Layers of Mind

Page 1

Art Therapy Workbook ที่จะพาคุณไปส�ำรวจ แต่ละส่วนของจิตใจ ร่วมค้นพบแก่นแท้ของคุณไปด้วยกัน








CONTENTS สารบัญ


01 02 03 04

PROLOGUE

INTRODUCTION 12

SELFAWARENESS

18

ART THERAPY

EXPLORATION

28

Warm-Up!

29

Pre-Test

31

Let’s Discover

ART THERAPY

EXCERCISE 28 63

BEHAVIOR SELF

EMPOWER

68

Who Am I?

69

Post-Test

71

EPILOGUE

Studio Persona


1 2

ก่อนที่จะเดินเข้าไปส�ำรวจจิตใจของคุณ หนังสือของเรามีเงื่อนไขไม่กี่ข้อเพื่อท�ำให้ การเดินทางครั้งนี้มีความไหลลื่นมากขึ้น ได้แก่

ไม่เน้นสวยงาม

สามารถพึ่ งพา เราจัดเตรียมวัสดุไม่ว่าจะเป็นกระดาษ ลายสีน�้ำ สีอะครีลิค ตัวอักษร ย่อหน้า ตัวหนังสือ คุณสามารถน�ำมาใช้ ประกอบกับอุปกรณ์ที่คุณมีอยู่ได้ และ การ์ดแนะน�ำ เมื่อคุณคิดไม่ออกหรือ อยากจะเสริมเพิ่มเติมในผลงานของคุณ สามารถหยิบการ์ดพวกนี้ซึ่งจะมีค�ำ แนะน�ำในด้านต่างๆมาอ่านเป็น แนวทางได้

ความสวยงามของผลงานศิลปะที่จะ เกิดขึ้นต่อจากนี้ ไม่ใช่พระเอกใน หนังสือเล่มนี้ ให้โฟกัสไปที่กระบวนการ ระหว่างที่ท�ำงาน ความรู ้สึกที่เกิดขึ้น การเคลื่อนไหวของร่างกาย สิ่งที่ได้ ระบายออกมา นั้นคือสิ่งที่ส�ำคัญ มากกว่า

3

ลืมความผิดถูก ให้คุณทิ้งความเชื่อมโยง ความถูกต้อง ต้องท�ำงานดีหรือตอบค�ำถามที่ดีหรือ ถูกที่สุดลงไปก่อน โยนทิ้งไปก่อนก็ได้ ในหนังสือเล่มนี้ไม่มีผิดไม่มีถูก เพราะ ว่าเสียงจากใจของคุณนั้นส�ำคัญที่สุด ณ ที่แห่งนี้

8


INTRODUCTION


INTRODUCTION Self-Awareness Satir Model Art Therapy บทนี้เป็นการแนะน�ำหนังสือกับผู้ อ่านว่าสิ่งที่คุณก�ำลังเดินทางลึก ลงไปเกี่ยวกับอะไรบ้าง เป็นการ แนะน�ำความรู ้พื้นฐานเกี่ยวกับ ความตระหนักรู ้ในตนเอง จิตบ�ำบัดแบบซาเทียร์ และ ศิลปะบ�ำบัด


SELFAWARENESS ความตระหนักรู้ในตนเอง

Self-Awarenes คือ?? จนถึงตอนนี้ทุกคนอาจจะสงสัยแล้วสิว่าค�ำ ว่า Self-Awareness มันหมายความว่า อย่างไร ‘ความตระหนักรู ้ในตนเอง’ หรือ Self Awareness คือ การรั บรู ้ ตนเองใน ด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ตัวตน พฤติกรรม ความรู ้ สึก ความต้องการ เป้าหมาย และ การปฎิสัมพันธ์ต่อผู้อื่น แล้วมันมีความส�ำคัญและประโยชน์อย่างไร หล่ะ??

ประโยชน์ของ Self Awareness คือ เรา สามารถเข้ า ใจตั ว เองอย่ า งถ่ อ งแท้ ม ากขึ้ น ว่าตัวเรานั้นต้องการสิ่งใด หรือ ณ ตอนนั้น ก�ำลังรู ้ สึกอย่างไร เมื่อรู ้ ว่าตัวตนของเราเป็น อย่างไร แล้วเรานั้นรั บรู ้ อย่างดีแล้วว่าเรา เป็นเช่นไร เราก็สามารถน�ำความเข้าใจตรง นี้ ไ ป ป รั บ ป รุ ง พั ฒ น า ตั ว เ อ ง ห รื อ น� ำ ไ ป ประกอบการวางแผนในการท� ำ สิ่ ง ต่ า งๆ และการที่ เ รามี ส ติ รั บ รู ้ ต นเองอย่ า งลึ ก ซึ้ ง ก็ สามารถควบคุมและแสดงออกพฤติกรรมที่ เหมาะสมในการติ ด ต่ อ สั ม พั น ธ์ กั บ คนอื่ น อย่างมีประสิทธิภาพ


วิธีสร้าง

Self-Awareness ว ิธีสร้าง Self Awareness มี หลากหลายแบบแตกต่างกันไป สามารถเริ่ม ต้นง่ายๆจากการกลับมาอยู่กับตนเอง ค่อยๆ เริ่มส�ำรวจภายในจิตใจของตนว่า วันนี้ขณะนี้ ก�ำลังรู ้สึกอย่างไรเราสามารถเริ่ มด้วยค�ำถาม ง่ายๆว่า

‘มีเหตุการณ์อะไรที่เกิดขึ้น แล้วทำ�ให้ฉันรู้สกึ เช่นนี้?’ ‘และเมื่อฉันรู้สกึ อย่างนี้แล้ว ฉันแสดงอะไรออก ไปบ้าง?’

เมื่อเรารับฟังและส�ำรวจตัวเองแล้วก็สามารถ เล่าหรือเปิ ดเผยเรื่ องราวให้กับคนที่เราไว้ใจ ได้ยินได้รับฟัง เพื่อเป็นการให้เรารับรู ้ว่าเรามี ความคิดและมุมมองอย่างไรต่อตนเอง และ เมื่อเล่าเสร็ จก็สามารถแบ่งปันมุมมองความ คิ ด เ ห็ น ข อ ง ค น อื่ น ที่ มี ต่ อ เ ร า ไ ด้ อี ก ด้ ว ย

หากแต่ว ิธีที่กล่าวไปยังเป็นว ิธีเบื้องต้นในการ สร้าง Self Awareness ดังนั้นเราจะเจาะ ลึกโดยการใช้หลัก Satir Model มาเป็น แนวทางในการสร้ างความตระหนั ก รู ้ ใน ตนเองอย่างเข้มข้นกัน


ฉันได้แสดงออกถึงความเป็นตัวเองหรือ เปล่า? มีเหตุการณ์อะไรที่เกิดขึ้น แล้วทำ�ให้ฉัน รู้สึกเช่นนี้?

และเมื่อฉันรู้สึกอย่างนี้แล้ว ฉันแสดง อะไรออกไปบ้าง?

13


Satir-Model

จิตบ�ำบัดแบบซาเทียร์ คือ หลักจิตบ�ำบัดที่จะเป็นการน�ำทางให้เรา เข้าใจโลกภายในของเราให้ชัดเจนและเข้าใจ ได้ง่ายมากขึ้น โดย Satir model จะ จ�ำลองภาพของจิต ใจเป็ น ภาพภู เ ขาน�้ำ แข็ ง ที่น�ำหลักการนี้มาใช้ในสร้ างSelf Awareness เพราะว่าการแบ่งออกเป็นชั้นต่างๆ ของจิตใจ สามารถท�ำให้จิตใจที่เป็น นามธรรมออกมาเป็นรู ปธรรมได้ เพื่อง่าย แ ล ะ ชั ด เ จ น ต่ อ ก า ร ท� ำ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ

ส่วนที่พ้นน�้ำขึ้น คือสิ่งที่เราสามารถเห็นได้ จากภายนอก คือ พฤติกรรม ส่วนที่อยู่ใต้ น�้ำลงไป คือโลกภายใน ซึ่งจะไม่ได้มองเห็น ชัดเจนง่ายขนาดนั้น แต่ส่วนของโลกภายใน นี้ เ อ ง ที่ เ ป็ น ต้ น ก� ำ เ นิ ด ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด พฤติกรรมขึ้น ได้แก่ ความรู ้ สึก ความคิด ความต้องการ ความปรารถนา และตัวตน

Feeling - ความรู้สึก 3.ความรู ้สึก (Feeling) คือ ความรู ้ สึกต่อ สถานการณ์ตรงหน้า ไม่ว่าจะเป็นความรู ้ สึก ด้านบวก เช่น ดีใจ มีความสุข สนุกสนาน หรือความรู ้ สึกด้านลบ เช่น โกรธ เสียใจ สิ้น หวัง ทั้งหมดนี้เกิดจากความคิด ความคาด หวังและผลกระทบเมื่อเหตุการณ์มีผลต่อตัว เรา จะมีความรู ้ สึกหลายๆอย่างเกิดขึ้น

6.ความปรารถนา (Yearning) คือ สิ่งที่ปรารถนาหรือต้องการอย่าง แรงกล้าในชีวติ เป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ทุกคน เช่น ต้องการความรั ก ความสุข ความปลอดภัย ความเชื่อมโยงต่อคนอื่นๆ รวมถึงอิสระในตัดสินใจและเลือกโอกาสด้วยตัวเอง ความปรารถนา เป็นสิ่งสากลที่ทุกคนจะมีคล้ายคลึงกัน

Yearnings - ความปรารถนา


1.พฤติกรรม (Behavior) หรือ การกระท�ำ การแสดง ภาษากาย ท่าทางต่างๆ ที่ สามารถเห็นหรือรั บรู ้ ได้ตั้งแต่ภายนอก มอง เห็นง่ายที่สุด ที่จริงแล้วพฤติกรรมเป็นผล ปลายทางจากส่วนอื่นๆที่อยู่ภายในถัดไป

Behavior - พฤติกรรม ces n a t S ด ัวรอ ing p ต า o อ C รเ กกา กลไ

2.กลไกการปรับตัว (Coping Stances) คือ วธิ ีรับมือหรือจัดการความตึงเครียดใน ชีวติ เพื่อสามารถปรั บตัวให้อยู่ได้อย่างสมดุล ในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งอีกแง่หนึ่งคือ กลไกการเอาตัวรอด (Survival Stances) โดยทั่วไปวธิ ีการนี้บุคคลจะเรียนรู ้ ได้ตั้งแต่ เด็กจากการสั่งสมประสบการณ์มา

4.ความคิด (Perception) คือ มุมมอง การรั บรู ้ ความเชื่อที่มองตนเอง คนอื่นๆ และโลกใบนี้ รวมไปถึงการแปลความหมาย ของสิ่งต่างๆ ซึ่งจะเป็นตัวสร้ างกฎหรือหลัก การในการด�ำเนินชีวติ เมื่อเจอกับเหตุการณ์ ต่ า งๆแล้ ว สิ่ ง นี้ จ ะเป็ น ตั ว ชี้ น� ำ ว่ า ควรมี ค วาม คิดหรือปฏิบัติตัวอย่างไร

Perception - ความคิด

Expectation - ความคาดหวัง

Self - ตัวตน

5.ความคาดหวัง (Expectation) คือ การ คาดหวังหรือมุ่งหวังให้ส่ิงที่ต้องการนั้นเกิด ขึ้นในชีวติ ประจ�ำวัน ทั้งต่อตนเอง และต่อ คนอื่น และความความคาดหวังของคนอื่นที่ มีต่อตนเอง 7.ตัวตน (Self) คือ แก่นหรือตัวตนของเรา ซึ่งส่วนประกอบของจิตใจทั้ง 6 ชั้นที่กล่าว มาข้างต้นตั้งอยู่บนพื้นฐานเดียวกันคือ Self หรือพูดได้ว่า Self เป็นแก่นกลาง ของประสบการณ์โลกภายในทั้งหลาย ซึ่ง จะบ่งบอกเราคือใคร เราเป็นอะไร

15


ศิลปะบ�ำบัดคือ??? ศิลปะบ�ำบัด คือ การบ�ำบัดทางจิตเวช อย่างหนึ่งที่น�ำศาสตร์ทางศิลปะมาปรับใช้ เพื่อค้นหาปัญหาหรือจุดบกพร่องซ้อนเร้น ภายในจิตใจของผู้เข้ารับการบ�ำบัด ซึ่งการ ท�ำกิจกรรมศิลปะจะท�ำให้ปลดปล่อยความ รู ้สึก ความต้องการภายในออกมา การใช้ ศิลปะบ�ำบัดไม่จ�ำเป็นต้องใช้กับคนไข้หรือ เด็กเท่านั้น สามารถท�ำได้กับทุกคนทุกเพศ ทุกวัย มีประโยชน์ในการพัฒนาความคิด อารมณ์ ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงยัง ท�ำงานประสานกับกล้ามเนื้อการเคลื่อนไหว ของร่างกาย


ART THERAPY ศิลปะบ�ำบัด

Art And Inner World ศิลปะกับโลกภายใน มนุษย์คือสัตว์สังคมโดยธรรมชาติ เราต้องการและ พึ่งพิงความสัมพันธ์ระหว่างคนอื่นเพื่อที่จะอยู่รอด และพัฒนา ยิ่งความสัมพันธ์ของมนุษย์ในโลก ภายนอกห่างกันเท่าไหร่ ยิ่งท�ำให้พวกเขาเปลี่ยน ไปพึ่งพิงความเพ้อฝัน และในระดับหนักที่สุด คนๆ นั้ น ก็ จ ะหมกหมุ่ น อยู่ กั บ ขอบเขตของโลกภายใน ความสั ม พั น ธ์ กั บ โลกภายนอกกลายเป็ น ความ จืดชืดหรือบิดเบือนการรับรู ้ไปเลย ผู้เข้ารั บการบ�ำบัดในศิลปะบ�ำบัดส่วนใหญ่มักจะ ต�ำหนิการไม่เชื่อมโยงหรือเหินห่างจากตัวเองหรือ ผู้คนอื่นๆ ในบางครั้งพวกเขามีความรู ้สึกท่วมท้น หรือโทษตนเอง

ส�ำหรับนักศิลปะบ�ำบัดหลายๆคน จุดก�ำเนิดของอุปสรรคเหล่านี้ฝังอยู่ใน ปัญหาความสัมพันธ์ในอดีต ในความปรารถนา ความกลัว ความพ่ายแพ้และ การสูญเสีย ผู้รับการบ�ำบัดมีประสบการณ์เชื่อมโยงกับบุคคลส�ำคัญในชีว ิต ของพวกเขา แม้ว่าความคิดเห็นแตกต่างไปเนื่องจากกลไกป้องกันตนเองและกระบวนการ ส่งผล มันถูกเชื่อจากประสบการณ์ต่างๆในอดีต ทั้งดีและแย่ ถูกเชื่อมโยงและ จัดการกับโลกภายใน เพราะประสบการณ์ภายในนั้นเบื้องต้นมักจะตกอยู่ใน ความไม่พอใจ ไม่ยอมรับ หวาดกลัว ถูกกดไว้จากจิตส�ำนึก(การรู ้ตัว) แต่ยัง ท�ำงานอยู่ในระดับจิตใต้ส�ำนึก ในทางปฏิบัติ ศิลปะบ�ำบัดมันจะถูกกังวลในเรื่องสร้างทางเข้าหรือการรับรู ้ ในการไม่รู้ของโลกภายใน และเส้นทางส่งผลต่อความสัมพันธ์และโลก ภายนอก ว ิธีการในการท�ำงานถูกพัฒนาโดยนักศิลปะบ�ำบัดส่วนใหญ่อยู่บน พื้ น ฐานความเชื่ อ ผ่ า นการสร้ า งภาพและวั ต ถุ ภ ายในความสั ม พั น ธ์ ข องนั ก ศิลปะบ�ำบัดและผู้เข้ารับการบ�ำบัด ความขัดแย้งและความรู ้สึกหาทางระบาย ออก โดยการจัดการประสบการณ์ภายในด้วยสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยที่ จัดหาให้โดยนักศิลปะบ�ำบัด ผ่านการแสดงออกของประสบการณ์ภายในจะ สามารถที่จะแยกตัวออกมา คิดและเปลี่ยนแปลงมันได้

17


ลงานศิลปะ

Art as Therapy

and Art Psychotherapy?

ได้รับการดูแลจากนักศิลปะบำ�บัด เน้นที่กระบวนการไม่ใช่ผลงานที่ได้

ARTไม่จำAS �เป็นต้อTHERAPY งมีทักษะ VSญกับอารมณ์และจิตใจ ให้ความสำ�คั วามเครียด มีการจัดเตรียม วัสดุ,ตัวบริบทสำ�หรับ ART PSYCHOTHERAPY เพศ/วัย การรักษาจิตวิทยาและความรู้สึก

กระบวนการ สรรค์

การให้คำ�ปรึกษา การประเมินผล/วินิจฉัย

Art Therapy แบ่งได้ออกเป็นสองทาง คือ Art as Therapy หรือศิลปะเพื่อการบ�ำบัด เป็นการน�ำ เสนอกระบวนการสร้างสรรค์ศิลปะ ที่กระบวนการนั้นได้ เป็นการบ�ำบัดในตัวของมันเอง ซึ่งกระบวนการคิด สร้างสรรค์ได้เติบโตและผลิตผลเป็นประสบการณ์ ถึง ก ร ะ บ ว น ก า ร ศิ ล ป ะ เ พื่ อ ก า ร บ� ำ บั ด ก็ ใ ก ล้ เ คี ย ง กั บ กั บ กระบวนการศิลปะที่ไม่ได้มีเป้าหมายในการบ�ำบัดมาก ได้แก่ การเรียนการสอนศิลปะ ศิลปะในชุมชน บางกรณียากที่จะ เห็นความแตกต่าง ระหว่าง ว ิชาศิลปะ และศิลปะเพื่อการ บ�ำบัด กิจกรรมศิลปะในลักษณะนี้ มีความส�ำคัญที่ตัวรู ป แบบและกระบวนการผู้น�ำกิจกรรม และในหลายกรณี ได้ ผลลัพธ์ไม่ต่างกันนักกับ ศิลปะเพื่อการบ�ำบัด Art Psychotherapy หรือการบ�ำบัดเยียวยาจิตใจด้วย ศิลปะ มีแนวคิดในการใช้ศิลปะเป็นสัญลักษณ์ในการสื่อสาร และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน เป็นพื้นที่ปลอดภัยในการ ระบายความรู ้สึกแง่มุมต่างๆ รวมทั้งประสบการณ์ภายใน ของชีว ิตของผู้รับการบ�ำบัด ผลงานที่เกิดขึ้นในกิจกรรม ศิลปะบ�ำบัดจะสามารถน�ำมาพูดคุยเสริมระหว่างนักศิลปะ บ�ำบัด และผู้รับการบ�ำบัด ให้ได้เกิดความตระหนักรู ้ในความ รู ้สึก เพื่อปรับมุมมองความคิด พฤติกรรม และได้น�ำศาสตร์ จิตบ�ำบัดมาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ


1. การเตร ียมตัว

Creative Process

กระบวนการสร้างสรรค์ ทั้ ง ห ม ด ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร สร้ า งสรรค์ ส ามารถมองเห็ น ได้ ด้ ว ยตั ว อย่ า งของบุ ค คลทดสอบ ตนเองต่อต้านกับความจริง โลก ภายในส่ ว นตั ว ของจิ ต นาการ ประสบการณ์แต่ละบุคคล ความ เพ้อฝัน ฝันและภาพ ถูกทดสอบ ผ่ า นโลกภายนอกด้ ว ยเป้ า หมาย ของความจริง และข้ อ เท็ จ จริง ความคิดเหล่านี้

ดั ง นั้ น การพั ฒ นาทางอารมณ์ มี พื้นฐานมาจากการผูกติดกับภาพ ภายนอกกระบวนการสร้ างสรรค์ สามารถตัดทอนจนเหลือแค่ 4 ขั้นตอน

จิตส�ำนึกกังวลและต่อสู้ เมื่อพิจารณาเป้า หมายแล้ว หาข้อมูลและตรวจสอบอย่างดี ใน ขั้นนี้ หัวข้อมักจะถูกเสนอแนะกับผู้เข้ารับการ บ�ำบัด คนที่ก�ำลังคิดว่าพวกเขาจะวาด ระบายหรือสร้าง อะไรดี

PREPAREATION 2. การบ่ม

ในขั้นนี้การชะงักทางความคิดนั้นอาจมีเวลาแว๊บเดียว ของการลังเลหรือมันถูกยืดเยื้อในระยะเวลาหนึ่ง ส�ำหรับ หลายๆครั้ ง หรือ เป็ น เดื อ นที่ ผู้ เ ข้ า รั บ การบ� ำ บั ด ต้ อ ง ท�ำงานผ่านการกระบวนการสร้ างสรรค์มากกว่าความ

INCUBATION

หมาย ผู้เข้ารับการบ�ำบัดอาจพูดว่า ฉันไม่รู้จะวาดอะไร นักบ�ำบัดมีหน้าที่สนับสนุนพวกเขาผ่านประโยคที่ไม่ใช่ ค�ำแนะน�ำ โดยอาจตอบสนองว่า ให้สีเทียน/มือคุณคิด

สามารถขยายออกเพื่อรวมอยู่ใน ข้ อ มู ล ท ฤ ษ ฎี ส ม อ ง ข ว า ซ้ า ย ก ร ะ บ ว น ก า ร จิ ต ส� ำ นึ ก แ ล ะ จิตใต้ส�ำนึก และโลกภายในส่วน ตัวแบบอวัจนภาษา สู้กับกลุ่ม ของโลกภายนอกที่พูดได้ และ ความจริงที่เราตอบสนองต่อการ รับรู ้ภาพต่างๆก่อนเราจะพูดได้

ให้

3. ส่องสว่าง

ประกายของแรงบันดาลใจ ความเบิกบาน ความภาคภูมิใจได้ถูกรั บรู ้ เมื่อไอเดียผุดๆขึ้น ในจิตใต้ส�ำนึก แหล่งของไอเดียไม่อาจทราบ ได้แต่มันปรากฎในจิตส�ำนึกของคนๆนึง ไม่ ต้องประกาศและไม่คาดหวัง

ILLUMINATION

4. การตรวจสอบ

เมื่ อ ไอเดี ย ส่ อ งสว่ า งขึ้ น จะถู ด ทดสอบและ ตรวจสอบอย่างหนัก ไอเดียอาจจะไม่เว ิร์ค และคนนั้นก็ย้อนกลับไปขั้นเตรียมตัวหรือการ บ่ม ขยายกระบวนการสร้างสรรค์มากกว่า 4

VERIFICATION

19


ศิลปะบ�ำบัด แขนงต่างๆ

ศิลปะมีหลากหลายแขนงกันไป เช่นเดียวกับ ศิลปะบ�ำบัดก็มีแตกแยกย่อยกันไป ซึ่งวัสดุ หรือ แต่ ล ะแขนงก็ จ ะส่ ง ผลต่ อ ผู้ เ ข้ า รั บ การ บ�ำบัดแตกต่างกันไปด้วยเช่นกัน ศิลปะ บ�ำบัดแบ่งออกเป็น 5 แขนงได้แก่

ซึ่ ง กิ จ กรรมศิ ล ปะบ�ำ บั ด ที่ จ ะเกิ ด ในเล่ ม นี้ จ ะ มุ่ ง เน้ น ไปที่ ทั ศ นศิ ล ป์ แ ละวรรณกรรมหรือ การเขียนนั้นเอง

VIS UAL ART 1.ทัศนศิลป์ (Visual Arts) คือการ สร้ างสรรค์ผลงงานศิลปะที่ผ่านการมองเห็น ได้แก่ การวาดภาพระบายสี การปั้ น การแกะ สลัก การถักทอ เป็นต้น ซึ่งศิลปะบ�ำบัด แขนงทัศนศิลป์ถูกน�ำมาใช้มากที่สุด ซึ่งจะ สามารถสร้างความสงบ สมาธิ ความผ่อน คลายระหว่างท�ำได้ รวมถึงสามารถการแปล ค ว า ม ห ม า ย ผ ล ง า น ที่ ส ร้ า ง ขึ้ น ผ่ า น อ ง ค์ ประกอบต่างๆที่เกิดขึ้น แต่ทั้งนี้ผู้ที่ให้ความ หมายได้ดีที่สุด คือผู้สร้างผลงานนั่นเอง

20

MU SIC 2. ดนตร ี (Music) ได้แก่ การฟัง,เล่นเครื่อง ดนตรีร้องเพลง หรือ การท�ำกิจกรรมทาง ดนตรี ดนตรีบ�ำบัดที่แท้จริงมักอยู่ในรู ปที่ แสดงออกเพื่อปลดปล่อยอารมณ์ภายในออก มา กระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์จิตนา การ เกิดการเคลื่อนไหวต่างๆของร่างกาย รวมทั้งการปฎิสัมพันธ์กับผู้ร่วมกิจกรรมคน อื่นๆ ทั้งนี้การแสดงออกทางด้านดนตรีมีได้ ตั้งแต่การร้องเพลง ซึ่งมักจะร่วมไปกับการ เคลื่อนไหวร่างกายไปด้วย การเล่นเครื่อง ดนตรีที่ชอบและไม่ยากซับซ้อนจนเกินไป


DANCE

&MOVE

MENT

3.การเต้ น หร อื การเคลื่ อ นไหวร่ างกาย (Dance & Movement) การเต้น การร่าย ร�ำ และการเคลื่อนไหวร่างกายจัดว่าเป็นการ ใช้ศิลปะบ�ำบัดที่ทรงพลังและได้ผลดี เพราะ สามารถใช้ได้กับคนหลายกลุ่ม ซึ่งมักจะท�ำ กิจกรรมพร้อมร่วมกับเสียงดนตรี ท�ำให้เกิด โอกาสเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่ างกายมาก ขึ้น เกิดความสนุกในการเคลื่อนไหว มีความ มั่นใจในเอง กล้าแสดงออกและออกไปปฎิ สัมพันธ์กับผู้อื่น มองโลกในแง่ดี รวมถึงไม่ ว่าคุณจะท�ำศิลปะบ�ำบัดแขนงไหน ก็ย่อม เกิดการเคลื่อนไหวร่ างกายจะเกิดขึ้นแฝงมา อยู่แล้ว

POE TRY 4. วรรณกรรม (Literature) การเขียนไม่ ว่าจะเป็นการเขียนบันทึกกิจกรรมต่างๆที่ได้ ท�ำ เขียนบรรยายความรู ้สึกอารมณ์ เรื่อง ราวเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น จนถึงเรื่องราว ที่สร้างสรรค์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็น นวนิยาย โคลง กลอน บทกว ีต่างๆ ซึ่งการเขียนต่างๆนี้เองก็ จะช่วยเยียวยาและการเติบโตภายใน ช่วยให้ ผู้เขียนเกิดจิตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ การค้นพบ และการรู ้จักตัวตน

DRA MA 5. การเล่นละคร (Drama) คือ การให้ผู้เข้า รับการบ�ำบัดเล่นละครสมมติ เพื่อบอกเล่า ความรู ้สึกเหตุการณ์ หรือแสดงออกถึงสภาพ จิ ต ใจและเรื่ อ งราวที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบทาง จิตใจที่เกิดขึ้นกับคนนั้นๆ ละครบ�ำบัดท�ำให้ เราได้เห็นตัวตนในมุมมองที่แตกต่าง ได้ ส�ำรวจ เรียนรู ้การแสดงออกทางอารมณ์และ ความรู ้สึกหลากหลาย ที่มีส่วนช่วยให้เรา เข้าใจกับเรื่องราวหรือปัญหาต่างๆ ได้ง่าย ขึ้น รวมถึงได้ค้นพบศักยภาพและความ สร้างสรรค์ที่มีอยู่แล้วในตัวของแต่ละคน


องค์ประกอบ ศิลปะบ�ำบัด ผลงานทางศิลปะ Artwork

องค์ประกอบที่ส�ำคัญของศิลปะบ�ำบัดจะขาด ส่วนหนึ่งส่วนใดไม่ได้ ได้แก่ 1.ผู้เข้ารับการบ�ำบัด(Artist or Client) 2.ผลงานศิลปะ (Artwork) 3.นักศิลปะบ�ำบัด (Art Therapist) องค์ ป ระกอบเหล่ า นี้ ที่ จ ะช่ ว ยแยกระหว่ า ง ศิลปะกับศิลปะบ�ำบัด ในความสัมพันธ์สามเหลี่ยม มักจะมีคนสงสัย ว่าการเปลี่ยนแปลงหรือการบ�ำบัดการรั กษา จะเกิดขึ้นตรงไหน ซึ่งส่วนใหญ่นั้นจะขึ้นอยู่ กับกระบวนการสร้ างสรรค์ด้วยตัวมันเองใน ธรรมชาติของความสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้ารั บ การบ�ำบัด ผลงานศิลปะและนักศิลปะบ�ำบัด

ศิลปินหร ือผู้เข้ารับการบ�ำบัด Artist / Cilents

นักศิลปะบ�ำบัด Art Therapist

**จะเห็นได้ว่า หนังสือของเราตอนนี้ไม่ครบองค์ประกอบทั้ง 3 ข้อ ขาดนักศิลปะบ�ำบัดไป จึงไม่ได้สามารถเป็นศิลปะบ�ำบัดที่แท้จริง แต่เราได้หยิบ กระบวนการศิลปะบ�ำบัดและจะจ�ำลองมันขึ้นผ่านแบบฝึกหัดต่างๆที่เกิดขึ้นภายในเล่ม เพื่อให้คุณได้สัมผัสและรับรู ้ถึงกลิ่นอายของศิลปะบ�ำบัด และ เมื่อคุณเดินทางผ่านหนังสือเล่มนี้จบก็จะเป็นตัวตัดสินได้ดีว่าคุณชอบหรือสนใจศิลปะบ�ำบัดเพื่อไปต่อยอดต่อหรือไม่

22

ดินที่ใช้ไว้ปั้น เช่น ดินเหนียว ดินน�้ำมัน


ตามปกติแล้วอุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการท�ำ ศิลปะบ�ำบัดจะถูกจัดแจงโดยนักศิลปะบ�ำบัด ซึ่งจะค�ำนึงถึงร่างกายที่จะถูกแสดงออก และ ความสามารถของวัสดุต่างที่จะท�ำได้ เช่น สี น�้ำก็จะสามารถระบายและไหลลื่นได้ดี สีเทียน ลดความแม่นย�ำแต่ใช้การควบคุมด้วยมือมาก ขึ้น หรือการปั้ นดินที่ต้องใช้การก�ำและก�ำลัง

มือ รวมถึงพื้นที่และบรรยากาศ เนื้อหาและ โจทย์ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จะได้ รั บ การออกแบบโดย นักศิลปะบ�ำบัด ในแต่ละวัสดุก็จะมีจุดเด่นจุด รองแตกต่างกันไป ซึ่งก็ขึ้นกับเป้าหมายของ การบ� ำ บั ด ครั้ ง นั้ น และความเหมาะสมของ ผู้รับการบ�ำบัด แต่ส�ำหรับการท�ำศิลปะ บ�ำบัดประกอบกับหนังสือเล่มนี้นั้น ภาพวัสดุ

ภาชนะใส่สีและน�้ำ

อุปกรณ์ไว้ใช้ติด เช่น กาว สก๊อตเทป

ต่ า ง ๆ ที่ คุ ณ ไ ด้ เ ห็ น เ ป็ น ก า ร ย ก ตั ว อ ย่ า ง อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในศิลปะโดยทั่วไปและ หาได้ง่าย(จะไม่อยู่ในนี้ก็ได้) โดยคุณสามารถ ใช้ อุ ป กรณ์ ที่ อ ยู่ ที่ บ้ า นไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งของ ราคาแพง ขอแค่คุณนั้นสามารถใช้ส่งิ เหล่า นั้ น เพื่ อ สร้ างงานศิ ล ปะมาประกอบกั บ หนังสือเล่มนี้ได้

กระดาษสีต่างๆ

สีชนิดต่างๆ เช่น สีอะคร ีลิค สีโปสเตอร์ สีน�้ำมัน สีน�้ำ

อุปกรณ์ตัดแต่ง เช่นกรรไกร คัตเตอร์ วัสดุธรรมชาติ เช่น ใบไม้ เปลือกไม้ ก้นหอย ก้อนหิน

พู่กันหัวต่างๆ

ดินสอ ปากกา สีชอล์ค สีเทียน สีไม้

อุปกรณ์และ วัสดุที่ใช้

23


ยินดีที่จะฉายภาพขององค์ประกอบใน จิตใต้ส�ำนึกที่หลบหลีกการข่มในจิตใจได้ ง่ายกว่าการแสดงออกทางการพูด จัดหาประสบการณ์ที่หลากหลาย ที่ ความคิดถูกเรียบเรียงผ่านกิจกรรมที่มี จุดเริ่มต้น การท�ำงานผ่าน และจุดจบที่ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการที่ไม่ใช้ การพูดในแต่ละบุคคลเป็นความลับ

เป็นประสบการณ์ใหม่ส�ำหรับแต่ละบุคค กระตุ้นไอเดีย ความรู ้สึกและความคิดที่ ไม่ได้ระบายออกมาก่อนหน้านี้

Value of Art Therapy คุณค่าของศิลปะบ�ำบัด

จัดหาการระบายออกของประสบการณ์ ภายใน เช่น ความฝัน จินตนาการ ที่ ปรากฏรู ปแบบภาพมากกว่าค�ำ

ให้ก�ำลังใจในการเป็นตนเองของแต่ละ บุคคล ผู้สร้างงานจะประสบกับอิสระ และการควบคุมการลองวาดและเรียนรู ้ ที่จะเข้าใจและหาความหมายในผลงาน

เป็นการระบายออกแสดงออกถึงภาษา ทางสัญลักษณ์และเปรียบเปรย มีการ บังคับให้ใช้ภาษาพูดน้อยกว่าการบ�ำบัด ประเภทอื่นส�ำหรับผู้เข้ารับการบ�ำบัด วาดความสามารถทางความรู ้ความ เข้าใจ,ผลกระทบและการเคลื่อนไหวใน ขณะเดียวกัน

ประกาศการเติบโตและการรวบรวม ได้ก่อนภาษาจะสื่อสารได้

24

จัดหาการบันทึกถาวรที่เนื้อหาไม่ สามารถถูกลบและเจ้าของงานยากที่จะ ปฎิเสธ งานสามารถกลับมาดูภายหลัง และที่ยิ่งไปกว่านั้น มันเป็นจุดส�ำคัญที่ จะเชื่อมโยงกับความคิด,ความรู ้สึกใน อดีต


EXPLORATION


WARM UP! EXPLORE WARM-UP PRE-TEST Let’s Discover บ ท นี้ เ ป็ น ก า ร ส� ำ ร ว จ ขอบเขตของสิ่งที่คุณก�ำลัง พบเจอ ความคิด ความ รู ้สึก สิ่งที่คุณให้ความ ส� ำ คั ญ และเกี่ ย วข้ อ งเพื่ อ กระตุ้นให้ถูกรอื้ ฟื้ นออกมา ก่อนจะเข้าสู่บทถัดไป

เอาหล่ะ! ก่อนที่จะเข้าสู่ช่วงถัดไปของหนังสือ เล่มนี้เรามาอุ่นเครื่องกันก่อนดีกว่า เมื่อคุณรู ้ แล้วว่าศิลปะบ�ำบัดคืออะไร มีองค์ประกอบ อะไรแล้ว ดังนั้นจงเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม จะใช้อะไรก็ได้ หรือใช้วัสดุที่เราเตรียมไว้ให้ ก็ได้นะ

โจทย์ของกิจกรรมนี้คือ FREE STYLE DRAWING คื อ วาดภาพอะไรก้ ไ ด้ ที่ คุ ณ เป็ น ศิ ล ปิ น แห่ ง หนังสือเล่มนี้แล้ว หรือคุณจะท�ำอะไรก้ได้จะ เป็นสื่อผสมหรือคอลลาจ แต่เราขอไม่ก่อย่ ี่ าง คือคุณไม่จ�ำเป็นต้องหาหรือสร้างความหมาย และเอ็นจอยกับการสร้างสรรค์งานขึ้น ละทิ้ง ทุกๆอย่าง ปล่อยตัวปล่อยใจไปกับสีสันและ กระดาษที่อยู ่ ่ตรงหน้าคุณ!



ต้องกา

ี่คุณ คุณรู้สิ่งท

สวัสดี :D ช่วงนี้เป็นไงบ้าง!

ู่?

ทำ�อะไรอย

ุณกำ�ลัง มอว่าตัวค

คุณรู้ตัวเส

่าค

คุณคิดว

ๆในใจ??

นาลึก ุ ปรารถ ณ

คุณค

ิดคุณ

?? ากแค่ไหน

ตัวเองม

ัวของ คุณเป็นต

28

สามารถวาดรูป ตกแต่งเจ้าพวก ช่องพวกนี้ได้เลยนะ

มีSe

lf-

awa

ren

e


คุณสามารถพูดเกี่ยวก

ับตัวคุณได้

ระจำำ�วัน??

ารในชีวิตป

ยินดีที่ได้รู้จัก คุณ...

คุณ

รู้สึก

คุณมักจ

ะไล่ตาม

essม

ากแค

แบบทดส

ู่??

อย อะไร

ลัง ุ กำ� ณ

ค รู้ตัว

PRE-TEST

ความคิด

อบความต

ของคุณ

ระหนักรู้ใน

ตัวคุณ

ทันเสมอ

??

นี่คือแบบทดสอบความ ตระหนักรู ้ของคุณก่อนจะ ท�ำแบบฝึกหัดศิลปะบ�ำบัด ให้ระบายสีตามแต่ช่อง ค�ำถามมากน้อยตามใจ คุณเลย แต่คิดทบทวน ตัวเองก่อนจะตอบนะ

่ไหน?

?

SELF-Awareness ในความคิดของคุณคือ _________________ _________________ _______________


Let’s Discover ใกล้จะถึงกิจกรรม Art Therpy Exercise กันแล้วหล่ะทุกคน อดใจรออีกนิด แต่ก่อนที่ จะถึงช่วงนั้น เราเชิญคุณมาร่วมส�ำรวจกัน อีกนิดนึงดีกว่า เพราะว่าเป็นได้ลงสีจร ิงๆ แล้วจะได้คล่องแคล้วไหลลื่นไม่ติดขัด

1. หาพื้นที่สงบๆ เริ่มแรกด้วยให้คุณหาพื้นที่สงบๆ อาจจะเป็น ห้องนอนหรือห้องท�ำงาน โดยอย่าให้มีเสียง รบกวนเยอะ หรือเปิดเพลงเบาๆให้ใจรู ้สึก ผ่อนคลาย หลังจากนั้นนั่งท่าสบายบนเก้าอี้ หรือพื้นก็ได้ตามสะดวก

2. หายใจเข้าออกช้าๆ ค่อยๆ หลับตาลง 3. ทบทวนเรอื่ งราวที่ผ่านมา ค่อยๆนึกถึงเรื่องราวที่ผ่านมา วันนี้เราไปเจอ อะไรมาบ้างนะ เราพูดคุยกับคนอื่นๆยังไง มี ความรู ้สึกอะไรที่เกิดขึ้นกับตัวเรา วันนี้เรา อยากกินอะไร แล้วอยากท�ำอะไรบ้าง สิ่งที่ เราท�ำอยู่มันตรงกับสิ่งที่เราต้องการมั้ย แล้ว เราต้องการอะไร ค่อยๆถามค�ำถามกับตัวคุณ เอง ไม่ต้องเคร่งเครียดมาก ปล่อยให้ความ คิดมันไหลไปเองตามธรรมชาติ ถ้าคิดไม่ออก ก็ไม่ต้องไปฝืน เมื่อนั่งนึกทบทวนจนตัวคุณพอใจ หร ือถึงแก่เวลาแล้วก็ค่อยลืมๆตา แล้วท�ำแบบฝึกที่ถัดไปข้างๆนี้


ขอ 3 ค� ำที่ บ อก เป ็ น ควา ม เป ็ น ตั ว คุ ณ เขียนชื่อลงอีกครั้ง

ทักทายกันอีกครั้ง คุณ....

นอกจากชื่อนี้แล้ว คุณมีชื่ออื่นๆอีกมั้ย ไม่ ว่าจะเป็นนามแฝง นามปากกา Aka หรือ ชื่อที่คนรอบข้างมักจะเรียกคุณ เขียนลง ข้างล่างให้เราดูหน่อยสิ

เ ล ่ า ที่ ม า ข อ ง ชื่ อเหล่า นี้ ใ ห ้ ฟ ั ง หน่อย

เขียนสิง่ ที่คุณชอบและ ไม่ชอบในตนเองลงใน พื้นที่นี้ด้วยสีที่แตกต่าง กัน

31


สิ่งที่ท�ำให้คุณมีความสุข

จุ ด ปร ะ สง ค ์ ข อ ง หนั ง สื อ เ ล่ มนี้ คื อ ก า ร สร ้ า ง S e l f - A w a r e n e s s ถ ้ า หา ก คุ ณ มี G o a l อื่ นๆ สา มา ร ถ มา เ ขี ย นข ้ า งล ่ า งไ ด ้ หรื อ ถ ้ า ยั ง คิ ด ไม่ อ อ ก ค ่ อ ย มา เ ขี ย นที หลั ง ก็ ได ้

สิ่งที่ท�ำให้รู้สึกกระวน กระวายใจ หร ือทุกข์ใจ

เ ล ่ า สถ า นกา ร ณ ์ ห รื อ เ หตุ ก ารณ์ ช ่ ว งนี้ ข องชี วิ ต คุ ณ ให ้ ดู ห น ่ อ ย

บันทึกความรู้สึกก่อนจะ เข้าสู่บทแบบฝึกหัด


Excercise EXCERCISEs ART THERAPY


E XC E R C I S E BEHAVIOR COPING-STANCES FEELING PERCEPTION EXPECTATION YEARNING SELF บทนี้ เ ป็ น บทแบบฝึ ก หั ด ศิ ล ปะ บ�ำบัด ซึ่งจะมีทั้งหมด 7 หัวข้อ ตามSatir Model ซึ่งจะพาคุณ เรีย นรู ้ แ ละเข้ า ใจส่ ว นต่ า งๆของ ความเป็นคุณ


ขั้นตอนการท�ำแบบฝึกหัด

TIMELINE & BODY SCANNING บันทึกความรู ้สึก ความคิดเห็น ก่อนท�ำแบบฝึกหัดหรือมุมมอง ที่มีต่อค�ำว่า ‘Behavior‘ หรือ ‘พฤติกรรม‘

1.

เขียนไทม์ไลน์กิจกรรม ที่ท�ำในชีว ิตประจ�ำวัน โดยสามารถวาดรู ป ตกแต่ง เขียนต่างๆได้ ตามใจชอบ โดย บันทึกเวลาคร่าวๆไว้ ด้วย

3. BEHAVIOR พฤติกรรม

2.

ท�ำBody Scanning คือเช็คร่างกายส่วน ต่างๆว่ามีอาการอะไร บ้าง เช่น เหงื่อออก มือ ปวดหัวไหล่ ถ้า ภาพที่เตรียมไว้ให้ไม่ พอก็สามารถวาด เขียนเพิ่มได้เลย เขียน ในตัวร่างก้ได้นะ

พลิกไปหน้าถัดไปจะเป็นหน้าเปล่า ให้คุณวาดร่างกายของคุณขึ้นมา เป็นสไตล์ของคุณเอง แล้วมา Behavior Scanning ว่า อวัยวะส่วนต่างคุณท�ำอะไรบ้าง เช่น เกาหัว กัดเล็บ บิดขี้เกียจ เมื่อเขียนเสร็จก็สามารถวาดรู ป ตกแต่งตัวร่างได้ตามใจชอบ

35


E L P M A X E 8.00 น. ตื่นนอน ง่วงมาก อาบน�้ำแต่งตัวว แต้งหน้า หวีผม

8.10 น.

กินอาหารเช้าฝีมือ คุณแม่แสนอร่อยย

ถึงที่ทำ�งานก่อน เวลางาน 5 นาที! ปกติสายตลอด

12.00 น.

8.35 น.

9.25 น.

กินข้าวกับ เพื่อนร่วมงาน วันนี้กินข้าวซอย กับชานมไข่มุก

18.00 น. กินข้าวพร้อมหน้า พร้อมกับครอบครัว และกับข้าวอร่อยมั่ก

36

23.00 น. ดู Netflix แล้ว เข้านอนหลับปุ๋ย

YOUR TIMELINE


BODY SCANNING HEAD? shoulder?

ARMS?

HEART?

HAND?

STOMACH?

LEGS? FOOT


BEHAVIOR SCANNING


TIMELINE/BODY SCANNING

& BEHAVIOR

‘พฤติกรรม’ หรือการกระท�ำเป็นสิ่งที่เห็นได้ ชัดที่สุด เพราะเป็นผลปลายทางของโลก ภายในทั้งหมด และสามารถมองได้จาก ภายนอกทันที ไม่ว่า ลักษณะการพูด น�้ำ เสียง ท่าทาง ภาษากาย รวมถึงการปฎิบัติ ตัว การด�ำเนินชีว ิต จากกิจกรรมที่คุณได้ท�ำคือ Body Scanning เป็นการตรวจสอบร่างกายควบคู่ไป กับพฤติกรรมที่ออกมา ท�ำไมถึงต้องเช็คไป ถึงร่างกาย? เพราะบางครั้งก็มีพฤติกรรม บางอย่างที่เราท�ำโดยไม่รู้ตัว ซึ่งก็ส่งผลไปถึง ร่างกาย เช่น อาจจะมีอาการปวดหัว ปวด ตัว หรือใจสั่น และกิจกรรมเขียนไทม์ไลน์กิจกรรมก็ยิ่งให้ คุณได้ทบทวนว่าแต่ละวันคุณได้ท�ำอะไรลงไป บ้าง ซึ่งทุกๆอย่างที่คุณท�ำก็มาจากสิ่งที่อยู่ ข้างในตัวคุณ ไม่ว่าจะเป็นความรู ้สึก ความ คิด ความคาดหวัง ซึ่งจะอยู่ในหัวข้อถัดไป อย่างเช่น เด็กชาย B ตั้งใจไปโรงเรียนแต่เช้า เพื่อเข้าห้องเรียนให้ทัน ดังนั้น ความคาด หวังคือ การได้เข้าไปเรียนตรงเวลา ไม่ผิดกฎ โรงเรียน ความคิดของเด็กชาย B ก็คือการ ไปทันเวลาคือสิ่งที่ดี หากเขาสมหวัง เขาก็จะ มีอารมณ์ที่ดี ร่างกายก็จะผ่อนคลาย แต่หาก เด็กชาย B เจอรถติดไปโรงเรียนไม่ทัน ความ ผิดหวังก็สามารถส่งผลต่อมาว่า

เขารู ้สึกไม่ดี,กังวลที่ต้องเข้าห้อง สาย อาจจะมีพฤติกรรมหลบ สายตาคนในห้อง เหนียมอาย ร่างกายมีการตัวสั่น เสียงสั่น เหงื่อออก

ดังนั้นทุกๆอย่างที่ออกมาจาก ร่างกายมันบ่งบอกถึงข้างในตัว คุณได้หมด ฉะนั้นควรหมั่นตรวจ เช็คตัวเองอยู่เสมอว่าเมื่อไหร่ที่เรา มีพฤติกรรมแบบนี้หร ือต่างๆจาก ไปปกติ มันเกิดจากอะไรแล้วมัน ส่งผลกระทบอะไรได้บ้าง


ขั้นตอนการท�ำแบบฝึกหัด Coping Stance บันทึกความรู ้สึก ความคิดเห็นก่อน ท�ำแบบฝึกหัดหรือมุมมองที่มีต่อค�ำ ว่า ‘Coping Stances‘ หรือ ‘กลไกป้องกันตัวเอง‘

1.

วาดเหตุการณ์ที่ ท�ำให้คุณรู ้สึกเครียด ขัดแย้งกดดัน หรือ อึดอัด ที่เคยเกิดขึ้น มาแล้วหรือคิดว่า สถานการณ์แบบนี้ เกิดขึ้นแล้วจะมีผล กระทบต่อตัวคุณ

3.

COPING STANCE กลไกการป้องกันตัวเอง

เมื่อท�ำแบบฝึกหัด ทั้งหมดครบ สามารถเปิดหน้าถัด ไปเพื่อเช็คว่าคุณใช้ กลไกป้องกันตัว แบบไหน

2.

เมื่อวาดภาพ เหตุการณ์เสร็จให้ ทบทวนสิ่งที่เกิดขึ้น รวมถึงปฎิกริยาของ ตัวคุณต่อเหตุการณ์ นั้น แล้วเขียนค�ำ ตอบลงในช่องว่าง ของค�ำถาม


Situation 1 :________________________________

เล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

When I ..

เมื่อฉัน..

I want .. ฉันต้องการ

and I will ... และฉันจะ..

41


BLAM ING SUPERREASON ABLE

PLACAT ING IRRELEVANT

42


กลไกการปรับตัว (Coping Stances) คือ ว ิธีรับมือหรือจัดการความตึงเครียดในชีว ิตเพื่อ สามารถปรับตัวให้อยู่ได้อย่างสมดุลในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งอีกแง่หนึ่งคือ กลไกการเอาตัว รอด (Survival Stances) โดยทั่วไปว ิธีการนี้บุคคลจะเรียนรู ้ได้ตั้งแต่เด็กจากการสั่งสม ประสบการณ์มา ซึ่งจะแบ่งออกได้ถึง 4 กลไก ได้แก่

Blaming กลไก ‘ต�ำหนิ’

Placating กลไก ‘การยอม’

1.กลไกการ ‘ต�ำหนิ’ (Blaming) คือ การ ต�ำหนิผู้อื่นหรือสิ่งรอบข้างไว้ก่อน ยึดถือ สนใจแต่ส่งิ ที่ตนเองเชื่อ แต่ไม่สนใจในสิ่งที่ คนอื่นเชื่อ มักจะปกป้องตัวเองจากการ ต�ำหนิไว้ก่อน

2. กลไกการ ‘การยอม’ (Placating) เป็นการยอมที่ยอมท�ำตามผู้อื่นเรียกร้อง แต่ ไม่สนใจความรู ้สึกของตัวเองเพราะหลีกเลี่ยง การปะทะ เผชิญหน้าโดยตรง การปฎิเสธ เพื่ อ ลดโอกาสในการสร้ า งความบาดหมาง ต่อผู้อื่น

3. กลไก ‘เจ้าหลักการ’ (Super- reasonable) เป็นการใช้หลักการหรือเหตุผลต่างๆ สนใจแต่ เ นื้ อ และความถู ก ต้ อ งโดยไม่ ส นใจ ความรู ้สึกของตนเองและผู้อื่น โดยมองจาก ภายนอกแล้วอาจจะดูเป็นคนเย็นชา ไร้ความ รู ้สึก

4. กลไก ‘เฉไฉ’ (Irrelevant) เป็นการเบี่ยง บ่าย หรือหลบเลี่ยงโดยการใช้มุกตลกหรือ การเล่าเรียกเสียงเฮฮาจากกลุ่มเพื่อให้คนอื่น และตนเองหลุ ด จากความตึ ง เครีย ดหรือ ประเด็นที่ก�ำลังเกิดขึ้น โดยมักจะเป็นเรื่อง ทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับแก่นของเรื่องที่เกิด

Superreasonable กลไก ‘เจ้าหลักการ’

Irrelevant กลไก ‘เฉไฉ’ คุณคิดว่า คุณใช้กลไก แบบไหน??


ขั้นตอนการท�ำแบบฝึกหัด PHOTO PICKING บันทึกความรู ้สึก ความคิดเห็นก่อน ท�ำแบบฝึกหีดหรือมุมมองที่มีต่อค�ำ ว่า ‘Feeling‘ หรือ ‘ความรู ้สึก‘

1.

2.

44

FEELING ความรู้สึก

น�ำรู ปทั้งที่มีเตรียม ไว้ให้ หรือรู ปภาพที่ คุณน�ำมาเพิ่มมาก องรวมกันตรงหน้า ของคุณ (แบบไม่ เป็นระเบียบ)ค่อยๆ มองดูแต่ละรู ป

เลือกรู ปถ่ายที่ตรงกับความรู ้สึกคุณและ แต่ละโจทย์ที่ให้ โดยไม่ต้องค�ำนึงถึง ความถูกผิด หรือความเชื่อมโยงที่มี เหตุผล เช่น หากคุณรู ้สึกว่าภาพนี้เล่า เรื่องของคุณได้หรือมันTouchกับตัว คุณก็สามารถใช้ได้ ให้ยึดจากความรู ้สึก ของคุณเป็นหลัก


3.

Photo of Incidence ภาพที่แทนสถานการณ์ของคุณในช่วงนี้

น�ำรู ปถ่ายแปะลงใน หน้าแบบฝึกหัด พร้อมเขียนเรื่อง ราวหรือความรู ้สึกที่ เลือกภาพนี้

4.

วาดรู ปหรือสร้างงาน ศิลปะที่เป็นการเอา ภาพทั้งหมดที่คุณ เลือกมารวมกัน หรือ จะเป็นผลลัพธ์จาก ทั้ง3ภาพก็ได้ จะวาด หรือเอารู ปภาพ,วัสดุ อื่นๆมาผสมด้วยก็ได้

5.

อ่านความรู ้สึกกับแบบฝึกหัด PhotoPicking และสามารถ บันทึกความคิดที่เกิดขึ้น หรือมุม มองต่อค�ำว่า‘ความรู ้สึก‘หลังท�ำ แบบฝึกหัด

เล่าเกี่ยวกับรู ปนี้ให้ฟังหน่อย


Photo of Feeling

เล่าเกี่ยวกับรู ปนี้ให้ฟังหน่อย

ความรู้สึกของคุณในช่วงนี้/ต่อสถานการณ์นี้

เล่าเกี่ยวกับรู ปนี้ให้ฟังหน่อย

ความรู้สึกที่มีต่อความรู้สึกแรก

Photo of Feeling about Feeling


Conclusion of all Photos ให้คุณสร้างผลงานศิลปะที่เกี่ยวข้องกับ 3 ภาพก่อนหน้านี้

หรือจะเป็นงานชิ้นใหม่ไปเลยก็ได้ที่คุณได้เรียนรู้หรือมีความรู้สึกต่อกิจกรรมนี้

เล่าเกี่ยวกับผลงานชิน ้ นี้ให้ฟังหน่อย


PHOTO PICKING

& FEELING

ความรู ้สึก น่าจะเป็นค�ำที่สื่อถึงจิตใจที่ได้ยิน และใช้กันบ่อยมากๆค�ำหนึ่ง ซึ่งทุกคนก็น่าจะ เข้าใจกันดีอยู่แล้วว่าความรู ้สึก คือ ดีใจ เสียใจ โกรธ เศร้า กังวล สนุก แต่หลายๆคน มักจะใช้ค�ำความรู ้สึกในรู ปแบบนี้ เช่น ฉัน รู ้ สึ ก เหมื อ นอยู่ ตั ว คนเดี ย วท่ า มกลางผู้ ค น มากมาย ซึ่งประโยคนี้แม้จะใช้ค�ำว่า รู ้สึก แต่ ประโยคนี้คือความคิด ซึ่งเราต้องถอดความ จากประโยคนี้อีกทีว่าผู้ที่พูดประโยคนี้อยู่ เขา ก�ำลังรู ้สึก ‘โดดเดี่ยว’ ซึง่ กิจกรรมที่คุณได้ท�ำไปคือ การหยิบภาพที่ ตรงกั บ โจทย์ ซ่ึ ง เป็ น โจทย์ ที่ เ กี่ ย วกั บ ความ รู ้สึกทั้งหมด ที่เลือกหัวข้อความรู ้สึกกับ รู ปภาพ เพราะว่าการหยิบรู ปภาพ เราอยาก เน้นให้เป็นการหยิบที่ไม่ผ่านกระบวนการคิด

เชื่อมโยงมาก ให้คุณเลือกภาพนั้นแค่คุณรู ้สึก ว่ามันTouch กับความรู ้สึกของคุณแค่นั้นก็ เพียงพอแล้วไม่จ�ำเป็นต้องเป็นภาพที่มีความ หมายหรือสัญลักษณ์อะไร ซึ่งในกิจกรรมจะ มีความรู ้สึกอยู่ 2 ความรู ้สึก คือ ความรู ้สึก แรก คือความรู ้สึกอย่างแรกที่คุณสัมผัสได้ จากเหตุการณ์ต่างๆ เมื่อเกิดความรู ้ สึกแรกแล้ว ก็จะมี ‘ความ รู ้สึกเกี่ยวกับความรู ้สึก’ (Feeling about Feeling) ซึ่งเป็นความรู ้ สึกที่สองที่เกี่ยว ข้องกับความรู ้ สึกแรก ความรู ้ เกี่ยวกับความ รู ้ สึ ก เกิ ด จากมุ ม มองหรือ ประสบการณ์ ที่ มี ผลต่ อ ความรู ้ สึ ก แรกว่ า เหมาะสมหรือ ไม่ บ า ง ค รั้ ง ค ว า ม รู ้ สึ ก ที่ ส อ ง มี ผ ล ก ร ะ ท บ มากกว่าความรู ้ สึกแรกเสียอีก

1st

FEELING 48

เช่น เด็กหญิง A โดนคุณพ่อดุ จึงมีความ รู ้สึกโกรธต่อพ่อ ต่อมา เด็กหญิง A ก็มี ความรู ้สึกผิดต่อพ่อ เพราะตัวเองนั้นได้โกรธ พ่อไป ดังนั้น ในบางครั้งความรู ้สึกที่ 2 มี ความส� ำ คั ญ มากกว่ า ความรู ้ สึ ก แรกเสี ย อี ก เพราะมันส่งผลกระทบต่อตัวเราได้มากกว่า หลายๆครั้ ง เรามั ก จะมี ค วามรู ้ สึ ก หลายๆ อย่างเข้ามาพร้อมกัน ซึ่งก็สร้างความสับสน ต่อตัวเองว่าเรารู ้สึกอย่างไรกันแน่ ดังนั้น การเขียนหรือการได้ระบายออกมาก็เป็นสิ่งที่ ดี เพราะมันสามารถสะท้อนออกมาได้ดีกว่า เก็บไว้ในหัวอย่างเดียว

FEELING about feeling

2nd


ขั้นตอนการท�ำแบบฝึกหัด REFLECTIVE DRAWING บันทึกความรู ้สึก ความคิดเห็นก่อน ท�ำแบบฝึกหีดหรือมุมมองที่มีต่อค�ำ ว่า ‘Perception‘ หรือ ‘ความคิด‘

1.

วาดภาพแรกโดยขณะวาดภาพสถานการณ์ ที่คุณพบเจอมาที่คิดว่าคุณมีความรู ้สึกร่วม กับเหตุการณ์นั้นเยอะ ขณะที่ภาพที่สองวาด สะท้อนต่อตัวตนของตัวเองที่อยู่ใน เหตุการณ์นั้นอีกทีหนึ่ง

2.

เมื่อวาดภาพ ทั้งสองเสร็จ ให้มองและ คิดทบทวน สิ่งที่เกิดขึ้น มุมมอง ความคิด แล้วตั้งชื่อภาพ และความรู ้สึกที่เกิดขึ้นขณะ ที่วาดภาพสะท้อนตัวเองอออกมาและถ้า อยากเล่าอะไรเกี่ยวกับภาพก็เขียนลงมา

3.

PERCEPTION ความคิด

อ่านความเชื่อมโยง ระหว่างกิจกรรมReflective Drawing และความคิด จากนั้น หากได้เรียนรู ้หรืออยาก บันทึกอะไรหลังจากท�ำ แบบฝึกหัดก็สามารถ เขียนลงไปได้


1st

สิ่งที่คุณเผชิญในช่วงเวลาที่สำ�คัญหรือส่งผลกระทบต่อคุณ


สะท้อนตัวคุณที่อยู่ในช่วงเวลานั้นในภาพแรก โดยสามารถแสดงความรัก ความเมตตา ความอภัยให้กับตัวคุณได้

2nd


REFLECTIVE DRAWING

& PERCEPTION YOU

Yourself

กิจกรรมที่คุณได้ท�ำไปเมื่อกี้ คือการวาดรู ปสะท้อนเหตุการณ์ที่คุณมี ประสบพบเจอหรือมีความรู ้สึกร่วมสูง ไม่ว่าจะเป็นด้านบวกหรือลบ ซึ่งการวาดภาพในโจทย์นี้จะสะท้อนมุมมองของคุณต่อเหตุการณ์น้ัน ว่าคุณมีความคิด หรือความรู ้สึกอย่างไร ต่อมาในภาพที่ 2 คือการ วาดสะท้อนตัวคุณในเหตุการณ์นั้น เป็นการวาดซึ่งสามารถสะท้อน มุมมองที่คุณมีต่อตัวเอง ว่าคุณมองตัวเองเป็นคนอย่างไร ซึ่งเรา เรียกว่าตรงนี้ว่า Perception คือ มุมมอง ความคิด ความเชื่อ ซึ่ง ตัว Perception นี้แหละคือสิ่งที่เราใช้มองสิ่งรอบตัว มองโลก มอง คนรอบข้าง รวมถึงตัวเราเอง เราใช้Perception ในการตีความ หมายสิ่งต่างๆรวมถึงเหตุการณ์ที่เราเคยเจอมา ซึ่งตัวความคิดตรงนี้ มั น มาจากความปรารถนาและประสบการณ์ ภ ายในที่ ลึ ก เข้ า ไปอี ก

52

World

และก่อให้เกิดผลเป็นความรู ้สึก กลไกการป้องกันตัวเอง พฤติกรรม ออกมา นอกจากมันจะก�ำกับความคิดของเราที่มีต่อสิ่งต่างๆแล้ว มันยังก�ำกับไปถึง การด�ำเนินชีว ิตของเราอีกด้วย หรือเรียกว่า กฎ การใช้ชีว ิต เช่น หากนาย A เชื่อว่า ไม่มีการขัดแย้งคือสิ่งที่ดี ดัง นั้น พฤติกรรมกรรมของเขาก็มีแนวโน้มที่จะหลีกเลี่ยงการขัดแย้ง หรือการไม่เห็นด้วยกับผู้อื่น เป็นคนยอมคน ซึ่งหากเกิดความขัด แย้งกับผู้อื่นขึ้น เขาก็อาจจะมีความรู ้สึกไม่ปลอดภัยหรือไม่มั่นใจใน ตัวเอง รวมถึงมุมมองที่เขามีต่อตนเอง ว่าเขาไม่ควรจะขัดแย้งกับผู้ อื่น ดังนั้น ความเชื่อหรือมุมมองต่างๆที่เรามีไม่ได้หมายความว่าจะเป็น จริงหรือสิ่งที่ถูกต้องเสมอไป มันเป็นเพียงมุมๆหนึ่งที่เรามองเห็น เราจึงควรรู ้ เท่าทันความคิดของตนเองว่าเรามีมุมมองอย่างไรต่อ โลกใบนี้รวมถึงตัวคุณเอง และว ิธีที่คุณตีความหมายสิ่งต่างๆที่เข้า มา


ขั้นตอนการท�ำแบบฝึกหัด What You Want?Collage บันทึกความรู ้สึก ความคิดเห็นก่อน ท�ำแบบฝึกหัดหรือมุมมองที่มีต่อค�ำ ว่า ‘Expectation‘ หรือ ‘ความ คาดหวัง‘

1.

กลับไปเช็คพฤติกรรมในบทBehavior แล้ว เลือกการกระท�ำที่คุณคิดว่าส�ำคัญกับตัวคุณ หรือคาดหวังไว้เยอะ หรือจะเลือกการกระท�ำ ใหม่ก็ได้

2.

3.

น�ำพฤติกรรมไปท�ำ ต่อในกิจกรรมABC เพื่อค้นหาว่าสิ่งที่อยู่ เบื้องหลัง พฤติกรรมคืออะไร

เมื่อคุณท�ำ กิจกรรมABC เสร็จแล้วให้ท�ำผล งานCollage ที่มา จากสิ่งที่คุณหวัง สิ่งที่คุณต้องการหรือ จะน�ำสิ่งที่ได้จากกิจกรรมABC มาสร้าง ก็ได้

EXPECTATION ความคาดหวัง

4.

อ่านความเชื่อมโยงระหว่าง กิจกรรมCollage และความคาด หวัง จากนั้นหากได้เรียนรู ้หรือ อยากบันทึกอะไรหลังจากท�ำแบบ ฝึกหัดก็สามารถเขียนลงไปได้


E

L P M XA

E

Activator

ตัวกระตุ้นที่ทำ�ให้เกิดการกระทำ�นั้น

ติวหนังสือหนักขึ้น

คะแนนสอบครั้งนี้ดีขึ้น

Be hav io r

C o nse qu e nces

พฤติกรรม/การกระทำ�ที่แสดงออกมา

ผลที่ได้จากการทำ�พฤติกรรมนั้น

Let’

s Dr

aw

โดนดุจากคะแนนสอบไม่ดี

อธิบายเกี่ยวกับภาพนี้หน่อยสิ

อธิบายเกี่ยวกับภาพนี้หน่อยสิ

อธิบายเกี่ยวกับภาพนี้หน่อยสิ


What You Want?Collage


What You Want?Collage

& Expectation

ความคาดหวัง คือ ความต้องการหรือความ คาดหมายที่มีต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และความ คาดหมายของผู้อื่นต่อตนเอง ความคาดหวัง จะสะท้อนออกมาจากพฤติกรรมต่างๆที่เรา กระท�ำในชีว ิต ไม่ว่าจะเป็นการด�ำเนินชีว ิตใน ด้านการเรียน หรือการท�ำงานอาชีพ หรือ ด้านความสัมพันธ์ต่างๆ

56

จะเห็นได้จากกิจกรรม ABC พฤติกรรมที่เรา คือ B Behavior ซึ่งก่อนจะเกิดB ได้ ต้องมี ตัวกระตุ้น คือ A Activators ก่อน ซึ่งผล ที่ได้จากการกระท�ำคือ C Consequences ซึ่งตัว C นี้แหละที่จะสะท้อนความคาดหวัง ของเราออกมา เพราะเราท�ำพฤติกรรม(B)

ต่างๆเพื่อให้เกิดผล(C) หากผลที่ออกมาไม่สามารถตอบสนองความ ต้องการของเราได้ ก็จะเกิดปฎิกริยา ปฎิ กริยานี้อาจจะเป็นความโกรธ ความเสียใจ ความอึดอัดใจ ความสงสัยในตัวเองและการ นับถือตัวเองต�่ำลง จนอาจจะน�ำมาสู่ความ รุ นแรงได้ เช่นการท�ำร้ายร่างกายตัวเองหรือ ผู้อื่น ดังนั้น สามารถสังเกตความคาดหวังของตัว คุณได้จากพฤติกรรมต่างๆในการด�ำเนินชีว ิต ประจ�ำวัน เพราะทุกๆการกระท�ำย่อยแฝง ความคาดหวังไว้ลึกๆข้างใน


ขั้นตอนการท�ำแบบฝึกหัด DREAM MAPPING บันทึกความรู ้สึก ความคิดเห็นก่อน ท�ำแบบฝึกหีดหรือมุมมองที่มีต่อค�ำ ว่า ‘Yearning‘ หรือ ‘ความ ปรารถนา‘

1.

วาดความฝันหรือเป้า หมาย สิง่ ที่อยากได้ของ คุณผ่านการวางแผนที่ เหมือนเป็นลายแทงไปถึง ขุมทรัพย์หรือความฝันของ คุณนั้นเอง สามารถวาดกี่ ความฝันก็ได้ ก่อนไปถึง จุดนี้ ต้องผ่านอะไรบ้าง ต้องการอะไรบ้างถึงจะไป ถึงจุดถัดไป

2.

เมื่อวาดลายแทงความฝันเสร็จแล้วให้คุณหยิบ ปากกาไฮไลต์หรือสีที่เด่นออกมาวงหรือขีดเส้นใต้ ความฝันนั้น แล้วน�ำมาในหน้าถัดไป มาถอดรหัส ความฝันด้วยการเขียนว่าเพราะอะไรถึงมีเป้า หมายนี้ ,ส�ำคัญกับตัวคุณอย่างไรและมีความ รู ้สึกอย่างไรกับสิ่งนี้

3. YERNING ความปรารถนา

เมื่อถอดรหัสลายแทง ความฝันเสร็จ ให้ ทบทวนว่าเบื้องหลัง ลายแทงคืออะไรกันแน่ แล้วอ่านความเชื่อม โยงของความ ปรารถนาและกิจกรรม Dream Mapping


D R E A M

M A P P I N G

อาจจะเริ่มด้วยตัวคุณในตอนนี้ไปยังขั้นถัด ไปๆเรื่อยๆจนถึงความฝัน อย่าลืมเขียนถึง เวลาที่ตั้งใจให้บรรลุผล จนถึงสิ่งต่างๆที่ ต้องการเพื่อไปถึงเป้าหมาย



ถอดร หั ส ล า ย แ ทง ควา มฝั น

มฝัน 1 ควา า ่ ว ก าก ถ้ามีม พิ่มในนี้ได้ เ ย ี ก็เข น

ความฝ ัน เป้าหมา ? ย? ปนิธาน ?

Write Your Dream in Here!

เพราะอะไรถึงเกิดเป็นความฝันนี้ขึ้น??

คุณรู้สึกอย่างไรกับความฝันนี้?? มันสำ�คัญกับตัวคุณอย่างไร??


Dream Mapping

& Yearning จากกิจกรรม Dream Mapping คือการ วางแผนความฝันของเราออกมาเป็นเส้นทาง เพื่อสะท้อนความต้องการ ‘ความปรารถนา’ ผ่านจากการตั้งเป้าหมายหรือความฝันไว้ ซึ่ง เราต้องน�ำมาตีความอีกทีว่าที่เราตั้งเป้าหมาย

ไว้ แ ปลออกมาเป็ น ความปรารถนาอะไรกั น แน่ ความปรารถนาที่แท้จริงและแรงกล้า มักจะเป็นสิ่งที่เป็นพื้นฐานของมนุษย์ทุกคน เช่น ต้องการความรัก ความอบอุ่น ความ ปลอดภัย เสรีภาพ การได้รับการยอมรับ ความสุข ความปรารถนาเป็ นสิ่งที่อยู่ในระดับลึกและ เป็ นจุดก�ำเนิดของความคาดหวังที่บุคคลมี ต่อตนเองหรือผู้อื่น เช่น เด็กชายB ปรารถนา การยอมรับ เขาจึงมีความคาดหวังที่จะเป็น ศูนย์กลางของเหล่าผองเพื่อน และ พฤติกรรมภายนอกก็คือ การพยายามเข้าหา สังคมและเพื่อนๆ ความปรารถนาเป็นสิ่งสากล มนุษย์ย่อมมี ความปรารถนาที่คล้ายคลึงกัน เมื่อความ ปรารถนาถูกตอบสนอง บุคคลนั้นก็จะมี ความสุขสงบ มั่นคง สามารถด�ำเนินชีว ิตกับ คนอื่นได้อย่างกลมกลืน แต่เมื่อความ ปรารถนาไม่ถูกตอบสนอง บุคคลนั้นก็จะมี ความทุกข์ กระวนกระวาย ไม่สบายใจ เริ่มมี ปัญหาในการด�ำเนินชีว ิตและการปฎิสัมพันธ์ กับคนอื่นๆ

61


SELF ตัวตน


ขั้นตอนการท�ำแบบฝึกหัด SELF BOX

1.

บันทึกความรู ้สึก ความคิดเห็นก่อน ท�ำแบบฝึกหีดหรือมุมมองที่มีต่อค�ำ ว่า ‘SELF‘ หรือ ‘ตัวตน‘ พับกล่อง 1 กล่องที่ เตรียมไว้ให้เป็นทรง สี่เหลี่ยม กล่องนี้ให้ ระลึกไว้ว่าคือกล่อง ที่แทนความเป็นตัว คุณในทุกๆอย่าง

2.

3. เมื่อใส่ของจนครบตามที่คุณพอใจแล้ว ให้พับ อีกกล่องอีกใบขึ้นมา แล้วน�ำของจากกล่อง เดิมที่เป็นสิ่งของที่เป็นตัวคุณ แต่เป็นตัวคุณ จากที่คนอื่นอยากให้เป็นหรือตัวคุณในมุม มองของคนอื่นให้แยกไปใส่อีกกล่อง ถ้าของ ที่ใส่ในกล่องตัวคุณในมุมคนอื่นไม่พอ ก็ สามารถท�ำหรือสร้างของมาเพิ่มได้

4.

ให้ใส่ของต่างๆที่สื่อถึงคุณ หรือคุณชอบ อะไรก็น�ำมาใส่ได้ สามารถวาดรู ป เขียน ข้อความ ภาพถ่าย สร้างผลงานมาใส่ได้ ทุกอย่างที่สื่อถึงคุณได้ทังหมด

เมื่อแบ่งของใส่กล่อง เสร็จ ค่อยพิจารณา ความเป็นตัวคุณจากทั้ง สองผ่านสิ่งของ ภาพ วาด ภาพถ่าย งานต่างๆ สามารถตกแต่งระบาย กล่องเพิ่มเติมได้ตาม จินตนาการ แล้วอ่าน ความเชื่อมโยงของSelf Box และตัวตน

63


SELF BOX

& SELF

หร ือ ‘แก่นกลาง’ ของตัวเรา ซึง่ เป็นจุด ก�ำเนิดของทุกๆอย่างที่อยู่ถัดไปไม่ว่าจะเป็น ความปรารถนา ความคาดหวัง ความคิด ความรู ้สึก กลไกการป้องกันตัวเอง และ พฤติกรรมที่แสดงออกมา Self นี่เองที่บอก ว่าเราคือใคร เป็นอะไร เป็นตัวบ่งบอกความ เป็นตัวเราทั้งหมด จากกิจกรรมSelf Box

ซึ่งมีการใช้กล่องมาเป็นภาชนะ จากตอน แรกให้ ใ ส่ ทุ ก ๆอย่ า งที่ เ กี่ ย วกั บ ตั ว คุ ณ เอง เข้าไปใน 1 กล่อง จากนั้นจึงค่อยให้หยิบ กล่ อ งอี ก ใบแล้ ว แยกความเป็ น ตั ว เองที่ ค น อื่นคาดหวังให้คุณเป็นออกมา จะเห็นได้ว่า หลายๆครั้งเรามักจะสับสนหร ือหลงลืมความ เป็นตัวเอง แก่นแท้ความเป็นตัวเรา เรา เผลอจะหยิบความคาดหวังจากคนรอบตัวที่ อยากให้คุณเป็นอะไรมาถือไว้ กิจกรรมนี้ก็จะ ท�ำให้คุณเห็นว่าสิ่งไหนเป็นสิ่งที่เป็นแก่นของ คุณ กับสิ่งที่คนอื่นหยิบให้เป็นคุณ


EMPOWER


E M POW E R WHO I AM? POST-TEST EPILOGUE

บทสุ ด ท้ า ยหร อื บทส่ ง ท้ า ย ของการเดิ น ทางในโลก ภายในครั้ ง นี้ เ ป็ น การสรุ ป และบอกลาเพื่ อ ให้ ผู้ ร่ ว ม เดินทางได้น�ำสิ่งที่เร ียนรู ้ไป ใช้ต่อในโลกภายนอก


ในส่วนนี้จะเป็นการคลี่คลายสิ่งที่อยู่ในแต่ละ ชั้นของจิตใจทั้งหมด ให้ค่อยๆเปิดแผ่น กระดาษแต่ละชั้นออกมาแล้วเติมค�ำตามชั้น ของจิตใจ

Who AM I ? เราเป็ น อย่ า งไรกั น แน่ น ะ?


ัวค

เส

ู้ตัว ุณร

ังทำ

�ล ุณกำ

่าต มอว

ยู่?

ไรอ �อะ

คุณ

รู้สิ่ง

ที่คุณ

ต้อง

คุณคิดว

การ

ในช

ีวิตป

่าคุณปร

ระจำำ

ัว

ป็นต คุณเ

ารถนาล

??

ึกๆในใจ?

?

น??

่ไห ากแค

เองม

ตัว ของ

�วัน

คุณคิดค

ุณมีSel

สามารถวาดรูป ตกแต่งเจ้าพวก ช่องพวกนี้ได้เลยนะ

f-awa

reness

มากแค่ไ

หน??


คุณ

อะ

ู้สึก ลังร

กำ�

คุณ รู้ตัว

SELF-Awareness ในความคิดของคุณคือ _________________ _________________ _______________

ู่?? ไรอย

เสมอ??

ัน องคุณท ข ด ิ ค ม วา

่ตามค

ะไล คุณมักจ

POST-TEST แบบทดสอบความตระหนักรู้ในตัวคุณ

คุณสาม

ารถพูด

เกี่ยวกับ

ตัวคุณไ

ด้ทันที?

?

นี่คือแบบทดสอบ ความตระหนักรู ้ของ คุณหลังจากได้อ่าน เดินทางผ่านหนังสือ เล่มนี้แล้ว เพื่อดูว่า คุณได้มีความ ตระหนักรู ้เพิ่มหร ือ ไม่โดยวัดจากที่คุณ เป็นคนประเมินเอง

69


EPILOGUE บทส่ ง ท้ า ย

จบไปแล้วกับการเดินทางผ่านSatir Model โดยมีArt Therapy เป็นเครื่องมือในการเดินเข้าไปส�ำรวจและค้นหาจิตใจในแต่ละชั้น ไม่ ว่าจะเป็นตั้งแต่ พฤติกรรมภายนอก กลไกป้องกันตัวเอง ความรู ้สึก ความคิด ความคาดหวัง ความปรารถนา และตัวตน เมื่อคุณได้เดิน ผ่านชั้นต่างๆก็จะเห็นได้ว่า ทุกๆอย่างมันเชื่อมโยงกันหมดเลย เมื่อ พบเจออะไรที่ ก ระทบเข้ า มาสิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแต่ ล ะชั้ น แทบจะเกิ ด ขึ้ น พร้อมๆกันและส่งผลต่อกันไปมาอยู่ตลอด


หวังว่าทุกคนที่ได้เดินทางผ่านหนังสือเล่มนี้จะได้ค้นพบแก่นกลางของ ตัวคุณในทางใดไม่ก็ทางหนึ่ง หรือหากยังไม่เจอจากการเดินทางครั้ง นี้ ก็ ข อให้ คุ ณ ค้ น พบในการเดิ น ทางในครั้ ง อื่ น แล้ ว อย่ า เผลอลื ม ดู แ ล แก่นกลางใจของคุณให้ดีก่อนจะผจญโลกภายนอกอีกครั้ง หวังว่าทุกคนที่ได้เดินทางผ่านหนังสือเล่มนี้จะได้ค้นพบแก่นกลางของ ตัวคุณในทางใดไม่ก็ทางหนึ่ง หรือหากยังไม่เจอจากการเดินทางครั้ง นี้ก็ขอให้คุณค้นพบในการเดินทางในครั้งอื่น แล้วอย่าลืมดูแลแก่น กลางใจของคุณให้ดีก่อนจะผจญโลกภายนอกอีกครั้ง

หนังสือเล่มนี้เป็นเพียง Art Therapy Workbook เป็นเครื่องมือใน การท�ำความรู ้จักตัวเองและศิลปะบ�ำบัดในเบื้องต้น โดยเริ่มต้นจาก ตนเองหรือเป็นการ SelfCare ซึ่งการท�ำศิลปะบ�ำบัดจ�ำเป็นต้องพึ่ง ผู้เชี่ยวชาญ หากใครต้องการต่อยอดหรือศึกษาเกี่ยวกับศิลปะบ�ำบัด ก็สามารถเข้าถึงศิลปะบ�ำบัดผ่านทาง Studio Persona สตูดิโอนี้ เป็นสตูดิโอจัดกิจกรรมเกี่ยวศิลปะบ�ำบัดโดยตรง ทั้งศิลปะบ�ำบัดและ เว ิร์คช็อปทางศิลปะ รวมถึงสตูดิโอยังจัดให้พื้นที่เช่าส�ำหรับคนที่ ต้องการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับศิลปะไม่ว่าจะเป็นแขนงไหนก็ตาม

71


“ ศิลปะบ�ำบัดในมุมมองของพี่ปัทมองว่า เป็นกระบวนการทางเลือกส�ำหรั บคนที่ชอบ หรือสนใจศิลปะส�ำหรับการดูแล สร้างสมดุล ภายใน กระบวนการศิลปะบ�ำบัดไม่เกี่ยวกับ ทักษะ ไม่ต้องมีพื้นฐานก็สามารถเข้าร่วมได้ ท� ำ งายภายใต้ พื้ น ที่ แ ละความสั ม พั น ธ์ ที่ ปลอดภัย ให้เวลาในการเรียนรู ้ เข้าใจเพื่อให้ เกิดความเปลี่ยนแปลง การยอมรับตามแต่ วัตถุประสงค์ของแต่ละบุคคล ” ปรัชญาพร วรนันท์ ผู้ท�ำกระบวนการศิลปะบ�ำบัดใน

“ สตูดิโอเพอโซน่า คือ พื้นที่กิจกรรมเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมสุข ภาวะอย่างสร้างสรรค์ผ่านกระบวนการศิลปะ ผู้เข้าร่วมไม่ต้องมี ประสบการณ์ หรือวาดรู ปเป็นก็สามารถร่วมกิจกรรมกับเราได้ เรามี ความตั้งใจอยากให้ศิลปะเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลจิตใจและทุกความ รู ้สึกของคุณ รวมถึงสร้างความผ่อนคลาย สนุกสนาน เป็นพื้นที่ ปลอดภัยของทุกคน”

72

Contact - ข้อมูลติดต่อ 660 Asok-Din Daeng Rd, Khwaeng Makkasan, Khet Ratchathewi, Krung Thep Maha Nakhon กรุ งเทพมหานคร E-mail : info@studio-persona.com http://www.studio-persona.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.