที่จะมุ่งเน้นการลงทุนในกิจการที่มีโอกาสเจริญก้าวหน้าเพื่อให้ได้รับ ผลตอบแทนที่ดีที่สุด และยังคงขยายธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ รองรับการขยายตัวของนักลงทุน เพิ่มศักยภาพในด้านการให้เช่าและ บริการ เพือ่ สร้างประโยชน์สงู สุดให้กบั ลูกค้าในสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ โดยยกระดับมาตรฐานสิง่ แวดล้อมให้เป็นเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ (Eco Industrial Town) ด้วยระบบบริหารจัดการที่ดี มีความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริต และตรวจสอบได้ ภายใต้หลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี การพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมที่มีอยู่แล้วสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (ECO Industrial Town) และยกระดับโครงการประชารัฐ (โครงการเกษตรพอเพียง ดร.เทียม โชควัฒนา จังหวัดล�ำพูน) ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาของรัฐบาลและโครงการสนับสนุน เช่น การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) โครงการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพือ่ เสริมสร้างให้ชมุ ชนในท้องถิน่ มีรายได้ โดยมีเป้าหมายเพือ่ ให้กบั สังคมโดยรอบมีคณ ุ ภาพชีวติ ดี สภาพแวดล้อมดี มีรายได้เติบโตอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้ การพัฒนาบุคลากรและพื้นที่ให้เติบโตอย่างยั่งยืน บริษัทฯ ยึดหลักการบริหารด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ให้สอดคล้อง กับดัชนีชี้วัด Global Reporting Initiative : GRI standard 2018 ภายใต้นโยบาย “คนดี สินค้าดี สังคมดี” โดยจัดท�ำรายงานการพัฒนา อย่างยั่งยืน คณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงเป็นผู้รับผิดชอบการด�ำเนินงานด้าน การพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยยึดมั่นวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นเรื่องการประกอบธุรกิจควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อมและการอยู่ร่วมกับ ชุมชนอย่างยั่งยืน
“คนดี” • • • • •
รวดเร็ว ติดต่อประสานงานและให้บริการลูกค้าด้วยความรวดเร็ว สุภาพ บริการ ดูแลเอาใจใส่ลูกค้าด้วยความเต็มใจให้ได้รับความพึงพอใจสูงสุด ซื่อสัตย์ ให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจและเป็นธรรมต่อผู้มีส่วนได้เสีย เที่ยงตรง การให้บริการสามารถควบคุมและทวนสอบกลับได้ทุกขั้นตอน ยุติธรรม ด�ำเนินธุรกิจด้วยการให้ความส�ำคัญและความเสมอภาคแก่ลูกค้า
“สินค้าดี”
• มีคุณภาพ ควบคุมการให้บริการให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล • เพียงพอ มีระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า • พัฒนาให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนด
“สังคมดี”
• ส่งเสริมอาชีวอนามัย ความปลอดภัย • ดูแลสภาพแวดล้อม ของพนักงานภายในองค์กร • ดูแลชุมชนบริเวณโดยรอบ
การด�ำเนินงานกับผู้มีส่วนได้เสีย
บริษัทฯ มีการระบุและจัดล�ำดับความส�ำคัญของผู้มีส่วนได้เสีย โดยพิจารณาจากการประกอบธุรกิจหลัก 3 ประเภท คือ ธุรกิจการลงทุน ในหุน้ บริษทั ต่างๆ ธุรกิจการให้เช่าและบริการ และธุรกิจสวนอุตสาหกรรม โดยใช้แนวทางการตัดสินใจ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของผูม้ สี ว่ นได้เสีย บริษทั ฯ ค�ำนึงถึงความต้องการ ความสนใจ ตลอดจนผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากนโยบายและการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมไปถึงการประสานประโยชน์ให้เกิดขึ้นระหว่างธุรกิจกับผู้มีส่วนได้เสีย อย่างแท้จริง พบว่า ผู้มีส่วนได้เสียที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการธุรกิจ ประกอบด้วย ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า พนักงาน ชุมชนและสังคม สื่อมวลชน ภาครัฐ
244
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ผู้มีส่วนได้เสียที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการธุรกิจ ผู้มีส่วนได้เสีย • ผู้ถือหุ้น
ความคาดหวัง กระบวนการที่ใช้ • ผลตอบแทนที่เหมาะสม • การประชุมผู้ถือหุ้น • หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี • รายงานประจ�ำปี • ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม • Website บริษทั • ระบบข่าวตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • Company Visit • งานนักวิเคราะห์ นักลงทุน พบกลุ่มสหพัฒน์ • ลูกค้า • ความพึงพอใจในการบริการ • การประชุมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น • ด�ำเนินธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • น�ำเสนอการบริการในรูปแบบใหม่ๆ • การส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้า • การจัดท�ำโครงการ CSR • Website บริษัท • E-mail • ลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม • คู่ค้า / • การท�ำธุรกิจแบบยุติธรรมโปร่งใส • การประชุมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น • การพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน ผู้รับเหมา / • การให้ค�ำปรึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ • วิเคราะห์ คู่ค้า / ผู้รับเหมา / ผู้ขายวัตถุดิบ ผู้ขายวัตถุดิบ ในห่วงโซ่อุปทาน • โทรศัพท์ • บอร์ดประชาสัมพันธ์ • E-mail • พนักงาน
• ชุมชนและ สังคม
• สื่อมวลชน
• ภาครัฐ
• ค่าตอบแทนและสวัสดิการ • ความมั่นคงและก้าวหน้า • คุณภาพชีวิตที่ดี • การพัฒนาความรู้และทักษะ
• การส�ำรวจความคิดเห็นของพนักงาน • การประชุมร่วมกันระหว่างผู้บริหารและ พนักงาน • ประเมินผลการปฏิบัติงาน • บอร์ดประชาสัมพันธ์ • Website บริษัท • E-mail • การรับข้อร้องเรียน • ส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้แก่คนใน • ส�ำรวจและรับฟังความคิดเห็นของคนในชุมชน ชุมชน • จัดกิจกรรมพบปะชุมชน / โรงเรียน • ดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อมโดยรอบชุมชน • จัดงานร่วมกับชุมชน • สนับสนุนกิจกรรมของชุมชน • Open House • พัฒนาเด็กและเยาวชนในโรงเรียนของ • Call Center ชุมชน • Website บริษัท • การสื่อสารระหว่างบริษัท กับ ผู้เกี่ยวข้อง • การให้สัมภาษณ์ • มีช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร • โทรศัพท์ กิจกรรมต่างๆ ของบริษัท • วิทยุชุมชน • Open House • Website บริษัท • ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาค รัฐและบริษัท • ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ต่างๆ ของภาครัฐ
• Open House • หนังสือเวียน • รายงานประจ�ำเดือน • การประชุมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น • การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แนวปฏิบัติ • จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นประจ�ำทุกปี • รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม • เยี่ยมชมการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท • จัดให้มีการพบปะระหว่างนักลงทุน กับ ผู้บริหารกลุ่มสหพัฒน์ • พัฒนาการบริการให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า • สร้างเครือข่ายทางธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • มีการประเมินความพึงพอใจของลูกค้าปีละ 1 ครั้ง • ให้ความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจของโรงงานภายใน สวนอุตสาหกรรม • มีการประกาศการคิดอัตราค่าบ�ำบัดน�้ำเสียที่ชัดเจนและเป็นธรรม • เปิดเผยข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน�้ำเสีย เดือนละ 1 ครั้ง • มีนโยบายการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับคู่ค้า • มีข้อตกลงที่ยุติธรรมในการท�ำการค้าร่วมกัน • มีการพัฒนาคู่ค้าให้สามารถท�ำธุรกิจร่วมกัน • คัดเลือกคู่ค้า / ผู้รับเหมา / ผู้ขายวัตถุดิบ ในห่วงโซ่อุปทาน • จัดอบรมให้ความรู้ทางธุรกิจที่เกี่ยวข้อง • ให้ค�ำปรึกษาและวิเคราะห์ด้านการลงทุน • ใช้หลักสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม • พัฒนาความรู้/ทักษะของพนักงานอย่างต่อเนื่อง • จัดให้มีคณะท�ำงานพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนพนักงาน • วางเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path)และแผน สืบทอดต�ำแหน่งงาน ให้กับพนักงาน • การคุ้มครองผู้ร้องเรียน • สนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต กิจกรรม ประเพณีต่างๆ ของชุมชน • งานจ�ำหน่ายสินค้าประจ�ำปี • สนับสนุนทุนการศึกษา • เข้าร่วมโครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม • จ้างแรงงานในท้องถิ่น • เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร กิจกรรมต่างๆ ของบริษัทผ่านสื่อ หนังสือพิมพ์ วิทยุชุมชน โทรทัศน์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ website ของบริษัท • ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ รวมถึงแนวทางการปฏิบัติ • จัดให้มีการประชุมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น • รายงานผลการตรวจวัดต่อหน่วยราชการ
เกี่ยวกับรายงาน ขอบเขตการรายงาน รายงานความยั่งยืนฉบับนี้ จัดท�ำขึ้นเพื่อแสดงถึงผลการด�ำเนินงานของบริษัท ในรอบปี 2560 เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ เพื่อความยั่งยืน และเกี่ยวโยงกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางการด�ำเนินงานตามแผนการพัฒนา ที่ยั่งยืนภายใต้นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3 ประการ “คนดี สินค้าดี สังคมดี” โดยอ้างอิงการจัดท�ำรายงาน ให้มีความสอดคล้องตามดัชนีชี้วัด Glogal Reporting Intitative Version Standard (GRI Standard 2018) เนื้อหาและสาระส�ำคัญของ การรายงานปี 2560 การพัฒนาอย่างยั่งยืนมุ่งเน้นการด�ำเนินงานตามทิศทางการด�ำเนินธุรกิจ วิสัยทัศน์ และกลยุทธ์องค์กร หลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และแนวปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมของปรัชญาในการท�ำงาน รวมถึงการดูแลพนักงาน การพัฒนาพนักงานให้เป็นคนดี การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ และสร้างโอกาสให้กับสังคมและชุมชนอย่างยั่งยืน โดยเชื่อมโยงบริบทดังกล่าวข้างต้นกับประเด็นด้าน ความยั่งยืนสากลในด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีขอบเขตการรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจ�ำปี 2560 ได้แสดงผล การด�ำเนินงานครอบคลุมทุกกระบวนการท�ำงานของส�ำนักงานใหญ่ รวมถึงส�ำนักงานสาขา โดยจ�ำแนกเป็น 3 ธุรกิจหลัก ดังนี้ บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
245
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ส�ำนักงาน บมจ.สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง ส�ำนักงานใหญ่ บมจ.สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง สาขาที่ 1 บมจ.สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง สาขาที่ 2 บมจ.สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง สาขาที่ 3 บมจ.สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง สาขาที่ 4 บมจ.สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง สาขาที่ 5 บมจ.สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง สาขาที่ 6
ประเภทธุรกิจ ลงทุน / ให้เช่าและบริการ ให้เช่าและบริการ / สวนอุตสาหกรรม ให้เช่าและบริการ / สวนอุตสาหกรรม ให้เช่าและบริการ / สวนอุตสาหกรรม ให้เช่าและบริการ (สนามกอล์ฟ) ให้เช่าและบริการ / สวนอุตสาหกรรม ให้เช่าและบริการ (ศูนย์การค้า J-Park)
สถานที่ตั้ง กรุงเทพฯ ชลบุรี ปราจีนบุรี ล�ำพูน ปราจีนบุรี ตาก ชลบุรี
ประเด็นความยั่งยืนที่ส�ำคัญ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
บริษัทฯ ด�ำเนินการประเมินประเด็นที่ส�ำคัญต่อความยั่งยืน (Materiality Assessment) จากการพิจารณาผลกระทบและความเห็น ในมุมมองของบริษัทและผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท โดยมีขั้นตอนในการประเมิน ดังนี้
ประเด็นที่มีนัยส�ำคัญต่อองค์กร
การรายงานแบ่งออกเป็น 3 มิติ 9 ด้าน และจากการประเมินประเด็นด้านความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ฯ มีประเด็นที่มีความส�ำคัญ ต่อผู้มีส่วนได้เสียและมีความส�ำคัญต่อบริษัทอย่างมีนัยส�ำคัญทั้งหมด 4 ประเด็น คือ 1. การพัฒนาสินค้าและบริการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 2. การสร้างงานและพัฒนาทักษะ 3. การมีส่วนร่วมของชุมชน 4. การป้องกันมลพิษ มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม 1. ด้านการก�ำกับดูแลกิจการ 2. ด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน 3. ด้านการประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม 4. ด้านนวัตกรรมและการเผยแพร่ 5. ด้านการรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภค • การพัฒนาสินค้าและบริการให้ เกิดประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 246
1. ด้านการเคารพสิทธิมนุษยชน 2. ด้านแรงงาน 3. ด้านการร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม • การสร้างงานและพัฒนาทักษะ • การมีสว่ นร่วมของชุมชน
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
1. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม • การป้องกันมลพิษ
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม สู่ความส�ำเร็จที่ยั่งยืน
• การก�ำกับดูแลกิจการ • การต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชัน • การด�ำเนินธุรกิจด้วย ความเป็นธรรม • การเคารพสิทธิ มนุษยชน • การปฏิบัติต่อแรงงาน อย่างเป็นธรรม • ความรับผิดชอบ ต่อผู้บริโภค • การพัฒนาชุมชน และสังคม • การจัดการทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและ พลังงาน • การวิจัยและพัฒนา เพื่อความยั่งยืน
สังคมดี (Good Society)
• การพัฒนาคนดี • การพัฒนาคนเก่ง • การส่งเสริมให้ พนักงานมีส่วนร่วม และสร้างคุณค่าต่อ สังคม
สินค้าดี (Good Products)
คนดี (Good People)
การตอบสนองและการด�ำเนินงานตามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมภายใต้กรอบ GRI standard 2018 และ ขอบเขตการรายงาน ซึ่งคณะกรรมการธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงดูแลให้การด�ำเนินด้านการพัฒนาอย่างยั่งยื ของ บริษัทเป็นไปตามแนวทางดังกล่าวแล้ว มีรายละเอียดดังนี้
• การสร้างโอกาสทาง การศึกษาแก่เยาวชน • การพัฒนาคู่ค้าท้องถิ่น • การพัฒนาคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมในชุมชน • การพัฒนาคุณภาพชีวิต แก่ผู้ด้อยโอกาส • การสืบสานประเพณี ท้องถิ่น • ร่วมเป็นเครือข่ายกับ หน่วยงานต่างๆ
คนดี
(1) การพัฒนาคนดี
บริษัทฯ มุ่งเน้นการเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรให้เป็นคนดี พร้อมไปกับการพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถเพื่อสร้างคนดี คนเก่ง และรักองค์กร เพราะบุคลากรเป็นพลังขับเคลื่อนส�ำคัญที่น�ำพาบริษัทฯ ให้ไปสู่ความส�ำเร็จ โดยส่งเสริมให้พนักงานมีการพัฒนา ความรูค้ วามสามารถและทักษะให้เกิดความเชีย่ วชาญเพิม่ ขึน้ รวมถึงการพัฒนาทัศนคติ ปลูกฝังลักษณะนิสยั จนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้บริษัทฯ เติบโตและก้าวหน้าได้อย่างยั่งยืน โดยบริษัทฯ มีแผนจัดกิจกรรมในรูปแบบของการบันทึกการท�ำความดี ของพนักงาน โดยก�ำหนดให้พนักงานทุกคน เขียนบันทึกการท�ำความดีในรูปแบบต่างๆ ไม่ต�่ำกว่า 10 เรื่องต่อคนต่อปี เพื่อวัดพฤติกรรม การท�ำความดีของพนักงานเป็นรายบุคคล และน�ำข้อมูลมาก�ำหนดการจัดกิจกรรม เพื่อให้พนักงานท�ำกิจกรรมเป็นหมู่คณะในรูปแบบ กิจกรรมที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันร่วมกัน คนดีเพื่อสาธารณประโยชน์ บริ ษั ท ฯ สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานท� ำ ความดี ต ่ อ ผู ้ อื่ น ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ พนักงานเข้าใจได้ลึกซึ้งถึงความเสียสละ การเป็นผู้ให้ แบ่งปัน มองเห็นคุณค่าของ เพื่อนมนุษย์ ท�ำให้สามารถพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ที่มีจิตใจดี และมีมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
247
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
การพัฒนาความรู้ ทักษะ เพื่อให้พนักงานบริษัท และบริษัทในกลุ่มได้ตระหนักถึงหลักจริยธรรม จรรยาบรรณ อบรม หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ฉบับปรับปรุงใหม่ส�ำหรับปี 2560 โดย อาจารย์ธนกฤต เพิ่มพูนขันติสุข วันที่ 20 กันยายน 2560 และ วันที่ 18 ตุลาคม 2560 ถุงผ้าลดโลกร้อนของมูลนิธิพระดาบส บริษทั ฯ และพนักงานร่วมซือ้ ถุงผ้าลดโลกร้อน “ธ สถิตในดวงไทย ไทยนิรนั ดร์” จากมูลนิธิพระดาบส เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการสร้างงาน สร้างรายได้ ให้กับผู้รับการฝึกอาชีพของมูลนิธิพระดาบสในชุมชนต่างๆ โดยบริษัทฯ ได้ มอบถุงผ้าให้กับวัดในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับบริษัทฯ
(2) การพัฒนาคนเก่ง
บริษทั ฯ มุง่ ส่งเสริม ฝึกฝน และพัฒนาความรู้ ความสามารถของพนักงานเพือ่ สร้างความมัน่ คงในอาชีพและให้โอกาสในการเจริญ ก้าวหน้าตามศักยภาพ ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถแข่งขันกับองค์กรอื่นได้ โดยก�ำหนดให้พนักงานทุกคนต้องได้รับการอบรมในหลักสูตร ที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติงาน อย่างน้อยปีละ 1 หลักสูตร และหลักสูตรทั่วไป อย่างน้อยปีละ 2 หลักสูตรทั้งการจัดอบรมภายในและ ส่งอบรมภายนอก อาทิ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำนักงานก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ อบรมหลักสูตร Update ภาษีประจ�ำปี 2560 โดย อาจารย์พรรณี วรวุฒิจงสถิต วันที่ 7 กันยายน 2560
140
สถิติการอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากร ปี 2558 – 2560
120
106
106
111
117
100 76
80 60
55
40 20 0 จ�ำนวนหลักสูตร
จ�ำนวนพนักงานที่เข้าอบรม 2558 2559 2560
นอกเหนือจากการได้รบั การฝึกอบรมแล้ว นิยาม คนเก่ง อีกประการหนึง่ ของบริษทั คือ พนักงานทีส่ ามารถถ่ายทอดทักษะ ความรู้ ความสามารถให้แก่พนักงาน ตลอดจนชุมชนและสังคมได้ โครงการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ กิจกรรมในการบ�ำบัดน�้ำเสีย ให้กับนักเรียน ในสถานศึกษาที่มีพื้นที่ใกล้เขตประกอบการ 248
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(3) การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมและสร้างคุณค่าต่อสังคม บริษัทฯ ส่งเสริมให้พนักงานมีจิตอาสา ร่วมท�ำประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม ซึ่งจะช่วยให้พนักงานเข้าใจได้ถึงความเสียสละ ความร่วมมือ ความสามัคคี เพื่อจุดประสงค์เดียวกัน คือ การพัฒนาชุมชน ส่งผลให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทฯ กับ ชุมชน ผู้ที่ได้ท�ำกิจกรรมเพื่อชุมชนเป็นประจ�ำ เป็นผู้มีจิตอาสาเพื่อสาธารณประโยชน์ สามารถพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ที่มีจิตใจดี และ มีมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งจะเป็นทรัพยากรที่ส�ำคัญของบริษัทอย่างยิ่ง ผ่านกิจกรรมต่างๆ อาทิ ติดตั้งเครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ AED บริษัทฯ ติดตั้งเครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ Powerheart AED G3 Automatic (AED) บริเวณด้านหน้าบริษัทฯ เพื่อให้พนักงานและบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึง การใช้เครื่อง AED และจัดให้มีการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (Basic Life Support) กรณี เกิดเหตุฉุกเฉิน รวมถึงการใช้เครื่องกระตุกหัวใจ โดยมีพนักงานผ่านการอบรมและได้รับ ใบรับรอง ร้อยละ 10 ของพนักงานทั้งหมด โดยบริษัท รักษาความปลอดภัยไทยซีคอม จ�ำกัด เป็นผู้ให้การอบรม บริษัทฯ คาดหวังที่จะให้พนักงานผ่านการอบรมและได้รับใบรับรองผู้ผ่าน การอบรมหลักสูตรช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้นรวมเป็นร้อยละ 15 ในปี 2561 ถือเป็นการสร้าง คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนให้กับสังคม จิตอาสาเพื่อสาธารณประโยชน์ พนักงานมีจิตอาสาร่วมท�ำประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมเป็นหมู่คณะ ช่วยให้พนักงานเข้าใจถึงความร่วมมือร่วมใจเพื่อ สาธารณประโยชน์ ซึ่งบริษัทฯ มีกิจกรรมที่มุ่งส่งเสริมการร่วมแรงร่วมใจพนักงานให้เป็นหนึ่ง อาทิ การมีส่วนร่วมในงานวันส�ำคัญ ต่างๆ ของบริษัทฯ รวมถึงงานศาสนกุศลต่างๆ โดยในปี 2560 บริษัทฯ มีกิจกรรม ดังนี้
บริษัทฯ ร่วมเป็นเจ้าภาพการบ�ำเพ็ญกุศลถวายพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช วันที่ 7 เมษายน 2560
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของบริษัท
“ไม่ใช่แค่การสร้างฝาย แต่คือความหมายของการเสียสละ” ร่วมกิจกรรมสร้างฝายต้นน�้ำและสางต้นไม้ ฉลอง ครบ 25 ปี บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาค ตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) โดยการร่วมมือกับภาคี เครือข่าย ป่าชุมชนรอยต่อ 55 จังหวัดภาคตะวันออก เพื่อดูแลรักษาพื้นฟูป่าชุมชนบ้านหนองม่วง จังหวัด ระยอง ในการสร้างความมัน่ คงด้านน�ำ้ ให้กบั ชุมชน เมือ่ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2560 บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
249
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สินค้าดี (ธุรกิจ) บริษัทฯ ยึดหลักคิดความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค และสังคม มุ่งสรรค์สร้างนวัตกรรมการออกแบบและบริการให้มีคุณภาพ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า โดยไม่ส่งผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ไม่มีการละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญาโดยเด็ดขาด ให้บริการระบบสาธารณูปโภคที่มีคุณภาพ เพียงพอ และพัฒนาให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนด
(1) การก�ำกับดูแลกิจการ
ปี 2560 ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ออกหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับ บริษัทจดทะเบียน ปี 2560 (Corporate Governance Code : CG Code) ซึ่งจะใช้แทนหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัท จดทะเบียนปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ยกระดับหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี จากเดิม มุง่ เน้นการปฏิบตั เิ พือ่ ให้เป็นไปตาม ข้อก�ำหนด (comply or explain) เปลี่ยนเป็นการน�ำหลักการไปปรับใช้ (apply or explain) เพื่อ ให้การปฏิบตั เิ ป็นไปอย่างเหมาะสม และเป็นประโยชน์ตอ่ การสร้างคุณค่าให้องค์กรอย่างยัง่ ยืน 2. ให้คณะกรรมการ บริษัทฯ ในฐานะผู้น�ำองค์กร น�ำหลักปฏิบัติ ทั้ง 8 หลักปฏิบัติ ไปปรับใช้ให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่ดีที่บริษัทก�ำหนดขึ้น เพื่อให้ครอบคลุมการด�ำเนินงาน องค์กร คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ ในฐานะผู้น�ำขององค์กร โดยคณะ กรรมการธรรมาภิบาล และบริหารความเสี่ยงศึกษาหรือได้รับฟังค�ำบรรยายหลักปฏิบัติตาม CG Code จนเข้าใจประโยชน์และหลักปฏิบัติในการน�ำไปใช้ สร้างคุณค่าให้แก่กิจการอย่าง ยั่งยืนเป็นอย่างดีแล้ว รวมทั้งได้ประเมินการปฏิบัติตามหลักปฏิบัติใน CG Code แต่ละข้อ เพื่อให้มั่นใจว่ามีกระบวนการที่ได้ปรับใช้หรือมีแผนพัฒนาให้เหมาะสมกับธุรกิจแล้ว จึงอนุมัติ ให้น�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 ไปปรับใช้ตามบริบททาง ธุรกิจของบริษัท และให้เปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) และ แบบแสดงรายการ ข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) จัดให้มีการท�ำแบบทดสอบ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับด้าน การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เป็นปีแรก เพื่อให้เกิดความเข้าใจ เกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ เกณฑ์ การประเมินส�ำหรับผู้ผ่านการทดสอบ คือ ผู้ทดสอบต้องผ่าน เกณฑ์ประเมินร้อยละ 80 โดยมีผู้ผ่านการประเมินร้อยละ 100 การจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้เผยแพร่หลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ผ่านสื่อวีดิทัศน์ (Animation) ให้แก่ ผู้ถือหุ้น
(2) การต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน
บริษัทฯ มุ่งมั่นในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม สุจริต โปร่งใส รับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความ ส�ำคัญในการก�ำกับดูแลองค์กรให้มีการปฏิบัติงานอย่างโปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ โดยการส่งต่อนโยบายต้านคอร์รัปชันไปยังบริษัท ในกลุ่มสหพัฒน์ เพื่อสร้างความร่วมมือของกลุ่มสหพัฒน์ อันจะมุ่งสู่อนาคตที่โปร่งใสและยั่งยืนต่อไป จากการประกาศนโยบายต่อต้านคอร์รปั ชัน เมือ่ ปี 2558 บริษทั ฯ ยังคงมุง่ มัน่ ในการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน โดยการเสนอแนวทาง ในการปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน ซึ่งได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 และบริษัทฯ ได้รับการรับรองเป็นสมาชิก แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2559 โดยบริษัทฯ ได้พัฒนาและขยายเครือข่ายอย่าง ต่อเนื่อง 2 ปี จ�ำนวน 12 บริษัท ดังนี้ ปี 2559 บริษัทฯ ได้ขยายเครือข่ายจ�ำนวน 11 บริษัท ได้แก่ 1. บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จ�ำกัด (มหาชน) 2. บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) 3. บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) 4. บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) 5. บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) 6. บริษัท ไทยวาโก้ จ�ำกัด (มหาชน) 7. บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) 8. บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน) 9. บริษัท เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จ�ำกัด (มหาชน) 10. บริษัท ประชาอาภรณ์ จ�ำกัด (มหาชน) 11. บริษัท เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2560 จ�ำนวน 1 บริษัท คือ บริษัท โอซีซี จ�ำกัด (มหาชน) 250
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
กิจกรรมรวมพลัง วันต่อต้านคอร์รัปชั่น 2560 บริษัทฯ จัดให้มีช่องทางการร้องเรียน ปรากฏว่า ในปี 2560 ไม่มีผู้ร้องเรียน ส่งเสริมและสนับสนุนให้มกี ารอบรมให้ความรูอ้ ย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ปลูกฝังจิตส�ำนึกให้กบั คนในองค์กร และมีการวัดผลผ่านการทดสอบ คือ ผู้ทดสอบต้องผ่านเกณฑ์ประเมินร้อยละ 80 โดยมีผู้ผ่านการ ประเมินร้อยละ 100 วันที่ 6 กันยายน 2560
(3) การด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม
บริษัทฯ ประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรมย่อมก่อให้เกิดความเชื่อมั่นกับผู้มีส่วนได้เสีย อันจะส่งผลดีต่อกิจการในระยะยาว ทั้งนี้ ธุรกิจควรถือปฏิบัติตามแนวทางเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ โดยไม่เห็นแก่ผลประโยชน์อื่นที่อาจได้มาจากการด�ำเนิน งานที่ไม่ถูกต้อง และเพื่อให้แนวทางการด�ำเนินงานด้านการด�ำเนินงานอย่างเป็นธรรมเป็นไปในแนวทางเดียวกัน บริษัทฯ จึงได้ก�ำหนด แนวปฏิบัติ ดังนี้ 1. หลีกเลีย่ งการด�ำเนินการทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือหากพบว่ามีความขัดแย้งทางผลประโยชน์เกิดขึน้ บริษัทฯ จะด�ำเนินการกับความขัดแย้งของผลประโยชน์นั้นด้วยความรอบคอบและมีเหตุผล 2. ประพฤติปฏิบตั ภิ ายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันเป็นธรรม โดยค�ำนึงถึงจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจและกฎหมายการแข่งขัน ทางการค้าในประเทศต่างๆ ที่บริษัทเข้าไปด�ำเนินธุรกิจ 3. ไม่สนับสนุนการด�ำเนินการที่มีลักษณะเป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ 4. จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมีการตรวจสอบและถ่วงดุลการใช้อ�ำนาจให้เหมาะสม เพื่อ ป้องกันมิให้เกิดการทุจริต หรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริต การคอร์รัปชั่นต่างๆ 5. สร้างจิตส�ำนึก ค่านิยม ทัศนคติ ให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ในการปฏิบัติงานตามกฎหมาย กฎระเบียบ ด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต แผนกตรวจสอบภายในได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท เป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งใช้แบบประเมินความเพียงพอของ ระบบการควบคุมภายในของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามแนวคิด The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) โดยคณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้สอบทานแบบประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายในที่จัดท�ำโดยหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษัท นอกจากนี้ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบพบว่า การด�ำเนินงานของบริษัท เป็นไปตามธุรกิจปกติ ไม่ปรากฏสิ่งผิดปกติที่เป็นนัยส�ำคัญ และปฏิบัติตามกฏหมายที่เกี่ยวข้อง โดยคณะ กรรมการบริษัทเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสมกับสภาพการด�ำเนินงานในปัจจุบัน
(4) การเคารพสิทธิมนุษยชน
บริษัทฯ ประกอบธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบไม่จ�ำกัดความเป็นอิสระและความแตกต่างทางความคิด เพศ เชื้อชาติ ศาสนา สิทธิการเป็นพลเมือง และสิทธิทางการเมือง เคารพต่อสิทธิมนุษยชนของผู้มสี ่วนได้เสียทุกภาคส่วน รวมถึงสิทธิขนั้ พื้นฐานในการท�ำงาน ของพนักงาน โดยยึดหลักการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน หลักมนุษยธรรม และความเท่าเทียม เพื่อให้แนวทางการด�ำเนินงานด้านสิทธิ มนุษยชนและการปฏิบตั ติ อ่ พนักงานเป็นไปในแนวทางเดียวกัน บริษทั ฯ จึงได้กำ� หนดนโยบายและแนวปฏิบตั ไิ ว้ใน จริยธรรมในการด�ำเนิน ธุรกิจ หัวข้อ การไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน ดังนี้ 1. ไม่กระท�ำการใดๆ หรือไม่สนับสนุนกิจการที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน 2. ให้ความรู้ ความเข้าใจ ในหลักสิทธิมนุษยชนแก่พนักงานเพื่อน�ำไปเป็นส่วนหนึ่งในการปฏิบัติงาน 3. ไม่จ�ำกัดความเป็นอิสระ หรือความแตกต่างทางความคิด เพศ เชื้อชาติ ศาสนา การเมือง หรือเรื่องอื่นใด ทั้งนี้ พึงหลีกเลี่ยง การแสดงความคิดเห็น ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง หรือแตกแยก 4. จัดให้มชี อ่ งทางการสือ่ สารเพือ่ ให้พนักงานหรือผูท้ เี่ ชือ่ ว่าสิทธิของตนถูกละเมิด หรือได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างไม่เป็นธรรม สามารถ ร้องเรียนต่อบริษัทฯ และค�ำร้องเรียนพึงได้รับการเอาใจใส่และด�ำเนินการอย่างเป็นธรรม ตลอดระเวลายาวนานในการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทฯ ไม่มีกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชน
(5) การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม
พนักงานถือเป็นทรัพยากรที่มีค่าและเป็นปัจจัยส�ำคัญแห่งความส�ำเร็จของบริษัท บริษัทฯ จึงก�ำหนดแนวทางปฏิบัติต่อพนักงาน อย่างเป็นธรรม ดังนี้ 1. ปฏิบัติต่อพนักงานโดยเคารพต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และสิทธิขั้นพื้นฐานในการท�ำงาน ตลอดจนไม่เปิดเผยหรือส่งผ่าน ข้อมูล หรือ ความลับของพนักงานต่อบุคคลภายนอก หรือผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง 2. ปฏิบัติต่อพนักงานภายใต้กรอบกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงานของบริษัท
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
251
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
3. ส่งเสริมความเท่าเทียมกันในการจ้างแรงงาน ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่กีดกัน ด้วยเหตุทางเพศ สีผิว เชื้อชาติ ศาสนา อายุ ความพิการ หรือสถานะ อื่นใดที่ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติงาน 4. สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการฝึกอบรม แลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อพัฒนา ความรูค้ วามสามารถของบุคลากรอย่างทัว่ ถึง สร้างความมัน่ คงในอาชีพ และให้โอกาสในการเจริญก้าวหน้า ตามศักยภาพของแต่ละคน 5. ส่งเสริมให้พนักงานมีสว่ นร่วมในการก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินงาน และ การพัฒนาบริษัท 6. ให้ผลตอบแทนด้วยความเป็นธรรม เหมาะสมตามความรู้ ความสามารถ หน้าที่ความรับผิดชอบ และผลการปฏิบัติงาน 7. จัดให้มีสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ที่เหมาะสมแก่พนักงาน อาทิ การ รักษาพยาบาล กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ สหกรณ์ออมทรัพย์ การฉีดวัคซีน ป้องกันไข้หวัดใหญ่
การซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟประจ�ำปี 2560 เพื่อลดการสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน
กิจกรรมด้านแรงงาน
(6) ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจและปฏิบตั ติ ามสัญญาอย่างเป็นธรรมด้วยความโปร่งใส รวมถึงการรักษา ข้อมูลของผูบ้ ริโภค โดยสร้างความพึงพอใจให้กบั ผูบ้ ริโภค เปิดเผยข้อมูลกับผูบ้ ริโภคอย่างถูกต้อง อีก ทัง้ ยังมุง่ มัน่ พัฒนาด้านการลงทุน พัฒนาสินค้าและบริการภายใต้มาตรฐานสากล เพือ่ ตอบสนองความ ต้องการของผู้บริโภคอย่างยั่งยืน บริษัทฯ และบริษัทกลุ่มสหพัฒน์ จัดงาน Saha group fair เป็นประจ�ำทุกปี อย่างต่อเนื่องตลอด 21 ปี เพื่อเป็นการคืนก�ำไรให้กับลูกค้าและสังคม โดยขายสินค้าให้กับผู้บริโภคโดยตรง ในราคาพิเศษ และมี การขยายไปยังสวนอุตสาหกรรมของบริษัท กลุ่มสหพัฒน์ มีเป้าหมายส่งเสริมให้ใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศไทย โดยคนไทย เพื่อคนไทย ซึ่งปรากฎบนผลิตภัณฑ์ของกลุ่มสหพัฒน์
252
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บริษัทฯ มีกลยุทธ์หลักที่จะมุ่งสู่ เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Town) ทั้งนี้ เพื่อการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนร่วมกันทั้งภาค ธุรกิจ อุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม และสังคม แนวคิดอุตสาหกรรมเชิงนิเวศหรือ Industrial Ecology จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่น�ำมาประยุกต์ ใช้กับการพัฒนาอุตสาหกรรมแบบยั่งยืน ที่มุ่งเน้นความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการพัฒนา ออกแบบระบบอุตสาหกรรมใหม่ให้ คล้ายคลึงกับระบบนิเวศทางธรรมชาติ ที่อยู่บนหลักการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (Symbiosis) และด�ำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนเป็นส�ำคัญ เพื่อคงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานให้ชนรุ่นหลังสืบต่อไป ประกอบด้วยมิติหลักของการพัฒนา 5 มิติ 20 ด้าน ที่มีความสอดคล้องสมดุล และเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน โดยแต่ละมิติ สามารถเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกิจกรรม ที่ให้ความส�ำคัญกับการ พัฒนาใน 5 มิติหลัก ได้แก่ กายภาพ เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม และการบริหารจัดการ ภายใต้ข้อก�ำหนดการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยเริ่มจัดเก็บข้อมูลตั้งแต่ปี 2560 เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลส�ำหรับการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศได้อย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ มุ่งมั่นในการพัฒนาสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา สู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Town) เพื่อให้เกิด ประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังนี้
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
253
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
มิติด้านเศรษฐกิจ ด้านเศรษฐกิจท้องถิ่น ตัวชี้วัด
4.1.1 การส่งเสริมสนับสนุนการด�ำเนิน กิจกรรมชุมชนในบริเวณโดยรอบ
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
ผลจากการส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรม ชุมชน มีการด�ำเนินกิจกรรมของชุมชนใน ระยะปานกลาง ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 3
ภาพกิจกรรม
สนับสนุนกิจกรรมวันสงกรานต์ ชุมชนรอบเครือสหพัฒน์
4.1.2 สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มี จ�ำนวนแรงงานท้องถิ่นเกิน 25% ของ จ�ำนวนแรงงานทั้งหมด
4.1.3 สั ด ส่ ว นโรงงานอุ ต สาหกรรม ที่ มี การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งสิ น ค้ า หรื อ บริ การ จากชุมชน หรือส่งเสริมกิจกรรมหรือกลุม่ อาชีพให้กับชุมชน หรือสนับสนุนให้เกิด ความยัง่ ยืนทางด้านการตลาด หรือพัฒนา หลักสูตรส่งเสริมอาชีพ หรือทักษะแรงงาน
สถานประกอบการอย่างน้อยร้อยละ 20 ของจ� ำ นวนสถานประกอบการในเมื อ ง อุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศ ที่ มี การจั ด จ้ า ง แรงงานท้องถิ่นเกินกว่าร้อยละ 25 ของ จ�ำนวนแรงงานทั้งหมด ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5 สถานประกอบการที่มีการจัดซื้อจัดจ้าง สินค้าหรือบริการจากชุมชนหรือส่งเสริม กิจกรรมหรือกลุ่มอาชีพให้กับชุมชนหรือ สนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด ความยั่ ง ยื น ทางด้ า น การตลาด หรือพัฒนาหลักสูตรส่งเสริม อาชีพหรือทักษะ มากกว่าร้อยละ 20 ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
มอบของคนพิการเปิดร้านค้า
จ้างแรงงานท้องถิ่น
ให้ชุมชนมาขายของในโรงอาหารกลาง
ชุมชนมาขายของในงานสหกรุ๊ปแฟร์
ด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
6.1.1 สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มี กิจกรรมหรือมาตรการที่ปลอดภัย ลด ต้นทุน หรือเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่ง และโลจิสติกส์ขององค์กร
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มีการส่งเสริมให้สถานประกอบการที่มีการ ด�ำเนินกิจกรรมหรือมาตรการที่ปลอดภัย ลดต้นทุนหรือเพิ่มประสิทธิภาพระบบขน ส่งและโลจิสติกส์ขององค์กร ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 1
ภาพกิจกรรม
บริษัท เส-นอร์สหโลจิสติกส์ จ�ำกัด
บริษัท ศรีราชาขนส่ง จ�ำกัด
บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน)
มิติด้านสังคม ด้านคุณภาพชีวิตและสังคมของพนักงาน ด้าน คุณภาพชีวิตและสังคมของพนักงาน
254
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
16.1.1 สั ด ส่ ว นผู ้ ป ระกอบการโรงงาน อุตสาหกรรมที่มีด�ำเนินงานตามแนวทาง การเป็นที่ท�ำงานมีสุข (Happy Workplace)
จ�ำนวนสถานประกอบการมีการด�ำเนินกิจกรรม Happy Workplace ตามหลักความสุข 8 ประการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เพือ่ ให้พนักงานและชุมชนมีคณ ุ ภาพชีวติ และสังคมทีน่ า่ อยูต่ าม แนวทางการเป็นที่ท�ำงานมีสุข (Happy Workplace) ตามหลักความ สุข 8 ประการ ประกอบด้วย มีสุขภาพดี (HAPPY BODY) น�้ำใจงาม (HAPPY HEART) การผ่อนคลาย (HAPPY RELAX) การหาความรู้ (HAPPY BRAIN) การมีคุณธรรม (HAPPY SOUL) การส่งเสริม การออม (HAPPY MONEY) ครอบครัวที่ดี (HAPPY FAMILY) สังคมดี (HAPPY SOCIETY) โดยมีสถานประกอบการจ�ำนวน 53 สถานประกอบการที่ด�ำเนินกิจกรรม Happy Workplace จากจ�ำนวน ทั้งหมด 59 สถานประกอบการ คิดเป็นร้อยละ 89.83 นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์และ ความเข้าใจกับชุมชน เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทฯ กับ ชุมชนเ พือ่ การเรียนรูซ้ งึ่ กันและกัน และจะส่งผลต่อการอยูร่ ว่ มกันอย่าง มีความสุข จากผลการประเมินส�ำรวจความพึงพอใจของชุมชนที่มีต่อ กิจกรรมและการเข้าไปมีส่วนร่วมกับชุมชนเพิ่มขึ้น
ด้านคุณภาพชีวิตและสังคมของคนในท้องถิ่นโดยรอบ ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
17.1.2 ความพึงพอใจของชุมชน
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ลงพื้นที่ส�ำรวจความพึงพอใจของชุมชน ที่มีต่อกิจกรรมและการเข้าไปมีส่วนร่วม พบว่าระดับความพึงพอใจเพิ่มขึ้น ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 4
ภาพกิจกรรม
การเข้าร่วมกิจกรรมเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อม
แบบส�ำรวจความพึงพอใจในงาน CSR
ด้านการบริหารจัดการพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
18.1.1 แผนและผลการด�ำเนินงาน ของคณะท�ำงานเมืองอุตสาหกรรม เชิ ง นิ เ วศและ/หรื อ เครื อ ข่ า ย อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
สวนอุ ต สาหกรรมเครื อ สหพั ฒ น์ ศรี ร าชา มี การด� ำ เนิ น กิ จ กรรมตาม แผนงาน พร้อมทั้งสรุปผลการด�ำเนิน งานอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
ภาพกิจกรรม
การเข้าร่วมประชุมเครือข่าย ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
การประชุมคณะท�ำงาน โครงการ Eco Industrial Town
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
255
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ด้านการพัฒนาและรักษาระบบบริหารระดับสากล ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
19.1.1 สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรม ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง ISO 14001/ ISO 50001 / TIS/OHSAS 18001/ อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry : GI) ตั้งแต่ระดับที่ 3 ขึ้นไป/ โรงงาน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) ระบบหนึ่งระบบใด หรือ ระบบการ จัดการอื่นที่เทียบเท่า
การพั ฒ นาและรั ก ษาระบบบริ ห ารระดั บ สากล มี ส ถานประกอบการที่ ไ ด้ รั บ การ รับรอง14001/ ISO 50001 / TIS/OHSAS 18001 / อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry : GI) ตั้งแต่ระดับที่ 3 ขึ้นไป/ โรงงาน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) ระบบ หนึง่ ระบบใด หรือ ระบบการจัดการอืน่ ทีเ่ ทียบ เท่า ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ40 ของสถานประกอบ การในเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
ภาพกิจกรรม
ด้านข้อมูลข่าวสารและการรายงาน ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
20.1.1 การสื่อสารและการเปิดเผย ข้อมูลของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ในรูปแบบช่องทาง และความถี่ ใน การสื่อสารในลักษณะต่าง ๆ อย่างมี ประสิทธิผล
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มี การสื่ อ สารและเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของเมื อ ง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้ชุมชนได้รับรู้เพิ่ม ขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
ภาพกิจกรรม
การสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูลเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
มิติด้านสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
7.2.1 ปริมาณน�้ำใช้ลดลง
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มี การจัดเก็บข้อมูลหรือ Baseline จ�ำนวนสถาน ประกอบการทีม่ กี จิ กรรมลดการใช้นำ�้ หรือเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้นำ �้ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
7.2.2 ปริมาณน�้ำทิ้งลดลง
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มีการจัดเก็บข้อมูลหรือ Baseline สถาน ประกอบการที่มีกิจกรรมลดน�้ำทิ้งหรือเพิ่ม ประสิทธิภาพการลดน�ำ้ ทิง้ ไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 40 ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
256
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
ภาพกิจกรรม
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ด้านการจัดการคุณภาพอากาศ ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
ภาพกิจกรรม
8.1.1 คุณภาพอากาศบริเวณนิคม อุ ต สาหกรรม เขตประกอบการ อุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม และ ชุมชน อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มีการ ตรวจสอบคุณภาพอากาศเป็นประจ�ำอย่างต่อเนือ่ ง ทุกปีๆละ 2 ครัง้ ผลการตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพ อากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่เกี่ยวข้องร้อยละ 100 และดีกว่ามาตรฐานอย่างต่อเนื่อง (ในช่วง ระยะเวลา 3 ปี) 4 พารามิเตอร์ขนึ้ ไป ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
การตรวจวัดฝุ่น
8.1.2 สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรม ที่ด�ำเนินกิจกรรมการลดการปล่อย มลพิษทางอากาศที่มีนัยส�ำคัญได้ มากกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
จ�ำนวนสถานประกอบการที่ด�ำเนินกิจกรรมลด การปล่อยมลพิษทางอากาศได้มากกว่าเกณฑ์ มาตรฐานที่ก�ำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
ด้านการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุเหลือใช้ ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
9.1.1 อั ต ราการน� ำ กากของเสี ย อุตสาหกรรมกลับมาใช้ใหม่
สวนอุ ต สาหกรรมเครื อ สหพั ฒ น์ ศรี ร าชา มี การจัดเก็บข้อมูลหรือ Baseline จ�ำนวนสถาน ประกอบการที่มีชนิดและปริมาณกากของเสีย และวัสดุเหลือใช้ ซึ่งไม่มีข้อมูลที่ถึงเกณฑ์ระดับ 1-5 คะแนน
ภาพกิจกรรม
ด้านการจัดการพลังงาน ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
10.1.1 อั ต ราการใช้ พ ลั ง งาน ทดแทน
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มีการ สนับสนุนส่งให้สถานประกอบการน�ำพลังงาน ทดแทนมาใช้ โดยการสื่ อ สารนโยบายการ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์สู่เมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซึ่งไม่มีข้อมูลที่ถึงเกณฑ์ระดับ 1-5 คะแนน
10.2.1 สัดส่วนโรงงานที่ด�ำเนิน กิจกรรมหรือมาตราการลดการใช้ พลังงานหรือเพิ่มประสิทธิภาพการ ใช้พลังงาน
สถานประกอบการทีด่ ำ� เนินกิจกรรมหรือมาตราการ ลดการใช้พลังงาน อย่างน้อยร้อยละ 20 มีกจิ กรรม และมาตราการเพื่อการลดใช้พลังงานหรือเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
ภาพกิจกรรม
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
257
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ด้านการจัดการเหตุเดือดร้อนร�ำคาญ ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
11.1.1 การตอบสนองต่อข้อร้องเรียน ด้านเหตุเดือดร้อนร�ำคาญ
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มี ก ารจั ด การเหตุ เ ดื อ ดร้ อ นร� ำ คาญตาม มาตรการแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม พบว่า ไม่มีข้อร้องเรียนด้านเหตุเดือดร้อนร�ำคาญ ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
ภาพกิจกรรม
ด้านกระบวนการผลิต ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
12.1.1 สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรม ที่ มี กระบวนการผลิ ต ที่ เ ป็ นมิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้อม (Eco Process) หรือได้รับ การรับรองโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory)
จ�ำนวนสถานประกอบการที่มกระบวนการ ผลิตที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมหรือได้รับ การรับรองโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ อุตสาหกรรมสีเขียว ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป อย่างน้อยร้อยละ 30 ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
12.2.1 สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่ ด�ำเนินกิจกรรมหรือมาตรการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้วัตถุดิบ
ภาพกิจกรรม
มอบเกียรติบัตรให้สถานประกอบการในสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ ศรีราชาที่เข้าร่วมกิจกรรมโรงงานสีเขียว
จ�ำนวนสถานประกอบการที่มีการด�ำเนิน กิจกรรมหรือมาตรการเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การใช้วตั ถุดบิ มากกว่าร้อยละ 16 ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
ด้านประสิทธิภาพเชิงนิเวศ ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
13.1.1 สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่ มีการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพเชิง นิเวศ (Eco Efficiency) ใน 4 ด้าน ดังนี้
จ�ำนวนสถานประกอบการที่มีการวิเคราะห์ ข้อมูลประสิทธิภาพเชิงนิเวศ อย่างน้อย 2 ด้าน ร้อยละ 25 ขึ้นไปของสถานประกอบ การในเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
สถานประกอบการ ภายในโครงการ มีการใช้พลังงานสะอาด เพื่อลดการปลดปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์
จ�ำนวนสถานประกอบการที่มีกิจกรรมหรือ มาตรการ เพื่ อ ลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ น กระจก และผลการด�ำเนินงานบรรลุเป้า หมายหรือได้รบั Carbon Footprint มากกว่า ร้อยละ 10 ของสถานประกอบการทั้งหมด ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 4
ต้นไม้ทั้งหมดในสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ ศรีราชา สามารถดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ใน 1 ปี ได้เท่ากับ 2,959.04 ตัน/ปี
- ด้านการใช้น�้ำ - ด้านพลังงาน - ด้านปริมาณน�้ำทิ้ง - ด้านกากของเสียและวัสดุเหลือใช้ 13.2.1 สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่ ด�ำเนินกิจกรรมหรือมาตรการ เพื่อลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
258
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
ภาพกิจกรรม
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
13.3.1 สัดส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่ มีการประเมินผลกระทบจากการด�ำเนิน งานขององค์ กรต่ อ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ และจัดท�ำแผนป้องกันผลก ระทบที่จะเกิดขึ้นต่อความหลากหลาย ทางชีวภาพ
จ� ำ นวนสถานประกอบการที่ ด� ำ เนิ น การ ป้องกันผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อความหลาก หลายทางชีวภาพมากกว่าร้อยละ 5 ของ สถานประกอบการในเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 4
ภาพกิจกรรม
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา ถ่ายเมื่อ สิงหาคม 2560
ด้านการจัดการด้านความปลอดภัยและสุขภาพ ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
14.1.1 อัตราการเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง และอัตราการเจ็บป่วยที่รุนแรง
อัตราการเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงหรืออุบัติภัย ที่มีผลต่อชุมชนและอัตราการเจ็บป่วยที่ รุนแรง ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (ไม่มี อุบัติเหตุเกิดขึ้นภายในสวนอุตสาหกรรมฯ) ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
14.1.2 การรัว่ ไหล และการเกิดอุบตั เิ หตุ ของสารเคมีและวัตถุอนั ตรายทีท่ ำ� ให้เกิด ผลกระทบต่อพนักงาน ชุมชน หรือสิ่ง แวดล้อมภายนอก
อั ต ราการรั่ ว ไหลของสารเคมี ห รื อ สาร อันตรายลดลง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (ไม่มี การหกรัว่ ไหลของสารเคมีหรือสารอันตราย ใดๆเกิดขึ้นภายในสวนอุตสาหกรรมฯ) ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
ภาพกิจกรรม
การซ้อมอพยพหนีไฟ และผังแสดงสถานีดับเพลิง
ด้านการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
15.1.1 ระบบการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่ง แวดล้ อ มอย่ า งมี ส ่ ว นร่ ว ม หรื อ EIA Monitoring หรือโครงการอื่นที่เทียบเท่า
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ฯ ศรีราชา มีการจัดกิจกรรมเพือ่ ให้ชมุ ชนเข้ามามีสว่ น ร่วมในการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม มี การจัดกิจกรรม รายงานผลการปฏิบัติงาน ของกิจกรรม อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง และ ข้อร้องเรียนลดลง ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
ภาพกิจกรรม
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
259
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ด้านการวางผังที่ตั้งและการจัดพื้นที่ ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
1.1.1 ระบบสาธารณู ป โภคได้ รั บ การพั ฒ นาหรื อ ยกระดั บ โดยน� ำ แนวคิ ด การออกแบบเชิ ง นิ เ วศมา ใช้ ใ นการพั ฒ นาเมื อ งอุ ต สาหกรรม เชิงนิเวศ (รวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ ระบบถนน)
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มี ก ารการพั ฒ นาระบบสาธารณู ป โภค และสาธารณูปการ โดยน�ำแนวคิด การ ออกแบบเชิ ง นิ เ วศ การน� ำ หลั ก Eco Design มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการพั ฒ นา ระบบสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การ 6 ด้านขึ้นไป ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
1.2.1 สั ด ส่ ว นพื้ น ที่ สี เ ขี ย ว (Green Area) ต่ อ พื้ น ที่ ทั้ ง หมดของเมื อ ง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมทัง้ แนวป้องกัน (Protection Strip) และพื้ น ที่ กั น ชน (Eco-Buffer) (ทั้งนี้ หากเป็นโรงงาน ที่ EIA/EHIA ไม่ก�ำหนด สามารถเพิ่ม พื้นที่สีเขียวภายนอกโรงงานได้)
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มี พื้นที่สีเขียวต่อพื้นที่เมืองทั้งหมดของเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมทั้งแนวป้องกัน และแนวกันชนเชิงนิเวศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของพืน้ ทีท่ งั้ หมดของเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
ภาพกิจกรรม
ปริมาณพื้นที่สีเขียวภายในโครงการทั้งหมด 845,814 ตาราง เมตร (622.90 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 34.89
ด้านการออกแบบอาคารและบริเวณโดยรอบ ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติตามดัชนีชี้วัด
2.1.1 นับจ�ำนวนโรงงานทีม่ กี ารออกแบบ อาคารและ/หรื อ ระบบภายในอาคาร ที่ เ ป็ นมิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม และ/หรื อ ประหยัดพลังงาน
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ศรีราชา มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ ส ถานประกอบการน� ำ แนวคิดการออกแบบอาคารที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมหรือประหยัดพลังงาน พลังงาน มากกว่าร้อยละ 10 ของสถานประกอบการ ทั้งหมด ซึ่งได้คะแนนตัวชี้วัดระดับที่ 5
260
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
ภาพกิจกรรม
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บทสรุปการเชื่อมโยงสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Town)
32 ตัวชี้วัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ส�ำหรับสวนอุตสาหกรรม 8
8.1.1, 8.1.2, 11.1.1, 13.3.1, 14.1.1, 14.1.2, 16.1.1, 17.1.2
4 13
4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 17.1.1 2.1.1, 5.1.1, 6.1.1, 7.2.1, 7.2.2, 9.1.1, 10.1.1, 10.2.1, 12.1.1, 12.2.1, 13.1.1, 13.2.1, 15.1.1
4
1.1.1, 1.2.1, 7.1.1, 20.2.1
3
18.1.1, 19.1.1, 20.1.1
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
261
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สรุปผลการด�ำเนินงานเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของบริษัท สูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดมาตรฐานของการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิง นิเวศ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ตัวชี้วัดการเป็นสวนอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (EIP) และการประเมินผล (เกณฑ์ขั้นต�่ำ ร้อยละ 80) ระดับ การเป็นเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
ตัวชี้วัด ระดับสวนอุตสาหกรรม
คะแนนตาม เกณฑ์
1 ENGAGEMENT
18.1.1, 19.1.1, 20.1.1 (3 ตัวชี้วัด)
2 ENHANCEMENT
คะแนนสะสม
เกณฑ์ขั้นต�่ำการเป็น EIP (ประเมินจากคะแนนสะสม) เกณฑ์ บริษัท
เกณฑ์
บริษัท
15
15
15
(50%) 7.5 คะแนน
100.00%
1.1.1, 1.2.1, 7.1.1, 20.2.1 (4 ตัวชี้วัด)
20
35 (15+20)
34 (15+19)
(60%) 21 คะแนน
97.14%
3 RESOURCE EFFICIENCY
2.1.1, 5.1.1, 6.1.1, 7.2.1, 7.2.2, 9.1.1, 10.1.1, 10.2.1, 12.1.1, 12.2.1, 13.1.1, 13.2.1, 15.1.1 (13 ตัวชี้วัด)
65
100 (35+65)
84 (34+50)
(70%) 70 คะแนน
84.00%
4 SYMBIOSIS
4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 17.1.1 (4 ตัวชี้วัด)
20
120 (100+20)
102 (84+18)
(80%) 96 คะแนน
85.00%
5 HAPPINESS
8.1.1, 8.1.2, 11.1.1, 13.3.1, 14.1.1, 14.1.2, 16.1.1, 17.1.2 (8 ตัวชี้วัด)
40
160 (120+40)
139 (102+37)
(>80%) >112 คะแนน
86.87%
สังคมดี (ชุมชน) บริษัทฯ สนับสนุนให้บุคลากรมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมในทุกมิติ โดยส่งเสริมกิจกรรมก�ำกับดูแลให้เกิดการใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม รวมถึงการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสให้สามารถมีรายได้ และสร้างชุมชนให้ มีความเจริญก้าวหน้า ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนาด้าน อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย และสุขภาพของพนักงาน และ ชุมชนโดยรอบผ่านกิจกรรมที่เอื้อประโยชน์ต่อสังคม เพื่อน�ำไปสู่สังคมที่เข้มแข็งโดยค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้
(1) การสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชน
โครงการมอบทุนการศึกษาและสนับสนุนกิจกรรมเรียนรูข้ องนักเรียน มอบทุ น การศึ ก ษาให้ กั บ นั ก เรี ย น ในโรงเรียนที่ตั้งอยู่บริเวณโดยรอบ ชุมชนสวนอุตสาหกรรมในวันพิธี สัการะท่านท้าวมหาพรหม ณ ส่วน อุตสาหกรรมเป็นประจ�ำทุกปี ร่ ว มกิ จ กรรมวั น เปิ ด ห้ อ ง วิ ท ยาศาสตร์ โรงเรียนบริษัท ไทยกสิกรสงเคราะห์
262
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(2) การพัฒนาคู่ค้าท้องถิ่น ร้านพอเพียง (ศึกษารายละเอียด เพิม่ เติมได้ทหี่ วั ข้อ โครงการเกษตร พอเพียง ดร.เทียม โชควัฒนา)
ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ชุ ม ชนในพื้ น ที่ ให้เกิดสร้างอาชีพและเป็นการเพิ่ม รายได้ให้กับชุมชน เพื่อยกระดับ เศรษฐกิจทีอ่ ยูร่ อบสวนอุตสาหกรรม เครือสหพัฒน์ ศรีราชา
บริษัท สมิติเวช ศรีราชา จ�ำกัด (โรงพยาบาลสมิติเวช ศรี ร าชา) เพื่ อ เปิ ด คลิ นิ ค สมิ ติ เ วช ให้ บ ริ ก ารด้ า น สาธารณสุขกับชุมชนโดยรอบ
บริษัท ไทยซีคอมพิทักษ์กิจ จ�ำกัด ให้บริการรักษาความ ปลอดภัยแบบครบวงจรแก่ชุมชนโดยรอบ
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
263
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(3) การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมในชุมชน โครงการเกษตรพอเพียง ดร.เทียม โชควัฒนา จังหวัดล�ำพูน
โครงการเกษตรพอเพียง ดร.เทียม โชควัฒนา จังหวัดล�ำพูน เริ่มด�ำเนินงานพัฒนาพื้นที่ตั้งแต่ ปี 2555 โดยเปิดโครงการ เมื่อ วันที่ 19 สิงหาคม 2555 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการเกษตร ที่แสดงให้เห็นว่าอุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม และ ชุมชนสามารถอยู่ร่วมกันได้ โดยได้น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมควบคู่กับการ พัฒนาสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน ในปี 2560 มีการขยายการปลูกฝรั่งกิมจู มะพร้าวน�้ำหอม รวมทั้งเมล่อนญี่ปุ่นปลอดสารพิษ ที่มีคุณภาพ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค นับตั้งแต่ปี 2558 ถึง 2560 จนถึงปัจจุบัน มีผู้เข้าเยี่ยมชมโครงการฯ ประกอบด้วย นักเรียน นักศึกษา หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงชุมชนและประชาชนทั่วไป จ�ำนวน 65 คณะ 5,349 คน รายการ จ�ำนวนคณะ จ�ำนวนคน
ปี 2560 21 2,390
ปี 2559 21 1,419
ปี 2558 23 1,540
ยอดจ�ำหน่ายผลผลิตรวมในร้านพอเพียง และการออกบูธในงานต่างๆ เช่น งานล�ำไยไทยล�ำไยล�ำพูน งานเกษตรภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ งานเครือสหพัฒน์ ประชารัฐร่วมใจ งานสหกรุ๊ปแฟร์ นับตั้งแต่ปี 2558 ถึง 2560 จนถึงปัจจุบัน รวมทั้งสิ้น 425,087 บาท รายการ ยอดจ�ำหน่ายผลผลิตรวม (บาท)
ปี 2560 132,374
ปี 2559 108,601
ปี 2558 184,112
การด�ำเนินงานของโครงการฯ แบ่งพื้นที่ออกเป็น 6 ส่วน ได้แก่
แปลงนาข้าว
แปลงไม้ผล
ปศุสัตว์และประมง
เรือนเพาะช�ำ
พืชหมุนเวียน
264
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
ร้านพอเพียง
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
นอกจากการด�ำเนินงานของโครงการฯ แล้ว ในปีที่ผ่านโครงการฯ ได้เข้าร่วม “โครงการเครือสหพัฒน์ประชารัฐร่วมใจ” โดยการ จัดกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับชุมชน ดังนี้ สนับสนุนพื้นที่ของโครงการฯ จ�ำนวน 5 ไร่ ส�ำหรับให้นกั เรียนโรงเรียนวัดหนองซิว ใช้เป็น แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนในการเพาะเห็ด นางฟ้า และปลูกข้าวไรซ์เบอรี่
ร่วมสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ กับ “กลุ่มข้าวปลอดภัย” ต�ำบลป่าสัก อาทิ มอบเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ 105 และชีวภัณฑ์ในการ ป้องกันก�ำจัดศัตรูพืช
งานเครือสหพัฒน์ ประชารัฐร่วมใจ มีการจัดนิทรรศการจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และการออกร้านจ�ำหน่ายสินค้าจาก ชุมชน รวมถึงการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การตรวจมะเร็งเต้านม การส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปาก (Oral Health Promotion and Prevention) การสอนเย็บถุงผ้ามูลนิธิพระดาบสช่วยลดโลกร้อน เป็นต้น บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
265
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
จากการด�ำเนินงานอย่างมุ่งมั่นในการ พัฒนาโครงการฯ ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้การ ท� ำ การเกษตรแบบพอเพี ย ง แสดงให้ เ ห็ นว่ า อุตสาหกรรม สิง่ แวดล้อม และชุมชน สามารถอยู่ ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้โครงการ “เกษตร พอเพียง ดร.เทียม โชควัฒนา” ได้รบั โล่เกียรติยศ ประชารัฐร่วมใจ ในการร่วมด�ำเนินโครงการ ประชารัฐผ่านโครงการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ และประชารัฐเพื่อสังคมทางด้านการเกษตร
โครงการสานพลังประชารัฐ บริษัทฯ ได้เข้าร่วมเป็นคณะท�ำงานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ (E3) โดยร่วมกับสถาบัน มูลนิธิ องค์กร และบริษัท เอกชนต่างๆ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากในภาพรวมใน 3 กลุ่มงาน คือ เกษตร แปรรูป ท่องเที่ยวโดยชุมชน ท�ำให้ได้รับทราบข้อมูล และน�ำไปสู่การต่อยอดแผนการด�ำเนินงานที่เป็นรูปธรรม โดยการน้อมน�ำตามแนวพระราชด�ำริ “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” มาใช้สร้าง ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ และภาคประชาชนให้ทุกภาคส่วนได้ใช้ศักยภาพของตนแปร เปลี่ยนเป็นพลังในการสร้างความเข้มแข็งของประเทศตั้งแต่ระดับฐานราก สนับสนุนการสร้างรายได้ให้ชุมชนเพียงพอในการเลี้ยงตนเอง รูจ้ กั การเสียสละ ช่วยเหลือผูอ้ นื่ และสังคมได้อย่างยัง่ ยืน ตลอดจนบริษทั ฯ ได้รว่ มลงทุนในบริษทั ประชารัฐรักสามัคคี (ประเทศไทย) จ�ำกัด เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ สร้างความเชื่อมโยงตลาดในระดับประเทศ ส่งเสริมการพัฒนารูปลักษณ์ ตราสินค้า และมาตรฐานการรับรอง ปี 2560 บริษัทฯ มุ่งสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการสานพลังประชารัฐให้บริษัทในกลุ่มสหพัฒน์รับทราบข้อมูล และมีส่วนร่วม กันผลักดันโครงการให้สัมฤทธิ์ผล สามารถน�ำไปบริหารจัดการร่วมกันในกลุ่มสหพัฒน์ภายใต้นโยบายบริหาร “คนดี สินค้าดี สังคมดี” ผ่านทางกิจกรรรมหลากหลายรูปแบบ อาทิ สนับสนุนการจัดงาน “ข้าว สด สร้าง สุข” ของบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อ สังคม(ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมกับมูลนิธิข้าวไทย กลุ่มเกษตรกรเข้มแข็งและศูนย์การค้า ต่างๆ ย่านราชด�ำหริ ราชประสงค์ โดยมีวัถุประสงค์เพื่อช่วยเพิ่มรายได้ไห้กับชาวนาอย่าง ยั่งยืนผ่านการสร้างความรับรู้ในหมู่ผู้บริโภคยุคใหม่ถึงความหลากหลายของพันธุ์ข้าว ไทย ตลอดจนข้าวที่ผลิตโดยวิถีเกษตรอินทรีย์ รวมถึงศักยภาพในการสร้างผลิตภัณฑ์ แปรรูปต่างๆ จากข้าว และเครื่องสีข้าวครัวเรือน ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่สามารถสร้างช่องทาง ขายตรงใหม่ให้กับชาวนาได้อย่างยั่งยืน โครงการปลูกจิตส�ำนึกขับขี่ปลอดภัย เครือสหพัฒน์ร่วมลงนาม บันทึกข้อตกลง (MOU) ว่าด้วยความร่วมมือด้านความปลอดภัย ทางถนนกับ คณะท�ำงานประชารัฐเพื่อสังคมด้านความปลอดภัย ทางถนน โดยในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ประธานเครือสหพัฒน์ ได้ มี ส ารแสดงความห่ ว งใยต่ อ พนั ก งานในกลุ ่ ม สหพั ฒ น์ ที่ ต ้ อ ง เดิ น ทางกลั บ ภู มิล�ำเนาในช่ว งดังกล่าว และขอความร่วมมือให้พนักงานปฏิบัติตาม กฎจราจรอย่างเคร่งครัดตระหนักถึงความไม่ประมาทและคึกคะนอง รณรงค์ ให้พนักงาน ขับขี่มอเตอร์ ไซต์เปิดไฟ ใส่หมวกกันน๊อค คาดเข็มขัดนิรภัย ง่วงไม่ขับ เมาไม่ขับ งดใช้โทรศัพท์มอื ถือขณะขับรถ และตรวจสอบสภาพยานพาหนะให้พร้อมก่อนการเดินทาง จากการด�ำเนินกิจกรรมในโครงการดังกล่าว โดยบริษัทฯ ร่วมด�ำเนินโครงการประชารัฐ ผ่ านโครงการยกระดั บคุณ ภาพวิชาชีพ และประชารัฐเพื่อสังคม ด้านคมนาคม ในโครงการ “ปลูกจิตส�ำนึกขับขี่ปลอดภัย” ส่งผลให้ บริษัทฯ ได้รับโล่เกียรติยศประชารัฐร่วมใจ
266
รายงานประจำ � ปี 2 5 60
SPI...กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(4) การพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ผู้ด้อยโอกาส บริษทั สนับสนุนโครงการประชารัฐ โดยร่วมมือกับมูลนิธนิ วัตกรรมทางสังคมและภาคี ในการจัดให้สัมปทานแก่คนพิการ หรือผู้ดูแลคนพิการตามมาตรา 35 ของพระราชบัญญัติส่ง เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 ในรูปแบบ “ร้านค้าชุมชน” เพื่อให้ความ ช่วยเหลือแก่คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการ สร้างรายได้ในครอบครัว
(5) การสืบสานประเพณีท้องถิ่น บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงความรับผิดชอบที่มีต่อชุมชน สังคม ตลอดจนให้ ความส�ำคัญในการส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น เพื่อ สืบสานและธ�ำรงรักษาไว้ซึ่งประเพณีไทยอันดีงามของไทย ผ่านกิจกรรมต่างๆ ดังนี้
สนับสนุนทอดผ้าป่าสามัคคีเพือ่ การศึกษา โรงเรียนวัดรัตนชมภู (หนองคร้อ) และโรงเรียนวัดใหม่พรหมสุวรรณ ต.วังดาล อ.กบินทร์บุรี เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2560
กิจกรรมงานวันเด็ก ประจ�ำปี 2560 ของเทศบาลต�ำบลป่าสัก ณ โรงเรียนวัดสันป่าสัก จ. ล�ำพูน วันที่ 14 มกราคม 2560
สนับสนุนอาหารและน�ำ้ ดืม่ ในงานอุปสมทบหมู่ จ�ำนวน 24 รูป เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลในโอกาสถวายพระเพลิงพระบรม ศพในหลวงรัชการที่ 9 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2560
จั ด งานลอยกระทงขึ้ น ที่ ส วนพรหมสถาน เครื อ สหพั ฒ น์ กบินทร์บุรี จัดให้มีกิจกรรมขบวนแห่กระทง และประกวด หนูน้อยนพมาศ เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2560 กิจกรรมรดน�้ำขอพร เนื่องในวันสงกรานต์ โรงงานในเครือสหพัฒน์ ล�ำพูน วันที่ 21 เมษายน 2560
(6) ร่วมเป็นเครือข่ายกับหน่วยงานต่างๆ
โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา ให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูก และรับบริจาคโลหิต
บริ ษ ั ท สหพัฒ นาอิ น เตอร์ โ ฮลดิ้ง จำ � กั ด (มหาชน)
267
หากมีข้อสอบถามหรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ: คณะท�ำงานด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) 530 ซอยสาธุประดิษฐ์ 58 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 โทร. 0 2293 0030 โทรสาร. 0 2293 0040
² µ¢ q n¨£ ¤± ³ª ¶Æ¾ | ¢µ ¤ ² «µÆ ¿¨ ¦n®¢
% AÂ&#x2021;6@% ð> AÂ&#x2021;6= - A 'è-5 ./"5 618 A 1'Ä&#x2DC; C2) 8ù N6 5 |%/6 } A) 9I çåÂ&#x201E; 1&.6 < '4 8- Ä&#x2DC; çÂ&#x2021; B + 6 C" "6
A &6 6+6 '< A "3 ãÂ&#x201E;ãäÂ&#x201E; C ',5" Ä&#x2DC; Â&#x201E; ääÂ&#x2C6;Ã¥ Â&#x201E;Â&#x201E;Ã¥Â&#x201E; C '.6' Â&#x201E; ääÂ&#x2C6;Ã¥ Â&#x201E;Â&#x201E;æÂ&#x201E;
www.spi.co.th