การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

Page 1


เด็กดี เด็กเก่ง เด็กมีสุข นั้นเป็นลักษณะของเด็กไทยที่ชาติต้องการเมื่อเติบโตเป็นเยาวชนไทย คน ไทยก็จะเติบโตด้วยความเป็นคนเก่งคิด เก่งงาน เก่งคน เก่งเรียน อันเป็นกาลังของชาติ ในปัจจุจบันประเทศไทยก้าว เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นสังคมที่มกี ารเปลี่ยนแปลงทั้งเรื่องการเมือง เศรษฐกิจ วิถีชวี ิต วัฒนธรรม รวมทั้งสิ่งแวดล้อม รอบตัวเป็นยุคที่ต้องสามารถสร้างเด็กไทยให้ยนื อยู่ในเวทีบ้านเราและเวทีโลกได้อย่างมีความสุขและอยู่รอดปลอดภัย กับภัยธรรมชาติและอุบัติภัยต่างๆได้ จากการศึกษาหลายๆแหล่งความรู้ได้แนวคิดเกี่ยวกับทักษะศตวรรษ ที่ 21 ของ เด็กไทย (E) Ethical Person (ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม)

ทักษะศตวรรษที่ 21 ของเด็กไทย = E ( 4R + 7C ) Read Write Arithmetic

Literacy Numeracy

Reasoning

• • • • • • •

Creative Problem Solving Skills Critical Thinking Skills Collaborative Skills Communicative Skills Computing Skills Career and Life Skills Cross-Culture Skills

จากการศึกษาวิเคราะห์ได้ภาพลักษณ์ที่สาคัญคือ เด็กไทยยุคนี้ตอ้ งเป็น พลเมืองไทย พลเมืองอาเซียน และ พลเมืองโลกที่มีคุณภาพและต้องมีทักษะทีจ่ ะสามารถดารงชีวิตอยู่ในโลกยุคปัจจุบันอย่างมีความสุขด้วยความมี คุณธรรมและจริยธรรมเป็น Ethical Person ด้วยทักษะ 2 กลุ่ม ต่อไปนี้ ที่มีความสัมพันธ์กนั 1. กลุม่ 4R เมือ่ มีการจัดลุ่มย่อยจะแบ่งเป็น 3 ทักษะหลักทีค่ วรเน้นคือ  Literacy (การรูห้ นังสือ) คือความสารมรถอ่านอย่างเข้าใจ (Read) และเขียนอย่างมีคุณภาพ (Write) การเขียนรายงานวิชาการ รายงานโครงงาน บทความ ตลอดจนการนาเสนอด้วยวาจา  Numeracy (การรู้เรื่องจานวน) คือ ทักษะการใช้ตัวเลข ความน่าจะเป็น สถิติ ทักษะการชัง่ ตวง วัด รวมทั้งการวิเคราะห์เชิงปริมาณ  Reasoning (การใช้เหตุผล) คือความสามารถในการอุปนัย นิรนัย การให้คาตอบแบบคาดคะเน การอุปมาอุปมัย และการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม อันเป็นปัจจัยของการทางาน การดาเนินชีวิตและ การอยู่อย่างพอเพียง

1 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


2. กลุม่ 7C คือ ทักษะหลัก ดังนี้  Creative Problem Solving Skills (ทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์) คือความสามารถของบุคคลผู้มี ปัญญาในการค้นคว้า การแก้ปัญหาและผลิตชิ้นงานอย่างสร้างสรรค์ สร้างสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์  Critical Thinking Skills (ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ) คือความสามารถอย่างชานาญในการคิดที่จะ ทาหรือไม่ทา เชื่อหรือไม่เชื่อในเหตุการณ์ของกิจกรรมที่มีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตประจาวันและชีวิต การทางาน  Collaborative Skills (ทักษะการทางานอย่างร่วมพลัง) คือ ความสามารถอย่างเชี่ยวชาญในการทางาน เป็นกลุ่ม เป็นทีม แบบร่วมมือร่วมใจ แบบรวมพลังทาให้งานสาเร็จและผู้ทามีความสุข เป็นกระบวนการที่ ทาให้เสริมสร้างความเป็นผู้นา การรู้จกั บทบาทผู้นา บทบาทผู้นาและกระบวนการกลุ่ม  Communicative Skills (ทักษะการสื่อสาร) คือ ทักษะการรู้หนังสือ หมายถึงความสามารถในการอ่าน ฟัง พูด เขียน คืออ่านอย่างเข้าใจ ฟังอย่างเข้าใจ เขียนอย่างมีคุณภาพ พูดสื่อสารได้ตรงและง่ายต่อความ เข้าใจ  Computing Skills (ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์) คือ ความสามารถอย่างเชี่ยวชาญในการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือในการค้นหาความรู้ ตลอดจนใช้เพื่อการออกแบบและผลิตเชิงนวัตกรรม  Career and Life Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการใช้ชวี ิต) คือความสามารถเชี่ยวชาญในอาชีพที่ตนสนใจ และถนัด ซึ่งมีฐานมากจากการเรียนในระดับพื้นฐานมาก่อน การมีอาชีพทาให้ชีวิตมีความสุข จึงนาไปสู่ ความเชี่ยวชาญในการใช้ชีวติ อย่างมีคุณภาพ  Cross Culture Skills (ทักษะการชีชีวติ ในวัฒนธรรมข้ามชาติ) คือ ความสามารถอย่างชานาญในการใช้ ชีวิตอย่างเป็นสุขที่จะอยู่ร่วมกัน รู้เขา รู้เราในวิถีชีวิต การเมือง เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งประเพณีและ วัฒนธรรมของต่างชาติ ทั้งประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก โดยสรุปคือ ทักษะทั้งในระดับท้องถิ่น (Local) ชาติ (Nation) อาเซียน(ASEAN) และระดับโลก(Global)

2 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


คุณลักษณะทีส่ าคัญของคนในศตวรรษที่ 21 จากความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนี้ทาให้เราได้รับข้อมูลข่าวสาร มากมายอย่างรวดเร็ว ดังนั้นความสามารถในการกรองข้อมูลข่าวสารจึงเป็นทักษะหนึ่งทีม่ ีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะ ได้รับการพัฒนาเพื่อให้สามรถเลือก แยกแยะ และสกัดเอาข้อมูลข่าวสารที่สาคัญต่การตัดสินใจเพื่อดาเนินการเรื่องใด เรื่องหนึง่ อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นแนวโน้มการจัดการเรียนรู้จึงจาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนและต้องมีการพัฒนาครู และผู้เรียนให้ทันต่การเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต โดยสรุปคุณลักษณะทีส่ าคัญของคนในศตวรรษที่ 21 ทีค่ วรจะ ได้รับการพัฒนา 3 ด้าน ดังนี้ ด้านความรู้

จิตสานึกต่อโลก การเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ ความเป็นพลเมือง วัฒนธรรมมนุษย์ โลกทางกายภาพและโลกทางธรรมชาติ สุขภาพและสวัสดิการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ความรู้พื้นฐานเชิงทัศนาการ (visual literacy) ความรู้พ้นื ฐานทางข้อมูลข่าวสาร ความรูพ้ ื้นฐานทางพหุวัฒนธรรม (multicultural literacy) และความรู้พน้ื ฐานในเรื่องปริมาณ

ด้านทักษะ การเรียนรู้ และการคิด

ความอยากรู้/จิตแห่งวิทยาการ (Disciplined mind) การคิดระดับสูง การคิดเชิงวิพากษ์ การ แก้ปัญหา จัดการและแก้ไขความขัดแย้ง ทักษะการสังเคราะห์ (Synthesizing mind) ทักษะ การคิดเชิงสร้างสรรค์และผลิตนวัตกรรม ทักษะการทางานเป็นทีม/การทางานร่วมกัน/การ สร้างเครือข่าย ทักษะปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การทางานแบบมีส่วนร่วม ทักษะการเรียนรู้ ตามบริบท ทักษะด้านไอซีที ทักษะการใช้วิธกี ารเรียนรู้ ทักษะการใช้ขอ้ มูลข่าวสารและการ สื่อสาร ทักษะการจัดลาดับความสาคัญ ทักษะการวางแผนและการจัดการเพื่อมุ่งผลลัพธ์ ทักษะการตัง้ คาถามและการวิเคราะห์ ทักษะการหาแนวโน้มและกรคาดการณ์ความเป็นไปได้ และทักษะการรู้คิด

ด้านทักษะ ชีวติ

ความเป็นผู้นา ความสามารถในการปรับตัว การใช้เหตุผลที่ดี ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และในฐานะพลเมือง การเข้าถึงคน/การเจรจา การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้อ่นื ความสามารถในการชี้นาตนเอง ความกล้าเสี่ยง การจัดการความซับซ้อน การรู้จักเพิ่มพูน ประสิทธิผลของตนเอง ความสามารถในการสื่อสารแบบโต้ตอบ/การโต้ตอบโดยอิสระ การมี ส่วนร่วมในฐานะพลเมืงในระดับท้องถิ่นและโลก ความเป็นพลเมืองดิจิตอล (digital citizenship) จิตแห่งความเคารพ (Respectful mind) และจิตแห่งจริยธรรม (Ethical mind)

3 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


แนวโน้มการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่

1.จุดมุง่ หมาย เนื่องจากโลกมีความเจริญก้าวหน้าอย่าง รวดเร็วทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จนเรียกได้ว่าโลกนี้เกิดความเป็นพลเมืองดิจิตอล (Digital citizenship) เราจึงได้รับข้อมูลข่าวสารจานวน มากมายที่เข้ามาอย่างไร้ระเบียบ รวดเร็ว ซึ่งอาจตรง กับความต้องการของเราบ้างไม่ตรงกับความต้องการ บ้าง หรืออาจมีทั้งความจริงและความเท็จที่ต้องมีการ กลั่นกรองใหม่ ดังนั้นการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ที่ลึกและกว้างใน หลากหลายเรื่อง มีทักษะในการจาแนกแยกแยะข้อมูล ที่น่าเชื่อถือได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบการคิดที่ดี ทั้งการคิดวิเคราะห์ สังเคาระห์ คิดสร้างสรรค์ และ ตัดสินใจอย่างสมเหตุสมผลหรือมีการคิดอย่างมี วิจารณญาณรวมทั้งที่จะมีทักษชีวิตที่จะชีน้ าตนเอง สามารถปรับตัวเข้กับสิ่งแวดล้อมที่ดีมีทักษะในการสร้าง สัมพันธ์อันดีกบั ผู้อ่นื รวมทั้งมีจติ แห่งความเคารพ (Respectful mind)ตนเองและผู้อื่น รวมทั้งมีจิตแห่ง จริยธรรม (Ethical mind) เพื่อความเป็นพลเมืองที่ดีของ ประเทศและโลก

4 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

2. การจัดการเรียนรู้ 2.1 การจัดสภาพแวดล้อมทีส่ ง่ เสริมการเรียนรูข้ อง ผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ วิธีการเรียนอย่างคล่องตัว เช่น การมอง การคิด การจับคู่ การฟัง การค้นหา การพูดคุย การทางาน เป็นทีม การมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนๆ และอาจมีการ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนในรูปแบบ ต่างๆ หรืออาจมีการจัดสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ไปหลายรูปแบบให้เหมาะสมกับการทางานของผู้เรียน สามแบบ คือ สภาพแวดล้อมที่ผเู้ รียนต้องใช้สมาธิใน การเรียน สภาพแวดล้อมสาหรับงานที่ต้องร่วมมือกัน ทางาน และสภาพแวดล้อมสาหรับโครงการที่ต้องลง มือปฏิบัติ นอกจากนี้อาจมีพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจที่ เป็นพื้นที่ส่วนตัวเพื่อลดหย่อนความตึงเครียดในการ เรียน ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ไม่ได้หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพเท่านัน้ แต่ผู้สอนควรปรับเปลี่ยนตนเองโดย การ “แปลงรูปแบบการสอนให้เป็นสิง่ อานวยความ สะดวก”

21


2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนนรู้สาหรับ ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

1. ระบบมาตรฐานการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Standards) จุดเน้น คือ (1) เน้น ทักษะ ความรูแ้ ละความเชี่ยวชาญที่เกิดกับผู้เรียน การออกแบบ กิจกรรมการเรียนรูจ้ ึงเน้นไปที่เรียนรู้จาก การลงมือปฎิบัติในรูปแบบ Project Based Learning: PBL ที่ ถูกกระตุ้นให้นักเรียนเกิดคาถามอยากรู้แบบ ใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) เกิดความ ต้องการสืบค้นหาคาตอบทีถ่ ูกอ้างอิงด้วยทฤษฎี ความรู้โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มเพื่อน และ ร่วมกันลงมือปฏิบัติเพื่อพิสูจน์ยนื ยันสมมติฐานคาตอบ เกิดจิตนาการพัฒนาผลงาน และนวัตกรรมที่ทา ให้การดารงชีวิตมีคุณภาพ 2. สร้างความรู้ความเข้าใจในการเรียนทีม่ ีการบูรณาการความซ้าซ้อนสาระ เนื้อหา รายวิชาใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ทงั้ ในรายวิชา และข้ามรายวิชา รวมทั้งบูรณาการสาระเนื้อหา ความรู้ในศตวรรษที่ 21 เข้าไปด้วย การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้จึงต้องจัดทาหน่วยการเรียนรู้บรู ณา การขึ้น เพื่อนาตัวชี้วัด มาตรฐานรายวิชาของรายวิชาที่มีสาระเนื้อหาซ้าซ้อน หรือเป็นเรื่องเดียวกัน นาไป บูรณาการกับบริบท สภาพแวดล้อมของชุมชน ภูมิลาเนาถิ่นฐาน ที่เป็นสถานการณ์ที่นกั เรียนรู้จักและ คุน้ เคยทาให้เชื่อมโยง ความคิดไปสูค่ วามจาได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะการกระตุน้ คาถามอยากรู้

5 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


3. มุ่งเน้นการสร้างความรู้และเข้าใจในเชิงลึกมากกว่าการสร้างความรูแ้ บบ ผิวเผิน กิจกรรมการ เรียนรู้จึงต้องออกแบบให้เกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู้กับกลุ่มเพื่อนในเชิงการอภิปราย กลุ่ม ตั้งแต่คาถามถาม อยากรู้ สมมติฐานคาตอบ เพื่อช้วยกันสืบค้นทฤษฎีความรูม้ ีแหล่งอ้างอิงเชื่อถือ ได้มาอภิปรายสนับสนุน หรือ โต้แย้งยื่นยันคาตอบที่เป็นจริง รวมถึงการใช้ทฤษฎีความรู้สร้าง กระบวนการทดลอง หรือปฏิบัติเพื่อพัฒนา ชิ้นงาน ผลงาน หรือนวัตกรรม ซึ่งเป็นการฝึกทักษะการ เข้าถึงสารสนเทศและพัฒนาการคิดแบบมี วิจารณญาณ ซึ่งจะทาให้เกิดความรู้และเข้าใจในเชิงลึกมากว่า การบอกเล่าเรื่องให้นักเรียนจดจา 4. ยกระดับความสามารถผู้เรียนด้วยการให้ข้อมูลที่เป็นจริง การใช้สื่อหรือ เครื่องมือที่มีคุณภาพจาก การเรียนรู้ในสถานศึกษา การทางานและในการดารงชีวิตประจาวัน ผู้เรียนได้ เรียนรู้อย่างมีความหมาย และสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้การออกแบบกิจกรรมเน้นไปที่ การให้ นักเรียนได้สืบค้น เข้าถึงทฤษฎี ความรู้แบบเท่าทันสารสนเทศ และสื่อ ที่ได้จากแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ ซึ่งจะทาให้นักเรียนมีทักษะการเท่า ทันสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ไม้ถูกชวนเชือ่ หรือชักจูงแบบไม้มี เหตุผล โดยสืบค้นจากหนังสือ หรือให้ เทคโนโลยีการสืบค้นแบบอิเล็กทรอนิกส์ ได้อย่างมีทักษะการใช้ งาน 5.ใช้หลักการวัดประเมินผลทีม่ ีคุณภาพระดับสูง การออกแบบและเลือกใช้ เครื่องมือวัดผลประเมินผล ต้องสอดคล้องกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และตัวชี้วัดมาตรฐาน 18 แนวทางจัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 รายวิชา ซึ่งจาแนกเป็นการวัดประเมินผลความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับทฤษฎีความรู้ (Knowledge) หรือด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) การวัดประเมินผลทักษะการปฎิบัติ (Skill) เป็นการวัด ระดับ คุณภาพของทักษะการปฏิบัติตามขั้นตอนกระบวนการทางาน และวัดระดับคุณภาพของผลงาน ด้าน ทักษะพิสัย (psychomotor domain) และการวัดผลประเมินผลเจตนคติ (Attitude) ด้านจิตพิสัย (Affective domain)

6 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


กลยุทธ์การเรียนการสอนทีใ่ ช้เสริมสร้าง ผลการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

กลยุทธ์ก ารเรียนการสอนที่ใช้เสริม สร้างผลการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มี ดั งนี้ 1) วิธีส อน 1.1 วิ ธีส อนแบบสืบสอบ 1.2 วิ ธีส อนแบบโครงงาน 1.3 วิ ธีส อนแบบอุ ปนัย เป็ น ต้น 2) รูปแบบการสอน 2.1 รูปแบบการเรียนรู้ C IPPA 2.2 รูปแบบวงจรการเรีย นรู้ 4 ขั้ น ตอน 2.3 รูปแบบวงจรการเรีย นรู้ 5 ขั้ น ตอน 2.4 รูปแบบวงจรการเรีย นรู้ 7 ขั้ น ตอน เป็น ต้น 3) แนวการสอน 3.1 การจั ดการเรียนรู้เน้ น เด็กเป็ น ศูน ย์กลาง 3.2 การเรียนรู้ใช้ โ ครงงานเป็น ฐาน 3.3 การเรียนรู้ใช้ปัญ หาเป็น ฐาน 3.4 การเรียนรู้ใช้ วิ จัย เป็ น ฐาน 3.5 การเรียนรู้ใช้ แหล่ง ข้ อมูล เป็น ฐาน 3.6 การเรียนรู้ใช้ กิ จกรรมเป็น ฐาน 3.7 การเรียนรู้ใช้ ส ถานการณ์จาลองเป็น ฐาน 3.8 การเรียนรู้ใช้ ประเด็ น สังคมเป็น ฐาน 3.9การเรียนรู้ใช้ ประเด็น สั งคมเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์เป็น ฐาน 3.10 กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้ น ตอน 4) เทคนิ ค การสอน 4.1 เทคนิค การใช้คาถาม 4.2 เทคนิค การเรียนรู้แบบร่วมมือ 4.3 เทคนิค การเรียนรู้เสริม สร้า งพหุปั ญญา 4.4 เทคนิค การใช้ผั ง กราฟิ ก 4.5 เทคนิ ค การเสริม แรง 4.6 เทคนิค เพื่ อนช่ว ยเพื่ อน 4.7 เทคนิค หมวก 6 ใบ เป็น ต้น

7 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


กระบวนการทีใ่ ช้เสริมสร้างทักษะการคิดมีหลายกระบวนการ ดังเช่น 1. กระบวนการสืบสอบ 1) ระบุคาถามสาคัญ (key question) 2) ตั้งสมมติฐานหรือคาดคะเนคาตอบ 3) ออกแบบเพื่อรวบรวมข้อมูลและแสวงหาสารสนเทศ 4) วิเคราะห์และสื่อความหมายข้อมูล 5) แปลความหมายข้อมูลและสรุปผลหรือสร้างคาอธิบาย 2. กระบวนการทาโครงงาน 1) ระบุคาถามโครงงาน (project questions หรือ research questions) 2) วางแผนทาโครงงาน 3) ดา เนินการทาโครงงาน 4) วิเคราะห์และสื่อความหมายข้อมูล 5) สรุปผลและประเมิน 3. กระบวนการสร้างมโนทัศน์ประเภทความหมาย 1) สังเกตด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 2) แยกแยะความเหมือนและความต่าง 3) หาลักษณะร่วม 4) ระบุชื่อความคิดรวบยอดหรือมโนทัศน์ 5) สรุปหรือสร้างมโนทัศน์ 4. กระบวนการวิเคราะห์ 1) สังเกต 2) จาแนกแยกแยะ 3) จัดหมวดหมูอ่ าจใช้สถิติประกอบ 4) สรุปผลการวิเคราะห์ 5. กระบวนการสื่อความหมายข้อมูล 1) วิเคราะห์หรือจัดกระทาข้อมูล 2) เลือกแบบการนา เสนอให้เหมาะสมกับข้อมูล 3) ปฏิบัติการเสนอข้อมูล

8 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 “ครู” ต้องเปลี่ยนบทบาทเป็น “โค้ช ” ด้วย เนื่องจากในปัจจุบัน ความรู้ มีมาก ครูจะจัดการอย่างไรเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ให้หมด ผลวิจัยแนะนาว่า ให้สอนเฉพาะที่สาคัญ ๆ ผู้เรียนสามารถ นาความรูน้ นั้ ไปบูรณาการและต่อยอดได้ ส่วนความรู้ทไี่ ม่ได้สอน ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้เอง สิ่งสาคัญในการเรียน การสอนในทศวรรษที่ 21 คือ ต้องเปลี่ยนวิธีการของการศึกษา คือเปลี่ยนเป้าหมายจาก “ให้ความรู”้ ไปสู่ “ให้ทักษะ” เปลี่ยนจาก “ครูเป็นหลัก” เป็น “ผู้เรียนเป็นหลัก” (วิจารณ์ พานิช, 2556) ครูแห่งศตวรรษที่ 21 ไม่ได้เป็นผู้ให้ความรูแ้ ต่ต้องช่วยแก้ไขความรู้ผิดๆ ของผู้เรียน เนือ่ งจากสังคมเปลี่ยน ทาให้ผู้เรียนเปลี่ยน ผู้เรียนสมัยนีไ้ ม่ได้เรียนความรู้และข้อมูลสาคัญเฉพาะจากโรงเรียนอีกต่อไป หรือกล่าวได้ว่า สมัยนีผ้ ู้เรียนรับความรู้จากโรงเรียน เป็นแหล่งรองไม่ใช่แหล่งหลัก คือ การรับจากสังคมโดยรอบ โดยเฉพาะ จากสื่อมวลชน และอินเทอร์เน็ต ความรู้จากแหล่งต่างๆ นอกโรงเรียนนั้น ผู้เรียนรับมาอย่างถูกต้องบ้าง รับมาแบบ เข้าใจผิดบ้าง (วิจารณ์ พานิช, 2556) ในทานองเดียวกัน ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2540) มีความเชื่อมั่นว่า ความรู้เกิด จากการสร้างขึ้นโดยตัวผู้เรียน ครูต้องมีบทบาทในการจัดการศึกษา ประกอบด้วยการจัดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม ในกิจกรรมสร้างสรรค์ การคิดของผู้เรียนสอดคล้องกับความจาเป็น ความต้องการ และความเป็นไปได้ในปัจจุบัน ของพวกเขา การให้การศึกษาจึงต้องคานึงถึงการคิดของผู้เรียนในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนาความรู้ และโลก ของผู้เรียนจะถูกสร้างขึ้น และสร้างใหม่ไปเรื่อยๆ ตามประสบการณ์ส่วนตัวของเขา ครูต้องใช้การ “เล่นเพื่อรู”้ เป็น วิธีการสาคัญในการพัฒนาผูเ้ รียน

9 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


การประเมินผลการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การประเมินผลการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ที่เน้นการคิดระดับสูง ซึ่งเมื่อ พิจารณาการคิดระดับสูง แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.การคิดระดับสูงในลักษณะเป็นการถ่ายโอน ได้แก่ การนาความรู้ไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ ประยุกต์และการประเมิน 2. การคิดเชิงวิจารณญาณ 3. การแก้ปัญหาหรือกระบวนการการแก้ปัญหา วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ตาม สภาพจริง วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงอาจใช้วิธีต่อไปนี้ 1) แบบประเมินการปฏิบัติ 2) แบบทดสอบมาตรฐาน 3) แบบทดสอบที่พัฒนาโดยครู 4) การเขียนบันทึกผลการเรียนรู้ 5) การนาเสนอด้วยวาจา 6) แฟ้มสะสมงาน/ผลงาน (Portfolios) 7) การสังเกต 8) การบันทึก 9) แบบสอบภาม

10) แบบสัมภาษณ์ 11) บันทึกการเรียนรู้ หรือการเขียนอนุทิน หรือการเขียนสะท้อนคิด

10 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2540). เพลิน เล่นเรียน. กรุงเทพฯ: โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี สฤษดิ์วงศ์. พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข.(2558). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.กรุงเทพ.โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, แนวทางการดาเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21.สืบค้นเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2559, จาก www.ptu.ac.th/quality/data/download/1.8.pdf

11 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


12 | ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่

21


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.