สารบัญ สารจากประธานกรรมการ สารจากฝายบร�หาร นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปจจัยความเสี่ยง ขอมูลทั�วไปและขอมูลสําคัญอื่น รายช�่อผูถือหุนรายใหญ นโยบายการจายเง�นปนผล โครงสรางการจัดการ การกํากับดูแลกิจการ รายงานของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและ สงเสร�มกิจการเพ��อสังคมประจําป 2559 ความรับผิดชอบตอสังคม การควบคุมภายในและการบร�หารจัดการความเสี่ยง รายการระหวางกัน ขอมูลทางการเง�นที่สําคัญ การว�เคราะหและคําอธิบายของฝายจัดการ งบการเง�น คณะกรรมการบร�ษัทฯ ฝายบร�หาร สํานักงานสาขา
3 4 6 14 40 46 52 55 56 70 94 96 98 106 124 129 143 196 204 210
ผูลงทุนสามารถศึกษาขอมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพยเพิ่มเติมไดจาก แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) ของบริษัทฯ ที่แสดงไวใน www.sec.or.th หรือ www.thaiairways.com
2
รายงานประจําป 2559
สารจากประธานกรรมการ ป 2559 เปน ปที่การบินไทยไดดําเนินการตามแผนปฏิรูป ขั้นที่ 2 “การสรางความแข็งแกรงในการแขงขัน” ซึ่งประกอบ ดวย 4 แผนกลยุทธหลัก คือ แผนหารายได แผนลดคาใชจาย แผนการสรางขีดความสามารถอยางยั่งยืน และแผนสราง ความเปนเลิศในการบริการลูกคา โดยการบินไทยไดมุงเนน การปรับปรุงระบบสําคัญที่เปนรากฐาน (Foundation) ของ การดําเนินการ เพือ่ เสริมสรางศักยภาพของการบินไทย ไดแก การปรับปรุงระบบบริหารเครือขายเสน ทางบินใหม ทําให สามารถจัดทําตารางบิน (TPI) ไดลวงหนาอยางรวดเร็ว และ ทําใหการบินไทยสามารถวางโครงสรางเครือขายเสนทางบิน ที่สนับสนุนการเปนศูนยกลางการบิน (Bank Structure) ซึ่ง จะทําใหทาอากาศยานสุวรรณภูมิกลายเปนศูนยกลาง (Hub) การบินหลักของภูมภิ าค รวมทัง้ ไดเพิม่ เครือขายเสนทางบินและ ความถี่ของเที่ยวบินไปยุโรปและตะวันตก (เตหะราน มอสโคว ภูเก็ต-แฟรงคเฟรต ) และเพิม่ ความถีข่ องเทีย่ วบินไปลอนดอน บรัสเซลส ออสโล นอกจากนี้ การบินไทยยังไดปรับปรุงระบบบริหารราคาใหม ทําใหปรับปรุงราคาไดอยางรวดเร็วทันกับคูแขง อีกทั้งติดตั้ง ระบบเชื่อมโยงการบริการในเที่ยวบินและภาคพื้น เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริการจากการเชื่อมตอขอมูลการบริการใน เทีย่ วบิน การบริการภาคพืน้ และการซอมบํารุงเครือ่ งบิน ซึง่ จะ ทําใหแกไขปญหาในการบริการไดรวดเร็ว เหมาะสม และนําไป ตอยอดการปรับปรุงบริการตอไป สําหรับการขายผานเว็บไซต การบินไทยไดปรับปรุงระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาอยาง ตอเนื่องและอยูระหวางการนําระบบใหมมาใชภายในป 2560 สําหรับการเสริมความแข็งแกรงของฝูงบิน และการปรับปรุง ผลิตภัณฑในเครือ่ งบิน การบินไทยไดรบั มอบเครือ่ งบินรุน ใหม Airbus A350-900 XWB ที่มีความสะดวกสบายและทันสมัย โดยจะไดทยอยรับมอบเครือ่ งบินรุน เดียวกันในป 2560 จํานวน 5 ลํา รวมทัง้ การบินไทยไดปรับปรุงบริการในชัน้ ธุรกิจ โดยมุง บูรณาการการบริการในทุกจุดสัมผัสสูความเปนเลิศอยาง ครบวงจร หรือ Magic Service Ring โดยเนนการใหบริการ แกผูโดยสารตั้งแตเริ่มใชบริการของการบินไทยจนสิ้นสุดการ เดินทาง เพื่อใหการเดินทางเปนไปอยางราบรื่น สรางความ ประทับใจใหกับผูโดยสาร อีกทั้งการบินไทยไดรับพนักงาน ตอนรับบนเครือ่ งบินรุน ใหมจาํ นวน 600 คน และปรับหลักสูตร ในการอบรมที่มุงเนนการสรางจิตสํานึกในการบริการตาม บทบาทและหนาที่ โดยคํานึงความปลอดภัยและคุณภาพในการ บริการสูงสุด ทั้งนี้ ผลลัพธของการปรับปรุงบริการมาอยาง ตอเนื่อง ทําใหผลการสํารวจความคิดเห็นของนักเดินทางและ ผูโดยสารทั่วโลกของหลายสถาบัน แสดงวาผูใชบริการไดเห็น ความเปลี่ยนแปลงของการบินไทยในทางที่ดีขึ้น และบริษัทฯ
ไดรับรางวัลตางๆ มากมาย อาทิ รางวัลอันดับที่ 1 ประเภท สายการบินที่มีการปรับปรุงคุณภาพการบริการดีขึ้นมากที่สุด สายการบินที่ใหบริการ สปาเลานจยอดเยีย่ ม จากสกายแทรกซ (Skytrax) และรางวัลสายการบินทีน่ กั ทองเทีย่ วจีนชืน่ ชอบทีส่ ดุ ประจําป 2559 จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย เปนตน ซึ่งผลงานที่เกิดขึ้นในป 2559 นี้ เปนผลมาจากความรวมมือ รวมใจกันของคณะกรรมการบริษัทฯ ฝายบริหาร และพนักงาน ที่ไดทมุ เทในการดําเนินการตามแผนปฏิรปู และจากลูกคาที่ได ใหการสนับสนุน เลือกใชบริการของการบินไทย รวมถึงผูถ อื หุน ทุกทานที่ใหความไววางใจในการลงทุนในบริษัท การบินไทย นอกจากนี้ ในป 2559 การบินไทยยังไดปรับปรุงกระบวนการ ทํางานของหลายหนวยงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหมากขึ้น และยังคงกํากับดูแลบริหารตนทุน และคาใชจา ยอยางเขมงวด โดยดําเนินการอยางตอเนื่องไปในป 2560 และไดบริหาร จัดการดานการเงิน เพื่อจัดการเงินสดคงเหลือใหอยูในระดับ ที่เหมาะสม และปรับโครงสรางเงินกูใหเหมาะสมกับกระแส เงินสดคงเหลือของแตละสกุลเงิน ซึ่งมีผลทําใหตนทุนทาง การเงินลดลงในระยะยาว และไดกําหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติ งานของพนักงานใหสอดคลองกับผลดําเนินงานตามแผนปฏิรปู เพื่อใหมั่นใจวาพนักงานที่ใหความรวมมือตามแผนปฏิรูปจะได รับผลตอบแทนอยางเหมาะสม ในป 2560 นี้ การบินไทยไดกาวเขาสูแผนปฏิรูปขั้นที่ 3 คือ การเติบโตและมีกําไรอยางยั่งยืน ซึ่งยังมีเรื่องที่ตองดําเนิน การอีกมากเพื่อจะนําพาการบินไทยไปสูการเปนสายการบิน ชั้นนําของโลก สุดทายนี้ ผมในนามของคณะกรรมการบริษั ทฯ ฝายบริหาร และพนักงานการบินไทยขอขอบพระคุณ ทานผูมีอุปการคุณ ทุกทาน ที่ใหการสนับสนุนการดําเนินงานของบริษัทฯ มาอยาง ตอเนื่อง และผมหวังวาจะไดรับการสนับสนุนจากทุกทานใน ป 2560 เชนเดียวกับที่ผานมาในป 2559 ดวยความเชื่อมั่นวา การบินไทยจะสามารถเติบโตไดอยางมั่นคง และทะยานสู ทองฟาไดอยางสงางาม ซึง่ คณะกรรมการบริษัทฯ ฝายบริหาร และพนักงานทุกคนจะไดรวมมือกันอยางเต็มที่ เพื่อใหการ ดําเนินการบรรลุเปาหมายของบริษัทฯ ตอไป
(นายอาร�พงศ ภูชอุม) ประธานกรรมการ
บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
3
สารจาก า ร าร ป 2559 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ไดดาํ เนินการตาม แผนปฏิรปู ขัน้ ที่ 2 ประกอบดวยกลยุทธหลัก 4 กลยุทธ และ 20 แผนงานหลักทีส่ อดคลองกัน โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ สรางความ แข็งแกรงในการแขงขัน (Strengt Bui ding) เพื่อพรอมตอสู ในเวทีระดับโลก จากการที่การบินไทยไดดําเนินการตามแผน ปฏิรปู และไดมกี ารพั นาและปรับปรุงการดําเนินงานทีส่ าํ คัญ ตางๆ ไดแก การจัดวางระบบบริหารเครือขายเสนทางบิน การเพิม่ เครือขายเสนทางบินและความถี่ การวางระบบบริหารราคา การยกระดับการใหบริการในชัน้ ธุรกิจ การพั นาและปรับปรุง การบริการ (Service Ring I rove ent) ซึ่งตองปรับปรุง ใหครบทุกจุดบริการสําหรับผูโดยสารทุกชั้นบริการ รวมทั้งมี การปรับปรุงกระบวนการทํางานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และ การบริหารจัดการดานการเงินทีเ่ หมาะสมนัน้ ทําใหสถานการณ กลับมามีกําไรสุทธิเปนเงิน 4 ลานบาท เปนครั้งแรกหลังจาก ขาดทุนมาตั้งแตป 2556 ทั้งนี้ การบินไทยคงดําเนินการตาม แผนปฏิรปู ตอไป โดยจะพิจารณาปรับแผนกลยุทธใหเหมาะสม ตามสถานการณการแขงขันทางธุรกิจการบินในปจจุบัน ทั้งนี้ ภายใตการติดตามการประเมินผลอยางใกลชดิ โดยหนวยงาน ใดที่ปรับเปลี่ยนตามแผนปฏิรูปแลวประสบความสําเร็จก็ตอง รักษามาตรฐานไว และพั นาตอไปอยางตอเนื่อง เพื่อเปน ตนแบบที่ดีใหกับหนวยงานอื่นตอไป ในชวงเวลาเดียวกันของการปฏิรูปองคกร ประเทศไทยตอง เผชิญกับวิก ต I A ซึ่งนําไปสูการยกระดับมาตรฐานความ ปลอดภัยทางการบิน การบินไทยในฐานะสายการบินแหงชาติ พรอมที่จะพั นาองคกร รวมทั้งใหการสนับสนุนและความ รวมมือกับสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท ) ในกระบวนการทบทวนการออกใบรับรองการเดิน อากาศ (A Re-certi ication) ใหเปนไปตามก ระเบียบ ขอกําหนด ตามมาตรฐานการบินใหม ที่ กพท รวมกับ ivi Aviation Aut ority Internationa AAi พั นาขึน้ เพือ่ ใหประเทศไทย สามารถแกไขขอบกพรองที่มีนัยสําคัญดานความปลอดภัย
ตามโครงการตรวจสอบการกํากับดูแลความปลอดภัยของ องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (Internationa ivi Aviation rgani ation I A ) ทั้งนี้ ตลอดเวลาที่ผานมา การบินไทยไดมงุ เนนในเรือ่ งการรักษาคุณภาพ ความปลอดภัย ความมัน่ คงและมาตรฐานการบินใหเปนไปตามมาตรฐานสากล ในป 2560 การบินไทยจะกาวสูแผนปฏิรูประยะที่ 3 คือ การเติบโตอยางยั่งยืน (Sustainab e ro t ) โดยจะมุงเนน เรื่องการหารายไดจากการขนสงผูโดยสาร การบริหารจัดการ หนวยธุรกิจ ไดแก การซอมบํารุงอากาศยาน การใหบริการ ภาคพืน้ ครัวการบิน การบริการขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ อีกทั้งจะตองเรงบริหารจัดการทรัพยสินที่ ไมมีความจําเปน ในการถือครองทั้งอสังหาริมทรัพย และสังหาริมทรัพย นอกจากนี้ การบิ นไทยยั ง มี โ ครงการลงทุ น ที่ สํ า คั ญ คื อ โครงการพั นาศู น ย ซ อ มอากาศยาน ณ ท า อากาศยาน นานาชาติอตู ะเภา ซึง่ ถือไดวา เปนโอกาสทางธุรกิจทีก่ ารบินไทย ไดรับความไววางใจจากรัฐบาลใหดําเนินการ โดยเปนหนึ่งใน แผนพั นาพื้นที่ฝงทะเลดานตะวันออก เนื่องดวยการบินไทย มีความพรอมและมีบุคลากรที่มีศักยภาพ ทั้งนี้ การบินไทย มุงมั่นจะพั นาโครงการดังกลาวใหเกิดผลสําเร็จขึ้นอยางเปน รูปธรรม เพือ่ ทีจ่ ะรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมการบิน ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก และเอื้อใหเกิดการพั นาไปสูงาน บริการดานอื่นๆ อาทิ ธุรกิจบริการภาคพื้น ธุรกิจคลังสินคา และการขนสงสินคา สุดทายนี้ ดิ ันและฝายบริหาร และพนักงานการบินไทย ขอขอบพระคุณทานผูมีอุปการคุณทุกทาน ที่ใหการสนับสนุน การบินไทยดวยดีเสมอมา จึงขอใหมั่นใจวา ฝายบริหาร และพนักงานมีเปาหมายรวมกัน ที่จะทําใหการบินไทยเปน สายการบินอันดับ 1 ใน 5 ของโลกอยางยั่งยืน
(นางอุษ ย
ง ิง ก )
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห ห น ยธุรกิจบร�การการบิน รักษาการกรรมการ ูอําน ยการ ห
4
รายงานประจําป 2559
บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
5
นโยบายและภาพรวม
การประกอบธุรกิจ ความเปนมาของบริษัทฯ
รัฐบาลไทยในป 2503 ไดจดั ตัง้ บริษัท การบินไทย จํากัด เพือ่ ใหประเทศไทย มีสายการบินแหงชาติที่ ใหบริการในระดับสากล โดยการรวมทุนระหวาง บริษัท เดินอากาศไทย จํากัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียนแอรไลน ซิสเต็ม มีวัตถุประสงคแรกเริ่มเพื่อดําเนินธุรกิจการบินระหวางประเทศ โดย บริษัทฯ ไดรับการสนับสนุนทางดานการบริหาร และดานเทคนิค จากสายการบินสแกนดิเนเวียนแอรไลน ซิสเต็ม
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2503 บริษัทฯ ไดจดทะเบียนเปนบริษัท จํากัด ดวยทุนจดทะเบียนแรกเริ่ม 2 ลานบาท มีบริษั ท เดินอากาศไทย จํากัด ถือหุนรอยละ 0 และสายการบิน สแกนดิเนเวียนแอรไลน ซิสเต็ม ถือหุนรอยละ 30 ของทุน จดทะเบียน การดําเนินการของบริษัทฯ ประสบผลสําเร็จดวยดี หลังการ กอตั้งในวันที่ 30 มีนาคม 2520 สายการบินสแกนดิเนเวียน แอรไลน ซิสเต็ม ไดโอนหุน ที่มีอยูทั้งหมดใหแก บริษั ท เดินอากาศไทย จํากัด ทําใหการรวมทุนสิน้ สุดลง และบริษัทฯ ไดทําการเพิ่มทุนโดยมีกระทรวงการคลังเขาเปนผูถือหุน ตอมาเมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2531 รัฐบาลในสมัยนายกรัฐมนตรี ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดรวมกิจการการบิน ภายในประเทศที่บริษั ท เดินอากาศไทย จํากัด ใหบริการ เขากับกิจการของบริษัทฯ ตามมติคณะรัฐมนตรีฝา ยเศรษฐกิจ สงผลใหเงินทุนจดทะเบียนของบริษั ทฯ เพิ่มขึ้นเปน 2 230 ลานบาท โดยมีกระทรวงการคลังเปนผูถือหุนรายใหญ จากการขยายตัวของธุรกิจอยางตอเนื่อง บริษั ทฯ ไดเขา จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 19 กรก าคม 2534 โดยไดแปลงกําไรสะสมใหเปนทุนของ บริษั ทฯ ทําใหทุนจดทะเบียนเพิ่มขึ้นเปน 13 000 ลานบาท และไดทําการเพิ่มทุนใหมอีกจํานวน 1 000 ลานบาทในป 2535 และ 3 000 ลานบาท ในป 2546 และ 4 3 09 6 0 บาท ในป 2553
เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ ไดจดั ตัง้ บริษัท ไทยสมายล แอรเวย จํากัด ดวยทุนจดทะเบียน 1 00 ลานบาท ชําระ แลวรอยละ 100 เปนเงิน 1 00 ลานบาท โดยมีบริษัทฯ ถือ หุนรอยละ 100 สายการบินไทยสมายล ไดเริ่มดําเนินการบิน ตั้งแตวันที่ 10 เมษายน 255 ดวยรหัสสายการบิน W โดยทําการบินจากทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งในชวงแรก ทําการบินเสนทางภายในประเทศ ทัง้ หมด 10 เสนทาง ตอมา เมื่อวันที่ สิงหาคม 255 สายการบินไทยสมายล ไดเพิ่ม การใหบริการจากทาอากาศยานดอนเมือง โดยทําการบิน เ พาะเสนทางภายในประเทศ 3 เสนทาง และตั้งแตวันที่ 25 ตุลาคม 255 สายการบินไทยสมายล ไดเพิ่มการใหบริการ ในเสนทางระหวางประเทศ
ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษั ทฯ มีทุนจดทะเบียน 26 9 9 009 500 บาท มีทุนชําระแลว 21 2 19 1 0 บาท มีกระทรวงการคลังและธนาคารออมสินถือหุนคิดเปนรอยละ 53 16 สวนที่เหลือรอยละ 46 4 ถือหุนโดยประชาชนทั่วไป ทั้ ง ในประเทศและต า งประเทศ ซึ่ ง รวมถึ ง พนั ก งานของ บริษัทฯ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สายการบินไทยสมายล อํานวย ความสะดวกใหแกผูโดยสารโดยใหบริการทั้งทาอากาศยาน สุ ว รรณภู มิ แ ละท า อากาศยานดอนเมื อ ง โดยมี เ ที่ ย วบิ น ระหวางประเทศและภายในประเทศบริการจากทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ 20 เสนทาง และเที่ยวบินภายในประเทศบริการ จากทาอากาศยานดอนเมือง 3 เสนทาง
จากบริบทแรกในการสรางธุรกิจการบินที่ไดสงั่ สมประสบการณ และกลยุทธในการบริหารองคกรจนสามารถเพิ่มทุน และ สามารถจดทะเบียนเขา ตลาดหลัก ทรัพ ย ป จ จุ บั น บริ ษั ท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนสายการบินแหงชาติ ของประเทศไทย มีสถานะเปนรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวง คมนาคม ประกอบธุรกิจการบริการขนสงทางอากาศทั้ง ภายในประเทศและระหวางประเทศ ณ สํานักงานใหญที่ กรุงเทพมหานคร โดยมีฐานปฏิบัติการบินที่ทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ เปนศูนยกลางของเครือขายการขนสง ประกอบ ด ว ยการให บ ริ ก ารขนส ง ทางอากาศ ได แ ก การขนส ง ผูโดยสาร การขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ และมีธุรกิจที่ เกี่ยวของ คือ บริการคลังสินคา บริการลูกคาภาคพื้น บริการ อุปกรณภาคพืน้ ครัวการบิน และบริการซอมบํารุงอากาศยาน
วิสัยทัศน (Vision)
เปนสายการบินที่ลูกคาเลือกเปนอันดับแรก ใหบริการดีเลิศ ดวย “เสนหความเปนไทย” The First Choice Carrier with Touches of Thai การบินไทย มุงมั่นที่จะเปนสายการบินที่ลูกคาเลือกใชบริการ เปนอันดับแรก ดวยการสรางความพึงพอใจสูงสุดแกลูกคา ให เ หนื อ ความคาดหมาย และสร า งความผู ก พั น ที่ ยั่ ง ยื น ระหวางบริษั ทฯ กับลูกคา โดยการสรางประสบการณการ เดินทางที่ราบรื่นและประทับใจดวยเอกลักษณความเปนไทย ใหแกลูกคาทุกคนอยางตอเนื่อง ดวยบริการที่ดีเลิศและ สมํ่าเสมอ ( onsistency o Service xce ence) ในทุกจุด สัมผัสของการใหบริการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
7
พันธกิจ (Mission)
พันธกิจหลักของบริษั ทฯ ประกอบดวย พันธกิจตอลูกคา ผูถือหุน พนักงาน และสังคม ดังนี้ ใหบริการขนสงทางอากาศอยางครบวงจรทั้งภายในและ ระหวางประเทศ โดยมุง เนนในเรือ่ งมาตรฐานความปลอดภัย ความสะดวกสบาย และการบริการทีม่ คี ณุ ภาพดวยเอกลักษณ ความเปนไทย เพื่อสงมอบผลิตภัณฑที่มีคุณคาและความ นาเชื่อถือสูง รวมทั้งเสริมสรางความประทับใจและความ สัมพันธที่ดีกับลูกคา มีการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามมาตรฐานสากล เพื่อสราง การเติบโตอยางยั่งยืนใหแกองคกรและสรางผลตอบแทน จากการลงทุนที่สูงใหแกผูถือหุน เปนองคกรแหงการเรียนรูที่สรางความแข็งแกรงใหกับ พนักงาน เพื่อใหทํางานไดอยางเต็มศักยภาพ ตระหนักถึง การใหความสําคัญแกลูกคา เสริมสรางขีดความสามารถ ทักษะ และความรับผิดชอบ ตลอดจนเพิ่มพูนความผูกพัน ตอองคกร ชวยเหลือ สงเสริม และแสดงความรับผิดชอบตอสังคม และสิ่งแวดลอม ในฐานะเปนสายการบินแหงชาติ ทัง้ นี้ ตองดําเนินการภายใตการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ตามหลัก ธรรมาภิบาล
คุณคาหลัก (Core Values)
เพื่อใหบริษั ทฯ สามารถเติบโตอยางแข็งแกรงและยั่งยืน และสามารถแขงขันไดในสภาวะแวดลอมทางธุรกิจที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว บริษั ทฯ สงเสริมและยึดมั่นใน คุณคาหลักสําคัญ 3 ประการ ไดแก 1 มุงเนนการสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา ( usto er Satis action) 2 ใหการบริการระดับโลก (Wor d ass Services) 3 สรางคุณคาในทุกมิติ ( a ue reation)
กลยุทธ
ในป 255 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) (บริษัทฯ) ประสบปญหาเรือ่ งความสามารถในการแขงขันลดลง มีจาํ นวน เสนทางบินทีม่ ผี ลประกอบการขาดทุนมากกวาทีม่ กี าํ ไร ฝูงบิน มีแบบเครื่องบินหลากหลายทําใหมีตนทุนในการบํารุงรักษา สูงกวาคาเ ลี่ยอุตสาหกรรม การบริหารจัดการตน ทุนใน ภาพรวมไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร การบริหารจัดการและ พั นาบุคลากรยังไมเหมาะสม ประกอบกับสภาวะการแขงขัน ของธุรกิจการบินในภูมิภาคมีความรุนแรง และเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว จึงทําใหบริษั ทฯ ประสบปญหาขาดทุนอยาง ตอเนื่อง และยังไมสามารถฟนตัว คณะกรรมการและฝาย บริหารของบริษัทฯ จึงไดรวมกันพิจารณากําหนดแผนปฏิรูป องคกรระยะ 3 ป (พ ศ 255 -2560) โดยมีเปาหมายในการ 8
รายงานประจําป 2559
ลดการขาดทุนใหไดอยางรวดเร็ว และสรางความแข็งแกรง ในการแขงขันเพื่อใหบริษัทฯ สามารถดําเนินการภายใตการ เปลีย่ นแปลงของอุตสาหกรรมการบินไดอยางเติบโตและยัง่ ยืน
แผนปฏิรูประยะที่ 1 (พ.ศ. 2558)
แผนปฏิรูประยะที่ 1 เริ่มดําเนินการในป 255 ประกอบดวย กลยุทธหลัก 6 กลยุทธ 21 แผนงานหลักทีส่ อดคลองกัน โดยมี วัตถุประสงคเพื่อลดการขาดทุนใหไดอยางรวดเร็ว 6 กลยุทธ ดังกลาวประกอบดวย 1 กลยุทธการปรับปรุงเครือขายเสนทางบิน 2 กลยุทธการปรับปรุงฝูงบิน 3 กลยุทธการพาณิชย 4 กลยุทธการปรับปรุงการป ิบัติการและตนทุน 5 กลยุทธการปรับปรุงการบริหารทรัพยากรบุคคล 6 กลยุทธการบริหารจัดการบริษั ทในเครือและกลุมธุรกิจ ของบริษัทฯ บริษัทฯ ไดเรงดําเนินการตามแผนปฏิรูป ระยะที่ 1 โดยปด สถานีและลดเที่ยวบินที่ไมทํากําไร ปลดประจําการเครื่องบิน ที่มีอายุการใชงานสูงเกินอายุเ ลี่ยของอุตสาหกรรม เพื่อลด แบบและชนิดของเครื่องบินใหนอยลง รวมทั้งลดคาใชจาย ดานบุคลากร และคาใชจายอื่นที่เกี่ยวของกับการปดสถานี และลดเที่ยวบิน เรงขายเครื่องบินที่ปลดระวาง จัดทําตัวชี้ผล การปฏิบัติงาน ( PI) เพื่อจะใหผลตอบแทนที่สอดคลองกับ ผลการปฏิบัติงาน
แผนปฏิรูประยะที่ 2 (พ.ศ. 2559)
ป 2559 บริษัทฯ ไดดําเนินการตามแผนปฏิรูประยะที่ 2 ซึ่ง ประกอบดวยกลยุทธหลัก 4 กลยุทธ และ 20 แผนงานหลักที่ สอดคลองกัน โดยบางแผนงานเปนการดําเนินการตอเนือ่ งจาก แผนปฏิรูประยะที่ 1 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางความ แข็งแกรงในการแขงขัน (Strengt Bui ding) ซึ่ง 4 กลยุทธ ดังกลาวประกอบดวย การหารายไดที่ Aggressive การลด ค าใช จ ายและเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การสร าง a abi ity เพื่อความยั่งยืน และการสรางความเปนเลิศในการบริการ ลูกคา บริษัทฯ ไดดําเนินการตามแผนปฏิรูประยะที่ 2 โดย ปรับปรุงระบบหลักที่เปนรากฐาน (Foundation) ในการ ดําเนินการของบริษัทฯ เพื่อเสริมสรางศักยภาพของบริษัทฯ ไดแก วางระบบบริหารเครือขายการบิน เพือ่ ใหบริษัทฯ สามารถ สร า งเครื อ ข า ยการบิ น ที่ ทํ าให ท า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ กลายเปนศูนยกลางการบินของภูมภิ าค ระบบบริหารการจัดหา รายได เพื่อพั นาประสิทธิภาพในการหารายได ปรับปรุง ระบบการขายพาณิชยอิเล็กทรอนิกส อีกทั้งไดปรับปรุงการ บริการ เพื่อเสริมสรางความเปนเลิศในการใหบริการ โดยยก ระดับการใหบริการ ผลิตภัณฑ และอาหารที่ใหบริการในชั้น ธุรกิจ รวมถึงปรับปรุงกระบวนการการทํางานของฝายตางๆ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพใหมากขึน้ และลดตนทุนการดําเนินการ
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
เชน ปรับปรุงกระบวนการบริการในชัน้ ประหยัด กระบวนการ การทํางานของหนวยธุรกิจพาณิชยสินคาและไปรษณียภัณฑ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ บริหารตนทุน และกํากับดูแลคาใชจา ย อยางเขมงวด และมีการกําหนดคาตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานใหสอดคลองกับผลการดําเนินงานตามแผนปฏิรปู และเตรียมคาตอบแทนใหพนักงานของหนวยงานที่สามารถ ลดคาใชจายที่ไมใชคาใชจายนํ้ามัน ทั้งนี้ การดําเนินการตาม แผนปฏิรปู มีการกํากับดูแลอยางตอเนือ่ งและใกลชดิ โดยคณะ กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูปองคกร ผานสํานัก บริหารการปฏิรูปบริษั ทฯ โดยมีการติดตามการดําเนินงาน รายสัปดาห และคณะกรรมการบริษัท บริษัทฯ ติดตามผล การดําเนินการทุกเดือน
แผนปฏิรูประยะที่ 3 (พ.ศ. 2560)
การดําเนินการแผนปฏิรปู ระยะที่ 3 (พ ศ 2560) มีวตั ถุประสงค เพื่อการเติบโตอยางยั่งยืน (Sustainab e ro t ) และกลับ
มาทํากําไรอยางยั่งยืนดวย โดยจะมุงเนนเรื่องการหารายได จากการขนสงผูโดยสาร การบริหารจัดการหนวยธุรกิจ ไดแก การซอมบํารุงอากาศยาน การใหบริการภาคพื้น ครัวการบิน การบริการขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ อีกทั้งจะตอง เรงขายเครื่องบินที่ปลดประจําการแลว และบริหารจัดการ ทรัพยสนิ ที่ไมมคี วามจําเปนในการถือครองทัง้ อสังหาริมทรัพย ในประเทศและตางประเทศ ในการดําเนินการแผนปฏิรูปป 2560 จะเปนสวนหนึ่งของแผนยุทธศาสตร 5 ป ของบริษัทฯ และไดมกี ารปรับปรุงแผนปฏิรปู ใหมคี วามเหมาะสม โดยปรับ กลยุทธเปน 6 กลยุทธ และ 16 แผนงานหลัก โดยแบงเปน แผนปฏิรูปที่ดําเนินการตอเนื่องจากป 2559 จํานวน 12 แผน และแผนดําเนินการสําคัญของแผนยุทธศาสตรที่ตองติดตาม อยางใกลชิดจํานวน 4 แผน ทั้งนี้ กลยุทธทั้ง 6 กลยุทธ มีดังนี้ 1 กลยุทธพั นาเครือขายการบินที่แขงขันไดและทํากําไร และลดความซับซอนของฝูงบิน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
9
2 กลยุทธเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันและเสริมสราง รายได 3 กลยุทธสรางความเปนเลิศในการใหบริการ (Service Ring) 4 กลยุ ท ธ มี ต น ทุ น ที่ แ ข ง ขั น ได และการดํ า เนิ น การมี ประสิทธิภาพ 5 กลยุทธสรางวั นธรรมองคกรที่สนับสนุนความยั่งยืน และพั นาบุคลากรใหมีคุณภาพดีเยี่ยม 6 กลยุทธบริหารบริษั ทในเครือและกลุมธุรกิจ และพั นา กลยุทธธุรกิจใหมเพื่อความยั่งยืน
การเปลี่ยนแปลงลักษณะการประกอบธุรกิจ ของปที่ผานมา
• การบริหารจัดการดานการเงิน - ในป 2559 บริษั ทฯ ไดบริหารจัดการดานการเงินแบบ องครวม โดยพิจารณาในดานการบริหารเงินสด โครงสราง เงินกูยืม ตลอดจนการบริหารความเสี่ยงราคานํ้ามันอยาง 10 รายงานประจําป 2559
มีความคลองตัวและสอดคลองกับสถานการณราคานํ้ามัน ในตลาดโลก - ดานการบริหารเงินสด บริษั ทมีการบริหารกระแสเงินสด คงเหลือใหอยูในระดับที่เหมาะสม โดยพิจารณาประกอบ กับวงเงินสินเชื่อระยะสั้นที่มีอยูกับสถาบันการเงินตางๆ มี การกระชับจํานวนบัญชีที่ใชงานจริงๆ เทานัน้ ทําใหเงินสด โดยเ ลี่ ย ของบริ ษั ท ลดลงสามารถนํ า ไปชํ า ระคื น หนี้ ระยะสั้นและลดคาใชจายดอกเบี้ยของบริษัทได - บริษัทฯ มีการปรับโครงสรางเงินกูย ม ื โดยปรับใหสอดคลอง กับรายไดและคาใชจายหลากหลายสกุลเงินที่มีมากกวา 50 สกุลเงิน โดยมุงเนนการหลีกเลี่ยงการกอหนี้หรือเพิ่ม คาใชจา ยในสกุลเงิน S เนือ่ งจากบริษัทฯ มีภาระคาใชจา ย เปน S มากอยูแลว บริษั ทฯ ไดดําเนินการบริหาร ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนแบบ สมดุล ( atura Hedging) คือจัดการใหรายจายหรือการ ชําระคืนหนีเ้ ปนสกุลเงินเดียวกันกับรายไดมากทีส่ ดุ โดยมี
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
การปรับโครงสรางเงินกู ใหเหมาะสมกับกระแสเงินสด คงเหลือของแตละสกุลเงิน โดยใชเครื่องมือทางการเงิน ไดแก ross urrency S a ( S) และ หรือ Interest Rate S a (IRS) ตามความเหมาะสมของตลาดโดย พิจารณาสกุลเงินที่เปนประโยชนแกบริษัทฯ มากที่สุด - การจัดการดานการเงินเหลานีม ้ ผี ลทําใหคา ใชจา ยดอกเบีย้ ของบริษัทฯ ลดลง 10 จาก 5 9 พันลานในป 255 เปน 5 3 พันลานในป 2559 ในขณะที่เงินกูเ ลี่ยของบริษัทฯ ลดลง 4 จาก 190 พันลานบาทเปน 1 2 พันลานบาท หรือตนทุนทางการเงิน ( ost o Fund) ของบริษั ทฯ ลดลง 0 40 • การวางระบบบริหารเครือขายเสนทางบิน ดําเนินการเสร็จ ตามแผน ทําใหจัดทําตารางบิน (TPI) เสร็จ 4 ดูลวงหนา ดวยระบบใหม และวางโครงสรางตารางเทีย่ วบินสนับสนุน การเปนศูนยกลางการบิน (Bank Structure) ทีส่ วุ รรณภูมิ ใหมเพื่อใหเปนศูนยกลาง (Hub) หลักของภูมิภาค • ในป 2559 บริษัทฯ ไดเพิม่ เครือขายเสนทางบินและความถี่ ไปยุโรปและตะวันตก (เตหะราน มอสโคว ภูเก็ตแฟรงคเฟรต ) และเพิม่ ความถี่ไป ลอนดอน บรัสเซลส ออสโล • การวางระบบบริหารราคาดําเนินการแลวเสร็จเชนกัน ทําใหสามารถเปรียบเทียบราคาขายบัตรโดยสารของ บริษัทฯ กับสายการบินคูแขง และปรับปรุงราคาไดอยาง รวดเร็ว และอยูระหวางเรงฝกอบรมบุคคลากรที่จะดําเนิน การระบบบริหารรายไดใหม เพื่อใหมีความชํานาญเพิ่มขึ้น และใชประโยชนจากระบบบริหารราคาขายไดเต็มที่ • การยกระดับการใหบริการ ผลิตภัณฑ และอาหารที่ ให บริการในชั้นธุรกิจ เปนไปตามแผน และไดรับการตอบรับ จากผูโดยสารอยางดี ขณะนี้อยูระหวางทยอยเปลี่ยนการ บริการในชัน้ ธุรกิจใหเปนไปตามกระบวนการบริการแบบใหม • บริษัทฯ ไดรบั มอบเครือ่ งบินแบบแอรบสั A350-900 XWB ใหม จํานวน 2 ลํา ที่มีความสะดวกสบายและทันสมัย ซึ่ง เบือ้ งตนไดทาํ การทดลองบินเสนทาง กรุงเทพฯ-เชียงใหม และกรุงเทพฯ-ภูเก็ต ระหวางวันที่ 4-15 กันยายน 2559 และต อ มาจึ งได นํ า เข า ประจํ า เส น ทางกรุ ง เทพฯ-โรม กรุงเทพฯ-มิลาน และกรุงเทพฯ-สิงคโปร • บริษัทฯ ไดจดั หาระบบเชือ่ มโยงขอมูลการบริการในเทีย่ วบิน การบริการภาคพื้นและฝายชาง เพื่อใหสามารถแกไข ป ญ หาการบริ ก ารและพิ จ ารณาชดเชยให ผู โ ดยสารที่ ประสบปญหาไดอยางรวดเร็วและเหมาะสม สําหรับการขาย ผานเว็บไซต บริษัทฯ ไดปรับปรุงระบบพาณิชยอเิ ล็กทรอนิกส อยางตอเนือ่ ง และมีแผนทีจ่ ะนําระบบใหมมาใชในป 2560 • การปรับปรุงกระบวนการทํางานใหมปี ระสิทธิภาพ ประสบ ความสําเร็จที่หนวยธุรกิจสินคาและไปรษณียภัณฑ ทําให คาใชจายในการดําเนินการของหนวยธุรกิจดังกลาวลดลง
อยางตอเนือ่ ง และจะไดขยายผลตอไปยังฝายบริการลูกคา ภาคพื้น ฝายบริการอุปกรณภาคพื้น และฝายอื่นๆ ตอไป นอกจากนี้ ในป 2559 บริษัทฯ ยังไดพั นาและปรับปรุงการ ดําเนินงานดานอื่นๆ ดังนี้ • การพัฒนาและปรับปรุงการบริการในทุกจุดสัมผัส ตาม Service Ring บริษั ทฯ มุงบูรณการการบริการในทุกจุดสัมผัสสูความเปน เลิศอยางครบวงจร เพื่อใหการบริการในทุกจุดบริการตั้งแต ตนจนจบกระบวนการเดิน ทางของผูโดยสารเปนไปอยาง ราบรื่น ไรรอยตอ สรางประสบการณที่ประทับใจใหกับ ผูโดยสาร นอกจากนี้ ยังมีองคความรูการใหบริการลูกคา ของทุกจุดบริการ ที่สามารถใชเปนมาตรฐานการใหบริการ รวมถึงมีกลไกเชือ่ มตอการประสานงานของทุกจุดบริการเพือ่ ไขขอของใจ และแกปญหาใหกับผูโดยสารไดตรงประเด็น รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา และเพื่อตอบสนองความตองการ ของผูโดยสารในยุคดิจิตอล โดยบริษั ทฯ ไดเพิ่มชองทาง การจายเงินในเว็บไซตใหมากขึ้น เพิ่มชองทางการเช็กอิน ดวยตนเองที่โรงแรมโนโวเทล สุวรรณภูมิ (จะขยายตอไป ในโรงแรมในเครือโนโวเทล) เพิ่มเคานเตอร Bag ro ที่ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สําหรับลูกคาที่เช็กอินดวยตนเอง (e-c eck-in) และตั้งแตเดือนกรก าคม 2559 มอบบริการ Free Wi-Fi จํานวน 20 MB สําหรับลูกคาชั้นหนึ่ง และจํานวน 5 MB สํ า หรั บ ลู ก ค า ชั้ น ธุ ร กิ จ บนเครื่ อ งบิ น แบบแอร บั ส A3 0- 00 และแอรบัส A350-900 • การอบรมพนักงานตอนรับบนเครื่องบินแบบใหม บริษัทฯ ไดจดั ระบบการฝกอบรมพนักงานตอนรับบนเครือ่ งบิน รุนใหม โดยเชื่อมโยงหลักการฝกอบรมแบบ o etency Base Training และพื้นฐานความรูดาน Sa ety Security และ Service เพื่อสรางมโนทัศนดานการบริการที่มุงเนน usto er x erience Manage ent รวมถึงการสราง จิตสํานึกดานการใหบริการที่มุงเนนบทบาทและหนาที่ในการ ใหบริการที่มีความปลอดภัยและมีคุณภาพ รวมถึงการสราง ความภาคภูมใิ จในการเปนพนักงานตอนรับฯ ของบริษัทฯ ทีม่ ี สวนผลักดันใหบริษัทฯ มีศักยภาพในการแขงขันระดับโลก • New Business Class Service บริษั ทฯ ไดจัดทําแผนปฏิรูปบริษั ทฯ ดานการปรับปรุงการ บริ ก ารในชั้ น ธุ ร กิ จ แบบใหม โดยเป น การปรั บ ทั้ ง ระบบ บุคลากร อาหารและเครื่องดื่ม โดยพื้นฐานแนวคิดที่ทําให การบริการแตกตาง มีตนทุนที่เหมาะสม และตรงตามความ ตองการของลูกคา เพือ่ ใหสามารถแขงขันได โดยไดเริม่ ดําเนิน การตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2559 ในเที่ยวบินกรุงเทพฯบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 11
นาริตะ-กรุงเทพฯ และไดพจิ ารณาขอมูลที่ไดรบั จากลูกคาเพือ่ นํามาปรับปรุงการบริการมาโดยตลอด ในปจจุบัน สามารถ ดําเนินการไดในเที่ยวบินในยุโรป ญี่ปุน ตะวันออกกลาง ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด • การปลดระวางเครื่องบิน ในการจัดหา ปลดระวาง และจําหนายเครื่องบิน เครื่องยนต อะไหล และอุปกรณการบินหมุนเวียน บริษัทฯ ไดพิจารณา ความเหมาะสมสอดคลองกับสภาวะตลาดเครื่องบิน แนวโนม อุตสาหกรรมการบินโลก แผนการตลาดของบริษั ทฯ และ ศักยภาพของฝูงบินปจจุบนั ทัง้ นี้ ในป 2559 บริษัทฯ ไดรบั มอบ เครื่องบินแบบแอรบัส A350-900 จํานวน 2 ลํา และได รับอนุมัติใหปลดระวางเครื่องบินเชาแบบโบอิ้ง -200 จํานวน 2 ลํา ป 2559 บริษั ทฯ ไดดําเนินการขายเครื่องบินและสงมอบ เรียบรอยแลวจํานวน 5 ลํา ไดแก เครื่องบินแบบเอทีอาร 2 จํานวน 2 ลํา พรอมเครื่องยนตอะไหล เครื่องบินแบบแอรบัส A330-300 จํานวน 2 ลํา และเครื่องบินแบบแอรบัส A340500 จํานวน 1 ลํา สําหรับเครื่องบินที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติขายแลว และอยู ในขั้นตอนการจัดทําขอตกลงและ สัญญาซื้อขาย ไดแก เครื่องบินแบบแอรบัส A330-300 จํานวน 3 ลํา นอกจากนี้ ยังมีเครือ่ งบินทีร่ อขาย 22 ลํา ไดแก เครือ่ งบินแบบ แอรบสั A300-600R จํานวน 1 ลํา แอรบสั A340-500 จํานวน 3 ลํา แอรบัส A 340-600 จํานวน 6 ลําแบบโบอิ้ง 4 -400 จํานวน 2 ลํา เครื่องบินขนสงสินคาแบบ โบอิ้ง 4 -400B F จํานวน 2 ลํา และรวมถึงเครือ่ งบินที่ไดรบั อนุมตั ใิ หทาํ การขาย ในป 255 แตผูซื้อขอยกเลิกการซื้อขาย อีกจํานวน ลํา คือ เครือ่ งบินแบบแอรบสั A330-300 จํานวน 4 ลํา และเครือ่ งบิน แบบโบอิ้ง 3 -400 จํานวน 4 ลํา ขณะนี้อยูระหวางการ ดําเนินการขายใหม • โครงการรวมใจจากองคกร (MSP) บริษัทฯ มีโครงการรวมใจจากองคกร MSP สําหรับพนักงาน ทุกระดับ ที่มีอายุครบ 4 ปบริบูรณและอายุงานครบ 15 ป ขึ้นไป ทั้งนี้ ไมรวมนักบินและพนักงานตอนรับบนเครื่องบิน โดยมีพนักงานผานการอนุมัติใหออกตามโครงการจํานวน ทั้งสิ้น 2 0 คน ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 1 มิถุนายน 2559 ครั้งที่ 2 วันที่ 1 กรก าคม 2559
12 รายงานประจําป 2559
จํานวน 11 คน จํานวน 269 คน
รางวัลที่บริษัทฯ ไดรับ
ในป 2559 บริษัทฯ ไดรับรางวัลในดานตางๆ อาทิ
รางวัลสายการบินยอดเยี่ยม
รางวัลสายการบินยอดเยี่ยมแหงเอเชียตะวันออกเ ียงใต จาก TT Trave A ards 2016 รางวัลสายการบินยอดเยี่ยมอันดับที่ 1 จากสกายแทรกซ 2 รางวัล ไดแก - รางวัลอันดับที่ 1 ประเภทสายการบินที่มีการปรับปรุง คุณ ภาพการบริการดีขึ้น มากที่สุด (Wor d s Most I roved Air ine) - รางวัลอันดับที่ 1 ประเภทสายการบินที่ใหบริการสปา เลาจนยอดเยี่ยม (Wor d s Best Air ine ounge S a) การจัดอันดับจากสกายแทรกซ ใหเปน 1 ใน 3 ของ สายการบินที่ใหบริการยอดเยี่ยม 3 ประเภท ไดแก - สายการบิ น ที่ ใ ห บ ริ ก ารอาหารสํ า หรั บ ชั้ น ประหยั ด ยอดเยีย่ ม (Best cono y ass nboard atering) - สายการบินที่มีพนักงานใหบริการยอดเยี่ยมของเอเชีย (Best Air ine Sta Service in Asia) - สายการบิน ที่ ใหบริการภาคพื้น ที่สนามบินยอดเยี่ยม (Wor d s Best Air ort Services) รางวัล “2016 Peo e s oice A ards T ai and oted by inese Tourists” ประเภทสายการบินที่นักทองเที่ยว จีนชื่นชอบที่สุดประจําป 2559 (To oice A ard Air ine ategory) จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย รางวัล Best eck-in Service A ard-Waiting Ti e in eck-in ueue - Airines จากทาอากาศยานนานาชาติ อ งกง
รางวัลดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย
รางวัลสํานักงานสีเขียว จากกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม รางวั ล สถานประกอบกิ จ การต น แบบดี เ ด น ด า นความ ปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน ระดับประเทศประจําป 2559 จากกระทรวงแรงงาน สําหรับ ฝายการพาณิชยสินคาและไปรษณียภัณฑ และอาคาร ศูนยปฏิบัติการ รางวัลสถานทีด่ เี ดนทีเ่ อือ้ ตอคนพิการ จากกระทรวงพั นา สังคมและความมั่นคงของมนุษย
รางวัลอื่นๆ
รางวัลปฏิทินดีเดนรองชนะเลิศ ชนิดปฏิทินแขวน ประเภท สงเสริมเอกลักษณและศิลปวั นธรรมของชาติ ในชื่อชุด “A irc e o ourney” จากการประกวด ปฏิทินดีเดน รางวัล “สุริยศศิธร” ครั้งที่ 36 ประจําป 2559 จัดโดย สมาคมนักประชาสัมพันธแหงประเทศไทย รางวัลรายงานความยัง่ ยืน (Sustainabi ity Re ort A ard) ประเภทดีเดน จากสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
โครงสรางการถือหุนของบริษัทฯ
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 13
ลักษณะ
การประกอบ ธุรกิจ
ลก
ะการประกอบธุรกิจ
โครงสรางรายไดของบริษัทฯ และบริษัทยอย รายไดของบริษัทฯ และบริษัทยอย ใน 3 ปที่ผานมา มีดังนี ป ลานบา
รายได ากกิ การ นส คาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกิน คาระวางขนสงและไปรษณียภัณฑ รวมรายได ากกิ การ นส รายไดการบริการอื่นๆ(1) รวมรายได ากการ ายหรือการใหบริการ รายไดอื่น(2) รวมรายได หมายเหตุ
(1) (2)
ป รอยละ
ลานบา
ป รอยละ
ลานบา
14 060 1 5
16 10 3
152 4 1 651
92 9
154 1 23 601
11 6 4
64
11 5
60
9 5
3 134
1
51
15 522
9 64
รอยละ
60 11 6 4 6
รายไดการบริการอืน่ ๆ ประกอบดวย รายไดจากหนวยธุรกิจและรายไดจากกิจการสนับสนุนอืน่ ๆ รายไดอนื่ ประกอบดวย ดอกเบีย้ รับ ผลกําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ และรายไดอนื่ ๆ
2559
2558
2557
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 15
ในฐานะทีบ่ ริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) เปนรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม และดํารงสถานะเปนสายการบิน แหงชาติ บริษั ทฯ ไดดําเนินกิจการดานการบินพาณิชยทั้ง เส น ทางบิ น ระหว า งประเทศและเส น ทางบิ น ในประเทศ ใหบริการเกี่ยวของกับการขนสงทางอากาศแบบครบวงจร โดยแบงการบริหารจัดการธุรกิจออกเปน 3 กิจการ ประกอบ ดวย กิจการขนสงทางอากาศ ( ore Business) หนวยธุรกิจ (Business nit) และกิจการอื่นๆ กิจการขนสงทางอากาศ ประกอบดวย บริการขนสงผูโ ดยสาร บริการขนสงสินคาพัสดุภัณฑและไปรษณียภัณฑ สวนหนวย ธุรกิจเปนกิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งโดยตรงกับการขนสง ประกอบดวย การบริการคลังสินคา การบริการลูกคาภาคพื้น การบริการ ลานจอดและอุปกรณภาคพื้น และครัวการบิน สําหรับกิจการ อืน่ ๆ เปนกิจการสนับสนุนการขนสง ประกอบดวย การบริการ ซอมบํารุงอากาศยาน การบริการอํานวยการบิน การจําหนาย สินคาปลอดภาษีบนเครื่องบิน การจําหนายสินคาที่ระลึก บริการเครือ่ งฝกบินจําลอง และการดําเนินงานของบริษัทยอย ทั้งหมด มีรายละเอียดดังนี้
กิจการขนสงทางอากาศ
กิ จ การขนส ง ทางอากาศถื อ เป น กิ จ การหลั ก ของบริ ษั ท ฯ ประกอบดวยการบริการขนสงผูโดยสาร บริการขนสงสินคา พัสดุภัณฑและไปรษณียภัณฑ โดยใหบริการขนสงในเสนทาง บินไปยังจุดบินตางๆ ทั้งแบบเที่ยวบินประจําและเที่ยวบินเชา เหมาลํา ครอบคลุมทัง้ เสนทางบินระหวางประเทศและภายใน ประเทศ
หนวยธุรกิจ
หนวยธุรกิจของบริษัทฯ มีความเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับกิจการ ขนสงและมีสวนสําคัญในการสนับสนุนใหการดําเนินธุรกิจ สายการบินเปนไปอยางราบรืน่ แตละหนวยธุรกิจมีการดําเนิน 16 รายงานประจําป 2559
งานที่สอดคลองกันอยางเปนระบบ เพื่อใหเครื่องบินสามารถ เดินทางจากสถานีตนทางถึงสถานีปลายทางตรงตามกําหนด เวลาที่ระบุในตารางบิน ดวยความสะดวก รวดเร็ว และ ปลอดภัย ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่จะชวยสรางความนาเชื่อถือ ใหแกบริษัทฯ พรอมทัง้ สรางความมัน่ ใจใหแกผใู ชบริการ ทัง้ นี้ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการขนสงมีรายละเอียดการให บริการดังนี้ ธุรกิจการบริการคลังสินคา (Cargo an ling Services) ใหบริการจัดการคลังสินคา ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ท า อากาศยานเชี ย งใหม ท า อากาศยานหาดใหญ และ ทาอากาศยานภูเก็ต โดยการดําเนินงานจัดการคลังสินคา ประกอบดวย การจัดการเก็บรักษาชัว่ คราวและการเคลือ่ นยาย สินคาทั่วไป สินคาที่ตองไดรับการดูแลพิเศษ เชน สินคาสด สัตวที่ยังมีชีวิต วัตถุมีคา และการใหบริการขนสงสินคาที่ ตองการควบคุมอุณหภูมิเปนพิเศษ เปนตน ธุรกิจการบริการลูกคาภาคพืน ( roun Cus o er Services) ใหบริการอํานวยความสะดวกโดยตรงกับผูโดยสารตั้งแตเขา มาสูทาอากาศยาน ผานขั้นตอนตางๆ จนเขาสูตัวอากาศยาน จากตัวอากาศยานสูภาคพื้น ในเที่ยวบินทั้งขาเขา-ขาออก โดยใหบริการแกผูโดยสารของบริษั ทฯ และผูโดยสารของ สายการบินลูกคา ธุรกิจการบริการอุปกรณภาคพืน ( roun ui en Services) ใหบริการที่เกี่ยวของกับอากาศยาน อํานวยความสะดวก บริเวณลานจอดอากาศยาน ใหกับบริษัทฯ และสายการบิน ลูกคา ใหเปนไปดวยความเรียบรอย มีความปลอดภัยสูงสุด พรอมทําการบินเขา-ออก ไดตรงเวลา
ลก
ธุรกิจครัวการบิน (Ca ering Services) ดําเนินการในการผลิตอาหารสําหรับบริการผูโดยสารทั้ง เที่ยวบินในประเทศและระหวางประเทศของบริษัทฯ รวมถึง อาหารสําหรับบริการผูโดยสารของสายการบินชั้น นําอื่นๆ พรอมทั้งดําเนินธุรกิจภาคพื้น ที่เกี่ยวของกับอาหาร เชน ภัตตาคาร ณ ทาอากาศยานนานาชาติ รานเบเกอรี่พัฟแอนด พาย (Pu Pie Bakery House) การใหบริการจัดเลี้ยงทั้ง ในและนอกสถานที่ และรานอาหารสวัสดิการพนักงาน
กิจการอื่นๆ
ในสวนของกิจการอื่นๆ ที่สนับสนุนการขนสง ไดแก ฝายชาง การบริการอํานวยการบิน การจําหนายสินคาปลอดภาษีบน เครือ่ งบิน การจําหนายสินคาทีร่ ะลึก และบริการเครือ่ งฝกบิน จําลอง โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
กิจการขนสงทางอากาศ
บริษัทฯ เปนสายการบินแหงชาติ ที่ใหบริการดานการขนสง ทางอากาศ เปนกิจการหลักซึง่ ไดพั นาการขนสงไปสูภ มู ภิ าค ตางๆ ของโลก ประกอบดวย กิจการขนสงผูโดยสาร กิจการขนสงสินคา พัสดุภัณฑและไปรษณียภัณฑ
ะการประกอบธุรกิจ
โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการดังนี้
กิจการขนสงผูโดยสาร
กิจการขนสงผูโดยสารมีเปาหมายในการพั นาตลาดและ เครือขายเสนทางบินอยางตอเนื่อง เพื่อใหสามารถแขงขัน ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนขีดความสามารถและดําเนิน การพั นาทาอากาศยานสุวรรณภูมิใหเปนศูนยกลางการบิน (Hub) ที่สําคัญของภูมิภาค ลักษณะผลิตภัณ หรือบริการ
ูงบิน องบริ ั
ณ วั น ที่ 31 ธั นวาคม 2559 บริ ษั ท ฯ และสายการบิ น ไทยสมายล มีจํานวนเครื่องบินที่ใชปฏิบัติการบินจํานวน 95 ลํา ประกอบดวยเครื่องบินพิสัยไกลที่ ใชทําการบินเสนทาง ขามทวีป จํานวน 3 ลํา ไดแก เครื่องบินแบบแอรบัส A3 0- 00 แอรบัส A350-900 โบอิ้ง 4 -400 โบอิ้ง -200 R 300 R เครื่องบิน พิสัยกลางที่ ใชทําการบิน เสนทางภูมิภาค จํานวน 35 ลํา ไดแก เครื่องบินแบบโบอิ้ง -200 300 แอรบัส A330-300 โบอิ้ง - และ เครื่องบินลําตัวแคบที่ใชทําการบินเสนทางระยะใกล จํานวน 22 ลํา ไดแก เครื่องบินแบบโบอิ้ง 3 -400 และเครื่องบิน แบบแอรบัส A320-200
เครื่องบินที่ใ ในการปฏิบัติการบิน แบบ รอ บิน
แอรบัส A3 0- 00 แอรบัส A350-900 โบอิ้ง 4 -400 โบอิ้ง -200 R โบอิ้ง -300 R โบอิ้ง -300 โบอิ้ง -200 แอรบัส A330-300 โบอิ้ง โบอิ้ง 3 -400 แอรบัส A320-200 รม
จานวน ลา วน
ธนวา ม
6 2 10 6 14 6 6 1 6 2 20
วน
ธนวา ม
6 10 6 14 6 1 6 2 20
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 17
ในป 2559 บริษัทฯ ไดรับมอบเครื่องบินแบบแอรบัส A350900 จํานวน 2 ลํา เพื่อนํามาใชในเสนทางบินภูมิภาคและ เสนทางบินขามทวีป
การพั นา สน างบิน ล ุ บิน
ในป 2559 บริษัทฯ มีเปาหมายปรับปรุงเครือขายเสนทางบิน ตามแผนปฏิรูปการบินไทย เพื่อสรางความแข็งแกรงของ เครือขายเสนทางบินของบริษั ทฯ โดยดําเนินการปรับเวลา หรือแบบเครื่องบิน ใหเหมาะสมกับสภาพตลาดของแตละ จุดบิน รวมทั้งพั นาตลาด โดยเนนการปรับความถี่ของ เที่ยวบินในจุดบิน ที่มีศักยภาพ สรางความแข็งแกรงของ เครือขายเสนทางบินรอบๆ ประเทศไทย โดยเพิ่มจุดบินใหม และเพิ่มการใชประโยชนจากความรวมมือกับสายการบิน พันธมิตร เพื่อขยายเครือขายเสนทางบินใหครอบคลุมลูกคา ไดทกุ กลุม เปาหมาย เพิม่ ความคลองตัวในการปรับแผนตาราง การบินใหสอดคลองกับสภาวะความตองการในแตละ ดูกาล รวมทั้งตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงความตองการของการ เดินทางและสภาวะการแขงขัน รวมถึงเตรียมการเชื่อมโยง เครือข า ยเพื่ อ รองรั บ การเปดเสรีภ ายใตก รอบประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AS A cono ic o unity A ) อีกดวย
วันเสารสุดทายของเดือนมีนาคมของแตละป เปนไปตาม ข อ กํ าหนดของสมาคมขนส ง ทางอากาศระหว างประเทศ (Internationa Air Trans ort Association IATA) ทั้งนี้ ในแตละ ดูจะมีการกําหนดความถีข่ องเทีย่ วบิน ชนิดเครือ่ งบิน และตารางการบินไปยังจุดบินตางๆ ทีอ่ าจแตกตางกันตามการ เปลี่ยนแปลงของความตองการในแตละชวงเวลา ณ วันที่ 31 ธั น วาคม 2559 บริ ษั ท ฯ และสายการบิ นไทยสมายล มี เครือขายเสนทางบินใหบริการครอบคลุม จุดบิน ใน 32 ประเทศทั่วโลก โดยเปน 11 จุดบินภายในประเทศ (ไมรวม กรุงเทพมหานคร)
สน างบินภา น ร
บริษัทฯ ยังคงความรวมมือกับสายการบินนกแอรในเสนทาง บินรอง โดยบริษัทฯ มีเทีย่ วบินรหัสรวม ( ode S are F ig t) กับสายการบินนกแอรในเสนทางไปกลับ ดอนเมือง-รอยเอ็ด สงผลใหบริษั ทฯ สามารถจัดสงผูโดยสารจากตางประเทศ เขามาทองเทีย่ วในประเทศไทยไดอยางตอเนือ่ ง และครอบคลุม เมืองในภูมภิ าคอยางทัว่ ถึง ในสวนของสายการบินไทยสมายล ทําการบินทดแทนการบินไทย และทําการบินเสริมในจุดบินที่ เหมาะสม รวมทั้งขยายเสนทางบินใหครอบคลุมในภูมิภาค อาเซี ย น จี น และอิ น เดี ย เพื่ อ เสริ ม ความแข็ ง แกร ง ของ เครื อ ข า ยเส น ทางบิ น ของบริ ษั ท ฯ โดยทํ า การบิ น ภายใน ประเทศ รวม 10 เมือง ไปยังอุดรธานี อุบลราชธานี ขอนแกน เชียงใหม เชียงราย ภูเก็ต กระบี่ หาดใหญ สุราษฏรธานี และ นราธิวาส เสนทางภายในประเทศขามภาค คือ เชียงใหมภูเก็ต และทําการบินไปยังตางประเทศ รวม 10 เมือง ไดแก างซา งชิ่ง ปนัง มัณฑะเลย ยางกุง พุทธคยา พาราณสี ชัยปุระ เสียมราฐ และลัคเนา
บริษัทฯ ไดพั นาเทีย่ วบินภายในประเทศ โดยใหความสําคัญ กับจุดบินหลัก ขณะทีจ่ ดุ บินรองและจุดบินยอยบางจุด บริษัทฯ ไดรวมมือกับสายการบินพันธมิตร เพื่อรักษาสวนแบงการ ตลาด
นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได จั ด ทํ า ตารางบิ น เป น สองช ว ง ดู ประกอบดวย ตารางบิน ดูรอน (Su er Sc edu e) เริ่ม จากวันอาทิตยสดุ ทายของเดือนมีนาคมถึงวันเสารสดุ ทายของ เดือนตุลาคมของแตละป และตารางบิน ดูหนาว (Winter Sc edu e) เริ่มจากวันอาทิตยสุดทายของเดือนตุลาคมถึง
บริษัทฯ ทําการบินเสนทางระหวางประเทศทัง้ สิน้ 6 0 เทีย่ วบิน ตอสัปดาห โดยแบงเปน 2 เสนทางหลัก ไดแก เสนทางภูมภิ าค เอเชีย 53 เที่ยวบินตอสัปดาห ไปยัง 50 จุดบิน ใน 20 ประเทศ และเสนทางขามทวีป 133 เทีย่ วบินตอสัปดาห ไปยัง 1 จุดบิน ใน 12 ประเทศ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
18 รายงานประจําป 2559
บริษัทฯ ทําการบินจากกรุงเทพฯ ดวยความถี่ 13 เที่ยวบิน ตอสัปดาหดังนี้ ภาคเหนือ ไดแก เชียงใหม ภาคใต ไดแก ภูเก็ต กระบี่ และเกาะสมุย โดยมีการเสริมผลิตภัณฑและให บริการโดยสายการบินไทยสมายล ดวยความถี่ 3 เที่ยวตอ สัปดาห ทําการบินในเสนทางหลัก ไดแก กรุงเทพฯ-เชียงใหม กรุงเทพฯ-ภูเก็ต กรุงเทพฯ-กระบี่ และทําการบินทดแทน การบินไทย ในเสน ทางกรุงเทพฯ-เชียงราย กรุงเทพฯสุราษ รธานี กรุงเทพฯ-หาดใหญ กรุงเทพฯ-ขอนแกน กรุงเทพฯ-อุดรธานี กรุงเทพฯ-อุบลราชธานี เชียงใหม-ภูเก็ต และเสนทางอื่น ไดแก กรุงเทพ-นราธิวาส
สน างบินร ห าง ร
ลก
ะการประกอบธุรกิจ
สน างภูมิภาค อ บริ ษั ท ฯ ได ป รั บ แผนเครื อ ข า ยการบิ น ให ส อดคล อ งกั บ ยุทธศาสตรการพั นาเครือขายการบินใหประเทศไทยเปน ศูนยกลางการบินในภูมิภาคเอเชีย ครอบคลุม 50 จุดบิน ใน 20 ประเทศ โดยบริษัทฯ แบงเสนทางบินในภูมภิ าคเอเชียเปน 5 เสนทาง ไดแก เสนทางสายเหนือ เสนทางสายใต เสนทาง สายตะวันตก เสนทางสายตะวันออกกลาง และเสนทางสาย อินโดจีน เส นทางสายเหนือ เปนเสน ทางที่มีปริมาณผูโดยสารหนาแนน ทํากําไรสูงให บริษัทฯ อยางตอเนื่อง โดยบริษัทฯ มีจุดบินไปยัง 19 จุดบิน ใน 5 ประเทศ ดวยความถี่ 245 เที่ยวบินตอสัปดาห ไดแก องกง โตเกียว (นาริตะและ าเนดะ) โอซากา นาโกยา ฟูกูโอกะ ซัปโปโร ไทเป โซล มะนิลา ปกกิ่ง ปูซาน เซี่ยงไ กวางโจว คุนหมิง เซี้ยะเหมิน และเ ิงตู สําหรับจุดบินของสายการบินไทยสมายล ไดแก างซา งชิ่ง เส นทางสายใต เปนเสนทางที่มีการแขงขันสูงจากการที่สายการบินตนทุนตํ่า ทําการบินดวยความถีส่ งู หลายสายการบิน บริษัทฯ มีจดุ บินให บริการ 5 จุดบิน ใน 3 ประเทศ ดวยความถี่ 1 เที่ยวบินตอ สัปดาห ไดแก สิงคโปร กัวลาลัมเปอร เดนปาซาร และ จาการตา สําหรับจุดบินของสายการบินไทยสมายล ไดแก ปนัง
เส นทางสายตะวันตก เสนทางนี้มีปริมาณผูโดยสารหนาแนนสูง มีการเจริญเติบโต ที่ดี โดยเ พาะตลาดหลัก ไดแก อินเดีย ในขณะเดียวกัน การแขงขันทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากสายการบินจาก อินเดียมีการพั นาอยางรวดเร็ว และมุงเขาสูประเทศไทย เชนเดียวกัน บริษั ทฯ มีจุดบินใหบริการ 1 จุดบิน ใน 6 ประเทศ ดวยความถี่ 13 เที่ยวบินตอสัปดาห ไดแก เดลี มุมไบ กัลกัตตา ไ เดอราบาด บังคาลอร ธากา โคลัมโบ กาฐมาณฑุ ยางกุง เจนไน การาจี อิสลามาบัด ลา อร สําหรับจุดบินของสายการบินไทยสมายล ไดแก มัณฑะเลย ยางกุง พุทธคยา พาราณสี ชัยปุระ ลัคเนา เส นทางสายตะวันออกกลาง สายการบินตะวันออกกลางมีความเขมแข็งดานเงินทุน ซึ่ง เอื้อตอการขยายฝูงบินและเสนทางบินไดอยางรวดเร็ว สงผล ใหเสนทางสายตะวันออกกลางเปนเสนทางที่มีการแขงขันสูง บริษัทฯ มีจุดบินใหบริการไปยัง 3 จุดบิน ใน 3 ประเทศ ดวย ความถี่ 14 เที่ยวบินตอสัปดาห ไดแก ดูไบ มัสกัต และเพิ่ม จุดบินใหมไปยัง เตหะราน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2559 เส นทางสายอินโดจีน เปนเสนทางที่เปนจุดแข็งของเครือขายเสนทางบินภูมิภาค เนือ่ งจากมีการเจริญเติบโตทีด่ ี และมีศกั ยภาพในการทํากําไร สูง ขณะเดียวกันมีการแขงขันจากสายการบินตนทุนตํา่ เพิม่ ขึน้ รวมถึงสายการบินตางๆ ทําการบินตรงจากตะวันออกกลาง และยุโรปเพิม่ มากขึน้ โดยบริษัทฯ มีจดุ บินใหบริการ 5 จุดบิน ใน 3 ประเทศ ดวยความถี่ 0 เที่ยวบินตอสัปดาห ไดแก เวียงจันทน พนมเปญ านอย และโ จิมนิ ท สําหรับจุดบินของ สายการบินไทยสมายล ไดแก เสียมราฐ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 19
สน าง าม
สน างอ มริกา หนือ สําหรับเสน ทางสายนี้เปนตลาดที่มีขนาดใหญ และมีการ แขงขันสูงมาก การใหบริการเสนทางบินขึน้ อยูก บั การเชือ่ มโยง กับเครือขายภายในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ป จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ ไม ไ ด ทํ า การบิ น โดยตรงไปยั ง เส น ทาง อเมริ ก าเหนื อ บริ ษั ท ฯ ได ทํ า ความร ว มมื อ กั บ พั น ธมิ ต ร การบินสตารอลั ไลแอนซ (Star A iance) ทําเทีย่ วบินรหัสรวม ( ode S are F ig t) ไปยังจุดบินอื่นๆ เชน เสนทางขาม แปซิฟก บริษัทฯ ไดทาํ เทีย่ วบินรหัสรวมกับออลนิปปอนแอรเวย ในเสนทางจากญี่ปุนเขาอเมริกาเหนือ คือ เสนทางโตเกียว ไปยั ง ลอสแองเจลิ ส ชิ ค าโก นิ ว ยอร ก ซานฟรานซิ สโก วอชิงตัน ดี ซี ซีแอตเทิล และแซนโ เซ บริษัทฯ ไดทําเที่ยวบินรหัสรวมกับสายการบิน อีวา แอรเวย โดยมี ไตหวันเปนศูนยกลางไปยัง นิวยอรก ซานฟรานซิสโก แวนคูเวอร ลอสแองเจลิส ซีแอตเทิล เท็กซัส และโทรอนโต และบริษั ทฯ ไดทําการบินรหัสรวมกับสายการบินเอเชียนา ในเสน ทางเกาหลี เขาอเมริกาเหนือ เสน ทางโซล ไปยัง ลอสแองเจลิส ซานฟรานซิสโก นิวยอรก และซีแอตเทิล สําหรับเสนทางขามแอตแลนติก บริษั ทฯ ไดทําการบินรหัส ร ว มกั บ สายการบิ น ลุ ฟ ท ั น ซา โดยมี แ ฟรงค เ ฟ ร ต เป น ศูนยกลางไปยังนิวยอรก แอตแลนตา ไมอามี ชิคาโก ดัลลัส และวอชิงตัน ดี ซี บริษัทฯ ไดทาํ การบินรหัสรวมกับสายการบิน บรั ส เซลส โดยมี บ รั ส เซลส เ ป น ศู น ย ก ลางไปยั ง นิ ว ยอร ก วอชิงตัน ดี ซี และโทรอนโต บริษัทฯ ไดทําการบินรหัสรวม กับสายการบินแอรแคนาดา ในเสนทาง แฟรงคเฟรต ไปยัง มอนทรีออล และโทรอนโต เสนทาง องกง ไปยังโทรอนโต และแวนคูเวอร เสนทางลอนดอน ไปยังโทรอนโต เสนทาง ซูริก ไปยังโทรอนโต เสน ทางโตเกียว ไปยังแวนคูเวอร รวมทั้งหมด 14 จุดบินในสหรัฐอเมริกา และแคนาดา ทัง้ นีบ้ ริษัทฯ มีรายไดทเี่ พิม่ ขึน้ จากเทีย่ วบินรหัสรวม เนือ่ งจาก มีนโยบายมุง เนนการขายเสนทางเครือขาย โดยจะสงเสริมการ ขายรวมกับสายการบินพันธมิตรมากขึน้ ซึง่ จะสงผลใหบริษัทฯ มีรายไดเพิ่มขึ้นในเสน ทางที่บริษั ทฯ ทําการบินเองและมี เทีย่ วบินเชือ่ มตอกับสายการบินอืน่ ในรูปแบบเทีย่ วบินรหัสรวม
สน าง ุ ร
บริษัทฯ มีบริการเที่ยวบินไปยัง 12 จุดบินใน 10 ประเทศของ ภูมิภาคยุโรป ดวยความถี่รวม 9 เที่ยวบินตอสัปดาห ไดแก ลอนดอน แฟรงคเฟรต ปารีส โรม โคเปนเ เกน สตอกโ ลม 20 รายงานประจําป 2559
ซูริก มิวนิก บรัสเซลส มิลาน ออสโล และเพิ่มจุดบินใหมไป ยัง มอสโคว เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 สําหรับตลาดที่บริษั ทฯ ไมไดเปดทําการบินโดยตรง ทั้งใน ยุโรปและสหราชอาณาจักร บริษั ทฯ ไดทําความรวมมือกับ สายการบิ น พั น ธมิ ต รในการให บ ริ ก ารเส น ทางบิ น โดยใช เที่ยวบินรหัสรวม ซึ่งครอบคลุม 46 จุดบิน ใน 16 ประเทศ
สน างออส ตร ล ล นิ
ลน
ในภาคพื้นออสเตรเลีย บริษั ทฯ ใหบริการ 5 จุดบินใน 2 ประเทศ ไดแก ซิดนีย เมลเบิรน บริสเบน เพิรธ ในออสเตรเลีย และโอคแลนด ในนิวซีแลนด ดวยความถี่รวม 44 เที่ยวบินตอ สัปดาห นอกจากนี้ บริษั ทฯ ไดจัดเที่ยวบินรหัสรวม กับ สายการบินแอรนิวซีแลนด ซึ่งเปนสายการบินพันธมิตร โดย การเชื่อมโยงเครือขายการบินของบริษั ทฯ เขากับเที่ยวบิน ระหวางเมืองทองเที่ยวตางๆ รวม 2 จุดบิน ใน 1 ประเทศ คือ เวลลิงตัน ไครสตเชิรช และเสนทาง องกง-โอคแลนด
การบริการลูกคา
ในป 2559 บริษั ทฯ ยังคงมุงมั่น พั นาปรับปรุงคุณ ภาพ ผลิตภัณฑและการบริการในทุกจุดสัมผัสอยางตอเนื่อง เพื่อ ใหลกู คาในแตละกลุม เปาหมายไดสมั ผัสประสบการณการบิน ทีโ่ ดดเดนงดงามผสานเอกลักษณของความเปนไทย เริม่ ตัง้ แต การบริการกอนเที่ยวบิน (Pre- ig t Services) การบริการ
ลก
บนเที่ยวบิน (In- ig t Services) ไปจนถึงการใหบริการหลัง เที่ยวบิน (Post- ig t Services) โดยมีแผนการดําเนินงาน แนวคิดและภาพลักษณท่ีชัดเจนภายใตนโยบายการบริการ จากใจ (Service ro t e Heart) ซึ่งพนักงานการบินไทย ทุกคนยึดมั่นมาตลอด 5 ทศวรรษของการใหบริการ ดวย ตระหนักดีวาคุณภาพของการบริการลูกคาเปนปจจัยหลักสู ความสําเร็จของภารกิจการใหบริการการขนสง และขับเคลือ่ น ใหบริษัทฯ สามารถแขงขันกับสายการบินคูแ ขงไดอยางยัง่ ยืน เพือ่ เนนยํา้ ถึงการบริการทีเ่ ปนเลิศ สมํา่ เสมอ และเปนไปตาม มาตรฐานที่ตกลงไว การบริการลูกคาถือวาเปนหัวใจในการ ดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ไดกําหนดขั้นตอนการใหบริการและทํา ขอตกลงระดับบริการครบวงจร (Service eve Agree ent S A) กับทุกจุดบริการหลัก ตั้งแตการสํารองที่นั่ง จนเสร็จสิ้น การเดินทางที่จุดหมายปลายทาง รวมทั้งตรวจประเมินทุกจุด บริการเหลานั้นอยางตอเนื่อง เพื่อใหแน ใจวาลูกคาไดรับ ความพึ ง พอใจสู ง สุ ด จากการใช บ ริ ก ารและผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี คุณภาพตลอดการเดินทาง มีการตรวจติดตามคุณภาพการ บริการใหเปนไปตามคูม อื การปฏิบตั งิ าน (Service eration Procedure) ดวยการสุมตรวจการปฏิบัติงานแบบไมแจง (Mystery S o ing) รวมถึงการประเมินความพึงพอใจ เปรียบเทียบผลิตภัณฑและการบริการจากหนวยงานภายนอก (T ird Party Survey) การประเมินผลและการกํากับดูแลขอตกลงระดับการบริการ ที่ดี นอกจากเปนการเสริมสรางประสบการณที่ดี ในการ เดินทาง ( usto er x erience) ใหลกู คาเกิดความพึงพอใจ ภักดีตอผลิตภัณฑและบริษัทฯ (Brand oya ty) อันเปนการ รักษาฐานลูกคาเดิมใหกลับมาใชบริการอีก และยังชวยใหเกิด การตลาดแบบปากตอปาก (Word o Mout ) โดยเ พาะจาก ผูบริโภคที่ชอบพูดถึงแบรนดหรือผลิตภัณฑใดๆ ที่ตนชื่นชอบ (Brand Advocates) ทางสื่อสังคมออนไลน (Socia Media) สําหรับรายละเอียดของการพั นาการบริการลูกคาในแตละ ขั้นตอน มีดังนี้ ดานการบริการกอนเที่ยวบิน บริ ษั ท ฯ ได พั นาระบบการให บ ริ ก ารผ า นอิ น เทอร เ น็ ต โทรศัพทมือถือ ( ectronic and Mobi e Service) เพื่อเพิ่ม ความสะดวกสบายและความรวดเร็วใหลูกคาสามารถเขาถึง ขอมูลที่เกี่ยวของกับการเดินทางไดงายขึ้น อาทิ ขอมูลการ จองบัตรโดยสาร การตรวจสอบรายละเอียดเกี่ยวกับเที่ยวบิน ตารางบิน นอกจากนี้ ยังเพิ่มชองทางการจายเงินในเว็บไซต ใหมากขึน้ และอยูร ะหวางดําเนินการใหบริการ Website ive at 24 ชัว่ โมง วัน เพือ่ เพิม่ ความสะดวกสบายและใหความ
ะการประกอบธุรกิจ
ชวยเหลือกับลูกคา รวมทั้งการเช็คอินผาน SMS การเช็คอิน โดยใช 2 Barcode และการสัง่ พิมพบตั รโดยสารขึน้ เครือ่ งบิน ตั้งแตที่บาน (Ho e Print Boarding Pass) นอกจากนี้ ยังเพิ่มชองทางการเช็คอินดวยตนเองที่โรงแรมโนโวเทล สุวรรณภูมิ (จะขยายตอไปในโรงแรมในเครือโนโวเทล) สวนที่ ทาอากาศยาน ไดเพิ่มเคานเตอร Bag ro ที่ทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ สําหรับลูกคาที่เช็คอินดวยตนเอง (e-c eck-in) ซึ่งลูกคาสามารถนําอี-บอรดดิ้งพาสไปเปนสวนลด 15 เพื่อ ซื้อสินคาที่ราน THAI S o ของการบินไทย ดานการบริการบนเครื่องบิน บริษั ทฯ มุงเนนการพั นาบริการของพนักงานตอนรับบน เครือ่ งบิน โดยปรับรูปแบบการใหบริการเปนแบบเ พาะบุคคล มากขึน้ ทัง้ ในชัน้ หนึง่ และชัน้ ธุรกิจ รวมถึงปรับรายการอาหาร และเครื่องดื่มที่ใหบริการและการนําเสนอใหมีความโดดเดน และนาสนใจมากขึ้น อาทิ อาหารยอดนิยมของแตละทองถิ่น อาหารสํารับไทย เครื่องดื่มสมุนไพร และเมนูพิเศษในชวง เทศกาล นอกจากนี้ ไดปรับรายการอาหารเสนทางภายใน ประเทศเปน Hot Snack และเสนทางอินโดจีนเปน Hot ig t Mea อุปกรณและบริการ บริษั ทฯ ไดปรับกลยุทธและแผนงานดานการใหบริการเพื่อ ตอบสนองความคาดหวังของลูกคา เพิ่มขีดความสามารถให พรอมตอการแขงขัน เพิ่มความสะดวกสบายโดยรวมใหแก ผูโดยสารมากขึ้น ดังมีรายละเอียดดังนี้
การ รับ รุงรู บบ ล คุ ภาพ อง นัง สาร ล ร บบสาร บัน ิง
วัตถุประสงคหลักของการปรับปรุงอุปกรณในเครื่องบินของ บริษัทฯ คือ การปรับปรุงอุปกรณในเครือ่ งบินทุกลําทีเ่ ปนแบบ เดียวกัน ใหมีที่นั่งโดยสารและระบบสาระบันเทิงลักษณะ เดียวกันในแตละชั้นโดยสาร เพื่อสรางความพึงพอใจใหกับ ผูโดยสาร การปรับปร รูปแบบแล ค า อ ที่นั่ ดยสาร บริษัทฯ อยูในระหวางการดําเนินการปรับปรุงทีน่ งั่ โดยสารบน เครือ่ งบินแบบแอรบสั A330-300 จํานวน 3 ลํา และแบบโบอิง้ -200 R จํานวน 6 ลํา ใหมคี วามทันสมัยและสะดวกสบาย มากยิง่ ขึน้ โดยเกาอีโ้ ดยสารชัน้ ธุรกิจจะสามารถปรับเอนนอน ราบได 1 0 องศา นอกจากนี้ ยังไดเพิ่มรูปแบบเกาอี้โดยสาร ชั้นประหยัด พรีเมี่ยมบนเครื่องบินแบบโบอิ้ง -200 R เพือ่ เปนทางเลือกใหกบั ผูโ ดยสารอีกดวย โดยคาดวาจะดําเนิน การปรับปรุงแลวเสร็จทั้ง 6 ลําภายในป 2562 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 21
การ ั นาทา ดานร บบสาร บันเทิ บริษั ทฯ ไดปรับปรุงระบบสาระบันเทิงทั้งดานภาพและเสียง บนเครื่อ งบิ น ในเส น ทางระหวา งประเทศทุก ลํา เพื่อให มี คุณภาพสูง ทันสมัยและไดมาตรฐานเดียวกันทั้งหมด โดยจะ มีจอภาพสวนตัวในทุกชั้นโดยสาร ระบบเพลงและภาพยนตร ทีส่ ามารถเลือกชมไดตามความตองการ และมีรายการบันเทิง ใหผูโดยสารเลือกอยางหลากหลาย รวมทั้งเกมส ขอมูล และ ภาพเสนทางบิน นอกจากนี้ ยังพั นาและปรับปรุงซอฟตแวร (So t are) รองรับจํานวนเนื้อหา ( ontent) ที่เพิ่มขึ้น อาทิ e-Menu และ e-S o ing เปนตน
การติ ตังอุ กร อาน ค ามส กสาหรับ ธุรกิ ล การสือสาร
บริษัทฯ ไดใหบริการอินเทอรเน็ต (T ai Sky onnect) บน เครื่องบินเพื่อใหผูโดยสารสามารถติดตอสื่อสารกับภาคพื้น โดยใชอุปกรณสื่อสารสวนตัวของตนเอง โดยในป 2559 ได ใหบริการบนเครื่องบิน จํานวนรวม 15 ลํา ไดแก เครื่องบิน แบบแอรบสั A330-300 จํานวน ลํา แบบแอรบสั A3 0- 00 จํานวน 6 ลํา และแบบแอรบัส A350-900 จํานวน 2 ลํา และ เพื่อความสะดวกสบายของลูกคา บริษั ทฯ ไดมอบบริการ Free Wi-Fi จํานวน 20 MB สําหรับลูกคาชัน้ หนึง่ บนเครือ่ งบิน แบบแอรบัส A3 0- 00 และจํานวน 5 MB สําหรับลูกคาชั้น ธุรกิจบนเครื่องบินแบบแอรบัส A3 0- 00 และแบบแอรบัส A350-900 สําหรับเครือ่ งบินใหมทจี่ ะไดรบั มอบ มีการติดตัง้ ระบบสือ่ สาร สนเทศ ( In- ig t onnectivity IF ) ไวเปนที่เรียบรอย แลว โดยในป 2560 บริษัทฯ จะไดรับมอบเครื่องบินอีก ลํา ไดแก เครื่องบินแบบแอรบัส A350-900 จํานวน 5 ลํา และ แบบโบอิง้ -9 จํานวน 2 ลํา นอกจากนี้ ยังมีแผนทีจ่ ะติดตัง้ ระบบสื่อสารสนเทศบนเครื่องบินของบริษัทฯ ใหครบทุกลํา การปฏิบัติการบิน ความปลอดภัย ความมั่นคง และมาตร านการบิน ความปลอดภัยในการปฏิบตั กิ ารบินเปนหัวใจของธุรกิจการบิน ตลอดระยะเวลากวา 5 ทศวรรษ บริษั ทฯ มุงมั่นที่จะสราง ความปลอดภัยสูงสุดในการเดินทางของผูโดยสาร โดยเนน ที่ ก ารปฏิ บั ติ ก ารบิ น ตามมาตรฐานความปลอดภั ย ของ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย กพท (T e ivi Aviation Aut ority o T ai and AAT) องคการการบิน พลเรือนระหวางประเทศ (Internationa ivi Aviation rgani ation I A ) หนวยงานควบคุมความปลอดภัยดาน การบินของยุโรป ( uro ean Aviation Sa ety Agency ASA) มาตรฐานการตรวจประเมินความปลอดภัยดานการ 22 รายงานประจําป 2559
ปฏิบัติการ จากสมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (IATA erationa Sa ety Audit I SA) และหนวยงาน กํากับดูแลดานการบินพลเรือนของประเทศตางๆ ทั่วโลก ในป 2559 หนวยงานกํากับดูแลดานการบิน พลเรือนของ ประเทศตางๆ ทั่วโลกยังคงเพิ่มความถี่ ในการตรวจสอบ มาตรฐานความปลอดภัยของสายการบินของประเทศไทย ที่ทําการบินเขาในแตละประเทศ โดยบริษั ทฯ ไดรับการ ตรวจสอบมาตรฐานดานความปลอดภัย (Ra Ins ection) ตามมาตรฐานสากลทั้งสิ้น ครั้ง ผลการตรวจสอบไมพบ ขอบกพรองที่มีนัยสําคัญ ซึ่งเปนสิ่งที่ยืนยันความมีมาตรฐาน ดานการบินของบริษัทฯ ไดเปนอยางดี ในฐานะสายการบินแหงชาติ บริษัทฯ พรอมทีจ่ ะพั นาองคกร รวมทัง้ ใหการสนับสนุนและความรวมมือกับสํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย (กพท ) ในกระบวนการทบทวนการ ออกใบรับรองการเดินอากาศ (A Re-certi ication) ซึง่ ดําเนินการตามแผนงานอยางตอเนือ่ งตัง้ แตป 2559 ใหเปน ไปตามก ระเบียบ ขอกําหนด มาตรฐานการบินใหมที่ กพท รวมกับ ivi Aviation Aut ority Internationa AAi พั นาขึน้ เพือ่ ใหประเทศไทยสามารถแกไขขอบกพรองทีม่ นี ยั สําคัญดานความปลอดภัย (Signi icant Sa ety oncern SS ) ตามโครงการตรวจสอบการกํากับดูแลความปลอดภัย ( niversa Sa ety versig t Audit Progra S AP) ขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (Internationa ivi Aviation rgani ation I A ) บริ ษั ท ฯ ได เ น น การรั ก ษามาตรฐานและข อ พึ ง ปฏิ บั ติ (Standards and Reco ended Practices SARPs) ของ I A ที่กําหนดใหสายการบินตองจัดใหมีระบบบริหาร ความปลอดภัย (Sa ety Manage ent Syste SMS) และระบบบริหารการกํากับการปฏิบัติตามขอบังคับการบิน ( o iance Manage ent Syste MS) เพื่อใหเปนไป ตามก ระเบียบและเปนการปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนิน การอยางตอเนื่อง ยิ่งไปกวานั้น บริษั ทฯ ไดเริ่มโครงการ มาตรฐานเหนือระดับ (Sa ety Beyond o iance) ในป 255 ดวยการนํามาตรฐานของ uro ean Aviation Sa ety Agency ( ASA) ซึ่งเปนที่ยอมรับจากองคกรการบินทั่วโลก เปนตนแบบ เพื่อพั นามาตรฐานความปลอดภัยไปยังระดับ สูงสุด (Best in ass) โดยสรางวั นธรรมองคกรในการรักษา มาตรฐาน ( o iance u ture) และวั นธรรมความ ปลอดภัย (Sa ety u ture) ตลอดจนพั นาขีดความสามารถ การบริหารคุณภาพและการบริหารความปลอดภัย (Sa ety and ua ity Manage ent) และตัวชี้วัดความปลอดภัย
ลก
(Sa ety Per or ance Indicator) ดวยการใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการบริหารจัดการ (In or ation Tec no ogy So ution Syste ) ดวยเหตุนี้ ทําใหบริษัทฯ ไดรับใบอนุญาต T ird ountry erators (T ) จาก ASA โดยความเห็น ชอบของ Air Sa ety o ittee (AS ) ดวยใบอนุญาต นี้ บริษัทฯ สามารถคงการปฏิบัติการบินเขายุโรป ตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม 255 ตอไป ควบคูกับใบรับรองผูดําเนินการเดิน อากาศ (Air erator erti icate A ) ของประเทศไทย ปจจุบันบริษัทฯ ยังคงมุงมั่น และทุมเททรัพยากรเพื่อพั นา ความปลอดภัยการบินโดยใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศชวย สนับสนุนการบริหารความปลอดภัยและลดความเสีย่ ง เขามา ควบคุมและวิเคราะหงานดานความปลอดภัย ทัง้ หมด 4 ระบบ ไดแก 1 Sa ety Re orting In or ation Syste คือ ระบบ บันทึกรายงานดานความปลอดภัยที่อนุญาตใหพนักงาน กวาสองหมื่นคนมีสวนรวมบันทึกรายงานฯ ผานอุปกรณ หลากหลายชนิด อาทิ eskto o uter a to o uter Tab et Mobi e สามารถทํางาน n ine ine และสงขอมูลกลับมายังศูนยขอมูลผานเครือขาย Internet จากนั้นจะทําการประมวลผลแสดงคาออกมาใน as board สงตรงถึงฝายบริหาร 2 F ig t ata Monitoring Ani ation Progra คือ โปรแกรมที่ ใชเฝาสังเกต ติดตามและบันทึกการปฏิบัติ การบินเพื่อประเมินความเสี่ยงในการปฏิบัติการบินใน สนามบินตางๆ 3 F ig t Si u ator Syste คือ เครือ่ งบินจําลองเสมือนจริง ที่บรรจุสถานการณจําลองเพื่อใหนักบินมีโอกาสฝกซอม รับสถานการณจนมีความชํานาญพรอมรับทุกสถานการณ จริง เชน หมอกลงหนา หิมะตก เพลิงไหม เครือ่ งยนตชนนก 4 Big ata Syste คือ การเก็บขอมูลที่เชื่อมโยงขอมูลจาก ระบบตางๆ เชน ขอมูลเสนทางการบิน ขอมูลระบบการ ทํางานของเครื่องบิน ขอมูลผูโดยสาร ขอมูลสภาพอากาศ มาจัดเก็บเพื่อทํา ata Inte igence ซึ่งโครงการนี้เปน การประสานความรวมมือระหวาง การบินไทย สายการบิน Scandinavian Air ines Syste (SAS) ผูผลิตเครื่องบิน ผูผลิต Hard are So t are ที่เกี่ยวของเพื่อนําขอมูลที่มี คุณคาถือเปนสินทรัพยมหาศาลนี้มาใชประโยชน ชวยใน การวิเคราะห การประเมินความเสี่ยง (Risk Ana ysis) และชวยในการตัดสินใจดานความปลอดภัยไดอยางมี ประสิทธิภาพ บริษั ทฯ ไดพั นาศักยภาพบุคลากรดานการบินใหมีความรู ความสามารถตามมาตรฐานสากล รวมทัง้ ใหมจี ติ สํานึกสูงสุด
ะการประกอบธุรกิจ
ดานความปลอดภัย มุงเนนการสรรหาบุคลากรการบินที่มี คุณ ภาพระดับสากล โดยกําหนดใหมีการตรวจสอบความ พรอมทั้งดานรางกาย จิตใจ ความรู ( no edge) ทักษะ (Ski ) และพ ติกรรม (Be avior) นักบินของบริษัทฯ จะตอง ผานการทดสอบและประเมินความถนัด ในการเปนนักบิน พาณิชย (A titude Test) จาก Scandinavian Institute o Aviation Psyc o ogy (SIAP) ประเทศสวีเดนซึ่งเปนสถาบัน ทีม่ ชี อื่ เสียงและไดรบั การยอมรับดานการคัดเลือกนักบินใหกบั สายการบินชัน้ นําของโลก การสอบจิตวิทยาการบิน (Aviation Psyc o ogy Test) จากสถาบันเวชศาสตรการบินกองทัพ อากาศ รวมทั้งจะตองผานการทดสอบความสามารถดาน ทักษะการบิน (Ride eck) และการใชภาษาอังก ษตาม มาตรฐานสากล ( ng is I A Pro iciency) นอกจากนี้ ยั ง มุ ง เน น การฝกอบรมทั้ ง ภาคท ษ ี แ ละภาคปฏิ บั ติ แ ก พนักงานตอนรับบนเครื่องบิน เรื่องระบบความปลอดภัยและ การบริการ เพื่อใหมีความรูความชํานาญแบบมืออาชีพ มี ทัศนคติและใจรักตองานบริการ ควบคูไปกับความตระหนัก เรื่องความปลอดภัยอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ บริษั ทฯ ไดจัดใหมีการอบรมหลักสูตร n anced Sa ety Manage ent Syste ใหกับบุคลากรการบินและพนักงาน ในสวนทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ ใหมนั่ ใจวาบุคลากรการบินของบริษัทฯ มีความพรอมในการปฏิบัติการบินอยางปลอดภัยและเปนไป ตามขอกําหนดของ I A และบริษัทฯ ไดจัดใหมีการอบรม หลั ก สู ต ร ngage ent โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ พั นา บุคลากรดานการบิน ใหเกิดความผูกพันตอองคกร มีความ รวมมือรวมใจในการปฏิบัติงานตามหนาที่เพื่อชวยพั นา องคกรไปในทิศทางที่บริษั ทฯ กําหนด โดยมีเปาหมายให เกิดความปลอดภัยอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได นํ า ระบบการเรี ย นรู ผ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (e- earning) และการนําแนวทางจัดการความรู ( no edge Manage ent) มาประยุกตใชเพื่อสงเสริมใหเกิดการแลก เปลี่ยนความรูในกลุมผูปฏิบัติงาน อันจะนําไปสูประสิทธิภาพ สูงสุดในการใหบริการแกผูโดยสารดวย บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ดี ว า การดู แ ลสุ ข ภาพอนามั ย และความ ปลอดภั ย ของพนั ก งาน รวมถึ ง การป อ งกั น อั น ตรายและ สงเสริมสุขภาพอนามัย เปนสิ่งสําคัญยิ่งที่ตองดําเนินการ ควบคูไปกับการดําเนินธุรกิจ บริษั ทฯ จึงมีนโยบายในการ ดําเนินงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดลอมในการทํางานบนพื้นฐานของมนุษ ยธรรม โดยถือ ประโยชนของพนักงานเปนหลัก และไดดําเนินการอยางครบ วงจร คือการสงเสริมสุขภาพอนามัย การเฝาระวังและตรวจ สอบเพือ่ ความปลอดภัย การปองกันและควบคุมอุบตั เิ หตุและ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 23
สภาพแวดลอมที่เปนอันตรายในการทํางาน การเฝาระวัง สุขภาพและปองกันโรคจากการทํางาน การปฐมพยาบาล และ การฟนฟูสมรรถภาพหลังการบาดเจ็บ บริษั ทฯ ไดปฏิบัติตามมาตรฐานขอกําหนดดานความมั่นคง การบิน (Aviation Security) ขององคกรและหนวยงานที่ เกีย่ วของทัง้ ในประเทศและตางประเทศอยางเครงครัด ไดแก I A AAT หนวยงานดานความมั่นคงในการเดิน ทาง ของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า (Trans ortation Security Ad inistration e art ent o Ho e and Security TSA) หนวยงานดานความมั่นคงในการเดินทางของประเทศ ออสเตรเลีย ( ice o Trans ort Security TS) ก ขอ บังคับของสหภาพยุโรป ( uro ean nion Regu ations Regu ations) er an ivi Aviation Aut ority ( BA) และมาตรฐานการตรวจประเมินความปลอดภัยดาน การปฏิบัติการ จากสมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (IATA erationa Sa ety Audit I SA) รวมถึงก เกณฑ ขอบังคับ ขอกําหนดของทุกประเทศที่บริษั ทฯ ทําการบิน อีกทั้งบริษั ทฯ มีระบบการบริหารจัดการดานความมั่นคง การบิน (Security Manage ent Syste SeMS) ที่มี ประสิทธิภาพ สอดคลองกันอยางทั่วถึงทั้งองคกร เพื่อใหการ ปฏิ บั ติ ง านด า นความมั่ น คงการบิ น อยู ใ นระดั บ ที่ สู ง กว า มาตรฐานสากล โดยผลการตรวจสอบจากองคกรภายนอกทัง้ ในประเทศ และตางประเทศ ไมพบขอบกพรองที่มีนัยสําคัญ นอกจากนี้ บริษั ทฯ ไดปฏิบัติตามมาตรฐานการจัดการเหตุ ุกเ ินและภาวะวิก ติ ( ergency risis Res onse Manage ent) อยางเขมงวด ยึดหลักก หมาย ขอบังคับ ระหวางประเทศ และนํามาประยุกตใชในการบริหารจัดการ ของหนวยงานภายใน และสถานีการบินของบริษัทฯ เพื่อให สอดคลองกับก เกณฑที่มีการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งบริษั ทฯ ไดเขารวมฝกซอมการบริหารจัดการในภาวะ กุ เ นิ เต็มรูปแบบ กับหนวยงานภาครัฐอยางตอเนื่อง โดยในป 2559 บริษั ทฯ ไดเขารวมการฝกซอมการบริหารวิก ติระดับชาติประจําป 2559 ( -M X 16) ที่ทาอากาศยานภูเก็ต การฝกซอมการ บริหารจัดการในภาวะ ุกเ ินเต็มรูปแบบตามแผน ุกเ ิน ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ (S M X 16) เพื่อสามารถพรอม รับมือกับเหตุ ุกเ ินที่อาจเกิดขึ้น โดยมีศูนยปฏิบัติการภาวะ วิก ติ ( risis Manage ent erations enter M ) ของบริษัทฯ ไดทําหนาที่เฝาระวังเหตุที่อาจเปนภัยคุกคามตอ การประกอบธุ รกิ จ ของบริษั ทฯ ตลอด 24 ชม อีก ทั้ง มี ศูนยปฏิบัติการของชุดใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมแก ผูประสบภัยฯ (Fa i y Assistance Su ort Tea FAST enter) สํ า หรั บ เที่ ย วบิ น ของบริ ษั ท ฯ และสายการบิ น พันธมิตร 24 รายงานประจําป 2559
ดวยมาตรฐานดานความปลอดภัย ความมัน่ คง และมาตรฐาน การบินทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทําใหบริษัทฯ สามารถบริหารจัดการ กับเหตุการณตางๆ ในป 2559 ไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน การบริหารจัดการเที่ยวบินไปประกอบพิธี ัจญ ณ ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย การบริหารจัดการกรณีเหตุระเบิดที่กรุง บรัสเซลส และหลายประเทศในยุโรป ซึ่งบริษั ทฯ ใหการ สนับสนุนแกภาครัฐและดูแลผูโดยสารเดินทางกลับมาดวย ความปลอดภัย การบริหารจัดการกรณีการแพรระบาดของ เชื้อไวรัส I A โดยบริษัทฯ ปฏิบัติตามขอบังคับ คําแนะนํา ขององคการอนามัยโลก และกระทรวงสาธารณสุขอยาง เครงครัด จนสามารถสรางความมั่นใจในมาตรฐานความ ปลอดภัยของการบินไทยทีส่ งู กวามาตรฐานสากล รวมถึงในป ทีผ่ า นมา ซึง่ บริษัทฯ ใหการสนับสนุนแกภาครัฐในการเดินทาง ของเจาหนาที่ทีมกูภัยคณะตางๆ และการขนสงอุปกรณสิ่ง ของกูภัยบรรเทาทุกขจากทั่วโลกจํานวนมากในกรณี วิก ติ แผนดินไหวที่เนปาล รวมทั้ง กรณีเกิดภัยพิบัติภูเขาไฟระเบิด ในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งการบินไทยไดใหความชวยเหลือแก ผูโ ดยสารทีป่ ระสบเหตุ รวมถึงการเดินทางของญาติมติ รของ ผูป ระสบเหตุเปนอยางดี อีกทัง้ บริษัทฯ ไดทาํ แผนบริหารความ ตอเนื่องทางธุรกิจ (Business ontinuity Manage ent P an) เพื่อเตรียมพรอมรับวิก ติการณตางๆ ที่อาจเกิดขึ้น เชน กรณีไมสามารถใชสนามบินสุวรรณภูมไิ ดตามปกติ กรณี ถูกระงับเสนทางการบิน เปนตน เพือ่ ใหมนั่ ใจไดวา การบินไทย จะสามารถดํารงธุรกิจไดอยางตอเนื่องในทุกสถานการณ ในภาพรวมของการปฏิบัติการบิน บริษัทฯ ไดมุงเนนในเรื่อง ของมาตรฐานดานความปลอดภัยในระดับสูงสุด และคุณภาพ การใหบริการบนเครื่องบิน ที่ดีเลิศ โดยการนําเทคโนโลยี สารสนเทศทีท่ นั สมัยและมีมาตรฐานดานความปลอดภัยทีเ่ ปน ที่ยอมรับในระดับสากล มาประยุกตใชกับเอกลักษณการให บริการดวยเสนหไทย บริษั ทฯ มุงมั่น ที่จะรักษาคุณ ภาพ ความปลอดภัย ความมั่นคง และมาตรฐานการบินใหเปนไป ตามมาตรฐานสากล อีกทัง้ การปฏิบตั ติ ามก เกณฑ ขอบังคับ และก หมายทีเ่ กีย่ วของนัน้ เปนปจจัยหลักในการดําเนินธุรกิจ ที่บริษั ทฯ ใหความสําคัญเปนอันดับแรกมาโดยตลอด และ บริษั ทฯ จะไดดําเนินนโยบายเชิงรุกในการดําเนินงานดาน ความปลอดภัย ความมั่นคง และมาตรฐานการบินอยาง ตอเนื่องดวย รายละเอียดของมาตรฐานสากลที่ฝายตางๆ และหนวยธุรกิจ ของบริษัทฯ ที่ไดรับ ผูสนใจสามารถศึกษารายละเอียดไดใน หนังสือรายงานการพั นาอยางยั่งยืน ซึ่งบริษั ทฯ จัดสงให ผูถือหุน ทุกรายและเปดเผยตอประชาชนทางเว็บไซตของ บริษัทฯ ที่ t aiair ays co
ลก
การตลาดและการแขงขัน
นโยบายและลักษณะตลาด ในป 2559 บริษั ทฯ ไดดําเนินตามแผนธุรกิจ 5 ป (255 2561) มีการปรับแผนกลยุทธตามลักษณะตลาด ซึ่งแบงออก เปน 4 กลุม ดังนี้ กลุมตลา บริ ั นผูนาตลา เชน ตลาดกลุมประเทศ สแกนดิเนเวีย จีน และญี่ปุน เปนตน บริษัทฯ มุงเนนในการ ดํารงความเปนผูนําตลาด ปรับกลยุทธเพื่อรักษาสวนแบง ตลาดและผลกําไรในการดําเนินงานเปนหลัก โดยการเพิ่ม เที่ยวบิน และเปลี่ยนแบบเครื่องบินที่มีอุปกรณทันสมัย เพื่อ ปองกันการสูญเสียลูกคาใหแกสายการบินอื่น กลุมตลา มการ ง นั สูง เชน ตลาดสิงคโปร อ งกง และ กลุมประเทศในอาเซียน บริษั ทฯ มุงเนนการปรับปรุงความ สามารถในการแขงขัน เพือ่ รักษาสวนแบงตลาด โดยเพิม่ ความ รวมมือกับสายการบินพันธมิตร เพื่อเพิ่มผูโดยสารเชื่อมตอที่ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ รวมทั้งใชสายการบินไทยสมายล ในการรักษาสวนแบงตลาดในเสนทางภูมิภาคระยะสั้น กลุมตลา คู งมค าม ม ง เชน ตลาดรัสเซีย และ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส บริษัทฯ มุงเนนการเฝาระวังปริมาณ การขนสงและผลกําไรขาดทุนอยางตอเนื่อง เพื่อปรับกลยุทธ ใหเหมาะสมกับสภาพการณ โดยใชเครื่องบินที่เหมาะสมกับ ความตองการของตลาด และมีความคลองตัวในการปรับ เปลี่ยนเที่ยวบินโดยตองมีการติดตามผลการดําเนินงานอยาง ตอเนื่องและรวดเร็ว กลุมตลา หม ม ัก ภาพ การบิน ังมิ บริการ ไดแก (1) เมืองรองในตลาดอินเดีย เชน โคชิ อัมริสสา (2) เมืองรองในตลาดจีน เชน หังโจว เสินเจิ้น และซัวเถา (3) ตลาดใหม อาทิ ตลาดในยุโรปตะวันออก เชน เวียนนา และ (4) เขตพื้นที่ใหมๆ เชน อิหราน ตุรกี อิสราเอล โดยในการเขาตลาดเหลานี้ บริษั ทฯ จะศึกษาสภาพตลาด สภาวะการแขงขัน เสนทางบิน เพื่อใชเปนสวนหนึ่งในการ กําหนดกลยุทธดานเสนทางบิน เครือขายการบิน และฝูงบิน นโยบายการตลาดและลักษณะตลาด ของสายการบินไทยสมายล สายการบินไทยสมายลไดกําหนดตําแหนงทางการตลาดของ สายการบินเปนสายการบินแบบเต็มคุณภาพ (Fu Service Air ines) ทีม่ งุ เนนในการพั นาคุณภาพและมาตรฐานการให บริการที่เยี่ยมยอด ควบคูไปกับความคุมคาของราคาบัตร
ะการประกอบธุรกิจ
โดยสารทีก่ าํ หนดไวใหครอบคลุมทุกบริการ โดยมีการกําหนด แนวทางในการดําเนินนโยบายการตลาด ดังนี้
การ หบริการมุงสูค าม น ลิ
เนนเพิ่มเติมการนําเสนอคุณคาใหกับลูกคาทุกจุดสัมผัสของ การบริการ (Touc Point) โดยมีแนวทางดังนี้ xce ent eck-in พั นาปรับปรุงระบบและขั้นตอน การเช็คอินทางอินเทอรเน็ต ใหผูโดยสารสามารถเช็คอิน ลวงหนาไดดวยตนเอง เชน สามารถเลือกที่นั่ง และพิมพ บัตรขึ้นเครื่อง (Boarding Pass) ตลอดจนการจัดใหมีหอง รับรองผูโดยสาร ( ounge) สําหรับผูโดยสารทุกทาน xce ent In-F ig t Services พั นาปรับปรุงวิธีการ และขั้ น ตอนการให บ ริ ก ารผู โ ดยสารในเที่ ย วบิ น ให มี ประสิทธิภาพ และสรางความประทับใจใหผูโดยสารเพิ่ม มากยิ่งขึ้น อาทิ การใหบริการและบรรยากาศภายใน หองโดยสาร อาหารและเครื่องดื่มในเที่ยวบิน เปนตน xce ent usto er Re ation พั นาระบบการสงมอบ ผลิตภัณฑ โดยการสรางความพึงพใจใหลูกคาในทุกราย ละเอียด อาทิ ระบบการจองตัว การเช็คอินผูโดยสาร ผลิตภัณฑภายในหองโดยสาร นอกจากนี้ยังใหบริการแก ลูกคาอยางตอเนื่อง เพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดในทุก กลุมเปาหมาย อาทิ การทํากิจกรรมรวมกับลูกคาในชวง เทศกาลตางๆ การพั นาระบบใหขอมูลและการสื่อสาร กับลูกคา เปนตน
การกาหน ราคา า หมา สม ปรับโครงสรางการกําหนดราคาเพือ่ ใหมรี าคาบัตรโดยสาร ทีห่ ลากหลายเหมาะสมสําหรับแตละตลาด เพือ่ สรางโอกาส ในการแขงขันกับสายการบินอื่น (Rig t Price Rig t Market) สราง Price a ue เพื่อดึงดูดใหลูกคาใชบริการ ตลอดจน มุงเนนการสื่อสารกับผูโดยสารผานทางชองทางออนไลน หรืออินเทอรเน็ตเพิ่มเติม
การพั นา ครือ า สน างบิน เสริมสรางเครือขายการบินใหแข็งแกรง ดวยการเพิ่ม ความถี่ ห รื อ ความจุ ข องเที่ ย วบิ น ให เ พี ย งพอกั บ ความ ตองการของตลาด และพั นาการเชือ่ มตอเทีย่ วบินในเวลา ทีเ่ หมาะสม เพือ่ เพิม่ จํานวนผูโ ดยสารทัง้ แบบจุดบินตอจุดบิน (Point to Point) และแบบตอเที่ยวบิน ( onnecting Tra ic) จากจุดตนทางถึงปลายทางใหมากขึน้ เชน เสนทาง จีน อินเดีย อินโดจีน และภูมิภาค บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 25
ขยายเครื อ ข า ยเส น ทางบิ น โดยอาศั ย ความร ว มมื อ กั บ การบินไทยเพื่อใหเกิดการเชื่อมตอเที่ยวบินอยางตอเนื่อง และสะดวกแกผโู ดยสารเพิม่ ขึน้ (Sea ess onnectivity) เชน การเชื่อมตอเสน ทางบินจากประเทศอินเดียของ ไทยสมายล กั บ เส น ทางบิ น สู ป ระเทศออสเตรเลี ย ของ การบินไทย ซึ่งมีผูโดยสารชาวอินเดียทั้งที่เดินทางดวย ตัวเอง และที่เดินทางเปนหมูคณะซึ่งมีความตองการใน การเดินทางเปนจํานวนมาก เปนตน
สริมสรางค าม ง กรง น อง าง ล สือสารการตลา
า
เพิ่มชองทางการโ ษณาและสื่อสารการตลาดใหมีความ เหมาะสม เพื่อใหสามารถเขาถึงกลุมลูกคาไดอยางตรง เปาหมายและครอบคลุม ไมวาจะเปนกลุมลูกคาทั่วไป ลูกคาองคกร รวมไปถึงลูกคาที่ซื้อผานชองทางออนไลน เพิ่มความถี่ ในการติดตอสื่อสาร และใชประโยชนจาก การสื่อสารผานชองทางออนไลน เชน Facebook I icia Instragra We at ใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้
การพั นากล ุ ธการตลา มค าม หมา สม ล ตอบสนองตอสภาพตลา มค าม ตกตางกัน เสนทางประเทศจีน มุงเนนลูกคาที่เดินทางดวยตนเอง (FIT Fu y Inde endent Trave er) ที่มีกําลังซื้อสูงเพิ่ม มากขึ้น โดยการสรางสื่อและทํากิจกรรมประชาสัมพันธ ทางการตลาด (Marketing o unication) ที่เขาถึง กลุมลูกคา (Focus rou ) เปนตน เสนทางประเทศอินเดีย มุง เนนลูกคาทีเ่ ดินทางดวยตนเอง (FIT Fu y Inde endent Trave er) ลูกคากลุม MI (Meeting Incentives onvention x ibition) ลูกคา ที่ตองการการจัดงานแตงงานภายในประเทศ (Wedding) และลูกคากลุมผูใชแรงงาน ( abor) เปนตน เสนทางในประเทศ รักษาฐานลูกคาเดิม และเพิ่มฐาน ลูกคาใหม โดยการทํากลยุทธทางการตลาดและการขายที่ มีความนาดึงดูดและเขาถึงกลุมลูกคา ผานทางชองทาง การขายทุกชองทาง ตลอดจนสรางประสบการณในการ เดินทางทีป่ ระทับใจและมีคณ ุ ภาพเพิม่ มากขึน้ เมือ่ เทียบกับ สายการบินอื่นๆ ( o etitive dge)
บรรลุ าหมา นการ นองคกร มค าม ง กรง ล ัง ืน สรางผลกา รสูงสุ เปนองคกรที่มุงเนนลูกคา ( usto er riented) 26 รายงานประจําป 2559
เปนองคกรที่มีขีดความสามารถในการแขงขัน ( o etitive) เปนองคกรที่มีความคลองตัวสูง ( yna ic) แผนบริหารรายไดและพัฒนา องทาง การจัดจาหนาย
ผนบริหารรา
เพื่อรักษาและเพิ่มคุณ ภาพรายไดในสภาวะเศรษฐกิจโลก ถดถอย การเมืองไมปกติ ความผันผวนของตลาด การแขงขัน ที่รุนแรง รวมทั้งการตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภัยดาน การบินขององคกรตรวจสอบตางๆ บริษั ทฯ จึงมีแผนงาน มุงเนนการขายและเพิ่มรายไดโดย ปรั บ ปรุ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละบริ ก ารโดยการบริ ห ารฝู ง บิ น แนวใหมดวยการใชเครื่องบินใหเกิดประโยชนสูงสุดใน เสนทางหลักดวยการใชเครือ่ งบินรุน ใหมทดี่ กี วา ปรับกําลัง การผลิตในบางตลาด และเพิ่มการใชเครื่องบินใหมากขึ้น เพิม่ การขายแบบเครือขาย ( et ork Sa es) โดยแสวงหา ลูกคาใหมๆ ในเสนทางรอบๆ เสนทางหลัก โดยการจัดทํา ความตกลงรวมกับสายการบินคูค า ดังทีป่ รากฏในรายการ สงเสริมการขายจุดบินใหมๆ ของบริษัทฯ ในทวีปยุโรป เสริมสรางรายไดจากการขายผานบริการอิเล็กทรอนิกส (e-Service) โดยพั นาระบบที่สามารถอํานวยความ สะดวกสนองตอความตองการของผูโดยสารสําหรับตลาด ภายในประเทศและตางประเทศ
การหารา สริม
นอกเหนือจากธุรกิจการบินหลักทีบ่ ริษัทฯ ดําเนินงานดานการ ขนสงผูโ ดยสารทางอากาศ บริษัทฯ ยังมีผลิตภัณฑและบริการ เสริมตางๆ เปนรายไดเสริมองคกรอีกทางหนึง่ โดยการบินไทย ได จั ด ทํ า บริ ก ารเสริ ม ในรู ป แบบการช อ ปป งออนไลน (S o ing n ine) บนเว็บไซต เชน การเลื่อนชั้น ที่นั่ง บริการรถเชา รถรับสงสนามบิน โรงแรม รวมทั้งเสนอขาย ผลิตภัณฑและบริการที่บริษัทฯ มีอยูแลว อาทิ สินคา THAI S o ชองทางพิเศษ (Fast Track) หองรับรองพิเศษ ( ounge) เปนตน รวมทั้งหาผลิตภัณฑตางๆ ที่คิดวาเปน ที่นาสนใจ คุณภาพทีค่ ดั สรรมาอยางดีจากทีต่ า งๆ ทัง้ ในและตางประเทศ อาทิ ผลิตภัณฑในสังกัดกระทรวงพาณิชย ผลิตภัณฑ T P นอกจากจะเปนการสงเสริมผลิตภัณฑในประเทศแลว ยัง เป น การสนั บ สนุ น นโยบายรั ฐ บาลและต อ นรั บ การเป ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A ) อีกทางหนึ่ง ทั้งนี้บริษัทฯ มีขีดความสามารถที่จะหารายเสริมที่อื่นๆ ไดนอกเหนือจาก ธุรกิจการบิน โดยการหาความรวมมือทางธุรกิจที่มีความ สอดคลองกันเพิ่มขึ้น รวมทั้งการเจรจาและตอยอดธุรกิจกับ พันธมิตรทางธุรกิจใหมๆ ที่จะเขามาเสริมธุรกิจการบินให
ลก
เขมแข็งขึ้น เพื่อตอบสนองรสนิยม ( i esty e) ของลูกคา ยุคใหมทตี่ อ งการความสะดวกสบาย รวดเร็วและเปนการเพิม่ มูลคาเพิม่ ใหกบั แบรนด (Brand) ดวย รวมทัง้ จะทําใหเว็บไซต (Website) ของบริษั ทฯ มีบทบาทและแข็งแกรงมากยิ่งขึ้น และเพิม่ ความประทับใจใหกบั ลูกคาของการบินไทยตามความ ตองการในการใชบริการทีแ่ ตกตางกันในระหวางการเดินทาง ( usto er x erience Manage ent) ธุรกิจการขนสงทางอากาศ การทองเที่ยวและการขนสง เปน ธุรกิจที่มีความโดดเดนและอยูในความสนใจทั้งจากผูบริโภค ภายในประเทศและจากประเทศเพื่อนบาน โดยบริษัทฯ วาง กลยุ ท ธ เ พื่ อ รองรั บ กั บ ความต อ งการของลู ก ค าในระดั บ นานาชาติและบริการจัดสงแบบครบวงจร คือสัง่ ซือ้ สินคาและ ผลิตภัณฑผานออนไลนของบริษั ทฯ จายเงินและดําเนินการ จัดสงใหถงึ มืออยางเรียบรอย ทัง้ นีล้ กู คาจะไดรบั ความสะดวก ในการซื้อบริการเสริมตางๆ ที่มีคุณภาพ มีความคุมราคาที่ การบินไทยทําการคัดสรรมาแลว และนําเสนอเปนทางเลือก ตามรสนิยมและความตองการของผูโ ดยสารตามเสนทางและ วัตถุประสงคของการเดินทาง ซึ่งบริการเสริมดังกลาว จะทํา ใหผูโดยสารของการบินไทยไดรับประสบการณที่ดีตลอด การเดิน ทาง และบอกตอประสบการณการเดิน ทางผาน สื่อสังคมออนไลนและกับเพื่อนๆ เพื่อจูงใจใหหันกลับมาใช บริการของการบินไทยตอไป
กลุมลูกคา ล การพั นา อง าง ั าหนา
ในการดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ใหบริการขนสงผูโ ดยสารเปนหลัก โดยทําการขนสงเชื่อมโยงเมืองหลักของประเทศไทย ไปยัง เมืองตางๆ ทัว่ โลกทัง้ ในแบบเทีย่ วบินประจํา และเทีย่ วบินเชา เหมาลํา ในเสนทางบินระหวางประเทศและภายในประเทศ โดยวางตําแหนงทางการตลาด (Marketing Positioning) เปน สายการบินชั้นเยี่ยมระดับโลก (Pre iu Service Air ine) ใหบริการในลักษณะครบวงจร (Fu Service) มาโดยตลอด บริษัทฯ ยังคงดูแลลูกคาในทุกกลุม (Seg ent) เปนอยางดี โดยเนนการตอบสนองแตละกลุม และการพั นาชองทาง จัดจําหนาย ใหตรงกับความตองการและความคาดหวังอยาง แทจริง กลุมลูกคาแบงออกเปน ลูกคาพรีเมี่ยม ประกอบดวยลูกคาชั้นหนึ่ง ชั้นธุรกิจ สมาชิกแพลตินั่ม สมาชิกบัตรทอง ลูกคาภาคราชการ ( overn ent) ลูกคากลุมองคกร ( or orates) และลูกคานักธุรกิจ ธุรกิจขนาดยอม (SM S a and Mediu nter rise) ลูกคากลุมทองเที่ยว ( eisure) นักเรียน และลูกคากลุมเยี่ยมเพื่อนและญาติ ( FR isiting Friends and Re atives)
ะการประกอบธุรกิจ
ลูกคานิยมกี า และกิจกรรมพิเศษ (S ecia Interest and i esty e) ลูกคากลุม ประชุมสัมมนา นิทรรศการการคา การทองเทีย่ ว ที่ไดรับเปนรางวัล (MI ) ลูกคากลุมอื่นๆ ทั้งนี้ บริษั ทฯ พรอมบริการลูกคาทุกกลุม (A Seg ents Product ering) โดยใชกลยุทธทั้งในเชิงบริหารรายได (Revenue Manage ent) ควบคูกับการบริหารราคาขาย (Pricing) ที่แตกตางกันไปในแตละกลุมลูกคาที่มีความ ตองการของแตละกลุมไมเหมือนกัน
การ า บบ ครือ า การบินสตารอัล ล อน
ล กลุมพันธมิตร
โดยบริษั ทฯ มีเปาหมายในการเพิ่มเที่ยวบิน ที่บินตรงเขา ประเทศไทยใหมากขึ้น เนนความถี่ของเที่ยวบินในจุดบินที่มี ศักยภาพ ควบคูกับการเปดจุดบินใหมอยางระมัดระวัง มี เปาหมายในการขยายเสน ทางบินเพื่อใหครอบคลุมจุดบิน มากที่สุด ผานเครือขายพันธมิตรการบินสตารอัลไลแอนซ ทั้งแบบการบินตรงในลักษณะจุดบินตอจุดบิน (Point-toPoint) และเชื่อมตอในลักษณะตอเลยไปยังอีกจุดบินหนึ่ง (Beyond Point) ครอบคลุมระหวางจุดบินทุกจุดที่บริษั ทฯ ใหบริการเอง และการที่บริษัทฯ เปนสวนหนึ่งของพันธมิตร การบินที่ใหญและมีความเขมแข็งที่สุด คือ สตารอัลไลแอนซ ทําใหบริษั ทฯ สามารถใหบริการในเสนทางอื่นเพิ่มเติมโดย เชื่อมตอกับเสน ทางตางๆ ของเครือขายพันธมิตรการบิน สตารอัลไลแอนซ ซึ่งมีสมาชิกทั้งหมด 2 สายการบินให บริการมากกวา 1 500 เที่ยวบินตอวัน ไปยัง 1 330 จุดบิน ทั่วโลก THAI ontact enter ศูนยบริการลูกคาทางโทรศัพท (02-356-1111) เปนดานแรกของจุดบริการหลักที่ลูกคาจะ ตัดสินใจใชบริการ บริษั ทฯ เล็งเห็นความสําคัญในการให บริการในสวนนี้เปนอยางมาก โดยมีขอตกลงระดับการให บริการ (Service eve Agree ent S A) คือ ตองใหบริการ ตอบรับสายลูกคารอยละ 0 ของปริมาณสายที่เรียกเขา ทั้งหมดภายในเวลา 20 วินาที และมีอัตราละทิ้งสายไมเกิน รอยละ โดยมีบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญดานนี้รับการวาจาง มาใหบริการภายใตการดูแลของหนวยงาน T ตามมาตรฐาน ที่กําหนด เพื่อเพิ่มความพึงพอใจสูงสุดใหแกลูกคา บริษั ทฯ มีชองทางในการตอบรับการบริการลูกคาหลาย ชองทาง ทัง้ ทางโทรศัพท อีเมล แฟกซ และโทรศัพทเลขหมาย บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 27
พิเศษ สําหรับลูกคากลุมตางๆ ทั้งลูกคากลุมพรีเมี่ยม ลูกคา ภาคราชการ และลูกคากลุมองคกร จากการเติบโตอยางรวดเร็วของชองทางดิจิทัล ( igita ) ประกอบกับการเปลีย่ นแปลงอยางตอเนือ่ งของเทคโนโลยีใหม ที่ กํ า ลั ง เข า มา ทํ า ให เ กิ ด การแข ง ขั น อย า งรุ น แรงใน อุตสาหกรรมและธุรกิจการบินของโลก จึงไมสามารถปฏิเสธ ไดวา ผูบริโภคจะมีบทบาทสําคัญมากขึ้น ทั้งโทรศัพทมือถือ สมารทโฟน (S art P one) และเครือขายทางสังคมออนไลน (Socia et ork) สงผลใหเกิดสังคมแหงอุปนิสัยใหมของ ผูบ ริโภคทีเ่ รียกวา Socia no ics ทําใหแนวโนมของผูบ ริโภค หัน มาใชชองทางดิจิทัลในการซื้อบัตรโดยสารและการใช บริการทีส่ ามารถทําดวยตนเองได (Se Service) การสือ่ สาร ต า งๆ กั บ บริ ษั ท ฯ ผ า นช อ งทางดิ จิ ทั ล มากขึ้ น เป น ลํ า ดั บ การบินไทยจึงใหความสําคัญกับชองทางดิจิทัล เพื่อรองรับ แนวโนมการเติบโตของเทคโนโลยี รวมทั้งการสรางสรรคสิ่ง ใหมๆ ทีแ่ ตกตางไปจากเดิมและรวดเร็วกวาคูแ ขงขัน บริษัทฯ จึงมุงเนนการพั นาการใหบริการออนไลนอยางตอเนื่อง เพือ่ ใหลกู คาสามารถใชงานเว็บไซตของการบินไทยไดงา ยและ ทันสมัยอยูตลอดเวลาจากทุกอุปกรณ เชน โทรศัพทมือถือ สมารทโฟน เปนตน นอกจากบริษัทฯ เนนความสะดวกรวดเร็วในการคนหาเทีย่ วบิน และเครือขายเสนทางบินทีเ่ ชือ่ มตอกับสายการบินพันธมิตรไป ทัว่ โลก บริษัทฯยังสามารถใหบริการลูกคาแบบบริการเบ็ดเสร็จ ในจุดเดียว ( ne Sto Services) บริษัทฯ ไดมกี ารปรับตัวและ รับมือกับสภาพการแขงขันตางๆ ใหมปี ระสิทธิภาพทีแ่ ตกตาง กัน โดยการขยายชองทางชําระเงิน หลากหลายชองทางมากขึน้ เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายใหกับลูกคา เชน ชําระเงินผาน ounter Service even Tesco otus PayPa ine Pay ATM Bank Trans er และอืน่ ๆ เปนตน นอกจากนี้ ยังพั นา การสือ่ สารขอมูล เพือ่ ดึงดูดความสนใจกับลูกคาและชวยเผยแพร ไปในวงกวาง รวมทั้งการบริหารการสงเสริมภาพลักษณของ บริษั ทฯ ขยายเครือขายและสรางความสัมพันธกับชุมชน ออนไลน ( n ine o unication) ผานชองทาง Socia Media ของการบินไทย ซึง่ จัดทําในหลายรูปแบบ อาทิ Banner In o gra ic เปนตนตลอดจนการใชชอ งทาง Socia Media ในการสงเสริมรายไดใหบริษัทฯ ไดอกี ทางหนึง่
กิ กรรมสง สริมการตลา ล สง สริมการ า
บริษัทฯ ไดดําเนินการดานสงเสริมการขายและการตลาดทั้ง ในและตางประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อรักษาสวนแบงตลาด เสริมความสามารถในการแขงขัน และสรางรายไดใหมากทีส่ ดุ 28 รายงานประจําป 2559
ในสภาวะตลาดที่ ไดรับผลกระทบจากปจจัยผันผวนภายนอก ทั้งดานเศรษฐกิจ การเมือง และการแขงขันในตลาด รวมถึง กิจกรรมสงเสริมการขายและการตลาดโดยโปรแกรมสะสมไมล รอยัล ออรคิด พลัส (Roya rc id P us R P) และรายการ แพ็คเกจทองเที่ยว รอยัล ออรคิด อลิเดย เอื้องหลวง (Roya rc id Ho iday R H) ทีห่ ลากหลาย ซึง่ คัดสรรแลว สําหรับนักทองเที่ยวผูโดยสารการบินไทย เปนการใหบริการ เชือ่ มตอจากการโดยสารเครือ่ งบิน ในการใหบริการทีพ่ กั และ การทองเที่ยวแกผูโดยสารของการบินไทย รอยัล ออรคิด อลิเดย มีการขายผานทั้งสํานักงานขายและ ตัวแทนจําหนายของการบินไทย มีการพั นาระบบเพื่อให รองรับการขายผานอินเทอรเน็ต ( n ine) มีการพั นา รายการทองเที่ยวทั้งในและตางประเทศ ที่ตอบสนองความ ตองการของลูกคาไดอยางครบถวนและหลากหลาย มีการ สงเสริมการขายผานสื่อโ ษณาประชาสัมพันธ การจัด vent และการเขารวมงานแสดงสินคาตางๆ รวมทั้งการจัดรายการ สงเสริมการขายชวงนอก ดูกาลทองเที่ยว นโยบายเหลานี้ เปนทั้งการสงเสริมการขายและการประชาสัมพันธรายการ ทัวร รอยัล ออรคดิ อลิเดย และทัวรเอือ้ งหลวง ใหเปนทีร่ จู กั ของลูกคามากขึน้ และยังเปนการสนับสนุนนโยบายรัฐบาลใน การสงเสริมประเทศไทยใหเปนศูนยกลางการทองเที่ยวของ เอเชียตะวันออกเ ียงใตดวย
อง างการ ั าหนา องสา การบิน สมา ล
แมวาสายการบินไทยสมายลไดแยกระบบการจัดจําหนาย และบริการลูกคา ( istribution and Passenger Service Syste PS) ออกจากการบินไทย ตัง้ แตเดือนตุลาคม 255 เปนตนมา สายการบินไทยสมายลไดดําเนินการจัดจําหนาย ผานระบบของสายการบินไทยสมายลเอง แตเพื่อใหการ บริการผูโ ดยสารทีเ่ ดินทางตอเนือ่ งในเสนทางของการบินไทย รวมไปถึงเพิ่มศักยภาพของเครือขายการบินไทยใหแข็งแกรง สายการบินไทยสมายลจึงยังคงมีการจัดจําหนายรวมกับ การบินไทย ผานสัญญาเที่ยวบินรหัสรวม ( ode S are Agree ent) สายการบินไทยสมายลมุงเนนการควบคุมและบริหารจัดการ ตนทุนใหมีประสิทธิภาพ โดยรักษาระดับตนทุนคงที่ (Fixed ost) ให ตํ่ า เน น การดํ า เนิ น งานเ พาะกิ จ กรรมหลั ก ที่ เกี่ยวของโดยตรงกับธุรกิจ ไดแก การปฏิบัติการบิน การ ควบคุมมาตรฐานความปลอดภัย การกําหนดรูปแบบและ มาตรฐานการใหบริการลูกคา การใหบริการลูกคาบนเครือ่ งบิน การบริหารภาพลักษณตราสินคาและการสื่อสารการตลาด การกํ า หนดราคาและการบริ ห ารรายได ทั้ ง นี้ น อกจาก
ลก
สายการบินไทยสมายลจะจัดจําหนายผานระบบจัดจําหนาย ตรงและผานระบบอิเล็กทรอนิกสเปนหลักแลว ยังไดมกี ารขาย ผานระบบอะมาดิอุส และผานเอเยนตออนไลน ( n ine Trave Agent) เช น x edia Tri Advisor unar SkyScanner etRadar MakeMyTri eartri และ oibibo เพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายฐานลูกคาและเพิ่มการ รับรูใหมากขึ้น เปนตน สภาวะอุตสาหกรรมการบินและการแขงขัน ในป 2559 เศรษฐกิจโลกชะลอตัว โดยเติบโตรอยละ 3 1 ตํ่า กวาปกอน ปจจัยหลักมาจากเศรษฐกิจประเทศพั นาแลวมี การฟนตัวอยางลาชาและเปราะบาง ขณะที่เศรษฐกิจของ ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหมและกําลังพั นายังคงชะลอตัวจาก การคาโลกที่ซบเซา อีกทั้ง นโยบายการเงินที่สวนทางกันของ ประเทศเศรษฐกิจหลัก ประกอบกับความไมแนนอนกรณี สหราชอาณาจั ก รลงประชามติ อ อกจากสหภาพยุ โ รป (BR XIT) และการเปลี่ ย นแปลงผู นํ า ของสหรั ฐ อเมริ ก า ประเทศเศรษฐกิจใหญอันดับ 1 ของโลก ซึ่งอาจกระทบตอ การเปลี่ยนแปลงนโยบายตางๆ รวมถึงภัยกอการรายและ ความตึงเครียดทางดานภูมิรัฐศาสตรยังคงมีอยู ทั้งนี้ การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนถือเปนปจจัยสําคัญที่สง ผลกระทบตอการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก เนื่องจากจีนมี ขนาดเศรษฐกิจใหญเปนอันดับ 2 ของโลกและมีการคาขายกับ หลายประเทศทั่วโลก ซึ่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจจีนลดลง อยูที่รอยละ 6 สําหรับสหรัฐอเมริกามีการขยายตัวลดลงอยู ที่รอยละ 1 6 จากการขยายตัวครึ่งปแรกที่ออนแอเกินคาด และคาเงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งคากระทบภาคการผลิตและ สงออก รวมถึงยังคงเปราะบางจากความไมแนนอนทาง นโยบายการเงิน ในสวนของยูโรโซนและญีป่ นุ ขยายตัวลดลง อยูที่รอยละ 1 และ 0 9 ตามลําดับ ดวยเศรษฐกิจมีการ ฟนตัวอยางชาๆ แตยังคงมีความเสี่ยงจากภาวะเงินฝดและ การบริโภคภายในชะลอตัว โดยเ พาะยุโรปมีความเสี่ยงจาก BR XIT และวิก ตผูอพยพ ขณะที่รัสเซียมีการหดตัวทาง เศรษฐกิจลดลงอยูที่รอยละ 0 6 ผลจากภาวะราคานํ้ามันเริ่ม ปรับตัวขึ้น สําหรับประเทศไทยมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจตํา่ สุดในกลุม อาเซียน แตเติบโตจากปกอนที่รอยละ 3 2 สวนแนวโนมป 2560 กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) คาดการณ การขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกดีขนึ้ ทีป่ ระมาณรอยละ 3 4 โดย คาดการณ ก ารฟ นตั ว ของเศรษฐกิ จ ประเทศพั นาแล ว แข็งแกรงขึน้ และเศรษฐกิจของกลุม ประเทศเกิดใหมและกําลัง พั นาปรับตัวดีขึ้น โดยเ พาะประเทศที่มีการหดตัวทาง
ะการประกอบธุรกิจ
เศรษฐกิจ อาทิ รัสเซียคาดการณการเติบโตอยูที่รอยละ 1 1 สําหรับประเทศไทยคาดการณการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ทีป่ ระมาณ รอยละ 3 3 (ที่มา รายงานสภาวะเศรษฐกิจโลกของกองทุน การเงินระหวางประเทศ (IMF) เดือนมกราคม 2560) ในสวนของราคานํ้ามันซึ่งถือเปนตนทุนหลักของสายการบิน นั้น ราคานํ้ามันดิบและนํ้ามันเครื่องบินเ ลี่ยป 2559 เริ่ม ปรับตัวสูงขึน้ แตยงั คงตํา่ กวาป 255 อยูท รี่ อ ยละ 1 จากภาวะ เศรษฐกิจโลกชะลอตัว สงผลใหความตองการนํ้ามันลดลง ขณะทีป่ ริมาณนํา้ มันดิบยังคงลนตลาด โดยการผลิตนํา้ มันของ กลุมโอเปก ผูผลิตนํ้ามันรายใหญของโลกยังอยูในระดับสูง (เดือนตุลาคม 2559 สูงสุดที่ 33 64 ลานบารเรลตอวัน) ผลจากอิหรานสงออกนํ้ามันไดเพิ่มขึ้นตอเนื่องหลังจากไดรับ การยกเลิกมาตรการควํ่าบาตร และความไมสงบในบาง ประเทศเริ่มคลี่คลายซึ่งทําใหผลิตสงออกไดเพิ่มขึ้น อาทิ ไนจีเรีย และลิเบีย อีกทั้งผูผลิตนํ้ามันรายอื่นนอกกลุมโอเปก มีกาํ ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ โดยเ พาะสหรัฐอเมริกา สงผลใหราคา นํ้ามันดิบและนํ้ามันเครื่องบินเ ลี่ยป 2559 อยูที่ 45 06 และ 52 3 เหรียญสหรัฐฯ ตอบารเรล ตามลําดับ อยางไรก็ดีราคานํ้ามันยังคงผันผวนไปตามสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้น อาทิ ความไมสงบในประเทศผูผลิตนํ้ามัน สภาวะ เศรษฐกิจ อัตราแลกเปลี่ยน และการเก็งกําไรราคานํ้ามัน เปนตน แมสมาชิกกลุม โอเปกมีมติปรับลดกําลังการผลิตอยูท ี่ 32 5-33 0 ลานบารเรลตอวันและกําหนดโควตาการผลิตของ แตละประเทศสมาชิกเพือ่ รักษาเสถียรภาพราคานํา้ มัน แตมติ ดังกลาวยังไมไดขอสรุปที่ชัดเจน สายการบินจึงตองเผชิญกับ ความเสี่ยงจากความไมแนนอนที่เกิดขึ้น ซึ่งจะสงผลตอการ บริหารจัดการและผลประกอบการของสายการบิน สําหรับแนวโนมป 2560 ซิตี้กรุปคาดการณวาราคานํ้ามันดิบ และนํ้ามันเครื่องบินจะปรับตัวสูงขึ้นอยูในระดับที่ 60 และ 0 เหรียญสหรัฐฯ ตอบารเรล ตามลําดับ อยางไรก็ดี ระดับราคา ดังกลาวยังคงตํ่ากวาป 255 ซึ่งแนวโนมราคานํ้ามันที่ยังอยู ในระดับตํ่าถือเปนผลดีตออุตสาหกรรมการบินและบริษั ทฯ เนื่องจากคาใชจายดานนํ้ามันเปนสัดสวนคาใชจายในการ ดําเนินงานทีส่ งู ทีส่ ดุ (ทีม่ า รายงานความเคลือ่ นไหวราคานํา้ มัน รายเดือนแผนกเอกสารและสัญญาการบริหารความเสี่ยง ราคานํา้ มันและคาดการณราคานํา้ มันรายเดือนซิตกี้ รุป เดือน มกราคม 2560 ) อยางไรก็ดี การแขงขันระหวางสายการบินดวยกันยังคงทวี ความรุนแรงอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนการขยายเครือขาย เสนทางบิน ฝูงบิน และการแขงขันดานราคา ทัง้ จากสายการบิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 29
ภูมิภาคตะวันออกกลาง สายการบินตนทุนตํ่า และการเพิ่ม ศักยภาพโดยการรวมตัวของกลุม สายการบินในลักษณะตางๆ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ซึ่งสงผลกระทบ โดยตรงตอการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน ( andsca e) ของการ แขงขันในหลายๆ ภูมิภาคในอุตสาหกรรมการบิน ดังนั้น การปรับตัวของสายการบินควบคูกับการวางกลยุทธในการ บริหารจัดการอยางชัดเจนรอบคอบ และสอดคลองทันตอ เหตุการณ จึงเปนสิ่งที่มีความสําคัญตอการดําเนินงานเพื่อ รักษาความยั่งยืนของสายการบิน สภาวะการขนสงผูโดยสารทางอากาศ สมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (Internationa Air Trans ortation Association IATA) ไดสรุปปริมาณการ ขนสงผูโดยสารทางอากาศ (RP ) ของสายการบินในแตละ ภูมิภาค ป 2559 โดยรวมมีการขยายตัวอยางตอเนื่องรอยละ 6 3 โดยภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ก มี ก ารขยายตั ว สู ง กว า อุตสาหกรรมโดยรวมอยูที่รอยละ 9 2 ในขณะที่ภูมิภาคยุโรป มีอัตราการขยายตัวตํ่ากวาอุตสาหกรรมโดยรวมอยูที่รอยละ 4 6 และ ในป 2560 IATA คาดวาการขนสงผูโดยสารโดยรวม จะเติบโตที่รอยละ 5 1 ซึ่งจะเติบโตตํ่ากวาป 2559 สําหรับสายการบินในภูมิภาคที่มีปริมาณการขนสงผูโดยสาร ทางอากาศ (RP ) ขยายตั ว มากที่ สุ ด คื อ ภู มิ ภ าค ตะวันออกกลาง มีการขยายตัวในป 2559 อยางตอเนื่อง รอยละ 11 2 แตหากเปรียบเทียบสัดสวนการขนสงผูโดยสาร จะอยูท รี่ อ ยละ 9 6 ซึง่ นอยกวาสัดสวนของสายการบินภูมภิ าค เอเชียแปซิฟกประมาณ 3 เทา ซึ่งอยูที่รอยละ 32 9 ของ อุตสาหกรรมโดยรวม อยางไรก็ตาม สายการบินในภูมิภาค ตะวันออกกลางยังคงมีความไดเปรียบจากศักยภาพในการ ขยายธุรกิจ อีกทัง้ มีการเขารวมพันธมิตรและหุน สวนทางธุรกิจ กับหลายสายการบินหลัก ทําใหเพิ่มความสามารถในการให บริการครอบคลุมไปทุกภูมิภาคของโลก สําหรับประเทศไทยในป 2559 ภาพรวมการทองเที่ยวของ ประเทศปรับตัวดีขึ้น จากการที่สถานการณทางการเมืองใน ประเทศคลี่ ค ลาย มาตรการเร ง ฟนฟู ค วามเชื่ อ มั่ น และ มาตรการสงเสริมการทองเที่ยวอยางตอเนื่องของภาครัฐ โดยในภาพรวมมีสายการบินที่ทําการบิน (Sc edu e onSc edu e F ig t) ในเสนทางระหวางประเทศและในประเทศ จํานวน 151 สายการบิน ขนสงผูโดยสารรวม 102 4 ลานคน เพิ่มขึ้นรอยละ 10 เมื่อเทียบกับป 255 โดยมีปจจัยหนุน จากการขยายตัวของเสน ทางการบิน ภายในประเทศและ เสนทางการบินระหวางประเทศ เชนเดียวกับการเติบโตของ นักทองเที่ยวตางชาติที่เดิน ทางมายังประเทศไทยเพิ่มขึ้น 30 รายงานประจําป 2559
รอยละ 9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป 255 จํานวน 32 6 ลานคน ทั้งนี้ ในป 2559 มีผูโดยสารที่เดิน ทางกับ บริษัทฯ (การบินไทยและไทยสมายล) จํานวน 21 6 ลานคน เพิม่ ขึน้ รอยละ 5 คิดเปนสวนแบงทางการตลาด รอยละ 21 1 (ทีม่ า บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน)) การแขงขันของอุตสาหกรรมการบินภายในประเทศ ธุรกิจการบินภายในประเทศปจจุบันมีการแขงขันที่รุนแรง มากขึ้น ทั้งจากสายการบินตนทุนตํ่าที่ใหบริการอยูเดิมมีการ ขยายตัวในตลาดอยางรวดเร็ว และสายการบินตน ทุนตํ่า รายใหมที่เห็นโอกาสจากการขยายตัวของอุปสงคในตลาด เสน ทางภายในประเทศที่มีอยูอยางตอเนื่อง สงผลใหใน แตละปตลาดสามารถเติบโตไดในอัตราสูง โดยในป 2559 มี สายการบินทีท่ าํ การบินภายในประเทศจํานวน 1 สายการบิน มีปริมาณผูโดยสารของสายการบินที่ทําการบิน (Sc edu e on-Sc edu e F ig t) ภายในประเทศเพิ่มขึ้นเปน 35 1 ลานคน เติบโตสูงกวาชวงเดียวกันของปกอ นรอยละ 12 4 ทัง้ นี้ โดยบริษัทฯ (การบินไทยและไทยสมายล) มีการขนสงผูโ ดยสาร ทัง้ สิน้ จํานวน 6 9 ลานคน เติบโตสูงกวาชวงเดียวกันของปกอ น รอยละ 14 คิดเปนสวนแบงตลาดรอยละ 19 6ในป 2559 การแขงขันในอุตสาหกรรมการบินระหวางประเทศ สภาวะแวดลอมและสถานการณตางๆ ในป 2559 ยังคงเปน ปจจัยสําคัญที่สงผลกระทบตอธุรกิจการบินและปริมาณการ เดินทางของผูโ ดยสารทางอากาศ อาทิ ราคานํา้ มันทีล่ ดตํา่ ลง ปญหาเศรษฐกิจในภูมิภาคตางๆ ความผันผวนของอัตรา แลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ ความไมสงบทางการเมืองใน หลายประเทศ รวมทั้งสภาวะการแขงขันที่รุนแรงมากขึ้นจาก การขยายเครื อ ข า ยและการเป ด เส น ทางบิ น ใหม ข องทั้ ง สายการบิ น ที่ ใ ห บ ริ ก ารเต็ ม รู ป แบบ สายการบิ น จาก ตะวันออกกลาง และสายการบินตนทุนตํ่า รวมทั้งมีการเขา รวมเปนพันธมิตรทางธุรกิจในรูปแบบตางๆ ของสายการบิน มากขึ้น อยางไรก็ตาม เมื่อสถานการณความไมสงบทาง การเมืองภายในประเทศคลี่คลายลง การที่ภาครัฐดําเนิน นโยบายกระตุนเศรษฐกิจในหลายดานและการสงเสริมการ ทองเทีย่ วอยางตอเนือ่ ง สงผลใหปริมาณการเดินทางเขา-ออก ประเทศไทยฟนตัวกลับมาเติบโตอีกครัง้ อีกทัง้ บริษัทฯ เห็นวา ยังมีปจจัยบวกที่เปนโอกาสของตลาดประเทศไทยที่สามารถ ขยายตัวได เพราะความเปนศูนยกลางที่เหมาะสมในการ เชื่อมตอระหวางเมืองในอาเซียนและภูมิภาคใกลเคียง อีกทั้ง การตืน่ ตัวจากการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A ) ใน ป 255 จะเปนแรงกระตุนใหมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาคทั้งดานการคาและการลงทุน ซึ่งจะชวยกระตุน และสรางความเชื่อมั่นแกตางชาติในการเดินทางเขา-ออก ประเทศไทยมากขึ้น
ลก
แมวา องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (Internationa ivi Aviation rgani ation I A ) ไดประกาศปรับลด อั น ดั บ ความน า เชื่ อ ถื อ ด า นความปลอดภั ย ในการออกใบ อนุ ญ าตทํ า การบิ น ของประเทศไทย ส ง ผลกระทบต อ อุตสาหกรรมการบินของไทย ทั้งในสวนของสายการบินที่มี ขนาดเล็ก สายการบินเชาเหมาลําและสายการบินเกิดใหม โดย ในสวนของสายการบินขนาดใหญโดยเ พาะสายการบินที่มี การปฏิบัติการบินเขาสูภ าคพื้นทวีปยุโรป การที่ปรระเทศใดๆ ไม ผ า นการประเมิ น ด า นมาตรฐานความปลอดภั ย ของ I A - S AP จะทําใหมีความเปนไปไดสูงมากที่จะถูกระบุ อยูใน Air Sa ety ist หรือ ที่เรียกกันวา Banned ist ดังนั้น การบินไทยจึงใชการขออนุญาตเปน T ird ountry erator (T ) เพือ่ ใหไดเปนสายการบินที่ไดรบั การยกเวน จากการถูก Banned ในกรณีที่การแกไขปญหาดาน มาตรฐานความปลอดภัยของประเทศไทย ลาชา หรือไมเปน ไปตามที่ Air Sa ety o ittee (AS ) คาดหวัง ประกอบ กับ บริษั ทฯ มีการดําเนินการดานความปลอดภัยตรงตาม มาตรฐานและอยู ในระดับสากลอยูแลว และไดพลิกวิก ต ครัง้ นี้ใหเปนโอกาสดวยการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย การบินของบริษัทฯ โดยไดนํามาตรฐานขององคการบริหาร ความปลอดภัยการบินของสหภาพยุโรป หรือ ASA มาเปน รากฐาน (Bedrock) ของมาตรฐานความปลอดภัยการบิน ของบริษัทฯ สรางความมัน่ ใจในการใหบริการดวยคุณภาพและ มาตรฐานความปลอดภัย อยางไรก็ตาม มีความเสีย่ งทําใหไมสามารถเพิม่ เทีย่ วบินไปยัง ตลาดหลัก เชน ญี่ปุนและเกาหลีใต ฯลฯ อีกทั้งในชวงปลาย ป 2559 การปราบทัวรศนู ยเหรียญของรัฐบาลสงผลใหจาํ นวน นักทองเทีย่ วจีนซึง่ เปนตลาดทีม่ นี กั ทองเทีย่ วมายังประเทศไทย มากที่สุดเปนอันดับ 1 ลดลง แตจะสงผลกระทบในระยะสั้น เทานั้น โดยในป 2559 มีปริมาณผูโดยสารของสายการบิน ที่ทําการบิน (Sc edu e on-Sc edu e F ig t) ระหวาง ประเทศเพิม่ ขึน้ เปน 6 2 ลานคน สูงกวาชวงเดียวกันของปกอ น รอยละ 9 9 ทัง้ นี้ โดยบริษัทฯ (การบินไทยและไทยสมายล) มีการขนสงผูโ ดยสารทัง้ สิน้ จํานวน 14 ลานคน เติบโตรอยละ 2 0 อยางไรก็ดี บริษัทฯ ยังคงเปนผูน าํ ตลาดทีม่ สี ว นแบงตลาด ผูโดยสารระหวางประเทศมากที่สุด คือรอยละ 21 9 ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดมีการติดตามประเมินสถานการณและปจจัย ที่เกี่ยวของตางๆ เพื่อปรับกลยุทธใหทันตอทุกเหตุการณและ พ ติกรรมของลูกคาที่เปลี่ยนแปลงไปในแตละตลาดอยาง ตอเนื่อง รวมทั้งพยายามสรางความแข็งแกรงในการแขงขัน ในดานตางๆ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพและประสิทธิภาพในการบริการ ให ดี ยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ สร า งภาพลั ก ษณ ที่ ดี แ ละรั ก ษาความเป น สายการบินชั้นนํา
ะการประกอบธุรกิจ
ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขันของ สายการบินไทยสมายล อุตสาหกรรมการบินยังคงเจริญเติบโตอยางตอเนือ่ ง และเปน อุตสาหกรรมที่มีการแขงขันที่รุนแรงและรวดเร็ว โดยเ พาะ อยางยิง่ ในภูมภิ าคเอเชีย ทัง้ นี้ ในปจจุบนั สายการบินไทยสมายล ทําการบินในเสนทางบินในประเทศเปนจํานวน 14 เสนทางบิน คิดเปนสัดสวนรอยละ 4 2 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด อย า งไรก็ ต าม ด ว ยอั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตที่ ร วดเร็ ว ของ สายการบินตนทุนตํา่ ( o ost Air ine) อาทิ สายการบินไทย แอรเอเชีย สายการบินไทยไลออนแอร สายการบินนกแอร สายการบินไทยเวียดเจ็ท ทําใหสายการบินไทยสมายลตอง เผชิญกับการแขงขันดานราคาและการตลาด ดังเห็นไดจาก อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตของจํ า นวนเที่ ย วบิ น และจํ า นวน ผูโ ดยสารในประเทศของสายการบินตนทุนตํา่ จากทาอากาศยาน ดอนเมือง ในป 255 เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมาถึงรอยละ 30 และรอยละ 34 0 ตามลําดับ ทั้งนี้ ในสวนของทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ อัตราการเจริญเติบโตของจํานวนเที่ยวบิน และ จํานวนผูโดยสารในประเทศในป 255 เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมา ถึงรอยละ 4 4 และรอยละ 4 9 ตามลําดับ (ที่มา ขอมูลสถิติ การขนสงทางอากาศจากการทาอากาศยานแหงประเทศไทย ป 255 ) ในขณะที่เสนทางบินระหวางประเทศที่ทําการบินในปจจุบัน ไดแก ประเทศสาธารณรัฐพมา ประเทศกัมพูชา ประเทศ มาเลเซีย ประเทศจีน ประเทศอินเดีย และเสนทางบินอื่นๆ ที่ สายการบินไทยสมายลจะดําเนินการเปดขึ้นในอนาคต ตอง เผชิญกับการแขงขันที่รุนแรงของสายการบิน Fu Services อาทิ สายการบินบางกอกแอรเวย และสายการบินตนทุนตํ่า อาทิ สายการบินไทยแอรเอเชีย สายการบินไทยไลออนแอร สายการบินนกแอร สายการบินไทยเวียดเจ็ท และสายการบิน จากตางประเทศ ทั้งสายการบินแบบบินประจํา (Sc edu e F ig t) และแบบเชาเหมาลํา ( arter F ig t) สายการบินไทย สมายลจึงไดดําเนินการปรับกลยุทธทั้งในดานเสน ทางบิน ดานการตลาดและการขาย การบริการ และเพิ่มชองทาง การขายและการจัดจําหนายใหสามารถเขาถึงกลุมลูกคาได งายขึ้น เพื่อเปนการขยายฐานลูกคา รวมไปถึงเพิ่มสวนแบง การตลาด พรอมการปรับปรุงคุณภาพและการบริการใหดี ยิ่งขึ้น รวมทั้งดําเนินการประชาสัมพันธเพิ่มการรับรูตรา สินคา (Brand A areness) ทั้งในประเทศและตางประเทศ อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหสายการบินเปนทีร่ จู กั และใชบริการ โดย มุงเนนถึงความคุมคาในการใหบริการ ในราคาที่ผูโดยสาร สามารถเขาถึงและซื้อได
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 31
รอ บิน จ า
- B -300 R - A350-900 - B -9 -B - A320 รม หมายเหตุ
(1)
ป
ป
3 2 3
ป
2
รวม ป
ป
5 2
(1)
5
3 12 2 2 3
บริษัท แอรบัส แจงเลื่อนการรับมอบเครื่องบินแบบแอรบัส A350-900 จากเดิมในป 2560 เปนป 2561
การจัดหาผลิตภัณ หรือบริการ แผน ูงบิน
ป จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ มี ก ารให บ ริ ก ารการขนส ง สิ น ค า และ ไปรษณียภัณฑ ไปยังปลายทางครอบคลุม จุดบิน ใน 32 ประเทศ
กิจการขนสงสินคา พัสดุภัณ และไปรษณียภัณ
การตลาดและการแขงขันของการขนสงสินคา และไปรษณียภัณ การตลาดของบริษั ทฯ เนนการพั นาผลิตภัณฑและบริการ การขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ ใหเปนไปตามความ ตองการของลูกคาและใหเปนที่ยอมรับในการเลือกใชบริการ พรอมทัง้ กําหนดราคาใหสามารถชวงชิงตลาดได นอกจากนัน้ จะตองปรับการตลาดของบริษัทฯ เนนการแขงขันการขนสง สินคาและไปรษณียภัณฑ ยังคงใชราคาเปนปจจัยในการชวงชิง ตลาด นอกจากจะตองปรับแผนการขายใหสอดคลองกับ ทิศทางของตลาด ซึ่งใชนโยบายเชิงรุก โดยใหบริการตาม ความตองการของลูกคาในแตละตลาดเพือ่ ธุรกิจระยะยาวแลว ยังรวมถึงสรางพันธมิตรการบิน สําหรับรองรับจุดบินอื่นๆ ที่ นอกเหนือจากจุดบินในปจจุบนั ในขณะเดียวกันก็เปนการเสริม การขายโดยรับสินคาของพันธมิตรบนเที่ยวบิน ที่บริษั ททํา การบิน การแลกเปลี่ยนธุรกิจกับพันธมิตรนี้จะเพิ่มตลาดใหม และสรางศักยภาพในการแขงขันเพื่อความแข็งแกรงในการ เติบโตอยางยั่งยืน
บริษั ทฯ มีแผนการลงทุนหลักในระยะเวลา 4 ป (ป 255 2561) คือการจัดหาเครื่องบินและอุปกรณการบิน จํานวน 22 ลํา (ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการจัดหาเครื่องบินใหมที่ ไดรับการ อนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแลวตามแผนยุทธศาสตร ป 25562561) โดยเปนการจัดหาเครื่องบินใหมสําหรับรองรับการ เติบโตทางธุรกิจ และทดแทนการปลดระวางเครื่องบินที่มี อายุการใชงานนาน จํานวน 29 ลํา ทั้งนี้ เพื่อเปนการเพิ่ม ประสิทธิภาพฝูงบิน และรักษาขีดความสามารถในการแขงขัน มีรายละเอียดแผนฝูงบินดังตารางดานบน
ลักษณะผลิตภัณ และบริการ การใหบริการในการขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ มีการแยก ประเภทการบริการเพือ่ ใหตอบสนองความตองการของลูกคา เชน บริการ T Force (T X) เปนการบริการสงสินคาเรงดวน ระหวางประเทศ โดยรับประกันความรวดเร็วและตรงตามเวลา T Fres (T F) เปนการขนสงสินคาทีส่ ดหรือเนาเสียงาย เชน กลวยไม ฯลฯ T oo (T ) เปนการขนสงสินคาทีต่ อ งรักษา อุณหภูมิ เชน ผัก ผลไม ของสดแชแข็ง ฯลฯ THAI Sensitive Te erature Products (T T) ใหบริการสําหรับสินคาทีต่ อ ง ควบคุมอุณหภูมิ เชน วัคซีน หรือ ยา ฯลฯ โดยการใหเชาตู คอนเทนเนอรควบคุมอุณหภูมิ ( ontro ed Te erature nit oading evices - ) ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดวางแผนการ จัดซื้อตูควบคุมอุณหภูมิเพิ่ม เพื่อรองรับการเติบโตของการ ขนสงผลิตภัณฑยา และเวชภัณฑ ซึ่งขยายตัวอยางตอเนื่อง นอกจากนัน้ ยังมีการบริการ THAIPA เปนการขนสงกระเปา ผูโดยสาร ( nacco anied Baggage) ไปยังตางประเทศ และ T ใหบริการขนสงสินคาเรงดวนระหวางสนามบิน ภายในประเทศ โดยมีการประกันรับสงถึงมือผูรับปลายทาง ภายในสถานที่ที่กําหนดใน 24 ชั่วโมง 32 รายงานประจําป 2559
ผลจากการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A ) เมื่อป 255 ที่ผานมา ประเทศสมาชิกไดมีการพั นาทางดานการ คาและการลงทุน เสนทางการคมนาคมทัง้ ทางบก และทางนํา้ เพื่อเชื่อมตอระหวางกัน ดังนั้น บริษั ทฯ จึงรางกลยุทธเพื่อ รองรับการขนสงทีเ่ ชือ่ มโยงในรูปแบบ Mu ti Moda ขึน้ ทัง้ นี้ บริษั ทฯ ไดเจรจาและทําสัญญากับบริษั ทที่ทําการขนสง ทางบกในประเทศและตางประเทศ เพือ่ ทําการขนสงเชือ่ มโยง จุดขายอื่นๆ นอกเหนือจากจุดที่ทําการบิน เพื่อใหเขาถึง กลุมลูกคาไดมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะสงเสริมใหสนามบินนานาชาติ สุวรรณภูมิเปนศูนยกลางของการขนสงสินคาทางอากาศ ที่ดีที่สุดในเขต A
ลก
ะการประกอบธุรกิจ
การแขงขันขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑของประเทศไทยมี ตลาดหลักทีส่ าํ คัญ คือ เสนทางภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกกลาง และยุโรป ซึ่งในปจจุบันมีสายการบินคูแขงหลายสาย ทําให การใชราคาเปนเครื่องมือสําคัญเพื่อชวงชิงลูกคา และเพิ่ม สวนแบงทางการตลาด
ในสวนของการขนสงสินคาของประเทศไทย ในป 2559 การสงออกโดยรวม มีปริมาณสินคาเพิ่มขึ้นรอยละ และ การนําเขาโดยรวมมีปริมาณสินคาเพิ่มขึ้นรอยละ 2 ในขณะที่ การขนสงผานแดนเพิ่มขึ้นรอยละ 0 6 ทําใหการขนสงสินคา โดยรวมมีปริมาณ 1 2 ลานตัน เพิม่ ขึน้ จากป 255 รอยละ 3
บริ ษั ท ฯ จึ ง เริ่ ม นโยบายแต ง ตั้ ง ตั ว แทนขายและบริ ก าร ( enera Sa es and Services Agent SSA) หรือบริษัท ตัวแทนขาย ( enera Sa es Agent SA) ที่มีศักยภาพให กับการบินไทยในบางจุดบิน เพือ่ ใหเกิดความคลองตัวในตลาด นั้นๆ และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการขายสินคา ขาเขามายังประเทศไทย
หนวยธุรกิจ
เพื่อธุรกิจระยะยาวบริษัทฯ ยังคงมุงเนนการเสริมสรางความ สัมพันธที่ดีกับผูผลิต ผูสงออกรายสําคัญ และบริษัทตัวแทน ขนสงสินคาทางอากาศที่ทําการขนสงในเสนทางที่บริษั ทฯ ทําการบิน ทั้งนี้ เพื่อสรางความมั่นคงกับฐานลูกคาเดิมที่ สามารถขยายตัว และจะใชบริการกับบริษัทฯ อยางตอเนื่อง นอกเหนือจากการเขาเยี่ยมพบลูกคาแลว บริษั ทฯ ไดจัด กิจกรรมรวมเพื่อเชื่อมความสัมพันธระหวางหนวยงานกับ บริษัทตัวแทนขนสงสินคาทางอากาศเปนประจําในระหวางป
ลักษณะผลิตภัณ หรือบริการ บริษัทฯ ไดดําเนินการใหบริการคลังสินคาที่เขต Free one ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ เพือ่ รองรับการขยายตัวของปริมาณ การขนสงสินคาและไปรษณียภัณฑ ทั้งการนําเขา-สงออก รวมถึงสินคาถายลําทั้งการขนสงระหวางประเทศและภายใน ประเทศ ปจจุบนั มีลกู คาสายการบินตางชาติ 120 ราย เพิม่ ขึน้ จากปที่ผานมา รอยละ 12 ที่ใชบริการของคลังสินคา
สภา การ นสงสินคา างอากา
สมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (IATA) คาดการณ วาป 2560 ปริมาณการขนสงสินคาระหวางประเทศทางอากาศ โดยรวมจะขยายตัวเพิ่มขึ้น เ ลี่ยประมาณรอยละ 3 การเติบโตของเที่ยวบินใหมทําใหปริมาณพื้นที่ระวางใตทอง (Be y Ho d a acity) เพิ่มขึ้นจนในบางเสนทางมีมากเกิน ความตองการของตลาด ทําใหเกิดการแขงขันดานราคา ของสิ น ค า ทั่ ว ๆ ไป ในขณะเดี ย วกั น ธุ ร กิ จ ขายตรง และ e- o erce ก็ผลักดันใหการบริการแบบ oor-to- oor ขยายตัวอยางมาก จึงสงผลใหปริมาณไปรษณียภัณฑแบบ ธรรมดาและแบบ x ress เติบโตอยางรวดเร็ว โดยเ พาะ ในตลาดสงออกของประเทศจีน ดวยเหตุที่ความตองการ ของลูกคาเนน ที่ความสะดวกในการสั่งและรับสินคาแบบ oor-to- oor มากขึ้น ดังนั้น การขนสงสินคาทางอากาศ ตองหันมาใหความสําคัญธุรกิจ e- o erce มากยิ่งขึ้น นอกเหนือจากการบริการขนสงสินคาและวัตถุดิบสําหรับ Su y ain ตางๆ ทัว่ โลก โดยการขยายเสนทางบิน (Su y et ork) โดยการหันมาจับมือกันระหวางสายการบิน เพื่อ สนองตอบความตองการของลูกคาโดยขยายตลาดออกไป
บริษัทฯ ดําเนินกิจการที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการขนสงโดย จัดตัง้ เปนหนวยธุรกิจ ประกอบดวยการบริการคลังสินคาและ การจัดการขนสง การบริการลูกคาภาคพืน้ การบริการลานจอด และอุปกรณภาคพื้น และครัวการบิน โดยมีรายละเอียดดังนี้
ธุรกิจการบริการคลังสินคา
เพื่ อ สร า งความพึ ง พอใจให กั บ ลู ก ค า การดํ า เนิ น งานด า น การบริ ก ารคลั ง สิ น ค า บริ ษั ท ฯ ได เ ริ่ ม นํ า แนวคิ ด ean Manage ent มาใชในการเพิ่มประสิทธิภาพ ปรับปรุง กระบวนการบริการขนสงสินคาของบริษัทฯ โดยเริม่ จากความ รวมมือและระดมความคิดระหวางพนักงานและผูบริหารให เกิดความเขาใจที่ตรงกัน ในวัตถุประสงคและเปาหมายที่ ชัดเจน เพื่อสรางระบบและกระบวนการในการทํางานใหมี ประสิทธิภาพ ลดการสูญเสียจากขั้นตอนที่ ไ มจําเปน หรือ ซํ้าซอน รวมถึงลดขอผิดพลาดในการทํางาน สามารถให บริการไดรวดเร็ว สินคาสงถึงลูกคาตามเวลาโดยไมเกิดความ เสียหาย ในขณะเดียวกันก็ยงั คงไวซงึ่ มาตรฐานความปลอดภัย สภาพแวดลอมในการทํางานที่เหมาะสม และเพื่อนําไปสูการ บริการที่เปนมาตรฐานระดับโลก โครงการกอสรางอาคารคลังสินคา ระยะที่ 2 พื้นที่ประมาณ 22 125 ตารางเมตร ณ บริเวณดานขางอาคารคลังสินคาเดิม จะสามารถรองรับปริมาณสินคาเพิ่มขึ้นไดอีกประมาณ 1 3 ลานตัน โดยปริมาณการขนสงสินคาในป 2559 มีปริมาณ สินคา 9 0 แสนตัน โดยแยกเปนของสายการบินไทย 5 1 แสนตัน และสายการบินลูกคารวมกัน 3 9 แสนตัน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 33
บริษั ทฯ วางแผนที่จะปรับปรุงศูนยลูกคาสัมพันธ ( argo ontact enter ) ที่อาคารคลังสินคาการบินไทย เขตปลอดอากร สุวรรณภูมิ ในป 2560 สําหรับบริการดาน ขอมูลขาวสารแกลูกคา แบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ ( ne Sto In or ation Service enter or usto er) ซึ่งสามารถ ติดตอไดที่หมายเลขโทรศัพท 02-13 -4200 นอกจากนั้นมี การใหบริการระบบติดตามสืบคนสถานะสินคา (Track and Trace) เพื่อสามารถติดตามสถานการณขนสงสินคาผานทาง เว็บไซต t aicargo co ทําใหลูกคาสามารถรับทราบ สถานะของสินคาไดอยางถูกตอง เพื่อสนับสนุนการดําเนินธุรกิจ เพิ่มความสามารถในการ แขงขัน และเพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน ตลอดจนเพือ่ สรางความพึงพอใจและตอบสนองความตองการของลูกคา บริษั ทฯ ไดทําการพั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหม เรียกโดยยอวา “ H R S” เพือ่ ทดแทนระบบเดิม ( R HI S) H R S เปนระบบ Integrated Syste ของการสํารอง ระวางบรรทุกสินคา การบริหารจัดการคลังสินคา การบริหาร จัดการ ( nit oading evices) และการบริหารบัญชี รายไดของฝายการพาณิชยสินคาและไปรษณียภัณฑ บริษัท ไดนาํ ระบบ H R S นีเ้ ขามาเริม่ ปฏิบตั งิ านทดแทนระบบเดิม ตั้งแตเดือนสิงหาคม 255 และปจจุบันอยูใน P ase ที่ 2 ที่มี ระบบปฏิบตั งิ านไดแลวเพิม่ ขึน้ คือ ระบบ ai Manage ent ระบบ Revenue P anning Syste (RPS) และกําลังพั นา ระบบ MISB ซึง่ เปนระบบทีช่ ว ยในการจัดทํารายงาน วิเคราะห ขอมูลใหกับผูบริหารในการวิเคราะห วางแผน และตัดสินใจ นอกจากนี้ มีการพั นาระบบ Ware ouse Auto ation ซึ่ ง เป น การเชื่ อ มข อ มู ล ของอุ ป กรณ ใ นคลั ง สิ น ค า ทั้ ง หมด เขากับระบบ H R S เพื่อใชเปนเครื่องมือชวยในการ บริหารจัดการคลังสินคาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นและลด ขอผิดพลาดในกระบวนการทํางานในคลังสินคา คาดวาระบบ H R S จะมีขดี ความสามารถเต็มรูปแบบไดประมาณปลาย ป 2560
ธุรกิจการบริการลูกคาภาคพืน
ลักษณะผลิตภัณ หรือบริการ บริษั ทฯ ไดเพิ่มศักยภาพในการใหบริการลูกคาภาคพื้นแบบ เต็มรูปแบบ (Fu round Hand ing) และสามารถใหบริการ ครบทุ ก แบบของเครื่ อ งบิ น (A Aircra t Ty es) จาก ประสบการณและความเชี่ยวชาญในการใหบริการลูกคา ภาคพื้นมากวา 50 ป นับแตเริ่มใหบริการ ณ ทาอากาศยาน ดอนเมืองเปนตนมา แมวาปจจุบันไดยายฐานการปฏิบัติงาน มาอยูที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษั ทฯ ยังไดรับอนุญาต 34 รายงานประจําป 2559
จากบริษั ท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ใหเปน ผู ป ระกอบการบริ ก ารลู ก ค า ภาคพื้ น ณ ท า อากาศยาน สุวรรณภูมิ ตามสัญญาเลขที่ ทสภ 1-4 2549 โดยมีระยะ เวลาของสัญญารวม 34 ป นับตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2549 ถึงวันที่ 2 กันยายน 25 3 นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั งได รั บ อนุ ญ าตจากท า อากาศยาน นานาชาติ ใ นภู มิ ภ าค ได แ ก เชี ย งใหม หาดใหญ ภู เ ก็ ต กระบี่ และเชียงราย ใหเปนผูใหบริการลูกคาภาคพื้น ณ ทาอากาศยานดังกลาวมาโดยตลอด ทัง้ นี้ สัญญาการอนุญาต ใหเปนผูประกอบการบริการ ณ ทาอากาศยานตางๆ นั้น ยังอยูในระหวางการดําเนินการของบริษัท ทาอากาศยานไทยฯ ยกเวนทาอากาศยานกระบี่ที่เปนของกรมทาอากาศยาน
ร ภ องการ หบริการ
บริการผู สาร ประกอบดวย บริการตรวจรับบัตรโดยสาร เอกสารการเดินทาง หมายเลขที่นั่ง อาหารพิเศษ และ หรือ บริการพิเศษในแตละรูปแบบการเดินทางหรือตามที่ไดสาํ รอง ไวลว งหนา ตรวจสอบและบันทึกนํา้ หนักสัมภาระของผูโ ดยสาร รวมถึ ง บริ การผู โ ดยสารขาออกบริ เ วณห อ งพั กผู โ ดยสาร กอนเขาอากาศยาน ใหบริการตรวจทานเอกสารการเดินทาง จัดลําดับและระเบียบการเขาสูอากาศยาน และอํานวยความ สะดวกผูโดยสารที่ออกจากอากาศยานสําหรับเที่ยวบินขาเขา บริการหองรับรองพิ สําหรับใหบริการแกผโู ดยสารชัน้ หนึง่ ชัน้ ธุรกิจ ผูโ ดยสารสมาชิกบัตรแพลททินมั่ และสมาชิกบัตรทอง มีบริการสปา (Roya rc id S a) สําหรับผูโดยสารชั้นหนึ่ง และชั้นธุรกิจ บริการ านสัมภาร ใหบริการตรวจสอบ ติดตามสัมภาระ สูญหาย และซอมแซมหรือชดใชกรณีกระเปาชํารุดเสียหาย รวมถึงใหบริการนําสัมภาระลาชาสงใหกับผูโดยสารถึงที่พัก รวมถึงติดตามและจัดเก็บสิ่งของลืมบนเครี่องบิน บริการค บคุมร างบรร ุก และบริการวางแผนระวาง บรรทุก คํานวณนํ้าหนักบรรทุก ควบคุมการบรรทุกสัมภาระ สินคา และไปรษณียภัณฑทั้งขาขึ้นและขาลง ( oading and n oading) บริการสนับสนุนการ หบริการ เชน ดูแลชวยเหลือผูโดยสาร ทีป่ ระสบปญหาตางๆ ทัง้ เทีย่ วบินขาเขา-ขาออก และผูโ ดยสาร ตอเครื่องหรือผูโดยสารพลาดการตอเที่ยวบิน (กรณีเที่ยวบิน ขาเขาของบริษัทการบินไทยลาชา) ใหสามารถเดินทางตอไป ยังจุดหมายปลายทางไดอยางราบรื่น ไดรับความสะดวก
ลก
ะการประกอบธุรกิจ
ดวยตนเอง ถือเปนเปาหมายที่บริษั ทฯ จะรุกเขาไปเสนอให บริการแกสายการบินเหลานี้ดวย ในสวนของการใหบริการ ณ ทาอากาศยานภูมภิ าคทีเ่ ชียงใหม หาดใหญ ภูเก็ต กระบี่ และเชียงรายนั้น จะมีคูแขงอยูเพียง แหงละ 1 ราย โดยสัดสวนทางการตลาดของบริษั ทฯ จะ มากกวารอยละ 0 ทั้งนี้ ทาอากาศยานภูเก็ตจะเปนตลาด ที่มีอุปสงค ( e and) มาก ทั้งสายการบินแบบ ดูกาล (Seasona ) และแบบเชาเหมาลํา ( arter) รวมทั้งสายการ บินราคาประหยัด ( o ost arriers) ซึ่งจะมีจํานวนเพิ่ม มากขึ้นเรื่อยๆ ปลอดภั ย มากที่ สุ ด การให บ ริ ก ารยั ง ครอบคลุ ม ถึ ง การ ประสานงานกับหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจอื่นๆ เชน กองบั ง คั บ การตรวจคนเข า เมื อ ง กรมศุ ล กากรและการ ทาอากาศยานฯ นอกจากนี้ ยังมีบริการพิเศษตางๆ (S ecia Services) เชน การบริการเ พาะบุคคลสําคัญ ผูโดยสารที่ เดินทางในชัน้ หนึง่ การใหบริการเช็คอินลวงหนาทางโทรศัพท สําหรับผูโดยสารชั้นหนึ่ง และเคานเตอรเช็คอินพิเศษสําหรับ ผูโดยสารชั้นธุรกิจ สมาชิกแพลททินั่ม และสมาชิกบัตรทอง รวมทั้งการบริการผูโดยสารสูงอายุ ผูพิการ ผูปวยที่แพทย รับรองการเดินทาง และผูโดยสารที่มีอายุตํ่ากวา 12 ปที่ เดินทางลําพัง เปนตน บริ การพิ
พา ลู ก ค า องหน งาน อก น อาทิ ธนาคาร และบริษั ท เอกชนตางๆ ที่ตองการใหบริษั ทฯ อํานวยความสะดวกให ลูกคาของตนเปนพิเศษ เชน บริการดานการอํานวยความ สะดวกในการเดินทาง หองรับรองพิเศษ และการบริการพิเศษ ตางๆ ตามที่ระบุในสัญญาการใหบริการ บริการสา การบินลูกคา ใหบริการผูโดยสาร สัมภาระ การควบคุมระวางบรรทุก หองรับรองพิเศษ และการบริการพิเศษตางๆ ตามที่มีระบุไว ในสัญญาการใหบริการ การตลาดและการแขงขัน นโยบายการตลาดของฝายบริการลูกคาภาคพื้น เนนการเพิ่ม สัดสวนของบริษัทฯ ในตลาดการใหบริการลูกคาภาคพื้น ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งมีคูแขงอยูอีก 2 ราย โดยฝาย บริการลูกคาภาคพื้นมีสายการบินลูกคา 43 สายการบิน เปน สัดสวนอยูรอยละ 35 บริษั ทคูแขงมีสัดสวนทางตลาดอยู รอยละ 3 สวนสายการบินที่มีการบริการภาคพื้นดวยตนเอง มีสดั สวนอยูร อ ยละ 2 และสายการบินทีม่ กี ารบริการภาคพืน้
การใหบริการเที่ยวบินแบบเหมาลํา ( arter F ig t) ที่ ทาอากาศยานดอนเมือง เพือ่ ใหสอดคลองกับนโยบายการเปด ใหบริการทาอากาศยานดอนเมืองของบริษั ททาอากาศยาน ไทยฯ ที่ประกาศใชมาตั้งแตป 255 เปนโอกาสในการขยาย รูปแบบบริการที่จะสามารถเพิ่มรายไดจากการใหบริการ ภาคพื้น ณ ทาอากาศยานดอนเมืองในอีกทางหนึ่งดวย การจัดหาผลิตภัณ และการบริการ ปจจัยสําคัญที่มีผลกระทบอยางยิ่งตอการใหบริการลูกคา ภาคพืน้ ในทุกๆ ทาอากาศยาน คือ แรงงาน เนือ่ งจากการปรับ คาจางแรงงานขั้นตํ่าในประเทศไทย ทําใหแรงงานที่มีอยูใน ภาคอุตสาหกรรมการเดินอากาศ หรือธุรกิจการบิน มีการ โยกยายไปสูอุตสาหกรรมอื่นๆ เนื่องดวยการไดรับคาจาง เทากันหรือตํ่ากวาเล็กนอย แตไมตองเหนื่อยจากการทํางาน เปนกะ ซึ่งทั้งบริษัทฯ เองและคูแขง ตางไดรับผลกระทบจาก สถานการณที่เกิดขึ้นเชนเดียวกัน ในสวนของบริษัทฯ นั้น ไดมีการบริหารจัดการแรงงาน เพื่อ ดําเนินการแกไขปญหาดังกลาว ดวยการวาจางแรงงานแบบ จัดจางคนภายนอก ( utsources) และแบบเหมางานบริการ ( ut- ob) รวมทั้งหาแรงงานแบบไมเต็มเวลา (Part Ti e) มาเสริม เพื่อใหมีปริมาณแรงงานเพียงพอตอการใหบริการ ลูกคาภาคพื้นในทุกทาอากาศยานดังกลาวขางตน อีกทั้ง บริษัทฯ มีนโยบายในการแปรสภาพการจางแรงงานภายนอก ของบริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด ที่บริษัทฯ ถือหุนอยู ใหเปน พนักงานแบบสัญญา เพื่อสรางความมั่นคงในการ ทํางานใหแกพนักงานเหลานั้น
ธุรกิจการบริการอุปกรณภาคพืน
ลักษณะผลิตภัณ หรือบริการ ฝ า ยบริ ก ารอุ ป กรณ ภ าคพื้ น ได รั บ อนุ ญ าตจากบริ ษั ท ทาอากาศยานไทยฯ ใหเปนผูประกอบการบริการอุปกรณ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 35
ภาคพืน้ ตามสัญญาที่ ทสภ 1-50 2549 โดยมีระยะเวลาของ สัญญา 34 ปนับตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2549 ถึงวันที่ 2 กันยายน 25 3
โดยการจั ด ทํ า เป น แผนป อ งกั น และการฝ กเตรี ย ม ความพร อ มสํ า หรั บ รองรั บ เหตุ ุ ก เ ิ น ร ว มกั บ บริ ษั ท ทาอากาศยานไทยฯ อยางนอยปละหนึ่งครั้ง
ฝายบริการอุปกรณภาคพืน้ มีประสบการณและความเชีย่ วชาญ ในการใหบริการอุปกรณภาคพืน้ มากวา 55 ปในการใหบริการ กับอากาศยานทุกประเภททั้งอากาศยานของบริษั ทฯ และ สายการบินลูกคา
นอกจากการใหบริการขางตนแลว ฝายบริการอุปกรณภาคพืน้ ยังมีขดี ความสามารถในการซอมบํารุงอุปกรณบริการภาคพืน้ และตูคอนเทนเนอรบรรจุสัมภาระของผูโดยสาร ( nit oading evices) ซึ่งผานการรับรองแหลงซอม จาก สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท )
ประเภทของการใหบริการประกอบดวย 1 การใหบริการขนถายสัมภาระไดทกุ ประเภทในรูปแบบของ สัมภาระผูโดยสาร สินคาและไปรษณียภัณฑทั้งเที่ยวบิน ขาเขาและขาออก โดยการใหบริการดังกลาวยังรวมถึง การขนถายสินคาขนาดใหญที่ขนสงดวยอากาศยานแบบ เครื่องบินขนสงสินคา (Freig ter) 2 การใหบริการบันไดสําหรับใชขึ้น-ลงอากาศยาน การให บริ ก ารขนส ง ผู โ ดยสารจากอาคารผู โ ดยสารไปยั ง อากาศยาน และ หรื อ จากอากาศยานมายั ง อาคาร ผูโดยสาร ทั้งนี้ ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นสามารถให บริการแกผูโดยสาร IP ดวยรถโดยสารพิเศษที่มีความ หรูหรา และทันสมัยเหมาะสมกับระดับของผูโ ดยสารแตละ ประเภทรวมถึงการใหบริการผูโดยสารปวยหรือทุพลภาพ 3 การใหบริการอากาศยานดวยอุปกรณจายกระแสไฟฟา อุปกรณชว ยติดเครือ่ งยนตของอากาศยาน อุปกรณสง ลมเย็น เพื่อชวยปรับอุณหภูมิภายในหองโดยสารของอากาศยาน การบริการขนถายสิง่ ปฏิกลู จากอากาศยาน การบริการเติม นํา้ ดืม่ แกอากาศยานดวยมาตรฐานสมาคมขนสงทางอากาศ ระหวางประเทศ (I P IATA rinking-Water ua ity Poo ) และเปนไปตามขอกําหนดของ WH (Wor d Hea t rgani ation) รวมถึงการใหบริการเคลื่อนยาย อากาศยานภาคพื้นดิน 4 การใหบริการทําความสะอาดภายในอากาศยานทัง้ ประเภท อากาศยานจอดแวะ (Transit) และการทําความสะอาดขัน้ โรงเก็บ ( ee ean) ทัง้ นี้ การใหบริการทัง้ สองประเภท นัน้ อยูในระดับของ Secure ean เปนการทําความสะอาด ควบคูไ ปกับการตรวจเช็คดานความมัน่ คงการบินไปในเวลา เดียวกันและจากความทุมเทและการพั นาดานบุคลากร อยางตอเนื่องทําใหการทําความสะอาดภายในอากาศยาน ได รั บ รางวั ล จาก Skytrax และได รั บ การชมเชยจาก สายการบินลูกคามาโดยตลอด 5 การใหบริการอากาศยานในสภาวะ ุกเ ินทั้งกรณี ุกเ ิน ทางการแพทยที่เปนการติดตอจากโรคระบาด การเตรียม รับสภาวะ กุ เ นิ เมือ่ อากาศยานเกิดไฟไหม รวมถึงการยาย ฐานในกรณีสนามบินสุวรรณภูมิไมสามารถใหบริการได 36 รายงานประจําป 2559
การบริการของฝายบริการอุปกรณภาคพื้นไดรับมาตรฐาน ดานความปลอดภัยจากการตรวจประเมินจาก I SA (ตาม มาตรฐานของสมาพันธผูขนสงทางอากาศนานาชาติ (IATA)) มาตรฐานด า นคุ ณ ภาพ IS 9001 และมาตรฐานด า น ความมั่นคงการบินจากการตรวจประเมินจากหนวยงานดาน ความปลอดภัยในการเดิน ทางของประเทศสหรัฐอเมริกา (Trans ortation Security Ad inistration e art ent o Ho e and Security TSA) หนวยงานดานความปลอดภัย ในการเดินทางของประเทศออสเตรเลีย ( ice o Trans ort Security TS) ทําใหลูกคามั่นใจวาการใชบริการจากฝาย บริการอุปกรณภาคพื้นจะไดรับความปลอดภัย ไดมาตรฐาน คุณภาพการใหบริการ และมีความมั่นคงการบินสูงสุด นอกจากการให บ ริ ก ารอุ ป กรณ ภ าคพื้ น ที่ ท า อากาศยาน สุวรรณภูมิแลว ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นยังใหบริการที่ ทาอากาศยานภูมภิ าคอีก 10 แหง ประกอบดวยทาอากาศยาน ดอนเมือง ทาอากาศยานเชียงใหม ทาอากาศยานแมฟาหลวง เชี ย งราย ท า อากาศยานภู เ ก็ ต ท า อากาศยานหาดใหญ ทาอากาศยานกระบี่ ทาอากาศยานอุดรธานี ทาอากาศยาน อู ต ะเภา ท า อากาศยานขอนแก น และท า อากาศยาน สุราษ รธานี อยางไรก็ตามหากทาอากาศยานนอกเหนือไป จากที่ ใหบริการขางตน มีความจําเปนที่ตองใชการบริการ อุปกรณภาคพื้น เชน การบริการเที่ยวบินพิเศษ IP และ IP โดยเครือ่ งบินกองทัพอากาศ การบริการเทีย่ วบิน จั ญ ที่ ทาอากาศยานนราธิวาส ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นสามารถ นํ า อุ ป กรณ ภ าคพื้ น จากท า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ห รื อ ทาอากาศยานขางเคียงมาใหบริการไดอยางเต็มขีดความ สามารถ การตลาดและการแขงขัน การบริการอุปกรณภาคพื้นที่สนามบินสุวรรณภูมิมีคูแขงอยู 1 ราย โดยฝายบริการอุปกรณภาคพืน้ มีลกู คา 5 สายการบิน เปนสัดสวนอยูรอยละ 43 บริษัทคูแขงมีสัดสวนทางตลาดอยู รอยละ 3 สวนสายการบินที่มีการบริการภาคพื้นดวยตนเอง
ลก
ะการประกอบธุรกิจ
มีสัดสวนอยูรอยละ 19 ทั้งนี้ ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นตอง มีศกั ยภาพในการรักษาฐานลูกคาเดิม และแสวงหาลูกคาใหม เพิ่มเติมอยางตอเนื่อง โดยการนําขอมูลจากลูกคาทั้งขอมูล ดานการรองเรียน ( o aint) และขอมูลดานการวัดความ พึงพอใจมาศึกษา วิเคราะหและวางแผนการทํางานเพื่อให ลูกคาไดรับการบริการตามมาตรฐานและเกิดความพึงพอใจ ในการรับบริการอยางสูงสุด สําหรับการหาลูกคาใหมนั้น ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นไดใช จุดแข็ง คือ ศักยภาพในการฝกอบรมผูปฏิบัติงานไดตาม มาตรฐานสากล และการมีหนวยงานควบคุมการบริการภาค พืน้ ทีม่ ขี ดี ความสามารถในการตัดสินใจ ทัง้ ในสถานการณปกติ และสถานการณ กุ เ นิ ในการนําเสนอใหลกู คาเกิดความมัน่ ใจ และตัดสินใจเลือกใชบริการ การจัดหาผลิตภัณ และการบริการ ปจจัยสําคัญในการใหบริการอุปกรณภาคพืน้ คือ อุปกรณและ แรงงาน ในดานของอุปกรณ ฝายบริการภาคพื้นไดจัดทํา โครงการวางแผนอุปกรณภาคพืน้ เพือ่ รองรับฝูงบินของบริษัทฯ และสายการบินลูกคา ( round ui ent Services F eet P an) เพื่อใหมีอุปกรณที่พรอมและเพียงพอตอการใหบริการ และทันสมัยอยูเสมอ โดยมีคาใชจายในการปฏิบัติงานและ การซอมบํารุงตํ่าที่สุด สวนในดานแรงงานนั้น ไดดําเนินการ วาจางแรงงานทั้งแบบจัดจางคนภายนอก ( utsources) และแบบเหมางานบริการ ( ut- ob) โดยแรงงานจะไดรบั การ อบรมภาคท ษ ี และภาคปฏิบัติจากฝายฝกอบรม ตาม มาตรฐานของทาอากาศยาน และมาตรฐานสากล รวมทัง้ การ พั นาแรงงานเดิมใหมีขีดความสามารถควบคุมการใชงาน อุปกรณไดหลายประเภท (Mu ti Ski ) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการใหบริการอุปกรณและมีแรงงานเพียงพอตอการปฏิบัติ งานรวมถึงมีตน ทุนอยูในระดับทีส่ ามารถแขงขันได นอกจากนัน้ ฝายบริการอุปกรณภาคพื้นไดจัดทีมงานวิศวกรศึกษา และ จัดหาอุปกรณที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยเหมาะกับพื้นที่ ในการ ทํางานและอากาศยานทุกประเภท เชน รถลากจูงขบวน สัมภาระแบบใชระบบไฟฟา ( ectric To ing Tractor) เปน รถที่ใชระบบไฟฟาในการขับเคลื่อนสําหรับลากจูงตูสัมภาระ เปนการตอบสนองตอโครงการ reen Air ort ซึ่งทําให ประหยัดตนทุนในการดําเนินการและรักษาสภาพแวดลอมไป ในคราวเดียวกัน
ธุรกิจครัวการบิน
ครัวการบิน เปนอีกหนึง่ ในกิจกรรมสนับสนุนธุรกิจของบริษัทฯ ที่มีการพั นาความเจริญกาวหนาอยางตอเนื่อง และสงผล ดานบวกตอรายไดของบริษัทฯ มาโดยตลอด
ครัวการบิน มีฐานการปฏิบัติการ 2 แหง คือ ครั การบิน าอากา านสุ รร ภูมิ ตั้งอยู ในเขต ปลอดอากร บนพื้ น ที่ ป ระมาณ 90 000 ตารางเมตร ดําเนินการผลิตอาหารเพื่อใหบริการแกผูโดยสารสําหรับ เที่ยวบินระหวางประเทศของบริษั ทฯ และผูโดยสารของ สายการบินชั้นนําอื่นๆ อีกกวา 60 สายการบิน ครั การบิน าอากา าน อน มือง บนพืน้ ทีป่ ระมาณ 40 200 ตารางเมตร ดําเนินการผลิตอาหารเพื่อใหบริการ แกผูโดยสารสําหรับเที่ยวบินภายในประเทศของบริษั ทฯ และผูโดยสารของสายการบินชั้นนําอื่นๆ ที่ทําการบินออก จากทาอากาศยานดอนเมือง นอกจากนี้ ยังดําเนินธุรกิจภาคพืน้ ที่เกี่ยวของกับอาหาร เชน ภัตตาคาร ณ ทาอากาศยาน นานาชาติ รานเบเกอรี่พัฟแอนดพาย (Pu Pie) ดําเนิน การโดยฝายครัวการบินและผูแทนจําหนาย การใหบริการ จั ด เลี้ ย งทั้ ง ในและนอกสถานที่ ร า นอาหารสวั ส ดิ ก าร พนักงาน เปนตน ในตางจังหวัด ครัวการบินยังดําเนิน กิจการตางๆ ณ ทาอากาศยานกระบี่ เชียงใหม และภูเก็ต ในการใหบริการอาหาร และเครื่องดื่มภายในภัตตาคาร ผลิตอาหารเพื่อใหบริการแกผูโดยสารของบริษั ทฯ และ สายการบินอื่นๆ ดวย ครั ว การบิ น เป น ผู นํ า ในการผลิ ต อาหารและบริ ก ารแก สายการบิน โดยมีสวนแบงการตลาดมากกวารอยละ 0 ให บริการแกเที่ยวบินมากกวา 0 000 เที่ยว ป ผลิตอาหาร มากกวา 0 000 ชุด วัน มีสัดสวนการจัดซื้อวัตถุดิบใน ประเทศ รอยละ 9 และนําเขาวัตถุดิบจากตางประเทศ รอยละ 21 กระบวนการผลิตอาหารและบริการของครัวการบินไดรบั การ รับรองฯ ตามมาตรฐานสากล ซึ่งเปนที่ยอมรับจากสมาคม ขนสงทางอากาศระหวางประเทศและองคการอนามัยโลก ประกอบดวย ระบบการจัดการคุณภาพ (IS 9001 2015) บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 37
ระบบการประกั น ความปลอดภั ย ของอาหาร (Ha ard Ana ysis ritica ontro Points HA P) ระบบการจัดการ สุขลักษณะที่ดี ในการผลิตอาหาร ( ood Manu acturing Practices MP) โดยไดประยุกตใชทั้ง 3 ระบบนี้อยาง บูรณาการ ( ua ity-Hygiene-Sa ety HS) นอกจากนี้ ครัวการบินยังไดรับการรับรองระบบการผลิตอาหาร าลาล (Ha a Ha - ) ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย ( HSAS 1 001) และระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (IS 14001) ดวยมาตรฐานสากลและจากประสบการณกวา 50 ป ใน การดําเนินธุรกิจดานอาหารของครัวการบิน มีสวนทําให สายการบินไทยไดรับรางวัลสายการบินยอดเยี่ยมอันดับที่ 1 จาก Skytrax ประเภทการใหบริการอาหารบนเครื่องบิน ชัน้ ประหยัดยอดเยีย่ มป 255 (Wor d s Best cono y ass atering 2014) นอกจากนี้ สายการบิน A i on Air ays (A A) จากประเทศญี่ปุน ไดมอบรางวัล o d Pri e Best Midd e Hau aterer A ard o 2014 รวมถึงสายการบิน A Air (BR) จากประเทศไตหวัน ไดมอบรางวัล xce ent atering Service A ard Si ver 2014 และรางวัล xce ent atering Service A ard o d 2015 รางวัลระดับนานาชาติ เหล า นี้ เป น เครื่ อ งยื น ยั น ถึ ง คุ ณ ภาพและการบริ ก ารของ ครัวการบิน นับเปนความภาคภูมิใจของฝายครัวการบิน ที่ผานมา ครัวการบินไดรับผลกระทบจากเหตุการณตางๆ หลายดาน อาทิ สภาวะเศรษฐกิจ สถานการณทางการเมือง วิก ตการณตางๆ มากมาย รวมถึงตนทุนสินคาและราคา วัตถุดิบที่เพิ่มสูงขึ้น แตดวยความมุงมั่นของฝายบริหารและ พนักงานที่พยายามบริหารจัดการ ปรับกลยุทธในดานตางๆ ใหสอดคลองกับภาวการณตางๆ อาทิ การขยายฐานลูกคา การขยายฐานการผลิต การพั นาผลิตภัณฑอาหารแชแข็งที่ มีรสชาติอาหารไทยแท โดยใหบริการในเที่ยวบินขากลับ บางเสนทาง การขยายสาขาธุรกิจรานเบเกอรี่ การปรับลด คาใชจายเพื่อลดตนทุนในการดําเนินงาน การควบคุมการใช พลังงานเพือ่ ลดคานํา้ คาไฟฟา การนําเอาระบบบริหารมาชวย เพิ่มประสิทธิภาพ ( ean Manage ent) และประยุกตใชใน กระบวนการปฏิบตั งิ านตางๆ ทําใหลดการสูญเสียของวัตถุดบิ มีผลใหคาใชจายวัตถุดิบลดลง ผลจากการปรับโครงสราง ตนทุนใหเหมาะสมตอการแขงขัน ทําใหครัวการบินสามารถ สรางผลกําไรที่เจริญเติบโตอยางตอเนื่อง และยั่งยืน
กิจการอื่นๆ
นอกจากนี้ ยังมีกิจการอื่น ที่เปนธุรกิจสนับสนุนการขนสง ไดแก ธุรกิจบริการซอมบํารุงอากาศยาน ธุรกิจบริการอํานวย 38 รายงานประจําป 2559
การบิน ธุรกิจจําหนายสินคาปลอดภาษีบนเครือ่ งบิน และธุรกิจ จําหนายสินคาที่ระลึก โดยมีรายละเอียดดังนี้
ธุรกิจบริการ อมบารุงอากาศยาน
ฝายชาง เปนหนวยงานที่มีภารกิจรับผิดชอบในการซอมบํารุง อากาศยานของบริษัทฯ ตัง้ แตเริม่ เขาประจําฝูงบิน จนกระทัง่ ปลดประจําการและจําหนายออกจากฝูงบิน ใหคงสภาพความ สมควรเดินอากาศ โดยใหมคี ณ ุ สมบัตคิ รบถวนตามขอกําหนด ของสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท ) และ องคกรตางๆ ที่ควบคุมสายการบิน พาณิชยตามที่บริษั ทฯ ตกลงรับที่จะผูกพัน ซึ่งมุงเนนความปลอดภัยสูงสุด และ นอกจากนี้ ฝายชางยังใหบริการซอมบํารุงอากาศยานของ สายการบินลูกคาอีกดวย การซอมบํารุงอากาศยานของฝายชางประกอบดวยงานหลัก ดังนี้ งาน อมบารุงอากา าน นลาน ั อ เปนการใหบริการตรวจทางเทคนิคและการซอมบํารุง อากาศยานทุกครั้งที่มีการจอดแวะ (Transit) การบินกลับ ตนทาง (Turnaround) ตลอดจนการจอดคางคืน ( ig t Sto ) ทีท่ า อากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานดอนเมือง และทาอากาศยานอื่นๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ งาน อมบารุง อ เปนการให บริการตรวจทางเทคนิคและการบํารุงรักษาอากาศยาน ตามระยะเวลาบินหรือชั่วโมงบิน ดําเนินการที่ศูนยซอม อากาศยาน ฐานปฏิบัติการสุวรรณภูมิ ดอนเมืองและ อูตะเภา งาน อมบารุง นั รงงาน เปนการ ใหบริการตรวจทางเทคนิคและการบํารุงรักษาอากาศยาน ทั้งลําตัวอากาศยาน (Air ra e) เครื่องยนต ( ngine) อุปกรณ ( o onent) และสวนประกอบตางๆ ตามระยะ เวลาบินหรือชั่วโมงบิน ดําเนินการที่ศูนยซอมอากาศยาน ฐานปฏิบัติการดอนเมือง อูตะเภา และสุวรรณภูมิ การดําเนินการซอมบํารุงอากาศยานของฝายชางในแตละงาน ตามทีก่ ลาวขางตนนัน้ ฝายชางตองมีคณ ุ สมบัตติ ามหลักเกณฑ และผานกระบวนการตรวจสอบจนไดรับการรับรองขีดความ สามารถจากสํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย (กพท ) และจากองคกรควบคุมการบินตางๆ เชน องคการ บริ ห ารการบิ น แห ง สหรั ฐ อเมริ ก า (Federa Aviation Ad inistration - FAA) และองคการความปลอดภัยดาน การบินแหงสหภาพยุโรป ( uro ean Aviation Sa ety Agency - ASA) เปนตน
ลก
นอกจากงานหลักในการซอมบํารุงอากาศยานแลว ฝายชางยัง ใหบริการทําสีลําตัวอากาศยาน ( xterior Aircra t Painting) ใหกับสายการบินตางๆ ที่ทาอากาศยานดอนเมือง รวมทั้งให บริการลางทําความสะอาดลําตัวอากาศยานใหกบั สายการบิน ตางๆ ทีท่ า อากาศยานสุวรรณภูมแิ ละทาอากาศยานดอนเมือง เพื่อชวยสรางภาพลักษณที่ดี ใหกับสายการบิน อีกทั้งยัง ชวยใหประหยัดพลังงานเชื้อเพลิงและชวยลดมลภาวะดาน สิ่งแวดลอม การซอมบํารุงอากาศยานเปนภารกิจทีต่ อ งใชเงินทุนสูงทัง้ ดาน บุคลากร พัสดุ โรงซอม อุปกรณ และเครือ่ งมือเครือ่ งใชตา งๆ ใหเปนไปตามมาตรฐาน และตองมีการพั นาอยางตอเนื่อง ใหทันเทคโนโลยีอากาศยานที่เปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว เพื่อ มุงเนนใหผูโดยสารและผูที่ ใชงานอากาศยานที่ฝายชางให บริการ ไดรับความสะดวกสบายและมีความปลอดภัยสูงสุด
ธุรกิจสนับสนุนการขนสง
กิจการสนับสนุนการขนสงประกอบดวย บริการอํานวยการบิน การจําหนายสินคาปลอดภาษีบนเครื่องบิน และการจําหนาย สินคาที่ระลึก
ะการประกอบธุรกิจ
การ หบริการอาน การบิน การให บริการอํานวยการบินเปนการใหบริการวางแผนการบินและ จัดเตรียมขอมูลรายละเอียดของเสนทางบิน พยากรณ อากาศ รวมทัง้ เอกสารการบินทีเ่ กีย่ วของอืน่ ๆ แกเทีย่ วบิน ของบริษัทฯ และเที่ยวบินของสายการบินลูกคา ใหเปนไป ตามก ระเบียบการบิน และขอกําหนดตามทีร่ ะบุในสัญญา เพื่อใหเที่ยวบินสามารถปฏิบัติการบินไปถึงที่หมายอยาง ปลอดภัย การ าหนา สินคา ลอ ภา บน ครืองบิน ในป 2559 บริษัท ing Po er Marketing and Manage ent o td เปนผูร บั สัมปทานในการจําหนาย สินคาปลอดภาษีบนเครือ่ งบินของบริษัทฯ เพือ่ อํานวยความ สะดวกใหแกผูโดยสาร การ าหนา สินคา ร ลก บริษัทฯ ไดดาํ เนิน การเปดรานจําหนายสินคาที่ระลึก รวมทั้งสิ้น 6 แหง ประกอบด ว ย สํ า นั ก งานใหญ ข องบริ ษั ท ฯ สํ า นั ก งาน หลานหลวง สํานักงานสีลม สํานักงานเชียงใหม ศูนยปฏิบตั ิ การ ( eration enter P ) ณ ทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ และสํานักงานหลักสี่ อีกทั้งไดเปดจําหนาย สินคาผานทางเว็บไซตของบริษัทฯ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 39
ปจจย
าม ส
ทามกลางความเสี่ยงจากหลายปจจัยทั้งภายในและภายนอกตลอดระยะเวลาหลายป ที่ผานมา บริษัทฯ เล็งเห็นความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีกลไกการบริหารงานเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ ควบคูกับการดําเนินธุรกิจดวยความระมัดระวังอยางสูง เพื่อเสริมสราง ความแข็งแกรงใหธุรกิจการบินสามารถเดินหนาตอไปไดอยางมั่นคง บริษัทฯ จึงมุงให ความสําคัญกับการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองคกรอยางตอเนื่องมาตั้งแตป 2546 เพื่อ สรางผลตอบแทนที่นาพึงพอใจและความเชื่อมั่นใหแกผูถือหุนและผูมีสวนไดเสีย โดยมี การระบุปจจัยเสี่ยงและแนวทางการดําเนินการระยะสั้นและระยะยาวในแผนวิสาหกิจ รวมถึงการจัดการฝกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร (Works o ) เรือ่ งการบริหารความเสีย่ งใหแก ผูบริหารทุกระดับอยางตอเนื่อง เพื่อสนับสนุนการปลูกฝงการบริหารความเสี่ยงใหเปน สวนหนึ่งของวั นธรรมองคกร
ปจจัย าม ยง
คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง (Risk Manage ent o ittee) อันประกอบดวย กรรมการบริษัทฯ ซึ่งมีกรรมการอิสระรวมอยูดวย และฝาย บริหารกําหนดและทบทวนนโยบายและกรอบการบริหาร ความเสี่ยงในดานตางๆ อยางสมํ่าเสมอ พรอมทั้งกํากับดูแล ติดตามประสิทธิผลของการบริหารความเสีย่ งดังกลาว เพือ่ ให มั่นใจวาผูบริหารและพนักงานมีการระบุความเสี่ยง ประเมิน และจัดลําดับความสําคัญ สําหรับวางมาตรการปองกัน แกไข ควบคุม และจัดการปจจัยความเสี่ยงทั้งในระดับองคกรและ ระดับฝายทีอ่ ยูในความดูแลรับผิดชอบใหอยูในระดับทีย่ อมรับ ได และเปนระบบสอดคลองกับมาตรฐาน ( o ittee o S onsoring rgani ations o t e Tread ay o ission S ) ประกอบกับมีการรายงานตอคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงและคณะกรรมการบริษั ทฯ ในทุกไตรมาส ทั้งนี้ มาตรการดังกลาวเปนไปเพือ่ สงเสริมใหผบู ริหารและพนักงาน ทุกฝายขององคกรใชการบริหารความเสี่ยงเปนเครื่องมือใน การบริหารงาน
ลดผลกระทบตอตนทุนดานนํ้ามันฯ หากราคามีการปรับตัว สูงขึน้ สําหรับป 2559 บริษัทฯ ไดดาํ เนินการบริหารความเสีย่ ง ราคานํ้ามันฯ ใหคาใชจายนํ้ามันฯ ของบริษัทฯ เปนไปตาม งบประมาณที่ไดตงั้ ไว โดยบริษัทฯ ไดประกันความเสีย่ งราคา นํ้ามันฯ ลวงหนาไวในสัดสวนถัวเ ลี่ยรอยละ 55 ของปริมาณ การใช ทัง้ นีร้ ะหวางปการดําเนินงาน บริษัทฯ ไดมกี ารบริหาร จัดการปรับปรุงธุรกรรมประกันความเสี่ยงราคานํ้ามันฯ ให สอดคลองกับสถานการณราคานํ้ามันโลกอยางใกลชิด
เพื่อปองกันผลกระทบหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจาก ความไม แ น น อน พร อ มกั บ สนั บ สนุ น ให ก ารดํ า เนิ น แผน ฟนฟูกิจการของบริษั ทฯ เปนไปตามเปาหมายที่วางไว ใน ป 255 บริษัทฯ จึงมีการบูรณาการการบริหารความเสี่ยง ระดับองคกรเขากับแผนฟนฟูกิจการของบริษั ทฯ วิเคราะห ถึงสาเหตุของความเสี่ยงและความสัมพันธของความเสี่ยง ตางๆ รวมทั้งไดดําเนินการจัดทําดัชนีชี้วัดความเสี่ยงหลัก ( ey Risk Indicator) เพื่อใชเปนเครื่องเตือนภัยลวงหนา และปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบการบริหารความเสี่ยง ( nter rise- ide Risk Manage ent Syste ) ใหทันสมัย และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อันเอื้อตอการเชื่อมโยงการจัดทํา รายงานการควบคุมภายใน และระบบการบริหารจัดการอื่นๆ ของบริษัทฯ
ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ
ปจจัยเสี่ยงที่มีนัยสาคั
ความเสี่ยงจากความผันผวนของ ราคานามันอากาศยาน
คาใชจายนํ้ามันอากาศยานเปนคาใชจายหลักในการดําเนิน ธุรกิจการบิน โดยบริษัทฯ มีตน ทุนคานํา้ มันอากาศยานคิดเปน ประมาณรอยละ 26 ของคาใชจายในการดําเนินงาน ซึ่งราคา นํ้ามันอากาศยานมีความผันผวนอยางตอเนื่อง บริษัทฯ ไดมี การจัดทําประกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคา นํ้ามัน (Fue Hedging) เพื่อลดความผันผวนของตนทุนดาน นํ้ามันอากาศยาน โดยบริษัทฯ มีนโยบายบริหารความเสี่ยง ราคานํ้ามันอากาศยาน ซึ่งมีผลกระทบตอการดําเนินงานของ บริษั ทฯ มิใชเปนการแสวงหากําไร แตเปนการชะลอและ
นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการเรียกเก็บเงินชดเชยคานํา้ มันสวนเพิม่ ของบริษัทฯ ผานทางคาธรรมเนียมชดเชยคานํา้ มันไดบางสวน ขึน้ อยูก บั สภาวะของตลาด การแขงขัน ความผันผวนของราคา นํา้ มันอากาศยาน การตอบสนองของตลาด และการประมาณ การคาใชจา ยนํา้ มันอากาศยานทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง รวมทัง้ ได มีการบริหารจัดการนํา้ มันคงคลัง (Fue Stock Manage ent) และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห ารจั ด การการใช นํ้ า มั น เชื้อเพลิง (Fue Manage ent)
เนื่องจากบริษั ทฯ มีรายไดเปนเงินตราตางประเทศกวา 50 สกุลเงิน คิดเปนประมาณรอยละ 62 ของรายไดรวมทั้งหมด บริษั ทฯ ไดดําเนินการบริหารความเสี่ยงอันเนื่องจากความ ผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนใหมีประสิทธิภาพ โดยมีการ บริหารภายใตนโยบายการบริหารความเสี่ยงแบบธรรมชาติ ( atura Hedging) คือ การจัดใหรายจายเปนเงินสกุลเดียว กับรายไดมากทีส่ ดุ หลังจากนัน้ บริษัทฯ บริหารกระแสเงินสด โดยจัดการแลกเปลีย่ นเงินคงเหลือในแตละสกุลเขามาเปนเงิน สกุลเงินที่เปนคาใชจายหลักของบริษัทฯ เชน คาใชจายนํ้ามัน คาเชาเครื่องบิน คาใชจายพนักงาน และปรับโครงสรางเงินกู ในสกุลเงินตางๆ ใหสอดคลองกับสกุลเงินของเงินสดสุทธิ จากการดําเนินการ ( et erating as F o ) พรอมๆ กับลดความเสี่ยงของการมีหนี้เปนเงินสกุลตางประเทศมาก เกินไป โดยการมีหนีส้ กุลบาทดวยสวนหนึง่ เพือ่ ลดความผันผวน ของรายการผลกําไร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนในงบ การเงิน ทัง้ นี้ บริษัทฯ ไดนาํ เครือ่ งมือทางการเงินมาใชในการ บริหารความเสีย่ งใหมคี วามเหมาะสม เชน สัญญาแลกเปลีย่ น เงินตราตางประเทศ ( ross urrency S a S) การ Restructure S การแลกเปลีย่ นลวงหนา (For ard) ในชวง ที่ตลาดเงินเอื้ออํานวย โดยในป 2559 บริษัทฯ ดําเนินการออกและเสนอขายหุนกู จํานวน 000 ลานบาท กูเ งินระยะสัน้ ตอจากกระทรวงการคลัง ในรูปแบบการออกตราสาร P จํานวน 150 ลานเหรียญสหรัฐ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 41
เบิกเงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (Revo ving redit ine) จํานวน 2 000 ลานบาท ดําเนินการทํา S จํานวน รายการ และ Restructure S จํานวน 4 รายการ โดย เปนการเปลี่ยนหนี้จากเงินสกุลยูโรและบาท เปนเงินเยน จํานวน รายการ และเปลีย่ นหนีจ้ ากสกุลเหรียญสหรัฐฯ เปน สกุลสวิสฟรังก จํานวน 4 รายการ รวมถึงดําเนินการใช การแลกเปลี่ยนทันที (S ot) และการแลกเปลี่ยนลวงหนา (For ard) จากสกุลเงินอืน่ เปนสกุลเงิน S สําหรับคาใชจา ย นํ้ามัน คาเชาเครื่องบิน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสัดสวนเงินกูระยะยาวในเงินสกุลหลักภายหลังจาก การทํา S ดังนี้ R 39 P 19 และ THB 34 HF (ไมรวมภาระผูกพันคาเชาเครื่องบินเพื่อการดําเนินงาน)
ความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราดอกเบีย
บริษั ทฯ มีนโยบายบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนของ อัตราดอกเบี้ย โดยใชเครื่องมือทางการเงิน ไดแก Interest Rate S a (IRS) เพือ่ แปลงอัตราดอกเบีย้ ลอยตัวทีม่ แี นวโนม ปรับตัว สู ง ขึ้ น มาเป น อั ตราดอกเบี้ยคงที่ หรือ ดํา เนิน การ Restructure ธุรกรรม S หากทําใหบริษัทฯ สามารถลด ตนทุนทางการเงินไดในระยะยาว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสดั สวนของภาระหนีส้ นิ ระยะยาวภายหลังการ S a ที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตออัตราดอกเบี้ยคงที่เทากับ รอยละ 3 ตอ 62 (ไมรวมคาเชาเครือ่ งบินเพือ่ การดําเนินงาน) ทัง้ นี้ หากอัตราดอกเบีย้ ปรับตัวสูงขึน้ รอยละ 1 ตอป จะสงผล ใหบริษัทฯ มีภาระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นประมาณ 605 ลานบาท
42 รายงานประจําป 2559
ความเสี่ยงจากการแขงขันในธุรกิจการบิน
การกาวเขารวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A ) ในปลาย ป 255 ตลอดจนนโยบายเปดเสรีการบินของประเทศไทย ทํ า ให ทุ ก สายการบิ น เห็ น โอกาสในการขยายธุ ร กิ จ ทั้ ง สายการบินที่ ใหบริการอยูเดิมไดเพิ่มปริมาณการผลิตผาน เขาและออกประเทศไทยมากขึ้น และสายการบินใหมที่เปด เสนทางบินเขาและออกประเทศไทย ทําใหการแขงขันทวี ความรุนแรง ซึง่ จะเห็นไดจากปริมาณการสัง่ ซือ้ เครือ่ งบินของ สายการบินที่ใหบริการเต็มรูปแบบและสายการบินตนทุนตํ่า ที่จะเพิ่มอยางมากในชวง 5-10 ปขางหนา รวมทั้งการเติบโต สูงอยางตอเนือ่ งของสายการบินตนทุนตํา่ ในประเทศไทย จาก การเพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยวและการปรับเปลี่ยนพ ติกรรม การเดินทางของคนไทย ซึง่ เปนผลมาจากการกําหนดราคาของ สายการบินตนทุนตํา่ และสายการบินตนทุนตํา่ ยังมีการปรับตัว โดยการพั นารูปแบบการใหบริการจากแบบจุดบินตอจุดบิน (Point-to-Point) เปนลักษณะเชื่อมโยงเครือขายระหวาง สายการบินภายในกลุมมากขึ้น อีกทั้งเพิ่มการใหบริการใน เสนทางบินระยะกลางไดแก จีน ญี่ปุน เกาหลี นอกจากนั้น การแข ง ขั น ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ของเส น ทางบิ น ระยะไกลที่ ทํ า การบินโดยสายการบินตะวันออกกลางที่ใหบริการเต็มรูปแบบ ทําการบินขามทวีป จากทวีปยุโรป ไปทวีปออสเตรเลียโดย ไมผานประเทศไทย และใชตะวันออกกลางเปนจุดเชื่อมตอ ระหวางทวีป ทําใหบริษัทฯ เสียสวนแบงตลาดในเสนทางบิน ยุโรป และเสนทางบินออสเตรเลีย
ปจจัย าม ยง
ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดกําหนดแนวทางตอบสนองการแขงขันโดย มีการติดตามผลการดําเนินงานของแตละเสนทางบินอยาง ใกลชดิ โดยตรวจสอบความเหมาะสมของจํานวนทีน่ งั่ เสนอให บริการและจํานวนผูโดยสารที่ใชบริการ และปรับปรุงความถี่ ของเทีย่ วบินใหเกิดประโยชนสงู สุด มีการปรับปรุงการบริหาร รายไดและราคา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตอบสนองการ แขงขันดานราคาอยางรวดเร็ว เหมาะสมกับความตองการ ของตลาด พั นาประสิทธิภาพความรวมมือกับสายการบิน พันธมิตรใหเชื่อมตอเสนทางบินของบริษัทฯ กับกลุมสายการ บินพันธมิตรในการขยาย et ork ไปจุดตางๆ ใหมากขึ้น มีการปรับปรุงการขายและการจัดจําหนายดาน Web Sa es ให สะดวกและทันสมัย และดําเนินโครงการบริหารจัดการรายได เสริม Anci ary Revenue โดยหารายไดเสริมจากผลิตภัณฑ และบริการ ในการตอบสนองความตองการของลูกคาไดครบ ทุกจุดบริการ รวมทั้งไดพั นาปรับปรุงโครงการสะสมไมล รอยัล ออรคิด พลัส เพื่อรักษาลูกคา และจูงใจใหมีการกลับ มาเลือกใชบริการอยางสมํ่าเสมอ
ความเสี่ยงจากกรณีกรมการบินพลเรือ (บพ.) ไมผานการตรวจประเมินของ C
ตามที่กรมการบินพลเรือน (บพ ) ของประเทศไทยไดถูก ตรวจสอบตามโครงการตรวจสอบการกํากับดูแลความปลอดภัย สากล ( niversa Sa ety versig t Audit Progra S AP) ขององค ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว า งประเทศ (Internationa ivi Aviation rgani ation I A ) และพบ ขอบกพรองทีม่ นี ยั สําคัญ (Signi icant Sa ety oncern SS ) โดยปรากฏสัญลักษณธงแดงที่ชื่อประเทศไทยในเว็บไซต สาธารณะของ I A สงผลใหหนวยงานกํากับดานความ ปลอดภัยการบินพลเรือนของประเทศตางๆ ขาดความเชื่อมัน่ ในมาตรฐานความปลอดภัยของสายการบินของประเทศไทย และไดดําเนินการมาตรการเขมงวดในการกํากับดูแลความ ปลอดภัยดานการบินกับสายการบินของประเทศไทย
บริษั ทฯ ไดติดตามและดําเนินการตามแผนหลักเพื่อบริหาร ความเสี่ยงจากกรณีขางตน โดยมีการเตรียมความพรอมเพื่อ รองรับการตรวจประเมินดานความปลอดภัยการบินจากทุก องคกรสากล มุงเนนใหมีระบบบริหารจัดการดานคุณภาพ และมาตรฐานความปลอดภัยในระดับสูง (Sa ety ua ity Manage ent Syste ) ควบคูไปกับการเตรียมความพรอม รองรับการตรวจสอบความปลอดภัยในการปฏิบัติการบินใน ทุกๆ ดาน ซึ่งผลการตรวจสอบที่ผานมาเปนที่นาพอใจเปน อยางยิ่งมาโดยตลอด อยางไรก็ตาม บริษั ทฯ ไดแสดงความมุงมั่นในการพั นา มาตรฐานความปลอดภัยดานการบิน เพื่อสรางความเชื่อมั่น ใหกบั ผูใ ชบริการ และหนวยงานกํากับดานความปลอดภัยการ บินของประเทศตางๆ ที่อาจมีขอกังวลเกี่ยวกับขอบกพรอง อยางมีนยั สําคัญของกรมการบินพลเรือน จึงไดรเิ ริม่ โครงการ มาตรฐานความปลอดภั ย เหนื อ ระดั บ (Sa ety Beyond o iance) เพื่ อ ยกระดั บ มาตรฐานความปลอดภั ย ดานการบินของบริษั ทฯ และนํามาตรฐานของ uro ean Aviation Sa ety Agency ( ASA) ซึง่ เปนทีย่ อมรับจากองคกร การบินทั่วโลกมาเปนตนแบบ โดยมีเปาหมายสูงสุดในการ เปนสายการบินที่สามารถบินเขาสูนานฟาของทุกประเทศได อยางภาคภูมิใจ โดยบริษัทฯ ไดดําเนินการยื่นขอเปน T ird ountry erators (T ) ของสหภาพยุโรป และไดรับ T Aut ori ation จาก ASA แลว เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 255 ทําใหบริษัทฯ คงสิทธิในการไดรับอนุญาตใหทําการบิน เขายุโรป แสดงใหเห็นวา บริษัทฯ มีมาตรฐานความปลอดภัย ในระดับสูง นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดทําแผนบริหารความตอ เนื่องทางธุรกิจ (Business ontinuity P an) รวมทั้งไดมีการ ฝกซอมเพื่อเตรียมความพรอมรองรับในสถานการณตางๆ เชน การถูกระงับการบินเขายุโรปจาก ASA โดยคํานึงถึง ผลกระทบที่มีตอผูโดยสาร ผูมีสวนไดเสีย ขอจํากัดตางๆ รวมไปถึงผลกระทบทางดานการเงิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 43
ปจจุบนั บริษัทการบินไทยอยูในขัน้ ตอนการทํา Re-A R (Re Air erator erti icate Re uire ents) ของสํานักงาน การบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท ) เดิมคือกรมการบิน พลเรือน และคาดวา บริษัทฯ จะได A ใหมประมาณกลาง ป 2560 ซึ่งการทํา Re-A R เปนสวนหนึ่งของขั้นตอนการ ปลดธงแดงออกจาก กพท
ความเสี่ยงจากวิก ตการณภายนอก และภัยธรรม าติ
ธุรกิจสายการบินซึ่งเปนธุรกิจหลักของบริษัทฯ ประกอบดวย การบริการขนสงผูโดยสารและสินคาทางอากาศทั้งภายใน ประเทศและระหวางประเทศ ซึ่งลวนมีความสัมพันธโดยตรง กับอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว ดังนัน้ จึงทําใหบริษัทฯ อาจได รับผลกระทบจากการชะลอตัวของอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว อันเปนผลจากปจจัยเสีย่ งจากสภาวะแวดลอมตางๆ ทัง้ ภายใน ประเทศและตางประเทศ อาทิ ภัยธรรมชาติ โรคระบาด การกอการราย ความขัดแยงระหวางประเทศ รวมถึงปจจัย การเมืองภายในประเทศ ฯลฯ ซึง่ อาจสงผลใหการดําเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ หยุดชะงักลงได บริษัทฯ ไดตระหนักถึงความจําเปนในการรับมือตอเหตุการณ ดังกลาวใหทัน ทวงที จึงจัดตั้งศูนยปฏิบัติการภาวะวิก ต ( risis Manage ent eration enter M ) เฝาระวัง และติดตามสถานการณตางๆ อยางใกลชิด รวมทั้งกําหนด มาตรการปองกันและแกไขรวมถึงการดําเนินการอยางตอเนือ่ ง เพื่อลดระดับความรุนแรงของความเสี่ยงลง รวมถึงจัดตั้ง คณะกรรมการบริหารภาวะวิก ต และจัดทําการบริหารความ ตอเนื่องทางธุรกิจ (Business ontinuity Manage ent B M) ในกระบวนการที่สําคัญเพื่อรองรับสถานการณตางๆ โดยจัดทําแผนและคูมือรองรับสถานการณ พรอมฝกซอม และประสานความรวมมือกับพันธมิตรการบิน และหนวยงาน รั ฐ วิ ส าหกิ จในสั ง กั ด กระทรวงคมนาคม เพื่ อให บ ริ ษั ท ฯ สามารถดําเนินธุรกิจไดอยางตอเนื่องเมื่อเกิดวิก ตการณ ตางๆ อีกทั้งเพื่อใหเกิดภาพลักษณที่ดีแกบริษั ทฯ และเพิ่ม ความมั่นใจในการเดินทางของผูโดยสาร นอกจากนี้ เพื่อการ ปรับตัวทีร่ วดเร็ว ( yna ic) บริษัทฯ ยังมีการจัดทําประมาณ การผลการดําเนินงานเปนประจําทุกเดือน และมีการประเมิน ผลกระทบจากปจจัยตางๆ ทัง้ ภายในประเทศและตางประเทศ ที่มีผลตอการดําเนินงานของบริษั ทฯ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ อยางมีนัยสําคัญ เพื่อเปนขอมูลใหฝายบริหารพิจารณาปรับ เปลี่ยนกลยุทธ รองรับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป อาทิ การปรับลดปริมาณการผลิต (Production) เมื่อจํานวน ผูโดยสารลดลง เปนตน
44 รายงานประจําป 2559
ความเสี่ยงจากคุณภาพและประสิทธิภาพ ของบุคลากร
บริษั ทฯ มีกิจกรรมที่เกี่ยวของกับธุรกิจการบินจํานวนมาก และอยูรวมในองคกรเดียวกัน ทําใหมีบุคลากรรวมทั้งองคกร จํานวนมาก แตบคุ ลากรมีความรูเ พาะเรือ่ ง และระบบบริหาร ผลการปฏิบัติงานอาจไมสามารถกําหนดตัวชี้วัดที่ดี ในการ ประเมินพนักงานและไมเปนมาตรฐานเดียวกัน ทําใหพนักงาน ขาดแรงจูงใจและอาจไมสามารถผลักดันใหบรรลุเปาหมาย ของบริษัทฯ ทั้งนี้ หลายปที่ผานมาบริษัทฯ พยายามควบคุม จํานวนพนักงานไม ใหเพิ่มขึ้น โดยไมมีการรับพนักงานใหม ทดแทนพนักงานที่ออกไปยกเวนหนวยงานที่มีความจําเปน ทําใหบางหนวยงานมีพนักงานที่ ไมเพียงพอ นอกจากนี้บาง กระบวนการทํางานมีขั้นตอนการดําเนินงาน และการอนุมัติ ที่ลาชาซึ่งอาจเปนอุปสรรคทําใหบริษัทฯ ไมสามารถปรับตัว เขากับสภาพการแขงขันได บริษั ทฯ ไดมุงเสริมสรางพนักงานใหมีขีดความสามารถ มี ผลผลิต และมีความผูกพันตอองคกร โดยบริษั ทฯ จะได ดําเนินการพั นาโครงสรางองคกร ปรับปรุงกระบวนการ ทํ า งาน และอั ต รากํ า ลั ง ให ส อดคล อ งกั บ กลยุ ท ธ ธุ ร กิ จ ( eve o rgani ation Re rocess and Man o er A ign it Business Strategy) พั นาการบริหารผล การปฏิบัติงาน (I rove Per or ance Manage ent) โครงการปรับปรุงโครงสรางคาตอบแทน (I e ent e Pay Structure) การบริหารจัดการพนักงานที่มีศักยภาพสูง และการจัดทําแผนสืบทอดตําแหนง (Ta ent Manage ent and Succession P anning) และโครงการพั นาศักยภาพ ทั้ง So t Ski และ Hard Ski รวมทั้งโครงการยกระดับการ ปลูกฝงวั นธรรมองคกรและคุณคาหลักในจิตสํานึกของ พนักงาน ( bed or orate u ture and ore a ues in THAI A) เพือ่ เปนรากฐานการพั นาวิถปี ฏิบตั ขิ องพนักงาน สูการเปนองคกรแหงการเรียนรู
ปจจัย าม ยง
ความเสี่ยงจากคุณภาพของ ผลิตภัณ และบริการ
เนื่องจากพ ติกรรมของผูบริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม บริบทของการแขงขันในธุรกิจการบินอยางรวดเร็ว ความคุม คา เงิ น เป น กลจั ก รสํ า คั ญ ที่ ผู โ ดยสารพิ จ ารณาในการเลื อ ก สายการบิน ประกอบกับความคาดหวังของผูโดยสารที่จะได รับการบริการตามความชอบและรสนิยมที่แตกตางกันไปใน แตละบุคคล (Individua i ed Service) บริ ษั ท ฯ มี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพการบริ ก าร ( ua ity Assurance) แบบครบวงจร โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ ตรวจสอบผลิตภัณ ฑและการบริก ารใหเปนไปตามคํ ามั่ น สัญญาการสงมอบที่ ใหไวกับผูโดยสาร ซึ่งการประเมินมีทั้ง การประเมินเชิงรุก จากการตรวจติดตามคุณภาพการบริการ ใหเปนไปตามคูมือการปฏิบัติงาน (Service eration Procedure) ดวยการสุมตรวจการปฏิบัติงานแบบไมแจง (Mystery S o ing) และการตรวจติดตามคุณภาพตาม ขอตกลงการบริการ (Service eve Agree ent) ที่เปน ขอกําหนดรวมกับหนวยงานหลักของแตละจุดบริการ รวมถึง การประเมินความพึงพอใจของลูกคาทีด่ าํ เนินการจากหนวยงาน ภายใน (In- ouse Survey) และการประเมินความพึงพอใจ เปรียบเทียบผลิตภัณฑและการบริการจากหนวยงานภายนอก ตลอดจนการสํารวจเ พาะเรื่อง เพื่อมุงเนนในประเด็น ที่ ตองการทราบความตองการของลูกคา ทําการสังเคราะห รวมกับการประเมินแบบเชิงรับ คือ การรับขอมูลปอนกลับจาก ลูกคา ( usto er Feedback) เพือ่ นํามาพั นาและปรับปรุง
ขอบกพรอง ( orrective Action) ใหเปนไปตามที่ลูกคา คาดหวัง ทัง้ นี้ บริษัทฯ ไดจดั ทําโครงการเสริมสรางความภักดี ของลูกคาประจํา และพั นาความเปนเลิศดานการบริการ ลูกคา เชน โครงการยกระดับการบริการชั้นธุรกิจ (Service Beyond e Business ass Service) โครงการพั นาการ บริการภาคพื้น ชั้น First ass และชั้น Business ass และ โครงการปรับปรุงอุปกรณและผลิตภัณฑภายในหองโดยสาร เครื่องบิน (In- abin Product eve o ent and Aircra t Retro it Progra ) ทั้งนี้ บริษัทฯ จะไดมีการประเมินความ พึ ง พอใจของลู ก ค า และเปรี ย บเที ย บการให บ ริ ก ารและ ผลิตภัณฑกับคูแขงเพื่อปรับปรุงคุณภาพการใหบริการและ ผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง
ความเสี่ยงที่มีผลกระทบตอสิทธิหรือ การลงทุนของผูถือหุน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กระทรวงการคลังและธนาคาร ออมสินถือหุนในบริษั ทฯ รอยละ 53 16 ของจํานวนหุนที่ จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษั ทฯ จึงทําใหกระทรวงการ คลังสามารถควบคุมมติที่ประชุมผูถือหุนไดเกือบทั้งหมด ไมวาจะเปนเรื่องการแตงตั้งกรรมการ หรือการขอมติใน เรื่องอื่นที่ตองใชเสียงสวนใหญของที่ประชุมผูถือหุน ยกเวน เรือ่ งทีก่ หมายหรือขอบังคับบริษัทฯ กําหนดใหตอ งไดรบั เสียง 3 ใน 4 ของที่ประชุมผูถือหุน ดังนั้น ผูถือหุนรายอื่นจึงอาจไม สามารถรวบรวมคะแนนเสียง เพือ่ ตรวจสอบและถวงดุลเรือ่ ง ที่ผูถือหุนใหญเสนอได
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 45
ขอมูลทั่วไป
และขอมูลสําคัญอื่น
อมู ทั ไป ะ อมู ํา ั อน
ขอมูลทั่วไป บริษัทที่ออกหลักทรัพย ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งสํานักงานใหญ เลขทะเบียนบริษัท Ho e Page โทรศัพท THAI ontact enter argo ontact enter Roya rc id Ho iday
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ชื่อภาษาอังก ษเปน THAI AIRWA S I T R ATI A P B I MPA IMIT ชื่อยอ THAI บริการขนสงทางอากาศและกิจการอื่นที่เกี่ยวของ เลขที่ 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 010 53 001 5 t aiair ays co 66 2545 1000 66 2025 1000 66 2356 1111 66 213 4200 66 2356 2
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลวดังนี้ ทุนจดทะเบียน 2 69 900 950 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมมูลคา 26 9 9 009 500 บาท ทุนชําระแลว 2 1 2 1 91 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมมูลคา 21 2 19 1 0 บาท
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 47
ขอมูลนิติบุคคลที่บริษัทฯ ถือหุนมากกวารอยละ 10 ื่อบริษัท
ประเภทธุรกิจ
ทุน จดทะเบี ยน นิดของหุน าระแลว (ลานบาท)
สัดสวน การถือหุน ( )
บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด อาคารดิออฟฟศเศสเแอทเซ็นทรัลเวิลด 999 9 ยูนิตที่ 3406-3412 ชั้นที่ 34 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0-220 -9090 โทรสาร 0-220 -9191
บริการดานคอมพิวเตอร สําหรับการสํารองที่นั่ง โดยสารและบริการเดินทาง อื่นๆ ใหกับตัวแทนจําหนาย
สามัญ
15 00
55 00
บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) 1 3 อาคารรัจนาการ ชั้น 1 ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท 0-262 -26 โทรสาร 0-222 -6944
บริการขนสงผูโดยสาร ทางอากาศ
สามัญ
625 00
39 20
บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0-2545-126 โทรสาร 0-2545-1535
บริหารจัดการเรื่องบุคลากร ใหกับบริษัทฯ
สามัญ บุริมสิทธิ
09 1 02
49 00 (มีอํานาจ ควบคุม)
บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0-2545-4603 โทรสาร 0-2545-4602
บริการฝกอบรมดานการบิน
สามัญ บุริมสิทธิ
09 1 02
49 00 (มีอํานาจ ควบคุม)
บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0-2356-2 โทรสาร 0-22 - 15
บริการทองเที่ยวและ กิจกรรมทองเที่ยว
สามัญ บุริมสิทธิ
0 49 ถือหุนผาน 0 51 บริษัท วิงสแปนเซอร วิสเซส 49 00 (มีอํานาจ ควบคุม)
บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด เลขที่ 9 ชั้น 1 ยูนิต 1 04 1 05-1 0 A อาคารเอไอเอ แคปปตอล เซ็นเตอร ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-211 - 00 โทรสาร 0-211 - 95-6
บริการขนสงผูโดยสาร และสินคา
สามัญ
48 รายงานประจําป 2559
1 00 00
100 00
อมู ทั ไป ะ อมู ํา ั อน
ื่อบริษัท
ประเภทธุรกิจ
ทุน จดทะเบี ยน นิดของหุน าระแลว (ลานบาท)
สัดสวน การถือหุน ( )
บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด 333 หมู 10 ถนนเชิดวุ ากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท 0-2566-1020-1 โทรสาร 0-2566-1941
โรงแรมและรานอาหาร
สามัญ
120 00
40 00
บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด 10 3 หมู 6 ถนนสนามบิน ตําบลไมขาว อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 3110 โทรศัพท (0 6) 32 -49 -502 โทรสาร (0 6) 32 -123-4
ครัวการบิน
สามัญ
100 00
30 00
บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) โรงแรมและรานอาหาร จํากัด (มหาชน) 2 ตรอกกัปตันบุช ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท 0-2266-0123 โทรสาร 0-2236- 320
สามัญ
93 50
24 00
บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 1 1 2 ถนนกําแพงเพชร 6 แขวงดอนเมือง เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท 0-2 34- 900 โทรสาร 0-2 34- 999
สามัญ
63 50
22 59
คลังเชื้อเพลิงและบริการ เติมเชื้อเพลิงใหแกเครื่องบิน
บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด โรงแรมและรานอาหาร 999 อาคารโรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ หมู 1 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท 0-2131-1111 โทรสาร 0-2131-11
สามัญ
1 01
30 00
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 49
บุคคลอางอิง บุคคลอางอิง
นายทะเบียนหลักทรัพย
ประเภทหลักทรัพย
หุนสามัญ
ผูสอบบัญชี
นายทะเบียนหุนกู
ผูแทนผูถือหุนกู
50 รายงานประจําป 2559
สถานที่ติดตอ
บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 93 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2009-9000 โทรสาร 0-2009-9991 S T ontact enter 0-2009-9999 - ai S T ontact enter set or t Website tt set or t สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ถนนพระรามที่ 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-22 1- 000 ตอ 2405 โทรสาร 0-261 -5 3
ครั้งที่ 1 2555 ครั้งที่ 1 2556 ครั้งที่ 2 2556 ครั้งที่ 1 255
ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) ฝายปฏิบัติการหลักทรัพยและกองทุน ชั้น 5A เลขที่ 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0-2299-1 24 0-2299-1536 โทรสาร 0-2242-32 0
ครั้งที่ 1 2554 ครั้งที่ 2 2555
ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน) ฝายป ิบัติการตลาดทุนตลาดเงินและการชําระเงิน ชั้น 15 เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 0-2626- 503-4 โทรสาร 0-2626- 543
ครั้งที่ 3 2555 ครั้งที่ 2 255 ครั้งที่ 1 255 ครั้งที่ 2 255 ครั้งที่ 1 2559
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ฝายปฏิบัติการบริการธุรกิจหลักทรัพย ชั้น AA เลขที่ 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2296-5690 โทรสาร 0-26 3-129
ครั้งที่ 1 2554
ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน) ฝายป ิบัติการตลาดทุนตลาดเงินและการชําระเงิน ชั้น 15 เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 0-2626- 591 0-2626- 50 โทรสาร 0-2626- 543
อมู ทั ไป ะ อมู ํา ั อน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 51
รายชื่อ
ผูถือหุนรายใหญ
รายชอ ู อหุนราย ห
จานวนทุนจดทะเบียนและทุน าระแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลวดังนี้ ทุนจดทะเบียน 2 69 900 950 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมมูลคา 26 9 9 009 500 บาท ทุนชําระแลว 2 1 2 1 91 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมมูลคา 21 2 19 1 0 บาท
ราย ื่อผูถือหุนรายให
รายชือ่ ผูถ อื หุน รายใหญ 10 รายแรก พรอมทัง้ จํานวนหุน ทีถ่ อื และสัดสวนการถือหุน ณ วันที่ 10 มีนาคม 2559 มีรายละเอียดดังนี้ ลาดับที่
ื่อผูถือหุน
จานวนหุน สามั
สัดสวนการถือหุน (รอยละ)
1 2 3 4 5 6
กระทรวงการคลัง กองทุนรวม วายุภักษ หนึ่ง โดย บลจ เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) กองทุนรวม วายุภักษ หนึ่ง โดย บลจ กรุงไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ธนาคาร ออมสิน นายประทีป ตังมติธรรม AST F RT IMIT - IM SI A M R M TS A F นางสมทรง ลาภานันตรัตน นายวิชัย คณาธนะวนิชย นายเอี่ยม อาชวกุลเทพ ผูถือหุนอื่น อ ร ม ุน าร ล ผูถือหุนสั าติ ผูถือหุนสั าติตาง า
1 113 931 061 165 03 5 2 165 03 5 2 54 9 3 316 46 409 5 1 146 400 1 20 211 15 400 00 14 24 100 13 6 9 400 55 591 5 0
51 03 56 56 2 52 2 13 0 3 0 2 0 1 06 0 63 25 53
9 10 11
กระทรวงการคลังและธนาคารออมสิน ถือหุน ในบริษัทฯ คิดเปน สัดสวนรอยละ 53 16 ของหุน ทัง้ หมดของบริษัทฯ ทําใหบริษัทฯ มีฐานะเปนรัฐวิสาหกิจ อันจะมีผลตอบริษัทฯ ในการทําธุรกรรมบางประเภท ไดแก 1 บริษัทฯ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีในการดําเนินการลงทุนขนาดใหญ 2 สํานักงานการตรวจเงินแผนดินจะตองเปนผูตรวจสอบงบการเงินของบริษัทฯ
การออกหลักทรัพยอื่น หุนกูของบริษัทฯ
ปจจุบัน บริษัทฯ มีหุนกูในสกุลเงินบาทเสนอขายใหแกนักลงทุน จําแนกตามรายละเอียดหุนกู ดังนี้ หุนกูชนิดระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู ไดแก หุนกู ครั้งที่ 1 2554 หุนกูแบบเ พาะเจาะจง (ผูลงทุนไมเกิน 10 ราย) ชนิดระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และไมมีผูแทนผูถือหุนกู ไดแก หุนกูครั้งที่ 1 2552 หุน กูช นิดระบุชอื่ ผูถ อื ไมดอ ยสิทธิ ไมมปี ระกัน และไมมผี แู ทนผูถ อื หุน กู เสนอขายใหแกผลู งทุนสถาบันและผูล งทุนรายใหญ ไดแก หุนกู หุนกู 1 2555 2 2555 3 2555 1 2556 2 2556 1 255 2 255 1 255 2 255 และ 1 2559
ตัวแลกเงินของบริษัทฯ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ไมมีตัวแลกเงินคงคาง บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 53
54 รายงานประจําป 2559
รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่
นโยบาย
การจ่ายเงินปันผล บริษั ทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลประจ�ำปีในอัตราไม่ต�่ำ กว่าร้อยละ 25 ของก�ำไรสุทธิก่อนผลก�ำไรหรือขาดทุนจาก อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ จากงบการเงินรวม ทั้งนี้ การจ่ายเงิน ปันผลดังกล่าวขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจ�ำเป็น และความเหมาะสมอืน่ ๆ ในอนาคต อย่างไรก็ตาม บริษั ทฯ อาจพิจารณาการจ่ายเงินปันผลในอัตราที่แตกต่าง ไปจากนโยบายที่กำ� หนดไว้ หรืองดจ่ายเงินปันผล ตามที่คณะ กรรมการบริษัทฯ เห็นสมควร เมื่อคณะกรรมการบริษัทฯ มี มติเห็นชอบการจ่ายหรืองดจ่ายเงินปันผลประจ�ำปีแล้วจะต้อง น�ำเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป
พระราชบัญญัติบริษั ทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 ห้ามมิให้ บริษั ทมหาชนจ่ายเงินปันผล หากยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ แม้ว่าบริษั ทนั้นจะมีก�ำไรในปีนั้นก็ตาม นอกจากนี้ พระราช บัญญัติบริษั ทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และข้อบังคับของ บริษัทฯ ก�ำหนดไว้ว่า บริษัทฯ ต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปี ส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนส�ำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิ ประจ�ำปีหักด้วยยอดเงินขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่า ทุนส�ำรองนีจ้ ะมีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ของบริษัทฯ
บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) 55
โ ร รา
การจ การ คณะกรรมการบริษัทฯ
คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาทีร่ บั ผิดชอบสูงสุดในการบริหาร จัดการกิจการของบริษัทฯ อยูภายใตเงื่อนไข ขอบังคับของ บริษัทฯ ซึ่งกําหนดใหคณะกรรมการประกอบดวยกรรมการ จํานวนไมนอยกวา 5 คน แตไมมากกวา 15 คน สุดแต ที่ประชุมใหญผูถือหุนจะเปนผูกําหนดเปนครั้งคราว และ กรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด
ตองมีถนิ่ ทีอ่ ยูในราชอาณาจักร ในการประชุมสามัญประจําป ทุกครั้ง กรรมการจํานวน 1 ใน 3 จะตองออกจากตําแหนง และจะมีการเลือกตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตาม วาระ กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูกเลือกเขามาดํารง ตําแหนงใหมก็ได
ราย ื่อกรรมการและการเขารวมประ ุมคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
ราย ื่อและตาแหนงคณะกรรมการบริษัทฯ(1)
1 2 3 4 5 6 9 10 11 12 13 14 15
นายอารีพงศ ภูชอุม พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง นายคณิศ แสงสุพรรณ พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ นายดําริ ตันชีวะวงศ นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ นายรัฐพล ภักดีภูมิ นายวีระวงค จิตตมิตรภาพ พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย นายสมชัย สัจจพงษ พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมัย นายจรัมพร โชติกเสถียร
หมายเหตุ
(1) (2)
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ไมมีกรรมการทานใดถือครองหุนของบริษัทฯ ชวงระยะเวลาการดํารงตําแหนงระบุเ พาะวาระปจจุบัน
56 รายงานประจําป 2559
การเขารวมประ ุม คณะกรรมการ บริษัทฯ จานวน ครังที่มีการประ ุม ขณะดารง ตาแหนง (ครัง)
วงระยะเวลา การดารงตาแหนง(2)
21 21 9 21 16 21 12 19 13 21 19 21 16 21 12 21 1 21 13 21 19 21 13 21 20 21 0 21 21 21
24 เม ย 5 - เม ย 61 5 ส ค 5 - เม ย 60 22 เม ย 59 - เม ย 62 22 เม ย 59 - เม ย 62 2 ม ค 5 - เม ย 60 24 เม ย 5 - เม ย 61 2 ธ ค 5 - เม ย 60 22 เม ย 59 - เม ย 62 22 เม ย 59 - เม ย 62 29 เม ย 5 - เม ย 60 22 เม ย 59 - เม ย 62 19 ต ค 5 - เม ย 60 24 เม ย 55 - 31 ม ค 60 23 พ ย 5 - เม ย 61 24 เม ย 5 - 10 ก พ 60
รง รางการจัดการ
เจาหนาที่บริหาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีตําแหนงเจาหนาที่ บริ ห าร (1) จํ า นวนทั้ ง สิ้ น 12 ตํ า แหน ง ประกอบด ว ย กรรมการผูอํานวยการใหญ 1 ตําแหนง ระดับรองกรรมการ ราย ื่อเจาหนาที่บริหาร(1)
1 2 3 4 5
นายจรัมพร โชติกเสถียร นางอุษณีย แสงสิงแกว เรืออากาศเอก มนตรี จําเรียง นายธีรพล โชติชนาภิบาล เรืออากาศเอก กนก ทองเผือก
6 นายณรงคชัย วองธนะวิโมกษ
9 10 11 12
เรืออากาศเอก วีระศักดิ วิรุ หเพชร เรืออากาศโท สมบุญ ลิ้มวั นพงศ นายดนุช บุนนาค นายนิรุ มณีพันธ นายอริชัย นุมลมุล นางสาวปยาณี สังขทอง
หมายเหตุ
(1) (2)
ผู อํ า นวยการใหญ 9 ตํ า แหน ง และผู อํ า นวยการใหญ สายการบัญชีหรือการเงิน 2 ตําแหนง ประกอบดวย
ตาแหนง
กรรมการผูอํานวยการใหญ รองกรรมการผูอํานวยการใหญหนวยธุรกิจบริการการบิน รองกรรมการผูอ าํ นวยการใหญสายกลยุทธองคกรและพั นาอยางยัง่ ยืน รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายการพาณิชย รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายทรัพยากรบุคคลและ กํากับกิจกรรมองคกร รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายการเงินและการบัญชี รักษาการ ผูอํานวยการใหญฝายการเงินองคกร รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายปฏิบัติการ รองกรรมการผูอํานวยการใหญฝายชาง ที่ปรึกษา กรรมการผูอํานวยการใหญ(2) ที่ปรึกษา กรรมการผูอํานวยการใหญ(2) ผูอํานวยการใหญฝายการบัญชี ผูอํานวยการใหญฝายบัญชีบริหารและขอมูล
เจาหนาที่บริหาร คือ “ผูบริหาร” ตามคํานิยาม ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก ล ต ) ระดับรองกรรมการผูอํานวยการใหญ
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 57
โครงสรางการบริหารจัดการ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ประกอบดวยคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุดยอย และ เจาหนาที่บริหาร ตามโครงสรางสายการบริหารงาน ดังนี้
หมายเหตุ
(1)
คณะกรรมการชุดยอยตางๆ ประกอบดวย คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม คณะกรรมการกํากับยุทธศาสตรและ การปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และคณะกรรมการอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯมอบหมาย (2) คือ “ผูบริหาร” ตามคํานิยามของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก ล ต )
58 รายงานประจําป 2559
รง รางการจัดการ
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 59
เลขานุการบริษัทฯ
คณะกรรมการบริษั ทฯ เล็งเห็นถึงความสําคัญของบทบาท และหนาที่ของเลขานุการบริษัทฯ และไดปฏิบัติตามพระราช บัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ( บับที่ 4) พ ศ 2551 มาตรา 9 15 ซึ่งกําหนดใหคณะกรรมการบริษัทตองจัดให มีเลขานุการบริษัทเพื่อทําหนาที่รับผิดชอบดําเนินการในนาม บริษัทหรือคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ จึงไดแตงตัง้ ให นางสุวิมล บัวเลิศ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการใหญ สํานักเลขานุการบริษัทฯ เปนเลขานุการบริษัทฯ เลขานุการบริษั ทฯ ตองปฏิบัติหนาที่ดวยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง ความซื่อสัตยสุจริต รวมทั้งตองปฏิบัติให เปนไปตามก หมาย วัตถุประสงค ขอบังคับบริษัทฯ มติคณะ กรรมการบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน ทั้งนี้ หนาที่ ของเลขานุการบริษัทฯ ตามมาตรา 9 15 และมาตรา 9 16 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ( บับที่ 4) พ ศ 2551 มีดังนี้ 1 จัดทําและเก็บรักษาเอกสารดังตอไปนี้ 1 1 ทะเบียนกรรมการ 1 2 หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม เอกสารประกอบการประชุ ม และรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษั ทฯ ให ครบถวนสมบูรณ 1 3 หนังสือนัดประชุม เอกสารประกอบการประชุม และ รายงานการประชุมผูถือหุน ใหครบถวนสมบูรณ ภายในกําหนดเวลาของก หมาย 1 4 รายงานประจําปของบริษัทฯ 2 เก็บรักษารายงานการมีสว นไดเสียทีร่ ายงานโดยกรรมการ หรือผูบริหาร และจัดสงสําเนารายงานการมีสวนไดเสีย ใหประธานคณะกรรมการบริษั ทฯ และประธานคณะ กรรมการตรวจสอบทราบภายใน วันนับแตวนั ทีบ่ ริษัทฯ ไดรับรายงานนั้น 3 ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ประกาศกําหนด นร ห าง หนา อืน อง ล านุการบริ ั ม ังน 1 เป น เลขานุ ก ารคณะกรรมการชุ ด ย อ ยตามที่ ค ณะ กรรมการมอบหมาย เลขานุการคณะกรรมการบริหาร บริ ษั ท ฯ เลขานุ ก ารฝ า ยบริ ห ารงานนโยบายบริ ษั ท ฯ เลขานุ ก ารคณะกรรมการบริ ห ารหน ว ยธุ ร กิ จ และ เลขานุ การคณะกรรมการกํา กับยุทธศาสตรและการ ปฏิรูปบริษัทฯ
60 รายงานประจําป 2559
2 อํานวยการการประชุมของฝายบริหาร คณะกรรมการ และผูถือหุนของบริษั ทฯ ใหครบถวนสมบูรณภายใน กําหนดเวลาของก ระเบียบที่เกี่ยวของ พรอมทั้งแจง มติที่เกี่ยวของหากจําเปน และติดตามการดําเนินการ ตามมติที่ประชุม 3 กํ า กั บ ดู แ ลการดํ า เนิ น การในระบบประเมิ น คุ ณ ภาพ รัฐวิสาหกิจในสวนกระบวนการดําเนินงานของบริษัทฯ 4 กํากับดูแลใหบริษัทฯ และกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติตาม ก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับ ของบริษัทจดทะเบียน และก หมายที่เกี่ยวของกับหลักทรัพย ยกเวนเรื่องที่ เกี่ยวกับรายงานทางการเงิน 5 กํ า กั บ ดู แ ลการจั ด ทํ า และเป ด เผยสารสนเทศที่ สํ า คั ญ ของบริษัทฯ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังก ษ ตอสาธารณชน ผานระบบของตลาดหลักทรัพยฯ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ และทันเวลาที่กําหนด 6 กํากับดูแลการใหคําปรึกษา อํานวยความสะดวกในดาน งานทะเบียนหลักทรัพยของบริษัทฯ แกผูถือหุน กํากับดูแลการดําเนินการจัดประชุมผูถือหุนของบริษั ทฯ พรอมทั้งเอกสารที่เกี่ยวของใหเปนตามขอกําหนดของ ก หมายและหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี กํากับดูแลการจัดทําแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) เพือ่ ใหผถู อื หุน นักลงทุน นักวิเคราะห ไดรบั ขอมูลทีถ่ กู ตองตามก ระเบียบ ขอบังคับ หลักการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี และทันเวลาที่กําหนด 9 การประสานงานกับที่ปรึกษาก หมายในสวนที่เกี่ยวกับ ก หมายดานหลักทรัพย 10 ใหคําแนะนําเบื้องตนแกกรรมการและผูบริหารบริษั ทฯ เพือ่ ใหปฏิบตั ติ ามขอกําหนด หลักเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ ของตลาดหลักทรัพยฯ และสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 11 กํากับดูแลการจัดการดาน ogistics Su ort ทีเ่ กีย่ วของ กับคณะกรรมการบริษั ทฯ ไดแก การดําเนินการและ ประสานเรื่องสิทธิประโยชนตางๆ ของคณะกรรมการ บริษัทฯ รวมถึงการจัดทํางบประมาณในการดําเนินการ ตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับกรรมการบริษัทฯ ดวย อีกทัง้ การแจง และประสานงานกับกรรมการบริษัทฯ ในกรณีมีพิธีการ และกิจกรรมตางๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ ตองเขารวม 12 กํากับดูแลการบริหารงานสารบรรณ 13 กํากับดูแลและประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานใน บังคับบัญชาเพื่อใหการดําเนินภารกิจในความรับผิดชอบ บรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของบริษั ทฯ ตลอดจน สอดคลองกับระเบียบและหลักเกณฑของบริษัทฯ และที่ ผูมีอํานาจหนาที่ที่เกี่ยวของกําหนด
รง รางการจัดการ
14 จัดทําคูมือกรรมการ จัดใหมีการปฐมนิเทศ และใหคํา แนะนําแกกรรมการที่ไดรับแตงตั้งใหม 15 กํากับดูแลติดตาม รวมทั้งรวบรวมและจัดเก็บขอมูล เกี่ยวกับบริษัทในเครือ 16 ปฏิบัติงานอื่นตามที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ หรือกรรมการผูอํานวยการใหญแลวแตกรณี สามารถดูประวัติเลขานุการบริษัทฯ ไดที่หนา 209
คาตอบแทนกรรมการ และเจาหนาที่บริหาร คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน
คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2559 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2559 ไดมีมติกําหนดคาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ในสวนของคาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ดังนี้ 1 ใหกรรมการบริษัทฯ ไดรบั คาตอบแทนคนละ 50 000 บาท ตอเดือน เปนประจําทุกเดือน และไดรบั เบีย้ ประชุม คนละ 30 000 บาทตอครัง้ หากในเดือนใดมีการประชุมเกินกวา 1 ครั้ง คงใหกรรมการบริษัทฯ ไดรับเบี้ยประชุมคนละ 30 000 บาทเทานั้น โดยใหประธานกรรมการไดรับเบี้ย ประชุมสูงกวากรรมการรอยละ 25 และรองประธาน
กรรมการไดรับเบี้ยประชุมสูงกวากรรมการรอยละ 12 5 และใหกรรมการเสียภาษีเงินไดเอง ทั้งนี้ คาตอบแทน ดังกลาวเปนจํานวนเดียวกับที่ที่ประชุมผูถือหุนไดอนุมัติ ในป 255 2 ในกรณีกรรมการบริษัทฯ ไดรบั แตงตัง้ จากคณะกรรมการ บริษัทฯ หรือประธานกรรมการบริษัทฯ ใหเปนกรรมการ อนุกรรมการ และคณะทํางานชุดตางๆ ของบริษัทฯ ให กรรมการบริษัทฯ ที่ไดรับการแตงตั้งดังกลาว ไดรับคา ตอบแทนเพิม่ เปนเบีย้ ประชุมอีกคนละ 10 000 บาทตอครัง้ หากในเดือนใด กรรมการ อนุกรรมการ และคณะทํางาน ชุดใดมีการประชุมเกินกวา 1 ครั้ง คงใหไดรับเบี้ยประชุม คนละ 10 000 บาทเทานั้น ทั้งนี้ คาตอบแทนดังกลาวเปน จํานวนเดียวกับที่ที่ประชุมผูถือหุนไดอนุมัติในป 255 3 ใหคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit o ittee) ไดรับ คาตอบแทนเปนรายเดือนเทากับเบี้ยประชุมกรรมการ บริษัทฯ โดยใหประธานกรรมการตรวจสอบไดรบั คาตอบแทน สูงกวากรรมการตรวจสอบในอัตรารอยละ 25 โดยที่ใน เดือนใดไมมีการประชุมคงใหไดรับคาตอบแทนดวย ทั้งนี้ คาตอบแทนดังกลาวเปนจํานวนเดียวกับทีท่ ปี่ ระชุมผูถ อื หุน ไดอนุมัติในป 255 4 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติไมเสนอขออนุมัติเงินรางวัล ประจําป (Bonus) สําหรับกรรมการบริษัทฯ ในป 2559 ตอที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2559
ตารางแสดงคาตอบแทนสาหรับกรรมการและเจาหนาที่บริหารของบริษัทฯ ในป 2559 สินสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 นวย คณะกรรมการ
คณะกรรมการบริษัทฯ(1) คณะกรรมการตรวจสอบ(2) เจาหนาทีบ่ ริหารบริษัทฯ(3) หมายเหตุ
จานวน (ราย)
15 4 15
คาตอบแทน
เบียประ ุม
9 04 1 53 6 60
46 -
(คณะกรรมการ (คณะกรรมการ บริษัทฯ) บริษัทฯ)
ลานบา
(คณะกรรมการ ุดยอย)
เบียประ ุม
เงินรางวัล ประจาป
รวม
1 62 -
บริษัทฯ งดจาย -
15 34 1 53 6 60
(1)
คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบดวย คาตอบแทน เบี้ยประชุม สําหรับคณะกรรมการบริษัทฯ และเบี้ยประชุม สําหรับคณะกรรมการชุดยอย สําหรับเงินรางวัลประจําป 255 บริษัทฯ งดจาย (2) คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย คาตอบแทนเ พาะกรรมการบริษัทฯ เทานั้น (3) เจาหนาที่บริหาร 15 ราย รวมเจาหนาที่บริหารที่เกษียณอายุ และลาออกกอนวันที่ 31 ธันวาคม 2559
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 61
62 รายงานประจําป 2559
- ประธานกรรมการบริษัทฯ - ประธานกรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
- รองประธานกรรมการบริษัทฯ - ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพือ่ สังคม - กรรมการสรรหาผูดํารงตําแหนงกรรมการ ผูอํานวยการใหญ
- กรรมการบริษัทฯ - ประธานกรรมการบริหาร - กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) - กรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน - กรรมการบริหารความเสี่ยง - ประธานกรรมการการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดหาพัสดุ - กรรมการสรรหาผูดํารงตําแหนงกรรมการ ผูอํานวยการใหญ
- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม
2 พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง
3 นายคณิศ แสงสุพรรณ
4 พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา
ตาแหนงที่ไดรับคาตอบแทนและเบียประ ุม
1 นายอารีพงศ ภูชอุม
ราย ื่อคณะกรรมการบริษัทฯ
3 41 94
960 000 00
903 50 00
1 050 000 00
คาตอบแทน รวมเบียประ ุม คณะกรรมการ บริษัทฯ (บาท)
-
250 000 00
40 000 00
20 000 00
เบียประ ุม กรรมการ ุดยอย (บาท)
ตารางแสดงผลตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ ประจาป 2559
1 0 0 000 00 943 50 00
1 210 000 00
3 41 94
-
-
-
รวมผล ตอบแทน (บาท)
-
คาตอบแทน คณะกรรมการ ตรวจสอบ (บาท)
9 นายวีระวงค จิตตมิตรภาพ
- กรรมการบริษัทฯ - ประธานกรรมการตรวจสอบ - ประธานกรรมการดานก หมาย
- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) - กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน - กรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดหาพัสดุ
นายรัฐพล ภักดีภูมิ
960 000 00
0 000 00
936 451 61
- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม - กรรมการสรรหาผูด าํ รงตําแหนงกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ
นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ
0 000 00
960 000 00
-
6 นายดําริ ตันชีวะวงศ
กรรมการบริษัทฯ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดหาพัสดุ
ตาแหนงที่ไดรับคาตอบแทนและเบียประ ุม
กรรมการบริษัทฯ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) - ประธานกรรมการทรัพยากรบุคคล - กรรมการสรรหาผูด าํ รงตําแหนงกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ
-
5 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ
ราย ื่อคณะกรรมการบริษัทฯ
คาตอบแทน รวมเบียประ ุม คณะกรรมการ บริษัทฯ (บาท)
60 000 00
1 0 000 00
30 000 00
340 000 00
0 000 00
เบียประ ุม กรรมการ ุดยอย (บาท)
ตารางแสดงผลตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ ประจาป 2559 (ตอ)
450 000 00
360 000 00
-
-
360 000 00
คาตอบแทน คณะกรรมการ ตรวจสอบ (บาท)
1 4 0 000 00
1 400 000 00
966 451 61
1 300 000 00
1 310 000 00
รวมผล ตอบแทน (บาท)
รง รางการจัดการ
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 63
64 รายงานประจําป 2559
960 000 00
- กรรมการบริษัทฯ
960 000 00
- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการบริหาร - ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง
13 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน
960 000 00
15 นายจรัมพร โชติกเสถียร
- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) - กรรมการทรัพยากรบุคคล - กรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดหาพัสดุ
12 นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย
930 000 00
663 333 33
- กรรมการบริษัทฯ - ประธานกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน - ประธานกรรมการสรรหาผูดํารงตําแหนง กรรมการผูอํานวยการใหญ
11 นายสมชัย สัจจพงษ
900 000 00
14 พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมัย - กรรมการบริษัทฯ
- กรรมการบริษัทฯ - กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) - ประธานกรรมการกิจการสัมพันธ - กรรมการบริหาร
ตาแหนงที่ไดรับคาตอบแทนและเบียประ ุม
10 พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ
ราย ื่อคณะกรรมการบริษัทฯ
คาตอบแทน รวมเบียประ ุม คณะกรรมการ บริษัทฯ (บาท)
-
-
1 0 000 00
210 000 00
0 000 00
160 000 00
เบียประ ุม กรรมการ ุดยอย (บาท)
ตารางแสดงผลตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ ประจาป 2559 (ตอ)
-
-
-
360 000 00
-
-
คาตอบแทน คณะกรรมการ ตรวจสอบ (บาท)
960 000 00
663 333 33
1 140 000 00
1 530 000 00
1 010 000 00
1 060 000 00
รวมผล ตอบแทน (บาท)
รง รางการจัดการ
คาตอบแทนอื่นๆ
สิทธิประโย นดานบัตรโดยสาร
คณะกรรมการบริษัทฯ บริษั ทฯ ไดยกเลิกสิทธิประโยชนดานบัตรโดยสารสําหรับ คณะกรรมการบริษัทฯ แลว ตั้งแตวันที่ 20 มิถุนายน 255 เปนตนมา โดยมิไดมีการนําเสนอสิทธิประโยชนดานบัตร โดยสารตอที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนอีก เจาหนาที่บริหารและพนักงาน เจาหนาที่บริหารและพนักงานของบริษั ทฯ รวมทั้งคูสมรส และบุตร จะไดรบั สิทธิประโยชนดา นบัตรโดยสารแบบสํารอง ที่นั่งไดและแบบสํารองที่นั่งไมไดตามระเบียบบริษั ทฯ ที่ กําหนด
กองทุนสารองเลียง ีพ
บริษัทฯ ไดจดทะเบียนจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเมื่อวันที่ 26 มิถนุ ายน 2535 ซึง่ ภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ จายเงินสมทบเขากองทุนใน อัตรารอยละ 9 ของเงินเดือนคาจางสําหรับพนักงานทีม่ อี ายุงาน ไมเกิน 20 ป และในอัตรารอยละ 10 ของเงินเดือนคาจาง
สําหรับพนักงานที่มีอายุงาน 20 ปขึ้นไป โดยพนักงานจายเงิน สะสมในอัตราไมตํ่ากวารอยละ 2-15 ของเงินเดือนคาจาง
กองทุนบาเหนจพนักงาน
บริษัทฯ ไดจัดตั้งกองทุนบําเหน็จพนักงาน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) โดยจายเงินสมทบเขากองทุนในอัตรารอยละ 10 ของเงินเดือนคาจาง ในกรณีที่เงินในกองทุนตํ่ากวาภาระ ผูกพัน ณ วันสิ้นงวดบัญชี บริษัทฯ จะจายเงินสมทบเพิ่มเติม ใหเต็มตามภาระผูกพัน พนักงานที่อยูในกองทุนบําเหน็จ จะตองมีอายุงานตั้งแต 3 ป ขึ้นไป จึงจะมีสิทธิไดรับเงินบําเหน็จตามอายุงาน เมื่อพน สภาพจากการเปนพนักงานโดยไมมีความผิด หรือมีความผิด แตไมถูกลงโทษถึงไลออก ทั้งนี้ เมื่อบริษัทฯ ไดดําเนินการ จัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพมีผลตั้งแตวันที่ 26 มิถุนายน 2535 เปนตนมาแลว พนักงานทีเ่ ขาทํางานนับจากวันดังกลาว จะสามารถเข า เป น สมาชิ ก กองทุ น สํ า รองเลี้ ย งชี พ ได อยางเดียว และไมสามารถเขาเปนสมาชิกกองทุนบําเหน็จ พนักงาน กองทุนบําเหน็จพนักงานจึงไมมีสมาชิกเพิ่มตั้งแต วันเริ่มจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
เงินสมทบกองทุนสารองเลียง ีพและเงินบาเหนจที่ใหแกเจาหนาที่บริหารในป 2559 สินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินสมทบกองทุนสารองเลียง ีพ จานวน (ราย) จานวนเงิน (ลานบาท)
เจาหนาที่บริหาร(1) หมายเหตุ
(1)
13
35
เงินบาเหนจ จานวน (ราย) จานวนเงิน (ลานบาท)
1
0 25
เจาหนาที่บริหารจํานวน 15 ราย รวมเจาหนาที่บริหารที่เกษียณอายุและลาออกกอนวันที่ 31 ธันวาคม 2559
บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีพนักงานที่ กรุงเทพฯ สถานที่อื่นในประเทศไทย และตางประเทศรวมทั้งหมด จํานวน 21 99 คน โดยทัว่ ไป พนักงานของบริษัทฯ จะสิน้ สุด สภาพการเปน พนักงานเมื่อสิ้นสุดรอบปงบประมาณของ
ทางการ (วันที่ 30 กันยายน) ที่พนักงานนั้นมีอายุครบ 60 ปบริบรู ณ ทัง้ นี้ แนวปฏิบตั ใิ นเรือ่ งการบริหารบุคลากรภายใน ของบริษัทฯ ไดกําหนดใหสอดคลองกับก หมายแรงงานของ ประเทศไทย
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 65
ตารางเเสดงจานวนพนักงานเเยกตามสถานที่ปฏิบัติงานเเละหนาที่ ณ วันที่ที่เเสดงไว จานวนพนก าน น ป
ป
าน นพนักงาน ังหม บงตามสถาน ิบัติงาน กรุงเทพฯ สถานที่อื่นในประเทศไทย ตางประเทศ บงตามหนา ลูกเรือบนเที่ยวบิน - นักบิน - พนักงานตอนรับบนเครื่องบิน ฝายชาง สายการพาณิชย หนวยธุรกิจการบริการภาคพื้น ฝายอื่นๆ
นโยบายคาตอบแทนพนักงาน ทีส่ อดคลองกับผลการดาเนินงานของ บริษทั ฯ ทังในระยะสันและระยะยาว
บริษั ทฯ มีการกําหนดคาตอบแทนพนักงานที่สอดคลองกับ ผลการดําเนินงานของบริษั ทฯ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ดังนี้ คาตอบแทนระยะสัน ในป 2559 คณะกรรมการบริษั ทฯ มีมติอนุมัติใหจายคา ตอบแทนตามผลการปฏิบตั งิ าน (Incentive) ซึง่ มีวตั ถุประสงค เพือ่ การเพิม่ ประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยกําหนดเงือ่ นไข การจายจากความตรงตอเวลาของเทีย่ วบินขาเขาของบริษัทฯ ถึงทาอากาศยานปลายทาง ( n-Ti e Arriva Per or ance) ระหวางเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2559 โดยกําหนด เกณฑวดั และคาเปาหมายไวในแตละเดือน จากจํานวนเทีย่ วบิน ทีเ่ ขาตรงตอเวลาไมตา่ํ กวารอยละของปริมาณเทีย่ วบินทัง้ หมด ในเดือนนั้นๆ หรือมีอันดับการตรงตอเวลาอยูใน 10 อันดับ แรกของสายการบินชั้นนําในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก อยางใด อยางหนึง่ คาตอบแทนระยะยาว สําหรับนโยบายการจายคาตอบแทนในระยะยาว บริษัทฯ ได ทําการทบทวนหลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานให 66 รายงานประจําป 2559
ป
21 99
22 64
24 952
19 34 1 202 1449
19 93 1 436 1 490
21 29 1 559 1 564
12 0 5 25 3 24 1 15 430 2 124
1 321 5 59 3 4 1 94 13 2 193
1 343 62 6 4 242 2 141 426 2 514
เชื่อมโยงกับการจายคาตอบแทน และมีความสอดคลองกับ ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ยิง่ ขึน้ เชน การปรับกรอบนํา้ หนัก การบริหารผลการปฏิบัติงานใหมในทุกระดับตําแหนง โดย สําหรับผูบริหารไมนํา o etency มาเปนสวนหนึ่งของ คะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงาน แตนํามาใชเพื่อเปน ขอมูลประกอบการพั นาบุคลากร กําหนดใหมกี ารตัง้ เปาหมาย สูงขึน้ หรือทาทายมากขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับผลการปฏิบตั ิ งานที่ผานมา รวมทั้งเปาหมายการปฏิบัติงานตองสอดคลอง หรือสนับสนุนเปาหมายของผูบ งั คับบัญชา และเปาหมายของ องคกร พรอมทัง้ ตองมีการจัดลําดับ Per or ance Ranking ใหเปนไปตาม Forced istribution urve อีกดวย นอกจากนี้ บริษัทฯ อยูระหวางการที่จะปรับปรุงโครงสราง การจายคาตอบแทนของพนักงานในภาพรวม โดยการจัดทํา โครงสรางบัญชีอัตราเงินเดือน ภายใตเงื่อนไขที่พนักงาน รับภาระภาษีเงินไดเอง รวมทั้งพิจารณาจัดทําโครงสรางคา ตอบแทนของกลุมนักบินและพนักงานตอนรับบนเครื่องบิน ที่เชื่อมโยงกับการปฏิบัติงานอยางชัดเจน ตามแนวปฏิบัติ ของสายการบินชั้นนําในปจจุบัน เพื่อจูงใจใหเกิดผลิตภาพ และสนับสนุนใหพนักงานปฏิบัติงานตามที่องคกรคาดหวังไป พรอมกันดวย
รง รางการจัดการ
ตารางแสดงผลตอบแทนที่เปนตัวเงินที่จายใหแกพนักงานตามปหรือรอบระยะเวลาที่แสดงไว
นวย ลานบา
ล อบแ น ปน ว ินแกพนก าน
พนักงานทั่วไป นักบิน พนักงานตอนรับบนเครื่องบิน รม
นโยบายการพัฒนาพนักงาน บริษัทฯ มีนโยบายในการพั นาทรัพยากรบุคคลทุกระดับดวย การพั นาและฝกอบรมบุคลากรใหมคี ณ ุ ภาพและไดมาตรฐาน มีศักยภาพ และความสามารถเหมาะสมกับตําแหนง ทั้งที่ ปฏิบัติงานอยูใน ore และ Business nit มีการออกแบบ eve o ent Training Road a ซึ่งครอบคลุมทั้ง ore Manageria และ Functiona o etency สําหรับ พนักงาน ผูบริหารระดับตน ระดับกลาง ระดับสูง และผูมี ศักยภาพสูง (Ta ent) โดยใชเครื่องมือการพั นาพนักงานที่ หลากหลาย ทั้งที่เปนการฝกอบรม (Training) และไมใชการ
ป
ป
ป
19 465 5 16 591
23 195 5 51 39 37,444
21 514 5 10 169
ฝกอบรม ( on-Training) เชน การเรียนรูจากการสอนงาน การฝกปฏิบัติงาน เปนตน นอกจากนี้ ยังมีการนําเทคโนโลยี สารสนเทศในรูปแบบ e- earning มาใชในการฝกอบรมและ การเรียนรู เพือ่ เพิม่ โอกาสในการอบรมใหกบั พนักงาน ลดขอ จํากัดในการจัดสงพนักงานเขารับการอบรม และลดคาใชจา ย ในการฝกอบรม ทั้งนี้ เพื่อเตรียมความพรอมใหกับพนักงาน และผูบริหารใหสามารถปฏิบัตงิ านไดอยางเต็มศักยภาพ และ พรอมเติบโตขึ้นสูตําแหนงงานที่สูงขึ้นในอนาคตทั้งในสาย บริหารและสายอาชีพตอไป
คาใ จายในการพัฒนาพนักงาน รายจาย นการพ นาพนก าน
รายจายในการพั นาพนักงานทั่วไป รายจายในการพั นานักบิน รายจายในการพั นาพนักงานตอนรับบนเครื่องบิน รม
ป
นวย ลานบา
ป
55 411 10 476
2 452 1 481
ป
5 42 5
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 67
แนวทางดานแรงงานสัมพันธของบริษัทฯ บริษัทฯ มุง มัน่ ทีจ่ ะสงเสริมแรงงานสัมพันธทดี่ รี ะหวางนายจาง และลูกจาง เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และเปนไปตามวัตถุประสงคของพระราชบัญญัติแรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ ศ 2543 โดยบริษั ทฯ ใชระบบการ ปรึกษาหารือรวมกันในรูปแบบของคณะกรรมการกิจการ สัมพันธ มีการตั้งคณะกรรมการขึ้นตามที่ก หมายกําหนด และให มี ก ารประชุ ม ร ว มกั น อย า งน อ ยเดื อ นละหนึ่ ง ครั้ ง โดยมีอํานาจหนาที่ ในการพิจารณาใหความเห็นเกี่ยวกับการ ปรับปรุงประสิทธิภาพในการดําเนินงานของบริษัทฯ ตลอดจน สงเสริมและพั นาแรงงานสัมพันธ หาทางปรองดองและ ระงับขอขัดแยงในบริษั ทฯ พิจารณาปรับปรุงระเบียบขอ บังคับในการทํางาน อันเปนประโยชนตอนายจาง ลูกจาง และบริษัทฯ รวมกันปรึกษาหารือเพือ่ แกไขปญหาตามคํารอง ทุกขของลูกจาง หรือสหภาพแรงงานฯ รวมถึงการรองทุกข ที่เกี่ยวกับการลงโทษทางวินัย ตลอดจนปรึกษาหารือเพื่อ พิจารณาปรับปรุงสภาพการจาง เปนตน ซึ่งจากการประชุม คณะกรรมการกิจการสัมพันธที่ผานมา ทางกรรมการผูแทน ฝ า ยลู ก จ า งในคณะกรรมการกิ จ การสั ม พั น ธ ไ ด มี ก ารยื่ น ขอเรียกรองผานคณะกรรมการกิจการสัมพันธ ซึง่ เปนไปตาม ทีก่ หมายกําหนดโดยสามารถเจรจาทําความเขาใจและตกลง กันไดดวยดีเสมอมาตามกระบวนการและขั้นตอนที่ก หมาย กําหนด อีกทั้งบริษัทฯ ไดใหความรวมมือใหการสนับสนุนใน กิจกรรมตางๆ ของลูกจางอยางตอเนื่องเสมอมา
68 รายงานประจําป 2559
แนวทางดานการคุมครองแรงงาน บริ ษั ท ฯ ได ใ ห ค วามสํ า คั ญ และคํ า นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานของพนักงาน เนื่องจากลักษณะงานที่มีความแตกตางกันในแตละสายงาน จึงจัดใหมีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดลอมในการทํางาน โดยมีการคัดสรรจากฝายบริหาร และฝายลูกจางหนวยตางๆ ของบริษัทฯ รวมกันเปนกรรมการ เพื่ อ พิ จ ารณาหาแนวทางและดํ าเนิ นการให ถู ก ต อ งตามที่ ก หมายกําหนด รวมถึงรวมกันตรวจสอบและจัดหาอุปกรณ เครือ่ งมือ เครือ่ งใชตา งๆ เพือ่ ใหการปฏิบตั งิ านเปนไปดวยความ สะดวก รวดเร็วและมีความปลอดภัยสูงสุด เพื่อลดการเกิด อุบัติเหตุหรือภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดกับพนักงานของ บริษัทฯ อีกทัง้ มีการรณรงคใหพนักงานไดทราบถึงกระบวนการ ที่บริษัทฯ ไดดําเนินการใหความคุมครองแรงงาน และดูแล รับผิดชอบเกีย่ วกับการรักษาพยาบาลแกพนักงานตามทีก่ หมาย กําหนด ทัง้ นี้ โดยคํานึงถึงความปลอดภัยและความสําคัญของ ทรัพยากรบุคคลของบริษัทฯ เปนหลัก
รง รางการจัดการ
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 69
การกากับ
กจการ
70 รายงานประจําป 2559
การกํากับดู กิจการ
นโยบายเกีย่ วกับการกากับดูแล กิจการทีด่ ี และจริยธรรมทางธุรกิจ
คณะกรรมการบริษั ทฯ ไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแล กิจการที่ดีและจริยธรรมทางธุรกิจโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สากล เพือ่ ใหผปู ฏิบตั งิ านทุกระดับยึดถือและปฏิบตั ติ ามอยาง เครงครัด ดวยเชื่อวาเปนวิถีทางในการยกระดับการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ ใหเกิดความเปนธรรม โปรงใส สามารถ ตรวจสอบได ซึ่งเปนการสรางความเชื่อมั่นในระยะยาวให กับผูถือหุน นักลงทุน ลูกคา โดยในป 2559 คณะกรรมการ บริษั ทฯ ไดทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและ จริยธรรมทางธุรกิจ เพื่อใหสอดคลองกับกลยุทธของบริษัทฯ รวมทั้งไดทําการเผยแพรผานทางเว็บไซตบริษัทฯ ที่ t aiair ays co เกี่ยวกับการบินไทย ศูนยขอมูลขาวสาร เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียทุก ภาคสวนสามารถเขาถึงขอมูลได นโยบายการกํากับดูแลกิจการ มีองคประกอบทีส่ าํ คัญ 4 ดาน ไดแก
1. ดานรั สังคมและสิง่ แวดลอม
มุง มัน่ รักษา และสงเสริม คุณภาพสิง่ แวดลอมอันเกิดจาก การดําเนินงานขององคกร กระตุน สงเสริม เนนยํา้ ใหทกุ หนวยงานในองคกร ดําเนินงาน โดยคํานึงถึงหนาที่และความรับผิดชอบเพื่อประโยชน สวนรวม ใสใจตอสิ่งแวดลอม สังคมและชุมชน มุงมั่น สรางสรรค สงเสริม สนับสนุน และบริหารจัดการ ดวยความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม สังคมและชุมชน ตามหลักก หมายและขอบังคับที่เกี่ยวของ
2. ดานผูร บั บริการและผูม สี ว นไดเสีย
มุงเนนการใหบริการทุกระดับดวยความประทับใจ ผูรับ บริการ ผูมีสวนไดเสีย ไดรับการอํานวยความสะดวกและ การตอบสนองตามตองการ สรางกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของผูรับบริการ และ ผูมีสวนไดเสียผานชองทางตางๆ ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น แนวทางใหม ๆ ตลอดจนการนํ า เทคโนโลยีสมัยใหมมาประยุกตใชในการพั นาการให บริการเพื่อความสะดวกและทันสมัย สงเสริมการใหบริการ โดยยึดหลักความพึงพอใจของผูรับ บริการ แสดงความรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้น อยางเปนธรรม อันเนื่องมาจากการบริการที่ผิดพลาด หรือไมเปนไปตามสัญญาหรือขอตกลง มุงมั่นที่จะเปดโอกาสในการแขงขันการใหบริการอยาง เปนธรรมและเสมอภาค
3. ดานองคกร
สรางระบบการกํากับดูแลและปองกันมิใหเกิดการขัดแยง ทางผลประโยชน ( on ict o Interest) ในการดําเนินงาน และทบทวนระบบการกํากับดูแลขององคกรอยางสมํา่ เสมอ สงเสริม ปลูกฝง กระตุน พรอมทั้งสรางบรรยากาศใหมี การตระหนักถึงความเสี่ยงตอการผิดจริยธรรมจนเปน วั นธรรมองคกร โดยเนนยํ้าถึงผลกระทบที่เกิดจากการ ดําเนินงานที่ ไมสอดคลองกับหลักคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล สรางกระบวนการกรณีทผี่ ลิตภัณฑ บริการ และการปฏิบตั ิ การมีผลกระทบในเชิงลบตอสังคม รวมถึงการคาดการณ ลวงหนาถึงความกังวลของสาธารณะที่มีผลตอผลิตภัณฑ บริการ และการปฏิบัติการ ใหความสําคัญตอความถูกตองและความชัดเจนของขอมูล ที่เผยแพรสูสาธารณชน โดยปรับปรุงพั นาระบบการ จัดการฐานขอมูลใหถูกตอง ทันสมัยอยูตลอดเวลา และ เนนยํ้าใหผูปฏิบัติงานทุกระดับยึดถือปฏิบัติโดยเครงครัด สงเสริมและจัดใหมีระบบบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวกับ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบตั งิ าน ความถูกตอง ของรายงานและการปฏิบัติตามก ระเบียบที่เกี่ยวของ ภายใตการกํากับดูแลและควบคุมภายในที่ดี
. ดานผูป ฏิบตั งิ าน
ใหความสําคัญ สนับสนุน ผลักดัน การพั นาทรัพยากรบุคคล การสรางความผูกพันองคกร และการสืบทอดตําแหนงอยาง เปนระบบและตอเนื่อง มุง มัน่ ทีจ่ ะสรางบรรยากาศในการทํางานทีด่ งึ ดูดและรักษา พนักงานทีม่ คี ณ ุ ภาพ พรอมจัดใหมกี ารพั นาความสามารถ และทักษะที่จําเปน เพื่อใหพนักงานพั นาศักยภาพ และ สามารถทํางานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด สงเสริม สนับสนุน จัดใหมีระบบการแลกเปลี่ยน เรียนรู ประสบการณและความรูในการปฏิบัติงานทุกระดับเพื่อ ยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน เคารพในสิทธิสว นบุคคลของเจาหนาที่ พนักงาน หลีกเลีย่ ง การนําเอาขอมูล หรือเรื่องราวของเจาหนาที่ พนักงาน ทั้งในเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานและเรื่องสวนตัวไป เปดเผย หรือวิพากษวจิ ารณในลักษณะทีจ่ ะกอใหเกิดความ เสียหายแกเจาหนาที่ พนักงาน หรือภาพลักษณโดยรวม ขององคกร กํากับดูแลใหพนักงานปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความซือ่ สัตยสจุ ริต โปรงใส เพือ่ ประโยชนสงู สุดขององคกร และไมดาํ เนินการ ที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 71
ใหความสําคัญและความเปนธรรมกับพนักงานทุกระดับ จัดใหมีกระบวนการรับขอรองเรียนจากพนักงานอยางเปน ระบบในเรื่องการปฏิบัติที่ไมเปนธรรมของผูบังคับบัญชา
จริยธรรมธุรกิจ
บริษัทฯ มีหลักจริยธรรม เพื่อใหพนักงานยึดถือปฏิบัติ ดังนี้ 1 ยึดมัน่ ในระบอบประชาธิปไตย ใหการสนับสนุนและยึดมัน่ ในระบอบประชาธิป ไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปน ประมุข 2 ยึดมัน่ ในประโยชนของบริษัทฯ ปฏิบตั หิ นาทีเ่ พือ่ ประโยชน สูงสุดของบริษัทฯ โดยไมแสวงหาผลประโยชนเพื่อตนเอง หรือผูอื่น และไมมีผลประโยชนทับซอน 3 ยึดมัน่ ในความซือ่ สัตยสจุ ริต ไมยนิ ยอมใหเกิดการทุจริตขึน้ ในงานที่ตนมีหนาที่รับผิดชอบ 4 ยึดมั่นในความถูกตอง ไมยินยอมใหเกิดการกระทําที่ผิด ก หมายขึ้นในงานที่ตนมีหนาที่รับผิดชอบ 5 ยึดมั่นในความโปรงใส ไมบิดเบือนขอเท็จจริงไมวาใน ลั ก ษณะใดๆ ในการให ข อ มู ล ข า วสารแก ผู ร ว มงาน ประชาชน ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียอื่นๆ ของบริษัทฯ หลักบรรษัทภิบาลของการบินไทย บริษัทฯ ไดจดั ทําคูม อื ประมวลบรรษัทภิบาลและจริยธรรมเปน ลายลักษณอกั ษร และประกาศใชเมือ่ วันที่ 2 กันยายน 2553 โดยในป 2559 ไดเปดเผยคูมือประมวลฯ ผานทางเว็บไซต บริษั ทฯ ที่ t aiair ays co เกี่ยวกับการบินไทย ศูนยขอมูลขาวสาร เพื่อสื่อสารใหพนักงานทุกคนเขาใจ และ สงเสริมใหนําไปปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม การสรางมูลคา พิม ห กองคกร นร า สงเสริมและปลูกฝงใหผปู ฏิบตั งิ าน มีวิสั ย ทั ศ น แ ละตระหนัก ถึง ความสํา คัญในการเพิ่มขี ด ความสามารถในการแขงขันในทุกดาน ซึ่งเปนการสราง มูลคาเพิ่มใหแกองคกรในระยะยาว ตลอดจนจัดใหมีคณะ กรรมการตางๆ ตามหลักธรรมาภิบาล และผูบริหารตอง ปฏิบตั ติ ามนโยบายวาดวยการสรรหา แตงตัง้ โยกยาย และ พิจารณาความดีความชอบดวยความโปรงใสและเปนธรรม ค าม รง ส ดูแลใหมีการเปดเผย ขอมูลสําคัญทัง้ ขอมูลดานการเงินและดานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ กั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ภายในระยะเวลาที่ เหมาะสม และผานชองทางที่ผูเกี่ยวของสามารถเขาถึง ขอมูลไดสะดวก และจัดใหมีหนวยงานประชาสัมพันธและ หนวยงานนักลงทุนสัมพันธทาํ หนาทีเ่ ผยแพรขอ มูลขาวสาร ทั่วไปเกี่ยวกับบริษั ทฯ ใหสาธารณชนไดรับทราบ อีกทั้ง ผูปฏิบัติงานจะตองไมมีผลประโยชนสวนตนในการปฏิบัติ 72 รายงานประจําป 2559
หนาที่หรือละเวนการดําเนินการใดๆ ในลักษณะที่อาจกอ ใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษั ทฯ ไม ใช ขอมูลแสวงหาผลประโยชนเพื่อตนเองหรือผูอื่น ตลอดจน ผูปฏิบัติงานตองไมรับตําแหนงกรรมการหรือที่ปรึกษาให แกบริษัท หรือบุคคลใดๆ ซึง่ จะกอหรืออาจกอใหเกิดความ ขัดแยงทางผลประโยชนกบั บริษัทฯ รวมถึงการรับทรัพยสนิ หรือประโยชนอื่นใดของผูปฏิบัติงาน จะตองอยูภายใต หลั ก เกณฑ ที่ ค ณะกรรมการป อ งกั น และปราบปราม การทุจริตแหงชาติกําหนด ค ามรับผิ อบ นหนา ผูปฏิบัติงาน ตองอุทศิ ตนในการปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความรู และประสบการณ อยางเต็มความสามารถ โดยใหความสําคัญตอการตอบสนอง ความตองการของผูถือหุน ลูกคา คูคา และพนักงาน โดย ใชดุลยพินิจในการปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระดวยความ สุจริตและเปนธรรม ตลอดจนหลีกเลี่ยงการกระทําใดๆ อั น เป น การขั ด แย ง กั บ ผลประโยชน ข องบริ ษั ท ฯ หรื อ เปนการใชโอกาสหรือขอมูลที่ไดจากการเปนผูปฏิบัติงาน ของบริษัทฯ เพื่อแสวงหาผลประโยชนสําหรับตนเองหรือ ผูอื่น ซึ่งผูบริหารจะตองสงเสริมและปลูกฝงผูใตบังคับ บัญชาใหมีจิตสํานึกของความรับผิดชอบอยางสูงในการ ปฏิบัติหนาที่ ค ามรับผิ อบตอผลการ บิ ตั หิ นา ผูป ฏิบตั งิ านตองตัง้ ใจปฏิบตั หิ นาทีอ่ ยางเต็มความสามารถ และใชความระมัดระวังเยี่ยงผูมีความรูและประสบการณ พรอมทีจ่ ะรับผิดชอบตอผลการกระทําของตน รวมถึงชีแ้ จง และอธิบายการตัดสินใจและการกระทําของตนตอคณะ กรรมการบริษัทฯ ผูบ งั คับบัญชา ผูถ อื หุน ลูกคา คูค า และ ผูมีสวนไดเสียอื่นๆ ของบริษั ทฯ สงเสริมและปลูกฝงให ผูปฏิบัติงานมีจิตสํานึกความรับผิดชอบ ค าม นธรรม ผูป ฏิบตั งิ านตอง ดํ า เนิ น กิ จ การและปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องตนเองด ว ยความ เปนธรรม โดยการปฏิบตั ติ อ ผูม สี ว นไดเสียอยางเทาเทียมกัน ไมเลือกปฏิบัติเนื่องจากความแตกตางในดานเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ หรือเหตุอื่นอันไมเปนธรรม รวมถึง ประพ ติปฏิบัติตอคูแขงขันทางการคา ใหสอดคลองกับ หลักสากลภายใตกรอบแหงก หมายทีเ่ กีย่ วของ ไมละเมิด ความลับ หรือลวงรูความลับทางการคาของคูแขงทาง การคาดวยวิธี อ ล และจัดใหมีชองทางใหพนักงาน สามารถแจงเรือ่ งทีผ่ ดิ ก หมาย หรือผิดระเบียบของบริษัทฯ และดูแลใหขอรองเรียนไดรับการตอบสนองภายในระยะ เวลาที่เหมาะสม
การกํากับดู กิจการ
การปฏิบตั ติ ามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี
คณะกรรมการบริษัทฯ มีเจตนารมณและความมุงมั่นในการ ดําเนินธุรกิจตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีที่ยอมรับใน ระดับสากล (Internationa Best Practice) ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และ AS A Scorecard โดยทําการ พั นาอยางตอเนื่อง ดวยเชื่อมั่นวาสามารถทําใหธุรกิจของ บริษัทฯ เจริญเติบโตไดอยางมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน หลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ แบงเปน 5 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผูถ อื หุน บริษั ทฯ ใหความสําคัญกับผูถือหุนและสิทธิของผูถือหุน การทําใหผูถือหุนไววางใจและมั่นใจในการลงทุนกับบริษั ทฯ คือ การทีบ่ ริษัทฯ มีนโยบาย หรือการดําเนินการทีป่ กปองและ รักษาสิทธิขนั้ พืน้ ฐานของผูถ อื หุน ทีพ่ งึ ไดรบั ไดแก สิทธิในการ ซื้อขาย การโอนหลักทรัพยที่ตนถืออยู สิทธิในการมีสวนแบง ผลกําไรของบริษัทฯ สิทธิการไดรับขอมูลของบริษัทฯ อยาง เพียงพอและทันเวลา สิทธิตา งๆ ในการเขารวมประชุมผูถ อื หุน สิทธิการมอบ ันทะใหบุคคลอื่นเขาประชุมและออกเสียงลง คะแนนแทน สิทธิการแสดงความคิดเห็นและซักถามในการ ประชุมผูถือหุน สิทธิในการเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเปนวาระ การประชุมและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อรับ การพิจารณาเลือกตั้งเปนกรรมการบริษัทฯ สิทธิในการรวม ตัดสินใจในเรือ่ งสําคัญของบริษัทฯ เชน การเลือกตัง้ กรรมการ การอนุมัติธุรกรรมที่สําคัญและมีผลตอทิศทางการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ การแกไขหนังสือบริคณหสนธิและขอบังคับ ของบริษัทฯ เปนตน
การประชุมผูถ อื หุน
บริษั ทฯ ไดจัดใหมีการประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป ตามพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจํ า กั ด พ ศ 2535 โดยได ป ฏิ บัติตามแนวทางการจัดประชุมผู ถื อ หุ น ที่ ดีข อง ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษั ทไทย (I ) และตรวจสอบใหการประชุม ผู ถื อ หุ น มี ข อ ปฏิ บั ติ ค รบถ ว นตามข อ กํ า หนดที่ ร ะบุ ไ ว ใ น Annua enera Meeting eck ist (A M eck ist) ตามโครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถือหุนสามัญ ประจําปของบริษัทจดทะเบียน โดยสมาคมสงเสริมผูล งทุนไทย สมาคมบริ ษั ท จดทะเบียน และสํา นัก งานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก ล ต ) เพือ่ ยกระดับ คุณภาพการจัดการประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําปของ บริษัทฯ ดังนี้
การกําหนดวัน เวลา สถานที่ในการประชุม ที่ประชุมคณะกรรมการบริษั ทฯ ครั้งที่ 2 2559 เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2559 ไดมีมติกําหนดใหจัดการประชุมใหญ สามัญผูถือหุนประจําป 2559 ในวันที่ 22 เมษายน 2559 ซึ่งอยูภายในกําหนดระยะเวลา 4 เดือน นับแตวันปดบัญชี ประจําปของบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดเปดเผยมติดังกลาวใน เว็บไซตของตลาดหลักทรัพยฯ และเผยแพรคาํ บอกกลาวเรียก ประชุมผูถือหุนในเว็บไซตของบริษัทฯ ตั้งแตวันที่ 15 มีนาคม 2559 โดยการประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2559 ได จัดขึ้น ณ หองประชุมชัยพ กษ หอประชุมกองทัพอากาศ (อาคารทองใหญ) ถนนพหลโยธิน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร มีผูถือหุนและผูรับมอบ ันทะแทนจํานวน 3 32 ราย ถือหุน รวมกันทั้งสิ้น 1 595 4 9 23 หุน คิดเปนรอยละ 3 09 ของ จํานวนหุนทั้งหมดของบริษัทฯ เขารวมประชุม ครบเปนองค ประชุมตามขอบังคับของบริษั ทฯ โดยมีประธานกรรมการ บริษัทฯ ประธานคณะกรรมการชุดยอย กรรมการและผูบ ริหาร บริษัทฯ เลขานุการบริษัทฯ ผูส อบบัญชี และทีป่ รึกษาก หมาย เขารวมประชุมอยางพรอมเพรียงกัน ทั้งนี้ รายละเอียดใน การดําเนินการประชุมมีดังนี้
ก อนวันประชุมผูถ อื หุน
ในการประชุ ม ใหญ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น ประจํ า ป 2559 เพื่ อ เปนการสงเสริมการกํากับดูแลกิจการที่ดีเกี่ยวกับการดูแล สิทธิของผูถือหุน บริษัทฯ ไดเปดโอกาสใหผูถือหุนเสนอเรื่อง เพื่อพิจารณาบรรจุเปนวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคล ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเพื่ อ รั บ การพิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง เป น กรรมการบริษัทฯ เปนการลวงหนากอนทีบ่ ริษัทฯ จะสงหนังสือ เชิญประชุม คือ ตั้งแตเดือนตุลาคม-ธันวาคม 255 โดยได เปดเผยรายละเอียดหลักเกณฑและวิธีการไวบนเว็บไซตของ บริษัทฯ และบริษัทฯ ไดลงประกาศในหนังสือพิมพ ระหวาง วันที่ 5-11 ตุลาคม 2559 พรอมทั้งไดมีหนังสือแจงตลาด หลักทรัพยฯ ในเรือ่ งดังกลาว โดยมีผถู อื หุน เสนอชือ่ บุคคลเพือ่ รับการพิจารณาเลือกตั้งเปนกรรมการบริษัทฯ แตปรากฏขอ เท็จจริงวาผูถือหุนที่ไดเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณา เลือกตั้งเปนกรรมการบริษั ทฯ ดังกลาวมีคุณสมบัติไมตรง ตามหลักเกณฑที่กําหนด การส งเอกสารการประชุมและการมอบฉันทะ บริษัทฯ ไดจัดสงหนังสือเชิญประชุม ซึ่งบรรจุวาระที่สําคัญ อยางครบถวนตามก หมาย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และขอบังคับของบริษัทฯ อาทิ รายละเอียดวาระการประชุมที่ เพียงพอทีจ่ ะประกอบการตัดสินใจ ทัง้ นี้ บริษัทฯ ไดระบุอยาง ชัดเจนในแตละวาระทีน่ าํ เสนอวา เปนเรือ่ งทีน่ าํ เสนอเพือ่ ทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา รวมทั้งนําเสนอความเห็นของ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 73
คณะกรรมการบริษั ทฯ ในแตละวาระอยางชัดเจน รายงาน การประชุมครั้งที่ผานมา รายงานประจําป พรอมทั้งเอกสาร ประกอบการประชุม เอกสารที่ตองใชในการมอบ ันทะ และ ระบุวิธีการไวชัดเจนใหแกผูถือหุนไดพิจารณาลวงหนากอน การประชุมมากกวา 21 วัน (เผยแพรรายงานประจําป ภายใน 120 วันนับตั้งแตวันสิ้นสุดรอบปบัญชี) และไดประกาศใน หนังสือพิมพรายวันภาษาไทย เรื่องคําบอกกลาวเรียกประชุม ใหญสามัญผูถือหุนติดตอกันไมนอยกวา 3 วัน และกอนวัน ประชุมไมนอ ยกวา 3 วัน รวมถึงไดเผยแพรหนังสือเชิญประชุม พรอมทั้งเอกสารประกอบการประชุมในเว็บไซตของบริษั ทฯ ลวงหนากอนการประชุมมากกวา 30 วัน เพือ่ บอกกลาวผูถ อื หุน ลวงหนาในเวลาที่เพียงพอสําหรับเตรียมตัวศึกษาขอมูลใน การพิจารณาเกี่ยวกับวาระการประชุมกอนมาเขารวมประชุม หนังสือเชิญประชุมไดจัดสงใหกับผูถือหุนทุกรายที่มีรายชื่อ ปรากฏในสมุดทะเบียนผูถือหุนของบริษัทฯ รวมทั้งไดแตงตั้ง กรรมการอิสระ เปนผูรับมอบ ันทะแทนผูถือหุน ในกรณีที่ ผูถ อื หุน ประสงคจะมอบ นั ทะใหผอู นื่ มาประชุมแทน สามารถ เลือกมอบ ันทะใหบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกรรมการอิสระ ของบริษัทฯ เขาประชุมแทนได
วันประชุมผูถ อื หุน
การเข าร วมประชุมและการลงทะเบียน บริษัทฯ ไดแจงในเอกสารประกอบการประชุมที่จัดสงพรอม หนังสือเชิญประชุม เพื่อใหผูถือหุนทราบถึงกระบวนการและ ขั้นตอนในการเขารวมประชุม การตรวจสอบเอกสารหรือ หลักฐานเพื่อแสดงสิทธิในการเขารวมประชุม บริษั ทฯ ได อํานวยความสะดวกใหกับผูถือหุน โดยไดกําหนดวันเวลา การประชุม สถานที่ประชุมที่มั่นใจในดานการรักษาความ ปลอดภัยใหกับผูถือหุน จัดเจาหนาที่ลงทะเบียน และกําหนด จุดบริการรับลงทะเบียนใหแกผูถือหุนทั่วไป ผูถือหุนสูงอายุ และผูรับมอบ ัน ทะที่เขารวมประชุมอยางเหมาะสมและ เพียงพอ โดยผูถือหุนสามารถลงทะเบียนเขารวมประชุมได ลวงหนากอนเวลาประชุม 4 ชั่วโมง และตอเนื่องจนกวาการ ประชุมผูถือหุนจะแลวเสร็จ รวมถึงการจัดของที่ระลึก และ การเลี้ยงรับรองที่เหมาะสมแกผูถือหุนที่มาประชุมดวย การเป ดโอกาสให ผู ถือหุ นซักถามและแสดงความคิดเห็น การลงมติ และการบันทึกรายงานการประชุม ในการประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2559 กอนดําเนิน การประชุม เลขานุการบริษัทฯ ไดมีการแจงรายละเอียดของ องคประชุม อธิบายวิธีการลงคะแนน การใชบัตรลงคะแนน การเก็บบัตรลงคะแนน การนับคะแนนเสียง และเปดเผยผล การนับคะแนนในแตละวาระอยางชัดเจน โปรงใส รวมทั้ง เปดโอกาสใหผูถือหุนซักถาม หรือแสดงความคิดเห็นอยาง 74 รายงานประจําป 2559
เหมาะสมและเพียงพอ และใหฝา ยบริหารทีเ่ กีย่ วของชีแ้ จงและ ใหขอมูลตางๆ แกผูถือหุนอยางครบถวนและชัดเจน สําหรับ การลงคะแนนและนับคะแนนเสียง บริษั ทฯ ปฏิบัติตามขอ บังคับของบริษัทฯ ที่กําหนดให 1 หุน เปน 1 เสียง และนับ เสียงขางมากหรือไมนอยกวา 2 ใน 3 เปนมติ โดยในวาระ ทั่วไปใชบัตรลงคะแนนเ พาะกรณีที่ผูถือหุนไมเห็นดวยและ งดออกเสียงสําหรับวาระเลือกตั้งกรรมการใชบัตรลงคะแนน เห็นดวย ไมเห็นดวย และงดออกเสียง รวมทัง้ บริษัทฯ มีการจด บันทึกรายงานการประชุมอยางครบถวนและมีการบันทึกภาพ ประชุมในลักษณะสื่อวีดิทัศน และพรอมใหบริการเผยแพร แกผูถือหุนที่สนใจ
ภายหลังวันประชุมผูถ อื หุน
การแจ งมติทปี่ ระชุมผูถ อื หุน บริษัทฯ ไดแจงมติที่ประชุมผูถือหุนผานระบบขาวของตลาด หลักทรัพยฯ ภายหลังจากการประชุมผูถือหุน โดยไดแจง กอนเวลาเปดทําการซื้อขายในรอบถัดไป ซึ่งมติดังกลาวได ระบุผลของมติ (เห็นชอบ ไมเห็นชอบ) และผลของการลง คะแนนเสียง (เห็นดวย ไมเห็นดวย งดออกเสียง) ในแตละ วาระ และจัดสงรายงานการประชุมผูถือหุน ซึ่งจดบันทึก รายชื่อกรรมการ ผูบริหารที่เขารวมประชุม ผลของมติ (เห็นชอบ ไมเห็นชอบ) และผลของการลงคะแนนเสียง (เห็นดวย ไมเห็นดวย งดออกเสียง) ในวาระที่ขอรับรอง อนุมตั จิ ากผูถ อื หุน รวมทัง้ ประเด็นอภิปรายทีส่ าํ คัญ ขอซักถาม ของผูถือหุนในแตละวาระและการชี้แจงของบริษั ทฯ อยาง ละเอียดใหตลาดหลักทรัพยฯ และเผยแพรรายงานการประชุม ผูถือหุนบนเว็บไซตภายในระยะเวลา 14 วัน นับแตวันประชุม ผูถือหุน และสงหนวยงานราชการภายในกําหนดเวลา โดย บริษัทฯ ไดจัดทํามติที่ประชุมผูถือหุนซึ่งสงผานระบบขาวของ ตลาดหลักทรัพยฯ และเผยแพรรายงานการประชุมผูถ อื หุน เปน ภาษาอังก ษบนเว็บไซตของบริษัทฯ เพื่อใหผูถือหุนตางชาติ ไดรับขอมูลอยางทั่วถึงกัน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไมมีการกีดกันหรือ อุปสรรคในการติดตอสื่อสารระหวางกันของผูถือหุน หมวดที่ 2 การปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน อยางเทาเทียมกัน นโยบายของบริษั ทฯ คือการอํานวยความสะดวกใหผูถือหุน และปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน เปนธรรม และเปนไปตามขอกําหนดก หมาย รวมทัง้ มีมาตรการปองกัน กรณีที่กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานใชขอมูลภายในเพื่อ แสวงหาผลประโยชนใหแกตนเองหรือพวกพองในทางมิชอบ อาทิ การซื้อขายหลักทรัพยโดยใชขอมูลภายใน (Insider Trading) การนําขอมูลภายในไปเปดเผยกับบุคคลทีเ่ กีย่ วของ กับกรรมการ และผูบ ริหาร เพือ่ สรางความมัน่ ใจในการลงทุน กับบริษั ทฯ ตามแนวทางโครงการประเมินคุณภาพการจัด
การกํากับดู กิจการ
ประชุมสามัญผูถือหุน (A M eck ist) ไดแก การปองกัน สิทธิขั้นพื้นฐานของผูถือหุน การกําหนดใหสิทธิออกเสียงในที่ ประชุมเปนไปตามจํานวนหุน ทีถ่ อื อยูโ ดยหนึง่ หุน มีสทิ ธิเทากับ หนึ่งเสียง การกําหนดใหกรรมการอิสระเปนผูมีหนาที่ดูแล ผูถือหุนสวนนอย การใหบริษัทศูนยรับฝากหลักทรัพยฯ เปน นายทะเบียนหลักทรัพย การดําเนินการประชุมตามลําดับ ระเบียบวาระที่ ไดแจงไวในหนังสือเชิญประชุม การเปด โอกาสใหผถู อื หุน มีสทิ ธิมอบ นั ทะใหผอู นื่ มาประชุมและลงมติ แทน การจัดสรรเวลาประชุมอยางเพียงพอเพื่อเปดโอกาสให ผูถ อื หุน มีสทิ ธิอยางเทาเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นและ ตั้งคําถาม และการเปดเผยขอมูลผานเว็บไซตของบริษั ทฯ เพือ่ ใหผถู อื หุน ไดรบั ขอมูลขาวสารสําคัญทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง บริษัทฯ มีการสงหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการ ประชุมเปนภาษาอังก ษใหกับผูถือหุนตางชาติ และภายหลัง การประชุมฯ ฝายบริหารไดมอบหมายใหหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ นําขอเสนอแนะของผูถ อื หุน ไปพิจารณาวาสามารถดําเนินการ ไดหรือไม บริษัทฯ ไมมีรายการที่เปนการใหความชวยเหลือ ทางการเงินแกบริษัทฯ ที่ไมใชบริษัทยอยของบริษัทฯ และใน ปทผี่ า นมา บริษัทฯ ไมมกี รณีฝา ฝน ไมปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ การซื้อขายสินทรัพย หมวดที่ 3 บทบาทของผูม สี ว นไดเสีย บริษั ทฯ ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสําคัญของผูมีสวนได เสียทุกภาคสวน ที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน การสรางมูลคาเพิ่ม และสรางกําไรใหกับบริษั ทฯ บริษั ทฯ จึงมีแนวปฏิบัติที่เปนธรรมตอผูมีสวนไดเสียทุกกลุมอยาง เทาเทียมกัน โดยยึดหลักผลประโยชนรวมกันอยางยั่งยืน ในฐานะสายการบินแหงชาติ บริษั ทฯ ดําเนินธุรกิจดวย ความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งสอดคลองกับหลักมาตรฐาน สิ่งแวดลอมสากล เพื่อลดมลพิษและผลกระทบตางๆ อันเกิด จากการดําเนินงาน โดยบริษั ทฯ ไดกําหนดแนวทางการ ปฏิบัติไวเปนลายลักษณอักษรในคูมือประมวลบรรษั ทภิบาล และจริยธรรม เพื่อใหคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ยึดถือปฏิบัติ ดังนี้
“สังคมและสวนรวม” รวมทั้งใหการสนับสนุน สงเสริม หรือ มีสว นรวมในกิจกรรมทีเ่ ปนประโยชนตอ สังคมหรือชุมชนตางๆ
ผู ถือหุ น
บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจเพื่อสรางผลตอบแทนที่ดีอยางตอเนื่อง และยั่งยืนใหแก “ผูถือหุน” และปฏิบัติตอ “ผูถือหุน” ทุกราย ดวยความเสมอภาค
ลูกค า
บริษั ทฯ จะใหบริการที่มีคุณ ภาพ โดยใส ใจในเรื่องความ ปลอดภัย ความสะดวกสบาย และแสวงหาวิธีการที่สามารถ สนองความตองการของ “ลูกคา” อยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล เพื่อสรางความเชื่อมั่นและความพึงพอใจ
คู ค า เจ าหนี้ และลูกหนี้
บริษัทฯ จะดําเนินการให “คูค า เจาหนี้ และลูกหนี”้ มัน่ ใจไดวา จะไดรบั การปฏิบตั อิ ยางเสมอภาคและเปนธรรม โดยตัง้ อยูบ น พืน้ ฐานของความสัมพันธทางธุรกิจและการไดรบั ผลตอบแทน ที่เปนธรรมตอทั้งสองฝาย รวมทั้งหลีกเลี่ยงสถานการณที่ อาจเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน นอกจากนี้ สําหรับเจาหนี้ บริษัทฯ ไดยึดปฏิบัติตามสัญญา หรือเงื่อนไขตางๆ ที่ตกลงกันไวกับคูสัญญาอยางเครงครัด มีความรับผิดชอบและไมปกปดขอมูลหรือขอเท็จจริงอันจะ กอใหเกิดความเสียหายตอเจาหนี้ โดยรายงานฐานะการเงิน ของบริษัทฯ แกเจาหนี้ทราบอยางสมํ่าเสมอดวยความถูกตอง และตรงเวลา หากไมสามารถปฏิบัติตามขอผูกพันในสัญญา บริษัทฯ จะแจงเจาหนีท้ ราบทันที เพือ่ หาแนวทางแกไขรวมกัน รวมถึงการบริหารจัดการเงินทุนใหมโี ครงสรางทีเ่ หมาะสมตอ การดําเนินธุรกิจของบริษั ทฯ รักษาความเชื่อมั่นของเจาหนี้ และมุงมั่นสรางความสัมพันธทางธุรกิจที่ดีและยั่งยืน
ผู ปฏิบัติงาน
ประเทศชาติ
บริษัทฯ ใหความสําคัญกับ “ผูป ฏิบตั งิ าน” ในทุกระดับ โดยจัด ใหมกี ระบวนการสรรหา และคัดเลือกบุคลากรที่ไดมาตรฐาน ชัดเจน และโปรงใส มีการพั นาองคความรูใ หกบั ผูป ฏิบตั งิ าน อยางตอเนื่อง เพื่อโอกาสในความกาวหนา รวมทั้งมีการ เสริมสรางบรรยากาศ สภาพแวดลอมในการทํางาน และ วั นธรรมองคกรใหเปนเอกลักษณ
สังคมและส วนรวม
ในป 2559 บริษั ทฯ มีการกําหนดคาตอบแทนพนักงานที่ สอดคลองกับผลการดําเนินงานของบริษั ทฯ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวโดยรายละเอียดขอมูลกรุณาดูในหนา 66
บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใสสามารถตรวจสอบได ชวยใหบริษัทฯ เติบโตอยางยัง่ ยืนและเกิดผลดีตอ ประเทศชาติ โดยไมกระทําการใดๆ อันจะกอใหเกิดผลเสียตอประเทศชาติ บริษั ทฯ คํานึงถึงทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และ ประโยชนสวนรวม โดยปลูกฝงใหเกิดจิตสํานึกรับผิดชอบตอ
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 75
นอกจากนี้ บริษั ทฯ ยังมีนโยบายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน การฝกอบรม พนักงานในเรื่องสิ่งแวดลอม โดยดูรายละเอียดไดในหนังสือ รายงานการพั นาอยางยั่งยืน ประจําป 2559
แนวปฏิบตั ดิ า นทรัพย สนิ ทางป ญญา
บริษั ทฯ ใหความสําคัญกับการปกปองทรัพยสินทางปญญา โดยจัดทําเปนนโยบายของบริษัทฯ ทั้งในสวนของการจัดซื้อ จัดหา และการใชงานที่ตองไมละเมิดสิทธิ ในทรัพยสินทาง ปญญา นอกจากนี้ ยังมีการใหความรูและเตือนพนักงานให ตระหนักถึงเรือ่ งดังกลาว รวมทัง้ มีการตรวจสอบโดยหนวยงาน ทั้งภายในและภายนอก
แนวปฏิบตั ดิ า นการต อต านการทุจริตคอร รปั ชัน่
รายละเอียดอยูในหัวขอความรับผิดชอบตอสังคม หนาที่ 96 หมวดที่ การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บริษัทฯ ใหความสําคัญและปฏิบตั ติ ามหลักการเปดเผยขอมูล และความโปรงใส ตามทีก่ ระทรวงการคลัง ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยกําหนดไว โดยกําหนดใหหนวยงานที่ เกี่ยวของเปนผูดูแลและเปดเผยขอมูลสําคัญทั้งขอมูลดาน การเงินและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ อยางเพียงพอ ถูกตอง ครบถวน ทันเวลา และโปรงใส เพื่อสื่อสารกับผูถือหุน นักลงทุน นักวิเคราะห และผูมีสวน ไดเสียทุกภาคสวนใหรับทราบขอมูลอยางเทาเทียมกัน ผาน ชองทางตางๆ โดยบริษัทฯ มีแนวปฏิบัติ ดังนี้
การเป ดเผยข อมูลผ านหน วยงานที่เกี่ยวข อง
บริษัทฯ เปดเผยขอมูลของบริษัทฯ ทั้งดานการเงินและดาน อื่นๆ ที่สําคัญตอหนวยงานกํากับดูแล เชน การรายงานงบ การเงิ น และข า วที่ สํ า คั ญ ต อ การลงทุ น ของผู ถื อ หุ น และ นักลงทุนตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การรายงาน ขอมูลของบริษั ทฯ ผานแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) และรายงานประจําป (แบบ 56-2) ตอสํานักงาน คณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย การรายงานขอมูลดานการเงิน ขอมูลกรรมการและพนักงาน รวมถึงขอมูลดานอื่นๆ ผานระบบบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐ ( FMIS) ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ (สคร ) ในฐานะที่บริษัทฯ เปนรัฐวิสาหกิจ
การเป ดเผยข อมูลผ านนักลงทุนสัมพันธ
บริษั ทฯ ใหความสําคัญในการดูแลและคํานึงถึงนักลงทุน ผูถ อื หุน และผูม สี ว นไดสว นเสีย โดยจัดใหมหี นวยงานนักลงทุน 76 รายงานประจําป 2559
สัมพันธ เปนผูรับผิดชอบในการเสริมสรางความสัมพันธอันดี การสือ่ สารใหขอ มูลทีถ่ กู ตอง นาเชือ่ ถือ มีขอ มูลวิเคราะหและ ขอมูลเชิงธุรกิจอยางเพียงพอ รวมทั้งดําเนินการจัดแผนงาน เพื่ อให ผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย ทุ ก กลุ ม ได รั บ การปฏิ บั ติ อ ย า ง เทาเทียมกัน มีสิทธิในการเขาถึงขอมูล และมีชองทางใน การสื่อสารกับบริษั ทฯ ที่เหมาะสมผานทางกิจกรรมตางๆ เชน กิจกรรมโรดโชวในประเทศ การเขาประชุม ประชุม ทางโทรศัพทกับผูบริหาร การตอบขอซักถามและใหขอมูล ทางโทรศัพทและ หรืออีเมล และการจัดกิจกรรมผูบริหาร พบนักลงทุนสถาบันและนักวิเคราะหหลักทรัพยเพื่อชี้แจง ขอมูลผลประกอบการเปนประจําทุกไตรมาส อีกทั้งมีการนํา นักวิเคราะหหลักทรัพย และผูมีสวนไดสวนเสียเขาเยี่ยมชม บริษั ทฯ และพบปะผูบริหารเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยในป นี้ ไ ด นํ า ผู ถื อ หุ น เยี่ ย มชมศู น ย ฝ กบิ น จํ า ลองแบบ แอรบสั A340-600 โบอิง้ -200 300 และโบอิง้ -300 R ณ บริษั ท การบินไทย จํากัด (มหาชน) สํานักงานใหญ เยี่ยมชมกิจการครัวการบิน ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ นอกจากนั้ น แล ว ยั ง มี ก ารจั ด กิ จ กรรมให กั บ นั ก วิ เ คราะห หลักทรัพยและผูแทนสถาบันการเงินตางๆ ณ สํานักงานใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด(มหาชน) โดยในปทผี่ า นมา บริษัทฯ ไดมีกิจกรรมดานการลงทุนสัมพันธ ดังนี้ กิจกรรม
โรดโชวในประเทศ โรดโชวตา งประเทศ การเขาประชุม การประชุม ทางโทรศัพทกบั ผูบ ริหารบริษัทฯ การตอบขอซักถามและใหขอ มูล ทางโทรศัพท และทางอีเมล การชีแ้ จงขอมูลรายไตรมาส การเยีย่ มชมกิจการบริษัทฯ
การเป ดเผยข อมูลผ านเว็บไซต
จานวน
2 ครัง้ ป 10 ครัง้ ป 26 ครัง้ ป 292 ครัง้ ป 4 ครัง้ ป 4 ครัง้ ป
เพื่อเปนชองทางใหผูถือหุน นักลงทุน หรือผูที่สนใจ ไดรับ ทราบขอมูลของบริษั ทฯ อยางทันทวงที บริษั ทฯ ไดจัดทํา เว็บไซตเพื่อเผยแพรขอมูลของบริษั ทฯ ตอผูที่เกี่ยวของทุก ภาคสวนผาน t aiair ays co ไดแก ขอมูลประวัติ ของบริษัทฯ คณะกรรมการ บริการที่บริษัทฯ เสนอ ขาวสาร ทีส่ าํ คัญ ผลการดําเนินงาน งบการเงิน ขอมูลเกีย่ วกับผูถ อื หุน การประชุมผูถ อื หุน รายงานการประชุมผูถ อื หุน รายชือ่ ผูถ อื หุน รายใหญ สถิติตางๆ การกํากับดูแลกิจการที่ดี การจัดซื้อ จัดจาง ขอบังคับบริษั ทฯ รวมถึงรายงานสารสนเทศที่แจง ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เปนตน
การกํากับดู กิจการ
การทํารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันและการป องกัน การขัดแย งทางผลประโยชน
เรื่อง การกําหนดนโยบายราคาสําหรับรายการที่เกี่ยวโยงกัน ของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ในเดือนมกราคม 254 โดยในการเขาทํารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษัทฯ กับ บุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน ใชนโยบายการกําหนดราคาซือ้ สินคาและ บริการระหวางบริษัทฯ กับกิจการทีเ่ กีย่ วของ โดยกําหนดจาก ราคาปกติของธุรกิจเชนเดียวกับบริษัทฯ กําหนดใหกับบุคคล หรือกิจการอื่นที่ ไมเกี่ยวของเปนลําดับแรก และใชนโยบาย ราคาที่มีเงื่อนไขทางธุรกิจที่ ไมเปนปกติ หรือไมเปนไปตาม ราคาตลาดหากจําเปน ทั้งนี้ เพื่อบริษั ทฯ จะไดปฏิบัติตาม หลักเกณฑและวิธกี ารของตลาดหลักทรัพยฯ รวมทัง้ มาตรฐาน การบัญชีไดอยางถูกตองและครบถวน
บริษั ทฯ ไดออกประกาศบริษั ทฯ เรื่องการเปดเผยขอมูล รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ตามหลักเกณฑและวิธีการของตลาดหลักทรัพยฯ ตั้งแต กันยายน 254 เพื่อใหคณะกรรมการบริษั ทฯ และฝาย บริหารทุกทาน ซึ่งเขาขายบุคคลที่เกี่ยวโยงกันตามคํานิยาม ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย เปดเผยขอมูลบุคคลและนิติบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ทุกครั้งที่มีการแตงตั้งกรรมการหรือผูบริหารใหม สํานัก เลขานุการบริษัทฯ จะจัดสงแบบฟอรม “รายละเอียดของบุคคล ที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยฯ เรื่ อ งการเป ด เผยข อ มู ล และการปฏิ บั ติ ก ารของบริ ษั ท จดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ ศ 2546” ซึ่งได ปรับปรุงรายละเอียดตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุน ที่เปลี่ยนแปลงโดยตลอด โดยใหกรรมการหรือ ผูบริหารที่ ไดรับแตงตั้งใหม ใหขอมูลพรอมลงนามรับรอง ความถูกตองของขอมูล และหากภายหลังมีการเปลี่ยนแปลง ขอมูล กรรมการหรือผูบ ริหารจะตองจัดสงแบบฟอรมดังกลาว พรอมลงนามรับรองความถูกตองของขอมูลทุกครัง้ โดยสํานัก เลขานุการบริษัทฯ จะจัดสงรายละเอียดของบุคคลที่เกี่ยวโยง กันใหประธานกรรมการบริษั ทฯ และประธานกรรมการ ตรวจสอบรับทราบดวย พรอมทั้งจัดทําสรุปรายชื่อบุคคลและ นิติบุคคลที่เกี่ยวโยงกันนําสงฝายบริหารทุกฝาย และบุคคล ที่เปนผูประสานงานเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกันของแตละ หนวยงาน เพื่อใชตรวจสอบธุรกรรมที่หนวยงานตนจะเสนอ ฝายบริหารหรือคณะกรรมการบริษัทฯ และหากมีรายการที่ เกีย่ วโยงกันเกิดขึน้ บริษัทฯ จะดําเนินการตามขัน้ ตอนปฏิบตั ทิ ี่ กําหนดไว ซึง่ อางอิงจากก หมายทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ นําไปเปด เผยในรายงานประจําป (แบบ 56-2) และแบบแสดงรายการ ขอมูลประจําป (แบบ 56-1)
นอกจากนั้น ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และฝาย บริหารทุกเดือน สํานักเลขานุการบริษัทฯ จะจัดทําวาระเสนอ เรื่อง “รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)” เพื่อเปดเผยใหคณะกรรมการบริษั ทฯ และฝาย บริหารทราบวาในแตละเดือนบริษั ทฯ มีการเขาทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกันหรือไม และยังไดเสนอเรื่องดังกลาวตอคณะ กรรมการตรวจสอบเปนประจําทุกไตรมาส ทั้งนี้ บริษั ทฯ ไดปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานในดานนี้ ใหสอดคลองกับ ขอกําหนดของหนวยงานที่เกี่ยวของ ที่เปลี่ยนแปลงไปโดย ตลอด เพื่อใหการดูแลดานการขจัดความขัดแยงและผล ประโยชน เ ป นไปตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละ ถูกตองตามขอกําหนด
บริษัทฯ ยึดมั่นและใหความสําคัญในหลักการการกํากับดูแล กิจการที่ดี ที่จะขจัดความขัดแยงทางผลประโยชน ซึ่งคณะ กรรมการบริษัทฯ ไดพจิ ารณารายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน หรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการระหวาง กันอยางเหมาะสมภายใตกรอบจริยธรรมที่ดี และมีการดูแล ใหคณะกรรมการบริษัทฯ ฝายบริหาร และพนักงานทุกคนถือ ปฏิบัติโดยเครงครัดตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุนและตลาดหลักทรัพยฯ เพื่อใหเปนที่เชื่อถือและไว วางใจของผูมีสวนไดเสียทุกฝาย ซึ่งมีหลักเกณฑสําคัญ ดังนี้
เพื่อใหการดําเนินการเกี่ยวกับเรื่องรายการที่เกี่ยวโยงกันมี แนวทางปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนยิง่ ขึน้ บริษัทฯ ไดออกประกาศบริษัทฯ
การปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตขิ อ มูลข าวสาร ของราชการ พ.ศ. 2540
ก หมายรัฐธรรมนูญ บับปจจุบันไดบัญญัติเปนพื้นฐานไววา “บุคคลยอมมีสิทธิไดรับทราบและเขาถึงขอมูล หรือขาวสาร สาธารณะในครอบครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น เวนแตการเปดเผย ขอมูลหรือขาวสารนั้นจะกระทบตอความมั่นคงของรัฐ ความ ปลอดภัยของประชาชน หรือสวนไดเสียอันพึงไดรับความ คุมครองของบุคคลอื่น หรือเปนขอมูลสวนบุคคล ทั้งนี้ ตาม ที่ก หมายบัญญัติ” บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ได กอตั้งศูนยขอมูลขาวสารมาครบ 1 ป ในป 2559 โดยมี วัตถุประสงคเพื่อเผยแพรขอมูลขาวสาร สรางความรูความ เขาใจในการดําเนินงานของบริษัทฯ แกสาธารณชน หนวยงาน ภาครัฐและเอกชน ดวยความโปรงใส สามารถตรวจสอบได โดยมีแนวทางการปฏิบัติงานตามระเบียบบริษัทฯ วาดวยการ เปดเผยขอมูลขาวสารของบริษั ทฯ สอดคลองตามพระราช บัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ ศ 2540 โดยยึดมั่น ในหลักการ “เปดเผยเปนหลักทั่วไป ปกปดเปนขอยกเวน” โดยมีการรวบรวมจัดเก็บและบริหารจัดการขอมูลอยางเปน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 77
ระบบ สามารถสืบคนขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพและเปน มาตรฐานเพื่อเผยแพรขอมูลที่มีประโยชนใหแกสาธารณชน โดยสามารถสืบคนขอมูลผานทางเว็บไซต t aiair ays co ในหมวด “ศูนยขอมูลขาวสาร” (Pub ic In or ation entre) ศูนยขอมูลขาวสารไดรับคัดเลือกจากกระทรวงคมนาคมให เปนหนวยงานตนแบบในการปฏิบัติหนาที่ ใหบริการขอมูล ขาวสารแกประชาชนตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของ ราชการ พ ศ 2540 ตั้งแตป 2542 จนถึงปจจุบัน รวมทั้งได รับใบประกาศเกียรติคณ ุ จากคณะกรรมการขอมูลขาวสารของ ราชการมาโดยตลอดในฐานะเปนหนวยงานที่ใหบริการขอมูล ขาวสารแกประชาชนเปนอยางดี อีกทั้ง คณะกรรมการขอมูล ขาวสารของราชการ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีได มอบโลประกาศเกียรติคุณแกบริษั ทฯ ในฐานะที่ปฏิบัติตาม เกณฑมาตรฐานตัวชี้วัดความโปรงใสของหนวยงานภาครัฐ ที่กําหนดภายใตพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ ศ 2540 ระดับดีเดน นับเปนความภาคภูมิใจของบริษั ทฯ ที่ศูนยขอมูลขาวสารสามารถดําเนินงานจนบรรลุวิสัยทัศนที่ ไดตั้งปณิธานตั้งแตเริ่มแรกวา “เปนหนวยงานชั้นนําและเปน แบบอยาง ที่ดี ในดานการเผยแพรขอมูลขาวสาร สามารถ ตอบสนองความตองการดานขอมูลขาวสารแกผทู เี่ กีย่ วของได อยางเหมาะสม นํามาซึง่ ภาพลักษณทดี่ ี และเปนประโยชนตอ การดําเนินกิจการของบริษัทฯ” ในป 2559 ศูนยขอ มูลขาวสารไดใหความรวมมืออยางตอเนือ่ ง กับสํานักงานคณะกรรมการพั นาระบบราชการ (ก พ ร ) ใน การเผยแพรและประชาสัมพันธคูมือสําหรับประชาชน ตาม พระราชบั ญ ญั ติ ก ารอํ า นวยความสะดวกในการพิ จ ารณา อนุญาตของทางราชการ พ ศ 255 ผานทางเว็บไซตศูนย ขอมูล tt ub icin o t aiair ays co ซึ่ง ถือเปนก หมายกลางที่จะกําหนดขั้นตอนและระยะเวลาใน การพิจารณาอนุญาตและจัดตัง้ ศูนยบริการรวม เพือ่ รับคํารอง และศูนยรับคําขออนุญาต ณ จุดเดียว ( ne Sto Service) สําหรับป 2560 ศูนยขอมูลขาวสาร เตรียมเขารวมขอรับการ รับรองมาตรฐานศูนยราชการสะดวก ( overn ent asy ontact enter ) ดวยการดําเนินงานตามหลักเกณฑ และแนวทางของศูนยราชการสะดวก ตามที่สํานักงานปลัด สํานักนายกรัฐมนตรีกาํ หนด เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและอํานวย ความสะดวกในการใหบริการประชาชน ใหเกิดผลอยางเปน รูปธรรมโดยเร็ว
78 รายงานประจําป 2559
เลขานุการบริษัทฯ
บริษัทฯ ไดจดั ตัง้ สํานักเลขานุการบริษัทฯ โดยมีผชู ว ยกรรมการ ผูอ าํ นวยการใหญ ซึ่งทําหนาที่เลขานุการบริษัทฯ เปนผูดูแล โดยสํานักเลขานุการบริษัทฯ มีหนาทีเ่ ปดเผยขอมูลในดานตางๆ ตอผูถือหุน และมีหนวยงานกํากับดูแลตางๆ โดยรายละเอียด เกีย่ วกับเลขานุการบริษัทฯ สามารถดูขอ มูลในหัวขอโครงสราง การจัดการ หนาที่ 60
การเป ดเผยข อมูลการถือครองหุ นของผู บริหาร ทั้งทางตรงและทางอ อม
บริษัทฯ ไดมีการเปดเผยขอมูลการถือครองหุนของผูบริหาร ทั้งทางตรงและทางออม สามารถดูขอมูลคณะกรรมการ บริษัทฯ และฝายบริหาร หนาที่ 196-209 หมวดที่ 5 ความรับผิด อบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษั ทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุ ิที่มีความ เชีย่ วชาญและมากดวยประสบการณ ทีเ่ ปนประโยชนตอ ธุรกิจ การดําเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาที่ และความรับผิดชอบในการกําหนดทิศทางการดําเนินธุรกิจ ของบริษั ทฯ ใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ผานการกําหนดนโยบาย แผนกลยุทธ เปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจ และมีบทบาทสําคัญในการกํากับ ดูแล และ ติดตามการดําเนินงานของฝายบริหารใหเปนไปตามนโยบาย และแผนกลยุทธที่ไดกําหนดไว คณะกรรมการบริษัทฯ ตอง ปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความรู ความสามารถ ซือ่ สัตย สุจริต โปรงใส เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษั ทฯ มีการพิจารณาทบทวนและอนุมัติ วิสยั ทัศน และกลยุทธของบริษัทฯ เปนประจํา ซึง่ คณะกรรมการ บริษัทฯ ไดใหความเห็นชอบแผนยุทธศาสตรและการปฏิรูป องคกรของบริษั ทฯ โดยแผนดังกลาวไดรับอนุมัติจากคณะ กรรมการนโยบายรัฐวิสากิจ (คนร ) แลว เมื่อวัน ที่ 26 มกราคม 255 คณะกรรมการบริษั ทฯ ไดกําหนดมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อสงเสริมใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานยึดถือปฏิบัติ อยางเครงครัด โดยมีการสือ่ สาร เปดเผยแนวทางปฏิบตั ไิ วใน คูมือประมวลบรรษั ทภิบาลและจริยธรรมของบริษั ทฯ ผาน ทางเว็บไซตของบริษัทฯ รวมถึงใหผูบังคับบัญชาในทุกระดับ ถือเปนหนาทีท่ ตี่ อ งดูแล ติดตามใหมกี ารปฏิบตั ติ ามจริยธรรม ทางธุรกิจ
การกํากับดู กิจการ
โครงสร างคณะกรรมการ
โครงสรางคณะกรรมการบริษั ทฯ เปนไปตามขอบังคับของ บริษั ทฯ พระราชบัญญัติบริษั ทมหาชนจํากัด พ ศ 2535 พระราชบั ญ ญั ติ คุ ณ สมบั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ ศ 251 และพระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ ศ 2535 และ พ ศ 2551 รวมถึงก ขอบังคับ และประกาศที่เกี่ยวของ คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตัง้ คณะกรรมการชุดตางๆ เพือ่ ชวยศึกษารายละเอียด และกลั่นกรองงานเ พาะเรื่อง ตาม รายละเอียดในหัวขอคณะกรรมการชุดยอย หนาที่ 3-90
องค ประกอบของคณะกรรมการ
การแตงตัง้ กรรมการของบริษัทฯ เปนไปตามมติทปี่ ระชุมใหญ สามัญผูถ อื หุน โดยผานการพิจารณาของคณะกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน และกรรมการบริษั ทฯ ตามลําดับ ตามขอบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบ ดวยกรรมการอยางนอย 5 ทาน แตไมเกิน 15 ทาน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ มีจํานวน 15 ทาน ประกอบดวย กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร 14 ทาน กรรมการอิสระ 11 ทาน กรรมการที่เปนผูบริหาร 1 ทาน จากโครงสรางขางตน คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบดวย กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารรอยละ 93 33 และกรรมการ อิสระรอยละ 3 33 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด ซึ่งเปน จํานวนทีม่ ากพอทีจ่ ะสามารถสรางกลไกถวงดุลอํานาจภายใน คณะกรรมการบริษั ทฯ ดังนั้น ผูมีสวนไดเสียจึงมั่นใจไดวา คณะกรรมการบริษัทฯ สามารถปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทน ผูถือหุนไดอยางเปนอิสระ และมีการถวงดุลที่เหมาะสม ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาที่รับผิดชอบในการปฏิบัติ หนาที่ ใหเปนไปตามก หมาย วัตถุประสงค และขอบังคับ
ของบริษั ทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผูถือหุน ดวยความ ซื่อสัตยสุจริต และความระมัดระวังในการรักษาผลประโยชน ของบริษัทฯ
บทบาทของประธานกรรมการ และกรรมการผู อํานวยการใหญ
ประธานกรรมการมีบทบาทสําคัญในการตัดสินใจกําหนด ทิศทางและนโยบายการดําเนินงานที่สําคัญๆ ของบริษั ทฯ ประธานกรรมการซึง่ เปนกรรมการอิสระ เปนผูม คี วามเปนผูน าํ เปนกลาง สงเสริมธรรมาภิบาล รวมทั้งมีความรับผิดชอบตอ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียของบริษั ทฯ ประธานกรรมการ เปนผูนําของคณะกรรมการที่มีกรรมการผูอํานวยการใหญที่ เปนหัวหนาของฝายบริหารรวมเปนกรรมการอยูดวย อันจะ เปนประโยชนตอการบริหารจัดการ การกํากับดูแลและการ รับนโยบายของคณะกรรมการมาถายทอดใหฝายบริหารนํา ไปดําเนินการใหสัม ทธิผล กรรมการผูอํานวยการใหญมีบทบาทสําคัญในการรับผิดชอบ การบริหารงานทัง้ ปวงของบริษัทฯ ใหบรรลุตามวัตถุประสงค นโยบายบริษั ทฯ หรือมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษั ทฯ ตลอดจนบังคับบัญชาฝายบริหารและพนักงานทั้งปวงของ บริษัทฯ ทั้งนี้ภายในขอบเขตอํานาจที่กําหนดในขอบังคับของ บริษัทฯ หรือตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ กําหนด
การประชุมคณะกรรมการ
บริษัทฯ ไดกาํ หนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ไวอยาง เปนทางการลวงหนาตลอดทั้งป โดยกําหนดการประชุมเดือน ละ 1 ครั้ง และมีการประชุมวาระพิเศษเ พาะคราวเพิ่มตาม ความจําเปน โดยมีการกําหนดระเบียบวาระการประชุมที่ ชัดเจน และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดําเนินงานเปน ประจํา สํานักเลขานุการบริษัทฯ จะจัดสงหนังสือเชิญพรอม ระเบียบวาระการประชุมและเอกสารใหกรรมการแตละทาน ลวงหนากอนการประชุมเปนเวลา วันเพื่อใหคณะกรรมการ ไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม โดย ในป 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 21 ครั้ง ซึ่งรวมการประชุมครั้งพิเศษ 9 ครั้ง เลขานุการ บริษัทฯ ไดมีการจดบันทึกและจัดทํารายงานการประชุมเปน ลายลักษณอกั ษรทุกครัง้ และไดนาํ เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณารางรายงานการประชุมดังกลาวเพื่อทําการรับรอง ในการประชุมครั้งตอไป รวมทั้งไดมีการจัดเก็บรายงานการ ประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ ทีผ่ า นการรับรองจากคณะ กรรมการบริษั ทฯ ใหพรอมสําหรับการตรวจสอบจากคณะ กรรมการบริษัทฯ และหนวยงานที่เกี่ยวของ
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 79
สําหรับการประชุมคณะกรรมการชุดยอย มีรายละเอียดดังนี้ ตารางแสดงการเขารวมประ ุมคณะกรรมการ ุดยอยในป 2559 การประ ุมในป 2559 ราย ื่อกรรมการ
1 2 3 4 5 6 9 10 11 12 13 14 15
คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริหารบริษทั ฯ ตรวจสอบ บริหาร สรรหาและ ธรรมาภิบาล กากับ รวม 15 ครัง รวม 10 ครัง ความเสีย่ ง กาหนดคา และสงเสริม ยุทธศาสตร รวม ครัง ตอบแทน กิจการเพือ่ และการปฏิรปู รวม 6 ครัง สังคม บริษทั ฯ รวม 2 ครัง รวม 3 ครัง
นายอารีพงศ ภูช อุม พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง 13 15 1 นายคณิศ แสงสุพรรณ พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ 14 15 นายดําริ ตันชีวะวงศ นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ นายรัฐพล ภักดีภมู ิ นายวีระวงค จิตตมติ รภาพ พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ 5 15 นายสมเกียรติ ศิรชิ าติไชย นายสมชัย สัจจพงษ 14 15 พลอากาศเอก ม ล สุปรีชา กมลาศน พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมยั 15 15 นายจรัมพร โชติกเสถียร
หมายเหตุ
1 2
3 3
1
2 21 3
5 6
3 3 1 2
6 10
6 12 22 2 2 2
9 10 10 10 1
4 6
30 3 0 3 31 3
10 10 6 61 1
2 2
3 3
เปนประธาน นายดําริ ตันชีวะวงศ เริ่มเขารวมการประชุมตั้งแตเดือนพ ษภาคม 2559
ขอมูลคณะกรรมการชุดยอย สามารถดูขอมูลไดหนาที่ 3
การกําหนดค าตอบแทนของกรรมการ
รายละเอียดเกี่ยวกับการกําหนดคาตอบแทนของกรรมการ สามารถดูขอมูลไดหนาที่ 61
การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ
บริษั ทฯ ไดกําหนดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการบริษัทฯ เปนประจําทุกป โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเปนเครื่องมือในการตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของคณะ กรรมการบริษัทฯ ซึ่งมีหลักเกณฑและขั้นตอนในการประเมิน คือ สํานักเลขานุการบริษัทฯ สงแบบฟอรมที่ไดรับความเห็น 80 รายงานประจําป 2559
ชอบจากคณะกรรมการธรรมาภิบาลสําหรับประเมินคณะ กรรมการบริษัทฯ 3 แบบ ประกอบดวย การประเมินตนเอง การประเมินไขวของกรรมการ การประเมินคณะกรรมการ บริษัทฯ และจะเปนผูทําการสุมรายชื่อเพื่อจัดทําการประเมิน ไขว โดยกรรมการผูถูกประเมินจะไมทราบวากรรมการทาน ใดเปนผูประเมินตน บริษัทฯ ไดจัดทําแบบประเมินกรรมการและวิธีการประเมิน นําเสนอคณะกรรมการธรรมาภิบาลของบริษัทฯ เพือ่ ใหความ เห็นชอบและนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่ออนุมัติการ ประเมิน ประเมินโดยใชแบบการประเมิน 3 รูปแบบ คือ
การกํากับดู กิจการ
1 การประเมินตนเอง (Se Assess ent) มีหัวขอการ ประเมิน ดังนี้ 1 1 ความรูความสามารถ ( ore o etency) 1 2 ความเปนอิสระ (Inde endence) 1 3 ความเตรียมพรอมในการปฏิบัติภารกิจ (Pre aredness) 1 4 ความเอาใจใสตอหนาที่และความรับผิดชอบ (Practices as a irector) 1 5 การปฏิบัติหนาที่ในคณะกรรมการ ( o ittee Activities) 1 6 การพั นาองคกร ( eve o ent o rgani ation) 2 การประเมินไขวของกรรมการ ( ross va uation) มีหวั ขอ การประเมิน ดังนี้ 2 1 ความรูความสามารถ ( ore o etency) 2 2 ความเปนอิสระ (Inde endence) 2 3 ความเตรียมพรอมในการปฏิบัติภารกิจ (Pre aredness) 2 4 ความเอาใจใสตอหนาที่และความรับผิดชอบ (Practices as a irector) 2 5 การปฏิบัติหนาที่ในคณะกรรมการ ( o ittee Activities) 2 6 การพั นาองคกร ( eve o ent o rgani ation) 3 การประเมินคณะกรรมการบริษัทฯ (Board va uation) มีหัวขอการประเมิน ดังนี้ 3 1 โครงสรางและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 3 2 บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3 3 การประชุมคณะกรรมการ 3 4 การทําหนาที่ของคณะกรรมการ 3 5 ความสัมพันธกับฝายบริหารของบริษัทฯ บริษัทฯ ไดนําผลการประเมินของคณะกรรมการรายงานใน การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อนําไปจัดกิจกรรมเพื่อ เปนการสงเสริมความรู ความสามารถของคณะกรรมการ โดยผลการประเมินทั้ง 3 รูปแบบขางตน สําหรับป 2559 สรุป ไดวา จัดอยูในระดับดีมาก - ดีเยี่ยม สําหรับผลการประเมินของประธานกรรมการ ถือเปนขอมูล เ พาะบุคคลไมสามารถเปดเผยได สําหรับกรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัทฯ ไดแตงตั้งคณะ กรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน เพือ่ ประเมินผลการ ปฏิบัติงานของผูดํารงตําแหนงกรรมการผูอํานวยการใหญ ( ) ตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญาจาง และนําเสนอผลการ ประเมินใหคณะกรรมการบริษั ทฯ พิจารณา ทั้งนี้ ผลการ
ประเมินของกรรมการผูอํานวยการใหญ ถือเปนขอมูลเ พาะ บุคคลไมสามารถเปดเผยได
การกําหนดวาระการดํารงตําแหน งของกรรมการ
กรรมการบริษัทฯ มีวาระการดํารงตําแหนงทีแ่ นนอน ตามขอ บังคับบริษัทฯ ที่กําหนดไววา ในการประชุมสามัญประจําป ทุกครั้ง ใหกรรมการจํานวน 1 ใน 3 ออกจากตําแหนง โดยให กรรมการที่ดํารงตําแหนงนานที่สุดเปนผูออกจากตําแหนง
การปฐมนิเทศกรรมการใหม
บริษัทฯ จัดใหมกี ารปฐมนิเทศสําหรับกรรมการบริษัทฯ รายใหม ที่เขาดํารงตําแหนงกรรมการบริษั ทฯ โดยสํานักเลขานุการ บริษัทฯ จะเปนผูประสานงานในการจัดปฐมนิเทศ โดยเชิญ ผูบริหารสายงานตางๆ มานําเสนอขอมูลของบริษัทฯ ธุรกิจ การบิน โครงสรางการถือหุน ก ระเบียบที่เกี่ยวของ รวมถึง สิทธิประโยชนที่กรรมการจะไดรับ เพื่อใหกรรมการรับทราบ ขอมูลที่เกี่ยวของเพื่อประโยชนในการบริหารงานบริษั ทฯ บริษัทฯ ยังมีนโยบายสนับสนุนใหกรรมการบริษัทฯ เขาอบรม หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษั ทไทย (I ) เพื่อเปนการพั นาสนับสนุนและสงเสริมการปฏิบัติ หนาที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ
การพัฒนาความรูแ ละทักษะของคณะกรรมการ บริษัทฯ และฝ ายบริหาร
บริษั ทฯ ไดมีการสงเสริม และสนับสนุนใหคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ และฝ า ยบริ ห าร ได เ ข า รั บ การอบรมหลั ก สู ต ร สัมมนา และรวมกิจกรรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (I ) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย เพือ่ เปนการเพิม่ พูน พั นาความรู และแลกเปลีย่ น ประสบการณดา นตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับบทบาทหนาทีก่ รรมการ บริษั ทฯ และกรรมการชุดยอยอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ ซึ่งกรรมการสวนใหญ ไดผานการอบรมหลักสูตรจากสมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (I ) ดังนี้ 1 หลักสูตร irector Accreditation Progra ( AP) 2 หลักสูตร irector erti ication Progra ( P) 3 หลักสูตร P Re res er ourse ( P-Re) 4 หลักสูตร Audit o ittee Progra (A P) 5 หลักสูตร Ro e o t e air an Progra (R P) 6 หลักสูตร T e xecutive irector ourse ( ) หลักสูตร Ro e o t e o ensation o ittee (R ) หลักสูตร arter irector ass ( )
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 81
การเข ารับการอบรมของคณะกรรมการบริษัทฯ และฝ ายบริหาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ และผูบ ริหาร ไดผา นการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (T ai Institute o irectors Association I ) ดังนี้ ราย ื่อ
ตาเเหนง
1 นายอารีพงศ ภูช อุม
ประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ
2 พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง
รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ
3 นายคณิศ แสงสุพรรณ 4 พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา 5 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ 6 นายดําริ ตันชีวะวงศ
นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ นายรัฐพล ภักดีภมู ิ
กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ
กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
9 นายวีระวงค จิตตมติ รภาพ
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ
10 พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ
กรรมการ
82 รายงานประจําป 2559
หลักสูตร
• irector erti ication Progra ( P 3 2543) • P Re res er ourse (Re P 2 2552) • irector Accreditation Progra ( AP 21 254 ) • irector erti ication Progra ( P 211 255 ) • irector Accreditation Progra ( AP S 254 ) • irector erti ication Progra ( P 106 2551) • Audit o ittee Progra (A P 24 2551) • Ro e o air an Progra (R P 22 2552) • Ro e o t e o ensation o ittee (R 10 2553) • irector Accreditation Progra ( AP 23 254 ) • irector erti ication Progra ( P 52 254 ) • arter irector ass ( 9 255 ) • irector erti ication Progra ( P 0 2543) • T e xecutive irector ourse ( 1 2555) • irector erti ication Progra ( P 22 2559)
การกํากับดู กิจการ
ราย ื่อ
ตาเเหนง
11 นายสมเกียรติ ศิรชิ าติไชย
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
12 นายสมชัย สัจจพงษ
กรรมการ
13 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน 14 พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมัย 15 นายจรัมพร โชติกเสถียร
กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการผูอ าํ นวยการใหญ กรรมการ
การรวมหรือการแยกตําแหน ง
ประธานกรรมการบริษัทฯ เปนกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร และเปนกรรมการอิสระ ไมเปนบุคคลเดียวกับกรรมการผู อํานวยการใหญ และไมมีความสัมพันธใดๆ กับฝายบริหาร โดยบริษัทฯ ไดมีการจัดใหแบงแยกบทบาท หนาที่ และความ รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และ ฝายบริหารออกจากกันอยางชัดเจนและเปนลายลักษณอกั ษร
คณะกรรมการ ดุ ยอย
คณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาทีร่ บั ผิดชอบสูงสุดในการบริหาร จัดการกิจการของบริษัทฯ อยูภายใตเงื่อนไข ขอบังคับของ บริษัทฯ ซึ่งกําหนดใหคณะกรรมการประกอบดวยกรรมการ จํานวนไมนอ ยกวา 5 คน แตไมมากกวา 15 คน สุดแตทปี่ ระชุม ใหญผูถือหุนจะเปนผูกําหนดเปนครั้งคราว และกรรมการไม นอยกวากึง่ หนึง่ ของจํานวนกรรมการทัง้ หมดตองมีถนิ่ ทีอ่ ยูใน ราชอาณาจักร ในการประชุมสามัญประจําปทกุ ครัง้ กรรมการ จํานวน 1 ใน 3 จะตองออกจากตําแหนง และจะมีการเลือกตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีอ่ อกตามวาระ กรรมการทีอ่ อกตาม วาระนั้นอาจถูกเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได
หลักสูตร
• irector Accreditation Progra ( AP 4 2553) • Ro e o t e o ensation o ittee (R 11 2553) • irector erti ication Progra ( P 1 2556) • irector erti ication Progra ( P 5 2549) • irector Accreditation Progra ( AP 54 2549) • irector Accreditation Progra ( AP 66 2550) • irector erti ication Progra ( P 1 5 255 )
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบ ดวยกรรมการ ซึ่งมีรายชื่อดังตอไปนี้ 1 นายอารีพงศ ภูชอุม ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 2 พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 3 นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการอิสระ 4 พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา กรรมการอิสระ 5 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 6 นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการอิสระ นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ กรรมการ นายรัฐพล ภักดีภูมิ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 9 นายวีระวงค จิตตมิตรภาพ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 10 พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ กรรมการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 83
11 นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 12 นายสมชัย สัจจพงษ กรรมการ 13 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน กรรมการอิสระ 14 พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมัย กรรมการอิสระ 15 นายจรัมพร โชติกเสถียร กรรมการ นางสุวิมล บัวเลิศ (ผูอํานวยการใหญ สํานักเลขานุการ บริษัทฯ) เปนเลขานุการ ในป 2559 มีการประชุมทัง้ สิน้ 21 ครัง้ ประกอบดวย เรือ่ งเพือ่ พิจารณาจํานวน 126 เรือ่ ง และเรือ่ งเพือ่ ทราบจํานวน เรือ่ ง กรรมการผูม อี านาจลงลายมือ อื่ แทนบริษทั ฯ ประกอบดวยพลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง หรือนายคณิศ แสงสุพรรณ หรือพลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน หรือนายจรัมพร โชติกเสถียร สามคนลงลายมือชื่อรวมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัทฯ
กรรมการอิสระ
เพื่อเปนไปตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก ล ต ) ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และแนวทางปฏิบัติที่ดีของสํานักงานคณะ กรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร ) และสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษั ทไทย (I ) คณะกรรมการบริษั ทฯ ไดแตงตั้งกรรมการอิสระ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มี รายชื่อดังตอไปนี้ 1 นายอารีพงศ ภูชอุม กรรมการอิสระ 2 พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง กรรมการอิสระ 3 นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการอิสระ 4 พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา กรรมการอิสระ 5 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ กรรมการอิสระ 6 นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการอิสระ นายรัฐพล ภักดีภูมิ กรรมการอิสระ 84 รายงานประจําป 2559
นายวีระวงค จิตตมิตรภาพ กรรมการอิสระ 9 นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย กรรมการอิสระ 10 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน กรรมการอิสระ 11 พลอากาศเอก อํานาจ จีระมณีมัย กรรมการอิสระ ทั้ ง นี้ คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการอิ ส ระตามประกาศคณะ กรรมการกํากับตลาดทุน มีดังนี้ 1 ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมบริษั ทฯ ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของของกรรมการ อิสระรายนั้นๆ ดวย 2 ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ ไดรับเงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอํานาจควบคุมของบริษั ทฯ เวนแตจะได พนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป ทัง้ นี้ ลักษณะตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีทกี่ รรมการ อิสระเคยเปนขาราชการ หรือทีป่ รึกษาของสวนราชการ ซึง่ เปนผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี าํ นาจควบคุมของบริษัทฯ 3 ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดย การจดทะเบียนตามก หมายในลักษณะทีเ่ ปนบิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตรของ ผูบ ริหาร ผูถ อื หุน รายใหญ ผูม อี าํ นาจควบคุม หรือบุคคล ที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหาร หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย 4 ไมมหี รือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัท ใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษั ทฯ ในลักษณะที่อาจเปนการ ขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้ง ไมเปนหรือเคยเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั หรือผูม อี าํ นาจควบคุม ของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทฯ เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะ ดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป 5 ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทฯ และไมเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั ผูม อี าํ นาจ ควบคุม หรือหุน สวนของสํานักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู อบ
การกํากับดู กิจการ
บัญชีของบริษั ทฯ บริษัทใหญ บริษั ทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษั ทฯ สังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาว มาแลวไมนอยกวา 2 ป 6 ไมเปนหรือเคยเปนผูใ หบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึง การใหบริการเปนที่ปรึกษาก หมาย หรือที่ปรึกษาทาง การเงิน ซึง่ ไดรบั คาบริการเกินกวา 2 ลานบาทตอป จาก บริษั ทฯ บริษัทใหญ บริษั ทยอย บริษัทรวม ผูถือหุน รายใหญ หรือผูม อี าํ นาจควบคุมของบริษัทฯ และไมเปน ผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของผูให บริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมี ลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป ไมเปนกรรมการที่ ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทน ของกรรมการของบริษัทฯ ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูถ อื หุน ซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการ แขงขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย หรือ ไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการ ที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับ เงินเดือนประจํา หรือถือหุน เกินรอยละ 1 ของจํานวนหุน ที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษั ทอื่น ซึ่งประกอบ กิจการทีม่ สี ภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย 9 ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยาง เปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ บริษั ทฯ ไดกําหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไวเขมกวา คุณสมบัติตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และตลาดหลั ก ทรั พ ย ฯ โดยกํ า หนดเรื่ อ งการถื อ หุ น ของ กรรมการอิสระตามขอ 1 ไวเขมกวา คือ กําหนดการถือหุน ไมเกินรอยละ 0 5 กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามขอ 1 ถึงขอ 9 อาจไดรับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษั ทฯ ใหตัดสินใจในการ ดําเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษั ทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษั ทฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค คณะ ( o ective ecision) ได ในกรณีที่บุคคลที่บริษัทฯ แตงตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการ อิสระเปนบุคคลที่มีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจ ตาม ขอ 4 หรือมีการใหบริการทางวิชาชีพเกินมูลคาที่กําหนดตาม ขอ 6 คณะกรรมการบริษัทฯ อาจพิจารณาผอนผันใหได หาก เห็นวาการแตงตั้งบุคคลดังกลาวไมมีผลกระทบตอการปฏิบัติ
หนาทีแ่ ละการใหความเห็นทีเ่ ปนอิสระ และบริษัทฯ ไดเปดเผย ขอมูลตอไปนี้ ในหนังสือนัดประชุมผูถือหุนในวาระพิจารณา แตงตั้งกรรมการอิสระดังกลาวแลว (1) ลักษณะความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทาง วิชาชีพ ที่ทําใหบุคคลดังกลาวมีคุณสมบัติไ มเปนไป ตามหลักเกณฑที่กําหนด (2) เหตุผลและความจําเปน ที่ยังคงหรือแตงตั้งใหบุคคล ดังกลาวเปนกรรมการอิสระ (3) ความเห็นของคณะกรรมการของบริษัทฯ ในการเสนอ ใหมีการแตงตั้งบุคคลดังกลาวเปนกรรมการอิสระ อานาจหนาทีข่ องกรรมการอิสระ 1 แสดงความคิดเห็น และ หรือรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามหนาทีท่ ี่ไดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ไดอยางเสรีตามภารกิจที่ไดรับมอบหมาย ทั้งนี้ เพื่อให บริษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามหลักการกํากับ ดูแลที่ดีของตลาดหลักทรัพยฯ และหลักเกณฑการ ประเมินการกํากับดูแลที่ดี ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการ ประเมินผลการดําเนินงานประจําปของบริษัทฯ รวมทั้ง หลักการปฏิบัติที่ดีที่ยอมรับในระดับสากล 2 มีอาํ นาจในการเรียกเอกสารและบุคคลตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาดําเนินการ 3 ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในป 2559 กรรมการอิสระของบริษัทฯ ไดมีการปฏิบัติงาน ตามอํานาจหนาทีท่ ี่ไดรบั มอบหมาย และไดแสดงความคิดเห็น ตามหนาที่อยางอิสระ โดยยึดถือการดูแลผลประโยชนของ ผูถือหุนทุกรายใหเทาเทียมกัน นอกจากนี้ ในป 2559 บริษั ทฯ ไดจัดการประชุมระหวาง กรรมการอิสระ (กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร) 1 ครั้ง เพื่อ หารือบทบาทของกรรมการอิสระในการกํากับดูแลบริษั ทฯ ในป 2559 และแนวทางในการกํากับดูแลบริษั ทฯ ของ กรรมการอิสระในป 2560 ในป 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการ ชุ ด ต า งๆ ขึ้ น หลายคณะเพื่ อ ช ว ยศึ ก ษารายละเอี ย ดและ กลั่นกรองงานเ พาะเรื่องโดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มี รายละเอียดดังตอไปนี้
คณะกรรมการบริหาร
เพื่อใหการจัดการของบริษัทฯ เปนไปตามเปาหมายของแผน วิสาหกิจบริษัทฯ อยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสงู สุด กับบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการ บริหารบริษัทฯ มีรายชื่อดังตอไปนี้ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 85
1 นายคณิศ แสงสุพรรณ ประธานกรรมการ 2 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน กรรมการ 3 พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ กรรมการ 4 นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการ 5 กรรมการผูอํานวยการใหญ กรรมการ 6 ผูอํานวยการใหญ สํานักเลขานุการบริษัทฯ เลขานุการ ผูอํานวยการฝายงานเลขานุการบริษัทฯ ผูชวยเลขานุการ อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริหาร 1 พิจารณากลั่นกรองเรื่องที่จะนําเขาสูการพิจารณาของ คณะกรรมการบริษัทฯ 2 ติดตามการดําเนินการตามนโยบายและมติของคณะ กรรมการบริษัทฯ รวมถึงการดําเนินการตามเปาหมาย เชิงยุทธศาสตร 3 ใหคําปรึกษาและคําแนะนําแกฝายบริหารในการดําเนิน การตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัทฯ 4 มีอาํ นาจอนุมตั ติ ามที่ไดรบั มอบอํานาจจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ดังนี้ 4 1 การจัดหาพัสดุตามระเบียบบริษัทฯ วาดวยการพัสดุ ในวงเงินที่อยูในอํานาจอนุมัติที่เกิน 500 ลานบาท แตไมเกิน 00 ลานบาท 4 2 อนุมัติการใชเงินนอกเหนือวงเงินที่หนวยงานไดรับ การจั ด สรรตามงบประมาณประจํา ปที่เกิน 50 ลานบาท ในวงเงินไมเกิน 100 ลานบาท และให รายงานคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ 5 มีอํานาจเรียกเอกสารและบุคคลตางๆ ที่เกี่ยวของมา ชี้แจง เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณา 6 แตงตัง้ คณะอนุกรรมการและคณะทํางานเพือ่ ดําเนินการ ไดตามความจําเปน และเหมาะสม ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในการประชุมคณะกรรมการบริหาร ตองมีกรรมการมา ประชุมเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเปน องคประชุม ใหประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม ในกรณีทปี่ ระธานกรรมการไมอยูในทีป่ ระชุม หรือไมสามารถ ปฏิบัติหนาที่ได ใหประธานกรรมการมอบหมายใหกรรมการ คนหนึง่ คนใดเปนประธานในทีป่ ระชุมแทน ในกรณีทปี่ ระธาน 86 รายงานประจําป 2559
กรรมการมอบหมายใหกรรมการคนหนึง่ คนใดเปนประธานใน ที่ประชุมแทนไมได ใหกรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการ คนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม การวินิจ ัยชี้ขาดของที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร ใหถือ เสียงขางมาก โดยกรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลง คะแนน กรรมการซึ่งมีสวนไดเสียในเรื่องใด ใหออกจากที่ ประชุมในวาระนัน้ และไมมสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียง เพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด ในป 2559 มีการประชุมทัง้ สิน้ 15 ครัง้ ประกอบดวย เรือ่ งเพือ่ พิจารณาจํานวน 104 เรือ่ ง และเรือ่ งเพือ่ ทราบจํานวน 50 เรือ่ ง
คณะกรรมการตรวจสอบ
เพือ่ ใหบริษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ( ood or orate overnance) ตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ขี องกระทรวง การคลังและตลาดหลักทรัพยฯ ซึ่งจะชวยใหผูถือหุนและ ผูลงทุนทั่วไปเกิดความมั่นใจในการบริหารงานของบริษั ทฯ คณะกรรมการบริษั ทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบดวยกรรมการบริษัทฯ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ปนกรรมการ อิสระและไมไดเปนผูบริหารของบริษัทฯ มีรายชื่อดังนี้ 1 นายวีระวงค จิตตมิตรภาพ ประธานกรรมการ 2 นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย กรรมการตรวจสอบ 3 นายรัฐพล ภักดีภูมิ กรรมการตรวจสอบ 4 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ กรรมการตรวจสอบ นายสมนึก ธํารงธรรมวงศ (ผูอํานวยการใหญ สํานักงานการตรวจสอบภายใน) เปนเลขานุการ ทั้งนี้ มีกรรมการตรวจสอบ 1 ทาน เปนผูมีความรูและ ประสบการณเพียงพอที่จะสามารถสอบทานความนาเชื่อถือ ของงบการเงินดวยแลว กรรมการตรวจสอบจะตองมีคุณสมบัติเปนไปตามขอกําหนด ที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนกําหนด ซึ่งรวมถึงคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1 เป น กรรมการอิ ส ระที่ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบตามที่ ค ณะ กรรมการกํากับตลาดทุนกําหนด
การกํากับดู กิจการ
2 ไมเปนกรรมการที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษั ทฯ ใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการของบริษั ทฯ บริษั ทใหญ บริษั ทยอย บริษั ทรวม บริษั ทยอยลําดับ เดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของ บริษัทฯ 3 ไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริษัทยอย หรือบริษัท ยอยลําดับเดียวกัน เ พาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน 4 มีความรูแ ละประสบการณเพียงพอทีจ่ ะสามารถทําหนาที่ ในฐานะกรรมการตรวจสอบ
(1) รายการที่เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (2) การทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติ หรือมีความบกพรอง (3) การฝาฝนก หมายวาดวยหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ หรือ ก หมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 9 มีอํานาจเรียกเอกสารและบุคคลตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อ เปนขอมูลประกอบการพิจารณา 10 แตงตั้งคณะทํางานไดตามความจําเปนและเหมาะสม 11 ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ 1 สอบทานใหบริษั ทฯ มีการรายงานทางการเงินอยาง ถูกตองและเพียงพอ 2 สอบทานใหบริษั ทฯ มีระบบการควบคุมภายในและ การตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และ พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตัง้ โยกยาย เลิกจางหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน 3 สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบตั ติ ามก หมายวาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และก หมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 4 พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปน อิสระ เพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษั ทฯ และ เสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวม ประชุมกับผูส อบบัญชีโดยไมมฝี า ยจัดการเขารวมประชุม ดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 5 พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามก หมายและขอ กําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวา รายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุด ตอบริษัทฯ 6 จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผย ไวในรายงานประจําปของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกลาว ตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบโดย ประกอบดวยขอมูลตามที่ตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบ หรือมีขอสงสัยวา มีรายงานหรือการกระทําดังตอไปนี้ ซึง่ อาจมีผลกระทบอยางมีนยั สําคัญตอฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ใหคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานต อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ดํ า เนิ น การ ปรับปรุงแกไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร
ในป 2559 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งสิ้น 10 ครั้ง ประกอบดวย เรื่องเพื่อพิจารณาจํานวน 3 เรื่อง และ เรื่องเพื่อทราบจํานวน 30 เรื่อง
คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง
เพื่อใหบริษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามหลักการกํากับ ดูแลที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด และ หลักเกณฑการประเมินการกํากับดูแลที่ดี ซึ่งเปนสวนหนึ่ง ของการประเมินผลการดําเนินงานของบริษั ทฯ ประจําป บัญชี รวมทั้งหลักการปฏิบัติที่ดีที่ยอมรับในระดับสากล และ เพื่อใหการดําเนินงานดานบริหารความเสี่ยงสามารถใชเปน เครื่องมือในการบริหารได คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตั้ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีรายชื่อดังตอไปนี้ 1 พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปรีชา กมลาศน ประธานกรรมการ 2 นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการ 3 พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ กรรมการ 4 นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการ 5 กรรมการผูอํานวยการใหญ กรรมการ รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายกลยุทธองคกร และพั นาอยางยั่งยืน กรรมการ รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายการเงิน และการบัญชี กรรมการ 9 ผูอํานวยการใหญฝายธุรกิจปโตรเลียม ประกันภัย และสิ่งแวดลอมการบิน กรรมการ 10 ผูอํานวยการใหญฝายบริหารความเสี่ยง เลขานุการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 87
11 ผูอํานวยการฝายบริหารความเสี่ยงระดับฝาย และควบคุมภายใน ผูชวยเลขานุการ อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 1 ใหคําปรึกษา และคําแนะนําในการดําเนินการบริหาร ความเสี่ยง และพั นากระบวนการบริหารความเสี่ยงที่ ครอบคลุมเปาหมายเชิงยุทธศาสตร ดานก หมาย ก ขอบังคับ และระเบียบตางๆ เปาหมายทางรายไดและ การเงินอื่นๆ ความมีประสิทธิภาพของกําลังพล การ วางแผน การดําเนินกลยุทธ และความมัน่ คงทางการบิน (Aviation Security) 2 กําหนดนโยบาย แนวทางการบริหารความเสี่ยงและ กรอบปฏิบัติ การบริหารความเสี่ยงตางๆ ที่อาจทําให การดําเนินธุรกิจไมเปนไปอยางตอเนื่องยั่งยืน และไม เปนไปตามเปาหมาย อันประกอบดวย อัตราแลกเปลีย่ น เงินตราตางประเทศ การบริหารเงินสดคงเหลือ การบริหาร ความเสี่ยงราคานํ้ามัน การหารายได ตนทุนการดําเนิน งานการปฏิบัติการ การซอมบํารุง บุคลากร และปญหา ขอพิพาทแรงงาน เปนตน 3 อนุมัติการจัดทําการบริหารความเสี่ยงราคานํ้ามันทุก รูปแบบ 4 กํ า กั บ ดู แ ลการนํ า กรอบบริ ห ารความเสี่ ย งไปปฏิ บั ติ ติดตามการระบุประเมินความเสี่ยงและความเพียงพอ ในการจัดการความเสี่ยง 5 มีอํานาจเรียกเอกสาร และบุคคลตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อ เปนขอมูลประกอบการพิจารณา 6 แตงตั้งคณะทํางานไดตามความเหมาะสม ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในป 2559 มีการประชุมทั้งสิ้น ครั้ง ประกอบดวย เรื่องเพื่อ พิจารณาจํานวน 36 เรื่อง
คณะกรรมการสรรหาและกาหนดคาตอบแทน
เพื่ อให เ ป น ไปตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต ามที่ กระทรวงการคลัง และตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด รวมทั้ง หลักการปฏิบัติที่ดี เปนที่ยอมรับในระดับสากล และเปนไป ตามหลักธรรมาภิบาล คณะกรรมการบริษั ทฯ ไดแตงตั้ง คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน โดยมีรายชื่อ ดังตอไปนี้ 1 นายสมชัย สัจจพงษ ประธานกรรมการ 2 นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการ 88 รายงานประจําป 2559
3 นายรัฐพล ภักดีภูมิ กรรมการ 4 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ เลขานุการ สายทรัพยากรบุคคลและกํากับกิจกรรมองคกร 5 ผูอํานวยการใหญฝายทรัพยากรบุคคล ผูชวยเลขานุการ 6 ผูอํานวยการใหญสํานักงานการตรวจสอบภายใน ผูชวยเลขานุการ (ดานการประเมินผลกรรมการ ผูอํานวยการใหญ) อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการสรรหา และกาหนดคาตอบแทน 1 กําหนดหลักเกณฑ วิธีการสรรหาที่เปนไปตามขอบังคับ หลักเกณฑ ระเบียบบริษั ทฯ และก หมายเกี่ยวของ เพื่อใหไดผูมีความรูความสามารถและประสบการณที่ เหมาะสม มาดํารงตําแหนงกรรมการบริษั ทฯ และ ผูบริหารระดับรองกรรมการผูอํานวยการใหญขึ้นไป 2 ดําเนินการสรรหาและวิธีการสรรหาตามหลักเกณฑที่ กําหนด เพือ่ ใหไดบคุ คลทีเ่ หมาะสมเปนกรรมการบริษัทฯ ผูบริหารระดับสูงกวาผูอํานวยการใหญขึ้นไป และเสนอ ชื่อผูที่ผานการสรรหาตอคณะกรรมการบริษั ทฯ เพื่อ พิจารณาแตงตั้ง เลื่อนตําแหนง หรือโยกยายตามที่เห็น สมควร 3 กําหนดคาตอบแทนทีเ่ หมาะสมแกกรรมการ อนุกรรมการ ตางๆ บุคคลภายนอกทีม่ าปฏิบตั งิ านใหกบั บริษัทฯ รวมถึง ผูบริหารระดับสูงกวาผูอํานวยการใหญขึ้นไป โดยให คํานึงถึงหลักการปฏิบตั ทิ ดี่ ซี งึ่ เปนทีย่ อมรับในระดับสากล และนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา 4 ประเมินผลการปฏิบัติงานของผูดํารงตําแหนงกรรมการ ผูอํานวยการใหญ ตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญาจางและ นําเสนอผลการประเมินใหคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา 5 พิจารณาเพิ่มคาตอบแทนและเงินรางวัลประจําปของ ผูดํารงตําแหนงกรรมการผูอํานวยการใหญตามเงื่อนไข ที่ระบุในสัญญาจางและนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ ตอไป 6 มีอํานาจเรียกพนักงานและ หรือลูกจางของบริษัทฯ ที่ เกีย่ วของ มาใหถอ ยคําหรือความเห็น รวมทัง้ ใหมอี าํ นาจ ในการเรียกเอกสารหรือสิ่งอื่นใดมาเพื่อประกอบการ พิจารณาไดดวย แตงตั้งคณะทํางานไดตามความเหมาะสม ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในป 2559 มีการประชุมทั้งสิ้น 6 ครั้ง ประกอบดวย เรื่องเพื่อ พิจารณาจํานวน 16 เรื่อง
การกํากับดู กิจการ
คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริม กิจการเพื่อสังคม
เพื่อใหการดําเนินงานของบริษัทฯ เปนไปตามหลักการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีตามที่กระทรวงการคลังและตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยกําหนดและเปน ที่ยอมรับในระดับสากล คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตัง้ คณะกรรมการธรรมาภิบาล และสงเสริมกิจการเพื่อสังคม โดยมีรายชื่อดังตอไปนี้ 1 พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง ประธานกรรมการ 2 พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา กรรมการ 3 นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ กรรมการ 4 กรรมการผูอํานวยการใหญ กรรมการ 5 รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายการพาณิชย กรรมการ 6 รองกรรมการผูอํานวยการใหญสายทรัพยากรบุคคล และกํากับกิจกรรมองคกร กรรมการ ผูอํานวยการใหญฝายภาพลักษณและสื่อสารองคกร กรรมการ ผูอํานวยการใหญสํานักเลขานุการบริษัทฯ กรรมการ 9 ผูอํานวยการใหญฝายก หมาย เลขานุการ 10 ผูอํานวยการสํานักงานการตรวจการองคกร ผูชวยเลขานุการ 11 ผูอํานวยการฝายกิจกรรมองคกรเพื่อสังคม และสิ่งแวดลอม ผูชวยเลขานุการ อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการธรรมาภิบาล และสงเสริมกิจการเพือ่ สังคม 1 เสนอแนะแนวปฏิบัติดานการกํากับดูแลกิจการที่ดีตอ คณะกรรมการบริษั ทฯ ตามหลักการของกระทรวง การคลังและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2 ตรวจสอบการกํากับดูแล การปฏิบัติงานของกรรมการ และฝายบริหาร เพื่อใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดี 3 ใหคําแนะนําแกคณะกรรมการบริษัทฯ ในเรื่องเกี่ยวกับ การกํากับดูแลกิจการที่ดี
4 ทบทวนแนวปฏิบัติและหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ เพื่อใหมีความตอเนื่องและเหมาะสม โดย เปรียบเทียบกับแนวปฏิบตั ขิ องสากลปฏิบตั ิ และเสนอแนะ ตอคณะกรรมการบริษัทฯ 5 มีอํานาจในการเรียกพนักงานและลูกจางของบริษั ทฯ และบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวของ มาใหถอยคําหรือความเห็น รวมทั้งใหมีอํานาจในการเรียกเอกสารหรือสิ่งอื่นใดมา เพื่อประกอบการพิจารณาไดดวย 6 กําหนดนโยบาย และแนวทางประชาสัมพันธองคกร เพือ่ ใหเกิดภาพลักษณที่ดีตอลูกคา ผูถือหุน พนักงาน และ ผูมีสวนไดเสียอื่นๆ กําหนดนโยบายและแนวทางการมีสวนรวมรับผิดชอบ ตอสิ่งแวดลอม รวมทั้งการชวยเหลือและสงเสริมสังคม จัดทําโครงการและกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดลอมรวมถึง สื่อสารประชาสัมพันธโครงการและกิจกรรมเพื่อให ผูถือหุน ลูกคา คูคา พนักงาน และผูมีสวนไดเสียอื่นๆ รับรูและมีโอกาสเขารวมกิจกรรมอยางทั่วถึง และ จัดทํารายงานดานอนุรักษสิ่งแวดลอม ( SR Re ort) ตอสาธารณชนอยางสมํ่าเสมอ 9 จัดทําโครงการและกิจกรรมเพื่อปลูกฝงจิตสํานึกให พนักงานเรือ่ งการชวยเหลือสังคม การสนับสนุนสาธารณ ประโยชน สาธารณกุศล 10 กําหนดงบประมาณในการดําเนินการ และงบสนับสนุน หนวยงาน หรือบุคคลภายนอกดวยการบริจาคหรือ ชวยเหลือดานการเงินหรือการใหบัตรโดยสาร ซึ่งเปน ไปตามนโยบายของคณะกรรมการสงเสริมกิจการเพื่อ สังคม รวมทั้งการกํากับดูแลการพิจารณาอนุมัติการ ใชจายตามงบประมาณ 11 แตงตั้งคณะทํางานไดตามความจําเปนและเหมาะสม 12 ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในป 2559 มีการประชุมทั้งสิ้น 2 ครั้ง ประกอบดวย เรื่อง พิจารณาจํานวน 3 เรื่อง
คณะกรรมการกากับยุทธศาสตรและ การปฏิรูปบริษัท การบินไทย จากัด (มหา น)
เพือ่ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตรและการปฏิรปู บริษัทฯ คณะกรรมการ บริษั ทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการกํากับยุทธศาสตรและ การปฏิรูป บริษั ท การบินไทย จํากัด (มหาชน) มีรายชื่อ ดังตอไปนี้ 1 นายอารีพงศ ภูชอุม ประธานกรรมการ 2 นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 89
3 พลอากาศเอก ศิวเกียรติ ชเยมะ กรรมการ 4 นายรัฐพล ภักดีภูมิ กรรมการ 5 นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย กรรมการ 6 นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการ นายกษมา บุณยคุปต กรรมการ กรรมการผูอํานวยการใหญ กรรมการ 9 ผูอํานวยการใหญสํานักเลขานุการบริษัทฯ เลขานุการ
การสรรหาและแตงตังกรรมการ และผูบ ริหารระดับสูงสุด
อานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการกากับ ยุทธศาสตรและการปฏิรปู 1 กํากับดูแลใหฝา ยบริหารจัดทําแผนยุทธศาสตร และแผน ปฏิรูปองคกร เพื่อใหบริษั ทฯ เปนองคกรที่สามารถ แขงขันไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถสรางผล ตอบแทนที่เหมาะสมอยางยั่งยืน ทั้งนี้ แผนยุทธศาสตร และแผนปฏิรูปองคกรจะตองครอบคลุมทุกมิติของการ ดําเนินธุรกิจและมีการบูรณาการกัน ทัง้ มาตรการเรงดวน และมาตรการที่มีผลตอเนื่อง 2 กลั่ น กรองแผนยุ ท ธศาสตร และแผนปฏิ รู ป องค ก ร กอนนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติ 3 ติดตาม กํากับดูแล และใหคําแนะนําใหฝายบริหาร ดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิรูปองคกร รวมทัง้ กํากับดูแลใหมผี บู ริหารรับผิดชอบการดําเนินการ ตามแผนแตละแผนอยางชัดเจน 4 แตงตั้งที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการจัดทําและการดําเนิน การตามแผนยุทธศาสตร และแผนปฏิรูปองคกร ตามที่ เห็นสมควร 5 สามารถขอและเขาถึงการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ได จากทุกหนวยงานตามที่เห็นสมควร 6 ปฏิบตั หิ นาทีอ่ นื่ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
คณะกรรมการบริษั ทฯ กําหนดหลักเกณฑการดําเนินการ สรรหากรรมการบริษั ทฯ เพื่อเปนแนวทางการดําเนินการ ของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน ในการ สรรหากรรมการบริษั ทฯ ใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดี ตามที่กระทรวงการคลังแลตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด ดวยความโปรงใส ตามหลักธรรมาภิบาล หลักเกณฑ การดําเนินการสรรหากรรมการบริษัทฯ ดังกลาวสรุปไดดังนี้ 1 ดําเนินการกําหนดคุณสมบัติของกรรมการบริษั ทฯ ที่ ตองการสรรหา 1 1 ความเหมาะสมของความรู ประสบการณ และความ เชีย่ วชาญของกรรมการบริษัทฯ โดยรวม เพือ่ ใหคณะ กรรมการบริษัทฯ มีองคประกอบทีเ่ หมาะสม สามารถ กําหนดกลยุทธ และนโยบาย รวมทั้งกํากับดูแลใหมี การปฏิบัติตามกลยุทธไดอยางมีประสิทธิผล 1 2 คุณสมบัติของกรรมการบริษั ทฯ แตละคน เพื่อให มั่ น ใจว า ที่ ไ ด รั บ การสรรหาสามารถปฏิ บั ติ ห น า ที่ กรรมการไดตามหลัก Fiduciary uty ที่สําคัญ คือ การปฏิบัติหนาที่ดวยความรอบคอบระมัดระวัง และ ด ว ยความซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต มี คุ ณ ธรรมและความ รับผิดชอบ ตัดสินใจดวยขอมูลและเหตุผล ฯลฯ 1 3 ไมมลี กั ษณะตองหามตามทีก่ หมาย ก ระเบียบอืน่ ที่เกี่ยวของกําหนด 1 4 ความเปนอิสระของกรรมการอิสระแตละคน 1 5 ความสามารถในการอุทิศเวลาของกรรมการบริษัทฯ อาจพิจารณาจากจํานวนบริษั ทที่ดํารงตําแหนงอยู ฯลฯ เพือ่ ใหมเี วลาอยางเพียงพอในการเขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ อยางสมํ่าเสมอ รวมทั้งการ ดูแลและการติดตามการดําเนินงานของบริษัทฯ
ในป 2559 มีการประชุมทั้งสิ้น 3 ครั้ง ประกอบดวย เรื่อง เพื่อพิจารณาจํานวน 6 เรื่อง
90 รายงานประจําป 2559
การสรรหาคณะกรรมการบริษทั ฯ
ตามขอบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบ ดวยกรรมการจํานวนไมนอยกวา 5 คน แตไมมากกวา 15 คน สุดแตที่ประชุมใหญจะเปนผูกําหนดเปนครั้งคราว และ กรรมการจํานวนไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการ ทั้งหมดตองมีถิ่นที่อยู ในราชอาณาจักร และกรรมการของ บริษั ทฯ จะตองเปนผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ตามที่ก หมายกําหนด ในการประชุมสามัญประจําปผูถือหุน ในแตละป จะมีการเลือกตั้งกรรมการใหมแทนกรรมการที่ ตองออกจากตําแหนงตามวาระจํานวน 1 ใน 3 ของจํานวน กรรมการทั้งหมด หรือจํานวนใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 ใน กรณีที่แบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได
การกํากับดู กิจการ
2 กระบวนการในการสรรหากรรมการบริษัทฯ 2 1 คณะกรรมการสรรหาฯ จะดําเนินการสรรหาบุคคลที่ เหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนงกรรมการฯ กร ีที่ ตําแหนงกรรมการวางลง เนื่องจากครบวาระใน การประชุมใหญสามัญผูถือหุน ประจําป ซึ่งกรรมการ ตองพนจากตําแหนง 1 ใน 3 นั้น อาจพิจารณารายชื่อ บุคคลที่เหมาะสมจาก (1) บุคคลที่เปนกรรมการเดิมที่ พนวาระเพื่อเสนอใหดํารงตําแหนงตอไป (2) บัญชีรายชื่อ กรรมการรัฐวิสาหกิจ ตามประกาศของกระทรวงการคลัง ซึ่งไดกําหนดแนวทางปฏิบัติสําหรับกรณีที่กรรมการอื่นที่ มิใชกรรมการโดยตําแหนงครบวาระการดํารงตําแหนง หรือพนจากตําแหนงกอนครบวาระ จะตองแตงตัง้ กรรมการ อื่นจากบัญชีรายชื่อกรรมการรัฐวิสาหกิจแทนกรรมการ รายดังกลาว จํานวนไมนอ ยกวา 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการ อื่น (3) การเสนอชื่อของผูถือหุน (ถามี) (4) การเสนอชื่อ ของประธานกรรมการบริษั ทฯ กรรมการบริษั ทฯ ฯลฯ (5) การเสาะหาบุคคลที่มีความรู ความสามารถ และ ประสบการณที่เหมาะสมกับบริษัทฯ กร ีที่ ตําแหนงกรรมการบริษัทฯ วางลงนอกจากเหตุ ตามกรณีที่ 1 คณะกรรมการสรรหาฯ จะดําเนินการ สรรหาเมื่อคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติใหแตงตั้งทดแทน โดยอาจพิจารณารายชื่อบุคคลที่เหมาะสมจาก (1) บัญชี รายชื่อกรรมการรัฐวิสาหกิจ ตามประกาศของกระทรวง การคลั ง ซึ่ ง ได กํ า หนดแนวทางปฏิ บั ติ สํ า หรั บ กรณี ที่ กรรมการอื่นที่มิใชกรรมการโดยตําแหนงครบวาระการ ดํารงตําแหนง หรือพนจากตําแหนงกอนครบวาระ จะตอง แตงตัง้ กรรมการอืน่ จากบัญชีรายชือ่ กรรมการรัฐวิสาหกิจ แทนกรรมการรายดังกลาว จํานวนไมนอ ยกวา 1 ใน 3 ของ จํานวนกรรมการอื่น (2) การเสนอชื่อของผูถือหุน (ถามี) (3) การเสนอชือ่ ของประธานกรรมการบริษัทฯ กรรมการ บริษั ทฯ ฯลฯ (4) การเสาะหาบุคคลที่มีความรู ความ สามารถ และประสบการณที่เหมาะสมกับบริษัทฯ 2 2 คณะกรรมการสรรหาฯ กลั่นกรองใหไดบุคคลที่มี คุณสมบัติสอดคลองกับเกณฑคุณสมบัติที่กําหนดไว 2 3 เลขานุการบริษั ทฯ ดําเนินการตรวจสอบคุณสมบัติ ของบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อใหเปนกรรมการ บริษัทฯ ตามวิธีการที่ไดกําหนดไวในหลักเกณฑการ ดําเนินการสรรหากรรมการบริษัทฯ 2 4 คณะกรรมการสรรหาฯ พิจารณาและนําชื่อเสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการโดยใชเสียงขางมาก ตามหลักเกณฑและวิธีการ ดังนี้
1 ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 2 ผูถือหุนแตละคนจะตองใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมด เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได 3 บุคคลซึง่ ไดรบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เปนผูไ ด รับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึง มีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ไดรบั การ เลือกตัง้ ในลําดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใหเลือก ดวยวิธีจับสลากเพื่อใหไดตามจํานวนกรรมการที่จะพึงมี ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึง คราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการเลือกบุคคลหนึ่งซึ่งมี คุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามก หมาย เขาเปน กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไปดวย คะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนกรรมการที่ยัง เหลืออยู เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวา 2 เดือน บุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาว จะอยู ในตําแหนง กรรมการไดเพียงเทาวาระทีย่ งั เหลืออยูข องกรรมการทีต่ นแทน ที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น อาจลงมติ ใ ห ก รรมการคนใดออกจาก ตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระได ดวยคะแนนเสียง ไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมี สิทธิออกเสียง และมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ จํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสียง ในการประชุมนั้น ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการออกจาก ตําแหนง 1 ใน 3 ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรง เปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรกและปที่ 2 ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนัน้ ใหใชวธิ จี บั สลากกันวาผูใ ดจะออก สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุด นั้น เปนผูออกจากตําแหนง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจ ถูกเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได
การสรรหาผูบ ริหารระดับสูงสุด
การแตงตั้งกรรมการผูอํานวยการใหญ ซึ่งเปนตําแหนง เจาหนาทีบ่ ริหารสูงสุดของบริษัทฯ นัน้ คณะกรรมการบริษัทฯ จะแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาผูดํารงตําแหนงกรรมการ ผูอํานวยการใหญ ซึ่งประกอบดวยคณะกรรมการบริษั ทฯ 5 คน และรองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายทรัพยากร บุคคลและกํากับกิจกรรมองคกร 1 คน เพื่อแตงตั้งคณะ กรรมการสรรหา ผูด าํ รงตําแหนงกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 91
โดยมีอํานาจหนาที่ ในการกําหนดหลักเกณฑ วิธีการสรรหา และดําเนินการสรรหาผูท มี่ คี วามรูค วามสามารถ ประสบการณ ที่เหมาะสม และคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตาม พระราชบั ญ ญั ติ คุ ณ สมบั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ ศ 251 (และที่แกไขเพิ่มเติม) และก หมายอื่น ที่เกี่ยวของ เพื่อดํารงตําแหนงกรรมการ ผูอํานวยการใหญ และเสนอชื่อผูที่ผานการคัดเลือกที่สมควร ไดรับการแตงตั้งตอคณะกรรมการบริษั ทฯ เพื่อพิจารณา ตอไป
การกากับดูแลการดาเนินงานของ บริษทั ยอย บริษทั รวม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วของ
การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทยอย บริษัทรวม และ บริษัทที่เกี่ยวของ นั้น บริษัทฯ ในฐานะผูถือหุนไดสงผูแทน บริษัทฯ เพือ่ เขาไปมีสว นรวมในการทําหนาทีด่ แู ลผลประโยชน ตลอดจนประสานงานในการรวมมือทําธุรกิจระหวาง บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ โดยผูแทนบริษัทฯ จะเปน ผูที่ไดรับความเห็นชอบจากฝายบริหารของบริษัทฯ และผาน การอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารหรือ คณะกรรมการ บริษัทฯ เขาดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ ซึ่งกรรมการที่ไดรับแตงตั้งเปนผูแทน นัน้ ประกอบดวย บุคคลจากคณะกรรมการบริษัทฯ ฝายบริหาร หรือบุคคลภายนอกที่มีความรูความเขาใจในธุรกิจ สามารถ ใหแนวทางบริหารที่จะเปนประโยชนตอบริษัทฯ ได และตอง มีคุณสมบัติเปนไปตามหลักเกณฑการแตงตั้งผูแทน บริษั ท การบินไทย จํากัด (มหาชน) เปนกรรมการในบริษั ทยอย บริษัทรวม หรือบริษัทที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ บริษั ทฯ ไดจัดทําคูมือในการปฏิบัติหนาที่ของผูแทน บริษัทฯ เพื่อใหผูแทนบริษัทฯ ไดปฏิบัติตามหลักเกณฑและ แนวทางที่เปนมาตรฐานเดียวกัน สอดคลองกับนโยบายการ กํากับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งในคูมือนี้ไดกําหนดถึง ขอพึงปฏิบัติ ที่ดีของกรรมการผูแทน ขอพึงระมัดระวัง หนาที่และความ รับผิดชอบโดยใหยดึ ถือปฏิบตั ติ ามก หมาย วัตถุประสงคและ ขอบังคับ ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุนเพื่อรักษาประโยชน ของบริษัทฯ ในบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ สําหรับในเรื่องนโยบายที่สําคัญ ใหผูแทนบริษั ทฯ ขอรับ นโยบายจากบริษั ทฯ กอนเสนอความเห็นในที่ประชุมบริษั ท ยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ เชน การจัดสรรกําไร การจายเงินปนผล หรือนําสงเงินรายไดแผนดิน การเลือกตั้ง กรรมการแทนกรรมการที่ลาออกตามวาระ การเพิ่ม-ลดทุน การเลิก-ควบรวมกิจการ ทั้งนี้ ผูแทนบริษัทฯ ตองรายงาน ขอมูลตางๆ ตามกรอบระยะเวลาทีก่ าํ หนดตอฝายบริหาร และ คณะกรรมการบริษัทฯ 92 รายงานประจําป 2559
นอกจากนี้ บริษั ทฯ ยังจัดใหมีการวิเคราะห ติดตาม และ รายงานผลการดําเนินงานของบริษั ทยอย บริษั ทรวม และ บริษั ทที่เกี่ยวของ เปนประจําทุกไตรมาส และรายป เพื่อ เปนขอมูลสนับสนุนใหฝายบริหารใชในการตัดสินใจ กําหนด ทิศทางและแนวทางในการกํากับดูแลการลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของไดตอไป
การดูแลเรือ่ งการใ ข อ มูลภายใน
บริษัทฯ มีนโยบายปฏิบตั ติ ามก เกณฑของตลาดหลักทรัพยฯ และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพยอยางเครงครัด โดยบริษั ทฯ ใหความสําคัญใน เรื่องหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อใหบรรลุผลในทาง ปฏิบตั ิ โดยออกประกาศบริษัทฯ เรือ่ งการปองกันการใชขอ มูล ภายในเพือ่ ประโยชนสว นตน ตัง้ แตป 254 เพือ่ หามกรรมการ รวมถึงกรรมการที่พนตําแหนงในชวง 6 เดือน และผูบริหาร ซื้อขายหลักทรัพยของบริษั ทฯ กอนการประกาศงบการเงิน 1 เดือน และหลังประกาศ 3 วัน โดยทุกๆ 3 เดือน สํานัก เลขานุการบริษั ทฯ จะจัดทําวาระแจงคณะกรรมการและ ฝายบริหาร รวมถึงจัดทําหนังสือแจงกรรมการและผูบริหาร เป น รายบุ ค คลถึ ง ช ว งระยะเวลาห า มทํ า การซื้ อ ขายหุ น การบินไทย ตามประกาศบริษัทฯ บับดังกลาว นอกจากนั้ น ยั ง จั ด ทํ า วาระแจ ง คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และฝ า ยบริ ห ารทุ ก เดื อ นเรื่ อ งรายงานการถื อ ครองหุ น การบินไทยของกรรมการบริษั ทฯ และผูบริหารระดับสูง รวมทัง้ ของคูส มรส และบุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะ เพือ่ แจงให ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงการถือครองหุนของคณะกรรมการ บริษัทฯ และฝายบริหาร รวมทั้งแจงบทลงโทษ กรณีไมได จัดทํารายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพยตอ สํานักงาน คณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ภายในระยะเวลาที่กําหนด รวมทั้งกําหนดไวในจรรยาบรรณ การบินไทย ใหการเปดเผยหรือใชขอมูลภายในเพื่อประโยชน สวนตน ถือวาเปนการผิดวินัยพนักงาน
คาตอบแทนของผูสอบบั
ี
คาตอบแทนจากการสอบบั ี บริษัทฯ และบริษัทยอย จายคาตอบแทนการสอบบัญชี ใหแก สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน (สตง ) ซึง่ เปนผูส อบบัญชีของ บริษัทฯ ในรอบปบัญชีที่ผานมามีจํานวนเงินรวม 4 6 0 000 บาท โดยบริษัทฯ ไมไดจายคาตอบแทนใหบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวของกับ สตง ในรอบปบัญชีที่ผานมา
การกํากับดู กิจการ
คาบริการอื่น บริษัทฯ และบริษัทยอย จายคาตอบแทนของงานบริการอื่น ซึง่ ไดแก คาธรรมเนียมตรวจสอบปฏิบตั ติ าม B I คาธรรมเนียม ตรวจรับรองรายไดของหนวยธุรกิจ คาธรรมเนียมรับรองรายได สาขาประเทศอินเดีย และคาธรรมเนียมรับรองรายไดสาขา ประเทศบรูไน ใหแก สตง ซึ่งเปนผูสอบบัญชีของบริษั ทฯ ในรอบปบัญชีที่ผานมามีจํานวนเงินรวม 660 000 บาท แต บริษัทฯ ไมไดจา ยคาบริการอืน่ ใหบคุ คลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของ กับ สตง ในรอบปบัญชีที่ผานมาหรือรายจายในอนาคตอัน เกิดจากการตกลงที่ยังใหบริการไมแลวเสร็จในรอบปบัญชีที่ ผานมา
การปฏิบตั ติ ามหลักการกากับดูแลกิจการ ทีด่ ใี นเรือ่ งอืน่ ๆ
บริษัทฯ มุงมั่นปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีตาม ที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนดไว โดยในป 2559 มีทั้งเรื่องที่บริษัทฯ ไดดําเนินการแลว แตไมไดเปดเผยเปน ลายลักษณอกั ษร และเรือ่ งทีอ่ าจไมครอบคลุมตามหลักเกณฑ ของโครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษั ทจดทะเบียน ไทย รายละเอียดดังตอไปนี้ 1 บริษั ทควรมีนโยบายจํากัดจํานวนบริษั ทจดทะเบียนที่ กรรมการแตละคนจะดํารงตําแหนงกรรมการไดไมเกิน 5 แหง ในกรณีนี้บริษัทฯ ปฏิบัติตามพ ร บ คุณสมบัติ มาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ ศ 251 มาตรา ทีก่ าํ หนดไววา ผูใ ดจะดํารงตําแหนง กรรมการในรัฐวิสาหกิจเกินกวา 3 แหงมิได 2 บริษั ทควรมีการกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของ กรรมการอิสระไวไมเกิน 9 ป ในทางปฏิบัติ กรรมการ อิสระของบริษัทฯ มีวาระการดํารงตําแหนงไมเกิน 9 ป
3 บริ ษั ท ควรจั ด ให มี ห น ว ยงานกํ า กั บ การปฏิ บั ติ ง าน ( o iance nit) ซึง่ บริษัทฯ ไดมกี ารจัดตัง้ หนวยงาน กองกํากับการปฏิบัติตามก เกณฑ ( o iance) ทํา หนาที่ o iance nit 4 บริษัทไมสามารถกําหนดวิธกี ารลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการโดยการลงคะแนนเสียงแบบสะสม ( u u ative oting) เนื่องจากขอบังคับบริษั ท ระบุใหหุนหนึ่งหุน มีหนึ่งเสียง โดยผูถือหุนแตละคนตองใชคะแนนเสียงที่ มีอยูทั้งหมดตามจํานวนหุนที่มี เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือ หลายคนเปนกรรมการได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแก ผูใดมากนอยเพียงใดไมได 5 คณะกรรมการประกอบดวยกรรมการจํานวน 5-12 คน เนื่องจากขอบังคับของบริษัท กําหนดใหคณะกรรมการ บริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวนไมนอยกวา 5 คน แตไมมากกวา 15 คน เพื่อใหเหมาะสมกับขนาดและ ลักษณะของธุรกิจ 6 บริษั ทควรกําหนดนโยบายเกี่ยวกับจํานวนองคประชุม ขั้นตํ่า ณ ขณะที่คณะกรรมการจะลงมติในที่ประชุม คณะกรรมการวา ตองมีกรรมการอยูไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทัง้ หมด เนือ่ งจากขอบังคับบริษัท กําหนดเ พาะองคประชุมตองมีกรรมการไมนอยกวา กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด แตไมไดกําหนด จํานวนองคประชุมขั้นตํ่า ณ ขณะที่คณะกรรมการจะ ลงมติ บริษัทควรเปดเผยถึงสิทธิในการออกเสียงของหุน แตละ ประเภท กรณีที่บริษัทมีหุนมากกวาหนึ่งประเภท ( ne ass o S are) ในกรณีนี้ บริษัทฯ มีหนุ เพียง 1 ประเภท คือ หุนสามัญ
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 93
รายงานของคณะกรรมการธรรมาภิบาล และสงเสริมกิจการเพื่อสังคมประจาป 2559 คณะกรรมการธรรมภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ประกอบดวย กรรมการบริษั ทฯ และฝายบริหาร ปจจุบัน คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ประกอบดวย พลอากาศเอกตรีทศ สนแจง เปนประธานฯ พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ กรรมการผูอํานวยการใหญ และฝายบริหาร เปนกรรมการ โดยในป 2559 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการ เพือ่ สังคม มีการประชุม 2 ครัง้ เพือ่ พิจารณาวาระการสงเสริม กิจการเพื่อสังคม สรุปดังนี้ 1. การสงเสริมการศกษาบุตรธิดา ของพนักงาน ประจาป 2559 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ไดสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาบุตรธิดาของพนักงานผูน อ ย โดยมีคณะอนุกรรมการคัดเลือก ทําหนาที่กลั่นกรองผูมีสิทธิ ไดรับทุนการศึกษาเสนอตอคณะกรรมการธรรมาภิบาลและ สงเสริมกิจการเพื่อสังคมเพื่อพิจารณาคัดเลือก ซึ่งในป 2559 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคมได อนุมตั กิ ารใหทนุ สงเสริมการศึกษาบุตรธิดาของพนักงานผูน อ ย จํานวน 69 ทุน เปนจํานวนเงิน 965 000 บาท 2. การคัดเลือกบุคคลและโครงการที่ทา คุณประโย นตอบริษัทฯ หรือสังคม คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม สนับสนุนและสงเสริมพนักงานที่จัดทําโครงการและกิจกรรม ที่เปนคุณประโยชนตอบริษัทฯ และสังคม โดยในป 2559 ได พิจารณาคัดเลือกพนักงานและโครงการตางๆทีม่ กี ารนําเสนอ และไดอนุมัติคัดเลือกนายวัชรพงศ เม ผึ้ง ซึ่งเปนผูริเริ่ม โครงการครัวการบินไทยใหอาชีพและเปนผูดําเนินโครงการ ผลิตบุคลากรดานการประกอบอาหารบริการสายการบิน รวมกับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต และริเริ่มโครงการรับรอง สมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ ใหเปนพนักงานที่ ทําคุณประโยชนตอบริษั ทฯ และสังคม สําหรับโครงการที่
94 รายงานประจําป 2559
ทําคุณประโยชนตอ บริษัทฯ และสังคม มีจาํ นวน 2 โครงการ ที่ ไดรบั การอนุมตั ิ ไดแก โครงการจิตอาสา inica Resources Manage ent จากการบินสูการแพทย และโครงการ โทสมาสเตอรคาราวาน ซึง่ เปนการพั นาศักยภาพการสือ่ สาร ภาษาอังก ษทัง้ ทางดานการฟง พูด อาน และเขียน และความ เปนผูนํา โดยจัดอบรมใหกับเยาวชน ผูพิการ สามเณร เพื่อ ชวยเหลือสังคมในการใชภาษา และตอยอดเปนอาชีพตอไป 3. การสงเสริมและสนับสนุนการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ได เ ห็ น ชอบให มี ก ารลงนามบั น ทึ ก ข อ ตกลงความร ว มมื อ เรือ่ ง การสงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมสะเต็มศึกษา ระหวาง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท ) กับบริษัทฯ และบริษัท โรลสรอยซ ซึ่งเปนโครงการสงเสริม และสนั บ สนุ น การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู วิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร ตามแนวทาง สะเต็มศึกษา (ST M Science Tec no ogy ngineering Mat e atics) . การบริการประ า นที่เดินทางมาถวายอาลัย พระบาทสมเดจพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเด ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ได รั บ ทราบการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ในการบริ ก าร ประชาชนโดยการแจกจายอาหาร นํ้าดื่ม นํ้าผลไม และ สิ่งของอื่นๆ ณ จุดบริการสํานักงานหลานหลวง การบินไทย จุ ด รั บ รองประชาชนของรั ฐ บาล โดยกระทรวงคมนาคม หนามหาวิทยาลัยศิลปากร จุดบริการการบินไทย ตรงขาม ประตูวิเศษไชยศรี รวมทั้งไดจัดรถบริการรับ-สงประชาชน เสนทาง สํานักงานใหญ ถนนวิภาวดีรังสิต ถึง สนามหลวง และสนับสนุนนิตยสาร SAWAS แจกใหกับประชาชน
รายงาน อง ะกรรมการธรรมาภิบา ะ ง ริมกิจการ พอ ัง มประจําป 2559
5. การ วยเหลือผูประสบอุทกภัยภาคใต คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ไดรบั ทราบการดําเนินงานของบริษัทฯ ในการใหความชวยเหลือ ผูประสบอุทกภัยภาคใตโดยใชศักยภาพของบริษั ทฯ อาทิ ใหบริการขนสงทางคารโกโดยไมคดิ คาใชจา ยในการนําสิง่ ของ เครื่องอุปโภคบริโ ภคเพื่อนําไปชวยเหลือผูประสบอุทกภัย ภาคใตและเชิญชวนลูกคาภาคองคกร ( or orate Account) รวมบริจาคสิง่ ของชวยเหลือผูป ระสบภัย และนําคณะเจาหนาที่ เดินทางไปมอบสิ่งของบริจาคและผาหมใหกับผูประสบภัยที่ จังหวัดกระบี่ สนับสนุนบัตรโดยสารแกเจาหนาที่ของภาครัฐ สภากาชาดไทย หรือหนวยงานทีม่ คี วามจําเปนตองเดินทางไป ปฏิบตั หิ นาทีช่ ว ยเหลือผูป ระสบอุทกภัย รวมทัง้ บริษัทฯ บริจาค เงินชวยเหลือผูประสบภัยภาคใต เปนจํานวนเงิน 1 000 000 บาท (หนึ่งลานบาทถวน)
6. การทบทวนแผนการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ไดรบั ทราบการดําเนินการตามก ระเบียบ ขอบังคับของบริษัทฯ ซึ่งมีความลาสมัย อาจสงผลตอความไมเปนธรรมาภิบาล ดังนั้น จึงมอบหมายใหฝายบริหารรับไปดําเนินการปรับปรุง แกไขก ระเบียบ ขอบังคับของบริษั ทฯ ใหมีความชัดเจน ถูกตอง ตามที่ปฏิบัติอยูในปจจุบัน . การดาเนินการเรื่องรองเรียน คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพื่อสังคม ไดรบั ทราบถึงเรือ่ งรองเรียนตางๆ เพือ่ ใหการดําเนินการเกีย่ วกับ เรือ่ งรองเรียนมีความเปนธรรมกับทุกฝาย จึงไดมกี ารมอบหมาย ใหหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบดําเนินการในเรือ่ งรองเรียนใหเปนไป ตามระเบียบบริษัทฯ และตองมีความยุติธรรม ทั้งผูรองเรียน และผูถูกรองเรียน
พ อากาศ อก รทศ น จง
ประธานกรรมการธรรมาภิบา ะ ง ริมกิจการ พอ ัง ม ันท มนา ม 25
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 95
ามรับ ิดชอบ
ตอสังคม
ในป 2559 บริษัทฯ ใหความสําคัญกับการพั นาสังคม และ สิ่งแวดลอม โดยบริษั ทฯ นับความรับผิดชอบตอสังคมเปน สวนหนึ่งของการดําเนินธุรกิจ เพื่อใหองคกรสามารถเติบโต ไดอยางยั่งยืน โดยดําเนินการตามมาตรฐานสากล ทั้งใน กระบวนการดําเนินธุรกิจ ( SR in Process) และกิจกรรม เพื่อสังคม ( SR a ter Process) ในปนี้ การบินไทยไดสบื สานงานดานความรับผิดชอบตอสังคม อาทิ การสงเสริมดานการศึกษา กิจกรรม “คายตนกลา วิทยคณิตการบินไทย” การสงเสริมดานสิ่งแวดลอมและ นวัตกรรม โครงการประกวด “นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดลอม ในอุตสาหกรรมการบิน” (Trave reen Innovation) การ สงเสริมดานสุขภาพ กิจกรรม “แพทยนักบินและนางฟา พยาบาล” การสงเสริมดานสังคม โครงการสงเสริมการ ดําเนินธุรกิจที่เปนมิตรกับเด็ก ตาม “หลักการสิทธิเด็กและ หลักปฏิบัติทางธุรกิจ” ( i dren s Rig ts and Business Princi es - RBP) การสงเสริมชุมชน โครงการ “ T P ไทยจากทองถิ่นสูทองฟา” ทัง้ นี้ เพือ่ สรางความแข็งแกรง และกาวสูค วามเปนเลิศในการ ดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ไดดําเนินนโยบายดานความปลอดภัย ในระดับสูงสุด ตามโครงการมาตรฐานความปลอดภัยเหนือ ระดับ (Sa ety Beyond o iance) และเพื่อตอบสนอง ความพึงพอใจของลูกคา บริษั ทฯ ดําเนินโครงการการยก ระดับการบริการชั้นธุรกิจ ( e Roya Ski Service) อยาง ตอเนื่อง รวมถึงมุงมั่นปรับปรุงการบริการในทุกจุดบริการ ตาม Service Ring นอกจากนี้ บริษัทไดนอมนําพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมาใชในการดําเนินธุรกิจ โดยนํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากโครงการหลวงมาบริ ก ารบนเครื่ อ ง บิน และโครงการฝนหลวงนับเปนอีกหนึ่งโครงการที่บริษัทฯ 96 รายงานประจําป 2559
ไดมีสวนสนองงานในพระราชดําริในชวงเวลาหนึ่ง ซึ่งถือเปน โอกาสอันดีทกี่ ารบินไทย สายการบินแหงชาติ ไดมสี ว นในการ พั นาเศรษฐกิจของประเทศ รวมทัง้ ความเปนอยูข องชาวไทย นับเปนเกียรติประวัติที่นาภาคภูมิใจของการบินไทย ผูสนใจ สามารถศึกษารายละเอียดไดในรายงานการพั นาอยางยัง่ ยืน ซึ่งบริษัทฯ จัดสงใหผูถือหุนทุกรายและเปดเผยตอประชาชน ทางเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ t aiair ays co
แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปองกัน การมีสวนเกี่ยวของกับการคอรรัป ั่น
บริษัทฯ ไดเห็นความสําคัญถึงปญหาการทุจริตและประพ ติ มิชอบที่จะสงผลกระทบกอใหเกิดความเสียหายตอบริษั ทฯ ดังนั้น บริษัทฯ จึงนํานโยบาย “W ist e B o er” เขามาใชใน การบริหารจัดการตั้งแตป 2553 โดยมีการทบทวนการนําไป ปฏิบตั จิ ากการประกาศนโยบาย W ist e B o er การรับเรือ่ ง รองเรียนและแจงเบาะแสการกระทําผิดโดยไมจําเปนตอง ระบุตวั ตน มีระบบสือ่ สารภายในองคกรแบบโตตอบและอีเมล เปนเครือ่ งมือใชงานทัว่ ทัง้ องคกร ปริมาณขอรองเรียนทีล่ ดลง และสัดสวนในการดําเนินการเพื่อแกปญหา จะแสดงถึงผล การปฏิบัติในการปองกันการทุจริตและประพ ติมิชอบอยาง เกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ บริษั ทฯ ไดมีการจัดทําระเบียบบริษั ทฯ วาดวยการ รองเรียนเกี่ยวกับการทุจริตหรือการไมปฏิบัติตามก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่งบริษั ท หรือธรรมาภิบาลหรือ จริยธรรม ตามประมวลธรรมาภิบาลและจริยธรรม พ ศ 2553 ขึ้นเพื่อใหพนักงาน ลูกจาง ผูมีสวนไดเสียและบุคคลภายนอก ใชเปนชองทางในการแจงเบาะแสความเคลือบแคลงที่อาจ ทําใหเขาใจไดวาเปนการกระทําผิดตอก ระเบียบ ขอบังคับ ของบริษัทฯ และก หมาย เพือ่ ใหบริษัทฯ ไดทาํ การตรวจสอบ ขอเท็จจริงไดถูกตอง พรอมทั้งมีมาตรการในการคุมครอง ผูรองเรียน เพื่อสรางความเชื่อมั่นและความปลอดภัยใหกับ
ามรับ ิดชอบ อ ัง ม
ผูรองเรียนดวย อันจะนําไปสูความเปนธรรม โปรงใส และ ตรวจสอบไดขององคกรตอไป สําหรับในป 2554 บริษัทฯ ไดลงนามคําประกาศเจตนารมณ แนวรวมปฏิบัติ ( o ective Action oa ition) ของภาค เอกชนไทยในการตอตานการทุจริต เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2554 เพื่อใหความรวมมือกับภาคเอกชนไทยในการตอตาน การทุจริต โดยบริษัทฯ ไดใหความรวมมือจัดใหมีการอบรม พนักงาน เพื่อใหทราบถึงการปองกันการทุจริตและประพ ติ มิชอบ รวมทั้งการเขารวมการสัมมนา เสวนากับสํานักงาน ป ป ช และมุงเนนถึงความสําคัญของการตอตานการทุจริต ในวงกวางตอไป ตั้งแตป 2556 เปนตนมา บริษัทฯ ไดบรรจุหลักสูตรการฝก อบรมวาดวยเรื่องการปองกันการทุจริตและประพ ติมิชอบ ไวในหลักสูตรมาตรฐานของบริษัทฯ โดยดําเนินการโดยฝาย พั นาการเรียนรูภายในองคกร พรอมกับการเขาไปศึกษา ดูงานเพิ่มเติมจากหนวยงานภายนอกในป 255 บริษั ทฯ ไดริเริ่มดําเนินการเผยแพรเรื่องการปองกันการทุจริตและ ประพ ติมิชอบใหกับพนักงานทั้งระดับบริหาร ระดับบังคับ บัญชา และระดับปฏิบตั กิ ารในฝายงานตางๆ อาทิ ฝายบริการ อุปกรณภาคพื้น ฝายชาง ฝายบริการลูกคาภาคพื้น ฯลฯ ซึ่ง สงผลใหในป 2559 จํานวนเรื่องรองเรียนลดลงจากป 255 เปนจํานวนมาก ในป 255 บริษั ทฯ ไดรับการประเมินในเรื่องการปองกัน การมีสวนเกี่ยวของกับการคอรรัปชั่น (Anti- orru tion Progress Indicators) จากสถาบันไทยพั น โดยมีสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยเปน ผู ส นั บ สนุ น และบริ ษั ท ฯ ได รั บ การประเมิ น ในระดั บ ที่ 2 ( ec ared) สําหรับในป 255 บริษัทฯ ไดรบั การประเมินจาก สถาบันไทยพั น ในการดําเนินการเพือ่ ความยัง่ ยืนเรือ่ ง Antiorru tion Progress Indicators ทีบ่ ริษัทฯ มีการเปดเผยหรือ ที่ปรากฏตอสาธารณะในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) หรือรายงานประจําป (แบบ 56-2) หรือในรายงาน อื่นๆ ของการปองกันการมีสวนเกี่ยวของกับการคอรรัปชั่น ซึ่งไดรับผลการประเมินอยูในระดับที่ 3 ประจําป 255 ในป 255 บริษั ทฯ ไดมีการประกาศนโยบายการตอตาน การทุจริตและประพ ติมิชอบของ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) เผยแพรประชาสัมพันธใหพนักงานบริษัทฯ ปฏิบัติ ตามอยางเครงครัด อีกทั้งนําไปเผยแพร ประชาสัมพันธใน t aiair ays co สูสาธารณะ ทั้งนี้ บริษั ทฯ ยังได นําแนวทางปฏิบัติสัญญาคุณธรรม (Integrity Pact) มาใช ดวยการเชิญบุคคลภายนอก (เจาหนาที่จากองคกรตอตาน
คอรรัปชัน (ประเทศไทย) เขามาสังเกตการณในทุกขั้นตอน ของการดําเนินการในการจัดซื้อไวนสําหรับการใหบริการ ผูโ ดยสารบนเครือ่ งบินเปนลําดับแรก เพือ่ ใหเกิดความโปรงใส และเปนธรรม มีความซื่อสัตย สุจริตในการปฏิบัติงานและ พนักงานทุกระดับตองเขามามีสวนรวมในการขับเคลื่อน สงเสริมและสนับสนุนการตอตานการทุจริตและประพ ติ มิชอบ เพื่อนําพาใหเปนองคกรที่มีการปฏิบัติงานดวยความ ซื่อสัตย สุจริต โปรงใสและตรวจสอบไดอยางยั่งยืนตอไป ในป 2559 บริษัทฯ ไดเขารวมโครงการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร ชาติวา ดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตของกระทรวง คมนาคม ในกิจกรรมคน หาบุคลากรกระทรวงคมนาคมที่ ปฏิบตั งิ านดวยความซือ่ สัตย สุจริต โปรงใส โดยมีวตั ถุประสงค เพือ่ ยกยอง เชิดชู ประกาศเกียรติคณ ุ สรางขวัญกําลังใจ และ เปนแรงบันดาลใจใหมีความเชื่อมั่นในการทําความดี ยึดมั่น ในคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งบริษั ทฯ ไดเสนอชื่อ นายแพทย กรพรหม แสงอราม ตําแหนงนักบินที่ 1 สังกัด กลุมนักบิน ปฏิบัติการใหเปน “คนตนแบบคมนาคม” ประจําป 2559 และ ไดรับการคัดเลือกจากกระทรวงคมนาคม นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเขารับการประเมินคุณธรรมและความ โปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity Trans arency Assess ent ITA) ประจําปงบประมาณ พ ศ 255 ของสํานักงาน ป ป ช ซึง่ บริษัทฯ ไดรบั ผลคะแนน ประเมินโดยรวม 5 4 คะแนน จาก 100 คะแนนเต็ม อยูใน ระดับคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานสูงกวา คะแนนเ ลี่ยของทั้ง 259 หนวยงานภาครัฐ ที่มีคะแนนเ ลี่ย 3 04 พรอมเกียรติบัตรแสดงความขอบคุณบริษั ทฯ ที่เขา รับการประเมินฯ สวนในปงบประมาณ พ ศ 255 บริษัทฯ ไดรับผลคะแนนประเมินโดยรวม 9 30 คะแนน จาก 100 คะแนนเต็ม อยู ในระดับคุณธรรมและความโปรงใสในการ ดําเนินงานสูง และปงบประมาณ พ ศ 2559 บริษัทฯ ไดรับ ผลคะแนนประเมินฯ โดยรวมเทากับ 5 คะแนน จาก 100 คะแนนเต็ม อยูในระดับคุณธรรม ความโปรงใส ในการดําเนิน งานสูงมาก ซึ่งบริษัทฯ ไดรับผลคะแนนประเมินฯ เพิ่มสูงขึ้น ทุกป ทั้งนี้ เพื่อนําไปสูการปรับปรุง พั นาการทํางานของ หนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อยกระดับดัชนี ชี้วัดภาพลักษณคอรรัปชัน ( orru tion Perce tion Index PI) ของประเทศไทย ทั้งนี้ บริษั ทฯ ขอยืนยันวา บริษั ทฯ มีความมุงมั่นที่จะเปน องคกรที่ดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใส โดยไมมีขอยกเวน ตอการทุจริตในทุกรูปแบบ และพรอมใหความรวมมือสนับสนุน การทํางานของหนวยงานตรวจสอบตางๆ ในทุกกรณีจนถึง ที่สุดตอไป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 97
การควบคุมภายใน
และการบริหารจัดการ ความเสี่ยง
การ บ ุมภาย น ะการบริหารจัดการ าม ยง
บริษั ทฯ จัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอกับการ ดําเนินธุรกิจและมีการติดตามประเมินผลอยางสมํ่าเสมอ เพือ่ ใหมนั่ ใจวาระบบทีว่ างไวสามารถดําเนินไปไดอยางเหมาะสม กับสภาพแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลงและสอดคลองกับ ระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได โดยมีโครงสรางการควบคุมภายใน ครบทั้ง 5 องคประกอบและ 1 หลักการ ตามมาตรฐาน o ittee o S onsoring rgani ation o T e Tread ay o ission S 2013 ทัง้ นี้ ผลการประเมิน การควบคุมภายใน สรุปไดดังนี้
สภาพแวดลอมของการควบคุม
1. องคกรแสดงถงความยดมั่นในคุณคาของ ความ ื่อตรง ( n egri ) และจริยธรรม
บริษัทฯ กําหนดแนวทางในเรื่องความซื่อสัตยและจริยธรรม ไวหลายระดับ เพื่อใหมีการปฏิบัติตอผูมีสวนไดสวนเสียอยาง โปรงใสเปนธรรม มีระเบียบบริษัทฯ วาดวยการบริหารงาน บุคคล และมีคูมือประมวลบรรษั ทภิบาลและจริยธรรมเปน แนวทางในการปฏิบัติหนาที่ และการตัดสินใจในเรื่องตางๆ ตลอดจนบริหารงานโดยยึดหลักบรรษั ทภิบาล ไมแสวงหา ประโยชนเพื่อตนเองหรือผูอื่น และไมมีผลประโยชนทับซอน ไมยินยอมใหเกิดการทุจริตขึ้นในงานที่ตนมีหนาที่รับผิดชอบ มีบทลงโทษที่เหมาะสมหากมีการฝาฝนขอกําหนด มีการ เผยแพร ขอกําหนดและบทลงโทษขางตนใหผูบริหารและ พนักงานรับทราบ อีกทั้งมีบรรจุอยูในหลักสูตร rientation เพื่อใหพนักงานใหมทุกคนทราบในการปฐมนิเทศดวย กรณี มีการประพ ติปฏิบัติฝาฝนหลักจริยธรรมของบริษั ทฯ ให สํานักงานตรวจการองคกรมีอาํ นาจและหนาที่ในการพิจารณา และวินิจ ัยภายในกรอบระยะเวลาที่กําหนดตามระเบียบ บริษั ทฯ วาดวยการรองเรียนเกี่ยวกับการทุจริตหรือการไม ปฏิบตั ติ ามก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับ คําสัง่ บริษัทฯ หรือ ตามประมวลบรรษัทภิบาลและจริยธรรม
2. คณะกรรมการมีความเปนอิสระจาก ายบริหาร และทาหนาที่กากับดูแล ( versig ) และพัฒนาการดาเนินการ ดานการควบคุมภายใน
กํากับดูแลกิจการที่ดี ( ood or orate overnance) ตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของกระทรวงการคลังและ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีการจัดทําบันทึกขอตกลง การประเมินผลการดําเนินงานระหวางบริษั ทฯ กับภาครัฐ ผานสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร ) ซึ่ง จะมีการกําหนดตัวชี้วัด นํ้าหนัก คาเกณฑวัด เปาหมายการ ดําเนินงานตามแผนกลยุทธประจําปของบริษั ทฯ ที่ชัดเจน ไดแก ดานผลิตภัณฑและบริการ ดานการมุงเนนลูกคา ดานการเงินและการตลาด ดานการมุงเนนบุคลากร ดาน ประสิทธิผลของกระบวนการ และดานการนําองคกร เพื่อใช ในการประเมินผลความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจขององคกร มีการติดตามผลการดําเนินงานในที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ และคณะกรรมการชุดตางๆ ที่ไดรับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ อยางสมํ่าเสมอ อาทิ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและสงเสริมกิจการเพือ่ สังคม เปนตน คณะกรรม การบริษัทฯ ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญหลากหลายสาขา อาทิ ธุรกิจการเงิน การขนสง ก หมาย ซึ่งสามารถตรวจสอบได จากประวัติกรรมการ ตลอดจนมีการกําหนดใหมีกรรมการ อิสระอยางนอย 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมดตาม ขอกําหนดของ กลต และ สคร โดยในบางขณะมีกรรมการ อิสระถึง 50 ของกรรมการทั้งหมด และไดมีการตรวจสอบ กอนการแตงตั้งวาเปนผูมีความเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่ กรรมการอิสระ อนึ่ง ตามที่คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ มีมติ ใหชะลอการประเมินฯ ในสวนของกระบวนการตามระบบ ประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (S PA) และใหเนนการประเมิน ในหมวดผลลัพธ เพื่อสะทอนผลลัพธของการดําเนินการตาม แผนการแกไขปญหาองคกรของรัฐวิสาหกิจในกลุมฟนฟู แหง ซึ่งบริษัทฯ เปนหนึ่งในรัฐวิสาหกิจกลุมฟนฟู ดังนั้น การประเมินผลกระบวนการ ระบบของรัฐวิสาหกิจ หมวด 1-6 ของบริษัทฯ จึงไมไดนํามาประเมินผลในปนี้
3. ายบริหารไดจดั ใหมโี ครงสรางสายการ รายงาน การกาหนดอานาจในการสัง่ การ บริษัทฯ กําหนดบทบาทหนาทีข่ องคณะกรรมการบริษัทฯ และ และความรับผิด อบทีเ่ หมาะสม เพือ่ ให ฝายบริหารไวในคูมือกรรมการ รวมถึง Tab e o Aut ority องคกรบรรลุวตั ถุประสงค ภายใตการกากับ โดยอางอิงจาก พระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจํากัด พ ศ ดูแล (oversig ) ของคณะกรรมการ 2535 บทบัญญัติที่เกี่ยวของในประมวลก หมายแพงและ พาณิชย พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ ศ 2535 ขอบังคับและประกาศตางๆ ที่เกี่ยวของกับคณะ กรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย รวมถึง ขอบังคับและนโยบายของบริษัทฯ และเพื่อใหบริษัทฯ มีการ
คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมีมติอนุมัติการปรับปรุงโครงสราง องคกรที่เหมาะสมทั้งทางธุรกิจและก หมาย โดยมีการจัด สายงาน หนวยงานในการบังคับบัญชา อํานาจหนาทีแ่ ละความ รับผิดชอบตามที่กําหนดในเอกสาร Function escri tion และ ob escri tion มีการแบงแยกหนาที่ที่สําคัญระหวาง บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 99
การประกอบธุรกิจการบินและหนวยธุรกิจอยางชัดเจนเพื่อให องคกรบรรลุวตั ถุประสงค นอกจากนี้ ยังมีฝา ยความปลอดภัย ความมั่นคง และมาตรฐานการบิน มีหนาที่ ในการวางแผน กําหนดนโยบายและบริหารจัดการในระดับ or orate เพื่อ ใหบริษัทฯ มีมาตรฐานความปลอดภัยดานการบิน มีกองกํากับ การปฏิบัติตามก เกณฑ ทําหนาที่เผยแพร ประชาสัมพันธ และเปนศูนยกลางในการเก็บรวบรวมขอมูลดาน o iance เพื่ อใช เ ป น ระบบสอบทานการปฏิ บั ติ ง านด า นต า งๆ ให สอดคลองและเปนไปตามก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับ และ มาตรฐานสากล ทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจการบินและธุรกิจดานอืน่ ๆ มีสาํ นักงานการตรวจการองคกร ทําหนาทีร่ บั ขอรองเรียนและ ดําเนินการเกีย่ วกับเรือ่ งการทุจริตและประพ ติมชิ อบ รวมถึง มีสํานักงานการตรวจสอบภายใน ซึ่งมีสายการบังคับบัญชา ขึ้นตรงตอคณะกรรมการบริษั ทฯ เพื่อใหผูตรวจสอบภายใน สามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางเปนอิสระและเที่ยงธรรม
. องคกรแสดงถงความมุง มัน่ ในการจูงใจ พัฒนาและรักษาบุคลากรทีม่ คี วามรู ความสามารถ
บริษัทฯ มีกระบวนการ วิธีการในการสรรหาบุคลากรที่เปน ไปตามขอกําหนดใน พ ร บ คุณสมบัติมาตรฐานสําหรับ กรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ ศ 251 และระเบียบ บริษัทฯ วาดวยการบริหารงานบุคคล โดยมีการกําหนดเกณฑ คุณสมบัติในการสรรหาเพื่อใหไดบุคลากรที่มีความรู ความ สามารถตรงตามตําแหนงงาน รวมทั้งมีกระบวนการ วิธีการ ในการวัดและประเมินผลบุคลากรประจําป มีการกําหนด มาตรฐานตัวชี้วัดกับเปาหมายและเกณฑวัดผล ที่เชื่อมโยง สู ก ารจ า ยค า ตอบแทนที่ เ ป น ธรรม มี ก ารจ า ยเงิ น พิ เ ศษ (Incentive) เพือ่ ใหเปนมาตรฐานเดียวกันทัง้ องคกร ซึง่ จะสง ผลตอขวัญและกําลังใจใหกับพนักงานตอไป ในป 2559 บริษัทฯ ไดปรับเปลีย่ นพันธกิจดานพนักงานใหเปน องคกรแหงการเรียนรูที่สรางความแข็งแกรงใหกับพนักงาน 100 รายงานประจําป 2559
เพื่อใหทํางานไดอยางเต็มศักยภาพ ตระหนักถึงการใหความ สําคัญแกลูกคา เสริมสรางขีดความสามารถ ทักษะ และ ความรับผิดชอบ ตลอดจนเพิ่มพูนความผูกพันตอองคกร รวมถึงปรับเปลี่ยนคุณคาหลัก ( ore a ue) ซึ่งถือเปนหลัก ชี้นําขององคกร รวมถึงพ ติกรรมพนักงานใหปฏิบัติตาม และเปนตัวสนับสนุนการตัดสินใจตางๆ ทีม่ ผี ลตอการดําเนินงาน โดยพนักงานทุกคนตองเขาใจ ยึดถือ และปฏิบัติ เพื่อให ทุกภาคสวนขององคกร มุงหนาไปในทิศทางเดียวกัน และ สามารถบรรลุวิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายขององคกร อีกดวย มีการนําวิธกี าร Forced istribution urve Forced - Ranking Mode มาใชในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานทุกระดับเพื่อใหผลการดําเนินงานสอดคลองกับ ผลประกอบการของบริษัทฯ
5. องคกรกาหนดใหบคุ ลากรมีหนาทีแ่ ละ ความรับผิด อบในการควบคุมภายใน เพือ่ ใหบรรลุตามวัตถุประสงคขององคกร
เพือ่ ใหมนั่ ใจไดวา บริษัทฯ สามารถบรรลุตามวัตถุประสงคของ องคกร จึงกําหนดใหบุคลากรมีหนาที่ และความรับผิดชอบ ในการควบคุมภายใน โดยจัดใหมีนโยบายควบคุมภายใน ซึ่งเปนกระบวนการสื่อสารเชิงบังคับ กําหนดใหผูบริหารและ พนักงานใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานใหไดตามเปาหมาย โดยผานกระบวนการทํางานที่ ไดจัดวางไวอยางเหมาะสม และกําหนดตัวชี้วัด ( PI) ซึ่งถายทอดเปาหมายของแตละ สายงานไปยังพนักงานตามลําดับชัน้ ในขณะเดียวกัน บริษัทฯ พยายามรักษาสมดุลโดยไมสรางแรงกดดันใหกับพนักงาน มีการสรางแรงจูงใจดวยการเชื่อมโยงผลการประเมินกับ การพิจารณาความดีความชอบเพื่อขึ้นเงินเดือนประจําป และ การใหเงินเพิ่มพิเศษ (Incentive) เพื่อเปนขวัญและกําลังใจ ในการปฏิบัติงานของพนักงาน
การประเมินความเสี่ยง
6. องคกรกาหนดวัตถุประสงคไวอยาง ดั เจน เพียงพอ เพือ่ ใหสามารถระบุและประเมิน ความเสีย่ งตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการบรรลุ วัตถุประสงคขององคกร
บริษัทฯ ไดกาํ หนดวัตถุประสงคในการดําเนินงาน โดยมุง เนน ความปลอดภัย และการใหบริการที่ดีเลิศแกลูกคาภายใต วิสัยทัศน “First oice arrier it Touc es o THAI” ซึ่งเนนการใหบริการแกผูโดยสาร ลูกคาอยางดีเลิศดวย เสนหความเปนไทยที่ลูกคาเลือกเปนอันดับแรก และดาน ความปลอดภัยจะตองเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐาน การบินสากล
การ บ ุมภาย น ะการบริหารจัดการ าม ยง
ทั้งนี้ ตามที่บริษั ทฯ อยูในระหวางการดําเนินการตามแผน ปฏิรูปฯ ซึ่งมีเปาหมายหลักคือการเปนองคกรแหงโอกาส เปนความภาคภูมิใจและสงางามในฐานะสายการบินแหงชาติ และเพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาว หลังจากผานขั้นตอนแรก คือ Sto B eeding แลว ป 2559 บริษัทฯ ไดเขาสูข นั้ ตอนที่ 2 ของการปฏิรปู เพือ่ สรางความแข็งแกรง (Strengt Bui ding) โดย 1 ใน 4 แผนงานหลัก คือ “การสรางความเปนเลิศใน การบริการลูกคา” บริษัทฯ มีแผนงานบูรณาการการบริการใน ทุกจุดสัมผัส สูความเปนเลิศอยางครบวงจร (Service Ring I rove ent) โดยนําระบบ IT มาใชเชือ่ มตอสงขอมูลตางๆ บน P at or เดียวกันผานอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ไปยังทุก จุดบริการ ซึ่งเปนการบูรณาการงานบริการ สูความเปนเลิศ ในทุกจุดสัมผัส นับตัง้ แตเริม่ เดินทางไปจนสิน้ สุดกระบวนการ ดูแลผูโดยสารอยางครบวงจร นอกจากเปนการเตรียมพรอม ที่จะกาวเขาสูขั้นตอนที่ 3 ของการปฏิรูปเพื่อการเติบโตอยาง ยั่งยืน (Sustainab e ro t ) ในป 2560 ซึ่งเปนยุทธศาสตร สําคัญที่ทําใหการบินไทยแขงขันในระดับพรีเมียมได นอกจากนี้ บริษั ทฯ ไดกําหนดระดับความเสี่ยงที่องคกร ยอมรับได (Risk A etite) เพื่อใชเปนกรอบในการกําหนด กลยุทธของบริษัทฯ ใหเหมาะสม สามารถบรรลุวัตถุประสงค ในการดําเนินงานของบริษัทฯ ได
. องคกรระบุและวิเคราะหความเสีย่ ง ทุกประเภททีอ่ าจกระทบตอการบรรลุวตั ถุ ประสงคไวอยางครอบคลุมทัว่ ทังองคกร
บริษัทฯ โดยฝายบริหารความเสีย่ งรวมกับฝายบริหาร ไดมกี าร วิเคราะหปจจัยเสี่ยงในดานตางๆ ทั้งจากปจจัยภายนอก เชน ภาวการณแขงขันในธุรกิจการบิน เศรษฐกิจและการเมืองทั้ง ของโลกและภูมิภาค การกอการราย ภัยพิบัติและโรคระบาด และจากปจจัยภายใน เชน ประสิทธิภาพของกระบวนการ ทํางานและการบริหารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยได ระบุความเสี่ยงในดานตางๆ ไดแก ดานกลยุทธ ดานการ ดําเนินงาน ดานการเงิน และดานมาตรฐานและก ระเบียบ รวมถึงสายงานตางๆ ไดมีการบริหารความเสี่ยงในหนวยงาน ตามคูมือบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ และมีการจัดทําดัชนี ชีว้ ดั ความเสีย่ งทีส่ าํ คัญ ( ey Risk Indicator RI ) หากระดับ คะแนนของความเสี่ยงเขาสู Trigger และ T res o d จะมี การทบทวนมาตรการการควบคุม และจัดทําแผนงานรองรับ นอกจากนี้ ยังระบุความเสี่ยงที่อาจสงผลกระทบใหโครงการ ตางๆ ในแผนปฏิรปู ไมสาํ เร็จตามแผน โดยมีมาตรการควบคุม และกํากับดูแลอยางใกลชิด ทั้งนี้ การบริหารความเสี่ยงของ บริษัทฯ อยูภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ซึ่งไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ
8. องคกรไดพจิ ารณาถงโอกาสทีจ่ ะเกิด การทุจริต ในการประเมินความเสีย่ งทีจ่ ะ บรรลุวตั ถุประสงคขององคกร
บริษัทฯ มีนโยบายการตอตานการทุจริตและประพ ติมิชอบ เพื่อใหเกิดความโปรงใส และเปนธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต ในการปฏิบัติงาน มีการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส ในการดํ า เนิ น งานของหน ว ยงานภาครั ฐ (Integrity Trans arency Assess ent ITA) เปนประจําทุกป ตาม บัน ทึกขอตกลงความรวมมือ ซึ่งเปนการรวมกัน 3 ฝาย ระหวาง สํานักงาน ป ป ช สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ (สคร ) และรัฐวิสาหกิจ 55 แหง เพื่อรวมกัน ขั บ เคลื่ อ นแผนยุ ท ธศาสตร ช าติ ว า ด ว ยการป อ งกั น และ ปราบปรามการทุจริตใหเปนรูปธรรม โดยในป 255 บริษัทฯ ไดผลคะแนนประเมินเ ลี่ยรวมรอยละ 9 30 จัดอยูในระดับ มีคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานสูง นอกจากนี้ สํานักงานตรวจการองคกรรวมกับฝายฝกอบรมบุคลากร ไดจดั บรรยายรณรงคปองกันการทุจริตและประพ ติมิชอบใหกับ พนักงานในหนวยงานตางๆ เพื่อสงเสริมและปลูกจิตสํานึก ใหพนักงานตระหนักและพึงระวังในการปฏิบัติที่เปนการขัด ตอก หมาย ก ขอบังคับ และระเบียบบริษัทฯ ซึ่งเปนการ กระทําผิดจากการปฏิบัติงานโดยรูเทาไมถึงการณ จัดทํา Bu etin ใหความรูเรื่องการปองกันการทุจริตและประพ ติมิ ชอบทุกเดือน มีเครือขาย “T รวมพลังปองกันภัยทุจริต” โดย มีพนักงานเขารวมเปนสมาชิกและมีสวนรวมในการเฝาระวัง สอดสองดูแลการกระทําทุจริตและประพ ติมชิ อบ อันจะนํามา ซึ่งประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ ในการสรางบุคคลตนแบบที่มี ความซื่อสัตยสุจริตในการปฏิบัติงานอยางยั่งยืนตอไป
9. องคกรสามารถระบุและประเมิน ความเปลีย่ นแปลงทีอ่ าจมีผลกระทบตอ ระบบการควบคุมภายใน
บริษั ทฯ ไดนําปจจัยตางๆ ทั้งภายในและภายนอกบริษั ทฯ ที่มีผลกระทบตอการดําเนินงาน มาประเมินและวิเคราะห ความเปลี่ยนแปลง เพื่อระบุเปนความเสี่ยงระดับองคกรและ ระดับฝาย โดยปจจัยที่นํามาพิจารณา อาทิ การขยายตัว ของสายการบินตนทุนตํ่า การกอการราย ภัยพิบัติและโรค ระบาด การเปลี่ยนแปลงดานก หมายหรือระเบียบขอบังคับ ตางๆ เปนตน โดยมีการติดตามความคืบหนาในการบริหาร ความเสี่ยงอยางสมํ่าเสมอ รวมถึงไดประสานกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของในการจัดทําแผนเพื่อควบคุมความเสี่ยงใหอยู ใน ระดับที่ยอมรับได
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 101
จัดหาทีม่ วี งเงินเกินกวา 100 000 บาท ตองจัดทําและประกาศ ราคากลางกอนการจัดหา ทัง้ นี้ บริษัทฯ มีนโยบายการตอตาน การทุจริตและประพ ติมชิ อบ มีการรณรงคปอ งกันการทุจริต การใหความรูโดยสื่อสารใหพนักงานตระหนักในเรื่องการ ทุจริตฯ อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ยังมีการระบุกิจกรรมและ กรอบเวลาในการดําเนินการควบคุมความเสี่ยง โดยคํานึงถึง สภาพแวดลอม ขอบเขตการดําเนินงาน ปจจัยเกี่ยวของอื่นๆ รวมทั้งมีการจัดทํา ทบทวน ปรับปรุงระเบียบ วิธีปฏิบัติตางๆ เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นใหอยูในระดับที่ยอมรับได
กิจกรรมการควบคุม
10. องคกรมีมาตรการควบคุมที่ ว ยลด ความเสีย่ งทีจ่ ะไมบรรลุวตั ถุประสงคของ องคกรใหอยูใ นระดับทีย่ อมรับได
บริษั ทฯ มีมาตรการควบคุมที่ชวยลดความเสี่ยงที่จะทําให องคกรไมบรรลุวตั ถุประสงค โดยมีการกําหนดนโยบาย จัดทํา คูม อื การปฏิบตั งิ าน และระเบียบปฏิบตั ติ า งๆ สําหรับกิจกรรม ที่สําคัญของบริษั ทฯ เชน ระเบียบบริษั ทฯ วาดวยอํานาจ อนุมัติทางการเงิน ระเบียบบริษัทฯ วาดวยการจัดซื้อ จัดจาง เปนตน และจัดทํามาตรการเพื่อควบคุมความเสี่ยงของแตละ หนวยงาน โดยพิจารณาจากความซับซอนของงาน และ ลักษณะงาน อาทิ การควบคุมเชิงปองกัน ลดความเสี่ยง (Reduction) ในดานสารสนเทศ โดยการพั นาระบบ SI M (Security Incident and vent Manage ent) และจัดตั้ง S (Security erations enter) เพื่อใชตรวจสอบและ เฝาระวัง รับมือกับเหตุการณดานความปลอดภัยจากการ คุกคามดาน yber ดานกระบวนการจัดซื้อจัดจาง มีการ ปรับปรุงมาอยางตอเนื่องโดยบริษั ทฯ ไดปรับปรุงระเบียบ บริษัทฯ วาดวยการพัสดุ เมือ่ ป พ ศ 2555 รวมทัง้ มีการจัดตัง้ คณะกรรมการและคณะทํางานยอยตางๆ ทีแ่ บงแยกหนาทีก่ นั โดยการออกเปนคําสั่งบริษั ทฯ เชน คณะกรรมการและ คณะทํางาน เกี่ยวกับการจัดหาเครื่องบิน มีการแตงตั้งเปน คณะกรรมการและคณะทํางานยอยตางๆ คณะ เปนตน นอกจากนี้ ระเบียบบริษัทฯ วาดวยการพัสดุ พ ศ 2555 ยัง กําหนดใหพัสดุท่ีมีวงเงินตั้งแต 50 ลานบาทขึ้นไปใหแจง สํานักงานการตรวจสอบภายในสงผูแ ทนเขารวมสังเกตการณ ทุกครั้ง รวมถึงกําหนดใหการจัดพัสดุที่มีมูลคาเกินกวา 100 ลานบาท ใหผูที่ทําสัญญากับบริษั ทฯ จะตองเปดเผยคาใช จายที่จายใหกับบุคคลอื่น อันเกี่ยวเนื่องกับตัวแทนจําหนาย คาประสานงาน ตลอดจนคาใชจา ยทีจ่ า ยใหบคุ คลอืน่ ทีม่ ารวม ในการดําเนินการตามสัญญาและการรับชวงงานตามสัญญา (Sub ontract) ใหบริษัทฯ ทราบ รวมทั้งไดกําหนดใหการ 102 รายงานประจําป 2559
11. องคกรเลือกและพัฒนากิจกรรมการ ควบคุมทัว่ ไปดวยระบบเทคโนโลยี เพือ่ ว ย สนับสนุนการบรรลุวตั ถุประสงค
ในป 2559 บริษั ทฯ ไดนําระบบเทคโนโลยีมาใชเพื่อชวย สนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงค อาทิ ระบบ et ork Manage ent Syste ( MS) ระบบ Revenue Manage ent Syste (RMS) ระบบ Auto atic Fare Benc arking ระบบ usto er Re ations i Manage ent ( RM) ระบบ e Wor d ass Web Mobi e P at or รวมถึงการบูรณาการระบบ IT เพื่อเชื่อม ตอแตละจุดบริการใหอยูใน P at or เดียวกันในแผนงาน Service Ring I rove ent เพื่อใหงานบริการในทุก จุดสัมผัสสูค วามเปนเลิศอยางครบวงจร โดยใช S art one เปนเครื่องมือหลักในการสงขอมูลไปยังหนวยงานรับผิดชอบ เพื่อแกไขปญหาที่ผูโดยสารไมไดรับความสะดวกไดอยาง รวดเร็ว ทัง้ นี้ บริษัทฯ โดยฝายงานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการ จัดทําแผนแมบท IT เพื่อจัดลําดับความสําคัญของการลงทุน เพื่อพั นาระบบสารสนเทศของบริษั ทฯ โดยมีการทบทวน ทุกปเพื่อใหสอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกับกลยุทธ บริษั ทฯ มีการจัดทําสถาปตยกรรมโครงสรางพื้นฐานดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ และนโยบายมาตรการการรักษาความ มัน่ คงปลอดภัยดานสารสนเทศ (Security Po icy Standard) โดยอางอิงกรอบมาตรฐาน IS 2 001 และกําหนดใหทุก หนวยงานตองถือปฏิบัติ โดยออกเปนคําสั่งบริษั ทฯ เพื่อใช เปนกรอบในการควบคุมโครงสรางพื้นฐานระบบเทคโนโลยี สารสนเทศของบริษั ทฯ ใหเปนมาตรฐาน งายตอการปรับ เปลี่ยนและบํารุงรักษา และเกิดความมั่นคงปลอดภัย รวมถึง ไดกําหนดใหมีการควบคุมกระบวนการไดมา การพั นา และบํ า รุ ง รั ก ษาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศโดยจั ด ทํ า เปนคูมือบริหารจัดการโครงการ (Pro ect Manage ent Handbook)
การ บ ุมภาย น ะการบริหารจัดการ าม ยง
12. องคกรจัดใหมกี จิ กรรมการควบคุมผาน ทางนโยบาย ง่ ไดกาหนดสิง่ ทีค่ าดหวังและ ขันตอนการปฏิบตั เิ พือ่ ใหนโยบายทีก่ าหนด ไวนนสามารถนาไปสู ั ก ารปฏิบตั ไิ ด
บริษัทฯ ไดนาํ ก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับของหนวยงาน องคกรภายนอกที่เกี่ยวของกับธุรกิจการบิน ทั้งของภาครัฐ และองคกรตางๆ ทั้งในและตางประเทศ มาประมวลและ จัดทําเปนนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ และคูมือการปฏิบัติงาน ทั้งที่เปนลายลักษณอักษรและที่เปน ectronic Fi e และ เพื่อใหนโยบาย ระเบียบปฏิบัติและคูมือตางๆ สามารถนําไป สูการปฏิบัติได บริษัทฯ จึงไดกําหนดใหผูบริหารมีหนาที่และ ความรับผิดชอบ ในการนํานโยบายและแผนงานดานตางๆ ไปสูการปฏิบัติ โดยบรรจุไวในแผนงานของฝาย คํารับรอง การปฏิบัติหนาที่ ขอตกลงการใหบริการ และมติการประชุม โดยมีการสัง่ การและมอบหมายการปฏิบตั ติ ามสายการบังคับ บัญชา โดยมีบุคลากรซึ่งไดมีการกําหนดหนาที่และความรับ ผิดชอบไวใน ob escri tion อยางเหมาะสม มีการกําหนด กรอบเวลาที่ชัดเจนและมีหัวหนางานกํากับดูแล ติดตามผล อยางใกลชดิ ทัง้ จากการประชุมและเอกสาร หากพบขอผิดพลาด จะทํ า การแก ไ ขในทั น ที เ พื่ อให ง านสํ า เร็ จ ตามเป า หมาย นอกจากนี้ ผูบริหาร หัวหนางาน ไดติดตามและกํากับดูแล การปฏิบัติงานของพนักงานใหเปนไปตามก ระเบียบ และ คําสั่งตางๆ รวมถึงการทบทวนและปรับปรุงแกไขนโยบาย และระเบียบปฏิบัติตางๆ ใหเหมาะสมกับสถานการณ ทั้งนี้ เปนไปตามนโยบายการกํากับดูแลการปฏิบัติตามก หมาย และก ระเบียบของบริษัทฯ
สารสนเทศและการสื่อสาร
13. องคกรมีขอ มูลทีเ่ กีย่ วของและมีคณ ุ ภาพ เพือ่ สนับสนุนใหการควบคุมภายใน สามารถดาเนินไปไดตามทีก่ าหนดไว
บริษั ทฯ มีการนําขอมูลที่ตองการใชในการดําเนินงาน โดย พิจารณาทั้งขอมูลจากภายในและภายนอก ไดแก ขอมูล ดานก หมาย ก ระเบียบ ขอกําหนด ขอมูลการปฏิบัติงาน ขอมูลที่เกี่ยวของกับธุรกิจการบิน โดยนํามาศึกษา วิเคราะห พิจารณากลั่นกรอง และเปรียบเทียบอยางเปนระบบ มีระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เพือ่ รองรับการจัดเก็บ คนหาขอมูล และรองรับการปฏิบัติงาน มีการพั นาระบบ IT ใหทันตอ การเปลี่ยนแปลงของขอมูล และเทคโนโลยี อาทิ การพั นา ระบบ ata Ware ouse ในการเก็บขอมูลลูกคาเพื่อนํา ไปพั นาและปรับปรุงคุณ ภาพผลิตภัณฑและการบริการ การนําระบบ SAP- WIS SAP-H M และ SAP-B มาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ชวยใหผูบริหาร มีขอมูลในการพิจารณาตนทุน และความคุมคาไดเปนอยาง
ดี มีการศึกษา วิเคราะห ประเมินปจจัยแวดลอม โดยจัดทํา Feasibi ity Study เพือ่ พิจารณาความคุม คาในการดําเนินงาน หรือการลงทุนผานทางคณะกรรมการหรือคณะทํางานชุด ตางๆ เพื่อบริหารโครงการลงทุนใหเปนไปตามเปาหมาย และไดประโยชนสูงสุด นอกจากนี้ ยังมีศูนยขอมูลขาวสาร ทําหนาที่กํากับ ดูแล บริหารจัดการงานดานขอมูลขาวสาร ของบริษัทฯ ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติฯ ขอมูลขาวสาร ของราชการ พ ศ 2540 อยางเครงครัด
1 . องคกรสือ่ สารขอมูลภายในองคกร ง่ รวมถงวัตถุประสงคและความรับผิด อบ ตอการควบคุมภายใน ทีจ่ าเปนตอการ สนับสนุนใหการควบคุมภายในดาเนินไปได ตามทีว่ างไว
บริษัทฯ มีระบบสารสนเทศ และกระบวนการสื่อสารขอมูล ภายในอยางเพียงพอ และมีประสิทธิภาพ มีชองทางในการ สื่อสารทั้งภายในฝาย และระหวางฝาย เพื่อใหพนักงาน และ ผูบ ริหารไดรบั ทราบ และสามารถเขาถึงขอมูลในการปฏิบตั งิ าน ไดอยางรวดเร็วผานชองทางตางๆ เชน การประชุม เอกสาร e- ai Intranet ของบริษัทฯ ประกาศเสียงตามสาย ตลอดจน Mobi e A ication และเพื่อใหการสื่อสารภายในองคกรมี ประสิทธิภาพทันตอเหตุการณ และเขาถึงพนักงานทุกกลุม อั น เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ยิ่ ง ในการรั ก ษาความมี เ อกภาพและ เชื่อมพนักงานทั้งองคกรเขาไวดวยกัน บริษัทฯ ไดจัดทําแบบ สอบถามฯ เพือ่ ใหพนักงานเสนอความคิดเห็นและขอเสนอแนะ เพื่อนําผลที่ไดมาวิเคราะหปรับปรุงและพั นาการปฏิบัติงาน ดานสื่อสารภายในองคกรใหเกิดประโยชนสูงสุดแกพนักงาน และบริษัทฯ ตอไป นอกจากนี้ ยังมีคูมืองานสารบรรณและ ขอมูลขาวสารลับในการกําหนดระดับชั้นความลับของขอมูล ในบริษั ทฯ รวมถึงการจัดทํารายงานขอมูลที่สําคัญถึงคณะ กรรมการบริษัทฯ อยางสมํ่าเสมอ เชน รายงานทางการเงิน การเปดเผยขอมูลประกอบงบการเงิน นโยบายการบัญชีและ ประมาณการที่สําคัญ รวมทั้งขอสังเกตจากการตรวจสอบ และสอบทานงบการเงินของผูสอบบัญชี รายงานสภาพคลอง ทางการเงิ น และสถานะหนี้ ข องบริ ษั ท ฯ รายงานผลการ ดําเนินงานของบริษัทรวมและบริษัทยอย เปนตน นอกจาก ที่กลาวมาแลว บริษั ทฯ ไดจัดใหมีชองทางสําหรับพนักงาน สามารถแจ ง ข อ มู ล หรื อ เบาะแสเกี่ ย วกั บ การทุ จ ริ ต และ ประพ ติมิชอบภายในบริษัทฯ ตามนโยบาย W ist e B o er และตามระเบียบบริษั ทฯ วาดวยการรองเรียนเกี่ยวกับการ ทุจริตหรือการไมปฏิบัติตามก หมาย ก ระเบียบ ขอบังคับ คํ า สั่ ง บริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง คู มื อ ประมวลบรรษั ท ภิ บ าลและ จริยธรรม
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 103
15. องคกรไดสอื่ สารกับหนวยงานภายนอก เกีย่ วกับประเดนทีอ่ าจมีผลกระทบตอการ ควบคุมภายใน
บริษั ทฯ ไดจัดทํารายงานประจําป เผยแพร ใหแกผูถือหุน และเผยแพรทางเว็บไซตของบริษั ทฯ ฝายภาพลักษณและ สือ่ สารองคกร ไดประชาสัมพันธขา วสารของบริษัทฯ ผานทาง สื่อตางๆ รวมถึง Mobi e A ication ตลอดจนจัดใหมี ชองทางในการรองเรียน สือ่ สารขอมูลจากลูกคา สายการบิน ลูกคา และองคกร หนวยงานภายนอก เชน e art ent o ivi Aviation และ หรือ Aut ority ตางๆ ของแตละประเทศ ทีเ่ กีย่ วของกับการปฏิบตั กิ ารบินโดยผานทางจดหมาย e- ai หรือ แบบฟอรม usto er Re ation ถึงผูบริหารระดับสูง ของบริษัทฯ นอกจากนี้ มีการจัดทําแบบสํารวจความพึงพอใจ ของลูกคา เพื่อรับฟงปญหาและขอรองเรียนที่เกิดจากการให บริการ รวมถึงการรับขอเสนอแนะเพื่อพั นาปรับปรุงการ ใหบริการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตลอดจนมีการติดตอ สือ่ สารเพือ่ รับนโยบายจากหนวยราชการ และกระทรวงตางๆ รวมถึงการจัดทํารายงานเพือ่ เสนอตอหนวยราชการทีเ่ กีย่ วของ นอกจากนี้ ยังเปดโอกาสใหบคุ คลภายนอกสามารถแจงขอมูล หรือเบาะแสเกี่ยวกับการ อ ลหรือทุจริตมายังกรรมการ ผูอํานวยการใหญโดยตรง โดยผานทางเอกสาร หรือ e- ai
การติดตามประเมินผล
16. องคกรติดตามและประเมินผลการ ควบคุมภายใน เพื่อใหมั่นใจไดวาการ ควบคุมภายในยังดาเนินไปอยางครบถวน เหมาะสม
บริษั ทฯ มีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน โดย ผูบริหารทุกระดับรับทราบ และตระหนักถึงความรับผิดชอบ ที่มีตอการติดตามผลการปฏิบัติงานใหเปนไปตามแผนงาน และเปาหมายที่กําหนด เชน จัดใหมีการประชุมภายในฝาย เพื่อติดตามผลการปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายตามดัชนี ชี้วัดผลการปฏิบัติงาน ( PI) มีการจัดทํารายงานผลการ ปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับเปาหมายตามแผนงาน หรืองบ ประมาณ เสนอตอผูบริหารเพื่อพิจารณาปรับปรุงแกไขให เปนไปตามเปาหมายอยางสมํ่าเสมอ ทุกฝายมีการประเมิน การควบคุมภายใน และจัดทํารายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน เปนประจําทุกป มีการสอบทานและประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน ของหนวยงานตางๆ โดยผูตรวจสอบภายในจากสํานักงาน การตรวจสอบภายในของบริษั ทฯ ตามแผนการตรวจสอบ ประจําป อีกทั้ง ยังมีฝายความปลอดภัย ความมั่นคง และ มาตรฐานการบิน ทําการตรวจสอบดานปฏิบัติการ เพื่อให มัน่ ใจวาทุกหนวยงานมีการปฏิบตั ติ ามก ระเบียบ ขอกําหนด 104 รายงานประจําป 2559
ตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้ ยังมีผตู รวจสอบจากหนวยงาน ภายนอก เชน สํานักงานตรวจเงินแผนดิน (สตง ) สํานักงาน การบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท ) IATA erationa Sa ety Audit (I SA) ASA FAA และองคการมาตรฐาน สากล (IS ) ตางๆ เปนตน ซึ่งผูบริหารไดใหความสําคัญ และมีการพิจารณาเพื่อปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของ ผูตรวจสอบดังกลาว ในป 2559 หนวยงานกํากับดูแลดานการบินพลเรือนของ ประเทศตางๆ ทั่วโลกยังคงเพิ่มความถี่ ในการตรวจสอบ มาตรฐานความปลอดภัยของสายการบินของประเทศไทย ที่ทําการบินเขาในแตละประเทศ โดยบริษั ทฯ ไดรับการ ตรวจสอบมาตรฐานดานความปลอดภัย (Ra Ins ection) ตามมาตรฐานสากล ผลการตรวจสอบไมพบขอบกพรองที่ มีนัยสําคัญ ซึ่งเปนสิ่งที่ยืนยันความมีมาตรฐานดานการบิน ของบริษัทฯ ไดเปนอยางดี
1 . องคกรประเมินและสื่อสารขอบกพรอง ของการควบคุมภายในอยางทันเวลา ตอบุคคลที่รับผิด อบ
บริษั ทฯ โดยสํานักงานการตรวจสอบภายใน ไดกําหนด แนวทางการจัดทํารายงานผลการตรวจสอบ และขอเสนอแนะ เพื่อการแกไขปรับปรุง รวมทั้งติดตามผลการดําเนินการตาม ขอเสนอแนะ นําเสนอตอผูบ ริหารหนวยรับตรวจ และผูบ ริหาร ระดับสูงที่เกี่ยวของเพื่อรับทราบและดําเนินการตามขอเสนอ แนะโดยสํานักงานการตรวจสอบภายใน มีการติดตามความ คืบหนาการดําเนินการตามขอเสนอแนะในรายงานผลการ ตรวจสอบทุกประเด็นจนกวาจะมีการดําเนินการแลวเสร็จ ครบถวน รวมถึงสรุปผลความคืบหนา นําเสนอตอกรรมการ ผูอํานวยการใหญและคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส เพื่ อให มั่ น ใจว า มี ก ารนํ า ข อ เสนอแนะไปปฏิ บั ติ อ ย า งมี ประสิทธิผล นอกจากนี้ ในกรณีที่พบหรือมีขอสงสัยวามี รายการหรือการกระทําที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอผล การดําเนินงานของบริษัทฯ อยางรายแรง เชน การขัดแยงทาง ผลประโยชน การทุจริต มีสงิ่ ผิดปกติหรือความบกพรองทีส่ าํ คัญ ในระบบการควบคุมภายใน หรือมีการฝาฝนก ระเบียบ เปนตน หัวหนาสํานักงานการตรวจสอบภายในจะรายงานตอกรรมการ ผูอํานวยการใหญ และคณะกรรมการตรวจสอบทันที ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษั ทฯ เมื่อวัน ที่ 2 กุมภาพันธ พ ศ 2560 โดยมีกรรมการอิสระทั้ง ทาน ซึ่ง รวมกรรมการตรวจสอบจํานวน 3 ทานเขารวมประชุมดวย สรุปไดวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอ กับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ
การ บ ุมภาย น ะการบริหารจัดการ าม ยง
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 105
106 รายงานประจําป 2559
กระทรวงการคลัง
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
3 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบินแกกระทรวง การคลัง - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
2 บริษัทฯ มีรายการเชาที่ดิน จากที่ราชพัสดุ
เงินกูยืมระยะสั้น ซึ่งยังคงมียอดคงคาง และดอกเบี้ยจาย ดังนี้ - เงินกูย มื ระยะสัน้ คงคาง - ดอกเบีย้ จาย
0 00 0 00
5 12
5 400 3 52 39
0 16 0 00
5 11
3 625 3 1 62
15 25 20 351 5
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
กระทรวงการคลังเปน 1 กระทรวงการคลังกูเงินจาก ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ สถาบันการเงินตางประเทศ โดยถือหุนประมาณ ให บริษัทฯ กูต อ ประกอบดวย รอยละ 51 03 เงินกูย ืมระยะยาว ซึ่งยัง กรรมการของบริษัทฯ คงมียอดคงคางและ ไดแก นายสมชัย สัจจพงษ ดอกเบี้ยจาย ดังนี้ ดํารงตําแหนงปลัดกระทรวง - เงินกูย มื ระยะยาวคงคาง 14 620 53 การคลัง - ดอกเบี้ยจาย 35 90
ความสัมพันธ
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
บริษัทฯ มีรายการระหวางกันที่สาคั กับผูถือหุนรายให และนิติบุคคล บริษัทที่อาจมีความขัดแยง สาหรับปสินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ดังนี
ระ า กน
รายการ
ธนาคารออมสิน
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
กระทรวงการคลัง ซึ่งเปน ผูถือหุนรายใหญของ บริษัทฯ มีอํานาจควบคุม ธนาคารออมสิน
ความสัมพันธ
0 00 000 00 223 4
3 6 0 00 94 56
3 02 01
3 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบิน ใหบริการเชา พื้นที่และบริการอื่นๆ แก ธนาคารออมสิน - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
2 95 1 6
0 00
0 00 5 52
9 1
0 00 0 00
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
2 บริษัทฯ ทําสัญญาวงเงินกู ประเภทเงินทุนหมุนเวียน กับธนาคารออมสิน จํานวนเงินไมเกิน 000 ลานบาท และในป 2559 มีการใชวงเงิน - คาธรรมเนียมวงเงินกู - คาธรรมเนียมวงเงินกู คางจาย - ยอดเงินคงคาง - ดอกเบี้ยจาย
1 บริษัทฯ ไดกูเงินจาก ธนาคารออมสิน ประกอบดวย เงินกูยืมระยะยาว - ยอดเงินคงคาง - ดอกเบี้ยจาย
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
การกําหนดราคา เงื่อนไข อัตราดอกเบี้ย คาธรรมเนียม การใชวงเงินกูเปนไปตามปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปใน แนวทางเดียวกันกับการกําหนดใหกับบุคคลหรือกิจการอื่น ที่ไมเกี่ยวของกัน
การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
รายการระห างกัน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 107
108 รายงานประจําป 2559
0 02
0 02
1 10 0 00
3 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบินแกธนาคารเพื่อ การสงออกและนําเขา แหงประเทศไทย - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
0 05 0 00
3 60
0 00 0 00
0 00 1 1
3 50
1 2 1 50 3 59
0 00 0 00
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
2 บริษัทฯ ทําสัญญาวงเงินกู ประเภทเงินทุนหมุนเวียนกับ ธนาคารเพื่อการสงออกและ นําเขาแหงประเทศไทย จํานวนเงิน 3 000 ลานบาท - คาธรรมเนียมวงเงินกู - คาธรรมเนียมวงเงินกู คางจาย
กระทรวงการคลัง ซึ่งเปน 1 บริษัทฯ ทําสัญญาเงินกูยืม ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ระยะยาว กับธนาคารเพื่อ มีอํานาจควบคุมธนาคาร การสงออกและนําเขา เพื่อการสงออกและนําเขา แหงประเทศไทย ซึ่งยังมี แหงประเทศไทย ยอดคงคางและดอกเบี้ยจาย ดังนี้ - ยอดเงินคงคาง - ดอกเบี้ยจาย
ธนาคารเพื่อการ สงออกและนําเขา แหงประเทศไทย
บริษัทฯ ไดกูเงินระยะสั้น จากธนาคารอิสลามแหง ประเทศไทย ซึ่งยังคงมียอด คงคางและผลกําไรที่ตอง ชําระ ดังนี้ เงินกูระยะสั้น - ยอดเงินคงคาง - การชําระผลกําไร
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
กระทรวงการคลัง ซึ่งเปน ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ มีอํานาจควบคุมธนาคาร อิสลามแหงประเทศไทย
ความสัมพันธ
ธนาคารอิสลาม แหงประเทศไทย
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนดใหกับ บุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
การกําหนดราคา เงื่อนไข คาธรรมเนียมการใชวงเงินกู เปนไปตามปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับ การกําหนดใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
6 54 0 60
0 43 0 00
กรรมการของบริษัทฯ 2 บริษัทฯ ขายบริการใหเชา ไดแก นายสมชัย สัจจพงษ สํานักงาน ตู ATM คานํา้ -ไฟ ดํารงตําแหนงประธาน และ ease ine แกธนาคาร กรรมการของธนาคาร กรุงไทย จํากัด (มหาชน) กรุงไทย จํากัด (มหาชน) - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง 3 บริษัทฯ ซื้อบริการรับ-สง เงินสดของบริษัทฯ และจาย คาธรรมเนียมธนาคารให กับธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง
0 50 0 01
5 91 0 06
2 01 0 00 1 19
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
52 0 00 0 00
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
กระทรวงการคลัง ซึ่งเปน 1 บริษัทฯ ทําสัญญาวงเงินกู ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ประเภทเงินทุนหมุนเวียนกับ เปนผูค วบคุมธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงไทย จํากัด จํากัด (มหาชน) โดยผานทาง (มหาชน) จํานวนเงิน 3 000 ธนาคารแหงประเทศไทย ลานบาท และกองทุนเพื่อการฟนฟู - คาธรรมเนียมวงเงินกู และพั นาระบบสถาบัน - ยอดเงินกูคงคาง การเงิน - ดอกเบี้ยจาย
ความสัมพันธ
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
การกําหนดราคา เงื่อนไข อัตราดอกเบี้ย คาธรรมเนียม การใชวงเงินกูเปนไปตามปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปใน แนวทางเดียวกันกับการกําหนดใหกับบุคคลหรือกิจการอื่น ที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
รายการระห างกัน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 109
110 รายงานประจําป 2559
บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด
การทองเที่ยวแหง ประเทศไทย
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
4 60 0 9
2 92 05
0 65 0 00
1 05 4 13
กระทรวงการคลัง ซึ่งเปน 1 บริษัทฯ จายคา co ission ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ในการจําหนายบัตร มีอาํ นาจควบคุมการทองเทีย่ ว โดยสารของบริษัทฯ ใน อัตรารอยละ 5 แกการ แหงประเทศไทย ทองเที่ยวแหงประเทศไทย - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง 2 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบิน และใหเชา สํานักงานแกการทองเที่ยว แหงประเทศไทย - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
64 6 11
10 0 3
6 66 00
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
4 32 00
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
กระทรวงการคลังเปน 1 บริษัทฯ ซื้อบริการฝากสง ผูถือหุนรายใหญของบริษัท ไปรษณียในประเทศและ ไปรษณียไทย จํากัด ตางประเทศ และซือ้ อุปกรณ และของบริษัทฯ ไปรษณีย จากบริษัท กรรมการของบริษัทฯ ไดแก ไปรษณียไทย จํากัด นายรัฐพล ภักดีภูมิ - ยอดคาใชจา ยรวม ดํารงตําแหนงกรรมการของ - ยอดเจาหนี้คงคาง บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด 2 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบิน แกบริษัท ไปรษณียไทย จํากัด - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
ความสัมพันธ
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
กระทรวงการคลังเปน 1 บริษัทฯ ประกอบกิจการ ผูถือหุนรายใหญของบริษัท และเชาพื้นที่ในเขต ทาอากาศยานไทย จํากัด ทาอากาศยานตางๆ เพื่อใช (มหาชน) และของบริษัทฯ สําหรับจอดอากาศยาน จอดพาหนะ ขนถายสินคา เก็บอุปกรณภาคพื้นดิน เก็บตูคอนเทนเนอร ตั้งสํานักงานสายการบิน และบริการอื่นๆ จากบริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง
บริษัท ทาอากาศยาน ไทย จํากัด (มหาชน)
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
กระทรวงการคลังเปน 1 บริษัทฯ ซื้อนํ้ามันเครื่องบิน ผูถือหุนรายใหญของ บริษัท และนํ้ามันรถยนตจาก ปตท จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท จํากัด (มหาชน) และของบริษัทฯ - ยอดคาใชจายรวม ประธานกรรมการของ - ยอดเจาหนี้คงคาง บริษัทฯ ไดแก นายอารีพงศ ภูชอุม ดํารงตําแหนง 2 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร กรรมการของบริษัท ปตท เครื่องบิน และใหบริการ จํากัด (มหาชน) สอบเทียบเครื่องมือวัด (A ie ectric Tester) หมายเหตุ นายอารีพงศ ภูชอุม แกบริษัท ปตท จํากัด ลาออกจากตําแหนงกรรมการ (มหาชน) บริษัท ปตท จํากัด (มหาชน) - ยอดรายไดรวม โดยมีผลตั้งแตวันที่ - ยอดลูกหนี้คงคาง กุมภาพันธ 2559 เปนตนไป
ความสัมพันธ
บริษัท ปตท จํากัด (มหาชน)
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
642 93 156 6
63 92 5 44
49 21 5
9 161 31 16 1
9 469 94 65 3
6 903 63 20 90
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
รายการระห างกัน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 111
112 รายงานประจําป 2559
สถาบันการบินพลเรือน
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
0 06 0 00
46 3 0 00
กระทรวงการคลังซึ่งเปน 1 บริษัทฯ จัดสงนักบินบริษัทฯ ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ไปอบรมดานกิจการบิน จากสถาบันการบินพลเรือน มีอํานาจควบคุมสถาบัน - ยอดคาใชจายรวม การบินพลเรือน - ยอดเจาหนี้คงคาง 2 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบินแกสถาบัน การบินพลเรือน - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
93 9 11 16
01 0 12
55 6 0 00
9 21 29
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
2 บริษัทฯ มีรายไดจากการ ขายบัตรโดยสารเครื่องบิน และไดรับสวนแบงรายได 2 จากการเรียกเก็บคา ธรรมเนียมการใชสนามบิน (Passenger Service arges) ใหกับบริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
ความสัมพันธ
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
บริษัทฯ เปนผูถ อื หุน รายใหญ 1 บริษัทฯ ใหเงินกูยืมระยะสั้น แกบริษัท วิงสแปน ของบริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด เซอรวสิ เซส จํากัด โดยถือหุน - เงินกูยืมระยะสั้น ประมาณรอยละ 49 และ - ดอกเบีย้ รับ มีอํานาจควบคุม - ดอกเบีย้ คางรับ ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก เรืออากาศเอกกนก ทองเผือก 2 บริษัทฯ ซือ้ บริการจัดสง ดํารงตําแหนง ประธาน กรรมการ นางอุษณีย พนักงานแรงงานภายนอก แสงสิงแกว ดํารงตําแหนง เพื่อปฏิบัตงิ านในบริษัทฯ รองประธานกรรมการ จากบริษัท วิงสแปน และนางสาวปยาณี สังขทอง เซอรวิสเซส จํากัด ดํารงตําแหนงกรรมการของ - ยอดคาใชจายรวม บริษัท วิงสแปน เซอรวสิ เซส - ยอดเจาหนี้คงคาง จํากัด
บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด (บริษัทยอย)
บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เครื่องบิน และใหบริการเชา พื้นที่สํานักงานและอุปกรณ คอมพิวเตอร แกบริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสต เอเชีย จํากัด - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง - เงินมัดจําคาเชาพื้นที่
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
บริษัทฯ เปนผูถือหุน รายใหญของบริษัท ไทยอะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด โดยถือหุนประมาณ รอยละ 55 ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก นายณรงคชยั วองธนะวิโมกษ ดํารงตําแหนงประธาน กรรมการของบริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสต เอเชีย จํากัด
ความสัมพันธ
บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด (บริษัทยอย)
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
950 0 2 6
0 00 0 00 0 00
1 35 0 15 0 16
60 06 2 6 36
0 00 0 99 0 11
16 0 11 0 16
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
การกําหนดราคา เงื่อนไขและอัตราดอกเบี้ยเปนไปตาม ปกติของธุรกิจ ซึ่งเปนไปในแนวทางเดียวกันกับการกําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
รายการระห างกัน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 113
114 รายงานประจําป 2559
บริษัท ไทยไฟลท เทรนนิ่ง จํากัด (บริษัทยอย)
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
บริษัทฯ เปนผูถ อื หุน รายใหญ ของบริษัท ไทยไฟลทเทรนนิง่ จํากัด โดยถือหุน ประมาณ รอยละ 49 และมีอํานาจ ควบคุม ผูบ ริหารของบริษัทฯ ไดแก เรืออากาศเอก วีระศักดิ วิรุ หเพชร ดํารงตําแหนง ประธานกรรมการของบริษัท ไทยไฟลทเทรนนิง่ จํากัด เรืออากาศเอก กนก ทองเผือก และนายอริชยั นุม ลมุล ดํารง ตําแหนงกรรมการของบริษัท ไทยไฟลทเทรนนิง่ จํากัด หมายเหตุ เรืออากาศเอก วีระศักดิ วิรุ หเพชร ดํารง ตําแหนงประธานกรรมการ ของบริษัท ไทยไฟลทเทรนนิง่ จํากัด เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ใหบริการใชเครื่องมือ และอุปกรณในการฝกอบรม ดานการบินและใหบริการเชา พื้นที่สํานักงาน และอุปกรณ สํานักงาน แกบริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง 13 5 11
249 04
4 บริษัทฯ จายคาแรงลวงหนา ใหแกบริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด - ยอดลูกหนี้คงคาง
9 03 0 1
209 55
4 13 1 0
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
2 2 15
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
หมายเหตุ นางสาวปยาณี 3 บริษัทฯ ใหบริการเชาพื้นที่ สังขทอง ดํารงตําแหนง สํานักงานและอุปกรณ กรรมการของ บริษัท วิงสแปน สํานักงาน แกบริษัท เซอรวสิ เซส จํากัด วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด เมือ่ วันที่ 30 มีนาคม 2559 - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
ความสัมพันธ
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
บริษัทฯ เปนผูถ อื หุน รายใหญ 1 บริษัทฯ จายเงินคาหุน สามัญ ใหแก บริษัท ไทยสมายล ของบริษัท ไทยสมายล แอรเวย จํากัด รอยละ 100 แอรเวย จํากัด กรรมการของบริษัทฯ ไดแก - จํานวนเงิน นายคณิศ แสงสุพรรณ ดํารง ตําแหนงประธานกรรมการ 2 บริษัทฯ ซื้อบริการ B ock S ace จากบริษัท ของบริษัท ไทยสมายล ไทยสมายล แอรเวย จํากัด แอรเวย จํากัด - ยอดคาใชจายรวม ผูบ ริหารของบริษัทฯ ไดแก - ยอดเจาหนี้คงคาง นายจรัมพร โชติกเสถียร เรืออากาศเอก มนตรี จําเรียง และนายธีรพล โชติชนาภิบาล ดํารงตําแหนง กรรมการของบริษัท ไทยสมายล แอรเวย จํากัด
บริษัท ไทยสมายล แอรเวย จํากัด (บริษัทยอย)
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
บริษัทฯ ถือหุนผานบริษัท 1 บริษัทฯ จายคาตอบแทน วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด ( o ission) จากการ ประมาณรอยละ 49 และ จําหนายผลิตภัณฑของ มีอํานาจควบคุม บริการเอื้องหลวง แกบริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด หมายเหตุ ผูบริหารของบริษัทฯ - ยอดคาใชจายรวม คือ เรืออากาศเอก กนก - ยอดเจาหนี้คงคาง ทองเผือก ไดรบั การแตงตัง้ จาก บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส 2 บริษัทฯ ขายทัวรเอื้องหลวง จํากัด ใหไปดํารงตําแหนง ใหแกบริษัท ทัวรเอื้องหลวง ประธานกรรมการในบริษัท จํากัด ทัวรเอื้องหลวง จํากัด - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
ความสัมพันธ
บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด (บริษัทยอย)
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
143 10 1 363 65
112 49 5 015 93
0 00
49 46 0
30 01 1 16
1 000 00
0 05 0 00
0 06 0 00
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
รายการระห างกัน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 115
116 รายงานประจําป 2559
บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด (บริษัทรวม)
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชัน่ แนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด ประมาณรอยละ 40 ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก เรืออากาศเอก กนก ทองเผือก ดํารงตําแหนง ประธานกรรมการ นายนิรุ มณีพันธ และ เรืออากาศโท สมบุญ ลิ้มวั นพงศ ดํารงตําแหนง กรรมการของบริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชัน่ แนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด
ความสัมพันธ
บริษัทฯ ซื้อบริการหองพักของ บริษัท ดอนเมือง อินเตอร เนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด สําหรับผูโดยสารของ บริษัทฯ - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง
3 บริษัทฯ ใหบริการเชา เครื่องบิน นํ้ามันเครื่องบิน บริการภาคพื้นดิน ลานจอด สนามบิน คาเบี้ยประกัน เครื่องบิน บัตรผานขึ้น เครื่องบิน ฝกนักบินใช เครื่องบินจําลอง และ อาหารขึ้นเครื่องบิน - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
0 05 0 00
1 3 20 6 060 39
0 15 0 00
5 514 59 104 09
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
บริษัท บริการเชื้อเพลิง การบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (บริษัทรวม)
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
1 บริษัทฯ ซื้อบริการเติมนํ้ามัน บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท เครื่องบินจากบริษัท บริการ บริการเชื้อเพลิงการบิน เชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) จํากัด (มหาชน) ประมาณรอยละ 22 59 - ยอดคาใชจายรวม ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก เรืออากาศเอก มนตรี จําเรียง - ยอดเจาหนี้คงคาง เรืออากาศเอก วีระศักดิ วิรุ หเพชร และเรืออากาศโท 2 บริษัทฯ มีการใหบริการ สมบุญ ลิ้มวั นพงศ ดํารง ขนสงและการบริการดาน ตําแหนงกรรมการของบริษัท อาหารใหแกบริษัท บริการ บริการเชื้อเพลิงการบิน เชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) จํากัด (มหาชน) - ยอดรายไดรวม หมายเหตุ เรืออากาศเอก - ยอดลูกหนี้คงคาง วีระศักดิ วิรุ หเพชร ดํารง ตําแหนงกรรมการ ของบริษัท บริการเชือ้ เพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) เมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม 2559 และเรืออากาศโท สมบุญ ลิ้มวั นพงศ ดํารง ตําแหนงกรรมการของบริษัท บริการเชือ้ เพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 9 พ ศจิกายน 2559
หมายเหตุ เรืออากาศโท สมบุญ ลิ้มวั นพงศ ดํารงตําแหนง กรรมการของบริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559
ความสัมพันธ
310 50 36 15
0 02 0 00
3 6 12 43 45
0 02 0 00
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
รายการระห างกัน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 117
118 รายงานประจําป 2559
1 บริษัทฯ ซื้ออาหารและ บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท บริการจากบริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด ครัวการบินภูเก็ต จํากัด ประมาณรอยละ 30 - ยอดคาใชจายรวม ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก - ยอดเจาหนีค้ งคาง นางอุษณีย แสงสิงแกว ดํารงตําแหนง ประธาน กรรมการของบริษัท 2 บริษัทฯ มีรายไดจาก ครัวการบินภูเก็ต จํากัด การขายวัตถุดิบและการให บริการแกบริษัท ครัวการบิน ภูเก็ต จํากัด - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด (บริษัทรวม)
บริษัทฯ ซื้อบริการหองพักของ บริษัท โรงแรมรอยัล ออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) สําหรับผูโดยสารของบริษัทฯ - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท โรงแรมรอยัล ออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ประมาณรอยละ 24 ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก นายธีรพล โชติชนาภิบาล ดํารงตําแหนง กรรมการของ บริษัท โรงแรมรอยัล ออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)
ความสัมพันธ
บริษัท โรงแรมรอยัล ออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (บริษัทรวม)
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
19 06 0 00
1 60 0 004
01 0 02
1 12 0 02
15 99 5 05
2 22 0 003
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท 1 บริษัทฯ ชําระคาบริการ สายการบินนกแอร จํากัด อุปกรณ บริการภาคพื้นที่ (มหาชน) รอยละ 39 20 จังหวัดอุบลราชธานี และคา ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก ngineer icence ของ นายจรัมพร โชติกเสถียร บริษัทสายการบินนกแอร เรืออากาศเอก มนตรี จําเรียง จํากัด (มหาชน) - ยอดคาใชจายรวม นายธีรพล โชติชนาภิบาล - ยอดเจาหนี้คงคาง และนายณรงคชัย วองธนะวิโมกษ ดํารงตําแหนง กรรมการ ของบริษัท สายการบิน นกแอร จํากัด (มหาชน)
บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) (บริษัทรวม)
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
1 บริษัทฯ ซื้อบริการหองพัก บริษัทฯ ถือหุนในบริษัท จากบริษัท โรงแรม โรงแรมทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ จํากัด ประมาณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด สําหรับผูโดยสาร รอยละ 30 ของบริษัทฯ ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก นางอุษณีย แสงสิงแกว ดํารง - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง ตําแหนง รองประธาน กรรมการ และนางสาวปยาณี สังขทอง ดํารงตําแหนง 2 บริษัทฯมีรายไดจากการ กรรมการของบริษัท โ ษณาในแผนโ ษณาของ โรงแรมทาอากาศยาน บริษัท ทัวรเอื้องหลวง สุวรรณภูมิ จํากัด จํากัด - ยอดรายไดรวม หมายเหตุ นางสาวปยาณี สังขทอง ดํารงตําแหนง กรรมการของบริษัท โรงแรม ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2559
ความสัมพันธ
บริษัท โรงแรม ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด (บริษัทรวม)
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
0 16 0 03
0 00
0 02
0 09 0 00
23 43 0 34
14 01 0 0
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
รายการระห างกัน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 119
120 รายงานประจําป 2559
บริษัท วิทยุการบิน แหงประเทศไทย จํากัด (บริษัทรวมลงทุน)
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
1 บริษัทฯ ซื้อบริการนํารอง กระทรวงการคลังเปน ผูถือหุนรายใหญของบริษัท ( avigation) และเชา วิทยุการบินแหงประเทศไทย อุปกรณสื่อสารจากบริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด และของบริษัทฯ จํากัด บริษัทฯ ถือหุนประมาณ รอยละ 1 01 ในบริษัท วิทยุ - ยอดคาใชจายรวม การบินแหงประเทศไทย จํากัด - ยอดเจาหนี้คงคาง ผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก 2 บริษัทฯ ขายบัตรโดยสาร เรืออากาศเอก วีระศักดิ เครื่องบิน และใหบริการ วิรุ หเพชร ดํารงตําแหนง ขนสงแกบริษัท วิทยุการบิน กรรมการของบริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย แหงประเทศไทย จํากัด - ยอดรายไดรวม จํากัด - ยอดลูกหนี้คงคาง หมายเหตุ เรืออากาศเอก วีระศักดิ วิรุ หเพชร ดํารง ตําแหนงกรรมการบริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2559
2 บริษัทฯ ใหบริการเชา หมายเหตุ นายธีรพล เครื่องบินและใหบริการดาน โชติชนาภิบาล ดํารงตําแหนง ธุรกิจการบิน แกบริษัท กรรมการของบริษัท สายการบินนกแอร จํากัด สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ เมษายน (มหาชน) ทัง้ นี้ รายไดจาก การใหบริการดานธุรกิจ 2559 การบิน โดยหลักประกอบดวย คาซอมบํารุงอากาศยาน คาซอมบํารุงอุปกรณ คานํ้ามันเครื่องบิน เปนตน - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
ความสัมพันธ
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
1 16 4 132 99
16 44 0 32 11 50 0 04
195 49 3 22
1 63 95 133
12 66 40 54
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
1 033 30 52 9 460 00
บริษัทฯ ขายเครื่องบินแบบ A340-500 จํานวน 1 ลํา และใหบริการซอมบํารุงเครื่อง บิน เครื่องยนต อะไหล เครื่องบิน และอื่นๆ ใหแก กองทัพอากาศ หมายเหตุ พลอากาศเอก ตรีทศ - ขายทรัพยสินพรอม บริการซอมบํารุง สนแจง เกษียณอายุราชการ - ยอดรายไดรวม เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2559 - ยอดลูกหนี้คงคาง 0 00 514 54 95 9
5 2 45 0 64
526 01 0 06
กรรมการบริษัทฯ ไดแก พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง ดํารงตําแหนง ผูบัญชาการ ทหารอากาศ ของกองทัพ อากาศ
5 6 0 6
สาหรับปสนสุ ิ ด สาหรับปสินสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2558
6 2 1 52
ลักษณะของรายการ ระหวางกัน
1 บริษัทฯ วาจางพิมพ For กรรมการบริษัทฯ ไดแก T ai and ard เพื่อ พลตํารวจเอก จักรทิพย บริการผูโดยสาร ชัยจินดา ดํารงตําแหนง ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ - ยอดคาใชจายรวม - ยอดเจาหนี้คงคาง ของสํานักงานตํารวจ แหงชาติ 2 บริษัทฯ รับจางซอมบํารุง ปรับปรุงเ ลิคอปเตอร ฝกอบรมชางประจําป 2559 และอื่นๆ - ยอดรายไดรวม - ยอดลูกหนี้คงคาง
ความสัมพันธ
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
กําหนดจากราคาปกติของธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนด ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
เงื่อนไข นโยบายราคา
ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมีรายการระหวางกันที่เปนคาใชจายเกี่ยวกับบริการสาธารณูปโภคตางๆ (ซึ่งประกอบดวย คาไฟฟา ประปา และโทรศัพท) ที่บริษัทฯ มีการทํารายการกับหนวยงาน ของรัฐ และ หรือรัฐวิสาหกิจที่ทําหนาที่เปนผูใหบริการสาธารณูปโภคตางๆ ดังกลาว เปนจํานวนเงิน 63 3 ลานบาท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และมียอดคงคาง 3 9 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
กองทัพอากาศ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
นิติบุคคล บริษัท ที่อาจมีความขัดแยง
มูลคาของรายการระหวางกัน (ลานบาท)
รายการระห างกัน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 121
ความจาเปนและความสมเหตุสมผล ของรายการระหวางกัน
สําหรับการเขาทํารายการระหวางกันขางตนนั้น บริษัทฯ มี วัตถุประสงคเพือ่ กอใหเกิดประโยชนสงู สุด โดยเปนการดําเนิน การตามปกติของธุรกิจ ทั้งนี้ ราคาที่ซื้อ ขาย หรือให รับ บริการจากบริษัทที่เกี่ยวของ เปนไปตามขอตกลง ซึ่งกอให เกิดประโยชนแกทั้งบริษัทฯ และบริษัทที่เกี่ยวของ โดยมิไดมี วัตถุประสงคในการถายเทผลประโยชนระหวางกัน หรือมี รายการใดๆ เปนพิเศษ
ขันตอนการอนุมัติการทารายการ ระหวางกัน
การเขาทํารายการระหวางกันขางตน เปนไปตามธุรกิจปกติ ของบริษัทฯ และไดดาํ เนินการอนุมตั ติ ามขัน้ ตอนของบริษัทฯ ซึ่งมีมาตรการที่รัดกุมของระเบียบราชการและรัฐวิสาหกิจ ทัง้ นี้ กรรมการและผูบ ริหารทีม่ สี ว นไดเสียในเรือ่ งนัน้ ๆ จะไมมี สวนในการอนุมัติการทํารายการ
122 รายงานประจําป 2559
นโยบายการทารายการระหวางกัน ในอนาคต
คณะกรรมการตรวจสอบและบริษัทฯ จะรวมกันดูแลรายการ ระหวางกันดังกลาวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตวาจะเปนไปดวย ความสมเหตุสมผลและมีอัตราตอบแทนที่ยุติธรรม พรอมทั้ง ผานการอนุมัติตามขั้นตอนและก ระเบียบที่เกี่ยวของอยาง ถูกตอง และจะเปดเผยชนิดและมูลคาของรายการระหวางกัน ของบริษั ทฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงภายใตประกาศ และขอบังคับของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย (ก ล ต ) คณะกรรมการกํากับตลาดทุน สํานักงาน ก ล ต และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท )
อมู ทาง
การเงนที่สาคั ขอมูลทางการเงนโดยสรุป งบการเงินรวม ป 2559
งบกา ร า ุน รายไดรวม คาใชจายรวม กําไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได กําไร (ขาดทุน) สุทธิสวนที่เปนของบริษัทใหญ กําไร (ขาดทุน) สุทธิ งบ ุล รวมสินทรัพย รวมหนี้สิน รวมสวนของผูถือหุน หุน จํานวนหุนสามัญที่ออกและชําระแลว มูลคาหุนที่ตราไว กําไร (ขาดทุน) สุทธิตอหุน เงินปนผลจายตอหุน อัตราส น างการ งิน อัตรากําไร (ขาดทุน) สุทธิตอรายไดรวม(1) อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพย(2) อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน(3) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน(4) หมายเหตุ
(1)
ป 2558
ป 255
(ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท)
1 1 446 1 2 63 (1 41 ) 15 4
192 591 206 0 (14 116) (13 06 ) (13 04 )
203 9 220 62 (16 3 ) (15 612) (15 5 3)
(ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท)
2 3 124 249 536 33 5
302 4 1 269 545 32 926
30 26 265 9 1 41 296
(ลานหุน) (บาท) (บาท) (บาท)
21 2 10 00 0 01 -
21 2 10 00 (5 99) -
21 2 10 00 ( 15) -
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (เทา)
0 03 13 01 50
(6 9) (2 ) (35 2) 5
( 1) (3 5) (31 ) 4
อัตรากําไร(ขาดทุน)สุทธิตอรายไดรวม เทากับ กําไร(ขาดทุน)สุทธิ รายไดรวม(ไมรวมอัตราแลกเปลี่ยน) อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพย เทากับ กําไร(ขาดทุน)กอนหักดอกเบี้ยและภาษี สินทรัพยรวมเ ลี่ย (3) อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน เทากับ กําไร(ขาดทุน)สุทธิ สวนของผูถือหุนเ ลี่ย (4) อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน เทากับ (เงินกูยืมระยะสั้น หนี้สินระยะยาวรวมสวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป) สวนของผูถือหุน รายไดรวม รวมผลกําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ (2)
124 รายงานประจําป 2559
อมล า การ น า
ผลการดาเนินงานในรอบ 5 ป จํานวนเครื่องบิน (ลํา) จํานวนชั่วโมงปฏิบัติการบิน (ชั่วโมง ป) ปริมาณการผลิต (ลานตัน-กม ) (1) ปริมาณการขนสง (ลานตัน-กม ) อัตราสวนการบรรทุก (รอยละ) จํานวนผูโดยสาร (พันคน) ปริมาณการผลิตดานผูโดยสาร (ลานที่นั่ง-กม ) ปริมาณการขนสงผูโดยสาร (ลานที่นั่ง-กม ) อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสาร (รอยละ) (1) ปริมาณการผลิตพัสดุภัณฑ (ลานตัน-กม ) ปริมาณการขนสงพัสดุภัณฑ (ลานตัน-กม ) อัตราสวนการขนสงพัสดุภัณฑ (รอยละ) จํานวนพนักงาน (คน) กําไร(ขาดทุน)กอนหักภาษีเงินได (ลานบาท)
ป 2559
ป 2558
ป 255
ป 2556
ป 2555
95 3 2 12 103 451 69 22 262 5 042 62 442 34 3 591 2 132 59 4 21 99 (1 41 )
95 3 4 31 11 3 249 69 4 21 249 34 9 60 93 29 3 514 2 091 59 5 22 64 (14 116)
102 3 0 309 12 346 1 62 5 19 096 2 969 5 194 6 9 3 12 2 45 64 5 24 952 (16 3 )
100 3 4 069 12 2 3 65 9 21 510 5 655 63 4 9 41 5 019 2 565 51 1 25 323 (12 929)
95 364 536 12 023 230 6 4 20 615 9 231 60 6 9 66 4 92 2 653 54 2 25 412 104
นิยามศัพททางดานการบิน
ปริมาณการผลิตรวมคิดเปน ตัน-กิโลเมตร คือ ระวางบรรทุกของเครื่องบิน คูณ ระยะทางบิน ปริมาณการขนสงรวมคิดเปน ตัน-กิโลเมตร คือ นํ้าหนักผูโดยสาร สัมภาระเกินพิกัด พัสดุ และไปรษณียภัณฑ คูณ ระยะทางที่ขนสง อัตราสวนการบรรทุก คือ ปริมาณการขนสง เทียบเปนรอยละของปริมาณการผลิต ปริมาณการผลิตดานผูโดยสารคิดเปน ที่นั่ง-กิโลเมตร คือ จํานวนที่นั่งผูโดยสาร คูณ ระยะทางบิน ปริมาณการขนสงผูโดยสารคิดเปน คน-กิโลเมตร คือ จํานวนผูโดยสาร คูณ ระยะทางที่ขนสง อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสาร คือ ปริมาณการขนสงผูโดยสาร เทียบเปนรอยละของปริมาณการผลิตดานผูโดยสาร ปริมาณการผลิตพัสดุภัณฑคิดเปน ตัน-กิโลเมตร คือ ระวางบรรทุกพัสดุภัณฑ คูณ ระยะทางบิน ปริมาณการขนสงพัสดุภัณฑคิดเปน ตัน-กิโลเมตร คือ นํ้าหนักพัสดุภัณฑที่ทําการขนสง คูณ ระยะทางที่ขนสง อัตราสวนการขนสงพัสดุภัณฑ คือ ปริมาณการขนสงพัสดุภัณฑ เทียบเปนรอยละของปริมาณการผลิตพัสดุภัณฑ ระวางบรรทุกของเครื่องบิน คือ ปริมาณนํ้าหนักสูงสุดซึ่งเครื่องบินสามารถบรรทุกได นํ้าหนักในที่นี้ หมายถึง นํ้าหนักผูโดยสาร สัมภาระเกินพิกัด พัสดุและไปรษณียภัณฑ
(1)
ในป 255 บริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงคาสถิติการคํานวณนํ้าหนักเ ลี่ยผูโดยสารรวมสัมภาระ (Free Baggage A o ance) จาก 90 กิโลกรัมตอคน เปน 100 กิโลกรัมตอคน เพื่อใหคาสถิติของบริษัทฯ สามารถเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมการบิน ที่เปลี่ยนแปลง โดยไดทําการปรับคาสถิติของป 255 ใหเปนฐานเดียวกันเพื่อการเปรียบเทียบ แตไมไดยอนปรับคาสถิติ ของป 2555-2556
บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 125
รายงานความรับผิด อบของคณะกรรมการ ตอรายงานทางการเงน คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ค วามตระหนั ก ถึ ง หน า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบในฐานะกรรมการของบริษั ทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในการกํากับดูแลรายงาน ทางการเงินประจําป 2559 ของบริษั ทฯ มีการปองกันการ ทุจริตและการดําเนินการที่ผิดปกติ รวมทั้งไดถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยใชนโยบายการบัญชี ที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ ตลอดจนมีการ พิจารณาถึงความสมเหตุสมผล และความรอบคอบในการ จัดทํางบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอยและงบการ เงินเ พาะบริษั ทฯ รวมถึงขอมูลสารสนเทศทางการเงิน ที่ ปรากฏในรายงานประจําป 2559 โดยงบการเงินดังกลาวได ผานการตรวจสอบและใหความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขจาก ผูสอบบัญชีรับอนุญาตที่เปนอิสระ ดังนั้น เพื่อใหสามารถสะทอนฐานะทางการเงิน และผลการ ดําเนินงานไดอยางถูกตอง โปรงใสและเปนประโยชนตอผูมี สวนไดเสีย อีกทั้งมีความเชื่อมั่นตอรายงานทางการเงินของ บริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ จึงไดแตงตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระผูซ งึ่ มีคณุ สมบัตคิ รบถวน ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทําหนาที่ สอบทานใหบริษั ทฯ มีการรายงานทางการเงิน และการ
(นายอาร�พงศ ภูชอุม) ประธานกรรมการ
126 รายงานประจําป 2559
ดําเนินงานอยางถูกตองเพียงพอ มีการเปดเผยขอมูลรายการที่ เกีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน อยางโปรงใส ถูกตอง และครบถวน รวมทั้งใหมีระบบบริหาร ความเสี่ยง การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และ การกํ ากั บ ดู แ ลที่ เ หมาะสมและมี ประสิ ท ธิ ผ ล ตลอดจนมี ความครบถ ว นเพี ย งพอ และเหมาะสมของกระบวนการ ติดตามการปฏิบัติตามก หมาย ระเบียบ ขอบังคับ นโยบาย ตางๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย คณะกรรมการบริษั ทฯ มีความเห็นวา งบการเงินรวมของ บริษัทฯ และบริษัทยอย และงบการเงินเ พาะบริษัทฯ สําหรับ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ที่คณะกรรมการตรวจสอบ ไดสอบทานรวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชีไดแสดงฐานะ การเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด ถูกตอง ครบถวน เชื่อถือได ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยมี การใชนโยบายการบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติอยาง สมํ่าเสมอ ใชดุลพินิจอยางระมัดระวัง และประมาณการ อยางรอบคอบ สมเหตุสมผล รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูล อยางโปรงใสเพียงพอ และปฏิบัติถูกตองตามก หมายและ ก ระเบียบที่เกี่ยวของ
(นางอุษ ย
ง ิง ก )
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห หน ยธุรกิจบร�การการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห
อมล า การ น า
รายงานสรุปกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจาป 2559 คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษั ท การบิ นไทย จํ า กั ด (มหาชน) ประกอบด ว ยกรรมการอิ ส ระจํ า นวน 4 ท า น ซึ่ ง เป น ผู ท รงคุ ณ วุ ิ แ ละมี ป ระสบการณ ด า น ก หมาย การบริหารทรัพยากรบุคคล การเงินและงบประมาณการ บริหารความเสี่ยง และการสอบทานความนาเชื่อถือของ งบการเงิน ปจจุบัน คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวย นายวีระวงค จิตตมติ รภาพ เปนประธานกรรมการตรวจสอบ พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ นายสมเกียรติ ศิริชาติไชย และ นายรัฐพล ภักดีภูมิ เปนกรรมการตรวจสอบ ในป 2559 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประชุมรวมกับ ผูสอบบัญชี ผูตรวจสอบภายใน และผูบริหารระดับสูงที่ เกี่ยวของ รวม 10 ครั้ง ซึ่งเปนการประชุมตามที่กําหนดไว ครั้ง และเปนการประชุมวาระพิเศษ 2 ครั้ง โดยการ ประชุมทุกครั้งคณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่อยาง เปนอิสระ ตามขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบที่ระบุไวใน ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคณะกรรมการตรวจสอบและ หนวยตรวจสอบภายในของรัฐวิสาหกิจ พ ศ 2555 และตาม แนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ สอดคลอง กับขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทั้งนี้ การเขารวมประชุมของกรรมการ แตละทานไดรายงานไว ในหัวขอการกํากับดูแลกิจการ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ ไดรายงานสรุปประเด็น ที่สําคัญและความเห็นของคณะ กรรมการตรวจสอบตอคณะกรรมการบริษั ทฯ ตามที่เห็น สมควร โดยมีสาระสําคัญดังนี้ การสอบ านรา งาน างการ งิน คณะกรรมการตรวจสอบ ไดสอบทานงบการเงินราย ไตรมาส และงบการเงินประจําป ของบริษั ทฯ และงบการเงินรวม รวมถึงรายการระหวางกัน รวมกับผูบริหาร สายการเงินและการบัญชี และผูสอบบัญชี เพือ่ พิจารณารายงานทางการเงิน การเปดเผยขอมูลประกอบ งบการเงิ น นโยบายการบั ญ ชี แ ละประมาณการที่ สํ า คั ญ ขอสังเกตจากการตรวจสอบและสอบทานงบการเงินของ ผูสอบบัญชี รวมทั้งไดพิจารณาคําอธิบายและการวิเคราะห ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของบริษั ทฯ คณะ กรรมการตรวจสอบไดขอความเห็นผูสอบบัญชีในเรื่องความ ถูกตอง ครบถวนของงบการเงิน ความเหมาะสมของวิธีการ บันทึกบัญชีและเปดเผยขอมูล รวมทัง้ รายการปรับปรุงบัญชี
ทีส่ าํ คัญ เพือ่ ใหมนั่ ใจวางบการเงินมีความถูกตองตามทีค่ วรใน สาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดประชุมรวมกับผูสอบบัญชี เปนการเ พาะ 1 ครั้ง โดยไมมีผูบริหารเขารวม เพื่อหารือ เกี่ยวกับความเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่และการแสดง ความเห็นของผูส อบบัญชี นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ไดหารือเกี่ยวกับมาตรฐานการสอบบัญชี เรื่องรายงานของ ผูส อบบัญชีแบบใหม ซึง่ จะมีผลบังคับใชสาํ หรับการตรวจสอบ งบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เปนตนไป การสอบ านค าม พ งพอ ล ร สิ ธิผล องร บบ การค บคุมภา น ล การบริหารค าม ส ง คณะกรรมการ ตรวจสอบไดพจิ ารณารายงานผลการตรวจสอบจากสํานักงาน การตรวจสอบภายใน ผลการจัดทําแบบประเมินการควบคุม ภายในดวยตนเอง ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงิน แผนดิน วาดวยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ ศ 2544 ซึ่งอางอิงตามมาตรฐาน o ittee o S onsoring rgani ation o T e Tread ay o ission S 2013 และไดนําเสนอขอสังเกตจากการสอบทานการประเมินผล การควบคุมภายในของผูตรวจสอบภายในตอคณะกรรมการ บริษั ทฯ โดยขอใหฝายบริหารจัดทําแผนการปรับปรุงที่เปน รูปธรรมและมีกําหนดเวลาแลวเสร็จที่ชัดเจน ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดประชุมรวมกับฝายบริหารทัง้ คณะ 1 ครั้ง และไดเชิญผูบริหารระดับสูงเขาชี้แจงและรวม หารือในวาระทีเ่ กีย่ วของตามความเหมาะสม เพือ่ หารือเกีย่ วกับ การดําเนินงานของบริษั ทฯ ประเด็นขอตรวจพบตางๆ ที่มี นัยสําคัญ โดยไดเนนยํา้ ใหผบู ริหารตระหนักถึงความรับผิดชอบ ในการควบคุมความเสี่ยง รวมทั้งการเรงรัดปรับปรุงการ ดําเนินการตามขอเสนอแนะในรายงานการตรวจสอบ นอกจากนี้ ผูอํานวยการใหญฝายบริหารความเสี่ยงไดเขา รวมประชุมกับคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ รายงานเกีย่ วกับ ความเสีย่ งทีส่ าํ คัญของบริษัทฯ และแนวทางในการดําเนินการ บริหารจัดการความเสี่ยงดังกลาวเปนประจําทุกป
บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 127
การกากั บ ู ลงานตร สอบภา น คณะกรรมการ ตรวจสอบได ใ ห แ นวทางในการจั ด ทํ า แผนการตรวจสอบ และไดพิจารณาอนุมัติแผนการตรวจสอบของสํานักงานการ ตรวจสอบภายใน รวมทั้งไดรับทราบผลการดําเนินงาน และ ปญหาอุปสรรคตางๆ ของสํานักงานการตรวจสอบภายในทุก ไตรมาส
ทีผ่ า นกระบวนการอนุมตั อิ ยางโปรงใส โดยผูม สี ว นไดเสียไมได มีสว นรวมในการตัดสินใจ และเปนรายการทีก่ ระทําโดยคํานึง ถึงผลประโยชนของบริษัทฯ เสมือนการทํารายการกับบุคคล ภายนอก ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดรับทราบรายงาน รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทุกไตรมาส รวมทัง้ ไดสอบทานการเปด เผยขอมูลรายการระหวางกันวาเปนไปอยางถูกตอง ครบถวน
คณะกรรมการตรวจสอบไดแนะนําใหสาํ นักงานการตรวจสอบ ภายในพิจารณาวิธีการทํางานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (Work S arter) โดยลดขั้นตอนการปฏิบัติงานฯ ที่ ไมจําเปนลง แตตองไมกระทบตอคุณภาพของการปฏิบัติงานตรวจสอบ และไดใหขอแนะนําในการดําเนินการแกไขสําหรับประเด็น จากรายงานการตรวจสอบที่มีนัยสําคัญ เพื่อใหผูบริหารมี การควบคุมภายในที่เพียงพอ รวมทั้งไดรายงานเรื่องที่มี ความสําคัญตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบดวย
ก บั ต ร ล การ ร มิ น ตน อง องค กรรมการ ตร สอบ คณะกรรมการตรวจสอบไดทบทวนก บัตรคณะ กรรมการตรวจสอบ รวมทั้งไดประเมินผลการปฏิบัติงาน ดวยตนเองตามแนวทางปฏิบัติที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และคูม อื ปฏิบตั สิ าํ หรับคณะกรรมการตรวจสอบ ในรัฐวิสาหกิจ ( บับปรับปรุงป 2555) โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบไดประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองทั้งคณะ และเปนรายบุคคล ผลการประเมินสรุปไดวา คณะกรรมการ ตรวจสอบ ไดปฏิบัติงานตามหนาที่ความรับผิดชอบอยาง รอบคอบและเปนอิสระ สอดคลองตามแนวทางปฏิบัติที่ดี และก บัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ
นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได สอบทานงบประมาณ ประจําปของหนวยงานตรวจสอบภายใน การประเมินความ เพียงพอและความเหมาะสมของทรัพยากร ดัชนีวัดผลการ ปฏิบัติงาน พิจารณาความดีความชอบประจําปของหัวหนา ผูบริหารงานตรวจสอบ รวมทั้งสนับสนุนใหมีการประเมิน คุณ ภาพการตรวจสอบภายในโดยผูเชี่ยวชาญที่เปนอิสระ ( xterna Assess ent)
การ สนอ ตงตังผูสอบบั คณะกรรมการตรวจสอบ นําเสนอคณะกรรมการบริษั ทฯ เพื่อพิจารณาและขออนุมัติ จากที่ประชุมผูถือหุนแตงตั้ง สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน (สตง ) เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ประจําป 2560
การสอบ านการ ิบัติตามก หมา ก ร บ บ ล อกาหน ก อง คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการ ประชุม และรับทราบรายงานจากสายทรัพยากรบุคคลและ กํากับกิจกรรมองคกร ซึ่งทําหนาที่ กํากับ ติดตามการปฏิบัติ งานของหนวยงานตางๆ ใหเปนไปตามก หมาย ก ระเบียบ และขอกําหนดที่เกี่ยวของ เพื่อรับทราบและใหขอเสนอแนะ ในการดําเนินการพั นาปรับปรุงกระบวนการกํากับติดตาม ดังกลาว
จากการดําเนินการ ตามขอบเขตอํานาจหนาทีท่ ี่ไดรบั มอบหมาย คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯ ไดจัดทํางบ การเงินอยางถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน การทําธุรกรรมรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน เปนไปอยางสมเหตุผลและมีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ บริษั ทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ มีการปฏิบัติ ตามก หมาย ก ระเบียบ และขอกําหนดทีเ่ กีย่ วของโดยไมพบ ขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ
การพิ าร ารา การ ก งกั น คณะกรรมการ ตรวจสอบมี บ ทบาทในการสอบทานและให ค วามเห็ น ต อ การทํารายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพือ่ ใหมนั่ ใจวา เปนรายการ
ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่ตามที่ ไดรับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษั ทฯ ดวยความยึดมั่นใน ความถูกตอง เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบ โปรงใส และ เปนอิสระ เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ
(นาย �ระ ง จ� มิ รภาพ) ประธานกรรมการ ร จ อบ ันท 2 กุมภาพันธ 25
128 รายงานประจําป 2559
การวิ ราะ และ
า ธ า
า จ การ
คาอธิบายผลการดาเนินงานและการวิเคราะห านะทางการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย
1. บทสรุปผูบริหาร
ภาพรวมเศรษฐกิจโลกในป 2559 ฟนตัวอยางคอยเปนคอยไป โดยเศรษฐกิจสหรัฐฯ ฟนตัวตอเนื่อง เศรษฐกิจยุโรปยังมี ความไมแนนอนภายหลังการที่สหราชอาณาจักรตัดสินใจออกมาจากสหภาพยุโรป (Brexit) ในขณะที่เศรษฐกิจญี่ปุนมีแนวโนม การขยายตัวทีด่ ขี นึ้ จากภาคการสงออก และการชะลอการปรับเพิม่ ขึน้ ของอัตราภาษีมลู คาเพิม่ แตยงั คงมีปญ หาจากการใชจา ย ภายในประเทศ ในขณะเดียวกันมีการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศจีนและอาเซียน ราคานํ้ามันยังอยูในระดับตํ่าถึงแมวาจะ เริ่มปรับตัวเพิ่มขึ้นในชวงปลายป 2559 เนื่องจากกลุมประเทศผูผลิตนํ้ามันยังคงกําลังการผลิตไวที่ระดับสูง เศรษฐกิจไทยในป 2559 ปรับตัวดีขึ้นโดยมีแรงสนับสนุนจากการใชจาย และการลงทุนภาครัฐ ทั้งมาตรการเรงรัดเบิกจาย การลงทุนขนาดเล็ก และโครงการลงทุนโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคม ภาคการทองเที่ยวที่ขยายตัวไดดีโดยเปนนักทองเที่ยว ชาวจีน และกลุมประเทศ M เปนหลัก แมวาจะไดรับผลกระทบจากการลดลงของนักทองเที่ยวจีนบางจากการจัดระเบียบ ทัวรศนู ยเหรียญ และผลกระทบจากเหตุการณระเบิดในภาคใตของประเทศไทย ขณะทีก่ ารลงทุนภาคเอกชนฟนตัวไดดเี มือ่ เทียบ กับปกอน ภาคการสงออกที่ฟนตัวดีขึ้นจากเศรษฐกิจของประเทศ คูคาหลักอยางอาเซียน และ M ที่มีทิศทางการขยายตัว ไดในเกณฑดี อุตสาหกรรมการบินของโลกยังคงเติบโตอยางตอเนือ่ ง จากขอมูลของสมาคมการขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (IATA) ในป 2559 แสดงปริมาณการขนสงและปริมาณการผลิตดานผูโดยสารเพิ่มขึ้นจากปกอน 6 3 และ 6 2 ตามลําดับ และมี อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสารเ ลี่ย 0 5 โดยสายการบินในตะวันออกกลาง และภูมิภาคเอเชียแปซิฟกมีอัตราการเติบโต สูงสุดที่ 11 และ 3 ทั้งนี้ปจจัยสําคัญที่มีผลตออัตราการเติบโตของปริมาณการขนสงผูโดยสารเกิดจากเศรษฐกิจโลกที่ ปรับตัวดีขึ้น ราคานํ้ามันที่อยูในระดับตํ่าซึ่งสงผลตอราคาบัตรโดยสารที่ปรับตัวลดลง อยางไรก็ตามอุตสาหกรรมการบินของ โลกยังคงเผชิญกับความไมแนนอนทางเศรษฐกิจและการเมือง เหตุการณกอการรายที่มีอยางตอเนื่องในชวงครึ่งปแรก เชน เหตุการณระเบิดหลายจุดกลางกรุงจาการตาประเทศอินโดนีเซีย เหตุระเบิดสนามบินกรุงบรัสเซลสประเทศเบลเยียม เหตุการณ กอการรายทีเ่ มืองนีซประเทศฝรัง่ เศส และเหตุการณโจมตีสนามบินนานาชาติประเทศตุรกี เปนตน ถึงแมวา จะเริม่ ผอนคลายลง ในชวงครึ่งปหลัง ขณะที่ภาคการสงออกยังคงชะลอตัวจากการชะลอตัวของปริมาณการคาโลก แตเริ่มปรับตัวดีขึ้นในชวง ครึ่งปหลังของป 2559 สงผลใหอัตราสวนการขนสงพัสดุภัณฑปรับตัวลดลงจาก 44 1 ในปกอนเหลือ 43 0 ในปนี้ ภาพรวมของอุตสาหกรรมการบินของไทยมีแนวโนมเติบโตตอเนื่อง โดยมีปจจัยสนับสนุนที่สําคัญ ไดแก ปริมาณความ ตองการขนสงทางอากาศในตลาดเกิดใหม และการเกิดขึ้นของสายการบินตนทุนตํ่า รวมทั้งความพรอมของโครงสรางพื้นฐาน ที่รองรับการขยายตัว ทั้งนี้ การขยายตัวของอุตสาหกรรมการบินของไทยเปนไปในทิศทางเดียวกันกับอุตสาหกรรมการบิน ของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเ ยี งใตและของโลก ซึง่ สอดคลองกับจํานวนนักทองเทีย่ วชาวตางชาติทเี่ ดินทางเขามาประเทศไทย ในป 2559 จํานวน 32 6 ลานคน เพิ่มขึ้นจากปกอน 9 ในป 2559 บริษัทฯ ไดเขาสูระยะที่ 2 ของแผนปฏิรูปองคกรคือ “สรางความแข็งแกรงในการแขงขัน” โดยมีกลยุทธในการ ดําเนินงาน 4 ดาน ดังนี้ 1) การหารายได โดยเนนที่แผนการเพิ่มรายไดในทุกๆ ดาน 2) การลดคาใชจายและเพิ่มประสิทธิภาพ 3) การสรางศักยภาพในดานตางๆ เพื่อการเติบโตอยางยั่งยืน 4) การสรางความเปนเลิศในการบริการลูกคา โดยในป 2559 มีการดําเนินงานที่สําคัญดังนี้
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 129
การนําระบบเทคโนโลยีทเี่ ปนมาตรฐานสากลเขามาเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารรายได และการใหบริการ เชน ระบบ การบริหารราคาขายบัตรโดยสารอัตโิ นมัติ (Auto ated Fare Manage ent Syste ) เพือ่ กําหนดราคาขายใหสามารถแขงขัน กับคูแขงในระดับเดียวกันไดทันเวลา ระบบ usto er Re ations i Manage ent ( RM) เพื่อมุงบูรณาการใหการบริการ ในทุกจุดสัมผัสสูความเปนเลิศอยางครบวงจรตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดกระบวนการเดินทางของผูโดยสารเปนไปอยางราบรื่นและ เกิดความพึงพอใจสูงสุด และระบบการบริหารเครือขายเสนทางบิน (Route et ork Manage ent Syste ) เพื่อเพิ่มการ เชื่อมโยงเสนทางบินใหดีขึ้น เปนตน การขยายเครือขายเสนทางบิน ( et ork x ansion) ดวยการเปดเสนทางบินใหม กรุงเทพฯ-เตหะราน ประเทศ อิหราน เมื่อ 1 ตุลาคม 2559 และเสนทางบินตรงจากภูเก็ต-แฟรงเฟรต เมื่อ 16 พ ศจิกายน 2559 รวมถึงกลับไปทําการบิน ในเสนทางกรุงเทพฯ-มอสโคว เมื่อ 15 ธันวาคม 2559 นอกจากนี้ยังเพิ่มความถี่ในเสนทางยุโรป เชน ลอนดอน บรัสเซลส และออสโล ในวันที่ 30 ตุลาคม 2559 พรอมกับขยายเสนทางบินใหครอบคลุมในภูมิภาคอาเซียน จีน และอินเดียโดยใช สายการบินไทยสมายลเปนเครื่องมือสําคัญเพื่อรองรับการเดินทางเชื่อมตอของผูโดยสารการบินไทยจากฐานการบินหลัก ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ การเพิ่มศักยภาพฝูงบินดวยการรับมอบเครื่องบินแบบแอรบัส A350-900 XWB จํานวน 2 ลํา โดยนํามาใหบริการใน เสนทางขามทวีปเปนหลัก เชน กรุงเทพฯ-โรม กรุงเทพฯ-มิลาน เปนตน การดําเนินการขายเครือ ่ งบินและสงมอบเรียบรอยแลวจํานวน 5 ลํา ไดแก เอทีอาร 2 จํานวน 2 ลํา แอรบสั A330-300 2 ลํา และแอรบัส A340-500 1 ลํา การรับพนักงานตอนรับบนเครื่องบินรุนใหม (รุน T 2016) จํานวน 565 อัตรา เพื่อรองรับการเติบโตที่เพิ่มขึ้น และเพื่อเปนการทดแทนอัตรากําลังที่ขาดไปของพนักงานตอนรับฯ ที่เขารวมโครงการ MSP และเกษียณอายุการทํางาน โดยชุดแรกเขาปฏิบัติงานในเดือน พ ศจิกายน 2559 และคาดวาจะครบเต็มอัตราในกลางปหนา การจัดใหมีโครงการรวมใจจากองคกร (MSP) ตอเนื่องจากปกอนสําหรับพนักงานทุกระดับไมรวมนักบินและพนักงาน ตอนรับบนเครื่องบิน โดยมีผูเขารวมโครงการทั้งสิ้น 2 0 คน มีผล 1 มิถุนายน 2559 จํานวน 11 คน และ 1 กรก าคม 2559 จํานวน 269 คน การปรับปรุงการบริการชั้นธุรกิจแบบใหม ( e Business ass Service) โดยเปนการปรับปรุงทั้งบุคลากร อาหาร และเครื่องดื่ม โดยมุงเนนการบริการที่แตกตางดวยตนทุนที่เหมาะสม และตรงตามความตองการของลูกคาเพื่อใหสามารถ แขงขันได โดยเริ่มดําเนินการตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2559 ในเสนทางกรุงเทพฯ-นาริตะ-กรุงเทพฯ และในปจจุบันสามารถ ดําเนินการไดในเสนทางยุโรป ญี่ปุน ตะวันออกกลาง ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด
ทั้งนี้ จากการปรับปรุงการดําเนินงานในหลายๆ ดานดังกลาวไดประสบความสําเร็จอยูในระดับที่นาพอใจ ทั้งจากผล ประกอบการดานการเงินที่ดีขึ้น และผลการดําเนินงานดานอื่นๆ จนไดรับความพึงพอใจจากลูกคาในภาพรวมสูงขึ้น ซึ่ง สะทอนไดจากรางวัลที่บริษัทฯ ไดรับในปนี้ เชน รางวัลอันดับหนึ่งสายการบินยอดเยี่ยมของโลกถึง 2 รางวัลจากสกายแทรกซ (Skytrax A ard 2016) ไดแกรางวัลยอดเยี่ยมประเภทสายการบินที่มีการปรับปรุงคุณภาพการบริการดีขึ้นมากที่สุด (Wor d s Most I roved Air ine) และรางวัลประเภทสายการบินที่ใหบริการสปาเลาจนยอดเยี่ยม (Wor d s Best Air ine ounge S a) นอกจากนี้ยังไดรับรางวัลสายการบินยอดเยี่ยมแหงเอเชียตะวันออกเ ียงใตตอเนื่องเปนปที่ 10 (Best Sout - ast Asian Air ine 2016) จาก TT Trave A ards เปนตน ในป 2559 บริษัทฯ รับมอบเครื่องบิน A350-900XWB 2 ลํา และปลดระวางเครื่องบินเชาดําเนินงาน B -200 2 ลํา ทําใหฝูงบิน ณ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวน 95 ลํา เทากับ ณ สิ้นปกอน โดยมีอัตราการใชประโยชนของเครื่องบินเพิ่มขึ้นจาก 10 9 ชั่วโมง เปน 11 5 ชั่วโมงในปนี้ ปริมาณการผลิตดานผูโดยสาร (AS ) เพิ่มขึ้น 1 9 ปริมาณการขนสงผูโดยสาร (RP ) เพิ่มขึ้น 2 5 อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสาร ( abin Factor) เ ลี่ย 3 4 สูงกวาปกอนซึ่งเ ลี่ยที่ 2 9 และมีจํานวน ผูโดยสารที่ทําการขนสงรวมทั้งสิ้น 22 3 ลานคน เพิ่มขึ้นจากปกอน 4
130 รายงานประจําป 2559
การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ
ผลการดําเนินงานประจําป 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอยมีกาํ ไรจากการดําเนินงานจํานวน 4 0 1 ลานบาท ในขณะทีป่ ก อ น ขาดทุน 1 304 ลานบาท หรือดีขึ้นจากปกอน 412 2 สาเหตุหลักเนื่องจากคาใชจายรวมลดลง 13 565 ลานบาท ( 1 ) เปน ผลจากคานํ้ามันเครื่องบินลดลง 1 90 ลานบาท (2 3 ) โดยราคานํ้ามันเ ลี่ยลดลง 21 6 และการบริหารความเสี่ยงราคา นํ้ามันไดดีขึ้น ตนทุนทางการเงิน-สุทธิ ลดลง 431 ลานบาท ( ) จากการบริหารเงินสดและการปรับโครงสรางทางการเงิน แตคา ใชจา ยในการดําเนินงานไมรวมนํา้ มันสูงขึน้ 4 3 ลานบาท (3 9 ) สวนใหญเกิดจากคาซอมแซมและซอมบํารุงอากาศยาน เพิ่มขึ้น สําหรับรายไดรวมลดลง 190 ลานบาท (4 3 ) สาเหตุหลักเกิดจากรายไดคาโดยสารและนํ้าหนักสวนเกินลดลง 4 42 ลานบาท (2 9 ) จากการปรับลดอัตราคาธรรมเนียมชดเชยคานํ้ามัน และรายไดอื่นๆ ลดลง 3 5 ลานบาท สาเหตุ หลักเกิดจากในปกอนไดรับเงินชดเชยคาเสียหายจากการสงมอบเกาอี้ผูโดยสารชั้นประหยัดลาชา ประมาณ 3 96 ลานบาท ในป 2559 บริษั ทฯ และบริษั ทยอย มีคาใชจายที่เกิดขึ้นครั้งเดียวที่สวนใหญเกิดจากการประมาณการคาซอมแซม เครื่องบินเชาดําเนินงานตามสภาพการบินและเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องบิน จํานวน 1 31 ลานบาท คาใชจายจากการ ดําเนินการตามแผนปฏิรูป จํานวน 1 22 ลานบาท และผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยและเครื่องบิน 3 62 ลานบาท แตมีกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ 6 5 ลานบาท สงผลใหป 2559 บริษั ทฯ และบริษั ทยอยมีกําไรสุทธิ 4 ลานบาท โดยเปนกําไรสุทธิสวนที่เปนของบริษัทใหญ 15 ลานบาท คิดเปนกําไรตอหุน 0 01 บาท ในขณะที่ปกอนขาดทุน ตอหุน 5 99 บาท หรือดีขึ้นจากปกอน 100 2 ทั้งนี้ บริษัทฯ และบริษัทยอย มีกําไรกอนหักตนทุนทางการเงิน ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย และผลขาดทุน จากการดอยคาสินทรัพยและเครื่องบิน ( BIT A) จํานวน 24 56 ลานบาท สูงกวาปกอน 5 296 ลานบาท (2 1 ) โดยมี BIT A Margin เทากับ 13 เปรียบเทียบกับปกอนที่เทากับ 10 3
2. คาอธิบายและวิเคราะหผลการดาเนินงานป 2559
งบการเงินรวมของป 2559 ประกอบดวยงบการเงินเ พาะกิจการ และงบการเงินของบริษัทยอย 5 บริษัท ไดแก 1) บริษัท ไทย-อะมาดิอุสเซาทอีสตเอเชีย จํากัด 2) บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด 3) บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด 4) บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด และ 5) บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 131
ตารางแสดงขอมูลทางการเงินที่สาคั ( inancial Per or ance) งบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย ม
ธ
นวย ลานบา
รา ร ม - คาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกิน - คาระวางขนสงและไปรษณียภัณฑ - รายไดการบริการอื่นๆ - อื่นๆ คา า ร ม - คานํ้ามันเครื่องบิน - คาใชจายในการดําเนินงานไมรวมนํ้ามัน - ตนทุนทางการเงิน - สุทธิ กา ร า ุน ากการ า นินงาน หัก ประมาณการคาซอมแซมเครื่องบินเชาดําเนินงาน หัก คาใชจายตามแผนปฏิรูป หัก ผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยและเครื่องบิน บวก กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได กําไร(ขาดทุน)สุทธิ กา ร า ุน สุ ธิส น น องบริ ั ห กําไร(ขาดทุน) ตอหุน (บาท) อมูลการ า นินงาน สาคั BIT A (ลานบาท) จํานวนผูโดยสาร (ลานคน) ปริมาณการผลิตดานผูโดยสาร (ลานที่นั่ง-กิโลเมตร) ปริมาณการขนสงผูโดยสาร (ลานคน-กิโลเมตร) อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสาร () รายไดจากผูโดยสารเ ลี่ยตอหนวย (บาท คน-ก ม ) ปริมาณการผลิตดานพัสดุภัณฑ (ลานตัน-กิโลเมตร) ปริมาณการขนสงพัสดุภัณฑ (ลานตัน-กิโลเมตร) อัตราสวนการขนสงพัสดุภัณฑ () นํ้าหนักพัสดุภัณฑขนสง (พันกก ) รายไดจากพัสดุภัณฑเ ลี่ยตอหนวย (บาท ตัน-กม ) เครื่องบินที่ใชดําเนินงาน ณ 31 ธ ค (ลํา) ชั่วโมงปฏิบัติการบิน (ชั่วโมง) อัตราการใชประโยชนเครื่องบินเ ลี่ย (ชั่วโมง ลํา วัน) อัตราแลกเปลี่ยนเ ลี่ย 1 S THB 1 R THB 100 P THB ราคานํ้ามันเ ลี่ย ( S BB )
ปลยนแปล 2559
2558
ลานบา
%
14 060 1 5 11 6 4 2 245
152 4 1 651 11 5 6 020
-4 42 -3 6 -3 5
-2 9 -0 4 0 -62
45 336 126 015 5 135
63 243 121 242 5 566
-1 90 4 3 -431
-2 3 39 -
1 31 1 22 3 62 65 (1 41 ) 4
-
4 16 12 15 3 512 (14 116) (13 04 )
1 31 -2 939 - 529 -2 2 12 699 13 094
- 05 - 02 - 05 90 0 100 4
0 01
(5 99)
6 00
100 2
24 56 22 26 5 042 62 442 34 2 35 3 591 2 132 59 4 5 9 29 1 95 3 2 11 5
19 560 21 25 34 9 60 93 29 2 46 3 514 2 091 59 5 559 2 3 45 95 3 4 31 10 9
5 296 1 01 1 563 1 549
30 546 -0 2 13 96 06
2 1 4 19 25 05 -4 5 22 20 -0 1 55 -3 2 3 55
35 2 9 39 034 32 5435 56 3
34 2 61 3 0611 2 33 9 23
1 0036 09 3 4 2046 -15 64
29 26 14 -21 6
-0 11 41
หมายเหตุ 1) BIT A รายได (ไมรวมกําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน) - คาใชจาย (ไมรวมตนทุนทางการเงิน ภาษี คาเสื่อมราคาและ คาตัดจําหนาย และผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยและเครื่องบิน) 132 รายงานประจําป 2559
การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ
รายได ในป 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีรายไดรวมลดลง 190 ลานบาท (4 3 ) โดยมีรายละเอียดของรายได ดังนี้
รา คา สาร ล คานาหนักส น กิน
รายไดจากคาโดยสารและนํ้าหนักสวนเกิน ลดลง 4 42 ลานบาท (2 9 ) สาเหตุหลักเกิดจาก - รายไดจากผูโดยสารตอหนวย (รวมคาธรรมเนียมชดเชยคานํ้ามันและคาเบี้ยประกันภัย) เ ลี่ยเทากับ 2 35 บาท RP ตํ่ากวาปกอน 0 11 บาท (4 5 ) ทําใหรายไดจากผูโดยสารลดลง 6 0 ลานบาท ทั้งนี้เงินบาทออนคาเมื่อเทียบกับเงิน สกุลที่เปนรายไดหลักทําใหรายไดเพิ่มขึ้นสวนหนึ่ง หากไมรวมผลของอัตราแลกเปลี่ยนรายไดจากผูโดยสารเ ลี่ยตอหนวย ประมาณ 2 31 บาท RP ลดลง 0 15 บาท (6 1 ) คิดเปนเงินประมาณ 9 366 ลานบาท สาเหตุหลักมาจากการปรับลดอัตรา คาธรรมเนียมชดเชยคานํ้ามัน (Fue Surc arge) ตามราคานํ้ามันที่ลดลง และการแขงขันที่รุนแรง - ปริมาณการขนสงผูโดยสาร เพิ่มขึ้น 2 5 คิดเปนเงินประมาณ 3 10 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นเกือบทุกเสนทาง โดยเ พาะเสนทางขามทวีป ไดแก เสนทางออสเตรเลีย และยุโรป รวมถึงเสนทางบินของสายการบินไทยสมายล ในขณะที่ บริษัทฯ มีปริมาณการผลิตดานผูโดยสารเพิ่มขึ้น 1 9 สงผลใหอัตราสวนการบรรทุกผูโดยสาร ( abin Factor) เ ลี่ย 3 4 สูงกวาปกอนซึ่งเ ลี่ย 2 9 ตารางแสดงขอมูลการดาเนินงานดานการขนสงผูโดยสาร จาแนกตามภูมิภาค บริษัทฯ และบริษัทยอย ปลยนแปล จากปกอน ปริมา การ ลิ
ภูมิภาคเอเชีย ขามทวีป ภายในประเทศ
42 -1 3 11
ปริมา การ น
04 3 13 6
อ รา วนการบรร ุก โ ย าร 2559
2558
1 54 1
45 1 0
ตารางแสดงขอมูลรายไดคาโดยสารและคานาหนักสวนเกิน จาแนกตามภูมิภาค บริษัทฯ และบริษัทยอย นวย ลานบา
รา ค า สาร ล คานาหนักส น กิน ภูมิภาคเอเชีย ขามทวีป ภายในประเทศ เที่ยวบินแบบไมประจํา ร มรา คา สาร ล คานาหนักส น กิน
ปลยนแปล 2559
2558
ลานบา
%
9 350 55 916 12 42 36
2 11 5 644 11 095 631
-2 6 -2 2 1 332 -264
-3 4 -4 12 0 -41
- รายไดคาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกินสําหรับเสนทางบินในภูมิภาคเอเชีย มีจํานวน 9 350 ลานบาท ลดลงจาก ปกอ น 2 6 ลานบาท (3 4 ) โดยในป 2559 บริษัทฯ ไดขยายการผลิตเพือ่ รองรับการเติบโตของตลาดในภูมภิ าคเอเชีย โดยมี การเปดจุดบินใหมไปยังเมืองเตหะราน ประเทศอิหราน ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2559 และขยายเสนทางบินของสายการบิน ไทยสมายลใหครอบคลุมในภูมิภาคอาเซียน จีน และอินเดีย สงผลใหปริมาณการผลิตดานผูโดยสารเพิ่มขึ้น 4 2 ปริมาณ การขนสงผูโ ดยสารเพิม่ ขึน้ เพียง 0 4 สวนหนึง่ เกิดจากผลกระทบจากการจัดระเบียบทัวรศนู ยเหรียญ กับการแขงขันทีร่ นุ แรงใน เสนทางญีป่ นุ และตะวันออกกลาง ทําใหผโู ดยสารในเสนทางดังกลาวลดลงจากปกอ น โดยเพิม่ ขึน้ ในเสนทางบินของสายการบิน ไทยสมายล อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสารลดลงจาก 4 5 ในป 255 เปน 1 ในป 2559 และมีรายไดเ ลี่ยตอหนวย ลดลง 2 สาเหตุหลักเกิดจากการแขงขันที่รุนแรง โดยเ พาะการเพิ่มขึ้นของสายการบินตนทุนตํ่าแบบ ong- au o ost และการปรับลดอัตราคาธรรมเนียมชดเชยคานํ้ามัน (Fue Surc arge)
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 133
- รายไดคาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกินสําหรับเสนทางบินขามทวีป มีจํานวน 55 916 ลานบาท ลดลงจากปกอน 2 2 ลานบาท (4 ) โดยมีปริมาณการผลิตลดลง 1 3 จากการหยุดทําการบินในหลายเสนทางบินในป 255 ตามแผน ปฏิรูปขั้นแรก ซึ่งในป 2559 บริษัทฯ ไดปรับตารางบินโดยมีการขยายการผลิตในเสนทางออสเตรเลียและยุโรปมากขึ้น รวมทั้ง เปดเสนทางบินตรงจากภูเก็ต-แฟรงเฟรต เมื่อ 16 พ ศจิกายน 2559 รวมถึงกลับไปทําการบินในเสนทางกรุงเทพฯ-มอสโคว เมื่อ 15 ธันวาคม 2559 เนื่องจากการฟนตัวของเศรษฐกิจประเทศรัสเซีย ปริมาณการขนสงผูโดยสารเพิ่มขึ้น 3 โดย เพิ่มขึ้นในทุกเสนทาง อัตราสวนการบรรทุกผูโดยสารเพิ่มขึ้นจาก 1 ในป 255 เปน 5 4 ในป 2559 ขณะที่รายไดเ ลี่ย ตอหนวยลดลงจากปกอนประมาณ 5 - รายไดคาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกินสําหรับเสนทางบินภายในประเทศ มีจํานวน 12 42 ลานบาท เพิ่มขึ้น จากปกอน 1 332 ลานบาท (12 0 ) สาเหตุหลักเกิดจากปริมาณการขนสงผูโดยสารเพิ่มขึ้น 13 6 แตมีรายไดเ ลี่ยตอหนวย ลดลง 1 2 โดยมีสาเหตุสําคัญจากการแขงขันในตลาดจากสายการบินตนทุนตํ่าที่มีการลดราคาและแยงสวนแบงตลาด โดย การบินไทยไดใหสายการบินไทยสมายลทาํ การบินแทนในเสนทางบินภายในประเทศเพิม่ ขึน้ เชน เสนทางกรุงเทพฯ-สุราษ รธานี เชียงใหม-ภูเก็ต เปนตน โดยมีปริมาณการผลิตดานผูโ ดยสารเพิม่ ขึน้ 11 อัตราสวนการบรรทุกผูโ ดยสารเพิม่ ขึน้ จาก 0 ในป 255 เปน 1 ในป 2559
รา คาร าง นสง ล คา ร
ภั
รายไดจากคาระวางขนสงและคาไปรษณียภัณฑลดลง 3 ลานบาท (0 4 ) เนือ่ งจากรายไดจากพัสดุภณ ั ฑตอ หนวย เ ลีย่ 1 บาท ลดลง 0 2 บาท (3 2 ) หรือประมาณ 5 5 ลานบาท สาเหตุสําคัญเกิดจากรายไดคาธรรมเนียมชดเชยคานํ้ามัน ลดลงตามราคานํ้ามันที่ลดลง ถึงแมวาปริมาณการขนสงพัสดุภัณฑ (Revenue Freig t Ton- i o eters RFT ) เพิ่มขึ้น 2 0 คิดเปนเงินประมาณ 345 ลานบาท จากภาคการสงออกที่ฟนตัวดีขึ้นโดยเ พาะในชวงครึ่งปหลังของป 2559 โดยมีอัตราสวน การขนสงพัสดุภัณฑ (Freig t oad Factor) เ ลี่ย 59 4 ใกลเคียงกับปกอนที่เ ลี่ย 59 5
รา อืน ลดลงจากปกอน จํานวน 3 5 ลานบาท (62 ) สาเหตุหลักจากในปกอนไดรับเงินชดเชยคาเสียหายจาก
บริษัท I Ho dings o td ( oito) จากการสงมอบเกาอี้ผูโดยสารชั้นประหยัดลาชาประมาณ 3 96 ลานบาท คาใ จ าย ในป 2559 บริ ั
ล บริ ั อ มีคาใชจายรวมลดลง 13 565 ลานบาท ( 1 ) โดยมีรายละเอียด ดังนี้
คานามัน ครืองบิน ลดลง 1 90 ลานบาท (2 3 ) สาเหตุหลักจากราคานํ้ามันเครื่องบินเ ลี่ยตํ่ากวาปกอน 21 6 ถึงแมเงินบาทตอดอลลารสหรัฐฯออนคาทําใหคา นํา้ มันเมือ่ คํานวณเปนเงินบาทเพิม่ ขึน้ และมีคา ใชจา ยในการบริหารความเสีย่ ง ราคานํ้ามัน 6 604 ลานบาท ตํ่ากวาปกอน 63 6
คา า า นินงาน มร มนามัน เพิ่มขึ้น 4 3 ลานบาท (3 9 ) โดยมีรายละเอียดดังนี้
134 รายงานประจําป 2559
การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ
ม นวย ลานบา 2559
คา า คาใชจายผลประโยชนพนักงาน คาบริการการบิน คาใชจายเกี่ยวกับนักบินและลูกเรือ คาซอมแซมและซอมบํารุงอากาศยาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาเชาเครื่องบินและอะไหล คาสินคาและพัสดุใชไป คาใชจายเกี่ยวกับการขายและโ ษณา คาใชจายดานการประกันภัย คาใชจายอื่น สวนแบงขาดทุน (กําไร) จากเงินลงทุน ในบริษัทรวม คา า า นินงาน มร มนามัน
อ า จายรวม
2 6 20 1 5 353 15 6 0 1 991 9 1 151 9 404 50 41
22 16 5 42 12 4 14 3
59
2558
ธ อ า จายรวม
65 5 05 0
29 92 20 4 4 5 313 10 311 19 133 950 29 9 499 614 9 359
24 6 16 9 44 5 15 4 65
05
(132)
(0 1)
05
ปลยนแปล ลานบา
%
-1 125 344 40 5 359 -1 142 921 322 -95 -44 -51
-3 1 0 52 0 -6 0 10 3 41 -1 0 - 2 -5 5
11
53 6
คาใชจายผลประโยชนพนักงาน ประกอบดวยคาใชจายบุคลากร ผลประโยชนพนักงาน คาตอบแทนผูบริหารและ กรรมการ ลดลง 1 125 ลานบาท (3 ) สาเหตุหลักเกิดจากจํานวนพนักงานที่ลดลงจากการเกษียณอายุ และเขาโครงการ รวมใจจากองคกร (MSP) สําหรับพนักงานทั่วไป และโครงการ o den Hands ake สําหรับพนักงานตอนรับบนเครื่องบิน ตามแผนปฏิรูปองคกรโดยมีพนักงานที่มีผลตามโครงการในป 255 จํานวน 1 2 คน และในป 2559 จํานวน 404 คน คาใชจายเกี่ยวกับการบิน ประกอบดวย คาบริการการบิน คาใชจายเกี่ยวกับนักบินและลูกเรือ และคาสินคาและพัสดุ ใชไป เพิ่มขึ้น 06 ลานบาท (2 1 ) สาเหตุหลักเนื่องจากการเพิ่มเที่ยวบิน และการออนคาของเงินบาทเมื่อเทียบกับสกุลเงิน หลักของคาใชจาย ไดแก ยูโร เยน และดอลลารออสเตรเลีย คาซอมแซมและซอมบํารุงอากาศยานเพิ่มขึ้น 5 359 ลานบาท (52 0 ) สาเหตุหลักเกิดจากในป 255 มีการลดลง ในการบันทึกคาใชจายในสวนที่เกี่ยวของกับการจายเงินสํารองคาบํารุงรักษาเครื่องยนต (Maintenance Reserve) ของ เครื่องบินภายใตสัญญาเชาดําเนินงาน ในกรณีเครื่องยนตดังกลาวไดมีการทําสัญญาการดูแลรักษาเครื่องยนตแบบเหมาจาย (F ig t Hour Service Agree ent) เพิ่มเติมกับบริษัทผูผลิตเครื่องยนตโดยเปลี่ยนจากการบันทึกคาใชจายเปนทรัพยสินรอ การเรียกคืนจํานวนประมาณ 3 330 ลานบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ สามารถเรียกคืนเงินจากผูใหเชาเมื่อเกิดการซอมบํารุงจริงตาม เงื่อนไขในวงเงินไมเกิน Maintenance Reserve ที่บริษัทฯ ไดจายใหกับผูใหเชา หากไมรวมรายการดังกลาวคาซอมแซมและ ซอมบํารุงอากาศยานในป 2559 เพิ่มขึ้นจากป 255 จํานวน 2 029 ลานบาท สาเหตุหลักเกิดจากการประมาณการคาซอมแซม เครื่องบินเชาดําเนินงานตามสภาพการบินและเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องบิน และการประมาณการคาซอมบํารุงเพื่อเตรียม สภาพเครื่องบินกอนการสงมอบคืนเครื่องบินเชาดําเนินงาน (Return ondition) ประกอบกับอัตราคาซอมเครื่องยนตสูงกวา ปกอน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายลดลง 1 142 ลานบาท (6 0 ) เปนผลมาจากจํานวนเครื่องบินและเครื่องยนตที่ ใช ดําเนินงานโดยเ ลี่ยลดลง ประกอบกับมีเครื่องบินที่คิดคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแลว ถึงแมวาจะมีการรับมอบเครื่องบินภายใต สัญญาเชาการเงินเพิ่มขึ้นในปกอนก็ตาม คาเชาเครือ ่ งบินและอะไหล เพิม่ ขึน้ 921 ลานบาท (10 3 ) เนือ่ งจากรับมอบเครือ่ งบินเชาดําเนินงานเพิม่ ขึน้ ในระหวาง ป 255 และ2559 รวมจํานวน 4 ลํา ประกอบดวยเครื่องบิน B - จํานวน 2 ลํา และ A350-900XWB จํานวน 2 ลํา อยางไรก็ตามมีการสงคืนเครื่องบินเชาดําเนินงาน B 3 -400 จํานวน 3 ลําในป 255 และ B -200 จํานวน 1 ลํา ในเดือน ธันวาคม 2559
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 135
คาใชจายอื่น ลดลง 51 ลานบาท (5 5 ) มีสาเหตุสําคัญจากปนี้ตั้งสํารองอะไหลเครื่องบินเสื่อมสภาพตํ่ากวาปกอน ประกอบกับการควบคุมและปรับลดคาใชจายอยางตอเนื่องตามแผนปฏิรูปองคกร สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษั ทรวม เพิ่มขึ้น 11 ลานบาท (53 6 ) สาเหตุหลักเกิดจากบริษั ท สายการบิน นกแอร จํากัด (มหาชน) มีผลการดําเนินงานขาดทุนเพิ่มขึ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้ - บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) ขาดทุน 1 051 ลานบาท ขาดทุนเพิ่มขึ้นจากปกอน 90 ลานบาท - บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) กําไร 320 ลานบาท เพิ่มขึ้น 12 ลานบาท - บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด กําไร 63 ลานบาท เพิ่มขึ้น 26 ลานบาท - บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กําไร 30 ลานบาท เพิ่มขึ้น 23 ลานบาท - บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด กําไร 33 ลานบาท เพิ่มขึ้น 14 ลานบาท - บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด กําไร 26 ลานบาท เพิ่มขึ้น ลานบาท
ตน ุน างการ งิน สุ ธิ ลดลง 431 ลานบาท ( ) สาเหตุหลักเกิดจากอัตราดอกเบี้ยเ ลี่ยในปนี้ตํ่ากวาปกอน และ ผลจากการบริหารเงินสด และการปรับโครงสรางทางการเงิน ถึงแมวาการออนคาของเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินสกุลหลักของ หนี้สินระยะยาว ไดแกเงินยูโร และเงินเยน ทําใหคาใชจายเมื่อคํานวณเปนเงินบาทมียอดเพิ่มขึ้น
คา า ตาม ผน ิรู จํานวน 1 22 ลานบาท สวนใหญเปนคาตอบแทนในโครงการรวมใจจากองคกร (MSP) ซึ่ง เปนการดําเนินการตามแผนปฏิรูปองคกร และสํารองเงินตอบแทนพิเศษใหแกพนักงานในการสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงตาม แผนปฏิรูปองคกรป 2559 ร มา การคา อม ม ครืองบิน า า นินงาน จํานวน 1 31 ลานบาท สวนใหญเกิดจากการประมาณการคาซอมแซม เครื่องบินเชาดําเนินงานตามสภาพการบินและเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องบิน ผล า ุน ากการ อ คา องสิน รัพ ล ครืองบิน จํานวน 3 62 ลานบาท ลดลง 529 ลานบาท ( 0 2 ) ประกอบดวย - ผลขาดทุนจากการดอยคาเพิ่มขึ้นของเครื่องบิน A340-600 6 ลํา A340-500 4 ลํา B 4 -400 2 ลํา B 4 -400 (Freig ter) 2 ลํา และ B 3 -400 3 ลํา รวม 2 93 ลานบาท และตั้งสํารองดอยคาของเครื่องยนตสําหรับเครื่องบิน A340-500 และ A340-600 จํานวน 325 ลานบาท - ผลขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพยเพิ่มขึ้น 129 ลานบาท เนื่องจากมีการสํารองดอยคาอะไหลเครื่องบินหมุนเวียนที่ เสียหายและไมสามารถซอมแซมไดเพิ่มขึ้นจากปกอน กา ร ากอัตรา ลก ล น งินตราตาง ร 6 5 ลานบาท ประกอบดวย กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตาง ประเทศที่ยังไมเกิดขึ้น ( nrea i ed FX ain) 613 ลานบาท ซึ่งเกิดจากการปรับยอดเงินกูและสินทรัพยหนี้สินที่เปนเงินตรา ตางประเทศเปนเงินบาท ณ วันสิ้นงวด และกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่เกิดขึ้นแลว (Rea i ed FX ain) 2 ลานบาท
136 รายงานประจําป 2559
การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ
3. านะทางการเงินและสภาพคลอง รายจายลงทุน
ตารางแสดงรายจายลงทุน นวย ลานบา
เครื่องบิน อื่นๆ (ที่ไมใชเครื่องบิน) รม
ม
ธ
2559
2558
6 60 303
16 09 522
ในป 2559 บริษัทฯ มีรายจายเพื่อการลงทุน 6 910 ลานบาท ลดลงจากปกอน 9 09 ลานบาท เนื่องจากในปนี้ไมมี การรับมอบเครือ่ งบินภายใตสญ ั ญาเชาการเงิน ขณะทีป่ ก อ นมีรายจายเพือ่ การรับมอบเครือ่ งบินภายใตสญ ั ญาเชาการเงิน 6 ลํา ไดแก B -300 R จํานวน 3 ลํา และ A320-200 จํานวน 3 ลํา โดยรายจายในการลงทุนของปนี้ประกอบดวย การลงทุนในเครื่องบิน จํานวน 6 60 ลานบาท โดยสวนใหญเปนการจายเงินลวงหนาคาเครื่องบิน A350-900XWB 4 ลํา และจายเงินลวงหนาคาเครื่องยนตอะไหล TR T XWB- 4 จํานวน 3 เครื่องยนตสําหรับเครื่องบิน A350-900XWB การลงทุนในสินทรัพยถาวรอื่นๆ จํานวน 303 ลานบาท การ ั หา งิน ุน ในป 2559 บริษัทฯ ไดดําเนินการจัดหาเงินทุนรวมทั้งสิ้น 40 604 ลานบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1 ออกและเสนอขายตราสารหนี้ประเภทหุนกูภายในประเทศ โดยเสนอขายในวงจํากัด ตอผูลงทุนสถาบัน และ หรือ ผูลงทุนรายใหญ วงเงินรวม 000 ลานบาท เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชําระคืนหุนกูที่จะครบกําหนด ชําระ และ หรือคืนเงินกูข องบริษัทฯ ทีม่ ตี น ทุนทางการเงินสูงกวา และ หรือ ลงทุนในสินทรัพย และ หรือเปนเงินทุนหมุนเวียน ในกิจการ 2 การกูเงินระยะยาวจากธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย จํานวน 4 0 4 ลานเยน หรือประมาณ 1 3 6 ลานบาท เพื่อชําระคืนเงินกูตามสัญญาทางการเงินของเครื่องบิน A330-300 จํานวน 2 ลํา 3 เบิกรับเงินกูตอจากกระทรวงการคลังในรูปการออกตราสาร uro o ercia Pa er ( P) ในสกุลเงินตรา ตางประเทศ และเบิกใชวงเงินสินเชื่อหมุนเวียนจากสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อขยายระยะเวลา (Ro -over) เงินกูระยะสั้น ที่ครบกําหนด และใชเปนเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานรวมทั้งสิ้น 32 21 ลานบาท โดยสรุปเงินสดสุทธิไดมาและใชไปในกิจกรรมตางๆ ไดดังนี้ นวย ลานบา
เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสดและเงินฝากธนาคารเพิ่มขึ้น งินส ล รา การ บ า งินส ล ลง
ม
ธ
2559
2558
24 559 (3 26) (2 1 1) 4
1 56 ( 21) (20 3 ) 42
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 137
ในป 2559 เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกันของปกอน บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 2 1 1 ลานบาท จากการชําระคืนเงินกูทั้งระยะสั้นและระยะยาวซึ่งมีจํานวนสูงกวาปกอน โดยจัดหาเงินกูลดลง และมีเงินสดใชไป ในกิจกรรมลงทุนจํานวน 3 26 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนจากการจายลวงหนาคาเครื่องบิน A350-900XWB 4 ลํา และ เครื่องยนตอะไหล TR T XWB- 4 สําหรับเครื่องบิน A350-900XWB จํานวน 3 เครื่องยนต ถึงแมวามีเงินสดสุทธิจาก การดําเนินงานจํานวน 24 559 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปกอน 5 992 ลานบาท เนื่องจากปนี้มีกําไรจากการ ดําเนินงานในขณะที่ปกอนขาดทุน เปนผลใหเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 เปนจํานวน 391 ลานบาท ครืองบิน ในป 2559 บริษัทฯ รับมอบเครื่องบินเชาดําเนินงาน A350-900XWB 2 ลํา และปลดประจําการเครื่องบินเชาดําเนินงาน B -200 จํานวน 2 ลํา ทําใหจํานวนเครื่องบินที่ใชในการดําเนินงาน ณ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวน 95 ลํา เทากับปกอน ในจํานวนนี้เปนเครื่องบิน A320-200 จํานวน 20 ลําซึ่งใชดําเนินงานโดยบริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด สิน รัพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีสินทรัพยรวมลดลงจากวันที่ 31 ธันวาคม 255 จํานวน 19 34 ลานบาท (6 4 ) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ บการ ินรวม ธ ลานบา
สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่นๆ สิน รัพ หมุน น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ เครื่องบินและเครื่องยนตอะไหลจายลวงหนา เครื่องบิน เครื่องบินภายใตสัญญาเชา อุปกรณการบินหมุนเวียน งานระหวางทํา ที่ดิน อาคาร และคาปรับปรุง เครื่องมือ โรงซอม และอุปกรณ ิน อาคาร ล อุ กร สุ ธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นๆ ร มสิน รัพ
138 รายงานประจําป 2559
ธ อ ิน รพยรวม
ลานบา
ปลยนแปล อ ิน รพยรวม ลานบา
%
13 390 12 322 33 662
4 44 11 9
20 1 15 099 34 596
69 50 11 4
- 391 -2 -934
-35 6 -1 4 -2
9 64 44 6 6 112 91 10 22 31 13 2 31 0
34 15 39 9 36 01 49 11
5 491 44 9 9 126 251 12 465 61 14 33 4 305
1 14 9 41 41 49 14
4 156 -293 -13 334 -2 23 310 - 61 -1 135
5 -0 -10 6 -1 9 50 2 -5 -26 4
2 59
10 2
23 10
5 149
21
การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ
สินทรัพยหมุนเวียนมีจํานวน 59 3 4 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 21 0 ของสินทรัพยทั้งหมด ลดลงจากวันที่ 31 ธันวาคม 255 เปนจํานวน 11 102 ลานบาท (15 ) โดยมีสาเหตุสําคัญดังนี้ - เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลง 391 ลานบาท (35 6 ) สาเหตุหลักเกิดจากเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรม จัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุนสูงกวาเงินสดที่ไดมาจากการดําเนินงาน ประกอบกับนโยบายการบริหารเงินสดของบริษัทฯ ที่ กําหนดใหบริษัทฯ ถือครองเงินสดคงเหลือใหเหมาะสม - สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย ลดลง 2 ลานบาท (1 4 ) สาเหตุหลักเกิดจากการตั้งสํารอง ดอยคาของ เครื่องบินเพิ่มขึ้น ประกอบกับในปนี้มีการขายเครื่องบินรวม 5 ลํา ไดแก เอทีอาร 2 จํานวน 2 ลํา แอรบัส A330-300 2 ลํา และแอรบัส A340-500 1 ลํา ที่ดิน อาคารและอุปกรณสุทธิ มีจํานวน 194 91 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 6 ของสินทรัพยทั้งหมด ลดลงจาก วันที่ 31 ธันวาคม 255 เปนจํานวน 13 394 ลานบาท (6 4 ) โดยมีสาเหตุหลักมาจากการคิดคาเสื่อมราคาตามปกติ ในขณะที่ เครือ่ งบินและเครือ่ งยนตอะไหลจา ยลวงหนาเพิม่ ขึน้ 4 156 ลานบาท จากการจายลวงหนาคาเครือ่ งบิน A350-900XWB จํานวน 4 ลํา และเงินจายลวงหนาคาเครื่องยนตอะไหล TR T XWB- 4 สําหรับเครื่องบิน A350-900XWB จํานวน 3 เครื่องยนต สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นๆ มีจํานวน 2 59 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 10 2 ของสินทรัพยทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 255 จํานวน 5 149 ลานบาท (21 ) สาเหตุหลักเกิดจาก - สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น 1 335 ลานบาท จากภาษีของประมาณการคาซอมแซมเครื่องบินเชา ดําเนินงาน - การเพิ่มขึ้นของเงินประกันการบํารุงรักษาเครื่องบินตามสัญญาเชา (Maintenance Reserve) จํานวน 4 913 ลานบาท ตามประมาณการหนี้สินระยะยาวที่บริษัทไดประมาณเพิ่มขึ้นในสวนคาซอมแซมเครื่องบินตามสัญญาเชาดําเนินงานตามสภาพ การบิน และเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องบิน ทั้งนี้ บริษัทสามารถนําคาใชจายที่จะเกิดขึ้นตามประมาณการหนี้สินดังกลาวไป เบิกคืนจากผูใหเชาไดตามเงื่อนไขที่ปรากฏในสัญญาเชา อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (Return on Asset) ของป 2559 รอยละ 1 3 เปรียบเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปกอน ซึ่งติดลบเทากับ 2 หนสิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 หนี้สินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 จํานวน 20 009 ลานบาท ( 4 ) โดยมีองคประกอบหลักของหนี้สิน ดังนี้ บการ ินรวม ธ ลานบา
หนี้สินหมุนเวียน (ไมรวมหนีส้ นิ ระยะยาวทีถ่ งึ กําหนดชําระภายใน 1 ป) หนสินร า หุนกู หนี้สินภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาเครื่องบิน เงินกูยืมระยะยาว ร มหนสินร า หนี้สินไมหมุนเวียนอื่นๆ ร มหนสิน
ธ อ น ินรวม
ลานบา
ปลยนแปล อ น ินรวม
ลานบา
%
64 555
25 9
3 592
2 3
-9 03
-12 3
59 300 64 50 35 933
23 25 9 14 4
56 600 551 43 62
21 0 2 16 2
2 00 -12 01 - 694
4 -16 5 -1 6
24 99
10 0
1 15
6
6 23
3 5
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 139
หนสินหมุน น (ไมรวมหนีส้ นิ ทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป 22 966 ลานบาท) ซึง่ คิดเปนรอยละ 25 9 ของหนีส้ นิ้ ทัง้ หมด ลดลงจาก ณ 31 ธันวาคม 255 จํานวน 9 03 ลานบาท (12 3 ) สาเหตุหลักเกิดจากเงินกูระยะสั้นลดลง 225 ลานบาท และ คาใชจายคางจายลดลง 4 540 ลานบาท สวนใหญมาจากคาชดเชยการบริหารความเสี่ยงนํ้ามันคางจาย และเงินชดเชยสําหรับ พนักงานที่เขาโครงการ MSP คางจาย ณ สิ้นป 255 หนสินร า (รวมหนี้สินที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 22 966 ลานบาท) ซึ่งคิดเปนรอยละ 64 1 ของหนี้สิ้นทั้งหมด ลดลง 1 95 ลานบาท (10 0 ) สวนหนึ่งเกิดจากการแข็งคาของเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินสกุล R และ S ณ 31 ธันวาคม 2559 เมื่อเทียบกับ ณ วันสิ้นงวดของป 255 ถึงแมวาจะออนคาขึ้นเมื่อเทียบกับเงินสกุล P ทําใหหนี้สินระยะยาวเมื่อคิดเปน เงินบาทมีจํานวนลดลง หากไมรวมผลของการปรับอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวด จํานวน 1 0 ลานบาท หนี้สินระยะยาวจะ ลดลงจํานวน 16 025 ลานบาท สาเหตุหลักเกิดจากการจายชําระคืนเงินกูยืมระยะยาว และหุนกูที่ถึงกําหนดชําระ หนสิน มหมุน นอืน ซึ่งคิดเปนรอยละ 10 0 ของหนี้สิ้นทั้งหมด มีจํานวน 24 99 ลานบาท เพิ่มขึ้น 6 23 ลานบาท (3 5 ) สาเหตุหลักเกิดจากประมาณการคาใชจายคาซอมแซมเครื่องบินตามสัญญาเชาดําเนินงาน ที่เกี่ยวเนื่องกับคาซอม เครื่องบินตามสภาพการบินและเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องบิน ทั้งนี้บริษัทฯ สามารถนําคาใชจายดังกลาวไปขอคืนจากผูให เชาไดจากรายการเงินประกันการบํารุงรักษาเครือ่ งบินตามสัญญาเชา (Maintenance Reserve) และการประมาณการคาซอม บํารุงเพื่อเตรียมสภาพเครื่องบินกอนการสงมอบคืนเครื่องบินเชาดําเนินงาน (Return ondition) ณ สิ้นป 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีอัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน (Interest Bearing ebt to uity) ลดลงจาก 5 เทา ณ 31 ธันวาคม 255 เปน 5 0 เทา ส น องผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สวนของผูถือหุนมีจํานวน 33 5 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 255 จํานวน 662 ลานบาท (2 0 ) สาเหตุหลักเกิดจากการรับรูกําไรจากการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของการปองกันความเสี่ยงกระแส เงินสดเ พาะสวนที่มีประสิทธิผล และสวนหนึ่งเกิดจากกําไรจากการดําเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทยอยในป 2559 ทําให อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (Return on uity) เพิ่มขึ้นจากติดลบรอยละ 35 2 ในป 255 เปนรอยละ 0 1 ในปนี้
. ปจจัยที่มีผลกระทบตอผลการดาเนินงานในอนาคต
การคาดการณอุตสาหกรรมการบินของโลกในป 2560 คาดวายังคงเติบโตตอเนื่องเปนปที่ 3 ติดตอกัน สวนหนึ่งเกิดจาก เศรษฐกิจโลกฟนตัวอยางคอยเปนคอยไป แมแนวโนมกําไรจะลดลงเล็กนอยจากป 2559 จากผลของราคานํ้ามันที่คาดวาจะ ปรับตัวสูงขึ้น และการแขงขันที่รุนแรง ขณะที่เศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังมีความไมแนนอนของนโยบายเศรษฐกิจ แนวโนมอุตสาหกรรมการบินของไทยในป 2560 ยังคงขยายตัวอยางตอเนื่องจากแนวโนมการขยายตัวของอุตสาหกรรม การทองเที่ยว และนโยบายการสงเสริมใหประเทศไทยเปนศูนยกลางในการเพิ่มเสนทางบินของสายการบินตนทุนตํ่าของ กระทรวงการทองเที่ยวและกี า และในขณะเดียวกันก็จะทําใหการแขงขันภายในอุตสาหกรรมการบินมีความรุนแรงเพิ่มมาก ขึ้นดวย นอกจากนี้ ความสําเร็จในการแกไขขอบกพรองที่มีนัยสําคัญดานความปลอดภัย (Signi icant Sa ety oncern SS ) ของประเทศไทย มีความสําคัญอยางยิง่ ตอการพิจารณาของสํานักงานบริหารการบินแหงชาติสหรัฐอเมริกา (Federa Aviation Ad inistration FAA) ในการปรับปรุงมาตรฐานการกํากับดูแลหนวยงานการบินของประเทศไทยจากประเภทที่ 2 ( ategory 2) ในปจจุบันกลับคืนสถานะเปนประเภทที่ 1 ( ategory 1) ซึ่งจะมีผลกระทบในทางบวกตอประเทศไทย ในป 2560 บริษัทฯ จะเขาสูระยะที่ 3 ของแผนปฏิรูปองคกร คือ เติบโตอยางมีกําไรในระยะยาว โดยกําหนดกลยุทธไว 6 กลยุทธ ไดแก การพั นาเครือขายการบินที่แขงขันได ทํากําไร และลดความซับซอนของฝูงบิน การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และเสริมสรางรายได การสรางความเปนเลิศในการใหบริการ การมีตนทุนที่แขงขันได และการดําเนินการมีประสิทธิภาพ การสรางวั นธรรมองคกรที่สนับสนุนความยั่งยืน และพั นาบุคลากรใหมีคุณภาพดีเยี่ยม การบริหารบริษัทในเครือและกลุมธุรกิจ และพั นากลยุทธธุรกิจใหมเพื่อความยั่งยืน 140 รายงานประจําป 2559
การวิ ราะ และ าอธิบาย อ ายจ การ
ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดจัดใหมีการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนอยางใกลชิด เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทฯ จะสามารถปรับปรุง แผนงานใหสะทอนตอการเปลี่ยนแปลงของสถานการณตางๆ ไดอยางทันทวงที นอกจากนี้ ยังมีแผนการดําเนินการที่สําคัญดังนี้ การยกเลิกทําการบินที่ทาอากาศยานดอนเมืองของสายการบินไทยสมายล เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 โดยใหยุบรวม และใชทาอากาศยานสุวรรณภูมิเปนฐานการบินเพียงแหงเดียว ซึ่งเปนหนึ่งในการปรับแผนยุทธศาสตรเพื่อเตรียมพรอมรองรับ การขยายตัวเปดตลาดการบินใหมๆ ในตางประเทศโดยจะเนนตลาดอินเดีย จีน และอาเซียน นอกจากนี้ ยังเปนการเชื่อมตอ ผูโดยสารจากเที่ยวบินของการบินไทยที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิไดอยางสะดวกสบายมากขึ้น การเพิ่มศักยภาพฝูงบินดวยแผนการรับมอบเครื่องบินใหม ลํา ในป 2560 ประกอบดวยเครื่องบินแบบแอรบัส A350-900 XWB จํานวน 5 ลํา และเครื่องบินแบบโบอิ้ง -9 จํานวน 2 ลํา โดยมีแผนนํามาใชบินในเสนทางบินขามทวีป เปนหลัก การจัดทําโครงการ e Web and Mobi e P at or เพื่อปรับเปลี่ยนการใหบริการทางชองดิจิทัลใหมเพื่อใหมี ประสิทธิภาพสูงในระดับเดียวกันกับสายการบินชั้นนําของโลก และตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางเต็มที่ การปรับปรุงรูปแบบและคุณภาพของที่นั่งโดยสารและระบบสาระบันเทิงโดยปรับปรุงอุปกรณในเครื่องบินทุกลําที่เปน แบบเดียวกัน ใหมที นี่ งั่ โดยสารและระบบสาระบันเทิงลักษณะเดียวกันในแตละชัน้ โดยสาร เพือ่ สรางความพึงพอใจใหกบั ผูโ ดยสาร ทําใหมีสัดสวนเครื่องบินที่ทันสมัยเพิ่มขึ้น การดําเนินโครงการพั นาศูนยซอมอากาศยาน ณ ทาอากาศยานนานาชาติอูตะเภา ซึ่งเปนหนึ่งในแผนพั นาพื้นที่ ฝงทะเลดานตะวันออกของรัฐบาล โดยบริษัทฯ ไดรบั ความไววางใจจากรัฐบาลใหดาํ เนินการในโครงการนีเ้ นือ่ งจากความพรอม ของบริษัทฯ และศักยภาพของทรัพยากรบุคคล ทั้งนี้ หากการดําเนินการเกิดผลสําเร็จอยางเปนรูปธรรมไมเพียงแตจะสามารถ รองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมการบินในภูมภิ าคเอเซียแปซิฟก เทานัน้ แตยงั สนับสนุนใหเกิดการพั นาไปสูง านบริการดาน อื่นๆ อีกดวย เชน ธุรกิจบริการภาคพื้น ธุรกิจคลังสินคา และการขนสงสินคา เปนตน ซึ่งจะทําใหรายไดของบริษัทฯ ในอนาคต มีความสมดุลมากขึ้นโดยไมตองพึ่งพาเ พาะรายไดจากการขนสงผูโดยสารเทานั้น
5. สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สาคั ม
อัตราส น างการ งิน อัตราสวนสภาพคลอง เทา อัตราส น ส งค ามสามารถ นการหากา ร อัตรากําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงาน รอยละ อัตรากําไร (ขาดทุน) สุทธิ รอยละ อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน รอยละ อัตราส น ส ง ร สิ ธิภาพ นการ า นินงาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย รอยละ อัตราส น ิ ครา หน บา างการ งิน อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน (Interest Bearing ebt to uity) เทา อัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุน (Tota ebt to uity) เทา อัตราสวนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย เทา
ธ
2559
2558
0
0
2 25 0 03 0 14
(0 69) (6 90) (35 16)
1 34
(2 0)
49 43 4 66
5 4 19 3 32
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 141
ความหมายแล สู รในการคานว อั ราสวนทา การเ ิน
อั ราสวนส า คลอ สินทรัพยหมุนเวียน (ไมรวมสินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย) หนี้สินหมุนเวียน (ไมรวมรายรับดานการขนสง ที่ยังไมถือเปนรายได) อั รากาไร าดทน ากการดาเนิน าน กําไร(ขาดทุน) จากการดําเนินงาน รายไดรวม (ไมรวมอัตราแลกเปลี่ยน) อั รากาไร าดทน สท ิ et rofit oss ar i กําไร(ขาดทุน)สุทธิ รายไดรวม (ไมรวมอัตราแลกเปลี่ยน) อั รา ล อบแทน อสวน อ ู ือหน etur o uit กําไร(ขาดทุน)สุทธิ สวนของผูถือหุนเ ลี่ย อั รา ล อบแทน ากสินทรั ย etur o Tota sset กําไร(ขาดทุน)กอนหักดอกเบี้ยและภาษี สินทรัพยรวมเ ลี่ย อั ราสวนหนีสินที่มี าร ดอกเบีย อสวน อ ู ือหน terest eari e t to uit (เงินกูยืมระยะสั้น หนี้สินระยะยาวรวมสวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป) สวนของผูถือหุน อั ราสวนหนีสินรวม อสวน อ ู ือหน Tota e t to uit หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน อั ราสวนความสามาร ในการ าร ดอกเบีย BIT A ดอกเบี้ยจาย
142 รายงานประจําป 2559
บการ ิน
การ น
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 143
รายงานของผูสอบบั
ี
เสนอ ผูถ อื หุน บริษทั การบินไทย จากัด (มหา น) ความเหน
สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (กลุมบริษัท) และงบการเงินเ พาะกิจการของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) (บริษัท) ซึ่งประกอบดวยงบแสดงฐานะ การเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเ พาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จเ พาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนเ พาะ กิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเ พาะกิจการสําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน รวมและหมายเหตุประกอบงบการเงินเ พาะกิจการ รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีทสี่ าํ คัญ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการขางตนนีแ้ สดงฐานะการเงินรวมของ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และฐานะการเงินเ พาะกิจการของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเ พาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแส เงินสดเ พาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกันโดยถูกตองตามทีค่ วรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
เกณ ในการแสดงความเหน
สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของสํานักงานการ ตรวจเงินแผนดินไดกลาวไวในสวนของความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะ กิจการในรายงานของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินมีความเปนอิสระจากกลุม บริษัทและบริษัท ตามมาตรฐานการตรวจเงินแผนดินทีก่ าํ หนดโดยคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินและขอกําหนดจรรยาบรรณของผูป ระกอบวิชาชีพ บัญชีทกี่ าํ หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ ในสวนทีเ่ กีย่ วของกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะ กิจการ และสํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดปฏิบัติตามความรับผิดชอบดานจรรยาบรรณอื่นๆ ซึ่งเปนไปตามมาตรฐานการ ตรวจเงินแผนดินและขอกําหนดจรรยาบรรณดังกลาว สํานักงานการตรวจเงินแผนดินเชือ่ วาหลักฐานการสอบบัญชีทสี่ าํ นักงาน การตรวจเงินแผนดินไดรบั เพียงพอและเหมาะสม เพือ่ ใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน
เรือ่ งสาคั ในการตรวจสอบ
เรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบคือเรือ่ งตางๆ ทีม่ นี ยั สําคัญทีส่ ดุ ตามดุลยพินจิ เยีย่ งผูป ระกอบวิชาชีพของสํานักงานการตรวจ เงินแผนดินในการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการสําหรับงวดปจจุบนั สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดนาํ เรือ่ งเหลานีม้ าพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็น ของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ทัง้ นีส้ าํ นักงานการตรวจเงินแผนดินไมไดแสดงความเห็นแยกตางหากสําหรับเรือ่ งเหลานี้ สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน มีเรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบทีจ่ ะรายงาน ดังนี้ 1. การดอยคาของเครือ่ งบิน อางถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 5 สินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ อื ไวเพือ่ ขาย ขอ 25 ผลขาดทุนจากการดอยคา เครือ่ งบิน และขอ 4 5 สรุปนโยบายการบัญชีทสี่ าํ คัญ เกีย่ วกับสินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ อื ไวเพือ่ ขาย ซึง่ อธิบายนโยบายการบัญชี ทีเ่ กีย่ วของ
144 รายงานประจําป 2559
บการ ิน
ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน กําหนดใหสนิ ทรัพยทจี่ ดั ประเภทเปนสินทรัพยทถี่ อื ไวเพือ่ ขาย ตองแสดงดวยมูลคา ทีต่ าํ่ กวาระหวางมูลคาตามบัญชีกบั มูลคายุตธิ รรมหักตนทุนในการขาย บริษัทจึงตองทดสอบการดอยคาของเครือ่ งบินที่ไดมกี าร ปลดระวางตามแผนบริหารจัดการเครือ่ งบิน และทบทวนการดอยคาของเครือ่ งบินที่ไดมกี ารปลดระวางแลว ทัง้ นี้ เมือ่ มีการปลด ระวางเครือ่ งบินดังกลาว บริษัทจะจัดประเภทรายการเปนสินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ อื ไวเพือ่ ขาย เนือ่ งจากการประเมินสภาพของสินทรัพยเพือ่ ประเมินมูลคายุตธิ รรมของสินทรัพยมคี วามซับซอน และเปนการใชดลุ ยพินจิ ทีม่ นี ยั สําคัญ ภายใตขอ สมมติทถี่ กู กระทบโดยสภาพเศรษฐกิจโลกและตลาดซือ้ ขายเครือ่ งบินใชแลวในอนาคต ซึง่ บริษัทดําเนินการ ทดสอบการดอยคาของเครือ่ งบินโดยพนักงานของบริษัทตามหลักเกณฑของ T e Internationa Society o Trans ort Aircra t Trading (ISTAT) และใชดลุ ยพินจิ ทีม่ นี ยั สําคัญในการประเมินสภาพขององคประกอบหลักของเครือ่ งบิน อางอิงขอมูลจากนิตยสาร เครื่องบินใชแลว เพื่อนํามาปรับลดมูลคาเครื่องบิน จึงมีความเสี่ยงที่ผลการประเมินอาจผิดพลาดอยางสําคัญได ดวยเหตุนี้ การรับรูผ ลขาดทุนจากการดอยคาเครือ่ งบินจึงเปนเรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดใชวธิ กี ารตรวจสอบทีส่ าํ คัญดังนี้ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดซักถามผูบริหารเกี่ยวกับความเหมาะสมของขอสมมติที่สําคัญสําหรับการคํานวณ มูลคายุตธิ รรมเพือ่ ทดสอบการดอยคาของเครือ่ งบินทีถ่ อื ไวเพือ่ ขาย ทดสอบการคํานวณโดยสอบทานอายุการใหประโยชนของ องคประกอบหลักตามสภาพของเครื่องบิน และเปรียบเทียบมูลคาตามบัญชีกับมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย ซึ่งอางอิง ราคาตลาดจากนิตยสารการขายเครือ่ งบินใชแลว เพือ่ นํามาคํานวณการปรับลดมูลคาองคประกอบหลักตามสภาพของเครือ่ งบิน ตามแนวปฏิบตั ขิ องอุตสาหกรรมการบิน (ISTAT) รวมถึงตรวจสอบการอนุมตั กิ ารปลดระวางเครือ่ งบินและการรับรูด อ ยคาของ เครือ่ งบินโดยผูม อี าํ นาจ 2. ระบบ are Manage en ในระหวางป 2559 บริษัทไดนาํ ระบบ Fare Manage ent มาใชเปนสวนหนึง่ ในการกําหนดราคาบัตรโดยสาร ซึง่ เปน ระบบตนทางของการบันทึกยอดรายไดจากการขนสงผูโดยสาร แตเนื่องจากขอมูลราคาบัตรโดยสารมีโครงสรางราคาและ ชองทางการจําหนายทีห่ ลากหลาย ประกอบกับเปนการนําระบบใหมมาใชเปนครัง้ แรก อาจทําใหเกิดขอผิดพลาดในการบันทึก ขอมูล อีกทัง้ กระบวนการบันทึกรายการและการคํานวณรายไดจากเทีย่ วบิน การวัดมูลคาราคาขาย การบันทึกคาคอมมิชชัน่ และ สวนลด มีความซับซอน หากมีการบันทึกขอมูลในระบบ Fare anage ent ไมถกู ตอง ยอมสงผลตอการรับรูร ายไดคา ขนสง ผูโ ดยสารและบัญชีอนื่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของไมถกู ตองดวยเชนกัน ดังนัน้ เรือ่ งดังกลาวจึงเปนเรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบของสํานักงาน การตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดศกึ ษาทําความเขาใจคูม อื การทํางานของระบบ Fare Manage ent และไดทดสอบ การควบคุมกระบวนการนําเขาขอมูลและประมวลผลของระบบ Fare Manage ent เพือ่ ใหไดความเชือ่ มัน่ ในความถูกตองของผลลัพธจากระบบ Fare anage ent สํานักงานการตรวจเงินแผนดินได ทดสอบการควบคุมการเขาถึงระบบของผูใ ชงาน ทดสอบการควบคุมการเปลีย่ นแปลงแกไขโปรแกรม และทดสอบการปฏิบตั งิ าน ของระบบ การทดสอบการควบคุมเหลานีเ้ พือ่ ใหความเชือ่ มัน่ วาไดมกี ารปฏิบตั ติ ามการควบคุมที่ไดออกแบบไว และสามารถปองกัน การเปลีย่ นแปลงแกไขขอมูล ซึง่ อาจสงผลกระทบตอความถูกตองของขอมูลทางบัญชีเกีย่ วกับรายไดจากการขนสงผูโ ดยสาร วิธีการทดสอบการควบคุมระบบงานนั้นไดทําการตรวจสอบตั้งแตการอนุมัติราคา การนําเขาขอมูลในระบบ Fare anage ent และตรวจสอบอัตราราคาตามระบบ Fare anage ent ที่ไดรบั อนุมตั กิ บั ราคาตามบัตรโดยสาร เพือ่ ใหสามารถ ระบุขอ มูลทีอ่ าจเกิดขอผิดพลาด รวมถึงทดสอบการควบคุมทีส่ าํ คัญ เพือ่ ใหไดความเชือ่ มัน่ วาการควบคุมทีอ่ อกแบบไวมกี ารปฏิบตั ิ อยางเหมาะสม
ขอมูลและเหตุการณทเี่ นน
สํานักงานการตรวจเงินแผนดินขอใหสงั เกตหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 5 เรือ่ งการดําเนินงานตามแผนปฏิรปู ซึง่ อธิบายเกีย่ วกับแผนการดําเนินการจัดหาเงินทุนรวมถึงแผนการบริหารสภาพคลองของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ทัง้ นี้ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินมิไดแสดงความเห็นอยางมีเงือ่ นไขในเรือ่ งดังกลาว
ขอมูลอืน่
ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบตอขอมูลอื่น ขอมูลอื่นประกอบดวย ขอมูลซึ่งรวมอยู ในรายงานประจําป แตไมรวมถึง งบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการและรายงานของผูสอบบัญชีที่อยูในรายงานประจําปนั้นซึ่งผูบริหารคาดวารายงาน ประจําปจะจัดเตรียมใหสาํ นักงานการตรวจเงินแผนดินภายหลังวันที่ในรายงานของผูส อบบัญชีนี้
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 145
ความเห็นของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินตองบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการไมครอบคลุมถึงขอมูลอื่น และสํานักงานการตรวจเงินแผนดินไมไดใหความเชือ่ มัน่ ตอขอมูลอืน่ ความรับผิดชอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะ กิจการคือ การอานและพิจารณาวาขอมูลอืน่ มีความขัดแยงทีม่ สี าระสําคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการหรือกับ ความรูท ี่ไดรบั จากการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน หรือปรากฏวาขอมูลอืน่ มีการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริง อันเปนสาระสําคัญหรือไม เมือ่ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดอา นรายงานประจําป หากสํานักงานการตรวจเงินแผนดินสรุปไดวา มีการแสดงขอมูล ทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินตองสือ่ สารเรือ่ งดังกลาวกับผูม หี นาที่ในการกํากับดูแล
ความรับผิด อบของผูบ ริหารและผูม หี นาทีใ่ นการกากับดูแลตองบการเงินรวม และงบการเงินเ พาะกิจการ
ผูบ ริหารมีหนาทีร่ บั ผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการเหลานีโ้ ดยถูกตองตาม ที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผูบริหารพิจารณาวาจําเปนเพื่อให สามารถจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการทีป่ ราศจากการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวา จะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ ผูบ ริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุม บริษัท และบริษัทในการดําเนินงานตอเนือ่ ง เปดเผยเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการดําเนินงานตอเนือ่ ง และการใชเกณฑการบัญชีสาํ หรับการดําเนิน งานตอเนือ่ งเวนแตผบู ริหารมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเลิกกลุม บริษัทและเลิกบริษัทหรือหยุดดําเนินงานหรือไมสามารถดําเนินงานตอเนือ่ ง ตอไปได ผูม หี นาที่ในการกํากับดูแลมีหนาที่ในการสอดสองดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุม บริษัทและ ของบริษัท
ความรับผิด อบของผูส อบบั
ตี อ การตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ
การตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน มีวัตถุประสงคเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวา งบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการโดยรวมปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด และเสนอรายงานของผูสอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของสํานักงานการตรวจเงิน แผนดินอยูด ว ย ความเชือ่ มัน่ อยางสมเหตุสมผลคือความเชือ่ มัน่ ในระดับสูงแตไมไดเปนการรับประกันวาการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญที่มีอยูไดเสมอไป ขอมูลที่ขัดตอ ขอเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาดและถือวามีสาระสําคัญเมือ่ คาดการณไดอยางสมเหตุสมผลวารายการทีข่ ดั ตอ ขอเท็จจริงแตละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลตอการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผูใ ชงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะ กิจการจากการใชงบการเงินเหลานี้ ในการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินตามมาตรฐานการสอบบัญชี สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดใช ดุลยพินจิ และการสังเกตและสงสัยเยีย่ งผูป ระกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั งิ านของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน รวมถึง ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญในงบการเงินรวมและ งบการเงินเ พาะกิจการ ไมวา จะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั งิ านตามวิธกี ารตรวจสอบเพือ่ ตอบสนอง ตอความเสีย่ งเหลานัน้ และไดหลักฐานการสอบบัญชีทเี่ พียงพอและเหมาะสมเพือ่ เปนเกณฑในการแสดงความเห็นของสํานักงาน การตรวจเงินแผนดิน ความเสีย่ งที่ไมพบขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญซึง่ เปนผลมาจากการทุจริตจะสูงกวาความ เสีย่ งทีเ่ กิดจากขอผิดพลาด เนือ่ งจากการทุจริตอาจเกีย่ วกับการสมรูร ว มคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตัง้ ใจละเวน การแสดงขอมูล การแสดงขอมูลที่ไมตรงตามขอเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน ทําความเขาใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสม กับสถานการณ แตไมใชเพือ่ วัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุม บริษัทและ ของบริษัท ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผูบริหารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและ การเปดเผยขอมูลทีเ่ กีย่ วของซึง่ จัดทําขึน้ โดยผูบ ริหาร
146 รายงานประจําป 2559
บการ ิน
สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใชเกณฑการบัญชีสําหรับการดําเนินงานตอเนื่องของผูบริหารและจาก หลักฐานการสอบบัญชีที่ไดรับ สรุปวามีความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณหรือสถานการณที่อาจเปนเหตุให เกิดขอสงสัยอยางมีนยั สําคัญตอความสามารถของกลุม บริษัทและของบริษัทในการดําเนินงานตอเนือ่ งหรือไม ถาสํานักงานการ ตรวจเงินแผนดินไดขอ สรุปวามีความไมแนนอนทีม่ สี าระสําคัญ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินตองกลาวไวในรายงานของผูส อบ บัญชีของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินถึงการเปดเผยที่เกี่ยวของในงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ หรือถาการ เปดเผยดังกลาวไมเพียงพอ ความเห็นของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินจะเปลีย่ นแปลงไป ขอสรุปของสํานักงานการตรวจเงิน แผนดินขึ้นอยูกับหลักฐานการสอบบัญชีที่ ไดรับจนถึงวันที่ ในรายงานของผูสอบบัญชีของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน อยางไรก็ตาม เหตุการณหรือสถานการณในอนาคตอาจเปนเหตุใหกลุม บริษัทหรือบริษัทตองหยุดการดําเนินงานตอเนือ่ ง ประเมินการนําเสนอโครงสรางและเนื้อหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการโดยรวม รวมถึงการ เปดเผยวางบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการแสดงรายการและเหตุการณในรูปแบบที่ทําใหมีการนําเสนอขอมูลโดย ถูกตองตามทีค่ วร ไดรบั หลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสมอยางเพียงพอเกีย่ วกับขอมูลทางการเงินของบริษัทภายในกลุม หรือกิจกรรม ทางธุรกิจภายในกลุมบริษัท เพื่อแสดงความเห็นตองบการเงินรวม สํานักงานการตรวจเงินแผนดินรับผิดชอบตอการกําหนด แนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบตั งิ านตรวจสอบกลุม บริษัท สํานักงานการตรวจเงินแผนดินเปนผูร บั ผิดชอบแตเพียงผูเ ดียว ตอความเห็นของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดสอื่ สารกับผูม หี นาที่ในการกํากับดูแลเกีย่ วกับขอบเขตและชวงเวลาของการตรวจสอบ ตามที่ไดวางแผนไว ประเด็นที่มีนัยสําคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงขอบกพรองที่มีนัยสําคัญในระบบการควบคุมภายใน ซึง่ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดพบในระหวางการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดใหคาํ รับรองแกผมู หี นาที่ในการกํากับดูแลวาสํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานการตรวจเงินแผนดินและขอกําหนดจรรยาบรรณทีเ่ กีย่ วของกับความเปนอิสระและไดสอื่ สารกับผูม หี นาที่ในการ กํากับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธทั้งหมดตลอดจนเรื่องอื่นซึ่งสํานักงานการตรวจเงินแผนดินเชื่อวามีเหตุผลที่บุคคลภายนอก อาจพิจารณาวากระทบตอความเปนอิสระของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน และมาตรการที่สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ใชเพือ่ ปองกันไมใหสาํ นักงานการตรวจเงินแผนดินขาดความเปนอิสระ จากเรื่องที่สื่อสารกับผูมีหนาที่ในการกํากับดูแล สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดพิจารณาเรื่องตางๆ ที่มีนัยสําคัญ มากทีส่ ดุ ในการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการในงวดปจจุบนั และกําหนดเปนเรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดอธิบายเรื่องเหลานี้ในรายงานของผูสอบบัญชีเวนแตก หมายหรือขอบังคับไมใหเปดเผยตอ สาธารณะเกีย่ วกับเรือ่ งดังกลาว หรือในสถานการณทยี่ ากทีจ่ ะเกิดขึน้ สํานักงานการตรวจเงินแผนดินพิจารณาวาไมควรสือ่ สาร เรือ่ งดังกลาวในรายงานของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินเพราะการกระทําดังกลาวสามารถคาดการณไดอยางสมเหตุสมผลวา จะมีผลกระทบในทางลบมากกวาผลประโยชนตอ สวนไดเสียสาธารณะจากการสือ่ สารดังกลาว
(นาง า พ งชมนา จริยะจินดา) รอง ู าการ ร จ งิน นดิน
(นาง ิพาพร ป ยานนท) ูอําน ยการ ํานัก ร จ อบการ งินท
สานัก านการ รว เ ินแ นดิน วันที่ 23 กุมภาพันธ 2560 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 147
บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย
งบแสดง านะการเงิน วันที่
ันวาคม
หนวย บาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ
สินทรั ย สินทรั ยหมนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา คาใชจายจายลวงหนาและเงินมัดจํา สินคาและพัสดุคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย รวมสินทรั ยหมนเวียน สินทรั ยไมหมนเวียน เงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรั ยไมหมนเวียน รวมสินทรั ย
2558
2559
1 13 3 9 10 4 20 1 350 21 11 925 036 96 5 000 000 130 419 2 9 2 10 35 261 3 11 695 02 25 10 444 1 5 323 904 945 334 21 149 112 9 9 056 5 6 3 4 9 6 5 103 5 920 6 454 4 961 626 43 4 10 20 355 22 9 9 02 240 14 9 0 46 5 12 321 91 69 15 099 392 63 12 321 91 69
61 61 62
2558
1
5 1 6 10 906 6 494 9 060 545 326 5 902 24 322 16 1 6 0 20 15 099 392 63
3 90 65 534 4 39 3 563 1 0 3 520 500 1 0 3 520 500 1 10 209 93 10 209 93 5 5 5 920 4 6 05 2 440 19 63 005 194 91 34 45 20 2 5 363 102 194 63 5 314 20 262 19 695 9 6 3 0 2 159 993 493 10 09 55 6 2 1 031 333 0 10 1 10 014 94 163 6 0 325 6 9 10 000 049 6 4 653 240 1 6 11 14 164 14 939 9 1 2 5 5 2 13 649 56 3 0 9 1 9 44 325
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
148 รายงานประจําป 2559
2559
งบการเงินเ พาะกิจการ
บการ ิน
บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย
งบแสดง านะการเงิน วันที่
ันวาคม
หนวย บาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ
หนีสินแล สวน อ ู ือหน หนีสินหมนเวียน เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย สวนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 12 หนี้สินภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาเครื่องบิน 13 หุนกู 14 เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินปนผลคางจาย รายรับดานขนสงที่ยังไมถือเปนรายได อื่นๆ 15 รวมหนีสินหมนเวียน หนีสินไมหมนเวียน หนี้สินระยะยาว เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 12 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน 12 หนี้สินภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาเครื่องบิน 13 หุนกู 14 หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี 10 2 เงินกองทุนบําเหน็จพนักงาน 16 ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน 1 ประมาณการหนี้สินระยะยาว 1 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนีสินไมหมนเวียน รวมหนีสิน สวน อ ู ือหน ทุนเรือนหุน 20 ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 2 69 90 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาท ทุนที่ออกและชําระแลว หุนสามัญ 2 1 2 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุน กําไร(ขาดทุน)สะสม จัดสรรแลว ทุนสํารองตามก หมาย 21 ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน รวมสวน อ บริ ัทให สวนไดเสียที่ไมมีอานา ควบคม รวมสวน อ ู ือหน รวมหนีสินแล สวน อ ู ือหน
งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
4 951 411 552 16 46 320 92
4 242 439 990 21 3 6 19 260
4 46 44 51 16 910 539 096
4 095 515 53 21 5 14 6
305 10 45 9 461 231 562 5 200 000 000 2 000 000 000 5 400 3 5 000 11 2 0 4 0
240 05 325 9 9 5 6 330 4 300 000 000 4 000 000 000 10 625 3 0 000 452
305 10 45 9 461 231 562 5 200 000 000 2 000 000 000 5 400 3 5 000 -
240 05 325 9 9 5 6 330 4 300 000 000 4 000 000 000 10 625 3 0 000 -
54 36 6 2 111 129 396 1 9 0 1 06 87,520,765,283
54 1 143 24 6 51 12 415 014 030
54 653 2 6 26 624 69 20 9 6 399 45
54 2 143 24 632 513 20 12 99 43 3 4
13 006 551 1 14 620 533 660 55 2 9 234 923 54 100 000 000 1 54 236 0 4 3 10 0 3 100 11 920 0 2 99 365 31 6 2 14 363 624
20 12 65 6 15 25 204 263 6 660 6 659 52 300 000 000 1 66 2 144 3 0 25 506 11 645 226 35 619 309 93 163 940 945
13 006 551 1 14 620 533 660 55 2 9 234 923 54 100 000 000 1 54 236 0 4 3 10 0 3 100 11 903 55 344 034 0 456 14 0 0 624
20 12 65 6 15 25 204 263 6 660 6 659 52 300 000 000 1 66 2 144 3 0 25 506 11 56 261 69 619 309 93 162 6 915
26 9 9 009 500
26 9 9 009 500
26 9 9 009 500
26 9 9 009 500
21 2 19 1 0 25 545 316 30
21 2 19 1 0 25 545 316 30
21 2 19 1 0 25 545 316 30
21 2 19 1 0 25 545 316 30
2 691 2 5 56 (22 16 1 2 423) 5 604 235 654
2 691 2 5 56 (22 24 04 409) 5 039 440 929
2 691 2 5 56 (20 94 92 49 ) 5 604 164 4 2
2 691 2 5 56 (23 6 6 35 3 3) 5 039 440 929
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
(นางอุษ ย
ง ิง ก )
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห
(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห ายการ งิน ะการบั ช
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 149
บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย
งบกาไรขาดทุนเบดเสรจ
สําหรับปสินสุดวันที่
ันวาคม
หนวย บาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ รายได รายได ากการ ายหรือการใหบริการ คาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกิน คาระวางขนสง คาไปรษณียภัณฑ กิจการอื่น รวมรายได ากการ ายหรือการใหบริการ รายไดอื่น ดอกเบี้ยรับ ผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ รายไดอื่นๆ 22 รวมรายไดอื่น รวมรายได คาใ าย คานํ้ามันเครื่องบิน คาใชจายผลประโยชนพนักงาน 23 คาใชจายผลประโยชนตอบแทนตามโครงการ 24 คาบริการการบิน คาใชจายเกี่ยวกับนักบินและลูกเรือ คาซอมแซมและซอมบํารุงอากาศยาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาเชาเครื่องบินและอะไหล คาสินคาและพัสดุใชไป คาใชจายเกี่ยวกับการขายและโ ษณา คาใชจายดานการประกันภัย ผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย ผลขาดทุนจากการดอยคาเครื่องบิน 25 คาใชจายอื่น 26 ตนทุนทางการเงิน สวนแบง(กําไร)ขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม รวมคาใ าย กาไร าดทน กอน า ีเ ินได คาใชจา ย(รายได)ภาษีเงินได 2 กาไร าดทน สาหรับป กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น รายการที่ไมสามารถจัดประเภทใหมเขาไปไวในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลกําไร(ขาดทุน)จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย สําหรับภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ภาษีเงินไดจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย สําหรับภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน สวนแบงกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอืน่ ในการรวมคาและบริษัทรวม สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย ภาษีเงินไดเกีย่ วกับสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย รายการทีส่ ามารถจัดประเภทใหมเขาไปไวในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร(ขาดทุน)จากการเปลีย่ นแปลงในมูลคายุตธิ รรมของการปองกัน ความเสีย่ งกระแสเงินสดเ พาะสวนทีม่ ปี ระสิทธิผล ภาษีเงินไดจากการเปลีย่ นแปลงในมูลคายุตธิ รรมของการปองกัน ความเสีย่ งกระแสเงินสดเ พาะสวนทีม่ ปี ระสิทธิผล ผลกําไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผือ่ ขาย ภาษีเงินไดผลกําไรจากการวัดมูลคาเงินทุนในหลักทรัพยเผือ่ ขาย กาไร าดทน เบดเสร อื่นสาหรับป สท ิ าก า ี กาไร าดทน เบดเสร รวมสาหรับป การแบ ปนกาไร าดทน สวนที่เปน อ บริ ัทให สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม การแบ ปนกาไร าดทน เบดเสร รวม สวนที่เปน อ บริ ัทให สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กาไร าดทน อหน กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐาน
งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
14 060 309 53 1 963 345 043 615 301 46 11 6 3 542 694
152 4 6 4 1 0 9 435 210 562 0 9 100 11 5 144 224
140 63 944 30 1 954 991 320 615 301 46 13 092 261 363
14 915 33 41 1 0 9 166 562 0 9 100 12 3 5 5 2 61
204 313 53 6 4 9 0 54 2 244 421 49
331 925 4 3 511 1 612 6 020 259 32
1 991 509 691 942 292 2 542 5 23
320 659 030 3 4 5 34 6 3 1 25 44
45 335 913 346 29 56 433 554 42 122 345 20 1 532 5 352 6 6 21 16 9 6 636 235 1 990 2 445 9 1 541 115 150 440 9 404 409 93 569 951 46 410 161 132 3 21 4 6 4 41 036 05 5 339 160 50 5 9 446 2 9
63 242 33 143 30 6 620 51 3 3 1 -266 44 20 4 4 091 602 5 312 66 969 10 310 630 041 19 132 9 61 949 9 1 2 16 942 9 499 1 4 19 613 9 9 442 2 1 315 202 11 6 432 369 9 359 059 11 5 9 39 3 (131 1)
43 430 926 16 29 0 1 1 1 41 42 122 345 20 1 150 36 5 091 99 359 14 9 2 5 3 5 9 1 96 669 5 6 55 064 11 569 2 6 2 4 2 509 43 95 410 161 132 3 21 4 6 4 53 3 4 5 5 339 160 50 -
61 94 040 4 1 30 24 536 92 3 3 1 266 - 44 20 034 4 655 5 104 5 6 411 9 652 336 5 6 19 11 961 142 65 995 5 2 5 4 2 922 9 110 10 043 5 639 909 2 1 315 202 11 6 432 369 9 051 104 53 5 9 39 3 -
(1 464 23 106)
(1 069 3 4 3)
(1 4 902 2 3)
(1 0 5 235 656)
051 5 1
(400 6 2 10)
-
(400 6 2 10)
(15 610 316) (5 532) -
0 136 542 (10 391 031) 64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)
-
0 136 542
1 215 9
(2 34 050 220)
1 215- 9
(2 34 050 220)
(143 643 159) 94 (1 9 )
469 610 044 -
(143 643 159) -
469 610 044 -
31 6 1 622
20 43 45
-
-
32 691 04
20 43 45
-
-
0 01
(5 99)
64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)
1 32
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ (นางอุษ ย
ง ิง ก )
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห 150 รายงานประจําป 2559
(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห ายการ งิน ะการบั ช
(5 11)
ยังไมได จัดสรร
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ (นางอุษ ย
-
ง ิง ก )
(12 311 369) (143 643 159) 325,966,885
-
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห
215 9
-
2 462 2 4 -
-
64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)
-
050 220) 469 610 044
64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)
-
050 220) 469 610 044
-
องคประกอบอื่นของสวนผูถือหุน กาไรขาดทุนเบดเสรจอื่น
9
-
-
-
-
630 2 132
1 009 425
631 296 55
(15 525 000) (91 00) 46 21 201
(31 25 000) (31 25 000) (91 00) (91 00) 20 43 45 (13 046 92 4 4) 4 0 503 30 69,743,258 32,925,690,824 69 43 25 32 925 690 24
0 16 601 41 295 932 3
(15 525 000) (91 00) 15 139 5 9 31 6 1 622
(13 06 6 1 941) 4 0 503 30 32,855,947,566 32 55 94 566
41 215 115
(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)
(9 49 095) 5 4 643 20 5,604,235,654
-
5 039 440 929 5,039,440,929 5 039 440 929
-
รวม สวน รวม สวนของ ไดเสียที่ ผูถือหุน ไมมอี านาจ สวนของ บริษัทให ควบคุม ผูถ ือหุน
หนวย บาท
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห ายการ งิน ะการบั ช
(1 95)
-
-
-
-
ภาษีเงินได ภาษีเงินไดจาก การเปลีย่ นแปลง ผลกาไร ผลกาไรจาก ภาษีเงินได การวัด มูลคายุตธิ รรม จากการ เกีย่ วกับ รวม ของการปองกัน วัดมูลคาเงิน มูลคาเงิน สวนเกินทุน ลงทุนใน องคประกอบอืน่ ความเสีย่ งกระแส สวนเกินทุน ลงทุนใน เงินสดเ พาะสวน จากการตีราคา จากการตีราคา หลักทรัพย หลักทรัพย ของสวนของ สินทรัพย เผือ่ ขาย ผูถ อื หุน ทีม่ ปี ระสิทธิผล สินทรัพย เผือ่ ขาย
สวนของบริษัทให
กาไร(ขาดทุน)จาก การเปลีย่ นแปลง ในมูลคายุตธิ รรม ของการปองกัน ความเสีย่ งกระแส เงินสดเ พาะสวน ทีม่ ปี ระสิทธิผล
21 2 19 1 0 25 545 316 30 2 691 2 5 56 ( 49 195 269) ยอดค เหลือ วันที่ มกราคม การเปลีย่ นแปล ในสวน อ ู อื หน หัก เงินปนผลจาย หัก เงินปนผลจายหุน บุรมิ สิทธิชนิดสะสม (13 06 6 1 941) บวก กําไร(ขาดทุน)สําหรับป 255 (330 93 199) (2 34 บวก กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป ยอดค เหลือ วันที่ นั วาคม 21 2 19 1 0 25 545 316 30 2 691 2 5 56 (22 24 04 409) (2 34 ยอดค เหลือ วันที่ มกราคม การเปลีย่ นแปล ในสวน อ ู อื หน หัก เงินปนผลจาย หัก เงินปนผลจายหุน บุรมิ สิทธิชนิดสะสม 15 139 5 9 บวก กําไรสําหรับป 2559 หัก โอนสวนเกินทุนจากการตีราคา 9 49 095 สินทรัพยทจี่ าํ หนาย 55 643 312 1 บวก กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป ยอดค เหลือ วันที่ นั วาคม
ทุน ที่ออกและ สวนเกิน สารองตาม าระแลว มูลคาหุน ก หมาย
กาไร(ขาดทุน)สะสม
ันวาคม
งบการเงินรวม
สําหรับปสินสุดวันที่
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน
บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย
บการ ิน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 151
152 รายงานประจําป 2559 25 545 316 30 -
-
21 2 19 1 0
-
-
(นางอุษ ย
-
-
2 691 2 5 56
-
2 691 2 5 56
สารองตาม ก หมาย
-
กาไร(ขาดทุน)จาก การเปลีย่ นแปลงใน มูลคายุตธิ รรมของ การปองกัน ความเสีย่ งกระแส เงินสดเ พาะสวน ทีม่ ปี ระสิทธิผล
ง ิง ก )
-
2 15 0 1 9 49 095 1 215 9
-
(23 6 6 35 3 3) (2 34 050 220)
(11 163 049 422) (320 546 16 ) (2 34 050 220)
(12 202 61 3)
ยังไมได จัดสรร
กาไร(ขาดทุน)สะสม
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห
25 545 316 30
สวนเกิน มูลคาหุน
21 2 19 1 0
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดค เหลือ วันที่ มกราคม การเปลี่ยนแปล ในสวน อ ู ือหน หัก ขาดทุนสําหรับป 255 บวก กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป 255 ยอดค เหลือ วันที่ ันวาคม ยอดค เหลือ วันที่ มกราคม การเปลี่ยนแปล ในสวน อ ู ือหน บวก กําไรสําหรับป 2559 หัก โอนสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย ที่จําหนาย บวก กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป 2559 ยอดค เหลือ วันที่ ันวาคม
ทุน ที่ออกและ าระแลว
ันวาคม
งบการเงินเ พาะกิจการ
สําหรับปสินสุดวันที่
-
ภาษีเงินได สวนเกินทุนจาก การตีราคา สินทรัพย
-
2 462 2 4
5 4 5 2 63
(9 49 095)
5 039 440 929 5,039,440,929 5 039 440 929
-
รวม องคประกอบอืน่ ของสวนของ ผูถ อื หุน
(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)
-
(12 311 369)
64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)
64 351 3 1 (1 29 4 0 2 6)
-
สวนเกินทุน จากการตีราคา สินทรัพย
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห ายการ งิน ะการบั ช
(143 643 159)
-
469 610 044
469 610 044
-
ภาษีเงินไดจาก การเปลีย่ นแปลง มูลคายุตธิ รรม ของการปองกัน ความเสีย่ งกระแส เงินสดเ พาะสวน ทีม่ ปี ระสิทธิผล
องคประกอบอื่นของสวนผูถือหุน กาไรขาดทุนเบดเสรจอื่น
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน
บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย
5 4 5 2 63
2 15 0 1 -
31 41 394 602
(11 163 049 422) 4 1 94 61
3 61 549 263
รวม สวนของ ผูถือหุน
หนวย บาท
บการ ิน
บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย
งบกระแสเงินสด
สําหรับปสินสุดวันที่
ันวาคม
หนวย บาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ
กร แสเ ินสด ากกิ กรรมดาเนิน าน กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได รายการปรับกระทบยอดกําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินไดเปนเงินสดรับ(จาย) จากกิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาธรรมเนียมเชาเครื่องบิน เงินปนผลรับ ขาดทุน(กําไร)จากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย รายไดจากดอกเบี้ย คาใชจายดอกเบี้ย ขาดทุน(กําไร)จากการจําหนายสินทรัพย ขาดทุนจากการขายเครื่องบิน กําไรจากการกลับรายการหนีส้ นิ หมุนเวียนทีบ่ นั ทึกในงวดบัญชีกอ น กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา กําไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน คาสินคาและพัสดุเสื่อมสภาพ หนี้สงสัยจะสูญ ผลขาดทุนจากการดอยคาเครื่องบิน ผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพยดําเนินงานลดลง(เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การคา สินคาและพัสดุคงเหลือ คาใชจายจายลวงหนาและเงินมัดจํา ภาษีเงินไดรอเรียกคืน ก สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยรอการขาย เงินประกันการบํารุงรักษาเครื่องบินตามสัญญาเชา สินทรัพยอื่น คาใชจายรอการตัดบัญชี หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจาหนี้การคา คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น กองทุนบําเหน็จพนักงาน รายรับดานขนสงที่ยังไมถือเปนรายได หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เ ินสดรับ ากการดาเนิน าน จายภาษีเงินได เ ินสดสท ิไดมา ากกิ กรรมดาเนิน าน
งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
(1 41 416 905)
(14 116 303 26 )
1 393 6 49
(12 23 2 5 0 )
1 990 2 445 199 31 140 (4 2 2 4) 5 9 446 2 9 (204 313 53 ) 5 339 160 50 40 335 50 69 256 925 (610 22 44) (330 305) (51 910 00) 310 166 610 (59 94 994) 3 21 4 6 4 410 161 132
19 132 9 61 1 9 62 5 (619 02 ) (131 1) (331 925 4) 5 9 39 3 ( 6 96 024) 69 941 260 (2 341 400) (2 31 2 2 93) 60 440 461 500 515 63 (122 420 63 ) 11 6 432 369 2 1 315 202
1 96 669 199 31 140 (2 2 24 492) (1 991 509) 5 339 160 50 40 335 50 69 256 925 (613 502 56 ) (536 215 345) 310 166 610 (60 21 0) 3 21 4 6 4 410 161 132
19 11 961 142 1 9 62 5 (192 646 114) (320 659 030) 5 9 39 3 ( 002 34) 69 941 260 (2 291 5 6 4) 5 3 03 632 500 515 63 (123 14 144) 11 6 432 369 2 1 315 202
25 344 21 346
21 446 2 3
2 2 3 6 465
23 262 541 9 0
1 461 36 1 2 623 44 42 55 50 62 102 10 06 (1 9 9 921 313) (1 145 13 326) (4 15 659 622) (221 040 496) (4 65 00 )
1 020 044 63 (26 94 294) 32 239 9 0 246 995 391 (1 662 0 4) (46 04 514) (3 331 300 6 0) 1 3 169 5 4 (93 1 42)
615 22 512 630 931 2 5 4 2 099 3 102 10 06 1 4 1 0 4 205 (1 145 13 326) (4 4 3 906 405) (196 0 0 331) (361 321 646)
1 53 14 051 (12 04 60 ) 951 100 01 246 995 391 (5 039 1 2 06 ) (46 04 514) (3 331 300 6 0) 1 0 599 913 (93 1 42)
919 164 453 (3 932 2 5 5) (264 21 1 ) 2 1 4 96 326 6 65 251 3 9
(1 950 035 90) (2 944 691) ( 2 315) 2 2 332 32 253 030
(2 099 4 5 5) 1 3 6 1 5 34 ( 2 315) 2 201 621 500 1 0 36 26
(564 25 545) 24,558,529,824
(2 6 2 622)
40 69 432 (6 95 622 02) (264 21 1 ) 1 934 542 154 6 434 2 203 26,443,680,743 (522 5 2 261)
(240 413 63 )
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 153
บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย
งบกระแสเงินสด
สําหรับปสินสุดวันที่
ันวาคม
หนวย บาท
งบการเงินรวม หมายเหตุ
กร แสเ ินสด ากกิ กรรมล ทน เงินสดจายซื้อสินทรัพยถาวร เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากโอนสิทธิคาเครื่องบินจายลวงหนา และอุปกรณการบิน เงินสดรับจากการจําหนายสินทรัพย ดอกเบี้ยรับ เงินปนผลรับ เงินลงทุนลดลง(เพิ่มขึ้น) เงินลงทุนชั่วคราวลดลง(เพิ่มขึ้น) เ ินสดสท ิใ ไปในกิ กรรมล ทน กร แสเ ินสด ากกิ กรรม ัดหาเ ิน เงินสดรับจากหุนกู เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว เงินสดจายคืนเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดจายชําระคืนหุนกู เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืมระยะยาว เงินสดจายดอกเบี้ยเงินกูยืม เงินปนผลจาย เงินปนผลจายสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม เ ินสดสท ิใ ไปในกิ กรรม ัดหาเ ิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสด และเงินฝากธนาคารเพิ่มขึ้น เ ินสดแล รายการเทียบเทาเ ินสดปลายป
ข
งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
(5 663 03 902) (34 4 1 222)
(3 21 9 306) (93 394 45 )
(5 645 9 3 640) (25 645 04 )
(3 99 29 409) ( 55 0 )
1 464 450 042 1 9 64 033 263 910 692 (1 3 420) (45 000 000)
1 511 303 492 1 1 3 22 235 306 620 39 153 1 114 14 243 42 35 000 000
1 464 450 042 162 615 5 2 2 24 492 (1 001 9 420) -
1 511 303 492 1 1 3 22 235 295 40 433 192 646 114 1 3 62 -
000 000 000 32 21 4 0 000 1 3 5 931 51 (39 4 9 0 5 000) (4 300 000 000) (20 111 3 3 426) (4 6 156) (4 6) (15 64 400)
15 000 000 000 26 64 550 000 6 394 35 465 (35 6 5 95 000) (3 000 000 000) (24 3 9 90 445) (5 9 9 435 254) ( 1 19 ) (31 6 200)
15 000 000 000 26 64 550 000 6 394 35 465 (35 6 5 95 000) (3 000 000 000) (24 3 9 90 445) (5 9 9 435 254) ( 1 19 ) -
( 43 3 4 951) 20 1 350 21
(2 992 190 55 ) 23 346 551 299
000 000 000 32 21 4 0 000 1 3 5 931 51 (39 4 9 0 5 000) (4 300 000 000) (20 111 3 3 426) (4 6 156) (4 6) (2 154 90 59 ) (6 99 515 905) 1 5 1 6
46 35 004
426 9 9 9 0
46 35 004
426 9 9 9 0
(4 156 2 554) 22 605 00 442
ค
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
(นางอุษ ย
ง ิง ก )
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห
154 รายงานประจําป 2559
(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห ายการ งิน ะการบั ช
บการ ิน
บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย
งบกระแสเงินสด
สําหรับปสินสุดวันที่
ันวาคม
หมายเหตุประกอบงบกระแสเงินสด
ก า ีเงิน ด รอเรียกคืน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉ าะกิจการ
หนวย ลานบาท 2559
รับเงินคืนตาม ภ ง ด 50 ป 255 ปรับปรุงภาษีเงินไดรอเรียกคืน ป 255
252 00 (149 19)
2558 รับเงินคืนตาม ภ ง ด 50 ป 2556 ปรับปรุงภาษีเงินไดรอเรียกคืน ป 255
25 34 (10 34)
ข ที่ดิน อาคาร และอุปกร งบการเงินรวม ในระหวางป 2559 ไดซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ซึ่งมีราคาตนทุนรวม 6 910 04 ลานบาท โดยจายชําระเปนเงินสด 5 663 04 ลานบาท ในระหวางป 255 ไดซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ซึ่งมีราคาตนทุนรวม 16 61 5 ลานบาท ซื้อโดยวิธีสัญญาเชา การเงิน 12 96 ลานบาท และจายชําระเปนเงินสด 3 21 9 ลานบาท งบการเงินเฉ าะกิจการ ในระหวางป 2559 บริษัทฯ ไดซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ซึ่งมีราคาตนทุนรวม 6 93 9 ลานบาท โดยจายชําระเปน เงินสด 5 645 9 ลานบาท ในระหวางป 255 บริษัทฯ ไดซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ซึ่งมีราคาตนทุนรวม 16 596 0 ลานบาท ซื้อโดยวิธีสัญญา เชาการเงิน 12 96 ลานบาท และจายชําระเปนเงินสด 3 99 30 ลานบาท ค เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด
หนวย ลานบาท
งบการเงินรวม เงินสดในมือและยอดคงเหลือในธนาคาร เงินลงทุนระยะสั้น เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตามที่เสนอมากอน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน เ ินสดแล รายการเทียบเทาเ ินสดที่ปรับยอดใหม
(นางอุษ ย
ง ิง ก )
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห หน ยธุรกิจบริการการบิน รักษาการ กรรมการ ูอําน ยการ ห
งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
13 342 9 13 342 9 46 4
20 354 36 20 354 36 426 99
2559 11 11
-
30
30 46 4
2558 1 44 3 1 44 3 426 99
(นาย รง ชัย องธนะ ิ มกษ)
รองกรรมการ ูอําน ยการ ห ายการ งิน ะการบั ช
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 155
บริษัท การบินไทย จากัด (มหา น) และบริษัทยอย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับ สินสุ ัน
ธัน าคม
1. ขอมูลทั่วไป
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จดทะเบียนจัดตั้งเปนบริษัท มหาชน จํากัด ในประเทศไทย และเปน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีที่อยูตามที่ไดจดทะเบียนคือ สํานักงานใหญของบริษัทฯ ตั้งอยูเลขที่ 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯ คือธุรกิจสายการบิน และหนวยธุรกิจ ซึ่งเปนกิจการที่เกี่ยวของโดยตรงกับการขนสง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีเครือขายเสนทางการบินใหบริการครอบคลุม 61 จุดบินใน 32 ประเทศทั่วโลก โดยเปน 4 จุดบินภายในประเทศ (ไมรวมกรุงเทพมหานคร)
2. เกณ ในการจัดทางบการเงิน
การจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ ไดจดั ทําขึน้ ตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปภายใตพระราชบัญญัติ การบัญชี พ ศ 2543 ซึ่งหมายความถึงมาตรฐานการบัญชีที่ออกภายใตพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ ศ 254 และตาม ขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย วาดวยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงินภายใต พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ ศ 2535 งบการเงินเ พาะกิจการประกอบดวยงบการเงินบริษั ท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และกองทุนบําเหน็จพนักงาน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินเ พาะกิจการและบริษัทยอย ดังตอไปนี้ อบริ ือหน ดยบริ ัท 1 บริษัท ไทย-อะมาดิอุสเซาทอีสตเอเชีย จํากัด 2 บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด 3 บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด 4 บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ือหน ดยบริ ัทยอย อ บริ ัท บริษัทยอยที่ถือหุนโดย บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด
ลก
ะธุรกิจ
จ
ประ
นน
อ รารอยละ อ การ อ ุน 2559
2558
บริษัทเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับการเดินทางแบบครบวงจร บริการงานบุคลากรเ พาะดานใหกับบริษัทฯ บริการฝกอบรมดานการบิน บริการขนสงทางอากาศ
ไทย
55
55
ไทย ไทย ไทย
49 49 100
49 49 100
ประกอบธุรกิจทองเที่ยว
ไทย
49
49
บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการคาขายในการเดินอากาศ (Air ine erator icense A ) ใบรับรองผูดําเนินการเดินอากาศ (Air ine erator erti icate A ) และรหัสสายการบิน (Air ine esignator ode) จาก IATA เมื่อวันที่ 10 มกราคม 31 มีนาคม และ 1 เมษายน 255 ตามลําดับ ทั้งนี้ บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ไดเริ่มดําเนินธุรกิจเมื่อวันที่ 10 เมษายน 255 บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของบริษัทฯ การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อบริษัทฯ มีอํานาจควบคุมทั้งทางตรงหรือ ทางออม ในการกําหนดนโยบายทางการเงิน และการดําเนินงานของบริษัทยอยนั้น และรายการบัญชีที่เปนสาระสําคัญที่เกิด ขึ้นระหวางบริษัทใหญ และบริษัทยอยไดถูกหักกลบลบกันในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงิน บับภาษาอังก ษแปลจากงบการเงินที่เปนภาษาไทย ในกรณีที่มีเนื้อความขัดแยงกันหรือมีการตีความในสอง ภาษาแตกตางกัน ใหใชงบการเงิน บับภาษาไทยเปนหลัก งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิม ในการวัดมูลคาขององคประกอบของงบการเงิน เวนแตจะไดเปดเผย เปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 156 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
3. มาตร านการบั ี มาตร านการรายงานทางการเงิน การตีความมาตร านการบั ี และการตีความมาตร านการรายงานทางการเงิน ที่ยังไมมีผลบังคับใ มีรายละเอียดดังตอไปนี้
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่มีผลบังคับใชสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชี บับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การนําเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง สินคาคงเหลือ มาตรฐานการบัญชี บับที่ (ปรับปรุง 2559) เรื่อง งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชี บับที่ (ปรับปรุง 2559) เรื่อง นโยบายการบัญชีการเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและขอผิดพลาด มาตรฐานการบัญชี บับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 11 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง สัญญากอสราง มาตรฐานการบัญชี บับที่ 12 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ภาษีเงินได มาตรฐานการบัญชี บับที่ 16 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ มาตรฐานการบัญชี บับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง สัญญาเชา มาตรฐานการบัญชี บับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง รายได มาตรฐานการบัญชี บับที่ 19 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 20 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชี บับที่ 21 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ มาตรฐานการบัญชี บับที่ 23 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ตนทุนการกูยืม มาตรฐานการบัญชี บับที่ 24 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกัน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 26 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน เมื่อออกจากงาน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง งบการเงินเ พาะกิจการ มาตรฐานการบัญชี บับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม และการรวมคา มาตรฐานการบัญชี บับที่ 29 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจ ที่เงินเฟอรุนแรง มาตรฐานการบัญชี บับที่ 33 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง กําไรตอหุน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 34 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การรายงานทางการเงินระหวางกาล มาตรฐานการบัญชี บับที่ 36 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย มาตรฐานการบัญชี บับที่ 3 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชี บับที่ 3 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 40 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 41 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เกษตรกรรม มาตรฐานการบัญชี บับที่ 104 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การบัญชีสําหรับการปรับโครงสรางหนี้ที่มีปญหา มาตรฐานการบัญชี บับที่ 105 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุน มาตรฐานการบัญชี บับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูล สําหรับเครื่องมือทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 2 เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ (ปรับปรุง 2559) บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 157
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 3 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 4 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 5 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 6 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 11 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 12 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 13 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 15 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 25 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 29 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 31 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี บับที่ 32 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2559)
เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง สัญญาประกันภัย เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย และการ ดําเนินงานที่ยกเลิก เรื่อง การสํารวจ และประเมินคาแหลงทรัพยากรแร เรื่อง สวนงานดําเนินงาน เรื่อง งบการเงินรวม เรื่อง การรวมการงาน เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียในกิจการอื่น เรื่อง การวัดมูลคายุติธรรม เรื่อง ความชวยเหลือจากรัฐบาล-กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของ อยางเ พาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน เรื่อง สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา เรื่อง ภาษีเงินได-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษี ของกิจการหรือของผูถือหุน เรื่อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบ ก หมาย เรื่อง การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง รายได-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโ ษณา เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต บับที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคลายคลึงกัน บับที่ 4 เรื่อง การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม
บับที่ 5 เรื่อง สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและการปรับปรุงสภาพแวดลอม บับที่ เรื่อง การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี บับที่ 29 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง การรายงานทางการเงิน ในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 10 เรื่อง การรายงานทางการเงินระหวางกาลและการดอยคา (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 12 เรื่อง ขอตกลงสัมปทานบริการ (ปรับปรุง 2559) 158 รายงานประจําป 2559
มาย
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 13 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 14 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 15 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 20 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บับที่ 21 (ปรับปรุง 2559)
ุประกอบ บการ ิน
เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา เรื่อง ขอจํากัดสินทรัพยตามโครงการผลประโยชน ขอกําหนดเงินทุนขั้นตํ่าและปฏิสัมพันธของรายการเหลานี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี บับที่ 19 (ปรับปรุง 2559) เรื่องผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง สัญญาสําหรับการกอสรางอสังหาริมทรัพย เรื่อง การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ เรื่อง การโอนสินทรัพยจากลูกคา เรื่อง ตนทุนการเปดหนาดินในชวงการผลิตสําหรับ เหมืองผิวดิน เรื่อง เงินที่นําสงรัฐ
ฝายบริหารของบริษัทฯ ไดประเมินและเห็นวา มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวขางตนจะไมมีผลกระทบอยาง เปนสาระสําคัญตองบการเงินรวม และงบการเงินเ พาะกิจการที่จะนําเสนอ
. สรุปนโยบายการบั
ีที่สาคั
.1 คาเผื่อหนีสงสัยจะสู ลูกหนี้การคาที่ไมใชสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยพิจารณาลูกหนี้รายตัว และวิเคราะห ประวัตกิ ารชําระหนี้ ขอมูลหลักฐานการติดตอของลูกหนีแ้ ตละรายควบคูไ ปกับการพิจารณาอายุหนีข้ องลูกหนีเ้ ปนเกณฑ ในอัตรา ดังนี้ ระยะเวลาที่คาง าระ
เกินกวา 6 เดือน - 1 ป เกินกวา 1 ป - 2 ป เกินกวา 2 ป
อัตรารอยละของหนีสงสัยจะสู
50 5 100
.2 สินคาและพัสดุคงเหลือ สินคาและพัสดุคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ประกอบดวยอะไหลเครื่องบิน นํ้ามันเครื่องบิน พัสดุสําหรับใชในหองพัก ผูโ ดยสารและการบริการอาหาร สินคาซือ้ มาเพือ่ ขาย เครือ่ งเขียนและพัสดุอนื่ แสดงราคาทุนตามวิธถี วั เ ลีย่ เคลือ่ นที่ (Moving Average) หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะตํ่ากวา และสินคาระหวางทาง แสดงตามราคาทุน ณ วันที่ซื้อ อะไหลเครื่องบินที่ ใชงานอยูตามปกติ ตั้งคาเผื่อพัสดุเสื่อมสภาพในอัตรารอยละ 10 ของยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด อะไหลเครื่องบินที่หมุนเวียนชาและรอการจําหนาย ไดแก อะไหลเครื่องบินที่ ไมใชงานเกิน 2 ป หรือไมมี เครื่องบินอยูในฝูงบิน ตั้งคาเผื่อพัสดุเสื่อมสภาพในอัตรารอยละ 33 33 ของยอดที่เกิดขึ้นในระหวางงวด สินคาลาสมัยและชํารุดรอการจําหนาย ตั้งคาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพเต็มจํานวน .3 เงินลงทุน 4 3 1 เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม บันทึกตามวิธสี ว นไดเสียตามสัดสวนของการลงทุนในบริษัทยอยและ บริษัทรวมในงบการเงินรวม แตบันทึกตามวิธีราคาทุนในงบการเงินเ พาะกิจการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 159
4 3 2 เงินลงทุนชั่วคราวในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนดภายใน 1 ป แสดงมูลคาตามวิธีราคาทุนตัดจําหนาย และตัดบัญชีสวนเกิน สวนตํ่ากวามูลคาตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ซึ่งจํานวนที่ตัดจําหนายนี้จะแสดงเปนรายการ ปรับกับดอกเบี้ยรับ 4 3 3 เงินลงทุนระยะยาวในตราสารทุนที่ ไมอยู ในความตองการของตลาด แสดงตามราคาทุนสุทธิจากคาเผื่อ การดอยคาของหลักทรัพยในกรณีที่มีการดอยคา และรับรูเปนผลขาดทุนในงวดที่เกิดการดอยคาในงบกําไรขาดทุน . ที่ดิน อาคาร อุปกรณและคาเสื่อมราคา 4 4 1 เครื่องบินและเครื่องบินภายใตสัญญาเชา 4 4 1 1 เครื่องบินและเครื่องบินภายใตสัญญาเชา แสดงตามราคาทุนรวมคาเครื่องยนต อุปกรณการบิน อื่นๆ บวกดวยคาตกแตงเครื่องบินกอนนําเครื่องบินมาบริการโดยไมรวมที่นั่งผูโดยสารและประมาณการคาซอมใหญเครื่องบิน ครัง้ แรกและหักดวยสวนลดรับคาสิทธิประโยชนจากการซือ้ เครือ่ งบิน คํานวณคาเสือ่ มราคาโดยวิธเี สนตรงตาม อายุการใชงาน โดยประมาณ 20 ป มีมูลคาคงเหลือรอยละ 10 ของราคาทุน 4 4 1 2 คาซอมใหญเครื่องบิน ( - eck) แสดงแยกประมาณการคาซอมใหญเครื่องบินครั้งแรกเปน สินทรัพย ออกจากตนทุนเครื่องบินและคํานวณคาเสื่อมราคาตามระยะเวลาที่จะซอมใหญครั้งตอไป 4- ป ตามแบบของ เครื่องบิน เมื่อมีการซอมใหญใหบันทึกเปนสินทรัพยแทนสินทรัพยเดิม 4 4 1 3 คาที่นั่งผูโดยสารแสดงเปนสินทรัพยแยกตางหากจากตนทุนเครื่องบิน คํานวณคาเสื่อมราคาโดย วิธีเสนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณ 5 ป เมื่อมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงที่นั่งผูโดยสารบันทึกเปนสินทรัพยแทน สินทรัพยเดิม 4 4 2 อุปกรณการบินหมุนเวียน แสดงตามราคาทุน ณ วันที่ไดมา คํานวณคาเสื่อมราคาโดยวิธีเสนตรงตามอายุ การใชงานโดยประมาณระหวาง 5-20 ป 4 4 3 ที่ดิน แสดงตามมูลคายุติธรรมตามวิธีตีราคาใหม ประเมินราคาโดยวิธีราคาตลาดจากผูประเมินราคาอิสระ ที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (กลต )ใหความเห็นชอบ มีผลกับงบการเงินรอบระยะเวลา บัญชีป 255 เปนตนไป และกําหนดใหมีการประเมินมูลคาที่ดินทุก 5 ป ทั้งนี้อาจพิจารณาดําเนินการกอนกําหนด หากมีการ เปลี่ยนแปลงที่กระทบตอมูลคายุติธรรมของที่ดินอยางมีนัยสําคัญ มูลคาที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหมไดแสดงเปนสวนหนึ่งใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และรับรูจํานวนสะสมสวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดินในสวนของเจาของ บริษั ทไมมีนโยบายการ จายเงินปนผลสําหรับเงินสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยนี้ 4 4 4 สินทรัพยถาวรอื่น แสดงตามราคาทุน ณ วันที่ ไดมาหรือกอสรางแลวเสร็จ คํานวณคาเสื่อมราคาโดยวิธี เสนตรง ตามอายุการใชงานโดยประมาณระหวาง 3-30 ป 4 4 5 ตนทุนเพื่อการไดมาซึ่งสิทธิการเชาสถานที่ ตัดบัญชีภายในระยะเวลา 10-30 ป ตามอายุสัญญาเชา 4 4 6 กําไรขาดทุนจากการจําหนายเครื่องบิน คํานวณจากผลตางระหวางสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับจากการจําหนาย เครื่องบินกับมูลคาสุทธิตามบัญชีของเครื่องบิน คาซอมใหญ ( - eck) และคาที่นั่งผูโดยสาร สวนกําไรขาดทุนจากการขาย สินทรัพยอนื่ คํานวณจากผลตางระหวางสิง่ ตอบแทนสุทธิที่ไดรบั จากการจําหนายกับมูลคาสุทธิตามบัญชีของสินทรัพยทจี่ าํ หนาย และรับรูเปนรายไดหรือคาใชจายในงบกําไรขาดทุน .5 สินทรัพย ไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายแสดงดวยมูลคาตามบัญชีหรือมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายแลวแต ราคาใดจะตํ่ากวา ขาดทุนจากการดอยคารับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายรับรูเปนรายไดอื่นหรือ คาใชจายอื่นเมื่อมีการจําหนาย .6 สินทรัพย ไมมีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอรประกอบดวย ลิขสิทธิโปรแกรมคอมพิวเตอร (So t are icense) และตนทุนที่เกี่ยวของโดยตรงกับผลิตภัณฑโปรแกรมที่ระบุ ได และมีเอกลักษณเ พาะงานของโปรแกรมที่สามารถแยกออกจากตัวคอมพิวเตอรได สามารถระบุตนทุนไดแนนอน และ 160 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
มีอายุการใชงานทางเศรษฐกิจเกินกวารอบระยะเวลาบัญชีจะรับรูเปนสินทรัพยไมมีตัวตน และตัดจําหนายโดยวิธีเสนตรงตาม อายุงาน 5 ป รายจายที่เกิดขึ้นจากการพั นาและบํารุงดูแลโปรแกรมคอมพิวเตอร ใหบันทึกเปนคาใชจายประจํางวด .
การดอยคาของสินทรัพย บริษั ทฯ พิจารณาการดอยคาของสินทรัพยเมื่อมีขอบงชี้ของการดอยคา และคํานวณผลขาดทุนจากการดอยคา โดยพิจารณาจากราคาตามบัญชีของสินทรัพยมีมูลคาสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพย มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน หมายถึง มูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย ซึ่งบริษัทฯ พิจารณาการดอยคาเ พาะหมวดเครื่องบิน และเครื่องยนตอะไหลที่ ปลดระวาง โดยผูเชี่ยวชาญในการประเมินราคาเครื่องบินของบริษัทฯ ประเมินมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ซึ่งอางอิงจากราคา ตลาดที่ประกาศโดยผูเชี่ยวชาญการประเมินราคาเครื่องบิน และดําเนินการปรับปรุงเพิ่มเติมตามสภาพระยะเวลาการใชงาน ของเครื่องบินตามวิธีการที่กําหนดเปนมาตรฐานในกระบวนการประเมินราคาเครื่องบิน ในกรณีทรี่ าคาตามบัญชีของสินทรัพยสงู กวามูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืน จะรับรูข าดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และจะบันทึกกลับรายการขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยเมื่อมีขอบงชี้วาการดอยคาดังกลาว ไมมีอยูอีกตอไปหรือยังคงมีอยูแตเปนไปในทางที่ลดลง .8 คาใ จายรอการตัดบั ี 4 1 คาซอมใหญเครื่องบิน ( - eck) สําหรับเครื่องบินเชาดําเนินงาน ตัดจายเปนรายจายตามอายุการใชงาน โดยประมาณ 4- ป แตไมเกินอายุสัญญาเชา 4 2 คาธรรมเนียมการคํา้ ประกันเงินกูร อการตัดบัญชี ตัดจายเปนรายจายตามระยะเวลาเงินกูใ นแตละรอบระยะ เวลาบัญชี .9 หนีสินภายใตเงื่อนไขสั าเ าเครื่องบิน หนี้ที่เกิดจากการซื้อเครื่องบินภายใตสัญญาเชาระยะยาว โดยผานสถาบันการเงิน แสดงมูลคาตามภาระหนี้ผูกพัน กับสถาบันการเงิน และจะลดมูลคาลงตามจํานวนหนี้ที่จายชําระคืน .10 การรับรูรายได 4 10 1 รายไดคาโดยสารและคานํ้าหนักสวนเกิน 4 10 1 1 รายรับจากการจําหนายบัตรโดยสารและใบสั่งบริการ (Service rder) รับรูเปนรายไดเมื่อมี ผูโดยสารนําบัตรโดยสารมาใชบริการกับสายการบินของบริษั ทฯ ในสวนที่ผูโดยสารไปใชบริการกับสายการบินอื่นจะรับรู สวนตางราคาขายกับยอดที่สายการบินเรียกเก็บเปนรายไดเมื่อสายการบินนั้นเรียกเก็บเงินมา 4 10 1 2 บัตรโดยสารและใบสั่งบริการ (Service rder) ที่จําหนายแลว แตยังไมไดใชบริการ รับรูเปน รายไดเมื่อบัตรโดยสารและใบสั่งบริการนั้นมีอายุเกินกวา 2 ปขึ้นไป 4 10 2 รายไดคา ระวางขนสง รับรูเ มือ่ ไดใหบริการขนสงสินคาและพัสดุภณ ั ฑ และออกใบรับสงสินคาและ พัสดุภณ ั ฑ (Air Waybi ) สําหรับพัสดุภัณฑที่ขนสงโดยสายการบินอื่น จะรับรูสวนตางราคาขายกับยอดที่สายการบินอื่นเรียกเก็บเปน รายไดเมื่อสายการบินนั้นเรียกเก็บเงินมา - พัสดุภัณฑที่บริษั ทฯ ออกใบรับสงสินคาและพัสดุภัณฑแลว แตขนสงโดยสายการบินอื่นจะรับรูเปน รายไดเมื่อสายการบินที่ทําการขนสงไมเรียกเก็บเงินมาภายในระยะเวลา 1 ป 4 10 3 บริษัทฯ ไดนําโครงการสะสมระยะทาง (Roya rc id P us) มาใชสงเสริมการขาย ตั้งแตป 2536 โดย ใหสิทธิพิเศษแกสมาชิกที่เขาโครงการนําระยะทางที่สะสมตามเกณฑที่กําหนดมาใชบริการในอนาคต บริษัทฯ คํานวณมูลคา ยุติธรรมตอไมลโดยใชคาเ ลี่ยของมูลคายุติธรรมของการแลกรางวัลบัตรโดยสาร และมูลคายุติธรรมของการแลกรางวัลอื่นๆ ถวงนํ้าหนักดวยจํานวนการแลกรางวัลทั้งหมด ทั้งนี้วิธีการคํานวณมูลคายุติธรรมของการแลกรางวัลทั้งสองประเภท ใชหลักการเดียวกัน กลาวคือในสวน ของมูลคายุติธรรมของการแลกรางวัลบัตรโดยสาร ใชคาโดยสารเ ลี่ยในแตละเสนทางบินที่สมาชิกสามารถขอใชสิทธิแลก บัตรโดยสาร หารดวยจํานวนไมลที่จะตองใชในการขอใชสิทธิของแตละเขตพื้นที่การบิน ถัวเ ลี่ยถวงนํ้าหนักดวยการใชสิทธิ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 161
ในแตละเขตพื้นที่การบิน และในสวนของมูลคายุติธรรมของการแลกรางวัลอื่นๆ หารดวย จํานวนไมลที่จะตองใชในการขอใช สิทธิแลกรางวัลอืน่ ๆ ถัวเ ลีย่ ถวงนํา้ หนักดวยการใชสทิ ธิแลกรางวัลอืน่ ๆ เปนมูลคาตอไมลของโครงการสะสมระยะทาง จากนัน้ บันทึกบัญชีมูลคาไมลสะสมตามประมาณการใชสิทธิของสมาชิก โดยนําไปลดรายไดคาโดยสารคูกับรายรับดานขนสงที่ยัง ไมถือเปนรายได(ดานหนี้สิน) เมื่อสมาชิกนําสิทธิมาใชบริการจึงรับรูเปนรายได 4 10 3 1 ไมลสะสมของสมาชิกที่ไมนาํ สิทธิมาใชบริการรับรูเ ปนรายไดเมือ่ ไมลสะสมนัน้ มีอายุเกินกวา 3 ป ขึ้นไป 4 10 3 2 การสะสมไมลและการใชไมลสะสมขอแลกรางวัลรวมกับกลุมพันธมิตรการบิน สายการบินและ ธุรกิจคูสัญญาจะเรียกเก็บเงินระหวางกันตามจํานวนไมลสะสมที่สมาชิกไดรับหรือตามจํานวนไมลที่สมาชิกใชแลกรางวัลตาม อัตราราคาตอไมล ตามขอตกลงของคูสัญญาแตละรายและจะรับรูเปนรายไดเมื่อนําสิทธิมาใชบริการ 4 10 3 3 บริษัทฯ มีการขายไมลใหกบั สมาชิกเพือ่ ใหสามารถใชสทิ ธิในการแลกรางวัลเร็วขึน้ จะรับรูร ายได ในผลตางราคาขายกับมูลคาตอไมล 4 10 4 รายไดจากกิจการอื่นของหนวยธุรกิจ ไดแก การบริการซอมบํารุงอากาศยาน การบริการลูกคาภาคพื้น การบริการลานจอดและอุปกรณภาคพืน้ การบริการคลังสินคาจะรับรูเ ปนรายไดเมือ่ ใหบริการ สวนรายไดจากธุรกิจครัวการบิน จะรับรูเปนรายไดเมื่อขาย สวนรายไดจากกิจการสนับสนุนการขนสง ไดแก การจําหนายสินคาปลอดภาษีบนเครื่องบิน และ การจําหนายสินคาที่ระลึกจะรับรูเปนรายไดเมื่อขาย สวนรายไดจากบริการอํานวยการบินจะรับรูเปนรายไดเมื่อใหบริการ 4 10 5 รายไดอื่นรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคาง .11 กาไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน คํานวณโดยหารกําไรหรือขาดทุนที่เปนสวนของบริษัทใหญดวยจํานวนถัวเ ลี่ย ถวงนํ้าหนัก ของหุนสามัญที่ถือโดยผูถือหุนในระหวางงวด .12 รายการที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศทีเ่ กิดขึน้ ในระหวางงวดแปลงคาเปนเงินบาทโดย ใชอตั ราแลกเปลีย่ นตามประกาศ ของธนาคารแหงประเทศไทย ณ วันที่เกิดรายการ ซึ่งเปนอัตราถัวเ ลี่ยของอัตราซื้อและอัตราขาย ทั้งนี้ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 255 เปนตนไป สินทรัพยและหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดบัญชี แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราปดที่ เปนอัตราซื้อถัวเ ลี่ยและขายถัวเ ลี่ยของธนาคารพาณิชยตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย ณ วันที่ในงบแสดงฐานะ การเงินตามลําดับ กําไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้น รับรูเปนรายไดหรือคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ .13 ผลประโย นของพนักงาน ผลประโยชนของพนักงานระยะสั้น บริษัทฯ รับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ผลประโยชนหลังออกจากงาน ภายใตโครงการผลประโยชนที่กําหนดไว และผลประโยชนระยะยาวอื่น ไดบันทึก ในงบการเงิน โดยใชวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว ซึ่งคํานวณโดยนักคณิตศาสตรประกันภัย ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย (Actuaria ains and osses) สําหรับ โครงการผลประโยชนที่กําหนดไว และผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงานจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ .1 กองทุนสารองเลียง ีพ บริษัทฯ ไดจดั ตัง้ “กองทุนสํารองเลีย้ งชีพพนักงานบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)” ซึง่ จดทะเบียนแลว เมือ่ วันที่ 26 มิถุนายน 2535 ตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ ศ 2530 บริหารโดยผูจัดการกองทุนจึงไมปรากฏในงบดุล ของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ จายสมทบเขากองทุนฯ สําหรับสมาชิกทีม่ อี ายุการทํางานไมเกิน 20 ป ในอัตรารอยละ 9 ของเงินเดือน สวนสมาชิกที่มีอายุการทํางานเกิน 20 ป จายสมทบในอัตรารอยละ 10 ของเงินเดือนโดยรับรูเปนคาใชจายของบริษัทฯ .15 ภาษีเงินไดรอการตัดบั ี ภาษีเงินไดคํานวณตามเกณฑที่กําหนดไวในประมวลรัษ ากร 162 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวระหวาง ราคาตามบัญชีกับราคาตามฐานภาษี ของสินทรัพยและหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน ทั้งนี้บริษัทฯจะรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีก็ตอเมื่อมีความเปน ไปไดคอนขางแนที่บริษัทฯจะมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอสําหรับผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษี สินทรัพยภาษีเงินไดรอ การตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่สิ้นรอบระยะเวลารายงาน และจะถูกปรับลดมูลคาตามบัญชีดังกลาว เมื่อมีความเปนไป ไดคอนขางแนวา บริษัทฯ จะไมมีกําไรทางภาษีเพียงพอตอการนําสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีทั้งหมด หรือบางสวนมา ใชประโยชน หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวระหวางราคาตามบัญชีกับราคาตามฐานภาษีของ สินทรัพยไมมีตัวตน และสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย .16 การใ ประมาณการทางบั ี ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป บริษัทฯ และบริษัทยอยตองใชการประมาณและ ตั้งขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอจํานวนเงินที่เกี่ยวกับรายได คาใชจาย สินทรัพย และหนี้สิน รวมทั้งการเปด เผยขอมูลเกี่ยวกับสินทรัพยและหนี้สินอื่นที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งอาจมีผลแตกตางกับผลที่เกิดขึ้นจริง ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางสมํ่าเสมอ การปรับประมาณ การทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ไดรับผลกระทบ .1 เครื่องมือทางการเงิน บริษั ทฯ ใชเครื่องมือทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ โดยไดทาํ ขอตกลงกับคูส ญ ั ญาแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบีย้ โดยใชอตั ราแลกเปลีย่ น และอัตราดอกเบี้ยที่ไดตกลงกันลวงหนา และจะทําการแลกเปลี่ยนเมื่อถึงกําหนดตามสัญญา แตละฝายจะจายและรับเงินตน และหรือดอกเบี้ยในรูปสกุลเงิน และอัตราดอกเบี้ยตามที่ตกลงกัน สวนตางของดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นจะบันทึกเปนดอกเบี้ยจายใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สวนตางของเงินตนจะบันทึกเปนผลกําไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สวนสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาจะรับรูในงบการเงินเมื่อครบกําหนดสัญญา สวนตาง ที่เกิดขึ้นจะบันทึกเปนผลกําไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจัดทําประกันความเสีย่ งราคานํา้ มัน คาธรรมเนียมในการจัดทํา และสวนตางของราคานํา้ มัน ที่เกิดจากการทําสัญญาบันทึกเปนคานํ้ามันเครื่องบินในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ .18 การบั ีเกี่ยวกับการปองกันความเสี่ยง การบัญชีเกี่ยวกับการปองกันความเสี่ยงกระแสเงินสด ในกรณีที่นําเครื่องมือทางการเงินมาใชเพื่อปองกันความเสี่ยงกระแสเงินสดของรายการสินทรัพย และหนี้สินที่ บันทึกในบัญชี หรือของรายการที่คาดวามีโอกาสเกิดขึ้นคอนขางสูงซึ่งมีผลกระทบตอกําไรหรือขาดทุน หากเปนรายการสวน ที่มีประสิทธิผลใหบันทึกกําไรหรือขาดทุนจากการวัดมูลคายุติธรรมภายหลังการบันทึกครั้งแรกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น โดยแสดงเปนรายการปองกันความเสีย่ งกระแสเงินสดแยกตางหากในสวนของผูถ อื หุน สําหรับสวนที่ไมมปี ระสิทธิผล จะบันทึก ในกําไรหรือขาดทุนทันที การปองกันความเสี่ยงในสวนที่มีประสิทธิผลที่รับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นจะรับรูในกําไรขาดทุนเมื่อรายการที่ คาดวาจะเกิดขึ้นรับรูในกําไรขาดทุน ในกรณีที่รายการที่มีการปองกันความเสี่ยงนั้นไมเกิดขึ้นแลวใหปรับกําไรหรือขาดทุน ที่สะสมอยู ในสวนของ ผูถือหุนนั้น ไปยังกําไรหรือขาดทุนทันที
5. การดาเนินงานตามแผนปฏิรูป
เนื่องจากผลขาดทุนจากการดําเนินงานใน ป 2556 บริษัทฯ ไดจัดทําแผนการแกไขปญหาบริษัทฯ ซึ่งผานความเห็นชอบ ในหลักการจากคณะกรรมการบริษัทฯ แลว เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 255 โดยในระยะเรงดวนมีแผนมุงเนนการเพิ่มรายไดลด คาใชจายเพื่อปรับปรุงผลการดําเนินงานใน ป 255 และจัดหาเงินทุนเพื่อใหบริษัทฯ สามารถดําเนินธุรกิจไดตอไปในอนาคต ตอมา ในป 255 บริษัทฯ ไดดําเนินการตามแผนปฏิรูปที่ไดผานการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 22 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 163
ธันวาคม 255 และไดรับความเห็นชอบใหดําเนินการตามแผนจากคณะกรรมการนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ (คนร ) เมื่อวันที่ 26 มกราคม 255 ซึ่งแผนปฏิรูปจะมีการดําเนินการอยางตอเนื่องระหวางป 255 -2559 ป 255 บริษัทฯ ไดดําเนินการตามแผนปฏิรูปซึ่งขับเคลื่อนโดยกลยุทธหลัก 6 กลยุทธ อยางตอเนื่อง ซึ่งเริ่มตั้งแตไตรมาส ที่ 1 ของป 255 ประกอบดวย การปรับปรุงเครือขายเสนทางบิน โดยยกเลิกเสนทางบินที่ไมมีประสิทธิภาพ และไมทํากําไร การปรับปรุงฝูงบิน โดยการลดแบบเครือ่ งบินเพือ่ ลดตนทุนดานการซอมบํารุง การพาณิชย โดยการปรับปรุงการขาย และการจัด จําหนายเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการหารายไดเพิม่ ขึน้ การปรับปรุงการปฏิบตั กิ ารและตนทุน โดยดําเนินการโครงการรวมใจจาก องคกร (MSP) และ o den Hands ake และลดคาใชจายที่ไมรวมคานํ้ามันเชื้อเพลิง การปรับปรุงโครงสรางองคกร เพื่อให การตัดสินใจที่รวดเร็วขึ้น และการจัดการกลุมธุรกิจของบริษัทฯ อยางเปนระบบ โดยมีกระบวนการติดตามผลอยางใกลชิด แตผลการดําเนินงานปรากฏวารายไดจากการดําเนินงานตามแผนงานไมเปนไปตามเปาหมาย เนื่องจากผลกระทบจาก เศรษฐกิจโลกชะลอตัว สภาวะเศรษฐกิจในประเทศไทยยังไมฟนตัวตามที่คาดหมาย การแขงขันดานราคาที่รุนแรงโดยเ พาะ ในเสนทางภูมิภาคเอเชียที่มีสายการบินตนทุนตํ่าทําการบินดวยความถี่สูงเปนจํานวนมากประกอบกับเหตุการณระเบิดที่ ราชประสงคที่สงผลกระทบตอปริมาณการขนสงผูโดยสารในเสนทางสําคัญลดลงประมาณรอยละ 15-20 ไดแก จีน ญี่ปุน องกง เกาหลี ไตหวันและสิงคโปร สวนคาใชจายโดยรวมใกลเคียงกับเปาหมายแตยังไมเปนไปตามคาดการณไว และไมได ทําใหคาใชจายลดลงอยางมีนัยสําคัญ ทั้งนี้ บริษั ทฯ ไดจัดทําแนวทางแกไขปญหาเรงดวน ดานการลดรายจายและการหา รายไดเพิ่ม และการบริหารการเปลี่ยนแปลง โดยจัดใหมีกระบวนการกํากับดูแลติดตามผลจากผูบริหารระดับสูงอยางใกลชิด เพื่อใหบริษัทฯ สามารถดําเนินงานไดใกลเคียงกับเปาหมายที่วางไวมากที่สุด สําหรับป 2559 บริษัทฯ ไดใชแผนปฏิรูป บับลงวันที่ 4 กุมภาพันธ 2559 โดยอยูในขั้นที่ 2 ของแผนปฏิรูป คือสราง ความแข็งแกรงในการแขงขัน (Strengt Bui ding) ซึ่งประกอบดวย 4 กลยุทธ คือการหารายได การลดคาใชจาย การสราง a abi ity และการสรางความเปนเลิศในการบริการลูกคา โดยมีแผนงานหลักเพื่อสนับสนุน 20 แผนงาน และมีแผนการ ดําเนินงานรายกลยุทธ กําหนดขอบเขต และเปาหมายการทํางานที่ชัดเจน กําหนดผูรับผิดชอบโดยตรงทุกแผนงาน มีบุคลากร จากหนวยงานที่เกี่ยวของเขารวมดําเนินการ อีกทั้งมีกระบวนการในการติดตามผลและแกปญหาอยางใกลชิด โดยมีแผนงานที่ ดําเนินการแลวเสร็จ เชน การวางระบบบริหารเครือขายเสนทางบิน ( et ork Manage ent Syste ) การวางระบบบริหารรายได การยกระดับการใหบริการ ผลิตภัณฑ และอาหารที่ใหบริการในชั้นธุรกิจ การปรับปรุงกระบวนการทํางานใหมีประสิทธิภาพ แผนการบริหารสภาพคลองสําหรับป 2559 บริษัทฯ ไดบริหารเงินกูระยะยาว โดยดําเนินการออกและเสนอขายตราสาร หนี้ประเภทหุนกูภายในประเทศวงเงินรวม 000 ลานบาท และบริหารเงินกูระยะสั้น โดยดําเนินการตออายุ (Ro ver) เงินกูตอจากกระทรวงการคลัง ในรูปแบบการออกตราสาร uro o ercia Pa er ( P) ที่ครบกําหนดออกไปอีก 1 0 วัน เนื่องจากอยูระหวางดําเนินการขายเครื่องบิน A340-600 จํานวน 6 ลํา รวมถึงการบริหารวงเงินสินเชื่อหมุนเวียน (Revo ving redit ine) โดยการคืนตัวแลกเงินที่ครบกําหนด และตออายุ (Ro ver) ตัวแลกเงินในบางสวนทําใหตลอดป 2559 บริษัท ฯ ยังคงมีเงินสดสํารองคงเหลือ ( as on Hand) ในระดับเพียงพอและสามารถดําเนินธุรกิจไดตามปกติ สําหรับป 2560 บริษัทฯ ไดจัดทํางบประมาณการกระแสเงินสดป 2560 ภายใตเงื่อนไขที่ใชความระมัดระวัง ทั้งไดมี แผนการจัดเตรียมเงินทุน เพือ่ รองรับการชําระคาเครือ่ งบินทีม่ กี าํ หนดรับมอบในป 2560 และหนีท้ คี่ รบกําหนดรวมถึงการบริหาร วงเงินสินเชื่อหมุนเวียน (Revo ving redit ine) ประเภท o itted และ nco itted เพื่อใชในการดําเนินกิจการ ซึ่งบริษัทฯ เชื่อมั่นวาหากบริษัทฯ ดําเนินการตามแผนปฏิรูปอยางจริงจังและตอเนื่อง จะสงผลใหบริษัทฯ มีผลประกอบการ ที่ดีขึ้น และจะสงผลใหบริษั ทฯ มีเงินสดสํารองในมือคงเหลืออยูในระดับที่เพียงพอ และสามารถดําเนินกิจการไดตามปกติ หากไมไดรับผลกระทบจากปจจัยภายนอกที่บริษัทฯ ไมสามารถควบคุมได
6. ผลกระทบจากกรณีกรมการบินพลเรือน (เปลี่ยน ื่อเปนกรมทาอากาศยาน) ไมผานการตรวจประเมินของ C
ตามที่องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (I A ) ไดประกาศใน Pub ic Website เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 255 วาพบขอบกพรองอยางมีนยั สําคัญของกรมการบินพลเรือนของประเทศไทย อยางไรก็ตามประกาศดังกลาวไมไดเกีย่ วของกับการ ดําเนินธุรกิจของบริษัทฯโดยตรง ตอมาสํานักงานบริหารการบินแหงชาติสหรัฐอเมริกา (Federa Aviation Ad inistration-FAA) ไดเขามาตรวจสอบระบบการกํากับดูแลความปลอดภัยการบินพลเรือนของประเทศไทย ซึง่ FAA แจงผลการตรวจสอบอยางเปน ทางการวา ระบบการกํากับดูแลความปลอดภัยการบินพลเรือนของประเทศไทยไมเปนไปตามมาตรฐานระหวางประเทศของ อนุสญ ั ญาวาดวยการบินพลเรือนระหวางประเทศเกีย่ วกับการกํากับดูแลความปลอดภัยการบินพลเรือน ซึง่ มีผลใหมกี ารปรับลด 164 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
ระดับไทยมาอยูในกลุม “ ategory 2” จากเดิมที่อยูในกลุม “ ategory 1” ซึ่งมีผลใหสายการบินของประเทศไทย ถูกจํากัด ไมใหเพิ่มเที่ยวบิน หรือ เปดจุดบินเพิ่มขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 255 คณะกรรมาธิการแหงสหภาพยุโรป ( uro ean o ission) ไดมีแถลงการณ Air Sa ety ist ประกาศรายชือ่ สายการบินที่ไมอนุญาตใหทาํ การบินในเขตสหภาพยุโรป โดยมีความเห็นทีเ่ กีย่ วของกับประเทศไทย วา “ o air carriers ro T ai and ere added to t e Air Sa ety ist at t is ti e ” หรือ “ไมปรากฏวามีสายการบิน ของประเทศไทยที่ถูกเพิ่มเติมในรายชื่อสายการบินที่ ไมอนุญาตใหทําการบินในขณะนี้” พรอมทั้งไดแถลงเพิ่มเติมวา คณะ กรรมาธิการแหงสหภาพยุโรปและหนวยงานดานความปลอดภัยดานการบินแหงสหภาพยุโรป มีความปรารถนาที่จะรวมมือกับ หนวยงานดานการบินของไทยอยางตอเนือ่ ง ในอันทีจ่ ะสงเสริมความปลอดภัยดานการบินของประเทศไทย และจะกํากับติดตาม อยางใกลชิดถึงการพั นาการนับจากนี้ จากแถลงการณดังกลาว สายการบินของประเทศไทยก็จะยังคงทําการบินเสนทางบิน ไปยัง 2 ประเทศ ที่เปนสมาชิกสหภาพยุโรปไดตามปกติ รวมทั้งการปฏิบัติการบินโดยใชชื่อเที่ยวบินรวม ( odes are) ไปยัง ประเทศยุโรป บริษัทฯ จึงยังคงใหบริการเสนทางบินสูทวีปยุโรปไดตามปกติ บริษัทฯ ไดผานการตรวจประเมินมาตรฐานดานความปลอดภัยจาก ASA และ ASA อนุญาตใหบริษัทฯ เปนสายการบิน ของประเทศนอกสหภาพยุโรปที่สามารถทําการบินเขานานฟากลุมประเทศสหภาพยุโรปตอไปได (T ird ountry erator T ) โดยมีผลตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม 255 เปนตนไป ทั้งนี้สหภาพยุโรปไดเริ่มอนุญาตให T แกสายการบินนอกกลุม ประเทศสหภาพยุโรปในปนี้เปนปแรก และหากสายการบินใดไมไดรับอนุญาต T จะไมสามารถเขาสหภาพยุโรป ซึ่งจะมีผล ตั้งแตเดือนพ ศจิกายน 2559 เปนตนไป จากการประชุมปรับปรุงบัญชีรายชื่อความปลอดภัยทางอากาศ ( Air Sa ety ist) ของ Air Sa ety o ittee ( -AS ) เมื่อวันที่ ธันวาคม 2559 ผลปรากฏวาสายการบินจากประเทศไทยไมอยูในบัญชีรายชื่อที่ไมอนุญาตใหทําการบิน ในเขตสหภาพยุโรป บริษัทฯ จึงยังคงใหบริการเสนทางบินสูทวีปยุโรปไดตามปกติ
. ขอมูลเพิ่มเติม
.1 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินรวม
เงินสดในประเทศ เงินสดในตางประเทศ เงินฝากธนาคารในประเทศ เงินฝากธนาคารในตางประเทศ รวม
2559
2558
2559
2558
10 61 26 2 6 0 25 65 25
10 32 24 95 5 59 12 15 49
99 26 2 5 3 4 54 6 514 26
9 51 24 95 6 16 4 12 124 9
.2 ลูกหนีการคา งบการเงินรวม
ระยะเวลาคางชําระ ไมเกิน 6 เดือน เกินกวา 6 เดือน - 1 ป เกินกวา 1 ป - 2 ป เกินกวา 2 ป หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนีการคา สท ิ
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
9 922 0 1 5 24 9 4 1 096 24 11 292 03 (933 )
11 429 69 160 60 319 46 941 13 12 50 (1 155 1 )
10 00 96 1 5 22 9 45 1 065 99 11 34 62 (903 44)
10 641 45 160 5 313 4 916 40 12 031 90 (1 125 12)
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 165
.3 สินคาและพัสดุคงเหลือ งบการเงินรวม
อะไหลเครื่องบิน หัก คาเผื่อเสื่อมสภาพ (รอยละ 10 ของยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด) อ ไหลเครื่อ บิน สท ิ อ ไหลร ยน แล อปกร บริการ าค ืน อะไหลเครื่องบินที่หมุนเวียนชาและรอการจําหนาย หัก คาเผื่อเสื่อมสภาพ (รอยละ 33 33 ของยอด ที่เกิดขึ้นระหวางงวด) อ ไหลเครือ่ บินทีห่ มนเวียน า แล รอการ าหนาย สท ิ นํ้ามันเครื่องบิน สินคาซื้อมาเพื่อขาย พัสดุสาํ หรับใชในหองพักผูโ ดยสารและการบริการอาหาร พัสดุและของใชสิ้นเปลือง เครื่องเขียนและพัสดุอื่น สินคาและอะไหลเครื่องบินระหวางทาง รวมสินคาแล สั ดอืน่ สินคาลาสมัยและชํารุดรอการจําหนาย หัก คาเผื่อเสื่อมสภาพ (รอยละ 100) สินคาลาสมัยแล ารดรอการ าหนาย สท ิ รวมสินคาแล ัสดค เหลือ สท ิ รวมสินคาและพัสดุคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด หัก รวมคาเผื่อสินคาและพัสดุเสื่อมสภาพ รวมสินคาแล สั ดค เหลือ สท ิ
2559
2558
2559
2558
3 244 29
4 316 6
3 244 29
4 316 6
(324 43)
(431 6 )
(324 43)
(431 6 )
4 459 99
3 4 03
4 459 99
3 4 03
(3 3 3 0 )
(2 9 9 30)
(3 3 3 0 )
(2 9 9 30)
12 06 213 9 162 65 23 33 0 4 4
649 5 214 61 1 2 52 20 69 94 3 53 93
126 03 210 4 143 99 23 21 5 4 4
649 04 209 5 1 09 20 69 93 14 53 93
59 94 (59 94)
39 (39 )
59 94 (59 94)
39 (39 )
44 23 (3 5 45)
9 3 1 54 (3 450 5)
19 0 (3 5 45)
9 353 4 (3 450 5)
. สินทรัพยหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม
ภาษีเงินไดรอเรียกคืน เงินสด เงินฝากธนาคารกองทุนบําเหน็จ อื่นๆ รวม
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
62 13 3 90 30 5 53 93
35 56 4 2 64 3 352 3
62 13 3 90 30 10 316 66
35 56 4 2 64 11 540 5
.5 สินทรัพย ไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย งบการเงินเ พาะกิจการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายประกอบดวย เครื่องบิน A300-600 จํานวน 1 ลํา A340-500 จํานวน 4 ลํา A340-600 จํานวน 6 ลํา B 3 -400 จํานวน 4 ลํา B 4 -400 จํานวน 4 ลํา ATR 2 จํานวน 2 ลํา และ A330-300 จํานวน 9 ลํา รวม 30 ลํา จํานวนเงิน 14 904 65 ลานบาท เครื่องยนตอะไหลเครื่องบิน จํานวนเงิน 12 1 ลานบาท และสินทรัพยถาวรอื่น จํานวนเงิน 65 93 ลานบาท รวมเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 15 099 39 ลานบาท ในระหวางป 2559 มีสินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายเพิ่มขึ้นประกอบดวยเครื่องยนตอะไหลเครื่องบิน จํานวน เงิน 1 224 5 ลานบาท และสินทรัพยถาวรอื่น จํานวนเงิน 50 26 ลานบาท ประกอบดวยที่ดินที่มีการประเมินราคาใหมในป 255 เปนจํานวนเงิน 506 13 ลานบาท (ราคาทุนเดิม 32 04 ลานบาท) และสินทรัพยอื่น จํานวนเงิน 1 13 ลานบาท รวมเพิ่ม ขึ้นในงวดนี้จํานวน 1 32 01 ลานบาท
166 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
ในระหวางป 2559 ไดมีการโอนกรรมสิทธิเครื่องบิน ATR 2 จํานวน 2 ลํา จํานวนเงิน 64 96 ลานบาท A330-300 จํานวน 2 ลํา จํานวนเงิน 500 0 ลานบาท A340-500 จํานวน 1 ลํา จํานวนเงิน 21 40 ลานบาท และมีการจําหนายเครื่องยนต อะไหลเครือ่ งบิน จํานวนเงิน 1 30 ลานบาท และสินทรัพยถาวรอืน่ จํานวนเงิน 3 30 ลานบาท รวมเปนจํานวนเงินทัง้ สิน้ 1 291 6 ลานบาท ในระหวางป 2559 ไดมีการรับรูดอยคาเครื่องบินจํานวนเงิน 2 92 51 ลานบาท และรับรูดอยคาเครื่องยนตอะไหล เครื่องบิน จํานวนเงิน 325 24 ลานบาท รวมเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 3 21 5 ลานบาท บริษัทฯ ไมมีการปลดระวางเครื่องบิน เพิ่มเติมจากวันที่ 31 ธันวาคม 255 ยังคงเหลือเครื่องบินรอการขาย จํานวน 25 ลํา ซึ่งอยูระหวางดําเนินการขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายประกอบดวย เครื่องบิน A300-600 จํานวน 1 ลํา A340-500 จํานวน 3 ลํา A340-600 จํานวน 6 ลํา B 3 -400 จํานวน 4 ลํา B 4 -400 จํานวน 4 ลํา และ A330-300 จํานวน ลํา รวม 25 ลํา จํานวนเงิน 10 24 9 ลานบาท เครื่องยนตอะไหลเครื่องบิน จํานวนเงิน 1 02 02 ลานบาท และสินทรัพย ถาวรอื่น จํานวนเงิน 569 9 ลานบาท ประกอบดวยที่ดินที่มีการประเมินราคาใหมในป 255 เปนจํานวนเงิน 506 13 ลานบาท (ราคาทุนเดิม 32 04 ลานบาท) และสินทรัพยอื่น จํานวนเงิน 63 6 ลานบาท รวมเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 12 321 9 ลานบาท
.6 เงินลงทุน งบการเงินรวม ื่อบริษัท
บริษัทฯ ถือหุน รอยละ 2559
เ ินล ทนในบริ ัทรวมบันทก ดยวิ ีสวนไดเสีย บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 03 13 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 20 00 ลานบาท) บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชัน่ แนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 4 1 5 51 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 3 369 21 ลานบาท) บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 1 13 00 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 1 666 00 ลานบาท) รวมเ ินล ทน เ ินล ทนร ย ยาวอื่นบันทก ามวิ ีราคาทน บริษัท ขนสงนํ้ามันทางทอ จํากัด บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด Sita Invest ent erti icate บริษัท เทรดสยาม จํากัด (ชําระคาหุน 25 ของทุนจดทะเบียน) Sita In or ation et orking o uting หุนอื่นๆ เงินลงทุนในกองทุนรวมวายุภักษ รวมเ ินล ทนร ย ยาวอื่น
2558
เงินลงทุน วิธีราคาทุน วิธีสวนไดเสีย 2559
2559
2558
2558
หนวย ลานบาท รายไดจาก เงินลงทุน 2559
24 00
24 00 225 00 225 00 26 53 23 0
40 00 22 59
40 00 4 00 4 00 120 62 111 32 5 1 39 22 59 115 19 115 19 1 126 1 1 001 51 319 5 1 2 49
30 00 30 00 39 20
30 00 30 00 30 00 316 0 29 0 62 90 36 5 30 00 305 33 305 33 201 09 1 4 2 26 3 19 5 39 20 360 00 360 00 1 5 12 2 914 41 (1 05 29) (142 3)
0 00026 0 00026 0 00934 0 0006 1 01 0 43 9 63 5 96 30 0 31 2 3 50 3 50 1 5 1 5 -
-
32 60 2 0 1 00
32 5 2 4 1 00
30 46
2558
02
0 0002 0 0001 0 25 0 33 0 21 0 006
02 0 01
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 167
งบการเงินเ พาะกิจการ เงินลงทุน วิธีราคาทุน 2559 2558
บริษัทฯ ถือหุนรอยละ
ื่อบริษัท
2559
เ ินล ทน ่ บันทก ดยวิ ีราคาทน บริ ทั ยอย บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ไทยไฟลท เทรนนิ่ง จํากัด บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด รวม บริ ัทรวม บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 03 13 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 20 00 ลานบาท) บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 4 1 5 51 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 3 369 21 ลานบาท) บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) (มูลคายุติธรรมป 2559 เปนเงิน 1 13 00 ลานบาท และป 255 เปนเงิน 1 666 00 ลานบาท) รวม รวมเ ินล ทน เ ินล ทนร ย ยาวอื่นบันทก ามวิ ีราคาทน บริษัท ขนสงนํ้ามันทางทอ จํากัด บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด Sita Investment Certificate บริษัท เทรดสยาม จํากัด (ชําระคาหุน 25 ของทุนจดทะเบียน) Sita Information Networking Computing หุนอื่นๆ เงินลงทุนในกองทุนรวมวายุภักษ รวมเ ินล ทนร ย ยาวอื่น
2558
55 00 55 00 25 49 00 49 00 09 49 00 49 00 09 100 00 100 00 1 00 00 1 810.21
หนวย ลานบาท รายไดเงินปนผล 2559
2558
25 09 09 00 00 810.21
1 9 18.97
38.78
-
-
24 00
24 00
225 00
225 00
40 00 22 59
40 00 22 59
4 00 115 19
4 00 24 00 115 19 194 3
30 00 30 00 39 20
30 00 30 00 39 20
30 00 305 33 360 00
30 00 305 33 360 00
3
21 60 101 65
45 00 -
30 00 -
1,083.52 1,083.52 263.38 2,893.73 1,893.73 282.35
153.25 192.03
0 00026 0 00026 0 00934 0 0006 0 0002 1 01 0 43 6 64 2 2 30 0 31 2 3 50 3 50 1 5 1 5 0 25
0 0001 0 33
-
-
32 60 2 0 1 00 74.77
32 5 2 4 1 00 72.44
0 21 0 006 0.47
02 0 01 0.62
อมูล างการ งิน สรุ องบริ ั อ หนวย ลานบาท ราย ื่อของบริษัท
บริ ัทยอย บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสต เอเชีย จํากัด บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด
168 รายงานประจําป 2559
ทรัพยสิน
หนีสิน
2 0 20 53 51 3 53 26 4 451 65
0 2 349 62 3 29 4 19 149 33
รายได
กาไร(ขาดทุน)
2 0 34 1 105 2 3 60 2 19 531 54
2 43 9 35 11 62 0 60 (2 064 30)
มาย
ุประกอบ บการ ิน
บริษัทฯ ใชงบการเงินของบริษัทยอย และบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซึ่งงบการเงินของบริษัทรวมยัง ไมผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีรับอนุญาต มาบันทึกเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียในงบการเงินรวม และบันทึกเงินลงทุน ตามวิธีราคาทุนในงบการเงินเ พาะกิจการ . รายการระหวางบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันที่มีสาระสาคั
รา การร ห างกันกับผูถือหุน ห
1 1 เงินกูระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน
หนวย ลานบาท
กูเงินจากตางประเทศผานกระทรวงการคลัง ธนาคารออมสิน รวม
2559
2558
5 400 3 -
3 625 3 000 00
1 2 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน
หนวย ลานบาท
กูเงินจากตางประเทศผานกระทรวงการคลัง รวม
2559
2558
14 620 53
15 25 20
รา การร ห างกันกับบริ ั อ
2 1 รายการขายและซื้อระหวางกัน
หนวย ลานบาท 2558
2559 ขาย
บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด
1 35 2 2 13 5 30 01 1 3 20
ือ
ขาย
ือ
950 0 0 06 143 10
16 4 13 9 03 49 46 5 514 59
60 06 0 05 112 49
2 2 รายการลูกหนี้และเจาหนี้ระหวางกัน
หนวย ลานบาท 2558
2559
บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด บริษัท วิงสแปน เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด บริษัท ทัวรเอื้องหลวง จํากัด บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด
ลูกหนี
เจาหนี
ลูกหนี
เจาหนี
0 15 250 62 11 1 16 6 060 39
0 16 2 6 1 363 65
0 11 211 46 0 1 0 104 09
0 16 2 6 36 5 015 93
รายการลูกหนี้เจาหนี้ระหวางกัน ของบริษัท วิงสแเปน เซอรวิสเซส จํากัด ไดรวมคาใชจายจายลวงหนาจํานวน 249 04 ลานบาท และคาใชจายคางจายจํานวน 264 15 ลานบาท ไวดวย รายการลูกหนีเ้ จาหนีร้ ะหวางกัน ของบริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ไดรวมรายไดคา งรับจํานวน 161 5 ลานบาท และ คาใชจายคางจายจํานวน 1 20 14 ลานบาท บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 169
2 3 สัญญาเชาเครื่องบินระหวางกัน บริษั ทฯไดลงนามในสัญญาเชาชวงเครื่องบิน A320-200 กับบริษั ท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวนทั้งสิ้น 20 ลํา โดยเปนเครื่องบินที่บริษัทฯ เชาดําเนินงานจํานวน 15 ลํา คิดคาเชาชวง รายเดือน และเปนเครื่องบินที่บริษัทฯ จัดหาดวยวิธีเชาซื้อจํานวน 5 ลํา คิดคาเชาชวงเปนรายไตรมาส ซึ่งระยะเวลาเชาชวง เทากับอายุของสัญญาเชาเครื่องบินที่บริษัทฯ ทําสัญญาไวกับบริษัทผูใหเชา
รา การร ห างกันกับบริ ั ร ม
3 1 รายการขายและซื้อระหวางกัน หนวย ลานบาท 2558
2559
บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด บริษัท โรงแรมทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ จํากัด บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน)
ขาย
ือ
0 02 01 0 02 12 66
2 22 0 05 3 6 12 15 99 14 01 0 09
ขาย
0 02 1 60 195 49
3 2 รายการลูกหนี้และเจาหนี้ระหวางกัน
1 12 0 15 310 50 19 06 23 43 0 16 หนวย ลานบาท 2558
2559
บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โ เต็ล จํากัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด บริษัท โรงแรมทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ จํากัด บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน)
ือ
ลูกหนี
เจาหนี
ลูกหนี
เจาหนี
0 02 40 54
0 003 43 45 5 05 0 0 -
0 004 3 22
0 02 36 15 0 34 0 03
นโยบายการกําหนดราคาซือ้ สินคาและบริการระหวางบริษัทกับกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน กําหนดจากราคาปกติของ ธุรกิจ เชนเดียวกับที่กําหนดใหกับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไมเกี่ยวของกันและเปนไปตามราคาตลาด
170 รายงานประจําป 2559
ราคาทน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ปรับปรุง โอน สินทรัพยเพิ่มขึ้น จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คาเสื่อมราคาส สม ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 คาเสื่อมราคา ปรับปรุง โอน จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลคาสท ิ ามบั ี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
เครื่องบิน
เครื่องบิน ภายใต สั าเ า
-
2 566 93 3 59 3 5 922 19 3 1 14 3 550 0 (3 550 0 ) (390 23) (203 0) 1 64 9 43 4 6 63
5 491 24 11 546 25 165 110 4 01 22 ( 01 22) 4 155 1 502 12 239 21 (414 0) (255 44)
เครื่องบินและ เครือ่ งยนตอะไหล จายลวงหนา
.8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ มีรายละเอียดดังนี้
23 9 5 65 1 601 32 (1 53 6 ) (9 5 41) 23 063 9
-
61 20 (222 59) 532 60 -
งานระหวางทา
ันวาคม
36 440 9 (2 44 55) 1 205 5 (1 610 00)
อุปกรณ การบิน หมุนเวียน
วันที่
งบการเงินรวม
-
9 5 3 65 (506 13) (14 15)
ที่ดิน
2 439 2 14 12 (3 6 91) (3 3 ) 2 063 66
6 014 55 230 61 6 245 16
2 514 52 10 05 23 (3 6 91) (3 3 ) -
อาคาร
อาคาร ภายใต สั าเ า
4 510 15 131 9 04 (36 1) 4 605
4 92 5 (12 66) 52 56 (3 2)
คาปรับปรุง อาคาร
รวม
2 41 1 1 292 0 (14 30) (531 1) 2 165 30
1 5 51 1 564 05 (1 93 41) (2 141 43) 1 9 269 39
31 24 0 3 4 0 0 54 (21 1) (3 94 55) 222 26 6 910 04 (5 91) (2 925 29)
เครื่องมือ โรง อม และอุปกรณ
หนวย ลานบาท
มาย ุประกอบ บการ ิน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 171
172 รายงานประจําป 2559
ราคาทน ณ วันที่ 1 มกราคม 255 ปรับปรุง โอน สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย สินทรัพยเพิ่มขึ้น จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 คาเสื่อมราคาส สม ณ วันที่ 1 มกราคม 255 คาเสื่อมราคา ปรับปรุง โอน จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 มูลคาสท ิ ามบั ี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255
เครื่องบิน
-
1 545 91 (40 63 ) 1 46 0 (643 00) 165 110 4
เครื่องบิน ภายใต สั าเ า
5 369 19 53 935 09 6 00 93 910 3 (1 65 9) (23 3 3 3 ) (44 30) (603 0 ) 2 566 93 3 59 3
12 36 65 136 691 33 (9 501 61) (19 143 25) 2 625 20 42 4 (44 30) 5 491 24 11 546 25
เครื่องบินและ เครือ่ งยนตอะไหล จายลวงหนา งานระหวางทา
ันวาคม
23 563 13 1 1 20 ( 04 99) (653 69) 23 9 5 65
-
36 54 25 1 2 3 0 15 20 92 3 (1 212 50) (1 25 04) 36 440 9 61 20
อุปกรณ การบิน หมุนเวียน
วันที่
งบการเงินรวม
-
936 30 64 35 9 5 3 65
ที่ดิน
2 410 50 29 32 2 439 2
5 4 11 230 44 0 26 (0 26) 6 014 55
2 514 52 10 91 51 0 26 13 2 (0 26) 2 514 52 10 05 23
อาคาร
อาคาร ภายใต สั าเ า
4 39 91 15 52 (11 43) (34 5) 4 510 15
4 01 44 (12 2) 39 29 (35 16) 4 92 5
คาปรับปรุง อาคาร
26 33 9 14 3 5 61 00 (453 3) 2 41 1
31 143 56 5 34 99 0 (45 53) 31 24 0
เครื่องมือ โรง อม และอุปกรณ
201 9 2 1 60 9 (42 904 43) (1 90 00) 1 5 51
425 20 1 (69 222 65) 64 35 21 262 96 (2 43 29) 3 4 0 0 54
รวม
หนวย ลานบาท
ราคาทน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ปรับปรุง โอน สินทรัพยเพิ่มขึ้น จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คาเสื่อมราคาส สม ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 คาเสื่อมราคา ปรับปรุง โอน จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลคาสท ิ ามบั ี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
เครื่องบิน
เครื่องบิน ภายใต สั าเ า
-
2 566 93 3 59 3 5 922 19 3 1 14 3 550 0 (3 550 0 ) (390 23) (203 0) 1 64 9 43 4 6 63
5 491 24 11 546 25 165 110 4 01 22 ( 01 22) 4 155 1 502 12 239 21 (414 0) (255 44) 9 646 95 126 334 9 156 393 29
เครื่องบินและ เครือ่ งยนตอะไหล จายลวงหนา
23 9 5 65 1 601 32 (1 53 6 ) (9 5 41) 23 063 9
-
61 20 (222 59) 532 60 3 1 21
งานระหวางทา
ันวาคม
36 440 9 (2 44 55) 1 205 5 (1 610 00) 33 291 2
อุปกรณ การบิน หมุนเวียน
วันที่
งบการเงินเ พาะกิจการ
-
9 5 3 65 (506 13) (14 15) 9 063 3
ที่ดิน
2 439 2 14 12 (3 6 91) (3 3 ) 2 063 66
6 014 55 230 61 6 245 16
2 514 52 10 05 23 (3 6 91) (3 3 ) 2 124 24 10 05 23
อาคาร
อาคาร ภายใต สั าเ า
4 506 23 131 9 (5 01) (36 1) 4 596 3
4 91 (12 66) 41 02 (3 2) 4 6 2
คาปรับปรุง อาคาร
2 325 26 1 292 0 (20 05) (531 1) 2 066 10
31 61 3 (21 1) 21 55 (5 91) 31 224 6
เครื่องมือ โรง อม และอุปกรณ
1 56 1 1 564 05 (1 949 64) (2 141 43) 1 9 160 9
3 3 950 63 (3 94 55) 6 93 9 (2 925 29) 3 4 024 5
รวม
หนวย ลานบาท
มาย ุประกอบ บการ ิน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 173
174 รายงานประจําป 2559
ราคาทน ณ วันที่ 1 มกราคม 255 ปรับปรุง โอน สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย สินทรัพยเพิ่มขึ้น จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 คาเสื่อมราคาส สม ณ วันที่ 1 มกราคม 255 คาเสื่อมราคา ปรับปรุง โอน จําหนาย ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 มูลคาสท ิ ามบั ี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255
เครื่องบิน
-
1 545 91 (40 63 ) 1 46 0 (643 00) 165 110 4
เครื่องบิน ภายใต สั าเ า
5 369 19 53 935 09 6 00 93 910 3 (1 65 9) (23 3 3 3 ) (44 30) (603 0 ) 2 566 93 3 59 3
12 36 65 136 691 33 (9 501 61) (19 143 25) 2 625 20 42 4 (44 30) 5 491 24 11 546 25
เครื่องบินและ เครือ่ งยนตอะไหล จายลวงหนา งานระหวางทา
ันวาคม
23 563 13 1 1 20 ( 04 99) (653 69) 23 9 5 65
-
36 54 25 1 2 3 0 15 20 92 3 (1 212 50) (1 25 04) 36 440 9 61 20
อุปกรณ การบิน หมุนเวียน
วันที่
งบการเงินเ พาะกิจการ
-
936 30 64 35 9 5 3 65
ที่ดิน
2 410 50 29 32 2 439 2
5 4 11 230 44 0 26 (0 26) 6 014 55
2 514 52 10 91 51 0 26 13 2 (0 26) 2 514 52 10 05 23
อาคาร
อาคาร ภายใต สั าเ า
4 39 91 153 60 (11 43) (34 5) 4 506 23
4 01 44 (12 2) 25 62 (35 16) 4 91
คาปรับปรุง อาคาร
26 24 2 14 05 61 00 (453 60) 2 325 26
31 045 29 5 34 969 60 (455 40) 31 61 3
เครื่องมือ โรง อม และอุปกรณ
201 0 21 1 63 0 (42 904 43) (1 9 ) 1 56 1
425 21 90 (69 222 65) 64 35 21 239 19 (2 435 16) 3 3 950 63
รวม
หนวย ลานบาท
มาย
ุประกอบ บการ ิน
ในงวดนี้ บริษัทฯ มีเครื่องบินที่ใชดําเนินงานจํานวน 96 ลํา ประกอบดวย เครื่องบินของบริษัทฯ จํานวน 2 ลํา เครื่องบินภายใตสัญญาเชาทางการเงิน (Finance eases) จํานวน 34 ลํา และเครื่องบินเชาดําเนินงาน ( erating eases) จํานวน 34 ลํา ทั้งนี้ ไมรวมเครื่องบินรอการขายจํานวน 25 ลํา ที่มีมูลคาสุทธิตามบัญชีจํานวน 10 24 9 ลานบาท อุปกรณการบินหมุนเวียน ประกอบดวย เครื่องยนตเครื่องบิน และอะไหลการบินหมุนเวียนอื่น อาคารและอุปกรณ ซึ่งหักคาเสื่อมราคาทั้งจํานวนแลวแตยังคงใชงานอยูจํานวน 0 55 9 ลานบาท ไดรวมอาคาร บนพื้นที่เชาจํานวน 3 924 94 ลานบาทแลว อาคารบนพืน้ ทีเ่ ชา ซึง่ เปนสัญญาเชาทีด่ นิ กับบริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ทีส่ นามบินสุวรรณภูมมิ รี ะยะ เวลา 30 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2549 ถึง 29 กันยายน 25 9 และที่สนามบินดอนเมืองมีระยะเวลา 3 ป เริ่มตั้งแต วันที่ 2 กันยายน 2552 ถึงวันที่ 2 กันยายน 2555 เมือ่ สิน้ สุดสัญญา อาคารและสวนควบตางๆ บนพืน้ ทีเ่ ชาจะตกเปนกรรมสิทธิ ของกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2555 บริษัทฯ ไดทําหนังสือขอเชาพื้นที่ และเชาที่ดินที่สนามบินดอนเมืองกับ บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ระยะเวลา 3 ป นับตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2555 ถึงวันที่ 2 กันยายน 255 เมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม 255 บริษัทฯ ไดทาํ หนังสือถึงบริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) เพือ่ ขอตอสัญญาเชาระยะเวลา 3 ป นับตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 255 ถึงวันที่ 2 กันยายน 2561 ขณะนี้อยูระหวางการเจรจา ทั้งนี้บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ไดเรียกเก็บคาเชาดังกลาวขางตนในอัตราตามสัญญาเดิม ที่ดินในประเทศและตางประเทศของบริษั ทฯ ไดมีการประเมินราคาใหม ในป 255 จากราคาทุนเดิม 936 30 ลานบาท เปน 9 5 3 65 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยที่ดินในเขตกรุงเทพมหานครจํานวนเงิน 00 24 ลานบาท ตางจังหวัด จํานวนเงิน 394 9 ลานบาท และตางประเทศจํานวนเงิน 1 1 1 52 ลานบาท โดยไดรับการประเมินจากบริษัทผูเชี่ยวชาญ การประเมินราคา ที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (กลต ) ใหความเห็นชอบ ซึ่งไดมีการ ประเมินเมื่อเดือนกันยายน 255 ในป 2559 บริษัทฯ ไดจําหนายที่ดินตางจังหวัด จํานวนเงิน 14 15 ลานบาท ประกอบดวย จังหวัดตรัง จํานวน 3 66 ลานบาท (ราคาทุนเดิม 0 ลานบาท) และจังหวัดสุราษ รธานี จํานวนเงิน 10 49 ลานบาท (ราคาทุนเดิม 0 96 ลานบาท) สินทรัพยตามสัญญาเชาการเงิน ไดแก เครื่องบินภายใตสัญญาเชาการเงินที่ทําสัญญาซื้อเครื่องบินเปนเงินสกุล ดอลลารสหรัฐอเมริกา แตบริษัทฯ ไดทําสัญญาเชาทางการเงินเปนเงินสกุลยูโร ดอลลารสหรัฐอเมริกา และเงินเยน .9 สินทรัพยไมมีตัวตน หนวย ลานบาท งบการเงินรวม
ราคาทน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 สินทรัพยเพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คา ัด าหนายส สม ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 คาตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลคาสท ิ ามบั ี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
งบการเงินเ พาะกิจการ
3 516 43 40 1 3 556 61
3 462 1 30 55 3 493 26
2 4 5 10 361 65 2 46 5
2 469 22 350 96 2 20 1
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 175
.10 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบั
ี หนีสินภาษีเงินไดรอการตัดบั ี สิน รัพ ภา งิน รอการตั บั มีผลมาจากความแตกตางชั่วคราวระหวางราคาตามบัญชีกับราคา ตามฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน โดยมีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม
เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เงินสมทบกองทุนบําเหน็จพนักงาน คาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ประมาณการคาใชจายคางจาย สินทรัพยไมมีตัวตน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของการปองกัน ความเสี่ยงกระแสเงินสดเ พาะสวนที่มีประสิทธิผล อื่นๆ รวม
2559
2558
2559
2558
44 1 16 9 51 49 2 9 21 4 316 20 1 23 19 92 2 3 4 01
52 16 232 9 690 15 295 3 9 0 13 600 5 3 19 2 329 05
44 1 16 9 51 49 2 49 4 316 20 1 1 03 19 92 23 0
52 16 232 9 690 15 291 64 3 9 0 13 594 3 3 19 2 313 65
325 9 1 59
469 61 1 61
325 9 -
469 61 -
หนสินภา งิน รอการตั บั งบการเงินรวม
สินทรัพยไมมีตัวตน ผลกําไรจากการตีมูลคาสินทรัพยใหม รวม
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
12 23 1 2 01
13 41 1 29 4
12 23 1 2 01
13 41 1 29 4
อัตราภาษีที่นํามาใชในการวัดมูลคาของสินทรัพย และหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเปนอัตรารอยละ 20
.11 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม 2559
คาใชจายรอการตัดบัญชี เงินประกันการบํารุงรักษาเครื่องบินตามสัญญาเชา (Maintenance Reserve) อื่นๆ รวม
5 153 244 32 66 51
2558
5 306 10 3 331 30 545 4
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ 2559
4 99 5 912 5 3 42
2558
5 306 10 3 331 30 542 34
คาใชจา ยรอการตัดบัญชีประกอบดวย คาซอมใหญเครือ่ งบิน ( - eck) สําหรับเครือ่ งบินเชาดําเนินงานตัดจายเปน รายจายตามอายุการใชงานโดยประมาณ 4- ป แตไมเกินอายุสัญญาเชา และคาธรรมเนียมคํ้าประกันเงินกูซื้อเครื่องบินตัด จายตามระยะเวลาเงินกูในแตละรอบระยะเวลาบัญชี เงินประกันการบํารุงรักษาเครื่องบินตามสัญญาเชา เปนเงินประกันที่ผูใหเชาเรียกเก็บเปนประกันในการบํารุงรักษา เครื่องยนตเครื่องบินตามสภาพการบิน และเงื่อนไขการบํารุงรักษาเครื่องยนต ตามตารางการบํารุงรักษา 176 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
.12 เงินกูยืมระยะยาว งบการเงินรวม และงบการเงินเ พาะกิจการ ตามสกุลเงินกู
สกุลเงินกู
2559
เงินยูโร เงินเยน เงินบาท รวมเงินกูยืมระยะยาว หัก สวนที่ครบกําหนด ชําระภายในหนึ่งป ค เหลือสวนที่เปนเ ินกูยืมร ย ยาว
หนวย ลานบาท
2558
436 10 4 9 466 239 306 4 0 4 029 0 1 029 210 526 25 0 0 6 4 211
2559
2558
16 631 4 1 2 1 50 1 029 21 35 932 19
1 556 09 25 0 0 69 43 626
305 11
240 1
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีเงินกูยืมจากตางประเทศสกุลเงินยูโรผานกระทรวงการคลัง จํานวนเงิน 14,620.53 ลานบาท โดยเบิกรับเงินกูจ ากธนาคารเพือ่ การสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย, เงินกูส กุลเงินเยนเพือ่ การชําระ คืนเงินกูกอนกําหนด สําหรับเครื่องบิน A330-300 (TEN, TEO) จํานวนเงิน 1,271.50 ลานบาท และเงินกูยืมภายในประเทศ จากธนาคารพาณิชยตางๆ จํานวนเงิน 20,040.16 ลานบาท รวมเปนเงินกูยืมทั้งสิ้น จํานวนเงิน 35,932.19 ลานบาท และ โอนไปเปนเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป จํานวนเงิน 8,305.11 ลานบาท คงเหลือเปนเงินกูยืมระยะยาว จํานวนเงิน 27,627.08 ลานบาท .13 หนีสินภายใตเงื่อนไขสั หนีสินภายใตสั
ภายใน 1 ป เกิน 1 ป - 5 ป เกิน 5 ป
รวม
าเ า
าเ าเครื่องบิน งบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ หนวย ลานบาท 2558
2559 มูลคาตามบั
9 461 23 29 5 2 25 06 46
ี
มูลคาปจจุบัน
969 69 24 2 4 1 0 0 46
มูลคาตามบั
9 9 59 34 36 01 32 24 6
ี
มูลคาปจจุบัน
9 42 53 29 15 59 22 2 1
บริษัทฯ ไดทําสัญญาเชาเครื่องบินโดยมีสิทธิเลือกที่จะซื้อไดกับสถาบันการเงินตางประเทศ และในประเทศ รวม 14 แหง และแสดงมูลคาตามนโยบายการบัญชีขอ 4 9 โดยในงวดบัญชีป 2559 มีจํานวนคงเหลือ 34 ลํา เปนภาระหนี้สิน ภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาทั้งสิ้นที่มีกําหนดจายในระหวางป 2560 - 25 1 รวม 69 90 14 ลานบาท หักสวนที่จะบันทึกเปน ดอกเบี้ยจายเมื่อถึงกําหนดจายประมาณ 5 139 6 ลานบาท คงเหลือเปนเงินตนภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาฯ ดังกลาวจํานวน 64 50 4 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โอนไปเปนหนี้สินภายใตเงื่อนไขสัญญาเชาเครื่องบินที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป จํานวน 9 461 23 ลานบาท คงเหลือเปนหนี้สินระยะยาว 55 2 9 24 ลานบาท
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 177
178 รายงานประจําป 2559
60 000
40 000
สามัญ 254 23 ธันวาคม 254
สามัญ 2553 2 เมษายน 2553
30 สิงหาคม 2556
ระหวางป 2556 16 พ ษภาคม 2556
วงเงินที่ อนุมัติให จัดจาหนาย
มติที่ประ ุมให ผูถือหุน ครังที่ วันที่
.1 หุนกู
2554 2554 2554
2554
2555 2555
2555
2555 2555 2555
1 (ชุดที่ 3) 1 (ชุดที่ 4) 1 (ชุดที่ 5)
2
1 (ชุดที่ 1) 1 (ชุดที่ 2)
2
3 (ชุดที่ 1) 3 (ชุดที่ 2) 3 (ชุดที่ 3)
2 2 (ชุดที่ 1) 2 (ชุดที่ 2) 2 (ชุดที่ 3)
2556 2556 2556
2556
2554
1 (ชุดที่ 2)
1
2554
2552 2552
1 (ชุดที่ 1)
1 (ชุดที่ 3) 1 (ชุดที่ 4)
ครังที่ ปที่ จัดจาหนาย จัดจาหนาย อายุ (ป)
5 60 6 00
อัตราดอกเบีย จายทุก 6 เดือน (รอยละ)
5
10
5
12
30 สิงหาคม 2561 5 30 สิงหาคม 2563 30 สิงหาคม 2566 10
16 พ ษภาคม 2561 5
11 ตุลาคม 2560 11 ตุลาคม 2562 11 ตุลาคม 2565
23 มีนาคม 256
16 กุมภาพันธ 2562 16 กุมภาพันธ 2565 10
2 ธันวาคม 2559
45 4 5 16
41
4 51 4 0 4 90
49
4 41 4 5
4 30
ปที่ 1-3 รอยละ 4 00 ปที่ 4-6 รอยละ 4 50 ปที่ รอยละ 5 25 13 พ ษภาคม 2564 10 ปที่ 1-4 รอยละ 4 25 ปที่ 5- รอยละ 4 5 ปที่ 9-10 รอยละ 5 35 13 พ ษภาคม 2559 5 3 91 13 พ ษภาคม 2561 4 36 13 พ ษภาคม 2564 10 4 62
13 พ ษภาคม 2561
20 มกราคม 2559 20 มกราคม 2562 10
ครบกาหนด
การจัดจาหนาย
20 มกราคม
2559
1 250 00 1 250 00 1 500 00 4 000 00
5 000 00 5 000 00
2 000 00 13 พ ษภาคม 1 445 00 2 16 00 000 00 2 000 00 2 ธันวาคม 2 000 00 1 000 00 2 000 00 3 000 00 1 500 00 1 500 00 4 000 00 1 500 00 1 500 00 000 00
33 00
300 00 3 600 00 3 900 00 1 555 00
จานวนเงิน 2560
2561
การไถถอน
2562
2563
1 250 00 1 250 00 1 500 00
5 000 00
4 000 00 1 500 00 1 500 00
1 500 00
1 000 00 2 000 00
-
1 445 00 2 16 00
33 00
1 555 00
3 600 00
หุนกูคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 59
หนวย ลานบาท
000
000
000
วงเงินที่ อนุมัติให จัดจาหนาย
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 ชุดที่ 5
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3
2559 2559 2559 2559 2559
255 255 255 255
255 255 255 255
255 255 255
255 255 255
ครังที่ ปที่ จัดจาหนาย จัดจาหนาย
23 ธันวาคม 2562 3 23 ธันวาคม 2564 5 23 ธันวาคม 2566 23 ธันวาคม 2569 10 23 ธันวาคม 25 1 12
30 กันยายน 2561 3 30 กันยายน 2563 5 30 กันยายน 2565 30 กันยายน 256 10
30 เมษายน 2560 2 30 เมษายน 2563 5 30 เมษายน 2565 30 เมษายน 256 10
26 ธันวาคม 2562 5 26 ธันวาคม 2564 26 ธันวาคม 256 10
0 กุมภาพันธ 2562 5 0 กุมภาพันธ 2564 0 กุมภาพันธ 256 10
ครบกาหนด
อายุ (ป)
29 3 45 3 66 4 35 4 66
3 46 4 14 4 44 4 4
3 5 4 32 4 62 4 92
4 46 4 6 49
4 1 5 14 55
อัตราดอกเบีย จายทุก 6 เดือน (รอยละ)
500 00 500 00 1 000 00 3 000 00 2 000 00 000 00
1 000 00 1 500 00 2 500 00 3 000 00 000 00
1 200 00 1 500 00 2 000 00 2 300 00 000 00
1 230 00 1 340 00 1 430 00 4 000 00
1 200 00 1 000 00 1 000 00 3 200 00
จานวนเงิน 2559
2560
2561
การไถถอน
2562
2563
500 00 500 00 1 000 00 3 000 00 2 000 00
1 000 00 1 500 00 2 500 00 3 000 00
1 200 00 1 500 00 2 000 00 2 300 00
1 230 00 1 340 00 1 430 00
1 200 00 1 000 00 1 000 00
หุนกูคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 59
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีหุนกูคงเหลือ 59 300 00 ลานบาท ไดโอนเปนหนี้สินถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป จํานวน 5 200 00 ลานบาท คงเหลือเปนหนี้สินระยะยาว 54 100 00 ลานบาท บริษัทฯ ไดทําธุรกรรม ross urrency S a เปลี่ยนภาระหนี้หุนกูมูลคา 3 200 00 ลานบาท เปนสกุลยูโรมูลคา 1 24 ลานยูโร ดวยอัตราดอกเบี้ย 2 92 3 9 และ 4 46 ตามลําดับ
รวม
ระหวางป 2559 ครั้งที่ 1 2559 23 ธันวาคม 2559
ครั้งที่ 2 255 30 กันยายน 255
ระหวางป 255 ครั้งที่ 1 255 30 เมษายน 255
ครั้งที่ 2 255 26 ธันวาคม 255
ระหวางป 255 ครั้งที่ 1 255 กุมภาพันธ 255
มติที่ประ ุมให ผูถือหุน ครังที่ วันที่
การจัดจาหนาย
หนวย ลานบาท
มาย ุประกอบ บการ ิน
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 179
บริษั ทฯ ไดขึ้นทะเบียนหุนกูไวกับสมาคมตลาดตราสารหนี้ ไทย (T ai BMA) และอยูในระบบซื้อขายหุนกูของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ยกเวนการออกหุนกูครั้งที่ 1 2552 ซึ่งเสนอขายใหแกผูลงทุนในวงจํากัด (ไมเกิน 10 ราย) .15 หนีสินหมุนเวียนอื่นๆ งบการเงินรวม
เจาหนี้คาธรรมเนียมสนามบิน รายไดรอตัดบัญชี ภาษีรอนําสง เจาหนี้คาใชจายพนักงานทองถิ่นในตางประเทศ เงินมัดจํารับ เจาหนี้พนักงาน รายไดรับลวงหนา เจาหนี้สินทรัพยรอเรียกเก็บ เจาหนี้อื่นๆ รวม
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
5 400 9 4 60 549 36 5 6 24 1 23 41 5 25 133 24 2 1 00
3 965 09 31 41 0 554 93 1 300 21 1 9 191 66 36 14 1 53 1
5 400 9 4 14 54 42 5 6 24 1 230 3 5 25 133 24 1 0 6
3 965 09 6 4 416 4 554 93 1 292 15 1 9 191 66 36 14 5 932 3
.16 เงินกองทุนบาเหนจพนักงาน งบการเงินรวม และงบการเงินเ พาะกิจการ บริษัทฯ ไดจัดตั้งกองทุนบําเหน็จพนักงานบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) โดยจายสมทบกองทุนฯ ในอัตรา รอยละ 10 ของเงินเดือนพนักงาน บริษัทฯ แสดงสินทรัพย หนี้สิน และยอดคงเหลือของกองทุนฯ ในงบแสดงฐานะการเงินของ บริษัทฯ รวมทั้งรับรูดอกผลและคาใชจายที่เกิดจากการดําเนินงานกองทุนฯ เปนรายไดและคาใชจายของบริษัทฯ รายละเอียด ดังนี้ หนวย ลานบาท
สินทรัพยหมุนเวียน อื่นๆ หนี้สินหมุนเวียนอื่น กองทุนเงินบําเหน็จ
รวม รวม
2559
2558
3 90 30 22 0 3 930 3 220 30 3 10 0
4 2 64 55 14 4 333 453 52 3 0 26
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กองทุนฯ มียอดคงเหลือ 3 10 0 ลานบาท เทากับยอดภาระผูกพันของบริษัทฯ ที่จะ ตองจายใหพนักงาน (ในงวดบัญชีนี้ บริษัทฯ จายสมทบกองทุนในอัตรารอยละ 10 เปนเงิน 164 99 ลานบาท หักกับยอดจาย สมทบตามภาระผูกพัน 69 63 ลานบาท คงเหลือเปนเงิน 95 36 ลานบาท) .1 ภาระผูกพันผลประโย นพนักงาน งบการเงินเ พาะกิจการ ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน แบงเปน 5 โครงการ ประกอบดวย 1 1 การจายเงินตอบแทนความชอบในการทํางาน บริษัทฯ ใหผลประโยชนสําหรับพนักงานเกษียณอายุใหได รับเงินคาตอบแทนความชอบในการทํางานดังนี้ พนักงานที่มีอายุงานตั้งแต 5 ป แตไมถึง 15 ป ไดรับคาตอบแทนเทากับ อัตราเงินเดือนคาจางสุดทาย 1 0 วัน และพนักงานที่มีอายุงานตั้งแต 15 ป ขึ้นไป ไดรับเงินคาตอบแทนเทากับอัตราเงินเดือน คาจางสุดทาย 300 วัน 1 2 ผลประโยชนคารักษาพยาบาลหลังเกษียณ บริษั ทฯ ใหผลประโยชนดังนี้ พนักงานที่เกษียณอายุ และ พนักงานที่ ไดรับอนุมัติใหเกษียณอายุกอนกําหนด รวมทั้งคูสมรสและบุตรอายุตํ่ากวา 20 ปบริบูรณที่ยังมิไดสมรสมีสิทธิ เขารับการรักษาพยาบาล ณ สถานพยาบาลของบริษัทฯ ทุกแหงไดโดยไมเสียคาใชจายใดๆ 180 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
1 3 การจายเงินคาชดเชยวันหยุดพักผอนประจําป บริษัทฯ ใหผลประโยชนดังนี้ พนักงานที่ปฏิบัติงานในรอบป หนึ่งๆ จะมีสิทธิลาหยุดพักผอนไดในรอบปถัดไป และพนักงานสามารถสะสมวันหยุดพักผอนประจําปไดไมเกิน 3 ป ติดตอกัน 1 4 ผลตอบแทนพนักงานระยะยาว (แหวน - เข็ม) บริษัทฯ จะมอบรางวัลใหแกพนักงานที่ไดปฏิบัติงานครบ 15 ป และครั้งตอไปจะมอบใหเมื่อพนักงานปฏิบัติงานครบ 25 ป และ 35 ป 1 5 บัตรโดยสารฟรีหลังเกษียณ บริษัทฯ ใหผลประโยชนดังนี้ พนักงานที่ทํางานกับบริษัทฯ มาครบ 15 ป มีสิทธิขอบัตรโดยสารฟรีประเภทสํารองที่นั่งได เ พาะเสนทางที่บริษัทฯ ทําการบินได 1 เที่ยว และหากพนักงานยังคงทํางาน อยูกับบริษั ทฯ จะใชสิทธินี้ ไดอีกทุกรอบ 5 ป ภายหลังจากวันที่มีสิทธิครั้งกอนและพนักงานสามารถเก็บสะสมสิทธิไวใช เมื่อใดก็ได อ สมมติ าน นการ ร มา การตามหลักการค ิต าสตร ร กันภั อัตราคิดลด ( iscount Rate) 32 อัตราเงินเฟอ (Price In ation) 30 อัตราการขึ้นเงินเดือน สําหรับพนักงานในประเทศไทย 3 0 - 0 และพนักงานทองถิ่น 5 0 อัตราการหมุนเวียนพนักงาน (Turnover) สําหรับพนักงานในประเทศไทย 0 0 - 2 0 และพนักงานทองถิน่ 0 0 - 9 0 อัตราเงินเฟอคารักษาพยาบาล 60 อัตรามรณะ TM 0 (อัตราตารางมรณะไทยป 2551) การวิเคราะหขอ สมมติฐานเรือ่ ง อัตราคิดลด ( iscount Rate) ในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ที่ใชในการกําหนดมูลคาปจจุบันของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนที่กําหนดไว และผลประโยชนระยะยาวอื่น หนวย ลานบาท การเปลี่ยนแปลงในมูลคาปจจุบันของ ภาระผูกพัน เพิ่มขน (ลดลง) อัตราเพิ่มขน 1
อัตราลดลง 1
(1 42 59)
1 69 99
อัตราคิดลด ( iscount Rate)
การ ล น ลง นมูลคา
ุบัน องภาร ผูกพันผล ร
นพนักงาน
งบการเงินรวม
ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ณ วันตนงวด ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ผลประโยชนที่จาย ขาดทุน(กําไร)จากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย าร ูก ัน ลปร ย น นัก าน วันสิน วด
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
11 645 23 543 2 362 60 (552 9 )
11 50 91 502 3 4 20 (1 23 2)
11 56 26 52 45 359 91 (551 )
11 456 35 4 9 94 4 0 11 (1 23 2)
400 6
-
400 6
( 05)
ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย เกิดจากการเปลีย่ นแปลงในมูลคาปจจุบนั ของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนที่กําหนดไว และผลประโยชนระยะยาวอื่น ซึ่งเปนผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ขอสมมติฐานที่ใชในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย โดยในงวดบัญชีป 2559 บริษัทฯ ไมมีการเปลี่ยนแปลง ขอสมมติฐานที่ใชในการประมาณการดังกลาว จึงไมเกิดผลกระทบตอกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 181
.18 ประมาณการหนีสินระยะยาว การเปลี่ยนแปลงในมูลคาปจจุบันของประมาณการหนี้สินระยะยาว งบการเงินรวม 2559
ประมาณการหนี้สินระยะยาว ณ วันตนงวด ประมาณการหนี้สินระยะยาว สําหรับงวด ปร มา การหนีสินร ย ยาว วันสิน วด
619 31 6 46 52
2558
412 96 206 35
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ 2559
619 31 6 414
2558
410 52 20 9
ประมาณการหนี้สินระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 (งบการเงินเ พาะกิจการ) ประกอบดวย 1 1 ศาลไดมีคําพิพากษาใหบริษัทฯ จายคาชดเชยใหพนักงานเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 4 66 ลานบาท ขณะนี้อยู ระหวางการพิจารณาของศาล ีกา 1 2 ศาลชั้นตนและศาลอุทธรณไดมีคําพิพากษา ใหบริษัทฯ ชําระเงินคาเสียหาย คืนเงินคํ้าประกัน หรือเงิน คาปรับเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 14 62 ลานบาท ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของศาล ีกา 1 3 มติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครัง้ ที่ 11 255 วันที่ 11 พ ศจิกายน 255 ใหบริษัทฯ สํารองเงินทีจ่ ะ ตองชดใชใหกับบริษัท Aerca ในชวงตนป 2560 ในการยกเลิกสัญญาเชาเครื่องบินแบบ A330-300 จํานวน 2 ลํา (T T ) กอนกําหนดระยะเวลา 1 ป โดยจายคาธรรมเนียมการยกเลิกสัญญาเปนเงินจํานวน 3 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 10 01 ลานบาท และคาทํา Retro it oito Seat เปนเงินจํานวน 2 54 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 91 3 ลานบาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 199 3 ลานบาท 1 4 บริษัทฯ รับรูรายการประมาณการหนี้สินระยะยาว คาซอมแซมและบํารุงอากาศยาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวนเงิน 6 15 42 ลานบาท เปนรายการสํารองคาซอมใหญ เครื่องบิน เครื่องยนตเครื่องบิน และสวนประกอบอื่นๆ สําหรับรายการซอมที่จะตองจายเงินในอนาคตตามสัญญา ทั้งนี้เพื่อรับรูภาระผูกพันภายใตสัญญาเชาดําเนินงาน ในการซอม บํารุงเครื่องบิน เครื่องยนตเครื่องบิน และสวนประกอบอื่นๆ ตลอดอายุสัญญาเชา รวมถึงการเตรียมสภาพเครื่องบินกอนการ สงมอบคืนตามทีผ่ ใู หเชากําหนดเมือ่ สิน้ สุดสัญญาเชา โดยมีสมมติฐานการประมาณการคาซอมทีค่ าดวาจะเกิดขึน้ ตามชัว่ โมงบิน รอบการบิน รอบการซอมใหญ และอายุสัญญาเชา บันทึกคิดคํานวณตามสัดสวนระยะเวลาที่บริษัทฯ ใชงานประกอบดวย การสํารองคาซอมใหญ เครื่องบิน และสวนประกอบอื่นๆ จํานวนเงิน 3 02 61 ลานบาท เครื่องยนตเครื่องบิน จํานวนเงิน 3 026 31 ลานบาท และคาซอมบํารุงเพื่อเตรียมสภาพเครื่องบิน เมื่อสงมอบคืนตามสัญญาเชา จํานวนเงิน 6 5 ลานบาท .19 เงินปนผลจาย งบการเงินเ พาะกิจการ ตามมติที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2559 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2559 งดจายเงินปนผลสําหรับผลการ ดําเนินงานประจําป 255 .20 ทุนเรือนหุน บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนหุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 2 69 90 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมเปนทุนจดทะเบียน 26 9 9 00 ลานบาท ทุนที่ออกและชําระแลวจํานวน 21 2 2 ลานบาท .21 สารองตามก หมาย บริษัทฯ มียอดสํารองตามก หมาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 2 691 2 ลานบาท
182 รายงานประจําป 2559
มาย
.22 รายไดอื่นๆ งบการเงินรวม 2559
กําไรจากการจําหนายทรัพยสิน เงินปนผลจากบริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น รายไดจากการใหบริการอืน่ ของฝายซอมบํารุงอากาศยาน รายไดคาปรับจากการสงมอบเครื่องบินลาชา รายไดคาปรับจากบริษัท IT รายไดคาปรับอื่นๆ รายไดคาสินไหมทดแทนจากเหตุอุทกภัย รายไดคาสินไหมทดแทนจากเหตุอื่น รายไดจากการใหบริการหองรับรองลูกคา รายไดจากการใหบริการผูโ ดยสารสายการบินไทยสมายล อื่นๆ รวม
23 33 23 4 334 9 355 11 119 43 6 2
2558
69 641 91 3 96 59 1 1 56 20 05 144 6 110 0 69 62
.23 คาใ จายผลประโย นพนักงาน งบการเงินรวม
คาใชจายบุคลากร ผลประโยชนพนักงาน คาตอบแทนผูบริหารบริษัทฯ คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ รวม
ุประกอบ บการ ิน
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ 2559
22 2 23 33 23 4 334 9 355 11 119 43 9 24 624 5
2558
00 192 65 641 91 3 96 59 1 1 56 20 05 144 6 110 0 195 1 61 0
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
29 112 09 354 11 2 19 36
29 953 65 60 09 9 51 19 3
2 642 33 335 59 6 60 16 66
29 55 01 5 3 04 91 95 16 54
ผูบริหาร หมายถึง กรรมการบริษัทฯ ทุกทาน กรรมการผูจัดการบริษัทฯ ผูบริหารบริษัทฯ 4 รายแรก และผูดํารง ตําแหนงเทียบเทาผูบริหารรายที่ 4 ทุกราย ตอจากกรรมการผูจัดการบริษัทฯ โดยรวมผูบริหารบริษัทฯ ในสายงานบัญชี หรือ การเงินบางคน ซึ่งเปนไปตามก หมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย .2 คาใ จายผลประโย นตอบแทนตามโครงการฯ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4 2559 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2559 ไดอนุมัติโครงการรวมใจจาก องคกร MSP ป 2559 ซึ่งมีพนักงานเขารวมโครงการทั้งหมด จํานวน 2 0 คน โดยพนักงานไดรับอนุมัติใหออกตามโครงการ ตามกําหนด 2 ครัง้ คือวันที่ 1 มิถนุ ายน 2559 และ 1 กรก าคม 2559 ซึง่ บริษัทฯ ตองจายเงินตอบแทนตามโครงการ จํานวนเงิน 13 54 ลานบาท และ 413 5 ลานบาท ตามลําดับ รวมเปนจํานวนเงิน 42 12 ลานบาท โดยบริษัทฯ ไดรับรูในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 แลว
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 183
.25 ผลขาดทุนจากการดอยคาเครื่องบิน งบการเงินเ พาะกิจการ ตามที่บริษัทฯ ทําการเปรียบเทียบมูลคาตามบัญชีของเครื่องบินรอการขายกับมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย พบวา มูลคายุตธิ รรมหักตนทุนในการขายตํา่ กวามูลคาตามบัญชี บริษัทฯ จึงไดบนั ทึกรับรูผ ลขาดทุนจากการดอยคาเครือ่ งบินใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับป 2559 เปนจํานวนเงิน 3 21 5 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยการดอยคาเครื่องบิน A340-500 จํานวน 4 ลํา A340-600 จํานวน 6 ลํา B 3 -400 จํานวน 3 ลํา และ B 4 -400 จํานวน 4 ลํา รวม 1 ลํา เปนจํานวนเงิน 2 92 51 ลานบาท และมีการดอยคาเครื่องยนตอะไหลเครื่องบินจํานวน 1 เครื่องยนต เปนจํานวนเงิน 325 24 ลานบาท .26 คาใ จายอื่น
หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
งบการเงินรวม
คาเชาสํานักงานและสาธารณูปโภค คาเครื่องใชสํานักงาน คาซอมแซมอาคารและอุปกรณ คาจางแรงงานภายนอก คาที่ปรึกษาและบริการ คาดําเนินคดีละเมิดก หมายปองกันการคาที่ไมเปนธรรม คาเชาและบํารุงรักษาอุปกรณคอมพิวเตอร คาเชาเครื่องมืออุปกรณสื่อสารและอุปกรณสํานักงาน คาเดินทางและยานพาหนะ คาสิทธิประโยชน คาเสียหายใหลูกคา คาสินคาและพัสดุเสื่อมสภาพ คาใชบริการระวางขนสงสินคาพัสดุภัณฑ คาใชจายรวมลงทุนในกลุม Star A iance ภาษีการคาและภาษีโรงเรือน หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ คาบริการในการใชระบบ T Hosting คาปรับและดอกเบี้ย อื่นๆ รวม
2559
2558
2559
2558
2 614 61 1 25 562 25 16 2 4 49 92 26 64 5 4 62 231 52 55 6 406 3 220 25 310 1 99 64 0 9 1 (59 94) 6 49 19 56 6 1 29
2 1 2 161 96 53 02 1 515 1 51 9 2 62 555 63 219 10 512 35 3 6 253 34 500 52 105 6 46 51 1 4 06 (122 42) 9 5 2 3 03 09 45
2 614 61 1 25 562 25 16 2 4 49 92 26 64 5 4 62 231 52 55 6 406 3 220 25 310 1 99 64 0 9 1 (60 22) 6 49 19 56 3 30
2 1 2 161 96 53 02 1 515 1 51 9 2 62 555 63 219 10 512 35 3 6 253 34 500 52 105 6 46 51 1 4 06 (123 1) 9 5 2 3 03 502
.2 คาใ จาย(รายได)ภาษีเงินได หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ
งบการเงินรวม 2559
คาใชจายภาษีเงินไดจากกําไรสุทธิทางภาษีสําหรับงวด บวก (หัก) สินทรัพย หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี จากผลแตกตางชั่วคราวเพิ่มขึ้น ลดลง คาใ าย รายได า ีเ ินไดสท ิ
184 รายงานประจําป 2559
2558
2559
2558
42 30
42 92
15 20
26 4
(1 506 54)
(1 112 29)
(1 503 10)
(1 102 0 )
มาย
ุประกอบ บการ ิน
.28 การสงเสริมการลงทุน บริษัทฯ ไดรับบัตรสงเสริมการลงทุน สําหรับการดําเนินการขนสงทางอากาศของเครื่องบินโดยสาร ประกอบดวย กิจกรรมการขนสงผูโดยสารและกิจกรรมการขนสงสินคา ตามบัตรสงเสริมการลงทุนดังตอไปนี้ บัตรสงเสริมการลงทุนเลขที่
วันที่ไดรับบัตรสงเสริมการลงทุน
1214(2) 2552 1 4(2) 2552 1446(2) 2554 11 (2) 2555 162 (2) 2555 25 6(2) 2555 25 (2) 2555 1220(2) 2556 1221(2) 2556 1590(2) 2556 235 (2) 2556 235 (2) 2556 2360(2) 2556 2362(2) 2556 2363(2) 2556 2364(2) 2556 2365(2) 2556 2366(2) 2556 236 (2) 2556
13 มีนาคม 2552 19 พ ศจิกายน 2552 21 เมษายน 2554 10 กุมภาพันธ 2555 22 พ ษภาคม 2555 22 ตุลาคม 2555 22 ตุลาคม 2555 13 กุมภาพันธ 2556 13 กุมภาพันธ 2556 1 พ ษภาคม 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556 2 กันยายน 2556
ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดบางประการ สิทธิพิเศษรวมถึงการไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิ ที่ไดรับจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมเปนระยะเวลา ป นับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการ รายไดจากการขาย หรือการใหบริการ แยกตามกิจการที่ ไดรับการสงเสริมการลงทุนและไมไดรับการสงเสริม การลงทุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 255 มีรายละเอียดดังนี้ หนวย ลานบาท งบการเงินเ พาะกิจการ 2559
รายไดจากการขายหรือการใหบริการ กิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน กิจการที่ไมไดรับการสงเสริมการลงทุน รวมรายได ากการ ายหรือการใหบริการ
92 564 11 9 62 39
2558
9 361 60 95 05
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 185
.29 กาไร(ขาดทุน)ตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไรหรือขาดทุนที่เปนสวนของบริษั ทใหญดวยจํานวนถัวเ ลี่ยถวงนํ้าหนัก ของหุนสามัญที่ถือโดยผูถือหุนในระหวางงวด งบการเงินรวม
กาไร าดทน ที่เปนสวน อ บริ ัทให จํานวนหุนสามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม านวนหนสามั ัวเ ลี่ย ว นาหนัก กาไร าดทน อหน ัน ืน าน บาท
หนวย ลานบาท ลานหุน งบการเงินเ พาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
21 2
21 2
21 2
21 2
.30 สวนงานดาเนินงาน ั นการกาหน ส นงาน บริษั ทฯ กําหนดสวนงานที่รายงานตามลักษณะของผลิตภัณฑและบริการ โดยผูบริหารพิจารณาจากโครงสราง องคกร ซึ่งสอดคลองกับการดําเนินกิจการดานการบินพาณิชย บริษัทฯ มีสวนงานที่รายงาน 3 สวนงาน ประกอบดวย สวนงานกิจการขนสงทางอากาศ สวนงานหนวยธุรกิจ และ สวนงานกิจการอื่นๆ โดยสวนงานกิจการขนสงทางอากาศ ประกอบดวย บริการขนสงผูโดยสาร บริการขนสงสินคา พัสดุภัณฑ และไปรษณียภัณฑ สวนงานหนวยธุรกิจเปนกิจการที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการขนสง ประกอบดวย การพาณิชยสินคาและ ไปรษณียภัณฑ การบริการลูกคาภาคพื้น การบริการลานจอดและอุปกรณภาคพื้น และครัวการบิน และสวนงานกิจการอื่นๆ เปนกิจการสนับสนุนการขนสงประกอบดวย การบริการอํานวยการบิน การจําหนายสินคาปลอดภาษีบนเครื่องบิน การจําหนาย สินคาที่ระลึก ฝายชาง และการดําเนินงานของบริษัทยอย ก การ ั มูลคา บริษัทฯ บันทึกรายการโอนรายไดระหวางสวนงานดวยราคาที่ขายใหกับลูกคาที่ไมเกี่ยวของกับบริษัทฯ หักสวนลด สวนงานหนวยธุรกิจดานการบริการลูกคาภาคพื้นบันทึกดวยราคาตนทุนหักสวนลด สวนงานกิจการอื่นๆ บันทึกดวยราคาตนทุน งบประมาณ และบริษัทฯ ไดตัดบัญชีที่เปนรายการโอนระหวางกันดังกลาวในการจัดทํางบการเงินรวม กําไร(ขาดทุน)รวมกอนภาษีเงินไดของแตละสวนงานเกิดขึน้ จากรายไดรวมหักตนทุน และคาใชจา ยในการดําเนินงาน สินทรัพยของสวนงาน เปนสินทรัพยที่ใชดําเนินงานหรือเกี่ยวของกับกิจการนั้นๆ หนี้สินของสวนงาน เปนหนี้สินในการดําเนินงานหรือเกี่ยวของกับกิจการนั้นๆ
186 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
30 1 ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงานมีรายละเอียดดังนี้ งบการ งินร ม
งบกาไรขาดทุน
สาหรับปสินสดวันที่ กิจการขนสง ทางอากาศ 2559
รายไดภายนอก รายได (คาใชจาย)ระหวางสวนงาน ดอกเบี้ยรับ ผลกําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ รายไดอื่นๆ รวมรายได คานํ้ามันเครื่องบิน คาใชจายผลประโยชนพนักงาน คาบริการการบิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย และเครื่องบิน คาใชจายอื่น ตนทุนทางการเงิน สวนแบงกําไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุน ในบริษัทรวม รวมคาใ าย กาไร าดทน กอน า ีเ ินได รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินได กาไร าดทน อ สวน าน
2558
ันวาคม
หนวยธุรกิจ 2559
166 63 96 1 1 139 21 9 493 09 (13 1 44) (12 913 15) 991 60 1 99 320 66 691 94 2 23 9 (43 430 92) (1 49 03) (20 140 5) (16 232 63)
3 4 59 6 143 96
หนวย ลานบาท
30 2
กิจการอื่นๆ
2558
รวมทังสิน
2559
2558
2559
2558
12 53 6 -
2 1 0 45 4 9 4 26 32
2 16 6 1 312 50 1 2 2 35 4 159 39 11 2 204 31 331 93
36 4
(6 9 ) (25 09)
23 19 (160 54)
6 49 2 244 42
3 511 6 020 26
(61 94 04) (1 904 99) (1 44 9) (21 12 33) ( 145 91) ( 045 3 ) (5 352 61) (5 202 1 ) (19 965 0) (46 40) (6 9) (630 63) (439 60) (1 313 50) ( 30 34) ( 99 41) (1 02 6) (1 019 )
(45 335 91) (29 995 55) (20 1 ) (1 990 3)
(63 242 3) (34 059 ) (20 4 4 09) (19 132 )
(3 62 91) (12 15 5) (3 62 91) (12 15 5) (4 232 15) (41 45 2 ) (6 3 9 5 ) (6 0 6 03) (5 565 31) (3 943 12) (59 1 03) (51 4 43) (5 339 16) (5 9 4) (5 339 16) (5 9 4) (510 2 )
131
-
-
(69 1 )
-
(5 9 45)
131
1 4 90
1 0 5 23
-
-
(23 66)
(5 6)
1 464 24
1 069 3
สินทรัพยและหนีสิน วันที่
กิจการขนสง ทางอากาศ 2559
สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุน ที่ดินอาคาร และอุปกรณ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น สินทรัพยที่ไมไดปนสวน สินทรั ยรวม หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินที่ไมไดปนสวน หนีสินรวม
2558
ันวาคม
หนวย ลานบาท
หนวยธุรกิจ 2559
2558
4 594 54 56 563 55 66 3 63 56 3 964 51 4 10 9 1 6 605 19 914 36 5 410 34 6 0 1 91 24 31 95 1 1 36 00 0 41 4 9 43 5 001 33 161 666 66 1 3 444 52 -
32 2 -
23 0 -
กิจการอื่นๆ
รวมทังสิน
2559
2558
2559
2558
4 64 94 4 02 2 5 23 5 0 50 -
5 1 54 54 02 21 65 3 65 4 16 3 96 53 4 14 95 3 2 9 09 194 91 35 20 2 5 36 5 24 9 52 1 94 54 5 346 26 4 02 56
512 99 34 25 -
9 4 4 6 330 14 95 124 60 04 162 014 91 1 3 522 56 1 190 62 9 21
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 187
188 รายงานประจําป 2559
สําหรับป ม ค - ธ ค 59 มค - ธค5
13 9 02 11 60 9
กิจการ ขนสง
9 493 09 12
หนวย ธุรกิจ
รายไดภายในประเทศ
2 1 0 45 2 16 6
อื่นๆ
9 124 33 92 0 2 11
ภูมิภาค เอเ ีย ยุโรป
4 106 44 4 0 6 09
รา า นกตามภูมิ าสตร มีรายละเอียดดังนี้
0 26 2 14 16
แป ิ ก เหนือ
รายไดตางประเทศ
16 243 65 16 24 2
ออสเตรเลีย และ นิว ีแลนด
0 16 55 1
แอ ริกา
36 10 920 9
รายไดคาเ า เหมาลา และอื่นๆ
204 31 331 93
ดอกเบียรับ
2 244 42 6 020 26
รายไดอื่น
รายไดอื่น
6 49 3 511
ผลกาไร (ขาดทุน) จากอัตรา แลกเปลี่ยน เงินตรา ตางประเทศ
1 1 446 20 192 591 32
รวม
หนวย ลานบาท
มาย
ุประกอบ บการ ิน
.31 กองทุนสารองเลียง ีพ ในงวดบัญชีนี้ บริษัทฯ จายสมทบเขากองทุนสํารองเลี้ยงชีพฯ เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 1 15 5 ลานบาท สําหรับ สมาชิกที่มีอายุการทํางานไมเกิน 20 ป ในอัตรารอยละ 9 ของเงินเดือน สวนสมาชิกที่มีอายุการทํางานเกิน 20 ป ในอัตรา รอยละ 10 ของเงินเดือน เงินกองทุนสํารองเลีย้ งชีพบริหารงานโดยบริษัทหลักทรัพยจดั การกองทุน ยูโอบี(ประเทศไทย) จํากัด บริษัทหลักทรัพย จัดการกองทุน กรุงไทย จํากัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย จัดการกองทุนรวม วรรณ จํากัด และบริษัทหลักทรัพยจัดการ กองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษั ทจัดการกองทุนที่ ไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย (ก ล ต ) .32 หนีสินที่อาจเกิดขน 32 1 บริษัทฯ มีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งยังมิไดแสดงในงบการเงิน ดังนี้ หนวย ลานบาท
การคํ้าประกันโดยธนาคาร (ในประเทศ) การคํ้าประกันโดยธนาคาร (ตางประเทศ) บริษัทฯ ถูกฟองเปนจําเลยในคดีตางๆ ดังนี้ คดีพิพาทแรงงาน คดีเรียกคาเสียหาย รวม
2559
2558
49 96 451 0
30 36 314 5
1 399 91 460 30
1 356 00 512 64
32 2 ความคืบหนาคดีละเมิดก หมายปองกันการคาที่ไมเปนธรรม (Antitrust) โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1 กรณีบริษัทฯ ถูกสายการบิน Britis Air ays ซึง่ เปนจําเลยในคดี argo ivi ass Action ในประเทศ อังก ษรองขอใชสิทธิไลเบี้ย เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 255 บริษัทฯ ไดรับหนังสือจากทนายความในประเทศอังก ษของสายการบิน Britis Air ays แจงวาสายการบิน Britis Air ays ซึ่งเปนจําเลยในคดี ivi ass Action ในประเทศอังก ษ และถูกฟอง ใหชดใชคาเสียหายจากการกําหนดราคาคาธรรมเนียมพิเศษ (Fue Surc arge และ Security Surc arge) ในชวงระหวางป 2542 - 2550 ไดยื่นคํารองตอศาลขอใชสิทธิไลเบี้ยสายการบินอื่นๆ จํานวน 1 ราย รวมทั้งบริษัทฯ ในวันที่ 2 พ ศจิกายน 2556 ทั้งนี้ บริษัทฯ ไมใชคูความหลักในคดี คดีอยูในระหวางการแสวงหาพยานหลักฐาน ( isc osure) 2 กรณีบริษัทฯ ถูกฟองในคดี argo ivi ase ในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เมื่อวันที่ 22 มกราคม 255 บริษัทฯ ไดรับแจงเรื่องนี้จากสํานักงานสาขาของบริษัทฯ ในประเทศ สาธารณรัฐเกาหลีวา กลุมบริษัทแอลจี ไดแก e ica ectronics is ay และ i e Science ไดยื่นฟอง คดีแพงตอสายการบินจํานวน 12 ราย รวมทั้งบริษัทฯ ในวันที่ 2 พ ศจิกายน 2556 เพื่อเรียกรองคาเสียหายจากการรวมกัน กําหนดราคา Fue Surc arge ระหวางสายการบินตางๆ ในชวงระหวางป พ ศ 2546 - 2550 โดยกลุมบริษัทแอลจีไดระบุ จํานวนทุนทรัพยในคําฟองเปนเงินจํานวน 404 000 000 วอน พรอมดอกเบี้ย หรือประมาณ 12 2 ลานบาท และไดสงวนสิทธิ ในการแกไขคําฟองเพือ่ เพิม่ เติมจํานวนทุนทรัพยหากกลุม บริษัทแอลจีสามารถพิสจู นไดในภายหลัง ขณะนีค้ ดีอยูในระหวางการ พิจารณาของศาล 3 กรณีบริษัทฯ ถูกสายการบิน Britis Air ays สายการบิน u t ansa และสายการบิน M-AF ซึ่ง เปนจําเลยในคดี argo ivi ass Action ในประเทศเนเธอรแลนด ยื่นคํารองขอใชสิทธิไลเบี้ย
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 189
ในชวงตนเดือนกรก าคม 255 บริษัทฯ ไดรบั คํารองขอใชสิทธิไลเบี้ยจากสายการบิน Britis Air ays สายการบิน u t ansa และสายการบิน M-AF ทั้งนี้สายการบิน Britis Air ays สายการบิน u t ansa และสายการบิน M-AF ไดยื่นคํารองดังกลาวตอบริษั ทฯ และสายการบินอื่นๆ อีกกวา 20 สายการบิน กรณีโจทกไดฟองสายการบิน onink i ke uc tvaart Maatsc a i Martin Air Ho and Societe Air France S A (รวมเรียกวา “ M-AF”) eutsc e u t ansa และ u t ansa argo A (รวมเรียกวา “ u t ansa”) Singa ore Air ines และ Singa ore Air ine argo (รวมเรียกวา “Singa ore Air ines”) และ Britis Air ays เปนจําเลย ตั้งแตเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2556 โดย กลาวหาวา สายการบินเหลานี้ไดรวมกันกําหนดราคาคาธรรมเนียมตางๆ ตอมาเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 255 สายการบินจําเลย ทัง้ หมดในคดีดงั กลาวไดยนื่ รองตอศาลเพือ่ ขออนุญาตยืน่ คํารองใชสทิ ธิไลเบีย้ ตอสายการบินอืน่ ๆ ทีถ่ กู ระบุวา เปนผูร ว มกําหนด ราคา และเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 255 ศาลไดมีคําสั่งอนุญาตตามคํารองดังกลาว ขณะนี้คดีอยูในระหวางการพิจารณาของศาล อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไมไดถูกฟองเปนจําเลยในคดีหลัก .33 การปองกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด ในป 2559 บริษัทฯ นําเงินกูยืมที่เปนสกุลเงินตางประเทศมาบริหารความผันผวนของกระแสเงินสดในอนาคตของ รายไดทเี่ ปนสกุลเงินตางประเทศในอนาคตทีค่ าดการณไว ทัง้ นี้ กําไรหรือขาดทุนจากผลตางอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ ซึ่งเปนผลจากความแตกตางของอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่กําหนดความสัมพันธ หรือ ณ วันที่เบิกเงินกูยืม (แลวแตวันใด เกิดขึ้นหลัง) จนถึง ณ วันที่รายงานกําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการปองกันความเสี่ยงสวนที่มีประสิทธิผลจะบันทึกใน องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุนในสวนของผูถือหุน โดยรายการกําไรหรือขาดทุนดังกลาวจะโอนเขากําไรหรือขาดทุนใน งวดเดียวกับงวดที่รายการที่มีการปองกันความเสี่ยงดังกลาวรับรูในกําไรหรือขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ รับรูขาดทุนจํานวน 5 04 ลานบาท จากการถือปฏิบัติตามการ บัญชีปองกันความเสี่ยงสําหรับธุรกรรมเงินกูตางประเทศกับรายไดที่เปนสกุลเงินตางประเทศในอนาคตที่คาดการณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ระยะเวลาที่คาดวากระแสเงินสดของรายการที่มีการปองกันความเสี่ยงจะเกิดขึ้นและ มีผลกระทบตอกําไรหรือขาดทุน แสดงไดดังนี้
งบการเงินรวมและงบการเงินเ พาะกิจการ ป
กระแสเงินสดรับ
หนวย ลานบาท
3 เดือน หรือนอยกวา
มากกวา 3 เดือน ถง 1 ป
มากกวา 1 ป ถง 5 ป
มากกวา 5 ป
รวม
6 1 5 21
15 046 59
99 23 19
349 444 6
4 0 399 5
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวนเงินที่บันทึกในองคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุนเกี่ยวกับการปองกัน ความเสี่ยงในกระแสเงินสดสวนที่มีประสิทธิผลเปนเงิน 1 629 3 ลานบาท จํานวนเงินดังกลาวคาดวาจะรับรูในกําไรขาดทุน ตลอดระยะเวลาของรายไดในอนาคตที่คาดการณตามตารางดังกลาวขางตน .3 การเปดเผยขอมูลเครื่องมือทางการเงิน งบการเงินเ พาะกิจการ
ค าม ส ง านอัตรา อก บ
ความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ยในงบการเงิน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาดที่อาจ สงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ทั้งในปจจุบันและอนาคต ตารางแสดงอัตราดอกเบี้ยถัวเ ลี่ยถวงนํ้าหนัก (Weig ted Average Interest Rate) และจํานวนเงิน ของหนี้สินทางการเงิน
190 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
หนวย ลานบาท ป 2559 หนีสิน ทางการเงิน แยกตามสกุลเงิน ดอลลารสหรัฐอเมริกา เยนญีป่ นุ เงินยูโร เงินบาท รวม
อัตรา จานวนเงินกูค งเหลือ จานวนเงินกูค งเหลือ ดอกเบีย ตามสั าดอกเบียลอยตัว ตามสั าดอกเบียคงที่ ถัวเ ลีย่ ถวงนาหนัก นอยกวา 1 ป 1 ถง 5 ป มากกวา 5 ป นอยกวา 1 ป 1 ถง 5 ป มากกวา 5 ป 2 64 1 00 1 40 4 36
1 149 00 1 292 95 22 1 9 54 11
4 63 5 255 61 20 4 2 10 45 29
6 503 0 3 61 50 15 2 9 25 52 64
5 400 3 1 149 11 5 200 00
4 519 9 29 3 0 00
10 962 4 24 30 00
ยอดรวม 1 691 32 10 410 06 59 636 62 9 645 04
หนวย ลานบาท ป
หนีสิน ทางการเงิน แยกตามสกุลเงิน ดอลลารสหรัฐอเมริกา เยนญีป่ นุ เงินยูโร เงินบาท รวม
อัตรา จานวนเงินกูค งเหลือ จานวนเงินกูค งเหลือ ดอกเบีย ตามสั าดอกเบียลอยตัว ตามสั าดอกเบียคงที่ ถัวเ ลีย่ ถวงนาหนัก นอยกวา 1 ป 1 ถง 5 ป มากกวา 5 ป นอยกวา 1 ป 1 ถง 5 ป มากกวา 5 ป 2 45 1 24 1 42 4 23
1 152 5 12 29 411 23 14 094 11
4 653 5 5 20 42 24 63 2 1 5 23
22 9 4 9 09 20 11 51 66 2
3 625 3 1 199 23 300 00
4 643 2 2 230 00
12 13 14 24 0 0 00
ยอดรวม 1 154 6 11 360 4 0 4 11 93 039 16
บริษั ทฯ มีนโยบายบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย โดยใชเครื่องมือทางการเงิน ในตลาดอนุพันธ ไดแก ross urrency S a ( S) และ หรือ Interest Rate S a (IRS) เพื่อแปลงอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ที่มีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นมาเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีภาระหนี้เงินกูระยะยาว ภาระหนี้ ภายใตสญ ั ญาเชาซือ้ ทีเ่ ปนอัตราดอกเบีย้ ลอยตัวตออัตราดอกเบีย้ คงทีห่ ลังการทําธุรกรรม Interest Rate S a (IRS) ประมาณ รอยละ 3 ตอ 62 ปจจุบัน บริษัทฯ มีธุรกรรม IRS จํานวนทั้งสิ้น รายการ เปนการแปลงหนี้ท่ีมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว เปนอัตราดอกเบีย้ คงที่ โดยแบงเปนอัตราดอกเบีย้ สกุลเงินยูโร 5 รายการ และอัตราดอกเบีย้ สกุลเงินบาท 3 รายการโดยวงเงิน คงเหลือของธุรกรรม IRS ทั้งหมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวน 4 46 ลานบาท ซึ่งจะมีการชําระดอกเบี้ยกัน เปนรายเดือน และรายไตรมาส ทั้งนี้ ธุรกรรม IRS สกุลเงินยูโร 1 รายการ จะสิ้นสุดสัญญาในป 2560 และอีก 4 รายการ จะสิ้นสุดสัญญาในป 2561 และธุรกรรม IRS สกุลเงินบาทจะสิ้นสุดสัญญาในป 2560 จํานวน 3 รายการ
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 191
ค าม ส ง ากอัตรา ลก ล น
จากการที่บริษัทฯ มีรายไดเปนเงินบาท และเงินตราตางประเทศกวา 50 สกุล โดยมีสกุลหลัก ไดแก ดอลลารสหรัฐอเมริกา ( S ) บาท (THB) ยูโร ( R) และเยน ( P ) และมีคา ใชจา ยในสกุลหลัก ไดแก ดอลลารสหรัฐอเมริกา ( S ) และบาท (THB) ในขณะที่มีหนี้สินใน 4 สกุลหลัก ไดแก ดอลลารสหรัฐอเมริกา ( S ) ยูโร ( R) บาท (THB) และ เยน ( P ) บริษัทฯไดดําเนินการบริหารความเสี่ยงอันเนื่องจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งเปนปจจัยที่ไมสามารถ ควบคุมได บริษัทฯ ไดดําเนินการโดยใชหลักการ atura Hedging คือ การจัดใหคาใชจายเปนเงินสกุลเดียวกับรายไดมาก ที่สุด และกูเงินพรอมกับปรับโครงสรางเงินกูใหสอดคลองกับเงินสดสุทธิจากการดําเนินการ ( et erating as F o ) พรอมๆกับการลดความเสี่ยงของการมีหนี้เปนเงินสกุลตางประเทศมากเกินไป โดยการมีหนี้สกุลเงินบาท ดวยสวนหนึ่ง เพื่อที่ จะลดความผันผวนของรายการผลกําไร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนในงบการเงิน ดวยการวางแผนในการจัดหาเงินทุน และ การใชเครื่องมือทางการเงินในการทําธุรกรรมที่เหมาะสม ไดแก ross urrency S a ( S) ในชวงที่ตลาดเงิน เอื้ออํานวย โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสัดสวนเงินกูในสกุลหลักภายหลังจากการทํา S ดังนี้ S R P HF THB 0 39 19 34 นอกจากนี้บริษัทฯ ไดใชเครื่องมือทางการเงิน ไดแก For ard ontract เพื่อจัดหาเงินชําระหนี้ใน สกุลเงินที่บริษัทฯ มีภาระผูกพันในอนาคต ปจจุบัน บริษัทฯ มีธุรกรรม S จํานวนทั้งสิ้น 25 รายการ โดยแบงเปนการแปลงหนี้เงินบาท (THB) เปนหนี้ สกุลยูโร ( R) อัตราดอกเบี้ยคงที่ 5 รายการ แปลงหนี้เงินบาท (THB) เปนหนี้สกุลเยน ( P ) อัตราดอกเบี้ยคงที่ 12 รายการ แปลงหนี้เงินบาท (THB) เปนหนี้สกุลเยน ( P ) อัตราดอกเบี้ยลอยตัว 2 รายการ แปลงหนี้สกุลเงินยูโร ( R) เปน หนี้สกุลเยน ( P ) อัตราดอกเบี้ยคงที่ 2 รายการ และแปลงหนี้สกุลเหรียญสหรัฐ ( S ) เปนหนี้เงินสวิสฟรังก ( HF) จํานวน 4 รายการ โดยวงเงินคงเหลือของธุรกรรม S ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวนเทียบเทา 36 3 6 1 ลานบาท ซึ่งจะมี การชําระแลกเปลี่ยนเงินตน และดอกเบี้ยเปนรายเดือน รายไตรมาส และทุกๆ 6 เดือน โดยธุรกรรม S ดังกลาว จะทยอย สิ้นสุดสัญญาตั้งแตป 2560 ถึงป 25 1 หนวย ลานบาท หนีสินที่เปนเงินตราตางประเทศ
2559 สกุลเงิน
ครบกาหนด ภายใน 1 ป
ดอลลารสหรัฐอเมริกา เยนญีป่ นุ เงินยูโร
1 ถง 5 ป
2558 ครบกาหนด ครบกาหนด เกินกวา 5 ป ภายใน 1 ป
6 549 3 4 63 6 503 0 1 292 95 5 255 61 3 61 50 3 2 25 00 61 26 251 3
ค าม ส ง านราคานามัน
1 ถง 5 ป
ครบกาหนด เกินกวา 5 ป
4 13 4 653 5 22 9 12 29 5 20 42 4 9 09 610 46 29 40 00 32 30 65
ความผันผวนของราคานํ้ามันจะขึ้นอยูกับอุปสงคและอุปทานของนํ้ามันเชื้อเพลิงในตลาดโลก รวมทั้ง ผลกระทบจากสภาวการณทางการเมืองระหวางประเทศ ซึง่ สงผลกระทบโดยตรงตอผลการดําเนินงาน เนือ่ งจากนํา้ มันเชือ้ เพลิง เปนวัตถุดิบที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจขนสงทางอากาศ บริษัทฯ ไดจัดทําการประกันความเสี่ยงราคานํ้ามันโดยมีวัตถุประสงค เพื่อลดความผันผวนของตนทุนดานนํ้ามันอากาศยาน และเพื่อใหผลประกอบการของบริษัทฯ เปนไปตามเปาหมายและเปน การปกปองมูลคาของบริษั ทฯ ใหแกผูถือหุนและผูที่เกี่ยวของ โดยมิใชเปนการแสวงหารายไดหรือหวังผลกําไรเพิ่มเติมจาก การบริหารความเสี่ยงราคานํ้ามัน
192 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
บริษัทฯ ไดมีการบริหารความเสี่ยงราคานํ้ามันอากาศยานอยางตอเนื่องเปนระบบ โดยไดปรับนโยบาย การบริหารความเสี่ยงราคานํ้ามันฯ ใหสามารถจัดทําประกันความเสี่ยงราคานํ้ามันฯ ไมตํ่ากวารอยละ 20 และไมเกิน รอยละ 0 ของปริมาณการใชในรอบหนึ่งปงบประมาณ และระยะเวลาประกันไมเกิน 1 เดือน โดยการกําหนดราคา นํ้ามันฯ ขั้นตํ่าและขั้นสูงไว ซึ่งบริษัทฯจะตองรับภาระสวนตางหากราคานํ้ามันฯ ตํ่ากวาราคาขั้นตํ่า ในทางกลับกันบริษัทฯ จะไดรับชดเชยสวนตางหากราคานํ้ามันฯสูงกวาราคาขั้นสูงโดยการรับชดเชยหรือจายชดเชยสวนตางเปนเงินสกุลดอลลาร สหรัฐอเมริกา ซึ่งในงวดบัญชีนี้ บริษัทฯ ไดประกันความเสี่ยงราคานํ้ามันฯ ในสัดสวนถัวเ ลี่ยรอยละ 5 ของปริมาณ การใช และ ณ วันที่ 31ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ยังมีภาระผูกพันจากการทําประกันความเสี่ยงราคานํ้ามันถึงเดือนธันวาคม 2560 ในสัดสวนถัวเ ลี่ยรอยละ 46 ของประมาณการการใชนํ้ามันทั้งหมด
มูลคา ุติธรรม อง ครืองมือ างการ งิน
มูลคายุติธรรม หมายถึง ราคาที่จะไดรับจากการขายสินทรัพย หรือจะจายเพื่อโอนหนี้สิน ในรายการที่ เกิดขึ้นในสภาพปกติระหวางผูรวมตลาด ณ วันที่วัดมูลคา บริษั ทฯ ใชวิธีการและขอสมมติฐานที่บริษั ทฯ ใชในการประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทาง การเงินแตละชนิด ดังนี้ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เจาหนี้การคา เงินกูยืม เงินคางจาย เปน มูลคายุติธรรมที่ ใกลเคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี เงินลงทุน ทั่วไป เปน มูลคายุติธรรมโดยประมาณจากราคาตามบัญชีสุทธิจากคาเผื่อการดอยคา สําหรับเงินลงทุนในตราสารทุนที่มีราคาตลาด เปนมูลคายุติธรรมตามราคาตลาด ลูกหนี้การคา เปนมูลคายุติธรรมจากยอดลูกหนี้การคาสุทธิจากคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามบัญชี ธุ ร กรรมอนุ พั น ธ ท างการเงิ น เป น มู ล ค า ยุ ติ ธ รรมที่ เ กิ ด จากการปรั บ มู ล ค า ของสั ญ ญาที่ บ ริ ษั ท ฯ ทําไวกับธนาคารตั้งแตเริ่มตน ดวยราคาตลาด ณ วันที่ในรายงานเพื่อสะทอนใหเห็นถึงมูลคาของสัญญา ณ เวลาปจจุบัน มากขึ้น .35 สั
าและภาระผูกพัน
ภาร ผูกพัน นการ ือ ครืองบิน
บริษัทฯ มีภาระผูกพันในการซื้อเครื่องบินที่ตองชําระเปนเงิน 15 361 54 ลานบาท สําหรับเครื่องบิน A350-900 XWB จํานวน 4 ลํา คาดวาจะไดรับมอบในระหวางป 2560-2561 ประกอบดวย หนวย ลานบาท ภาระผูกพัน
ซื้อเครื่องบิน
ภายใน 1 ป
1
9
เกิน 1 ป 5 ป
1 3 65
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 193
สั
า ล ภาร ผูกพัน า ครืองบิน
บริษัทฯ ไดลงนามในสัญญาเชาดําเนินงาน ( erating eases) เครื่องบินจํานวน 42 ลํา โดยมีภาระ ผูกพันที่ตองจายคาเชาเครื่องบินตามสัญญาเชาดําเนินงานเปนจํานวนเงิน 4 150 49 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 149 42 04 ลานบาท ประกอบดวย เครื่องบิน A320-200 จํานวน 15 ลํา A330-300 จํานวน 2 ลํา A350-900 จํานวน ลํา B -200 จํานวน 1 ลํา B -300 R จํานวน ลํา B - จํานวน 6 ลํา และ B -9 จํานวน 2 ลํา โดยมีเครื่องบินที่ รับมอบแลวจนถึงสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 34 ลํา และมีเครื่องบินที่ยังไมถึงกําหนดรับมอบอีกจํานวน ลํา ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดสง มอบคืนเครือ่ งบินภายใตสญ ั ญาเชาดําเนินงานในป 2559 จํานวน 1 ลํา โดยจะมีเครือ่ งบินครบกําหนดสิน้ สุดสัญญา เชาดําเนินงาน ในป 2560 จํานวน 3 ลํา ในป 2561-2564 จํานวน 9 ลํา และในป 2565-25 3 จํานวน 30 ลํา ภาระผูกพันคาเชา ตามสัญญาเชาเครื่องบินทั้ง 42 ลํา สําหรับระยะเวลาแตละชวงมีดังนี้ หนวย ลานบาท ภาระ กพน
Rent
ภายใน 1 ป
เกิน 1 ป 5 ป
11 96 9
59 112 12
เกิน 5 ป
419 13
.36 ความเสียหายจากเหตุอุทกภัย เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2554 เกิดเหตุการณนํ้าทวมที่สนามบินดอนเมือง และสํานักงานใหญทําใหทรัพยสินของ บริษัทฯ ไดรบั ความเสียหาย ทัง้ นีค้ วามเสียหายทีเ่ กิดขึน้ บริษัทฯ ไดทาํ ประกันภัยไว ซึง่ ทรัพยสนิ ทีเ่ สียหายจะไดรบั ความคุม ครอง ตามเงื่อนไขของกรมธรรมประกันภัย บริษัทฯ ไดบนั ทึกผลเสียหายจากเหตุอทุ กภัยสําหรับทรัพยสนิ ทีเ่ สียหาย ประกอบดวยเครือ่ งบิน A300-600 จํานวน 2 ลํา อะไหลเครื่องบิน ( onsu ab e Part) พัสดุทั่วไปและอุปกรณของฝายชาง คาซอมแซมเครื่องมืออุปกรณของฝายชาง และวัตถุดิบคลังภัตตาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษั ทฯ ไดรับเงินคาสินไหมทดแทน จากบริษั ทประกันภัยเปน จํานวนเงิน 1 96 0 ลานบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ รับรูรายไดคาสินไหมทดแทนจากเหตุอุทกภัยเปนจํานวนเงิน 1 96 0 ลานบาท โดยบริษัทฯไดรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป 2554 ป 2555 ป 2556 ป 255 และป 255 จํานวนเงิน 1 5 ลานบาท 2 4 23 ลานบาท 1 135 09 ลานบาท 164 0 ลานบาท และ 20 05 ลานบาท ตามลําดับ อยางไรก็ตาม บริษัทฯ อยูระหวาง ดําเนินการเรียกรองเงินคาสินไหมชดเชยจากบริษัทผูรับประกันภัยใหครบถวนตามเงื่อนไขที่ระบุไวในกรมธรรม .3 ความเสียหายจากเหตุเที่ยวบิน 6 9 เมื่อวันที่ กันยายน 2556 เที่ยวบิน T 6 9 (เครื่องบินแบบ A330-300 ทะเบียน HS-T F) ไถลออกนอกทางวิ่ง (Run ay) หลังจากการนําเครือ่ งลงจอด ณ สนามบินสุวรรณภูมิ อุบตั เิ หตุในครัง้ นีม้ ผี โู ดยสารไดรบั บาดเจ็บในเบือ้ งตนประมาณ 0 คน และไมมีผูเสียชีวิต สวนของเครื่องบินไดรับความเสียหายอยางหนัก ซึ่งเครื่องบินลําดังกลาวไดทําประกันภัยไวในวงเงิน 32 45 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 1 014 01 ลานบาท กรณีที่เกิดขึ้น ผูรับประกันภัยของบริษั ทฯ รับทราบ พรอมแตงตั้งทนายความ รวมทั้ง oss Ad usters เพื่อ ประสานงานกับบริษัทฯ ทั้งในเรื่องการเรียกรองคาเสียหาย การฟองรอง และการชดใชคาเสียหายใหแกผูโดยสาร รวมทั้ง การประเมินความเสียหายของเครื่องบินของบริษัทฯ จากเหตุที่เกิดขึ้น และเมื่อวันที่1 กันยายน 2556 บริษัทฯ ไดรับเงิน Interi งวดแรกจากผูรับประกันภัย จํานวน 250 000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 92 ลานบาท บริษัทฯ ไดประเมินคาใชจายในการซอมเครื่องบินรวมกับ Surveyor ของผูรับประกันภัย และการทํา Fu Re air Assess ent โดยบริษัท Airbus ไดขอสรุปวาคาใชจายในการซอมเครื่องบินสูงกวาทุนประกันภัย ซึ่งเงื่อนไขของการประกันภัย ถือวาเครื่องบินลําดังกลาวเสมือนเสียหายโดยสิ้นเชิง ( onstructive Tota oss T ) ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดรับคาสินไหมทดแทน จากผูรับประกันภัยจากความเสียหายของเครื่องบินลําดังกลาวแลวทั้งสิ้น จํานวนเงิน 33 54 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือ ประมาณ 1 0 2 ลานบาท ซึ่งคาสินไหมทดแทนดังกลาวประกอบดวย มูลคาของเครื่องบินเต็มทุนประกันภัย จํานวนเงิน 32 45 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา และคา Additiona osts o Working และคา In ig t ntertain ent จํานวนเงิน 1 09 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา
194 รายงานประจําป 2559
มาย
ุประกอบ บการ ิน
ขณะนี้บริษัทฯ ไดจายคาสินไหมทดแทนใหกับผูโดยสารที่ไดรับบาดเจ็บจากเหตุการณดังกลาว และสามารถยุติ การเรียกรองคาสินไหมทดแทนไดทงั้ หมดทุกกรณีเปนทีเ่ รียบรอยแลว รวมคาสินไหมทดแทนทีจ่ า ยใหผโู ดยสารจากเหตุการณนี้ ทั้งสิ้น 11 0 ลานบาท .38 เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 3 1 บริษัทฯ สงมอบเครื่องบิน B -200 จํานวน 1 ลํา คืนแกผูใหเชา เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2560 ภายใต เงื่อนไขของสัญญาเชาดําเนินงาน 3 2 บริษัทฯ มีแผนการขอขยายระยะเวลา (Ro -over) เงินกูตอจากกระทรวงการคลังในรูปการออกตราสาร uro o ercia Pa er ( P) ภายในไตรมาส 1 ของป 2560 .39 การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบผูมีอํานาจของบริษั ทฯ ใหออกงบการเงินเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2560
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 195
คณะกรรมการ บร�ษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
นายอาร�พงศ ภูชอุม
ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป
- หลักสูตร “เสาหลักของแผนดิน: ผูนําระดับสูงตามแนวพระราชดําริของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รุนวีไอพี” (สนพ.) โดยสถาบันศาสถาบัน ศาสตราจารย ดร.บุญรอด บิณฑสันต รวมกับศูนยบริการวิชาการ แหงจ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตร “นิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุน 1” (นธป.) โดยสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ - หลักสูตร “นักบริหารการยุติธรรมการปกครองระดับสูง รุนที่ 5 (บยป.) โดยสํานักงานศาลปกครอง
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 22 เม.ย. 2552 - 25 เม.ย. 2555 วาระที่ 2 วันที่ 25 เม.ย. 2555 - 24 เม.ย. 2558 วาระที่ 3 วันที่ 24 เม.ย. 2558 - ปจจ�บัน อายุ 59 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี (International Management) Boston University, USA ปริญญาโท (Finance) Marshall University, USA ปริญญาเอก (Finance) University of Mississippi, USA การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 3/2543 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP Refresher Course (Re DCP) รุน 2/2552 การอบรมหลักสูตรอื่นๆ - หลักสูตร “Government Debt Monitoring System” โดยธนาคารโลก (World Bank) - หลักสูตร “Global Trend and Public Enterprise Reform” Harvard University สหรัฐอเมริกา - หลักสูตร “Awareness, Vision, Imagination, Responsibility, Action (AVIRA)” สถาบัน INSEAD ประเทศฝรั่งเศส - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุน 4 (วตท.) สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตร “ผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุน 14” (บยส.) โดยสํานักงานศาลยุติธรรม - หลักสูตร “การปองกันราชอาณาจักร รุน 46“ (วปอ.) โดยวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร - หลักสูตร “ผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน รุน 1” (วพน.) โดยสถาบันวิทยาการพลังงาน กระทรวงพลังงาน - หลักสูตร “ผูบริหารระดับสูงดานการบริหารงานพัฒนาเมือง รุน 1” (กทม.) โดยสถาบันพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร รวมกับสถาบันพระปกเกลา
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2557 - ก.พ. 2559 กรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 2557 - ต.ค. 2558 ประธานกรรมการ ธนาคาร กรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2558 - ก.ย. 2558 ปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 2557 - พ.ค. 2558 ปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2556 - 2557 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สํานักนายกรัฐมนตรี 2557 - 2557 กรรมการ ธนาคารแหงประเทศไทย 2556 - 2557 กรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 2553 - 2557 ประธานกรรมการ ธนาคารอาคารสงเคราะห 2553 - 2556 ปลัดกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง 2554 - 2555 ประธานกรรมการสลากกินแบงรัฐบาล สํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล กระทรวงการคลัง
196 รายงานประจําป 2559
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ 1 ต.ค. 2558 - ปจจ�บัน ปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2559 - ปจจ�บัน ประธานกรรมการ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2559 - ปจจ�บัน คณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
คณะกรรมการ บร�ษัทฯ
พลอากาศเอก ตร�ทศ สนแจง
รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและสงเสร�มกิจการเพ��อสังคม
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 5 ส.ค. 2557 อายุ 60 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยทหารมิวนิค สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี หลักสูตรเสนาธิการกิจ โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสําหรับนักบริหารชั้นสูง สถาบันพระปกเกลา หลักสูตรปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2558 - ต.ค. 2559 ผูบัญชาการทหารอากาศ กองทัพอากาศ 2556 เสนาธิการทหารอากาศ กองทัพอากาศ 2555 ปลัดบัญชีทหารอากาศ กองทัพอากาศ
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน
สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
นายคณิศ แสงสุพรรณ กรรมการอิสระ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ประธานกรรมการบร�หาร
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 22 เม.ย. 2552 - 28 เม.ย. 2553 วาระที่ 2 วันที่ 28 เม.ย. 2553 - 24 เม.ย. 2556 วาระที่ 3 วันที่ 24 เม.ย. 2556 - 22 เม.ย. 2559 วาระที่ 4 วันที่ 22 เม.ย. 2559 - ปจจ�บัน อายุ 58 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาเอก เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต University of Toronto, Canada ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 21/2547 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป มี.ค. 2552 - พ.ค. 2558 กรรมการ ธนาคารแหงประเทศไทย เม.ย. 2556 - พ.ย. 2558 ผูทรงคุณวุฒิดานการเงินการคลัง คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ การรถไฟแหงประเทศไทย ปจจ�บัน กรรมการ มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ปจจ�บัน ประธานกรรมการ คณะกรรมการบริหาร สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 197
คณะกรรมการ บร�ษัทฯ
พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจ�นดา
พลเอก ชาตอุดม ติตถะสิร�
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 21 ม.ค. 2559 - 22 เม.ย. 2559 วาระที่ 2 วันที่ 22 เม.ย. 2559 - ปจจ�บัน อายุ 57 ป
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 27 ม.ค. 2558 อายุ 60 ป
กรรมการอิสระ กรรมการธรรมาภิบาลและสงเสร�มกิจการเพ��อสังคม
การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต รุนที่ 36 โรงเรียนนายรอยตํารวจ ปริญญาโท บริหารรัฐกิจมหาบัณฑิต Kentucky State University สหรัฐอเมริกา หลักสูตร FBI National Academy, Virginia สหรัฐอเมริกา รุนที่ 215 หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) 2549 หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุนที่ 14 หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 13
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2557 รองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ สํานักงานตํารวจแหงชาติ 2555 - 2557 ผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ สํานักงานตํารวจแหงชาติ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบร�หารความเสี่ยง
การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายรอยพระจ�ลจอมเกลา หลักสูตรหลักประจํา ชุดที่ 66 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การทหาร) โรงเรียนเสนาธิการทหารบก วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ 53 หลักสูตรผูบริหารระดับสูง รุนที่ 18 สถาบันวิทยาการตลาดทุน ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 211/2558 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2559 ผูอํานวยการสํานักงบประมาณกลาโหม กระทรวงกลาโหม 2557 รองเสนาธิการทหารบก กองบัญชาการกองทัพบก 2556 กรรมการผูอํานวยการใหญ สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบก
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ สํานักงานตํารวจแหงชาติิ
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน รองปลัดกระทรวงกลาโหม กระทรวงกลาโหม ปจจ�บัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ ปจจ�บัน กรรมการ การไฟฟาสวนภูมิภาค
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
198 รายงานประจําป 2559
คณะกรรมการ บร�ษัทฯ
นายดําร� ตันช�วะวงศ
กรรมการอิสระ กรรมการบร�หารความเสี่ยง กรรมการบร�หาร กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูปบร�ษัทฯ
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 24 เม.ย. 2558 อายุ 63 ป
นายพ�ระพล ถาวรสุภเจร�ญ
กรรมการ กรรมการธรรมาภิบาลและสงเสร�มกิจการเพ��อสังคม
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 28 ธ.ค. 2558 อายุ 57 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต (การเงินและการคลัง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารจัดการสาธารณะ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หลักสูตรผูบริหารระดับกลาง รุนที่ 1 กระทรวงคมนาคม หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (นบส.) รุนที่ 58 สํานักงาน ก.พ. หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (นบส.2) รุนที่ 6 สํานักงาน ก.พ. หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและ กฎหมายมหาชน (ปรม.) รุนที่ 10 สถาบันพระปกเกลา หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุน 2555 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร
การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Advanced Management Program (AMP167), Harvard Business School, USA การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน SCC/2547 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 106/2551 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน 24/2551 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน 22/2552 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุน 10/2553 การอบรมหลักสูตรอื่นๆ - หลักสูตร วตท. รุนที่ 8 สถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2555 - 2556 กรรมการ บริษัท ไอรา แคปปตอล จํากัด (มหาชน) 2548 - 2558 กรรมการ บริษัท ไทยเคนเปเปอร จํากัด (มหาชน)
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท ไทยรุงยูเนียนคาร จํากัด (มหาชน)
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2557 ผูอํานวยการ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) 2556 รองผูอํานวยการ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.)
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน รองปลัดกระทรวงคมนาคม (หัวหนากลุมภารกิจการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ดานทางหลวง) สํานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท Yamato Kogyo Co., Ltd. ประเทศญี่ปุน ปจจ�บัน กรรมการ สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 199
คณะกรรมการ บร�ษัทฯ
นายรัฐพล ภักดีภูมิ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูป
นายว�ระวงค จ�ตตมิตรภาพ
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการดานกฎหมาย ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 22 เม.ย. 2552 - 28 เม.ย. 2553 วาระที่ 1 วันที่ 5 ส.ค. 2557 - 22 เม.ย. 2559 วาระที่ 2 วันที่ 28 เม.ย. 2553 - 24 เม.ย. 2556 วาระที่ 2 วันที่ 22 เม.ย. 2559 - ปจจ�บัน วาระที่ 3 วันที่ 24 เม.ย. 2556 - 1 ก.ค. 2557 อายุ 49 ป วาระที่ 4 วันที่ 28 ส.ค. 2557 - 22 เม.ย. 2559 วาระที่ 5 วันที่ 22 เม.ย. 2559 - ปจจ�บัน การศึกษา/ประวัติการอบรม อายุ 58 ป ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร (เครือ่ งกล) University of Colorado, Boulder, USA MBA (การตลาดและธุรกิจระหวางประเทศ) Sasin Graduate Institute of Business Administration การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาโท Executive Master’s in International Logistics and Supply Chain Strategy, นิติศาสตรบัณฑิต จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Georgia Institute of Technology, Atlanta, USA Executive Program in General Management, Strategies for Sustainable Business MIT Sloan นิติศาสตรมหาบัณฑิต (LL.M.) University of Pennsylvania, USA School of Management, USA เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมาย แหงเนติบัณฑิตยสภา การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 23/2547 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน /2543 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 52/2547 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร The Executive Director Course (EDC) รุน 1/2555 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Charter Director Class (CDC) รุน 9/2558 การอบรมหลักสูตรอื่นๆ การอบรมหลักสูตรอืน่ ๆ - หลักสูตร วตท. รุนที่ 12 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (ว.ป.อ. 58) สถาบันวิชาการปองกันประเทศ - หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูงดานการคาและการพาณิชย รุน ที่ 8 สถาบันวิทยาการการคา ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 2556 - 2557 กรรมการ บริษัท Frasers and Neave, Limited, Singapore - หลักสูตรภูมพิ ลังแผนดินสําหรับผูบ ริหารระดับสูง รุน ที่ 3 จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - 2013 Southeast Asia Regional Program Fellows, Eisenhower Fellowships 2555 - 2557 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท แผนดินทอง - หลักสูตรการบริหารจัดการความมัน่ คงแหงชาติ (บมช.) รุน ที่ 5 สํานักขาวกรองแหงชาติ พร็อพเพอรตี้ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) - หลักสูตรกฎหมายปกครองสําหรับผูบ ริหารระดับสูง (กปส.) รุน ที่ 1 สํานักงานศาลปกครอง 2554 2556 กรรมการ บริษัท ไมเนอรอนิ เตอรเนชัน่ แนล จํากัด (มหาชน) - หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน รุน ที่ 1 (ว.พ.น. 1) สถาบันวิทยาการพลังงาน 2552 2556 กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) - สมาชิกหนวยฝกการบินพลเรือนกองทัพอากาศ รุน ที่ 65 (ทอ. 65) หนวยฝกการบินพลเรือนกองทัพอากาศ 2550 2554 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ - หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง รุน ที่ 13 บริษัท อาหารสยาม จํากัด (มหาชน) (ป.ป.ร. 13) สถาบันพระปกเกลา 2549 - 2557 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ - โครงการอบรม 2009 Directors’ Consortium Stanford Graduate School of Business, USA - หลักสูตร Electronic Business and Commerce Executive Program บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) - หลักสูตร e-Business and Supply Chain Management Program Graduate School of ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน Business Stanford University, USA - Enrolled as a special student at the Sloan School of Management for two academic term. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย Course work includes Operation and Financial Management, Massachusetts Institute of ปจจ�บัน กรรมการและกรรมการสรรหา Technology Cambridge, MA. USA ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ป จ จ� บ น ั กรรมการและประธานคณะกรรมการสรรหา ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป และกําหนดคาตอบแทน 2543 - ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท เอสเอฟจี จํากัด (มหาชน) 2533 - ปจจ�บัน กรรมการบริหาร บริษัท เอสเค มิเนอรัลส จํากัด บริษัท ไทยพาณิชยประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) ป จ จ� บ น ั กรรมการ บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จํากัด (มหาชน) ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน ป จ จ� บ น ั กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จํากัด (มหาชน) 2557 - ปจจ�บัน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท บิ๊กซี ซุปเปอรเซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ 2557 - ปจจ�บัน ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผูจัดการใหญ ปจจ�บัน ทนายความ บริษัท วีระวงค, ชินวัฒน และเพียงพนอ จํากัด บริษัท เจเนอรัล อิเลคทรอนิค คอมเมอรซเซอรวสิ เซส จํากัด ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท สหชาติเศรษฐกิจ จํากัด ปจจ�บัน กรรมการ และประธานคณะกรรมการสรรหาและ 2554 - ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ดีเอ็กซอินโนเวชั่น จํากัด กําหนดคาตอบแทน ส.ค. 2557 - ปจจ�บนั กรรมการ กรรมการตรวจสอบ บริษัท Frasers Centrepoint Limited (ประเทศสิงคโปร) อนุกรรมการกําหนดผลตอบแทน อนุกรรมการพัฒนาธุรกิจ ปจจ�บนั กรรมการ บริษัท เนชัน่ แนล เพาเวอร ซัพพลาย จํากัด (มหาชน) อนุกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี บริษัท ไปรษณียไ ทย จํากัด สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
200 รายงานประจําป 2559
คณะกรรมการ บร�ษัทฯ
พลอากาศเอก ศิวเกียรติ์ ชเยมะ
กรรมการ กรรมการบร�หาร กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูปบร�ษัทฯ ประธานกรรมการกิจการสัมพันธ
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 29 เม.ย. 2557 อายุ 60 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม หลักสูตรเสนาธิการกิจ รุนที่ 35 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ป 2549 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หลักสูตรวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุนที่ 38 วิทยาลัยเสนาธิการทหารอากาศ หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักรภาครัฐ รวมเอกชน รุนที่ 21 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 227/2559 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
นายสมเกียรติ ศิร�ชาติไชย
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูปบร�ษัทฯ กรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดหาพัสดุ กรรมการทรัพยากรบุคคล ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 28 ส.ค. 2557 อายุ 52 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป ต.ค. 2557 ผูชวยผูบัญชาการทหารอากาศ กองทัพอากาศ เม.ย. 2557 ผูทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพอากาศ กองทัพอากาศ ต.ค. 2556 รองเสนาธิการทหารอากาศ กองทัพอากาศ ต.ค. 2555 ผูชวยเสนาธิการทหารอากาศ ฝายกําลังพล กองทัพอากาศ
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป
เม.ย. 2556 - ธ.ค. 2558
2554 - 2555
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี
บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ต.ค. 2558 - ปจจ�บัน
ปจจ�บัน
รองปลัดกระทรวงกลาโหม กระทรวงกลาโหม สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย MBA (Finance) University of Pennsylvania (Wharton), USA ป พ.ศ. 2534 ปริญญาบัตรหลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) ป พ.ศ. 2553 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน ป พ.ศ. 2557 Advanced Management Program Harvard Business School, USA, ป พ.ศ. 2558 การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน 39/2559 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 178/2556 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 84/2553 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุน 11/2553 การอบรมหลักสูตรอืน่ ๆ - หลักสูตรนานาชาติขน้ั สูงสําหรับการบริหารธนาคาร SIDA, Stockholm, Sweden, ป พ.ศ. 2554 - High Performance Leadership, IMD, Lausanne Switzerland, ป พ.ศ. 2551 - Advanced HR Executive, Michigan Ross School of business, USA, ป พ.ศ. 2550
2554 - 2555 2553 - ก.พ. 2556
กรรมการ และประธานกรรมการบริหารความเสีย่ งองคกร ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท หลักทรัพยจดั การกองทุน กสิกรไทย จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ศูนยวจิ ยั กสิกรไทย จํากัด รองกรรมการผูจัดการอาวุโส ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน)
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน
บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ กรรมการคณะอํานวยการบริหาร และประธานคณะกรรมการ บริหารจัดการความเสี่ยง บริษัท เมืองไทยประกันภัย จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท บี. กริม เพาเวอร จํากัด (มหาชน) ปจจ�บัน กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานคณะที่ปรึกษาประธานเจาหนาที่บริหาร และรองประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท เมืองไทย กรุป โฮลดิ้ง จํากัด ปจจ�บัน ทีป่ รึกษาคณะกรรมการอํานวยการ โรงพยาบาลจ�ฬาลงกรณ สภากาชาดไทย ปจจ�บัน หัวหนาคณะทีป่ รึกษาของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล สภากาชาดไทย ปจจ�บัน อนุกรรมการบริหารความเสีย่ ง ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจ�บน ั กรรมการนโยบายบุคลากร สภาจ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปจจ�บัน อนุกรรมการเตรียมกําลังคนภาครัฐ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 201
คณะกรรมการ บร�ษัทฯ
นายสมชัย สัจจพงษ�
กรรมการ ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 19 ต.ค. 2558 อายุ 55 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต Ohio State University สหรัฐอเมริกา ปริญญาเอก เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต Ohio State University สหรัฐอเมริกา ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 75/2549 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2557 - 2558 อธิบดีกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง 2554 - 2557 ผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 2553 - 2554 ผูอํานวยการสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง
พลอากาศเอก หมอมหลวง สุปร�ชา กมลาศน กรรมการอิสระ กรรมการผูัมีอํานาจลงนาม ประธานกรรมการบร�หารความเสี่ยง กรรมการบร�หาร
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 12 ต.ค. 2554 - 25 เม.ย. 2555 วาระที่ 2 วันที่ 25 เม.ย. 2555 - 24 เม.ย. 2558 วาระที่ 3 วันที่ 24 เม.ย. 2558 - 31 ม.ค. 2560 อายุ 64 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี วิศวกรรมอากาศยาน โรงเรียนนายเรืออากาศ รุนที่ 17 โรงเรียนนายทหารชั้นผูบังคับฝูง รุนที่ 46 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุนที่ 30 วิทยาลัยการทัพอากาศ รุนที่ 29 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ 46 ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 54/2549 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2554 ประธานคณะที่ปรึกษา กองบัญชาการกองทัพไทย
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี
บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ปลัดกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง
บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ขาราชการบํานาญ กระทรวงกลาโหม
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
202 รายงานประจําป 2559
คณะกรรมการ บร�ษัทฯ
พลอากาศเอก อํานาจ จ�ระมณีมัย กรรมการอิสระ
ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วันที่ 23 พ.ย. 2558 อายุ 53 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนนายเรืออากาศ
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2559 หัวหนาสํานักงานนายทหารปฏิบัติการพิเศษ หนวยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค 2553 รองหัวหนาสํานักงานฝายเสนาธิการในพระองค สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร หนวยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน หัวหนาสํานักงานฝายเสนาธิการในพระองค สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร หนวยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค
นายจรัมพร โชติกเสถียร
กรรมการ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม กรรมการบร�หาร กรรมการบร�หารความเสี่ยง กรรมการธรรมาภิบาลและสงเสร�มกิจการเพ��อสังคม กรรมการกํากับยุทธศาสตรและการปฏิรูปบร�ษัทฯ ไดรบั การแตงตัง้ เปนกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ วันที่ 4 ธ.ค. 2557 - 10 ก.พ. 2560 ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ วาระที่ 1 วันที่ 27 ม.ค. 2558 - 24 เม.ย. 2558 วาระที่ 2 วันที่ 24 เม.ย. 2558 - 10 ก.พ. 2560 อายุ 59 ป
การศึกษา/ประวัติการอบรม
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
ปริญญาตรี สาขา Electrical Engineering and Computer Science, มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย Harvard ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) ป 2547 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 66/2550 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 185/2557 การอบรมหลักสูตรอื่นๆ - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง รุนที่ 11 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) - หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน รุนที่ 1/2555 สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.)
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป
2554 - 2557 คณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน (กนส.) ธนาคารแหงประเทศไทย 2554 - 2557 ประธานกรรมการบริหาร สํานักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) 2554 - 2557 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) 2553 - 2557 กรรมการและผูจัดการ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท สํานักหักบัญชี (ประเทศไทย) จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท เซ็ดเทรด ดอท คอม จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท แฟมมิลี่ โนฮาว จํากัด
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน
บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 9 เม.ย. 2559 - 10 ก.พ. 2560 กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือหนวยงานอืน่ ๆ 12 มี.ค. 2558 - 10 ก.พ. 2560 กรรมการ บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ปจจ�บนั กรรมการ มูลนิธศิ กึ ษาพัฒน ปจจ�บนั กรรมการ มูลนิธวิ จิ ยั เทคโนโลยีสารสนเทศ สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 203
ฝายบร�หาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
นายจรัมพร โชติกเสถียร
นางอุษณีย แสงสิงแกว
ไดรับการแตงตั้งวันที่ 4 ธ.ค. 2557 - 10 ก.พ. 2560 อายุ 59 ป
ไดรับแตงตั้งวันที่ 1 ก.ย. 2558 อายุ 58 ป
การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี สาขา Electrical Engineering and Computer Science, มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย Harvard ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) ป 2547 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 66/2550 - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 185/2557 การอบรมหลักสูตรอืน่ ๆ - หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูง รุน ที่ 11 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) - หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน รุน ที่ 1/2555 สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.) ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2554 - 2557 คณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน (กนส.) ธนาคารแหงประเทศไทย 2554 - 2557 ประธานกรรมการบริหาร สํานักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) 2554 - 2557 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) 2553 - 2557 กรรมการและผูจัดการ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท สํานักหักบัญชี (ประเทศไทย) จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท เซ็ดเทรด ดอท คอม จํากัด 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท แฟมมิลี่ โนฮาว จํากัด ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 9 เม.ย. 2559 - 10 ก.พ. 2560 กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือหนวยงานอืน่ ๆ 12 มี.ค. 2558 - 10 ก.พ. 2560 กรรมการ บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด ปจจ�บนั กรรมการ มูลนิธศิ กึ ษาพัฒน ปจจ�บนั กรรมการ มูลนิธวิ จิ ยั เทคโนโลยีสารสนเทศ สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต (BBA) Mini Master of Information Technology (MMIT) ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) หลักสูตรการบริหารการรักษาความสงบเรียบรอยของสังคม ภาครัฐรวมเอกชน (บรอ.) หลักสูตรผูบริหารระดับสูง รุนที่ 21 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 194/2557 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) หลักสูตรการบริหารจัดการดานความมั่นคงขั้นสูง วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (สวปอ.รุน 4)
กรรมการผูอํานวยการใหญ
204 รายงานประจําป 2559
รองกรรมการผูอํานวยการใหญ หนวยธุรกิจบร�การการบิน
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2555 - 2558 กรรมการผูจัดการ ฝายบริการลูกคาภาคพื้น บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2552 - 2555 ผูอํานวยการ ฝายวางแผนและควบคุมอุปกรณ บริการบนเครื่องบิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จํากัด ปจจ�บัน รองประธานกรรมการ บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด ปจจ�บัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท โรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด ปจจ�บัน รองประธานกรรมการ บริษัท วิงสแปนเซอรวิสเซส จํากัด
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ 0.000023%
ฝายบร�หาร
เร�ออากาศเอก มนตร� จําเร�ยง
นายธีรพล โชติชนาภิบาล
ไดรับแตงตั้งวันที่ 9 ก.ย. 2557 อายุ 59 ป
ไดรับแตงตั้งวันที่ 1 ก.ย. 2558 อายุ 59 ป
การศึกษา/ประวัติการอบรม วิทยาศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนนายเรืออากาศ ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก Mini MBA (SASIN) Intensive Professional Program (NIDA) Pilot Recruitment License (IATA), Miami USA หลักสูตรการกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผูบริหารระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและองคการมหาชน สถาบันพระปกเกลา หลักสูตร “Leadership Succession Program” มูลนิธิสถาบันวิจัย และพัฒนาองคกรภาครัฐ (IRDP) จัดตั้งโดยสํานักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Business Leader Development Program University of Oxford, UK. ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) 216/2559 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
การศึกษา/ประวัติการอบรม Bachelor of Arts, Maths & Economics University College of Wales, Great Britain Master of Science, Operations Research University of Southampton, Great Britain
รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายกลยุทธองคกรและพัฒนาอยางยั�งยืน
รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายการพาณิชย
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2553 - 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ ฝายชาง บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)
บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท ไทยสมายลแอรเวย จํากัด
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ก.ค. 2557 - ส.ค. 2558 ที่ปรึกษากรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ก.พ. - ก.ค. 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายการพาณิชย บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) มิ.ย. 2556 - ก.พ. 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายกลยุทธและพัฒนาธุรกิจ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ก.พ. 2554 - มิ.ย. 2556 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายผลิตภัณฑและบริการลูกคา บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน)
บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน
กรรมการ บริษัท ไทยสมายสแอรเวย จํากัด
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ 0.000995%
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ 0.000029% บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 205
ฝายบร�หาร
นายดนุช บุนนาค
นายนิรุฒ มณีพันธ
ไดรับแตงตั้งวันที่ 25 ก.ค. 2557 อายุ 53 ป
ไดรับแตงตั้งวันที่ 25 ก.ค. 2557 อายุ 48 ป
การศึกษา/ประวัติการอบรม Bachelor of Special Studies, Mathematics Cornell College, USA Bachelor of Science in Systems Science and Engineering, Washington University at St. Louis, USA Master of Construction Management, Washington University at St. Louis, USA
การศึกษา/ประวัติการอบรม นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยรามคําแหง เนติบัณฑิตไทย สมัยที่ 45 Master of Comparative Jurisprudence (M.C.J) Howard University, Washington D.C., USA Master of Laws (LL.M.)., Temple University, Philadelphia Pennsylvania, USA
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ก.พ. 2557 - ก.ค. 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายรายไดเสริมองคกร บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) มิ.ย. 2556 - ก.พ. 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายผลิตภัณฑและบริการลูกคา บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) พ.ย. 2555 - มิ.ย. 2556 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายการพาณิชย บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ก.พ. 2554 - พ.ย. 2555 กรรมการผูจัดการ หนวยธุรกิจ การบริการภาคพื้น บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป 2555 - 2557 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายทรัพยากรบุคคลและกํากับกิจกรรมองคกร บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2554 - 2555 รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สํานักเลขานุการบริษัทฯ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
ที่ปร�กษากรรมการผูอํานวยการใหญ
ที่ปร�กษากรรมการผูอํานวยการใหญ
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ไมมี สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ 0.000052%
206 รายงานประจําป 2559
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โฮเต็ล จํากัด
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
ฝายบร�หาร
เร�ออากาศเอก กนก ทองเผือก
รองกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ สายทรัพยากรบุคคลและกํากับกิจกรรมองคกร
ไดรับแตงตั้งวันที่ 9 ก.ย. 2557 อายุ 58 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หลักสูตร UCLA Extension Executive Management Program 2005, University of California, Los Angeles USA การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP Segment 1-6) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Developing CG Policy Statement (DGC) การอบรมหลักสูตรอื่นๆ - หลักสูตร Public Procurement Training System, International Trade Centre (Phase 1-2) UNCTAD/WTO - หลักสูตร Corporate Secretary Development Program รุนที่ 9 สมาคมบริษัทจดทะเบียน - หลักสูตร Executive Development for Competitiveness โครงการ Executive Program จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตรธรรมาภิบาลของผูบริหารระดับกลางสําหรับ หนวยงานดานกฎหมายในภาครัฐและเอกชน รุนที่ 1 สถาบันพระปกเกลา - หลักสูตรการบริหารการจัดการภาครัฐรวมเอกชน รุนที่ 1 สํานักงานตํารวจแหงชาติ - หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุนที่ 14 สถาบันพัฒนาขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม - หลักสูตรนักบริหารยุทธศาสตรการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติ สัญญา ธรรมศักดิ์ รุนที่ 4 - หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง รุนที่ 6 ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2555 - 2557 ผูอํานวยการใหญ ฝายพัฒนาและฝกอบรมบุคลากร บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2554 - 2555 ผูอํานวยการใหญ ฝายบริหารทรัพยากรบุคคล บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ไมมี บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท วิงสแปนเซอรวิสเซส จํากัด ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โฮเต็ล จํากัด ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ทัวร เอื้องหลวง จํากัด สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ 0.000041%
นายณรงคชัย วองธนะว�โมกษ�
รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายการเง�นและการบัญช�
ไดรับแตงตั้งวันที่ 16 ก.ค. 2558 อายุ 54 ป การศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี (เศรษฐศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท (สาขา Information Systems) Golden Gate University, San Francisco, CA, USA ปริญญาโท (สาขาการเงิน) University of Pittsburgh, Pittsburgh, PA, USA สถาบันวิทยาการตลาดทุนรุนที่ 23 ประจําป 2559 หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปริญญาบัตร ปรอ.) รุนที่ 24 จากวิทยาลัยปองกัน ราชอาณาจักร (วปอ.) ประจําป 2554 ประกาศนียบัตรหลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGPClass) รุน 3/2554 โดยสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 131/2553 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) หลักสูตร CIMB-Insead Leaderships, INSEAD CFO Becoming a Strategic Partner, University of Pennsylvania, USA Senior Finance Management Program, Executive Development International, UK วุฒิบัตรการเขารับการอบรมตามหลักสูตรโครงการ ฝกอบรมพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร วิชา System Analysis คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป ธ.ค. 2552 - ก.ค. 2558 รองกรรมการผูจัดการใหญ (CFO) ธนาคารซีไอเอ็มบี จํากัด (มหาชน) ส.ค. 2553 - พ.ค. 2557 กรรมการ (มีอํานาจลงนาม) บลจ. ซีไอเอ็มบี - พรินซิเพิล พ.ค. 2555 - ก.ค. 2558 ประธานกรรมการ บจก. เวิรดลีส ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ, ประธานกรรมการความเสี่ยง บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทย-อะมาดิอุสเซาทอิสตเอเชีย จํากัด สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 207
ฝายบร�หาร
เร�ออากาศเอก ว�ระศักดิ์ ว�รุฬหเพชร
เร�ออากาศโท สมบุญ ลิ�มวัฒนพงศ
ไดรับแตงตั้งวันที่ 1 ต.ค. 2559 อายุ 59 ป
ไดรับแตงตั้งวันที่ 1 ต.ค. 2559 อายุ 60 ป
การศึกษา/ประวัติการอบรม วิศวกรรมอากาศยาน National Defense Academy of Japan
การศึกษา/ประวัติการอบรม วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาไฟฟา โรงเรียนนายเรืออากาศ
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป 2557 - 2559 ผูอํานวยการใหญ ฝายปฏิบัติการสนับสนุนการบิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2556 - 2557 ผูอํานวยการภารกิจพิเศษ ฝายปฏิบัติการสนับสนุนการบิน สายปฏิบัติการบิน ระดับรองผูอํานวยการใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2550 - 2556 ผูอํานวยการ ฝายนิรภัยปฏิบัติการบิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
ประวัติการทํางานในชวงระยะเวลา 5 ป ต.ค. 2558 - ก.ย. 2559 ผูอํานวยการใหญ ฝายซอมใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) พ.ย. 2557 - ก.ย. 2558 ผูอํานวยการใหญ ฝายซอมบํารุงอากาศยาน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ต.ค. 2554 - ต.ค. 2557 ผูอํานวยการ ฝายซอมใหญ (อูตะเภา) บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
รองกรรมการผูอํานวยการใหญ สายปฎิบัติการ
รองกรรมการผูอํานวยการใหญ ฝายชาง
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)
ตําแหนงที่สําคัญอื่นๆ ในปจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)
บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด ปจจ�บัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยไฟลทเทรนนิ่ง จํากัด
บริษัทหรือหนวยงานอื่นๆ ปจจ�บัน กรรมการ บริษัท ดอนเมือง อินเตอรเนชั่นแนล แอรพอรต โฮเต็ล จํากัด
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
208 รายงานประจําป 2559
สัดสวนการถือหุนในบร�ษัทฯ ไมมี
ายบร�หาร
นางสุวมล บัวเลิศ
ล านุการบร วยกรรมการ อานวยการ
านก ล านุการบร
เลขานุการบริษัทฯ ไดรับแตงตั้งวันที่ 13 พ ย 2555 ผูช ว ยกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ สํานักเลขานุการบริษัทฯ ไดรับแตงตั้งวันที่ 1 ม ค 2560 อายุ 55 ป
ประวัติการทางานใน วงระยะเวลา 5 ป 13 พ ย 2555 - 1 ม ค 2560 ผูอํานวยการใหญ สํานักเลขานุการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2554 - 2555 ผูอํานวยการใหญ ฝายบริหารทั่วไป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)
การศกษา ประวัติการอบรม ปริญญาตรีวิทยาศาสตร จ าลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโทวิทยาศาสตร (Microbio ogy) Sout ern I inois niversity SA ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปริญญาโทนิเทศศาสตร (การสื่อสาร) จ าลงกรณมหาวิทยาลัย ประกาศนียบัตร หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (ผูนํามีวิสัยทัศน) วิทยาลัยนักบริหาร สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ประกาศนียบัตรหลักสูตร o any Secretary Progra ( SP) โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (I ) ประกาศนียบัตรหลักสูตร irector erti ication Progra ( P) รุน 195 255 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (I ) หลักสูตรนักบริหารการคมนาคมระดับสูง รุนที่ 1 กระทรวงคมนาคม
ตาแหนงที่สาคั อื่นๆ ในปจจุบัน บริ ั บ น นตลา หลัก รัพ ไมมี
บริ ั หรือหน งานอืน ปจจบัน กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย จํากัด
สัดสวนการถือหุนในบรษัทฯ ไมมี
บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 209
ํานักงาน
สาขา
AUCKLAND, NEW ZEALAND AKLAA : MR. KARUN SIRAROJANAKUL LEVEL 8, 23 CUSTOMS STREET EAST CITIGROUP BUILDING, PO BOX 4559 AUCKLAND 1140, NEW ZEALAND
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(64-09) 377-3886 (64-09) 379-8597 (64-09) 256-8518 (64-09) 256-8454
BANGALORE, REPUBLIC OF INDIA BLRAA : MR. ATHIWAT KRISNAMPOK THAI AIRWAYS INTERNATIONAL 305, 3RD FLOOR EMBASSY SQUARE 148 INFANTRY ROAD BANGALORE- 560 001, INDIA
CHENGDU, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA CTUAA : MISS PIRANUJ SOMBURANADHIRA TKT/RSVN ROOM 02-03, 12TH FLOOR OF TOWER 1, FAX CENTRAL PLAZA 8 SHUNCHENG AVENUE, AIRPORT CHENGDU, SICHUAN PEOPLE’S REPUBLIC FAX OF CHINA
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(91-80) 4098-0396 / 97 (91-80) 4098-0392 (91-80) 6678-3191 (91-80) 6678-3192
COLOMBO, SRI LANKA CMBAA : MR. NARINTORN SUKKASEAM NBR 03, SIR EARNEST DE SILVA MAWATHA COLOMBO 3, SRI LANKA
BEIJING, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA BJSNN : MR. KITTIPHONG SANSOMBOON UNITS 303-4, LEVEL 3, OFFICE TOWER W3 ORIENTAL PLAZA, NO.1 EAST CHANG AN AVENUE DONG CHENG DISTRICT BEIJING, 100738 PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA
TKT RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : :
(86-10) 8515-0088 (86-10) 8515-1142 (86-10) 8515-1134 (86-10) 6459-8899 (86-10) 6459-0012
BRISBANE, AUSTRALIA BNEAA : MR. CHAWARIT THANASOMBATNANTH THAI AIRWAYS INTL BRISBANE LEVEL 10, 380 QUEEN STREET BRISBANE QUEENSLAND 4000, AUSTRALIA 9/300 ANN ST. BNE QLD4000
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(61-7) 3215-4700 (61-7) 3215-4737 (61-7) 3860-4163 (61-7) 3860-4328
TEL FAX e-mail TKT/RSVN FAX e-mail
: : : : : :
TKT RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : :
BRUSSELS, BELGIUM BRUSD : MRS. KATRIEN DEPAUW THAI AIRWAYS INTERNATIONAL 21, AVENUE DE LA TOISON D’OR 1050 BRUSSELS, BELGIUM BUSAN, REPUBLIC OF KOREA PUSAD : ** VACANT ** 6TH FL. HYUNDAI MARINE & FIRE INSURANCE B/D, 240 JUNGANG-DAERO, DONG-GU, BUSAN, REPUBLIC OF KOREA 601-713
: : : :
(86-28) 8666-7575 / 8666-7171 (86-28) 8666-9371 (86-28) 8520-5842 / 8520 (86-28) 8520-5840
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(94-11) 730-7100-05 (94-11) 266-7891 (94-11) 225-2057 (94-11) 225-2861
TKT RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : :
(45-33) 750-190 (45-33) 750-120 (45-33) 750-180 (45-32) 521-225 (45-32) 523-052
DELHI, REPUBLIC OF INDIA DELNN : MR. VISET SONTICHAI THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. THE AMERICAN PLAZA HOTEL INTERCONTINENTAL EROS, NEHRU PLACE NEW DELHI 110 019, REPUBLIC OF INDIA
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(91-11) 4149-7777 (91-11) 4149-7788 (91-11) 2565-2413 / 2565-2796 (91-11) 2565-2788
(32-2) 502-4447 (32-2) 502-6947 reservations@thaiairways.be (32-2) 502-4447 (32-2) 502-6947 reservations@thaiairways.be
DENPASAR, INDONESIA DPSAD : MR. NARONGRAT SITTHI THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL INNA GRAND BALI BEACH HOTEL, GROUND FLOOR JL. HANG TUAH, SANUR - BALI 80032 INDONESIA
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(62-361) 288-141 (62-361) 288-063 (62-361) 935-5064 (62-361) 935-5063
(82) 51-600-8183 / 84 (82) 51-600-8183 / 84 (82) 51-463-8564 (82) 51-941-8182 (82) 51-941-8183
DHAKA, BANGLADESH DACAA : MR. SATIT DUMRERNG THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO.LTD SPL WESTERN TOWER, LEVEL-9, SPACE-903, 186 BIR UTTAM MIR SHAWKAT ALI ROAD, TEJGAON INDUSTRIAL AREA, DHAKA-1208, BANGLADESH
TKT RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : :
(88-02) 887-9131-45 EXT 502 (88-02) 887-9131-45 EXT 501 (88-02) 887-9146 (88-02) 890-1807 / 1809 / 1812 (88-02) 890-1813
DUBAI, U.A.E. DXBAA : MR. CHANTOUCH SRINILTA THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL NO.1 BU HALEEBA PLAZA, SHOP NO. 1 AL MURAQQABAT ROAD, DEIRA P.O. BOX 13142, DUBAI - U.A.E.
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(971-4) 268-1701 (971-4) 266-5498 (971-4) 224-4305 (971-4) 224-5716
TKT RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : :
(49-69) 92874-446 (49-69) 92874-444 (49-69) 92874-222 (49-69) 69070-931 (49-69) 692-981
BODHGAYA, REPUBLIC OF INDIA (TEMPORARY OFFICE) INPAC TRAVELS (INDIA) PVT LTD. TEL : (91-0631) 220-0124 / C/O MR CB SINGH 220-1156 GF, HOTEL THE ROYAL RESIDENCY FAX : (91-0542) 250-5353 DUMUHAN ROAD, BODHGAYA DISTT GAYA, BIHAR, REPUBLIC OF INDIA CHENNAI, REPUBLIC OF INDIA MAAAA : MR. NATAPOL VANICHKUL THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PLC., LTD. KGN TOWERS, 4th FLOOR, B WING 62 ETHIRAJ SALAI, EGMORE CHENNAI 600 015, REPUBLIC OF INDIA
210 รายงานประจําป 2559
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(91-44) 4206-3311 (91-44) 4206-3344 (91-44) 2256-1928 / 1929 (91-44) 2256-1930
COPENHAGEN, DENMARK CPHAA : MR. PATAPONG NA NAKORN RAADHUSPLADSEN 16 DK-1550 COPENHAGEN V DENMARK
FRANKFURT, GERMANY FRANN : MR. JESADA CHANDREMA THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL ZEIL 127 60313 FRANKFURT, GERMANY
ํานักงาน า า
FUKUOKA, JAPAN FUKAD : ** VACANT ** HINODE FUKUOKA BUILDING 12-1, TENJIN 1, CHUO-KU FUKUOKA, 810-0001 JAPAN
TKT/RSVN : 0570-064-015 (Call Center for local calls only) FAX : (81-92) 734-9480 AIRPORT : (81-92) 477-7870 FAX : (81-92) 477-0345
GUANGZHOU, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA CANAA : MR. JUCKSAWAT KITISOOK TKT/RSVN G3, WEST WING, THE GARDEN HOTEL FAX 368 HUANSHI DONGLU, GUANGZHOU 510064 AIRPORT PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA FAX
: (86-20) 8365-2333 EXT 5 : (86-20) 8365-2300 / 2488 : (86-20) 8613-5310 / 8612-3866 : (86-20) 8613-5315
HANOI, SOCIALIST REPUBLIC OF VIETNAM HANAD : MR. VUTICHAI KAMPANARTSANYAKORN TKT 1st & 3rd FLOOR, HANOI LAKE VIEW BUILDING RSVN 28 THANH NIEN ROAD, TAY HO DISTRICT, HANOI FAX VIETNAM AIRPORT FAX
: : : : :
(84-4) 3826-7921 (84-4) 3826-7922 (84-4) 3826-7394 (84-4) 3884-0530 (84-4) 3886-5574
KUNMING, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA KMGAD : MR. NOPPORN KANCHANAMANEE TKT/RSVN 2ND, FLOOR, ATTACHED BUILDING OF FAX JINJIANG HOTEL NO. 98 BEIJING ROAD, AIRPORT KUNMING, YUNNAN PEOPLE’S REPUBLIC FAX OF CHINA
: : : :
(86-871) 6351-1515 (86-871) 6316-7351 (86-871) 6708-5520 (86-871) 6708-5519
LAHORE, ISLAMIC REPUBLIC OF PAKISTAN LHEAA : MR. LAWIT SAWADIRAK TKT THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. RSVN 9-A, DAVIS ROAD, GRAND HOTEL & FAX TOWER BUILDING LAHORE, ISLAMIC REPUBLIC AIRPORT OF PAKISTAN FAX
: : : : :
(92-042) 3630-9791-4 (92-042) 3637-3377 (92-042) 3636-8690 (92-042) 3661-1514 / 15 (92-042) 3661-1513
TKT FAX RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : : :
(44) 207-491-7953 (44) 207-907-9555 (44) 330-400-4022 (44) 207-409-1463 (44-208) 976-7915 (44-208) 976-7911
TKT RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : :
(63-2) 580-8446-8 (63-2) 580-8441 (63-2) 580-8484 (63-2) 834-0366-68 (63-2) 879-5265
TKT RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : :
(61-3) 8662-2200 (61-3) 8662-2255 (61-3) 9650-7003 (61-3) 9338-8954 (61-3) 9335-3608
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(39-02) 864-51710 (39-02) 864-51711 (39-02) 748-67911 (39-02) 748-60470
LONDON, UNITED KINGDOM LONAA : MISS NONTHAKORN TRAKULPA 41 ALBEMARLE STREET LONDON, W1S 4BF, UNITED KINGDOM
HO CHI MINH CITY, SOCIAL REPUBLIC OF VIETNAM SGNAA : MR. WEERAWAT SWASDIBUDTRA TKT/RSVN : UNITE 102, SAIGON TOWER OFFICE BUILDING FAX : 29 LE DUAN BOULEVARD, BEN NGHE WARD, AIRPORT : DIST. 1, HO CHI MINH CITY, FAX : SOCIAL REPUBLIC OF VIETNAM
MANILA, PHILIPPINES (84-8) 3822-3365 EXT 5117 MNLAA : MR. POLAPAT NEELABHAMORN COUNTRY SPACE 1 BUILDING SEN. GIL J. (84-8) 3824-3361 PUYAT AVENUE MAKATI CITY, PHILIPPINES (84-8) 3547-0300 (84-8) 3547-0301
HONG KONG, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA HKGAA : MR. CHETSENI DHANARAJATA TKT 24A UNITED CENTRE FAX 95 QUEENSWAY, HONG KONG RSVN PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA FAX AIRPORT FAX
: : : : : :
(852) 2179-7700 (852) 2529-0132 (852) 2179-7777 (852) 2179-7661 (852) 2769-7421 (852) 2382-4595
HYDERABAD, REPUBLIC OF INDIA HYDAA : **VACANT** THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. 6-3-249/6, ROAD NO. 01, BANJARA HILLS HYDERABAD - 500034, REPUBLIC OF INDIA
: : : :
MILAN, REPUBLIC OF ITALY (91-40) 2333-3030 EXT 110 MILAA : MRS. APHITCHAYA SAISA-ARD VIA AMEDEI, 15 (91-40) 2333-3003 20123 MILAN, REPUBLIC OF ITALY (91-40) 6660-5022 (91-40) 6662-2003
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
ISLAMABAD, ISLAMIC REPUBLIC OF PAKISTAN ISBAA : ** VACANT ** RSVN OFFICE NO 3, 4 HOLIDAY INN ISLAMABAD HOTEL ISLAMABAD, PAKISTAN FAX AIRPORT FAX JAKARTA, REPUBLIC OF INDONESIA JKTAA : MR. ANAN BUDKAEW WISMA NUSANTARA BUILDING 26TH FLR JL. MH. THAMRIN NO. 59 JAKARTA 10350 INDONESIA KARACHI, PAKISTAN KHIAA : MR. NATTHAKORN CHUNHACHA TECHNOLOGY PARK 7 TH FLOOR SHAHREH-E-FAISAL KARACHI, PAKISTAN KATHMANDU, NEPAL KTMAA : MR. PEERAPONG JUTAGANOON ANNAPURNA ARCADE, DURBAR MARG KATHMANDU, NEPAL KOLKATA, REPUBLIC OF INDIA CCUAA : MR. VICHAYA SINGTOROJ APEEJAY HOUE, 6TH FLOOR, BLOCK-A 15 PARK STREET KOLKATA - 700016, REPUBLIC OF INDIA KUALA LUMPUR, MALAYSIA KULAA : MR. NIVAT CHANTARACHOTI SUITE 30.01, 30TH FLOOR, WISMA GOLDHILL 67 JALAN RAJA CHULAN 50200 KUALA LUMPUR, MALAYSIA
: : : : :
(92-51) 227-2140 (92-51) 227-2141 (92-51) 282-3735 (92-51) 578-1409 / 411 (92-51) 578-1410
TKT/RSVN : (62-21) 390-3588 FAX : (62-21) 390-4318 / 316-2144 AIRPORT : (62-21) 550-2442-3 FAX : (62-21) 550-2442-3 TKT/RSVN : (92-21) 3279-2294 / 3278-8000 FAX : (92-21) 3279-1934 AIRPORT : (92-21) 457-0847 / 907-1472 FAX : (92-21) 457-3009 TKT/RSVN : (977-1) 422-4387/ 3565/ 5084 FAX : (977-1) 422-1130 AIRPORT : (977-1) 411-3293 FAX : (977-1) 411-3287 TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX e-mail
: : : : :
(91-33) 3982-7000 (91-33) 3982-7197 (91-33) 2511-8931 (91-33) 2511-8033 tgkilkata@thaiccu.com
TKT/RSVN : (60-3) 2034-6900, 2034-6999 FAX : (60-3) 2034-6891 AIRPORT : (60-3) 8787-3522 FAX : (60-3) 8787-3511
MELBOURNE, AUSTRALIA MELAA : MR. ARNUPHAP KITTIKUL 3RD FLOOR, 250 COLLINS STREET MELBOURNE, VICTORIA 3000 AUSTRALIA
MUMBAI, REPUBLIC OF INDIA BOMAA : MR. TANAWAT HIRANYALEKHA THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL MITTAL TOWERS, A WING, GROUND FLOOR 2A NARIMAN POINT, MUMBAI - 400021 REPUBLIC OF INDIA MUNICH, GERMANY MUCAA : MR. THONGCHAI TUNGKASAREERUK BAYER KARREE BAYERSTRASSE 83 80335 MUNICH, GERMANY MUSCAT, SULTANATE OF OMAN MCTAA : ** VACANT ** THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. GSA BAHWAN TRAVEL AGENCIES ALRAWAQ BUILDING NO. 10/1 BLOCK 205, PLOT 20 WAY NO. 207 STREET 7, ALQURUM MUSCAT SULTANATE OF OMAN NAGOYA, JAPAN NGOAA : MR. WEERAWAT RATTANA SOUTH HOUSE 9F, 6-29, NISHIKI 3-CHOME NAKA-KU, NAGOYA 460-0003, JAPAN OSAKA, JAPAN OSAAA : MR. WAROTE INTASARA SUMITOMOSEIMEI YODOYABASHI BUILDING 4-1-21 KITAHAMA, CHUO-KU OSAKA 541-0041, JAPAN OSLO, NORWAY OSLAA : MR. KANAPORN APINONKUL AKERSGT. 32 4TH FLOOR 0180 OSLO, NORWAY PARIS, FRANCE PARAA : MR. VIRUJ RUCHIPONGSE TOUR OPUS 12 77 ESPLANADE DU GENERAL DE GAULLE 92914 LA DEFENSE CEDEX FRANCE
TKT/RSVN : (91-22) 6637-3777 FAX : (91-22) 6637-3738 AIRPORT : (91-22) 6685-9219 / 20 / 21 TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(49-89) 2420-7010 (49-89) 2420-7070 (49-89) 9759-2670 / 71 (49-89) 9759-2676
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(968) 2465-4195-96 / 79 (968) 2465-9765 (968) 2451-9874 (968) 2451-0524
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(81-52) 963-8586 (81-52) 963-8588 (81-56) 938-1024 (81-56) 938-1023
RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(81-06) 6202-5161 (81-06) 6202-4758 (81-072) 456-5140 (81-072) 456-5144
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(47) 2311-8888 (47) 2311-8880 (47) 9481-0985 (47) 6482-0590
TKT FAX AIRPORT FAX
: : : :
(33-1) 5568-8060 (33-1) 4090-7165 (33-1) 4862-4130 (33-1) 4864-6267
บร�ษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 211
PENANG, MALAYSIA PENAD : ** VACANT ** LEVEL 3 BURMAH PLACE 142-L BURMAH ROAD 10050 PENANG, MALAYSIA PERTH, AUSTRALIA PERAA : MS. PATSAMON SINGHA-UDOM LEVEL 4, ST MARTINS TOWER 44 ST GEORGE’S TERRACE PERTH, WESTERN AUSTRALIA 6000 PHNOM PENH, KINGDOM OF CAMBODIA PNHAA : MRS. CHATIYA APINYANUKUL THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL 9-14B, REGENCY BUSINESS COMPLEX B 294 MAO TSE TOUNG BLVD. PHNOM PENH, KINGDOM OF CAMBODIA ROME, REPUBLIC OF ITALY ROMAA : MR. THAMANOON KUPRASERT 50, VIA BARBERINI 00187 ROME, REPUBLIC OF ITALY SEOUL, REPUBLIC OF KOREA SELAA : MR. SUTTICHOKE RODLEECHIT 15TH FL., HANHWA FINANCE CENTERTAEPYUNGRO 92 SEJONG DAERO, JUNG-GU SEOUL, REPUBLIC OF KOREA, 04525
STOCKHOLM, SWEDEN STOAA : MRS. PORNSRI CHOTIWIT DROTTNINGGATAN 33, BOX 1118 STOCKHOLM, SWEDEN SYDNEY, AUSTRALIA SYDNN : MR. PRIN YOOPRASERT 75 PITT STREET, SYDNEY NEW SOUTH WALES 2000 AUSTRALIA
TAIPEI, TAIWAN TPEAA : MR. WIT KITCHATHORN 7F, NO. 308, SEC. 2, BADE ROAD, TAIPEI 10492 TAIWAN
TEHRAN , IRAN THRAA : MR. PICHEST LAEIETPIBOON THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. NO. 114, KAJABADI ST., JORDAN ST., TEHRAN , IRAN TOKYO, JAPAN TYONN : MR. NOND KALINTA 1-5-1 YURAKUCHO, CHIYODA-KU TOKYO 100-0006, JAPAN
212 รายงานประจําป 2559
(856-21) 222-527 (856-21) 216-143 (856-21) 512-024 (856-21) 512-096
: : : : : :
(604) 226-7000 (604) 226-6821 (604) 226-6000 (604) 226-1857 (604) 643-9491 (604) 644-3657
TKT RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : :
(61-8) 9265-8201 (61-8) 9265-8202 (61-8) 9265-8260 (61-8) 9477-1099 (61-8) 9479-2113
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(855-23) 214-359-61 (855-23) 214-369 (855-23) 303-868 (855-23) 890-239
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(39-6) 4781-3304 (39-6) 4746-449 (39-6) 6501-0703 / 773 (39-6) 6501-0297
TKT FAX RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : : :
(82-2) 3707-0133 (82-2) 3707-0155 (82-2) 3707-0011 (82-2) 755-5251 (82-32) 744-3571-4 (82-32) 744-3577
: : : : :
(86-21) 3366-4111 (86-21) 3366-4020 (86-21) 3366-4010 (86-21) 6834-6803 (86-21) 6834-6802
CHIANGMAI, THAILAND CNXSD : MRS. PUANGPETCH KULTHAWEE TKT 240 PRAPOKKLAO ROAD, FAX AMPHUR MUANG, CHIANGMAI 52000, THAILAND RSVN FAX AIRPORT FAX
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(65) 6210-5000 (65) 6223-9005 (65) 6542-8333 (65) 6542-0179
CHIANGRAI, THAILAND CEISD : ** VACANT ** 870 PHAHOLAYOTIN ROAD AMPHURE MUANG, CHIANGRAI 57000 THAILAND
TKT/RSVN : (053) 711-179, 715-207 FAX : (053) 713-663
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(46-8) 5988-3600 (46-8) 5988-3690 (46-8) 5988-3680 (46-8) 5988-3693
HAT YAI, THAILAND HDYSD : MR. KITTISAK PINMUANG (Acting) 180, 182, 184 NIPHAT UTHIT 1 ROAD HAT YAI, SONGKHLA 90110, THAILAND
TKT/RSVN : (074) 233-433 FAX : (074) 233-114
SHANGHAI, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA SHAAA : MISS CHONNAKARN AKRAPREEDEE TKT/RSVN THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL. FAX TKT SHANGHAI OFFICE UNIT 2302, FAX RSVN CHONG HING FINANCE CENTER, AIRPORT 288 NANJING ROAD (WEST) SHANGHAI 200003, FAX PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA SINGAPORE SINNN : MR. SIRIPHONG MANGKALEE 100 CECIL STREET #02-00 THE GLOBE, SINGAPORE 069532
VIENTIANE, LAO PEOPLE’S DEMOCRATIC REPUBLIC VTEAD : MISSS PARINEE CHANTHRAKUPT TKT/RSVN : M & N BUILDING, GROUND FLOOR FAX : ROOM NO. 70/101-103 AIRPORT : SOUPHANOUVONG AVENUE FAX : VIENTIANE, LAO PEOPLE’S DEMOCRATIC REPUBLIC
TKT FAX RSVN FAX AIRPORT FAX
TKT
: (61-2) 1300-651-960 / 9844-0929 FAX : (61-2) 9844-0936 RSVN : (61-2) 1300-651-960 / 9844-0999 FAX : (61-2) 9844-0936 AIRPORT : (61-2) 9844-0939 / 9669-3033 FAX : (61-2) 8339-1176 (886) 2-8772-5222 EXT. 711 (886) 2-2776-7656 (886) 2-8772-5111 (886) 2-8772-7200 (886) 3383-4131 (886) 3383-4395
VARANASI, REPUBLIC OF INDIA (TEMPORARY OFFICE) TOP TRAVEL AND TOURS (P) LTD. TEL : (91-0542) 329-5158 GF-3, R.H. TOWERS, THE MALL FAX : (91-0542) 250-5353 VARANASI CANTT, VARANASI - 221001 UTTAR PRADESH, REPUBLIC OF INDIA XIAMEN, PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA XMNAA : MR. PRASERT TANHANSA UNIT C 23 RD FLOOR, INTERNATIONAL PLAZA, NO.8 LUJIANG ROAD, XIAMEN, 361001 PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(86-592) 226-1688 (86-592) 226-1678 (86-592) 573-0558 (86-592) 573-0578
YANGON, UNION OF MYANMAR RGNAA : MR. RATAPONG YANYONG TKT/RSVN : (95-9) 541-9549 THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PCL. AIRPORT : (95-1) 533-173 UNIT 01,03, LEVEL11, TOWER 1, FAX : (95-1) 533-172 HAGL MYANMAR CENTRE 192 KABA AYE PAGODA ROAD, BAHAN TOWNSHIP THE REPUBLIC OF THE UNION OF MYANMAR ZURICH, SWITZERLAND ZRHAA : MR. SERN CHUPIKULCHAI THAI AIRWAYS INTERNATIONAL PUBLIC CO., LTD. BAHNHOFSTRASSE 67 / SIHLSTRASSE 1 8001 ZURICH, SWITZERLAND
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : :
(41-44) 215-6500 (41-44) 212-3408 (41-43) 816-4323 (41-43) 816-4590
: : : : : :
(053) 920-920 (053) 920-990 (053) 920-999 (053) 920-995 (053) 201-286 (053) 922-162
สานักงานภายในประเทศ
PHUKET, THAILAND HKTSD : MR. KITTISAK PINMUANG 78 RANONG ROAD, TABOM TALADNUE MUANG DISTRICT, PHUKET 83000, THAILAND
KRABI, THAILAND KBVSD : MR. KARNT LOHSUWAN KRABI INTERNATIONAL AIRPORT 133 MOO 5 PETKASEM RD. T.NUAKLONG A.NUAKLONG KRABI 81130, THAILAND
TKT FAX RSVN FAX AIRPORT FAX
: : : : : :
(076) 360-400 (076) 360-482,485 (076) 360-444 (076) 360-485-6 (076) 351-216 (076) 327-423
TKT/RSVN : (075) 701-591-3 (AIRPORT) FAX : (075) 701-594
TKT FAX TKT RSVN FAX RSVN AIRPORT FAX
: : : : : :
TKT/RSVN FAX AIRPORT FAX
: (98-0) 21 4296-7700 : (98-0) 21 2266-1067 : :
PATTAYA, THAILAND PYXSD : ** VACANT ** DUSIT THANI, 240/2 PATTAYA BEACH ROAD, PATTAYA CITY, CHOLBURI 20150, THAILAND
TKT/RSVN : (038) 420-995-7 FAX : (038) 420-998
TKT/RSVN FAX AIRPORT (NRT) FAX AIRPORT (HND) FAX
: (81-3) 3503-3311 : (81-3) 3503-3323 : (81-4) 7634-8329
SAMUI INTERNATIONAL AIRPORT 99 MOO 4, BO BHUD KOH SAMUI DISTRICT, SURATTHANI 84320, THAILAND
AIRPORT : (077) 601-331-2 FAX : (077) 601-381
: (81-4) 7634-8328 : (81-3) 3747-0327 : (81-3) 3747-0318
KHONKAEN, THAILAND KKCSD : ** VACANT ** TKT/RSVN : (043) 227-701-04 HOTEL PULLMAN KHONKAEN RAJA ORCHID FAX : (043) 227-708 9/9 PRACHASUMRAN ROAD, NAI MUANG, MUANG, KHONKAEN 40000, THAILAND