รายงานประจำป บร�ษัท สตาร ป โตรเลียม ร� ไฟน นิ�ง จำกัด (มหาชน)
FORMULA FOR SUCCESS
2559
We pray for His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s everlasting peace in heaven. Our Beloved King will forever be remembered as a compassionate and visionary leader. His legacy will live on amongst Thai people and all others that his wisdom touched. With great respect from SPRC Family Star Petroleum Refining Public Company Limited
ศิลป น: สุวท� ย ใจป อม
คำ�ขอบคุณจากบิล ในนามของครอบครั ว SPRC ผมขอขอบคุ ณ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก ท่ า น ส�ำหรับการสนับสนุน SPRC ในปี แ รกของการเป็ น บริ ษั ท มหาชน SPRC ได้ ด�ำเนินงานตามวัตถุประสงค์หลัก ๆ สองประการ กล่าวคือ บริษัทฯ ยังคงรักษาผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่นอย่าง ต่อเนื่อง และมุ่งสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ลงทุน บน พืน้ ฐานของความโปร่งใสและความน่าเชือ่ ถือได้ รายงาน ประจ�ำปีฉบับที่สองของ SPRC นี้ ระบุถึงรายละเอียด ความคื บ หน้ า ของการด� ำ เนิ น งานต่ า ง ๆ รวมถึ ง ผล การด� ำ เนิ น งานและผลประกอบการทางการเงิ น การก�ำกับดูแลกิจการ และนักลงทุนสัมพันธ์ ในปี 2559 เป็ น ปี แ ห่ ง ความโศกเศร้ า จากการ เสด็ จ สวรรคตของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภูมิพลอดุลยเดช ครอบครัว SPRC ได้ร่วมแสดงความ อาลัยกับพสกนิกรชาวไทยทุกคนต่อการสูญเสียครั้ง ยิ่งใหญ่ในครั้งนี้ ความเป็นผู้น�ำที่สร้างแรงบันดาลใจ และความเสียสละของพระองค์จะสถิตย์อยูใ่ นหัวใจและ การประพฤติปฏิบัติของสมาชิกครอบครัว SPRC ทุกคน วัฒนธรรมองค์กรแบบ “ครอบครั ว เดี ย วกั น " (One Family) ที่แข็งแกร่งของ SPRC นี้ สร้างความ แตกต่างและเป็นรากฐานที่ส�ำคัญในการเสริมสร้างผล การด�ำเนินงานที่ยอดเยี่ยม การใส่ใจในความปลอดภัย ความเป็นอยูท่ ด่ี ี และความส�ำเร็จของทุกคนในครอบครัว สิง่ เหล่านีเ้ ช่นเดียวกับทีเ่ ราห่วงใยลูก สามี ภรรรยา และ พ่อแม่ทบี่ า้ นของเรา ซึง่ ความส�ำเร็จอย่างต่อเนือ่ งของเรานี้ เป็นผลมาจากความสัมพันธ์อนั ดีของสมาชิกในครอบครัว และการร่วมมือร่วมใจในการท�ำงาน เพื่อให้ประสบผล ส�ำเร็จอย่างยอดเยีย่ ม ตลอดปี 2559 SPRC มุ่งสร้างความพันธ์ที่ดีกับ นักลงทุน กลุ่มการลงทุน และสาธารณชน สิ่งที่เราพูด อยู่เสมอคือ “สูตรความส�ำเร็จ” แนวความคิดของสูตร นี้ไม่ซับซ้อน แต่ต้องมีความมุ่งมั่น มีวินัย และใส่ใจทุก รายละเอียดในการปฏิบตั ิ เริม่ ต้นจากพืน้ ฐานทีแ่ ข็งแกร่ง ของความปลอดภัยส่วนบุคคล อันน�ำไปสูค่ วามปลอดภัย และความเชื่ อ ถื อ ได้ ใ นกระบวนการผลิ ต ซึ่ ง ท� ำ ให้ เราสามารถใช้ก�ำลังการกลั่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
สูงสุด ความเชือ่ ถือได้ในการผลิตและความสามารถในการใช้กำ� ลัง การกลั่ น ที่ ย อดเยี่ ย ม ช่ ว ยให้ ค รอบครั ว SPRC สามารถเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุน จนได้คา่ การกลัน่ สูงสุด ความส�ำเร็จ ในการใช้ “สูตร” ของเราคือ “เคล็ดลับ” ความส�ำเร็จอย่างต่อเนือ่ งของ ผลการด�ำเนินงานและผลประกอบการทางการเงินทีย่ อดเยีย่ มของเรา การปฏิบตั ติ าม “สูตรความส�ำเร็จ” ผลักดันให้ครอบครัว SPRC บรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ทางธุรกิจ ได้แก่
• สร้างมาตรฐานในเอเซียแปซิฟิกด้านผลตอบแทนให้แก่ ผู้ถือหุ้น
• สร้างมาตรฐานโลกด้านความเป็นเลิศด้านการด�ำเนินงาน • สร้างมาตรฐานการเป็นองค์กรในฝันของประเทศไทย พืน้ ฐานของความส�ำเร็จเชิงกลยุทธ์เหล่านีเ้ กิดจากพันธสัญญา ด้านความปลอดภัยส่วนบุคคล ท�ำให้มั่นใจว่าทุกคนใน “ครอบครัว เดียวกัน" (One Family) นี้ กลับบ้านอย่างปลอดภัยทุกวันและอยู่ที่ บ้านอย่างปลอดภัยด้วยเช่นกัน ตัง้ แต่ปี 2548 เราได้สร้างวัฒนธรรม การท�ำงานอย่างปลอดภัยโดยปราศจากอุบัติการและการบาดเจ็บ ในทุก ๆ วัน ซึ่งในปี 2559 เราสามารถท�ำงานด้วยความปลอดภัย โดยปราศจากการบาดเจ็บขั้นหยุดงาน เป็นเวลามากกว่า 12.93 ล้านชั่วโมง การเป็นผูน้ ำ� ด้านความเชือ่ ถือได้ในกระบวนการผลิตและการใช้ ก�ำลังการกลั่นน�้ำมัน (ของทรัพย์สินทั้งหมด) ในปี 2559 เปิดโอกาส ให้เราสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรได้อย่างคุม้ ค่า และสร้ า งผลก� ำ ไรจากค่ า การกลั่ น สู ง สุ ด ในตลาดประเทศไทย ถึงแม้ว่าบริษัทฯ ประสบกับความผันผวนของราคาน�้ำมันดิบและ ผลิตภัณฑ์ในระหว่างปี แต่การลงมือปฏิบตั ติ าม “สูตรความส�ำเร็จ” และการบริ ห ารต้ น ทุ น อย่ า งมี วิ นั ย ท� ำ ให้ เ ราสามารถ สร้างค่าการกลั่นได้มากถึง 6.68 ดอล์ลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล
รายงานประจำ�ปี 2559
นอกจากความส�ำเร็จทางด้านการเงินแล้ว SPRC ตระหนักดี ว่าการประสบความส�ำเร็จทางธุรกิจอย่างแท้จริงต้องสร้างความ สมดุลย์ระหว่างผลประกอบการทางการเงิน การดูแลสิ่งแวดล้อม และความรับผิดชอบต่อสังคม เรามีความมุ่งมั่นที่จะสร้างความ สมดุลย์ของเป้าหมายเหล่านี้ในระยะยาว จึงได้บรรจุแนวความคิด เรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนลงไปในทุกๆ แผนธุรกิจ ขั้นตอนการ ด�ำเนินงาน ตลอดจนการตัดสินใจ ที่ SPRC การก�ำกับดูแลกิจการทีเ่ ข้มแข็งเป็นองค์ประกอบหนึง่ ของค่านิยมองค์กร (ความเป็นมืออาชีพ) และปลูกฝังอยูใ่ นวัฒนธรรม องค์กรแบบครอบครัวเดียวกัน (One Family) เราตระหนักดีว่า สิง่ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้เราประสบความส�ำเร็จกับผูม้ สี ว่ นได้เสียของเราก็คอื ความมีชื่อเสียงในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส ความซื่อสัตย์ และการปฎิบตั อิ ย่างเป็นธรรม ค่านิยมองค์กรเหล่านีน้ บั เป็นสิง่ ส�ำคัญ ส�ำหรับการประพฤติปฏิบัติของผู้บริหารและพนักงานทุกคน ผมมั่นใจว่าพลังแห่งความมุ่งมั่นของครอบครัว SPRC จะ ขั บ เคลื่ อ นให้ เ ราประสบความส� ำ เร็ จ และน� ำ ไปสู ่ “การสร้ า ง มาตรฐาน” ของธุรกิจโรงกลั่น และเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของเราคือ
“ครอบครัวที่เป็นหนึ่งเดียว... ร่วมกันขับเคลื่อนอนาคตพลังงานไทย”
วิลเลียม ลูอิส สโตน กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
ด้วยวิสัยทัศน์ของ SPRC “ครอบครัวที่เป็นหนึ่งเดียว... ร่วมกันขับเคลื่อนอนาคตพลังงานไทย” ท�ำให้เราต้องมุ่งเน้น การพัฒนาบุคลากรและกระบวนการท�ำงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อ พัฒนาครอบครัวของเราสู่การเป็นผู้น�ำระดับโลก ผลการด�ำเนิน งานที่ยอดเยี่ยมในวันนี้จะได้รับการสานต่อและปรับปรุงให้ดียิ่ง ขึ้นโดยผู้น�ำในอนาคตเหล่านี้ การพัฒนาผู้น�ำอย่างต่อเนื่องท�ำให้ มั่นใจได้ว่า SPRC สามารถผลิตพลังงานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ไทยได้อย่างยั่งยืน
5
www.sprc.co.th
ว�สัยทัศน ครอบครัวทีเ่ ป นหนึง่ เดียว… ร วมกันขับเคลือ่ นอนาคตพลังงานไทย
Star Petroleum Refining Public Company Limited
บร�ษัท สตาร ป โตรเลียม ร� ไฟน นิ�ง จำกัด (มหาชน)
ค านิยมของเรา S tar P rofessional R eliable C aring
พันธกิจ “เราเป นครอบครัวทีม่ คี วามผูกพัน และเป นอันหนึง่ อันเดียวกัน เรามุง มัน่ ทีจ่ ะสร างผลตอบแทนทีด่ แี ละยัง่ ยืนให แก ผถ ู อื หุน ด วยกระบวนการดำเนินงานทีป่ ลอดภัยและเชือ่ ถือได ผลิตและส งมอบผลิตภัณฑ ทม่ี คี ณ ุ ภาพ เพ�อ่ สร างความพ�งพอใจ อย างสูงสุดให กบั ลูกค า พร อมกับดูแลพัฒนาชุมชนและสิง� แวดล อม”
สารบัญ
8
สารจากประธานกรรมการ
10
การประเมินผลการด�ำเนินงาน
12
ความส�ำเร็จและรางวัล
14
ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน
16
ภาพรวมการประกอบธุรกิจ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์
20
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
24
การบริหารความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยง
29
ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น
33
โครงสร้างการจัดการ
35
การก�ำกับดูแลกิจการ
61
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
81
รายงานคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล
83
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
รายงานคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล
85
การพัฒนาอย่างยั่งยืน และความรับผิดชอบต่อสังคม
87
การควบคุมภายใน
91
รายการระหว่างกัน
93
ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงาน
96
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน
100
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
101
งบการเงิน
108
ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี
155
ข้อมูลทั่วไป
156
9
สารจากประธานกรรมการ SPRC – การสร้างมาตรฐาน คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ขอขอบคุ ณ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และครอบครัว SPRC ส�ำหรับการสนับสนุนและ การมีส่วนร่วมท�ำให้ปี 2559 เป็นปีแห่งความส�ำเร็จ ส�ำหรับปีเต็มแรกของการเป็นบริษทั มหาชน SPRC มี ผลการด�ำเนินงานที่ดีเยี่ยม ไม่ว่าจะเป็นในด้าน การท� ำ งานด้ ว ยความปลอดภั ย ความเชื่ อ ถื อ ได้ ของกระบวนการผลิต การใช้ก�ำลังการกลั่น การ ปรับปรุงผลก�ำไร และการรับรู้ค่าการกลั่นโดยรวม คณะกรรมการบริษัทฯ เชื่อว่าผลการด�ำเนินงานที่ ยอดเยีย่ มนี้ เป็นผลมาจากการที่ SPRC มีวฒ ั นธรรม องค์กรทีแ่ ข็งแกร่ง มีพนื้ ฐานของการด�ำเนินธุรกิจทีด่ ี และความเป็นผู้น�ำด้านธุรกิจ ที่จะช่วยขับเคลื่อน ผลการด�ำเนินงานของ SPRC ต่อไปในอนาคต กลยุทธ์ของ SPRC คือ “การสร้างมาตรฐาน” ในทุกๆด้านของการด�ำเนินธุรกิจ โดยมีเป้าหมายหลัก ทีส่ ำ� คัญคือ “สร้างมาตรฐานในการเป็นองค์กรในฝัน ของทุกคน”, “สร้างมาตรฐานด้านความเป็นเลิศใน การด� ำ เนิ น งาน” และ “สร้ า งมาตรฐานในด้ า น ผลตอบแทนให้แก่ผถู้ อื หุน้ ” นอกจากนี้ คณะกรรมการ บริษัทฯ ผู้บริหาร และครอบครัว SPRC ยังยึดมั่นใน การด�ำเนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณและจริยธรรม ทางธุรกิจ ด้วยความโปร่งใส ตามหลักธรรมาภิบาล
10
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
ปี 2559 ถือเป็นปีที่ธุรกิจน�้ำมันมีความผันผวน ราคาน�้ำมันดิบ ช่ ว งต้ น ปี อ ยู ่ ที่ 32 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล และที่ สิ้ น ปี อ ยู ่ ที่ 54 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล แม้ว่าค่าการกลั่นจะมีความผันผวน แต่ SPRC ก็รับรู้ค่าการกลั่นสูงถึง 6.68 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล เป็นผลให้มกี ำ� ไรสุทธิ 245 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปีนแี้ ละก�ำไรต่อหุน้ ที่ 0.06 ดอลลาร์ (หรือเทียบเท่า 2.00 บาท) ไม่เปลี่ยนแปลงจาก ปี 2558 SPRC ได้มีการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือน พฤษภาคมและกันยายนในปีนี้เป็นจ�ำนวน 0.26376772 บาท ต่อหุ้น และ 0.5378 บาทต่อหุ้น ตามล�ำดับ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯรู ้ สึ ก ภาคภู มิ ใ จเป็ น อย่ า งมาก ทีเ่ ห็น SPRC มีผลงานทีโ่ ดดเด่นอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ในด้านความ เป็ น เลิ ศ ในการด� ำ เนิ น งานและผลตอบแทนทางการเงิ น อันเป็นผลมาจากการทีค่ รอบครัว SPRC น�ำ “สูตรความส�ำเร็จ” มาปฎิบัติได้อย่างประสบความส�ำเร็จ SPRC ไม่มีการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงานมาตั้งแต่ปี 2556 ซึ่ง เป็ น ระยะเวลาต่ อ เนื่ อ งกว่ า 3.5 ปี หรื อ เกื อ บ 13 ล้ า นชั่ ว โมง การท� ำ งาน ในด้ านความเชื่อถือได้ของกระบวนการผลิตซึ่งวัด จากค่าเฉลี่ยความพร้อมของหน่วยผลิต (โดยไม่นับรวมถึงการหยุด เพื่อบ�ำรุงรักษาตามก�ำหนดการ) สูงถึงร้อยละ 99.7 ซึ่งความเชื่อถือ ได้ของกระบวนการผลิตทีย่ อดเยีย่ มนีท้ ำ� ให้บริษทั ฯ สามารถใช้กำ� ลัง การผลิตของหน่วยการผลิตทั้งหมดสูงถึงร้อยละ 97.3 นอกจากนั้น โครงการปรับปรุงก�ำไรของบริษัทฯ ยังช่วยเพิ่มผลตอบแทนทางการ เงิน ผ่านทางโครงการที่มุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ควบคู่ไปกับการควบคุมต้นทุน อย่างมีประสิทธิภาพ
รายงานประจำ�ปี 2559
คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เชื่ อ ว่ า ผลการด� ำ เนิ น งานดั ง กล่ า ว ท�ำให้ SPRC ก้าวขึ้นสู่การเป็นผู้น�ำในอันดับต้นๆของโรงกลั่น ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัทฯ คือ “สร้างมาตรฐาน” คณะผู้บริหาร พนักงาน รวมถึงผู้รับเหมา จึ ง มี ค วามมุ ่ ง มั่ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในการที่ จ ะพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการด�ำเนินงานอย่างสม�่ำเสมอ รวมถึงคิดริเริ่มท�ำ สิ่งใหม่ๆ เพื่อเพิ่มศักยภาพในความเป็นเลิศด้านการด�ำเนินงาน และผลตอบแทนทางการเงินให้ดียิ่งขึ้น ในนามของคณะกรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน SPRC ผมขอขอบคุณผู้ลงทุนที่เชื่อมั่นในบริษัทฯ ของเรา และขอบคุณ ครอบครัว SPRC หุ้นส่วนทางธุรกิจ และผู้มีส่วนได้เสียทุกท่าน ที่สนับสนุนให้บริษัทฯ ประสบความส�ำเร็จทั้งด้านการด�ำเนินงาน และการเงินอย่างยอดเยี่ยมอีกปีหนึ่ง ผมเชื่อว่าผลการด�ำเนินงาน นี้เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงศักยภาพของ SPRC ในการ “สร้างมาตรฐาน” ให้กบั ธุรกิจโรงกลัน่ อย่างต่อเนือ่ ง และบรรลุวสิ ยั ทัศน์ทวี่ า่ “ครอบครัว ทีเ่ ป็นหนึง่ เดียว...ร่วมกันขับเคลือ่ นอนาคตพลังงานไทย” ในปีตอ่ ๆไป
แอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์ ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ
11
การประเมินผลการดำ�เนินงาน บริษัทฯ ยังคงมุ่งเน้นที่จะปรับปรุงพัฒนาความเป็นที่เชื่อถือได้ ในการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ตามเป้าหมายที่จะมุ่งไปสู่ความ เป็นเลิศในกลุม่ โรงกลัน่ ชัน้ น�ำของโลก ซึง่ ส่งผลให้บริษทั ฯ มีความพร้อม ของหน่ ว ยการผลิ ต (Operational Availability excluding turnaround) ที่ร้อยละ 99.7 ในปี 2559 และความเชื่อถือได้อย่าง ดีเยี่ยมนี้ ส่งผลให้บริษัทฯ มีความสามารถในการกลั่นของหน่วย ผลิตสูงสุดทีร่ อ้ ยละ 97.3 ทัง้ สองตัวชีว้ ดั ผลการท�ำงานนี้ เป็นหนึง่ ใน ผลการด�ำเนินงานอันดับต้นจากจ�ำนวนโรงกลั่นน�้ำมันมากกว่า 90 แห่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคและคาบสมุทรอินเดีย
อัตราการท�ำงานโดยไม่มีกรณี การบาดเจ็บขั้นหยุดงาน ต่อ 200,000 ชั่วโมงการท�ำงาน
0.06 2556
0
0
0
2557
2558
2559
ความพร้อมของหน่วยการผลิต (ร้อยละ)
99.4
99.7
99.8
99.7
2556
2557
2558
2559
บริ ษั ท ฯ ยั ง คงมุ ่ ง มั่ น ด� ำ เนิ น งานที่ ป ราศจากอุ บั ติ ก ารณ์ และการบาดเจ็ บ อย่ า งเคร่ ง ครั ด อั น น� ำ มาซึ่ ง ความเป็ น เลิ ศ ใน ผลการท�ำงานด้านความปลอดภัย ความเป็นทีเ่ ชือ่ ถือได้ การใช้กำ� ลัง การกลั่นน�้ำมัน การดูแลสิ่งแวดล้อม ชุมชน ความเป็นอยู่ที่ดีของ คณะท�ำงาน และผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น การดูแล ห่วงใย เอาใจใส่ ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ดัง่ “ครอบครัว” เดียวกันตลอดระยะเวลาสิบปีของโครงการปลอดอุบัติการณ์และ การบาดเจ็บ ส่งผลให้ทุกคนในครอบครัวของเรา ให้ความส�ำคัญ ในเรื่องความปลอดภัยและความเป็นที่เชื่อถือในการด�ำเนินงาน และมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมผลการท�ำงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยการ ริเริม่ โครงการต่างๆ เช่น โครงการพัฒนาความสามารถของบุคลากร (Human Performance Program) การจัดการความปลอดภัย กระบวนการผลิต (Process Safety Management) และ การสร้าง มาตรการความมั่นคงปลอดภัยของสินทรัพย์อุปกรณ์ในการผลิต (Asset Integrity) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ บันทึกชั่วโมง ท�ำงานโดยไม่มีกรณีการบาดเจ็บขั้นหยุดงาน (Days Away from Work Case หรือ DAFW) โดยประมาณ 13 ล้านชั่วโมงท�ำงาน และ กว่า 1.8 ล้านชัว่ โมงท�ำงานนับจากการบาดเจ็บขัน้ บันทึก (recordable injury) ครั้งสุดท้าย
อัตราการกลั่นเทียบเท่าที่มีการใช้จริง (ร้อยละ)
92.4
2556
94.8
2557
97.8
97.3
2558
2559
บริษัทฯ มีความสามารถในการกลั่นน�้ำมันดิบได้หลากหลาย ประเภท และมีการพิจารณาคัดสรรน�้ำมันดิบอยู่เสมอ เพื่อให้ได้มา ซึง่ น�ำ้ มันดิบทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ในการผลิตผลิตภัณฑ์ทมี่ มี ลู ค่าสูง และ สร้างก�ำไรสูงสุดแก่บริษทั ฯ ในปี 2559 บริษทั ฯ ท�ำการกลัน่ น�ำ้ มันดิบ
12
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
จาก 36 แหล่ง ซึ่งรวมน�้ำมันดิบแหล่งใหม่ๆ มากถึง 9 แหล่ง โดยบริษัทฯ ได้ท�ำการกลั่นน�้ำมันดิบจาก 1 แหล่ง ซึ่งเป็นน�้ำมัน ดิบชนิดใหม่ของโลก บริษัทฯ สามารถกลั่นน�้ำมันดิบได้ถึง 162.4 พันบาร์เรลต่อวัน หรือร้อยละ 98.4 ของก�ำลังการกลั่นน�้ำมันดิบของ บริษัทฯ ในปี 2559 บริษัทฯ ผลิตและขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ได้ 67 ล้านบาร์เรล บริษัทฯ ใช้ศักยภาพสูงสุดเพื่อริเริ่มโครงการต่างๆ ภายใต้ โครงการปรับปรุงผลก�ำไร (Bottom Line Improvement Program หรือ BLIP) เช่น การศึกษาเพือ่ หาค่าเหมาะทีส่ ดุ ขัน้ สูงในกระบวนการ ผลิต (Advance Optimization Study) การหาค่าเหมาะที่สุดใน ไฮโดรคาร์บอนและกระบวนการผลิต (Hydrocarbon and Process Optimization) การจัดการลดต้นทุนการน�ำน�้ำมันที่ไม่ได้คุณภาพ ไปผลิตใหม่ (Slop Management) การลดการสูญเสียน�้ำมันและ การปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการใช้พลังงาน (Loss and Energy Efficiency Improvement) ส่งผลให้ค่าการกลั่นตลาด (Marketing Gross Refining Margin) สูงขึ้นเป็นจ�ำนวน 2.69 ดอลลาร์สหรัฐ ต่ อ บาร์ เ รล และท� ำ ให้ ค ่ า การกลั่ น ตลาดทั้ ง ปี เป็ น จ� ำ นวนรวม 6.68 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล
รายงานประจำ�ปี 2559
โครงการปรับปรุงผลก�ำไร (ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล)
1.88
2556
2.29
2557
2.95
2558
2.69
2559
ค่าการกลั่นตลาด (ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล) โครงการปรับปรุงผลก�ำไร
ตลอดระยะเวลา 7 ปีที่ บริษัทฯ น�ำการปรับปรุงพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องมาใช้ในการด�ำเนินงาน ด้วยโครงการสร้างประสิทธิภาพ ของบุคลากรและการขจัดของเสียในกระบวนการท�ำงาน (People Efficiency and Waste Elimination) ความคิดริเริ่มและประโยชน์ที่ เกิดขึน้ ส่งผลให้ตน้ ทุนการด�ำเนินงานลดลงโดยเฉลีย่ 2 ล้านดอลลาร์ สหรัฐต่อปี ซึ่งในปี 2559 บริษัทฯ มีก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีจ�ำนวน 245 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
5.18 1.88
2556
6.15
10.41 2.95
2.69
2.29
2557
6.68
2558
2559
ก�ำไรสุทธิ (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
245
245
2558
2559
129 2557 2556
(194)
13
ความสำ�เร็จและรางวัล สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
รางวั ล CSR-DIW Continuous Award ประจ�ำปี 2559 จาก กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เนื่องด้วยบริษัทฯ มี ก ารด� ำ เนิ น งานด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยพิจารณาจาก 7 หัวข้อหลัก ได้แก่ การก�ำกับดูแลองค์กร, สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน, การปฏิ บั ติ ด ้ า นแรงงาน, ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม, การด�ำเนินงานอย่างเป็นธรรม, ประเด็นด้านผูบ้ ริโภค และการมีสว่ น ร่วมและการพัฒนาชุมชน
รางวั ล ธงธรรมาภิ บ าลสิ่ ง แวดล้ อ มและความปลอดภั ย ในระดั บ ยอดเยี่ ย ม ประเภท “ธงขาว-ดาวทอง” 4 ปี ติ ด ต่ อ กั น อั น เป็ น ผลมาจากการที่ บ ริ ษั ท ฯ ได้ รั บ รางวั ล “ธงขาว-ดาวเขียว” เป็นระยะเวลา 6 ปีติดต่อกัน (ปี 2551 - 2556, ปี 2552 - 2557, ปี 2553 - 2558 และปี 2554 - 2559 )
รางวัลธงธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย เป็นปีที่ 9 ติดต่อกัน จากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ประเภท “ธงขาว-ดาวเขี ย ว” อั น เนื่ อ งมาจากการที่ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ารรั ก ษา มาตรฐานการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความปลอดภัย และด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ในระดับดีเยี่ยม นับตั้งแต่ปี 2551- 2559
14
รางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 3: ระบบสีเขียว จากกระทรวง อุตสาหกรรม อันเป็นผลจากการที่บริษัทฯ มีการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ มีการติดตามประเมินผล และทบทวน เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (ปี 2559-2562)
รางวั ล “Zero is Attainable” ด้ า นความปลอดภั ย ของบุ ค คล ครบ 1 ล้านชั่วโมงการท�ำงาน ระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือน สิงหาคม 2559 จากเชฟรอน
รางวัล “Zero is Attainable” ด้านความปลอดภัยกระบวนการ ผลิต ระหว่างเดือน พฤษภาคม 2558 ถึงเดือนพฤษภาคม 2559 จากเชฟรอน
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ความเป็นเลิศในการด�ำเนินงาน
รางวัล “Zero Unplanned Shutdown” จากคณะกรรมการ PTT Operational Excellence ซึง่ เป็นรางวัลทีพ่ จิ ารณาจากความต่อเนือ่ ง ในด้านการด�ำเนินของโรงกลั่นน�้ำมันของบริษัทฯ โดยไม่มีการหยุด โรงกลั่นน�้ำมันนอกเหนือจากแผนที่มีการวางไว้ โดยหน่วยการผลิต ที่ได้รับรางวัล ได้แก่ • หอกลั่นน�้ำมันดิบ (Crude Distillation Unit หรือ CDU) ตั้งแต่ ปี 2555 ถึงปี 2559 (5 ปีติดต่อกัน) • หน่วยเพิม ่ ออกเทนด้วยตัวเร่งปฏิกริ ยิ า (Continuous Catalytic Regeneration Reformer หรือ CCR) ในปี 2554 และได้ รับ 4 ปีติดต่อกัน ได้แก่ ปี 2556-2559 • หน่ ว ยแตกโมเลกุ ล ด้ ว ยตั ว เองปฏิ กิ ริ ย า (Residue Fluid Catalytic Cracking Unit หรือ RFCCU)
รางวั ล Best Practice Sharing จากคณะกรรมการ PTT Operational Excellence ในปี 2555-2556 และ 2559
มาตรฐานระดับโลก
บรรษัทภิบาล รางวัล CG Award ระดับดีมาก ประจ�ำปี 2559 จากสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ในการจัดอันดับ “การก�ำกับดูแลกิจการ” ของบริษทั จดทะเบียนไทย (บจ.) ในด้านสิทธิของผูถ้ อื หุน้ , การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียม กัน, การค�ำนึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย, การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
ISO 9001:2015 (มาตรฐานระบบการ บริหารด้านคุณภาพ)
ISO 14001:2015 (มาตรฐานระบบการบริหาร สิ่งแวดล้อม)
OHSAS 18001:2007 (มาตรฐานระบบการบริหาร ด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย)
ISO/IEC 17025:2005 (มาตรฐานความสามารถ ห้องปฏิบัติการในการวิเคราะห์ และสอบเทียบ)
15
ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน รายได้จากการขาย (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
7,035
5,221 4,374
2557
2558
2559
178,877
155,082
2558
2559
(ล้านบาท)
229,325
2557
16
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
EBITDA(1) (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
397
394
(ล้านบาท)
2557
13,418 13,964
2557 2558
2559
2558
2559
(5,269)
(160) ก�ำไร(ขาดทุน) สุทธิ (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
(ล้านบาท)
245
245
2557
2557 2558
2559
(194)
(1)
8,227 8,688
EBITDA คือ ก�ำไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย, ภาษีจ่าย, ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย
2558
2559
(6,367)
17
ฐานะทางการเงิน (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
2557
2558
2559
2,069
1,686
1,672
69
109
6
831
495
652
1,144
1,076
1,005
25
6
9
หนี้สินรวม
714
673
513
หนี้สินหมุนเวียน
708
552
397
6
121
116
1,355
1,013
1,159
2557
2558
2559
68,477
61,122
60,188
2,286
3,949
233
สินทรัพย์หมุนเวียน
27,471
17,933
23,474
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ
37,886
39,005
36,170
834
235
311
หนี้สินรวม
23,634
24,397
18,469
หนี้สินหมุนเวียน
23,438
20,021
14,291
196
4,376
4,178
44,843
36,725
41,719
สินทรัพย์รวม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
หนี้สินไม่หมุนเวียน
ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม
ฐานะทางการเงิน (ล้านบาท) สินทรัพย์รวม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
หนี้สินไม่หมุนเวียน ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม
18
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ
รายงานประจำ�ปี 2559
2557
2558
2559
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)
1.3
1.1
1.7
อัตราก�ำไรสุทธิ (%)
(2.8)
4.7
5.6
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)
(8.0)
13.0
14.6
(13.1)
20.7
22.6
0.5
0.7
0.4
อัตราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบี้ย (เท่า)
154.3
4,165.5
108.5
อัตราการจ่ายเงินปันผล (%)
(30.9)
183.1
110.1
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)
19
ภาพรวมการประกอบธุรกิจ วิสยั ทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ ความเป็นมาและพัฒนาการที่ส�ำคัญ
การเสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก
พัฒนาการ ทีส่ ำ� คัญ
ก�ำลัง การผลิต
SPRC จัดตั้งขึ้นโดยมีเชฟรอน ถือหุ้นในสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 64.0 และ ปตท. ถือหุ้นในสัดส่วน ประมาณร้อยละ 36.0
การก่อสร้างแล้วเสร็จ โรงกลั่นน�้ำมันของ บริษัทฯ เริ่มด�ำเนินการเต็มก�ำลังการผลิต (1,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
2535
2539
2542
เริ่มด�ำเนินงานโดยมีก�ำลังการ กลั่นน�้ำมันตามที่ออกแบบ วันละ
130,000 บาร์เรล
20
SPRC ร่วมกับ บมจ. โรงกลั่นน�้ำมันระยอง (RRC) จัดตั้งบริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด (ARC) ตามความตกลงในการร่วม ด�ำเนินการกลั่นในรูปแบบพันธมิตร
เพิ่มก�ำลังการกลั่นน�้ำมันจากการปรับปรุง สภาพการด�ำเนินงานและอุปกรณ์การผลิต อย่างต่อเนื่อง
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ประชาชนทั่วไป
36%
34%
61% 5%
64%
หลังการเสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก
2551
2552
จดทะเบียนแปรสภาพจากบริษทั จ�ำกัดเป็นบริษทั มหาชนจ�ำกัด
การซ่อมบ�ำรุงครั้งใหญ่ในรอบ 5 ปี เสร็จสมบูรณ์
2555
2557
เข้าจดทะเบียนและเริ่มซื้อขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2558
2558
ติดตัง้ หน่วย ติดตัง้ หน่วยปรับปรุงคุณภาพ โครงการเชือ้ เพลิงสะอาดเสร็จ ปรับปรุงหน่วยการผลิตต่างๆ รวมถึงการปรับปรุง ก�ำจัดสารปรอท หน่วยแตกโมเลกุลด้วยตัวเร่งปฏิกริยา (RFCCU) น�ำ้ มันเชือ้ เพลิงอากาศยาน สมบูรณ์พร้อมด�ำเนินการ (Mercury Removal Unit) (Jet Merox Unit) ผลิตน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตโพรพิลนี มาตรฐานยูโร 4 เกรดโพลิเมอร์ (PGP Recovery Project) และติดตัง้ หน่วยเพิม่ อุณหภูมอิ ากาศก่อนเข้าเตาเผา (Air Pre-heater Project) ด�ำเนินโครงการปรับปรุงผลก�ำไร (Bottom LIne Improvement Program) อย่างต่อเนื่อง
165,000 บาร์เรล
21
ภาพรวมการประกอบธุ ร กิ จ วิ สั ย ทั ศ น์ พันธกิจและกลยุทธ์ กว่ า 21 ปี ใ นการประกอบกิ จ การโรงกลั่ น น�้ ำ มั น SPRC ผลิ ต น�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ในการขนส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ิ โ ตรเลี ย ม และ ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีซึ่งใช้เป็นผลิตภัณฑ์ตั้งต้นในอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี ผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ ได้แก่ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว โพรพิลนี เกรดโพลิเมอร์ แนฟทาเกรดปิโตรเคมี น�ำ้ มันเบนซินไร้สารตะกัว่ เกรด พิเศษและเกรดธรรมดา น�ำ้ มันเชือ้ เพลิงอากาศยาน น�ำ้ มันดีเซลหมุน เร็ว น�ำ้ มันเตา และยางมะตอย โรงกลัน่ น�ำ้ มันของบริษทั ฯ เป็นแบบที่ มีหน่วยปรับปรุงคุณภาพน�้ำมัน มีก�ำลังการกลั่นน�้ำมันดิบ 165,000 บาร์เรลต่อวัน ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิตประมาณร้อยละ 13 ของก�ำลังการผลิต รวมในประเทศไทย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของบริษัทฯถูกจ�ำหน่าย ในตลาดภายในประเทศเป็นหลัก โดยผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่จ�ำหน่าย ผ่านเชฟรอน และบมจ. ปตท.
วิสัยทัศน์ของ SPRC คือ “ครอบครั ว ที่ เ ป็ น หนึ่ ง เดี ย ว...ร่ ว มกั น ขับเคลื่อนอนาคตพลังงานไทย” พันธกิจของ SPRC ที่ท�ำให้บรรลุถึงวิสัยทัศน์ คือ “เราเป็นครอบครัวที่มีความผูกพันและเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน มุ่งมั่นที่จะสร้างผลตอบแทนที่ดีและยั่งยืนให้แก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้ ว ยกระบวนการการด� ำ เนิ น งานที่ ป ลอดภั ย และ เชื่อถือได้ ผลิตและส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ เพื่อสร้าง ความพึงพอใจอย่างสูงสุดให้กับลูกค้า พร้อมกับดูแลพัฒนา ชุมชนและสิ่งแวดล้อม”
กลยุทธ์ เรามุง่ มัน่ ทีจ่ ะบรรลุพนั ธกิจของบริษทั ฯด้วยการสร้างมาตรฐาน ใน 3 ด้านหลักดังนี้ บุ ค ลากร: สร้ า งมาตรฐานในการเป็ น องค์ ก รในฝั น ใน ประเทศไทย เรามีวัฒนธรรมองค์กรที่แข็งแกร่งในความเป็น “ครอบครัว เดียวกัน” (One Family) เรามุ่งเน้นการพัฒนาบุคคลากรให้เป็น ผู้น�ำระดับโลกและสร้างครอบครัวที่มีความผูกพันและเป็นส่วน หนึ่งขององค์กร และมีประสิทธิภาพในการท�ำงาน ทั้งนี้เพื่อให้เรา สามารถสร้างมาตรฐานในการเป็นองค์กรในฝันในประเทศไทยและ สร้างความส�ำเร็จอย่างต่อเนื่องให้กับบริษัทฯ
22
ความเป็นเลิศในการด�ำเนินงาน: สร้างมาตรฐานระดับโลก ในด้านความเป็นเลิศในการด�ำเนินงาน บริษัทฯ ยึดถือหลักการด้านความปลอดภัยทั้งในด้านความ ปลอดภัยส่วนบุคคลและด้านการด�ำเนินงานโรงกลัน่ เรามีวฒ ั นธรรม ความปลอดภัยที่มุ่งมั่นให้การด�ำเนินงานในทุกด้านของโรงกลั่น น�้ำมันปราศจากอุบัติการณ์และการบาดเจ็บ ส่งผลให้มีประวัติด้าน การด�ำเนินงานที่ปลอดภัยและมีความเชื่อถือได้เป็นเลิศ บริษัทฯ มีความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น ตามแนวทางของการจัดอันดับทีจ่ ดั ท�ำขึน้ ส�ำหรับธุรกิจโรงกลัน่ น�ำ้ มัน ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย : มาตรฐานในเอเซี ย แปซิ ฟ ิ ค ด้ า น ผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้น เราสร้างมาตรฐานในด้านผลตอบแทนให้แก่ผถู้ อื หุน้ ผ่านโครงการ ปรับปรุงผลก�ำไร (Bottom Line Improvement Program: BLIP) ซึง่ มุง่ เน้นการเพิม่ ผลก�ำไรและการปรับปรุงผลการด�ำเนินงานทางการเงิน อย่างต่อเนือ่ ง โครงการปรับปรุงผลก�ำไรนีม้ งุ่ เน้นการเลือกใช้นำ�้ มันดิบ และวัตถุดบิ ให้ได้ผลคุม้ ค่ามากทีส่ ดุ การปรับปรุงกระบวนการผลิตให้ มีประสิทธิภาพสูงสุด การก�ำหนดสัดส่วนของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด อย่างเหมาะสม การใช้ผลิตภัณฑ์ขนั้ กลางส�ำหรับหน่วยแตกโมเลกุล ร่วมกับ บมจ. พีทที ี โกลบอล เคมิคอล การปรับปรุงประสิทธิภาพของ การใช้พลังงาน การลดการสูญเสียน�ำ้ มัน การเพิม่ ประสิทธิภาพของ บุคลากรและการลดของเสีย เราได้นำ� การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนเข้ามา ในการด�ำเนินการของเราเพือ่ ให้บรรลุถงึ เป้าหมายทัง้ ด้านสิง่ แวดล้อม การพัฒนาสังคม ผลการด�ำเนินงานทางการเงิน และเพื่อสร้าง ความพึงพอใจให้กบั ผูถ้ อื หุน้ และชุมชน
ความส�ำเร็จหลักของปี 2559 บริ ษั ท ฯ ยั ง คงรั ก ษาความเป็ น องค์ ก รชั้ น น� ำ ในด้ า นความ ปลอดภั ย และความเชื่ อ ถื อ ได้ ที่ เ ป็ น เลิ ศ ในกลุ ่ ม โรงกลั่ น น�้ ำ มั น ในประเทศไทย โดยผลการด� ำ เนิ น งานที่ เ ป็ น เลิ ศ นี้ เ กิ ด จาก การขับเคลื่อนของบุคลากรที่มีความทุ่มเทและมีประสิทธิภาพใน การท�ำงาน ความส�ำเร็จหลักของปี 2559 ได้แก่ • ทุ ก คนกลั บ ถึ ง บ้ า นอย่ า งปลอดภั ย ในทุ ก ๆวั น บริ ษั ท ฯ บันทึกชั่วโมงท�ำงานโดยไม่มีกรณีการบาดเจ็บขั้นหยุดงาน ติ ด ต่ อ กั น 12.93 ล้ า นชั่ ว โมงการท� ำ งาน และไม่ มี ก าร บาดเจ็บขั้นบันทึกเกิดขึ้น • บริ ษั ท ฯ สามารถรั ก ษาระดั บ ความเชื่ อ ถื อ ได้ อ ย่ า งสู ง ในการผลิ ต โดยมี ค ่ า เฉลี่ ย ความพร้ อ มของหน่ ว ยการ ผลิต (Operational Availability) ที่ไม่รวมถึงการบ�ำรุง รักษาตามก�ำหนดการที่ร้อยละ 99.7 ซึ่งอยู่ในกลุ่มที่หนึ่ง (The First Quartile) เมื่อเทียบกับโรงกลั่นน�้ำมันในภูมิภาค เอเชียแปซิฟิค
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
• บริษัทฯ สามารถรักษาระดับการใช้ก�ำลังการกลั่นน�้ำมัน ในอัตราสูง ที่ร้อยละ 97.8 ซึ่งอยู่ในอันดับต้นของกลุ่ม ที่หนึ่ง(The Top Of The First Quartile) เมื่อเทียบกับ โรงกลั่นน�้ำมันในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค • มีการเลือกใช้นำ�้ มันดิบให้ได้ผลคุม้ ค่าทีส่ ดุ ได้อย่างต่อเนือ่ ง โดยบริษัทฯ น�ำน�้ำมันดิบเข้าสู่กระบวนการผลิตได้ทั้งหมด 36 ชนิดในปีนี้ ซึ่งเป็นน�้ำมันดิบชนิดใหม่ถึง 9 ชนิด และ สร้ า งผลก� ำ ไรจากการซื้ อ น�้ ำ มั น ดิ บ ได้ สู ง ที่ สุ ด ถึ ง 0.67 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล • บริษทั ฯ สามารถปรับปรุงผลการด�ำเนินงานทางการเงินผ่าน โครงการปรับปรุงผลก�ำไร (Bottom Line Improvement Program: BLIP) ได้อย่างต่อเนื่อง ถึง 2.69 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล
การเสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก
รายงานประจำ�ปี 2559
โครงสร้างการถือหุ้น โครงสร้ า งการถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯได้ เ ปลี่ ย นไปหลั ง จากที่ มี การเสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2558 ดังที่แสดงไว้ด้านล่าง เชฟรอน ในฐานะผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ยังคงมีสดั ส่วนการถือหุน้ ขอ งบริษทั ฯ ร้อยละ 60.6 และบริษทั ฯยังคงได้รบั ประโยชน์จากเชฟรอน ผ่านการเข้าถึงบริการจัดหาน�ำ้ มันดิบและวัตถุดบิ อืน่ ๆ ของเชฟรอน เครื อ ข่ า ยการจั ด จ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ จ ากการกลั่ น น�้ ำ มั น ปิโตรเลียมทัว่ โลก การบริการทางด้านเทคโนโลยี การด�ำเนินงานและ วิศวกรรมทีท่ นั สมัย และการบริการสนับสนุนทางเทคนิคอืน่ ๆ รวมไป ถึงการได้รบั ประโยชน์จากโอกาสในการซือ้ สินค้าหรือรับบริการจาก ผู ้ ข ายสิ น ค้ า หรื อ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารภายนอกซึ่ ง เข้ า ท� ำ สั ญ ญารั บ ซื้ อ ผลิตภัณฑ์และบริการหลักกับเชฟรอน
หลังการเสนอขายหุน้ สามัญต่อประชาชนทัว่ ไปเป็นครัง้ แรก
Public Shareholders 64.0%
36.0%
60.6%
5.4%
34.0%
23
ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัทฯ เป็นหนึ่งในผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมชั้นน�ำของ ประเทศไทย และเป็นหนึ่งในโรงกลั่นที่มีประสิทธิภาพสูงสุดใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค บริษัทฯ เป็นเจ้าของและประกอบกิจการ โรงกลั่นน�้ำมันแบบที่มีหน่วยปรับปรุงคุณภาพน�้ำมัน (Complex Refinery) ซึง่ มีกำ� ลังการกลัน่ น�ำ้ มันดิบ 165,000 บาร์เรลต่อวัน คิดเป็น ก�ำลังการผลิตร้อยละ 13.4 ของก�ำลังการกลั่นน�้ำมันดิบทั้งหมดของ ประเทศไทย
น�้ำมันดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม โรงกลั่ น น�้ ำ มั น ของบริ ษั ท ฯ มี ค วามสามารถในการกลั่ น น�้ำมันดิบได้หลากหลายประเภท ซึ่งรวมถึงน�้ำมันดิบจากภูมิภาค ตะวันออกกลาง แอฟริกาตะวันตก และเอเชียตะวันออกไกล บริษัท ก�ำหนดสัดส่วนของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด (Product
Slate) โดยขึ้นอยู่กับราคาและสัดส่วนผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ บริษัทฯ ได้ พิ จ ารณาก� ำ หนดสั ด ส่ ว นของผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ต่ ล ะชนิ ด จากการ ประเมินความต้องการของลูกค้าและประมาณการราคาส�ำหรับ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่บริษัทฯ สามารถผลิตได้เป็นระยะเวลาประมาณ สามเดือนก่อนที่จะมีการสั่งซื้อวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมหลักของบริษัทฯ ซึ่งได้จากกระบวนการ กลัน่ และการแปรสภาพโมเลกุลน�ำ้ มันดิบคือ เชือ้ เพลิงไฮโดรคาร์บอน ซึ่งได้แก่ก๊าซปิโตรเลียมเหลว น�้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่วเกรดพิเศษ และเกรดธรรมดา น�้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว น�้ำมันเตาและยางมะตอย รวมทั้งผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีซึ่งใช้เป็น ผลิตภัณฑ์ตั้งต้นในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ได้แก่ โพรพิลีนเกรดโพลิเมอร์ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว แนฟทาเกรด ปิโตรเคมี ก๊าซผสม C4 รีฟอร์เมท และก�ำมะถัน ปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2557 รายได้จากการขาย
(พันบาร์เรล)
ดอลลาร์สหรัฐต่อ บาร์เรล(2)
ปริมาณ (พันบาร์เรล)
2559
ดอลลาร์สหรัฐต่อ บาร์เรล(2)
ปริมาณ (พันบาร์เรล)
ดอลลาร์สหรัฐต่อ บาร์เรล(2)
โพรพิลีนเกรดโพลิเมอร์
1,368
98.85
1,834
71.64
1,620
60.81
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
3,082
66.81
3,223
45.42
2,931
36.81
แนฟทาเบา
2,582
90.00
2,867
51.53
2,607
41.78
น�้ำมันเบนซิน
14,888
144.98
15,797
100.42
16,336
86.92
3,814
109.36
4,752
64.48
4,537
51.59
น�้ำมันดีเซล
20,701
121.08
23,663
87.64
23,386
77.73
น�้ำมันเตา
6,037
83.63
6,404
42.66
7,761
32.67
ยางมะตอย
934
89.56
1,455
58.73
1,244
27.05
ก๊าซผสม C4
1,900
85.76
2,607
50.44
2,146
42.68
น�้ำมันดิบ
1,094
78.71
65
61.13
652
38.48
อื่นๆ (1)
6,050
89.51
5,671
59.00
3,767
48.43
62,450
112.64
68,338
76.40
66,987
65.29
น�้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน
รายได้จากการขายทั้งหมด
24
ปริมาณ
2558
(1)
รวมถึงก�ำมะถัน รีฟอร์เมท และผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ ท�ำการแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ขั้นกลางส�ำหรับกระบวนการแปรสภาพโมเลกุล (Cracker Feed Exchange) กับ บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล
(2)
รวมภาษีสรรพสามิต กองทุนอนุรักษ์พลังงาน กองทุนน�้ำมันเชื้อเพลิง และภาษีท้องถิ่น
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม รายได้จากการขาย (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
2557
2558
2559
ร้อยละของรายได้ รายได้จากการขาย ร้อยละของรายได้ รายได้จากการขาย ร้อยละของรายได้ รายได้จากการขาย จากการขายทั ้งหมด จากการขายทั้งหมด จากการขายทั้งหมด
โพรพิลีนเกรดโพลิเมอร์
135.2
1.9%
131.4
2.5%
98.5
2.3%
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว(1)
205.9
2.9%
146.4
2.8%
107.9
2.5%
แนฟทาเบา
232.4
3.3%
147.7
2.8%
108.9
2.5%
น�้ำมันเบนซิน
2,158.5
30.7%
1,586.4
30.4%
1,420.0
32.5%
417.1
5.9%
306.4
5.9%
234.1
5.3%
น�้ำมันดีเซล
2,506.4
35.6%
2,073.8
39.7%
1,817.8
41.5%
น�้ำมันเตา
504.9
7.2%
273.2
5.2%
253.5
5.8%
ยางมะตอย
83.7
1.2%
85.5
1.6%
33.7
0.8%
ก๊าซผสม C4
162.9
2.3%
131.5
2.5%
91.6
2.1%
86.1
1.2%
4.0
0.1%
25.1
0.6%
541.5
7.7%
334.5
6.4%
182.4
4.2%
7,034.6
100.0%
5,220.8
100.0%
4,373.5
100.0%
น�้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน
น�้ำมันดิบ อื่นๆ(2) รายได้จากการขายทั้งหมด (1)
รวมถึงเงินชดเชยจากการจ�ำหน่ายก๊าซปิโตรเลียมเหลวและน�้ำมัน
(2)
รวมถึงก�ำมะถัน รีฟอร์เมท และผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ ท�ำการแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ขั้นกลางส�ำหรับกระบวนการแปรสภาพโมเลกุล (Cracker Feed Exchange) กับ บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล
บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมในสัดส่วนที่มีนัยส�ำคัญ ผ่ า นทางสั ญ ญารั บ ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ท� ำ ไว้ กั บ เชฟรอนและ บมจ. ปตท. เป็นหลัก และครอบคลุมการขายผลิตภัณฑ์ให้กบั ลูกค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งบริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาขาย ผลิตภัณฑ์ระยะสั้น แบบครั้งต่อครั้ง (spot basis) หรือแบบมีระยะ เวลา (term basis) ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมส่วนที่เหลือ
ลูกค้าสองอันดับแรกของบริษัทฯ คือเชฟรอน และ บมจ. ปตท. ตารางดังต่อไปนี้แสดงข้อมูลอัตราส่วนร้อยละของรายได้ที่บริษัทฯ ได้รับจากลูกค้าแต่ละรายต่อรายได้จากการขายรวม ส�ำหรับระยะ เวลาที่ระบุไว้
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
2558
2559
ร้อยละของรายได้จากการขายทั้งหมด เชฟรอน
33.8
50.5
55.8
บมจ. ปตท.
48.7
34.8
32.5
อื่นๆ
17.5
14.7
11.7
รวม
100.0
100.0
100.0
25
การก�ำหนดราคาผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ที่ขายผ่านทางสัญญารับซื้อผลิตภัณฑ์ อ้างอิงราคาเฉลีย่ ของผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วข้องตามทีร่ ายงานโดย Platts Singapore (Means of Platts Singapore หรือ MOPS) ราคา ในประเทศของไทยก�ำหนดจากราคา MOPS ปรับปรุงด้วยต้นทุน การขนส่ง การผลิต คุณภาพผลิตภัณฑ์ และสะท้อนราคาสภาพตลาด ตามที่เหมาะสม ราคาขายในประเทศของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมที่ไม่ได้ขาย ภายใต้สัญญารับซื้อผลิตภัณฑ์ถูกก�ำหนดโดยค�ำนึงถึงสภาพตลาด และโดยทั่วไปขึ้นอยู่กับราคาเฉลี่ยรายเดือนของราคาอ้างอิงใน ภูมิภาค ส่วนการส่งออกผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม โดยทั่วไปจะก�ำหนด
ราคาตามราคาอ้างอิง บวกส่วนเพิ่มหรือหักส่วนลดโดยอ้างอิง กั บ สภาพตลาดและการเจรจาต่ อ รองกั บ ผู ้ ซื้ อ รวมทั้ ง ค� ำ นึ ง ถึ ง ความแตกต่างของคุณภาพและแหล่งปลายทางของผลิตภัณฑ์
หน่วยการผลิตและกระบวนการผลิต หน่วยการผลิตของบริษัทฯ ตั้งอยู่ในจังหวัดระยอง ซึ่งห่างจาก กรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 200 กิโลเมตร โรงกลัน่ น�ำ้ มันของบริษทั ฯ เป็นโรงกลัน่ น�ำ้ มันแบบทีม่ หี น่วยปรับปรุง คุณภาพน�ำ้ มัน (Complex Cracking Refinery) ซึง่ สามารถปรับปรุง น�้ำมันเตาในสัดส่วนที่มีนัยส�ำคัญเป็นน�้ำมันส�ำหรับการขนส่งที่มี มูลค่าสูงกว่า ซึ่งได้แก่น�้ำมันเบนซิน น�้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน และน�้ำมันดีเซลได้สูงกว่าโรงกลั่นน�้ำมันประเภท Hydroskimming
แผนภูมิดังต่อไปนี้แสดงโครงสร้างโรงกลั่นน�้ำมันของบริษัทฯ รูปแบบของโรงกลั่นน�้ำมันของบริษัทฯ
ผลิตภัณฑ์ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว แนฟทาเกรดปิโตรเคมี
H2
น�้ำมันดิบ วัตถุดิบอื่นๆ
หอกลั่น น�้ำมันดิบ 165 KBD
หน่วยก�ำจัด ก�ำมะถัน ในแนฟทา 19 KBD
หน่วยเพิ่ม ออกเทนด้วย ตัวเร่งปฏิกิริยา 17 KBD
หน่วยก�ำจัด สารเบนซิน 15 KBD
หน่วยปรับปรุง คุณภาพน�้ำมัน เชือ้ เพลิงอากาศยาน 20 KBD
น�้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน
หน่วยก�ำจัด ก�ำมะถัน ในน�้ำมันดีเซล 66 KBD
หอกลั่น น�้ำมันสูญญากาศ 63 KBD
น�้ำมันดีเซลยูโร 4 โพรพิลีน เกรดโพลิเมอร์ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
หน่วยแตกโมเลกุล ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา 41 KBD
หน่วยก�ำจัดก�ำมะถัน ในน�้ำมันก๊าซออยส์ สูญญากาศชนิดหนัก 35 KBD
น�้ำมันเบนซินยูโร 4
หน่วยก�ำจัด ก�ำมะถันใน น�้ำมันเบนซิน 23 KBD
น�้ำมันเบนซินยูโร 4
น�้ำมันเตา/ยางมะตอย
วัตถุดิบ บริษัทฯ สามารถกลั่นน�้ำมันดิบได้หลายประเภท ซึ่งรวมถึง น�ำ้ มันดิบจากตะวันออกกลาง เอเชียตะวันออกไกล และภูมภิ าคอืน่ ๆ บริษัทฯ ใช้เครือข่ายการจัดหาน�้ำมันดิบและวัตถุดิบทั่วโลกของ เชฟรอน การจ�ำแนกคุณลักษณะน�ำ้ มันดิบ (crude characterizations)
26
ของเชฟรอน และการใช้ระบบโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Program) ของเชฟรอน เพื่ อ การก� ำ หนดสั ด ส่ ว นปริ ม าณและประเภทของ น�ำ้ มันดิบและวัตถุดบิ อืน่ ๆ อย่างเหมาะสม เพือ่ ทีจ่ ะเพิม่ ค่าการกลัน่ (Gross Refining Margins) ของบริษัทฯ พร้อมกับตอบสนองความ ต้องการของลูกค้า บริษทั ฯ จัดหาและซือ้ น�ำ้ มันดิบผ่านเชฟรอน บมจ. ปตท. และบริษัทในเครือของเชฟรอนและ บมจ. ปตท. เป็นหลัก โดยมี เ งื่ อ นไขการช� ำ ระเงิ น (Credit Terms) ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท างการค้ า ทั่ ว ไป นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ซื้ อ น�้ ำ มั น หนั ก (Long Residues) และวัตถุดบิ อืน่ ๆ เพือ่ การแปรรูปในโรงกลัน่ น�ำ้ มัน ของบริษัทฯ จากเชฟรอนเป็นหลัก ภายใต้สัญญาจัดหาวัตถุดิบ บริษัทฯ มีการแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ขั้นกลางส�ำหรับหน่วย แตกโมเลกุล (cracker feed) กับ บมจ. พีทที ี โกลบอล เคมิคอล โดย บริษทั ฯ จัดหาน�ำ้ มันก๊าซออยล์สญ ุ ญากาศชนิดหนัก (Heavy Vacuum Gas Oil) ให้เป็นวัตถุดิบกับหน่วยแตกโมเลกุลด้วยไฮโดรเจน (Hydrocracker Unit) แก่ บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล และ บมจ. พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จัดหาน�้ำมันขั้นกลางจากหน่วยแตก โมเลกุลด้วยไฮโดรเจน (Hydrocracker Bottoms) ให้เป็นวัตถุดบิ ให้ กับหน่วยแตกโมเลกุลด้วยตัวเร่งปฏิกริ ยิ า (RFCCU) เพือ่ เพิม่ ผลผลิต ของผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพสูงทัง้ ทีห่ น่วย RFCCU ของบริษทั ฯ และที่ หน่วยแตกโมเลกุลด้วยไฮโดรเจนของ บมจ. พีทที ี โกลบอล เคมิคอล บริษัทฯ รับน�้ำมันดิบทางทุ่นผูกเรือน�้ำลึกแบบทุ่นเดี่ยวกลาง ทะเล (Single Point Mooring System) เป็นหลัก และยังสามารถ รับน�้ำมันดิบที่ทางท่าเทียบเรือในท่าเทียบเรือเดินทะเลของบริษัทฯ น�้ำมันดิบนี้จะถูกส่งไปยังถังเก็บที่โรงกลั่นน�้ำมันโดยทางท่อส่งที่ เชื่อมต่อกับโรงกลั่นน�้ำมันของบริษัทฯ โดยตรง
ที่ตั้ง โรงกลัน่ น�ำ้ มันของบริษทั ฯ ตัง้ อยูใ่ กล้กบั สิง่ อ�ำนวยความสะดวก หลักในการขนส่ง ซึ่งรวมถึงท่อส่งผลิตภัณฑ์ รถบรรทุก เรือบรรทุก ชายฝั่ง ทุ่นผูกเรือน�้ำลึกแบบทุ่นเดี่ยวกลางทะเล และศูนย์กลาง ของอุปสงค์ที่ส�ำคัญ จึงช่วยลดต้นทุนการขนส่งและก่อให้เกิดข้อได้ เปรียบหลายอย่างในด้านการจัดหาและจัดส่งผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ มี ลู ก ค้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ิ โ ตรเคมี ห ลายรายที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นนิ ค ม อุตสาหกรรมมาบตาพุด ซึ่งท�ำให้บริษัทฯ สามารถบริหารจัดการ ต้นทุนในการขนส่งผลิตภัณฑ์ให้แก่ลูกค้าเหล่านี้ได้เป็นอย่างดี บริษัทฯ มีท่าเทียบเรือเดินทะเล (marine terminal) พร้อม ท่าเทียบเรือ (pier) สองท่า เพือ่ การขนส่งผลิตภัณฑ์ไปทัว่ ประเทศไทย และเพือ่ ส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศด้วย นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมี หน่วยปฏิบัติการจ่ายน�้ำมันทางรถบรรทุกเพื่อการขนถ่ายน�้ำมันสู่ รถบรรทุก (truck loading terminal) ส�ำหรับลูกค้าของบริษัทฯ เพื่อ ที่จะอ�ำนวยความสะดวกในการขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไปยัง ภาคตะวั น ออกเฉี ย งใต้ แ ละภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของ ประเทศไทย รวมทั้งภายในจังหวัดระยอง และขนส่งไปยังตลาด ส่งออกในอินโดจีน ซึ่งรวมถึง ประเทศลาว กัมพูชาและเมียนมาร์ โรงกลั่นน�้ำมันของบริษัทฯ มีถังเก็บ 71 ถัง และสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ ซึ่งท�ำให้บริษัทฯ สามารถจัดเก็บวัตถุดิบภายหลังจากการรับมอบ และก่อนการน�ำไปแปรรูป รวมทั้งผลิตภัณฑ์ก่อนการส่งมอบ และ ผลิตภัณฑ์ขั้นกลางบางชนิด บริษัทฯ มีก�ำลังการจัดเก็บน�้ำมันดิบ ประมาณ 4.9 ล้านบาร์เรล เทียบเท่ากับความสามารถในการจัดเก็บ อุปทานน�้ำมันดิบสูงสุด 29 วัน
การแข่งขัน อุตสาหกรรมโรงกลัน่ น�ำ้ มันในประเทศไทย มีการแข่งขันสูงมาก โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีโรงกลั่นน�้ำมันในประเทศไทย จ�ำนวน 7 แห่ง รวมมีกำ� ลังการกลัน่ น�ำ้ มันวันละ 1,234.5 พันบาร์เรล บริษัทฯ แข่งขันกับโรงกลั่นน�้ำมันปิโตรเลียมในประเทศแห่งอื่นๆ จ�ำนวน 5 แห่งเป็นหลัก ได้แก่ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) บมจ. พีทที ี โกลบอล เคมิคอล และ บมจ. ไออาร์พีซี โดยมีก�ำลังการกลั่นน�้ำมันรวมวันละ 1,097 พันบาร์เรล บมจ. ปตท. ซึ่งเป็นบริษัทที่ท�ำธุรกิจด้านก๊าซและน�้ำมันแห่งใหญ่ ที่สุดของประเทศไทยนั้นถือหุ้นในสัดส่วนที่มีนัยส�ำคัญในโรงกลั่น น�้ำมันซึ่งเป็นคู่แข่งทางการค้าที่ส�ำคัญของบริษัทฯ สามแห่ง ได้แก่ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล และ บมจ. ไออาร์พีซี
อุตสาหกรรมการกลั่นน�้ำมันใน ประเทศไทย สถานการณ์ราคาน�้ำมันในปัจจุบัน ในปี 2559 ราคาน�้ำมันดิบมีความผันผวน โดยราคาน�้ำมันดิบ ดูไบเคลื่อนไหวที่ระหว่าง 22.8 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ถึง 54.2 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล และราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 41.3 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล ซึ่งต�่ำกว่าราคาเฉลี่ยที่ 50.9 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ในปี 2558 ราคาน�้ำมันดิบดูไบปรับลดลงจาก 40.7 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรลในไตรมาสที่สี่ของปี 2558 เป็น 30.4 ดอลลาร์สหรัฐต่อ บาร์เรลในไตรมาสแรกของปี 2559 เนื่องจากสภาวะอุปทานล้น ตลาดของน�้ำมันดิบ สินค้าคงคลังน�้ำมันดิบของสหรัฐอเมริกาอยู่ใน ระดับ 530 ล้านบาร์เรล ณ สิ้นไตรมาสที่หนึ่ง องค์กรร่วมประเทศ ผูผ้ ลิตน�ำ้ มันเพือ่ การส่งออก (Organization of Petroleum Exporting Countries หรือ OPEC) รายงานปริมาณการผลิตน�้ำมันดิบที่สูงขึ้น เป็น 32.83 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งสูงกว่า 31.91 ล้านบาร์เรลต่อวัน
27
ในไตรมาสที่สี่ของปี 2558 การคว�่ำบาตรโครงการนิวเคลียร์ของ ประเทศอิหร่านได้ถูกยกเลิกในกลางเดือนมกราคม โดยปริมาณ การผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ 3.13 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นจาก 2.89 ล้าน บาร์เรลต่อวัน ในไตรมาสทีส่ ขี่ องปี 2558 ตลอดระยะเวลาเกือบหนึง่ ปีของการเจรจาต่อรอง ในวันที่ 30 พฤศจิกายน ปี 2559 องค์กรร่วม ประเทศผู้ผลิตน�้ำมันเพื่อการส่งออก (หรือ OPEC) เห็นชอบที่จะลด ปริมาณการผลิต 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวันในครึง่ ปีแรกปี 2560 สมาชิก สิบเอ็ดประเทศขององค์กรร่วมประเทศผู้ผลิตน�้ำมันเพื่อการส่งออก
ตกลงทีจ่ ะลดปริมาณผลิตภัณฑ์เป็น 29.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน รัสเซีย มีแผนการลดการผลิตจ�ำนวน 0.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน ในครึง่ แรกของ เดือนมกราคม ปี 2560 ด้วย ส่วนประเทศทีไ่ ม่เป็นสมาชิกขององค์กร ร่วมประเทศผู้ผลิตน�้ำมันเพื่อการส่งออก ซึ่งจะร่วมลดปริมาณการ ผลิตคือ ประเทศอาเซอร์ไบจัน บาห์เรน โบลิเวีย บรูไน อิเควทอเรียล กินี คาซัคสถาน มาเลเซีย เม็กซิโก โอมาน ซูดาน และซูดานใต้ ใน ขณะที่ แท่นขุดเจาะน�้ำมันดิบของสหรัฐอเมริกาเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อ เนื่องเป็น 529 แท่น ณ สิ้นงวดเดือนธันวาคม
ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล เวสต์เท็กซัส
140
ดูไบ
เบรนท์
120 100 80 60 40 20 0
มค.-57
กค.-57
มค.-58
กค.-58
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมน�้ำมัน กองทุนการเงินระหว่างประเทศประมาณการว่าการเติบโต ทางเศรษฐกิจของโลกจะขยายตัวที่อัตราร้อยละ 3.4 ในปี 2560 โดยมีการประมาณการว่าเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว จะเติบโตขึ้นร้อยละ 1.8 ในปี 2560 ซึ่งสูงกว่าร้อยละ 1.6 ในปี 2559 และเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศก�ำลังพัฒนาจะเติบโตที่ร้อยละ 4.6 ในปี 2560 ซึง่ สูงกว่าการเติบโตที่ ร้อยละ 4.2 ในปี 2559 ธนาคารโลก ประมาณการการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยไว้ที่ร้อยละ 2.6 ใน ปี 2560 องค์กรร่วมประเทศผู้ผลิตน�้ำมันเพื่อการส่งออก คาดการณ์ การเติบโตของอุปสงค์ที่ต�่ำอย่างต่อเนื่องไปในปี 2560 ที่ 1.1 ล้านบาร์เรลต่อวัน ไปที่ระดับ 95.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน อันเนื่องจาก การชะลอตัวทางเศรษฐกิจ อุปสงค์ส�ำหรับน�้ำมันของสหรัฐอเมริกา ในปี 2560 ขึ้นอยู่กับการเติบโตทางเศรษฐกิจและระดับราคาน�้ำมัน เป็นที่คาดว่าราคาน�้ำมันจะสูงขึ้น จากอุปทานที่ลดลง อันเป็นผล มาจากข้อตกลงระหว่างองค์กรร่วมประเทศผู้ผลิตน�้ำมันเพื่อการ ส่งออกกับกลุ่มประเทศ OPEC และกลุ่มประเทศนอก OPEC (non-OPEC) นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่คาดหมายว่าการเติบโตของ อุปสงค์ส�ำหรับน�้ำมันเบนซินจะยังคงค่อนข้างแข็งแกร่งอันเป็นผล ทีเ่ กือ้ หนุนจากภาคการขนส่งทางบกและวัตถุดบิ ปิโตรเคมี ส่วนการ เติบโตของอุปสงค์ส�ำหรับน�้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน น�้ำมันดีเซล
28
มค.-59
กค.-59
มค.-60
และน�้ำมันเตาเป็นที่คาดว่าจะค่อนข้างคงที่เนื่องจากการเติบโต ทางเศรษฐกิจที่ล่าช้า อุปทานส�ำหรับน�ำ้ มันดิบส่วนเกินคาดว่าจะลดลงในระยะเวลา อันใกล้ เนือ่ งจาก กลุม่ ประเทศ OPEC และกลุม่ ประเทศนอก OPEC (non-OPEC) เห็นชอบที่จะลดระดับการผลิต อย่างไรก็ดี การเพิ่ม กลับขึ้นมาของแท่นขุดเจาะของสหรัฐอเมริกาและการเพิ่มการผลิต น�้ำมันจากหินดินดานอาจจะมีผลทดแทนปริมาณการลดการผลิต
สิ่งแวดล้อม การประกอบการของบริษทั ฯ อยูภ่ ายใต้บงั คับของกฎหมายและ กฎระเบียบทางด้านสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ก�ำลังอยู่ในการด�ำเนินการ เพื่อให้ถูกต้องตามกฎกระทรวงควบคุมการปนเปื้อนในดินและ น�้ำใต้ดินภายใบริเวณโรงงาน ปี 2559 อีกทัง้ บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินมาตรการควบคุมมลพิษและมาตรการ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และท�ำการประเมินอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างถูกต้องตามนโยบายสิ่งแวดล้อม ของบริษัทฯ บริษัทฯ มั่นใจว่าบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายและ กฎระเบียบทางด้านสิง่ แวดล้อมซึง่ มีผลบังคับใช้ตอ่ บริษทั ฯ ในทุกด้าน บริษทั ฯ เชือ่ ในการด�ำรงความสมดุลทีด่ รี ะหว่างการดูแลสิง่ แวดล้อม ผลการด�ำเนินงานทางการเงินและการพัฒนาสังคม บริษัทฯ จึงได้ ด�ำเนินธุรกิจบนพื้นฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) อันได้แก่ งานในด้านการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การปล่อยมลพิษทางอากาศ การป้องกันและการตอบสนองการรัว่ ไหล ของน�้ำมัน การบริหารจัดการน�้ำ และการบริหารจัดการของเสีย
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
การบริหารความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยง บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะด�ำเนินธุรกิจให้ความมัน่ ใจได้วา่ บริษทั ฯ จะสามารถระบุ วิเคราะห์ และบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ ได้ เพือ่ ทีจ่ ะจัดการกับความเสีย่ งเหล่านัน้ ให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ บริษทั ฯ ได้พัฒนาและด�ำเนินนโยบายการบริหารความเสี่ยงซึ่งใช้กับธุรกิจ และการด�ำเนินงานในทุกด้านของบริษัทฯ และได้รับการออกแบบ มาเพือ่ จัดการความเสีย่ งต่างๆ ซึง่ รวมถึงแต่ไม่จำ� กัดเพียงความเสีย่ ง ด้านการด�ำเนินงาน ความเสี่ยงด้านการเงิน ความเสี่ยงด้านการค้า ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง และความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยประธานเจ้า หน้าที่บริหาร รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายปฏิบัติการ ผู้จัดการ ฝ่ายจัดหาและวางแผนธุรกิจ และผูจ้ ดั การฝ่ายการเงินและการคลัง บริษทั ฯ ใช้แนวทางการก�ำกับดูแลตามความเสีย่ ง (Risk Based Approach) ในการควบคุมภายในและการตัดสินใจ ซึ่งแนวทางดัง กล่าวได้รับการออกแบบเพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ตามสมควรว่า บริษทั ฯ จะบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ พร้อมทัง้ มาตรการบรรเทาความ เสี่ยงซึ่งมีความเหมาะสม บริษัทฯ ท�ำการประเมินความเสี่ยงเป็นรายปีเพื่อระบุความ เสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และหาแนวทาง ที่มีประสิทธิภาพในการตอบสนองและบรรเทาความเสี่ยงเหล่านั้น บริษัทฯ มีการติดตามการตอบสนองความเสี่ยงอย่างสม�่ำเสมอเพื่อ ให้ความมัน่ ใจว่าแผนการต่างๆ มีความคืบหน้าภายในเวลาทีเ่ หมาะ สม และท�ำการปรับปรุงตามที่จ�ำเป็นหากเงื่อนไขเปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังท�ำการพิจารณาทบทวนตารางประเมินความ เสี่ยง(Risk Matrix) แผนมาตรการบรรเทาความเสี่ยง และความคืบ หน้าอยูเ่ สมอ พร้อมทัง้ เสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส บริษัทฯ ได้พัฒนากระบวนการทางธุรกิจเพื่อจัดให้มีเครื่องมือ ที่สามารถใช้ได้ในทางปฏิบัติส�ำหรับการตัดสินใจบนพื้นฐานความ เสี่ยงประจ�ำวัน โดยมีการประเมินความเสี่ยงเปรียบเทียบกับต้นทุน และผลกระทบทางธุรกิจอื่นๆ ตลอดจนมีขั้นตอนที่ก�ำหนดลักษณะ บทบาทความรับผิดชอบและอ�ำนาจในกระบวนการวิเคราะห์ความ เสี่ยงภายในบริษัทฯ เพื่อให้ความมั่นใจว่าจะมีการวิเคราะห์ความ เสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพและทันต่อเวลา
ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ 1. ความเสี่ยงทางด้านตลาด ธุรกิจการกลั่นน�้ำมันเป็นธุรกิจที่ มีความผันผวนและเป็นวัฎจักรเนื่องจากราคาของน�้ำมันดิบ และผลิตภัณฑ์มีความผันผวนอย่างสูง ราคาของน�้ำมันดิบ และผลิตภัณฑ์ถูกก�ำหนดโดยปัจจัยทางเศรษฐกิจและไม่อยู่ ในความควบคุมของบริษทั ฯ ในระหว่างปี 2559 ราคาน�ำ้ มันดิบ ดูไบได้เพิม่ ขึน้ จาก 32 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรลในช่วงต้นปีเป็น 54 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรลในช่วงปลายปี ราคาของผลิตภัณฑ์ มีแนวโน้มทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงตามราคาน�ำ้ มันดิบทีม่ กี ารปรับขึน้ หรือปรับลดลง ซึง่ มีผลกระทบต่อรายได้ของบริษทั ฯ อย่างไรก็ดี ความสามารถในการท�ำก�ำไรของบริษัทฯ (Gross Refinery Margin) ถูกก�ำหนดโดยส่วนต่างราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ขอ งบริษัทฯ กับราคาเฉลี่ยของน�้ำมันดิบ ส่วนต่างนี้มีแนวโน้มที่ จะผันผวนน้อยกว่าราคาของน�ำ้ มันดิบ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ใช้ความ พยายามในด้านต่างๆ ที่อยู่ภายในความควบคุมของบริษัทฯ เพื่อที่จะผลักดันความสามารถในการท�ำก�ำไร โดยเริ่มตั้งแต่ การให้ความส�ำคัญกับบุคลากรความปลอดภัย ความเชือ่ ถือได้ และการใช้กำ� ลังการกลัน่ อย่างสูงสุด เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ บริษทั ฯ จะสามารถท�ำก�ำไรได้สูงสุดอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การมี ความปลอดภัย ความเชื่อถือได้และประสิทธิภาพในการกลั่น น�้ำมันที่เป็นเลิศท�ำให้บริษัทฯสามารถด�ำเนินการโครงการการ ปรับปรุงผลก�ำไร (Bottom Line Improvement Program หรือ BLIP) เพือ่ ผลักดันค่าการกลัน่ ให้สงู ขึน้ โดยโครงการปรับปรุงผล ก�ำไร BLIP มุง่ เน้นทีก่ ารเลือกใช้นำ�้ มันดิบให้เกิดประโยชน์สงู สุด (Crude Optimization) การก�ำหนดสัดส่วนของผลิตภัณฑ์แต่ละ ชนิดให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Product Slate Optimization) การปรับปรุงกระบวนการให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Process Optimization) การปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการใช้พลังงาน (Energy Efficiency) การลดการสูญเสียน�้ำมัน (Oil Loss Reduction) ความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของบุ ค ลากร (People Efficiency) และการขจัดความสูญเปล่า(Waste Elimination) ในการลดความเสี่ยงในด้านสินค้าคงคลัง บริษัทฯ จะ ตรวจสอบว่าได้มกี ารวางแผนทีด่ ใี นการจัดหาวัตถุดบิ การผลิต และการวางแผนการขายเพื่อที่บริษัทฯ จะสามารถควบคุม ระดับของสินค้าคงคลังได้เป็นอย่างดี บริษทั ฯ มีการด�ำรงระดับ สินค้าคงคลังเพื่อให้มีปริมาณส�ำรองตามข้อก�ำหนดขั้นต�่ำทาง กฎหมาย และเพื่อให้มีระดับการด�ำเนินงานที่เหมาะสมเพื่อ ให้บรรลุถึงผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศ อนึ่ง การควบคุมที่ดีใน ด้านการวางแผนและการบริหารจัดการสินค้าคงคลังสามารถ ลดความเสีย่ งในด้านราคาของน�ำ้ มันดิบให้อยูใ่ นระดับต�ำ่ ทีส่ ดุ
29
2. กฎหมายและกฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมหรือ ข้อก�ำหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ เนื่องจากลักษณะของ ธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ อยู่ภายใต้กฎหมาย กฎระเบียบ และมาตรฐานสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการปล่อยมลพิษ เข้าสู่อากาศ เช่น ฝุ่นละออง ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxides) สารประกอบออกไซด์ของไนโตรเจน(Nitrogen oxides) คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และอืน่ ๆ ซึง่ มีความเข้มงวด ขึ้น ตลอดจนข้อก�ำหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่มีความ เคร่งครัดขึ้น บริษัทฯ มีนโยบายและหลักปฏิบัติที่จะปฏิบัติให้ เป็นไปตามหรือสูงกว่ากฎระเบียบทางด้านสิง่ แวดล้อมและข้อ ก�ำหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯยังได้จดั ท�ำยุทธศาสตร์และแผนปฏิบตั กิ ารเพือ่ การปรับปรุงสิง่ แวดล้อม โดยผ่านทางโครงการการพัฒนาอย่างยั่งยืน(Sustainable Development Focus Areas) ทั้งนี้ ในปี 2559 บริษัทฯ ไม่มีอุบัติการณ์ทางด้านสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มีการลงทุนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามหรือ สูงกว่าข้อก�ำหนดของกฎหมายและกฎระเบียบทางด้านสิ่ง แวดล้อมในปี 2555 บริษัทฯ บรรลุโครงการเชื้อเพลิงสะอาด (Clean Fuel Project) เพื่อการผลิตน�้ำมันเบนซินและน�้ำมัน ดีเซลตามมาตรฐานยูโร 4 ในปี 2557 บริษัทฯ บรรลุโครงการ โครงการติดตั้งหน่วยเพิ่มอุณหภูมิของอากาศก่อนเข้าเตาเผา (Air Preheater Project) ซึ่งสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือน
30
กระจกได้ร้อยละ 2 รวมทั้งลดการปล่อยสารประกอบออกไซด์ ของไนโตรเจน นอกจากนี้บริษัทฯ ยังบรรลุโครงการปรับปรุง ความเชือ่ ถือได้ของหน่วย FCC (FCC Reliability Improvement Project) ซึ่งสามารถลดการปล่อยฝุ่นละอองจะหน่วย FCC ได้ร้อยละ 63 บริษัทมีกระบวนการก�ำกับดูแลการปฏบัติตาม กฎหมาย (Legal Compliance Process) เพื่อให้ความมั่นใจ ว่าบริษัทฯ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงใดๆ ของ กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ และมีการพัฒนาแผนปฏิบัติ การเพื่อการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีโครงการเสนอความคิดเห็นเพื่อการท�ำงานร่วมกับ ภาคอุตสาหกรรม องค์กรเอกชน และรัฐบาลเมื่อมีการออก กฎหมายและกฎระเบียบใหม่ 3. การแข่งขันของโรงกลั่นน�้ำมัน บริษัทฯ ประกอบกิจการ อยู่ในธุรกิจที่มีการแข่งขันสูงมากในด้านการขายผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมทั้งในตลาดภายในประเทศไทยและตลาดส่งออก เพื่อให้บริษัทฯ คงความสามารถในการแข่งขันไว้บริษัทฯ จึง มีการพิจารณาทบทวนสถานะในการแข่งขันได้ของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องเพื่อให้เป็นที่มั่นใจว่าบริษัทสามารถแข่งขันได้ เป็นอย่างดีในธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ เชื่อว่าการมุ่งเน้นที่ ความเป็นเลิศในการด�ำเนินงาน (Operational Excellence) และการปรับปรุงค่าการกลั่นผ่านทางโครงการ BLIP คือหัวใจ ของความส�ำเร็จของบริษัทฯ
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
บ ริ ษั ท ฯ ใ ช ้ วั ฒ น ธ ร ร ม " ค ร อ บ ค รั ว เ ดี ย ว กั น " (One Family) เป็นรากฐานที่แข็งแกร่งในการสร้างความ เป็ น เลิ ศ ในด้ า นความปลอดภั ย ความเชื่ อ ถื อ ได้ และการ ใช้ ก� ำ ลั ง การกลั่ น ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ฯ มี ค วาม รั บ ผิ ด ชอบต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯในอั น ที่ จ ะต้ อ งบรรลุ ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators) เ พื่ อ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ห ลั ก ใ น ด ้ า น ค ว า ม เ ป ็ น เ ลิ ศ ใ น การด� ำ เนิ น งาน (Operational Excellence) ผู ้ ถื อ หุ ้ น (Shareholder) และบุคลากรของบริษัทฯ (People) ความรับ ผิดชอบต่อกิจกรรมต่างๆ ได้ถูกมอบหมายไปยังระดับต่างๆ ทั่วทั้งองค์กรและถูกเชื่อมโยงเข้ากับแผนการจ่ายผลตอบแทน และการแสดงความขอบคุณพนักงาน
ความเสี่ยงด้านการเงิน
บริษัทฯ ได้หยุดเดินเครื่องจักรตามก�ำหนดการที่วางไว้ ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2557 เพื่อการบ�ำรุงรักษาและการตรวจ สอบตามปกติและได้บรรลุโครงการต่างๆ เพื่อการปรับปรุง ประสิทธิภาพ ทั้งนี้บริษัทฯ ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเดินเครื่องจักร เป็นเวลา 5 ปีโดยไม่มีการหยุดเดินเครื่องซึ่งเป็นหน่วยหลัก ใดๆ โดยการไม่หยุดเดินเครื่องจักรหน่วยหลักเป็นระยะเวลา 5 ปี ดังกล่าวนี้เป็นระยะเวลาที่ยาวกว่าผู้ประกอบการรายอื่นๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน และท�ำให้บริษัทฯ สามารถมีค่าการ กลั่นและผลก�ำไรสูงสุด อีกทั้งสามารถเพิ่มความสามารถใน การแข่งขันของบริษัทฯ
ความเสี่ยงด้านการด�ำเนินงาน
บริษทั ฯ เชือ่ ว่าหัวใจของความสามารถในการแข่งขันและ ความส�ำเร็จระยะยาวของบริษัทฯ คือการด�ำรงความมุ่งมั่นใน การบริหารจัดการธุรกิจอย่างยั่งยืน โดยมีสมดุลที่ดีระหว่าง ผลการด� ำเนิ น งานทางการเงิ น การดู แ ลสิ่ ง แวดล้ อ ม และ การพัฒนาสังคม บริษทั ฯ ใช้การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Development) เป็นแนวทางการปฏิบัติซึ่งมุ่งเน้นใน 9 ด้าน โดยผนวกเข้ากับแผนการปฏิบัติการอย่างต่อเนื่องของบริษัทฯ การจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ในตลาดภายใน ประเทศทีม่ มี ลู ค่าสูงกว่าให้มากทีส่ ดุ เป็นสิง่ ทีบ่ ริษทั ฯ ให้ความ ส�ำคัญเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าบริษัทฯ มีความสามารถใน การแข่งขัน บริษัทฯ ร่วมมือกับ บมจ. ปตท. และเชฟรอน ซึ่ง เป็นลูกค้าหลักของบริษัทฯ ในการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ่านช่อง ทางต่างๆ ในประเทศไทย โดยผ่านกระบวนการท�ำงานภายใต้ โครงการการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) คือการเป็นตัวเลือกอันดับแรกของลูกค้า (Being the Supplier of Choice) และ การดูแลการจัดการห่วงโซ่อุปสงค์ อุปทาน (Crude to Customer) ในปี 2559 ท�ำให้บริษทั ฯ มีประสิทธิภาพ การผลิ ต น�้ ำ มั น เบนซิ น สู ง สุ ด ในระหว่ า งผู ้ ป ระกอบการ อุตสาหกรรมเดียวกันภายในประเทศ โดยคิดเป็นร้อยละ 24 ของตลาดภายในประเทศ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ประเทศไทยเป็ น ผู้น�ำเข้าสุทธิน�้ำมันเบนซินบริษัทฯ ส่งออกผลิตภัณฑ์เพียง ร้อยละ 12 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด ซึ่งเป็นจ�ำนวนต�่ำที่สุด ในระหว่างผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมเดียวกันภายในประเทศ
รายงานประจำ�ปี 2559
บริษทั ฯ ใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐเป็นสกุลเงินในการด�ำเนินงาน (Functional Currency) ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง ของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากรายได้ ต้นทุน และค่าใช้จา่ ยของบริษทั ฯ เกือบทัง้ หมดอยูใ่ นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ หรือเกี่ยวข้องโดยตรงกับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ แต่บริษัทฯ ยังคง มีความเสี่ยงเล็กน้อยจากค่าเงินบาทในส่วนที่เป็นรายการเกี่ยวกับ พนักงานและค่าใช้จ่ายอื่นๆ รวมทั้งก�ำหนดเวลาการช�ำระเงิน บริษัทฯ มีเงินกู้ในสกุลดอลลาร์สหรัฐเพื่อลดความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ และได้รับอัตราดอกเบี้ย ลอยตัว ซึ่งอยู่ในระดับต�่ำมาก 1. การหยุดการด�ำเนินงานอย่างมีนยั ส�ำคัญ หน่วยผลิตทัง้ หมด ของบริษทั ฯ ตัง้ อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดจังหวัดระยอง ประเทศไทย การกลั่น การขนส่งและการจัดเก็บน�้ำมันดิบและ วัตถุดิบอื่นๆ ตลอดจนผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมมีความเสี่ยงสูงใน หลายด้าน ซึ่งอาจก่อให้เกิดอัคคีภัย การระเบิดการหกรั่วไหล หรือสภาวะหรืออุบัติเหตุอื่นๆ ที่ไม่คาดหมายหรือเป็นอันตราย เพื่อบรรเทาและควบคุมความเสี่ยงเหล่านี้ บริษัทฯ จึง ตั้งเป้าหมายที่จะเป็นผู้ก�ำหนดมาตรฐาน (Set the Standard) ทั่วโลกในด้านความเป็นเลิศในการด�ำเนินงาน (Operational Excellence)บริ ษั ท ฯ ใช้ "วั ฒ นธรรมครอบครั ว เดี ย วกั น " (One Family Culture) ทีแ่ ข็งแกร่งของบริษทั ฯ ในการสนับสนุน และสร้ า งสถานที่ ท� ำ งานที่ ป ราศจากอุ บั ติ ก ารณ์ แ ละการ บาดเจ็ บ (incident and injury free) อั น น� ำ มาซึ่ ง ความ ปลอดภัย ความเชื่อถือได้ การใช้ก�ำลังการกลั่น และผลการ ด�ำเนินงานทางด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นเลิศ คณะกรรมการและผู้ บริหารระดับสูงของบริษทั ฯ แสดงความมุง่ มัน่ อย่างแรงกล้าใน
31
การสร้างความเป็นเลิศในด้านความปลอดภัย ความเชื่อถือ ได้ และความเป็นเลิศในทุก ๆ ระดับขององค์กรโดยสื่อสารไป ยังบุคลากรทั้งหมด บริษัทฯ มีระบบการจัดการโรงกลั่นน�ำ้ มัน (Refinery Management System)ที่เป็นเลิศ รวมถึงระบบ การจัดการสินทรัพย์ (Asset Management System) ระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม สุขอนามัย และความปลอดภัย (EHS Management System) และระบบการจัดการไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon Management System) ซึ่งท�ำให้บริษัทฯ มีนโยบาย ขั้นตอนการปฏิบัติและค�ำแนะน�ำในการท�ำงานที่ เป็นโครงสร้าง เพื่อให้ความมั่นใจว่าบริษัทฯ จะสามารถบ่งชี้ แก้ไขและบรรเทาความเสี่ยงด้านการด�ำเนินงานได้อย่างเป็น ระบบระบบการจัดการเหล่านีไ้ ด้รวมแผนการตรวจสอบบนพืน้ ฐานความเสี่ยงที่เข้มงวด และสอบสวนและค้นหาสาเหตุของ อุบัติการณ์ไว้ด้วยเพื่อช่วยขับเคลื่อนผลการด�ำเนินงานในด้าน ความปลอดภัยและความเชื่อถือได้อย่างเป็นเลิศของบริษัทฯ 2. การขาดแคลนน�้ ำ น�้ ำ มี ค วามส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ต่ อ ความ สามารถของบริ ษั ท ฯ ที่ จ ะด� ำ เนิ น งานโรงกลั่ น น�้ ำ มั น และ โรงไฟฟ้า บริษัทฯ จัดหาน�้ำจากหน่วยงานสาธารณูปโภคที่ให้ บริการแก่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ด้วยความตระหนักว่า ชุมชนโดยรอบบริษัทฯ ต้องพึ่งพาน�้ำจากแหล่งเดียวกัน และ จากประสบการณ์ภาวะขาดแคลนน�้ำในอดีต บริษัทฯ จึงได้ รวมการบริหารจัดการน�้ำ
ความเสี่ยงด้านการค้า ผลกระทบในด้านราคาในขณะที่ตลาดผันผวนเป็นความเสี่ยง ของธุรกิจโรงกลั่นน�้ำมัน อย่างไรก็ตาม ในการบริหารจัดการราคา เพื่อท�ำก�ำไรสูงสุดตอบแทนให้กับผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้เข้าร่วมและ ป็นสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ท�ำงานร่วมกัน กับบริษัทที่ประกอบธุรกิจโรงกลั่นน�้ำมันและกลุ่มปิโตรเคมีในการ สนับสนุนและให้ความเห็นในการออกนโยบายต่างๆ ของรัฐบาลที่ เกี่ยวข้องกับราคาน�้ำมัน บริษัทฯ ประสานและรักษาความสัมพันธ์อันดีกับหน่วยงาน ราชการทีเ่ กีย่ วข้องอย่างสม�ำ่ เสมอ เช่น กระทรวงพลังงาน กรมธุรกิจ พลังงาน ในการให้ความรู้ความเข้าใจ ให้ข้อมูลต่างๆ แลค�ำแนะน�ำ ในการศึกษาหรือท�ำประชาพิจารณ์ก่อนที่จะบังคับใช้กฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ตลอดจนถึงนโยบาย
32
ความเสี่ยงด้านการก�ำกับและปฏิบัติตาม กฏหมาย บริษทั ฯ ให้คำ� มัน่ สัญญาว่าบริษทั ฯ จะปฏิบตั ติ ามกฎหมายและ กฏระเบียบต่างๆ ทัง้ กฎหมายของประเทศไทยและกฎหมายของต่าง ประเทศในประเทศทีบ่ ริษทั ฯ ท�ำธุรกรรมด้วยทัง้ ตัวอักษรและเจตนา รมย์ของกฎหมายนั้น เมื่ อ มี ก ารประกาศหรื อ บั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายใหม่ บริ ษั ท ฯ มี คณะกรรมการก�ำกับดูแลการปฏิบัติตามกฎหมาย ศึกษา ติดตาม และควบคุมการปฏิบตั ติ ามกฎหมายใหม่นนั้ เพือ่ ลดความเสีย่ งด้าน การก�ำกับดูแลและปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งความรับผิดต่างๆ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจัดให้มีมีนโยบายต่อต้านการทุจริตเพื่อท�ำให้ มัน่ ใจว่า บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรมอย่างสูงและเป็นการ ก�ำจัดความเสี่ยงด้านการทุจริต
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น จ�ำนวนทุนจดทะเบียนและทุนช�ำระแล้วของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯมีทุนจดทะเบียนและทุนช�ำระแล้ว 30,004,442,705 บาท ซึ่งประกอบด้วยหุ้นสามัญจ�ำนวน 4,335,902,125 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6.92 บาท ผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ณ วันที่ 28 พฤสจิกายน 2559 มีดังนี้ ล�ำดับ
จ�ำนวนหุ้น
สัดส่วนการถือหุ้น
2,625,888,652
60.56%
1
CHEVRON SOUTH ASIA HOLDINGS PTE. LIMITED(1)
2
บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด
554,376,572
12.79%
3
บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)
234,562,369
5.41%
4
CHASE NOMINEES LIMITED
105,867,495
2.44%
5
NORTRUST NOMINEES LIMITED-NT0 SEC LENDING THAILAND CL AC
81,788,700
1.89%
6
HSBC BANK PLC - CITIBANK EUROPE PLC AS TRUSTEE FOR PUTM BOTHWELL EMERGING MARKETS EQUITY FUND
34,129,774
0.79%
7
JPMORGAN THAILAND FUND
29,877,300
0.69%
8
กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวปันผล
29,199,100
0.67%
9
NORBAX, INC.
25,553,200
0.59%
10
HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD
21,635,900
0.50%
(1)
รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 10 รายแรก
เชฟรอนเซาท์ เอเชีย โฮลดิ้งส์ (Chevron South Asia Holdings Pte. Limited) ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่นที่ประกอบกิจการด้านโรงกลั่นน�ำ้ มันปิโตรเลียม โดยลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ทั้งนี้ ณ วันที่เอกสารนี้มีผลใช้บังคับ เชฟรอน คอร์ปอร์เรชั่น (Chevron Corporation) ซึ่งถือหุ้นผ่านบริษัทย่อยของเชฟรอนคอร์ปอร์เรชั่นได้ถือหุ้น เชฟรอน เซาท์ เอเชีย โฮลดิ้งส์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
ข้อจ�ำกัดการโอนหุ้นของบริษัทฯ หุ้นของบริษัทฯ สามารถโอนได้โดยไม่มีข้อจ�ำกัด โครงการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้บริหาร และพนักงาน (Employee Stock Ownership Plan หรือ ESOP) ผูบ้ ริหาร (แต่ไม่รวมผูบ้ ริหารช่วยปฏิบตั งิ านชัว่ คราว (Management Secondees) บางราย) และพนักงานของบริษัทฯ ได้ซื้อหุ้นสามัญ
เพิ่มทุนภายใต้โครงการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ ผู้บริหารและพนักงาน (Employee Stock Ownership Plan หรือ ESOP) ในจ�ำนวน 35,728,800 หุ้น ในราคา 9 บาท เท่ากับราคา เสนอขายหุน้ ของบริษทั ฯ ทีอ่ อกใหม่ตอ่ ประชาชน โดยการเสนอขาย หุน้ สามัญเพิม่ ทุนตามโครงการ ESOP นัน้ เป็นการเสนอขายทัง้ หมด ในคราวเดียวพร้อมกับการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชน กรรมการของบริษัทฯ ทุกรายไม่ได้รับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน ตามโครงการ ESOP ในครั้งนี้ ส�ำหรับหุ้นที่เสนอขายต่อผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ดังกล่าวถูกห้ามซื้อขายเป็นระยะเวลา
33
ไม่เกิน 3 ปีนับแต่วันที่ 8 ธันวาคม 2558 ซึ่งเป็นวันที่หุ้นของบริษัทฯ เริ่มท�ำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยหลังจากวันที่หุ้นของ บริษทั ฯ ท�ำการซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ ครบก�ำหนดระยะเวลา 12 เดือนและ 24 เดือน ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ จะสามารถ ทยอยขายหุน้ ทีถ่ กู สัง่ ห้ามซือ้ ขายได้คราวละหนึง่ ในสีข่ องจ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมดตามโครงการ ESOP และเมือ่ ครบก�ำหนดระยะเวลา 36 เดือน ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ จะสามารถขายหุ้นที่ถูกสั่งห้าม ซือ้ ขายส่วนทีเ่ หลือได้ทงั้ หมด ในวันที่ 8 ธันวาคม 2559 บริษทั ฯ ได้ ท�ำการโอนหุน้ จ�ำนวน 8,910,550 หุน้ แก่ผบู้ ริหารและพนักงานบริษทั ฯ นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลปีละ 2 ครั้งให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิภายหลังจากการ
จัดสรรทุนส�ำรองต่างๆ ทุกประเภท และขึ้นอยู่กับกระแสเงินสดที่ แท้จริง กระแสเงินสดในอนาคต ภาวะของตลาด ความจ�ำเป็นในการ ใช้เงินทุนในอนาคต และข้อพิจารณาอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ จะน�ำมาประกอบการพิจารณาเสนอความเห็นการจ่ายเงินปันผล ต่อผู้ถือหุ้น การพิจารณาจ่ายเงินปันผลนั้น จะพิจารณาโดยใช้สกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐก่อนจะแปลงเป็นไทยบาท โดยบริษัทฯ ใช้อัตราขาย ถัวเฉลี่ยของธนาคารแห่งประเทศไทย ย้อนหลัง 7 วันท�ำการของ ธนาคาร ก่อนวันที่มีหนังสือบอกกล่าวการประชุมต่อคณะกรรมการ ของบริษัทฯ ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผล คณะกรรมการบริษัทฯ อาจพิจารณาเสนอการจ่ายเงินปันผล ประจ�ำปีของบริษทั ฯ โดยจะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของ บริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ อาจมีมติอนุมัติให้จ่าย เงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ได้ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ เห็นสมควรเมื่อพิจารณาจากผลก�ำไรของบริษัทฯ คณะกรรมการ บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะพิจารณาจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลแก่ผถู้ อื หุน้ ทุกปี
ข้อมูลการจ่ายปันผลย้อนหลัง ปี
2556
2557
2558
6 เดือนแรกของปี 2559
อัตราก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (ดอลลาร์สหรัฐ)
0.03
(0.05)
0.06
0.03
อัตราเงินปันผลต่อหุ้น (ดอลลาร์สหรัฐ)
0.03
-
0.05735268
0.0153
อัตราเงินปันผลต่อก�ำไรสุทธิ (%)
95.00
-
95.00
50.00
2556
2557
2558
6 เดือนแรกของปี 2559
อัตราก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท)
0.97
(1.55)
1.99
1.09
อัตราเงินปันผลต่อหุ้น (บาท)
0.92
-
1.97376772
0.5378
อัตราเงินปันผลต่อก�ำไรสุทธิ (%)
95.00
-
99.18
49.34
ปี
34
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคล
เลขานุการบริษัท ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ผูต้ รวจสอบภายใน
เจ้าหน้าทีก่ ำ� กับดูแลองค์กร (CCO)
รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายปฏิบตั กิ าร
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายการเงิน และการคลัง
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายทรัพยากร บุคคล
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายกฎหมาย
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายจัดหา และวางแผนธุรกิจ
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายกิจการสัมพันธ์
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายปฏิบตั กิ าร การกลัน่ น�ำ้ มัน
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายบริหารระบบ ความปลอดภัย
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายปฏิบตั กิ าร การจัดส่งน�ำ้ มัน
ผูจ้ ดั การฝ่ายคุณภาพ สิง่ แวดล้อม, อาชีวอนามัย, ความปลอดภัย และห้องปฏิบตั กิ าร
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายบริหาร ทรัพย์สนิ
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายตรวจสอบ ความถูกต้องและ ความเชือ่ ถือได้ ของอุปกรณ์
ผูจ้ ดั การ ฝ่ายเทคโนโลยี และวิศวกรรม
35
คณะกรรมการบริษัทฯ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559)
1 2
36
นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์ ประธานกรรมการ
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท กรรมการ กรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล
3 4
นายมนูญ ศิริวรรณ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล นางเค็ง ลิง ล๊ก กรรมการ กรรมการทรัพยากรบุคคล
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
5 นายปลิว มังกรกนก
กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการทรัพยากรบุคคล
6 นายโรเบิร์ต สแตร์ กัทธรี
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล กรรมการตรวจสอบ
7
รายงานประจำ�ปี 2559
นายวิลเลียม ลูอีส สโตน กรรมการ ประธานคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล กรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
1
2
3
4
5
6
7
37
โครงสร้างการจัดการของ บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย • คณะกรรมการบริษัท กฎบัตรคณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดให้คณะกรรมการประกอบด้วย กรรมการอย่างน้อย 7 ถึง 9 ท่าน และในจ�ำนวนนี้ มีกรรมการผู้มี คุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระ อย่างน้อย 3 ท่าน กรรมการอิสระ ไม่ควรมีวาระการเป็นกรรมการอิสระ เกินกว่า 3 วาระติดต่อกัน กรรมการแต่ละท่าน มีวาระในการด�ำรงต�ำแหน่ง วาระละ 3 ปี และ คณะกรรมการบริษทั ต้องไม่ดำ� รงต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มากกว่า 3 แห่ง คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่มี ความหลากหลาย ทัง้ ด้านความรู้ ความสามารถ ความเชีย่ วชาญและ ประสบการณ์ กรรมการที่เข้าใหม่จะได้รับการอบรมเกี่ยวกับธุรกิจ ของบริษัทฯ การด�ำเนินงาน การก�ำกับดูแลและโครงสร้างองค์กร นอกจากนี้ กรรมการทุกท่านจะได้รบั การส่งเสริมให้เข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตรส�ำหรับกรรมการ และในเรือ่ งเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน
• คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย 3 คณะ เพือ่ ช่วยกลัน่ กรองและพิจารณาเรือ่ งส�ำคัญทีไ่ ด้รบั มอบหมาย • คณะกรรมการตรวจสอบ • คณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล • คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล • ฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริหาร มีผบู้ ริหารรวม 14 ท่าน มีประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เป็นผูบ้ ริหารสูงสุดของฝ่ายบริหาร โดยผูท้ จี่ ะด�ำรงต�ำแหน่งประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ต้องไม่ดำ� รงต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าทีใ่ นบริษทั อืน่ และต้องได้รบั การเลือกตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วย กรรมการจ�ำนวน 7 ท่าน ประกอบด้วย • กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร จ�ำนวน 6 ท่าน โดยในจ�ำนวนนี้ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จ�ำนวน 3 ท่าน • กรรมการที่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห าร จ� ำ นวน 1 ท่ า น คื อ ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร
นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์
1 1
38
อายุ 48 ปี ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ ครัง้ แรก 13 สิงหาคม 2558 ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา Colorado State University ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2559 - ปัจจุบนั President - International Products, Asia Pacific Chevron International Pte. Ltd., สิงคโปร์ 2558 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2558 - ปัจจุบนั รองประธานกรรมการ Singapore Refining Company Pte. Ltd. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ Chevron Trading Pte. Ltd. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ GS Caltex Corporation 2558 - ปัจจุบนั รองประธานกรรมการ Chevron International Pte. Ltd. 2556 - 2558 Vice President Product Supply & Trading Chevron USA, Inc. 2551 - 2556 ผูจ้ ดั การฝ่ายการตลาด Caltex Australia Limited การเข้าอบรม กับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) : • Director Accredit Program (DCP 125/2016) ต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนอืน่ : ไม่มี ต�ำแหน่งอืน่ ๆ • President of International Products, Asia Pacific, Chevron International Pte. Ltd., สิงคโปร์ • กรรมการ Chevron Trading Pte. Ltd., สิงคโปร์ • กรรมการ GS Caltex Corporation, เกาหลีใต้ สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0 (3 หุน้ ) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ : ไม่มี
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
นางเค็ง ลิง ล๊ก
2
อายุ 53 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการ กรรมการทรัพยากรบุคคล วันที่ได้รับแต่งตั้ง 10 พฤศจิกายน 2559 ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมเคมี National University of Singapore, สิงคโปร์ ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปีที่ผ่านมา 2559 – ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2559 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การทัว่ ไป Crude Supply & Trading Chevron USA, Inc. (สาขาสิงค์โปร์), สิงคโปร์ 2008 - 2016 ผูจ้ ดั การทัว่ ไป Product Supply & Trading Chevron USA, Inc. (สาขาสิงค์โปร์), สิงคโปร์ การอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Certificate program (DCP 232/2016) การเข้าอบรมอื่นๆ • Directors’ Obligations and Duties, Jones Day, สิงคโปร์ (2559) ต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนอืน่ : ไม่มี ต�ำแหน่งอื่นๆ • ผูจ้ ดั การทัว่ ไป Crude Supply & Trading, Chevron USA, Inc. (สาขาสิงค์โปร์), สิงคโปร์ • กรรมการ The Centre of Excellence International Trading, Nanyang Technological University, สิงคโปร์ สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ : ไม่มี
นายมนูญ ศิริวรรณ อายุ 70 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ ครัง้ แรก 28 พฤษภาคม 2555 28 เมษายน 2558 (เป็นการต่อวาระ) ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาโท รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2557 - 2558 รองประธานคณะกรรมาธิการการปฏิรปู พลังงาน สภาปฏิรปู แห่งชาติ 2555 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2550 - 2558 ประธาน บริษทั การจัดการธุรกิจ จ�ำกัด การเข้าอบรม กับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) : • Director Accreditation Program (DAP 97/2012) • Audit Committee Program (ACP 41/2012) • Director Certification Program (DCP 219/2016) ต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนอืน่ : ไม่มี ต�ำแหน่งอืน่ ๆ • ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธิการขับเคลือ่ นการปฏิรปู พลังงาน สภาขับเคลือ่ นการปฏิรปู ประเทศ สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ : ไม่มี
3
39
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท
4
อายุ 42 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการ กรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล วันที่ได้รับแต่งตั้ง 11 สิงหาคม 2559 ประวัติการศึกษา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน University of California, Berkeley, Haas School of Business, สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ University of California, Berkeley, สหรัฐอเมริกา ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปีที่ผ่านมา 2559 – ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2559 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายการคลัง, ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ Chevron International Pte. Ltd., สิงคโปร์ 2557 - 2559 ผูจ้ ดั การทัว่ ไป Finance and Planning, Technology Projects and Services Chevron USA, Inc., สหรัฐอเมริกา 2556 Finance Sponsor Chevron USA, Inc., สหรัฐอเมริกา 2553 – 2555 ผูจ้ ดั การ Administration and Finance, Petroindependencia JV Chevron Venezuela, เวเนซุเอล่า การอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Certificate program (DCP 232/2016) การเข้าอบรมอื่นๆ • Directors’ Obligations and Duties, Jones Day, สิงคโปร์ (2559) ต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนอืน่ : ไม่มี ต�ำแหน่งอื่นๆ • ผูจ้ ดั การฝ่ายการคลัง, ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ , Chevron International Pte. Ltd., สิงคโปร์ • ผูช้ ว่ ยฝ่ายการคลัง Chevron Asia Pacific Holdings Limited และบริษทั ในเครือในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ : ไม่มี
นายปลิว มังกรกนก
อายุ 68 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ, รองประธานกรรมการ,
5
40
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ, กรรมการทรัพยากรบุคคล
วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ ครัง้ แรก 28 พฤษภาคม 2555 25 เมษายน 2556 (เป็นการต่อวาระ) 26 เมษายน 2559 (เป็นการต่อวาระ) ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาโท วิศวกรรมอุตสาหการ Stanford University, USA ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน University of California at Los Angeles, สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี วิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2555 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ชัชวาลย์-รอยัล แฮสโคนิง่ จ�ำกัด 2553 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั ทิสโก้ไฟแนนเชียลกรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) 2553 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั ธนาคารทิสโก้ จ�ำกัด (มหาชน) 2553 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ดีไซน์ 103 อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด การเข้าอบรม กับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 11/2001) • The Role of Chairman 2000 Program (RCP 3/2001) • Audit Committee Program (ACP 43/2012) • Anti-Corruption for Executive Program (ACEP 2/2012) การอบรมอืน่ ๆ • หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท. รุน่ ที่ 10) • หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน. รุน่ ที่ 5) ต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนอืน่ : • ประธานกรรมการ บริษทั ทิสโก้ไฟแนนเชียลกรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษทั ธนาคารทิสโก้ จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งอืน่ ๆ • กรรมการ บริษทั ชัชวาลย์-รอยัล แฮสโคนิง่ จ�ำกัด • กรรมการ บริษทั ดีไซน์ 103 อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ : ไม่มี
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
นายโรเบิร์ต สแตร์ กัทธรี อายุ 70 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล กรรมการตรวจสอบ วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ ครัง้ แรก 28 พฤษภาคม 2555 28 เมษายน 2558 (เป็นการต่อวาระ) ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา University of Cape Town, แอฟริกาใต้ ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2555 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2551 - 2555 กรรมการบริหาร บริษทั ลันตา แลนด์ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด การเข้าอบรม กับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) : • Audit Committee Program (ACP 43/2013) • Director Accreditation Program (DAP 101/2013) • Director Certification Program (DCP 182/2013) การอบรมอืน่ ๆ • Executive Management Program, The Aspen Institute, สหรัฐอเมริกา ต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนอืน่ : ไม่มี ต�ำแหน่งอืน่ ๆ : ไม่มี สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ : ไม่มี
6
นายวิลเลียม ลูอีส สโตน
7
อายุ 58 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการ ประธานคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ ครัง้ แรก 25 เมษายน 2551 25 เมษายน 2556 (เป็นการต่อวาระ) 26 เมษายน 2559 (เป็นการต่อวาระ) ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมเคมี University of California, Santa Barbara, สหรัฐอเมริกา ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2551 - ปัจจุบนั กรรมการ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2557- ปัจจุบนั กรรมการ GS Caltex, เกาหลีใต้ การเข้าอบรม กับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) : • Directors Accreditation Program (DAP 72/2008) • Director Certificate Program (DCP 123/2009) • Financial Statement for Director (FSD 2/2010) ต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนอืน่ : ไม่มี ต�ำแหน่งอืน่ ๆ : • กรรมการ GS Caltex Corporation, เกาหลีใต้ สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.002 (80,000 หุน้ ) การมีสว่ นได้เสียในบริษทั : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ : ไม่มี
41
รายชื่อคณะกรรมการที่ลาออก หรือครบวาระในปี 2559 ชื่อ-สกุล 1
2
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี
ต�ำแหน่ง
วันที่มีผลบังคับ
กรรมการ กรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล
ลาออกจากการด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 10 สิงหาคม 2559
กรรมการ กรรมการทรัพยากรบุคคล
ลาออกจากการด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 10 สิงหาคม 2559
รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของกรรมการของบริษัทฯ ในปี 2559 (รวมคู่สมรส และ บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) 31 ธันวาคม 2558
31 ธันวาคม 2559
จ�ำนวนหุ้นที่ เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น (ลดลง)
นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์
3
3
-
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
นายปลิว มังกรกนก
-
-
-
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
นายมนูญ ศิริวรรณ
-
-
-
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
นายโรเบิร์ต สแตร์ กัทธรี
-
-
-
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท1
-
-
-
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
นางเค็ง ลิง ล๊ก2
-
-
-
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
40,000
80,000
40,000
-
-
-
ชื่อ-สกุล 1
2
3
4
5
6 7
นายวิลเลียม ลูอีส สโตน คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
42
จ�ำนวนหุ้นที่ถือ
1
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการของบริษัทฯ และเป็นสมาชิกของคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล มีผลวันที่ 12 สิงหาคม 2559
2
นางเค็ง ลิง ล๊ก ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการของบริษัทฯ และเป็นสมาชิกของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล มีผลวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของคณะกรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2559 ชื่อ-สกุล 1
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์3
จ�ำนวนหุ้นที่ถือ / เปลี่ยนแปลง 31 ธันวาคม 2558
31 ธันวาคม 2559
จ�ำนวนหุ้นที่ เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น (ลดลง)
-
-
-
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีร4ี
-
-
-
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ ลาออกจากการเป็นกรรมการของบริษัทฯ และสมาชิกของคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล มีผลวันที่ 10 สิงหาคม 2559
4
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี ลาออกจากการเป็นกรรมการของบริษัทฯ และสมาชิกของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล มีผลวันที่ 10 สิงหาคม 2559
คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา ก�ำหนด ค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล และ คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล
เพือ่ พิจารณา ให้คำ� ปรึกษา และค�ำแนะน�ำ แก่คณะกรรมการบริษทั ฯ ในแต่ละเรือ่ ง เป็นการเฉพาะ เพือ่ ให้การด�ำเนินการธุรกิจของบริษทั ฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การด�ำรงต�ำแหน่งในคณะกรรมการชุดย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
ชื่อ-สกุล
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
กรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล
กรรมการทรัพยากร บุคคล
(3 ท่าน)
(4 ท่าน)
(3 ท่าน)
-
-
-
1
นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์
2
นายปลิว มังกรกนก1
ประธาน
-
กรรมการ
3
นายมนูญ ศิริวรรณ 1
กรรมการ
กรรมการ
-
4
นายโรเบิร์ต สแตร์ กัทธรี 1
กรรมการ
ประธาน
-
5
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท 2
-
กรรมการ
-
6
นางเค็ง ลิง ล๊ก 3
-
-
กรรมการ
7
นายวิลเลียม ลูอีส สโตน
-
กรรมการ
ประธาน
1
นายปลิว มังกรกนก นายมนูญ ศิริวรรณ นายโรเบิร์ต สแตร์ กัทธรี เป็นกรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติของกรรมการอิสระครบถ้วน ตามข้อก�ำหนด ของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ กฎบัตรของบริษัท
2
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการของบริษัทฯ และเป็นสมาชิกของคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล มีผลวันที่ 12 สิงหาคม 2559
3
นางเค็ง ลิง ล๊ก ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการของบริษัทฯ และเป็นสมาชิกของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล มีผลวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559
43
คณะกรรมการตรวจสอบ 1.นายปลิว มังกรกนก
ประธาน
2. นายมนูญ ศิริวรรณ
กรรมการ
3. นายโรเบิร์ต สแตร์ กัทธรี
กรรมการ
3
1
2
นายปลิว มังกรกนก เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้ และประสบการณ์ที่จะสามารถสอบทาน ความน่าเชื่อถือ ของงบการเงินของบริษัทฯ
คณะกรรมการสรรหา กำ�หนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล 1. นายโรเบิร์ต สแตร์ กัทธรี
ประธาน
2. นายมนูญ ศิริวรรณ
กรรมการ
3. นายวิลเลียม ลูอีส สโตน
กรรมการ
4. นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท
กรรมการ
4
44
3
1 2
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล 1. นายวิลเลียม ลูอีส สโตน
ประธาน
2. นายปลิว มังกรกนก
กรรมการ
3. นางเค็ง ลิง ล๊ก
กรรมการ
1 3 2
ค่าตอบแทนกรรมการ ข้อบังคับ ของบริษัทฯ ก�ำหนดให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการ โดยกรรมการมีสิทธิ์ได้รับค่าตอบแทนจาก บริษัทฯ ในรูปของค่าตอบแทนรายเดือน เบี้ยประชุม บ�ำเหน็จ โบนัส หรือผลประโยชน์ตอบแทนในลักษณะอื่นตามข้อบังคับหรือตามที่ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะพิจารณาอนุมัติ ซึ่งอาจก�ำหนดเป็นจ�ำนวนแน่นอนหรือวางเป็นหลักเกณฑ์เพื่อใช้เป็นคราวๆ ก็ได้ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2559 ได้มีมติอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ เป็นรายเดือน และค่าเบี้ยประชุมส�ำหรับ การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯและคณะกรรมการชุดย่อย และไม่มีเงินโบนัส
ค่าตอบแทนกรรมการ ส�ำหรับปี 2559 ค่าตอบแทนรายเดือน (บาท/เดือน)
เบี้ยประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ (เฉพาะกรรมการที่เข้าร่วมประชุม)
ประธานกรรมการบริษัทฯ
150,000
25,000
รองประธานกรรมการบริษัทฯ
140,000
20,000
กรรมการ
120,000
20,000
ต�ำแหน่ง
45
ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจสอบ ส�ำหรับปี 2559 Position
เบี้ยประชุมคณะกรรมการชุดย่อย (เฉพาะสมาชิกที่เข้าร่วมประชุม) (บาท/ครั้ง)
ประธานคณะกรรมการชุดย่อย
40,000
สมาชิกคณะกรรมการชุดย่อย
30,000
ค่าตอบแทนคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล ส�ำหรับปี 2559 ต�ำแหน่ง
เบี้ยประชุมคณะกรรมการชุดย่อย (เฉพาะสมาชิกที่เข้าร่วมประชุม) (บาท/ครั้ง)
ประธานคณะกรรมการชุดย่อย
40,000
สมาชิกคณะกรรมการชุดย่อย
30,000
ค่าตอบแทนคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ส�ำหรับปี 2559 ต�ำแหน่ง ประธานคณะกรรมการชุดย่อย
40,000
สมาชิกคณะกรรมการชุดย่อย
30,000
สรุปค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ส�ำหรับปี 2559 รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 12,059,839 บาท ประกอบด้วยค่าตอบแทนรายเดือน รวมเป็นเงิน ทัง้ สิน้ 10,234,839 บาท และค่าเบีย้ ประชุมเฉพาะกรรมการทีเ่ ข้าร่วม ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,825,000 บาท ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มิได้เสนอเงินโบนัส เงินรางวัล หรือสวัสดิการอืน่ ใด เช่น รถประจ�ำต�ำแหน่ง สมาชิกสโมสร ให้กับกรรมการ แต่อย่างไร ก็ตาม กรรมการสามารถเบิกค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากการมาเข้า ร่วมประชุมของบริษัทฯ ได้ โดยสามารถเบิกได้เฉพาะค่าใช้จ่ายที่ เกิดขึน้ จริงตามหลักเกณฑ์เดียวกันกับ ระเบียบการเบิกค่าใช้จา่ ยของ พนักงานบริษัทฯ พร้อมกับแนบหลักฐานใบเสร็จรับเงิน
46
เบี้ยประชุมคณะกรรมการชุดย่อย (เฉพาะสมาชิกที่เข้าร่วมประชุม) (บาท/ครั้ง)
ค่าตอบแทนทัง้ หมดนีไ้ ด้จา่ ยให้แก่กรรมการรวมทัง้ หมด 9 ท่าน ซึ่งรวมถึงกรรมการที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการเป็นเวลา 12 เดือน ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559 กรรมการที่ครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง หรือลาออกระหว่างปี และกรรมการทีไ่ ด้รบั เลือกตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง กรรมการในช่วงระหว่างปี ค่าตอบแทนกรรมการดังกล่าวเป็นไปตาม มติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2559 ค่าตอบแทนกรรมการ ถูกก�ำหนดโดยพิจารณาตามความเหมาะสม หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของกรรมการ รวมทั้งสภาวการณ์ของธุรกิจ และมีการเปรียบเทียบ อั ต ราค่ า ตอบแทนกั บ องค์ ก รที่ อ ยู ่ ใ นอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น และ มีขนาดธุรกิจใกล้เคียงกัน
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ค่าตอบแทนกรรมการ ที่กรรมการแต่ละท่านได้รับ ในปี 2559 เบี้ยประชุม ค่าตอบแทน ทั้งหมด ที่กรรมการ แต่ละท่านได้รับ ในปี 2559
1,800,000
125,000
-
-
-
1,925,000
2
นายปลิว มังกรกนก
1,600,000
100,000
160,000
-
120,000
1,980,000
3
นายมนูญ ศิริวรรณ
1,440,000
100,000
120,000
90,000
-
1,750,000
4
นายโรเบิร์ต สแตร์ กัทธรี
1,440,000
100,000
120,000
120,000
-
1,780,000
5
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท 1
557,419
20,000
-
30,000
-
607,419
6
นางเค็ง ลิง ล๊ก 2
200,000
0
-
-
0
200,000
7
นายวิลเลียม ลูอีส สโตน
1,440,000
100,000
-
90,000
160,000
1,790,000
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคล
นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์
คณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล
1
คณะกรรมการ บริษัท
ชื่อ-สกุล
ค่าตอบแทน รายเดือน ที่ ได้รับ ทั้งหมด 12 เดือน
กรรมการที่ลาออกในปี 2558
1 2
8
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ 3
878,710
60,000
-
30,000
-
968,710
9
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรา มากีรี 4
878,710
60,000
-
-
120,000
1,058,710
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการของบริษัทฯ และเป็นสมาชิกของคณะกรรมการสรรหา กำ�หนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล มีผลวันที่ 12 สิงหาคม 2559 นางเค็ง ลิง ล๊ก ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการของบริษัทฯ และเป็นสมาชิกของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล มีผลวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559
3
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ ลาออกจากการเป็นกรรมการของบริษัทฯ และสมาชิกของคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล มีผลวันที่ 10 สิงหาคม 2559
4
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี ลาออกจากการเป็นกรรมการของบริษัทฯ และสมาชิกของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล มีผลวันที่ 10 สิงหาคม 2559
อย่างไรก็ตาม นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์, นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท (ได้รับการแต่งตั้งในปี 2559), นางเค็ง ลิง ล๊ก (ได้รับการแต่งตั้งในปี 2559), นายวิลเลียม ลูอีส สโตน, นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ (ลาออกในปี 2559), และ นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี (ลาออกในปี 2559) ซึ่งเป็นกรรมการที่เป็นตัวแทนจาก เชฟรอน สละสิทธิรับเงินค่าตอบแทนกรรมการ ทั้งค่าตอบแทนราย
เดือนและค่าเบี้ยประชุมจากบริษัทฯ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 6,549,839 บาท แบ่งเป็นค่าตอบแทนรายเดือน จ�ำนวน 5,754,839 บาท และค่า เบี้ยประชุม จ�ำนวน 795,000 บาท ทั้งนี้ ค่าตอบแทนในส่วนนี้ไม่อยู่ ภายใต้สญ ั ญาการจัดหาบุคลากรไปปฏิบตั งิ านชัว่ คราว (Personnel Secondment Agreement) ระหว่างบริษัทฯ กับเชฟรอน
47
เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่ในการพิจารณาและแต่งตั้ง เลขานุการบริษัท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2556 เมือ่ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2556 คณะกรรมการได้พจิ ารณาคุณสมบัติ และแต่งตั้งนางสาวณัฏฐ์วรรณ ข�ำวิวรรธน์ ให้ท�ำหน้าที่เลขานุการ บริษัท เลขานุการบริษทั มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการดูแล และให้คำ� แนะน�ำ แก่คณะกรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหาร ในด้าน กฎหมายและกฎเกณฑ์ ต่างๆ ที่คณะกรรมการต้องทราบและปฏิบัติ รวมถึงการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ขี องบริษทั และต้องรับผิดชอบ การจัดประชุมคณะกรรมการ บริษทั ฯ การประชุมผูถ้ อื หุน้ ติดตามและประสานงานให้มกี ารปฏิบตั ิ ตามมติคณะกรรมการบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น อีกทั้งการจัดท�ำและ รักษาเอกสารส�ำคัญของบริษัทฯ เช่น ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัด ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รายงาน การประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และเก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือ ผู้บริหาร และด�ำเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาด ทุนประกาศก�ำหนด รวมถึงมีหน้าที่อื่น ๆซึ่งเป็นหน้าที่ตามปกติ ของเลขานุการบริษัท นอกจากนี้ เลขานุ ก ารบริ ษั ท ยั ง มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ เป็ น เลขานุการส�ำหรับคณะกรรมการตรวจสอบ และเลขานุการส�ำหรับ คณะกรรมการสรรหาก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล ด้วย
เจ้าหน้าที่ก�ำกับดูแลองค์กร ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ จัดให้มี คู่มือจรรยาบรรณใน การประกอบธุรกิจ (Business Conduct) ตั้งแต่ปี 2553 บริษัทฯ ได้แต่งตั้ง เจ้าหน้าที่ก�ำกับดูแลองค์กร (Corporate Compliance Officer) ให้เป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลการด�ำเนินธุรกิจ ให้สอดคล้อง และเป็นไปตามนโยบายการก�ำกับดูแลตามที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือ จรรยาบรรณของบริษัทฯ นางสาวณัฏฐ์วรรณ ข�ำวิวรรธน์ ได้รับการ แต่งตั้งให้ท�ำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่ก�ำกับดูแลองค์กร ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2558 เจ้ า หน้ า ที่ ก� ำ กั บ ดู แ ลองค์ ก ร มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบและดู แ ล ให้ มี ก ารบั ง คั บ ใช้ ม าตรฐานต่ า งๆ เป็ น ไปตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นคู ่ มื อ จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ รวมไปถึงการบังคับใช้บทลงโทษ ทางวินัยต่อบุคลากรที่ไม่ปฎิบัติตามมาตรฐานตามที่ก�ำหนดไว้ใน คูม่ อื จรรยาบรรณ บริษทั ฯ สนับสนุนให้พนักงานรายงานพฤติกรรม ที่น่าสงสัยว่าละเมิดต่อนโยบายของบริษัทฯ หรือสงสัยว่าอาจมีการ กระท�ำความผิดทางอาญา ที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทฯ หรือบุคลากร ของบริษทั ฯ โดยให้รายงานต่อเจ้าหน้าทีก่ ำ� กับดูแลองค์กร เจ้าหน้าที่ ก�ำกับดูแลองค์กรเป็น ผู้รับผิดชอบในการจัดการและตรวจสอบ ข้อร้องเรียนดังกล่าว โดยต้องด�ำเนินการอย่างเหมาะสม และรักษา แหล่งที่มาของรายงานเป็นความลับ
48
นางสาวณัฏฐ์วรรณ ข�ำวิวรรธน์ อายุ 36 ปี ต�ำแหน่งปัจจุบัน ผูจ้ ดั การฝ่ายกฎหมาย, เลขานุการบริษทั และ เจ้าหน้าทีก่ ำ� กับดูแลองค์กร ประวัติการศึกษา ปริญญาโท กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ American University, Washington College of Law, USA ปริญญาโท กฎหมายธุรกิจ (ภาคภาษาอังกฤษ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรี นิตศิ าสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เนติบณ ั ฑิต เนติบณ ั ฑิตยสภา ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปีที่ผ่านมา 2558 – ปัจจุบนั เจ้าหน้าทีก่ ำ� กับดูแลองค์กร 2556 – ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายกฎหมาย และ เลขานุการบริษทั ฯ 2552 – 2556 เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยกฎหมาย ประวัติการเข้าอบรมเกี่ยวเลขานุการบริษัท และการก�ำกับดูแล • Company Secretary Program (CSP 39/2011) • Board Reporting Program (BRP 5/2011) • Effective Minute Taking (EMT 22/2012) • Anti-Courruption: The Practice Guide (ACPG 28/2016)
ผู้ตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ มี ห น้ า ที่ ใ นการพิ จ ารณาและแต่ ง ตั้ ง ผู้ตรวจสอบภายใน ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 4/2555 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2555 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาคุณสมบัติ และได้แต่งตั้งนางสุขุมาล ตนพิทักษ์ เป็น ผู้ตรวจสอบภายในของบริษทฯ ผู้ตรวจสอบภายในมีบทบาท และหน้าที่รับผิดชอบในการให้ความ เชือ่ มัน่ และค�ำปรึกษาในเรือ่ งกระบวนการควบคุมภายใน ผูต้ รวจสอบ ภายในต้องท�ำหน้าที่อย่างเป็นอิสระในการประเมินความเพียงพอ ความมีประสิทธภาพและประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน โดยใช้มาตรฐานของผู้มีวิชาชีพและให้ค�ำแนะน�ำด้วยแนวทาง ใหม่ๆ ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้ทบทวนหน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบภายในตามที่ระบุไว้ในกฎบัตร การตรวจสอบภายใน และได้พจิ ารณาปรับปรุงให้ผตู้ รวจสอบภายใน มีหน้าที่ในการตรวจสอบเกี่ยวกับการด�ำเนินการร่วมกันเกี่ยวกับ ทุจริตและคอร์รัปชั่น เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษทั ฯ ในการเข้าร่วมประกาศเจตนารมย์เพือ่ มาตรการต่อต้าน การคอร์รัปชั่นในองค์กร
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
เป็ น บริ ษั ท มหาชนในปี 2555 ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครัง้ ที่ 2ก/2555 เมือ่ วันที่ 20 มถิ นุ ายน 2555 ได้แต่งตัง้ นายวิลเลียม ลูอีส สโตน ให้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง
นางสุขุมาล ตนพิทักษ์ อายุ 47 ปี ต�ำแหน่งปัจจุบัน ผูต้ รวจสอบภายใน ประวัติการศึกษา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Maryville University of St. Louis, Missouri, USA. ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปีที่ผ่านมา 2546 – ปัจจุบนั ผูต้ รวจสอบภายใน ประวัติการเข้าอบรมเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน • International Conference – The Institute of Internal Auditors • หลักสูตรประกาศนียบัตรผูต้ รวจสอบภายในของประเทศไทย • กระดาษท�ำการ ส�ำหรับการได้รบั ใบรับรอง จากโครงการแนวร่วม ปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (CAC) • การควบคุมภายใน
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้มีอ�ำนาจแต่งตั้งหรือถอดถอน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัทฯ เพื่อท�ำหน้าที่ในการบริหาร จัดการกิจการของบริษทั ฯ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ ทั้ ง นี้ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ โดยมติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ บริษัทฯครั้งที่ 2ก/2555 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2555 ได้แต่งตั้งนาย วิลเลียมลูอีส สโตน เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัทฯ พร้อมก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่โดยมอบอ�ำนาจให้ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารมีอ�ำนาจและหน้าที่ในการบริหาร การจัดการ และ การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ รวมถึงการเข้าท�ำสัญญาและข้อผูกพัน ที่มีความจ�ำเป็นหรือเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ โดยมีอ�ำนาจในการ เข้ า ท� ำ ธุ ร กรรมต่ า ง ๆ ในนามของบริ ษั ท ฯ ได้ ใ นวงเงิ น ไม่ เ กิ น 200 ล้านบาท และมีอ�ำนาจในการเข้าท�ำธุรกรรมหรือข้อผูกพันที่มี มูลค่าเกินกว่า200 ล้านบาทได้ ส�ำหรับข้อตกลงการซื้อ ขาย และ แลกเปลี่ยนในปัจจุบันและอนาคต น�้ำมันดิบ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ ขัน้ กลางและผลิตภัณฑ์สำ� เร็จรูป ทีม่ ขี อ้ ผูกพันระยะเวลาไม่เกิน 12 เดือน คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู ้ มี อ� ำ นาจและมี ห น้ า ที่ ใ นการ พิจารณาแต่งตัง้ หรือถอดถอนประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารของบริษทั ฯ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มีหน้าที่ในการบริหารจัดการกิจการ ของบริ ษั ท ฯ ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ นายวิลเลียม ลูอสี สโตน เป็นประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร ครั้งแรกในปี 2551 และเมื่อบริษัทฯ แปรสภาพ
ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารได้ รั บ มอบหมายให้ มี อ� ำ นาจใน การบริหาร จัดการ และด�ำเนินธุรกิจ ตามธุรกิจปกติของบริษัทฯ ให้มีอ�ำนาจในการตัดสินใจ หรือกระท�ำการใดที่อยู่ภายใต้ขอบเขต อ�ำนาจที่ได้รับมอบหมาย รวมถึงการเข้าท�ำธุรกรรมต่าง ๆ หรือ การเข้าท�ำภาระผูกพันใดๆที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารมี อ� ำ นาจในการด� ำ เนิ น การท� ำ ธุรกรรมต่างๆ ในนามของ บริษทั ฯ ได้ในวงเงินไม่เกิน 200 ล้านบาท ธุ ร กรรมที่ มี มู ล ค่ า เกิ น กว่ า 200 ล้ า นบาท ต้ อ งขออนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการบริษัท อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ ส� ำ หรั บ สั ญ ญาหรื อ ภาระผู ก พั น ที่ เ กี่ ย วกั บ ข้ อ ตกลงการซื้ อ ขาย และแลกเปลี่ยนในปัจจุบันและอนาคต เกี่ยวกับน�้ำมันดิบ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ขั้นกลางและผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป ให้ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร มีอ�ำนาจเข้าท�ำธุรกรรมดังกล่าวได้ แม้มีมูลค่าเกินกว่า 200 ล้ า นบาท แต่ ร ะยะเวลาความผู ก พั น ของสั ญ ญาดั ง กล่ า ว ต้องไม่เกิน 12 เดือน ส�ำหรับการท�ำธุรกรรมรายการที่เกี่ยวโยง ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารมีอ�ำนาจในการเข้าท�ำธุรกรรมรายการที่เกี่ยวโยง ได้ใน วงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท การท�ำธุรกรรมรายการที่เกี่ยวโยงที่มี มูลค่ามากกว่า 10 ล้านบาท ให้เสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ พิจารณาและท�ำความเห็น เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาอนุมัติเป็นล�ำดับไป และส�ำหรับรายการที่เกี่ยวโยง ส�ำหรับธุรกรรมการซื้อขาย และแลกเปลี่ยนในปัจจุบันและอนาคต เกี่ ย วกั บ น�้ ำ มั น ดิ บ วั ต ถุ ดิ บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ขั้ น กลางและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส�ำเร็จรูป ประธานเจ้าหน้าที่บริหารมีอ�ำนาจในการเข้าท�ำธุรกรรม รายการทีเ่ กีย่ วโยงดังกล่าวได้ แต่ระยะเวลาความผูกพันของสัญญา ดังกล่าว ต้องไม่เกิน 12 เดือน.
คณะผู้บริหาร คณะผูบ้ ริหารประกอบด้วยผูบ้ ริหารทัง้ หมด 14 ท่าน คณะผูบ้ ริหาร ท� ำ หน้ า ที่ ใ นการรั บ ผิ ด ชอบการด� ำ เนิ น งานตามแผนกกลยุ ท ธ์ วั ต ถุ ป ระสงค์ และแผนงานทางธุ ร กิ จ ตามที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการบริษัทฯ และการบริหารจัดการ การด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ โดยผู้บริหารทุกท่านได้ใช้ความรู้ ความสามารถ และ ความเชีย่ วชาญในเรือ่ งต่าง ๆ ในหลากหลายสาขา เพือ่ น�ำพาบริษทั ฯ สู่การ “สร้างมาตรฐาน” ให้กับธุรกิจการกลั่นน�้ำมัน
49
คณะผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีดังต่อไปนี้ รายชื่อ
50
ต�ำแหน่ง
1. นายวิลเลียม ลูอีส สโตน
กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
2. นายสตีเว่น ลีวิส กิ๊บสัน
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายปฏิบัติการ
3. นายวิชัย ชุณหสมบูรณ์
ผู้จัดการฝ่ายการเงินและการคลัง
4. นายศักดิ์ชัย ธรรมสุรักษ์
ผู้จัดการฝ่ายจัดหาและวางแผนธุรกิจ
5. นายจิระศักดิ์ มหาสุคนธ์
ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล
6. นายพงษ์กรณ์ ช่อชูวงศ์
ผู้จัดการฝ่ายบริหารทรัพย์สิน
7. นายณรงค์ ไตรโยธี
ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ-การกลั่นน�้ำมัน
8. นายพอล แอนดรู รัชเวิทธ์
ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ-การจัดส่งน�้ำมัน
9. นายโรเจอร์ อัลเบิร์ด เฟรดเดอริค บาร์ทเล็ท
ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของอุปกรณ์
10. นายเอกสิทธิ์ รัมภกาภรณ์
ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยีและวิศวกรรม
11. นางสาวณัฏฐ์วรรณ ข�ำวิวรรธน์
ผู้จัดการฝ่ายกฎหมาย เลขานุการบริษัท และเจ้าหน้าที่ก�ำกับดูแลองค์กร
12. นางพรทิพย์ วีระพันธุ์
ผู้จัดการฝ่ายกิจการสัมพันธ์
13. นายกฤษฎา ชัยกุล
ผู้จัดการฝ่ายบริหารระบบความปลอดภัย
14. นางอังคณา ปัญญาโอภาส
ผูจ้ ดั การฝ่ายคุณภาพสิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและห้องปฏิบตั กิ าร
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
นายวิลเลียม ลูอีส สโตน
นายสตีเว่น ลีวิส กิ๊บสัน
อายุ 58 ปี ต�ำแหน่ง : กรรมการ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 25 เมษายน 2551 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมเคมี University of California, Santa Barbara, USA ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2551 - ปัจจุบนั กรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบนั กรรมการ GS Caltex Corporation, South Korea สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.002 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
อายุ 53 ปี ต�ำแหน่ง : รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายปฏิบตั กิ าร วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 17 มิถนุ ายน 2556 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมเคมี University of Sydney, Australia ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2556 - ปัจจุบนั รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายปฏิบตั กิ าร บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2552 - 2556 ผูจ้ ดั การฝ่ายบริหารทรัพย์สนิ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
51
52
นายวิชัย ชุณหสมบูรณ์
นายศักดิ์ชัย ธรรมสุรักษ์
อายุ 59 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายการเงินและการคลัง วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 21 เมษายน 2552 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาตรี บัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2552 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายการเงินและการคลัง บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
อายุ 49 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายจัดหาและวางแผนธุรกิจ วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 1 มีนาคม 2552 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์เคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2552 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายจัดหาและวางแผนธุรกิจ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.008 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
นายจิระศักดิ์ มหาสุคนธ์
นายพงษ์กรณ์ ช่อชูวงศ์
อายุ 54 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายทรัพยากรบุคคล วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 15 มีนาคม 2554 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปริญญาตรี นิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2554 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.006 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
อายุ 47 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายบริหารทรัพย์สนิ วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 1 มิถนุ ายน 2557 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2557 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายบริหารทรัพย์สนิ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2552 - 2557 ผูจ้ ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ าร-การกลัน่ น�ำ้ มัน บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.008 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
53
54
นายณรงค์ ไตรโยธี
นายพอล แอนดรู รัชเวิทธ์
อายุ 46 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ าร-การกลัน่ น�ำ้ มัน วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 1 มิถนุ ายน 2557 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมเคมี Curtin University of Technology, Australia ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2557 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ าร-การกลัน่ น�ำ้ มัน บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2552 - 2557 ผูจ้ ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ าร-การจัดส่งน�ำ้ มัน บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.012 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
อายุ 47 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ าร-การจัดส่งน�ำ้ มัน วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 1 มิถนุ ายน 2557 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (Technology Management) Jointly the Association of Professional Engineers, Scientists and Managers Australia (APESMA) and Deakin University, Australia ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สาขาการออกแบบวิศวกรรม Loughborough University of Technology, UK ปริญญาตรี วิศวกรรมเครือ่ งกล Manchester Polytechnic, UK ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2557 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ าร-การจัดส่งน�ำ้ มัน บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - 2557 ผูจ้ ดั การโครงการซ่อมบ�ำรุงใหญ่ (Event Project) บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2551 - 2555 หัวหน้าฝ่ายซ่อมบ�ำรุงโรงกลัน่ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.006 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
นายโรเจอร์ อัลเบิร์ด เฟรดเดอริค นายเอกสิทธิ์ รัมภกาภรณ์ อายุ 47 ปี บาร์ทเล็ท อายุ 68 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายตรวจสอบความถูกต้อง และความเชือ่ ถือได้ของอุปกรณ์ วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 1 กุมภาพันธ์ 2552 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาเอก Environmental fracture of steels Manchester Institute of Science and Technology, UK ปริญญาโท Science Metallurgy Manchester Institute of Science and Technology, UK ปริญญาตรี Science Metallurgy Manchester Institute of Science and Technology, UK ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2552 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายตรวจสอบความถูกต้องและ ความเชือ่ ถือได้ของอุปกรณ์ โรงกลัน่ น�ำ้ มัน บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.006 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายเทคโนโลยีและวิศวกรรม วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 1 พฤษภาคม 2558 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท วิทยาศาสตร์ สาขา Computer Engineering Management มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2558 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายเทคโนโลยีและวิศวกรรม บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2554 - 2558 ผูจ้ ดั การส่วนวางแผนธุรกิจ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.005 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
55
56
นางสาวณัฏฐ์วรรณ ข�ำวิวรรธน์
นางพรทิพย์ วีระพันธุ์
อายุ 36 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายกฎหมาย เลขานุการบริษทั และ เจ้าหน้าทีก่ ำ� กับดูแลองค์กร วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 27 พฤศจิกายน 2556 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ American University, Washington College of Law, USA ปริญญาโท กฎหมายธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรี นิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เนติบณ ั ฑิต เนติบณ ั ฑิตยสภา ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2558 - ปัจจุบนั เจ้าหน้าทีก่ ำ� กับดูแลองค์กร บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายกฎหมาย, เลขานุการบริษทั บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2552 - 2556 เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยกฎหมาย บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.005 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
อายุ 51 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายกิจการสัมพันธ์ วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 1 มิถนุ ายน 2557 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2557 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายกิจการสัมพันธ์ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2551 - 2557 ผูจ้ ดั การฝ่ายจัดซือ้ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.004 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
นายกฤษฎา ชัยกุล
นางอังคณา ปัญญาโอภาส
อายุ 55 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายบริหารระบบความปลอดภัย วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 1 กรกฎาคม 2557 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท วิทยาศาสตร์ สาขา Industry and Technology with Specialization in Safety College of Engineering and Engineering Technology, Northern Illinois University, USA ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2557 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายบริหารระบบความปลอดภัย บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2552 - 2557 ผูจ้ ดั การฝ่ายคุณภาพ สิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและห้องปฏิบตั กิ าร บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.005 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
อายุ 47 ปี ต�ำแหน่ง : ผูจ้ ดั การฝ่ายคุณภาพสิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและห้องปฏิบตั กิ าร วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 1 กรกฎาคม 2557 คุณวุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปีทผี่ า่ นมา 2557 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ายคุณภาพ สิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและห้องปฏิบตั กิ าร บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - 2557 ผูจ้ ดั การส่วนธุรกิจโครงการและซ่อมบ�ำรุง บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) 2552 – 2555 หัวหน้าส่วนปรับปรุงตรวจสอบความถูกต้องและ ความเชือ่ ถือได้ของอุปกรณ์ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : ร้อยละ 0.005 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ : ไม่มี
57
รายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ของผูบ้ ริหาร (รวมคูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ) จ�ำนวนหุ้นที่ถือ 31 ธันวาคม 2558
31 ธันวาคม 2559
จ�ำนวนหุ้นที่เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น (ลดลง)
40,000
80,000
40,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
267,100
267,100
-
78,500
78,500
-
267,100
267,100
-
-
-
-
347,300
347,300
-
-
-
-
347,300
347,300
-
167,600
167,600
-
267,100
267,100
-
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
นายโรเจอร์ อัลเบิร์ด เฟรดเดอริค บาร์ทเล็ท
267,100
267,100
-
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
205,500
205,500
-
-
-
-
205,500
205,500
-
-
-
-
167,600
167,600
-
-
-
-
205,500
205,500
-
-
-
-
248,400
225,500
(22,900)
-
-
-
ชื่อ-สกุล 1
นายวิลเลียม ลูอีส สโตน คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
2
นายสตีเว่น ลีวิส กิ๊บสัน คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
3
นายวิชัย ชุณหสมบูรณ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
4
นายศักดิ์ชัย ธรรมสุรักษ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
5
นายจิระศักดิ์ มหาสุคนธ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
6
นายพงษ์กรณ์ ช่อชูวงศ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
7
นายณรงค์ ไตรโยธี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
8 9
นายพอล แอนดรู รัชเวิทธ์
10 นายเอกสิทธิ์ รัมภกาภรณ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 11 นางสาวณัฏฐ์วรรณ ข�ำวิวรรธน์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 12 นางพรทิพย์ วีระพันธุ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 13 นายกฤษฎา ชัยกุล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 14 นางอังคณา ปัญญาโอภาส คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
58
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
การบริหารทรัพยากรบุคคล
ค่าตอบแทนผูบ้ ริหารและพนักงาน
เพือ่ ให้วสิ ยั ทัศน์ของบริษทั ฯ ประสบความส�ำเร็จตามทีต่ งั้ ไว้เรา ได้วางระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล กลยุทธ์ และแผนการปฏิบตั ิ งานให้มีทิศทางที่สอดคล้องกันเพื่อท�ำให้วิสัยทัศน์ของเราประสบ ความส�ำเร็จ เพื่อดึงดูด สร้างแรงบันดาลใจ ความผูกพันและรักษา พนักงานของเราไว้ ภายใต้บรรยากาศการท�ำงานอย่างมีความสุข พร้อมกันนีบ้ ริษทั ฯ ยังได้จดั การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลกรด้วยการ มอบหมายงานที่มีความท้าทายเพื่อที่จะเพิ่มโอกาสในการประสบ ความส�ำเร็จในหน้าที่การงานตามที่ได้ต้ังเป้าหมายไว้นอกจากนี้ บริษัทฯยังได้มีการจัดให้มีระบบการบริหารค่าจ้าง ค่าตอบแทนผล ประโยชน์ที่ยุติธรรมและมีความสามารถในการแข่งขันกับตลาดได้ ตลอดเวลา เพื่อที่จะจูงใจและรักษาพนักงานที่มีความสามารถสูง ให้อยู่กับบริษัทฯ
ค่าตอบแทนผู้บริหาร
เรามีความเชื่อมั่นว่ากลยุทธ์ ระบบการบริหารจัดการแผนการ ปฏิบัติงาน การฝึกอบรมและพัฒนา ตลอดจนระบบค่าตอบแทน และสวัสดิการ พร้อมด้วยวัฒนธรรมองค์กร “ครอบครัวเดียวกัน” และค่านิยมหลัก (Core Value) ของบริษัทฯ นั้น สามารถที่จะสร้าง แรงจูงใจ และรักษาพนักงานของเราให้รว่ มกันสร้างความส�ำเร็จและ บรรลุตามแผนงานที่ตั้งไว้ให้กับบริษัทฯได้อย่างยั่งยืน
ค่าตอบแทนที่จ่ายให้พนักงาน
บริษัทสตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) มีเป้าหมาย เชิงกลยุทธ์ทจี่ ะสร้างมาตรฐานในการเป็นองค์กรในฝัน ซึง่ ถือว่าเป็น ปัจจัยหลักปัจจัยหนึ่งที่จะขับเคลื่อนให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้า หมายในด้านความเป็นเลิศในการด�ำเนินงาน และด้านผลตอบแทน ให้แก่ผู้ถือหุ้น วิสัยทัศน์ของเราคือการท�ำให้พนักงานท�ำงานอย่าง มีความสุขและมีสุขภาพที่ดี พนักงานได้ปฏิบัติงานในต�ำแหน่งที่ เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ ท�ำให้เกิดความภาคภูมิใจที่ ได้มีส่วนร่วมในการสร้างความส�ำเร็จ เป็นส่วนหนึ่งขององค์กรที่มี ผลการด�ำเนินงานอันยอดเยีย่ ม ภายใต้วฒ ั นธรรมครอบครัวเดียวกัน
จำ�นวนพนักงาน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีพนักงาน 455 คน ซึ่งจ�ำนวน นีร้ วมถึง พนักงานตามสัญญาจ้าง (direct hire) และพนักงานปฏิบตั งิ าน ชั่วคราว (Secondees) จากเชฟรอนด้วย
จ�ำนวนพนักงาน (คน) ฝ่ายปฏิบัติการ – การกลั่นน�้ำมัน 125 ฝ่ายปฏิบัติการ – การจัดส่งน�้ำมัน 85 ฝ่ายบริหารทรัพย์สิน 60 ฝ่ายเทคโนโลยีและวิศวกรรม 49 ฝ่ายคุณภาพสิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และห้องปฏิบตั กิ าร 40 ความปลอดภัย 22 ฝ่ายตรวจสอบความถูกต้องและความเชื่อถือได้ ของอุปกรณ์ 25 ฝ่ายอื่น ๆ 49 รวม 455
บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ว่ า พนั ก งานและผู ้ บ ริ ห ารเป็ น ทรั พ ยากร ที่ส�ำคัญที่สุดในการสร้างความส�ำเร็จให้กับองค์กร วัฒนธรรม ครอบครัวเดียวกัน ปลูกฝังให้พนักงานและผู้บริหารมีความห่วงใย และเคารพซึ่งกันและกัน ดังนั้นบริษัทฯ จึงมีนโยบายในการสร้าง แรงจูงใจ และรักษาพนักงานที่มีผลการปฎิบัติงานที่ดีเลิศให้เติบโต ไปพร้อมกับองค์กร ด้วยการให้คา่ ตอบแทน และสวัสดิการ ทีเ่ ป็นธรรม น่าสนใจ และมีความทัดเทียมกับบริษทั อืน่ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ในประเทศไทย.
ค่าตอบแทนของผู้บริหาร ประกอบไปด้วย เงินเดือน โบนัส เงินสะสมกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ สวัสดิการ โดยค่าตอบแทนรวม ของผู้บริหารในปี 2559 เป็นเงินจ�ำนวน 165.5 ล้านบาท และ ค่ า ตอบแทนส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารที่ บ ริ ษั ท ฯ จ่ า ยให้ แ ก่ เ ชฟรอน ตามสัญญาการจัดส่งบุคลากรไปปฏิบัติงานชั่วคราว (Personnel Secondment Agreement) แล้ว ทั้งนี้ ผู้บริหารได้รับค่าตอบแทน และสวัสดิการต่าง ๆ เช่นเดียวกับพนักงานดังทีไ่ ด้กล่าวต่อไปนีด้ ว้ ย
ค่าตอบแทนพนักงาน ในปี 2559 ค่าตอบแทนรวมของพนักงานและผู้บริหารซึ่ง ประกอบด้วยเงินเดือน โบนัส ค่าท�ำงานล่วงเวลา เงินสะสมกองทุน ส�ำรองเลี้ยงชีพ และ สวัสดิการ เป็นเงินจ�ำนวน 1,160.6 ล้านบาท ในการปรับขึ้นเงินเดือนประจ�ำปีของพนักงานแต่ละคนนั้น บริษัทฯ พิ จ ารณาจากผลการปฏิ บั ติ ง านของแต่ ล ะบุ ค คล ประกอบกั บ ภาพรวมการแข่งขันในตลาดแรงงาน
ค่าตอบแทนและสวัสดิการอื่น สวัสดิการอื่น ๆ ที่บริษัทฯ ให้แก่พนักงาน ได้แก่ เงินช่วยเหลือ ค่ า ที่ พั ก อาศั ย เงิ น ช่ ว ยเหลื อ ดอกเบี้ ย การกู ้ ซื้ อ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย และ ยานพาหนะ การลาหยุดพักผ่อนประจ�ำปี การลาเพื่อคลอดบุตร ของพนักงานหญิง การลาเพือ่ เลีย้ งดูบตุ รของพนักงานชาย การลากิจ ต่ า ง ๆ การประกั น ภั ย กลุ ่ ม เนื่ อ งจากการเสี ย ชี วิ ต และพิ ก าร แผนประกันสุขภาพ นอกจากนีเ้ รายังจัดให้มสี วัสดิการแบบยืดหยุน่ (Flexible Benefit) ซึ่งพนักงานสามารถที่จะเลือกใช้สวัสดิการ ให้เหมาะสมกับความต้องการของตนเองหรือครอบครัวได้อีกด้วย ส�ำหรับพนักงานที่เกษียณอายุ นอกจากจะได้ผลประโยชน์ ตอบแทนการเกษี ย ณอายุ ต ามกฎหมายแรงงานไทยแล้ ว เพื่ อ เป็ น การขอบคุ ณ พนั ก งานที่ ร ่ ว มท� ำ งานกั บ บริ ษั ท ฯจนกระทั่ ง เกษียณอายุการท�ำงาน บริษัทฯ ยังได้มอบทองค�ำให้เป็นของขวัญ แก่ พ นั ก งานที่ เ กษี ย ณอายุ ด ้ ว ย บริ ษั ท ฯ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยส� ำ หรั บ ผลประโยชน์ตอบแทนการเกษียณอายุเป็นเงินจ�ำนวน 67.9 ล้านบาท ในปี 2559
59
กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ
การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร
บริษัทฯ ได้จัดให้มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับพนักงาน ซึง่ กองทุนฯ ได้จดทะเบียนเป็นนิตบิ คุ คล ตามพระราชบัญญัตกิ องทุน ส�ำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยพนักงานที่เป็นสมาชิกกองทุนฯ นั้นสามารถเลือกสะสมเงินเป็นจ�ำนวนร้อยละ 3 ถึงร้อยละ 15 ของเงินเดือนของตนเข้ากองทุนฯ และบริษัทฯ จะสบทบเงินเข้า กองทุนฯ ส่วนนายจ้างในอัตราร้อยละ 3 ถึง ร้อยละ 15 ของเงินเดือน พนักงาน ตามอายุงานของพนักงานแต่ละคน ตามที่ก�ำหนดไว้ใน ข้อบังคับกองทุนฯ บริษทั ฯ ได้สมทบเงินเข้ากองทุนฯ เป็นเงินจ�ำนวน ทั้งสิ้น 47.8 ล้านบาทในปี 2559
บริ ษั ท ฯ เชื่ อ ว่ า ความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ท ธิ ผ ล และ ความส�ำเร็จขององค์กรนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก ๆ อันได้แก่ ทักษะ ความรู้ ความสามารถ และความมุ่งมั่นตั้งใจในการท�ำงานของ สมาชิ ก ครอบครั ว SPRC ทุ ก คน ดั ง นั้ น เราจึ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ เป็นอย่างมากกับการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร
หุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ออกและเสนอขายให้แก่ผู้บริหาร และพนักงาน
บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ก ารฝึ ก อบรมและการพั ฒ นาบุ ค คลากร ในรู ป แบบที่ ห ลากหลาย เพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ทั้ ง ในระยะสั้ น และ ระยะยาว ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล โดยทุกคนจะได้รับโอกาสเข้าร่วมการฝึกอบรมและการพัฒนา บุคลากรในด้านต่างๆดังต่อไปนี้ • การเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง ซึ่งรวมไปถึงโอกาส ในการฝึกปฏิบัติงานในต่างประเทศ
ตามที่บริษัทฯได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ให้บริษัทฯ เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ให้แก่ ผูบ้ ริหาร (แต่ไม่รวมผูบ้ ริหารช่วยปฏิบตั งิ านชัว่ คราว (Management Secondees) บางราย) และพนักงานของบริษัทฯตามโครงการ ESOP เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 35,728,800 หุ้น ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมให้ ผูบ้ ริหารและพนักงานมีสว่ นร่วมในการเป็นเจ้าของบริษทั ฯ และสร้าง ความภาคภูมิใจ รวมทั้งความผูกพันกับองค์กรมากขึ้น
• การฝึกอบรมส�ำหรับการสร้างเสริมคุณวุฒิทางวิชาชีพ ทั้งการฝึกอบรมกับหน่วยงานภายนอก และการฝึกอบรม ที่บริษัทฯ จัดท�ำหลักสูตรขึ้นเอง
หลั ง จากวั น ที่ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ ได้ ท� ำ การซื้ อ ขายในตลาด หลักทรัพย์ฯ ผู้บริหารและพนักงานสามารถขายหุ้นของตนได้ใน ตลาดหลักทรัพย์ เมื่อครบก�ำหนดระยะเวลา 12 เดือน โดยขายได้ สูงสุดเเป็นจ�ำนวน 25% ของหุ้น ESOP ทั้งหมดที่ตนครอบครอง ซึ่งก็คือตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม 2559 เป็นต้นไป
• การจัดอบรมเรื่องการด�ำเนินธุรกิจที่ถูกต้อง
• โครงการพัฒนาศักยภาพความเป็นผู้น�ำ • โครงการพัฒนาศักยภาพรายบุคคล • การแบ่งปันองค์ความรู้ • โครงการพี่เลี้ยงและการประเมินผลการปฏิบัติงานจาก ผู้บังคับบัญชาตามสายงาน • การมอบหมายงานโครงการพิเศษ • Joint Venture Chevron Technical University (JV CTU): หลักสูตรที่เปิดโอกาสให้วิศวกรรุ่นใหม่ของ โรงกลั่ น น�้ ำ มั น ในเครื อ ของเชฟรอน ได้ เ รี ย นรู ้ ใ นด้ า น ต่างๆทางวิศวกรรมและเทคนิค ซึ่งด�ำเนินการฝึกอบรม โดยวิศวกรที่มีประสบการณ์ของบริษัทในเครือเชฟรอน จากทั่วโลก
60
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
การกำ�กับดูแลกิจการ
คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ท�ำคูม่ อื จรรยาบรรณของบริษทั ฯ ขึน้ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจ คูม่ อื จรรยาบรรณได้กำ� หนด แนวทางส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจ โดยยึดมั่นและให้ความส�ำคัญ กับการด�ำเนินธุรกิจด้วยความซือ่ สัตย์ เป็นธรรม และโปร่งใส รวมถึง การปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้อง
• คู่มือจรรยาบรรณของบริษัทฯ ส�ำหรับหัวหน้างาน
ผู ้ บ ริ ห ารและคณะกรรมการได้ ท บทวนคู ่ มื อ จรรยาบรรณ อย่างสม�่ำเสมอ คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ต้องปฏิบัติตามคู่มือจรรยาบรรณตลอดเวลา และส�ำหรับพนักงาน ที่เข้าใหม่ จะได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับคู่มือจรรยาบรรณก่อนจะ เริ่มการท�ำงานเสมอ
• การแยกแยะและให้ความส�ำคัญกับข้อมูล (Information classification) การจัดการและดูแลข้อมูลที่เป็นความลับ (Confidential information) และข้อมูลส่วนบุคคล (Data Privacy)
บริษัทฯ ได้จัดอบรมเกี่ยวกับคู่มือจรรยาบรรณให้กับพนักงาน ที่เข้าใหม่ในปี 2559 ทั้งหมด 13 คน รวมทั้งหมด 8 ครั้ง และ นอกจากนั้ น ได้ มี ก ารจั ด อบรมเพื่ อ ทบทวนในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ คู่มือจรรยาบรรณ ให้กับพนักงานทุกคน ทั้งหมด 12 ครั้ง ในเดือน สิงหาคม เพื่อสื่อสารและย�้ำให้พนักงานได้เห็นถึงความส�ำคัญ และยึดมั่นปฏิบัติตามคู่มือจรรยาบรรณของบริษัทฯ บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารจั ด สั ม มนาและสื่ อ สารในเรื่ อ งดั ง ต่ อ ไปนี้ โดยละเอียด ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง
• นโยบายการซื้อขายของคนวงใน (Insider Trading Policy) • นโยบายการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ต่ อ สาธารณชน (Public Disclosure Policy)
• การต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต และ การประกาศเจตนารมณ์ ในโครงการแนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้านทุจริต (Anti-Corruption program and CAC) • ข้ อ ปฏิ บั ติ แ ละรายจ่ า ยต้ อ งห้ า ม ที่ เ กี่ ย วกั บ พนั ก งาน เจ้าหน้าที่ • กระบวนการประมูลที่โปร่งใสและเป็นธรรม คู่มือจรรยาบรรณของบริษัทฯ ก�ำหนดแนวปฏิบัติ ดังนี้ • ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ โดยปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ข้ อ บั ง คั บ และ กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด รวมทั้งให้ความร่วมมือ กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
61
• ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงความส�ำคัญของการปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย และการแข่งขันทางธุรกิจที่เป็นธรรม • ด�ำเนินธุรกิจและการลงทุน โดยยึดหลักจริยธรรม โปร่งใส ปฏิบัติตามพันธสัญญาที่ได้ตกลงกันไว้และมีการแบ่งปัน ผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม • เคารพต่ อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน โดยมี น โยบายส่ ง เสริ ม และ คุ้มครองสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ ตลอดจนปฏิบัติต่อกัน อย่างเสมอภาคซึ่งเป็นรากฐานของการบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล การประกอบธุรกิจของบริษัทฯ เป็นไป ตามเจตนารมณ์ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แห่ ง สหประชาชาติ (the United Nations Universal Declaration of Human Rights) ทัง้ นี้ บริษทั ฯไม่เลือกปฏิบตั ิ ต่อบุคคลต่างเชื้อชาติ ศาสนา เพศ อายุ หรือผู้พิการ • หลีกเลี่ยงการกระท�ำหรือการตัดสินใจการด�ำเนินงานใดๆ ที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • การพิจารณาเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยง (related party transaction) ต้องพิจารณาบนหลักเงื่อนไขที่คล้ายคลึงกัน หากบริ ษั ท ฯ เข้ า ท� ำ สั ญ ญาอย่ า งเดี ย วกั น นั้ น กั บ ผู ้ อื่ น (arm's length basis) และต้องเป็นการเข้าท�ำธุรกรรม โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ • ปฏิ บั ติ ต ามมาตรการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอรั ป ชั่ น ตาม กฎหมายของประเทศไทย และกฎหมายของประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า เช่ น Foreign Corrupt Practice Act อาทิ เ ช่ น ห้ า มให้ ห รื อ รั บ ว่ า จะให้ เ งิ น หรื อ สิ่ ง ของมี ค ่ า แก่ พ นั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ โดยมุ ่ ง หวั ง เพื่ อ จะให้ มี อิ ท ธิ พ ล ต่อการตัดสินใจ หรือเพื่อจูงใจโน้มน้าวพนักงานเจ้าหน้าที่ ในการกระท�ำหรือการตัดสินใจใดๆ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ จั ด ท� ำ นโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ล กิจการ ซึ่งมีการก�ำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติสอดคล้อง ตามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การตามที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย (ต.ล.ท.) และคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ก�ำหนด นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ถูกจัดท�ำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ จะด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความเป็ น ธรรม และ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย โดยปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน และโปร่งใส เพื่อเป้าหมายในการ พัฒนาบริษัทฯอย่างยั่งยืน คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ทุกคนต้องปฏิบัติตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ประกอบด้วย • สิทธิของผู้ถือหุ้น • การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน • บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย • การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส • ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
62
สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ค�ำนึงถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นทุกราย โดยผู้ถือหุ้นทุกราย มี สิ ท ธิ ใ นการซื้ อ ขายหรื อ โอนหุ ้ น อย่ า งเป็ น อิ ส ระ มี สิ ท ธิ ใ นการ เข้าร่วมประชุม และใช้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ในการ จัดประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง บริษัทฯ จะจัดการประชุมโดยค�ำนึงถึง สิทธิของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ในปี 2559 บริษัทฯ มีการจัดประชุมผู้ถือหุ้น 2 ครั้ง คือ การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2559 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 ซึ่งผู้ถือหุ้นได้พิจารณา ลงคะแนนเสียงและอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการ พิจารณาอนุมัติ ค่าตอบแทนกรรมการ การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและค่าสอบบัญชี รวมถึงการประกาศจ่ายเงินปันผล และการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2559 ซึ่งผู้ถือหุ้นได้พิจารณา ลงคะแนนเสียงและอนุมัติการแก้ไขข้อบังคับ การแก้ไขหนังสือ บริคณห์สนธิ และอนุมัติการลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ การจัดการประชุมผู้ถือหุ้นทั้ง 2 ครั้งดังกล่าว บริษัทฯ ได้ปฏิบัติ ตามข้อบังคับของบริษัทฯ และตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการ จั ด ป ร ะ ชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ร ว ม ถึ ง เ ป ็ น ไ ป แ น ว ป ฏิ บั ติ ที่ ดี ต า ม หลักบรรษัทภิบาล ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถพิจารณาวาระการประชุมในแต่ละ วาระ และสามารถตัดสินใจใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในแต่ละ วาระได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัทฯได้จัดท�ำหนังสือนัดประชุม ที่ประกอบด้วยข้อมูล รายละเอียด และเหตุผลประกอบในแต่ละ วาระ เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้ถือหุ้นได้พิจารณา โดยหนังสือนัดประชุม ได้จัดส่งให้กับผู้ถือหุ้นทุกรายล่วงหน้า และประกาศลงบนเว็ปไซต์ ของบริษัทฯ และนอกจากนั้น บริษัทฯ ได้จัดให้มีช่องทางส�ำหรับ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ให้ ส ามารถส่ ง ค� ำ ถามที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ วาระการประชุ ม เป็นการล่วงหน้าก่อนมีการประชุมได้ โดยส่งค�ำถามไปที่เลขานุการ บริษัท ที่อีเมล์ CompanySecretary@sprc.co.th หนังสือนัดประชุมผุถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ • วัน เวลา สถานที่ และแผนที่ของสถานที่จัดประชุม »» เพื่อเป็นการส่งเสริม ให้ผู้ถือหุ้นเข้าร่วมการประชุม ผู้ถือหุ้น บริษัทฯได้ก�ำหนด วัน เวลา และสถานที่ ทีเ่ หมาะสม ในการจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ มีนโยบาย ในการเลื อ กสถานที่ จั ด ประชุ ม โดยค� ำ นึ ง ถึ ง เรื่ อ ง ความปลอดภัยและความสะดวกเป็นหลัก โดยสถานที่ จั ด ประชุ ม จะต้ อ งเป็ น อาคารสถานที่ ที่ มี ม าตรฐาน ความปลอดภัยสูง สามารถเดินทางได้สะดวก เช่น อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟฟ้าหรือ รถไฟใต้ดิน มีที่จอดรถ อย่ า งเพี ย งพอ และมี ข นาดห้ อ งประชุ ม ที่ เ หมาะสม สามารถรองรับผู้ถือหุ้นที่มาเข้าร่วมประชุมได้ • ในระเบี ย บการประชุ ม มี ก ารก� ำ หนดรายละเอี ย ดและ ระบุ ถึ ง เอกสารที่ ต ้ อ งน� ำ เพื่ อ ลงทะเบี ย นการเข้ า ประชุ ม ส�ำหรับผู้ถือหุ้นที่มาเข้าประชุมด้วยตนเอง และส�ำหรับ
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ ม อบฉั น ทะให้ ผู ้ อื่ น มาเข้ า ประชุ ม แทน มี ก าร ก�ำหนดให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ ลงคะแนนเสียงแทนผู้ถือหุ้นได้ »» กรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าประชุมได้ด้วยตนเอง ผู ้ ถือ หุ ้ น อาจมอบฉัน ทะให้ก รรมการอิสระ หรือผู้อื่น เข้าประชุมแทนได้ โดยส่งแบบฟอร์มหนังสือมอบฉันทะ ตามที่บริษัทฯ ได้แนบไปกับหนังสือเชิญประชุม • ระเบียบวาระการประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นพิจารณา พร้อมทั้ง รายละเอียดและเหตุผลประกอบการพิจารณาในแต่ละวาระ รวมถึงความเห็นของคณะกรรมการบริษัท »» ในเรื่องเกี่ยวกับแต่งตั้งกรรมการ บริษัทฯ จัดให้มีข้อมูล เบื้องต้นของบุคคลที่เสนอเข้ารับการแต่งตั้ง ซึ่งรวมถึง การศึกษา ประสบการณ์ และการด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการ หรือบริษัทอื่น »» ในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนกรรมการ บริษัทฯ ได้ให้ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับองค์ประกอบ และจ� ำ นวนค่ า ตอบแทน ที่ เ สนอเพื่ อ ขออนุ มั ติ ต ่ อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น »» ในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การแต่ ง ตั้ ง ผู ้ ส อบบั ญ ชี แ ละก� ำ หนด จ�ำนวนเงินค่าสอบบัญชี บริษัทฯ ได้จัดให้ผู้ถือหุ้นได้รับ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ชื่ อ ผู ้ ส อบบั ญ ชี และชื่ อ ส� ำ นั ก งาน สอบบัญชี ค่าสอบบัญชี และจ�ำนวนปีที่ผู้สอบบัญชี ท�ำหน้าทีใ่ ห้บริษทั ฯ (ในกรณีทเี่ ป็นการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี คนเดิม) »» ในเรื่องเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ จะได้จัดให้ มีค�ำอธิบายโดยย่อเพื่อประกอบการตัดสินใจในเรื่อง การจ่ายเงินปันผลที่เสนอ »» ในเรื่องเกี่ยวกับการพิจารณาแก้ไขข้อบังคับ บริษัทฯ จะได้จดั ให้มคี ำ� อธิบายโดยย่อเพือ่ ประกอบการพิจารณา »» ในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การพิ จ ารณาการลดทุ น จดทะเบี ย น และการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิที่เกี่ยวกับการลด ทุ น จดทะเบี ย น บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ค� ำ อธิ บ ายโดยย่ อ เพื่อประกอบการพิจารณา รวมถึงเหตุผลในการเสนอ การลดทุนจดทะเบียน และผลกระทบทีอ่ าจมีตอ่ บริษทั ฯ และผู ้ ถื อ หุ ้ น อั น เนื่ อ งมาจากการลดทุ น จดทะเบี ย น ของบริษัทฯ ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มีปรึกษากฎหมายจาก บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จ�ำกัด มาตรวจสอบการลงทะเบียน และการนับคะแนนเสียงในที่ประชุม และประธานในที่ประชุม ได้ขอให้มีผู้ถือหุ้น 2 รายมาเป็นสักขีพยานในการนับคะแนนเสียง และได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้ซักถามและ แสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ โดยมีคณะกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
รายงานประจำ�ปี 2559
และผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ เข้ า ร่ ว มประชุ ม เพื่ อ ตอบข้ อ ซั ก ถาม และรับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากผู้ถือหุ้น เมื่อประชุมเสร็จ บริษัทฯ ได้จัดท�ำรายงานการประชุม โดยบันทึกรายงานการประชุม อย่างครบถ้วน รวมถึงสรุปค�ำถามที่ส�ำคัญ ค�ำอธิบายและค�ำชี้แจง ข้อคิดเห็นที่ส�ำคัญที่มีการเสนอในที่ประชุม บริษัทฯ ได้เผยแพร่มติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น และผลการลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระลงบน เว็บไซต์ของบริษทั ฯ ภายใน 1 วันหลังจากมีการประชุมผูถ้ อื หุน้ และ ได้เผยแพร่รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ลงบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ภายใน 14 วันหลังจากมีการประชุมผู้ถือหุ้น ส�ำหรับการเตรียมการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560 บริ ษั ท ฯ ได้ เ ปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น สามารถเสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ เข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท และเสนอเรื่อง เพื่ อ บรรจุ เ ป็ น วาระการประชุ ม ในการประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ได้ โดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนดและแจ้งรายละเอียดดังกล่าวเพื่อให้ผู้ถือหุ้น ทราบ ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2559
การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายให้บริษัทฯ ต้องด�ำเนินธุรกิจ ด้วยความโปร่งใส บริษัทฯ ต้องปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน และเคารพในสิทธิของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ต้องมีการให้โอกาสแก่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน เช่นในเรือ่ ง สิทธิการลงคะแนนเสียง สิทธิในการเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุมในการประชุม สามัญผู้ถือหุ้น สิทธิในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณา เลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท และสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ของบริษัทฯ หรือการรับข่าวสารจากบริษัทฯ ในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท เมื่ อ เดื อ นสิ ง หาคม คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาและก�ำหนดหลักเกณฑ์ส�ำหรับ ผู้ถือหุ้นที่ประสงค์จะเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุม และ ประสงค์จะเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็น กรรมการบริษัท ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560 คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้ผู้ถือหุ้นที่ประสงค์จะเสนอ เรื่องเพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุม และประสงค์จะเสนอชื่อบุคคล เพือ่ เข้ารับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ต้องมีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ 1.1 เป็นผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทฯ โดยเป็นผู้ถือหุ้นรายเดียว หรือหลายรายรวมกันก็ได้ 1.2 มีสดั ส่วนการถือหุน้ ขัน้ ต�ำ่ รวมกัน ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 1 ของ จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้ทั้งหมด (หรือไม่น้อยกว่า 43,359,022 หุ้น) และ 1.3 ถือหุ้นของบริษัทฯ ไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนที่ก�ำหนดต่อเนื่องมา อย่างน้อย 1 ปี ในวันทีเ่ สนอเรือ่ งเพือ่ บรรจุวาระการประชุม หรือวันที่ เสนอชื่อบุคคลเพื่อเป็นกรรมการบริษัท ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ ป ระสงค์ จ ะเสนอวาระการประชุ ม หรื อ เสนอชื่ อ บุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทจะต้อง ส่งข้อมูลและเอกสารตามหลักเกณฑ์ทบี่ ริษทั ฯ ก�ำหนด ซึง่ รายละเอียด และหลักเกณฑ์ดังกล่าว บริษัทฯ ได้เผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2559
63
ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษทั ได้จัดท�ำนโยบายการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน เพื่อให้มั่นใจ ถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทั น ต่ อ เวลา เท่ า เที ย มกัน และเป็น ไปตามแนวปฏิบัติที่ดี และ ระเบี ย บต่ า งๆ ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และ คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ • คณะกรรมการบริษัท แต่งตั้งให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และผู ้ จั ด การฝ่ า ยการเงิ น และการคลั ง เป็ น ผู ้ มี อ� ำ นาจ เปิ ด เผยข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ของบริ ษั ท ฯ ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยและสาธารณชน และให้ทำ� หน้าทีเ่ ป็น โฆษก ในการให้ข้อมูลของบริษัทฯ แก่สื่อมวลชน นักวิเคราะห์ และนักลงทุน • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร อาจมอบหมายให้ผู้บริหารคนอื่น เปิ ด เผยหรื อ แถลงข่ า วสารแทนตนได้ แต่ ก ารให้ ความเห็ น ใดๆ นั้ น ต้ อ งจ� ำ กั ด อยู ่ เ พี ย งในด้ า นที่ ผู ้ ไ ด้ รั บ มอบหมายมีความเชี่ยวชาญ • ห้ามมิให้เปิดเผยข้อมูลส�ำคัญต่อสาธารณชน จนกว่าจะ มีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • หลังจากทีไ่ ด้มกี ารเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญต่อตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยแล้ว ให้บริษัทฯ เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าว บนเว็บไซต์ของบริษัท (www.sprc.co.th) ซึ่งเป็นช่องทาง การสื่อสารของบริษัทฯ กับสาธารณชน ในด้ า นการก� ำ กั บ ดู แ ลการใช้ ข ้ อ มู ล ภายในนั้ น กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานผู้ที่ได้รับทราบข้อมูลส�ำคัญภายใน ซึ่งเป็น ข้อมูลส�ำคัญที่มิได้ที่เปิดเผยต่อสาธารณะ หรือได้รับทราบข้อมูล มาโดยการอาศัยต�ำแหน่งหน้าที่ในบริษัทฯ ห้ามบุคคลดังกล่าว ใช้ข้อมูลนั้นเพื่อเป็นการแสวงหาประโยชน์ส่วนบุคคลไม่ว่าจะ ส�ำหรับตนเอง หรือเพื่อผู้อื่น ทั้งนี้ รวมถึงการซื้อขายหลักทรัพย์ ของบริษัทฯ ในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนดมาตรการ ป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเพื่อหา ผลประโยชน์แก่ตนเองหรือ ผู้อื่นในทางมิชอบ โดยมีแนวปฏิบัติ ดังนี้ • กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ผู้สอบบัญชี ผู้รับเหมา หรือ ที่ปรึกษาของบริษัทฯ ที่ได้รับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล ภายในซึ่งเป็นข้อมูลส�ำคัญที่มิได้ที่เปิดเผยต่อสาธารณะ ไม่ ว ่ า จะได้ รั บ ข้ อ มู ล นั้ น มาโดยทางตรงหรื อ ทางอ้ อ ม ห้ามท�ำการดังต่อไปนี้ »» ห้ามท�ำการซื้อ ขาย หรือท�ำธุรกรรมใดๆ ที่เกี่ยวกับ หลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ไม่วา่ จะเพือ่ ประโยชน์ของตนเอง หรือเพื่อผู้อื่น »» ห้ามแนะน�ำให้ผอู้ นื่ ท�ำการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ »» ห้ามช่วยเหลือผูอ้ นื่ ในการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ »» ห้ามเปิดเผยข้อมูลภายในซึ่งเป็นข้อมูลส�ำคัญที่มิได้ ที่เปิดเผยต่อสาธารณะต่อผู้อื่นที่ไม่มีหน้าที่ หรือไม่ควร ที่จะรับทราบข้อมูลนั้น
64
• กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานผู้ที่ได้รับข้อมูลหรือผู้ที่ เกี่ยวข้องกับการท�ำรายงานทางการเงินของบริษัทฯ รวมถึง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว ห้ามท�ำการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วงตั้งแต่ วัน ถัดจากวันสิ้นงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงิน ประจ� ำ ปี จนกระทั่ ง ถึ ง 1 วั น (24 ชั่ ว โมง) หลั ง จากที่ บริษัทฯ ได้เปิดเผยงบการเงิน ดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย 24 ชั่วโมงหลังจาก ที่มีการเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารต่อตลท.
1 วันหลังจาก สิ้นรอบบัญชี ไตรมาส/ประจ�ำปี
วันสุดท้าย รอบบัญชี ไตรมาส/ประจ�ำปี 31 มีนาคม 30 มิถุนายน 30 กันยายน 31 ธันวาคม
วันประชุม คณะกรรมการ ภายใน 45 วัน นับแต่วันสิ้นไตรมาส หรือภายใน 60 วัน ส�ำหรับสิ้นรอบ บัญชีประจ�ำปี
วันเผยแพร่ งบการเงิน ต่อตลากหลักทรัพย์ ภายใน 9.00 น. ของวันถัดจาก วันประชุม คณะกรรมการ
• กรณีที่กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน รวมถึงคู่สมรส และบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว ที่ได้ รับข้อมูลภายในของบริษัทฯ ซึ่งข้อมูลนั้นอาจมีผลกระทบ ต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ห้ามบุคคลดังกล่าวท�ำการ ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ จนกว่าจะพ้น 24 ชั่วโมง นับแต่ได้มีการเปิดเผย ข้อมูลนั้นสู่สาธารณะทั้งหมดแล้ว • กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ต้องแจ้งต่อประธาน กรรมการ หรือ เลขานุการบริษัทฯ ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน ก่อนท�ำการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ • กรณี ที่ ก รรมการและผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ เลื อ กลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ฯมี น โยบายสนั บ สนุ น ให้ เ ป็ น การลงทุ น ในระยะยาว กรรมการและผู ้ บ ริ ห าร ของบริ ษั ท ฯ ควรหลี ก เลี่ ย งการลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ ของบริษัทฯ แบบเก็งก�ำไร หรือ การลงทุนระยะสั้น • กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ จะต้ อ งรายงาน การถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทฯ เมื่อได้รับการแต่งตั้ง ให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการหรื อ ผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ เป็นครั้งแรก (แบบ 59-1) โดยยื่นต่อ ก.ล.ต. ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ด�ำรงต�ำแหน่ง และรายงานการเปลี่ยนแปลง การถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทฯ เมื่อมีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ของบริษัท (แบบ 59-2) ภายใน 3 วัน ท�ำการ นับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลง • ให้คณะกรรมการตรวจสอบ ติดตามผลการปฏิบัติตาม มาตรการดั ง กล่ า ว โดยให้ มี ร ายงานการเปลี่ ย นแปลง การถือหลักทรัพย์ดังกล่าว ต่อที่ประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบทราบทุกครัง้ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง และให้เปิดเผย จ�ำนวนหุ้นที่ถือ ณ ต้นปี สิ้นปี และที่มีการซื้อขายระหว่างปี ของกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ไว้ในรายงานประจ�ำปี คู่มือจรรยาบรรณของบริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับ การจัดการความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของกรรมการ ผู้บริหาร
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
และ พนักงานของบริษทั ฯ ซึง่ คูม่ อื จรรยาบรรณก�ำหนดให้ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ หลีกเลี่ยงมิให้เกิดความขัดแย้ง ระหว่างผลประโยชน์สว่ นตัวกับผลประโยชน์ของบริษทั ฯ หรือความ ขัดแย้งในการท�ำหน้าที่ของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของ บริ ษั ท ฯ โดยความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ น้ี อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ได้ เมื่อบุคคลดังกล่าวกระท�ำการอย่างใดๆ หรือมีผลประโยชน์ส่วนตัว อันส่งผลกระทบเชิงลบต่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ ส่งผลกระทบ เชิ ง ลบต่ อ ชื่ อ เสี ย งของบริ ษั ท ฯ หรื อ ส่ ง ผลกระทบเชิ ง ลบต่ อ ความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทฯ กับผู้อื่น รวมถึงการกระท�ำที่ส่งผล ต่อการตัดสินใจในการปฏิบัติหน้าที่ โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ • กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงพนักงานบริษัทฯ ต้องรายงาน การมีส่วนได้เสียเมื่อได้รับการแต่งตั้ง หรือ ได้เข้าท�ำงาน กับบริษัทฯ และต้องรายงานทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลการมีส่วนได้เสีย • บริษัทฯ มีการเปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นที่ชัดเจน เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นมั่นใจในโครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ • ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท หากกรรมการท่านใด มีส่วนได้เสียในเรื่องที่ก�ำลังมีการพิจารณา กรรมการที่มี ส่วนได้เสียท่านนั้นจะต้องไม่มีส่วนร่วมในการพิจารณา ตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งนั้ น โดยอาจไม่ ร ่ ว มพิ จ ารณา หรื อ งด ออกเสียงในเรือ่ งนัน้ ๆ เพือ่ ให้การตัดสินใจของคณะกรรมการ บริษัทฯ เป็นไปอย่างยุติธรรม โปร่งใส เพื่อประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้นอย่างแท้จริง • ส�ำหรับการพิจารณารายการที่เกี่ยวโยง (related party transaction) คณะกรรมการตรวจสอบจะท�ำการพิจารณา เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า รายการที่ เ กี่ ย วโยงนั้ น ได้ พิ จ ารณาบน หลักเงื่อนไขที่คล้ายคลึงกัน หากบริษัทฯ เข้าท�ำสัญญา อย่างเดียวกันนั้นกับผู้อื่น (arm's length basis) และ ต้องเป็นการเข้าท�ำธุรกรรมโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุด ของบริษัทฯ
บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะสร้างความเป็นธรรมแก่ผมู้ สี ว่ นได้เสีย ทุกฝ่าย โดยก�ำหนดเป็นนโยบายต่อผู้มีส่วนได้เสียไว้ในนโยบาย บรรษัทภิบาล ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน ชุมชนที่บริษัทฯ ตั้งอยู่ ผู้บริโภค ตลอดจนคู่ค้าของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการระบุหลักการที่เป็นเสมือนแนวปฎิบัติ ส�ำหรับกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานไว้ในคู่มือจริยธรรม ธุรกิจ (สามารถดาวน์โหลดได้จาก www.sprc.co.th) โดยหลักการ ดังกล่าว อยู่บนพื้นฐานของความเป็นธรรมและความสมดุลในการ ประสานประโยชน์รว่ มกันของทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ นีพ้ นักงานทุกคน ของบริษัทฯ ต้องปฏิบัติตามแนวปฎิบัติที่ก�ำหนดไว้อย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ เพื่อให้ความมั่นใจว่าผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มได้รับการคุ้มครอง สิทธิและได้รับการปฏิบัติด้วยดี
รายงานประจำ�ปี 2559
ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์ บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ในฐานะเจ้ า ของ บริ ษั ท ฯ กรรมการบริ ษั ท ผู ้ บ ริ ห าร รวมถึ ง พนั ก งานจึ ง มี ห น้ า ที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามนโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และคู ่ มื อ จรรยาบรรณของบริษัทเพื่อให้ผู้ถือหุ้นเชื่อมั่นว่าบริษัทฯ ได้ด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ตามหลั ก ธรรมาภิ บ าลเพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด อย่ า งสู ง สุ ด และยั่งยืนแก่ผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มีการเปิดเผยผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ และบริษัทฯ ยังได้จัดกิจกรรมต่างๆ เช่นการประชุม นักวิเคราะห์เผื่อเปิดเผยผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ การพบปะ นั ก ลงทุ น รายไตรมาสในกิ จ กรรมบริ ษั ท จดทะเบี ย นพบผู ้ ล งทุ น ที่จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ลูกค้า บริษัทฯ มีนโยบายที่จะสร้างและรักษาลูกค้าไว้ โดยการ พัฒนาการผลิตและจ�ำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพ มีกระบวนการผลิต และการจัดจ�ำหน่ายที่มีประสิทธิภาพ ที่เชื่อถือได้เพื่อสร้างความ เชื่อมั่นให้กับลูกค้า ในแต่ละไตรมาส บริษัทได้ส�ำรวจและวัดระดับ ความพึงพอใจของลูกค้า ทั้งยังสอบถามความคิดเห็นและข้อเสนอ แนะ เพือ่ น�ำมาจัดท�ำแผนปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงานและ ความสัมพันธ์ให้ดีมากยิ่งขึ้น บริษัทฯ มีการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลายเพื่อสร้าง ความพึงพอให้กับลูกค้าอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ • โครงการ “จากน�ำ้ มันดิบไปสูล่ กู ค้า (Crude to Customer) คือการประสานงานกันระหว่างหน่วยงานเพือ่ จัดการห่วงโซ่ อุปทานตั้งแต่การเลือกใช้น�้ำมันดิบจนถึงการจัดจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ไปสูล่ กู ค้า เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวมี คุณภาพตามมาตรฐาน และส่งมอบได้ตรงเวลาตามข้อตกลง • ความคิดเห็นจากลูกค้า ความคิดเห็นจากลูกค้าเป็นส่วน หนึ่งของการปรับปรุงการด�ำเนินงานที่มีมาอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ ได้สอบถามความคิดเห็นจากลูกค้าเป็นประจ�ำ ทั้งรายเดือน และรายไตรมาส ผ่านทางการประชุมประจ�ำ เดือน และการท�ำแบบสอบถามความคิดเห็นรายไตรมาส • กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ในทุกๆปี บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมเพื่อสร้างสัมพันธ์ไมตรีกับลูกค้า บริษัทฯ ยังได้ใช้โอกาสนี้ในการขอบคุณลูกค้าที่ช่วยกันท�ำงานจน ประสบความส�ำเร็จ และเพื่อกระชับความสัมพันธ์อันดี ซึ่งถือได้ว่าเป็นช่วงเวลาที่น่าจดจ�ำ บริษัทฯ ได้รับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่มีประโยชน์จาก การส�ำรวจและวัดระดับความพึงพอใจ การจัดประชุม และกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ซึ่งความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ดังกล่าวถือเป็นสิ่งส�ำคัญ ที่บริษัทฯ น�ำมาใช้ในการพัฒนาและ ปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงานให้ดีมากยิ่งขึ้น
ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ในส่วนของการปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ บริษทั ฯ มี น โยบายและมาตรการด� ำ เนิ น การที่ เ ป็ น รู ป ธรรมในการดู แ ล และปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ ดังนี้
65
เจ้าหนี้ บริษัทฯยึดถือแนวทางการปฏิบัติที่เป็นธรรมตามเงื่อนไข และ รับผิดชอบต่อเจ้าหนี้บริษัทฯปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ด้วยความรับผิดชอบ เป็นธรรมยึดถือการปฏิบตั ทิ ดี่ ตี ามแนวทางเงือ่ นไขข้อก�ำหนดสัญญา และพันธะทางการเงินอย่างเคร่งครัด
พนักงาน บริ ษั ท ฯ มี ค วามเชื่ อ ว่ า บุ ค ลากร เป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน บริษทั ฯ จึงใส่ใจต่อคุณภาพชีวติ ของพนักงาน และผู้รับเหมาทุกคน บริษัทฯ เคารพสิทธิมนุษยชนของพนักงาน และผู ้ รั บ เหมา จึ ง ด� ำ เนิ น งานโดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ของ พนักงานและผูร้ บั เหมาทุกคนอย่างสูงสุด และจัดให้มสี ภาพแวดล้อม ในการท�ำงานทีด่ ี ในวันแรกของการเข้ามาท�ำงานทีบ่ ริษทั ฯ พนักงาน และผู้รับเหมาทุกคนต้องรับ การอบรมในเรื่องความปลอดภัย และ เรียนรูว้ ฒ ั นธรรมความปลอดภัยขององค์กร พนักงานและผูร้ บั เหมา ทุกคนมีอ�ำนาจที่จะบอกให้หยุด การกระท�ำ ที่เห็นว่ามีความเสี่ยง จะก่อให้เกิดอันตราย หรืออาจเกิดความไม่ปลอดภัยในการท�ำงาน ซึง่ เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมการท�ำงานทีด่ ี ทีใ่ ห้ทกุ คนได้ตระหนัก และเห็นคุณค่าในการสร้างความปลอดภัยในการท�ำงาน ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของบริษทั ฯ ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐาน ของความเป็นธรรม รวมถึงมีข้อก�ำหนดและเงื่อนไขการจ้างที่ดี เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การพั ฒ นา การใช้ ศั ก ยภาพในการท� ำ งาน ให้เต็ม ขีดความสามารถและโอกาสการจ้างงานที่เท่าเทียมกัน ตลอดจนเพื่อกระตุ้นให้พนักงานมีส่วนร่วมในการวางแผนงาน และการจั ด การ และปฏิ บั ติ ต ามหลั ก ปฎิ บั ติ ภ ายในบริ ษั ท ฯ โดยตระหนักว่า ความส�ำเร็จทางธุรกิจนั้นขึ้น อยู่กับพนักงานทุกคน บริษัทฯ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรให้มีความก้าวหน้าด้วย บริษทั ฯ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรให้มคี วามก้าวหน้าด้วยการ จัดการอบรมและเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงตามความต้องการ และความเหมาะสมของบุคลากรแต่ละคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการท�ำงาน และสร้างโอกาสในความเจริญก้าวหน้าในสายอาชีพ โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. บริษัทฯ ให้คุณค่าแก่ความแตกต่างและความสามารถ ของพนักงานแต่ละคน โดยจัดให้มีสภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่ ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานสามารถมี ส ่ ว นร่ ว มกั บ ความส� ำ เร็ จ ของ บริษัทฯ ได้อย่างเต็มที่ 2. บริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายที่ ห ้ า มการปฏิ บั ติ อ ย่ า ง ไม่เท่าเทียม โดยให้พนักงานแต่ละคนมีโอกาสอย่างเท่าเทียม ในความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ในองค์ ก ร และไม่ ป ฏิ บั ติ ต ่ อ พนั ก งาน โดยผิดกฎหมาย ทั้งนี้ นโยบายของบริษัทฯ คือ การไม่เลือกปฏิบัติ ต่อพนักงานบนพื้นฐานของความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา ผิวพรรณ ถิ่นก�ำเนิด อายุ เพศ ความพิการสถานะการรับราชการ ทหาร ความแตกต่างของแนวคิดทางการเมือง ความหลากหลาย ทางเพศและข้อมูลทางพันธุกรรม
66
บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายเรื่องการจ้างงานผู้พิการ โดยส่ ง เงิ น เข้ า กองทุ น ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ผู ้ พิ ก าร โดยบริษัทฯ เห็นว่าเป็นการส่งเสริมความเสมอภาคให้กลุ่มผู้พิการ ดังกล่าว 3. บริ ษั ท ฯ มี ห ลั ก การจ่ า ยค่ า ตอบแทนแก่ พ นั ก งาน โดยพิจารณาถึงการปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละราย เพื่อส่งเสริม การแข่งขันและการพัฒนาความสามารถของพนักงานของบริษัทฯ 4. บริ ษั ท ฯ มี น โยบายห้ า มการใช้ ค วามรุ น แรงและการ คุกคามทางเพศในสถานที่ท�ำงาน 5. บริ ษั ท ฯ จั ด การอบรมความรู ้ แ ละความสามารถให้ กั บ พนักงานตามความเหมาะสมของการปฏิบัติงาน ตามแผนการ พัฒนาทักษะความรูค้ วามสามารถประจ�ำปีของพนักงานรายบุคคล 6. บริษัทฯ มุ่งเน้นการจัดระเบียบสภาพแวดล้อมการท�ำงาน เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงาน และจัดระบบการให้บริการ ด้านโรงอาหารทีถ่ กู สุขลักษณะ จัดห้องน�ำ้ สะอาด จัดบริการรถรับส่ง ทีม่ คี วามปลอดภัยเพียงพอ รวมทัง้ จัดห้องพยาบาลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ถูกต้องตามกฎหมาย 7. บริ ษั ท ฯ ด� ำ เนิ น การส� ำ หรั บ การว่ า จ้ า งพนั ก งานใหม่ การโอนย้ า ยสั บ เปลี่ ย นหน้ า ที่ รวมทั้ ง การก� ำ หนดค่ า ตอบแทน แก่ พ นั ก งานด้ ว ยความเป็ น ธรรม โดยค� ำ นึ ง ถึ ง คุ ณ สมบั ติ ความเหมาะสมของต�ำแหน่ง ลักษณะงาน และผลการปฏิบัติงาน เป็นส�ำคัญ 8. บริ ษั ท ฯ เปิ ด โอกาสให้ พ นั ก งานทุ ก ระดั บ ได้ มี ส ่ ว นร่ ว ม ในการซั ก ถามหรื อ แสดงความคิ ด เห็ น ทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม เพื่อน�ำไปสู่การแก้ปัญหาร่วมกัน โดยผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ เช่น หัวหน้างานโดยตรง ผู้บริหาร ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล และ เจ้าหน้าที่ก�ำกับดูแลองค์กร เป็นต้น อีกทั้ง บริษัทฯ จัดให้มี การท�ำแบบส�ำรวจความผูกพันความพึงพอใจของพนักงานภายใน องค์กรทุก 2 ปี เพื่อประมวลผลและน�ำค�ำแนะน�ำพัฒนาระบบ การบริหารทรัพยากรบุคคล กลยุทธ์ด้านบุคลากรของบริษัทฯ คือ การเป็นองค์กรในฝัน (Employer of Choice) บริษัทฯ เชื่อมั่นว่าความสามารถที่เป็นเลิศ ของพนักงานแต่ละคนและการที่พนักงานมีความสุขในการท�ำงาน จะมีส่วนในการเพิ่มความพึงพอใจให้กับพนักงาน และเป็นตัวหลัก ที่จะท�ำให้บริษัทฯ บรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ บริ ษั ท ฯ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารพั ฒ นาศั ก ยภาพส่ ว นบุ ค คล ทั้งในสายงานอาชีพ และในเรื่องศักยภาพทั่วๆ ไป เช่นหลักสูตร การเสริมสร้างการเป็นผู้น�ำ หลักการคิด วิเคราะห์ การแก้ปัญหา โดยการส่ ง พนั ก งานไปอบรมทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ รวมถึงการอบรมภายในองค์กร นอกจากนี้ยังส่งเสริมความสุข ในชีวิตและการท�ำงานผ่านโปรแกรม SPRC Happy Workplace ที่ ป ระกอบไปด้ ว ย ความสุ ข 8 แนวคิ ด จากส� ำ นั ก งานกองทุ น สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ ส.ส.ส (happy body, happy heart, happy society, happy relax, happy brain, happy soul, happy family and happy money) โดยการแนะน� ำ ให้ รู ้ จั ก ผ่ า นทางกิ จ กรรมต่ า งๆของบริ ษั ท ฯ เช่ น กิ จ กรรมนั น ทนาการ และงานกีฬาสัมพันธ์ , โครงการ “ท�ำดีหน้าตาดี” เป็นโครงการหนึ่ง ของความรับผิดชอบต่อสังคม, กิจกรรมวันทางการเงิน, โครงการ
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
การจัดการคลังความรู้ และการจัดการประชุมโครงการ Happy Life and Work, กิจกรรมวันครอบครัว, กิจกรรมวันเลี้ยงปีใหม่ ให้แก่พนักงาน, โครงการแสดงความขอบคุณพนักงาน ซึง่ ยังจะขยาย ไปยังผู้รับเหมาอีกด้วย บริษัทฯ ได้จัดตั้งชมรมกีฬาและสันทนาการส�ำหรับพนักงาน จ�ำนวน 22 ชมรม เพื่อส่งเสริมให้พนักงานมีสุขภาพที่ดี ด้วยการ จัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพ อีกทั้งยังจัดกิจกรรมสันทนาการสร้างความ สัมพันธ์ระหว่างผูบ้ ริหารพนักงาน และผูร้ บั เหมา โดยการจัดกิจกรรม ระหว่ า งหน่ ว ยงานภายในบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง กิ จ กรรมที่ จั ด ร่ ว มกั บ บริษัทอื่นๆ และหน่วยงานราชการท้องถิ่น เช่น กิจกรรมเจริญสติ กีฬาระหว่างพนักงานและบริษัทผู้รับเหมา กีฬาโรงกลั่นสัมพันธ์ กีฬาคอมเพล็กซ์เกมส์ การท� ำ โปรโมชั่ น สุ ข ภาพและการสร้ า งความสั ม พั น ธ์ กับชุมชน และสังคมเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะเสริมสร้างความพึงพอใจ ให้แก่พนักงานและน�ำความภาคภูมิใจ ซึ่งส่งผลให้กับภาพลักษณ์ ของบริษัทฯ บริษัทฯ ยังคงสนับสนุนกิจกรรมกีฬาเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ในเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคม เช่น การจัดกีฬา การกุ ศ ลภายในระหว่ า งพนั ก งานและผู ้ รั บ เหมา และจั ด กี ฬ า ภายนอกร่วมกับชุมชน บริ ษั ท ฯ ได้ ร ณรงค์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งาน มี สุ ข ภาพที่ ดี ด้ ว ยการจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ สุ ข ภาพ เช่ น จั ด งาน อาหารเพื่อสุขภาพโดยใช้ผลิตภัณฑ์อาหารและร้านค้าจากชุมชน จัดงานสัปดาห์เพื่อสุขภาพ มีการตรวจสุขภาพประจ�ำปี บริษัทฯ มีนโยบายที่จะดึงดูดและรักษาพนักงานให้อยู่ร่วมกับ องค์ ก รและส่ ง เสริ ม ให้ ส ร้ า งผลงานอั น โดดเด่ น กั บ องค์ ก ร อย่ า งต่ อ เนื่ อ งด้ ว ยค่ า ตอบแทนและสวั ส ดิ ก ารที่ น ่ า พึ ง พอใจ สามารถแข่ ง ขั น ได้ เ มื่ อ เที ย บกั บ บริ ษั ท อื่ น ในกลุ ่ ม ปิ โ ตรเคมี ในประเทศไทย ดั ง นั้ น บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ ป รั บ ปรุ ง สวั ส ดิ ก ารของ พนั ก งานและผลตอบแทนแบบยื ด หยุ ่ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งโดยให้ เหมาะกั บ พนั ก งานทั้ ง หมด ในปี 2558 บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ให้ มี โครงการสวั ส ดิ ก ารแบบยืด หยุ่น ให้แก่พนัก งาน เพื่อให้ตรงกับ ความต้องการกับพนักงานและครอบครัวของพนักงาน โดยโปรแกรม นี้ จะได้รับการพิจารณาทบทวนเป็นประจ�ำทุกปี นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งได้ จดทะเบียนเป็นนิตบิ คุ คลตามพระราชบัญญัตกิ องทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 ส�ำหรับพนักงานของบริษัท โดยพนักงานที่เป็นสมาชิก จะจ่ายเงินสะสมเป็นรายเดือนเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 3 ถึง 15 ของค่าจ้างพนักงาน และบริษัทฯจะจ่ายสมทบเป็นรายเดือน เข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 3 ถึง 15 ของค่าจ้างของพนักงานตาม อายุการท�ำงานของพนักงาน
ชุมชน บริ ษั ท ฯ ด� ำ เนิ น งานโดยมี ม าตรฐานความปลอดภั ย และ มีการควบคุม กระบวนการผลิต โดยอาศัยความรู้ความช�ำนาญ และเทคโนโลยีทที่ นั สมัย เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ มีความปลอดภัยเป็นไปตามมาตรฐานสิง่ แวดล้อม และส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนน้อยที่สุด
รายงานประจำ�ปี 2559
ผู้บริโภค บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะผลิตและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ อย่างต่อเนื่อง โดยค�ำนึงถึงคุณภาพ ความปลอดภัย และเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม
คู่ค้าที่บริษัทฯ ท�ำธุรกิจด้วย บริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความโปร่ ง ใส และเป็นธรรม คู่ค้าของบริษัทฯจะต้องอยู่ในระบบ ทะเบียนผู้ค้า ของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจในประสิ ท ธิ ภ าพและความเชื่ อ ถื อ ได้ ในงานจัดหาสินค้าและบริการ เพื่อให้การคัดเลือกคู่ค้าเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัทฯ ได้จัดท�ำทะเบียนผู้ค้าโดยก�ำหนด หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และคุณสมบัติเบื้องต้น ดังต่อไปนี้ 1. ผู ้ ค ้ า จะต้ อ งผ่ า นการประเมิ น ด้ า นการบริ ห ารจั ด การ เกีย่ วกับความปลอดภัย โดยจะประเมินจากนโยบายความปลอดภัย การฝึ ก อบรม การตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของความปลอดภั ย ของการท�ำงานและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ค้า มี ร ะบบบริ ห ารจั ด การความปลอดภั ย ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ให้ พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย 2. ผู้ค้าจะต้องผ่านการประเมินความสามารถในการจัดหา สินค้าและบริการ โดยจะประเมินจากความพร้อมทั้งด้านความรู้ ความช�ำนาญและทรัพยากร รวมทั้งประสบการณ์ ชื่อเสียงและ ผลงานที่ผ่านมา เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ค้าของ บริษัทฯ มีความสามารถ จัดหาสินค้าหรือบริการได้ตามความต้องการ 3. ผู้ค้าจะต้องผ่านการประเมินสถานะทางการเงิน โดยจะ พิจารณาจากสภาพคล่องทางการเงิน ความสามารถในการด�ำเนิน ธุรกิจเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ค้าของ บริษัทฯ มีความมั่นคงและสามารถ จัดหาสินค้าหรือบริการได้ตามความต้องการของบริษทั ฯ ในระยะยาว นอกจากนั้ น บริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ จ ะสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ก่อให้เกิด ประโยชน์แก่ทุกฝ่าย บริษัทฯ ได้จัดการอบรมสัมมนา ให้ กั บ คู ่ ค ้ า ทางธุ ร กิ จ เช่ น การเผยแพร่ วั ฒ นธรรมเรื่ อ ง ความปลอดภั ย การแลกเปลี่ ย นความรู ้ แ ละการตระหนั ก ถึ ง การท�ำงานด้วยความปลอดภัย ในการท�ำงาน เช่น จัดกิจกรรม ด้ า นความปลอดภั ย และแบ่ ง ปั น ข้ อ มู ล ในการท� ำ งานด้ ว ย การด�ำเนินโครงการปลอดอุบัติการณ์และการบาดเจ็บแก่ลูกค้า และผู้เกี่ยวข้อง • เชิ ญ กลุ ่ ม เจ้ า ของเรื อ และเจ้ า ของรถบรรทุ ก ที่ ม ารั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องบริ ษั ท ฯ เข้ า ร่ ว มท� ำ กิ จ กรรมสร้ า ง ความสัมพันธ์ และส่งเสริมการตระหนักถึงความปลอดภัย ในการท�ำงาน • การมอบรางวัลให้แก่ เจ้าของเรือ และเจ้าของรถบรรทุก ที่สามารถปฎิบัติงานได้อย่างปลอดภัย รวมถึงให้โอกาส ในการแสดงความภาคภู มิ ใ จในรางวั ล ที่ ไ ด้ รั บ อั น เนื่ อ ง มาจากการปฎิบัติงานด้วยความปลอดภัย บริษัทฯ มีนโยบายต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นโดยมุ่งเน้น ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความโปร่งใส ในการด�ำเนินธุรกิจ
67
ตามหลั ก จริ ย ธรรมทางธุ ร กิ จ บริ ษั ท ฯ ส่ ง เสริ ม อบรม และ สร้างจิตส�ำนึกให้พนักงาน ตระหนักถึงผลกระทบของการทุจริต ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น และก� ำ กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ เ พื่ อ ต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต โดยก� ำ หนดแนวทางปฏิ บั ติ ใ นเรื่ อ งนโยบายในการให้ ห รื อ รั บ ของขวั ญ ของก� ำ นั ล การเลี้ ย งรั บ รองรวมทั้ ง ผลประโยชน์ อื่ น ๆ จากบุ ค คลหรื อ บริ ษั ท ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท ฯ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เกิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ซึ่ ง รวมถึ ง การรั บ เงิ น เพื่ อ ตอบแทนการให้ บ ริ ก ารในนามของบริ ษั ท ฯ การให้ ห รื อ รั บ ของขวัญ ของก�ำนัล หรือการเลี้ยงรับรอง จากบุคคลที่ประกอบ หรือประสงค์จะประกอบธุรกิจกับบริษัทฯ และการให้ของขวัญ ของก�ำนัล หรือการเลี้ยงรับรองแก่บุคคลใด ๆ เพื่อให้บุคคลดังกล่าว กระท�ำการเพือ่ ประโยชน์แก่บริษทั ฯ และหากจ�ำเป็นต้องกระท�ำการ ดังกล่าว บุคลากรของบริษัทฯ จะต้องได้รับอนุมัติจากเจ้าหน้าที่ ก�ำกับดูแลองค์กรของบริษัทฯ (Corporate Compliance Officer) และฝ่ายบริหารล่วงหน้าก่อนเสมอ โดยจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ของบริษัทฯ และไม่ขัดต่อกฎหมาย บริษัทฯ ยังมีนโยบายเกี่ยวกับการแจ้งรายงานหรือเปิดเผย เกี่ยวกับกิจกรรม ธุรกิจ หรือความสัมพันธ์ของพนักงานที่อาจจะ ทั บ ซ้ อ นหรื อ ขั ด กั น กั บ ผลประโยชน์ ข องบริ ษั ท ฯ โดยเจตนา หากพนักงานมีข้อสงสัยว่า กิจกรรมใดอาจจะก่อให้เกิดการทับซ้อน หรือขัดกัน พนักงานต้องแจ้งรายงานหรือเปิดเผยข้อมูลนั้นก่อน เพื่อปกป้องพนักงานจากปัญหาใด ๆ เกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน หรือขัดกัน นอกจากนี้ บริษัทฯ มีนโยบายที่ไม่อนุญาตหรือส่งเสริมให้ มีการจ่ายเงินโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือติดสินบนหน่วยงานของรัฐ หรือเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองทีข่ ดั ต่อกฎหมายไทยและกฎหมาย สหรัฐอเมริกา บริษัทฯ ยังได้ก�ำหนดวิธีการเพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียได้มีส่วนร่วม เช่น การจัดรับฟังความคิดเห็น การเปิดช่องทางให้ส่งข้อเสนอแนะ ถึงคณะกรรมการบริษัท เป็นต้น อีกทั้งยังจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูล อย่างเพียงพอเพือ่ ให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียมีสว่ นร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี ช ่ อ งทางแจ้ ง เบาะแสหรื อ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นในกรณี ที่ พ บว่ า มี การกระท�ำผิดกฎหมาย หรือจรรยาบรรณ รายงานทางการเงินที่ ไม่ถูกต้อง หรือระบบควบคุมภายในที่บกพร่อง ผ่านทางเจ้าหน้าที่ ก�ำกับดูแลองค์กรของบริษัทฯ (Corporate Compliance Officer) ซึ่ ง จะรายงานไปยั ง กรรมการตรวจสอบอี ก ทอดหนึ่ ง โดยจะมี การตรวจสอบข้อมูลและรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท โดย ไม่เปิดเผยชื่อผู้แจ้งเบาะแสเพื่อเป็นการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส และในกรณีที่ ผู้มีส่วนได้เสียได้รับความเสียหายจากการที่บริษัทฯ ละเมิดสิทธิตามกฎหมายของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ มีนโยบาย ในการชดเชยความเสียหายตามสมควรให้แก่ผทู้ ไี่ ด้รบั ความเสียหาย
นโยบายต่อต้านการทุจริต ตามทีก่ ำ� หนดไว้ในคูม่ อื จรรยาบรรณว่า บริษทั ฯ จะด�ำเนินธุรกิจ โดยยึดหลักจริยธรรม และยึดมั่นในการปฏิบัติตามกฎระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการต่อ
68
ต้านการทุจริตคอรัปชั่น และกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริต เพื่ อ เป็ น การย�้ ำ ถึ ง เจตนารมณ์ ข องบริ ษั ท ฯ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัท ในเดือนเมษายนได้มีการพูดคุยและตกลง ประกาศเจตนารมณ์ เ ข้ า ร่ ว มในโครงการแนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (Thailand Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption-CAC) โดย ประธานคณะกรรมการ ได้ลงนามประกาศเจตนารมณ์ดังกล่าว ในวันที่ 28 เมษายน 2559 คณะกรรมการบริษัท ได้จัดท�ำนโยบายต่อต้านการทุจริตขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่า กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ จะปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความโปร่งใส เพื่อป้องกันมิให้เกิดการทุจริต และต่อต้านการกระท�ำทุจริต นโยบายต่อต้านการทุจริตใช้บังคับ กับทุกคนในบริษัทฯ ซึ่งหมายถึง กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และ รวมถึงตัวแทน ผู้ท�ำการแทน ผู้รับเหมา ผู้รับเหมาช่วงที่กระท�ำการ แทนบริษัทฯ ซึ่งบุคคลเหล่านี้ จะถูกห้ามมิให้ท�ำการใดๆที่เกี่ยวข้อง กับการทุจริต เช่น จ่ายสินบน รับสินบน หรือท�ำในรูปแบบอื่นใด ที่ไม่เหมาะสมที่ส่งผลต่อการพิจารณาตัดสินใจ ไม่ว่าจะกับภาครัฐ หรือภาคเอกชน ที่บริษัทฯ ได้มีการติดต่อประสานงานด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ สนับสนุนและส่งเสริมให้ คู่ค้า ผู้ขายสินค้า และผู้รับเหมา ที่บริษัทฯ ท�ำธุรกิจด้วย มีแนวปฏิบัติหรือมีนโยบาย ในการต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น ที่สอดคล้องกับนโยบายต่อต้าน การทุจริตของบริษทั ฯ และด�ำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรมเป็นไปตาม แนวทางการต่อต้านการทุจริต คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบ ท�ำหน้าที่ดูแลและติดตามการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การควบคุ ม ภายใน เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ ได้ บั ง คั บ ใช้ แ ละปฏิ บั ติ ต ามนโยบายต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต อย่ า งมี ประสิทธิภาพ ผู้บริหารของบริษัทฯ ทุกคน มีหน้าที่ในการพิจารณา และประเมินความเสีย่ งทีอ่ าจก่อให้เกิดการทุจริตในแต่ละหน่วยงาน และมีหน้าทีพ่ จิ ารณาและทบทวนมาตรการป้องกันการกระท�ำทุจริต และความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน เพื่อป้องกันมิให้เกิด การกระท�ำทุจริตขึ้นในองค์กร บริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ จ ะปกป้ อ งพนั ก งานที่ ป ฏิ เ สธการให้ หรื อ เรี ย กรั บ สิ น บน หรื อ วิ ธี ก ารอื่ น ใดที่ ไ ม่ เ หมาะสมที่ มี อิ ท ธิ พ ล ต่อการท�ำหน้าที่โดยสุจริต บริษัทฯ จะไม่มีการลงโทษพนักงาน หรือให้พนักงานต้องรับผิดชอบในความเสียหายที่เป็นผลมาจาก การปฏิเสธการให้หรือเรียกรับสินบน บริษัทฯ จะปกป้องพนักงาน แม้ว่าการปฏิเ สธการให้หรือเรียกรับสินบนนั้นจะส่งผลกระทบ ก่อให้เกิดความเสียหายในทางธุรกิจ ต่อบริษัทฯ ก็ตาม บริ ษั ท ฯ ไม่ ย อมรั บ ให้ มี ก ารกระท� ำ ทุ จ ริ ต ขึ้ น ในองค์ ก ร บริษทั ฯ ให้คำ� มัน่ ว่าจะมีการปฏิบตั แิ ละใช้กระบวนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ในการด�ำเนินการต่อต้านการทุจริต รวมถึงจะปลูกฝังและส่งเสริม ในเรื่องจริยธรรม และความมีจิตส�ำนึกที่ดี รับผิดชอบต่อองค์กร ให้เรื่องเหล่านี้เกิดขึ้นเป็นวัฒนธรรมขององค์กร
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
เพื่ อ แสดงออกถึ ง เจตนารมณ์ ข องบริ ษั ท ฯ ในการยึ ด มั่ น ในการด�ำเนินธุรกิจตามหลักจริยธรรม และปราศจากการทุจริต คอรัปชั่น บริษัทฯ ได้มีนโยบาย ห้ามมิให้พนักงานเรียกหรือรับ ของขวัญ หรือการเลี้ยงรับรอง จากคู่ค้า ผู้ขายสินค้า ผู้รับเหมา หรื อ ตั ว แทน ซึ่ ง การกระท� ำ ดั ง กล่ า วอาจมี ผ ลกระทบหรื อ มี ผ ล ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม หากเป็นวาระ โอกาสพิ เ ศษ พนั ก งานอาจมี ก ารให้ ห รื อ รั บ ของขวั ญ หรื อ การเลี้ยงรับรอง จากคู่ค้า ผู้ขายสินค้า ผู้รับเหมาหรือตัวแทนก็ได้ แต่ ก ารกระท� ำ ดั ง กล่ า ว พนั ก งานจะต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบ จากหัวหน้า และของขวัญหรือการเลี้ยงรับรอง ต้องไม่ได้มีมูลค่า เกินสมควร และบริษัทฯ มีนโยบายห้ามโดยเด็ดขาด ส�ำหรับการให้ หรือรับเงิน หรือสิ่งอื่นที่มีมูลค่าคล้ายเงิน ส�ำหรับเทศกาลปีใหม่ ในปี 2560 บริษัท ได้มีการแจ้ง และ สื่อสารกับพนักงาน คู่ค้า ผู้รับเหมา และลูกค้า ในแนวทางปฏิบัติ เกี่ยวกับของขวัญปีใหม่ ดังต่อไปนี้ • บริษัทฯ แสดงความประสงค์ ไม่เรียก และไม่รับของขวัญ หรือสิ่งของมีมูลค่า จากคู่ค้าของบริษัทฯ • การเลี้ยงรับรองพนักงานของบริษัทฯ อาจพิจารณาได้ว่า ไม่เหมาะสม เว้นแต่ บริษัทฯ จะได้ร่วมจ่ายค่าใช้จ่ายใน กิจกรรมการเลี้ยงรับรอง นั้นๆด้วย • เงินสด หรือสิ่งที่มีมูลค่าคล้ายเงินสด ห้ามโดยเด็ดขาด • กรณีที่บริษัทฯ ไม่อาจปฏิเสธการรับของขวัญได้ หรือไม่ สะดวกในการส่งของขวัญคืน บริษัทฯ จะน�ำของขวัญไป บริจาคเพื่อสังคม
รายงานประจำ�ปี 2559
ช่องทางการแจ้งเบาะแส บริ ษั ท ฯ มี น โยบายเกี่ ย วกั บ การแจ้ ง รายงานหรื อ เปิ ด เผย เกี่ยวกับกิจกรรม ธุรกิจ หรือความสัมพันธ์ของพนักงานที่อาจจะ ทั บ ซ้ อ นหรื อ ขั ด กั น กั บ ผลประโยชน์ ข องบริ ษั ท ฯ หากพนั ก งาน มีข้อสงสัยว่า กิจกรรมใดอาจจะก่อให้เกิดการทับซ้อนหรือขัดกัน ซึ่ ง ผลประโยชน์ กั บ บริ ษั ท ฯ พนั ก งานต้ อ งแจ้ ง รายงานหรื อ เปิดเผยข้อมูลนัน้ ก่อน เพือ่ ปกป้องพนักงานจากปัญหาใดๆ เกีย่ วกับ ผลประโยชน์ทับซ้อนหรือผลประโยชน์ขัดกัน บริษัทฯ ได้จัดให้มีช่องทางการแจ้งเบาะแส ส�ำหรับใครก็ตาม ที่พบเห็น หรือสงสัยว่ามีการให้หรือรับสินบน หรือมีการกระท�ำผิด หรื อ ขั ด ต่ อ นโยบายต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต หรื อ คู ่ มื อ จรรยาบรรณ ของบริษัทฯ สามารถรายงานการพบเห็น หรือข้อสงสัยดังกล่าว ไปยังคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ หรือเจ้าหน้าที่ ก�ำกับดูแลองค์กรโดย ทางอีเมล์ • แจ้งไปยังคณะกรรมการบริษัท ที่: CompanySecretary@sprc.co.th, • แจ้งไปยังคณะกรรมการตรวจสอบ ที่: AuditCommittee@sprc.co.th, หรือ • แจ้งไปยังเจ้าหน้าที่ก�ำกับดูแลองค์กร ที่: CorporateCompliance@sprc.co.th โดยทางจดหมาย โดยส่งมาที่ ที่อยู่ดังนี้ ส่งถึง เจ้าหน้าที่ก�ำกับดูแลองค์กร บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 1 ถนนไอ-สามบี ต�ำบลมาบตาพุด อ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 เจ้าหน้าทีก่ ำ� กับดูแลองค์กร มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ในการตรวจสอบ ข้อมูลและจัดให้มกี ารสืบสวนสอบสวนหาข้อเท็จจริงจากข้อร้องเรียน และรายงานผลไปยังคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการ บริ ษั ท ในกรณี ที่ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ได้ รั บ ความเสี ย หายจากการที่ บริ ษั ท ฯ ละเมิ ด สิ ท ธิ ต ามกฎหมายของผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย บริ ษั ท ฯ มีนโยบายในการชดเชยเยียวยาความเสียหายตามสมควรให้แก่ผู้ที่ ได้รับความเสียหาย กรรมการบริษัท ได้ก�ำหนดให้มีการเปิดเผยข้อมูลทั้งข้อมูล ทางการเงิ น และข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ ใ ช่ ท างเงิ น โดยให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ ค รบถ้ ว น เชื่ อ ถื อ ได้ ในเวลาที่ เ หมาะสม ซึ่งสะท้อนถึงผลการด�ำเนินงานและผลประกอบการของ บริษัทฯ ซึ่งปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับ การเปิดเผยข้อมูลอย่างเคร่งครัดตามที่ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนด
69
หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ท�ำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการ สื่อสารข้อมูลที่ส�ำคัญ เช่น งบการเงิน, รายงานการวิเคราะห์และ ค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ และการวิเคราะห์ส�ำหรับรายไตรมาส และรายปี ให้ กั บ นั ก ลงทุ น และบุ ค คลอื่ น ๆ ที่ ส นใจข้ อ มู ล ของ บริ ษั ท ฯ เพื่อ ให้ มั่ น ใจว่า ข้อมูลเหล่า นั้น เป็น ไปตามกฎระเบียบ ที่ ก.ล.ต. ก�ำหนด ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่นักลงทุน ในขณะที่ส่วน งานประชาสัมพันธ์ท�ำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของบริษัทฯ โดยผ่านสื่อทั้งในประเทศและต่างประเทศเมื่อมีกิจกรรมทางธุรกิจ ที่ส�ำคัญ ในปี 2559 บริษัทฯ ได้จัดให้ผู้บริหารมีโอกาสพบปะนักลงทุน ต่างประเทศ นักลงทุนสถาบัน นักลงทุนรายย่อย นักวิเคราะห์ หลักทรัพย์ และผู้สื่อข่าว ผ่านกิจกรรมต่างๆดังนี้ ประเภทกิจกรรม
จ�ำนวน (ครัง้ )
เดินสายประชาสัมพันธ์ในต่างประเทศ
7
เดินสายประชาสัมพันธ์ในประเทศ
3
การประชุมของนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
4
บริษทั จดทะเบียนพบผูล้ งทุนรายย่อย (จัดโดย SET)
4
การเยี่ยมชมกิจการบริษัทฯ
4
การประชุมทางโทรศัพท์ระหว่างประเทศ
11
ตอบค�ำถามผ่านทางอีเมล์/โทรศัพท์
ประมาณ 2-4 ครัง้ ต่อวัน
การเยี่ยมชมกิจการบริษัทฯของผู้ถือหุ้น
2
กิจกรรมพบปะผู้ถือหุ้นและนักลงทุน
5
บริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ต่ า งๆ ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ www.sprc.co.th ดังนั้นผู้มีส่วนได้เสียสามารถ เข้าถึงข้อมูลได้ อย่ า งเท่ า เที ย มกั น กรณี ที่ นั ก ลงทุ น และผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งมี ข ้ อ สงสั ย และต้ อ งการสอบถาม สามารถติ ด ต่ อ ขอข้ อ มู ล บริ ษั ท ฯ ได้ ที่ หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ โทร. +66 (0) 38 699 887 หรือ โทรสาร +66 (0) 38 699 999 ต่อ 7887 หรือส่งอีเมล์มาที่ ir@sprc.co.th
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการที่มีคุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในหลากหลายสาขา ที่เกี่ยวข้องที่จะเป็นประโยชน์ในการช่วยพัฒนาและก�ำหนดทิศทาง ธุรกิจ นโยบาย กลยุทธ์ของบริษัทฯ โดยด�ำเนินการตามแผนกลยุทธ์ และงบประมาณที่ ก� ำ หนดไว้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและถู ก ต้ อ ง ตามกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ของหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล หน่วย งานทางราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และตามมติ ข องที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ ของบริ ษั ท ฯ และเพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของผู ้ ถื อ หุ ้ น รวมทั้ ง ได้
70
จัดให้มีกระบวนการตรวจสอบภายใน ที่เหมาะสม และเป็นไป ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัท ตามข้อบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการอย่างน้อย 5 คน และให้คณะกรรมการเลือกตั้งกรรมการ คนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ และอาจเลือกกรรมการคนหนึ่ง เป็นรองประธานกรรมการหรือต�ำแหน่งอื่นตามที่เห็นเหมาะสม ด้วยก็ได้ โดยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรไทย อย่างไรก็ตาม กฎบัตรของคณะกรรมการ ซึง่ อนุมตั โิ ดยผูถ้ อื หุน้ ได้ก�ำหนดให้ คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 7 ถึง 9 คน ซึ่งต้องประกอบด้วยผู้มีความรู้ และประสบการณ์ ในหลากหลายสาขา และในจ�ำนวนนี้ ให้มีกรรมการผู้มีคุณสมบัติ เป็นกรรมการอิสระ อย่างน้อย 3 คน และกรรมการของบริษัทฯ จะต้ อ งเป็ น ผู ้ มี คุ ณ สมบั ติ แ ละไม่ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มตามที่ กฎหมายก�ำหนด คณะกรรมการมีการประเมินองค์ประกอบของคณะกรรมการ ทุกปี เพื่อพิจารณาว่า คณะกรรมการประกอบไปด้วยกรรมการ ผู้มีความรู้ ความสามารถ จากหลากหลายสาขา และเหมาะสม กั บ การท� ำ งานร่ ว มกั น เพื่ อ ก� ำ หนดวิ สั ย ทั ศ น์ (vision) พั น ธกิ จ (mission) กลยุทธ์ (strategy) และนโยบาย รวมถึงการติดตาม ดูแลผลการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ
การแต่งตั้งและถอดถอนกรรมการบริษัท การแต่งตั้ง ถอดถอน หรือพ้นจากต�ำแหน่งกรรมการบริษัท นั้น ได้ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัทฯ ซึ่งสามารถสรุปสาระส�ำคัญ ได้ดังนี้ 1. ให้ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เลื อ กตั้ ง กรรมการบริ ษั ท ตาม หลักเกณฑ์ และวิธีการดังต่อไปนี้ • ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับจ�ำนวนหุน้ ทีต่ นถือ • ผู ้ ถื อ หุ ้ น แต่ ล ะคนจะใช้ ค ะแนนเสี ย งที่ มี อ ยู ่ เ ลื อ กตั้ ง บุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะ แบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ และ • บุ ค คลซึ่ ง ได้ รั บ คะแนนเสี ย งสู ง สุ ด ตามล� ำ ดั บ ลงมา เป็ น ผู ้ ไ ด้ รั บ การเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการเท่ า จ� ำ นวน กรรมการที่จะพึงมี ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้ง ตั้ ง แต่ ส องคนขึ้ น ไปมี ค ะแนนเสี ย งเท่ า กั น ให้ ผู ้ เ ป็ น ประธานในที่ประชุมเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 2. ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการ ออกจากต� ำ แหน่ ง จ� ำ นวนหนึ่ ง ในสาม ถ้ า จ� ำ นวนกรรมการจะ แบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุด กั บ ส่ ว นหนึ่ ง ในสาม โดยกรรมการที่ จ ะต้ อ งออกจากต� ำ แหน่ ง ในปีแรก และปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ให้จับสลาก ว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลัง ๆ ต่อไป ให้กรรมการที่อยู่ในต�ำแหน่ง นานทีส่ ดุ เป็นผูอ้ อกจากต�ำแหน่ง ทัง้ นี้ กรรมการผูอ้ อกจากต�ำแหน่ง ไปนั้นอาจได้รับเลือกตั้งใหม่ได้
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
• กรรมการที่จะครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2559 ได้แก่ »» นายปลิว มังกรกนก »» นายวิลเลียม ลูอีส สโตน ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2559 ทั้งสองท่าน ได้ รั บ การเลื อ กตั้ ง ให้ ก ลั บ เข้ า มาด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการต่ออีกวาระหนึ่ง • กรรมการที่จะครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560 ได้แก่ »» นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์ »» นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท • กรรมการที่จะครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 ได้แก่ »» นายมนูญ ศิริวรรณ »» นางเค็ง ลิง ล๊ก »» นายโรเบิร์ต สแตร์ กัทธรี 3. กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่ง ให้ยื่นใบลาออก ต่อบริษัทฯ โดยการลาออกนั้นจะมีผลนับแต่วันที่บริษัทฯ ได้รับ ใบลาออก หรือวันทีต่ ามทีไ่ ด้ระบุไว้ ในใบลาออก ทัง้ นี้ คณะกรรมการ สามารถแต่ ง ตั้ ง กรรมการใหม่ แทนกรรมการที่ ล าออกได้ โดยกรรมการใหม่มีวาระเท่ากับกรรมการเดิมที่ลาออก 4. ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น อาจลงมติ ใ ห้ ก รรมการคนใดออก จากต� ำ แหน่ ง ก่ อ นถึ ง คราวออกตามวาระได้ ด ้ ว ยคะแนนเสี ย ง ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิ ออกเสียงลงคะแนน และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ห้ า สิ บ ของจ� ำ นวนหุ ้ น ทั้ ง หมดที่ ถื อ โดยผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ ม าประชุ ม และ มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
การสรรหากรรมการ คณะกรรมการบริ ษั ท ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ ก ารด� ำ เนิ น การ สรรหากรรมการบริ ษั ท เพื่ อ เป็ น แนวทางการด� ำ เนิ น การของ คณะกรรมการสรรหา ก� ำ หนดค่ า ตอบแทนและธรรมาภิ บ าล ในการสรรหากรรมการ เพื่อให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์ฯ ส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน โดยคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล มีหน้าที่ตรวจสอบนโยบายและขั้นตอนการสรรหากรรมการใหม่ รวมถึ ง พิ จ ารณาคุ ณ สมบั ติ ที่ จ� ำ เป็ น และเป็ น ที่ ต ้ อ งการของ กรรมการใหม่ และบริษัทฯ ได้มีการสรรหาผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม ในการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ โดยพิจารณาจากรายชื่อกรรมการ อาชีพในท�ำเนียบ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ด้วย
รายงานประจำ�ปี 2559
ทั้ ง นี้ บุ ค คลที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการ จะต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ 1) มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นและไม่ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า ม ตามหลักเกณฑ์ของ • พระราชบัญญัติมหาชนจ�ำกัด • พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ • ประกาศคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ • ประกาศคณะกรรมการตลาดทุน • ข้อบังคับ ของบริษัทฯ 2) มีความรู้ ความสามารถ ความเชีย่ วชาญ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง กั บ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ หรื อ มี ป ระสบการณ์ การท�ำงานที่เป็นประโยชน์ต่อธุรกิจของบริษัทฯ 3) มีภาวะผู้น�ำ วิสัยทัศน์ คุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์ และสามารถท� ำ หน้ า ที่ ก รรมการด้ ว ยความรอบคอบ และน่าเชื่อถือ 4) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการของบริ ษั ท จดทะเบี ย นใน ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ไม่ เ กิ น 3 บริ ษั ท (รวมกรณีได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการของบริษัทฯ ด้วย)
การสรรหากรรมการอิสระ บุ ค คลที่ จ ะได้ รั บ การสรรหาเป็ น กรรมการอิ ส ระจะต้ อ งมี คุณสมบัติที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ 1. กรรมการอิสระ ไม่ควรด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระอย่าง ต่อเนื่องติดต่อกัน เกินกว่า 3 วาระ (1 วาระ มีระยะเวลา 3 ปี) 2. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ ให้ นั บ รวม การถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้น ๆ ด้วย 3. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับ เดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า สองปี ก ่ อ นวั น ที่ ยื่ น ค� ำ ขออนุ ญ าตต่ อ ส� ำ นั ก งาน ก.ล.ต. ทั้ ง นี้ ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มดั ง กล่ า วไม่ ร วมถึ ง กรณี ที่ ก รรมการอิ ส ระ เคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษาของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ 4. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการ จดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับ การเสนอให้ เ ป็ น กรรมการ ผู ้ บ ริ ห ารหรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย
71
5. ไม่ มี ห รื อ เคยมี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ ในลั ก ษณะที่ อ าจเป็ น การขั ด ขวาง การใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็น ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ มี นั ย หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของผู ้ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ทางธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ เว้ น แต่ จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อน วันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ความสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ ข้ า งต้ น รวมถึ ง การท� ำ รายการ ทางการค้ า ที่ ก ระท� ำ เป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การ การเช่ า หรื อ ให้ เ ช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ รายการเกี่ ย วกั บ สิ น ทรั พ ย์ ห รื อ บริ ก าร หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือ ให้ กู ้ ยื ม ค�้ ำ ประกั น การให้ สิ น ทรั พ ย์ เ ป็ น หลั ก ประกั น หนี้ สิ น รวมถึงพฤติการณ์อื่นท�ำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทฯ หรือ คู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละสาม ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทฯ หรือตั้งแต่ 20 ล้านบาท ขึ้นไป แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้ การค�ำนวณภาระหนี้ ดั ง กล่ า วให้ เ ป็ น ไปตามวิ ธี ก ารค� ำ นวณมู ล ค่ า ของรายการที่ เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วย หลักเกณฑ์ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ใน การพิ จ ารณาภาระหนี้ ดั ง กล่ า ว ให้ นั บ รวมภาระหนี้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว่ า งหนึ่ ง ปี ก ่ อ นวั น ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บุ ค คล เดียวกัน 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือ หุ ้ น ส่ ว นของส� ำ นั ก งานสอบบั ญ ชี ซึ่ ง มี ผู ้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่ น ้ อ ยกว่ า สองปี ก ่ อ นวั น ที่ ยื่ น ค� ำ ขออนุ ญ าต ต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. 7. ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็น ผู้ให้บริก ารทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวม ถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัท ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือ หุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมี ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่ น ้ อ ยกว่ า สองปี ก ่ อ นวั น ที่ ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. 8. ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ตั ว แทน ของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็น ผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 9. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการ แข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็น
72
หุ ้ น ส่ ว นที่ มี นั ย ในห้ า งหุ ้ น ส่ ว น หรื อ เป็ น กรรมการที่ มี ส ่ ว นร่ ว ม บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือ ถื อ หุ ้ น เกิ น ร้ อ ยละหนึ่ ง ของจ� ำ นวนหุ ้ น ที่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งทั้ ง หมด ของบริ ษั ท อื่ น ซึ่ ง ประกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพอย่ า งเดี ย วกั น และ เป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 10. ไม่ มี ลั ก ษณะอื่ น ใดที่ ท� ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถให้ ค วามเห็ น อย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่และความรับผิดชอบที่ส�ำคัญ ต่อผู้ถือหุ้นหลายประการ ตาม พรบ. บริษัทมหาชนจ�ำกัด พรบ. หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ กฎเกณฑ์ แ ละแนวทางของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ และกฎบั ต รของ คณะกรรมการบริษัท ซึ่งคณะกรรมการบริษัทต้องปฏิบัติตาม คณะกรรมการของบริ ษั ท มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบสู ง สุ ด ในการ บริหารธุรกิจของบริษัทฯ โดยต้องปฏิบัติหน้าที่และด�ำเนินการจัด การกิจการของบริษัทฯ ภายในขอบเขตของกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ และตามมติ ข องที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น คณะกรรมการของบริ ษั ท ต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด ้ ว ยความสามารถ เพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่ธุรกิจในระยะยาว และการบริหารงาน ด้ ว ยความระมั ด ระวั ง รอบคอบและโปร่ ง ใส เพื่ อ มิ ใ ห้ เ กิ ด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการต้องก�ำหนดมาตรฐาน การปฏิบัติงานที่ดีเพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ มีระบบควบคุมภายใน ที่เพียงพอ และมีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม กฎบั ต รคณะกรรมการของบริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดบทบาทหน้ า ที่ ของคณะกรรมการบริษทั ไว้อย่างชัดเจน ตลอดจนแบ่งแยกบทบาท หน้าทีร่ ะหว่างกรรมการ กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการ อย่างชัดเจน คณะกรรมการบริษัทมีบทบาทหน้าที่ ดังนี้ • จัดท�ำและพิจารณาอนุมัติ วิสัยทัศน์ (vision) พันธกิจ (mission) วัฒนธรรมองค์กร (culture) ค่านิยมองค์กร (core values) และค�ำมัน่ ในการด�ำเนินธุรกิจเพือ่ ให้บริษทั ฯ มีผลประกอบการที่ดีทั้งในด้านการเงิน การปฏิบัติงาน ด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม • พิจารณา ทบทวน และอนุมัติแผนธุรกิจ (business plan) และงบประมาณในแต่ละปี • พิจารณา ทบทวน และอนุมัติกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจ เพือ่ เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานเพือ่ บรรลุตามเป้าหมาย ของบริษัทฯ • ติ ด ตามผลการด� ำ เนิ น งาน และทบทวนการปฏิ บั ติ ง าน ตามกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจ • สร้างและรักษาชือ่ เสียงทีด่ ี และความเชือ่ ถือได้ของบริษทั ฯ • พิจารณา ทบทวน และอนุมัตินโยบาย รวมถึงก�ำหนด มาตรฐานการด� ำ เนิ น งานตามหลั ก ธรรมาภิ บ าล และ ตามกฎระเบี ย บและกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น คู ่ มื อ
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
จรรยาบรรณ นโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ นโยบาย ต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต นโยบายการซื้ อ ขายของคนวงใน นโยบายการบริหารความเสี่ยง นโยบายการจ่ายเงินปันผล รวมถึงติดตามระบบการควบคุมภายใน และการปฏิบัติ ตามนโยบายต่างๆ • พิ จ ารณา ทบทวน และอนุ มั ติ ก ารให้ น โยบายการ ด�ำเนินงานเพือ่ ให้บริษทั ฯ บรรลุเป้าหมายในการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ ทั้งในด้านการเงิน การปฏิบัติงาน ด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม • พิ จ ารณา และอนุ มั ติ ร ายงานทางการเงิ น รายปี และ รายไตรมาส • พิจารณา และอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล • พิจารณา ทบทวน และอนุมัติกฎบัตรของคณะกรรมการ ชุดย่อย • พิ จ ารณา ทบทวน และอนุ มั ติ ก ารแต่ ง ตั้ ง ประธานเจ้ า หน้าที่บริหาร รวมถึงค่าตอบแทนประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยพิจารณาค�ำแนะน�ำของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล • พิจารณา ทบทวน และอนุมัติการสิ้นสุดการด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร • ประเมินผลการด�ำเนินงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยพิจารณาร่วมกับประธานกรรมการ • ติดตามความก้าวหน้าการด�ำเนินงานโครงการเงินลงทุน การได้ ม าหรื อ ขายไปซึ่ ง ธุ ร กิ จ และพิ จ ารณาทบทวน ผลตอบแทนที่จะได้รับจากการลงทุน คณะกรรมการบริ ษั ท มี อ� ำ นาจพิ จ ารณาอนุ มั ติ โ ครงการ ที่มีมูลค่าเงินลงทุนที่มีมูลค่า ไม่เกิน 1,500 ล้านบาท โครงการ ที่มีมูลค่าเงินลงทุนเกินกว่า 1,500 ล้านบาทต้องขออนุมัติจาก ที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมตั กิ ารเข้าท�ำสัญญาหรือข้อผูกพันทีไ่ ม่อยูภ่ ายใน อ�ำนาจอนุมัติของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร »» ประธานเจ้าหน้าที่บริหารมีอ�ำนาจในการด�ำเนินการ ท�ำธุรกรรมต่างๆ ในนามของ บริษัทฯ ได้ในวงเงินไม่เกิน 200 ล้านบาท ธุรกรรมที่มีมูลค่าเกินกว่า 200 ล้านบาท ต้องขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท »» อย่างไรก็ตาม เนื่องจากลักษณะการประกอบธุรกิจ ของบริษัทฯ ส�ำหรับสัญญาหรือภาระผูกพันที่เกี่ยวกับ ข้อตกลงการซื้อขาย และแลกเปลี่ยนในปัจจุบันและ อนาคต เกี่ยวกับน�้ำมันดิบ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ขั้นกลาง และผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป ให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มีอ�ำนาจเข้าท�ำธุรกรรมดังกล่าวได้ แม้มีมูลค่าเกินกว่า 200 ล้านบาท แต่ระยะเวลาความผูกพันของสัญญา ดังกล่าว ต้องไม่เกิน 12 เดือน
รายงานประจำ�ปี 2559
»» ส� ำ หรั บ การท� ำ ธุ ร กรรมรายการที่ เ กี่ ย วโยง ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารมี อ� ำ นาจในการเข้ า ท� ำ ธุ ร กรรม รายการที่เกี่ยวโยง ได้ในวงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท การท�ำธุรกรรมรายการที่เกี่ยวโยงที่มีมูลค่ามากกว่า 10 ล้ า นบาท ให้ เ สนอต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาและท�ำความเห็น เพื่อเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติเป็นล�ำดับไป และ ส�ำหรับรายการทีเ่ กีย่ วโยงส�ำหรับธุรกรรมการซือ้ ขาย และ แลกเปลี่ยนในปัจจุบันและอนาคต เกี่ยวกับน�้ำมันดิบ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ขั้นกลางและผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารมีอำ� นาจในการเข้าท�ำธุรกรรม รายการทีเ่ กีย่ วโยงดังกล่าวได้ แต่ระยะเวลาความผูกพัน ของสัญญาดังกล่าว ต้องไม่เกิน 12 เดือน คณะกรรมการยังได้สนับสนุนให้กรรมการได้เข้าร่วมสัมมนา ในหลักสูตรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรรมการซึ่งจัดขึ้นโดยสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ คณะกรรมการ สรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล ท�ำหน้าที่ในการ พิจารณาและติดตามการเข้าอบรมสัมนาของกรรมการ กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงลายมือชือ่ แทนบริษทั ฯ คือ นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์ นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท นายวิลเลียม ลูอีส สโตน และนางเค็ ง ลิ ง ล๊ ก กรรมการสองในสี่ ค นนี้ ล งลายมื อ ชื่อร่วมกันและประทับตราส�ำคัญของบริษัทฯ
การประชุมคณะกรรมการ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดให้ ค ณะกรรมการมี การประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง และอาจมีการประชุมเพิ่มเติม เพื่อพิจารณาเรื่องที่มีความส�ำคัญเร่งด่วนได้ กรรมการบริ ษั ท ต้ อ งเข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการ บริษัทอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อรับทราบและร่วมตัดสินใจในการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งเลขานุการบริษัท ท�ำหน้าที่ก�ำหนดตาราง การประชุมล่วงหน้าเป็นประจ�ำทุกปี และแจ้งตารางการประชุม ของปีถัดไปให้กรรมการแต่ละท่านทราบตั้งแต่ก่อนสิ้นปี เพื่อให้ กรรมการทุกท่านสามารถทราบตารางการประชุมล่วงหน้า และ จัดสรรเวลาเข้าร่วมประชุม ซึ่งการประชุมแต่ละครั้ง ใช้เวลาในการ ประชุมประมาณ 4 ชั่วโมง ประธานกรรมการ เป็ น ผู ้ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ว าระการประชุ ม โดยการพิจารณาร่วมกับประธานผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการทุกคราว จะมีการก�ำหนดวาระ การประชุมที่ชัดเจน ตลอดจนมีเอกสารประกอบวาระการประชุม ที่ เ พี ย งพอ โดยจะจั ด ส่ ง เอกสารประกอบวาระการประชุ ม ทั้งในรูปแบบเอกสาร และรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ให้กับ กรรมการบริ ษั ท แต่ ล ะท่ า นล่ ว งหน้ า อย่ า งน้ อ ย 8-10 วั น เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการได้ มี เ วลาศึ ก ษาข้ อ มู ล ในเรื่ อ งต่ า งๆ อย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมการประชุม
73
ในการพิ จ ารณาเรื่องต่า งๆ ประธานกรรมการซึ่ง ท�ำหน้าที่ เป็นประธานในที่ประชุม ได้จัดสรรเวลาในการประชุมพิจารณา ในแต่ ล ะวาระอย่ า งเพี ย งพอ และได้ เ ปิ ด โอกาสให้ ก รรมการ มีโอกาสซักถาม แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ ทั้งนี้การลงมติ ในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ถื อ มติ ข องเสี ย งข้ า งมาก โดยให้ ก รรมการคนหนึ่ ง มี เ สี ย งหนึ่ ง หากคะแนนเสี ย งเท่ า กั น ประธานในที่ประชุมจะออกเสียงเพิ่มอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด ในกรณีทกี่ รรมการท่านใดมีสว่ นได้เสียกับผลประโยชน์เกีย่ วกับ เรื่องที่มีการพิจารณา กรรมการที่มีส่วนได้เสีย จะต้องไม่มีส่วนร่วม ในการพิ จ ารณาและตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งนั้ น ๆ เพื่ อ ความโปร่ ง ใส เป็นธรรม และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ รองประธานกรรมการ จะท�ำหน้าทีช่ ว่ ยเหลือ หรือท�ำหน้าทีแ่ ทน ประธานกรรมการ ในกรณีที่ประธานกรรมการไม่สามารถเข้าร่วม ประชุม ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท หรือการประชุมผู้ถือหุ้น ผู้บริหารของบริษัทฯ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทด้วย เพื่ อ ให้ ข ้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ละรั บ ทราบนโยบายโดยตรง
จากคณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ สามารถน� ำ มาปฏิ บั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ และรายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการใน การประชุมคณะกรรมการบริษัท ในครั้งถัดไป เมื่อการประชุมสิ้นสุดลง เลขานุการบริษัท จะเป็นผู้ท�ำหน้าที่ จั ด ท� ำ รายงานการประชุ ม โดยจดบั น ทึ ก รายงานการประชุ ม ในข้ อ ปรึ ก ษาที่ ส� ำ คั ญ รวมถึ ง ความเห็ น ในการประชุ ม และ เสนอ รายงานการประชุ ม ดั ง กล่ า วต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ ในคราวถั ด ไปเพื่ อ พิ จ ารณารั บ รอง และประธานกรรมการ ลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง ทั้งนี้ กรรมการบริษัท สามารถ แสดงความคิ ด เห็ น ขอแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม รายงานการประชุ ม ให้ มี ค วามละเอี ย ดมากขึ้ น ได้ รายงานการประชุ ม ที่ ที่ ป ระชุ ม รับรอง และประธานกรรมการลงนามแล้ว จะถูกจัดเก็บพร้อม กับเอกสารประกอบวาระการประชุมต่างๆ อย่างเป็นระบบ และ จัดเก็บทัง้ ในรูปแบบเอกสารและรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ สะดวกในการสืบค้นอ้างอิง
การเข้าประชุมของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ในปี 2559
คณะกรรมการ
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
รายชื่อกรรมการ
คณะกรรมการ สรรหา ก�ำหนดค่า ตอบแทน และ ธรรมาภิบาล
คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคล
จ�ำนวนการประชุมทั้งหมด ในปี 2559 5 ครั้ง
4 ครั้ง
3 ครั้ง
4 ครั้ง
1
นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์
5/5
-
-
-
2
นายปลิว มังกรกนก
5/5
4.4
-
4.4
3
นายมนูญ ศิรวิ รรณ
5/5
4.4
3/3
-
4
นายโรเบิรต์ สแตร์ กัทธรี
5/5
4/4
3/3
-
5
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท 1
1/1
-
1/1
-
6
นางเค็ง ลิง ล๊ก 2
0/0
-
-
0/0
7
นายวิลเลียม ลูอสี สโตน
5/5
-
3/3
4/4
กรรมการที่ลาออกในปี 2559 1
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ 3
3/3
-
1/1
-
2
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี 4
3/3
-
-
4/4
1
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และและธรรมาภิบาล โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 12 สิงหาคม 2559
2
นางเค็ง ลิง ล๊ก ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการทรัพยากรบุคคล โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 ตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ไม่มีการประชุม
คณะกรรมการบริษัท และการประชุมคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล
74
3
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และและธรรมาภิบาล โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2559
4
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการทรัพยากรบุคคลโดยมีผลตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2559
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
โดยปกติแล้ว เลขานุการบริษัทจะแจ้งให้กรรมการบริษัท ทราบล่วงหน้าทั้งปีถึงก�ำหนดตารางการประชุมคณะกรรมการบริษัท ในปี 2559 ได้มกี ารจัดการประชุมคณะกรรมการทัง้ หมด 5 ครัง้ ซึง่ 4 ครัง้ เป็นการประชุมตามปกติรายไตรมาส และ 1 ครัง้ เป็นการเรียกประชุม เพื่อพิจารณาวาระพิเศษ ในระหว่างที่กรรมการแต่ละท่านด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท กรรมการทุกท่านเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ อย่างครบถ้วนทุกครั้ง ไม่มีกรรมการที่ขาดการประชุม การเข้าประชุมคณะกรรมการบริษัท ในปี 2559 รายชื่อกรรมการ
ครั้งที่ 1 (16 ก.พ.)
ครั้งที่ 2 (26 เม.ย.)
ครั้งที่ 3 (28 เม.ย.)
ครั้งที่ 4 (11 ส.ค.)
ครั้งที่ 5 (10 พ.ย.)
จ�ำนวน การประชุม ทั้งหมด
1
นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์
P
P
P
P
P
5/5
2
นายปลิว มังกรกนก
P
P
P
P
P
5/5
3
นายมนูญ ศิรวิ รรณ
P
P
P
P
P
5/5
4
นายโรเบิรต์ สแตร์ กัทธรี
P
P
P
P
P
5/5
5
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท 1
N/A
N/A
N/A
N/A
P
1/1
6
นางเค็ง ลิง ล๊ก 2
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
0/0
7
นายวิลเลียม ลูอสี สโตน
P
P
P
P
P
5/5
No.1 (16 Feb)
No.2 (26 Apr)
No.3 (28 Apr)
No.4 (11 Aug)
No.5 (10 Nov)
Total
กรรมการที่ลาออกในปี 2559 1
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ 3
P
P
P
N/A
N/A
3/3
2
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี 4
P
P
P
N/A
N/A
3/3
1
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และและธรรมาภิบาล โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 12 สิงหาคม 2559
2
นางเค็ง ลิง ล๊ก ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการทรัพยากรบุคคล โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 ตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ไม่มีการประชุมคณะกรรมการ บริษัท และการประชุมคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล
3
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และและธรรมาภิบาล โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2559
4
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการทรัพยากรบุคคลโดยมีผลตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2559
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมี ข อบเขตอ� ำ นาจหน้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบ ดังนี้ • สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเพียงพอ • สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระ ของฝ่ า ยตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ค วามเห็ น ชอบ ในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างผูต้ รวจสอบภายใน • สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ
• พิ จ ารณา คั ด เลื อ ก เสนอแต่ ง ตั้ ง บุ ค คลซึ่ ง มี ค วามเป็ น อิสระเพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับ ผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน โดยไม่มีฝ่ายจัดการ เข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง • พิจารณาการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่า รายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุด ต่อบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบจะแสดงความเห็น ต่อคณะกรรมการบริษัท หรือผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี เพื่อให้ มั่ น ใจว่ า การเข้ า ท� ำ รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ดั ง กล่ า ว ได้ พิ จ ารณาบนหลั ก เงื่ อ นไขที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น หากบริ ษั ท ฯ เข้าท�ำสัญญาอย่างเดียวกันนั้นกับผู้อื่น (arm's length basis) และต้ อ งเป็ น การเข้ า ท� ำ ธุ ร กรรมโดยค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ
75
• จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผย ไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้ อ งลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและ ต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ »» ความเห็นเกีย่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นทีเ่ ชือ่ ถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ »» ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ความเพี ย งพอของระบบควบคุ ม ภายในของบริษัทฯ »» ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ข้ อ ก� ำ หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษัทฯ »» ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี »» ความเห็ น เกี่ ย วกั บ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์
การแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบจะต้องเป็นกรรมการอิสระของบริษัทฯ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ประกาศคณะกรรมการก� ำ กั บ ตลาดทุ น รวมถึงประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยหลั ก เกณฑ์ ต ามประกาศคณะกรรมการก� ำ กั บ ตลาดทุ น รวมทั้งตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบของ บริษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยสามคน มีความรู้ และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ในฐานะกรรมการ ตรวจสอบได้ ทั้งนี้ กรรมการตรวจสอบอย่างน้อยหนึ่งคน ต้องเป็น ผู ้ มี ค วามรู ้ แ ละประสบการณ์ เ พี ย งพอที่ จ ะสามารถท� ำ หน้ า ที่ ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินของบริษัทฯ ได้ โดยการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่านจะอยูภ่ าย ใต้เงื่อนไขที่จะต้องด�ำรงคุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบ และ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษัทฯ โดยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ สรุปได้โดยสังเขปดังนี้ 1. เป็นกรรมการอิสระของบริษัทฯ
»» จ� ำ นวนการประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ และ การเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน
2. ได้รับการเสนอโดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท
»» ความเห็ น หรื อ ข้ อ สั ง เกตโดยรวมที่ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบได้ รั บ จากการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามกฎบั ต ร (charter)
3. มีคุณสมบัติในลักษณะเดียวกับที่ก�ำหนดไว้ในประกาศ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าด้วยคุณสมบัติและขอบเขต การด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
»» รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ ข อบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท
4. ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียยวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ
• ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการของบริ ษั ท ฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
5. ไม่เป็นกรรมการของบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย หรือบริษทั ย่อย ล�ำดับเดียวกันเฉพาะที่เป็นบริษัทจดทะเบียน
การเข้าประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2559 รายชื่อกรรมการ
76
ครั้งที่ 1 (15 ก.พ.)
ครั้งที่ 2 (27 เม.ย.)
ครั้งที่ 3 (10 ส.ค.)
ครั้งที่ 4 (9 พ.ย.)
จ�ำนวนการ ประชุมทั้งหมด
1
นายปลิว มังกรกนก
P
P
P
P
4/4
2
นายมนูญ ศิรวิ รรณ
P
P
P
P
4/4
3
นายโรเบิรต์ สแตร์ กัทธรี
P
P
P
P
4/4
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล คณะกรรมการบริษทั ได้ทบทวนพิจารณาถึงบทบาทและหน้าที่ ของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ตามทีก่ ำ� หนดไว้ ในกฎบั ต รของคณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน ในเดือนสิงหาคม 2559 คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาเพิม่ บทบาท หน้าทีใ่ ห้คณะกรรมการชุดนี้ มีหน้าทีเ่ กีย่ วกับการติดตามก�ำกับดูแล การปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี และการปฏิบัติตามนโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการ ของบริษัทฯ คณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล มีขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ • ช่วยเหลือคณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับการจัดองค์ประกอบ ของคณะกรรมการบริษัท การแต่งตั้ง การเลือกตั้ง และ การเลือกกรรมการกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ผลการด�ำเนิน งานของคณะกรรมการบริษัท และของกรรมการแต่ละท่าน รวมถึ ง แผนสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง (succession plan) ของคณะกรรมการบริษัท • ช่ ว ยเหลื อ คณะกรรมการบริ ษั ท เกี่ ย วกั บ กระบวนการ สรรหาผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ พิจารณาข้อตกลงการแต่งตั้งกรรมการ • ให้ค�ำปรึกษาแก่คณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับการแต่งตั้ง กรรมการ และการประเมินการท�ำหน้าที่ของกรรมการ
รายงานประจำ�ปี 2559
• คณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล พิจารณาเพื่อให้มั่นใจได้ว่าคณะกรรมการบริษัท มีทักษะ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ และความหลากหลาย ที่เหมาะสม รวมถึงมีการจัดการที่เหมาะสมเกี่ยวกับการ สืบทอดต�ำแหน่ง การแต่งตั้ง การปฏิบัติงาน และเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการบริษัท • ทบทวนและดูแลกระบวนการประเมินผลการท�ำหน้าที่ ของคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย รวมถึง กรรมการแต่ละท่านเป็นรายบุคคล • ช่วยเหลือคณะกรรมการบริษัท พิจารณาและเสนอแนะ ค่ า ตอบแทนส� ำ หรั บ คณะกรรมการบริ ษั ท และ คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล • พิจารณาการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลที่ดีของบริษัทฯ และให้ค�ำแนะน�ำแก่คณะกรรมการบริษัท เพื่อให้มั่นใจ ว่าบริษัทฯ มีนโยบาย มีการปฏิบัติ และมีหลักการก�ำกับ ดูแลกิจการ เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติที่ดีส�ำหรับบริษัท จดทะเบียน ทีแ่ นะน�ำโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ หลักมาตรฐาน สากล หรื อ แนวปฎิ บั ติ ที่ ดี ที่ แ นะน� ำ โดยสถาบั น ต่ า งๆ ที่เกี่ยวข้อง • ติดตามและก�ำกับดูแลผลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการ บริษัท และผู้บริหาร เพื่อให้มั่นใจว่า กรรมการและผู้บริหาร ได้ปฏิบัติตามนโยบายก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ
การเข้าประชุมคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล ในปี 2559 รายชื่อกรรมการ
ครั้งที่ 1 (16 ก.พ.)
ครั้งที่ 2 (10 ส.ค.)
ครั้งที่ 3 (10 พ.ย.)
จ�ำนวนการประชุม ทั้งหมด
1
นายโรเบิรต์ สแตร์ กัทธรี
P
P
P
3/3
2
นายมนูญ ศิรวิ รรณ
P
P
P
3/3
3
นายวิลเลียม ลูอสี สโตน
P
P
P
3/3
4
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท1
N/A
N/A
P
1/1
ครั้งที่ 1 (16 ก.พ.)
ครั้งที่ 2 (10 ส.ค.)
ครั้งที่ 3 (10 พ.ย.)
จ�ำนวนการประชุม ทั้งหมด
P
N/A
N/A
1/1
กรรมการที่ลาออกในปี 2559 1
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ 2 1
นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และและธรรมาภิบาล โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 12 สิงหาคม 2559
2
นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และและธรรมาภิบาล โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2559
77
บริษัทฯ ซึ่งส่งเสริมให้มีการด�ำเนินงานที่ดียิ่งขึ้น รวมถึง การเพิ่ ม ขึ้ น ของมู ล ค่ า ผู ้ ถื อ หุ ้ น (shareholder value) ในระยะยาว
คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล มีขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และ ความรับผิดชอบ ดังนี้
• คณะกรรมการทรั พ ยากรบุ ค คลจะด� ำ เนิ น การให้ มี ก าร จั ด การด้ า นระบบการจ่ า ยค่ า ตอบแทนทั้ ง หมดอย่ า ง เหมาะสม และมีการด�ำเนินงานในเรื่องดังกล่าวที่ชัดเจน และเป็นที่เข้าใจได้ เพื่อเป็นการส่งเสริมกลยุทธ์ทางด้าน การบริหารทรัพยากรบุคคลของบริษัทฯ
• คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลมีหน้าทีห่ ลักในการช่วยเหลือ คณะกรรมการบริ ษั ท ในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ แผนกลยุ ท ธ์ ทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของบริษทั ฯ การพัฒนา บุคลากร และงานด้านระบบการจ่ายค่าตอบแทนของบริษทั ฯ • คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลมีหน้าทีต่ ามทีค่ ณะกรรมการ บริษทั ฯ มอบหมาย ซึง่ รวมถึงอนุมตั แิ ผนการจ่ายค่าตอบแทน ประจ�ำปีและเงินจูงใจของบริษัทฯ
• คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลมีหน้าทีใ่ นการให้คำ� แนะน�ำ ในการพิจารณาแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูง และพิจารณา แผนสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และ ผู้บริหารระดับสูง
• คณะกรรมการทรั พ ยากรบุ ค คลจะด� ำ เนิ น การพิ จ ารณา พัฒนากลยุทธ์ทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลและ การพั ฒ นาบุ ค ลากรที่ จ ะส่ ง เสริ ม การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของ การเข้าประชุมคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ในปี 2559 รายชื่อกรรมการ
ครั้งที่ 2 (17 มี.ค.)
ครั้งที่ 3 (27 เม.ย.)
ครั้งที่ 4 (2 ส.ค.)
จ�ำนวนการ ประชุมทั้งหมด
1
นายวิลเลียม ลูอสี สโตน
P
P
P
P
4/4
2
นายปลิว มังกรกนก
P
P
P
P
4/4
3
นางเค็ง ลิง ล๊ก 1
N/A
N/A
N/A
N/A
0/0
ครั้งที่ 1 (16 ก.พ.)
ครั้งที่ 2 (17 มี.ค.)
ครั้งที่ 3 (27 เม.ย.)
ครั้งที่ 4 (2 ส.ค.)
จ�ำนวนการ ประชุมทั้งหมด
P
P
P
P
4/4
กรรมการที่ลาออกในปี 2559 1
78
ครั้งที่ 1 (16 ก.พ.)
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี 2 1
นางเค็ง ลิง ล๊ก ได้รบั เลือกตัง้ เป็นกรรมการบริษทั และกรรมการทรัพยากรบุคคล โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 11 พฤศจิกายน 2559 ตัง้ แต่วนั ที่ 11 พฤศจิกายน 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ไม่มกี ารประชุมคณะกรรมการบริษทั และการประชุมคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล
2
นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการทรัพยากรบุคคลโดยมีผลตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2559
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
การอบรมกรรมการเข้าใหม่ ในปี 2559 นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท และ นางเค็ง ลิง ล๊ก ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น กรรมการ บริ ษั ท ฯได้ แ นะน� ำ กรรมการ ที่ เ ข้ า ใหม่ ให้ ท ราบถึ ง ธุ ร กิ จ และกระบวนการผลิ ต ของบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง วั ฒ นธรรมองค์ ก ร และผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ โดยเที ย บกั บ บริ ษั ท ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ประเภทเดี ย วกั น ทั้ ง ใน ประเทศไทยและต่างประเทศ รวมถึงให้ข้อมูลและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ
การประเมินตนเอง ของคณะกรรมการบริษทั เมื่อสิ้นปี 2559 คณะกรรมการได้ท�ำการประเมินการท�ำหน้าที่ ของคณะกรรมการในปี 2559 โดยท�ำผ่านแบบประเมินตนเอง ซึ่งประกอบด้วยค�ำถามทั้งหมด 50 ค�ำถาม ครอบคลุม 6 หัวข้อ ดังนี้ • องค์ ป ระกอบและคุ ณ สมบั ติ ข องคณะกรรมการ เพื่ อ ประเมิ น ถึ ง ความเหมาะสมและความหลากหลาย ขององค์ประกอบของคณะกรรมการ เช่น ในเรื่องทักษะ และประสบการณ์ ทีส่ นับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการ และการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ เพื่ อ ประเมิ น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในการท� ำ หน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการให้บรรลุเป้าหมายของบริษัท • การท�ำหน้าที่ของกรรมการ เพื่อประเมินการท�ำหน้าที่ ของกรรมการอย่างเป็นกลาง และเป็นอิสระ • การประชุมคณะกรรมการ เพื่อประเมินถึงประสิทธิภาพ และบรรยากาศในการประชุ ม และความเหมาะสม ของข้ อ มู ล ที่ จั ด เตรี ย มเพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการพิ จ ารณา ในการประชุม • ความสัมพันธ์กบั ฝ่ายบริหาร เพือ่ ประเมินความไว้วางใจที่ คณะกรรมการมีตอ่ ฝ่ายบริหาร และการท�ำหน้าทีส่ นับสนุน กันอย่างมีประสิทธิภาพ • การพัฒนาตนเองของกรรมการ เพือ่ ประเมินความเข้าใจ ในบทบาท หน้าที่ ของกรรมการ รวมถึงความเข้าใจในธุรกิจ ของบริษัทฯ นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท และ นางเค็ง ลิง ล๊ก ไม่ได้ร่วม ท�ำแบบประเมินตนเอง เนือ่ งจาก ทัง้ สองเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ น้อยกว่า 6 เดือน ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการ ส�ำหรับการท�ำหน้าที่ ในปี 2559 ได้คะแนนร้อยละ 95.26
รายงานประจำ�ปี 2559
การประเมิ น ตนเอง ของคณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ทำ� การประเมินการท�ำหน้าทีข่ องตน ในปี 2559 โดยท� ำ ผ่ า นแบบประเมิ น ตนเอง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ค�ำถามทั้งหมด 30 ค�ำถาม ครอบคลุม 3 หัวข้อหลัก ดังนี้ • โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่ อ ประเมิ น ถึ ง ความเหมาะสมและความหลากหลาย ขององค์ ป ระกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ เช่ น ในเรื่องทักษะ และประสบการณ์ ที่สนับสนุนการท�ำงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ รวมถึ ง การท� ำ หน้ า ที่ อย่างน่าเชื่อถือ น่าไว้วางใจ • การประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่ อ ประเมิ น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและบรรยากาศในการประชุ ม และ ความเหมาะสมของข้อมูลทีจ่ ดั เตรียมเพือ่ ให้คณะกรรมการ พิจารณาในการประชุม • บทบาทและการท�ำหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่ อ ประเมิ น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในการท� ำ หน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการตรวจสอบ ในเรื่องดังต่อไปนี้ »» รายงานทางการเงิน »» การควบคุมภายใน »» การบริหารความเสี่ยง »» การปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี »» การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน ผลของการประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ ได้คะแนนร้อยละ 92.77
การประเมินตนเอง ของคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล คณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล (คณะกรรมการสรรหาฯ) ได้ท�ำการประเมินการท�ำหน้าที่ของตน ในปี 2559 โดยท� ำ ผ่ า นแบบประเมิ น ตนเอง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ค�ำถามทั้งหมด 15 ค�ำถาม ครอบคลุม 3 หัวข้อ ดังนี้ • โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการสรรหาฯ เพื่ อ ประเมิ น ถึ ง ความเหมาะสมและความหลากหลาย ขององค์ ป ระกอบของคณะกรรมการสรรหาฯ เช่ น ในเรื่องทักษะ และประสบการณ์ ที่สนับสนุนการท�ำงาน ของคณะกรรมการสรรหาฯ • บทบาทและการท�ำหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาฯ เพือ่ ประเมินถึงประสิทธิภาพในการท�ำหน้าทีข่ องคณะกรรมการ สรรหาฯ ตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาฯ
79
• การประชุ ม คณะกรรมการสรรหาฯ เพื่ อ ประเมิ น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและบรรยากาศในการประชุ ม และ ความเหมาะสมของข้อมูลทีจ่ ดั เตรียมเพือ่ ให้คณะกรรมการ พิจารณาในการประชุม นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท ไม่ได้ร่วมท�ำแบบประเมินตนเอง เนื่องจากเข้าด�ำรงเป็นกรรมการสรรหาฯ น้อยกว่า 6 เดือน ผลของการประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการสรรหาฯ ได้ คะแนนร้อยละ 95.45
การประเมินตนเอง ของกรรมการรายบุคคล กรรมการแต่ละท่าน ได้ประเมินการท�ำหน้าทีข่ องตนในปี 2559 โดยท�ำผ่านแบบประเมินตนเอง ซึ่งประกอบด้วยค�ำถามทั้งหมด 25 ค�ำถาม ครอบคลุม 5 หัวข้อ ดังนี้ • ความเข้าใจในธุรกิจ กลยุทธ์ และนโยบายในการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัท • ความเข้าใจในบทบาทกรรมการ และการท�ำหน้าทีก่ รรมการ • การเพิ่มพูนทักษะและความรู้ • การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าร่วมประชุม • การท�ำหน้าที่อย่างเป็นอิสระและความสัมพันธ์กับผู้บริหาร และกรรมการท่านอื่น นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท และ นางเค็ง ลิง ล๊ก ไม่ได้ร่วม ท�ำแบบประเมินตนเอง เนือ่ งจาก ทัง้ สองเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ น้อยกว่า 6 เดือน ผลของการประเมินตนเองของคณะกรรมการสรรหาฯ ได้คะแนน ร้อยละ 89.00
การประเมิ น การท� ำ หน้ า ที่ ข องประธาน การประเมิ น ตนเอง ของคณะกรรมการ เจ้าหน้าที่บริหาร ประธานคณะกรรมการ และกรรมการได้ ร ่ ว มพิ จ ารณา ทรัพยากรบุคคล ผลการด� ำ เนิ น งานของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และประเมิ น คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ได้ทำ� การประเมินการท�ำหน้าที่ ของตนในปี 2559 โดยท�ำผ่านแบบประเมินตนเอง ซึ่งประกอบด้วย ค�ำถามทั้งหมด 15 ค�ำถาม ครอบคลุม 3 หัวข้อ ดังนี้
• โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการทรัพยากร บุคคล เพือ่ ประเมินถึงความเหมาะสมและความหลากหลาย ขององค์ประกอบของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล เช่น ในเรื่องทักษะ และประสบการณ์ ที่สนับสนุนการท�ำงาน ของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล • บทบาทและการท�ำหน้าทีข่ องคณะกรรมการทรัพยากร บุ ค คล เพื่ อ ประเมิ น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในการท� ำ หน้ า ที่ ของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ตามที่ก�ำหนดไว้ใน กฎบัตรคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล • การประชุมคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล เพือ่ ประเมิน ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและบรรยากาศในการประชุ ม และ ความเหมาะสมของข้อมูลทีจ่ ดั เตรียมเพือ่ ให้คณะกรรมการ พิจารณาในการประชุม นางเค็ง ลิง ล๊ก ไม่ได้ร่วมท�ำแบบประเมินตนเอง เนื่องจาก เข้าด�ำรงเป็นกรรมการทรัพยากรบุคคล น้อยกว่า 6 เดือน ผลของการประเมินตนเองของคณะกรรมการสรรหาฯ ได้คะแนน ร้อยละ 86.95
80
การท�ำหน้าที่ของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยพิจารณา 8 หัวข้อ ดังนี้ • ความเป็นผู้น�ำ • การวางกลยุทธในการท�ำงาน • การวางแผนทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานทางการเงิน • ความสัมพันธ์กับกรรมการ • ความสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก • ความสัมพันธ์กับผู้บริหาร และการบริหารงานบุคคล • การวางแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง • ทักษะและทัศนคติ
คณะกรรมการไม่ เ ปิ ด เผยผลการประเมิ น แต่ ป ระธาน คณะกรรมการได้มีการสื่อสารผลของการประเมิน ให้ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร ได้รับทราบ
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียนท่านผู้ถือหุ้น ในนามของคณะกรรมการตรวจสอบ เรามีค วามยินดีที่จะ น�ำเสนอรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559
คณะกรรมการตรวจสอบรับรองงบการการเงิน ปี 2559 และ เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ขอพิจารณาอนุมตั ติ อ่ ทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้น
คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน สามท่าน ได้แก่ นายปลิว มังกรกนก เป็นประธานคณะกรรมการตรวจ สอบ นายมนูญ ศิรวิ รรณ และนายโรเบิรต์ สแตร์ กัทธรี เป็นสมาชิก คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการทัง้ สามท่านเป็นผูม้ คี ณ ุ สมบัติ มี ความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์ เหมาะสมในการปฏิบัติ หน้าที่ และมีคุณสมบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติของ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2. สอบทานการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานผลการประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบควบคุ ม ภายใน ตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งเป็นไปตามกรอบแนวทางปฏิบัติ ด้านการควบคุมภายในของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) จากผลการประเมินคณะกรรมการตรวจสอบพบว่า บริษัทฯ มีการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอเพือ่ สนับสนุนวัตถุประสงค์ และ เป้าหมายตามที่บริษัทฯได้ก�ำหนดไว้
คณะกรรมการตรวจสอบได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษทั ให้มหี น้าทีร่ บั ผิดชอบในการก�ำกับดูแล และสอบทานรายงาน ทางการเงิน สอบทานความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน รวม ทั้งการบริหารความเสี่ยง รายการระหว่างกัน และประสิทธิภาพใน การท�ำหน้าทีข่ องผูส้ อบบัญชีและผูต้ รวจสอบภายใน ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมจ�ำนวน 4 ครั้ง ซึ่งสรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ได้ดงั นี้ 1. สอบทานรายงานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินรายปี ของปี 2559 ร่วมกับผู้สอบบัญชี บริษัท ไพร้ซ วอเตอร์เฮ้าส์ คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด ในการประชุมแต่ละครั้ง ผู้สอบบัญชีได้ แสดงความเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลของการควบคุมภายใน ความถูกต้อง ครบถ้วน ของรายงานทางการเงิน โดยเนื้อหาใน รายงานผู้สอบบัญชี ปี 2559 เป็นรูปแบบใหม่ ตามมาตรฐาน การสอบบัญชีฉบับที่ 700 (ปรับปรุงใหม่) ผูส้ อบบัญชีได้อธิบาย ถึ ง เนื้ อ หาและหลัก เกณฑ์ในรายงานผู้สอบบัญ ชีแ บบใหม่ ตามมาตรฐานการสอบบัญชีฉบับที่ 700 (ปรับปรุงใหม่) ให้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการสอบถามฝ่ายบริหาร และผูส้ อบบัญชีเกีย่ วกับรายงานทางการเงิน และให้ความเห็น ว่ า รายงานทางการเงิ น และข้ อ มู ล ในหมายเหตุ ป ระกอบ งบการเงิน ปี 2559 ได้มีการจัดท�ำขึ้นตามข้อก�ำหนดในการ รายงานทางการเงินของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป
คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน และอนุมัติกฎบัตร การตรวจสอบภายใน และแผนการตรวจสอบประจ�ำปี ของ ผู ้ ต รวจสอบภายใน ซึ่ ง ได้ มี ก ารจั ด ท� ำ โดยมี ก ารประเมิ น ความเสี่ยงของแต่ละกระบวนการ และดัชนีวัดผลการปฏิบัติ งานของผูต้ รวจสอบภายใน ผูต้ รวจสอบภายในได้ทำ� การตรวจ สอบส�ำเร็จตามแผนการตรวจสอบ และได้รายงานผลการ ตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกไตรมาส ในปี 2559 ผู ้ ต รวจสอบภายในได้ ส อบทานและประเมิ น ประสิทธิผลของการควบคุมภายใน จ�ำนวน 8 กระบวนการ และไม่พบข้อบกพร่องที่ส�ำคัญในระบบการควบคุมภายใน หรือปัญหาใด ๆที่เกี่ยวข้องกับการขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือการทุจริต 3. สอบทานการก� ำ กั บ ดู แ ลตามหลั ก ธรรมาภิ บ าล ใน ปี 2559 คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ อ นุ มั ติ น โยบายการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า กรรมการ ผู ้ บ ริ ห ารและ พนั ก งานทุ ก คนด� ำ เนิ น งานด้ ว ยความโปร่ ง ใส มุ ่ ง มั่ น ป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบรับผิดชอบในการก�ำกับดูแลและ สอบทานการควบคุมการปฏิบัติตามนโยบายการต่อต้านการ ทุจริตเพือ่ ให้มนั่ ใจว่านโยบายการต่อต้านการทุจริตได้ถกู น�ำไป ปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานการประเมิ น ความเสี่ยงและการควบคุมภายในด้านการทุจริต บริษัทฯ ได้ ก� ำ หนดให้ มี ช ่ อ งทางร้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ ข้ อ สงสั ย ในการ
81
ไม่ปฏิบัติตามนโยบายการต่อต้านการทุจริตได้โดยตรงต่อ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และเจ้าหน้าที่ ก�ำกับดูแลองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการติดตามความคืบหน้า การปฏิบัติตามมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่นเพื่อให้ได้รับ การรับรองเกี่ยวกับมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่น เนื่องจาก บริษัทฯ ได้ประกาศเจตนารมย์มีส่วนร่วมในโครงการการต่อ ต้านการทุจริตและคอร์รัปชั่น ของโครงการแนวร่วมปฏิบัติ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (CAC) เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2559 4. สอบทานการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริหารความ เสี่ยง ได้มีการจัดตั้งขึ้นในระดับผู้บริหารซึ่ง ประกอบด้วย ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และ สมาชิ ก ในระดั บ ผู ้ บ ริ ห าร คณะกรรมการชุ ด นี้ ถู ก จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ระบุ วิ เ คราะห์ ป ระเมิ น ความเสี่ ย ง และการจั ด การบริ ห ารความเสี่ ย งอย่ า งมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะกรรมการตรวจสอบได้มี การสอบทาน กระบวนการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงการติดตาม ผลการด� ำ เนิ น งานตามแผนบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท ฯ เป็นประจ�ำทุกไตรมาส 5. สอบทานการท�ำรายการที่เกี่ยวโยง ในปี 2559 บริษัทฯ ได้มีการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันตามที่ได้เปิดเผยในรายงาน ประจ�ำปีฉบับนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการสอบทาน และทบทวนรายการที่เกี่ยวโยงเป็นรายไตรมาส และสรุปได้ว่า บริษทั ฯได้ทำ� รายการต่างๆ ตามเงือ่ นไขทางการค้าทัว่ ไป มีการ ต่อรองและตกลงกันบนหลัก arm’s length มีความสมเหตุสม ผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ เป็นส�ำคัญ 6. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย บริษัทฯ ได้มีการจัดตั้ง คณะกรรมการก�ำกับดูแลการปฏิบัติตามกฎหมาย ได้มีการ จัดตั้งขึ้นในระดับผู้บริหารซึ่ง ประกอบด้วยประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร และสมาชิกในระดับผู้บริหาร คณะกรรมการชุดนี้ถูก จัดตั้งขึ้นเพื่อให้แน่ใจว่าการด�ำเนินการของบริษัทฯ มีการ ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดของกฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการตรวจสอบได้รับการรายงานเกี่ยวกับผลการ ปฏิบัติตาม Foreign Corrupt Practice Act (FCPA) และ การปฏิบัติตามกฎหมายจากบริษัทฯ เป็นประจ�ำทุกไตรมาส 7. ความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ตรวจสอบความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชีจาก บริษัท ไพร้ซ วอเตอร์เฮ้าส์ คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด เพื่อให้มั่นใจในความ เป็นอิสระในการจัดท�ำงบการเงิน ในปี 2559 บริษัท ไพร้ซ วอเตอร์เฮ้าส์ คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด ไม่มีการให้ค�ำปรึกษา
แก่บริษทั ฯ ในด้านอืน่ ทีอ่ าจมีผลกระทบต่อความเป็นอิสระของ ผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมกับผู้สอบ บัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน โดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วม เพื่อ ให้แน่ใจว่า ผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายใน มีความเป็น อิสระในการปฏิบัติหน้าที่ รวมถึงการได้รับความร่วมมือจาก ผู้บริหารและพนักงานในการตรวจสอบ 8. การพิ จ ารณาเสนอแต่ ง ตั้ ง ผู ้ ส อบบั ญ ชี ประจ�ำปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาคุณสมบัติ ความเป็นอิสระ และผลงานที่ผ่านมาของ บริษัท ไพร้ซ วอเตอร์เฮ้าส์ คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาและให้ ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี จาก บริษัท ไพร้ซ วอเตอร์เฮาส์ คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของ บริษทั ฯ รวมถึงพิจารณาอนุมตั คิ า่ ตอบแทนการสอบบัญชี และ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการเพือ่ พิจารณาก่อนน�ำเสนอขออนุมัติ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป 9. การประเมินตนเองของคณะกรรมสอบตรวจสอบ ในการ ประชุมคณะกรรมสอบตรวจสอบครัง้ ที่ 4/2559 คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ ท� ำ แบบประเมิ น ตนเอง โดยในแบบประเมิ น ครอบคลุมเรือ่ ง ก) โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ ตรวจสอบ ข) การประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ และ ค) บทบาทและการท�ำหน้าที่ของคณะกรรมการตรอจสอบ ในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ รายงานทางการเงิ น การควบคุ ม ภายใน การบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีและ ผู ้ ต รวจสอบภายใน ผลของการประเมิ น ตนเองได้ ค ะแนน ร้อยละ 92.77 และการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นไปตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบและสอดคล้องกับ กฎระเบียบและแนวปฏิบัติตามที่ก�ำหนด จากการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบในปี 2559 สรุปได้ว่า คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระบุไว้ ในกฏบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ และมีความเห็นว่า บริษัทฯ มีการจัดท�ำงบการเงินของปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เป็นไป อย่างถูกต้อง สอดคล้องตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไปและ สะท้อนถึงผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของบริษัทฯ อย่างถูกต้อง บริษัทฯ มีการด�ำเนินการตามหลักธรรมาภิบาล มีการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี ปฏิบัติตามกฏหมาย ระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ในการด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงมีการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม ภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
ปลิว มังกรกนก ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
82
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
รายงานคณะกรรมการสรรหา กำ�หนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล เรียนท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล (“คณะกรรมการสรรหาฯ”) ประกอบไปด้วยกรรมการทัง้ หมดจ�ำนวน สีท่ า่ น คือ นายโรเบิรต์ สแตร์ กัทธรี (กรรมการอิสระ) ด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ นายมนูญ ศิรวิ รรณ (กรรมการอิสระ) นายวิลเลียม ลูอสี สโตน (กรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร) และ นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท (กรรมการทีไ่ ม่ใช่ผบู้ ริหาร) เป็นสมาชิก ของคณะกรรมการสรรหาฯ นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสมาชิก คณะกรรมการสรรหาฯ ตัง้ แต่วนั ที1่ 2 สิงหาคม 2559 โดยได้เข้าด�ำรง ต�ำแหน่งแทนที่ นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ ทีล่ าออกไปเมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เมื่อเดือนสิงหาคม 2559 ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทได้ ตรวจทานหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาฯ เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ ได้ปฎิบัติงานและด�ำเนินงานสอดคล้อง ตามหลักหลักธรรมาภิบาลทีด่ ี และเป็นไปตามนโยบายธรรมาภิบาล ของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทจึงได้พิจารณามอบหมายให้ คณะกรรมการสรรหาฯ มีหน้าที่รับผิดชอบเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้
•
ตรวจทานความเพียงพอของการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้อง กับหลักธรรมาภิบาล ให้ค�ำแนะน�ำและเสนอแนะต่อ คณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้แน่ใจว่านโยบาย การปฎิบตั ิ และมาตรฐานการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ มีความ สอดคล้องกับแนวปฎิบัติที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ทีว่ างแนวปฏิบตั ไิ ว้สำ� หรับบริษทั จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ และ แนวปฏิบัติที่ดีตามมาตรฐาน สากล รวมถึงค�ำแนะน�ำจากสถาบันที่เกี่ยวข้อง
•
ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ก� ำ กั บ ดู แ ล ก า ร ป ฎิ บั ติ ง า น ข อ ง คณะกรรมการบริ ษั ท และผู ้ บ ริ ห าร เพื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า คณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ได้ปฎิบตั ติ ามนโยบาย ธรรมาภิบาลของบริษัทฯ
ดั ง นั้ น ชื่ อ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ชุ ด นี้ จึ ง ไ ด ้ เ ป ลี่ ย น จาก “คณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน” เป็ น “คณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล”
ในปี 2559 คณะกรรมการสรรหาฯ ได้มีการประชุม ทั้งหมด 3 ครั้ง เพื่อพิจารณาในเรื่องต่างๆ ตามที่ไ ด้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท และ ตามบทบาทและหน้าที่รับผิดชอบตามที่ ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการสรรหาฯ โดยมีสาระส�ำคัญ สรุปได้ดังนี้ 1. พิ จ ารณาคุ ณ สมบั ติ และเสนอชื่ อ ผู ้ ที่ เ หมาะสมได้ รั บ การเลือกตั้งเป็นกรรมการ แทนกรรมการที่ครบวาระ หรือกรรมการที่ลาออกจากต�ำแหน่ง ต่อคณะกรรมการ บริ ษั ท เพื่ อ พิ จ ารณาเสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ต่ อ ไป คณะกรรมการสรรหาฯ (เว้นแต่สมาชิกผูม้ สี ว่ นได้เสีย) จะ พิจารณาและตรวจสอบคุณสมบัตขิ องผูไ้ ด้รบั การเสนอชือ่ โดยพิจารณาถึงความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ เพือ่ ให้เหมาะสมกับการประกอบธุรกิจ ของบริษทั ฯ คณะกรรมการสรรหาฯ ได้พิจารณาคุณสมบัติและให้ ค�ำเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัท พิจารณาเลือกตั้ง นาย วิลเลียม ลูอีส สโตน และ นายปลิว มังกรกนก กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอีกครัง้ หนึง่ เมือ่ ทัง้ สองท่าน ครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ เมือ่ การประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2559 และคณะกรรมการสรรหาฯ ได้ พิจารณาคุณสมบัตแิ ละให้คำ� เสนอแนะต่อคณะกรรมการ บริษทั พิจารณาเลือกตัง้ นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท และ นางเค็ง ลิง ล๊ก ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ แทนที่ นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ และ นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี ทีล่ าออกจากการเป็นกรรมการบริษทั 2. ให้ ค� ำ แนะน� ำ คณะกรรมการบริ ษั ท ในการเสนอราย ชื่ อ กรรมการเพื่ อ แต่ ง ตั้ ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง สมาชิ ก ใน คณะกรรมการสรรหาฯ และ คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ซึง่ คณะกรรมการสรรหาฯ ได้เสนอชือ่ นายนิโคลัส ไมเคิล บอสสึท เป็นสมาขิกคณะกรรมการสรรหาฯแทน นายอามิท ราจินดราซิง ไกฮ์ และเสนอชือ่ นางเค็ง ลิง ล๊ก เป็นสมาชิก คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลแทนนายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี
83
3. ในช่วงต้นปี 2559 คณะกรรมการสรรหาฯ ได้ประเมินองค์ ประกอบของคณะกรรมการ และเห็นว่าคณะกรรมการมี องค์ประกอบที่เหมาะสม ซึ่งประกอบไปด้วยกรรมการที่ มีทกั ษะ ความรูค้ วามสามารถ และประสบการณ์ความ เชีย่ วชาญในด้านต่างๆทีห่ ลากหลาย และคณะกรรมการ สรรหาฯ เสนอแนะต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ว่า เพื่ อ ความหลากหลาย น่ า จะมี ก รรมการหญิ ง อยู ่ ใ น คณะกรรมการด้วย 4. สอบทานและพิจารณาก�ำหนดอัตราค่าตอบแทนกรรม การบริษัทฯ รวมถึงค่าตอบแทนกรรมการส�ำหรับคณะ กรรมการชุดย่อย เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา และเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป คณะกรรมการสรรหาฯ ได้พิจารณาถึงหน้าที่ ความรับผิด ชอบ และความรับผิดของกรรมการบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ และเห็นว่าค่าตอบแทนกรรมการ ส�ำหรับ กรรมการในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ควร มีอัตราที่เหมาะสม ทัดเทียมและสามารถสร้างแรงจูงใจ ให้กับผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และจะได้รับคัดเลือก เป็นกรรมการในอนาคตตัดสินใจเข้าร่วมเป็นกรรมการ ของบริษัท ซึ่งในการพิจารณาก�ำหนดอัตราค่าตอบแทน กรรมการบริษัทนี้ คณะกรรมการสรรหาฯ ได้พิจารณา โดยเทียบเคียงกับอัตราการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการของ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และบริษัทอื่นๆ ใน กลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน อัตราค่าตอบแทนกรรมการประจ�ำปี 2559 เป็นอัตรา เดี ย วกั น กั บ ปี 2558 โดยมี ก ารก� ำ หนดเพิ่ ม เติ ม คื อ ค่ า ตอบแทนรายเดื อ น ส� ำ หรั บ ต� ำ แหน่ ง รองประธาน กรรมการ ค่ า ตอบแทนกรรมการ ประกอบด้ ว ย ค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี้ยประชุม และไม่มีโบนัส เพื่อความโปร่งใส คณะกรรมการสรรหาฯ ได้เปิดเผย ค่าตอบแทนที่กรรมการแต่ละท่านได้รับในปี 2559 ใน รายงานประจ�ำปีฉบับนี้ 5. เพื่อให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล คณะกรรมการสรร หาฯ ได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ให้มกี ารเปิดโอกาส ให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถเสนอชื่อบุคคลเพื่อคัดเลือก เป็นกรรมการ และเสนอวาระการประชุมส�ำหรับการ
84
ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปีได้ คณะกรรมการสรรหาฯ ได้จัดท�ำหลักเกณฑ์และกระบวนการเสนอชื่อบุคคลเพื่อ คัดเลือกเป็นกรรมการ และเสนอวาระการประชุมส�ำหรับ การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี ให้คณะกรรมการ บริษัทพิจารณาอนุมัติ และได้เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวไว้ ในเวปไซต์ของบริษัทฯ 6. ดูแลและสนับสนุนให้คณะกรรมการบริษัทฯ เข้าร่วม การอบรมและสั ม มนาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กรรมการ ซึ่ ง จั ด โดยสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถในการปฎิบัติหน้าที่ใน ฐานะกรรมการ 7. สอบทานการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท กรรมการรายบุ ค คล และคณะกรรมการสรรหาฯ โดยพิจารณาจากผลการท�ำแบบประเมินตนเอง 8. สอบทานผลการประเมินธรรมาภิบาลของบริษัทฯ ซึ่งใน ปีแรกของการประเมิน บริษทั ฯ ได้รบั การประเมินในระดับ 4 ดาว นอกจากนี้คณะกรรมการสรรหาฯ ยังได้ตรวจทาน และพิจารณาปรับปรุงเพื่อให้บริษัทฯ มีการปฏิบัติเป็นไป ตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ ได้ปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามทีก่ ำ� หนดไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการสรรหาฯ โดยได้ยดึ มัน่ ในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรอบคอบ โปร่งใส และเพื่อประโยชน์ สูงสุดของบริษัทฯและผู้ถือหุ้น ในนามคณะกรรมการสรรหา ก� ำ หนดค่ า ตอบแทน และ ธรรมาภิบาล
โรเบิร์ต สแตร์ กัทธรี ประธานคณะกรรมการสรรหา ก�ำหนดค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
รายงานคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล เรียนผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) (SPRC) ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล อันประกอบด้วย กรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหาร ซึ่งมาจากการแต่งตั้งของคณะกรรมการ บริษทั ฯ จ�ำนวน 2 ท่าน และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร โดยมี ผูจ้ ดั การ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ได้รบั การมอบหมายให้ทำ� หน้าทีเ่ ป็นเลขานุการ ของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล เมื่อต้นปี 2559 คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ประกอบไป ด้วยนายวิลเลียม ลูอสี สโตน (ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร) ท�ำหน้าที่ ประธานคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล นายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี (กรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหาร) และนายปลิว มังกรกนก (กรรมการอิสระ) ต่อมา ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2559 ได้มมี ติแต่งตัง้ นางเค็ง ลิง ล๊ก (กรรมการที่ ไม่ใช่ผบู้ ริหาร) ให้ทำ� หน้าทีแ่ ทนนายรังกา รามา คูมาร์ ศรีรามากีรี ทีไ่ ด้ ลาออกจากการเป็นกรรมการของบริษัทฯ คณะกรรมการทรัพยากร บุคคลมีการประชุมอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง และอาจเรียกประชุม เพิม่ เติมได้หากมีวาระทีต่ อ้ งพิจารณาเป็นกรณีพเิ ศษ คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ท�ำหน้าทีส่ นับสนุนคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ กลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล การพัฒนาบุคลากร และระบบเงินเดือนและโบนัส รวมถึงท�ำหน้าที่ พิจารณาอนุมัติระบบการบริหารค่าตอบแทนประจ�ำปีเพื่อสร้าง แรงจูงใจให้กับพนักงาน ในการท�ำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทาง ธุรกิจของบริษทั ฯ และเพือ่ สร้างผลตอบแทนอย่างยัง่ ยืนให้แก่ผถู้ อื หุน้ นอกจากนี้ คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ยังมีหน้าทีพ่ จิ ารณาการ แต่งตั้งบุคลากรในต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูง พิจารณาแผนการ สืบทอดต�ำแหน่งส�ำหรับต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูง และพิจารณา อนุมตั แิ ผนงานการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของบริษทั ฯ
ในปี 2559 คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ได้มีการประชุม จ�ำนวน 4 ครัง้ เพือ่ พิจารณาในเรือ่ งต่าง ๆ ตามบทบาทและหน้าที่ ซึง่ ได้รบั มอบหมาย โดยมีสาระส�ำคัญ สรุปได้ดงั นี้ 1. ระบบการบริหารค่าตอบแทน คณะกรรมการทรัพยากร บุคคลได้พิจารณาและติดตามการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหาร เกี่ยวกับการบริหารจัดการสวัสดิการแบบยืดหยุ่น (Flexible Benefit) ทีไ่ ด้นำ� มาใช้ตงั้ แต่ปี 2558 เพือ่ ให้พนักงานมีสวัสดิการ ที่ ดี ขึ้ น และตรงตามลั ก ษณะการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของแต่ ล ะคน พนักงานมีความพึงพอใจในสวัสดิการที่มีความโดดเด่นจาก บริ ษั ท ฯ อื่ น โดยสามารถใช้ ค ะแนน “สวั ส ดิ ก ารยื ด หยุ ่ น ” เพื่ อ เลื อ กใช้ ส วั ส ดิ ก ารให้ เ หมาะสมกั บ ความต้ อ งการของ ตนเองหรือของครอบครัว คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลยัง ได้พิจารณาระบบค่าตอบแทนโดยรวม แผนงานการปรับเงิน เดือนประจ�ำปี โดยเปรียบเทียบกับบริษัทชั้นน�ำในประเทศไทย ที่อยู่ในธุรกิจเดียวกันและธุรกิจอื่น ๆ ที่ใกล้เคียง เพื่อให้มั่นใจ ได้วา่ ระบบค่าตอบแทนโดยรวมของบริษทั ฯ ยังสามารถแข่งขัน และรักษาการเป็นผู้น�ำในเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด เพื่อ สามารถดึงดูด รักษา และจูงใจพนักงานที่มีความสามารถ สูงให้อยู่กับบริษัทฯ ต่อไป คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล ได้พิจารณาอนุมัติโบนัสพิเศษให้แก่พนักงาน เพื่อเป็นการ ขอบคุณทีพ่ นักงานได้ทมุ่ เทท�ำงาน สร้างผลการด�ำเนินงานและ ผลประกอบการที่ดีเยี่ยมให้กับบริษัทฯ ในปี 2558
85
2. กลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลได้ทบทวนแผนงานและผลการด�ำเนินงานการ บริหารทรัพยากรบุคคลในปี 2558 และได้พิจารณารับรอง แผนกลยุทธ์ในการบริหารทรัพยากรบุคคลประจ�ำปี 2559 ในการสร้ า งมาตรฐานและมุ ่ ง สู ่ ก ารเป็ น องค์ ก รในฝั น ของ ประเทศไทยในปี 2563 ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจใน องค์กรและมีความรู้สึกผูกพันในการเป็นครอบครัวเดียวกัน และเป็นองค์กรที่น่าร่วมงานด้วยที่สุด เป้าหมายที่ส�ำคัญของ ปี 2559 คือ »» เป็นองค์กรในฝันของประเทศไทยในปี 2563
»» เสริมสร้างและปลูกฝังค่านิยมหลักของบริษัทฯ ให้กับ พนักงานทุกคน »» พัฒนาให้ทกุ คนในองค์กรมีความเป็นผูน้ ำ� ระดับโลก
»» ใช้ Green Technology ในการสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันขององค์กร
»» บู ร ณาการ แผนพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น เพื่ อ เสริ ม สร้ า ง ครอบครัวที่มีความผูกพันสูง
3. แผนการสืบทอดต�ำแหน่งและโครงการส่งเสริมและพัฒนา ผู้มีศักยภาพ คณะกรรมการทรัพยากรบุค คลได้พิจารณา แผนการสืบทอดต�ำแหน่ง ส�ำหรับต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูง และการพัฒนาศักยภาพของพนักงาน ด้วยการส่งพนักงานของ บริษัทฯ ไปปฏิบัติงานที่โรงกลั่นน�้ำมันร่วมทุนของเชฟรอนที่ ต่างประเทศ คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลยังได้มกี ารทบทวน และรับรองผลการแต่งตั้งผู้บริหารของบริษัทฯ เพื่อเพิ่มพูนขีด ความสามารถทางด้านการเป็นผูน้ ำ� และศักยภาพในด้านต่างๆ เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตของธุรกิจต่อไป
86
4. การจั ด การองค์ ก รให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลได้พิจารณาทบทวนและรับรองผลการส�ำรวจ ความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร ที่ได้เสร็จสิ้นในปี 2559 และแผนปฎิ บั ติ ก ารเพื่ อ สร้ า งความผู ก พั น ที่ มี ต ่ อ องค์ ก ร อย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลได้พิจารณา ทบทวนและรับรองโครงการ “องค์กรสร้างสุข”, ดรรชนีชี้วัด ความสุข และดัชนีชีวัดด้านค่านิยมของบริษัทฯ ซึ่งจะส่งเสริม วัฒนธรรมของบริษัทฯ ท�ำให้เป็นสถานที่ท�ำงานที่ดีที่สุด และ เป็นองค์กรในฝันของทุกคน ส�ำหรับปี 2559 คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลเชื่อมั่นว่า ด้วยวัฒนธรรมองค์กรที่แข็งแกร่ง และค่านิยมองค์กรที่เข้มแข็ง ประกอบกั บ ระบบการบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คลของบริ ษั ท ฯ จะ สนั บ สนุ น ให้ บ ริ ษั ท ฯ ก้ า วสู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ ด้ า นการปฏิ บั ติ ก าร และการเติบโตในอนาคตของบริษัทฯ ซึ่งจุดมุ่งหมายของเราคือการ เป็นสถานที่ที่ดีที่สุดในการท�ำงาน และเป็นองค์กรในฝันของทุกคน โดยทั้งหมดนี้จะช่วยเสริมสร้างผลตอบแทนที่ดีที่สุดให้กับผู้ถือหุ้น ในนามคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล
นาย วิลเลียม ลูอีส สโตน ประธานคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
การพัฒนาอย่างยั่งยืน และความรับผิดชอบต่อสังคม
บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการปฏิบัติและแสดง ให้ เ ห็ น ถึ ง จรรยาบรรณในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ความรั บ ผิ ด ชอบ ทางจริยธรรม การมีส่วนร่วมกับชุมชน และความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม โดยให้ความส�ำคัญในการรักษาความสมดุลของการ ดูแลสิง่ แวดล้อม การพัฒนาสังคม และผลประกอบการทางการเงิน อี ก ทั้ ง ยั ง เชื่ อ มั่ น และปฏิ บั ติ ต ามแนวทางการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนใน ทุก ๆ ด้าน วัฒนธรรมองค์กรแบบ “ครอบครัวเดียวกัน” ของบริษัท ฯ มุ ่ ง เน้ น การสร้ า งความยั่ ง ยื น โดยผ่ า นทุ ก กิ จ กรรมของสมาชิ ก ในครอบครัว การดูแลห่วงใยซึ่งกันและกัน รวมถึงความใส่ใจใน สิ่งแวดล้อม ชุมชน และธุรกิจ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นเป้าหมายและ วิสัยทัศน์ของบริษัทฯ บริษัทฯ ได้ด�ำเนินโครงการการพัฒนาอย่างยั่งยืนและยึดมั่น เป็นหลักในการด�ำเนินธุรกิจอย่างเคร่งครัดในทุก ๆ กิจกรรม จัดให้มี นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการและบรรษัทภิบาลที่เข้มแข็ง เพื่อให้ มัน่ ใจว่าบริษทั ฯ ปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม ด�ำเนินธุรกิจด้วยความมีจริยธรรมปราศจากการทุจริตและคอรัปชัน่ และเคารพในสิทธิมนุษยชน ในปี 2559 บริษัทฯ ได้ด�ำเนินงาน ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่างๆ ดังนี้
ความปลอดภัย ความปลอดภัยเป็นพื้นฐานของการด�ำเนินธุรกิจและความ ส� ำ เร็ จ ของบริ ษั ท ฯ การด� ำ เนิ น งานโดยปราศจากอุ บั ติ ก ารณ์ และการบาดเจ็ บ นั้ น ต้ อ งเริ่ ม ที่ ค วามปลอดภั ย ส่ ว นบุ ค คลและ กระบวนการท�ำงาน ซึ่งจะน�ำไปสู่ความเชื่อถือได้ในการผลิตและ การด�ำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ และยังเพิ่มความมั่นใจให้กับผู้มี ส่วนได้เสียในระยะยาว ทั้งทางด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และ ด้านเศรษฐกิจ บริษัทฯ เผยแพร่วัฒนธรรมความปลอดภัยไปยังผู้มี ส่วนได้เสียของบริษัทฯ อันได้แก่ พนักงาน ผู้รับเหมา คู่ค้า ลูกค้า ชุมชน ผู้ถือหุ้น รวมถึงหน่วยงานภาครัฐและองค์กรที่ไม่แสวงหา ผลก�ำไร บริษัทฯ มีความเป็นผู้น�ำด้านความปลอดภัยระดับโลก เมื่อเทียบกับธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ในปี 2559 บริษัทฯ ประสบผลส�ำเร็จในด้านต่างๆ ดังนี้ • อัตราความถี่การบาดเจ็บขั้นบันทึก (Total Recordable Injury Rate - TRIR) เท่ากับ 0.08 ซึ่งดีกว่าค่าเฉลี่ยของผล การด�ำเนินงานในระดับโลก • ประสบความส�ำเร็จการท�ำงานปลอดภัย 12.9 ล้านชั่วโมง เป็นเวลามากกว่าสามปีครึ่ง นับตั้งแต่เกิดการบาดเจ็บ ขั้นหยุดงาน (Days Away From Work – DAFW) ครั้งล่าสุด
87
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การป้องกันและการจัดการการหกรั่วไหล
บริษัทฯ ตระหนักดีว่าการใช้พลังงานภายในองค์กรเป็นปัจจัย หลั ก ในการปลดปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกสู ่ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง มี ผ ล ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บริษัทฯ จึงมุ่งมั่นที่จะลด การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่สิ่งแวดล้อม โดยผ่านโครงการ การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานต่ า งๆ นอกจากนี้ ยั ง ได้ เ ฝ้ า ตรวจติ ด ตาม สถานการณ์และรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างโปร่งใส เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ท� ำ นโยบาย เพื่อการอนุรักษ์พลังงานและก�ำหนดเกณฑ์การพิจารณาการลงทุน ทีเ่ อือ้ อ�ำนวยต่อโครงการอนุรกั ษ์พลังงาน ในปี 2559 โครงการอนุรกั ษ์ พลังงานและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ช่วยให้บริษัทฯ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงเฉลี่ย 12,200 ตัน โดยมีการลงทุน เพียงเล็กน้อยหรือไม่ต้องลงทุนเลย
ตลอดระยะเวลา 6 ปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่มีเหตุการณ์รั่วไหล ทีม่ นี ยั ส�ำคัญ ซึง่ บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ด�ำเนินธุรกิจโดยปราศจากอุบตั กิ ารณ์ และการบาดเจ็บ ซึ่งเป็นพื้นฐานของความใส่ใจในด้านสิ่งแวดล้อม วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ง านให้ ป ราศจากการหกรั่ ว ไหลเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ กระบวนการการจัดการความปลอดภัยในกระบวนการผลิต (Process Safety Management - PSM) บริษัทฯ มุ่งมั่นอย่างต่อเนื่องในการ เตรียมความพร้อมส�ำหรับกรณีการหกรั่วไหลให้อยู่ในระดับสากล เพื่อที่จะสามารถตอบโต้ได้อย่างทันท่วงที ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังปรับปรุง และทบทวนแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและการป้องกันการหกรัว่ ไหล อย่างต่อเนื่อง เพื่อลดผลความเสี่ยงในการหกรั่วไหลให้น้อยที่สุด อีกทัง้ มีการเตรียมความพร้อมทีจ่ ะรับมือกับเหตุการณ์ดงั กล่าวผ่าน การฝึกอบรม และการฝึกปฏิบตั กิ ารร่วมกับคูค่ า้ ชุมชน และหน่วยงาน ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
มลภาวะทางอากาศ ตลอดปี 2559 บริษัทฯ ได้ติดตาม ตรวจสอบ การปลดปล่อย มลพิษสู่อากาศอย่างต่อเนื่อง โดยการติดตั้งระบบการตรวจวัด คุณภาพอากาศอัตโนมัติแบบต่อเนื่อง (Continuous Emission Monitoring Systems: CEMS) ระบบดังกล่าวท�ำให้บริษัทฯ มั่นใจ ได้ว่ามลพิษที่ถูกปล่อยจากการกระบวนการผลิตไม่เกินมาตรฐาน ที่กฎหมายก�ำหนด ในกรณีที่มีการปล่อยเกินมาตรฐานที่กฎหมาย ก�ำหนด เหตุการณ์ดังกล่าวจะต้องได้รับการตรวจสอบพร้อมทั้ง ก�ำหนดแนวทางแก้ไข เพื่อลดโอกาสในการเกิดเหตุการณ์คล้ายกัน ในอนาคตนอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังได้นำ� สารตัง้ ต้นก�ำมะถันต�ำ่ มาใช้ เพื่อลดการปลดปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และควบคุม การปลดปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ที่หน่วยแตกตัว นํา้ มันหนัก(RFCCU) ให้ลดลงจากปริมาณ 650 ppm เป็น 630 ppm เป็นผลให้การปลดปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO 2) ลดลง ประมาณร้อยละ 3 เมื่อเทียบกับปี 2556 ซึ่งดีกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ในปีนี้
88
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) บริษัทฯ ได้ด�ำเนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมในพื้นที่ จังหวัดระยอง ใน 4 ด้านหลัก ได้แก่ ด้านเยาวชนและการศึกษา ด้านคุณภาพชีวติ ด้านสิง่ แวดล้อม และด้านเสริมสร้างความสัมพันธ์ ผ่านกิจกรรมจิตอาสาโดยพนักงานของบริษัทฯ หลากหลายรูปแบบ ภายใต้โครงการ “ท�ำดี หน้าตาดีกับน้องสตาร์” โครงการดังกล่าวนี้ แสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและความห่วงใยที่มีต่อชุมชน รวมถึงการส่งเสริมความปลอดภัยและเพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นของชุมชน 1. ด้านเยาวชนและการศึกษา
การบริหารจัดการน�้ำ บริษทั ฯ ตัง้ อยูใ่ นเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ซึง่ เป็นเขตที่ มีความเสีย่ งต่อภัยแล้งและการเกิดน�ำ้ ท่วม ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมุง่ มัน่ ที่จะบริหารจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน เพื่อให้มั่นใจว่าการด�ำเนินธุรกิจ จะไม่หยุดชะงักและชุมชนโดยรอบมีน�้ำใช้อย่างเพียงพอ เนื่องจาก น�้ำดิบจากภายนอกจ�ำเป็นอย่างยิ่งต่อการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทฯ จึงทุม่ เทและรณรงค์ให้พนักงานในองค์กรใช้นำ�้ อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าบริษัทฯ จะมีแผนลดการใช้น�้ำอยู่แล้ว แต่ก็ยังคงศึกษา หาแนวทางการลดการใช้นำ�้ อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นีย้ งั ได้กำ� หนดเป้าหมาย ลดการใช้นำ�้ ดิบจากภายนอกลงร้อยละ 20 ภายในปี 2563 (เทียบกับ อัตราการใช้น�้ำดิบในปี 2558) ในปี 2559 นี้บริษัทฯ สามารถลด การใช้น�้ำดิบได้ 38 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ท�ำให้สามารถลด ค่าใช้จ่ายได้ถึง 4.2 ล้านบาท จากกิจกรรมการลดปริมาณน�้ำทิ้ง จากหม้อต้มไอน�้ำ เพิ่มการน�ำไอน�้ำควบแน่นกลับมาใช้ใหม่ และใช้ ประโยชน์จากน�้ำฝนให้มากที่สุด
3R การบริหารจัดการกากของเสีย การบริหารจัดการกากของเสียถือเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ส�ำคัญในธุรกิจการกลั่นน�้ำมัน อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะ บริ ห ารจั ด การกากของเสี ย จากกระบวนการผลิ ต อย่ า งมี ค วาม รับผิดชอบ รวมถึงมุง่ หาวิธกี ารลดปริมาณการเกิดกากของเสีย ได้แก่ การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม การน� ำ ฉนวนกั น ความร้อน (Piping Insulation) มาใช้ซ�้ำ และปรับปรุงการออกแบบ Coalescer บริษทั ฯ ได้นำ� หลัก 3Rs: การน�ำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) การใช้ซ�้ำ (Reuse) และการลดการใช้ (Reduce) มาประยุกต์ใช้ใน การบริหารจัดการกากของเสีย และตั้งเป้าหมายที่จะลดปริมาณ การเกิดกากของเสียที่ร้อยละ 5 และลดปริมาณการฝังกลบกาก ของเสียให้เป็นศูนย์ภายในปี 2563 โดยหลังจากบริษัทฯ ได้น�ำหลัก 3Rs มาใช้ ผลปรากฎว่าปริมาณกากของเสียที่น�ำไปฝังกลบลดลง ร้อยละ 0.77
• ให้การสนับสนุนโครงการพัฒนาช่างเทคนิควิศวกรรมเคมี วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด (V-ChEPC) อย่างต่อเนือ่ งเป็น ปีที่ 9 ซึ่งเป็นโครงการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ เอกชน เพื่อพัฒนาช่างเทคนิคให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น และเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันระดับประเทศ • มอบทุนการศึกษาประจ�ำปีให้แก่บตุ รหลานของพนักงาน ผู้รับเหมา และนักเรียนในชุมชน และสนับสนุนกิจกรรม ด้านการศึกษาของโรงเรียนในชุมชน • เปิดโอกาสให้นกั เรียนในชุมชนเข้าร่วมโครงการนักศึกษา ฝึกงานกับบริษัทฯ • จัดกิจกรรม “SPRC IIF Kids” เพือ่ เปิดโอกาสให้บตุ รหลาน ของพนักงานและผู้รับเหมาได้มาเรียนรู้เกี่ยวกับความ ส�ำคัญของความปลอดภัยในการดูแลตัวเองให้ปลอดภัย 24 ชั่ ว โมง รวมถึ ง การเป็ น คนเก่ ง และคนดี เพื่ อ เป็ น ประชาชนที่ดีของประเทศในอนาคต • ด�ำเนินโครงการพัฒนาความรู้และความเป็นผู้น�ำด้าน ความปลอดภัย (SPRC Academy) เพื่อเป็นช่องทางการ ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตประจ�ำวัน ให้กบั ผูม้ สี ว่ นได้เสีย รวมถึงนักศึกษาฝึกงานและนักเรียน ในท้องถิ่น ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2
89
2. ด้านคุณภาพชีวิต
• ร่วมกับชุมชนบ้านห้วยมะหาด และกลุ่มฟื้นฟูป่ารักษ์น�้ำ เขาห้วยมะหาด สร้างฝายชะลอน�ำ้ ทีเ่ ขาภูดร-ห้วย มะหาด ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 • สนับสนุนโครงการ “3R: Reduce, Reuse, Recycle” ซึ่งเป็นการส่งเสริมแนวทางการลดการใช้ การน�ำกลับมา ใช้ซ�้ำ และการน�ำกลับมาใช้ใหม่ เช่น การน�ำขยะหรือ ของเสียกลับมาใช้ใหม่ในหน่วยการผลิต และพันธมิตรกับ ชุมชนในท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จัดท�ำโครงการ “ธนาคารขยะ” เพื่อเสริมสร้างรายได้เพิ่มให้กับชุมชน
• จัดท�ำแผนอพยพหนีไฟ พร้อมทั้งจัดซ้อมแผนอพยพ ให้กบั โรงเรียนและชุมชนในบริเวณใกล้เคียงอย่างต่อเนือ่ ง • ร่วมมือกับเทศบาลเมืองมาบตาพุด ในการจัดกิจกรรม แอโรบิคสัญจร “เต้นท้าโรค โยกไปกับชุมชน” เพือ่ ส่งเสริม ชุมชนให้มสี ขุ ภาพทีด่ ตี อ่ เนือ่ งเป็นปีที่ 2 • ร่วมมือกับเทศบาลเมืองมาบตาพุด ในการจัดกิจกรรม “การฝึกอบรมผู้น�ำโยคะขั้นพื้นฐาน” ให้กับแกนน�ำของ ชมรมแอโรบิค เพื่อให้ความรู้แก่แกนน�ำเกี่ยวกับการ ออกก�ำลังกายแบบโยคะ และให้แกนน�ำสามารถน�ำความรู้ ที่ได้รับจากการอบรมไปด�ำเนินกิจกรรมออกก�ำลังกาย ให้แก่ประชาชนในชุมชนต่อไป • เปิดโอกาสให้ชมุ ชนในท้องถิน่ เข้ามาจ�ำหน่ายขายอาหาร ในโอกาสต่างๆ เช่น ฉลองครบชั่วโมงการท�ำงานโดย ปราศจากการบาดเจ็บขัน้ บันทึกประจ�ำเดือนของโครงการ “ปรับปรุงระบบท่อขนส่งผลิตภัณฑ์บริเวณท่าเทียบเรือ” และในวั น “Health Day” ที่ จั ด ขึ้ น ทุ ก ๆ สิ้ น เดื อ นที่ โรงอาหารของบริษทั ฯ
• ร่วมมือกับส�ำนักงานประมงจังหวัดระยอง และกลุม่ ประมง เรือเล็กหาดสุชาดา จังหวัดระยอง จัดสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยของ สัตว์น�้ำ ซั้งกอ ซั้งเชือก และกะชังปู ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 • ร่ ว มกั บ หน่ ว ยราชการในท้ อ งถิ่ น ชุ ม ชน และบริ ษั ท ใกล้เคียงในการจัดกิจกรรมปลูกต้นไม้และป่าชายเลน อย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 • สนับสนุนให้พนักงานและครอบครัวเข้าร่วมกิจกรรม ท�ำความสะอาดชายหาด เนือ่ งในโอกาสวันอนุรกั ษ์ชายฝัง่ สากล((ICC) เป็นประจ�ำทุกปี • เข้าร่วมกิจกรรมกับภาครัฐ “ปล่อยพันธุ์สัตว์น�้ำ เฉลิม พระเกี ย รติ ฯ ” ซึ่ ง จั ด ขึ้ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ์ สั ต ว์ น�้ ำ และสร้ า งความสมดุ ล ระบบนิ เ วศและรั ก ษา สิ่งแวดล้อมชายฝั่งทะเล 4. ด้านความสัมพันธ์ชุมชน
• ร่วมกับภาครัฐ สนับสนุนโครงการอุดหนุนข้าวกับชาวนา จ�ำนวน 16 ตัน เพือ่ น�ำมาแจกจ่ายให้กบั พนักงานและผูร้ บั เหมาของบริษทั ฯ ในโอกาสต่างๆ 3. ด้านสิ่งแวดล้อม • มีสว่ นร่วมในการดูแลชุมชนในพืน้ ทีม่ าบตาพุด 38 ชุมชน ผ่ า นกิ จ กรรมการพบปะเยี่ ย มเยี ย นชุ ม ชนเป็ น ประจ� ำ สม�ำ่ เสมอ เพือ่ เปิดโอกาสให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการเสนอ แนะแนวคิ ด และแลกเปลี่ ย นความเห็ น ในการพั ฒ นา คุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยของคน ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง • สนับสนุนการจัดงานประเพณีในท้องถิน่ เช่น งานสงกรานต์ ทอดกฐิน ลอยกระทง และท�ำบุญข้าวหลาม เป็นต้น
90
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
การควบคุมภายใน การควบคุมภายในมีบทบาทส�ำคัญในการให้ความเชื่อมั่นที่ เหมาะสมเกีย่ วกับประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการด�ำเนินงาน ความน่าเชือ่ ถือของรายงานทางการเงินและการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบสอบทานและประเมินความเพียงพอของ ระบบควบคุมภายใน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2016 เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2016 คณะกรรมการบริษัทรวมทั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบอิสระได้สอบทานการประเมินความเพียงพอของระบบ ควบคุ ม ภายในที่ จั ด ท� ำ โดยฝ่ายบริ ห ารและผู ้ ต รวจสอบภายใน ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์ ( ก.ล.ต. ) ในปีนคี้ ณะกรรมการ บริษทั ได้รบั รองว่า ระบบการควบคุมภายในได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ COSO framework และ Sarbanes-Oxley Act 2002 กรอบการควบคุมภายในมีการอธิบาย ไว้ดังนี้ 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม คณะกรรมการตรวจสอบเป็น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการก� ำกั บ ดู แ ลการให้ ค� ำ แนะน� ำ ของระบบ การควบคุมภายใน โดยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารเป็นผูก้ ำ� หนด ให้มีการควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการจัดท�ำ คูม่ อื ในการจ�ำกัดอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบอย่างเหมาะสม ส�ำหรับการท�ำงานของแต่ละหน่วยงาน บริษทั ฯ มีนโยบายและวิธกี ารปฏิบตั เิ พือ่ จัดหา พัฒนา และรักษา บุคลากรทีม่ คี วามรูแ้ ละความสามารถทีเ่ หมาะสม มีกระบวนการ ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน การให้แรงจูงใจหรือรางวัลต่อบุคลากร ทีม่ ผี ลการปฏิบตั งิ านดี มีแผนและกระบวนการสรรหาผูส้ บื ทอด ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ 2. การบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดนโยบาย บริ ห ารความเสี่ ย ง โดยมี ค ณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง เป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง โดยมี คณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานความเพี ย งพอและ ประสิทธิภาพในการบริหารการจัดการความเสี่ยง บริษทั ฯมีการ ระบุความเสีย่ งซึง่ อาจมีผลกระทบต่อการด�ำเนิน ธุรกิจทัง้ ระดับองค์กร หน่วยธุรกิจ ฝ่ายงาน และหน้าทีง่ านต่างๆ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ความเสี่ ย งเชิ ง กลยุ ท ธ์ , ความเสี่ ย งทาง
การเงิน, ความเสีย่ งในการด�ำเนินงาน, ความเสีย่ งในการค้า และ ความเสีย่ งด้านบริหารก�ำกับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ กระบวนการ ประเมินความเสี่ยง จะจัดล�ำดับความส�ำคัญของความเสี่ยง โดยพิจารณาจากโอกาสในการเกิดความเสี่ยง และผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้น และน�ำความเสี่ยงดังกล่าวมาน�ำเสนอในรูปแบบ ตารางประเมินความเสี่ยงและมีการรายงานความคืบหน้า แผนการด� ำ เนิ น งานเพื่ อ ลดความเสี่ ย ง ต่ อ คณะกรรมการ ตรวจสอบทุกไตรมาส 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร บริษัทมีมาตร การควบคุ ม ภายในที่ ก� ำ หนดเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร และ ครอบคลุมกระบวนการต่างๆ อย่างเหมาะสม ซึ่งรวมถึงการ ก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ การแบ่งแยกหน้าทีใ่ นการอนุมตั ิ ของผู้บริหารในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้สามารถ สอบทานได้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ในกระบวนการปฏิบัติงานและการควบคุมและ นโยบายด้านความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัทฯ มีหน้าทีที่ต้องปฏิบัติตามกฏหมาย Sarbanes-Oxley Act 2002 เกี่ยวกับการควบคุมภายใน ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ปีละสองครั้งเพื่อให้มั่นใจว่ามีการควบคุมภายในที่เพียงพอ บริ ษั ท ฯได้ ก� ำ หนดนโยบายในการท� ำ ธุ ร กรรมกั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และผูเ้ กีย่ วข้องทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ รวมทัง้ ได้มกี ารก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจอนุมตั ิ ในการท�ำธุรกรรมรายการระหว่างกัน โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ สูงสุดของบริษัทฯเป็นส�ำคัญ และพิจารณาโดยถือเสมือนเป็น รายการที่กระท�ำกับบุคคลภายนอก รายการระหว่างกันมีการ ทบทวนและรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจ�ำ ทุกไตรมาส 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล บริษัทฯ ค�ำนึงถึง ความถูกต้องของข้อมูลส�ำหรับการสื่อสารกับคณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงานและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย คณะกรรมการบริษทั จะได้รับวาระการประชุมและเอกสารประกอบการอย่างน้อย 7 วันก่อนการประชุมเพื่อให้มั่นใจว่ามีข้อมูลที่ส�ำคัญอย่าง เพียงพอส�ำหรับ ใช้ประกอบการตัดสินใจ มีและก่อให้เกิด ข้อสรุปทีเ่ หมาะสม บริษทั ฯได้จดั ให้มชี อ่ งทางในการสือ่ สารทาง เว๊บไซต์ "www.sprc.co.th" เพือ่ ให้บคุ คลต่างๆ สามารถรายงาน หรือแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการละเมิด กฎระเบียบขององค์กรได้
91
ส�ำหรับการสื่อสารภายใน บริษัทฯ มีกระบวนการสื่อสารข้อมูล ภายในอย่างมีประสิทธิภาพ และมีช่องทางที่หลากหลายใน การสื่อสารกับพนักงานทุกคนเช่น การสื่อสารผ่านทาง E-mail การน� ำ เสนอข้ อ มู ล โดยมี ก ารจั ด ประชุ ม พนั ก งานเป็ น ราย ไตรมาส มีการจัดตั้ง e-mail ที่ไม่ระบุชื่อ เพื่อให้มีการรายงาน กิจกรรมที่ไม่เหมาะสมที่ไม่ตรงกับมาตรฐานของบริษัทฯ 5. ระบบการติดตามและประเมินผล บริษทั ฯมีการติดตามและ ประเมินผลการควบคุมภายในอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจ ได้ว่าการควบคุมภายในยังด�ำเนินไปอย่างครบถ้วนเหมาะสม บริษัทฯ ได้มีการใช้ระบบ OE Central ในการติดตามและ
92
ประเมินผลการด�ำเนินการ นอกจากนี้ผู้ตรวจสอบภายในมี บทบาทในการประเมินประสิทธิภาพของระบบการควบคุม ภายใน โดยมี ก ารก� ำ หนดหั ว ข้ อ ในการประเมิ น เป็ น รายปี โดยได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ ข้อบกพร่อง และข้ อ เสนอแนะจากการตรวจสอบมี ก ารสื่ อ สารไปยั ง คณะกรรมการตรวจสอบเป็นรายไตรมาส ในปี 2559 ผูต้ รวจสอบภายในได้มกี ารตรวจประเมินประสิทธิภาพ ของระบบการควบคุม จากการตรวจสอบไม่พบข้อบกพร่อง ทีส่ ำ� คัญในระบบการควบคุมภายในหรือปัญหาใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับการขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือการทุจริต
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
รายการระหว่างกัน
ในปี 2559 การด�ำเนินธุรกิจกับเชฟรอนและบริษัทในเครือ ของเชฟรอน (ในฐานะผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ) ถูกพิจารณา เป็ น การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ กั บ นิ ติ บุ ค คล/บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง รายการระหว่างกันนี้ประกอบไปด้วยการท�ำงานร่วมกับผู้ถือหุ้น เพื่อการจัดหาน�้ำมันดิบและวัตถุดิบ การขายผลิตภัณฑ์และการ ใช้ประโยชน์จากความสามารถและความเชี่ยวชาญของเชฟรอน ทางด้านเทคโนโลยีและการด�ำเนินงานโรงกลั่น รายละเอียดของ สัญญาที่ท�ำกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทุกสัญญาจะได้รับการ พิจารณาโดยคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯทุกไตรมาส เพือ่ ที่ จะตรวจสอบและยืนยันว่าได้มกี ารปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดและเงือ่ นไข ของสัญญา มีความเท่าเทียมกับธุรกรรมที่ท�ำกับบุคคลภายนอก รวมทั้งเป็นราคาที่แข่งขันได้และเป็นไปตามราคาตลาดและท�ำขึ้น เป็นปกติของการด�ำเนินธุรกิจ
การอนุมัติรายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันที่จะเข้าท�ำใหม่จะถูกพิจารณาทบทวนโดย คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ารายการเหล่านี้ ท�ำขึน้ อย่างเคร่งครัดตามหลักเกณฑ์เดียวกับธุรกรรมทีท่ ำ� กับบุคคล ภายนอก คณะกรรมการตรวจสอบและผู้ตรวจสอบภายในของ บริษัทฯ จะทบทวนตรวจสอบเพื่อให้ขั้นตอนการอนุมัติเป็นไปตาม กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาและรายงานความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันไปยัง คณะกรรมการบริษัทฯเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป ในกรณีที่อาจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการจะไม่เข้าร่วมในการ ออกเสียงอนุมัติสัญญาดังกล่าวในที่ประชุมคณะกรรมการ
93
ตั ว เลขทางการเงิ น ที่ น� ำ เสนอในตารางข้ า งล่ า งนี้ ค รอบคลุ ม เชฟรอนและบริ ษั ท ในเครื อ ของเชฟรอนตลอดทั้ ง ปี 2559 จนถึ ง วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ชื่อบริษัท/ความสัมพันธ์
บริษัท เชฟรอน (ไทย) จ�ำกัด: บริษัทในเครือของ เชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 100 (นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์ เป็นผู้บริหารของ บริษทั เชฟรอน (ไทย) จ�ำกัด นายแอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง President of International Products, Asia Pacific, Chevron International Pte., Ltd. ซึ่งมีอ�ำนาจดูแลการบริหารงาน บริษัท เชฟรอน (ไทย) จ�ำกัด)
สัญญาซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม
จ�ำนวนเงินในปี 2559 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
2,361.6
สัญญาซือ้ ขายและจัดเก็บผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม (การส�ำรอง น�ำ้ มันระหว่างการขนส่งทางเรือ)
<0.1
การสั่งซื้อน�้ำมันหล่อลื่น
0.1
ลูกหนี้การค้า
132.0
Chevron U.S.A. Inc. (Singapore Branch): บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
สัญญาซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม
51.8
(นางเค็ง ลิง ล๊ก เป็นผูบ้ ริหารของ Chevron U.S.A. Inc. (Singapore Branch) นางเค็ง ลิง ล๊ก ด�ำรงต�ำแหน่ง General Manager, Crude Supply and Trading, Asia Pacific ของ Chevron U.S.A. Inc. (Singapore Branch) ซึ่งมีอ�ำนาจดูแลการบริหารงาน Chevron U.S.A. Inc. (Singapore Branch)
ลูกหนี้การค้า
2.5
เจ้าหนี้การค้า
122.5
สัญญาซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม
26.5
การสั่งซื้อ LSWR (น�้ำมันเชื้อเพลิงหมายเลข 5)
52.7
ลูกหนี้การค้า
3.0
เจ้าหนี้การค้า
<0.1
บริษัท เชฟรอน บล็อค บี8 32 (ประเทศไทย) จ�ำกัด: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
สัญญาจัดหาวัตถุดิบ
10.0
เจ้าหนี้การค้า
0.5
บริษัท เชฟรอน ออฟชอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
สัญญาจัดหาวัตถุดิบ
81.5
เจ้าหนี้การค้า
4.5
บริษัท เชฟรอนประเทศไทยส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
สัญญาจัดหาวัตถุดิบ
172.4
เจ้าหนี้การค้า
19.3
Chevron Singapore Pte Ltd.: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
94
ลักษณะของรายการ/บริการ
สัญญาจัดหาวัตถุดิบ
1,750.5
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อบริษัท/ความสัมพันธ์
ลักษณะของรายการ/บริการ
รายงานประจำ�ปี 2559
จ�ำนวนเงินในปี 2559 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
สัญญาจัดหาวัตถุดิบ
6.1
สัญญาให้บริการการขนส่งทางเรือ
0.9
เจ้าหนี้การค้า
0.4
Chevron Pattani Ltd.: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
สัญญาจัดหาวัตถุดิบ
5.3
Chevron Oversea Services Corporation (COSC): บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
สัญญาให้บริการทางเทคนิค
1.3
สัญญาให้ใช้สิทธิในบริการทางเทคนิค
1.6
เจ้าหนี้การค้า
0.6
Chevron Oversea Services Corporation (COSC) บริษัท เชฟรอน (ไทย) จ�ำกัด Chevron International Services Chevron Richmond Refinery, USA: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
สัญญาจัดหาบุคลากร เพื่อการจัดหาบุคลากรให้แก่ บริษัทฯ เพื่อที่จะช่วยเหลือบริษัทฯ ในการก่อสร้าง บริหาร ควบคุมและด�ำเนินงานโรงกลั่น บริษัทฯ ยังจัดหา พนักงานเพื่อให้การสนับสนุนแก่เชฟรอนด้วย
1.2
Chevron Research and Technology Company: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
สัญญาให้อนุญาตใช้สิทธิส�ำหรับเทคโนโลยีที่ใช้ในหน่วย ก�ำจัดก�ำมะถันในน�้ำมันก๊าซออยล์สุญญากาศชนิดหนัก
-
Chevron Lummus Global LLC: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 50
สัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิส�ำหรับเทคโนโลยีที่ใช้ในหน่วย ก�ำจัดก�ำมะถันในน�้ำมันดีเซล
-
Caltex Service Corporation: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
สัญญาให้อนุญาตใช้สิทธิในหน่วยกลั่นสุญญากาศ
-
Chevron South Asia Holding Pte Ltd.: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
สัญญาสนับสนุนข้อมูล
-
Chevron Asia Pacific Shipping Pte: บริษัทในเครือของเชฟรอน ซึ่งมีการถือหุ้นโดยตรง หรือโดยอ้อม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100
95
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน ผลการด�ำเนินงาน ล้านดอลลาร์สหรัฐ 2559
2558
รายได้รวม
4,374
5,221
EBITDA
394
EBIT
ล้านบาท 2559
2558
+/(-)
(847)
155,082
178,877
(23,795)
397
(3)
13,964
13,418
545
312
315
(4)
11,044
10,619
425
16
13
2
548
495
54
ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ
245
245
-
8,688
8,227
461
ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ (ดอลลาร์สหรัฐ/บาทต่อหุ้น)
0.06
0.06
-
2.00
1.99
0.01
ค่าการกลั่นทางบัญชี (ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล) (1)
7.93
8.10
(0.17)
7.93
8.10
(0.17)
ค่าการกลั่นตลาด (ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล) (2)
6.68
10.41
(3.73)
6.68
10.41
(3.73)
ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน
(1) (2)
+/(-)
ค่าการกลั่นได้รวมก�ำไร / ขาดทุนจากการตีราคาสินค้าคงเหลือ ซึ่งค�ำนวณตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ค่าการกลั่นค�ำนวณโดยใช้ต้นทุนทดแทนในปัจจุบัน
ในปี 2559 บริษัทฯ มีปริมาณน�้ำมันดิบที่น�ำเข้ากลั่น 162.4 พันบาร์เรลต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 98.4 จากก�ำลังการผลิต โดยลดลงเล็กน้อย จ�ำนวน 2.1 พันบาร์เรลต่อวันจากปี 2558 ซึง่ เป็นผลกระทบจากการลดก�ำลังการผลิตหน่วยหอกลัน่ น�ำ้ มันดิบ (CDU) ในไตรมาส 2/59 รายได้ รวมในปี 2559 ลดลงจากปี 2558 เนื่องจากการลดลงของราคาขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และการลดลงของปริมาณการขายตามการลด ก�ำลังการผลิตข้างต้น ในปี 2559 ค่าการกลั่นตลาดลดลงจากปีก่อนหน้า เป็นผลจากอุปทานน�้ำมันที่มากเกินความต้องการ ซึ่งส่งผลให้ส่วน ต่างของราคาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมกับราคาน�ำ้ มันดิบดูไบลดลง อย่างไรก็ตาม เนือ่ งมาจากราคาน�ำ้ มันทีป่ รับตัวสูงขึน้ ระหว่างปี ท�ำให้บริษทั มีก�ำไรจากสต๊อคน�้ำมันในปี 2559 เทียบกับการขาดทุนจากสต๊อคน�้ำมันในปี 2558 EBITDA ของ SPRC ในปี 2559 ใกล้เคียงกับ EBITDA ในปี 2558 และมีก�ำไรสุทธิที่เท่ากันคือ 245 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานลดลงจากปี 2558 โดยหลักเนื่องจาก ในปี 2558 มีค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการน�ำ SPRC เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในปี 2559 ราคาน�้ำมันดิบดูไบมีความผันผวนของราคาตั้งแต่ 23 ถึง 54 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล โดยมีราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 41 ดอลลาร์ สหรัฐต่อบาร์เรล ซึ่งต�่ำกว่าราคาเฉลี่ยของปี 2558 ที่ 51 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล เนื่องจากอุปทานที่มากเกินไปอย่างต่อเนื่องของ ตลาดน�้ำมันดิบ อย่างไรก็ตามเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 OPEC ได้บรรลุข้อตกลงที่จะลดปริมาณการผลิตน�้ำมันดิบลง 1.2 ล้านบาร์เรล ต่อวันในครึ่งแรกของปี 2560
96
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ราคาผลิตภัณฑ์น�้ำมันส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงตามราคาน�้ำมันดิบ ส่วนต่างราคาน�้ำมันเบนซินกับน�้ำมันดิบดูไบในปี 2559 มี ค่าเฉลีย่ 14.9 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ซึง่ ลดลงเมือ่ เทียบกับค่าเฉลีย่ สูงสุด 18.3 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรลในปี 2558 โดยได้รบั ผลกระทบจาก อุปทานที่มีมากกว่าความต้องการของตลาดดังจะเห็นได้จากปริมาณน�้ำมันเบนซินคงคลังในสิงคโปร์ที่สูงมากเป็นประวัติการณ์ที่ 15.5 ล้าน บาร์เรล ถึงแม้วา่ ปริมาณการขายรถยนต์จะเติบโตอย่างต่อเนือ่ งในประเทศจีนและสหรัฐอเมริกา ส่วนต่างราคาน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงอากาศยานกับ น�ำ้ มันดิบดูไบได้รบั ผลกระทบจากอุปสงค์การใช้นำ�้ มันเชือ้ เพลิงส�ำหรับให้ความร้อนทีล่ ดลงเนือ่ งจากสภาพอากาศทีไ่ ม่หนาวมากในปี 2558 ส่งผลให้ปริมาณน�้ำมันคงคลังมีสูงในปี 2559 ส่วนต่างราคาน�้ำมันดีเซลกับน�้ำมันดิบดูไบในปี 2559 มีค่าลดลงจากปี 2558 สะท้อนให้เห็น อุปสงค์ที่ลดลงเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวและอุปทานที่มีมากกว่าความต้องการของตลาดของน�้ำมันดีเซลเนื่องจากโรงกลั่น รักษาก�ำลังการผลิตในระดับสูงเพือ่ ท�ำผลก�ำไรในช่วงทีค่ า่ การกลัน่ สูงตัง้ แต่ปี 2558 กลางปี 2559 ปริมาณน�ำ้ มันดีเซลคงคลังในสิงคโปร์ลดลง มาที่ระดับปกติก่อนเข้าสู่ช่วงการหยุดซ่อมบ�ำรุงของโรงกลั่น ส่งผลให้ส่วนต่างราคาน�้ำมันดีเซลกับน�้ำมันดิบดูไบเพิ่มขึ้นในครึ่งปีหลัง 2559
การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของบริษัทฯ ล้านดอลลาร์สหรัฐ
สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม
2559
2558
1,672
1,686
513 1,159
ล้านบาท +/(-)
2559
2558
+/(-)
(14)
60,188
61,122
(934)
673
(160)
18,469
24,397
(5,928)
1,013
146
41,719
36,725
4,994
สินทรัพย์ สินทรัพย์รวมของบริษัทฯ ณ 31 ธันวาคม 2559 ลดลง 14 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (934 ล้านบาท) จาก 31 ธันวาคม 2558 โดยหลักเนื่องจาก การลดลงของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่ได้ถูกหักกลบบางส่วนจากการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ โดยหลักเนือ่ งมาจาก การเพิม่ ขึน้ ของลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ จ�ำนวน 85 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2,987 ล้านบาท) เนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของราคาขายเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ในเดือนธันวาคม 2559 เมื่อเทียบกับราคาขายเฉลี่ยในเดือนธันวาคม 2558 และ การเพิ่มขึ้นของสินค้าคงเหลือจ�ำนวน 78 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2,743 ล้านบาท) เนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าคงเหลือตามราคา น�้ำมันที่สูงขึ้น และการเพิ่มขึ้นของปริมาณสินค้าคงเหลือ เมื่อเทียบกับเดือนธันวาคม 2558 ซึ่งถูกหักกลบบางส่วนโดยการลดลงของเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสดจ�ำนวน 102 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (3,716 ล้านบาท) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนในแต่ละปีลดลง โดยหลักเนื่องจากการลดลงของอาคารและอุปกรณ์ โดยลดลง 71 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2,835 ล้านบาท) ในปี 2559 เนื่องมาจากค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 2559 มากกว่าการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนซึ่งส่วนใหญ่เป็นการลงทุนใน โครงการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโรงกลั่น
หนี้สิน หนี้สินรวม ณ 31 ธันวาคม 2559 ลดลง 160 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (5,928 ล้านบาท) จาก 31 ธันวาคม 2558 การเปลี่ยนแปลงโดยหลัก มาจากการลดลงของเงินปันผลค้างจ่ายจ�ำนวน 171 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (6,027 ล้านบาท) ซึ่งเป็นเงินปันผลที่ได้รับอนุมัติในปี 2555 และ ได้จ่ายในเดือนเมษายน 2559 และการลดลงของเจ้าหนี้การลดทุนจ�ำนวน 101 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (3,580 ล้านบาท) จากการจ่ายให้แก่ผู้ ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ การลดลงได้ถูกหักกลบบางส่วนจากการเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะยาว-สุทธิ จ�ำนวน 68 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2,433 ล้านบาท) จากการกู ้ ยื ม เงิ น เพิ่ ม เติ ม จ� ำ นวน 140 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ หั ก ด้ ว ยการจ่ า ยคื น เงิ น กู ้ จ� ำ นวน 72 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ และ การเพิ่ ม ขึ้ น ของเจ้ า หนี้ ก ารค้ า และเจ้ า หนี้ อื่ น จ� ำ นวน 33 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ (1,147 ล้ า นบาท) โดยหลั ก เนื่ อ งมาจากราคาซื้ อ น�้ำมันดิบที่สูงขึ้น
97
ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ 31 ธันวาคม 2559 เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 146 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (4,994 ล้านบาท) จาก 31 ธันวาคม 2558 เนื่องมาจาก ผลก�ำไรของบริษัทฯในปี 2559 หักกลบด้วยเงินปันผลจ่ายส�ำหรับผลก�ำไรในครึ่งปีหลังของปี 2558 และครึ่งปีแรกของปี 2559 ในเดือนธันวาคม 2559 บริษัทฯได้จัดสรรก�ำไรสุทธิปี 2559 จ�ำนวน 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (114 ล้านบาท) เป็นทุนส�ำรองตามกฎหมาย ซึ่งท�ำให้ทุนส�ำรองของบริษัทฯ ณ สิ้นปี 2559 มีมูลค่าเท่ากับร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน
งบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 SPRC มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 6 ล้านเหรียญสหรัฐ (233 ล้านบาท) ซึง่ ลดลง 102 ล้านเหรียญสหรัฐ (3,716 ล้านบาท) จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ล้านบาท
2559
2558
2559
2558
เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน
215
600
7,637
20,534
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน
(15)
(14)
(537)
(468)
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน
(302)
(541)
(10,654)
(17,836)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ
(102)
45
(3,554)
2,230
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี
109
69
3,949
2,286
รายการปรับปรุงจากการแปลงค่าเงินต่างประเทศ
(0)
(5)
(162)
(568)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี
6
109
233
3,949
เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน เป็นจ�ำนวน 215 ล้านเหรียญสหรัฐ (7,637 ล้านบาท) โดยมีสาเหตุหลักมาจากก�ำไรสุทธิในปี 2559 จ�ำนวน 245 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (8,688 ล้านบาท) โดยบวกกลับรายการที่ไม่เป็นเงินสด 99 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (3,517 ล้านบาท) และ เงินสดได้มาจากหนี้สินในการด�ำเนินงาน 28 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (982 ล้านบาท) ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้การค้าและ เจ้าหนี้อื่นเนื่องจากราคาซื้อน�้ำมันดิบที่สูงขึ้น โดยได้ถูกหักกลบบางส่วนจากเงินสดใช้ไปของสินทรัพย์ในการด�ำเนินงาน 157 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ (5,551 ล้านบาท) ซึ่งโดยหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้การค้าจ�ำนวน 85 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (3,002 ล้านบาท) จากราคาขายที่ สูงขึ้น และการเพิ่มขึ้นของสินค้าคงเหลือจ�ำนวน 79 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2,787 ล้านบาท) เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของทั้งราคา และปริมาณ สินค้าคงเหลือในเดือนธันวาคม 2559 เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุนเป็นจ�ำนวน 15 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (537 ล้านบาท) โดยส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในโครงการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของโรงกลั่น เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินเป็นจ�ำนวน 302 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (10,654 ล้านบาท) โดยหลักเนื่องจากเงินสดจ่ายจากการ ลดทุนของบริษัทฯ 101 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (3,580 ล้านบาท) เงินปันผลจ่ายจากก�ำไรของบริษัทฯ ที่เกิดขึ้นก่อนปี 2558 171 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ (6,027 ล้านบาท) ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั ฯก่อนการน�ำบริษทั ฯเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และเงินปันผลจ่ายจากก�ำไรใน งวดครึง่ ปีหลังของปี 2558 และ ครึง่ ปีแรกของปี 2559 99 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (3,476 ล้านบาท) ให้แก่ผถู้ อื หุน้ หลังการน�ำบริษทั เข้าจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ฯ และการจ่ายช�ำระคืนเงินกู้แก่สถาบันการเงิน 72 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2,530 ล้านบาท)) โดยถูกหักกลบบางส่วนจาก เงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มเติมจากสถาบันการเงิน 140 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (4,959 ล้านบาท)
98
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
อัตราส่วนทางการเงิน ส�ำหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
2558
2557
อัตราส่วนสภาพคล่อง
(เท่า)
1.7
1.1
1.3
อัตราส่วนก�ำไรสุทธิ(1)
(ร้อยละ)
5.6
4.7
(2.8)
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น
(ร้อยละ)
22.6
20.7
(13.1)
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์
(ร้อยละ)
14.6
13.0
(8.0)
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
(เท่า)
0.4
0.7
0.5
อัตราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบี้ย(2)
(เท่า)
108.5
4,165.5
154.3
อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อก�ำไรสุทธิ(3)(4)
(ร้อยละ)
110.1
183.1
(30.9)
รายได้รวมไม่รวมถึงรายได้อื่นที่มิได้เกิดจากการด�ำเนินงาน (เช่น ก�ำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน) กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงานหลังหักดอกเบี้ยรับ/จ่าย และภาษีจ่าย ในปี 2557 บริษัทฯ มียอดขาดทุนสุทธิ จึงท�ำให้อัตราส่วนเป็นค่าลบซึ่งไม่สื่อความหมาย (4) เงินปันผลเทียบเท่าเงินปันผลที่จ่ายจริงให้ผู้ถือหุ้นในงบกระแสเงินสด (1) (2) (3)
ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง ในช่วง 3 ปีทผี่ า่ นมา (2557 – 2559) อัตราส่วนสภาพคล่องมีคา่ เฉลีย่ มากกว่าหนึง่ เท่า อันเป็นผลมาจากมูลค่ารวมของสินทรัพย์หมุนเวียน มากกว่ามูลค่ารวมของหนี้สินหมุนเวียน ซึ่งสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่ประกอบด้วยเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและ ลูกหนีอ้ นื่ และสินค้าคงเหลือ ในขณะทีห่ นีส้ นิ หมุนเวียนส่วนใหญ่ประกอบด้วยเจ้าหนีก้ ารค้า เงินปันผลค้างจ่าย เจ้าหนีจ้ ากการลดทุนและส่วน ของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ในงวดสิ้นปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราส่วนสภาพคล่อง เพิ่มขึ้นจากปี 2558 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของหนี้สินหมุนเวียน อันเนื่องมาจากการลดลงของเงินปันผลค้างจ่าย จ�ำนวน 171 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (6,027 ล้านบาท)และเจ้าหนี้จากการลดทุนจ�ำนวน 101 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (3,580 ล้านบาท)
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหาก�ำไร และประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน อัตราส่วนก�ำไรสุทธิ และอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น มีค่าเพิ่มขึ้นจากปี 2557 เนื่องมาจากผลขาดทุนในปี 2557 อันเป็นผลเนื่องมาจาก การปรับตัวลดลงของต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของราคาน�้ำมันดิบ รวมทั้งการหยุดหน่วยผลิตของโรงกลั่นเพื่อท�ำการซ่อมบ�ำรุงใหญ่และ ด�ำเนินการตามโครงการส�ำหรับปี 2557 อย่างไรก็ดี อัตราส่วนแสดงความสามารถในการท�ำก�ำไรปรับตัวดีขึ้นมากในปี 2558 และต่อเนื่อง มาถึงปี 2559 เนื่องจากการความเชื่อถือได้ในการผลิต ก�ำไรขั้นต้นที่สูงขึ้น และปริมาณการขายภายในประเทศที่เพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลก�ำไรจาก การด�ำเนินงานที่ดีขึ้น
อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้นสูงสุดในปี 2558 จาก 3 ปีที่ผ่านมา โดยมีสาเหตุหลักเนื่องมาจากการลดลงเจ้าหนี้การค้ารวมถึงเจ้าหนี้ อื่น ซึ่งเป็นผลจากราคาน�้ำมันดิบและราคาวัตถุดิบปรับตัวลดลง รวมถึงมีการลดทุน เงินกู้ยืม และการเพิ่มทุนในส่วนที่ช�ำระแล้ว ในปี 2559 ราคาน�ำ้ มันดิบมีการปรับตัวเพิม่ ขึน้ ในขณะทีเ่ งินปันผลค้างจ่าย, เงินลดทุน และเงินกูย้ มื ลดลง ส่งผลให้อตั ราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนผูถ้ อื หุน้ ลดลง ในปี 2557 จนถึง ปี 2558 บริษทั ฯ มีอตั ราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบีย้ สูงขึน้ อันเป็นผลมาจากเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ที่เพิ่มขึ้นและมีต้นทุนทางการเงินที่ลดลงในปี 2558 ส�ำหรับปี 2559 บริษัทฯ มีอัตราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบี้ยลดลงจากปี 2558 เนื่องจากกระแสเงินสดสุทธิได้จากกิจกรรมด�ำเนินงานที่ลดลงและมีต้นทุนทางการเงินจากการกู้ยืมที่เพิ่มขึ้น
99
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการของบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบในการน�ำเสนอ งบการเงินโดยถูกต้องและครบถ้วนสมบูรณ์ตามทีค่ วร ซึง่ ประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น และงบกระแส เงินสดที่เกี่ยวข้อง งบการเงินเหล่านี้จัดท�ำขึ้นตามหลักการบัญชีที่ รับรองทั่วไปของไทยภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 ซึ่งหมายความถึงมาตรฐานการบัญชีที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติ วิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547 และข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์วา่ ด้วยการจัดท�ำและน�ำเสนอรายงาน ทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการได้ ส อบทานระบบการควบคุ ม ภายในที่ มี ประสิทธิภาพส�ำหรับบัญชี งบการเงินและรายงานของบริษัทฯ และ มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในนี้ได้รับการออกแบบเพื่อให้ ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่ามีการป้องกันสินทรัพย์ และ
ธุรกรรมทัง้ หมดได้รบั การบันทึกอย่างถูกต้องตามทีค่ วรในสมุดบัญชี โดยเป็นไปตามวิธีปฏิบัติและนโยบายการบัญชีที่ก�ำหนด อีกทั้ง มีการป้องกันและตรวจสอบการทุจริตได้ นอกจากนี้ ไม่มีผลก�ำไร หรือขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นอย่างมีสาระส�ำคัญ สิทธิเรียกร้องหรือ การประเมิน การฝ่าฝืนหรือการอาจฝ่าฝืนกฎหมายหรือกฎระเบียบ อื่นใด ซึ่งจ�ำเป็นต้องถูกบันทึกหรือเปิดเผย ผูส้ อบบัญชีอสิ ระของบริษทั ฯ ได้ตรวจสอบและแสดงความเห็น เกี่ยวกับงบการเงินของบริษัทฯ โดยการสอบบัญชีนี้เป็นไปตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบของคณะกรรมการบริษัทฯ มีการ ประชุมกับผู้สอบบัญชีภายในและผู้สอบบัญชีอิสระทุกไตรมาส เพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับการควบคุมภายใน การสอบบัญชีและ การรายงานทางการเงินของบริษัทฯ คณะกรรมการมีความเชื่อมั่น อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินของบริษัทฯ จัดท�ำขึ้นตามหลักการ บัญชีที่รับรองทั่วไป
แอนดรูว์ เบนจามิน วอลซ์ ประธานกรรมการ บริษัท สตาร์ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จ�ำกัด (มหาชน)
100
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
เสนอผูถ้ ือหุน้ และคณะกรรมการของบริ ษทั สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์นิ�ง จํากัด (มหาชน)
เสนอผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการของบริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จ�ำกัด (มหาชน)
ความเห็ น Auditor’s Independent Report ความเห็ น ข้าพเจ้าเห็ นว่า งบแสดงฐานะการเงินของบริ ษทั สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์น�ิ ง จํากัด (มหาชน) (บริ ษทั ) ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 � การรายงานทางการเงิน
To the Shareholders Board of Directors of บStar Public Company Limited และผลการดําเนิand น งานและกระแสเงิ น สดสําหรั ปี สิ นPetroleum สุ ด วัน เดี ยวกันRefining แสดงโดยถู กต้อ งตามที � ค วรในสาระสํ าคัญ ตามมาตรฐาน My opinion
In my opinion, the financial statements of Star Petroleum Refining Public Company Limited (the Company) present �ตรวจสอบthe financial position of the Company as at 31 December 2016, and its financial fairly, in all งบการเงิ materialนที respects, Independent Auditor’s Report performance and its cash flows for the year then ended in accordance with Thai Financial Reporting Standards ั สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์น�ิ ง จํากัด (มหาชน) ซึ� งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที� (TFRSs). ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงิ นของบริ ษท
งบการเงินที่ตรวจสอบ
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบกํา ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ งบแสดงการเปลี� ยนแปลงส่ วนของเจ้าของและงบกระแสเงิ น สดสํา หรั บ ปี สิ� น สุ ด วันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมถึงหมายเหตุสรุ ปนโยบายการบัญชีที�สําคัญ
To the Shareholders What I have audited and Board of Directors of Star Petroleum Refining Public Company Limited
I have audited the accompanying financial statements of the Company, which comprise the statements of financial Independent Auditor’s position as at 31 December 2016, andReport the related statements of comprehensive income, changes in equity and My opinion cash flows for the year then ended, and notes to the financial statements, including a summary of significant เกณฑ์theในการแสดงความเห็ น accounting policies. In my opinion, financial statements of Star Petroleum Refining Public Company Limited (the Company) present fairly, in all material respects, the positionofofStar the Petroleum Company asRefining at 31 December 2016, and Limited its financial To the Shareholders and Boardfinancial of Directors Public Company Basis for opinion ข้าพเจ้ บตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบั ชี ความรั บผิดชอบของข้ าพเจ้าได้ กล่าวไว้ในส่ วนของความรั บผิดชอบของผูส้ อบ performance andาได้ itsปฏิcash flows for the year then endedญin accordance with Thai Financial Reporting Standards (TFRSs). I conductedบัญ my in accordance นwith Thai Standards My responsibilities under those ชี ต่อaudit การตรวจสอบงบการเงิ ในรายงานของข้ าพเจ้า ข้on าพเจ้Auditing ามี ความเป็(TSAs). นอิสระจากบริ ษทั ตามข้อกําหนดจรรยาบรรณของผู ป้ ระกอบ My opinion standards are further described in the Auditor’s responsibilities for the audit of the financial statements section of าชีaudited พindependent บัญชีในส่วนทีof�เกี�ยthe วข้อCompany งกับการตรวจสอบงบการเงิ ที�กาํ หนดโดยสภาวิ ชาชีofพบัAccounting ญชี ในพระบรมราชู ปถัมภ์ และข้ าพเจ้าได้ปฏิบตั ิ What I have my report. Iวิช am in accordanceนwith the Federation Professions under In my opinion, the financial statements of StarCode Petroleum Refining Public Company Limitedtogether (the Company) the Royal Patronage of his Majesty the King’s of Ethics for Professional Accountants with the present ethical บrespects, ผิrelevant ดชอบด้าthe นจรรยาบรรณอื � น ๆ ซึ� งเป็financial นไปตามข้ อกําหนดเหล่ านี31�comprise ข้าIDecember พเจ้ าเชื� อfulfilled ว่าหลั กฐานการสอบบั ญชีท�ี ข ้าพเจ้าได้รับ I haveinaudited the are accompanying statements of theCompany Company, statements of financial fairly, allตามความรั material financial position the aswhich atand 2016, andother its แนวทางการตรวจสอบในภาพรวม requirements that tofinancial my audit of the of statements, have the my ethical position as at 31 December 2016, and the related statements of comprehensive income, changes in equity and performance and its cash flows for the year then ended in accordance with Thai Financial Reporting Standards responsibilities in accordance with requirements. I believe that าthe I have obtained is sufficient นของข้ พเจ้audit า evidence เพียงพอและเหมาะสมเพื �อใช้these เป็ นand เกณฑ์ ในการแสดงความเห็ แนวทางการตรวจสอบในภาพรวม cashappropriate flows for to theprovide year then ended, notes to the financial statements, including a summary of significant (TFRSs). and a basis for my opinion. ความมีสาระสํ าคัญ accounting policies.แนวทางการตรวจสอบในภาพรวม
เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น
แนวทางการตรวจสอบในภาพรวม
ความมีสาระสํ าคัญ ความมี ความมีสสาระสํ าระสําาคัคัญญโดยรวมสําหรับงบการเงินเท่ากับ 15.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริ กา I have audited the accompanying financial statements of the ความมี Company, comprise the financial ส าระสํ คัของกํ า5าคั(TSAs). ญญโดยรวมสํ าหรั บเงบการเงิ นเท่าษกัunder ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา ซึon� งเป็Auditing นร้สอาระสํ ยละwhich าไรก่My อนภาษี งินstatements ได้ของบริ ทบั of15.4 I conducted my audit in accordance with Thai Standards ความมี responsibilities those
แนวทางการตรวจสอบในภาพรวม What I have audited My audit approach - overview Basis for opinion
ความมีสาระส�ำคัญ
position as at 31 December 2016, and the related statements of comprehensive income, changes in equity and Materiality ความมี สอthe าระสํ า5คัของกํ ญโดยรวมสํ าหรับaเงบการเงิ นเท่าofษกัทบั significant 15.4 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา standards described in the and Auditor’s ofincluding section of cash flowsare for further the year then ended, notesresponsibilities to the financial ซึ� งเป็for นร้statements, ยละaudit าthe ไรก่อfinancial นภาษี งิsummary นstatements ได้ของบริ ความมี สาระสํ าคัญ15.4 โดยรวมสํ าหรับwhich งบการเงิ นเท่ากับ 15.45% ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา my report. Ipolicies. am independent of the CompanyOverall in accordance withUS the Federation of Accounting Professions under accounting materiality: Dollar million represents of ซึfor � งเป็ Professional นร้ อยละ 5 ของกํ าไรก่อาคันภาษี งิtogether นได้ของบริ ษทั the การกํ าหนดความมี สAccountants าระสํ ญ คําเนวณจากกํ าไรก่ อนภาษี เงิ น ได้ข องบริ ษ ัท ที� เป็ น the Royal Patronage of his Majesty the King’sCompany’s Code of Ethics with ethical profit tax.5 ของกําไรก่อนภาษีเงินได้ของบริ ษท ซึ� งbefore เป็statements, นร้อยละ ั ethical requirements that are relevant to my audit of the financial and I have การกํ ส าระสํ ากคัาญซึคํ� fulfilled ข องบริ ษ ัท� เปิทีดเผย � เป็ น สกุ ลเงิานหนดความมี ดอลล่าร์ สหรั ฐอเมริ งาเป็นวณจากกํ นสกุลmy เงิ นาไรก่ ทีother �ใช้อในภาษี นการดํเงิานเนิได้ นงานตามที Basis for opinion responsibilities in accordance with these requirements. I believe that the audit evidence I have obtained is sufficient The overall materiality is determined from profit before tax in US การกํ า หนดความมี ส าระสํ า คั ญ คํ า นวณจากกํ า ไรก่ อ นภาษี เ งิ น ได้ ข องบริ ษ ั ท ที � เป็ น appropriate provide a basis for my opinion. สกุ ลAuditing เงิCompany’s นดอลล่า(TSAs). ร์ สญหรั ฐอเมริ กา ซึcurrency � งเป็2.3 นสกุ(ก)ลas เงิ นทีdescribed �ใช้ในการดํ าเนิ นงานตามที� เปิ ดเผย ชีสfunctional ในหมายเหตุ Iand conducted my toaudit in accordance with Thai Standards on under those Dollar which is ในนโยบายการบั the การกํ าหนดความมี าระสํMyาคัญresponsibilities คํขาอ้ นวณจากกํ าไรก่ อนภาษี เงิinน ได้ข องบริ ษ ัท ที� เป็ น standards are further described in the Auditor’s the audit statements สกุ ลfor เงินinดอลล่ าร์2.3 สญหรั ฐthe อเมริfinancial กา ซึข� งอ้ เป็2.3 นสกุ ในการดําofเนิ นงานตามที� เปิ ดเผย the responsibilities accounting policy note ในนโยบายการบั ชีof(a). ในหมายเหตุ (ก)ลเงิ นที�ใช้section My report. audit approach - overview my I am independent of the Company in accordanceสกุ with Federation of Accounting under ลเงินthe ดอลล่ าร์ สหรัฐอเมริ กา ซึ� งเป็ นสกุProfessions ลเงิ นที�ใช้ในการดํ าเนิ นงานตามที� เปิ ดเผย ในนโยบายการบั ญชีAccountants ในหมายเหตุขอ้ together 2.3 (ก) with the ethical the Royal Patronage of his Majesty the King’sAudit Code scope of Ethicsขอบเขตการตรวจสอบ for Professional ในนโยบายการบั ชีในหมายเหตุ อ้ 2.3 (ก)my other ethical requirements that are relevant to my audit of the financial statements,ญand I have ขfulfilled IMateriality conduct I believe with ขอบเขตการตรวจสอบ audit work of the Company the responsibilities in accordance with these requirements. that the audit evidence I have obtained sufficient ข้ขอบเขตการตรวจสอบ าพเจ้าได้ปrefinery ฏิ บัติ งานตรวจสอบสํ าหรัwhich บ บริ ษัทengages ซึis� งประกอบธุ รกิ จกิ จการโรงกลั�น operation of a petroleum in Thailand. and appropriate to provide a basis for my opinion. Overall materiality: US Dollar 15.4 million which represents 5% of ข้ขอบเขตการตรวจสอบ พเจ้าได้ านตรวจสอบสํ าหรั บ บริ ษัท ซึ� งประกอบธุ รกิ จกิ จการโรงกลั�น ปิ าโตรเลี ยมทีป�ตฏิ� งั บอยูัติ ใ่งนประเทศไทย Company’s profit before tax.
ขอบเขตการตรวจสอบ
My audit approach - overview
Key audit matters ข้าพเจ้าได้ป ฏิ บัติ งานตรวจสอบสํ าหรั บ บริ ษัท ซึ� งประกอบธุ รกิ จกิ จการโรงกลั�น
ปิ โตรเลียมที�ต� งั อยูใ่ นประเทศไทย
ข้าพเจ้าได้key ป ฏิdetermined บัติ งานตรวจสอบสํ าหรั บ บริ ษัท ซึ� งประกอบธุ IThe identified themateriality following matters: overall from profit before tax in US ร กิ จ กิ จการโรงกลั�น �ต� งั audit อยูใ่ นประเทศไทย เรืปิ โตรเลี �อrecognition งสํCompany’s าคัยมที ญisในการตรวจสอบ which Revenue Dollar isปิ โตรเลี the functional currency as described in ยมที�ต� งั อยูใ่ นประเทศไทย Materiality the accounting 2.3 (a). Related เรืpolicy �party องสํ าinคัtransactions ญnote ในการตรวจสอบ Overall materiality: US million which 5% of ได้ าํ หนดเรื � องสําคั15.4 ญในการตรวจสอบ ดังต่represents อไปนี� เรื�อกงสํ าคัญDollar ในการตรวจสอบ Audit scope Company’s profit เรื�อbefore งสํ าคัญtax. ในการตรวจสอบ
เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ
ได้กาํ •หนดเรืการรั � องสํบารูคั้รญายได้ ในการตรวจสอบ ดังต่อไปนี�
I conduct with audit work of the Company which engages the ได้กาํ •หนดเรืการรั ดั�เงกีต่before อไปนี The overall materiality is� องสํ determined profit � นtax in US บารูคั้รญ รายการกั บายได้ บุในการตรวจสอบ คลหรืfrom อกิcurrency จการที องกั operation of a petroleum refinery inคThailand. Dollar which isได้ the Company’s functional as described in กาํ หนดเรื � องสําคัญ ในการตรวจสอบ ดังต่�ยอวข้ ไปนี � •• in การรั รู ้รบายได้ the accounting policy noteบ2.3 (a). รายการกั บุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน
Key audit matters •
ความมีสาระสํ าคัญ ความมีสาระสํ าคัญ
•
การรับรู ้รายได้ รายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน
Audit scope I identified the following key audit • รายการกั บบุmatters: คคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน
Revenue recognition I conduct with audit work of the Company which engages the party transactions operationRelated of a petroleum refinery in Thailand.
ขอบเขตของการตรวจสอบของข้าพเจ้ากําหนดตามความมี สาระสําคัญ ข้าพเจ้ากําหนดแผนการตรวจสอบเพื�อให้ไ ด้ค วามเชื� อมั�น
101
ขอบเขตการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้ป ฏิ บัติ งานตรวจสอบสํ าหรั บ บริ ษัท ซึ� งประกอบธุ รกิ จกิ จการโรงกลั�น ปิ โตรเลียมที�ต� งั อยูใ่ นประเทศไทย
เรื�องสํ าคัญในการตรวจสอบ ได้กาํ หนดเรื� องสําคัญในการตรวจสอบ ดังต่อไปนี� • การรับรู ้รายได้ • รายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน
ความมีสสาระสํ าคัญำคัญ ความมี าระส� ขอบเขตของการตรวจสอบของข้าพเจ้ากําหนดตามความมี สาระสําคัญ ข้าพเจ้ากําหนดแผนการตรวจสอบเพื�อให้ไ ด้ค วามเชื� อมั�น อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงิน ปราศจากการแสดงข้อ มูลที� ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอัน เป็ นสาระสํา คัญ การแสดงข้อมูลที� ขดั ต่ อข้อเท็จจริ ง อาจเกิ ดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด การแสดงข้อมู ลที� ขัด ต่ อข้อเท็จจริ งจะถูกพิจารณาว่ามี สาระสําคัญถ้า การแสดงข้อมู ลที� ขัดต่ อ ข้อเท็จจริ ง รายการใดรายการหนึ� งหรื อทุ กรายการ จะสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่ามี อิท ธิ พลต่อการตัดสิ นใจเชิ งเศรษฐกิจ ของผูใ้ ช้งบการเงิน ข้าพเจ้าได้พิจารณาความมี สาระสําคัญตามดุลยพินิจเยี�ยงผูป้ ระกอบวิชาชีพ โดยกําหนดความมีสาระสําคัญสําหรับงบการเงินเป็ นจํานวน เงินตามเกณฑ์ดงั ที�อธิ บายไว้ในตาราง ข้าพเจ้าใช้ความมี สาระสําคัญและพิจารณาปั จจัยเชิงคุณภาพในการกําหนดขอบเขตการตรวจสอบ รวมถึงลักษณะ ช่วงเวลา และขอบเขตของวิธีการตรวจสอบ และเพื�อประเมิ นผลกระทบของการแสดงข้อมูลที� ขดั ต่อข้อเท็จจริ ง ทั�งในแง่ของ แต่ละรายการและผลรวมของทุกรายการต่องบการเงินโดยรวม ความมีสาระสําคัญโดยรวมสําหรับ งบการเงิน
15.4 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา (พ.ศ. 2558: 15.7 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา)
วิธีการกําหนดความมีสาระสําคัญ
ร้อยละ 5 ของกําไรก่อนภาษีเงินได้
เหตุผลในการใช้ขอ้ มู ลอ้างอิงในการกําหนด ข้าพเจ้าเลือกใช้กาํ ไรก่อนภาษีเงินได้เป็ นข้อมูลอ้างอิงในการกําหนดความมี สาระสําคัญ ความมีสาระสําคัญ เนื� องจากการประเมิ น ผลการดําเนิ น งานของกิ จ การกําหนดจากกําไรก่ อนภาษี เงิ นได้ โดยปกติ ข ้อ มู ล อ้างอิ งร้ อ ยละ 5 นี� เป็ นที� ยอมรั บ โดยทั�วไป ซึ� งใช้ใ นการปฏิ บ ัติ งาน ตรวจสอบและไม่มีรายการที�ผดิ ปกติที�สาํ คัญที�ตอ้ งปรับปรุ งข้อมูลอ้างอิงนี� ข้าพเจ้าได้ตกลงกับคณะกรรมการตรวจสอบว่า ข้าพเจ้าจะรายงานการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งที�พบระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า
ารกําหนดขอบเขตการตรวจสอบ วิธวิธีกีการก� ำหนดขอบเขตการตรวจสอบ ข้าพเจ้ากําหนดขอบเขตการตรวจสอบเพื�อปฏิบตั ิ งานอย่างเพียงพอ เพี�อให้ขา้ พเจ้าแสดงความเห็นต่องบการเงิ นของบริ ษทั โดยข้าพเจ้า พิจารณาถึงโครงสร้างของบริ ษทั กระบวนการและการควบคุมทางด้านบัญชี และอุตสาหกรรมของบริ ษทั ที�ดาํ เนินการอยู่
งสํำาคัคัญญ ในการตรวจสอบ เรืเรื่อ�องส� ในการตรวจสอบ เรื� อ งสํา คัญในการตรวจสอบคื อเรื� อ งต่ า ง ๆ ที� มี นัยสํ า คัญ ที� สุ ด ตามดุ ล ยพิ นิ จ เยี�ยงผูป้ ระกอบวิช าชี พ ของข้าพเจ้าในการตรวจสอบ งบการเงิน สําหรับ งวดปั จจุบนั ข้า พเจ้าได้น าํ เรื� องเหล่านี� มาพิจารณาในบริ บทของการตรวจสอบงบการเงินโดยรวมและในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า ทั�งนี� ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสําหรับเรื� องเหล่านี�
102
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
งส�ำาคัคัญ เรืเรื�่อองสํ ญในการตรวจสอบ ในการตรวจสอบ
รายงานประจำ�ปี 2559
วิวิธธีกีการตรวจสอบ ารตรวจสอบ
การรับรู้รายได้ ในปี พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้รับรู ้รายได้จาํ นวน 4,373.5 ล้านดอลลาร์ ข้าพเจ้าทดสอบการออกแบบ และความมี ประสิ ทธิ ผลของการควบคุ ม สหรั ฐอเมริ กา โดยส่ วนใหญ่ มาจากลู กค้าสองรายภายใต้สัญญา ที� เกี� ยวข้อ งกับ การรั บ รู ้ รายได้ โดยเฉพาะการควบคุม เกี �ย วกับ การออกใบแจ้งหนี� และข้า พเจ้า เห็น ว่าการทดสอบการควบคุ ม ซื� อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ดังกล่าวให้หลักฐานการสอบบัญชี แก่ขา้ พเจ้าว่ารายได้ไ ด้บ ัน ทึ ก บริ ษัทรับ รู้ รายได้จากราคาตามสั ญญาและปริ มาณผลิ ต ภัณ ฑ์ อย่า งเหมาะสมและในช่ ว งเวลาที� ถูก ต้อ งรวมถึง ความถูก ต้อง ปิ โตรเลียมที�ส่งมอบ ราคาขายตามสัญญาดังกล่าวกําหนดให้ใช้ ของมูลค่าที� เรี ยกเก็บจากลูกค้า ราคาตลาดบวกด้วยส่ วนเพิ�มจากปั จจัยต่ าง ๆ ปริ มาณการขาย วัดโดยเครื� องวัด ณ โรงกลัน� เมื�อผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมส่ งมอบ ข้า พเจ้า สุ่ ม เลื อ กตัว อย่า งจากมูล ค่ า ที � รั บ รู ้ร ายได้เ พื� อ ทดสอบ ให้ลูกค้า ผ่านทางระบบท่อส่ งผลิตภัณฑ์ ทางรถบรรทุก และ รายละเอี ย ดของรายการกับ มู ล ค่ า บนใบแจ้ง หนี� ที� อ อกให้แ ก่ ลู ก ค้า และการรั บ ชํา ระเงิ น ภายหลัง จากการปฏิ บ ัติ ง านข้า พเจ้า ทางเรื อบรรทุก ไม่ พ บข้อ ผิ ด พลาดที � ม ี ส าระสํ า คัญ น อกจาก นี� ข้า พเจ้า ได้ บริ ษ ัท ทํา สัญ ญาแก้ไขเพิ� ม เติ ม ของสั ญ ญารั บ ซื� อผลิ ต ภัณ ฑ์ สุ่ ม เลือกตัวอย่างจากรายการส่ งสิ น ค้าก่ อนและหลังวัน สิ� น ปี เพื�อ ซึ� งมี ผลบังคับใช้นบั แต่วนั ที�หุ้นของบริ ษทั เริ� มซื� อขายในตลาด ตรวจสอบว่ารายได้ได้บนั ทึ กในช่วงเวลาที�ถูกต้อง หลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยระบุ ส่วนปรับมูลค่าสําหรับ ราคาบางผลิต ภัณ ฑ์ สัญ ญาแก้ไขเพิ� ม เติ ม ดัง กล่ าวได้ใช้ก ับ ในสั ญ ญาแก้ไ ขเพิ � ม เติ ม ของสั ญ ญารั บ ซื� อ ผลิต ภัณ ฑ์ ข้า พเจ้า ได้รับ และได้อ ่านสัญ ญาดัง กล่า วและทดสอบรายละเอีย ดกับ ลูกค้าหลักสองราย ใบแจ้ง หนี� ที� ออกให้แก่ ลู กค้าเพื�อทําให้ม ั�น ใจว่าส่ ว นปรับ มู ลค่ า ข้า พเจ้า ได้ใ ห้ ค วามสนใจในเรื� องความถู กต้ องของรายได้ ราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ามสั ญ ญาแก้ไขเพิ� ม เติ ม ดั งกล่ าวได้ นํ ามารวม เนื� องจากยอดรายได้น� ันมี มู ลค่ าสู งและมี สาระสําคัญสําหรั บ คํานวณในการออกใบแจ้งหนี� นอกจากนี� ข้า พเจ้า ได้ส่ งหนั งสื อ การตรวจสอบของข้าพเจ้า รวมทั�ง มี การแก้ไขสั ญญารับซื� อ ยื น ยัน ยอดคงเหลื อ ของลูก หนี� ณ วัน สิ� น ปี ให้ แ ก่ กลุ่ ม ลู ก ค้า เพื� อ ผลิ ตภัณ ฑ์ ตามที� กล่ าวข้ างต้ น ข้า พเจ้า ต้อ งทํา ค วามเข้า ใจ ยืน ยัน มู ล ค่ า คงเหลื อ กับ บริ ษ ัท ข้าพเจ้าไม่ พ บการแสดงข้อมู ล ที� ในรายละเอี ยดของสัญ ญาเพื�อ ให้ม ั�น ใจว่า ส่ ว นปรั บ มูล ค่ า ขัดต่อข้อเท็จจริ งอย่างมีสาระสําคัญจากการปฏิบตั ิงานของข้าพเจ้า ในสัญ ญารับ ซื� อ ผลิต ภัณ ฑ์แ ละสั ญ ญาแก้ไขเพิ �มเติ ม ของ สัญ ญารับ ซื � อ ผลิต ภัณ ฑ์ไ ด้นํา มารวมคํานวณอย่างถู กต้อง รวมถึงการตรวจสอบปั จจัยทางด้านราคาและปริ ม าณตามที� ระบุในสัญญารับ ซื� อผลิต ภัณฑ์และสัญญาแก้ไขเพิ�มเติ มของ สัญ ญารับ ซื� อผลิ ต ภัณฑ์ว่าได้นํา มาใช้ใ นการวัด มู ล ค่ า ของ รายได้อ ย่า งครบถ้ว นและถูกต้อง
103
เรื เรื่อ� องส� งสํำาคัคัญญในการตรวจสอบ ในการตรวจสอบ
วิวิธธีกีการตรวจสอบ ารตรวจสอบ
รายการกับกิจการที�เกีย� วข้องกัน โครงสร้างการถื อหุ ้น ของบริ ษ ทั ก่อ นการเข้าจดทะเบี ยนใน ตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทยประกอบไปด้วย ผูถ้ ือหุ ้น ใหญ่สองราย ภายหลังจากการเสนอขายหุ ้นสามัญเพิ�มทุนให้แก่ ประชาชนครั�งแรก ผูถ้ ือหุ ้นรายหนึ� งได้ลดสัดส่ วนการถือหุ ้น จากร้อยละ 36 เหลือประมาณร้อยละ 5.4 จากจํานวนหุ ้นที�ออก และชําระแล้ว ณ วัน แรกที� มี การซื� อขายในตลาดหลักทรั พย์ฯ ดังนั�น ผูถ้ ือหุ้นรายดังกล่าวจึ งไม่ ถือเป็ นกิ จการที� เกี� ยวข้องกัน อีกต่ อไป และเหลือผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่เพียงรายเดียว
ข้าพเจ้าดําเนิ นการตามวิธี ปฏิ บตั ิด ังต่อไปนี� เพื�อให้ได้ห ลักฐานว่า ผูบ้ ริ หารได้ประเมินรายการระหว่างกันและการเปิ ดเผยข้อมูล ทําความเข้าใจวิธีการของผูบ้ ริ หารในการระบุ บุคคลหรื อกิ จการ
ที� เกี� ยวข้องกัน ที� จะเปิ ดเผย วิธีก ารครอบคลุม ถึงการควบคุ ม ที�สนับสนุ นการประเมินดังกล่าว ซึ� งรวมถึงการอนุมตั ิ รายการ ที�มีนยั สําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน เลื อ กรายการซื� อนํ� ามั น ดิ บทั� งจากผู ้ถื อ หุ ้ น ใหญ่ แ ละอดี ต ผูถ้ ื อหุ ้ น ใหญ่ เพื� อได้รับ หลักฐานอย่างเพี ยงพอว่ารายการกับ บุ ค คลหรื อกิ จ การที� เกี� ย วข้ อ งกัน เป็ นรายการที� มี เงื� อ นไข บริ ษทั มี ส ัญ ญากับ กิ จ การที� เ กี� ยวข้องกัน หลายสัญ ญาโดยมี เช่นเดี ยวกับรายการที�เกิดขึ�นตามปกติธุรกิจหรื อไม่ สัญ ญาหลัก คื อ สัญ ญาซื� อขายผลิ ตภัณฑ์ ปิ โตรเลี ยมดังกล่ าว ข้างต้น และสั ญญาซื� อนํ�ามันดิ บตามที � ก ล่า วไว้ใ นหมายเหตุ สอบถามผูบ้ ริ ห ารเพื� อระบุว่ามี รายการกับ บุ ค คลหรื อกิ จการ ที�เกี�ยวข้องกันที�ไม่เป็ นไปตามปกติทางธุรกิจเกิดขึ� นหรื อไม่ ข้อ 27 บริ ษ ัทได้ท าํ สัญญาซื� อนํ�ามันดิ บฉบับใหม่ กับ ผูถ้ ือหุ ้ น ใหญ่ ซึ� ง ถื อ ว่า เป็ นรายการกับ กิจ การที � เ กี �ย วข้อ งกัน และ ตรวจความครบถ้วนในการเปิ ดเผยข้อมู ลในงบการเงิ น ของ รายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน บริ ษทั ยังได้ทาํ สัญญาซื� อนํ�ามันดิบกับอดี ตผูถ้ ือหุน้ ใหญ่โดยให้ สิ ท ธิ ที� จะยื�น ข้อ เสนอเพื� อจัด หานํ�ามัน ดิ บ ให้ แ ก่ บ ริ ษ ัท ตาม เงื�อนไขในสัญญา ผูบ้ ริ หารมี กระบวนการในการประเมิ นและ ข้าพเจ้าไม่ พบการแสดงข้อมู ลที� ข ดั ต่ อข้อเท็จจริ งอย่างมี สาระสําคัญ กําหนดวิธีการให้ได้ประสิ ทธิ ภาพจากการซื� อนํ�ามันดิ บ และ จากการปฏิ บ ัติ ง านของข้าพเจ้า โดยรายการกับกิจการที� เกี� ยวข้อง กันดังกล่าวเป็ นรายการที�มีความโปร่ งใสและเป็ นไปตามปกติธุรกิจ วัตถุดิบ ข้าพเจ้าให้ความสนใจกับเรื� องนี� เนื� องจากรายการที� ท ํากับกิจการ ที�เกี�ยวข้องกันเป็ นรายการที�มีสาระสําคัญและมี การเปลี�ยนแปลง ในโครงสร้างการถือหุน้ ซึ� งข้าพเจ้าต้องมัน� ใจว่ารายการกับกิจการ ที� เกี� ยวข้องกันดังกล่ าวเป็ นรายการที� มี ค วามโปร่ งใสและเป็ น รายการที�เป็ นไปตามปกติ ธุรกิ จ
104
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ข้ข้ออมูมู ลอืล�นอื่น กรรมการเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อข้อมูลอื�น ข้อมูลอื�นประกอบด้วยข้อมู ลซึ� งรวมอยู่ในรายงานประจําปี แต่ไม่รวมถึงงบการเงิ นและรายงาน ของผูส้ อบบัญชีที�อยูใ่ นรายงานนั�น ข้าพเจ้าคาดว่าข้าพเจ้าจะได้รับรายงานประจําปี ภายหลังวันที�ในรายงานของผูส้ อบบัญชีน� ี ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื�นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื� อมัน� ต่อข้อมูลอื�น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที� เกี�ยวเนื�องกับการตรวจสอบงบการเงินคื อ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื�นมีความขัดแย้งที�มีสาระสําคัญ กับงบการเงิน หรื อกับความรู ้ที�ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรื อปรากฏว่าข้อมูลอื�นมีการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ น สาระสําคัญหรื อไม่ เมื� อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจําปี หากข้าพเจ้าสรุ ปได้วา่ มี การแสดงข้อมู ลที� ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ข้าพเจ้าต้องสื� อสาร เรื� องดังกล่าวกับคณะกรรมการตรวจสอบ
ความรั บผิดบชอบของกรรมการต่ องบการเงิน องบการเงิน ความรั ผิดชอบของกรรมการต่ กรรมการมีหน้าที� รับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงิ นเหล่านี� โดยถูกต้องตามที� ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น และรับ ผิด ชอบเกี� ยวกับ การควบคุ มภายในที�กรรมการพิจารณาว่าจําเป็ นเพื�อให้สามารถจัดทํางบการเงิ นที� ปราศจากการแสดงข้อมูลที� ขัดต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงิ น กรรมการรับผิดชอบในการประเมิ นความสามารถของบริ ษทั ในการดําเนิ น งานต่ อเนื� อง เปิ ดเผยเรื� องที� เกี� ยวกับ การดําเนิ นงานต่อเนื� อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้เกณฑ์การบัญชี สําหรับการดําเนิ น งานต่อเนื� องเว้นแต่กรรมการมี ค วามตั�งใจ ที�จะเลิกบริ ษทั หรื อหยุดดําเนิ นงานหรื อไม่สามารถดําเนิ นงานต่อเนื�องต่อไปได้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที�ช่วยกรรมการในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของบริ ษทั
ความรั บผิดบชอบของผู ้ สอบบัญ ชีต้ส่ ออบบั การตรวจสอบงบการเงิ น ความรั ผิดชอบของผู ญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิ น การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุป ระสงค์เพื�อให้ได้ค วามเชื� อมั�น อย่างสมเหตุ สมผลว่า งบการเงิ น ปราศจากการแสดงข้อมู ลที� ขัด ต่ อ ข้อเท็จจริ ง อันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุ จริ ตหรื อข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผูส้ อบบัญชี ซึ� งรวมความเห็ น ของข้าพเจ้าอยู่ด ้วย ความเชื�อมัน� อย่างสมเหตุ สมผลคื อความเชื� อมัน� ในระดับสู งแต่ ไม่ได้เป็ นการรั บประกันว่าการปฏิ บตั ิ งานตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี จะสามารถตรวจพบข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญที�มีอยูไ่ ด้เสมอไป ข้อมูลที� ขดั ต่ อข้อเท็จจริ ง อาจเกิ ดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาดและถือว่ามี สาระสําคัญเมื� อคาดการณ์อย่างสมเหตุส มผลได้ว่ารายการที� ขดั ต่ อข้อเท็จจริ งแต่ ละ รายการหรื อทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสิ นใจทางเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงิน
105
ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดุ ลยพินิจเยี�ยงผูป้ ระกอบวิชาชี พและการสังเกตและสงสัยเยี�ยง ผูป้ ระกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของข้าพเจ้ารวมถึง •
• • •
•
ระบุ w และประเมิ นความเสี� ยงจากการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญในงบการเงินไม่วา่ จะเกิ ดจากการทุจริ ต หรื อข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิ บตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพื�อตอบสนองต่อความเสี� ยงเหล่านั�น และได้หลักฐานการ สอบบัญ ชี ท�ี เพี ยงพอและเหมาะสมเพื� อเป็ นเกณฑ์ใ นการแสดงความเห็ น ของข้า พเจ้า ความเสี� ยงที� ไม่ พ บข้อมู ลที� ข ัด ต่ อ ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญซึ� งเป็ นผลมาจากการทุจริ ตจะสู งกว่าความเสี� ยงที� เกิ ดจากข้อผิดพลาด เนื� องจากการทุจริ ตอาจ เกี� ยวกับ การสมรู ้ร่วมคิ ด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั� งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมู ลที�ไม่ตรงตาม ข้อเท็จจริ งหรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน ทํwา ความเข้าใจในระบบการควบคุ มภายในที� เกี� ยวข้อ งกับ การตรวจสอบ เพื� อออกแบบวิธี การตรวจสอบที� เหมาะสมกับ สถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื�อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิ ทธิผลของการควบคุมภายในของบริ ษทั w น ความเหมาะสมของนโยบายการบัญ ชี ท�ี ก รรมการใช้แ ละความสมเหตุ ส มผลของประมาณการทางบัญ ชี แ ละ ประเมิ การเปิ ดเผยข้อมูลที�เกี�ยวข้องซึ� งจัดทําขึ� นโดยกรรมการ สรุ w ป เกี� ย วกับ ความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญ ชี สํ า หรั บ การดํา เนิ น งานต่ อเนื� องของกรรมการและจากหลักฐาน การสอบบัญชี ที�ได้รับ สรุ ป ว่ามี ค วามไม่ แน่ นอนที� มีสาระสําคัญที� เกี� ยวกับ เหตุ การณ์ห รื อสถานการณ์ ที�อาจเป็ นเหตุให้เกิ ด ข้อสงสั ยอย่างมี นัยสําคัญต่ อความสามารถของบริ ษ ัท ในการดําเนิ น งานต่ อเนื� องหรื อไม่ ถ้า ข้าพเจ้าได้ข ้อสรุ ป ว่ามี ค วาม ไม่แน่ นอนที�มีสาระสําคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชีข องข้าพเจ้าถึงการเปิ ดเผยที� เกี� ยวข้องในงบการเงิ น หรื อถ้า การเปิ ดเผยดังกล่ าวไม่ เพี ยงพอ ความเห็ น ของข้าพเจ้าจะเปลี� ยนแปลงไป ข้อสรุ ป ของข้า พเจ้าขึ� นอยู่กบั หลัก ฐาน การสอบบัญชีที�ได้รับจนถึงวันที� ในรายงานของผูส้ อบบัญชี ของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ในอนาคต อาจเป็ นเหตุให้บริ ษทั ต้องหยุดการดําเนิ นงานต่อเนื� อง w น การนํา เสนอ โครงสร้างและเนื� อหาของงบการเงิ น รวมถึ ง การเปิ ดเผยว่างบการเงิ น แสดงรายการและเหตุ ก ารณ์ ประเมิ ในรู ปแบบที�ทาํ ให้มีการนําเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามที�ควร
ข้าพเจ้า ได้สื�อสารกับ คณะกรรมการตรวจสอบเกี� ยวกับ ขอบเขตและช่ วงเวลาของการตรวจสอบตามที� ได้วางแผนไว้ ประเด็น ที� มี นัยสําคัญที�พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่ องที� มีนยั สําคัญในระบบการควบคุมภายใน ซึ� งข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบ ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คาํ รับรองแก่คณะกรรมการตรวจสอบว่า ข้าพเจ้าได้ปฏิบ ัติตามข้อกําหนดจรรยาบรรณที� เกี� ยวข้องกับความเป็ นอิสระและ ได้สื�อสารกับผูม้ ี หน้าที� ในการกํากับดู แลเกี� ยวกับความสั มพันธ์ท� งั หมดตลอดจนเรื� องอื�น ซึ� งข้าพเจ้าเชื� อว่ามี เหตุผลที� บุคคลภายนอกอาจ พิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที�ขา้ พเจ้าใช้เพื�อป้ องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความเป็ นอิสระ
106
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
จากเรื� องที�สื�อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื� องต่าง ๆ ที�มีนยั สําคัญมากที�สุดในการตรวจสอบงบการเงิ นในงวดปั จจุบนั และกําหนดเป็ นเรื� องสําคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิ บ ายเรื� องเหล่านี� ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่ กฎหมายหรื อข้อบังคับ ไม่ให้เปิ ดเผยต่อสาธารณะเกี� ยวกับ เรื� องดังกล่าว หรื อในสถานการณ์ที�ยากที� จะเกิ ดขึ� น ข้าพเจ้าพิ จารณาว่าไม่ค วรสื� อสารเรื� องดังกล่า ว ในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทําดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุ ผลว่าจะมี ผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ ต่อส่ วนได้เสี ยสาธารณะจากการสื� อสารดังกล่าว บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จํากัด
ชาญชัย ชัย ประสิทธิ� ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที� 3760 กรุ งเทพมหานคร 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
107
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน) บริษทั สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิ น งบแสดงฐานะการเงิน
สําหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
หมายเหตุ
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
7
6,469,214
108,913,055
232,907,490
3,948,511,029
ลูกหนี�การค้าและลูกหนี� อื�น
8
323,964,041
239,044,481
11,646,751,382
8,659,590,134
สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ
9
327,101,282
249,161,207
11,776,463,891
9,033,040,568
สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื�น
10
1,405,200
6,630,560
50,409,484
240,271,472
658,939,737
603,749,303
23,706,532,247
21,881,413,203
สินทรัพย์ สิ นทรัพย์ หมุนเวียน
รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ
11
1,004,668,806
1,075,901,525
36,170,588,688
39,005,518,691
สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุ ทธิ
12
5,273,693
2,159,380
189,866,116
78,285,721
3,360,940
4,320,462
121,002,201
156,633,192
รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวีย น
1,013,303,439
1,082,381,367
36,481,457,005
39,240,437,604
รวมสินทรัพย์
1,672,243,176
1,686,130,670
60,187,989,252
61,121,850,807
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ� งของงบการเงินนี�
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็น ส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 9
108
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน) บริษทั สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิ น งบแสดงฐานะการเงิน
สําหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
บริษษททัั สตาร์ สตาร์ ปิปิ โตรเลี โตรเลียยมม รีรีไไฟน์ ฟน์ นนิิ�ง�ง จํจําากักัดด (มหาชน) (มหาชน) บริ บริ ษษททัั สตาร์ ปิปิ โตรเลี ยยมม รีรีไไฟน์ นนิิ�ง�ง จํจําากักัดด (มหาชน) บริ สตาร์ โตรเลี ฟน์ (มหาชน) ณ วั น ที � 31 ธั น วาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั สตาร์ ปิ โตรเลีนยม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิ งบแสดงฐานะการเงิ น งบแสดงฐานะการเงิ งบแสดงฐานะการเงินนน งบแสดงฐานะการเงิ ณ วัวันนทีที�� 31 ธัธันนวาคม พ.ศ. 2559 ณ พ.ศ. 2559 ณ วัวันนทีที�� 31 31 ธัธันนวาคม วาคม พ.ศ. 2559 ณ 31 วาคม พ.ศ. 2559 ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ
หนี าาของ สินสส�� ทรัิินนพและส่ ย์ ววนของเจ้ หนี หนี สส�� ิินนและส่ และส่ ววนของเจ้ นของเจ้ าของ ของ หนี และส่ นของเจ้ ของ หนีส� ินและส่ วนของเจ้ าาของ หมุ น เวี ย น หนี ส � ิ น หมุ น เวี ย น หนี ส � ิ น หมุ น เวี ย น สินส� ทรัิ นพหมุย์ หนมุเวีนยเวีนยน หนี หนี ส� ิ น�� กหมุ นเวีาและเจ้ ยน าหนี�� อื�น เจ้ าาหนี ารค้ 13 เจ้ าาและเจ้ าาหนี 13 13 �� กกการค้ �� อออืืื���นนน เจ้ าาหนี หนี ารค้ และเจ้ หนี เจ้ หนี ารค้ า และเจ้ า หนี 13 จ ากการลดทุ น 14 เจ้เจ้เงิาานหนี ก ารค้ า และเจ้ า หนี อ ื � น 13 � � หนี ากการลดทุนน ยบเท่าเงินสด 147 สดและรายการเที �� จจากการลดทุ เจ้ า หนี 14 เจ้ า หนี จ ากการลดทุ น 14 � นของเงิ นกูยย้้ ืมืมระยะยาวที �ถึงกําหนดชําาระ เจ้ส่ส่ววาหนี น 14 � จากการลดทุ ระ ส่ส่ลูววกนของเงิ นของเงิ ยย้้ ืมืมระยะยาวที ระยะยาวที หนดชํ ระ หนี�การค้นนนากูกูกูและลู กหนี� อื�น ���ถถถึึึงงงกํกํกําาาหนดชํ 8 นของเงิ ระยะยาวที หนดชําาาระ ระ ภายในหนึ 15 ส่วนของเงิ นกูย้�� งงืมปีปีระยะยาวที�ถึงกําหนดชํ ภายในหนึ 15 ภายในหนึ �� งงปีปี 15 ภายในหนึ 15 สิ นภายในหนึ ค้มมาููลลคงเหลื ทาาธิยย ภาษี ค่าเพิ�ม�มอ� งค้ค้ปี-าาสุงจ่ 159 ภาษี ภาษี มมููลลค่ค่ค่าาาเพิ เพิ งจ่ าายย �ม�มค้ค้าางจ่ ภาษี เพิ งจ่ ได้ คลค้ งจ่าายย ภาษี มเเงิงิูลนนพค่ได้ าย �นาางจ่ สิ นทรั ย์าเพิ หนนนมุ�มิิิตตตนค้ิิิบบบเวีาุุุคคคงจ่ ยคลค้ นอื 10 ภาษี ภาษี เเงิงินนได้ คลค้ าางจ่ ภาษี ได้ น ิ ต ิ บ ุ ค คลค้ งจ่าาายยย เงิ น ปั น ผลค้ า งจ่ า ย 16 ภาษี ได้นาิตงจ่ิบาุคยคลค้างจ่ เงิเงินนปัปัเงินนนผลค้ 16 ผลค้ างจ่ ายย 16 ผลค้ งจ่ 16 หนี หมุ เวีงจ่ นอื 17 เงิเงิหนี นน��ปัสสปันิิ นนนผลค้ ยมุน��นนเวียน 16 รวมสิ ทรันนนพาาเวี ย์ยยยหาานอื หมุ 17 หนี ส ิ น หมุ เวี นอื � น 17 � หนี ส ิ น หมุ น เวี ย นอื � น 17 � หนี เวียนนอื 17 � สินหมุ รวมหนี ส� ินนหมุ เวี�นยยนน รวมหนี รวมหนีสสส��� ิิินนนหมุ หมุนนนเวี เวียยนน รวมหนี หมุ เวี รวมหนี ส� ินหหมุ นเวียยนน หนี หนี ไม่ เวี สิ นสสส��� ทรัิิิ นนนพไม่ ย์หหไม่มุมุมุหนนนมุเวี นยเวีนยน หนี ไม่ เวี หนี ส � ิ น ไม่ ห มุ น เวียยยนนน หนี ห มุ น เวี เงิเงินนส� กูกูิ นยย้้ ืมืมไม่ระยะยาวจากสถาบั นนการเงิ นน 15 การเงิ 15 เงิเงิทีนน�ดกูกูินยย้้ อาคารและอุ ืมืมระยะยาวจากสถาบั ระยะยาวจากสถาบั น การเงิ น 15 ระยะยาวจากสถาบั น การเงิ น 15 กรณ์ -ดนสุบัการเงิ ทญธิชี -นสุ ทธิ 11 สย้ ิ นืมภาษี เงินได้รปอการตั � 18 เงิหนี น กู ระยะยาวจากสถาบั 15 หนี ส ิ น ภาษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี สุ ท ธิ � 18 น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี สุ ท ธิ 18 หนี ส ิ น ภาษี เ งิ � น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี สุ ท ธิ หนี ส ิ น ภาษี เ งิ � 18 ภาระผู ก พั น ผลประโยชน์ พ นั ก งาน 19 หนี ิ นภาษี รอการตั ชี - สุ ทธิ 18 สิ น� สทรั มนีตได้วั ตน - สุ ทพพดธินันับักกญงาน 12 ภาระผู กพพัย์ไนนเม่งิผลประโยชน์ 19 ภาระผู ผลประโยชน์ งาน 19 ภาระผูกกกส� พัพั พัินนนไม่ ผลประโยชน์ พนันักกงาน งาน 19 รวมหนี ห มุ น เวี ย น ภาระผู ผลประโยชน์ พ 19 รวมหนี สิ นทรัพสสส��� ย์ิิินนนไไม่ ม่หหหหมุมุมุมุนนนนเวีเวี รวมหนี ไม่ เวียยยนอืนน �น รวมหนี ไม่ รวมหนี ส� ินไม่ หมุนเวีเวียยนน ส� ิน รวมหนี รวมหนี รวมหนีส� สส�� ินิินน รวมหนี รวมสิ น ทรัาพของ ย์ ไม่ หมุนเวีย น ส่ วนของเจ้ นของเจ้ าาของ ของ ส่ส่ส่ วววนของเจ้ นของเจ้ ของ ส่ทุทุวนนนของเจ้ เรื อนหุ น้ าาของ นหุ ทรันน้้ พย์ ทุทุรวมสิ นนเรืเรืเรื อออนนหุ นหุ จดทะเบี 20 ทุนเรืทุทุอนนนหุ น้ น้ ยยนน จดทะเบี 20 ทุทุนนจดทะเบี ยยนนจํานวน 4,335,902,125 หุน้ 20 จดทะเบี 20 หุ น ้ สามั ญ ทุนจดทะเบี ยญนจํานวน 4,335,902,125 หุน้ 20 หุหุนน้้ สามั สามัญ ญจํจําานวน นวน 4,335,902,125 4,335,902,125 หุน้ สามั มูลค่ญาตราไว้ ุน้ ละ 6.92 บาทหุหุน้ น้ หุหุน้ น้ สามั จํานวนหห4,335,902,125 มูมูลลค่ค่าาตราไว้ ตราไว้ ุหุนน้้ ละ ละ 6.92 6.92 บาท บาท มูลลค่ค่าาตราไว้ ตราไว้4,774,343,003 ละ 6.92 6.92 บาท บาท หุ น้ มู(พ.ศ.2558: หหุนุ้น้ ละ (พ.ศ.2558: 4,774,343,003 (พ.ศ.2558: 4,774,343,003 หุหุหุนนน้้้ (พ.ศ.2558: 4,774,343,003 มูลค่าตราไว้4,774,343,003 หุน้ ละ 6.92 บาท) (พ.ศ.2558: หุ ตราไว้หหุุนน้้ ละ ละ 6.92 6.92 บาท) บาท)น้ มูมูมูลลลค่ค่ค่าาาตราไว้ ตราไว้ ห ุ น ้ ละ 6.92 บาท) มูลค่าตราไว้ หุน้ วละ 6.92 บาท) ทุนที�ออกและชํ าระแล้ ทุทุนนทีที��อออกและชํ อกและชําาระแล้ ระแล้วว อกและชํ ระแล้4,335,902,125 สามั ญ จําานวน หุน้ ทุทุนนทีทีหุหุ�อ�อนน้้ อกและชํ ระแล้ วว สามั ญ นวน 4,335,902,125 หุนน้้ สามั สามัญ ญจํจํจําาาานวน นวน 4,335,902,125 4,335,902,125 หุหุหุนนน้้้ หุ มูลค่ญาทีจํา�ชนวน าํ ระแล้ วหุ น้ ละ 6.92 บาท หุน้ สามั 4,335,902,125 น้ ระแล้ ละ 6.92 6.92 หุบาท บาท มูมูมูลลลค่ค่ค่าาาทีทีที���ชชชาาาํํํ ระแล้ วววหุหุหุ นนน้้้ ละ ระแล้ ละ 6.92 บาท (พ.ศ.2558: 4,335,902,125 หุ น ้ มู(พ.ศ.2558: ลค่าที�ชาํ ระแล้ วหุ น้ ละ 6.92 บาท 4,335,902,125 (พ.ศ.2558: 4,335,902,125 4,335,902,125 หุหุหุนนน้้้ (พ.ศ.2558: มูมูลลค่ค่าาตราไว้ ห ุ น ้ ละ 6.92 บาท) (พ.ศ.2558: 4,335,902,125 หุน้ ตราไว้หุน้ ละ ละ 6.92 6.92 บาท) บาท) ตราไว้ ตราไว้หหหุนุุ้นน้้ ละ ละ 6.92 6.92 บาท) บาท) ส่วนเกินมูลมูมูมูค่ลลลาค่หุค่ค่าาาน้ ตราไว้ นเกินมูลปค่ระกอบงบการเงิ าหุ น้ นเป็ นส่ วนหนึ� งของงบการเงินนี� ส่ส่หมายเหตุ ววนเกิ นเกินนนมูมูมูลลลค่ค่ค่าาาหุหุหุน้ นน้้ ส่ส่กํกํวาาวไรสะสม นเกิ ไรสะสม กํกําาไรสะสม ไรสะสม จัดสรรแล้ว - ทุนสํารองตามกฎหมาย 21 กําไรสะสม สรรแล้วว -- ทุทุนนสํสําารองตามกฎหมาย รองตามกฎหมาย 21 จัจัยัจังดดดไม่ สรรแล้ 21 สรรแล้ ว ทุ น สํ า รองตามกฎหมาย 21 ไได้ด้จจดดััวสรร จัยัดงไม่ สรรแล้ - ทุนสํารองตามกฎหมาย 21 สรร ยังไม่ สรร ไม่ไไได้ด้ด้จจจดั ดดัั สรร องค์ยัยัปงงระกอบส่ วสรร นอื�นของส่วนของเจ้าของ ไม่ องค์ ป ระกอบส่ ว นอื��นนของส่ ของส่วนของเจ้ นของเจ้าาของ ของ องค์ ปประกอบส่ ววนอื นของเจ้าาของ องค์ ระกอบส่ นอื �นของส่ ของส่วววนของเจ้ องค์ ป ระกอบส่ ว นอื � น รวมส่ ว นของเจ้ า ของ หมายเหตุ ปาของ ระกอบงบการเงิของ นเป็น ส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รวมส่ ววนของเจ้ รวมส่ นของเจ้ า ของ รวมส่ววนของเจ้ นของเจ้ าของ ของ รวมส่ า รวมหนี ส � ิ น และส่ ว นของเจ้ า ของ รวมหนี ส� ินและส่ วนของเจ้ าของ รวมหนี และส่ นของเจ้ ของ รวมหนีส� สส�� ินิินนและส่ และส่วววนของเจ้ นของเจ้าาาของ ของ รวมหนี
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา วย: ดอลลาร์ สหรัฐฐอเมริ กา หน่ หน่ 31ววย: ธันดอลลาร์ วาคม สสหรั 31 กกธัาานวาคม หน่ ย: ดอลลาร์ หรั ฐฐอเมริ อเมริ หน่ ว ย: ดอลลาร์ ส หรั อเมริ วาคม 31 ธัธักกนนาา วาคม หน่31 วย:ธัธันนดอลลาร์ สหรัฐอเมริ 31 วาคม 31 31 ธั น วาคม 31 ธันวาคม วาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 31พ.ศ. วาคม 31พ.ศ. วาคม 2559 2558 31 ธัธันนวาคม 31 ธัธันนวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558
หน่ วย: บาท ววย: บาท หน่ หน่ บาท 31 ธันวาคม หน่ ววย: ย: บาท หน่ ย: บาท 31 ธันวาคม หน่ ว ย: บาท 31 ธั น วาคม 31 ธั น วาคม พ.ศ. 2559 31พ.ศ. วาคม 2559 31 ธัธันนวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม 31 ธัธันนวาคม 31 31 ธันวาคม วาคม พ.ศ. 2558 31 วาคม พ.ศ. 2558 31พ.ศ. ธัธันนวาคม 2558 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2558
228,677,034 228,677,034 228,677,034 228,677,034228,677,034 6,469,214--323,964,041 106,666,667 106,666,667 106,666,667 106,666,667 327,101,282 4,297,167 106,666,667 4,297,167 4,297,167 4,297,167 29,586,208 4,297,167 29,586,208 1,405,200 29,586,208 29,586,208 29,586,208-27,737,240-658,939,737 27,737,240 27,737,240 27,737,240 27,737,240 396,964,316 396,964,316 396,964,316 396,964,316 396,964,316
195,458,583 195,458,583 195,458,583 195,458,583 98,748,269 195,458,583 98,748,269 108,913,055 98,748,269 98,748,269 98,748,269 239,044,481 36,666,667 36,666,667 36,666,667 36,666,667 249,161,207 4,032,920 36,666,667 4,032,920 4,032,920 4,032,920 17,446,359 4,032,920 17,446,359 6,630,560 17,446,359 17,446,359 166,240,640 17,446,359 166,240,640 166,240,640 166,240,640 33,678,689 166,240,640 603,749,303 33,678,689 33,678,689 33,678,689 33,678,689 552,272,127 552,272,127 552,272,127 552,272,127 552,272,127
8,232,359,619 8,232,359,619 8,232,359,619 8,232,359,6198,232,359,619 232,907,490--11,646,751,382 3,840,266,667 3,840,266,667 3,840,266,667 3,840,266,667 11,776,463,891 154,708,743 3,840,266,667 154,708,743 154,708,743 154,708,743 1,065,177,440 154,708,743 1,065,177,440 50,409,484 1,065,177,440 1,065,177,440 1,065,177,440-998,609,988-23,706,532,247 998,609,988 998,609,988 998,609,988 998,609,988 14,291,122,457 14,291,122,457 14,291,122,457 14,291,122,457 14,291,122,457
7,085,510,693 7,085,510,693 7,085,510,693 7,085,510,693 3,580,000,000 7,085,510,693 3,580,000,000 3,948,511,029 3,580,000,000 3,580,000,000 3,580,000,000 8,659,590,134 1,329,306,000 1,329,306,000 1,329,306,000 1,329,306,000 9,033,040,568 146,208,681 1,329,306,000 146,208,681 146,208,681 146,208,681 632,496,804 146,208,681 632,496,804 240,271,472 632,496,804 632,496,804 6,026,854,902 632,496,804 6,026,854,902 6,026,854,902 6,026,854,902 1,220,980,444 6,026,854,902 21,881,413,203 1,220,980,444 1,220,980,444 1,220,980,444 1,220,980,444 20,021,357,524 20,021,357,524 20,021,357,524 20,021,357,524 20,021,357,524
71,666,667 71,666,667 71,666,667 71,666,667 1,004,668,806 36,916,941 71,666,667 36,916,941 36,916,941 36,916,941 7,455,571 36,916,941 5,273,693 7,455,571 7,455,571 7,455,571 116,039,179 7,455,571 116,039,179 116,039,179 3,360,940 116,039,179 116,039,179 513,003,495 513,003,495 513,003,495 513,003,495 513,003,495 1,013,303,439
73,333,333 73,333,333 73,333,333 73,333,333 1,075,901,525 41,743,563 73,333,333 41,743,563 41,743,563 41,743,563 5,617,685 41,743,563 2,159,380 5,617,685 5,617,685 5,617,685 120,694,581 5,617,685 120,694,581 120,694,581 4,320,462 120,694,581 120,694,581 672,966,708 672,966,708 672,966,708 672,966,708 672,966,708 1,082,381,367
2,580,179,166 2,580,179,166 2,580,179,166 2,580,179,166 36,170,588,688 1,329,102,185 2,580,179,166 1,329,102,185 1,329,102,185 1,329,102,185 268,419,182 1,329,102,185 189,866,116 268,419,182 268,419,182 268,419,182 4,177,700,533 268,419,182 4,177,700,533 4,177,700,533 121,002,201 4,177,700,533 4,177,700,533 18,468,822,990 18,468,822,990 18,468,822,990 18,468,822,990 18,468,822,990 36,481,457,005
2,658,612,000 2,658,612,000 2,658,612,000 2,658,612,000 39,005,518,691 1,513,362,801 2,658,612,000 1,513,362,801 1,513,362,801 1,513,362,801 203,662,442 1,513,362,801 78,285,721 203,662,442 203,662,442 203,662,442 4,375,637,243 203,662,442 4,375,637,243 4,375,637,243 156,633,192 4,375,637,243 4,375,637,243 24,396,994,767 24,396,994,767 24,396,994,767 24,396,994,767 24,396,994,767 39,240,437,604
1,672,243,176
1,686,130,670
60,187,989,252
61,121,850,807
864,713,808 864,713,808 864,713,808 864,713,808 864,713,808
948,633,413 948,633,413 948,633,413 948,633,413 948,633,413
30,004,442,705 30,004,442,705 30,004,442,705 30,004,442,705 30,004,442,705
33,038,453,581 33,038,453,581 33,038,453,581 33,038,453,581 33,038,453,581
864,713,808 864,713,808 864,713,808 864,713,808 31,917,416 864,713,808 31,917,416 31,917,416 31,917,416 31,917,416 87,865,911 87,865,911 87,865,911 87,865,911 174,742,546 87,865,911 174,742,546 174,742,546 174,742,546174,742,546 --1,159,239,681 1,159,239,681 1,159,239,681 1,159,239,681 1,159,239,681 1,672,243,176 1,672,243,176 1,672,243,176 1,672,243,176 1,672,243,176
864,713,808 864,713,808 864,713,808 864,713,808 31,917,416 864,713,808 31,917,416 31,917,416 31,917,416 31,917,416 84,652,251 84,652,251 84,652,251 84,652,251 31,880,487 84,652,251 31,880,487 31,880,487 31,880,48731,880,487 --1,013,163,962 1,013,163,962 1,013,163,962 1,013,163,962 1,013,163,962 1,686,130,670 1,686,130,670 1,686,130,670 1,686,130,670 1,686,130,670
30,004,442,705 30,004,442,705 30,004,442,705 30,004,442,705 977,711,111 30,004,442,705 977,711,111 977,711,111 977,711,111 977,711,111 3,000,444,271 3,000,444,271 3,000,444,271 3,000,444,271 8,671,792,230 3,000,444,271 8,671,792,230 8,671,792,230 8,671,792,230 (935,224,055) 8,671,792,230 (935,224,055) (935,224,055) (935,224,055) (935,224,055) 41,719,166,262 41,719,166,262 41,719,166,262 41,719,166,262 41,719,166,262 60,187,989,252 60,187,989,252 60,187,989,252 60,187,989,252 60,187,989,252
30,004,442,705 30,004,442,705 30,004,442,705 30,004,442,705 977,711,111 30,004,442,705 977,711,111 977,711,111 977,711,111 977,711,111 2,886,500,098 2,886,500,098 2,886,500,098 2,886,500,098 3,599,501,081 2,886,500,098 3,599,501,081 3,599,501,081 3,599,501,081 (743,298,955) 3,599,501,081 (743,298,955) (743,298,955) (743,298,955) (743,298,955) 36,724,856,040 36,724,856,040 36,724,856,040 36,724,856,040 36,724,856,040 61,121,850,807 9 61,121,850,807 61,121,850,807 61,121,850,807 61,121,850,807
10 10 10 10 10
109
หนีส� ิ นหมุนเวียน เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น เจ้าหนี�จากการลดทุน ส่วนของเงินกูย้ ืมระยะยาวที�ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ�งปี ภาษีมูลค่าเพิ�มค้างจ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย เงินปันผลค้างจ่าย หนีษ� สทั ิ นหมุ นเวียปินอื �น ยม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) บริ สตาร์ โตรเลี
13 14
228,677,034 -
195,458,583 98,748,269
8,232,359,619 -
7,085,510,693 3,580,000,000
15
106,666,667 4,297,167 29,586,208 27,737,240
36,666,667 4,032,920 17,446,359 166,240,640 33,678,689
3,840,266,667 154,708,743 1,065,177,440 998,609,988
1,329,306,000 146,208,681 632,496,804 6,026,854,902 1,220,980,444
396,964,316
552,272,127
14,291,122,457
20,021,357,524
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน) 16
งบแสดงฐานะการเงิ น รวมหนีส� ินหมุนเวียนน งบแสดงฐานะการเงิ
17
สํหนีาส� หรั บปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ิ นไม่ หมุนเวียน ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีส� ินไม่หมุนเวียน รวมหนีส� ิน
15 18 19
71,666,667 73,333,333 36,916,941 41,743,563 หน่ ว7,455,571 ย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ5,617,685 กา 116,039,179 120,694,581 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม
2,580,179,166 1,329,102,185 หน่ วย: บาท 268,419,182 4,177,700,533 31 ธันวาคม
2,658,612,000 1,513,362,801 203,662,442 4,375,637,243 31 ธันวาคม
513,003,495 พ.ศ. 2559
672,966,708 พ.ศ. 2558
18,468,822,990 พ.ศ. 2559
24,396,994,767 พ.ศ. 2558
7
6,469,214
108,913,055
232,907,490
3,948,511,029
8
323,964,041
239,044,481
11,646,751,382
8,659,590,134
9
864,713,808 327,101,282
948,633,413 249,161,207
30,004,442,705 11,776,463,891
33,038,453,581 9,033,040,568
10
1,405,200
6,630,560
50,409,484
240,271,472
658,939,737
603,749,303
23,706,532,247
21,881,413,203
หมายเหตุ
นของเจ้ สิส่นวทรั พย์ าของ ทุนเรื อนหุ น้ สิ นทรั ย์ หมุนเวียยนน ทุนพจดทะเบี หุน้ สามัญจํานวน 4,335,902,125 หุน้ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด มูลค่าตราไว้หุน้ ละ 6.92 บาท ลูกหนี�การค้(พ.ศ.2558: าและลูกหนี4,774,343,003 � อื�น หุน้ สิ นค้าคงเหลืมูอล-ค่สุาตราไว้ ทธิ หุน้ ละ 6.92 บาท) ทุนพทีย์�อหอกและชํ สิ นทรั มุนเวียนอืาระแล้ �น ว หุ น้ สามัญจํานวน 4,335,902,125 หุน้ �ชาํ ยระแล้ รวมสินทรัพมูย์ลหค่มุานทีเวี น วหุ น้ ละ 6.92 บาท (พ.ศ.2558: 4,335,902,125 หุน้ มูลค่าตราไว้หุน้ ละ 6.92 บาท) สิส่นวทรั นเกิพนย์มูไลม่ค่หามุหุนน้ เวียน กําไรสะสม ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ จัดสรรแล้ว - ทุนสํารองตามกฎหมาย สิ นทรั วั ตน - สุ ทธิ ยังพไม่ย์ไม่ด้มจดัีตสรร ของส่ สิองค์ นทรัประกอบส่ พย์ไม่หมุวนนอื เวีย�นนอื �น วนของเจ้าของ
20
11 21 12
รวมส่ วนของเจ้ าของ รวมสิ นทรั ย์ ไม่ หวมุนของเจ้ นเวีย นาของ รวมหนี ส� ินพและส่ รวมสินทรัพย์
864,713,808 31,917,416
864,713,808 31,917,416
30,004,442,705 977,711,111
30,004,442,705 977,711,111
1,004,668,806 87,865,911 5,273,693 174,742,546 3,360,940-
1,075,901,525 84,652,251 2,159,380 31,880,487 4,320,462-
36,170,588,688 3,000,444,271 189,866,116 8,671,792,230 (935,224,055) 121,002,201
39,005,518,691 2,886,500,098 78,285,721 3,599,501,081 (743,298,955) 156,633,192
1,159,239,681 1,013,303,439 1,672,243,176
1,013,163,962 1,082,381,367 1,686,130,670
41,719,166,262 36,481,457,005 60,187,989,252
36,724,856,040 39,240,437,604 61,121,850,807
1,672,243,176
1,686,130,670
60,187,989,252
61,121,850,80710
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ� งของงบการเงินนี�
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็น ส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 9
110
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน) บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลีย ม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) งบกํ าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
สําหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558
หมายเหตุ รายได้จากการขาย เงินชดเชยจากการจําหน่าย ก๊าซปิ โตรเลียมเหลวและนํ�ามัน รายได้ รวม ต้นทุนขาย กําไรขั�นต้ น รายได้อ�ืน กําไรจากอัตราแลกเปลี�ยน กําไรก่ อนค่ าใช้ จ่าย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าใช้จ่ายอื�น ต้นทุนทางการเงิน กําไรก่ อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้นิติบุคคล
6
23
หน่ วย: บาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
4,369,901,530
5,217,572,506
154,953,513,955
178,765,671,936
3,610,006
3,236,273
128,294,044
111,203,329
4,373,511,536 (4,052,949,447)
5,220,808,779 (4,890,293,154)
155,081,807,999 (143,714,886,714)
178,876,875,265 (167,751,921,845)
320,562,089 1,784,883 15,536,115
330,515,625 6,904,787 13,460,699
11,366,921,285 63,344,719 548,489,987
11,124,953,420 233,657,661 494,730,080
337,883,087 (25,763,654) (597,269) (2,667,165)
350,881,111 (35,292,362) (373,979) (249,818)
11,978,755,991 (914,123,117) (21,064,119) (94,428,023)
11,853,341,161 (1,222,284,979) (12,425,743) (8,735,951)
308,854,999 (63,817,782)
314,964,952 (70,415,517)
10,949,140,732 (2,261,052,405)
10,609,894,488 (2,382,420,438)
245,037,217
244,549,435
8,688,088,327
8,227,474,050
24
23
25
กําไรสํ าหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื�น: รายการที�จะไม่ จัดประเภทรายการใหม่ ไ ปยัง กําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนจาก การแปลงค่างบการเงิน การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพัน ผลประโยชน์พนักงาน
-
-
(191,925,100)
3,723,443,016
(745,080)
-
(26,333,816)
-
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นสําหรับปี สุ ทธิ จากภาษี
(745,080)
-
(218,258,916)
3,723,443,016
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รวมสํ าหรับปี
244,292,137
244,549,435
8,469,829,411
11,950,917,066
0.06
0.06
2.00
1.99
กําไรต่อหุ้น
26
กําไรต่อหุน้ ขั�นพื�นฐาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็น ส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
11
111
112 20
การเพิ�มทุนจดทะเบียน
22
เงินปั นผล
22
เงินปั นผล
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็น ส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ�งของงบการเงินนี�
ยอดคงเหลือสิ�นปี วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี
21
864,713,808
-
-
-
864,713,808
ยอดคงเหลือต้ นปี วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559
ทุนสํารองตามกฎหมาย
864,713,808
-
-
-
-
ยอดคงเหลือสิ�นปี วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี
21
ทุนสํารองตามกฎหมาย
ส่ วนเกินมูลค่าหุน้
(364,966,192)
20
การลดทุนจดทะเบียน 44,724,833
1,184,955,167
ชําระแล้ ว
ทุนที�ออกและ
ยอดคงเหลือต้ นปี วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุ
สํสําาหรัหรั วันทีพ.ศ.่ 312559ธันวาคม พ.ศ. 2559 บปี สิบ�นสุปีดวัสิ นที้น� 31สุธัด นวาคม
งบแสดงการเปลี งบแสดงการเปลีย� นแปลงส่ วนของเจ้ าของ่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ
บริ ษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน) บริษทั สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ น�งิ จํากัด (มหาชน)
31,917,416
-
-
-
31,917,416
31,917,416
-
-
-
11,609,205
-
-
20,308,211
ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น
87,865,911
-
-
3,213,660
84,652,251
84,652,251
-
-
23,233,279
-
-
-
61,418,972
ทุนสํ ารองตามกฎหมาย
จัดสรรแล้ ว
กําไรสะสม
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
174,742,546
244,292,137
(98,216,418)
(3,213,660)
31,880,487
31,880,487
244,549,435
(277,664,321)
(23,233,279)
-
-
-
88,228,652
ยังไม่ ได้ จดั สรร
12
1,159,239,681
244,292,137
(98,216,418)
-
1,013,163,962
1,013,163,962
244,549,435
(277,664,321)
-
11,609,205
44,724,833
(364,966,192)
1,354,911,002
เจ้ าของ
รวมส่ วนของ
(12,637,089,157)
20 20
การลดทุนจดทะเบียน
การเพิ�มทุนจดทะเบียน
977,711,111
30,004,442,705
ยอดคงเหลือต้ นปี วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 22
เงินปันผล
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็น ส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�
ยอดคงเหลือสิ�นปี วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี
21
ทุนสํารองตามกฎหมาย
977,711,111
30,004,442,705
-
-
-
-
977,711,111
30,004,442,705
ยอดคงเหลือสิ�นปี วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
-
-
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี
-
22
เงินปันผล
-
-
21
ทุนสํารองตามกฎหมาย
418,750,945
-
-
-
ส่ วนเกินมูลค่าหุน้
1,612,021,612
558,960,166
41,029,510,250
ยอดคงเหลือต้ นปี วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 -
ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น
ทุนที�ออกและ ชํ าระแล้ว
หมายเหตุ
บปี สิบ�นปี สุ ดวัสินที้น� 31 สํสําาหรัหรั สุธัดนวัวาคมนทีพ.ศ.่ 312559ธันวาคม พ.ศ. 2559
งบแสดงการเปลี งบแสดงการเปลีย� นแปลงส่ วนของเจ้ าของ่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ
บริ ษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน) บริษทั สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ น�งิ จํากัด (มหาชน)
3,000,444,271
-
-
113,944,173
2,886,500,098
2,886,500,098
-
-
921,434,781
-
-
-
1,965,065,317
ทุนสํารองตามกฎหมาย
จัดสรรแล้ว
กําไรสะสม
(921,434,781)
-
-
-
5,756,445,882
ยังไม่ ได้ จัดสรร
8,671,792,230
8,661,754,511
(3,475,519,189)
(113,944,173)
3,599,501,081
3,599,501,081
8,227,474,050
(9,462,984,070)
หน่ วย: บาท
(935,224,055)
(191,925,100)
-
-
(743,298,955)
(743,298,955)
3,723,443,016
-
-
-
-
-
(4,466,741,971)
จากการแปลงค่ างบการเงิน
ผลต่ างของอัตราแลกเปลี�ยน
ส่ วนของเจ้ าของ
องค์ ประกอบอื�นของ
13
41,719,166,262
8,469,829,411
(3,475,519,189)
-
36,724,856,040
36,724,856,040
11,950,917,066
(9,462,984,070)
-
418,750,945
1,612,021,612
(12,637,089,157)
44,843,239,644
เจ้ าของ
รวมส่ วนของ
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2559
113
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน)
งบกระแสเงินสด
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ น�งิ จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด
สําหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
308,854,999
314,964,952
10,949,140,732
10,609,894,488
(839,398) 2,667,165 80,983,964 1,353,219 563,346
(2,670,459) 249,818 80,364,961 965,200 361,948
(29,831,591) 94,428,023 2,872,153,600 47,972,255 19,881,135
(90,492,667) 8,735,950 2,766,432,620 33,197,478 12,031,220
2,695,447 664,935 -
3,508,171 520,333 (75,605,567)
95,578,679 23,528,087 -
120,820,370 17,477,712 (2,476,815,131)
1,173,950 -
423,798 (354,167)
41,627,458 -
19,136,575 (12,197,419)
(84,661,317) (78,605,009) 6,732,734 33,437,271 (87,809) (5,666,427)
147,968,351 229,924,251 32,447,651 (136,040,726) (46,162) 8,287,148
(3,002,031,020) (2,787,278,603) 238,738,015 1,185,662,213 (3,153,100) (200,927,528)
5,095,985,622 7,918,995,803 1,117,487,378 (4,685,201,796) (1,592,949) 285,410,936
เงินสดได้มาจากการดําเนิ นงาน ดอกเบี�ยรับ ดอกเบี�ยจ่าย จ่ายภาษีเงินได้
269,267,070 847,539 (2,490,180) (52,371,782)
605,269,501 2,671,302 (145,948) (8,162,353)
9,545,488,355 30,126,819 (88,082,205) (1,850,956,449)
20,739,306,190 90,493,750 (4,970,271) (291,207,628)
เงินสดสุ ทธิได้ มาจากกิจกรรมดําเนินงาน
215,252,647
599,632,502
7,636,576,520
20,533,622,041
หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับปรุง รายได้ทางการเงิน ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าเสื� อมราคา ค่าตัดจําหน่าย ขาดทุนจากการจําหน่ายสิ นทรัพย์ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี�ยน ที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจริ ง ขาดทุนจากสิ นค้าและวัสดุอื�นล้าสมัย กลับรายการจากการลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน หลังการเลิกจ้างหรื อเกษียณอายุ รายได้รอตัดบัญชีรับรู ้ระหว่างปี การเปลีย� นแปลงของสิ นทรัพย์ และหนีส� ินดําเนินงาน ลูกหนี�การค้าและลูกหนี� อื�น สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื�นและสิ นทรัพย์อื�น เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น เงินสดจ่ายเพื�อชําระภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี�สินหมุนเวียนอื�นและหนี�สินอื�น
24 11, 23
9 9
19
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็น ส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 14
114
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน)
งบกระแสเงินสด
บริษษัทัท สตาร์ สตาร์ ปิปิ โตรเลี โตรเลียยมม รีรีไไฟน์ ฟน์นน�งิ �งิ จํจําากักัดด (มหาชน) (มหาชน) บริ งบกระแสเงินนสด สด งบกระแสเงิ
สําหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หมายเหตุ หมายเหตุ
หน่ หน่ววย:ย: ดอลลาร์ ดอลลาร์สสหรั หรัฐฐอเมริ อเมริกกาา 31 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 31ธัธันนวาคม วาคม
หน่ หน่ววย:ย:บาท บาท 3131ธัธันนวาคม 3131ธัธันนวาคม วาคม วาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558
พ.ศ. พ.ศ. 2559 2559
พ.ศ. พ.ศ.2558 2558
(15,178,454) 308,854,999 33,923
(13,589,207) 314,964,952 12,031
(538,217,342) 10,949,140,732 1,182,984
(468,008,209) 10,609,894,488 394,524
(839,398) (15,144,531) 2,667,165 80,983,964 1,353,219 140,000,000 563,346 (71,666,667)
(2,670,459) (13,577,176) 249,818 80,364,961 965,200 110,000,000 361,948 -
(29,831,591) (537,034,358) 94,428,023 2,872,153,600 47,972,255 4,959,200,000 19,881,135 (2,530,441,834)
(90,492,667) (467,613,685) 8,735,950 2,766,432,620 33,197,478 3,987,918,000 12,031,220
(100,864,825) 2,695,447 664,935-
(261,573,792) 3,508,171 49,246,616 520,333 (75,605,567)
(3,580,000,000) 95,578,679 23,528,087-
(9,057,089,157) 120,820,370 1,775,000,700 17,477,712 (2,476,815,131)
เพิ�มหลั ทุนงการเลิ ต่อผูบ้ กริจ้หาารและพนั งาน งหรื อเกษียกณอายุ เงินรายได้ ปันผลจ่ า ยให้ ผ ู ถ ้ ื อ หุ น ้ รอตัดบัญชีรับรู ้ระหว่างปี
1,173,950(269,850,091)-
8,921,519 423,798 (447,672,381) (354,167)
41,627,458(9,502,374,085)-
321,559,200 19,136,575 (14,862,984,070) (12,197,419)
การเปลีย� นแปลงของสิ นทรัพย์ และหนีส� ินดําเนินงาน เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ลูกหนี�การค้าและลูกหนี� อื�น สิ นค้าคงเหลือ เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด (ลดลง) เพิม� ขึน� สุ ทธิ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื�นและสิ นทรัพย์อื�น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น รายการปรับปรุ งจากการแปลงค่าเงินต่างประเทศ เงินสดจ่ายเพื�อชําระภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน และหนี ิ นอื�น เงินหนี สดและรายการเที าเงิน� สสดปลายปี � สินหมุนเวียนอืย�นบเท่
(302,381,583) (84,661,317) (78,605,009) (102,273,467) 6,732,734 108,913,055 33,437,271 (170,374) (87,809) 6,469,214 (5,666,427)
(541,078,038) 147,968,351 229,924,251 44,977,288 32,447,651 69,042,730 (136,040,726) (5,106,963) (46,162) 108,913,055 8,287,148
(10,653,615,919) (3,002,031,020) (2,787,278,603) (3,554,073,757) 238,738,015 3,948,511,029 1,185,662,213 (161,529,782) (3,153,100) 232,907,490 (200,927,528)
(17,835,595,327) 5,095,985,622 7,918,995,803 2,230,413,029 1,117,487,378 2,286,101,979 (4,685,201,796) (568,003,979) (1,592,949) 3,948,511,029 285,410,936
เงินสดได้มาจากการดําเนินงาน ดอกเบี�ยรับ ดอกเบี�ยจ่าย รายการที จ่ายภาษีไ� ม่เงิกนระทบเงิ ได้ นสด
269,267,070 847,539 (2,490,180) (52,371,782)
605,269,501 2,671,302 (145,948) (8,162,353)
9,545,488,355 30,126,819 (88,082,205) (1,850,956,449)
20,739,306,190 90,493,750 (4,970,271) (291,207,628)
ปกรณ์าโเนิ ดยยั งไม่ได้ชาํ ระเงิน � อทีท�ดธิินได้อาคารและอุ เงิการซื นสดสุ มาจากกิจกรรมดํ นงาน
579,693 215,252,647
1,068,198 599,632,502
20,870,383 7,636,576,520
38,726,232 20,533,622,041
กระแสเงินนสดจากกิ สดจากกิจจกรรมดํ กรรมลงทุ กระแสเงิ าเนินนงาน สดจ่อนภาษี ายเพื�อเซืงิน� อได้ อุปกรณ์และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน กํเงิานไรก่ เงินสดรับจากการจํ รายการปรั บปรุง าหน่ายอุปกรณ์
รายได้ทางการเงิน เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าเสื� อมราคา กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ค่าตัดจําหน่าย เงินสดรับจากเงินกูย้ ืมระยะยาว ขาดทุนจากการจําหน่ายสิ นทรัพย์ จ่ายคืนเงินกูย้ ืมระยะยาว ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี�ยน เงินสดจ่ายสําหรับการลดทุน ที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจริ ง เงินขาดทุ สดรับนจากการรั ชําระค่สาดุหุอน้ ื�นและส่ จากสิ นค้บาและวั ล้าสมัวยนเกินมูลค่าหุน้ เงินกลั สดรั บจากการรับชําระค่ลาหุค่น้าสิและส่ วนเกินอ บรายการจากการลดมู นค้าคงเหลื ค่าจหุ่ายผลประโยชน์ น้ โครงการออกและเสนอขายหุ น้ สามัญ ค่มูาลใช้ พนักงาน
24 11, 23
9 9
19 7
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็น ส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
-
16 14
115
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน) บริ ษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สํสําาหรัหรั บปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 1
ข้อมูลทั�วไป บริ ษทั สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์น�ิง จํากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) เป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัด และเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ซึ� งจัดตั�งขึ�นในประเทศไทยและมีที�อยูต่ ามที�ได้จดทะเบียนดังนี� เลขที� 1 ถนนไอ-3บี ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง 21150 บริ ษทั จดทะเบียนเป็ นบริ ษทั จํากัด เมื� อวันที� 20 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2535 เพื�อประกอบธุ รกิจกิ จการโรงกลัน� ปิ โตรเลี ยม ซึ� งตั�งอยู่ใน จังหวัดระยอง ประเทศไทย บริ ษทั ได้จดทะเบี ยนเป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัด กับกรมพัฒนาธุ รกิ จการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ เมื� อวัน ที� 7 มิถุนายน พ.ศ. 2555 และบริ ษทั ได้เปลี�ยนชื�อเป็ นบริ ษทั สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์นิ�ง จํากัด (มหาชน) ตั�งแต่น� นั มา บริ ษทั เป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื�อวันที� 8 ธันวาคม พ.ศ. 2558 งบการเงินนี� ได้รับอนุมตั ิ โดยคณะกรรมการบริ ษทั เมื�อวันที� 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
2
นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีท�ีสาํ คัญที�ใช้ในการจัดทํางบการเงิน มี ดงั ต่อไปนี� 2.1
เกณฑ์ ในการจัดทํางบการเงิน งบการเงิ น ได้จดั ทําขึ� นตามหลักการบัญ ชี ที� รับ รองทั�วไปภายใต้พ ระราชบัญญัติ การบัญ ชี พ.ศ. 2543 ซึ� งหมายความถึ ง มาตรฐานการบัญชี ที�ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชี พบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกําหนดของคณะกรรมการการกํากับหลักทรั พย์ และตลาดหลักทรัพย์วา่ ด้วยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ งบการเงิ นได้จดั ทําขึ�นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิ ม ในการวัดมู ลค่าขององค์ป ระกอบของงบการเงิ น ยกเว้นเรื� องที� อธิ บายใน นโยบายการบัญชี ในลําดับต่อไป การจัด ทํางบการเงิ น ให้สอดคล้อ งกับ หลักการบัญชี ที� รับรองทั�วไปในประเทศไทย กําหนดให้ใช้ป ระมาณการทางบัญชี ที�สําคัญและการใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หารซึ� งจัดทําขึ�นตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชี ของกิจการไปถือปฏิบตั ิ และต้องเปิ ดเผยเรื� องการใช้ดุ ลยพินิจของผูบ้ ริ ห าร หรื อความซับ ซ้อ น หรื อ เกี� ยวกับ ข้อสมมติ ฐานและประมาณการที� มี นัยสําคัญต่องบการเงินในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที� 4 งบการเงิ นฉบับ ภาษาอังกฤษจัดทําขึ� นจากงบการเงิ นตามกฎหมายที� เป็ นภาษาไทย ในกรณี ที�มีค วามหมายขัดแย้งกันหรื อ มีความแตกต่างในการตีความระหว่างสองภาษา ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็ นหลัก
116 16
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2
การปรับปรุ งมาตรฐานการบัญชี การปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที�เกีย� วข้อง บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามกลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ งและเกี�ยวข้องกับบริ ษทั ซึ� งมีผลบังคับใช้ ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 โดยการปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ดงั กล่าวไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญกับบริ ษทั บริ ษทั ยังไม่ได้นาํ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับที�มีการปรับปรุ งใหม่ซ� ึ งจะมีผลบังคับใช้สําหรับรอบระยะเวลาบัญ ชี ที�เริ� มต้นในหรื อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 มาถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้
2.3
การแปลงค่ าเงินตราต่ างประเทศ (ก)
สกุลเงินที�ใช้ในการดําเนินงานและสกุลเงินที�ใช้นาํ เสนอข้อมูลทางการเงิน รายการค้าในงบการเงิ น วัด มู ลค่ าโดยใช้ส กุลเงิ น ของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิ จหลักที� บ ริ ษัท ดําเนิ น งานอยู่ (สกุลเงิ น ที� ใช้ในการดําเนิ นงาน) ผูบ้ ริ หารได้พิ จารณาว่าสกุลเงิ นดอลลาร์ สหรั ฐอเมริ กา เป็ นสกุลเงิ นที� ใช้ในการ ดําเนิ นงาน เพื�อให้เป็ นไปตามข้อกําหนดของกรมพัฒ นาธุ รกิ จการค้าที� กาํ หนดให้กิจการต้อ งนําเสนองบการเงิ น ในสกุ ลเงิ น บาท (สกุลเงิ น ที� ใช้นําเสนองบการเงิ น ) บริ ษ ัทจึ งนําเสนองบการเงิ นที� แปลงค่ าจากสกุลเงิ นดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กาเป็ นสกุลเงินบาท โดยใช้วธิ ี การแปลงค่าตามที�กล่าวไว้ในหัวข้อ 2.3 (ค)
(ข)
รายการและยอดคงเหลือ รายการที� เป็ นสกุลเงิ นตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงิ นที� ใช้ในการดําเนิ นงานโดยใช้อตั ราแลกเปลี�ยน ณ วันที� เกิดรายการ รายการกําไรและรายการขาดทุนที�เกิดจากการรับ หรื อจ่ายชําระที�เป็ นเงินตราต่างประเทศ และที�เกิด จาก การแปลงค่า ณ วันสิ� นงวดบัญชี ของสิ นทรัพย์และหนี� สินที� เป็ นตัวเงิ นซึ� งเป็ นเงิ น ตราต่างประเทศ ได้บนั ทึกไว้ใน กําไรหรื อขาดทุน เมื�อมีการรับรู ้รายการกําไรหรื อขาดทุนของรายการที�ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น องค์ประกอบของ อัต ราแลกเปลี�ยนทั�ง หมดของกําไรหรื อขาดทุ น นั�น จะรับ รู ้ ไว้ในกําไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จอื� น ด้วย ในทางตรงข้าม การรับรู ้กาํ ไรหรื อขาดทุนของรายการที� ไม่ เป็ นตัวเงิ นไว้ในกําไรหรื อขาดทุ น องค์ประกอบของอัต ราแลกเปลี�ยน ทั�งหมดของกําไรหรื อขาดทุนนั�นจะรับรู้ไว้ในกําไรขาดทุนด้วย
(ค)
การแปลงค่าเป็ นสกุลเงินที�ใช้นาํ เสนองบการเงิน การแปลงค่ าผลการดําเนิ นงานและฐานะการเงินของบริ ษทั ซึ� งมีสกุลเงินที�ใช้ในการดําเนิ นงานแตกต่างจากสกุลเงิน ที�ใช้นาํ เสนองบการเงินได้ถกู แปลงค่าเป็ นสกุลเงินที� ใช้นาํ เสนองบการเงินดังนี�
สิ น ทรัพย์และหนี� สิน ที� แสดงอยู่ในงบแสดงฐานการเงิน แต่ ละงวดแปลงค่ าด้วยอัต ราปิ ด ณ วันที� ของแต่ ละ งบแสดงฐานะการเงินนั�น รายได้และค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ แปลงค่าด้วยอัตราถัวเฉลี�ย และ ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนทั�งหมดรับรู ้เป็ นองค์ประกอบส่ วนอื�นของส่ วนของผูถ้ ือหุน้ 17
117
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.4
เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ในงบกระแสเงิ นสด เงิ นสดและรายการเที ยบเท่ าเงิ น สดหมายรวมถึงเงิ น สดในมื อ และเงิ นฝากธนาคารประเภทจ่ ายคื น เมื�อทวงถาม เงินลงทุนระยะสั�นอื�นที�มีสภาพคล่องสูงซึ� งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที�ได้มา
2.5
ลูกหนีก� ารค้ า ลูกหนี�การค้ารับรู ้เริ� มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี� และจะวัดมู ลค่ าต่อมาด้วยจํานวนเงิ นที� เหลืออยู่หกั ด้วยค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสู ญ ซึ� งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ� นงวด ค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสู ญคื อผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีข องลูกหนี� การค้าเปรี ยบเทียบกับมูลค่าที� คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี� การค้า หนี� สูญที�เกิ ดขึ� นจะรับรู้ไว้ในกําไรหรื อขาดทุน โดยถือเป็ น ส่ วนหนึ�งของค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
2.6
สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือแสดงตามราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที�จะได้รับแล้วแต่ราคาใดตํ�ากว่า ราคาทุ นคํานวณโดยวิธีถวั เฉลี�ยถ่วงนํ�าหนัก ต้นทุนในการซื� อประกอบด้วยราคาซื� อ และค่าใช้จ่ายทางตรงที� เกี� ยวข้องกับการได้มาซึ� งสิ นค้านั�น เช่น ค่ าอากรขาเข้า ค่าขนส่ ง หักด้วยส่ วนลดและเงินที�ได้รับคื นจากการซื� อสิ นค้า ต้นทุนของสิ นค้าสําเร็ จรู ปและงานระหว่างทําประกอบด้วยค่ าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายอื�นทางตรง และค่าโสหุ ย้ การผลิต แต่ไม่รวมต้นทุนการกูย้ มื มูลค่าสุ ทธิ ที�จะได้รับประมาณจากราคา ปกติที� ค าดว่าจะขายได้ข องธุ รกิ จหักด้วยค่า ใช้จ่า ยที� จาํ เป็ นเพื� อให้สิน ค้านั�น สําเร็ จรู ปรวมถึงค่ าใช้จ่ายในการขาย บริ ษทั ได้ทาํ การตั�งค่าเผื�อลดมูลค่าสําหรับสิ นค้าล้าสมัย สิ นค้าเคลื�อนไหวช้า หรื อเสื� อมคุณภาพเท่าที�จาํ เป็ น
2.7
ทีด� ิน อาคารและอุปกรณ์ ที� ดินแสดงด้วยราคาทุน ส่ วนอาคารและอุปกรณ์ รับรู ้เมื� อเริ� มแรกตามราคาทุนหักด้วยค่ าเสื� อมราคาสะสม ราคาทุ นรวมถึง รายจ่ายที�เกี�ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ� งสิ นทรัพย์น� นั ต้น ทุนที�เกิ ดขึ�นภายหลังจะรวมอยู่ในมู ลค่ าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์หรื อรับรู ้แยกเป็ นอีกสิ นทรัพย์หนึ� งตามความเหมาะสม เมื�อต้นทุน นั�นเกิ ดขึ� นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตแก่ บริ ษทั และต้นทุ นดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้ อย่างน่าเชื�อถือ และจะตัดมูลค่าตามบัญชี ของชิ�นส่ วนที� ถกู เปลี�ยนแทนออก สําหรับค่าซ่ อมแซมและบํารุ งรักษาอื�น ๆ บริ ษทั จะรับรู ้ต้นทุนดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายในกําไรหรื อขาดทุนเมื�อเกิดขึ�น ที�ดินไม่มีการคิดค่าเสื� อมราคา ค่าเสื� อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คาํ นวณโดยวิธีเส้นตรง เพื�อลดราคาทุนแต่ ละชนิ ดตลอดอายุ การให้ประโยชน์ท�ีประมาณการไว้ของสิ นทรัพย์ดงั ต่อไปนี� อาคาร โรงกลัน� และอุปกรณ์ เครื� องตกแต่ง ติดตั�ง และอุปกรณ์
20 - 50 ปี 5 - 33 ปี 5 - 25 ปี
18
118
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.7
ทีด� ิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ) ทุ กสิ� นรอบระยะเวลารายงาน บริ ษ ัท ได้มี การทบทวนและปรับปรุ งมู ลค่ าคงเหลื อและอายุการให้ประโยชน์ ของสิ น ทรัพย์ ให้เหมาะสม ในกรณีที�มูลค่ าตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคื น มูลค่าตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่ าที�คาดว่าจะได้รับคืนทันที (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2.9) ผลกําไรหรื อขาดทุนที� เกิดจากการจําหน่ ายที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ คํานวณโดยเปรี ยบเที ยบจากสิ� งตอบแทนสุ ทธิ ที�ได้รับจาก การจําหน่ายสิ นทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ และจะรับรู ้ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ
2.8
สิ นทรัพ ย์ ไม่มตี ัวตน - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้น ทุ น ที� ใช้ในการบํารุ งรั กษาโปรแกรมคอมพิ วเตอร์ ให้ บัน ทึ กเป็ นค่ าใช้จ่ายเมื� อเกิ ด ขึ� น ค่ า ใช้จ่ายที� เกิ ด จากการพัฒ นา ที�เกี�ยวข้องโดยตรงในการออกแบบและทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที�มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงซึ� งบริ ษทั เป็ นผูด้ ูแล จะรับรู ้ เป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมื�อเป็ นไปตามข้อกําหนดทุกข้อดังนี�
มีความเป็ นไปได้ทางเทคนิ คที�กิจการจะทําสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนให้เสร็ จสมบูรณ์เพื�อนํามาใช้ประโยชน์หรื อขายได้ ผูบ้ ริ หารมีความตั�งใจที�จะทําสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนให้เสร็ จสมบูรณ์และนํามาใช้ประโยชน์หรื อขาย กิจการมีความสามารถที�จะนําสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนนั�นมาใช้ประโยชน์หรื อขาย สามารถแสดงว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์น� นั ให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในอนาคตอย่างไร มีความสามารถในการจัดหาทรัพยากรด้านเทคนิ ค ด้านการเงิน และด้านอื�นได้เพียงพอที�จะนํามาใช้เพื�อทําให้การพัฒนา เสร็ จสิ� นสมบูรณ์ และนําสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนมาใช้ประโยชน์หรื อนํามาขายได้ กิ จการมี ค วามสามารถที� จะวัด มู ลค่ าของรายจ่ายที� เกี� ยวข้องกับ สิ นทรั พย์ไม่ มี ต ัวตนที� เกิ ดขึ� นในระหว่างการพัฒนา ได้อย่างน่าเชื�อถือ
ต้นทุ นโดยตรงที�รับ รู ้เป็ นส่ วนหนึ� งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะรวมถึงต้นทุนพนักงานที�ทาํ งานในที มพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์และค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องในจํานวนเงินที�เหมาะสม ต้น ทุนการพัฒนาอื�นที�ไม่เข้าเงื� อนไขเหล่านี�จะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื�อเกิดขึ�น ค่ าใช้จ่ายในการพัฒนาหากก่อนหน้านี� รับรู ้เป็ น ค่าใช้จ่ายไปแล้ว จะไม่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนในเวลาภายหลัง ต้น ทุ น ในการพัฒ นาโปรแกรมคอมพิ วเตอร์ จะรั บ รู ้เป็ นสิ น ทรัพ ย์และตัด จําหน่ า ยโดยใช้วิ ธีเส้ น ตรงตลอดอายุก ารให้ ประโยชน์ตามประมาณการแต่ไม่เกิน 10 ปี
19
119
บริ ษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.9
การด้อยค่ าของสิ นทรั พ ย์ ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�นที� ไม่เป็ นสิ นทรัพย์ทางการเงิน มี การทบทวนการด้อยค่า เมื� อมีเหตุการณ์ หรื อสถานการณ์บ่งชี� วา่ ราคาตามบัญชีอาจสู งกว่ามู ลค่ าที�ค าดว่าจะได้รับคื น รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู ้เมื� อราคา ตามบัญชี ของสิ นทรัพย์สูงกว่ามูลค่าที�คาดว่าจะได้รับ คื น ซึ� งมู ลค่ าที�คาดว่าจะได้รับคื นคํานวณจากจํานวนที�สูงกว่าระหว่าง ราคาขายสุ ท ธิ เที ย บกับ มูลค่ าจากการใช้ สิ นทรัพ ย์จะถูกจัด เป็ นกลุ่ม ที� เล็กที� สุ ด ซึ� งเป็ นหน่ วยที� ก่อให้เกิ ด กระแสเงิ น สด ที�สามารถแยกออกมาได้ เพื�อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สิ นทรัพย์ที�มิใช่สินทรัพย์ทางการเงิ นซึ� งรับรู ้รายการ ขาดทุ น จากการด้อยค่ าไปแล้วจะถู กประเมิ น ความเป็ นไปได้ที� จะกลับ รายการขาดทุ น จากการด้อ ยค่ า ณ วัน ที� สิ� น รอบ ระยะเวลารายงาน
2.10 สั ญญาเช่ า - กรณีที�บริ ษัทเป็ นผู้เช่ า สัญญาเช่าที� ดิน อาคาร และอุปกรณ์ซ� ึ งผูเ้ ช่าเป็ นผูร้ ับความเสี� ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเกือบทั�งหมดถือเป็ น สัญญาเช่าการเงิน ซึ� งจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที�เช่า หรื อมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของจํานวนเงิน ที� ต้องจ่ ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่ าใดจะตํ�ากว่า จํานวนเงิ นที� ต้องจ่ายดังกล่าวจะปั นส่ วนระหว่างหนี� สิน และค่าใช้จ่าย ทางการเงิ น เพื�อให้ไ ด้อตั ราดอกเบี� ยคงที� ต่อหนี� สิ น คงค้างอยู่ โดยพิจารณาแยกแต่ ละสั ญญา ภาระผูกพัน ตามสั ญ ญาเช่ า หักค่ าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึ กเป็ นหนี� สินระยะยาว ส่ วนดอกเบี� ยจ่ายจะบันทึ กในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่ า สิ นทรัพย์ที�ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่ าเสื� อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ที� เช่ าหรื ออายุของสัญญาเช่ า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า สัญญาเช่าสิ นทรัพย์ซ� ึ งผูใ้ ห้เช่าเป็ นผูร้ ับความเสี� ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเป็ นส่ วนใหญ่ สัญญาเช่านั�นถือเป็ น สัญญาเช่าดําเนิ นงาน เงินที�ตอ้ งจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดังกล่าว (สุ ทธิ จากสิ� งตอบแทนจูงใจที�ได้รับจากผูใ้ ห้เช่า) จะบันทึกในงบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จโดยใช้วธิ ี เส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั�น ค่าใช้จ่ายที�เกิดขึ�นจากการยกเลิกสัญญาเช่าดําเนิ นงานก่อนหมดอายุการเช่า เช่ น เงิ นเพิ�มที�ต้องจ่ายให้แก่ผูใ้ ห้เช่า จะบันทึ ก เป็ นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีท�ีการยกเลิกนั�นเกิดขึ�น 2.11 เงินกู้ยืม เงินกูย้ มื รับรู้เริ� มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ� งตอบแทนที�ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดทํารายการที�เกิดขึ�น เงินกูย้ มื วัดมูลค่าในเวลาต่ อมาด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายตามวิธีอตั ราดอกเบี�ยที�แท้จริ ง ผลต่ างระหว่างเงินที� ได้รับ (หักด้วย ต้นทุนการจัดทํารายการที�เกิดขึ� น) เมื�อเทียบกับมูลค่าที�จ่ายคืนเพื�อชําระหนี�น� นั จะรับรู ้ในงบกําไรขาดทุนตลอดช่ วงเวลาการกูย้ ืม ค่าธรรมเนี ยมที� จ่ายไปเพื�อให้ได้เงินกูม้ าจะรับรู ้เป็ นต้นทุ นการจัดทํารายการเงินกูใ้ นกรณี ที�มีค วามเป็ นไปได้ที�จะใช้วงเงิ นกู้ บางส่ วนหรื อทั�งหมด ในกรณี น� ี ค่าธรรมเนี ยมจะรอการรับรู้จนกระทัง� มีการถอนเงิ น หากไม่มีหลักฐานที� มีความเป็ นไปได้ ที� จะใช้วงเงินบางส่ วนหรื อทั�งหมด ค่าธรรมเนี ยมจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าสําหรับการให้บริ การสภาพคล่องและ จะตัดจําหน่ายตามระยะเวลาของวงเงินกูท้ ี�เกี�ยวข้อง เงิ น กูย้ ืมจัดประเภทเป็ นหนี� สิน หมุ นเวียนเมื� อบริ ษทั ไม่มี สิท ธิ อนั ปราศจากเงื� อนไขให้เลื�อนชําระหนี� ออกไปอี กเป็ นเวลา ไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน นับจากวันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน 20
120
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.11 เงินกู้ยืม (ต่อ) ต้ นทุนการกู้ยืม ต้น ทุ น การกู้ยื ม ที� เกี� ยวข้อ งโดยตรงกับ การได้ม า การก่ อ สร้าง หรื อการผลิ ต สิ น ทรั พย์ที� เข้า เงื� อ นไขต้องนํามารวมเป็ น ส่ วนหนึ� งของราคาทุนของสิ นทรัพย์น� นั โดยสิ นทรัพย์ที�เข้าเงื�อนไขคือสิ นทรัพย์ที�จาํ เป็ นต้องใช้ระยะเวลานานในการเตรี ยม สิ น ทรัพย์น� ันให้อยู่ในสภาพพร้อมที� จะใช้ได้ตามประสงค์ห รื อพร้ อมที� จะขาย การรวมต้นทุ น การกูย้ ืม เป็ นราคาทุนของ สิ นทรัพย์ตอ้ งสิ� นสุ ดลงเมื�อการดําเนิ นการส่ วนใหญ่ ที�จาํ เป็ นในการเตรี ยมสิ นทรัพย์ท�ีเข้าเงื�อนไขให้อยู่ในสภาพพร้อมที�จะ ใช้ได้ตามประสงค์หรื อพร้อมที�จะขายได้เสร็ จสิ� นลง รายได้จากการลงทุน ที� เกิ ดจากการนํา เงิน กูย้ ืม ที� กูม้ าโดยเฉพาะ ที� ยงั ไม่ ได้น ําไปเป็ นรายจ่ ายของสิ นทรัพย์ที� เข้าเงื� อนไข ไปลงทุนเป็ นการชัว� คราวก่อน ต้องนํามาหักจากต้นทุนการกูย้ ืมที�สามารถตั�งขึ�นเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ ต้นทุนการกูย้ ืมอื�นๆ ต้องถือเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที�เกิดขึ�น 2.12 ภาษีเงินได้ งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัด บัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สําหรับ งวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงิ นได้จะรับรู ้ ในกําไรหรื อขาดทุ น ยกเว้น ส่ วนภาษี เงิ นได้ท�ี เกี�ยวข้องกับรายการที� รับ รู ้ ในกําไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จอื�น หรื อรายการที� รับ รู ้ โดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ในกรณี น�ี ภาษีเงินได้ตอ้ งรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น หรื อโดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ตามลําดับ ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั คํานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีอากรที�มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อที� คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมี ผลบังคับ ใช้ภายในสิ� นรอบระยะเวลาที�รายงานในประเทศที�บริ ษทั ได้ด าํ เนิ นงานและเกิดรายได้ทางภาษี ผูบ้ ริ หารจะประเมิน สถานะของการยื�นแบบแสดงรายการภาษี เป็ นงวด ๆ โดยคํานึ งถึงสถานการณ์ ที� สามารถนํากฎหมายภาษีอากรไปปฏิ บ ัติ ซึ� งขึ�นอยูก่ บั การตีความ และจะตั�งประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีอากร ในจํานวนที�คาดว่าจะต้องจ่ายกับหน่วยงานภาษีอากร ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชีต� ังเต็มจํานวนตามวิธีหนี� สิน เมื�อเกิด ผลต่ างชั�วคราวระหว่างฐานภาษีของสิ นทรัพย์และหนี� สิน และราคาตามบัญชี ท�ี แสดงอยู่ในงบการเงิ น อย่างไรก็ ตามบริ ษทั จะไม่ รับรู ้ภ าษี เงิ น ได้ร อการตัด บัญชี ที� เกิ ด จากการรับ รู ้ เริ� มแรกของรายการสิ นทรัพย์หรื อรายการหนี� สินที�เกิดจากรายการที�ไม่ใช่การรวมธุ รกิจ และ ณ วันที�เกิดรายการ รายการนั�น ไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ กํา ไรหรื อขาดทุ น ทั�ง ทางบั ญ ชี ห รื อ ทางภาษี ภาษี เงิ น ได้ร อการตั ด บั ญ ชี ค ํา นวณจากอัต ราภาษี (และกฎหมายภาษี อากร) ที�มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อที�คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมี ผลบังคับใช้ภายในสิ� นรอบระยะเวลาที�รายงาน และคาดว่าอัตราภาษีดงั กล่าวจะนําไปใช้เมื�อสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที�เกี�ยวข้องได้รับประโยชน์ หรื อหนี�สินภาษีเงินได้ รอตัดบัญชีได้มีการจ่ายชําระ
21
121
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.12 ภาษีเงินได้ งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้ รอการตัด บัญชี (ต่อ) สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะรับรู ้หากมี ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ วา่ บริ ษทั จะมี กาํ ไรทางภาษี เพียงพอที�จะนําจํานวน ผลต่ างชัว� คราวนั�นมาใช้ประโยชน์ บริ ษทั ได้ต� งั ภาษี เงิ น ได้รอตัดบัญชี โดยพิจารณาจากผลต่ างชัว� คราวของผลขาดทุ นจาก การดําเนิ น งาน ต้น ทุ นเงินกูย้ ืม ระยะยาว ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ค่ าเผื�อสิ นค้าล้าสมัยและค่ าเสื� อมราคาสะสม ที�ต้องเสี ยภาษี เว้นแต่ บ ริ ษทั สามารถควบคุมจังหวะเวลาของการกลับรายการผลต่างชั�วคราว และการกลับ รายการผลต่ าง ชัว� คราวมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ จะไม่เกิดขึ� นได้ภายในระยะเวลาที�คาดการณ์ได้ในอนาคต สิ น ทรั พ ย์ภ าษี เงิ น ได้ร อการตัด บัญ ชี แ ละหนี� สิ นภาษี เงิ น ได้รอการตัด บัญ ชี จะแสดงหั กกลบกัน ก็ต่ อเมื� อบริ ษ ัท มี สิท ธิ ตามกฎหมายที�จะนําสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี� สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และทั�งสิ น ทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเกี�ยวข้องกับภาษีเงิ นได้ที�ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษี หน่ วยงานเดี ยวกัน โดยการเรี ยกเก็บ เป็ นหน่ ว ยภาษี เดี ยวกัน หรื อหน่ วยภาษีต่ างกันซึ� งตั�งใจจะจ่ ายหนี� สิน และสิ น ทรัพ ย์ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั ด้วยยอดสุ ทธิ 2.13 ผลประโยชน์ พ นักงาน 2.13.1 โครงการสมทบเงิน - กองทุนสํ ารองเลีย� งชีพ บริ ษทั จัดให้มีกองทุ นสํารองเลี� ยงชี พซึ� งเป็ นลักษณะของแผนการจ่ ายสมทบตามที� ได้กาํ หนดการจ่ ายสมทบไว้แล้ว สิ นทรัพย์ของกองทุนสํารองเลี�ยงชีพได้แยกออกไปจากสิ นทรัพย์ของบริ ษทั และได้รับการบริ หารโดยผูจ้ ดั การกองทุน ภายนอกตามเกณฑ์และข้อกําหนดพระราชบัญญัติ กองทุนสํารองเลี� ยงชี พ พ.ศ. 2530 กองทุ นสํารองเลี� ยงชี พดังกล่าว ได้รับเงินสะสมเข้ากองทุ นจากพนักงานและเงิ นสมทบจากบริ ษทั เงิ นจ่ายสมทบกองทุนสํารองเลี�ยงชี พบันทึ กเป็ น ค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที�เกิดรายการนั�น 2.13.2 โครงการผลประโยชน์ - ผลประโยชน์ เมื�อเกษีย ณอายุ บริ ษทั จัดให้มีผ ลประโยชน์พนักงานเกษี ย ณอายุเพื�อจ่ ายให้แก่พนักงานตามกฎหมายแรงงานของประเทศไทย หนี�สินผลประโยชน์พนักงานคํานวณโดยผูเ้ ชี�ยวชาญทางคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยโดยใช้วิธี Projected unit credit cost ตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย (Actuarial Technique) อันเป็ นประมาณการจากมู ลค่ าปั จจุบ ัน ของกระแสเงิ นสด ที� ค าดว่าจะต้องจ่ายในอนาคตและคํานวณคิ ดลดโดยใช้อตั ราดอกเบี� ยตามอายุเงื� อนไขและระยะเวลาใกล้เคี ยงกับ จํานวนหนี�สินดังกล่าว โดยประมาณการกระแสเงิ นสดที� คาดว่าจะต้องจ่ายในอนาคตนั�นประมาณการจากเงินเดือน พนักงาน อัตราการลาออก อัตราการตาย อายุงาน และปั จจัยอื�น กําไรหรื อขาดทุนจากการเปลี�ยนแปลงประมาณ การจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเบ็ด เสร็ จสําหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที�เกิดรายการนั�น ทั�งนี� ค่าใช้จ่าย ที� เกี� ยวข้องกับ ผลประโยชน์พนักงานจะบัน ทึ กในงบกําไรขาดทุ น เบ็ ดเสร็ จเพื�อกระจายต้น ทุ น ดังกล่าวตลอด ระยะเวลาของการจ้างงาน
22
122
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.14
ประมาณการหนีส� ิ น บริ ษทั จะบันทึกประมาณการหนี� สินอันเป็ นภาระผูกพันในปั จจุบนั ตามกฎหมายหรื อตามข้อตกลงที� จดั ทําไว้ อันเป็ น ผล สื บเนื�องมาจากเหตุการณ์ในอดี ต ซึ� งการชําระภาระผูกพันนั�นมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ จะส่ งผลให้บริ ษทั ต้องสูญเสี ย ทรัพยากรออกไป และตามประมาณการที� น่าเชื�อถือของจํานวนที�ตอ้ งจ่าย ในกรณี ที�บริ ษทั คาดว่าประมาณการหนี� สินเป็ น รายจ่ายที�จะได้รับคืนบริ ษทั จะบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์แยกต่างหากเมื�อคาดว่าน่าจะได้รับรายจ่ายนั�นคืนอย่างแน่นอน กิ จ การจะวัด มู ล ค่ าของจํานวนประมาณการหนี� สิ น โดยใช้มู ล ค่ าปั จจุ บ ัน ของรายจ่ ายที� ค าดว่าจะต้องนํา มาจ่ ายชํา ระ ภาระผูกพัน โดยใช้อตั ราก่อนภาษีซ� ึ งสะท้อนถึงการประเมินสถานการณ์ตลาดในปั จจุบนั ของมูลค่าของเงิ นตามเวลาและ ความเสี� ยงเฉพาะของหนี� สินที�กาํ ลังพิจารณาอยู่ การเพิ� มขึ�นของประมาณการหนี� สิน เนื� องจากมู ลค่ าของเงิ นตามเวลา จะ รับรู ้เป็ นดอกเบี�ยจ่าย
2.15 การรับรู้ รายได้ รายได้ประกอบด้วยมูลค่ายุติธรรมที�จะได้รับจากการขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและบริ การซึ� งเกิ ดขึ� นจากกิจกรรมตามปกติ ของบริ ษทั รายได้จะแสดงด้วยจํานวนเงินสุ ทธิจากภาษีขาย เงินคืน และส่ วนลด รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมรับรู ้ เมื�อผูซ้ �ื อได้รับโอนความเสี� ยงและผลตอบแทนที�เป็ นสาระสําคัญของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าซึ� งโดยทัว� ไปเป็ นจุดที�ผลิตภัณฑ์ ปิ โตรเลียมถูกส่ งผ่านมาตรวัดของเรื อบรรทุก รถบรรทุก และระบบท่อส่ งผลิตภัณฑ์ รายได้อื�นและดอกเบี�ยรับรู ้เป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง เว้นแต่จะมีความไม่แน่นอนในการรับชําระ 2.16 เรื� องการบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิ ดเผยข้ อมูลเกีย� วกับความช่ วยเหลือจากรั ฐบาล เงินอุดหนุ นจากรัฐบาลรับรู ้ด ว้ ยมูลค่ายุติธรรมเมื� อบริ ษทั มี ความเชื� อมัน� อย่างสมเหตุสมผลว่าจะได้รับเงินอุดหนุ นนั�นและ บริ ษทั จะสามารถปฏิบตั ิตามเงื�อนไขของเงินอุดหนุนที�กาํ หนดไว้ เงิ น อุด หนุ นที� เกี� ยวข้องกับ รายได้จะรับ รู้ เป็ นรายได้ใ นกําไรหรื อขาดทุ น อย่างเป็ นระบบตลอดระยะเวลาซึ� งบริ ษ ัท รับ รู ้ ค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องกับต้นทุนที�ได้รับการชดเชย บริ ษทั ได้แสดงเงินอุดหนุนจากรัฐบาลแยกออกจากรายได้จากการขาย 2.17 ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน ส่ วนงานดําเนินงานได้ถกู รายงานในลักษณะเดียวกับรายงานภายในที�นาํ เสนอให้ผมู ้ ี อาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนินงาน ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนินงานหมายถึงบุคคลที� มีหน้าที�ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมิ นผลการปฏิบตั ิงาน ของส่ วนงานดําเนินงาน 23
123
บริ ษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.18 ทุนเรื อนหุ้น หุ น้ สามัญจะจัดประเภทไว้เป็ นส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ต้นทุนส่ วนเพิ�มที�เกี� ยวข้องกับการออกหุ ้นใหม่หรื อการออกสิ ทธิ ในการซื� อหุ น้ ซึ� งสุ ทธิ จากภาษีจะถูกแสดงในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น โดยนําไปหักจากสิ� งตอบแทนที�ได้รับจากการออกตราสารทุนดังกล่าว 2.19 การจ่ายเงินปันผล เงิ น ปั นผลประจําปี ที� จ่ายไปยังผูถ้ ือหุ ้น ของบริ ษทั จะรับ รู ้ในด้านหนี� สิน ในงบการเงิน ของบริ ษทั ในรอบระยะเวลาบัญ ชี ซึ� งที� ป ระชุ มผูถ้ ื อหุ้ น ของบริ ษ ทั ได้อนุ ม ัติ การจ่ายเงิ น ปั น ผล เงิ น ปั น ผลระหว่างกาลที� จ่ายให้แก่ ผูถ้ ื อหุ ้ น จะได้รับ อนุ ม ัติ จากที�ประชุมคณะกรรมการ
3
การจัดการความเสี� ยงทางการเงิน กิจกรรมของบริ ษทั ย่อมมีความเสี� ยงทางการเงินที�หลากหลายซึ� งได้แก่ ความเสี� ยงจากตลาด (รวมถึงความเสี� ยงจากอัตราแลกเปลี�ยน ความเสี� ยงด้านมู ลค่ ายุติธรรมอันเกิ ดจากการเปลี�ยนแปลงในอัตราดอกเบี�ย และความเสี� ยงด้านราคา) ความเสี� ยงด้านการให้สินเชื� อ และความเสี� ยงด้านสภาพคล่อง แผนการจัดการความเสี� ยงโดยรวมของบริ ษทั จึงมุ่งเน้นความผันผวนของตลาดการเงินและแสวงหา วิธีการลดผลกระทบที� ทาํ ให้เสี ยหายต่อผลการดําเนิ นงานทางการเงินของบริ ษทั ให้เหลือน้อยที�สุดเท่าที�เป็ นไปได้ 3.1
ปัจ จัย ความเสี� ยงทางการเงิน 3.1.1 ความเสี�ยงจากอัตราแลกเปลีย� น บริ ษทั ไม่ได้เข้าทําธุรกรรมเพื�อป้องกันความเสี� ยงที� เกิ ด จากอัตราแลกเปลี�ยน เนื� องจากรายได้ ต้นทุ น และค่ าใช้จ่าย ส่ วนใหญ่ของบริ ษทั ฯเกี�ยวข้องโดยตรงหรื ออยูใ่ นสกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ยังคงได้รับผลกระทบ จากความผันผวนของค่าเงินบาทในค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องกับพนักงาน หรื อค่าใช้จ่ายอื�นที� ตอ้ งชําระเป็ นเงิ นสกุลบาท การที�ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ�นเมื�อเปรี ยบเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐจะทําให้ตน้ ทุนของบริ ษทั ที� เกิดขึ�นในสกุลเงิ นบาท เมื� อคํานวณเป็ นเงินสกุลดอลลาร์ สหรัฐเพิ�ม สู งขึ�นและส่ งผลกระทบด้านลบต่ อผลการดําเนินงานของบริ ษทั ที� เป็ น สกุลเงิ นดอลลาร์ ส หรั ฐ อีกทั�ง การเพิ�มขึ� นของความผันผวนของค่าเงิ นบาทเมื� อเปรี ยบเที ยบกับเงิน ดอลลาร์ส หรัฐ อาจส่ งผลต่ อค่ าใช้จ่ ายของบริ ษ ัท ที� เกิ ด ขึ� นเนื� อ งจากการแปลงค่ า เงิ น ที� ได้รั บ ชําระจากการจํา หน่ า ยผลิ ต ภัณ ฑ์ ปิ โตรเลี ยมซึ� งอยู่ในสกุลเงิ น บาทเป็ นเงิ น ดอลลาร์ ส หรั ฐ เพื�อนําไปชําระค่ านํ�ามัน ดิ บ และวัต ถุดิ บ อื�น ที� น ําเข้ามา เพิม� มากขึ� นเช่นกัน
24
124
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 3
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
การจัดการความเสี� ยงทางการเงิน (ต่อ) 3.1 ปัจ จัย ความเสี� ยงทางการเงิน (ต่อ) 3.1.2 ความเสี� ยงด้ านอัตราดอกเบีย� ความเสี� ยงจากอัตราดอกเบี�ยเกิดขึ�นจากเงินกูย้ ืมซึ� งอัตราดอกเบี�ยลอยตัวกระทบต่อความเสี� ยงจากกระแสเงินสดของบริ ษทั จากอัตราดอกเบี�ย บริ ษทั ไม่ได้บริ หารความเสี� ยงด้านอัตราดอกเบี�ย อย่างไรก็ตามบริ ษทั ไม่มีผลกระทบจากความเสี� ยงด้าน อัตราดอกเบี�ยอย่างมีสาระสําคัญ 3.1.3 ความเสี� ยงด้ านการให้ สินเชื� อ บริ ษทั ไม่ มี ความเสี� ยงด้านการให้ สิน เชื� อที� มี น ัยสําคัญเพราะบริ ษ ัทขายสิ นค้าส่ วนใหญ่ให้ แก่ผูถ้ ือ หุ ้นและกิ จการที� เกี� ยวข้องกัน ซึ� งเป็ นบริ ษทั ที� มีความน่ าเชื�อถือและมี ฐานะการเงิ นที� มนั� คง นอกจากการขายให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นแล้ว บริ ษทั ยังได้ข ายสิ นค้าให้แก่ลูกค้ารายอื�นที� มีประวัติดา้ นสิ นเชื� อที�เหมาะสม บริ ษทั ได้เลือกที� จะทําธุ รกรรมทางการเงิ นกับ สถาบันการเงินที�น่าเชื�อถือสู ง 3.1.4 ความเสี� ยงด้ านสภาพคล่ อง จํานวนเงิ นสดที� มีอ ย่างเพี ยงพอย่อมแสดงถึ ง การจัดการความเสี� ยงของสภาพคล่องอย่างรอบคอบ ความสามารถ ในการหาแหล่งเงิ น ทุ นแสดงให้เห็ น ได้จ ากการที� มี วงเงิ น อํานวยความสะดวกในการกู้ยืม ที� ได้มี การตกลงไว้แล้ว อย่างเพียงพอ 3.2 การบัญชี สําหรั บอนุพ นั ธ์ ที�เป็ นเครื� องมือทางการเงินและกิจกรรมป้องกันความเสี� ยง บริ ษทั ไม่มีการทําอนุพนั ธ์ทางการเงินใด ๆ
4
ประมาณการทางบัญชี ที�สําคัญและการใช้ ดุลยพินิจ บริ ษทั ไม่มีประมาณการและข้อสมมติฐานที�ใช้ในการจัดทํางบการเงินอย่างมีสาระสําคัญ บริ ษทั มีการประเมิ นทบทวนการประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจอย่างต่อเนื� อง และอยูบ่ นพื�นฐานของประสบการณ์ในอดีตและปั จจัยอื�น ๆ ซึ� งรวมถึงการคาดการณ์ ถึงเหตุการณ์ในอนาคตที�เชื� อว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ขณะนั�น
5
การจัดการความเสี� ยงในส่ วนของทุน วัตถุประสงค์ของบริ ษทั ในการบริ หารทุนของบริ ษทั นั�นเพื�อดํารงไว้ซ� ึ งความสามารถในการดําเนิ นงานอย่างต่ อเนื� องของบริ ษทั เพื�อสร้ างผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุ้นและเป็ นประโยชน์ต่ อผูท้ ี� มี ส่ วนได้เสี ยอื� น และเพื� อดํารงไว้ซ� ึ งโครงสร้ างของทุ น ที� เหมาะสม เพื�อลดต้นทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไว้หรื อปรับโครงสร้างของทุน บริ ษทั อาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้กบั ผูถ้ ือหุน้
25
125
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 6
ข้อมูลจําแนกตามส่ วนงาน บริ ษทั ผลิตผลิ ตภัณฑ์ปิโตรเลียมในประเทศไทยสําหรับตลาดในประเทศและต่างประเทศ โดยใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์เดี ยวกัน บริ ษทั มีเพียงหนึ� งส่ วนงานที�รายงาน คื อ โรงกลัน� ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงาน (เจ้าหน้าที� บริ หารฝ่ ายการเงินและการคลัง) สอบทานรายงานภายในซึ� งรายงานผลประกอบการของบริ ษทั ทั�งหมดเพื�อที� จะประเมิ นผลการปฏิ บ ัติงานและจัดสรรทรั พยากร ผูม้ ี อาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ด ด้านการดําเนิ น งานจะประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติงานของส่ วนงานที� รายงานโดยวัด ผลจากรายได้ ต้น ทุ น กําไรขั�น ต้น และกําไรก่ อนดอกเบี� ยรับ และดอกเบี� ยจ่ าย ภาษี เงิ น ได้ ค่ า เสื� อมราคาและค่ า ตัด จําหน่ ายซึ� งเป็ นข้อมู ลเดี ย วกัน กับ งบการเงินนี� สําหรับรายได้ของบริ ษทั ร้อยละ 56% มาจากรายได้รับจากบุคคลหรื อกิจการที� เกี�ยวข้องกัน (พ.ศ. 2558: ร้อยละ 91) โดยจํานวนรายได้รับ จากบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกันแสดงอยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที� 30 ข้อมูลเกีย� วกับเขตภูมิศ าสตร์ รายได้จากการขายแยกแสดงรายได้จากลูกค้าภายในประเทศและต่างประเทศ โดยแสดงดังนี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 รายได้จากการขาย: - ขายในประเทศ - ขายต่างประเทศ รวมรายได้จากการขาย
4,032,835,173 337,066,357 4,369,901,530
หน่ วย: บาท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558
4,745,296,770 142,977,963,787 162,438,825,306 472,275,736 11,975,550,168 16,326,846,630 5,217,572,506 154,953,513,955 178,765,671,936
บริ ษทั ดําเนินงานในประเทศไทยเพียงประเทศเดี ยว จึ งไม่ได้นาํ เสนอข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงานภูมิศาสตร์ ของสิ นทรัพย์ ไม่หมุนเวียน 7
เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา
เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื�อทวงถาม
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
1,389 6,467,825 6,469,214
1,379 108,911,676 108,913,055
50,000 232,857,490 232,907,490
50,000 3,948,461,029 3,948,511,029
ในปี พ.ศ. 2559 เงินฝากธนาคารมีอตั ราดอกเบี�ยร้อยละ 0.25 ถึงร้อยละ 1.46 ต่อปี (พ.ศ. 2558: ร้อยละ 0.25 ถึงร้อยละ 0.63 ต่อปี ) 26
126
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 8
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ลูกหนีก� ารค้ าและลูกหนีอ� ื�น หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา
ลูกหนี�การค้า - บุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน - บุคคลหรื อกิจการอื�น ลูกหนี� อื�น - บุคคลหรื อกิจการที�เกี� ยวข้องกัน - เงินชดเชยจากการจําหน่ายก๊าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) - เงินชดเชยจากการจําหน่ายนํ�ามันเชื�อเพลิง - บุคคลหรื อกิจการอื�น ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อื�น
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
158,876,662 157,976,139 316,852,801
120,992,985 5,710,702,570 4,383,168,896 110,779,496 5,680,722,939 4,012,832,079 231,772,481 11,391,425,509 8,396,000,975
179,060 434,245 424,837 6,073,098 7,111,240 323,964,041
109,814 6,385,049 3,944,865 1,271,214 15,633,917 46,086,335 104,540 15,295,182 3,789,970 5,786,432 218,011,725 209,767,989 7,272,000 255,325,873 263,589,159 239,044,481 11,646,751,382 8,659,590,134
ลูกหนี� การค้า สามารถวิเคราะห์ตามอายุหนี� ที�คา้ งชําระได้ดงั นี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา
ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน เกินกว่า 12 เดือน รวมลูกหนี� การค้า หัก ค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสู ญ
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
316,852,801 316,852,801 316,852,801
231,772,481 231,772,481 231,772,481
11,391,425,509 11,391,425,509 11,391,425,509
8,396,000,975 8,396,000,975 8,396,000,975
เงิ นชดเชยจากการจําหน่ า ยก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) และเงิ นชดเชยจากการจําหน่ ายนํ�ามัน เชื� อเพลิ งเป็ นเงิ น ชดเชยที� รัฐ บาล จะต้องจ่ายให้กบั บริ ษทั ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 เงินชดเชยจากการจําหน่ ายก๊าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) เป็ นเงินที� บริ ษทั ได้รับจาก ส่ วนต่างของราคาที� ควบคุมโดยรัฐบาลกับราคาขายส่ ง ซึ� งกําหนดโดยกระทรวงพลังงานภายใต้กองทุนนํ�ามันเชื�อเพลิง ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 เงิ นชดเชยจากการจําหน่ ายนํ�ามันเชื� อเพลิง เป็ นเงิน ที�บริ ษทั ได้รับจากการลดราคา ของนํ�ามันแก๊สโซฮอล์ ซึ� งกําหนดโดยกระทรวงพลังงานภายใต้กองทุนนํ�ามันเชื�อเพลิง 27
127
บริ ษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 9
สิ นค้ าคงเหลือ - สุ ทธิ หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา
นํ�ามันดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม วัสดุอ�ืน (สุ ทธิ จากค่าเผื�อ) นํ�ามันดิบระหว่างทาง สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
166,461,999 81,350,346 22,466,210 270,278,555 56,822,727 327,101,282
87,911,076 5,993,048,110 65,976,054 2,928,815,842 22,821,506 808,839,715 176,708,636 9,730,703,667 72,452,571 2,045,760,224 249,161,207 11,776,463,891
3,187,110,560 2,391,882,684 827,366,316 6,406,359,560 2,626,681,008 9,033,040,568
ภายใต้ขอ้ กําหนดของกระทรวงพลังงานบริ ษทั ต้องตั�งสํารองนํ�ามันไว้อย่างน้อยร้อยละ 6 ของปริ มาณนํ�ามันสําเร็ จรู ปที�ผลิตได้สําหรั บ จําหน่ ายในประเทศในแต่ละงวด (พ.ศ. 2558: ร้อยละ 6) ซึ� งปริ มาณการสํารองนั�นขึ� นอยู่กบั แผนการผลิตและปริ มาณการผลิต ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สิ นค้าคงเหลื อข้างต้นได้รวมนํ�ามันดิ บและนํ�ามัน สําเร็ จรู ปที� บริ ษทั จะต้องสํารองขั�นตํ�าจํานวน 148,357,520 ดอลลาร์สหรัฐอเมริ กา หรื อ 5,341,241,629 บาท (พ.ศ. 2558: 106,502,766 ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา หรื อ 3,861,129,970 บาท) ในปี พ.ศ. 2559 บริ ษทั ไม่มี การตั�งขาดทุ นจากการลดมู ลค่ าของสิ นค้าคงเหลื อในงบกําไรขาดทุ นเบ็ ดเสร็ จ (พ.ศ. 2558: กลับรายการ จํานวน 75,605,567 ดอลลาร์ สหรัฐอมริ กา หรื อ 2,476,815,131 บาท ) ในปี พ.ศ. 2559 บริ ษทั รับรู้รายการที�เกี�ยวข้องกับขาดทุนจากสิ นค้าและวัสดุ อ�ืนล้าสมัย ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเป็ นจํานวน 664,935 ดอลลาร์สหรัฐอเมริ กา หรื อ 23,528,087 บาท (พ.ศ. 2558: 520,333 ดอลลาร์สหรัฐอเมริ กา หรื อ 17,477,712 บาท) 10
สิ นทรัพ ย์ หมุนเวีย นอื�น หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา
เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื� อวัสดุ ภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า อื�น ๆ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื�น
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
766,283 638,917 1,405,200
405,923 5,460,153 764,484 6,630,560
27,406,875 23,002,609 50,409,484
14,604,710 197,951,299 27,715,463 240,271,472
28
128
11
73,442,578 73,442,578 73,442,578 73,442,578 73,442,578 73,442,578
สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ สิ นทรัพย์โอนมาจากสิ นทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง การซื� อเพิ�มขึ�น จําหน่ายสิ นทรัพย์ - ราคาทุน จําหน่ายสิ นทรัพย์ - ค่าเสื� อมราคา ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ
ทีด� ิน
วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ
ทีด� ิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลีย ม รีไฟน์ น�ิง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
54,014,974 (21,203,265) 32,811,709
33,039,541 1,052,271 (1,280,103) 32,811,709
52,962,703 (19,923,162) 33,039,541
อาคาร
1,969,689,265 (1,022,343,149) 947,346,116
1,007,330,994 17,938,184 43,574 (1,085,965) 711,986 (77,592,657) 947,346,116
1,952,793,472 (945,462,478) 1,007,330,994
70,914,311 (62,212,714) 8,701,597
2,691,545 7,502,253 (336,658) 336,658 (1,492,201) 8,701,597
63,748,716 (61,057,171) 2,691,545
โรงกลัน� และ เครื� องตกแต่ งติดตั�ง เครื� องจักร และอุปกรณ์
13,599,525 13,599,525
27,619,974 (26,492,708) 12,472,259 13,599,525
27,619,974 27,619,974
สิ นทรัพย์ ระหว่ าง ก่ อสร้ าง
29
2,181,660,653 (1,105,759,128) 1,075,901,525
1,144,124,632 12,515,833 (1,422,623) 1,048,644 (80,364,961) 1,075,901,525
2,170,567,443 (1,026,442,811) 1,144,124,632
รวม
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2559
129
130
11
73,442,578 73,442,578 73,442,578 73,442,578
สําหรับปี สิ�นสุด วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ สิ นทรัพย์โอนมาจากสิ นทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง การซื� อเพิ�มขึ�น จําหน่ายสิ นทรัพย์ - ราคาทุน จําหน่ายสิ นทรัพย์ - ค่าเสื� อมราคา ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ 54,358,098 (22,455,959) 31,902,139
32,811,709 887,730 (544,606) 216,220 (1,468,914) 31,902,139
54,014,974 (21,203,265) 32,811,709
อาคาร
1,973,685,330 (1,100,191,659) 873,493,671
947,346,116 4,421,093 (425,028) 179,793 (78,028,303) 873,493,671
1,969,689,265 (1,022,343,149) 947,346,116
73,838,545 (61,666,916) 12,171,629
8,701,597 4,980,427 (2,056,193) 2,032,545 (1,486,747) 12,171,629
70,914,311 (62,212,714) 8,701,597
โรงกลัน� และ เครื� องตกแต่ งติดตั�ง เครื� องจักร และอุปกรณ์
13,658,789 13,658,789
13,599,525 (10,289,250) 10,348,514 13,658,789
13,599,525 13,599,525
2,188,983,340 (1,184,314,534) 1,004,668,806
1,075,901,525 10,348,514 (3,025,827) 2,428,558 (80,983,964) 1,004,668,806
2,181,660,653 (1,105,759,128) 1,075,901,525
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา สิ นทรัพย์ ระหว่ าง ก่ อสร้ าง รวม
30
ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั มี เครื� องจักรและอุปกรณ์จาํ นวนหนึ� ง ซึ� งตัดค่าเสื� อมราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ ราคาทุนของสิ นทรัพย์ด งั กล่าวมี จาํ นวนเงินประมาณ 44.46 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา (พ.ศ. 2558: 44.81 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา)
73,442,578 73,442,578
ทีด� ิน
วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ
ทีด� ิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
11
2,431,918,767 2,431,918,767 2,431,918,767 230,653,760 2,662,572,527 2,662,572,527 2,662,572,527
สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ สิ นทรัพย์โอนมาจากสิ นทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง การซื� อเพิม� ขึ�น จําหน่ายสิ นทรัพย์ - ราคาทุน จําหน่ายสิ นทรัพย์ - ค่าเสื� อมราคา ค่าเสื� อมราคา ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ
ที�ดิน
วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ
ทีด� ิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลีย ม รีไฟน์ น�ิง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
1,958,248,061 (768,698,946) 1,189,549,115
1,094,044,903 37,874,494 (44,084,598) 101,714,316 1,189,549,115
1,753,764,575 (659,719,672) 1,094,044,903
อาคาร
71,408,720,686 (37,063,824,010) 34,344,896,676
33,355,952,702 620,092,087 1,500,681 (36,135,241) 23,697,640 (2,670,167,836) 3,049,956,643 34,344,896,676
64,663,240,800 (31,307,288,098) 33,355,952,702
2,570,913,229 (2,255,447,255) 315,465,974
89,125,688 269,206,051 (11,490,540) 11,490,540 (52,180,186) 9,314,421 315,465,974
2,110,923,960 (2,021,798,272) 89,125,688
โรงกลัน� และ เครื� องตกแต่ งติดตั�ง เครื� องจักร และอุปกรณ์
493,034,399 493,034,399
914,585,711 (927,172,632) 429,540,822 76,080,498 493,034,399
914,585,711 914,585,711
สิ นทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้ าง
31
79,093,488,902 (40,087,970,211) 39,005,518,691
37,885,627,771 431,041,503 (47,625,781) 35,188,180 (2,766,432,620) 3,467,719,638 39,005,518,691
71,874,433,813 (33,988,806,042) 37,885,627,771
รวม
หน่ วย: บาท
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2559
131
132
11
2,662,572,527 (18,456,120) 2,644,116,407 2,644,116,407 2,644,116,407
สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ สิ นทรัพย์โอนมาจากสิ นทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง การซื� อเพิ�มขึ�น จําหน่ายสิ นทรัพย์ - ราคาทุน จําหน่ายสิ นทรัพย์ - ค่าเสื� อมราคา ค่าเสื� อมราคา ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ 1,957,027,440 (808,470,664) 1,148,556,776
1,189,549,115 31,496,400 (19,341,399) 7,677,942 (52,074,954) (8,750,328) 1,148,556,776
1,958,248,061 (768,698,946) 1,189,549,115
อาคาร
71,057,606,077 (39,609,650,175) 31,447,955,902
34,344,896,676 157,869,424 (15,069,269) 6,374,495 (2,767,348,439) (278,766,985) 31,447,955,902
71,408,720,686 (37,063,824,010) 34,344,896,676
2,658,372,189 (2,220,163,102) 438,209,087
315,465,974 175,578,170 (72,596,939) 71,755,848 (52,730,207) 736,241 438,209,087
2,570,913,229 (2,255,447,255) 315,465,974
โรงกลัน� และ เครื� องตกแต่ งติดตั�ง เครื� องจักร และอุปกรณ์
491,750,516 491,750,516
493,034,399 (364,943,994) 366,951,076 (3,290,965) 491,750,516
493,034,399 493,034,399
สิ นทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้ าง
78,808,872,629 (42,638,283,941) 36,170,588,688
39,005,518,691 366,951,076 (107,007,607) 85,808,285 (2,872,153,600) (308,528,157) 36,170,588,688
79,093,488,902 (40,087,970,211) 39,005,518,691
รวม
หน่ วย: บาท
32
ณ วันที� 31 ธั นวาคม พ.ศ. 2559 บริ ษ ัทมี เครื� องจักรและอุปกรณ์ จํานวนหนึ� ง ซึ� งตัดค่ าเสื� อมราคาหมดแล้วแต่ ย งั ใช้ งานอยู่ ราคาทุ นของสิ น ทรั พย์ด ังกล่าวมี จํานวนเงิ นประมาณ 1,600.51 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: 1,624.36 ล้านบาท)
2,662,572,527 2,662,572,527
ที�ดิน
วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ
ทีด� ิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 12
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
สิ นทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุ ทธิ
วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี การซื� อเพิม� ขึ�น หัก ค่าตัดจําหน่าย ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี การซื� อเพิ�มขึ�น หัก ค่าตัดจําหน่าย ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
หน่ วย: บาท
6,581,430 (3,861,585) 2,719,845
217,932,204 (127,869,428) 90,062,776
2,719,845 278,637 (839,102) 2,159,380
90,062,776 10,027,547 (28,859,562) 7,054,960 78,285,721
6,860,067 (4,700,687) 2,159,380
248,703,485 (170,417,764) 78,285,721
2,159,380 4,341,434 (1,227,121) 5,273,693
78,285,721 154,752,423 (43,500,082) 328,054 189,866,116
11,201,501 (5,927,808) 5,273,693
403,282,029 (213,415,913) 189,866,116
33
133
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 13
เจ้ าหนีก� ารค้ าและเจ้ าหนีอ� �ืน หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
เจ้าหนี� การค้า - บุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน - บุคคลหรื อกิจการอื�น
เจ้าหนี� อื�น - บุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน - บุคคลหรื อกิจการอื�น รวมเจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อื�น 14
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
147,145,470 62,128,062 209,273,532
54,203,770 119,168,010 173,371,780
5,297,604,795 2,236,765,538 7,534,370,333
1,965,092,652 4,320,293,189 6,285,385,841
723,117 18,680,385 19,403,502 228,677,034
363,085 21,723,718 22,086,803 195,458,583
26,034,017 671,955,269 697,989,286 8,232,359,619
13,163,184 786,961,668 800,124,852 7,085,510,693
เจ้ าหนีจ� ากการลดทุน หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
- Chevron South Asia Holding Pte., Ltd. - บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
-
63,198,892 35,549,377
-
2,291,200,000 1,288,800,000
-
98,748,269
-
3,580,000,000
ในการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น เมื�อวันที� 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ผูถ้ ือหุน้ ได้มีมติอนุมตั ิลดมู ลค่าทุนจดทะเบียนและชําระแล้วของหุ ้น สามัญจาก 41,029,510,250 บาท เป็ น 28,392,421,093 บาท โดยการลดมูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 10.00 บาท เหลือมูลค่าที�ตราไว้หุน้ ละ 6.92 บาท ส่ วนลดมูลค่าหุ ้นได้ชาํ ระคื นให้แก่ผูถ้ ือหุ ้นตามสัดส่ วนการถือครองหุ ้น บริ ษทั ฯได้ชาํ ระเจ้าหนี� จากการลดทุนคงเหลือให้แก่ Chevron South Asia Holding Pte., Ltd. และบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) เมื�อวันที� 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
34
134
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 15
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
เงินกู้ยืม หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
รายการหมุนเวีย น ส่วนของเงินกูย้ ืมระยะยาวที�ถึงกําหนดชําระภายในหนึ�งปี เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื หมุนเวียนรวม รายการไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื ไม่หมุนเวียนรวม เงินกู้ยืมรวม
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
106,666,667 106,666,667
36,666,667 36,666,667
3,840,266,667 3,840,266,667
1,329,306,000 1,329,306,000
71,666,667 71,666,667 178,333,334
73,333,333 73,333,333 110,000,000
2,580,179,166 2,580,179,166 6,420,445,833
2,658,612,000 2,658,612,000 3,987,918,000
ความเสี� ยงจากอัตราดอกเบี�ยของเงินกูย้ ืมของบริ ษทั มีดงั ต่อไปนี� หน่ วย: บาท
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 เงินกูย้ มื อัตราดอกเบี� ยลอยตัว รวมเงินกูย้ มื
178,333,334 178,333,334
110,000,000 110,000,000
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
6,420,445,833 6,420,445,833
3,987,918,000 3,987,918,000
เงินกูย้ มื ของบริ ษทั ที�มีความเสี� ยงในเรื� องของการเปลี�ยนแปลงอัตราดอกเบี�ยและการกําหนดราคาใหม่ตามสัญญา มีรายละเอียดดังนี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา 6 เดือนหรื อ น้ อยกว่า
6-12 เดือน
1-5 ปี
มากกว่า 5 ปี
รวม
53,333,333
53,333,334
71,666,667
-
178,333,334
ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เงินกูย้ มื รวม
หน่ วย: บาท
ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เงินกูย้ มื รวม
6 เดือนหรื อ น้ อยกว่า
6-12 เดือน
1-5 ปี
มากกว่า 5 ปี
รวม
1,920,133,316
1,920,133,351
2,580,179,166
-
6,420,445,833
อัตราดอกเบี�ยที� แท้จริ งถัวเฉลี�ยถ่วงนํ�าหนักของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ นของบริ ษทั คื ออัตราดอกเบี� ยร้อยละ 1.45 ถึง ร้อยละ 1.64 ต่อปี สําหรับเงินกูย้ ืมสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริ กา 35
135
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 15
เงินกู้ยืม (ต่อ) ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของเงินกูย้ ืมระยะยาว มีดงั ต่อไปนี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา มูลค่ายุติธรรม
ราคาตามบัญชี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
71,666,667
73,333,333
71,608,757
73,243,456
หน่ วย: บาท ราคาตามบัญชี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน
2,580,179,166
2,658,612,000
มูลค่ายุติธรรม พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
2,578,094,264
2,655,426,105
มูลค่ายุติธรรมของเงินกูย้ ืมส่ วนที�หมุนเวียนมีมูลค่าเท่ากับราคาตามบัญชี เนื�องจากผลกระทบของอัตราคิดลดไม่มีสาระสําคัญ มูลค่ายุติธรรมคํานวณจากกระแสเงินสดในอนาคตซึ� งคิดลดด้วยอัตราดอกเบี�ยเงินกูย้ ืมที�อตั ราร้อยละ 1.55 ถึง 1.70 ต่อปี (พ.ศ. 2558: ร้อยละ 1.17) และอยูใ่ นข้อมูลระดับ 2 ของลําดับชั�นมูลค่ายุติธรรม ระยะเวลาครบกําหนดของเงินกูย้ ืมระยะยาว มีดงั ต่อไปนี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
ครบกําหนดภายใน 1 ปี ครบกําหนดเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ครบกําหนดเกินกว่า 5 ปี รวมเงินกูย้ มื ระยะยาว
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
106,666,667 71,666,667 178,333,334
36,666,667 73,333,333 110,000,000
3,840,266,667 2,580,179,166 6,420,445,833
1,329,306,000 2,658,612,000 3,987,918,000
36
136
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 16
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
เงินปันผลค้างจ่าย หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
- Chevron South Asia Holding Pte.,Ltd. - บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
-
106,394,010 59,846,630 166,240,640
-
3,857,187,137 2,169,667,765 6,026,854,902
เงินปันผลค้างจ่ายเป็ นเงินปั นผลงวดที�สามจากการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ เมื�อวันที� 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 เงินปันผลงวดที�สามนี� จะจ่ายให้ผูถ้ ือหุ ้นในวัน ที� ตรงกับ 120 วัน หลังจากวันที�หุ้น ของบริ ษทั ได้มีการเริ� มซื� อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย จํานวนเงินทั�งหมดได้จ่ายในวันที� 5 เมษายน พ.ศ. 2559 17
หนีส� ินหมุนเวีย นอื�น หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
ภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย ภาษีหกั ณ ที�จ่ายค้างจ่าย ดอกเบี� ยค้างจ่าย หนี�สินหมุนเวียนอื�น
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
27,244,763 211,621 280,856 27,737,240
28,624,417 4,950,401 103,871 33,678,689
980,879,593 7,618,897 10,111,498 998,609,988
1,037,743,906 179,470,858 3,765,680 1,220,980,444
37
137
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18
ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญ ชี สิ นทรัพย์ (หนี�สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที�จะใช้ประโยชน์ภายใน 12 เดือน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที�จะใช้ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน รวมสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
-
81,543
-
2,956,226
2,487,074 2,487,074
1,986,511 2,068,054
89,540,923 89,540,923
72,018,579 74,974,805
(315,816)
(159,047)
(11,370,149)
(5,766,054)
หนีส� ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที�จ่ายชําระภายใน 12 เดือน หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที�จะจ่ายชําระเกินกว่า 12 เดือน รวมหนี� สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี
(39,088,199) (39,404,015)
(43,652,570) (1,407,272,959) (1,582,571,552) (43,811,617) (1,418,643,108) (1,588,337,606)
หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ
(36,916,941)
(41,743,563) (1,329,102,185) (1,513,362,801)
ความเคลื�อนไหวของบัญชีสินทรัพย์ (หนี�สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดงั นี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2559 ณ วันที� 1 มกราคม เพิ�ม (ลด) ในงบกําไรหรื อขาดทุน (หมายเหตุ 25) ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยน ณ วันที� 31 ธันวาคม
(41,743,563) 588,220 4,238,402 (36,916,941)
พ.ศ. 2558
หน่ วย: บาท พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
16,480,275 (1,513,362,801) 545,714,642 (44,215,126) 20,835,713 (1,459,732,369) (14,008,712) 163,424,903 (599,345,074) (41,743,563) (1,329,102,185) (1,513,362,801)
38
138
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญ ชี (ต่อ) รายการเคลื�อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดงั นี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
สิ นทรัพ ย์ภ าษีเ งินได้รอการตัดบัญชี วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิม� (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 เพิ�ม (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ผลกระทบ ทางภาษีของ ผลต่างจากการ แปลงค่าฐานภาษี
ต้ นทุน เงินกู้ยืม ระยะยาว
ภาระผูกพัน ผลประโยชน์ พนักงาน
ขาดทุนจาก สิ นค้ าและ วัสดุอน�ื ล้าสมัย
ขาดทุน จากการ ดําเนินงาน สุ ทธิ
รวม
(97,971) 62,675 (35,296)
415,300 (298,460) 116,840
1,113,951 9,585 1,123,536
758,907 104,067 862,974
44,036,062 (44,036,062) -
46,226,249 (44,158,195) 2,068,054
(35,296) 35,296 -
116,840 (116,840) -
1,123,536 367,577 1,491,113
862,974 132,987 995,961
-
2,068,054 419,020 2,487,074 หน่ วย: บาท
สิ นทรัพ ย์ภ าษีเ งินได้รอการตัดบัญชี วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ�ม (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� น จากการแปลงค่างบการเงิน วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 เพิ�ม (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� น จากการแปลงค่างบการเงิน วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ผลกระทบ ทางภาษีของ ผลต่างจากการ แปลงค่าฐานภาษี
ขาดทุนจาก สิ นค้ าและ วัสดุอน�ื ล้าสมัย
ขาดทุน จากการ ดําเนินงาน สุ ทธิ
ต้ นทุน เงินกู้ยืม ระยะยาว
ภาระผูกพัน ผลประโยชน์ พนักงาน
(3,244,155) 1,964,506
13,751,902 (10,797,127)
36,886,498 296,204
25,129,854 1,458,174,944 1,530,699,043 3,495,542 (1,452,934,782) (1,457,975,657)
(1,279,649)
1,281,100 4,235,875
3,549,786 40,732,488
2,660,695 31,286,091
(5,240,162) -
2,251,419 74,974,805
(1,279,649) 1,279,649
4,235,875 (4,204,118)
40,732,488 12,976,101
31,286,091 4,705,617
-
74,974,805 14,757,249
-
(31,757) -
(24,753) 53,683,836
(134,621) 35,857,087
-
(191,131) 89,540,923
รวม
39
139
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18
ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญ ชี (ต่อ) รายการเคลื�อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดงั นี� (ต่อ) หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
หนีส� ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ�มในกําไรหรื อขาดทุน วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 เพิ�มในกําไรหรื อขาดทุน วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ผลกระทบ ทางภาษีของ ผลต่างจากการ แปลงค่าฐานภาษี
ค่าเสื� อมราคา
รวม
(28,796,874) (14,071,387) (42,868,261)
(949,100) 5,744 (943,356)
(29,745,974) (14,065,643) (43,811,617)
(42,868,261) 4,203,106 (38,665,155)
(943,356) 204,496 (738,860)
(43,811,617) 4,407,602 (39,404,015) หน่ วย: บาท
หนีส� ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ�มในกําไรหรื อขาดทุน ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนจากการแปลงค่างบการเงิน วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 เพิ�มในกําไรหรื อขาดทุน ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนจากการแปลงค่างบการเงิน วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ผลกระทบ ทางภาษีของ ผลต่ างจากการ แปลงค่าฐานภาษี
ค่าเสื� อมราคา
รวม
(953,556,655) (600,580,700) (1,554,137,355)
(31,427,746) 207,794 (2,980,299) (34,200,251)
(984,984,401) (600,372,906) (2,980,299) (1,588,337,606)
(1,554,137,355) 162,095,126 (1,392,042,229)
(34,200,251) 7,358,113 241,259 (26,600,879)
(1,588,337,606) 169,453,239 241,259 (1,418,643,108)
40
140
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 19
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ภาระผูกพันผลประโยชน์ พ นักงาน จํานวนที�รับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงินมีดงั นี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
มูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพัน ที�ไม่ได้จดั ให้มีกองทุน
7,455,571
5,617,685
268,419,182
203,662,442
หนี�สินสุ ทธิท�ีรับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงิน
7,455,571
5,617,685
268,419,182
203,662,442
รายการเคลื�อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ที�กาํ หนดไว้ระหว่างปี มีดงั นี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา ณ วันที� 1 มกราคม ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ค่าใช้จ่ายดอกเบี� ย ต้นทุนบริ การในอดีต ขาดทุนที�เกิดขึ�นจากการเปลี�ยนแปลง ข้อสมมติทางการเงิน ผลของการเปลี�ยนแปลงในอัตราแลกเปลี�ยน เงินตราต่างประเทศ จ่ายชําระเงินจากโครงการ: จ่ายชําระผลประโยชน์ ณ วันที� 31 ธันวาคม
หน่ วย: บาท
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
5,617,685 684,248 170,475 132,957
5,569,757 370,290 233,132 -
203,662,442 24,242,268 6,039,762 4,710,540
184,432,493 12,777,958 8,044,940 -
931,350 1,919,030
603,422
32,917,270 67,909,840
20,822,898
6,665
(509,332)
-
-
(87,809) 7,455,571
(46,162) 5,617,685
(3,153,100) 268,419,182
(1,592,949) 203,662,442
ข้อสมมติฐานหลักในการประเมิน ข้อสมมติฐานด้านการเงินของบริ ษทั สําหรับปี สิ� นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม
อัตราคิดลด อัตราการเพิ�มขึ�นของเงินเดือน
ร้ อยละ ต่ อปี พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
2.5 5.0
4.4 6.0 41
141
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 19
ภาระผูกพันผลประโยชน์ พ นักงาน (ต่อ) ข้อสมมติฐานหลักในการประเมิน (ต่อ) ข้อสมมติฐานด้านประชากรศาสตร์ของบริ ษทั - ข้อสมมติฐานเกี�ยวกับการมรณะ อัตราการมรณะอ้างอิงตามตารางมรณะปี พุทธศักราช 2551 (TMO08) ประกาศโดยสํานักงาน คณะกรรมการกํากับและส่ งเสริ มการประกอบธุรกิจประกันภัย ซึ� งตารางมรณะ TMO08 ที�นาํ มาใช้ในการประเมินสมมติฐานนั�น ประกอบไปด้วยข้อมูลที�เก็บ รวบรวมจากการสํารวจของบริ ษทั ประกันชีวิตต่างๆ ในประเทศไทย ซึ� งทําให้สามารถเชื�อมัน� ได้วา่ ตัวเลขดังกล่าวจะสะท้อนให้เห็นถึงอัตราการมรณะที�เกิดขึ�นจริ งของประชากรในประเทศไทย - ข้อสมมติฐานเกี�ยวกับอัตราการหมุนเวียนของพนักงาน สําหรับปี สิ� นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม ร้ อยละ ต่ อปี ช่ วงอายุ อายุต�าํ กว่า 21 ปี อายุ 21 - 24 ปี อายุ 25 - 30 ปี อายุ 31 - 34 ปี อายุ 35 - 40 ปี อายุ 41 - 44 ปี อายุ 45 - 50 ปี อายุต� งั แต่ 50 ปี ขึ�นไป
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
1.00 1.00 1.00 3.00 3.00 2.00 2.00 0.00
7.50 6.00 4.50 3.75 3.00 1.50 0.75 0.00
อัต ราการหมุ น เวี ยนของพนัก งานข้างต้น แสดงให้ เห็ น ถึ ง อัต ราการลาออกของพนักงานโดยสมัค รใจ ซึ� งไม่ รวมถึ งการตาย การสู ญ เสี ยสมรรถภาพการทํางานจนเป็ นเหตุ ให้ออกจากงานและการเกษี ยณก่อนกําหนด ดังนั�นการคํานวณผลประโยชน์ที�จ่าย ให้แก่พนักงานจะอยูบ่ นพื�นฐานของสมมติฐานดังกล่าว การวิเคราะห์ความอ่อนไหวของข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ผลกระทบต่อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ทกี� าํ หนดไว้ การเปลีย� นแปลงในข้อสมมติ อัตราคิดลด อัตราการเพิ�มขึ�นของ เงินเดือน
พ.ศ. 2559 ร้อยละ 1.00
พ.ศ. 2558 ร้อยละ 1.00
ร้อยละ 1.00
ร้อยละ 1.00
การเพิม� ขึน� ของข้ อสมมติ พ.ศ. 2559 ลดลง ร้อยละ 11.38 เพิ�มขึ�น ร้อยละ 11.72
พ.ศ. 2558 ลดลง ร้อยละ 11.58 เพิ�มขึ�น ร้อยละ 14.79
การลดลงของข้ อสมมติ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 เพิ�มขึ�น ร้อยละ เพิ�มขึ�น ร้อยละ 13.37 13.58 ลดลง ร้อยละ ลดลง ร้อยละ 10.16 12.69
42
142
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 19
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ภาระผูกพันผลประโยชน์ พ นักงาน (ต่อ) ข้อสมมติฐานหลักในการประเมิน (ต่อ) การวิเคราะห์ความอ่อนไหวข้างต้นนี� อา้ งอิงจากการเปลี�ยนแปลงข้อสมมติ ขณะที� ให้ขอ้ สมมติ อ�ืนคงที� ในทางปฏิบัติสถานการณ์ ดังกล่าวยากที�จะเกิดขึ� น และการเปลี�ยนแปลงในข้อสมมติอาจมีความสัมพันธ์กนั ในการคํานวณการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของ ภาระผูกพัน ผลประโยชน์ที�กาํ หนดไว้ที�มีต่อการเปลี�ยนแปลงในข้อสมมติ หลักได้ใช้วิธีเดี ยวกับ (มู ลค่ าปั จจุบนั ของภาระผูกพัน โครงการผลประโยชน์ที�กาํ หนดไว้ค าํ นวณด้วยวิธีคิ ดลดแต่ละหน่วยที� ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Cost Method)) ณ วันสิ� น รอบระยะเวลารายงาน ในการคํานวณหนี� สินบําเหน็จบํานาญที�รบั รู้ในงบแสดงฐานะการเงิน วิธีการและประเภทของข้อสมมติที�ใช้ในการจัดทําการวิเคราะห์ความอ่อนไหวไม่ได้เปลี�ยนแปลงจากปี ก่อน ระยะเวลาถัวเฉลี�ยถ่วงนํ�าหนักของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์คือ 18 ปี (พ.ศ. 2558: 18 ปี ) การวิเคราะห์การครบกําหนดของการจ่ายชําระผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุที�ไม่มีการคิดลด: หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา เกินกว่ า 1 ปี แต่ ภายใน 1 ปี ไม่เกิน 5 ปี ณ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ รวม
3,062 3,062
1,295,663 1,295,663
เกินกว่า 5 ปี
รวม
27,875,106 27,875,106
29,173,831 29,173,831
หน่ วย: บาท เกินกว่ า 1 ปี แต่ ภายใน 1 ปี ไม่เกิน 5 ปี ณ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ รวม
110,250 110,250
46,647,107 46,647,107
เกินกว่า 5 ปี
รวม
1,003,573,503 1,003,573,503
1,050,330,860 1,050,330,860
43
143
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 20
ทุนเรื อนหุ้น จํานวนหุ้น ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การลดทุนจดทะเบียน การออกหุ น้ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 การออกหุ น้ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
4,102,951,025 232,951,100 4,335,902,125 4,335,902,125
หุ้นสามัญ ดอลลาร์ สหรัฐฯ
หุ้นสามัญ บาท
1,184,955,167 41,029,510,250 (364,966,192) (12,637,089,157) 44,724,833 1,612,021,612 864,713,808 30,004,442,705 864,713,808 30,004,442,705
หุน้ สามัญจดทะเบียนทั�งหมดซึ� งมีราคามูลค่าที�ตราไว้หุน้ ละ 6.92 บาท (พ.ศ. 2558: 6.92 บาท) มีจาํ นวน 4,335,902,125 หุน้ (พ.ศ. 2558: 4,774,343,003 หุน้ ) หุน้ สามัญจดทะเบียนและชําระแล้วมีจาํ นวน 4,335,902,125 หุน้ (พ.ศ. 2558: 4,335,902,125 หุ้น) ในการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ้น เมื�อวันที� 16 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผูถ้ ือหุ ้นได้มีมติอนุมตั ิ ลดทุนจดทะเบียนของบริ ษทั จากหุ ้นสามัญเดิ ม 4,774,343,003 หุ ้น เป็ น 4,335,902,125 หุ ้น มูลค่ าหุ ้น ละ 6.92 บาท โดยการยกเลิ กหุ ้น ทุ นจดทะเบี ยนเดิ ม จํานวน 438,440,878 หุ้น บริ ษทั ได้จดทะเบียนลดทุนจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิ ชย์เมื�อวันที� 27 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ในการประชุ มวิสามัญผูถ้ ื อหุ ้น เมื� อวันที� 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ผูถ้ ื อหุ ้นได้มี มติ อนุ ม ัติ ลดมู ลค่ าทุ นจดทะเบี ยนของหุ ้นสามัญจาก 41,029,510,250 บาท เป็ น 28,392,421,093 บาท โดยการลดมู ลค่ าที� ต ราไว้หุ้ นละ 10.00 บาท เหลื อมู ลค่ าที� ตราไว้หุ้ น ละ 6.92 บาท บริ ษทั ได้จดทะเบียนลดมูลค่าทุนกับกระทรวงพาณิ ชย์เมื�อวันที� 15 กันยายน พ.ศ. 2558 ในการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น เมื� อวันที� 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ผูถ้ ือหุ ้นได้มี มติ อนุ ม ัติเพิ�มทุ นจดทะเบี ยนของบริ ษทั จากหุ ้นสามัญ เดิม 4,102,951,025 หุ ้น มูลค่าหุน้ ละ 6.92 บาท ภายหลังจากการเปลี�ยนแปลงมูลค่าหุ ้นสามัญที�ตราไว้ตามที�กล่าวไว้ขา้ งต้นเป็ นหุน้ สามัญ จํานวน 4,774,343,003 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 6.92 บาท โดยการออกหุ ้นสามัญใหม่ จํานวน 671,391,978 หุ ้น มูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 6.92 บาท บริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนกับกระทรวงพาณิ ชย์เมื�อวันที� 16 กันยายน พ.ศ. 2558 ตามโครงการออกและเสนอขายหุ ้นสามัญเพิ�มทุนต่อผูบ้ ริ หารและพนักงาน (ESOP) ที� ได้รับ อนุ ม ัติในการประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ้น เมื�อวันที� 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้ออกหุ ้นจํานวน 35,728,800 หุ ้น ให้แก่ผูบ้ ริ หาร (ไม่ รวมผูบ้ ริ หารช่ วยปฏิบตั ิ งานชัว� คราว (management secondees)) และพนักงาน โดยเสนอขายในราคาเท่ากับราคาเสนอขายหุ ้นสามัญเพิ�มทุนของบริ ษทั ต่ อประชาชนเป็ น ครั� งแรก บริ ษทั ได้จดทะเบี ยนเพิ� มทุ น ที� ชาํ ระแล้วกับกระทรวงพาณิ ชย์ในวันที� 3 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยมี ค่ าใช้จ่ายที� เกี� ยวข้อง โดยตรงกับ การเสนอขายหุ้นต่อผูบ้ ริ หารและพนักงานจํานวน 0.13 ล้านดอลลาร์ สหรั ฐอเมริ กา หรื อ 4.51 ล้านบาท แสดงหั กจาก ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ ที�ได้รับจากผูถ้ ือหุน้ ในเดื อนพฤศจิ กายน พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้เสนอขายหุ ้น ที� ออกใหม่ ให้แก่ป ระชาชนทั�ว ไปเป็ นครั�งแรกจํานวน 197,222,300 หุ ้น โดยการขายหุ้นใหม่ให้แก่ผูจ้ องในราคาหุ ้นละ 9.00 บาท (มูลค่าตราไว้ 6.92 บาท และส่ วนเกิ นมูลค่ าหุ ้น 2.08 บาท) เป็ นจํานวนเงิ นรวม 1,775,000,700 บาท บริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนที�ชาํ ระแล้วกับกระทรวงพาณิ ชย์ เมื�อวันที� 3 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และหุ้นของบริ ษทั เริ� ม การซื� อขายในตลาดหลักทรั พย์ในวันที� 8 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ค่ าใช้จ่ายที� เกี�ยวข้องโดยตรงกับการเสนอขายหุ ้นแก่ประชาชนจํานวน 1.71 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริ กา หรื อ 61.28 ล้านบาท แสดงหักจากส่ วนเกินมูลค่าหุน้ ที�ได้รับจากผูถ้ ือหุ ้น
44
144
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 21
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
สํารองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติ บ ริ ษ ัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริ ษัท ต้องสํ ารองตามกฎหมายอย่างน้ อยร้ อยละ 5 ของกําไรสุ ทธิ ห ลังจาก หักส่ วนของขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสํารองนี� จะมี มูลค่าไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองนี� ไม่สามารถนําไปจ่าย เงินปันผลได้ ปัจจุบนั บริ ษทั สํารองตามกฎหมายครบร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนแล้ว หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
ยอดคงเหลือต้นปี จัดสรรระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี 22
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
84,652,251 3,213,660 87,865,911
61,418,972 23,233,279 84,652,251
2,886,500,098 113,944,173 3,000,444,271
1,965,065,317 921,434,781 2,886,500,098
การจ่ายเงินปันผล ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั�งที� 3 เมื�อวันที� 11 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 คณะกรรมการได้มีมติอนุมตั ิ ให้ประกาศจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลจากกํา ไรสะสมที� ย งั ไม่ไ ด้จดั สรรหลังจากหักสํา รองตามกฎหมายจากกํา ไรสุ ทธิ ต� งั แต่ วนั ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึ งวัน ที� 30 มิ ถุน ายน พ.ศ. 2559 เป็ นจํานวนเงิ น 66,335,931 ดอลลาร์ ส หรั ฐ อเมริ กาหรื อเที ยบเท่ า ในอัต ราหุ้น ละ 0.5378 บาท เป็นจํานวนเงินทั�งสิ� น 2,331.8 ล้านบาท เงินปันผลได้จ่ายให้ผถู้ ือหุน้ ในวันที� 9 กันยายน พ.ศ. 2559 ในการประชุมสามัญประจําปี ผูถ้ ือหุน้ เมื�อวันที� 26 เมษายน พ.ศ. 2559 ผูถ้ ือหุ ้นได้มีมติ อนุมตั ิให้ประกาศจ่ายเงินปั นผลจากกําไรสะสม ที�ยงั ไม่ได้จดั สรรหลังจากหักสํารองตามกฎหมายจากกําไรสุ ทธิสําหรับงวดหกเดื อนสิ� นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เป็ นจํานวนเงิน 31,880,487 ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา หรื อเที ยบเท่ า ในอัตราหุ ้นละ 0.26376772 บาท เป็ นจํานวนเงินทั�งสิ� น 1,143.7 ล้านบาท เงินปั นผล ได้จ่ายให้ผถู ้ ือหุ้นในวันที� 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั�งที� 3 เมื�อวันที� 13 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 คณะกรรมการได้มีมติอนุมตั ิให้ประกาศจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลจากกําไรสะสมที� ย งั ไม่ได้จดั สรรหลังจากหักสํารองตามกฎหมายจากกําไรสุ ท ธิ ในครึ� งปี พ.ศ. 2558 เป็ นจํานวนเงิ น 200,441,476 ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กาหรื อเทียบเท่า ในอัตราหุ ้นละ 1.71 บาท เป็ นจํานวนเงินทั�งสิ� น 7,031.0 ล้านบาท เงินปั นผลได้จ่าย ให้ผถู ้ ือหุน้ ในวันที� 11 กันยายน พ.ศ. 2558 ในการประชุ ม วิ สามัญผูถ้ ื อหุ ้น ครั� งที� 2 เมื� อวัน ที� 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ผูถ้ ือหุ ้น ได้มี ม ติ อนุ ม ัติ ใ ห้ ป ระกาศจ่า ยเงิ น ปั น ผลจาก กําไรสะสมที� ยงั ไม่ ได้จดั สรรหลังจากหักสํารองตามกฎหมาย ณ วันที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2557 เป็ นจํานวนเงิ น 15,059,128 ดอลลาร์ สหรัฐ อเมริ ก าหรื อเที ย บเท่า ในอัต ราหุ ้นละ 0.12 บาท เป็ นจํา นวนเงิ น ทั�ง สิ� น 509.3 ล้า นบาท เงิน ปั น ผลได้จ่ า ยให้ผูถ้ ือหุ ้น ในวัน ที� 6 สิ งหาคม พ.ศ. 2558
45
145
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22
การจ่ายเงินปันผล (ต่อ) ในการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั�งที� 1 เมื�อวันที� 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ผูถ้ ือหุ้นได้มีมติอนุ มตั ิให้ประกาศจ่ายเงินปั นผลจากกําไรสะสม ที�ยงั ไม่ ได้จัดสรรหลังจากหักสํารองตามกฎหมายจากกําไรสุ ทธิ ในปี พ.ศ. 2556 เป็ นจํานวนเงิ น 62,163,717 ดอลลาร์ สหรั ฐอเมริ กาหรื อ เทียบเท่า ในอัตราหุ ้นละ 0.47 บาท เป็ นจํานวนเงินทั�งสิ�น 1,922.6 ล้านบาท เงินปันผลได้จ่ายให้ผถู ้ ือหุน้ ในวันที� 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ในการประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น เมื�อวันที� 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ผูถ้ ือหุ ้นได้มีมติ อนุ มตั ิให้ประกาศจ่ายเงินปั นผลจากกําไรสะสมที� ยงั ไม่ได้จดั สรรหลังจากหักสํารองตามกฎหมายเป็ นจํานวนเงิน 529,759,436 ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา หรื อเที ยบเท่าในอัตราหุ ้นละ 4.10 บาท เป็ นจํานวนเงิ นทั�งสิ� น 16,826.9 ล้านบาท โดยแบ่ งจ่ายเป็ น 3 งวด เงิ นปั นผลงวดแรกเป็ นจํานวนเงิน 170,008,060 ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา (5,400 ล้านบาท) ได้จ่ายให้ แก่ ผู ้ถื อหุ ้ นแล้วเมื� อวันที� 8 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2555 เงิ น ปั นผลงวดที� 2 เป็ นจํานวนเงิ น 170,008,060 ดอลลร์ สหรั ฐอเมริ กา (5,400 ล้านบาท) ได้จ่ายให้แก่ผูถ้ ือหุ ้นแล้วเมื� อวันที� 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 และเงิ นปั นผลงวดสุ ดท้ายเป็ นจํานวนเงิ น 166,240,640 ดอลาร์ สหรัฐอเมริ กา (6,026.8 ล้านบาท) ได้จ่ายให้ผถู ้ ือหุน้ แล้วเมื�อวันที� 5 เมษายน พ.ศ. 2559 (หมายเหตุ 16)
23
ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะ รายการบางรายการที�รวมอยูใ่ นการคํานวณกําไรสําหรับปี สามารถนํามาแยกตามลักษณะได้ดงั นี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 การเปลี�ยนแปลงในสิ นค้าสําเร็ จรู ป วัตถุดิบและวัสดุสิ�นเปลืองใช้ไป ค่าใช้จ่ายเกี�ยวกับพนักงาน ค่าซ่อมแซมและรายจ่ายบํารุ ง อาคาร และอุปกรณ์ ค่าเสื� อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ (หมายเหตุ 11) ค่าตัดจําหน่ายของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน (หมายเหตุ 12) ค่าเช่าตามสัญญาเช่าดําเนินงาน รวมต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
หน่ วย: บาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
(14,853,291) 3,947,962,630 32,185,233
37,627,801 4,735,806,708 39,337,842
(526,687,289) 1,372,042,917 139,992,182,634 162,359,308,125 1,141,265,850 1,362,315,644
31,081,346 80,983,964 1,227,121 126,098 4,078,713,101
31,483,004 80,364,961 839,102 126,098 4,925,585,516
1,102,122,781 1,080,910,040 2,872,153,600 2,766,432,620 43,500,082 28,859,562 4,472,173 4,337,916 144,629,009,831 168,974,206,824
ค่าเสื� อมราคา ค่าตัดจําหน่าย และค่าเช่าตามสัญญาเช่าดําเนินงานของสิ นทรัพย์ หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
บันทึกเป็ นต้นทุนขาย บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
73,981,603 8,355,580 82,337,183
73,312,838 8,017,323 81,330,161
2,623,842,839 296,283,016 2,920,125,855
2,523,812,348 275,817,750 2,799,630,098 46
146
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 24
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายได้ อื�น หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 รายได้ทางการเงิน รายได้อ�ืน
25
รายงานประจำ�ปี 2559
839,398 945,485 1,784,883
2,670,459 4,234,328 6,904,787
หน่ วย: บาท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 29,831,591 33,513,128 63,344,719
90,492,667 143,164,994 233,657,661
ภาษีเงินได้ หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ภาษีเงินได้ในงวดปั จจุบนั ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (หมายเหตุ 18) ปรับปรุ งภาษีจากงวดก่อน
64,733,984 (588,220) (327,982) 63,817,782
26,208,086 44,215,126 (7,695) 70,415,517
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 กําไร ก่อนภาษี ภาษีคาํ นวณจากอัตราภาษีร้อยละ 20 (พ.ศ. 2558: ร้อยละ 20) รายจ่ายที�สามารถหักได้เพิ�ม รายจ่ายที�ไม่สามารถหักภาษี ผลกระทบทางภาษีของผลต่างจากการ แปลงค่าฐานภาษี ปรับปรุ งภาษีจากงวดก่อน ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนจากการ แปลงค่างบการเงิน ภาษีเงินได้
หน่ วย: บาท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 2,293,569,280 (20,835,713) (11,681,162) 2,261,052,405
922,948,779 1,459,732,369 (260,710) 2,382,420,438
หน่ วย: บาท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558
308,854,999
314,964,952
10,949,140,732
10,609,894,488
61,771,000 (349,830) 47,362
62,992,990 (39,608) 14,566
2,190,378,526 (12,404,724) 1,679,412
2,106,436,377 (1,364,088) 501,640
2,677,232 (327,982)
7,455,264 (7,695)
94,932,836 (11,681,162)
256,757,052 (260,710)
63,817,782
70,415,517
(1,852,483) 2,261,052,405
20,350,167 2,382,420,438
47
147
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 26
กําไรต่ อหุ้นขั�นพื�นฐาน กําไรต่อหุ ้น ขั�นพื�นฐานคํานวณโดยการหารกําไรที� เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นสามัญด้วยจํานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี�ยถ่วงนํ�าหนักที�ออกจําหน่ าย และชําระแล้วในระหว่างปี
กําไรที�เป็ นของผูถ้ ือหุน้ สามัญ จํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี�ยที�ออกจําหน่าย และชําระแล้วระหว่างปี (หุน้ ) กําไรต่อหุน้ ขั�นพื�นฐาน 27
หน่ วย: บาท
หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
245,037,217
244,549,435
8,688,088,327
8,227,474,050
4,335,902,125 0.06
4,135,946,763 0.06
4,335,902,125 2.00
4,135,946,763 1.99
สัญ ญาทีส� ํ าคัญ สัญญาที�มีสาระสําคัญสามารถสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี� สั ญญาก่อสร้ างและดําเนินกิจการโรงกลั�นปิ โตรเลีย ม เมื� อวัน ที� 22 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2535 บริ ษ ัทได้รับ โอนสิ ท ธิ และหน้าที� ทุกอย่างภายใต้สั ญญาก่ อสร้างและดําเนิ นกิ จการโรงกลัน� ปิ โตรเลียมจาก บริ ษทั คาลเท็กซ์ เทรดดิ�ง แอนด์ ทรานสปอร์ ต (ประเทศไทย) จํากัด เพื�อเป็ นไปตามเงื�อนไขในสัญญาที� ทาํ ระหว่าง บริ ษทั คาลเท็ กซ์ เทรดดิ�ง แอนด์ ทรานสปอร์ ต (ประเทศไทย) จํากัด กับกระทรวงอุตสาหกรรม ลงวันที� 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 ตามการแก้ไขของสัญญาครั�งล่าสุ ดในปี พ.ศ. 2558 บริ ษทั จะต้องดําเนิ นการให้มีการจําหน่ายหุ้นของบริ ษทั อย่างน้อยร้อยละ 30 ของ ทุนจดทะเบียนให้แก่ประชาชนทัว� ไปและจดทะเบียนหุน้ ของบริ ษทั เพื�อการซื� อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างช้าภายใน ปี พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้ดาํ เนิ นการนําบริ ษทั เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหุ้นของบริ ษทั เริ� มทําการซื� อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในวันที� 8 ธันวาคม พ.ศ.2558 สั ญญาเช่ าที�ดิน บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาเช่าที� ดินกับการนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทยเมื�อวันที� 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 สําหรับ ระยะเวลา 30 ปี นับแต่วนั ที� 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 ค่าเช่ารวมดอกเบี�ยจากวันที�ในสัญญาเช่าถึงวันที�ชาํ ระค่าสิ ทธิ การเช่ามีจาํ นวนรวม 302 ล้านบาท
48
148
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
สัญ ญาทีส� ํ าคัญ (ต่อ) สั ญญาความร่ วมมือในการใช้ ท�ดี ิน เมื� อวันที� 1 ธัน วาคม พ.ศ. 2536 บริ ษทั ได้ท าํ สั ญญาความร่ วมมื อกับการนิ ค มอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย โดยบริ ษทั ผูกพัน ที� จะจ่ายค่าบริ การประมาณปี ละ 2.5 ล้านบาท เพื�อการบํารุ งรักษาถนนและระบบสาธารณูปโภค สั ญญาซื�อขายก๊าซธรรมชาติ - โคเจนเนอเรชั�น เมื�อวันที� 18 ตุลาคม พ.ศ. 2539 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื� อขายก๊าซธรรมชาติ กบั บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) โดยบริ ษทั มี ข้อผูกพัน ในการซื� อก๊าซธรรมชาติจากฝ่ ายหลังตามเงื�อนไขในสัญ ญาเพื�อใช้ผลิต ไฟฟ้ าในระบบที� เรี ยกว่า โคเจนเนอเรชั�น (Cogeneration) สัญญานี�จะสิ� นสุ ดลงภายใน 12 ปี ข้างหน้านับแต่วนั เริ� มใช้กา๊ ซเพื�อก่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงพาณิ ชย์ในวันที� 17 มีนาคม พ.ศ. 2540 เมื� อวันที� 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ได้มีการแก้ไขสัญญาเพื�อปรับ ปรุ งการคํานวณราคาก๊าซใหม่ โดยใช้ราคาที� ข� ึ นอยู่กบั ดัชนี ราคา ผูผ้ ลิตของประเทศไทย แทนที�ดชั นีราคาขายส่ งเฉลี�ยของประเทศไทย เมื�อวันที� 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื� อขายก๊าซธรรมชาติ กบั บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ฉบับใหม่ โดยมีผลบังคับใช้ ตั�งแต่วนั ที� 17 มีนาคม พ.ศ. 2552 และสิ� นสุ ดในวันที� 16 มีนาคม พ.ศ. 2562 สั ญญาซื�อขายก๊าซธรรมชาติ - กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม เมื� อวันที� 22 กันยายน พ.ศ. 2542 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื� อขายก๊าซธรรมชาติ กบั บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) โดยบริ ษทั มีข้อผูกพัน ในการซื� อก๊าซธรรมชาติจากฝ่ ายหลังตามเงื�อนไขในสัญญาเพื�อใช้ในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สัญญาได้จดั ทําขึ� นใหม่ หลังจากสัญญาสิ� นสุ ดเมื�อวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 สัญญาที�จดั ทําขึ� นใหม่น�ี จะสิ� นสุ ดลงภายใน 4 ปี ข้างหน้านับแต่วนั เริ� มใช้กา๊ ซ เพื�อก่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงพาณิ ชย์ในวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2547 เมื�อวันที� 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื� อขายก๊าซธรรมชาติ กบั บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ฉบับใหม่ โดยมีผลบังคับใช้ ตั�งแต่วนั ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2552 และสิ� นสุ ดในวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561
49
149
บริ ษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27
สั ญญาที�สําคัญ (ต่อ) สั ญญาซื�อนํ�ามันดิบ เมื�อวันที� 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื� อนํ�ามันดิบฉบับใหม่กบั Chevron U.S.A. Inc. โดยสัญญานี� บริ ษทั มี ขอ้ ผูกพันที� จะซื� อนํ�ามันดิบจาก Chevron U.S.A. Inc. ตามเงื�อนไขในสัญญา โดยเริ� มมีผลนับตั�งแต่วนั ที�หุ้นของบริ ษทั เริ� มทําการซื� อขายในตลาด หลักทรัพย์ฯในวันที� 8 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เมื� อวันที� 5 มิ ถุนายน พ.ศ. 2555 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื� อนํ�ามันดิ บฉบับใหม่ กบั บริ ษทั ปตท.จํากัด (มหาชน). โดยสัญญานี� บริ ษทั ปตท.จํากัด (มหาชน) มีสิทธิที�จะยื�นข้อเสนอเพื�อจัดหานํ�ามันดิบให้แก่บริ ษทั ตามเงื�อนไขในสัญญา โดยเริ� มมี ผลนับตั�ง แต่ วนั ที�หุ้น ของบริ ษทั เริ� มทําการซื� อขายในตลาดหลักทรัพย์ในวันที� 8 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สั ญญาซื�อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เมื� อวัน ที� 10 สิ งหาคม พ.ศ. 2536 บริ ษทั ได้ท ําสัญญาซื� อขายผลิตภัณฑ์ปิ โตรเลียมกับบริ ษ ัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และบริ ษ ัท เชฟรอน (ประเทศไทย) จํากัด (“CTL”) ตามสัญญานี� บริ ษทั ผูกพันที� จะขายผลิต ภัณฑ์ ที� ได้จากการกลัน� ปิ โตรเลียมตามเงื�อนไข ที�ระบุในสัญญาให้แก่ บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) และ CTL นับแต่วนั ที� 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 ซึ� งเป็ นวันที�เริ� มดําเนิ นกิ จการ เชิงพาณิชย์ เมื�อวันที� 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาแก้ไขเพิ�มเติม ซึ� ง มีผลบังคับใช้ในวันที�หุ้นของบริ ษทั เริ� มทําการซื� อขายในตลาด หลักทรัพย์ฯ ในวันที� 8 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เมื�อวันที� 15 มีนาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาแก้ไขเพิ�มเติมเกี�ยวกับระยะเวลาของสัญญา ราคาผลิตภัณฑ์ และการโต้แย้ง
28
หนีส� ิ นที�อาจจะเกิดขึน� และการคํา� ประกันโดยธนาคาร วันที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริ ษ ัทให้ธนาคารออกหนัง สื อคํ�าประกัน แทนบริ ษทั เกี� ยวกับ การใช้ท�ี ดิ นในนิ ค ม อุตสาหกรรมมาบตาพุด การใช้ไฟฟ้ าและอื�น ๆ เป็ นจํานวนเงิ นรวมทั�งสิ� น 0.73 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ อเมริ กา หรื อ 26.22 ล้านบาท และ 0.72 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริ กา หรื อ 26.24 ล้านบาท ตามลําดับ
50
150
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 29
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ภาระผูกพัน ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริ ษทั มีภาระผูกพันดังต่อไปนี� ก)
ค่าเครื� องจักรและอุปกรณ์ และค่ าติ ดตั�งที�ยงั ไม่แล้วเสร็ จเป็ นเงินประมาณ 2.71 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริ กา หรื อ 97.44 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: 5.89 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริ กา หรื อ 213.48 ล้านบาท)
ข)
ค่าวัตถุดิบและค่าพลังงานซึ� งรวมถึงนํ�ามันดิบ ไฮโดรเจน ก๊าซธรรมชาติ และไฟฟ้าสํารองเป็ นเงินประมาณ 527.17 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา หรื อ 18,979.34 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: 553.10 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริ กา หรื อ 20,052.02 ล้านบาท)
ค) 30
สัญญาเช่าดําเนิ นงานที� ดินเป็ นเงินประมาณ 1.43 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา หรื อ 51.46 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: 1.62 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา หรื อ 58.60 ล้านบาท)
รายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกีย� วข้องกัน กิจการและบุคคลที�ควบคุมหรื อถูกควบคุมโดยบริ ษทั หรื ออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกับบริ ษทั ไม่วา่ จะโดยทอดเดียวหรื อหลายทอด ทั�งทางตรงและทางอ้อม บริ ษทั ยังหมายรวมถึงบริ ษทั ใหญ่ของกลุ่มบริ ษทั บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ย่อยลําดับถัดไป กิจการและบุคคล ดังกล่าวเป็ นบุ คคลหรื อกิ จการที� เกี� ยวข้องกับ บริ ษทั บริ ษทั ร่ วมและบุ คคลที� เป็ นเจ้าของส่ วนได้เสี ยในสิ ทธิ ออกเสี ยงของบริ ษทั ซึ� งทําให้ผเู ้ ป็ นเจ้าของดังกล่าวมีอิทธิพลอย่างเป็ นสาระสําคัญเหนือกิจการ ผูบ้ ริ หารสําคัญ รวมทั�งกรรมการและพนักงานของบริ ษทั และสมาชิกในครอบครัวที�ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั�น กิจการและบุคคลทั�งหมดเป็ นบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกับบริ ษทั ในการพิจารณาความสัมพัน ธ์ระหว่างบุคคลหรื อกิจการที� เกี� ยวข้องกันซึ� งอาจมี ข�ึ นได้ตอ้ งคํานึ งถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์ มากกว่ารู ปแบบทางกฎหมาย กิจการที�เกีย� วข้องกัน Chevron South Asia Holding Pte., Ltd. บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) กลุม่ บริ ษทั เชฟรอน บริ ษทั เชฟรอน (ประเทศไทย) จํากัด บริ ษทั บี 8/32 พาร์ทเนอร์ จํากัด บริ ษทั ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) บริ ษทั เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จํากัด บริ ษทั ออเร้นจ์ เอ็นเนอร์ยี� จํากัด บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี� โซลูชนั� ส์ จํากัด บริ ษทั ปตท. สํารวจและผลิต จํากัด (มหาชน) บริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริ ษทั PTT International Trading Pte., Ltd. บริ ษทั ปตท. สผ. อินเตอร์ เนชัน� แนล จํากัด บริ ษทั ไทยโอลีโอเคมี จํากัด บริ ษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) บริ ษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด
ลักษณะความสั มพันธ์ ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ ผูถ้ ือหุน้ * กิจการที�เกี�ยวข้องกับผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ กิจการที�เกี�ยวข้องกับผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* กิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)* 51
151
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 30
รายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกีย� วข้องกัน (ต่อ) งบการเงินนี� ได้รวมรายการระหว่าง บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) กลุ่มบริ ษทั Chevron และกิจการที�เกี�ยวข้องอื�น รายการดังกล่าว ได้ทาํ ตามวิธีการและเงื�อนไขในเชิ งพาณิ ชย์ บริ ษทั ได้ซ�ื อวัตถุดิบจากบริ ษทั ใหญ่และบริ ษทั ในเครื อในราคาที� ตกลงกัน และได้ข าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมส่ วนใหญ่ให้กบั บริ ษทั ใหญ่และบริ ษทั ในเครื อในราคาที�ตกลงกัน บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) เป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่จนถึงวันที� 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558 * ภายหลังวัน ที� 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษ ทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ได้ลดสั ด ส่ วนการถือหุ้น ของบริ ษทั เหลือเพียงร้อ ยละ 5.41 ของจํานวนหุ้นทั�งหมด ดังนั�นบริ ษทั ปตท. จํากัด และบริ ษทั ที� เกี�ยวข้องกับกลุ่ม บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ไม่ถือว่าเป็ นกิ จการ ที�เกี�ยวข้องกับบริ ษทั อีกต่อไป ซึ� งหมายความว่ารายการค้าตั�งแต่วนั ที� 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เป็ นต้นไป ไม่ถือว่าเป็ นรายการค้ากับ บุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน รายการต่อไปนี� เป็ นรายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน ก)
รายได้ จากการขายสิ นค้าและบริการ หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
รายได้จากการขายสิ นค้า ให้กบั กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กลุม่ บริ ษทั เชฟรอน - บริ ษทั เชฟรอน (ประเทศไทย) จํากัด - บริ ษทั เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จํากัด - บริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิ คอล จํากัด (มหาชน) - บริ ษทั PTT International Trading PTE., Ltd. - บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) - บริ ษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
78,294,034 2,361,647,019 -
199,570,749 2,439,063,829 123,025,901
2,779,275,106 83,697,540,601 -
6,948,664,674 83,647,148,443 4,193,457,313
-
244,861,047
-
8,324,859,348
-
223,589,741 1,488,074,695
-
7,643,997,937 50,728,361,262
2,439,941,053
4,079,513 4,722,265,475
86,476,815,707
139,653,856 161,626,142,833
52
152
บริษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 30
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
รายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกีย� วข้องกัน (ต่อ) รายการต่อไปนี� เป็ นรายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (ต่อ) ก)
รายได้ จากการขายสิ นค้าและบริการ (ต่อ) หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 รายได้จากการให้บริ การ ให้กบั กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - บริ ษทั เชฟรอน (ประเทศไทย) จํากัด - บริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) - บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)
หน่ วย: บาท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558
68,695
869,547
2,441,770
29,449,389
68,695
1,459,578 1,057,109 3,386,234
2,441,770
49,634,844 35,604,414 114,688,647
รายการขายที�เกิดขึ�นกับบริ ษทั ข้างต้นเป็ นไปตามเงื�อนไขและข้อตกลงในเชิงพาณิ ชย์ซ� ึ งอ้างอิงจากราคาตลาด รายการที�เกิดขึ�นกับกิจการที�เกี�ยวข้องกันกับกลุม่ บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) เป็ นรายการถึงวันที� 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ข)
การซื�อสิ นค้าและบริการ หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 การซื�อสิ นค้ากับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กลุม่ บริ ษทั เชฟรอน - บริ ษทั บี 8/32 พาร์ทเนอร์ จํากัด - บริ ษทั ออเร้นจ์ เอ็นเนอร์ ยี� จํากัด - บริ ษทั ปตท. สํารวจ และผลิต จํากัด (มหาชน) - บริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) - บริ ษทั PTT International Trading PTE., Ltd - บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) - บริ ษทั ปตท. สผ. อินเตอร์เนชัน� แนล จํากัด - บริ ษทั ไทยโอลีโอเคมี จํากัด - บริ ษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด
หน่ วย: บาท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558
2,078,509,863 -
1,797,405,869 64,406,350 69,398,227
73,647,896,483 -
61,853,631,903 2,197,983,904 2,374,750,250
-
7,670,118
-
264,034,563
-
160,331,665
-
5,502,837,850
-
15,680,436 1,082,107,180
-
531,983,870 37,085,639,775
2,078,509,863
12,643,700 5,761,001 3,154,880 3,218,559,426
431,472,660 196,389,545 106,081,190 73,647,896,483 110,544,805,510 53
153
บริ ษัท สตาร์ ปิ โตรเลียม รีไฟน์ นิ�ง จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 30
รายการกับบุคคลหรื อกิจ การที�เกีย� วข้องกัน (ต่อ) รายการต่อไปนี� เป็ นรายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (ต่อ) ข)
การซื�อสิ นค้าและบริการ (ต่อ) หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
การซื�อบริ การกับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กลุม่ บริ ษทั เชฟรอน - บริ ษทั เชฟรอน (ประเทศไทย) จํากัด - บริ ษทั ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) - บริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) - บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ย�ี โซลูชน�ั ส์ จํากัด
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
5,277,648 300,378 -
5,255,075 300,371 2,663,068
187,298,143 10,651,215 -
180,564,606 10,350,545 91,115,596
5,578,026
708,794 287,618 9,214,926
197,949,358
24,183,122 10,231,195 316,445,064
รายการซื� อที�เกิดขึ� นกับบริ ษทั ข้างต้นเป็ นไปตามเงื�อนไขและข้อตกลงในเชิงพาณิ ชย์ซ� ึ งอ้างอิงจากราคาตลาด รายการที�เกิดขึ�นกับกิจการที�เกี�ยวข้องกันกับกลุม่ บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) เป็ นรายการถึงวันที� 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ค)
ค่าตอบแทนคณะกรรมการและผู้บริหาร ผูบ้ ริ ห ารของบริ ษทั รวมถึงกรรมการ (ไม่ว่าจะทําหน้าที� ในระดับบริ หารหรื อไม่ ) ค่ าตอบแทนที�จ่ายหรื อค้างจ่ายสําหรับ ผูบ้ ริ หาร มีดงั นี� หน่ วย: ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
- เงินเดือนและผลประโยชน์ ระยะสั�นอื�น - ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ
หน่ วย: บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
4,939,671 59,208 4,998,879
5,659,250 40,658 5,699,908
175,475,125 2,098,414 177,573,539
194,685,278 1,391,433 196,076,711
54
154
บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ในปี 2559 ผู้ถือหุ้นได้อนุมัติแต่งตั้งบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด ท�ำหน้าที่ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทฯ ได้จ่ายค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี จ�ำนวนรวม 3,069,521 บาท ซึ่งรวมถึงค่าใช้จ่ายอื่น สรุปได้ดังนี้ รายการ
จ�ำนวน (บาท)
ค่าสอบบัญชี
2,881,500
ค่าใช้จ่ายอื่น
188,021
รวม
3,069,521
155
ข้อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท
บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นง่ิ จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อย่อ
ทุนจดทะเบียน
SPRC
ประเภทธุรกิจ บริษทั ฯ เป็นหนึง่ ในผูป้ ระกอบกิจการโรงกลัน่ น�ำ้ มันชัน้ น�ำ และผลิต ผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงในประเทศไทย และในภูมภิ าค เอเชียแปซิฟิค ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 2535 โรงกลัน่ น�ำ้ มันของบริษทั ฯ เป็นโรงกลัน่ น�ำ้ มันแบบทีม่ หี น่วยปรับปรุง คุณภาพน�้ำมัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีก�ำลังการกลั่น น�้ำมันดิบ 165,000 บาร์เรลต่อวัน คิดเป็นก�ำลังการผลิตประมาณ ร้อยละ 13.4 ของก�ำลังการกลั่นน�้ำมันดิบทั้งหมดของประเทศไทย บริ ษั ท ฯ ตั้ ง อยู ่ ที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด ซึ่ ง เป็ น นิ ค ม อุตสาหกรรมปิโตรเคมีชั้นน�ำของประเทศไทย และสนับสนุนความ ได้เปรียบในการแข่งขันของบริษัทฯ ผลิตภัณฑ์หลักของบริษทั ฯประกอบด้วย ก๊าซปิโตรเลียมเหลว นำ�้ มัน เบนซินไร้สารตะกั่วเกรดพิเศษและเกรดธรรมดา น�้ำมันเชื้อเพลิง อากาศยาน และน�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว โรงกลั่นน�้ำมันของเราได้ถูกออกแบบมาให้มีความสามารถและ ความยืดหยุน่ ในการผลิตน�ำ้ มันเบนซิน ท�ำให้เราสามารถผลิตนำ�้ มัน ชนิดเบนซินได้มากกว่าโรงกลั่นอื่นในประเทศไทย
เลขทะเบียนบริษัท 0107555000155
ที่อยู่
เลขที่ 1 ถนนไอ-3บี ตำ�บลมาบตาพุด อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์: +66 (0) 38 699 000 โทรสาร: +66 (0) 38 699 999
เวบไซต์
www.sprc.co.th
30,004,442,705 บาท ประกอบด้วยหุน้ สามัญ 4,335,902,125 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6.92 บาท
ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว
30,004,442,705 บาท ประกอบด้วยหุน้ สามัญ 4,335,902,125 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6.92 บาท
ตลาดรอง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์: +66 (0) 38 699 887 เวบไซต์: http://investor.sprc.co.th จดหมายอิเล็กทรอนิกส์: ir@sprc.co.th
นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : +66 (0) 2 009 9000 โทรสาร : +66 (0) 2 009 9991 โทรศัพท์ ศูนย์รับเรื่องตลาดหลักทรัพย์ฯ: +66 (0) 2 009 9999 เวบไซต์: http://www.set.or.th/tsd จดหมายอิเล็กโทรนิกส์: SETContactCenter@set.or.th
ผู้สอบบัญชี บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด 179/74-80 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120
วันทีเ่ ริม่ ท�ำการซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ วันที่ 8 ธันวาคม 2558
156
รายละเอียดเกี่ยวกับทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออก หลักทรัพย์เพิ่มเติม ได้จากแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทฯ ที่แสดงไว้ ใน www.sec.or.th หรือ www.sprc.co.th
บร�ษัท สตาร ป โตรเลียม ร� ไฟน นิ�ง จำกัด (มหาชน)
1 ถนนไอ - สามบี ตำบลมาบตาพ�ด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท +66 (0) 38 699 000 โทรสาร +66 (0) 38 699 999 www.sprc.co.th