801106-Yeepeng_Handbook

Page 1


คู่มือดําเนินงานกิจกรรม

สืบสานตํานานประเพณีโคมยีเ่ ปง

จัดทําโดย กลุ่มที่ 3 561710006 นายกิตติเดช มารยาท 561710027 นายตะวัน จันทร์สว่าง 561710034 นายธนาตย์ เอี่ยมสุรีย์ 561710042 นางสาวนันท์นภัส โกฎิแก้ว 561710047 นางสาวพรสวรรค์ เทพจันทร์ 561710053 นางสาวพิมพ์ผกา ศิลาเงิน 561710061 นายรัฐชาติ เชิญชู 561710071 นายศักราวุธ สุมา 561710080 นางสาวเสมอจิตต์ เจริญผล 561710082 นางสาวอัมพิกา น้ําคํา __________________________________________________________ คู่มือดําเนินงานกิจกรรมเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา 801106 การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาผ่านกิจกรรม 2 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557


คํานํา คู่ มื อ ดํ า เนิ น งานกิ จ กรรมสื บ สานตํ า นานประเพณี โ คมยี่ เ ป็ ง เล่ ม นี้ จั ด ทํ า ขึ้ น เพื่ อ รวบรวมข้อมูล รายละเอียดในการจัดและดําเนินกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง ทั้งประวัติที่มา รูปแบบการออกแบบโคมในแต่ละปี ขั้นตอนการดําเนินงาน บุคคลที่เกี่ยวข้อง กับกิจกรรมและการติดต่อประสานงานในการจัดกิจกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนําไปใช้เป็น คู่มือในการจัดและดําเนินกิจกรรมให้เป็นไปอย่างราบรื่นและรวดเร็ว ในการจัดทําคู่มือการดําเนินกิจกรรมเล่มนี้ คณะผู้จัดทําได้ทําการศึกษาและรวบรวม ข้ อ มู ล เพื่ อ ให้ ผู้ ที่ ศึ ก ษาได้ นํ า คู่ มื อ นี้ ไ ปในการดํ า เนิ น กิ จ กรรมได้ อ ย่ า งลุ ล่ ว งสมบู ร ณ์ ทั้งนี้ขอขอบคุณฝ่ายกิจการนักศึกษาบัณฑิตและวิชาชีพ หน่วยศิลปวัฒนธรรมและชุมชน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และผู้ที่ให้ข้อมูลทุกท่านมา ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทํา 28 สิงหาคม 2557

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


สารบัญ หน้า ก

คํานํา ที่มาและความสําคัญของกิจกรรม

1

ประวัติประเพณียี่เป็ง

2

ประวัติการจัดงานและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในแต่ละปี

2

ระยะเวลาและขอบเขตงานเบื้องต้น

8

หน่วยงานหรือกลุ่มบุคคลหลักในการจัดงาน

10

บรรณานุกรม

18

ภาคผนวก

19

ภาคผนวกที่ 1 เอกสารสมัครเข้าประกวดและเอกสารอื่นๆ

20

ภาคผนวกที่ 2 ข้อมูลการออกแบบ

25

ภาคผนวกที่ 3 รายชื่อผู้ให้สัมภาษณ์

31

ภาคผนวกที่ 4 รายชื่อผู้รบั ผิดชอบกิจกรรมสืบสานประเพณีโคมยี่เป็งปี 2556

32

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


1

กิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง ชื่อกิจกรรม

สืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง

ที่มาของชื่อกิจกรรม

เนื่องจากเป็นการจัดทําโคมส่งประกวดเนื่องในเทศกาลยี่เป็ง ซึ่งเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของการอนุรักษ์งานประเพณียี่เป็ง เชียงใหม่

วัตถุประสงค์ของกิจกรรม

1. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษา 2. เพื่ อ เป็ น การทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมประเพณี ไ ทย ท้องถิ่นล้านนา

ผู้จัดการประกวด

ชมรมผู้ประกอบการศูนย์การค้าย่านไนท์บาซาร์

ช่วงเวลาที่จดั กิจกรรม

ในงานเทศกาลโคมยี่เป็งทีจ่ ัดในวันลอยกระทงของทุกปี

สถานที่จัดกิจกรรม

บริ เ วณถนนช้ า งคลาน ย่ า นไนท์ บ าซาร์ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ตั้ ง แต่ บ ริ เ วณข่ ว งประตู ท่ า แพจนถึ ง หน้ า ศู น ย์ ก ารค้ า พันธุ์ทิพย์พลาซ่าเชียงใหม่

ที่มาและความสําคัญของกิจกรรม ประเพณียี่เป็งเชียงใหม่ถือเป็นประเพณีหนึ่งของชาวล้านนาที่เก่าแก่ยึดถือและปฏิบัติ สื บ เนื่ อ งกั น มาตั้ ง แต่ โ บราณกาล เป็ น ประเพณี ที่ ผ สมผสานวั ฒ นธรรมพื้ น เมื อ งต่ า งๆ เข้าด้วยกัน อาทิ เครื่องแต่งกาย ดนตรี การแสดง พร้อมสอดแทรกปรัชญาในการดําเนินชีวิต มานําเสนอในรูปแบบของขบวนแห่โคมยี่เป็งที่สวยงาม เป็นเอกลักษณ์ และแสดงถึงความ งดงามอ่ อ นช้ อ ยของศิ ล ปวั ฒ นธรรม จนเป็ น ที่ ป ระทั บ ใจแก่ ผู้ ที่ พ บเห็ น ทั้ ง ชาวไทยและ ชาวต่างชาติ ทําให้ชมรมผู้ประกอบการย่านไนท์บาซาร์ได้ตระหนักถึงคุณค่าของประเพณี ยี่เป็งเชียงใหม่และเพื่อเป็นการสืบทอดและอนุรักษ์ประเพณีอันดีงามของจังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนเพื่ อ ให้ โ อกาสนั ก ศึ ก ษาได้ ทํ า กิ จ กรรมที่ มี คุ ณ ค่ า ทางวั ฒ นธรรม ทางชมรม ผู้ประกอบการย่านไนท์บาซาร์จึงได้ร่วมกันจัดงานเทศกาลโคมยี่เป็งขึ้น ทางคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เปิดโอกาสให้นักศึก ษา แสดงความสามารถโดยการถ่ายทอดแนวคิดทางวัฒนธรรมไปสู่งานออกแบบผ่านกิจกรรม

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


2

โดยการร่วมมือกับหน่วยงานในคณะเข้าร่วมประกวดขบวนแห่โคมยี่เป็งในงานเทศกาลยี่เป็งนี้ ด้วย จึงเกิดเป็นที่มาของกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง (คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฝ่ายกิจการนักศึกษา บัณฑิตและวิชาชีพ, 2556)

ประวัตปิ ระเพณียี่เป็ง การลอยโคม เป็นประเพณีพื้นบ้านในวันเพ็ญเดือนสิบสอง ที่ชาวบ้านทางภาคเหนือ และภาคอีสานนิยมทํากัน ถือเป็นการปล่อยเคราะห์ ปล่อยโศกและเรื่องร้ายๆต่างๆ ให้ไปพ้น จากตัว แต่เดิมนั้นวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12 จะมีพิธีลอยกระทงเรียกว่า พระราชพิธีจองเปรียง ชักโคม ลอยโคม ซึ่งเป็นพิธีของพราหมณ์ กระทําเพื่อบูชาพระเป็นเจ้าทั้งสาม คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ครั้นคนไทยรับนับถือพระพุทธศาสนาก็ทําพิธี ยกโคม เพื่อบูชา พระบรมสารีริกธาตุ พระจุฬามณี ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ลอยโคมบูชาพระพุทธบาท ณ หาด ทรายแม่น้ํานัมมทานที ประเทศอินเดีย โคมลอยนั้น ในอดีตถือเป็นเครื่องหมายที่ใช้แสดงออกถึงการเป็นพุทธบูชาที่ชาวพุทธ มีต่อพระพุทธศาสนา และยังมีความเชื่อว่าการปล่อยโคมลอยนั้นจะ ให้หมดเคราะห์หมดโศก และช่วยส่งเสริมค้ําจุนดวงชะตาชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง สูงขึ้นไป ซึ่งในสมัยก่อนชาวบ้านก็ได้มี การจัดทําโคมที่ไว้ตั้งสําหรับเคารพบูชา แต่ต่อมาก็ได้เริ่มมีการทําโคมของแต่ละกลุ่ม หรือแต่ ละหมู่บ้าน จึงเริ่มเกิดประเพณีการแข่งทําโคมแล้วจัดเป็นขบวน เพื่อแสดงออกถึงความ เคารพ และแสดงถึงความงดงามซึ่งมาจากฝีมือของตนเอง จนการทําโคมได้แพร่กระจายไป เป็นวงกว้าง หลายกลุ่มหน่วยงานได้เข้ามาสนับสนุนและให้ความร่วมมือ จึงเกิดเป็นประเพณี การจัดขบวนโคมขึ้นมาทุกๆปี

ประวัติการจัดงานและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในแต่ละปี เทศกาลโคมยี่เป็งเชียงใหม่จัดครั้งแรกอย่างเป็นทางการประมาณปี พ.ศ. 2535 ซึ่ง การเข้าร่วมประกวดขบวนแห่โคมของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เริ่ม ประมาณปี พ.ศ. 2542 โดยนั ก ศึ ก ษาคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชีย งใหม่ รุ่นที่ 5 (รัฏฐา ฤทธิศร, บุรินทร์ ธารวิจิตรกุล, การสื่อสารส่วนบุคคล, 29 สิงหาคม 2557) ในช่วงแรก การประกวดโคมเป็นโครงการออกแบบส่วนหนึ่งของวิชา ปฏิบัติการออกแบบ สถาปั ต ยกรรม (Architectural Design Studio) ในชั้ น ปี ที่ 2 โดยมี ก ารให้ นั ก ศึ ก ษา ออกแบบร่าง (Sketch Design) ซึ่งจะนําแบบที่ได้ไปสร้างโคมและส่งเข้าประกวด (ปิยาฉัตร ศิริวรรณ, การสื่อสารส่วนบุคคล, 2 กันยายน 2557) ในปัจจุบันโคมยี่เป็งและขบวนได้ถูกออกแบบและจัดทําโดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 โดยมี ทางคณะและนักศึกษาชั้นปีอื่นๆให้การสนับสนุน เช่น เงินทุนในการจัดทําบางส่วนจากคณะ การเข้ามามีส่วนร่วมในการเดินขบวนแห่ของนักศึกษาชั้นปี 1 เป็นต้น

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


3

โดยการประกวดในแต่ละปีจะมีการกําหนดแนวคิดหลักของการจั ดงานมาให้ โดย รู ป แบบและแนวคิ ด ที่ ท างคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ได้ ส่ ง เข้ า ประกวดมีดังนี้

เทศกาลโคมยี่เป็งครั้งที่ 12 (พ.ศ.2546) ผู้ออกแบบและจัดทํา

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วันที่ประกวด

พฤศจิกายน 2557

แนวคิด

ไม่มีข้อมูล

รางวัล ไม่มีข้อมูล (ปิยาฉัตร ศิริวรรณ, การสื่อสารส่วนบุคคล, 2 กันยายน 2557)

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


4

เทศกาลโคมยี่เป็งครั้งที่ 14 (พ.ศ.2548) ผู้ออกแบบและจัดทํา

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วันที่ประกวด

15 พฤศจิกายน 2548

แนวคิด

“ปทุมนาคาบูชานที”

รางวัล

ชนะเลิศ

เทศกาลโคมยี่เป็งครั้งที่ 17 (พ.ศ.2551) ผู้ออกแบบและจัดทํา

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วันที่ประกวด

11 พฤศจิกายน 2551 (19.00 - 22.00 น.)

แนวคิด

“ปัทมามหานทีมณีแห่งปัญญา”

รางวัล

ชนะเลิศ

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


5

เทศกาลโคมยี่เป็งครั้งที่ 18 (พ.ศ.2552) ผู้ออกแบบและจัดทํา

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วันที่ประกวด

1 พฤศจิกายน 2552

แนวคิด

“ศาสนศรัทธา ศศิธรามหาราชัน”

รางวัล

ชมเชยอันดับ 1

เทศกาลโคมยี่เป็งครั้งที่ 19 (พ.ศ.2553) ผู้ออกแบบและจัดทํา

นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วันที่ประกวด

วันเสาร์ที่ 20 พฤศจิกายน 2553

แนวคิด

“เหมันต์ตระการล้านนา ศาสนศรัทธาใต้ร่มสลี จุดประทีปไหว้สาปาระมี องค์พระธาตุจุฬามณีเกตุแก้ว”

รางวัล

ชนะเลิศ

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


6

เทศกาลโคมยี่เป็งครั้งที่ 20 (พ.ศ.2554) ผู้ออกแบบและจัดทํา

สโมสรนักศึกษา ร่วมกับ งานนักศึกษาและบัณฑิต และ หน่วยศิลปวัฒนธรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วันที่ประกวด

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2554 เวลา 18.30 – 22.30 น.

แนวคิด

“โคมแก้วสะเปาคํา งามเลิศล้ําคืนยี่เป็ง”

รางวัล

ชนะเลิศ

เทศกาลโคมยี่เป็งครั้งที่ 21 (พ.ศ.2555) ผู้ออกแบบและจัดทํา

สโมสรนักศึกษา ร่วมกับ งานนักศึกษาและบัณฑิต และ หน่วยศิลปวัฒนธรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วันที่ประกวด

วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน 2555 เวลา 18.30 – 22.30 น.

แนวคิด

“จุดประทีปโคมทองส่องวิถี ฉลองพุทธ ชยันตรี แสงแห่งธรรม”

รางวัล

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


7

เทศกาลโคมยี่เป็งครั้งที่ 22 (พ.ศ.2556) ผู้ออกแบบและจัดทํา วันที่ประกวด

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ร่วมกับ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันเสาร์ที่ 16 พฤศจิกายน 2556 เวลา 18.30 – 22.30 น

แนวคิด

"โคมประทีปล้านนา ภูมิปัญญาวัฒนธรรม ล้านนาโคโลเนียล มนต์เสน่ห์ แห่งวันวาน"

รางวัล

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1

(http://www.arc.cmu.ac.th/gallery, 2548-2556)

เทศกาลโคมยี่เป็งครั้งที่ 23 (พ.ศ.2557) ผู้ออกแบบและจัดทํา

นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วันที่ประกวด

วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน 2557 เวลา 18.30 – 22.30 น

แนวคิด

"จุดโคมสายบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณี"

รางวัล

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1

(www.facebook.com/pran.maneerat, 2557) คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


8

ระยะเวลาและขอบเขตงานเบือ้ งต้น ระยะเวลาในการดําเนินออกแบบและจัดทําขบวนโคม กําหนดการเริ่มทํางานขึ้นอยู่กับแต่ละปีจะกําหนด แต่ส่วนใหญ่ทดี่ ําเนินการ มาจะเริ่มออกแบบและจัดทําก่อนวันจัดงานประมาณ 3-4 เดือน โดยมีกําหนดการ เบื้องต้นดังนี้ กําหนดเวลา การดําเนินงาน - เข้าพบคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์เพื่อ พูดคุยและทําความเข้าใจกับการทําโคม 4 เดือนก่อนงานโคมยี่เป็ง (ประมาณเดือนกรกฎาคม) - นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ประชุมตกลงและเลือกแนวคิด ของขบวน - ออกแบบขบวน และเริ่มลงมือจัดทํา โดยจะเริ่ม 3 เดือนก่อนงานโคมยี่เป็ง จากการทําส่วนโครงสร้างพร้อมๆกับฉลุลวดลาย (ประมาณเดือนสิงหาคม) ตกแต่งขบวนไปเรื่อยๆ 2 เดือนก่อนงานโคมยี่เป็ง - ตัวโคมใหญ่เสร็จ และเริ่มทําของส่วนต่างๆที่ใช้ใน (ประมาณเดือนกันยายน) การเดินขบวน - งานภาพรวมเสร็จ และเก็บรายเอียด 1 เดือนก่อนงานโคมยี่เป็ง - อัดเสียงที่ใช้ในการเดินขบวน (ประมาณเดือนตุลาคม) - ติดตั้งระบบไฟในขบวนต่างๆพร้อมๆกับจัดการ ตําแหน่งที่ยนื ต่างๆในรูปขบวน 1 สัปดาห์ก่อนงานโคมยี่เป็ง - ซักซ้อมเดินขบวนและการแสดงหน้าประธานใน (ประมาณเดือนพฤศจิกายน) พิธี พร้อมตรวจสอบความเรียบร้อยของขบวน - เดินขบวนในตอนเย็น และฟังผลการประกวด วันงานโคมยีเ่ ป็ง ขบวนโคม - นําของในขบวนกลับคณะ โดยแยกส่วนที่สามารถ ใช้ต่อได้เก็บไว้ในห้องแสงเสียง (Sound room) หลังจากวันงาน เช่น โครงไม้ของโคมใหญ่หรือโคมเล็ก ส่วนของที่ ไม่สามารถใช้ต่อได้ก็ให้นําไปทิ้ง (ธวัชชัย ถกลกิจสกุล, การสื่อสารส่วนบุคคล, 7 กันยายน 2557; รุฒิชัย ไชยเดช, การสื่อสารส่วนบุคคล, 7 กันยายน 2557)

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


9

ระยะเวลาดําเนินการในวันจัดงานเทศกาลโคมยี่เป็ง เทศกาลโคมยี่เป็งจะจัดในวันลอยกระทง (วันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 2) ช่วงเดือน พฤศจิกายนของทุกๆปี โดยมีกําหนดการ ดังนี้ กําหนดเวลา การดําเนินงาน 13.30 น. - เคลื่อนโคมประธานและรูปขบวนไปทีศ่ ูนย์สถาปัตยกรรมล้านนาและจัด แต่งขบวน 17.00 น. - ตั้งขบวนทีบ่ ริเวณข่วงประตูท่าแพ 17.30 น. - เข้าร่วมขบวนแห่โคม 23.00 น. - นําโคมมาจัดแสดงที่ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา ตลอดเทศกาลโคมยี่เป็ง ***หมายเหตุ กําหนดการและสถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละปี

เส้นทางเดินขบวน จะเริ่มตั้งแต่ข่วงประตูท่าแพ ไปตามถนนท่าแพ เลี้ยวขวาบริเวณแยกอุปคุตสู่ถนน ช้างคลาน และสิ้นสุดขบวนบริเวณเวทีกลางหน้าศูนย์การค้าพันธุ์ทิพย์พลาซ่าเชียงใหม่

รูปแสดงเส้นทางเดินขบวน (Google Maps, 2013)

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


10

หน่วยงานหรือกลุ่มบุคคลหลักในการจัดงาน หน่วยงานทีจ่ ัดการประกวด : ชมรมผูป้ ระกอบการศูนย์การค้าย่านไนท์บาซาร์ ผู้รับผิดชอบโครงการ : ฝ่ายกิจการนักศึกษา บัณฑิตและวิชาชีพ ร่วมกับ หน่วยศิลปวัฒนธรรมและชุมชน หน้าที่หลัก 1. เป็นผู้รบั ผิดชอบจัดทําโครงการเพื่อขออนุมัติจากคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 2. ดําเนินการจัดประชุมฝ่ายนักศึกษาบัณฑิตและวิชาชีพร่วมกับสโมสรนักศึกษาคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ - การเตรียมงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบฝ่ายต่างๆ - การติดตามความคืบหน้าของการเตรียมงาน - การสรุปและประเมินผลการจัดกิจกรรม 3. เป็นผู้รบั ผิดชอบจัดทํารายงานสรุปและประเมินผลโครงการเสนอต่อคณบดีคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สโมสรนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ หน้าที่หลัก 1. เป็นผู้รับผิดชอบในการออกแบบและจัดทําโคมเข้าประกวด โดยมีนักศึกษาชัน้ ปีที่ 2 เป็น ผู้รับผิดชอบหลัก แบ่งหน้าที่เป็นฝ่ายต่างๆดังนี้ 1. ฝ่ายออกแบบ 2. ฝ่ายประสานงาน 3. ฝ่ายบัญชีและการเงิน 4. ฝ่ายจัดสร้างโคม 5. ฝ่ายขบวน

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


11

ภาระหน้าที่ผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง 1. ฝ่ายออกแบบ จํานวนบุคลากร ลําดับ

บุคลากร

จํานวน (คน)

1

หัวหน้าฝ่าย

1

2

รองหัวหน้าฝ่าย

1

3

หน่วยออกแบบขบวนและรูปทรงโคม

4

4

หน่วยออกแบบโครงสร้าง

3

5

หน่วยออกแบบแสงและระบบไฟฟ้า

3

6

หน่วยออกแบบการแสดง

4

หน้าที่ ก. หน่วยออกแบบรูปทรงโคมและขบวน - ออกแบบแนวคิดหลักทีจ่ ะใช้ในการประกวด - ออกแบบรูปทรง สี และลวดลายของโคม (ดูภาคผนวกที่ 1 ข้อมูลการออกแบบ ลวดลวยโคมประกอบ) วิธีการ การตัดสินใจเลือกแบบที่จะนําไปใช้จัดสร้างจะใช้การออกเสียง (Vote)

โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ - ออกแบบขบวนแห่ (ดูภาคผนวกที่ 1 ข้อมูลการออกแบบ ผังขบวนแห่ประกอบ) ข. หน่วยออกแบบโครงสร้าง - ออกแบบโครงสร้างสําหรับสร้างโคมจากแบบทีไ่ ด้รับมาจากหน่วย ออกแบบรูปทรงโคมและขบวน ค. หน่วยออกแบบแสงและระบบไฟฟ้า - ออกแบบการติดตั้งหลอดไฟภายในโคม ต่อวงจรไฟฟ้า วางระบบสายไฟ คุณสมบัติ เป็นบุคคลที่มีความรู้เรื่องระบบไฟฟ้า ง. หน่วยออกแบบการแสดง - ออกแบบการแสดงที่จะใช้แสดงในขบวน

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


12

2. ฝ่ายประสานงาน จํานวนบุคลากร ลําดับ

บุคลากร

จํานวน (คน)

1

หัวหน้าฝ่าย

1

2

รองหัวหน้าฝ่าย

1

3

หน่วยประสานงานกับคณะ

2

4

หน่วยประสานงานกับหน่วยงานประกวด

3

5

หน่วยประสานงานในชั้นปี

3

6

หน่วยควบคุมและแจกจ่ายงาน

4

หน้าที่ ก. หน่วยประสานงานกับคณะ - ประชุมความคืบหน้ากับคณะ และกําหนดกําหนดการ ข. หน่วยประสานงานกับหน่วยงานประกวด - ประชุมรายละเอียดต่างๆ สมัครการประกวดและจับฉลากขบวน ค. หน่วยประสานงานในชัน้ ปี - ชี้แจงความคืบหน้ารวมถึงข้อมูลต่างๆในชั้นปี ง. หน่วยควบคุมและแจกจ่ายงาน - จัดระบบ ควบคุม แจกจ่ายงานให้งานเกิดความคืบหน้า 3. ฝ่ายบัญชีและการเงิน จํานวนบุคลากร ลําดับ

บุคลากร

จํานวน (คน)

1

หัวหน้าฝ่าย

1

2

รองหัวหน้าฝ่าย

1

3

หน่วยเก็บและเบิกเงิน

2

4

หน่วยจัดซื้ออุปกรณ์

2

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


13

หน้าที่ ก. หน่วยเก็บและเบิกเงิน - เก็บเรี่ยไรเงินจากนักศึกษาชั้นปีที่ 2 เพื่อนําไปใช้ในการดําเนินกิจกรรม - รวบรวมเอกสารทางการเงินและเก็บรวบรวมบัญชีรายรับรายจ่ายต่างๆ เพื่อนําไปทําเรื่องเบิกเงินจากทางคณะ - ดูแลควบคุมรายจ่ายให้เรียบร้อยถูกต้อง ข.หน่วยจัดซือ้ อุปกรณ์ - ดูแลจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้เหมาะสมกับงบประมาณที่ได้รับ คุณสมบัติ มีรถยนต์สําหรับขนส่งของ ข้อมูลการเบิกจ่าย - การเบิกจ่ายคุรุภัณฑ์ แบ่งเป็น 1. ค่าอุปกรณ์ในการเดินขบวน ได้แก่ ตราสัญลักษณ์ ป้าย เครื่องสักการะ ร่ม ช่อช้าง ตราประทีป โคม ดอกไม้ กระดาษฟอยล์ (Foil) ฟองน้ําจัดดอกไม้ (Oasis) 2. ค่าเครื่องแต่งกาย ได้แก่ เครื่องแต่งกาย รองเท้าเดินขบวน 3. ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ค่าอาหาร ยานพาหนะ ค่าบุคลากร - การเบิกจ่ายเงิน ได้จาก 3 ช่องทางดังนี้ 1. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ทางคณะให้เงินมาจํานวนหนึง่ 2. นักศึกษา เรี่ยไรเงินภายในชั้นปีที่จัดทํา 3. ผู้สนับสนุน ช่องทางนี้ได้เฉพาะบางปี - การหารายได้จากผู้สนับสนุน เนื่องจากผู้สนับสนุนในแต่ละปีมีความแตกต่างกัน ในบางปีอาจไม่มี ผู้สนับสนุนทําให้งบประมาณที่ได้มีความไม่แน่นอน

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


14

ตัวอย่างงบประมาณของโครงการสืบสานตํานานโคมยี่เป็งประจําปี 2556

งบประมาณโครงการได้มาจาก 2 ช่องทาง คือ 1. เงินที่ได้รับการสนับสนุนจากทางคณะเป็นเงินงบประมาณรายจ่าย เงินรายได้ประจําปี 2557 แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นั ก ศึ ก ษา กองทุ น กิ จ การนัก ศึ ก ษา งบอุ ด หนุ น เฉพาะกิ จ – เงิ น โครงการพั ฒ นาคุ ณ ภาพ นักศึกษา รายการ

จํานวนเงิน (บาท)

1.ค่าสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ตกแต่งโคมและขบวน

20,000

2.ค่าสนับสนุนเครื่องแต่งกายเดินขบวน

5,000

3.ค่าเช่าเครื่องปั่นไฟ

3,000

4.ค่าวัสดุเชื้อเพลิงปั่นไฟ

500

5.ค่าจ้างเหมาพาหนะรับ-ส่ง

1,500

6.ค่าอาหารและเครื่องดื่มจัดเตรียมขบวน

2,500

7.ค่าจ้างเหมาแม่บ้านทําความสะอาด

1,000

8.ค่า รปภ. รักษาความปลอดภัย

1,200

9.ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด

300

10. ค่าตอบแทนเจ้าหน้าทีป่ ฏิบัติงานนอกเวลา รวม

3,040 38,040

2. นักศึกษาเรี่ยไรเงินภายในชั้นปีทจี่ ัดทําโดยเรี่ยไรเงินคนละ 1500 บาท 78 คน รวมเป็นเงิน ทั้งสิ้น 117,000 บาท โดยมีรายการค่าใช้จ่าย ดังนี้ รายการ

จํานวนเงิน (บาท)

ค่าไม้สําหรับสร้างโครงสร้างโคม

3,060

ค่าจ้างวงดนตรีพื้นเมือง

3,500

ค่าเสื้อผ้า

22,750

ค่ารองเท้า (รองเท้าแตะสีดํา)

5,000

ค่าเช่าเครื่องปั่นไฟ

5,000

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


15

ค่าอาหารและเครื่องดื่มจัดเตรียมขบวน

6,000

ค่าวัสดุทําโคมและจิปาถะ (เช่น กระดาษ โฟม ผ้า หลอดไฟ ฯลฯ)

28,000

ค่าเสื้อผ้าสําหรับนางรําและเทวดา

2,500

รวม

75,810

(สมฤทัย อุประสินธุ์, 2557) 4. ฝ่ายจัดสร้างโคม จํานวนบุคลากร ลําดับ

บุคลากร

จํานวน (คน)

1

หัวหน้าฝ่าย

1

2

รองหัวหน้าฝ่าย

1

3

หน่วยปฏิบัติงานฉลุลายโคม

15

4

หน่วยจัดทําโครงสร้างโคม

10

5

หน่วยประดับดอกไม้

5

6

หน่วยประดิษฐ์อุปกรณ์ตกแต่งและงานฝีมือ

4

7

หน่วยจัดแสงและระบบไฟ

4

หน้าที่ ก. หน่วยปฏิบัติงานฉลุลายโคม - จัดทําลายโคมลายธงต่างๆในขบวนทัง้ หมดให้สวยงาม คุ้มค่า และตรงตาม กําหนดเวลา - ประกอบและตกแต่งหรือซ่อมแซมโคมทีช่ ํารุด ข้อมูลการจ้างฉลุลายโคม ร้านบุปผา มโนวงค์ ข. หน่วยจัดทําโครงสร้างโคม - จัดทําโครงสร้างของโคมตามที่ออกแบบให้แข็งแรง ถูกต้องสมบูรณ์ และ เสร็จในเวลาที่กําหนดเพื่อจะได้นําโครงสร้างเข้าสู่ขั้นตอนการตกแต่งให้เร็ว ที่สุด

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


16

ค. หน่วยประดับดอกไม้ - ออกแบบการจัดดอกไม้ในขบวน - สั่งซื้อ ดูแล และ ทําการประดับตกแต่งดอกไม้ในขบวน ง. หน่วยประดิษฐ์อุปกรณ์ตกแต่งและงานฝีมือ - ทํางานฝีมือหรือเครื่องตกแต่งที่ต้องใช้ความประณีตและทักษะเฉพาะสูง เพื่อนําไปประดับโคม จ. หน่วยจัดแสงและระบบไฟ - ออกแบบแสง การจัดแสดง วางระบบไฟฟ้า และบริการในเรื่องแสงใน ขบวน รวมถึงเดินสายไฟภายในโคม 5. ฝ่ายขบวน จํานวนบุคลากร ลําดับ

บุคลากร

จํานวน (คน)

1

หัวหน้าฝ่าย

1

2

รองหัวหน้าฝ่าย

1

3

หน่วยควบคุมการเดินขบวน

5

4

หน่วยเดินขบวน

5

5

หน่วยควบคุมไฟ

2

6

หน่วยควบคุมเสียง

2

7

หน่วยสวัสดิการ

10

8

หน่วยเสื้อผ้า

2

หน้าที่ ก. หน่วยควบคุมการเดินขบวน - จัดรูปทรงและควบคุมการเดินขบวน ข. หน่วยเดินขบวน - เดินขบวนแห่โคม ค. หน่วยควบคุมไฟ - ควบคุมระบบไฟในขบวน ดูแลเครื่องปั่นไฟและสายไฟ

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


17

ง. หน่วยควบคุมเสียง - ควบคุมเสียงที่จะใช้ประกอบในขบวน ข้อมูลการติดต่อเช่าเครื่องเสียง 1. ร้านการมิวสิค หมายเลขโทรศัพท์ 081-8846993 2. ร้านลุงวัฒ หมายเลขโทรศัพท์ 086-9133727 3. ห้างหุ้นส่วนสามัญ ช่างอ๊อด มิวสิค ที่อยู่ 189/239 ม.9 ต.หนองจ๊อม อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50210 หมายเลขโทรศัพท์ 053-419762 , 081-7838011 (ปี 2555 ใช้บริการเช่าจากร้านนี้) หมายเหตุ ช่วงเดือนจัดงานจะมีคนเช่าจํานวนมาก อาจทําให้หาเช่าเครื่อง เสียงได้ลําบาก เพราะฉะนั้นจึงควรรีบติดต่อจองเครื่องเสียงไว้กอ่ น จ. หน่วยสวัสดิการ - แจกจ่ายอาหาร นําดื่มให้กับคนในขบวน ฉ. หน่วยเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย - จัดเตรียมเสื้อผ้าสําหรับเดินขบวน ข้อมูลการเช่าและซื้อเสื้อผ้า - ร้านพี่ก้อง - ร้านเก็ดมัม - คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ธวัชชัย ถกลกิจสกุล, การสื่อสารส่วนบุคคล, 18 กันยายน 2557) (สมฤทัย อุประสินธุ์, 2557)

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


18

บรรณานุกรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2548-2556). Activity Gallery. ค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2556, จาก http://www.arc.cmu.ac.th/gallery คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ฝ่ายกิจการนักศึกษา บัณฑิตและวิชาชีพ. (2556). ขออนุมัติจัดโครงการสืบสานประเพณียี่เป็ง. เชียงใหม่: ผูแ้ ต่ง. ชมรมผู้ประกอบการศูนย์การค้าย่านไนบาซาร์. (2556). ขอเชิญเข้าร่วมประกวดขบวนโคมยี่ เป็งครั้งที่ 22. เชียงใหม่: ผู้แต่ง. สมฤทัย อุประสินธุ.์ (2557). โคมให้น้อง. เชียงใหม่: ผู้แต่ง.

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


19

ภาคผนวก

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


20

ภาคผนวกที่ 1 เอกสารสมัครเข้าประกวดและเอกสารอื่นๆ

หนังสือเชิญเข้าร่วมประกวดโคมยี่เป็ง พ.ศ.2556

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


21

หนังสือเชิญเข้าร่วมประกวดโคมยี่เป็ง พ.ศ.2556

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


22

หนังสือเชิญเข้าร่วมประกวดโคมยี่เป็ง พ.ศ.2556

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


23

แบบสมัครเข้าร่วมประกวดโคมยี่เป็ง พ.ศ.2556

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


24

แบบสมัครเข้าร่วมประกวดโคมยี่เป็ง พ.ศ.2556

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


25

ภาคผนวกที่ 2 ข้อมูลการออกแบบ - ลวดลายโคม

ภาพแสดงรูปแบบโคมประธานประจําปี ๒๕๕๗ ออกแบบโดยนายฐิติ พึ่งพุทธ (บอกอ) นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รุ่นที่ 19

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


26

ภาพแบบขยายลวดลายโคม ออกแบบโดยนายฐิติ พึง่ พุทธ (บอกอ) นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์รนุ่ ที่ 19

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


27

-

ผังขบวนแห่

ผังขบวนแห่โคมยี่เป็ง ประจําปี พ.ศ. 2557

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


28

ผังขบวนแห่โคมยี่เป็ง ประจําปี พ.ศ. 2557

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


29

ผังขบวนแห่โคมยี่เป็ง ประจําปี พ.ศ. 2557

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


30

-

โครงสร้าง

ภาพแสดงแบบโครงสร้างโคมปี 2557 ออกแบบโดย นายวรภพ ประเสริฐทรัพย์ (ปั่นเป็ด) นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์รุ่นที่ 19

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


31

ภาคผนวกที่ 3 รายชื่อผู้ให้สัมภาษณ์

อ.ปิยาฉัตร ศิริวรรณ (อ.แอม) - ศิษย์เก่ารุ่นที่ 8 เคยร่วมจัดทํากิจกรรมประกวดโคมยี่เป็งเมื่อปี พ.ศ. 2546 อ.รัฏฐา ฤทธิศร - เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษากิจกรรมประกวดโคมยี่เป็งเมื่อปี พ.ศ. 2548 นายธวัชชัย ถกลกิจสกุล (แพง) - นักศึกษารุ่นที่ 18 หัวหน้าฝ่ายประสานงาน การทําโคมปี พ.ศ. 2556 นายรุฒิชยั ไชยเดช (เจิด) - นักศึกษารุ่นที่ 17 หัวหน้าฝ่ายประสานงาน การทําโคมปี พ.ศ. 2555 นายฐิติ พึ่งพุทธ (บอกอ) - นักศึกษารุ่นที่ 19 หัวหน้าฝ่ายออกแบบ การทําโคมปี พ.ศ. 2557

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


32

ภาคผนวกที่ 4 รายชื่อผู้รบั ผิดชอบกิจกรรมสืบสานประเพณีโคมยี่เป็งปี 2556

ฝ่าย

หน่วย ก. ออกแบบรูปทรง โคมและขบวน

1.ออกแบบ

2.ประสานงาน

3.บัญชีและ การเงิน

4.จัดสร้างโคม

5.ขบวน

รายชื่อ นายธวัชชัย ถกลกิจสกุล (แพง) นายนวพล จันทร์เขียว (เป๊กโกะ) นายเสฏฐวุฒิ สัญญะเขื่อน (ฮัชช์) นายทรงพล ศักดาศักดิ์ (เฟี้ยวเงาะ)

ข. ออกแบบโครงสร้าง นายชวณัฐ ปัญญาใหญ่ (มะหลึก) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ค. ออกแบบแสงและ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ระบบไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ง. ออกแบบการแสดง นายธวัชชัย ถกลกิจสกุล (แพง) ก. ประสานงานกับ นางสาวเปรมกมล เฮงจีระจรัส (เปโซ) คณะ ข. ประสานงานกับ หน่วยงานประกวด ค. ประสานงานในชั้นปี ง. ควบคุมและ แจกจ่ายงานในชั้นปี ก. เก็บรวบรวมและ นางสาวพรรณลักษณ์ ผลไสว (พรํา) เบิกเงิน ข. จัดซื้ออุปกรณ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะสถาปัตยกรรม ก. ปฏิบัติงานฉลุลาย ศาสตร์ นายชวณัฐ ปัญญาใหญ่ (มะหลึก) ข. จัดทําโครงสร้าง นายคัมภีร์ คงเกิด (จํารัส) นางสาวพรรณลักษณ์ ผลไสว ค. ประดับดอกไม้ นางสาวชาลิสา รุ่งเรือง ง. ประดิษฐ์อุปกรณ์ นายนวพล จันทร์เขียว ตกแต่งและงานฝีมือ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จ. จัดแสงและระบบไฟ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก. ควบคุมการ นายธวัชชัย ถกลกิจสกุล (แพง) เดินขบวน

รวมจํานวน บุคลากร (คน) 4

1 ขึ้นอยู่กับการ ร่วมมือของคณะ วิศวกรรมศาสตร์ 1 1 1 74 คน 2 2 1 ขึ้นอยู่กับการ ร่วมมือของคณะ วิศวกรรมศาสตร์ 1

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


33

ข. เดินขบวน ค. ควบคุมไฟ ง. ควบคุมเสียง จ. สวัสดิการ ฉ. เสื้อผ้าและ เครื่องแต่งกาย

นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ -

ประมาณ 150 คน -

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


34

คู่มือดําเนินงานกิจกรรมสืบสานตํานานประเพณีโคมยี่เป็ง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.