Portfolio 2019 by A-rachaporn R.

Page 1

A PORTFOLIO

A-RACHAPORN r.


A-RACHAPORN R. information A-rachaporn Raksuksombut ( อรชพร รักสุขสมบัติ ) Nickname: Pan Date of birth: 10th Octorber 1996 Gender: Female Nationality: Thai Religion: Buddhism

INTEREST Architecture/ Illustation/ Movies/ Music/ Novel/ Memes/ Cartoon/ Dog/ Hamster

CONTACT Mobile: +668 4692 7320 Address: 662 Onnut10, Sukhumvit 77 Road, Suan Luang, Bangkok 10250 E-mail: Arachapornpan@gmail.com Instagram: Archpan

WORK EXPERIANCE Internship in Trimode Design (2018) Character portrait at ARTBOX market (2015-2017)

SKILL Create and design/ Water color painting/ Pen drawing/ Model making/ Sketch/ Technical drawing/ Character portrait/ Graphic design


EDUCATION 2001-2008 Anubanphibunwes School 2009-2014 Triem Udom Suksa Pattanakarn School 2015-2019 Department of Interior design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University

SOFT SKILL Communication Organization Teamwork Always Punctual Creativity Critical Thinking Adaptability Friendly Personality Social Skills

A

THESIS: The Lane @Pinklao Southern bus terminal

01

P12: The CO @Srinakarin

17

P11: It’s Time @Ekamai Eastern bus terminal

21

P10: The Mystricks Theater

P09 : Siam serpentarium Specialized museum

INTEREST

Architecture/ Illustation/ Movies/ Music/ Novel/ Memes/ Cartoon/ Dog/ Hamster

HARD SKILL AutoCAD SketchUp+V-ray 3Dmax+V-ray Adobe Photoshop Adobe Lightroom Adobe Illustrator Microsoft Word Microsoft Excel Microsoft PowerPoint

25 31

P08 : The glam , Hotel

37

P07: EA sport office

45

Individual project : Train market walkway

51

Seminar project: Mixed use good building

53

Render work

55

Other work

61

Hand skill

65

Sketch design

69

Other skill

73


Perspective : The Lane @ Pinklao , Southern bus terminal


02

THESIS

The Lane @ Pinklao , Southern bus terminal

การเปลี่ยนแปลงรถโดยสารสาธารณะแบบใหมและแนวโนม การปฏิรูประบบขนสงสาธารณะในประเทศไทย กอใหเกิดแนวคิด ในการปรับปรุงประสบการณผูเขาใชและเพิ่มรูปแบบการใชงาน ภายในพื้นที่ใหตอบรับกับพื้นที่ในเชิงขนสงมวลชนสาธารณะและ คำนึงถึงความสำคัญในการแกปญหาและการพัฒนาใหแกองคกร และผูเขาใชที่สอดคลองกับความตองการของทุกภาคสวน โดย ปรับแกจาก ปญหาภายในพื้นที่, กระแสสังคม และการสงเสริม การทองเที่ยวโดยรอบใหเกิดประโยชนสูงสุด ในอนาคตจะมีการนำเทคโนโลยีเขามาใชรวมกันสถานีขนสง สงผลใหเกิดการปฏิรูประบบการขนสงทางถนนแบบครบวงจร เกิดการพัฒนาดานคมนาคมขนสงของประเทศไปสูยุคของ Smart Transportation นอกจากนั้นยังมีแนวโนมการสงเสริม รถมินิบัสในการขนสงผูโดยสารแทนรถตูโดยสาร และไดมีการ ปรับใชแลวในบางเสนทางในปจจุบัน สถานที่ตั้งของโครงการ คือ สถานีขนสงผูโดยสารกรุงเทพฯ (ปนเกลา)แขวงอรุณอมรินทร เขตบางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 ตั้งอยูบริเวณจุดที่ถนนบรมราชชนนีตัดกับถนนสิรินธรและถนน เชื่อมเขากับสะพานขามคลองบางกอกนอย 1.7 กม. เซ็นทรัลปนเกลา 2.2 กม. ชางชุย 5.4 กม. วังหลัง-ศิริราช 5.4 กม. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม


03

พ.ศ. 2532 สถานีขนสงผูโดยสารกรุงเทพฯ (ปนเกลา) ไดถูกเปดใช พ.ศ.2550 การเดินรถไดยายไปที่สถานี ขนสงผูโดยสารกรุงเทพฯ (บรมราชชนนี) ใหบริการใน ชวงปลายป พ.ศ. 2557 พยายามจะฟนฟูสถานที่ให กลับมาคึกคักดวยการเปด เปนตลาดนัดคนเดิน และตอง ลมเลิกเพราะพื้นที่ีเขาถึงไดยาก - TOURIST CAFE - TOURIST CENTER - MEDICAL ROOM - PRAYER ROOM - OFFICE

พ.ศ.2559 ไดมีการจัดระเบียบรถตูบริเวณ อนุสาวรียชัยทำใหสถานีขนสง ผูโดยสารกรุงเทพฯ(ปนเกลา) ถูกปรับใหเปนจุดจอดรถตูโดยสารประจำทางอีกครั้ง

- INFORMATION - LINK SPACE - LEFT LUGGAGE - MALL - OUTDOOR ZONE

New safety

New experience

New standard

จึงกอใหเกิดแนวคิดในการปรับปรุงประสบการณผูเขาใช และเพิ่มฟงกชั่นภายในพื้นที่ทำใหเกิดการมิกซยูส (mixed use) ขึ้นภายในโครงการ เพื่อใชพื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยปรับปรุงจากปญหาภายในพื้นที่, กระแสสังคม และการสงเสริมการ ทองเที่ยวทั้งบริเวณโดยรอบและจังหวัดในเสนทางที่ใหบริการ

- PARK - LINK SPACE - WAITING AREA - MULTIPURPOSE SPACE

- ATM - MALL - FOODCOURT - CAFE SERVICE

- INFORMATION - LUGGAGE - MINIMART - TAXI SERVICE - ARRIVAL

- LINK SPACE - FOOD SERVICE - INFORMATION - TICKET MACHINE - GATE TO DEPARTURES

โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ ปรับปรุงประสบการณผูเขาใช, สรางโอกาสในการเดินทางและการทองเที่ยว, สงเสริมการพัฒนาเมืองและชุมชนใหเปนเมืองนาอยูไดอยางยั่งยืนตอไป, สรางมาตรฐานตอผูคนทั้งชาวไทยและชาวตางชาติในการเขา ใชสถานีขนสง ทั้งในมุมมองของสถานีขนสงและแหลงทองเที่ยว ภายในเวลาเดียวกัน, เพื่อสรางเครือขายกับองคกรตาง ๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชน และชวยสงเสริมและสนับสนุนใหเปนตน แบบสถานีขนสงระยะสั้นที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

- LINK SPACE - FOOD SERVICE - INFORMATION - TICKET MACHINE - GATE TO DEPARTURES - DEPARTURES - WAITING AREA - CHARGER POINT


04


05

สามารถเขาสูโครงการไดจากทางลาด เพื่อเขาสูพื้นที่ Elevated garden ชั้น2 และเขาถึงพื้นที่ตางๆ ไดแก พื้นที่สถานี ขนสง, พื้นที่อเนกประสงค และพื้นที่ คอมมูนิตี้ มอลล โดยจะอธิบายตาม ลำดับ นอกจากนี้ยังสามารถเขาโครงการจาก พื้นที่ คอมมูนิตี้ มอลล ชั้น1 ไดอีกดวย

Perspective : Elevated FL.02

Perspective : Elevated FL.02 (To transportation zone)


06

พื้นที่สถานีขนสง ชั้น2 สามารถเขาได จากพื้นที่ Elevated garden ชั้น2 จากดานหนาเปนพื้นที่ใหเชาและรานคาอำนวยความสำดวกแกผูโดยสาร ถัดไปเปนพื้นที่ประชาสัมพันธและจำหนายตั๋วโดยสาร รองรับผูโดยสารทั้งที่ ไมมีตั๋วและซื้อตั๋วออนไลน พื้นที่นี้เปน ล็อบบี้หลักของสถานีขนสง และมีสำนักงานสถานีขนสงอยูบริเวณนี้ดวย ดานในสุดของชั้นเปนพื้นที่ที่เชื่อมกับ สถานีขนสง ชั้น1 มีหนาจอแสดงรอบ รถและสิ่งอำนวยความสะดวกเบื่อตน รองรับผูโดยสาร

Perspective : Transportation zone FL.02 (Ticket office)

Perspective : Transportation zone FL.02 (Gate to bus terminal)


07

พื้นที่สถานีขนสง ชั้น1 จากดานหนา เปนพื้นที่ประชาสัมพันธและจำหนาย ตั๋วโดยสาร ขนาดเล็กสำหรับรองรับผูโดยสารที่เดินทางจากรถยนตสวนตัว มีลิฟตใหบริการขึ้นไปพื้นที่ Elevated garden ชั้น2 ถัดไปเปนพื้นที่ชานชาลา โดยมีปาย บอกหมายเลขรถและหมายเลขชองที่ ใหบริการตามเสา บริเวณกลางชานชาลามีหนาจอบอกรอบรถขนาดใหญ ใหบริการ ดานในสุดของชั้นเปนพื้นที่ที่เชื่อกับ สถานีขนสง ชั้น2 และมีสิ่งอำนวย ความสะดวกเบื่อตนรองรับผูโดยสาร

Perspective : Transportation zone FL.01 (Ticket office)

Perspective : Transportation zone FL.01 (Bus terminal)


08

Perspective : Transportation zone FL.01 (Bus terminal)


09

พื้นที่ Elevated garden ชั้น2 เปนพื้น ที่อเนกประสงคที่มีจุดประสงคหลักคือ การกระจายคนสูพื้นที่ตางๆไดโดยไม คลอสทางสัญจรกับรถ และสามารถ จัดกิจกรรมภายในพื้นที่อเนกประสงค ดานในสุด ที่มีลักษณะเปนสวนสาธารณะ นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ Elevated garden ชั้น3 เชื่อมตอกับพื้นที่คอมมูนิตี้ มอลล ชั้น3 ทำหนาที่เปนสวนลอยฟา และมี ทางลาดลงสูหนาพื้นที่สถานีขนสงอีก ดวย

Perspective : Elevated FL.02 (To Commercial space)

Perspective : Elevated FL.03 (Elevated garden)


10

Perspective : Elevated FL.02 (Elevated garden & Multipurpose Space)


11

พื้นที่ คอมมูนิตี้ มอลล ชั้น1 มีหนาที่หลักคือรองรับ ผูโดยสารขาเขาและกระจายออก โดยมีเลาจนสำหรับรองรับผูโดยสารขาเขา และจุดสำหรับเรียกรถ แท็กซี่ ตลอดทางสัญจรมีรานคา บริการรับฝากของ และสิ่งอำนวยความสะดวกรองรับผูโดยสารตลอด ทาง

Perspective : Commercial space FL.01 (Taxi point)

พื้นที่ คอมมูนิตี้ มอลล ชั้น2 เปนพื้นที่ที่เชื่อมกับ Elevated garden ชั้น2 มีหนาที่หลักคือประชาสัมพันธผูเขาใช มีรานคา บริการรับฝากของ สิ่งอำนวย ความสะดวก และไปรษณียเพื่อรองรับการขนสงสิ่งของ และเกิดการครอบคลุมทุกความตองการ ในการขนสงใหไดมากที่สุดภายในโครงการ

Perspective : Commercial space FL.01 (Arrival lounge)


12

Perspective : Commercial space FL.02 (Information center)


13

พื้นที่ คอมมูนิตี้ มอลล ชั้น3 ปนพื้นที่ที่เชื่อมกับ Elevated garden ชั้น3 มีหนาที่หลักคือตอบสนอง ความตองการขั้นพื้นฐานของผูเขาใช โดยมีรานคา ATM รานอาหาร และฟูดคอรท รองรับผูเขาใช

Perspective : Commercial space FL.03 (Food court)

พื้นที่ คอมมูนิตี้ มอลล ชั้น4 มีหนาที่หลักคือสงเสริม การทองเที่ยว โดยมีTourist centerใหบริการนักทองเที่ยวทั้งที่ตองการทองเที่ยวในกรุงเทพ และใน ตางจังหวัดที่ใหบริการภายในสถานีขนสง และมี หองพยาบาล/หองละหมาดรองรับผผูเขาใช ดาน ในสุดเปนสำนักงานใหญของโครงการ

Perspective : Commercial space FL.03 (Food court)


14

Perspective : Commercial space FL.04 (Tourist center)


15


16

Perspective : The Lane @ Pinklao , Southern bus terminal


PROJECT 12

The CO @ Srinakarin , Free project 2

Perspective : The CO community mall


18

The CO คือ สถานที่รวมตัวกันของผูคนแตละหมูบาน และ แตละสถานที่เพื่อพบปะ, พูดคุยและใชเวลารวมกัน ในบรรยากาศ ที่รมรื่นและตอบสนองความตองการของผูคนทั้งภายในและภาย นอกพื้นที่ โดยมีกลุมเปาหมายหลัก คือ กลุมครอบครัวและผูคน ภายในหมูบานที่อยูรอบตัวโครงการ ขณะที่การออกแบบจะผสม ผสานระหวางพื้นที่เปดโลงกับตัวอาคารเขาไวดวยกัน มีความสูง 2 ชั้น มีพื้นทีประมาณ 10,000 - 30,000 ตรม. มีทางเขา - ออก โครงการงาย สวนสินคาและบริการมุงตอบความตองการชีวิต ประจำวันเปนหลัก The CO คอมมูนิตี้ มอลล แหงนี้จะเปนสวนหนึ่งของ Mixed-use Development The CO เกิดขึ้นจากการขยายตัวของหมูบานและจำนวน ประชากรที่มากขึ้นของกรุงเทพมหานคร ทำใหจำนวนผูอยูอาศัย ในแตละพื้นที่มากขึ้น โดยหยิบยกพื้นที่บริเวณศรีนครินทรมาเปน พื้นที่ตั้งโครงการ เพราะบริเวณโดยรอบสวนมากเปนที่พักอาศัย และสถานศึกษาตางๆ โดยมีถนนสายหลักหลายสาย จึงเปนที่อยู อาศัยของคนสวนมากที่เดินทางไปทำงานในเมือง The Co จึงทำ หนาที่เหมือนสถานที่รวมตัวทั้งคนในพื้นที่กันเอง หรือคนในหมูบานกันเอง ตลอดจนคนในครอบครัวกันเอง เพื่อใชเวลาพบปะกัน ใหมากขึ้น และเปนที่สำหรับพักผอนในเวลาวางจากการทำงาน อีกดวย

สถานที่ตั้งโครงการ(จำลอง) : ถนนศรีนครินทร แขวงสวนหลวง เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250

พื้นที่ กท 8 เรียกวา กลุมบูรพา เขตที่อยูอาศัยรองรับการ ขยายตัวของเมือง (Transition Zone) ดานตะวันออกตอนใต ประกอบดวย 6 เขต คือ บางกะป คันนายาว วังทองหลาง บึงกุม สะพานสูง และสวนหลวง สภาพปจจุบันเปนที่อยูอาศัย เปนพื้นที่รองรับการขยายตัวของเมือง เขตพื้นที่ตั้งคือเขตบางกะปและสวนหลวง สภาพทั่วไปเปน แหลงที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง มีชุมชนหมูบาน และโรงเรียนอยูเปนจำนวนมาก ในอนาคตมีแนวโนมที่จะีที่อยูอาศัย หนาแนนมากขึ้น เนื่องจากมีการขยายตัวของระบบการขนสง รถไฟฟามหานคร สายสีเหลือง ที่กำลังกอสราง ซึ่งปจจุบันมี ระบบการขนสงรถไฟฟา แอรพอรต เรียลลิ้งค และรถไฟระบบ ราง (สถานีหัวหมาก) การคมนาคมสายหลัก ไดแก ถนนมอเตอรเวย, ถนนศรีนครินทร, ถนนพระราม 9, ถนนเพชรบุรี, ถนนพัฒนาการ, ถนนรามคำแหง, ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค), ถนน ออนนุช, ทางพิเศษศรีรัช, ทางพิเศษฉลองรัช, ถนนลาดพราว, ถนนนวมินทร และถนนเสรีไทย

การออกแบบตกแตง The CO ไดรับแนวความคิดมาจาก “สภากาแฟ” ซึ่งเปนสถานที่รวมตัวกันจองคนในชุมชนเพื่อพบปะ และทำกิจกรรมรวมกัน โดยภายในไดออกแบบแปลนใหลื่นไหล เกิดการเชื่อมตอกันของแตละพื้นที่ ทั้งภายนอกและภายใน มี คอนเสปตในการออกแบบแตละพื้นที่คือ เกมสกระดาน ที่เปน กิจกรรมภายในสภากาแฟ นำมาออกแบบพื้นที่สวนกลางในแต ละจุดใหมีความแตกตางจาก คอมมูนิตี้ มอลล แหงอื่น เชน เกมบันไดงู(บริเวณโถงกลางอาคาร) และหมากรุก(บริเวณดาน ในอาคารชั้นหนึ่ง)


19

พื้นที่ชั้นหนึ่ง เปนพื้นที่โถงและพื้นที่จัด กิจกรรมตางๆ ดานหนาเปนพื้นที่ใหเชา 2ชั้น ตรงกลางเปนโถงใหญสำหรับจัด กิจกรรม มีทางลาดขึ้นชั้นสองเปนจุดเดนในโครงการ เปนลักษณะสวนขั้น บันได ทางดานในเปนพื้นที่สำหรับเชา ซุปเปอรมารเก็ต และฟูดคอรด

Perspective : The CO community mall (Hall)

Perspective : The CO community mall


20

พื้นที่ชั้นสอง เปนพื้นที่ที่เนนการพักผอนและเปนสวนตัวกวาชั้นหนึ่ง ตรง กลางเปนพื้นที่สาธารณะ สำหรับการ พบปะและนั่งพูดคุยกันในลักษณะ สภากาแฟ ลอมไปดวยพื้นที่ใหเชาโดย รอบ และดานในสุดเปนพื้นที่ใหเชาสำหรับรานอาหาร

โลโกของโครงการ ไดออกแบบใหสอดคลองกับเครื่องหมาย&และจุดประสงค ของโครงการที่ตองการใหผูคนมารวม ตัวกัน จึงออกมาเปนโลโกที่อานไดทั้ง ภาษาอังกฤษและสัญลักษณไดในเวลา เดียวกัน


PROJECT 11

It’s Time@ Ekamai , Eastern bus terminal , Free project 1

Perspective : Bus station


22

สถานีขนสงภาคตะวันออกกรุงเทพฯ (เอกมัย) มีบริการรถ โดยสาร และรถตู จาก กรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดทางภาคตะวันออก ซึ่งจะรวมเสนทางจาก กรุงเทพฯ ไป ตราด , ระยอง, สระแกว, จันทบุรี, ชลบุรี และพัทยา จุดหมายปลายทางยอดนิยม ไดแก พัทยา, ตราด, เกาะชาง และเกาะเสม็ด สวนมากเปนจังหวัด ทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวตางชาติ เนื่องจากสถานีสถานีขนสงเอกมัยแหงนี้ตั้งอยู ภายในเมืองแหงเดียวในปจจุบัน จึงทำใหสามารถเขาถึงพื้นที่ ไดอยางสะดวก ตั้งอยูติดถนนสุขุมวิท สามารถโดยสารโดยรถประจำทางหลายสารและรถไฟฟามหานคร(สถานีเอกมัย) ทวายุคสมัยที่เปลี่ยนไป แตระบบขนสงสาธารณะยังคงเดิม สถานีขนสงเอกมัยแหงนี้ยังไมไดรับการปรับปรุงและพัฒนา เทาที่ควร ทำใหเกิดภาพลักษณที่ไมตอนรับผูใชบริการและ ภาพลักษณที่ไมกาวไกล ไมทันสมัยแกนักทองเที่ยว จึงเกิดแนวความคิดที่จะพัฒนาสถานีขนสงเอกมัยแหงนี้ ให ตอบโจทยกับนักทองเที่ยวรุนใหม รวมถึงสงเสริมการทองเที่ยวใน จังหวัดใกลเคียงกรุงเทพฯที่ใหบริการภายในสถานี เพื่อขยายพื้นที่ ทองเที่ยวทั้งชาวนักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางชาติ โดยการ ปรับปรุงการตกแตงภายในพื้นที่ การติดตั้งปายบอกทาง การนำ เทคโนโลยีมาใชในระบบขนสง และการเพิ่มพื้นที่ที่สนับสนุนการ ทองเที่ยวระยะสั้นในจังหวัดที่ใหบริการ

สถานที่ตั้งโครงการ : สถานีขนสงผูโดยสารกรุงเทพฯ (เอกมัย)ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร สถานีขนสงผูโดยสารกรุงเทพฯ (เอกมัย) เปนสถานีขนสง ที่ใชรับสงผูโดยสารจากภาคตะวันออกเลียบชายฝง เปดทำการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2503 บนที่ดินของบขส. ตั้งอยูริม ถนนสุขุมวิทบริเวณทางแยกเอกมัยใต (ปากซอยสุขุมวิท 63) ซึ่งเปนสถานีขนสงผูโดยสารเพียงแหงเดียวที่ยังไมมีการยาย สถานีขนสง และตั้งอยูภายในตัวเมือง เปนอาคารเดี่ยว ชองจำหนายตั๋วโดยสารจะอยูดานหนา ของสถานีขนสง มีทางเดินไปชานชาลาดานหลัง ชานชาลา แบงออกเปนสองสวน ดานหนึ่งเปนชานชาลารถปรับอากาศ ขั้น 1 และอีกดานหนึ่งเปนชานชาลารถปรับอากาศชั้น 2

โครงการนี้เปนโครงการที่นำเสนอตองานประกวด ASIA YOUNG DESIGNER AWARD 2018 ที่มีคอนเสปตของงาน ประกวดคือ “Forward” สูแนวความคิด “Forward thinking Something Forward” โดยเลือกออกแบบปรับปรุงและพัฒนา สถานีขนสงภาคตะวันออกกรุงเทพฯ (เอกมัย) แหงนี้ เพื่อสื่อถึง สถานที่ที่ตองมีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา แตกลับไมไดปรับปรุง ใหเคลื่อนไหวไปขางหนาตามกาลเวลา




PROJECT 10

The Mystricks @ Chao Phaya river , Theater

Perspective : Thearter


26

มายากล เปนศิลปะการแสดงเพื่อความบันเทิงมีลักษณะ การแสดงการลวงตาตอผูชม โดยแสดงเหตุการณที่เปนไมนา เปนไปไดใหเกิดขึ้น ราวกับวาผูแสดงมีเวทมนตร การแสดง มายากลนี้มีการแสดงเกิดขึ้นหลากหลายสถานที่เชนแสดง ตามโรงละคร โรงภาพยนตร หรือแมแตการแสดงตามทองถนน ผูแสดงมายากลจะถูกเรียกวา นักมายากล หรือ นักวิทยากล จุดมุงหมายของการแสดงมายากลนั้นใชเพื่อความบันเทิงและ การตื่นตาตอผูชม เปนหลัก ซึ่งผูชมเองคาดหวังที่จะเห็นการ แสดงที่ตื่นเตน และเกิดความสนุกมหัศจรรยที่ไดเห็น แตใน ขณะเดียวกันผูชมบางสวนมีเจตนาจับผิดผูแสดงหรือตองการรู ความลับของการแสดงมากกวาชมเพื่อการบันเทิงซึ่งกอใหเกิด การเสียรสชาติในการชมได ลักษณะของมายากล กลแตละชนิดอาจจำแนกไดในหลาย ประเภท ซึ่งครอบคลุมแทบทุกสิ่งของความเปนจริงที่จะทำให เกิดขึ้นได เชน มายากลกลอง การลองหน การลวงตา หรือ การทายใจตางๆ และความมหัศจรรยเหลานี้ อยูบนรากฐาน แหงความจริง ซึ่งสามารถพิสูจนได

สถานที่ตั้งโครงการ(จำลอง) : ถนนเจริญกรุง แขวงวัดพระยาไกร เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร 10120 ตั้งอยูที่ถนนเจริญกรุง เยื้อง ๆ เอเชียทีค เดอะ ริเวอรฟรอนท ที่เปนศูนยการคาแนวราบริมแมน้ำที่ใหญที่สุดในเอเชีย ตั้งอยูริม แมน้ำเจาพระยา ภายในบริเวณเอเชียทีค เดอะ ริเวอรฟรอนท ยังมีโรงละครคาลิปโซที่ยายมาจากโรงแรมเอเชีย และโรงละครโจหลุยสที่ยายมาจากสวนลุมไนทบาซารอีกดวย จึงเปนหนึ่งใน สถานที่ทองเที่ยวที่ชาวไทยและชาวตางชาติใหคความสนใจเปน อยางมาก ถนนสายหลักในพื้นที่เขตคือ ถนนเจริญกรุง ในระบบขนสงมวลชนสามารถเดินทางโดยรถไฟฟาBTS ลงสถานีสะพานตากสินแลวตอ Taxi ประมาณ 15 นาที, หรือโดยรถประจำทาง 1 15 75 504 และยังมีเรือประจำรับสงที่เอเชียทีคอีกดวย

ปจจุบันมีภาพยนตรมายากลมากขึ้นและที่ชื่นชอบของผูคน ดวยเหตุนี้ทำใหผูคนสนใจการแสดงมายากลสดมากขึ้น และ ภายในประเทศไทยแหงนี้มีนักมายากลที่มีชื่อเสียงและความ เกงกาจอยูมากมาย โดยสวนมากในการแสดงมายากลนั้น จำเปนตองพึ่งพาหลายๆบริบทรอบดาน เชน อุปกรณแสดง ฉาก แสง สี เสียง เปนตน การทำงานภายในโรงละครที่จัดแสดงมายากลนั้นจึงจำเปนตอการแสดงเปนอยางมาก ตองมี การตีความขอมูลของการแสดงเพื่อสรางบรรยากาศใหแกผูชม ตั้งแตเริ่มกาวเทาเขามาภายใน ดวยเหตุนี้จึงเกิดเปนโครงการ ออกแบบโรงละครมายากลแหงนี้ขึ้น เพื่อเปนพื้นที่ที่มอบความ บันเทิงแกสำหรับผูคนทั่วไปและผูคนที่สนใจมายากลโดยเฉพาะ และเปนการแสดงความสามารถของนักมายากลไทยอีกดวย


27

27200.00 14200.00

13000.00 3100.00

4400.00

REFUSE STORE

9900.00

6680.00

2560.00

STORE BOX-OFFICE

7500 .00

ILLUSION ROOM STORE

4390.00

4800

BACKSTAGE ENTRANCE

W.C.

W.C.

2360 .00

MAID'S ROOM

39000.00 4550.00

STORE

3780 .00

2265

0.00

3780 .00

4550.00

ACTOR'S QUITE ROOM

เมื่อขึ้นบันไดสูชั้นลอยจะพบกับนิทรรศกาลภายในโครงการ ซึ่งเปนนิทรรศการ ที่เกี่ยวกับศิลปะลวงตาตาง ๆ

STAGE PANTRY

SOUVENIR SHOP

.00

STAGE

4550.00

STAGE MANAGEMENT ROOM

7930

บริเวณทำการแสดงในชั้น1 เปนบริเวณ ใตเวที ขางหลังอาคารเปนบริเวณเก็บ ตัว และอำนวยความสะดวกของนักแสดง

4550.00

.00

ชั้น1 ของอาคารเปน สวนของล็อบบี้ ประชาสัมพันธและจัดจำหนายตั๋ว ให บริการเกี่ยวกับโปรแกรมภายในโครงการ ดานในเปนสวนของที่นั่งรอและ โซนของฝาก-ของที่ระลึก

MAIN ENTRANCE

AUDITORIUM

2600.00

2580.00

4550.00

BACKSTAGE

10160.00

22540.00

6700.00

39400.00

MP ID - 05

Perspective : Lobby lounge & Ticket office

MASTER PLAN : GROUND FLOOR SCALE

Perspective : Lobby lounge & Waiting area


28

27200.00 14200.00

13000.00 9900.00

1960 .00

830.

00

THE MYSTRICKS The mystery of Chao Phraya River

6700.00

4400.00

3100.00

1960 .00

DRESSING ROOM

W.C.

5900.00

MAID'S ROOM

STORE

W.C.

.00

1720

.00

1960

.00

1720

สวนของพื้นที่ของชั้น2 เปนพื้นที่สำหรับ นำคนเขาสูโรงละคร ขางหนาทางเขามี คาเฟบริการภายในพื้นที่พักคอย .00

3015 0.00

1960

ดานในสุดของอาคารเปนพื้นที่แตงตัว ของนักแสดงจากชั้นสอง และขึ้นเวทีได จากทางชั้น1

1240

DRESSING ROOM

2550

.00

Owner Department of Interior Design

39000.00

.00

1960

.00

1550

Department of Interior Design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University

4500.00

1720

.00

DRESSING ROOM

.00

INTERIOR DESIGN A-RACHAPORN RAKSUKSOMBUT 04580065

STAGE LAUNDRY

Date

Description

STAGE

AUDITORIUM

CAFE

3850

.00

Mark

2550

.00

17600.00

2700

.00

DRESSING ROOM

Project No

:

CAD Drawing File : :

Checked By

:

4980

.00

4300.00

Drawn By Copyright

10160.00

Sheet Title

22540.00

6700.00

740.00

39400.00

MASTER PLAN GROUND FLOOR

MP 1:150

ID - 06

ID - 05

MASTER PLAN : 1st FLOOR SCALE

Sheet of many

Perspective : Illusion room

Perspective : Waiting area & Cafe zone


29

21040.00 3300.00

7690.00

2080.00

3220.00

2750.00

1380.00 1100.00

4750.00

THE MYSTRICKS The mystery of Chao Phraya River

S-02

S-02 2465.00

S-02

F-01

AUDITORIUM

S-03

7715.00

STAGE

F-01 F-01

S-03 S-03

Description

S-03 S-03

:

Checked By

:

S-02 2565.00

:

CAD Drawing File : Drawn By

S-02

3100.00

S-02 Project No

21870.00

3500.00

S-03

6180.00

Date

2020.00

S-03

บริเวณชั้น3 มีหองควบคุมอยูตรงกลาง โรงละคร ขางหลังที่นั่งโซฟาเลิฟซีท Mark

S-03

4625.00

Owner Department of Interior Design

ในสวนของพื้นที่รับชมแบงเปน 2 สวน คือ พื้นที่นั่งดานลาง เปนที่นั่งธรรมดา สำหรับ1คน/1ที่นั่ง เขาที่นั่งไดจากทาง ชั้น2 และเดินลงขางลาง ตามลำดับขั้น และพื้นที่นั่งดานบนเปนโซฟาเลิฟซีท 2คน/1โซฟา ตรงกลางโรงละคร และ อารมแชรแบบคู 1คน/1ที่ ดานขางของ โรงละคร เขาที่นั่งไดจากทางชั้น2และ เดินขึ้นบันไดสูชั้น3

17630.00

Department of Interior Design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University

S-03

6200.00

INTERIOR DESIGN A-RACHAPORN RAKSUKSOMBUT 04580065

21040.00

Copyright

4750.00

3300.00

7690.00

2080.00

3220.00

S-01

ID - 06

S-01

Sheet of many

FLP

S-01

ID - 10

SCALE

S-01

S-01

S-01

S-01

S-01

AUDITORIUM

9660.00

STAGE

S-01

S-01

S-01

S-01

S-01

S-01

S-01 3705.00

S-01 S-01 S-01

2565.00

S-01

21870.00

6200.00 3500.00

17630.00

FURNITURE LAYOUT PLAN : AUDITORIUM (2nd F

S-01

S-01

6180.00

4840.00

S-01

3100.00

1:150

2750.00

MASTER PLAN (1st FLOOR)

1100.00

Sheet Title


30

Perspective : Thearter


PROJECT 9

Siam serpentarium , Specialized museum

Perspective : Snake planet zone


32

Siam Serpentarium กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑงูแหงเดียวในไทย ที่จะเปดโลกการเรียนรูเรื่องงูใหตางไปจากเดิม เปนพิพิธภัณฑ พิเศษ ที่เนนเจาะจงเฉพาะเรื่องของ ”งู” ทำใหเกิดเอกลักษณ และเรื่องราวที่มากมาย พิพิธภัณฑงูแหงนี้ จะเปดมุมมองความคิดเรื่องงูใหตางไปจากเดิม รวมถึงไดเขาไปทำความรูจักโลกของ งูใหมากขึ้น ไดสัมผัสและเรียนรูกันอยางใกลชิด ในขณะเดียวกัน ยังจะไดเรียนรูงูหลากหลายสายพันธุจากทุกมุมโลก ผานนิทรรศการสื่อผสม กิจกรรมหลากหลายรูปแบบ และในสวนของสวนงู ที่สรางความรู ความตื่นเตน แบบไมเหมือนใคร "แมงูเอย กินน้ำบอไหน" "กินน้ำบอโศกโยกไปโยกมา" "แมงูเอย กินน้ำบอไหน" "กินน้ำบอทรายยายไปยายมา" "แมงูเอย กินน้ำบอไหน" "กินน้ำบอหิน บินไปบินมา" "กินหัวกินหาง กินกลางตลอดตัว"

สถานที่ตั้งโครงการ(จำลอง) : ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ ลักษณะพื้นที่เปนพื้นที่สีน้ำตาล คือที่ดินประเภทที่อยูอาศัย หนาแนนมาก ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยหรือสถาบัน ราชการหรือสาธารณะประโยชนสวนใหญ โดยตรงขามจะตั้ง เยื้องกับโรงพยาบาลสุขุมวิทและวัดธาตุทอง ดานขางติดกับ หางสรรพสินคา เกตเวย เอกมัย เปนบริเวณที่มีสถานศึกษา จำนวนมาก การเดินทางสะดวกสบาย เพราะติดถนนสุขุมวิท สามารถเดินทางไดดวยรถประจำทางหลายสาย หรือทางรถไฟ ฟามหานคร(สถานีเอกมัย) นอกจากนี้ยังมีพิพิธภัณฑที่นาสนใจใกลเคียงโครงการ คือ ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษาแหงชาติ, ทองฟาจำลอง และ Stanley Miniventure เมืองจำลองขนาดเล็ก จึงมีแนวคิดที่ จะทำใหสถานีเอกมัยเปนสถานีแหงพิพิธภัณฑการเรียนรูใน หลากหลายรูปแบบ

Siam serpentarium ที่ใหมแหงนี้ไดแนวความคิดในการ ออกแบบมาจากการละเลน “งูกินหาง” ซึ่งเปนกาลละเลนพื้นเมือง เกาในทุกภาคของประเทศไทย โดยคำวา “กินหัวกินหาง - กิน กลางตลอดตัว” เปนคียเวิรด ซึ่งสะทอนมาโดยการวางแปลนและ ทางสัญจรที่มีความคดเคี้ยวตลอดทางเหมือนงูเลื้อยจากทางเขา ถึงทางออกโดยวนมาจบที่เดียวกัน นอกจากนี้ยังมีทอนอื่นที่นำมา ใชในการออกแบบอีกหลายๆจุด เชน Laser room มาจากทอน “แมงูเอย กินน้ำบอไหน... กินน้ำบอทราย ยายไปก็ยายมา” เปน การสะทอนการเคลื่อนยายและการลาของงูผานการเลนมินิเกมส และ ทอน“แมงูเอย กินน้ำบอไหน...กินน้ำบอหิน บินไปก็บินมา” สะทอนเปนการฉายภาพการเลื้อยของงูในลักษณะรอนโดยที่คน เรียกกันวา งูบิน ใสจอกระจก ซึ่งจะทำใหผูชมรูสึกวางูบินผานไป นอกจากนั้นยังคงความเปนเอกลักษณที่สำคัญของเกาไวที่เปนสวน ที่นาสนใจและนาดึงดูดอยูแลว โดยปรับบางสวนใหสอดคลอง กับการตั้งอยูในเมืองและรวมสมัยมากขึ้น และใหความสำคัญ กับสวนพิพิธภัณฑและการเรียนรูอื่นๆอยางเต็มที่


33

ORGANIZATION แหลงเรียนรู แสดงโชว จำลองชีวิต P2

P1

USER นักเรียน-นักศึกษา ชาวตางชาติ

P3

CONTEXT งู การแพทย วัฒนธรรมและประเพณีไทย

P1 - เรียนรูเรื่องงูแบบเขาใจงาย/มีสวนรวมกับการคนควา เรียนรูเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตน/อันตรายและการปองกันจากงู เรียนรูเรื่องงูในความเปนไทยแบบเขาใจงาย/ไมนาเบื่อ P2 - โชวคนเลนกับงู แสดงการถอนพิษงู/การปฐมพยาบาลเบื้องตน/ขอควรปฎิบัติ แสดงตำนานเกี่ยวกับงูไทยงายๆสั้นๆ จำลองเปนงู1วัน จำลองหองทดลองสกัดพิษงูสมัยกอนกับปจจุบัน จำลองบานเรือนไทย/เหตุการณในไทยที่เกี่ยวของกับงู P3 - เรียนรูเรื่องงูแบบเขาใจงาย/มีสวนรวมกับการคนควา เรียนรูเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตน/อันตรายและการปองกันจากงู เรียนรูเรื่องงูในความเปนไทยแบบเขาใจงาย/ไมนาเบื่อ

Perspective : Lobby lounge & Waiting area

Perspective : Intro room


FLP ID - 09

Perspective : Inside snake zone

34

FURNITURE LAYOUT PLAN : AUDITORIUM (1st FLOOR) SCALE

Perspective : Outside snake zone


35

จากคอนเสปต “กินหัวกินหาง... กิน กลางตลอดตัว” สูทางสัญจรภายใน โครงการที่มีลักษณะคดเคี้ยวเหมือน งูเลื้อยเพื่อใหผูเขาใชไดเดินตามลูปที่ กำหนดไวและจำลองการเปนงูในเวลา เดียวกัน สวนของโรงละครมีทางสัญจร รองสามารถเดินขามไปยังสวนงูไดโดย ไมตองผานโรงละคร

Perspective : Lazer room (Bait&Hunter)

Perspective : Naka theater


36

Perspective : Snake planet zone


PROJECT 8

The glam @ Si Phaya , Small hotel

GLAM l Boutique Hotel I Si Phaya l

Perspective : Main entrance


38

The GLAM มาจากการเรียงคำของคำวา Grest Gastby/Glad/Grand/ Gleam ซึ่งเปนMoodของโรงแรมแหงนี้โดยคำวาGlamเปนคำ แสลงของคำวา Glamourซึ่งแปลวาความดึงดูดใจ/ความมีเสนห Flapper ชื่อเรียกผูหญิงในยุคนี้ ซึ่งเปนคำแสลงหมายถึง"ปกกลาขาแข็ง" นอกจากนั้นขนนกยังเปนหนึ่งในชิ้นสวนของเครื่องประดับใน ยุคนี้อีกดวย GREST GATSBY GLAD GRAND GLEAM โรงแรม The GLAM แหงนี้ เปนโรงแรมธุรกิจกึ่งShopping Hotels โดยมีคอนเสปตคือ Gatsby เปนไดชื่อมาจากนิยายเรื่อง The Great Gatsby ซึ่งจำลองภาพสังคมยุค 1920s ของอเมริกา ออกมาไดชัดเจนจนกลายเปนชื่อยุค 1920s เปนยุคของความ หรูหราฟูฟาของชาวเมือง แตงตัวหรูหรา มีเสนหเยายวน เซ็กซี่ นิยมงานปารตี้ เปนโรงแรมสำหรับผูคนทั่วไป โดยมุงเนนไปที่ ชาวตางชาติ/นักธุรกิจ/นักชอปปงที่นิยมความหรูหราอลังการ ตั้งอยูกลางใจเมืองในเขตธุรกิจแหลงชอปปง-แหลงทองเที่ยว สามารถใชเปนที่จัดงานประชุมหรืองานเลี้ยง และบารที่ดาดฟา ดึงดูดลูกคาดวยความหรูหรา อลังการ และความบันเทิงตาง ๆ ภายในโรงแรม โดยออกแบบใหตอบรับกับความตองการสมัยใหมในรูปแบบของยุ​ุค 1920s สถานที่ตั้งโครงการ(จำลอง) : 169/3 ถนนสี่พระยา แขวงสี่พระยา เขตสี่พระยา กรุงเทพมหานคร 10500 โรงแรม The GLAM แหงนี้ไดจำลองสถานที่ตั้งบริเวณ โครงการ Altitude สามยาน-สีลม คอนโด Low Rise 8 ชั้น โครงการตั้งอยูใจกลางเมือง ติดถนนสี่พระยา หางจากรถ ไฟฟาใตดินสามยาน 300 เมตร ซึ่งอยูในระยะเดินได และ สามารถเดินทางไปสถานที่สำคัญตางๆระแวกนี้ไดงาย ไดแก จามจุรีแสควร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, โรงพยาบาลจุฬาฯ, โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ, สวนลุม, สีลม, สาทร และใกลทางดวน สภาพแวดลอมโดยรอบโครงการ ถือเปนพื้นที่ที่มีความ หลากหลายสูงมาก โดยถนนแตละเสนก็จะมีอาคารที่ใชงาน แตกตางกันออกไป แตกระจุกตัวกันทำใหเกิดความเปนยานขึ้น อยางโรงแรม ตึกออฟฟศ โรงเรียน สถานฑูต หรือยังเปนบาน พักอาศัยหรืออาคารพาณิชยริมถนนใหญ ความอุดมสมบูรณ ของพื้นที่รอบๆ มีตั้งแตถนนเจริญกรุงที่ขนานกับแมน้ำเจาพระยาที่เปนที่ตั้งของโรงแรม High-end

Hotel Facilities Dining room/ Business Lounge/ Social Room/ Meeting & Conference room/ Play room/ Fitness Center/ Spa Services/ Pool/ Jazz Bar (Weekly Live Entertainment)


39

Gatsby ยุคแหงเสรี ดนตรีแจส และเฟมินิสต The Great Gatsby นิยายอมตะของฟรานซิส สก็อต ฟตซเจอรัลด นักเขียนชื่อดังชาวอเมริกัน เปนเรื่องราวในชวงเวลากึ่ง กลางระหวางสงครามโลกทั้งสองครั้ง ไดชื่อวาเปนยุคแหงแสงสี และเสรีภาพ รวมถึงความฟุงเฟอมากที่สุดชวงหนึ่งในประวัติศาสตรสมัยใหม ดวยความที่นิยายเรื่องนี้สะทอนสภาพสังคมใน ยุคนั้นออกมาไดอยางจัดจานมีสีสันทำใหยุค 20s ถูกขนานนาม วาเปนยุค Gatsby ไปโดยปริยาย เอกลักษณที่สำคัญที่สุดของยุค Gatsby ก็คือแฟชั่นสตรี เปนยุคแหงการเปลี่ยนการแตงกายของผูหญิงครั้งใหญรวมถึง การทำงานและใชชีวิต ทำใหเกิดกระแสสตรีนิยมหรือเฟมินิสต อยางเขมขน มีการขนานนามผูหญิงในยุคนี้วา Flapper ซึ่งเปน คำแสลงหมายถึง "ปกกลาขาแข็ง" ทำตัวทาทายกฎเกณฑของ สังคมเพื่อแสดงออก ถึงสิทธิของสตรีที่เทาเทียมกับผูชาย จิตวิญญาณที่สำคัญที่สุดของยุค Gatsby ก็คือดนตรีแจส ซึ่งเริ่มขึ้นจากสังคมผิวสีในสหรัฐฯ และคอยๆ แพรไปยังสังคม ชั้นสูงในเมือง และลุกลามขามทวีปไปยังยุโรป จนกลายเปน สวนสำคัญในการหลอหลอมสังคมสองทวีปและคนตางชนชั้น เขาดวยกัน นอกจากนั้นยังมีการออกแบบตกแตงสถานที่ตางๆ แบบ Art Deco ซึ่งเปนศิลปะในยุคนั้น(1925-1939) ที่มีผลตอศิลปะ การตกแตงเชน สถาปตยกรรม การออกแบบภายใน และการออกแบบอุตสาหกรรม รวมทั้งทัศนศิลปเชนแฟชั่น, จิตรกรรม, เลขนศิลป และภาพยนตร นิยมกันในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ถือกันวาเปนศิลปะของความหรู ความมีประโยชนทางการใชสอย และความเปนสมัยใหม Element of “Grest Gatsby” - Flapper(female’s fashion in 20s) /Jazz music /Art doco /Golden Element of “Grest Gatsby” to interior space Flapper - glitter - for some floor Jazz music - Bar jazz at fl.8 Art deco - Art deco pattern - decorattive wall/ partition Gold - Golden aluminum/ Golden stainless steel - frame


29600.00

4700.00

1

B-05

3100.00

B-06

3600.00

F-06

7900.00

4700.00

600.00

40

5000.00

B-05

F-07

F-07 B-05

6800.00

B-05

F-07 F-07 B-05

F-07

B-05 F-07

B-05

F-07 B-05

B-05 F-07

F-07

2

5 6 7

F-07 B-04

B-05

F-06

F-04

7700.00

F-07

F-05

F-05

26700.00

F-04

F-04

F-03 1000.00

F-03

F-03

F-06 4100.00

F-06 B-03 F-03

F-06

F-03

CONTROL ROOM

KITCHEN F-02

4700.00

S-07 S-08 S-09 S-10

MDB ROOM

S-11 S-12 S-01 S-02

S-01 S-01 S-02 S-02

B-02 B-01

S-01 S-02 F-01

S-06 S-06 1200.00

8 9

F-05

F-03

800.00

ที่นั่งในสวนนี้จะถูกออกแบบเปนทรง คลายปกนกเพื่อแสดงถึงFlapperใน ยุคแกสบี้

B-05 F-07 B-05

1600.00

พื้นที่ชั้น1 แบงเปน 2 สวน คือล็อบบี้ และรานอาหาร สวนของล็อบบี้เลาจน เมื่อเดินเขาจากทางดานหนาโครงการ จะพบซุมประตูและเสาทรงคอรินเทียน ถัดไปดานในจะมีsculptureน้ำพุที่รับแขก ตกแตงดวยความหรูหราอลังการ และระยิบระยับ เพื่อสรางความประทับ ใจใหกับโรงแรมและสื่อถึงตีมของโรง3 แรมดวย 4

S-06

S-03 S-04 S-05

S-03 S-04 S-05

S-03 S-04 S-05

S-03 S-04 S-05

S-03 S-04 S-05

GENERATOR ROOM

FP ID - 05

FURNITURE LAYOUT PLAN (FL.01) SCALE

1:125

Perspective : Lobby lounge


29600.00

41

4700.00

THE GLAM

1

B-05

3100.00

B-06

3600.00

F-06

7900.00

4700.00

600.00

5000.00

B-05

F-07

F-07 B-05

6800.00

B-05

B-05

2

B-05 F-07 F-07

7

7700.00

F-04

26700.00

1000.00

F-03

:

Checked By

:

F-03

F-06 4100.00

F-06 B-03 F-03

800.00

F-06

F-03

CONTROL ROOM

KITCHEN F-02

4700.00

8 9

CAD Drawing File : Drawn By

F-04

F-03

MDB ROOM

S-11 S-12 S-01 S-02

S-01 S-01 S-02 S-02

B-02 B-01

S-01 S-02 F-01

S-06 S-06 1200.00

:

F-05

F-04

S-07 S-08 S-09 S-10

Project No

F-05

F-03

F-05

บริเวณชั้น8 มีบารแจส ที่บริการทุกวัน หยุดสุดสัปดาห และพูลบาร ที่สามารถ เชาพื้นที่จัดเปนไพรเวทปารตี้ได 5

6

F-06

F-07

นอกจากนี้ชั้น2 ยังมีบริการหองจัด4เลี้ยง /หองสัมนาที่สามารถจุคนไดกวา80คน

Description

B-04

B-05

1600.00

Date

B-05 F-07

B-05

3

Mark

F-07 B-05

F-07

สวนที่2 ของชั้น1 คือสวนรานอาหาร ดานหนา ทำหนาที่ทั้งเปนหองอาหาร All Day Breakfast สำหรับลูกคาที่ เขาพักภายใน และรานอาหารสำหรับ ลูกคาภายนอก มีบริการเปนเวลาที่ไม ซอนทับกับเวลาที่ลูกคาที่เขาพักใช บริการเปนจำนวนมาก

Owner Department of Interior Design

B-05 F-07

INTERIOR DESIGN A-RACHAPORN RAKSUKSOMBUT 04580065 Department of Interior Design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University

F-07 F-07 B-05

F-07

S-06

S-03 S-04 S-05

S-03 S-04 S-05

S-03 S-04 S-05

S-03 S-04 S-05

S-03 S-04 S-05

GENERATOR ROOM

Copyright Sheet Title FURNITURE LAYOUT PLAN (FL.01)

FP ID - 05

FURNITURE LAYOUT PLAN (FL.01) SCALE

1:125

ID - 05 05 of 31

Perspective : All day & Restuarant

Perspective : All day & Restuarant


29600.00

29600.00

4700.00

3100.00

3600.00

7900.00

4700.00

600.00

4700.00

5000.00

3100.00

3600.00

7900.00

4700.00

600.00

42

5000.00

10100.00

1

6800.00

6800.00

THE GLAM

2

F-09 F-09

F-09 F-09 F-09

7700.00

F-09 F-09

F-08 F-09 F-09 F-08 F-09 F-09 F-08 F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09 F-08 F-09 F-09 F-08 F-09 F-09 F-08 F-09

F-09

F-09 F-09

F-08

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09 F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09 F-09 F-08

F-09

F-09

F-09

F-08

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09 F-09 F-09

F-09 F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09

F-09 F-09

F-09 F-09

F-09

F-09

F-09

F-07 B-05

F-09

F-09 F-09

S-13

F-09

F-09

S-14

MDB ROOM

F-03

S-07 S-08 S-09 S-10

5 6

S-11 S-12

4700.00

Checked By

S-01 S-02

S-06 S-03 S-04 S-05

0.0

S-03 S-04 S-05

0

F-26

8 9

S-03 S-04 S-05

0.0

0

210

0.0

Mark

DateSTORE

Description

0

B-19

F-30

F-24 F-25 F-24

F-24 F-25 F-24

F-26

B-18

978

0.0

F-26

F-30

S-01 S-02

S-01 S-02

S-01 S-02

S-01 S-02

B-05

F-26

F-07 F-27

F-27 F-28 F-27 F-27

F-27

2450.00

Project No S-03 S-04 S-05

175

F-26 F-26

F-30

S-01 S-02

S-06

Project No

1200.00

8 : CAD Drawing File : Drawn By 9 :

S-01 S-02

4900.00

4100.00

F-04

7 S-01 S-02

347

B-18 F-26

F-10

Description

STORE

F-26

STORE

1500.00

2850.00

F-06

F-07 B-05 B-20

F-26

800.00

F-06

B-22

Owner Department of Interior Design

7650.00

7

F-07 B-05

F-26

4700.00

1600.00

800.00

5 6 Date

S-13 S-14

1600.00

4100.00

F-03

1000.00

26700.00

Owner Department of Interior Design

Mark

3 4

1000.00

3 4

Department of Interior Design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University

F-09

F-08

F-09

2

F-09

F-08

F-09

INTERIOR DESIGN A-RACHAPORN RAKSUKSOMBUT 0 4 5 80 0 6 5

F-09

F-08

F-09

F-09

F-09

F-09

26700.00

F-09

F-09

12800.00

Department of Interior Design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University

F-09

7700.00

INTERIOR DESIGN A-RACHAPORN RAKSUKSOMBUT 04580065

1200.00

1

THE GLAM

F-31

:

F-29

S-03 S-04 S-05

CAD Drawing File :

S-03 S-04 S-05

Drawn By

: F-29

S-03 S-04 S-05

Checked By

:

B-05

S-06

F-07

F-27 F-28 F-27

F-26

F-27

F-27 F-27 F-28 F-27 F-27 F-27

F-27 F-28 F-27 F-27

S-06 S-03 S-04 S-05

B-05

S-03 S-04 S-05

0

F-26

F-07 B-05

F-07

Copyright

:

4700.00

Copyright

3300.00

3500.00

3000.00

2500.00

2800.00

5100.00

4900.00

7200.00

Sheet Title FURNITURE LAYOUT PLAN (FL.02)

Sheet Title FURNITURE LAYOUT PLAN (FL.01)

FP ID - 06

FP

FURNITURE LAYOUT PLAN (FL.02) SCALE

ID - 08

1:125

FURNITURE LAYOUT PLAN (FL.08) SCALE

1:125

ID - 06 06 of 31

ID - 05 05 of 31

Perspective : Ballroom

Perspective : Jazz bar


29600.00

2200.00

1500.00

1

2750.00

1750.00

F-16 F-15

F-15

S-15

3600.00

7900.00

F-18

821

3700.00

6800.00

4200.00

F-17

Checked By

:

S-14

Copyright

7700.00

S-13 S-13

1800.00

F-18

F-18

F-18

F-18

S-03 S-04

B-08 B-07 B-09 B-07

F-11 F-17

1100.00

2500.00

1800.00

4020.00

361

B-11 F-13 F-20

MDB ROOM

1500.00

S-03 S-04 S-14

B-12

F-11

F-18

3350.00

1500.00

B-07

S-03 S-04

B-08

S-14

F-15 F-15

4300.00

6800.00

F-16

S-15

F-18

B-08

S-03 S-04

S-13

S-14 S-03 S-04

B-08

554

0.0

F-14

F-22

F-14

F-18

F-11 F-17

F-20

S-01 S-02

0

F-14 F-14

B-17 F-23

5100.00

0

B-07

S-01 S-02

F-18

B-14

2800.00

B-09

F-12

F-13

2500.00

0.0

B-16

S-13

F-18

3000.00

415

B-08

0

S-14

F-12

F-18

4700.00

0.0

F-18

2450.00

F-12

B-14

165

B-07

S-01 S-02

F-18 F-13

0

B-15

B-07

B-09 S-13

F-12

S-01 S-02

F-11 F-18

B-08

B-07

F-18 S-03 S-04

F-18

F-11

B-07

S-14

S-01 S-02

B-09

F-13

S-13

0.0

S-13

F-18

B-13

F-18

175

S-14

S-13

0

F-15

F-17

S-03 S-04

F-19 F-21

F-16

F-15

S-01 S-02

S-15

S-01 S-02

JUNK ROOM

0.0

S-15 S-01 S-02

F-19

1500.00

2000.00 850.00

F-13 B-10

B-07 B-09 B-08 B-07 B-07 B-08

4900.00

1000.00

26700.00

8 9

F-11

S-03 S-04

S-14

F-20

4700.00

CAD Drawing File :

F-17

S-01 S-02

S-01 S-02

:

S-15

S-14

S-01 S-02

800.00

5 6

S-01 S-02

S-03 S-04

F-13 B-10 1500.00

S-01 S-02

4100.00

3 4

S-01 S-02

S-13

S-13 S-03 S-04

B-07 B-07

:

F-18

B-07 B-09 B-08

S-14

7

Drawn By

F-15

B-07 B-09 B-07

F-18

F-11

0

F-16

F-13

1600.00

1600.00

F-18

1200.00

Project No

Description

ชั้นที่ 3-7 ของอาคารเปนในสวนของ หองพัก โดยแบงเปน 3 ประเภท คือ Standard ชั้นละ5หอง เปนหองขนาด เล็กสุดของโครงการ, Superior ชั้นละ 4หอง เปนหองพักขนาดกลาง ทั้งสอง ประเภทนี้หองพักแบบมาตรฐาน ตางกันที่ขนาดของหองและการตกแตง มี สิ่งอำนวยความสะดวกในขั้นพื้นฐาน และ Suite หองพักที่มีขนาดใหญที่สุด และมีสิ่งอำนวยความสะดวกในหองที่ ครบครัน มีการแบงหองนั่งเลน และ หองนอนออกจากกัน หองประเภท Superior และ Suite จะมีอางจากุชชี่ บริการภายในหอง

2

3100.00

1600.00

Date

S-14 S-13

B-08

5000.00

0.0

F-15

F-11

F-21

Department of Interior Design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University

Owner Department of Interior Design

B-07

F-11

600.00

1670.00

S-01 S-02 S-03 S-04

B-07

4700.00

1500.00

THE GLAM

NTERIOR DESIGN A-RACHAPORN RAKSUKSOMBUT 04580065

Mark

3100.00

110 0.0 0

43

4700.00

F-18

S-15

4900.00

4920.00

Sheet Title

FURNITURE LAYOUT PLAN (FL.08)

FP ID - 07

FURNITURE LAYOUT PLAN (FL.03-07) SCALE

1:125

ID - 08 08 of 31

Perspective : Suite room (Living room)

Perspective : Suite room (Bathroom)


44 THE GLAM

INTERIOR DESIGN A-RACHAPORN RAKSUKSOMBUT 04580065 Department of Interior Design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University

Owner Department of Interior Design

Mark

Date

Project No

Description

:

CAD Drawing File : Drawn By

:

Checked By

:

Copyright Sheet Title FURNITURE LAYOUT PLAN (FL.03-07)

ID - 07 07 of 31

Perspective : Suite room (Bedroom)


PROJECT 7

EA Sports office , Office

Perspective : OfďŹ ce lobby lounge


46

ปจจุบันคณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยไดเห็นชอบให อีสปอตสเปนชนิดกีฬาที่สามารถจดทะเบียนจัดตั้งเปนสมาคมกีฬา ในประเทศไทยได อีสปอตส หรือรูจักในชื่อ อิเล็กทรอนิกสสปอตส คือกีฬาประเภทบุคคลหรือทีมชนิดหนึ่ง ที่เกี่ยวกับกับการแขงขัน วิดีโอเกม โดยมีการแขงตามประเภทของวิดิโอเกม เชน เกมวางแผนการรบ, เกมตอสู หรือเกมกีฬา โดยการแขงขันนั้นแบงออก เปนระดับสมัครเลน กึ่งอาชีพ และมืออาชีพ มีรายการแขงขันและ ลีกตาง ๆ เชนเดียวกับกีฬาทั่วไป ในป 2017 ผูชมอีสปอรตมี จำนวนรวมทั้งสิ้นประมาณ 385 ลานคนทั่วโลก ดั่งกีฬาทั่วไป อีสปอตสถูกบรรจุใหเปนการแขงขันกีฬาชิงเหรียญอยางเปน ทางการในเอเชียนเกมส 2022 โดยจะจัดขึ้นฐานะกีฬาสาธิตใน เอเชียนเกมส 2018 ในประเทศไทยไดมีการคัดคานการรับรองอีสปอตสเปนกีฬา โดยเห็นวาอีสปอตสยังไมเหมาะสมกับสังคมไทยที่มีปญหาการ ใชสื่ออิเล็กทรอนิกส โดยเฉพาะปญหาเด็กและเยาวชนเสพติดเกม ตอมาไดรับการลงนามอนุมัติอยางเปนทางการในวันที่ 17 ตุลาคม 2560 ทำใหไทยสามารถสงผูเขาแขงขันอีสปอตสในนามทีมชาติ อยางเปนทางการได โดยการเห็นชอบดังกลาวไดมองในมุมของ การแขงขันหรือกีฬา วาเปนคนละสวนกันกับปญหาการติดเกม คลายกับที่เคยรับรองสนุกเกอรวาเปนกีฬา โดยมองวาเปนคนละ สวนกับการที่โตะสนุกเกอรอาจเปนแหลงมั่วสุมของเยาวชน

บริษัทอีเอ หรืออิเล็กทรอนิกอารต กอตั้งเมื่อป1982 เปน บริษัทเกมวีดีโอของอเมริกา ที่บุกเบิกอุตสาหกรรมเกมคอมพิวเตอรและโดดเดนในการสงเสริมนักออกแบบเกมสและ โปรแกรมเมอร ปจจุบันไดพัฒนาเกมสมากมายทั้งในคอมพิวเตอรและมือถือตางๆ ตลอดจนเกมสออฟไลนสูออนไลน โดยมีพื้นที่การใหบริการทั่วโลกทั้งในเอเชียและยุโรป โดย เผยแพรเกมสภายใตชื่อที่ตางกันจะออกแบบเกมสตางกัน เชนกัน อีเอเกม ออกแบบเกมสที่เนนการผจญภัยในหลาย บทบาท ตลอดจนการแขงขันและตอสู, อีเอออลเพลย เปน เกมสจากอีเอที่ทำรวมกับแฟรนไชนตางๆ เชน เดอะซิมสสัน/ เกมสโมโนโพลี่, อีเอแม็กซิส เปนที่รูจักกันอยางแพรหลาย สำหรับซีรี่ยชุดเดอะซิมส พัฒนาเกมสจำลองชีวิตและชุมชน และ อีเอสปอรต เผยแพรเกมสกีฬาทั้งหมดในบริษัทดวยภาพ อันสมจริง และโดงดังในซีรี่ยฟฟา

ดวยเหตุผลนี้จึงเลือก บริษัท อีเอสปอรต ในการอออกแบบ สำนักงาน เพื่อสนับสนุนอีสปอตสภายในประเทศไทยใหสามารถ แขงขันไดอยางมีประสิทธิภาพ และผลักดันเยาวชนใหมีความคิดสรางสรรค ใชเวลาวางใหเกิดประโยชน และพัฒนาฝมือในการเลน เกมที่นอกจากจะเปนงานอดิเรกแลวยังสามารถตอยอดสูอาชีพใน อนาคตไดอีกดวย นอกจากนี้ยังกอใหเกิดการบุกเบิกอุตสาหกรรม เกมในไทย และสงเสริมนักออกแบบเกมสและโปรแกรมเมอรชาวไทยอีกดวย ทั้งนี้อีเอสปอรตพัฒนาเกมสกีฬาจึงเปนตัวเลือกแรกๆ ในเลือกเกมสที่จะนำมาสูการแขงขันในอีสปอรต เพราะเปนบริษัท ผลิตเกมที่มีมาตรฐานและชื่อเสียงโดงดังทั่วโลก และยังใหบริการ เกมสหลากหลาย โดยแรกจะเริ่มที่เกมกีฬา อยางซีรี่ยฟฟา กอน


47

Perspective : Office conference room

Perspective : Office CEO working room


1

3

2

4

32000 2500

10000

12000

10000

2500

48

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

2M1ABS2M1ABS

49V T

T

T

T

T

T T

49V T

T

T T

T V

49

T

T

T

T V 49

T

T

T

T V 49

T

T

T

T

T T

T

2M1ABS2M1ABS T

49V T

T

2M1ABS2M1ABS T

T

T

49V T

T

T T

T

T

T

T T T V 49

T

T

2M1ABS2M1ABS

T

T T T V 49

T

T

T

49V T

T

2M1ABS2M1ABS

T

T

T T T

T V 49

T

T T T

T

T

T

T

T

T

T

T

T

T

T

49 V T

T T T

T T T V

49

T

T

T

T V 49

49 V T

T T

49V T

T

49 V T

T T

T

T

T V

49

T T

49 V T

T T

T

49 V T

T T

T

T

T

49 V T

T T T

2M1ABS2M1ABS

T

T

T

T

T

T 49V

T

T

T

T

T

T

T

T

V T

49

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

T

6650

T

T

T 49V

T V

49

T

T

T

T

T V

49

T

T

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

T

T

T

T

T V

49

V T

49

T

T

T

T

T

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

2M1ABS2M1ABS

2M1ABS2M1ABS

T

T

T

T

T

T

T

CEO WORKING ROOM

T

T

T

2M1ABS T

T 49V

T

T

2M1ABS

V T

49

T

T

T 49V

T

T

T

T 49V

T

T

T

V T

49

T

T

T

T

T 49V

T

T

T

V T

49

T

T

T

T

T

T

OTHER DEPARTMENT WORKING SPACE V T

49

T

GAME MAKER WORKING SPACE

C

T

T 49V

T

49 V T

T T

49 V T

T T 01 12 :12.48

T

T

T

T

T

T

T

T V

49

T

T V 49

T

T

T

T

T T T V

49

T V 49

T

T T T

2M1ABS

GAME MAKER WORKING SPACE

T

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

T

49V T

T

2M1ABS2M1ABS

T

T

T T

49V T

T

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

2M1ABS2M1ABS

T

T

T

T

FINANCE WORKING ROOM

2M1ABS

12000

T

T

T

T

V T

49

T

T 49V

T

T

T

T

T

T

T

VCD3.0

GAME MAKER WORKING SPACE SHOWROOM

T

T 49V

T

2M1ABS2M1ABS T V

49

T

T

T T

T

T

T

T

T

T T T V 49

T V 49

T

T T T V

49

T

T

T

T

T

T

49V T

2M1ABS2M1ABS

T

T

T 49V T

T

22000

T

T

T

SOUND RECORDER ROOM

T

49 V T

T T

2M1ABS2M1ABS

T

RECEPTION ZONE

T

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

T

WAITING AREA

T T

T

T

T

T

T

2M1ABS

V T

49

T

T

T 49V

49 V T

T

T

T

01 12 :12.48

T

V T

49

T

T

VCD3.0

T

T

T

T

2M1ABS

GAME TASTING ROOM

MEETING ROOM

T

B

WAITING AREA STORE

STORE

FHC

10000

Ele.

Server

FHC

SERVICE FOR CONFERENCE ROOM

PANTRY & RELAXING SPACE

CONFERENCE ROOM

1250

A

MP ID - 02

Perspective : Office meeting room

V T

49

T

HEAD OF OTHER DEPARTMENT WORKING ROOM

ถัดไปทางดานหลังเปนสวนทำงาน ประกอบดวย หองทำงานซีอีโอ และ โซนทำงานของแผนกตางๆ รวมถึง แผนกสรางสรรคผลงาน เลือกใชที่นั่ง แบบทีม และหองพิเศษในการทำงาน เชน หองบันทึกเสียง, หองทดสอบเกม และโซนพักผอนพนักงาน ที่ประกอบ ไปดวย pantryและโคเวิรคกิ้งสเปซ

DOCUMANTARY ZONE

T

สวนจัดประชุมซึ่งแบงออกเปน 3 สวน หองประชุมเล็ก/หองประชุมใหญ และ สวนพักคอยสำหรับแขก หองประชุม ใหญเลือกใชโตะที่สามารถปรับเปลี่ยน วิธีการนั่งประชุมได และมีสวนเตรียมการในการประชุมภายในหองอีกดวย

T

SWCRETARY ROOM

สวนตอนรับ แบงเปนสวนเคานเตอร ตอนรับและสวนพักคอย และมีโชวรูม เล็กๆเพื่อแสดงผลงานที่มีชื่อเสียงและ ผลงานลาสุดภายในบริษัทอีกดวย

HEAD OF HUMAN RESOURCES WORKING ROOM

T

SOUND RECORDER ROOM

HEAD OF MARKETING WORKING ROOM

MASTER PLAN SCALE

1:125

Perspective : Office game testing room


49

1

3

2

4

32000 2500

10000

12000

10000

2500

T

T

49V T

T

2M1ABS2M1ABS

T

T

49V T

2M1ABS2M1ABS

T

2M1ABS2M1ABS

T

T T

T

T

T

T 49V

T

T T

T

T T

T 49V

T

T 49V

T

T

T

49V T

T

T

T T

T

T

T

T

T

T

49V T

T

2M1ABS2M1ABS

2M1ABS2M1ABS

T

T

T

T T

49V T

T

T

2M1ABS2M1ABS T

T

49V T

T T

T

T 49V

T

T T

T

T 49V

T

T

T T

T

T

T

T

T

T 49V

T

T T

T

49V T

T T T

T

T

T T

T T

T

T

49V T

T T T

T

T

T 49V

T

T

T

T 49V

49V T

T T T

T

T T

T

T

T

T

T

T T

49V T

T T

T T

2M1ABS2M1ABS

T

T

6650

49V T

T 49V

T

2M1ABS2M1ABS

T

T

T 49V

T

T

T 49V

T

T

T

T

T

49V T

T

2M1ABS

T

T

T

T

T 49V

49V T

T

GAME MAKER WORKING SPACE

C

T T

T

2M1ABS2M1ABS

49V T

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

T

T

49V T

T

T T

T

T

T T

T

T

T 49V

T T

T

T 49V T

T

T 49V

T

T

T

49V T

T T

T

T 49V

T

T

49V T

T T

2M1ABS

T

Depa Facu Silpa

T T

2M1ABS2M1ABS

T

T

INTE A-RA 04

T

T

T

T

GAME MAKER WORKING SPACE

2M1ABS

12000

49V T

T 49V

2M1ABS2M1ABS

T

T

T

T

FINANCE WORKING ROOM

T

T

T 49V

HEAD OF OTHER DEPARTMENT WORKING ROOM

T

T

01 12 :12.48

T

49V T

T

T

T

VCD3.0

T

T

DOCUMANTARY ZONE

T

T

HEAD OF HUMAN RESOURCES WORKING ROOM

T

SOUND RECORDER ROOM

HEAD OF MARKETING WORKING ROOM

SWCRETARY ROOM

สีที่เลือกใชเปนสีขององคกร คือ สีดำ เทา ขาว เงิน และ แดง

GAME MAKER WORKING SPACE SHOWROOM 2M1ABS

GAME TASTING ROOM

2M1ABS

T T

T

T

2M1ABS2M1ABS

49V T

T

T

T T

T

T

T T

T

T 49V

T 49V

T

T

T 49V

Own Depa

T

T

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

T

49V T

T

T

22000

T T

T

T 49V

T

49V T

T T T

T

T

T

T

49V T

2M1ABS2M1ABS

T

SOUND RECORDER ROOM

49V T

T

T

T

RECEPTION ZONE

T

T 49V

T

2M1ABS2M1ABS

WAITING AREA

T

T

T

01 12 :12.48

T

T

T

T 49V

VCD3.0

T

T

T

T

T

49V T

T T

T

T

T

MEETING ROOM

T

B

T

พื้นที่ทุกสวนี้จะถูกเชื่อมตอกันดวย ทางเดินรอบๆ ตามสวนสีแดงที่แสดง ใน Circulation plan

T

T

2M1ABS2M1ABS

T

T

T

T 49V

T

T

T

T

T 49V

T

T

T

T

T

T

49V T

49V T

T T

T

T

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

T

T

T

T 49V

T

T

T

2M1ABS2M1ABS

2M1ABS2M1ABS

T

T

T

T

T

CEO WORKING ROOM

T 49V

T 49V

T 49V

การออกแบบไดนำโลโกขององคกรณ มาตัดทอน และนำไปออกแบบทั้งตัว แปลน ทางสัญจรภายใน และดีไซนใน บางสวน

T

2M1ABS

T

49V T

T

T

T

T

49V T

T

T

T

T

T

T

T

T

T

T

49V T

T

T

T

T

OTHER DEPARTMENT WORKING SPACE T

WAITING AREA STORE

Mar

STORE

FHC

10000

Ele.

Server

FHC

SERVICE FOR CONFERENCE ROOM

PANTRY & RELAXING SPACE

Proje

CONFERENCE ROOM

1250

A

CAD

Draw

Chec

Cop

Shee

MAS

MP ID - 02

Perspective : Office working space

MASTER PLAN SCALE

1:125

Perspective : Office pantry and relaxing space


50

UKSOMBUT

Design rts

Design

Description

ID - 02

heet of many

Perspective : OfďŹ ce working space


INDIVIDUAL PROJECT Train market walkway @ Srinakarin ตลาดนัดรถไฟศรีนครินทร บริเวณปากซอย ศรีนครินทร 51 (หลังหางซีคอนสแควร) กรุงเทพฯ 10900 โดยเปนเพียงพื้นที่บริเวณสวนหนา ของตลาดนัดรถไฟ ซึงเปนทางเขาออกเดียวของตลาดแหงนี้ พื้นที่ที่เลือก มีลักษณะตรงและยาว

Perspective : Main entrance to train market

Perspective : Train market walkway


52

ตลาดนัดรถไฟ ศรีนครินทร ( Train Market Srinakarin ) หรือ ตลาดรถไฟจตุจักร เปนตลาดนัดกลางคืนที่ยายสถานที่มา อยูที่ถนนศรีนครินทรซึ่งแตเดิมตั้งอยูที่จตุจักร อยูภายในตีมวินเทจ-เรโทรที่มีชื่อเสียงอยางมากในยานศรีนครินทร เหมาะกับผูที่ ชื่นชอบของโบราณ รักความคลาสสิก คลายกับยอนเขาไปสูยุค ตลาดนัดรถไฟศรีนครินทรเกากลิ่นอายของสไตลวินเทจ เปน แหลงเปดทายขายของรวม เฟอรนิเจอร ของสะสม ของตกแตง บาน รถโบราณ เสื้อผาวินเทจ เปนตน เปดทำการวันพฤหัสบดี -วันอาทิตยของทุกสัปดาห เวลา15.00-01.00น. ตลาดนัดรถไฟศรีนครินทรแหงนี้เปดทำการมาเปนเวลา5-6ป นอกจากจะเปนที่โดงดังของคนทั่วไปโดยเฉพาะวัยรุนแลว ชวงหลังนี้ยังเปนที่ชื่นชอบสำหรับนักทองเที่ยว โดยเฉพาะชาวจีน ทั้งนี้ดวยความหลากหลายของผูใชงานภายในตลาดจึงทำใหเกิด ปญหามากขึ้น เชน พื้นที่เกิดความแออัดมากขึ้น หรือ การจราจร ของผูใชงานที่ติดขัดในชวงทางเขา จึงเล็งเห็นความสำคัญในการ แกปญหาเพื่อรักษาคุณภาพและพัฒนาสถานที่ใหมีประสิทธิภาพ และเปนสถานที่ทองเที่ยวที่ดี

โครงการนี้เกิดขึ้นเพื่อความสะดวกของผูใชเปนหลัก โดย กลุมเปาหมายหลักของตลาดนัดรถไฟคือ นักเรียน-นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ตลอดจนรวมถึงกลุมครอบครัว และนักทองเที่ยวหลากหลายสัญชาติ โดยมุงเนนใหมี Universal design เพื่อประโยชชนและภาพลักษณที่จะมีผลตอตัวตลาดในอนาคต ในการออกแบบพื้นที่ทางเขาออกตลาดนัดรถไฟ ศรีนครินทร ในสวนของโครงสราง Circulation หลักในพื้นที่ยังคงยึดแบบเกา ตามเดิม แตเพียงแกไขใหมี Universal design ภายในพื้นที่ ทั้งนี้ จัดวางใหดูเรียบงายและสะดวกตอผูคนมากที่สุด ดานการ ออกแบบยังคงยึดแนวคิดเดิมของตัวตลาดไวคือความวินเทจ-ยอนยุค ไดแรงบันดาลใจมาจากรถไฟซึ่งเปนชื่อของตลาดแหงนี้ นำมา ขัดเกลาใหมีเอกลักษณมากขึ้นและสรางจุดเดน ซึ่งแตละโบกี้มี ความเปนสวนตัวการใชงานแตกตางกันแตเมื่ออยูรวมกันแลวก็ เปนรถไฟขบวนหนึ่งขบวนเดียวกัน

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแกไขปญหาการเดินทางของผูใชงาน ในชวงทางเขาและออกใหเกิดความสะดวกและคลองตัวมากขึ้น, พัฒนารูปแบบทางเดินทั้งเพื่อผูใชงานปกติและผูพิการ เพื่อให ทุกคนที่อยูในสังคมสามารถใชประโยชนจากสิ่งเหลานี้ไดอยาง เทาเทียม, พัฒนารูปแบบของตลาดใหมีเอกลักษณที่ชัดเจนมาก ขึ้น, เพื่อแสดงภาพลักษณที่ดีใหมาขึ้นแกการทองเที่ยวของชาว ตางชาติที่เขามาใชบริการ และปรับปรุงแกไขทัศนียภาพบริเวณ ทางเขาโดยรอบใหเหมาะสมกับเอกลักษณของตลาด

Perspective : Train market walkway

Perspective : Train market office (Lost and found)


SEMINAR PROJECT

Mixed use good building @ Sil Bhira Sri 3 คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อาคารศิลป พีระศรี 3 เลขที่ 6 ถนนราชมรรคาใน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000

Perspective : Sil-3 co-working space

Perspective : Sil-3 co-working space


54

เนื่องจากในปจจุบันพื้นที่ใชสอยไมเพียงพอตอจำนวนความ ตองการของมนุษยจึงตองมีการคิดคนอุปกรณ เครื่องมือ หรือ วิธีการที่จะสามารถประหยัดพื้นที่ใชสอยและใชพื้นที่อยางคุมคาที่สุด เพื่อใหเพียงพอตอความตองการของมนุษยและลด ความสิ้นเปลืองพื้นที่จากการใชสอยอยางไมเปนระบบและไมมี การจัดการ

โครงการ Mixed use good building นั้นเปนการนำอาคาร ศิลป พีระศรี3 มาใชออกแบบเพื่อเปน ครงการเสนอแนะ ใน รูปแบบของอาคาร Mixed use โดยไดรวมเอาฟงชั่น ออฟฟศ, หองเรียน, หองสมุด, co-working space ฯลฯ มาเปนตัวอยาง เพื่อใหผูฟง ไดเขาใจถึงฟงชันการใชงานของ Mixed use ใน พื้นที่ที่คุนเคย เพื่องายตอการเขาใจและเห็นภาพชัดเจนมากขึ้น

Mixed use จึงเปนการหาแนวทางแกไขปญหาใชงานพื้นที่ โดยการประยุกตใชพื้นที่ใชงานที่แตกตางรวมกัน โดยการออกแบบจะชวยแบงสัดสวนจัดสรรพื้นที่ใหเกิดประโยชนและมูลคา สูงสุด อีกทั้งยังตองมีความสวยงามในการใชวัสดุและคำนึงถึง ความสะดวกสบายและความปลอดภัยของผูใชงาน มีการเพิ่ม มูลคาทางธุรกิจ รวมถึงประโยชนตอสังคมละคนสวนมาก

โดยฟงกชั่นที่ตองการนำเสนอคือ ฟงกชั่นการเปลี่ยนหอง อเนกประสงคเปนศูนยเรียนรู24ชั่วโมง เพื่อเปนCo-woking space สำหรับนักศึกษาคณะมัณฑนศิลป ซึ่งสวนมากทำงาน -การบานตอนกลางคืน และตองการเปลี่ยนบรรยากาศการ ทำงานเปนสถานที่อื่นที่ไดพบปะเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดกัน โดยฟงกชั่นนี้จะชวยลดอันตรายและอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้นกับ นักศึกษาภายนอกมหาลัยไดอีกดวย

Mixed use คือ การจัดสรรพื้นที่หนึ่งใหมีหลายฟงกชั่น การใชงาน แต Multipurpose คือการปรับเปลี่ยนฟงกชั่น หนึ่งไปอีกฟงกชั่นหนึ่ง ตามความตองการใชงาน และนี่คือ ความแตกตางของทั้งสองอยาง Mixed useสามารถแบง ตามขนาดไดดังนี้ 1.ขนาดพื้นที่อาคาร 2.ขนาดพื้นที่แนวนอน 3.ขนาดพื้นที่ทางสัญจร ซึ่งประโยชนของ Mixed use คือการทำใหพื้นที่นั้นมีมูลคามากขึ้น สามารถใชพื่นที่ที่มีอยู อยางจำกัดใหเกิดประโยชนสูงสุด ไมวาจะเปนทางดานการ เปนที่รวมตัวของผูคน การทำใหเกิดLandmark อีกทั้งยัง เกิดความเติบโตทางดานเศรษฐกิจอีกดวย

Perspective : Sil-3 co-working space

Perspective : Sil-3 co-working space


RENDER WORK SINCE 2017 SketchUp 2017 render + V-ray3.4.2 + Adobe Photoshop cc 2017 : Bathroom ผลงานจากการศึกษา SketchUp render ครั้งที่4


56

SketchUp 2017 render + V-ray3.4.2 : Bedroom ผลงานจากการศึกษา SketchUp render ครั้งที่3


57

SketchUp 2017 render + V-ray3.4.2 : Bathroom ผลงานจากการศึกษา SketchUp render ครั้งที่2


58

SketchUp 2017 render + V-ray3.4.2 : Living room ผลงานจากการศึกษา SketchUp render ครั้งที่1


59

SketchUp 2017 render + V-ray3.4.2 : Co-working space ผลงานจากการออกแบบโคเวิรคกิ้ง สเปซ สำหรับนักศึกษา ภายในคณะ มัณฑนศิลป


60

SketchUp 2017 render + V-ray3.4.2 : Co-working space ผลงานจากการออกแบบโคเวิรคกิ้ง สเปซ สำหรับนักศึกษา ภายในคณะ มัณฑนศิลป


OTHER WORK SINCE 2017 ผลงานที่สงเขาการประกวดโครงการ ประกวดแบบ Bangkok Crystal Experimental Design Competition 2018 "PLAY" สงเขาประกวดวันที่ 22 ตุลาคม 2018 ภาพจำของ "บล็อกแกว" ที่เราคุนเคย คือการทำหนาที่เปนวัสดุตกแตงผนังหองน้ำและตึกแถว หากเราพิจารณา ถึงคุณสมบัติของตัววัสดุแลว บล็อกแกวยังมีความเปนไปไดอีกมากที่ซอน อยูภายใตความใสวาวนั้น ภายใตหัว ขอ 'PLAY' เพื่อทาทายมุมมองการรับรูที่เรามีอยูเดิมตอบล็อกแกว และ คนหาความไมธรรมดาที่ซอนอยูใน วัสดุที่ถูกมองวาธรรมดาชนิดนี้


62

ผลงานที่สงเขาการประกวดออกแบบ พื้นที่ภายใตแนวคิด “mint House” พื้นที่ที่จะทำใหผูที่มารูสึก Relax Refresh และ Recharge สงเขา ประกวด 26 กันยายน 2018 โครงการประกวดออกแบบพื้นที่ีใช สอยภายใน ในเขตพื้นที่ีPeppermint Park ซอยโยธินพฒันา 3 เลียบทาง ดวนรามอินทรา-เอกมัย เปนการออก แบบพื้นทใหเปนสถานที่ีพักผอน ชวยแบงปน ความมีชีวิตชีวา สราง แรงบันดาลใจ และสรางใหเกิดประสบการณที่ดีตอผูที่เขามายังพื้นที่


63

ผลงานออกแบบรานเสื้อผาและสินคา แนวสตรีท “NORM” เปนผลงานของ Project6 : Shop design นำเสนอ เปนโมเดลขนาด1:25 ในอาคารพาณิชย 4ชั้น โดยเลือกนำลักษณะเดนของ แบรนดที่มีความดิบจากสวนประกอบ สำคัญของแบรนด(สตรีทแฟชั​ั่น/ กีฬาเอ็กซตรีม/ดนตรี/ไลฟสไตล/ วัฒนธรรมฮิบฮอป) สื่อออกมาเปน ลักษณะของการออกแบบภายใน ที่มีความดุดัน แข็งแกรง และทาทาย


ผลงานพัฒนาตลาดบางหลวงเพื่อ สงเสริมใหเปนตลาดทองเที่ยวเชิง อนุรักษ ป2017 (กลุม) ตลาดบางหลวงเปนชุมชนเกาแกอายุ กวา 100 ป เริ่มกอตั้งตลาดตั้งแตป พ.ศ.2546 ตั้งอยูริมแมน้ำทาจีน เริ่ม จากคนจีนที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานที่ บางหลวง กลายเปนชุมชนที่ประกอบ การคา จึงสรางเปนตลาดเรือนไมสอง ชั้น เปนชุมชนตลาดเล็กๆติดแมน้ำ เหมาะสำหรับคนที่ตองการมาเที่ยว แบบเงียบ ๆ มานั่งพักผอนริมแมน้ำ พักผอนแบบสงบๆ แบบไมแออัด หรือ เปนที่แวะพักระหวางเดินทาง


HAND SKILL SINCE 2013


66


67


66


SKETCH DESIGN SINCE 2017


70


71


72


other skill SINCE 2015


74


A thank you.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.