RESUME
INTRODUCTION I 1
RESUME I 2
CONTENTS
CONTENT I 4
BASIC DESIGN
(พื้นฐานการออกเเบบ)
การศึกษาพื้นฐานการออกเเบบ เเนวคิด วิธีการ กระบวนการที่นำ�ไปสู่ผลงานการออกเเบบ โดยเริ่มศึกษาจากธรรมชาติ รอบตัว เช่น ต้นไม้ ดอกไม้ พืชพรรณ ผัก ผลไม้ จากการสัง เกตุ เเละศึกษาทำ�ให้ได้เห็นองค์ประกอบโครงสร้างของพืช โดยในการศึกษานี้เลือก สร้อยกัทลี ซึ่งเป็นพืชพรรณเมืองร้อนมีต้นดระกูลเดียวกับกล้วยเพื่อมาศึกษา เเละเป็นต้นเเบบเพื่อหา วิธีการก่อรูปอย่างมีเเบบเเผน วิธีการ ขั้นตอน สร้อยกัทลีเป็นพืชที่มีัความน่าสนใจเป็นอย่างมาก นอกจากรูปลักษณ์ภายนอกที่เด่นชัดของตัวดอกที่เรียงตัว สลับดอกเเละมีขนาดลด หลั่นกันลงมาจนถึงปลายช่อ เเล้วยังมีความสลับซับซ้อนกันภายในซึ่งเป็นจุดกำ�เนิดของโครงสร้างทั้งหมด จากการผ่าภายในออกดูพบว่า สร้อยกัทลีมีลำ�ดับขั้นตอนพัฒนาการกำ�เนิด ที่มีจุดกำ�เนิดจากเกสรพัฒนากลายเป็นกลีบดอกขนาดเล็กเเล้วค่อยๆพัฒนาเป็นกลีบที่ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ โดยมีเเบบเเผนคือการสลับกลีบสองข้างซ้ายขวาสลับกันไปจนกลายเป็นดอกดอก BASIC DESIGN / DESIGN PROJECT I 5
RESUME
BASIC DESIGN
BASIC DESIGN
PRINCIPLE (องค์ประกอบ) องค์ประกอบของ สร้อยกัทลี ที่ส�ำคัญเเบ่งออก เป็นหลายส่วน เช่น ส่วนราก ล�ำต้น ใบ เเละดอก ในเเต่ ล ะส่ ว นประกอบเมื่ อ ศึ ก ษาลงลึ ก ไปในราย ละเอียดจะพบ ล�ำดับขั้นตอนของพัฒนาการจาก องค์ ป ระกอบย่ อ ยต่ า งๆจนการมาเป็ น องค์ ประกอบหลัก เเละมีโครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายๆ กันในเเต่ละองค์ประกอบ เช่นในส่วนของดอก เเละ ส่วนล�ำต้น ซึ่งเป็นส่วนที่มีความน่าสนใจมาศึกษา
ดอก มีส่วนประกอบเริ่มจากเกสร คือองค์ประ กอดในสุด เเล้วพัฒนากลายเป็นกลีบดอกที่จะมี ขนาดเล็ ก เเล้ ว ค่ อ ยๆขยายขนาดจนใหญ่ เ เล้ ว มี กลี บ ดอกใหม่ ขึ้ น เเทนในลั ก ษณ์ เ กิ ด ขึ้ น ซ้ อ นจาก ด้านในออกมาด้านนอกจนกลายเป็นดอกในที่สุด
ล�ำต้น มีส่วนประกอบเริ่มจาก เเกนกลางภายใน ล�ำต้นท�ำหน้าที่ล�ำเลียงอาหารขึ้นไปหล่อเลี้ยงส่วน ต่างๆ ถัดมาจะเป็นล�ำต้นชั้นนอกมีลักษณะคล้าย กลีบมาเกาะกลับแกนกลาง เเละซ้อนๆกันออกไป คล้ายกับโครงสร้างของดอก ในลักษณะเดียวกัน BASIC DESIGN BASIC DESIGN / DESIGN PROJECT I 6
TRANSFROMATION พัฒนาการจากองค์ประกอบทางธรรมชาติแปลงไปสู่รูป ทรงเเละรู ป ร่ า งทางเรขาคณิ ต เพื่ อ น� ำ ไปใช้ ใ นการ ออกเเบบต่อไป เริ่มจากเลือกองค์ประกอบที่น่าสนใจเเล้ว น�ำมาสู่ขั้นตอนการแปลงอย่างมีหลักการ เช่น การเริ่ม จากหาจุดจากรูปร่างเพื่อเป็นจุดอ้างอิงที่จะน�ำมาก�ำเนิด เรขาคณิ ต ที่ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ รู ป ร่ า งขององค์ ประกอบเดิม กลายเป็นหน่วยหนึ่งในระบบ้ของโครงสร้าง
UNITS หน่วย หน่วยหนึ่งที่ได้จากการเเปลงรูปทางเรขาคณิตจะ เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างในการออกเเบบ ซึ่งจะน�ำ มาสร้างความต่อเนื่องโดยมีข้อต่อ หรือ ส่วนที่ท�ำหน้าที่ เป็นส่วนเชื่อมโยงของเเต่ละหน่วยเข้าด้วยกัน จากหน่วย เล็กกลายเป็นหน่อยใหญ่ขยายออกไปเรื่อย อย่างมีเเบบ แผนเเละระบบเดียวกันทั้งระบบ น�ำไปสู่ขั้นการออกเเบบ
BASIC DESIGN / DESIGN PROJECT I 7
RESUME
ขั้นตอนการออกเเบบ น�ำหน่วยของโครงสร้างที่ได้จากการเเปลงรูป เพื่อมาเป็นเรขาคณิตมาออกเเบบเป็นโครงสร้างที่มีลักษณะคล้าย สะพานมีจุดเชื่อมต่อ มีจุดรองรับ มีการถ่านเทน�้ำหนัก โดยโครงสร้าง ทั้งหมดสามารถทรงตัวอยู่ได้เกิดจากการเรียงตัวของหน่วยโครง สร้างเเละข้อต่อ ท�ำงานร่วมกันในเชิงเรขาคณิต อย่างมีระบบระเบียบ
BASIC DESIGN / DESIGN PROJECT I 8
KIOSK DESIGN
โปรแกรมออกเเบบร้านค้าอาหารขนาดเล็ก เป็นการศึกษาเรื่องของสัดส่วนมนุษย์เพื่อ น�ำมาใช้ในการออกเเบบ ขนาด ระยะต่างๆได้มาจากการสัดส่วนที่เหมาะสมกับตัวผู้ขาย เเละผู้ซื้อ เพื่อหาการเเบบที่เหมาะต่อการใช้งาน รวมไปถึงพฤติกรรม กิจกรรมที่เกิดขึ้น ตัวร้านค้ามีเเนวคิดมาจาก ความกระทันรัดสะดวกสะบาย เเบบที่ออกมาจะมีส่วนที่พัด ดึง ต่อ เพื่อปรับเปลี่ยนการใช้งานตามความเหมาะสม เเละแก้ปัญหาที่มักเกิดกับร้านค้า
BASIC DESIGN / DESIGN PROJECT I 9
BASIC DESIGN / DESIGN PROJECT I 10
Final Model Scale 1: 2
RETHINKING CO - LIVING TOWNHOUSE บ้านเเถวเเนวคิดใหม่ บ้านเเเเถว 6 ยูนิต 1 พื้นที่ส่วนกลาง ผู้อยู่อาศัยคือ เกษตกร โครงการนี้มีเเนวคิดคือ การเเบ่งปั่นพื้นที่ร่วมกัน มีการเเบ่งพื้นที่ส่วนตัวเเละส่วนรวมอย่างเป็น สัดส่วน มีพื้นที่เเปลงปลูกผักเเละที่อยู่อยู่อาศัย ชาวสวนสามารถเเชร์ส่วนชั้น 1 ที่เป็นแปลงปลูกผักร่วมกันรวมไปถึงพื้นที่ส่วนกลางเป็นร้านอาหารเเละขายเพื่อผลประโยชน์ทางการค้า BUILDING DESIGN / DESIGN PROJECT I 11
SHOPHOUSE @ BANGKHUNNON ประเภทโครงการ : ศูนย์การค้าขนาดเล็ก ร้านค้า ร้านอาหาร ลักษณะโครงการ : รีโนเ วท ขนาด : ตึกเเถว 10 คูหา เเนวคิด : จุดเชื่อมต่อการคมนาคม ของย่าน ทั่งรถไฟฟ้า รถไฟ รถยนต์ รถสองเเถว วินมอเตอร์ไซน์
การออกเเบบค�ำนึงถึงโครงสร้างอาคารเป็นหลัก เนื่องจากเป็นการปรับปรุงอาคาร พื้นที่ใช้สอยจึงถูกจ�ำกัด ท�ำให้ต้อง ค�ำนึงถึงความรู้สึกของผู้ใช้งาน เพื่อให้รู้สึกไม่อึดอัดจึงมีการเเบ่งโซนภายนอกเเละภายในอาคาร เเละเเทรกพื้นที่สีเขียว ระหว่างร้านค้าท�ำให้ผู้ใช้งานได้รับอากาศเเละแสงธรรมชาติ ท�ำให้รู้สึกสบายผ่อนครายในระหว่างช็อปปิ้งภายในอาคาร BUILDING DESIGN / DESIGN PROJECT I 12
พิพิธภัณท์ศิลปะสมัยใหม่ กรุงเทพมหานคร ขนาดพื้นที่ 17000 ตรม. ถนนพระราม 4 มีพื้นที่จัดเเสดงนิทรรศการทั้งแบบชั่วคราวถาวร รวมถึงพื้นที่จัดกิจกกรรมทางศิลปะ ในส่วนของการออกเเบบมีเเนวคิด น�ำเเสงธรรมชาติ เเละเเสงประดิษฐ์เข้ามาท�ำงานร่วม กับตัวอาคารผ่านทางช่องเปิดต่างๆ เนื่องจากเเสงกับงานศิลปะมีความส�ำคัญมาก เพื่อ ให้ผลงานที่จัดเเสดงออกมาดูโดดเด่นต้องอาศัยการจัดการเเสงผ่านสถาปัตยกรรม
MUSEUM OF MODERN ART BANGKOK
TOP VIEW PERSPECTIVE
BUILDING DESIGN / DESIGN PROJECT I 14
INTRODUCTION I 15
Final Model Scale 1: 2
Final Model Scale 1: 2
ศรัทธาสถาน sàt-taa sà-tăan Final Model Scale 1: 2
Final Model Scale 1: 2
การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ที่ จ ะรวมพื้ น ที่ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาต่างศาสนาที่ มีความเชื่อความศรัทธาเพื่อเป็นศูนย์รวม ก�ำลังใจเเบบชั่วคราวในยามเกิดวิกฤต เช่น เกิ ด ภั ย ธรรมชาติ ใ นพื้ น ที่ ห ่ า งไกลที่ มี ผู ้ นับถือหลากหลายศาสนาโดยใช้การออก เเบบสถาปัตยกรรมเพื่อช่วยแก้ไขปัญหา SKETCH DESIGN / DESIGN PROJECT I 16
WHPH OFFICE BUILDING โครงกาiประกอบด้ ว ยออฟฟิ ต เเละศู น ย์ สุ ช ภาพ ขนาดพื้นที่ 6500 ตรม. ย่านสาทร กรุงเทพมหานคร ออกเเบบพื้นที่สำ�หรับคนที่ทำ�งานหนักเเละรักสุขภาพ
BUILDING DESIGN / DESIGN PROJECT I 17
YANNAWA HOLISTIC HOSPITAL โรงพยาบาลส�ำหรับผู้ป่วยทั่วไปเเละการเเพทย์ทางเลือก ขนาด 80 เตียง 12000 ตรม. ที่ตั้งโครงการ ริมเเม่น�้ำเจ้าพระยา เขตยานาวา ติดกับสถานีBTSสะพานตากสิน กทม. โครงการประกอบด้วยเเผนกการแพทย์แผนปัจุบัน รักษาโรคทั่วไป เเละการเเพทย์แผน ไทยประยุกต์ ส�ำหรับรักษาบ�ำบัดโรคเเบบทางเลือกรวมถึงการนวดสปาบ�ำบัดแบบไทย เเนวคิดในการออกเเบบ เนื่องจากพื้นที่ตั้งโครงการมีมุมมองที่ดีไปสู่เเม่น�้ำจึงต้องการ สร้างเเนวเเกนเเบบตรงไปตรงมาเพื่อต้องการสร้างสภาพเเวดล้อมที่เชื่อมต่อตั้งเเต่ทาง เข้าโครงการที่ติดกับถนนด้านหน้าไปสู่พื้นที่ริมน�้ำทางด้านหลังโครงการ ระหว่างเส้น เเนวเเกนจะประกอบไปด้วยธรรมชาติที่สวยงาม ผ่านพื้นที่ใช้งานของผู้ป่วยท�ำให้ผู้ป่วย ได้ใช้ประโยชน์ทั้งออกไปใช้งานรวมถึงการมองเห็นวิวเเม่น�้ำสวย ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี
Interior Perspective
Exterior Perspective BUILDING DESIGN / DESIGN PROJECTN I 18
BANGKOK THEATRE COMPLEX โรงละครมหรสพ โรงภาพยนต์ ขนาดพื้นที่รวม 33700 ตรม. ประกอบด้วย 1 โรงละครขนาดใหญ่ 2 โรงขนาดเล็ก 4 โรงภาพยนต์ น�ำเอกลักษณ์การเเบ่งพื้นที่เเบบเรือนไทยสมัยเก่ามาเป็นเเนวคิดใน การออกเเบบรวมถึงเอกลักษณ์สถาปัตยกรรมเเบบไทยองค์ประกอบ ต่างๆมาใส่ไว้ในการออกเเบบเเละตกเเต่ง สื่อถึงโรงมหรสพเเบบไทย BUILDING DESIGN / DESIGN PROJECT I 20
SUPER LUXURY CONDOMINIUM ที่ตั้งโครงการ : BST พร้อมพงค์ ขนาดพื้นที่ 49000 ตรม. ชุดห้องพักอาศัย 200 ยูนิต พื้นที่ออฟฟิต 4000 ตรม. พื้นที่ส่วนกลาง 4300 ตรม.
BUILDING DESIGN / DESIGN PROJECT I 21
Final Model Scale 1: 2 sdfsd k;lksd;fksdk /ksd;fk;sdfksdf kl’sdkfp ks;dk f;lsdk pfksdkf;lh
Final Model Scale 1: 2 sdfsd k;lksd;fksdk /ksd;fk;sdfksdf kl’sdkfp ks;dk f;lsdk pfksdkf;lh BUILDING DESIGN / DESIGN PROJECT I 22
SUPER NATURAL HOUSE
ELLE Decoration Young Talent Design Project 2015
COMPETITION / DESIGN PROJECT I 23
COMPETITION / DESIGN PROJECT I 24
CO - CREATION SPACE พื้นสร้างสรรค์ระหว่างกัน ถนนเจริญกรุง กรุงเทพฯ โครงการศึกษาวิทยานิพนธ์มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา เเละออกแบบพื้ น ที่ ที่ จ ะเป็ น ศู น ย์ ร วมกิ จ กรรม สร้างสรรค์ ท�ำให้ผู้คนในสังคมปัจจุบันมีปฏิสัมพันธ์ THESIS 2016 - Co - Creation Space
THESIS / DESIGN PROJECT I 25
มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ร่ ว มกั น อย่ า งสร้ า งสรรค์ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงกิจกรรมที่เป็นงานอดิเรกเพื่อใหครอบคลุม กิจกรรมที่เป็นความต้องการของผู้ใช้งานทำ�ให้เกิดเป็นชุมชนของ คนที่มีความคิดสร้างสรรค์และต้องการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
BUILDING DESIGN
THESIS / DESIGN PROJECT I 26
พื้นที่ตั้งโครง ริมเเม่น�้ำเจ้าพระยา สถานีรถไฟ BTS สะพานตากสิน เเขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร ขนาดพื้นที่ 8800 ตรม. จุดเชื่อมต่อการคมนาคมหลักจุดหนึ่งของเมือง มีท่าเรือสาทร BTS รวมถึงขนส่งขนาดเล็ก รถเมลล์ วินมอเตอร์ไซค์ รถสองเเถว
THESIS 2016 - Co - Creation Space
THESIS / DESIGN PROJECT I 27
รูปตัดเเสดงให้เห็นความสูงของอาคารในโครงการ เเละบริบทโดยรอบ ซึ่งมีความสำ�คัญต่อมุมมองที่จะส่งผลต่อกิจกรรมต่างๆ
จำ�เเนกกลุ่มผู้ใช้งานออกเป็นเเต่ละวัย ตามที่ีสำ�รวจได้ในพื้นที่ เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มผู้ใช้งานในทุกๆวัย โดยท้ายที่สุดคำ�ว่า”พื้นที่สร้างสรรค์ นั้นจะออกมาจากกลุ่มผู้ใช้งาน เเละกิจกรรมทีเ่ ป็นความต้องการของผูใ้ ช้งานทีเ่ เท้จริงโดยออกเเบบให้เข้ากับสภาพเเวดล้อมทีม่ ศี กั ยภาพกลายมาเป็นตัวสถาปัตยกรรมทีม่ เี อกลักษณ์ตอบสนองความต้องการผูใ้ ช้ได้จริง THESIS / DESIGN PROJECT I 28
INTERIOR RANDER BUILDING FINAL MODEL SCALE 1 : 250 หุ่นจ�ำลองเเสดงตัวอาคาร ทั้งหมดภายในโครงการ รวมถึงการภูมิสถาปัตย์ โดยรอบที่ ออกเเบบสอกคล้องกับพื้นที่ริมน�้ำ เเละบริบทอาคารโดยรอบ THESIS 2016 - Co - Creation Space
THESIS / DESIGN PROJECT I 29
โครงการวิทยานิพนธ์ พื้นที่ส้รางสรรค์ระหว่างกัน ได้เข้าร่วมจัดเเสดงในนิทรรศการเเสดงวิิทยานิพนธ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 5 ปีการศึกษา 2559 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอสมุดกรุงเทพมหานคร วันที่ 15 - 30 สิงหาคม 2560
THESIS / DESIGN PROJECT I 30
LOW-RISE CODOMINIUM BANGSEAN
คอนโดมิเนียมขนาดเล็กสำ�หรับนักกีฬาขนาด 64 ห้องพัก 6 บังกะโร พร้อมสนามฝึกซ้อมกีฬาประเภทชายหาด ห้องฟิตเนส สระว่ายน้ำ� รองรับการฝึกซ้อมสำ�หรับนักกีฬามืออาชีพ
CONSTRUCTION DRAWING / CONSTRUCTION PROJECT I 31
RESUME
OFFICE BUILDING
อาคารสำ�นักงานขนาด
26000
ตรม.
CONSTRUCTION DRAWING / CONSTRUCTION PROJECT I 32
FLOATING HOUSE บ้านลอยน�้ำ ระบบการก่อสร้างเเบบส�ำเร็จรูป (Prefabrication) สะดวกต่อการก่อสร้าง เเละใช้เวลาน้อย ด้วยการออกเเบบตามขนาดมาตรฐานเดิมของวัสดุ ท�ำให้ควบคุมความ คุ้มค่าของงบประมาน ไม่มีเศษเหลือของวัสดุ ออกเเบบชิ้นส่วนเป็นระบบ โมดูล่ากริด ชิ้น ส่วนเเต่ละชิ้นจะถูกผลิตเป็นชิ้นๆมาจากโรงงาน เเล้วน�ำมาประกอบที่ริมเเม่น�้ำ จะมีชิ้น ส่วนฐานทุ่นลอยน�้ำที่จะต้องท�ำการหล่อหน้าที่ตั้งบริเวณเเม่น�้ำส่วนตัวบ้านโครงสร้าง หลักเป็นเหล็กเเละไม้ ซึ่งมีน�้ำหนักเบา ท�ำการประกอบเเละยึดด้วยหัวน็อตทั้งหลัง PREFABLICATION / CONSTRUCTION PROJECT I 33
ผังบริเวณเเสดงการก่อสร้างที่บริเวณริมเเม่น�้ำ
รูปตัดเเสดงให้เห็นตั้งเเต่ ทุ่นลอยน้ำ�ที่มีห้องเคลื่องยนต์เเละ ที่สำ�หรับจอดเรือลำ�เล็ก PREFABLICATION / CONSTRUCTION INTRODUCTION PROJECT I 34
THE-REMARK SA-SRI-SIAT โครงการออกเเบบ URBAN LANDMARK ส�ำหรับพื้นที่อ่างเก็บน�้ำสระสี เสียด จังหวัดตราด จากการศึกษาระบบนิเวศ เเละชุมชนชาวบ้านที่อาศัยอยู่บริเวณรอบอ่าง เก็บน�้ำ พบว่ากิจกรรมที่ต้องการให้เกิดจะเป็น กิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยวในเมือง เเละเป็นพื้นที่เอนกประสงค์ส�ำหรับท�ำกิจกรรม ร่ ว มกั น ของคนในพื้ น ที่ โ ดยการออกเเบบได้ ค�ำนึงช่วงเวลา ฤดูกาล ระดับในอ่างจะสูงขึ้นใน ฤดูฝนจะมีน�้ำเต็มอ่าง มีทัศนียภาพที่ดีเหมาะแก่ การท่องเที่ยวจึงมีเเนวคิดที่จะจัดเป็นการท่อง เที่ยวตามฤดูกาลเเต่ละฤดูกาลจะมีกิจกรรมทาง น�้ำที่เหมาะสมที่เเตกต่างกัน เช่น เล่นกีฬาทางน�้ำ การจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ าทางน�้ ำ โดยเเบ่ ง เป็ น ระดับชิลๆในฤดูน�้ำน้อยจนถึงเเข่งขันในช่วงฝน
ภาพทัศนียภาพบริเวณรอบอ่างในช่างน�้ำเต็ม อ่ า งเป็ น ฤดู ฝ นช่ า งกลางปี จ นถึ ง ปลายปี REMARK PROJECT 2016 : LANDMARK SA SRI SEAT TRAD THAILAND
LANDSCAPE RENDERING / RENDERING I 35
Final Model Scale 1: 2 sdfsd k;lksd;fksdk /ksd;fk;sdfksdf kl’sdkfp ks;dk f;lsdk pfksdkf;lh
พืน้ ทีเ่ ล่นน้ำ�ในระดับชิลๆซึง่ เป็นการเล่นน้ำ�ในระดับต่่ำ�เช่นนัง่ เเช่น้ำ�หรือการเล่นน้ำ�สำ�หรับเด็กๆในพืน้ ท ี่เป็นเหมือนการมาพักผ่อนโดยอาจจะไม่จำ�เป็นต้องลงไปสัมผัสน้ำ�เเบบเต็มตัวหรือเต็มที่ เเต่อาจจะเป็นการผ่อนคลายหรือเล่นน้ำ�โดยใช้ความรูส้ กึ รับรูถ้ งึ ประสบการณ์ทไี่ ด้มาสัมผัสมากกว่า เช่นอาจจะเป็นการรับรูป้ ระสบการณ์ผา่ นการมอง โดยเป็นประสบการณ์ในฤดูนำ�้ น้อย LANDSCAPE RENDERING / RENDERING I 36
Final Model Scale 1: 2 sdfsd k;lksd;fksdk /ksd;fk;sdfksdf kl’sdkfp ks;dk f;lsdk pfksdkf;lh
ประสบการณ์ทางน�้ำเเบบปานกลาง ระดับน�้ำในอ่างเเบบปานกลาง เหมาะเเก่การเล่นกีฬาทางน�้ำเเบบเล่นๆไปจนถึงระดับการเเข่งขัน มีพื้นที่ที่ออกเเบบริมขอบอ่างให้เป็นพื้นที่ส�ำหรับผู้ ชมการเเข่งขันกีฬา เเละพื้นที่สวนสาธารณะส�ำหรับออกก�ำลังกาย พื้นที่จัดกิจกรรมเอนกประสงค์ ไว้รองรับเทศการส�ำคัญต่างๆประจ�ำปีของชาวบ้านบริเวณรอบอ่างเก็บน�้ำ LANDSCAPE RENDERING / RENDERING I 37
RESUME
ประสบการณ์ทางน�้ำเเบบเอ็กซตรีม มีการจัดพื้นที่เพื่อการเล่นน�้ำเเบบผาดโผนในช่วงฤดูน�้ำเต็มอ่าง เมื่อน�้ำเต็มอ่างระดับน�้ำจะเอ่อล้นขอบอ่างที่มีการออกเเบบไว้ให้เเปรเปลี่ยนกิจกรรม ไปตามระดับน�้ำที่เปลี่ยนไป ท�ำให้ผู้ใช้งานได้รับประสบการณ์ที่เเตกต่างตลอดทั้งปี ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเข้ามาใช้งานทั้งจากคนในพื้นที่เเละนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวทะเลในจังหวัด LANDSCAPE RENDERING / RENDERING I 38
MODERN TOWNHOME งานเเสดงทั ศ นี ย ภาพภายนอกโครงการ Townhome Style Modern ตั้งอยู่ที่ประเทศ อินเดีย เลือกใช้โทนสีเเดงเข้ม เเละสีขาว รวม ถึงการใช้ไม้ตกเเต่ง ทำ�ให้รู้สึกดูสีกลมกลืนกัน กับธรรมชาติรอบข้าง เเต่ยังคงใช้วัสดุส่วนใหญ่ เป็นกระจกบานใหญ่ เเละ ราวกันตกระเบียง สะท้อนความเป็น Modern
EXTERIOR RENDERING / RENDERING I 39
SMILE BIKE BKK งานเเสดงทัศนียภาพการตกเเต่ง เเละ จัดเเสง ภายนอกเเละภายใน สตูดิโอออกเเบบตกเเต่ง ร้านขายจักรยาน โครงการ Smile Bike Bkk การเเบ่งพื้นที่จัดเเสดงจักรยานที่จัดเเสงให้เน้น ไปที่จัรยานเพิ่มความโดดเด่นน่าสนใจ เเละพื้นที่ ภายนอกร้านเป็นพื้นที่นั่งกินขนม เครื่องดื่ม พูด คุยสนทนากันเรื่องจักรยาน เเละสามารถมอง เข้าไปเห็น จักรยานที่จอดโชว์อยู่ภายในร้าน ผ่าน กระจกบ้านใหญ่
INTERIOR RENDERING / RENDERING I 40
T H E
G U I D E L I N E
ASA International Design Competition 2016 | What Is The New ‘Basic’?
COMPETITION / GRAPHIC PRESENTATION I 41
WHPH OFFICE BUILDING
COMPETITION / GRAPHIC PRESENTATION I 42
URBAN DESIGN STUDIO 2016 : BAAN PHANTHOM PHANAKHON BANGKOK
URBAN DESIGN / GRAPHIC PRESENTATION I 43
BAAN-PHAN-THOM เ เ บ บ เ เ ส ด ง ทั ศ นี ย ภ า พ โ ด ย ร ว ม ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น บ้ า น พ า น ถ ม ย่ า น วิ สุ ท ก ษั ต ริ ย์ ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร เเสดงถึ ง การพั ฒ นาอาคารเเละวิ ถี ชี วิ ต ในชุ ม ชน URBAN DESIGN / GRAPHIC PRESENTATION I 44
CAMERA AND CIRCULATION ANALYSIS Presentation Diagram ศึกษามุมมองเเละการเคลื่อนที่ของ กล้องเเบบ Longshot จากภาพยนต์เรื่อง Touch of Evil (1958) Movie : Touch of Evil (1958) - By Orson Welles , Universal Studio
CAMERA AND CIRCULATION ANALYSIS / GRAPHIC PRESENTATION I 45
PERSPECTIVE - PATTERN การศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ์์ ข องมุ ม มอง Perspectiveที่ มี ผ ลต่ อ patternในงาน สถาปัตยกรรม ( Location:พระทีน่ งั่ จักรีมหาปราสาท ) EXPERIMENTAL DRAWING / GRAPHIC PRESENTATION I 46
Petchsung s;ldfjkspdojkfsdlkfpoksd sd[pv[sdf]kv[pk df[bpvdf[pv dfvplk df[ ok df[k [pdfkl[fdlk[kldf[ df Woramet Petchsung s;ldfjkspdojkfsdlkfpoksd sd[pv[sdf] ผลงานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 264 201 วิวัฒนาการของชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
DOCUMENTARY FILM / VIDEO PRESENTATION I 47
พื้ น ที่ ริ ม น�้ ำ ควรเป็ น อย่ า งไร? สารคดีสั้นศึกษาเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมชุมชน เรื่อง พื้นที่ริมน�้ำ เล่ า เรื่ อ งราวผ่ า นเสี ย งของชาวชุ ม ชนมิ ต รคามริ ม เเม่ น�้ ำ เจ้าพระยา เป็นการลงพื้นที่ พูดคุย ศึกษาความเป็นอยู่ของชาว บ้าน ในชุมชน ว่าชาวบ้าน คิดว่า พื้นที่ริมน�้ำควรเป็นอย่างไร ? DOCUMENTARY FILM / VIDEO INTRODUCTION PRESENTATION I 48