1
ตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) การที่ขาพเจาไดมาฝกงาน ณ บริษัท GMM GRAMMY (digital business) ตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2556 ถึงวันที่ 31พฤษภาคม พ.ศ.2556 สงผลใหขาพเจาไดรับความรูค วามเขาใจ ในสายงานที่ขาวเจาตองการที่จะประกอบอาชีพในอนาคต อยางดีและมีความมั่นใจในการทํางานตอ ผูรวมงานและสังคมใหมๆอีกทั้งยังมีประสบการณตางๆอยางมากมาย สําหรับรายงานการฝกงานฉบับนี้ สําเร็จลงไดดวยดีจากความรวมมือและสนับสนุนจากหลายฝายดังนี้ 1. คุณปยะ สุทวานิช Promotion Manager 2. คุณเมธิน เจริตศรี Art Directer 3. คุณคมกฤษณ กลิ่นขจร Senior Webdesigner และบุคคลทานอื่นๆในแผนก Graphic Design ทุกทานที่ไดใหคําแนะนําชวยเหลือในการฝกประสบการณ วิชาชีพและการจัดทํารายงานฉบับนี้ ขาพเจาใครขอขอบพระคุณผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานที่มีสวนรวมในการใหขอมูล เปนที่ปรึกษาใน การทํารายงานฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ ตลอดจนใหการดูแลและใหความเขาใจเกี่ยวกับชีวิตการทํางานจริง ขาพเจาขอขอบคุณ ไว ณ ที่นี้
(.............................................................) นายอานนท ทองรอด ผูจัดทํารายงาน
2
บทคัดยอ (Abstract) บริษัท GMM GRAMMY (digital business) เปนบริษัทในเครือ GMM GRAMMY จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (อังกฤษ: GMM Grammy) เปนบริษัทแมของกิจการบันเทิง ซึ่งประกอบดวย กลุมธุรกิจ ดนตรี, สื่อ, ภาพยนตร, ดิจิตอล, สถานีโทรทัศนดาวเทียม, สถานีวทิ ยุ, สื่อสิ่งพิมพ, และ อีเวนตเมเนจเมนท แบบครบวงจร ขนาดใหญที่สุดในประเทศไทย[2] กอตั้งโดย ไพบูลย ดํารงชัยธรรม และเรวัต พุทธินันทน เมื่อวันที่ 11พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 และเปนคายเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของประเทศไทย และอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของนิตยสารชื่อดังของอังกฤษ[ตองการอางอิง] นอกจากนี้ยังเปน บริษัทที่มีคนอยากเขาทํางานมากที่สุดเปนอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกดวย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทําธุรกิจทางดานดนตรี สื่อ ภาพยนตร ดิจิตอล สถานีโทรทัศนดาวเทียม สถานีวิทยุ สื่อ สิ่งพิมพ และ อีเวนตเมเนจเมนท เปนตน โดยระยะแรกดําเนินธุรกิจหลักสรางสรรคผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก "นิยายรักจากกอนเมฆ" โดย แพทยหญิงพันทิวา สินรัชตานันท และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ไดแก ยิ้มใสไข, มันกวาแหว และ เสียงติวดาว จากนั้นจึงเริ่มขยายกิจการ ไปสูธุรกิจผลิตรายการ โทรทัศนและรายการวิทยุ บริษัทไดขยายการดําเนินธุรกิจเขาสูธุรกิจบันเทิงอื่นๆ เชน วิทยุ, ภาพยนตร, การ จัดคอนเสิรต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ รวมทั้งธุรกิจรานคาปลีบเพื่อจัดจําหนายสินคาตางๆ ของบริษัทในเครือ เชนเทปและซีดีเพลงการขยายธุรกิจดังกลาวสงใหบริษัทดําเนินธุรกิจอยางครบวงจร และเปนผูนําใน อุตสาหกรรมบันเทิงไทย บริษัท GMM GRAMMY (digital business) จะเปนผูดูแลดานเว็บไซตและธุรกิจ การโหลดเพลง กิจกรรม ตางๆที่เปนสื่อออนไลน ในพื้นที่ เว็บไซดทุกตัวของ GMM GRAMMY
3
สารบัญ หนังสือรับรองการฝกงาน กิตติกรรมประกาศ บทคัดยอ สารบัญ บทที่ 1 บทนํา 1.1 ชื่อและที่ตั้งสถานที่ประกอบการ 1.2 ธุรกิจของบริษัท 1.3 วิสัยทัศนและพันธกิจ 1.4 หลักการ 1.5 วัตถุประสงคของการฝกงาน 1.6 การปฏิบัติตัวระหวางการฝกงาน บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ 2.1 รายละเอียดเกี่ยวกับที่ปฏิบัติงาน การจัดการภายในองคกร 2.2 การขยายตัวของธุรกิจ 2.3 รางวัลแหงความสําเร็จ 2.4 ความภูมิใจอันเปนที่ยอมรับในระดับประเทศ 2.5ความภาคภูมิใจอันเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ 2.6 ความภูมิใจอันเปนที่ยอมรับในระดับประเทศ บทที่ 3 การปฏิบัติงาน 3.1 หลักการของการปฏิบัติงาน 3.2 การปฏิบัติตัวระหวางการฝกงาน 3.3 การปฎิบัติงานของฝาย graphic design 3.4 งานที่ไดรับมอบหมาย
หนา 1 2 3 7 7 7 9 9 9 10 16 16 19 23 23 24 25 25 26 26
4
สารบัญ บทที่ 4 ผลที่ไดรับจากการฝกงาน ก.ขั้นการวางแผนกอนการผลิตผลงาน(Pre Production Stage) การศึกษาตัวอยางจากกรณีศึกษา (Case Study) ข. การกําหนดแบบรางทางความคิดและการพัฒนาแบบ ตามวัตถุประสงคและสมมุติฐาน ค. ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน(Development and Production Stage) ง. ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน(Post Production Stage) บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติงาน สรุปผลการปฏิบัติงาน ประโยชนที่ไดรับจากการเขารับการฝกงาน ดานนักศึกษาผูปฏิบัติงาน ดานสถานประกอบการ ดานมหาวิทยาลัย ขอเสนอแนะเพิ่มเติม ความรูสึกที่มีตอที่ฝกงาน
หนา
46 47 48 48 51 52 52 53 53 54 55 55
5
สารบัญภาพ
ชื่อภาพ หนา ภาพที่ 1.1 แผนพังคณะกรรมการ 9 ภาพที่ 2.1 หนวยงาน ตัวอยาง จากการบําเพ็ญคุณความดี ที่เปนประโยชนตอสังคม 19 ภาพที่ 2.2 หนวยงาน อันดับผล การประเมินระดับสูงสุด อยูในระดับ “ดีเลิศ (5 ดาว)” 19 ภาพที่ 2.3 รางวัล “ดาน นวัตกรรมและสรางจิตสํานึกการอนุรักษพลังงานสูมวลชน” 20 ภาพที่ 2.4 รับรางวัล “Excellent ESCO Award 2012” 21 ภาพที่ 2.5 รางวัล “บริษัทที่มีความเปนเลิศดานวัตกรรมนําสูการฟนฟูทางเศรษฐกิจ” 21 ภาพที่ 2.6 รางวัลพระราชทาน “เทพทอง” 22 ภาพที่ 2.7 บริษัทสุดยอดแหงเอเซีย Asiaus Best Under A Billion ประจําป 2548 23 ภาพที่ 2.8รางวัลพระราชทาน “เทพทอง” ครั้งที่ 6 24 ภาพ 4.4 ไฟลงานที่ฝายการตลาดสงเพื่อนํามาผลิตชิ้นงาน 48 ภาพ 4.5 การสรางเหรีญทองขึ้นมาใหม 48 ภาพ 4.6การออกแบบวาง lay-out หนาโปรโมท 49 ภาพ 4.7การออกแบบวาง lay-out หนากติกาการรวมสนุก 49 ภาพ 4.8การตัดภาพออกมาเปนสวนเพื่อเตรียมนําเขาสูการทําweb 49 ภาพ 4.9ทําการตัด Web และใส link หนาโปรโมท 50 ภาพ 4.10ทําการตัด Web และใส link หนากติการวมสนุก 50 ภาพ 4.10 ทําการตรวจสอบ Web กับ Browser 50 ภาพ 4.11 ภาพไฟลงานเตียมสง 51 ภาพ 4.11 Banner โปรโมท 30 ชิ้น 52 ภาพ 4.11 โปรแกรมที่ใช 52
6
บทที่ 1 บทนํา
ชื่อและที่ตั้งสถานที่ประกอบการ บริษัท : บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) GMM GRAMMY (digital business) ชั้น 39 ที่อยู : อาคารจีเอ็มเอ็มแกรมมี่เพลส ชั้น 20 เลขที่ 50 ซ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา เขตพื้นที่ : คลองเตย, วัฒนา จังหวัด : กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย : 10110 โทรศัพท : 0-2669-8428-9 URL: http://www.gmmchannel.com ธุรกิจของบริษัท ธุรกิจของกลุมบริษัทฯ สามารถจําแนกออกไดเปน 4 ประเภทธุรกิจหลัก ตามความแตกตางของลักษณะการ ประกอบธุรกิจดังนี้ 1. ธุรกิจเพลงและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับเพลง ภายใตโมเดล “การใหบริการเพลงแบบครบวงจร” (Total Music Business) ซึ่งประกอบดวย ธุรกิจสินคาเพลง และลิขสิทธิ์ ธุรกิจดิจิตอล คอนเทนต ธุรกิจโชวบิซ และ ธุรกิจ บริหารศิลปน - ธุรกิจสินคาเพลง และลิขสิทธิ์ ธุรกิจสินคาเพลง (Physical Products) เปน ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการ สรางสรรคผลงานเพลง รวมถึงบันทึกการแสดงสดของศิลปนในสังกัด หรือ ละครเวที โดยจะวางจําหนายใน รูปแบบสินคา ตาง ๆ กัน ไดแก ซีดี วีซีดี และดีวีดี เปนตน - ธุรกิจการจัดเก็บคาลิขสิทธิ์ (Rights Management Business) ไดแก การจัดเก็บคาลิขสิทธิ์ จากผูประกอบการที่นําผลงานเพลงและผลงานการ สรางสรรคอื่น ๆ ของกลุม บริษัทฯ ไปใชในทางการคา ธุรกิจดิจิตอลคอนเทนต กลุมบริษัทฯ มีการนําคอน เทนตเพลงมาแปลงเปน รูปแบบดิจิตอลเพื่อกระจาย ไปสูเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ อินเตอรเน็ต และ ผู ประกอบการภายนอก โดยมี การใหบริการดาวนโหลด ประเภทตาง ๆ เชน เสียงเรียกเขา (Ringt one) เสียงรอสาย (Ringback Tone) เพลง เต็ม (Full Song) และมิวสิควีดีโอ (Full MV) ทั้งแบบราย เพลง (A la carte) และแบบเหมาจายรายเดือน (Subscription Service) ผานชองทาง *123 และเว็บไซต “www.gmember.com” -ธุรกิจโชวบิซ (Show Business ) ดําเนินธุรกิจ สรางสรรครับจางจัดกิจกรรมและงานแสดงตาง ๆ เชน คอนเสิรต และละครเวที
7
ธุรกิจบริหารศิลปน ดําเนินธุรกิจคัดสรร พัฒนาศิลปน ใหม รวมถึงการดูแลและ จัดหางานใหศิลปนในสังกัด ทั้ง ในรูปแบบของ Music และ Non-Music Artists 2. ธุรกิจสื่อวิทยุ เปนการผลิต และจัดรายการวิทยุในระบบเอฟเอ็ม โดย ณ สิ้นป 2553 กลุมบริษัทมีสถานีวิทยุ เพลง 4 สถานี สื่อโทรทัศน เปนการเชาชวงเวลาจากทางสถานีโทรทัศน ชอง 3 5 7 9 เพื่อผลิตรายการ โทรทัศนประเภทตางๆ รวมถึงการรับจางผลิต ในป 2553 กลุมบริษัทมีการผลิตรายการทั้งสิ้น 31 รายการ โดยมีเวลาออกอากาศ เฉลี่ยประมาณ 42 ชั่วโมง 10 นาที ตอสัปดาห สื่อโทรทัศนผานดาวเทียม เปนธุรกิจ ผลิตรายการบันเทิง เพื่อออกอากาศในสถานีทีวีดาวเทียมจํานวน 6 ชอง -สื่อสิ่งพิมพ เปนการผลิตและจัดจําหนายนิตยสารแฟชั่น อิมเมจ นิตยสารผูหญิง มาดาม ฟกาโร และ เฮอรเวิลด นิตยสาร ผูชาย แมกซิม และ นิตยสารบันเทิง “In Magazine” และพอคเก็ตบุคที่ไดรับความนิยมตางๆ ธุรกิจ สรางสรรคและบริหารกิจกรรมทางการตลาดแบบครบวงจร เปนธุรกิจใหบริการเกี่ยวกับงานกิจกรรมแบบ ครบวงจร ตั้งแตเสนอแนวความคิด ในการจัดกิจกรรม จัดหาผูรับเหมาในงานดานตางๆ และติดตอ ประสานงานกับทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อบริหารงานไดสอดคลอง ตรงตามจุดมุงหมาย ของลูกคาที่ตั้งไว โดยมี บริษัท อินเด็กซ ครีเอทีฟ วิลเลจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ เปนผูดูแลและดําเนินธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง กัน อยางครบวงจร 3. ธุรกิจบรอดคาสติ้ง ประกอบดวยธุรกิจผลิตรายการเพื่อออกอากาศในสถานี ทีวีดาวเทียม และแพลตฟอรม โทรทัศนผานดาวเทียม “GMM Z” ซึ่งประกอบไปดวยการจําหนายกลองรับสัญญาณ โทรทัศนดาวเทียม การ ใหบริการโทรทัศนแบบเสียคารับ ชม (Pay TV) การใหบริการโทรทัศนแบบรับชมเปนรายครั้ง (Pay-perview service) และการจําหนายสิทธิใน คอนเทนตที่บริษัทฯ จัดหามาไดใหกับผูใหบริการรายอื่น 4. ธุรกิจภาพยนตร เปนการผลิตภาพยนตรเพื่อฉายตามโรงภาพยนตร (Feature Film)
8
ภาพที่ 1.1 แผนพังคณะกรรมการ ที่มาของภาพ : http://www.gmmgrammy.com/th/our_company.html
9
วิสัยทัศนและพันธกิจ วิสัยทัศน เปนผูนําในการสรางสรรคและผลิตผลงานดานบันเทิงทุกรูปแบบ ควบคูไปกับทุกพัฒนาการของสื่อและ เทคโนโลยี เพื่อมอบคุณคาชีวิตที่ดีและความสุขแบบไรขีดจํากัด ภารกิจ สรางสรรค ผลงานที่เปนเลิศใหเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง เสริมสราง ใหเปนองคกรแหงการเรียนรู สงเสริม บุคลากรใหรักและเชี่ยวชาญในงานที่ทําและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น สนับสนุน กิจกรรมอันเปนประโยชนและรับผิดชอบตอสังคม ชวงระยะเวลาฝกงาน : วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2556 ถึงวันที่ 31พฤษภาคม พ.ศ.2556 ระยะเวลาและสภาพในการทํางานชวงเวลาในการฝกงาน : เริ่มฝกงานตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2556 ถึงวันที่ 31พฤษภาคม พ.ศ.2556 ทํางานวันจันทร-ศุกร หยุดเสารอาทิตย เริ่มงานเวลา 9.00 น.จนถึงเวลา 18.00 น. เวลาพักกลางวันเวลา 12.00 – 13.00 น. สภาพในการทํางาน: สถานที่ทํางานตั้งอยูในอาคาร GMM GRAMMY (digital business) ชั้น 39 มีแผนกที่ทํางานดานมีเดียออกแบบเว็บไซตออกแบบกราฟกและดิจิตอลมีเดียเพื่องานโฆษณาผานเว็ปไซต โดยมีหองทํางานเปนโตะทํางานแบบล็อคของแตละคนมีคอมพิวเตอรคนละเครื่องสวนนักศึกษาฝกงานใหนํา เครื่องมาเองมีสายWireless หรือ Ethernet (Lan) ใหตอเพื่อสืบคนขอมูลหาขอมูลอางอิงในการทํางาน หลักการ 1.จัดประสบการณใหเปนระบบและกระบวนการที่ตอเนื่อง 2.ใหมีการฝกสถานการณจริงใหมากที่สุดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน 3.ประสานทฤษฎีใหสอดคลองกับการนําไปประยุกตใชใหเหมาะสม 4.สรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางสถาบันกับองคการและหนวยงานภายนอก 5.พัฒนาคุณภาพนักศึกษาใหมีศักยภาพสอดคลองกับความตองการของตลาด แรงงานและผูใช วัตถุประสงคของการฝกงาน 1. เพื่อใหนักศึกษามีโอกาสเรียนรูและไดรับ ประสบการณชีวิตการทํางานที่แทจริง 2. เพื่อใหนักศึกษาไดเตรียมความพรอมกอนที่จะจบออกไปทํางาน 3. เพื่อใหนักศึกษาไดรูจักการปรับตัวใหเขากับ สภาพแวดลอมภายนอกมหาวิทยาลัย 4. เพื่อใหนักศึกษานําประสบการณที่ไดรับจากการฝกงานมาประยุกตใชในการทํางาน
10
การปฏิบัติตัวระหวางการฝกงาน 1. ตรงตอเวลา 2. มีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น 3. แตงกายชุดนักศึกษา กรณีใสเสื้อช็อปตองผานความเห็นชอบจากบริษัทกอน 4. การลากิจ ลาปวย ตองปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของสถานที่ฝกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใชเครื่องมือสื่อสาร 6. ไมควรตอรองเรื่องระยะเวลาการฝกงานหรือ เรียกรองอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กลาคิด กลาแสดงออกและกลาตัดสินใจ 8. ใหถือเสมือนวา การฝกงานก็คือการทํางาน และทําการ ฝกงานอยางเต็มกําลังความสามารถ 9. การไปฝกงานของนักศึกษา ถือวาไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ตองไมกระทํา การ ใด ๆ ที่จะทําใหเสื่อมเสียตอสวนรวม 10. ในระหวางการฝกงาน หากมีปญหาเกี่ยวกับงานตองการคําปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดตอกลับมา ยังอาจารยประจําภาควิชา แตถามีปญหาเกี่ยวกับการฝกงานติดตอเจาหนาที่หนวยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหวางการฝกงานใหติดตอคณะฯ หรือมหาวิทยาลัย
11
บทที่ 2 รายละเอียดเกีย่ วกับที่ปฏิบัติงาน การจัดการภายในองคกร
นายไพบูลย ดํารงชัยธรรม ประธานกรรมการบริษัท
นางสาวบุษบา ดาวเรือง ประธานกรรมการบริหารกลุม
ในป 2555 ที่ผานมา นับเปนจุดเปลี่ยนที่สําคัญของอุตสาหกรรมโทรทัศนผานดาวเทียม โดยทางคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ไดทาํ การออกใบอนุญาตใหกบั ผูประกอบการ ทั้งในสวนของผูจําหนายกลองรับสัญญาณโทรทัศนผานดาวเทียม ผูใหบริการแพลตฟอรมโทรทัศนผาน ดาวเทียม และผูใหบริการชองโทรทัศนผานดาวเทียม นอกจากนี้ จํานวนผูชมโทรทัศนผานจานรับสัญญาณดาวเทียมยังคง เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ดวยจํานวนชองรายการที่มากกวา และความคมชัดของสัญญาณภาพทีด่ กี วาเสาอากาศ สงผลใหเม็ดเงิน คาโฆษณาไหลเขามาสูสื่อโทรทัศนผานดาวเทียมอยางชัดเจน ทางกลุมบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ผูผลิตคอน เทนตรายใหญของประเทศไดเตรียมพรอมสําหรับโอกาสในการขยายธุรกิจ ดังกลาวอยางเปนขั้นตอน ดวยการเริ่มใหบริการชองรายการโทรทัศนผานดาวเทียม ซึ่งเปนชองรายการที่ไดรับความนิยมอยางสูงจากผูชม และขยายเขาสูการเปนผูจําหนายจานดาวเทียมและกลองรับสัญญาณโทรทัศนผาน ดาวเทียม และผูใหบริการแพลตฟอรม โทรทัศนผานดาวเทียม ตามลําดับ ตลอดปที่ผานมา บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาองคกรใหกาวหนาและแข็งแกรง ดําเนินธุรกิจอยางตั้งใจ เพื่อการเติบโตอยางมั่นคง ดวยประสบการณและผลงานทัง้ หมดทีส่ ง่ั สมมาเปนระยะเวลา 29 ป บริษัทฯ เปนหนึง่ ในผูน าํ ดานคอนเทนตในประเทศ (National Content Provider) ที่มีคุณภาพ และการมีคอนเทนตที่แข็งแกรง และมีคุณภาพจะสามารถใชประโยชนไดอยางยั่งยืน เพื่อเปนการรองรับการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจบรอดแคสติ้ง กลุมบริษัท ฯ จึงไดมีการปฏิรูปโครงสรางธุรกิจ และแบงประเภทธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ออกเปน 2 สวน คือ ธุรกิจเดิม ประกอบดวย ธุรกิจเพลง ธุรกิจดิจิตอล ธุรกิจสื่อ ธุรกิจภาพยนตร ธุรกิจสรางสรรคและบริหารกิจกรรมทางการตลาด และธุรกิจแอนิเมชั่น และธุรกิจใหม ประกอบดวย ธุรกิจโฮมช็อปปง ธุรกิจโทรทัศนผานดาวเทียม และธุรกิจโทรทัศนในระบบดิจิตอลที่กําลังจะ เกิดในอนาคตอันใกล รวมทัง้ สิน้ 9 ประเภทธุรกิจ โดยธุรกิจทั้ง 2 สวนจะสงเสริมซึ่งกันและกัน และสามารถสรางรายได ใหกับบริษัทใหมีการเติบโตและมั่งคั่งอยางตอเนื่อง ในระยะยาว
12
ธุรกิจเพลง ซึง่ ประกอบดวยการจําหนายสินคาเพลง และการจัดการแสดงในป 2555 ยังคงมีการเติบโตจากปกอน แมในปนี้จะมียอดอัลบั้มออกเปนจํานวนที่นอยกวา แตกลับสรางรายไดไดมากกวาจากการจัดการแสดงคอนเสิรต และโชว ตาง ๆ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงศักยภาพในการเติบโตอยางตอเนื่องของธุรกิจเพลง ซึ่งสวนทางกับตลาดโลกที่มียอดจําหนายสินคา เพลงลดลง ธุรกิจดิจิตอลคอนเทนต แมวารายไดรวมในปนี้จะลดลงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผูบริโภค ตาม เทคโนโลยี อยางไรก็ดี ประเทศไทยจะมีบริการ 3จี อยางเต็มรูปแบบในป 2556 ซึ่งบริษัทฯมีแผนที่จะพัฒนาธุรกิจดิจิตอล คอนเทนต ใหเปนหนึ่งในธุรกิจหลัก สรางรายไดเติบโตอยางกาวกระโดดไดดว ยเทคโนโลยี OTT (Over The Top) ผาน บริการ 3จี ซึ่งจะสามารถใหบริการทั้งภาพและเสียงไปยังผูบริโภคไดในทุกแพลตฟอรม อันไดแก โทรทัศน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร และโทรศัพทมือถือ ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการพัฒนารวมกับพันธมิตรตางประเทศ นอกจากนั้นบริษัทฯ มีแผน ใหบริการแบบ Exclusive สําหรับ Fan club ผาน MVNO อีกดวย ซึ่งคาดวาทั้งหมดนี้จะสามารถสรางรายไดอยางแข็งแกรง ตัง้ แตกลางป 2556 เปนตนไป ธุรกิจสื่อ ซึ่งประกอบดวย การผลิตรายการโทรทัศนผานสื่อโทรทัศน วิทยุ และสิง่ พิมพ มีการเติบโตตามการใชจา ย คาโฆษณาของอุตสาหกรรมโดยรวม โดยธุรกิจสื่อโทรทัศนมีการเติบโตสูงสุด ในสวนของธุรกิจวิทยุยังมีการเติบโตอยาง ตอเนื่อง โดยมีการจัดกิจกรรมรวมกับผูฟงรายการอยางสม่ําเสมอ เพื่อเปนการสรางและรักษาฐานผูฟงรายการ อยางไรก็ดี บริษัทฯ มีการปรับลดสถานีวิทยุลดลง 1 สถานี ในป 2556 ตามกลุมเปาหมายวัยรุนที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งบริษัทฯคาดวาใน ธุรกิจสื่อวิทยุจะมีกําไรเพิ่มขึ้นไดจากการปรับเปลี่ยน กิจกรรม และตนทุนที่ลดลง สําหรับธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ บริษัทฯ ไดมกี าร พัฒนาเขาสู New Media มากขึ้น ผานการจัดทํานิตยสารในรูปแบบ E Magazine ธุรกิจภาพยนตร มีการนําภาพยนตรออกฉายทั้งหมด 3 เรื่อง โดยภาพยนตรเรื่อง “ATM เออรัก เออเรอ” สามารถทํา รายไดสูงถึง 150 ลานบาท นับเปนภาพยนตรไทยที่สรางรายไดสูงที่สุดในป 2555 และหากรวมรายไดจากภาพยนตรทง้ั 3 เรื่อง ทําใหบริษัทฯขึ้นแทนเปนผูสรางภาพยนตรที่สามารถทํารายได Box Office สูงสุดเปน อันดับที่ 1 ของประเทศ ในป 2555 นับเปนความสําเร็จอีกกาวหนึง่ ในฐานะผูน าํ ธุรกิจภาพยนตร ธุรกิจสรางสรรคและบริหารกิจกรรมทางการตลาด ในป 2555 มีการเติบโตถึงรอยละ 34 จากการจัดงานใหญหลาย งานทัง้ ในและตางประเทศ ทั้งนี้บริษัทฯ มีแผนการขยายตลาดไปยังประเทศเพื่อนบานและประเทศอื่น ๆ ในภูมภิ าคเอเซีย สงผลใหมีรายไดเขามาอยางตอเนื่อง อีกทั้งเปนการเตรียมความพรอมสําหรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่จะมาถึง ในอีกไมกี่ปขางหนา ธุรกิจแอนิเมชัน่ เปนการตูนแอนิเมชัน่ 3 มิติ เรื่อง “เบิรด แลนด แดนมหัศจรรย” ออกอากาศทางชองโทรทัศน Free TV โดย เบิรด แลนด แดนมหัศจรรย เปนแอนิเมชั่นที่แฝงความรูแกผูชมทุกวัย ซึง่ ไดรบั ความสนใจจากทัง้ ใน และตางประเทศ นอกจากนี้ยังมีการจัดทําสินคาที่เกี่ยวของ เพื่อจัดจําหนายและสรางรายไดใหกับบริษัทอีกทางหนึ่ง ตลอดจนการติดตอดาน ลิขสิทธิ์เพื่อเผยแพรไปตางประเทศในอนาคต
13
ธุรกิจโฮมช็อปปง หลังจากเริ่มดําเนินงานมาเปนเวลาเพียง 6 เดือน บริษัทฯ มีรายไดเขามาอยางตอเนื่อง ดวย ประสบการณที่มีมายาวนานของพันธมิตรทางธุรกิจ และความแข็งแกรงของกลุมธุรกิจสื่อของบริษัทฯ บริษัทฯ เชื่อมั่นวา ธุรกิจโฮมช็อปปงจะโตขึ้น และสรางกําไรใหบริษัทฯไดในอนาคต ธุรกิจบรอดแคสติ้ง หรือธุรกิจโทรทัศนผานดาวเทียม เปนธุรกิจใหมของบริษัทฯที่เล็งเห็นถึงความสําคัญของการ สรางแพลตฟอรม “GMM Z” เพื่อเปนการเสริมความแข็งแกรงซึ่งกันและกันระหวางธุรกิจหลักที่บริษัทฯมี อยู โดยสามารถ แบงออกเปน 3 สวน คือ ธุรกิจแพลตฟอรม ธุรกิจชองโทรทัศนดาวเทียม และธุรกิจ Pay TV ซึ่งกสทช. ไดออกใบอนุญาต ใหกับผูประกอบการ ทั้งในสวนของผูจําหนายจานดาวเทียมและกลองรับสัญญาณโทรทัศนผานดาวเทียม ผูใ หบริการ แพลตฟอรมโทรทัศนผานดาวเทียม และผูใหบริการชองโทรทัศนผานดาวเทียมใหแกบริษัทฯครบแลวทุกสวน สงผลให บริษัทฯสามารถเดินหนาธุรกิจบรอดแคสติ้งไดอยางเต็มที่ เริ่มจากการมุงมั่นสรางแพลตฟอรมของตนเองอยางเต็มกําลังความสามารถ ผลลัพธที่ได คือ ความสําเร็จอันยิ่งใหญ บริษัทฯไดขยายฐานผูชมโทรทัศนดาวเทียมแพลตฟอรม “GMM Z” ไดถึง 1.5 ลานกลอง ในป 2555 โดยกลองรับสัญญาณ โทรทัศนดาวเทียม “GMM Z” มีคุณสมบัติในการถอดรหัสสัญญาณโทรทัศนดาวเทียมที่ถูกเขารหัสได จึงสามารถรับชมได ทั้งชองโทรทัศนดาวเทียมฟรีทั่วไป และชองโทรทัศนดาวเทียมแบบบอกรับสมาชิก หรือ Pay TV โดยบริษัทฯ ไดตั้งเปาที่จะ ขยายฐานลูกคาใหเพิ่มขึ้นไมนอยกวาปที่ผานมา ซึ่งเปนฐานลูกคาที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจ Pay TV ของบริษัทฯ ตอไปใน อนาคต นอกจากนี้ ยังเสริมทัพดวยชองโทรทัศนผานดาวเทียมที่บริ ษัทฯ ไดดาํ เนินธุรกิจอยู จํานวน 8 ชอง ซึง่ มีการเติบโต ขึ้นอยางมาก รายไดจากคาโฆษณาสําหรับชองโทรทัศนผานดาวเทียมเพิ่มขึ้นจากปที่ผานมา ถึง 40% โดยบริษัทฯคาดวาชอง ที่ยังขาดทุนอยู จะสามารถทํากําไรไดในป 2556 อีกทั้งในปนี้อีกทั้งในป 2555 บริษทั ฯไดเปดตัวชอง GMM ONE ที่มีรายการ แบบหลากหลายและสามารถรับชมไดทุกเพศทุกวัย ไมวา จะเปนรายการขาว ซิทคอม การตนู และสาระบันเทิงอีกมากมาย นอกจากนี้เพื่อการใหบริการโทรทัศนผานดาวเทียมแบบเต็มรูปแบบ และครบวงจร บริษัทฯไดเตรียมความพรอม ในการใหบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก หรือ Pay TV เปนที่เรียบรอยแลว ผูบริโภคสามารถเลือกรับชมรายการ คุณภาพไดทง้ั ประเภทสาระบันเทิง และประเภทกีฬา ทั้งหมด 8 ชอง ตลอด 24 ชัว่ โมง บริษทั ฯสามารถเดินหนาธุรกิจนีไ้ ด อยางเต็มที่ โดยเฉพาะธุรกิจ Pay TV อันจะชวยใหบริษัทฯมีรายไดเขามาอยางมั่นคง รวมถึงผูบริโภคก็สามารถรับชมคอน เทนตทม่ี คี ณ ุ ภาพไดทกุ ประเภท สําหรับธุรกิจดิจิตอลทีวี (Digital Terrestrial TV) ที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล ถึงแมกสทช. จะยังไมมี ขอสรุปในเรื่องหลักเกณฑขอบังคับ หรือการประมูลได แตบริษัทฯ เชือ่ วากสทช. จะเปดใหมีการประมูลใบอนุญาตใหใช คลื่นความถี่สําหรับใหบริการโทรทัศนใน ระบบดิจิตอลภายในป 2556 ซึ่งถือเปนอีกโอกาสในการทําธุรกิจที่จะสรางรายได ใหกับบริษัทฯ โดยบริษัทฯไดเตรียมความพรอมในสวนนี้ไวลวงหนาแลว โดยที่บริษัทฯมีแผนจะเขารวมการประมูลทั้งชอง ความคมชัดสูง (HD) และชองมาตรฐาน (SD) ไดแก ชองรายการเด็ก ชองรายการขาว และชองวาไรตีท้ ว่ั ไป และดวย
14
ประสบการณอันยาวนานในธุรกิจบันเทิงแบบครบวงจร บริษัทฯเชื่อวาจะสามารถกาวเปนผูใหบริการโทรทัศนดิจิตอลใน อันดับตนๆ ของประเทศไทยไดในอนาคต ดวยความมุงมั่นและตั้งใจจริงในการบิหารงานอยางโปรงใสและมีจริยธรรม สงผลใหในป 2555 บริษัทฯ ไดรับ รางวัลเกี่ยวกับการกํากับกิจการที่ดี ดังนี้ (1) บริษัทจดทะเบียนดานการรายงานบรรษัทภิบาลดีเยี่ยม (Top Corporate Governance Report Awards) ประจําป 2555 ในโครงการ “SET Awards 2012” ซึ่งจัดขึ้นโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย (ตลท.) และวารสารการเงินธนาคาร (2) การประเมินการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยประจําป 2555 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2012) ในระดับ “ดีเลิศ (5 ดาว)” จากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย(IOD) ตอเนื่องเปนปที่ 2 ติดตอกัน (3)การประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถือหุน ในระดับ “ดีเยี่ยม และ สมควรเปนตัวอยาง” โดยได 100 คะแนนเต็ม จากสมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย ประจําป 2555 นอกจากนี้บริษัทฯ ตระหนักดีวาการดําเนินธุรกิจไปพรอมกับการมีความรับผิดชอบตอสั งคมเปนสิ่ง ที่จําเปนที่สุด บริษัทฯ จึงมีโครงการเพื่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดลอมอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง อาทิเชน โครงการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดยนําเสนอการตูนแอนิเมชั่นทีวีซีรี่ส 3 มิติ “เบิรด แลนด…แดนมหัศจรรย” ตอนพิเศษ “ตามรอยพระราชา” โครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสปมหามงคลที่ สมเด็จพระนางเจา สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญ พระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา ในวันที่ 12 สิงหาคม 2555 โครงการถนนสายแสงตะวัน เปนโครงการที่บริษัทฯ รวมมือกับทั้งภาครัฐ และหนวยงานตางๆ เพือ่ สงเสริม คุณภาพชีวติ ทีด่ ตี อ สังคม จัดกิจกรรมอันเปนประโยชนจํานวนมาก เชน กิจกรรม Green Charity กิจกรรมรวมใจบริจาค โลหิต การจัดทําเพลงเพื่อสังคม คอนเสิรตการกุศล เพื่อแบงปนสังคม โครงการชวยเหลือคนพิการ โครงการชวยเหลือเด็ก และเยาวชนผูย ากไร โครงการรณรงควนั เอดสโลก โครงการรณรงคเพื่อยุติความรุนแรงตอเด็กและสตรี โครงการชวยเหลือ บรรเทาทุกข ภายใตการดําเนินงานของสภากาชาดไทย ฯลฯ จากการใหการสนับสนุนตอสภากาชาดไทยดวยดีมาโดยตลอด บริษทั ฯ จึงไดรับรางวัลเกียรติยศ “เพชรพาณิชย” จากกระทรวงพาณิชย ในฐานะผูประกอบการที่มีภาพลักษณที่ดีและมีผลงานที่โดดเดนดานการพาณิชย ระดับชาติและ นานาชาติ โดยไดเขารับพระราชทานเหรียญกาชาดสมนาคุณชั้นที่ 1 จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังไดรับรางวัลดีเดนดานผูสงเสริมการอนุรกั ษพลังงานและพลังงานทดแทน (สื่อมวลชน) เปนปที่ 3 ในการประกวด “Thailand Energy Awards 2012” ซึง่ จัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน กระทรวงพลังงาน รางวัลทั้งหมดที่ไดรับ ถือเปนรางวัลแหงความสําเร็จ จากความตั้งใจในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ อยางไรก็ตาม ความสําเร็จทั้งหมดที่ผานมานั้น เกิดจากการสนับสนุนที่ดีจากทานผูถือหุน คณะผูบริหาร พันธมิตร ทางธุรกิจ สถาบันการเงิน หนวยงานราชการ บริษทั เอเจนซี่ และลูกคาทุกทาน ตลอดจนศิลปน และพนักงานของบริษัทฯ ทุก คน ที่ไดรวมแรงรวมใจทํางานอยางเปนอันหนึ่งอันเดียวกันมาตลอดทั้งป
15
ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ผมขอขอบคุณทุกทาน และขอใหทุกทานเชื่อมั่นวา บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ไดเตรียมความพรอมเพื่อความเปนหนึ่ง ในธุรกิจดานบันเทิงครบวงจร โดยจะพัฒนากลยุทธในการดําเนิน ธุรกิจใหทันสมัยและเหมาะสมกับสภาวการณตลอดจน เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ กอรปกับศักยภาพของบุคคลากร และประสบการณที่สั่งสมมา 29 ป จะชวยผลักดันใหบริษัทฯ เติบโตและพัฒนากาวหนาไปอยางยั่งยืน และสรางผลตอบแทน ที่ดีใหกับผูถือหุนทุกทานตอไป
การขยายตัวของธุรกิจ ป 2526
2527 2529 2531 2532 2534
2536 2537 2539 2540 2542
เหตุการณ จัดตั้งบริษัทแกรมมี่ เอ็นเตอรเทนทเมนท จํากัด โดยในระยะแรกดําเนินธุรกิจหลัก สรางสรรคผลงาน เพลงไทยสากลโดยออกอัลบั้มชุดแรก "นิยายรักจากกอนเมฆ " โดยแพทยหญิง พันทิวา สินรัชตานันท และผลิตรายการทีวี 3 รายการไดแก ยิ้มใส ไข, มันกวาแหว, เสียงติดดาว แกรมมี่ประสบความสําเร็จอยางมากในการออกอัลบั้ม "เตอ 1" ของเรวัต พุทธินันท อัลบั้มแรกของ ธงไชย แมคอินไตย "หาดทราย สายลม สองเรา" ออกวางตลาด พรอมทั้งเพิ่มการผลิต เพลงแนวร็อค โดยออกอัลบั้ม "ร็อค เล็ก เล็ก" ของวงไมโคร จัดตั้งบริษัท เอ็มจีเอ จํากัด เพื่อผลิตและจัดจําหนายเทปเพลงและสินคาบันเทิงอื่นๆ ขยายธุรกิจสูธุรกิจวิทยุ โดยจัดตั้งบริษัท เอ-ไทม มีเดียจํากัด ออกอากาศ "Green Wave" และ "Hot wave" เปนสองสถานีแรก จัดตั้งบริษัท เอ็กแซ็กท จํากัด เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตรายการทีวี และเริม่ ออกอากาศละครซี่รีส สามหนุม สามมุม นอกจากนี้ยังรุกเขาสูธุรกิจจัดคอนเสิรต โดยจัดตั้งบริษัท เอ็กซทรอกาไนเซอร จํากัด ทําใหแกรมมี่เปนกลุมบริษัทที่ดําเนิน ธุรกิจบันเทิงครบวงจรมากยิ่งขึ้น เริ่มตนเขาสูยุคแหงการคุมครองลิขสิทธิ์และภูมิปญญาของผูสรางสรรคผลงาน เพลงและผลงานบันเทิง นําบริษัท แกรมมี่ เอ็นเทอรเทนเมนต จํากัด (มหาชน) เขาจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย และเริ่มธุรกิจภ าพยนตร (Featured film) ขยายเขาสูธุรกิจสิ่งพิมพ โดยการเขาลงทุนในนิตยสารอิมเมจ เริ่มขยายไปยังตลาดตางประเทศ โดยเปดบริษัทในประเทศไตหวัน จัดตั้งโรงเรียนสอนดนตรีมีฟา
16
2543
2544 2545
2546
2547
2548
2549
จัดตั้งหนวยธุรกิจ E-Business เพื่อสรางสรรคและพัฒนาผลิตภัณฑในรูปแบบ Digital content เพื่อรองรับธุรกิจที่เกิดจาก เทคโนโลยีใหมๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็วตลอดเวลา เปลี่ยนชื่อบริษัทจากบริษัท แกรมมี่ เอ็นเทอรเทนเมนต จํากัด (มหาชน) เปน บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) มีการแยกบริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จํากัด (มหาชน) ออกจากกลุมบริษัทเพื่อจด ทะเบียนในตลาด หลักทรัพย โดย มีการโอนขายบริษัทยอยที่ประกอบธุรกิจสื่อ วิทยุ โทรทัศน และสิ่งพิมพ จํานวน 8 บริษัทจากบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ใหแกบริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จํากัด (มหาชน) กลุมบริษัทมีกลยุทธในการขยายธุรกิจภาพยนตรโดย ผลิตภาพยนตรคุณภาพถึง 5 เรื่องออกฉาย ภายในปนี้ เรื่อง "แฟนฉัน" ประสบความสําเร็จอยางสูง จากการเปน ภาพยนตรไทย ที่ทํารายได จากการฉายสูงสุดในป 2546 นอกจากนี้เรื่อง "Beautiful Boxer" ยังไดรับความสนใจจากตาง ประเทศอยางมาก ตั้งเปาหมายสูการเปน "King of content" โดยการรวมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ ไดแกบริษัท ดีทอลค จํากัด (ผลิตรายการทีวี), บริษัทสยามอินฟนิท จํากัด (ใหบริการเกมออนไลน), บริษัท จีเอ็มเอ็ม ไท หับ จํากัด (ผลิตภาพยนตร) และ บริษัทนินจา รีเทินส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (รับจัดกิจกรรมและคอนเสิรต) เมษายนขยายธุรกิจเขาสูธุรกิจอีเวนท โดยเขาลงทุน 50% ในบมจ. อินเด็กซ อีเวนท เอเจนซี่ ผานบริษัทยอย บมจ. จีเอ็มเอ็ม มีเดีย เพื่อใหมีธุรกิจสื่อที่ครบวงจร ครอบคลุมทุกเซ็กเมนทไดรับการโหวตใหเปน "Best Small Cap" ของประเทศไทย และไดอันดับสองในการจายเงินปนผลสม่ําเสมอ ซึ่งจัดโดยนิตยสาร FinanceAsia มิถุนายนเขาลงทุนใน บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น เพื่อพัฒนาความรวมมือทางธุรกิจ เชน ชองทางการจําหนายสินคา กรกฎาคม เขารวมทุนในบริษัท คลีน คาราโอเกะ จํากัด เพื่อใหบริหารจัดการเรื่องลิขสิทธิ์เพลง การจัดการเรียกเก็บเงิน จากตูคาราโอเกะ โดยบริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 80 ของทุนจดทะเบียนจํานวน 20 ลานบาท กันยายนลงทุนผาน บมจ.จีเอ็มเอ็ม มีเดีย เพื่อขยายเขาสูธุรกิจหนังสือพิมพ โดยการ ลงทุนใน บมจ.มติชน ในสัดสวน 20% และ บมจ.โพส พับลิชชิง ในสัดสวน 23.6% เขารวมทุนในบริษัทจีเอ็มเอ็ม ฟสเนตคลับ จํากัด เพื่อใหบริการดานสถานออก กําลังกาย โดยบริษัทฯถือหุน ในสัดสวนรอยละ 51 ของทุนจดทะเบียน จํานวน 40 ลานบาท เขารวมทุนในบริษัทลักษมิวสิค 999 จํากัด เพื่อขยายธุรกิจดานการผลิต
17
2550
2551 2552
2553
และจัดจําหนายสินคาเพลง โดย บริษัทฯถือหุนในสัดสวนรอยละ 50 ของทุนจด ทะเบียน จํานวน 20 ลานบาท บริษัทซื้อหุนสามัญของบริษัท ทรี-อารดี จํากัด ถือหุนในสัดสวนรอยละ 50 จํานวน 2.63 ลานบาท บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จํากัด (มหาชน) ไดลงทุนในหุนสามัญของ บริษัท แชนแนล(วี) มิวสิค(ประเทศไทย) ในสัดสวนรอยละ 25 จํานวน 16.65 ลานบาท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จํากัด ไดขอเพิกถอนจากการเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย เขารวมทุนใน บริษัท แฟมมิลี่ โนฮาว จํากัด ดําเนินธุรกิจสถานีโทรทัศนเพื่อ เผยแพรขอมูลขาวสารดานเศรษฐกิจ การเงิน และการลงทุน โดยบริษัทฯ ถือหุน สามัญ คิดเปนสัดสวนรอยละ 50 ของทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท เขารวมลงทุนในบริษัท แอ็กซ สตูดิโอ จํากัด กับ บริษัท ซีเนริโอ จํากัด ซึ่งเปน บริษัท รวม เพื่อดําเนินการกอสรางสตูดิโอขนาดใหญ โดยถือหุนกันในสัดสวน รอยละ 50 ของทุนจดทะเบียนจํานวน 200 ลานบาท เขารวมลงทุนในบริษัท ลักษ แซทเทิลไลท จํากัด เพื่อผลิตรายการออกอากาศผาน ดาวเทียม โดยถือหุนใน สัดสวนรอยละ 25 ของทุนจดทะเบียนจํานวน 20 ลานบาท
18
19
รางวัลแหงความสําเร็จ
ภาพที่ 2.1 หนวยงาน ตัวอยาง จากการบําเพ็ญคุณความดีที่เปนประโยชนตอสังคม ที่มาของภาพ : http://www.gmmgrammy.com/th/our_company.html บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ไดรับเลือกใหเปนหนวยงาน ตัวอยาง จากการบําเพ็ญคุณ ความดีที่เปนประโยชนตอสังคม ในโครงการ “สงตอความดี..ไมมีวันหมด” จัดโดยคณะกรรมการ ฝายประชาสัมพันธการ จัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
ภาพที่ 2.2 หนวยงาน อันดับผล การประเมินระดับสูงสุด อยูในระดับ “ดีเลิศ (5 ดาว)” ที่มาของภาพ : http://www.gmmgrammy.com/th/our_company.html บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ไดรับการประเมิน การกํากับดูแลกิจการบริษัท จดทะเบียน ไทยประจําป 2554 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2011) เพิ่มขึ้นจากป กอน ไตอันดับผล การประเมินระดับสูงสุด อยูในระดับ “ดีเลิศ (5 ดาว)” อีกทั้งยัง ไดรับการประเมิน คุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถือหุน ประจํา ป 2554 อยูในระดับ “ดีเยี่ยม” ติดตอกัน 3 ปซอนอีก ดวย
20
ภาพที่ 2.3 รางวัล “ดาน นวัตกรรมและสรางจิตสํานึกการอนุรักษพลังงานสูมวลชน” ที่มาของภาพ : http://www.gmmgrammy.com/th/our_company.html บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ไดรับรางวัล “ดาน นวัตกรรมและสรางจิตสํานึกการ อนุรักษพลังงานสูมวลชน” จากการเขารวมเปนสวนหนึ่งของโครงการ “BEAT 2010” (BUILDING ENERGY AWARDS OF THAILAND 2010) ซึ่งจัดโดย สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน
ภาพที่ 2.4 รับรางวัล “Excellent ESCO Award 2012” ที่มาของภาพ : http://www.gmmgrammy.com/th/our_company.html สาย ทิพย มนตรีกุล ณ อยุธยา ประธานกรรมบริหารรวม บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) รับรางวัล “Excellent ESCO Award 2012” จากนายประมวล จันทรพงษ รองอธิบดีกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน (พพ.) ในงาน “Thailand ESCO Fair 2012” โดย บริษัท จีเอ็ม เอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ไดรับรางวัล บริษัทจัดการพลังงานดีเดน
21
ภาพที่ 2.5 รางวัล “บริษัทที่มีความเปนเลิศดานนวัตกรรมนําาสูการฟนฟูทางเศรษฐกิจ” ที่มาของภาพ : http://www.gmmgrammy.com/th/our_company.html บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) นําทีมโดย ไพบูลย ดํารงชัยธรรม ประธานกรรมการ พรอม บรรดาผูบริหารรวมกันแสดงความยินดี ในโอกาสที่บริษัทไดรับรางวัล “บริษัทที่มีความเปนเลิศดาน นวัตกรรมนําาสูการฟนฟูทางเศรษฐกิจ” ติด 1 ใน 10 บริษัทชั้นนําองประเทศไทย โดยมี บุษบา ดาวเรือง ประธานกรรมการบริหาร เขารับรางวัลจาก ดร.วีระชัย วีระเมธีกุล รัฐมนตรีวาการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในงาน “Thailand’s Most Innovative Companies 2010”
ภาพที่ 2.6 รางวัลพระราชทาน “เทพทอง” ที่มาของภาพ : http://www.gmmgrammy.com/th/our_company.html
22
รางวัลพระราชทาน “เทพทอง” บริษัทฯ ไดรับพระราชทานรางวัล “เทพทอง” ครั้งที่ 8 จากการ คัดเลือก ของสมาคมนักวิทยุและโทรทัศนแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ในฐานะองคกร ดีเดน ดานวิทยุกระจาย เสียงและวิทยุโทรทัศน ประจําป 2549 ซึ่งเปนรางวัลพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพลอากาศเอก กําธน สินธวานนท องคมนตรี ผูแทนพระองคมอบรางวัล รางวัลแหงความภาคภูมิใจที่ไดรับเปนผลจากความมุงมั่นของ บริษัทฯ ที่จะพัฒนาคุณภาพและศักยภาพใหดี ยิ่งขึ้นในฐานะผูนําธุรกิจบันเทิงของไทย และกาวสู ความเปนผูนําดานบันเทิงของเอเชียใหเปนที่ยอมรับในระดับ โลก พรอมกับความรับผิดชอบตอ สังคมในสวนรวม ที่บริษัทฯไดดําเนินการผานกิจกรรมเพื่อสังคมอยาง มากมายในการสรางสรรค สังคมไทยใหพัฒนาตอไปอยางยั่งยืน ความภูมิใจอันเปนที่ยอมรับในระดับประเทศ บริษัทฯ ไดรับผลคะแนนในระดับดีมาก จากการรายงานผลการสํารวจการกํากับดูแลกิจการของบริษัทจด ทะเบียน (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies – CGR) ประจําป 2549 ที่สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รวมกับ สํานักงานคณะกรรมการ กลต. และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ไดจัดขึ้นเปนประจําทุกป โดยพิจารณาจากหลักเกณฑ 5 หมวดหลัก ไดแก การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส ,สิทธิของผูถือหุน, การปฏิบัติที่เทาเทียมกันตอผูถือหุน, บทบาทของผูมี สวนไดสวนเสีย และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ความภาคภูมิใจอันเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
ภาพที่ 2.7 บริษัทสุดยอดแหงเอเซีย Asiaus Best Under A Billion ประจําป 2548 ที่มาของภาพ : http://www.gmmgrammy.com/th/our_company.html ความภาคภูมิใจอันเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ บริษัทฯ ไดรับการยกยองใหเปน 1 ใน 200 บริษัทสุดยอดแหงเอเซีย Asiaus Best Under A Billion ประจําป 2548 จากนิตยสาร ฟอรบส ซึ่งเปน
23
นิตยสารธุรกิจชั้นนําของสหรัฐอเมริกา ที่ไดรับการยอมรับจากทั่วโลกวามีความเชี่ยวชาญดานการจัด อันดับธุรกิจ โดยพิจารณาจากรายไดที่มีอัตราการเติบโตเปนบวก, ความมั่นคงของบริษัท, ยอดขายที่ มีเสถียรภาพ, ผลตอบแทนตอหุน และกําไรกอนภาษีไมนอยกวา 5 % ของผลประกอบการปลาสุด ซึ่งแกรมมี่เปนบริษัทบันเทิงของไทยเพียงบริษัทเดียวที่ไดรับรางวัลดัง กลาว ความภาคภูมิใจอันเปนที่ยอมรับในระดับประเทศ บริษัทฯ ไดรับการจัดอันดับใหเปนบริษัท ดีเดนใน Quartile ที่ 1 (Top Quartile) หรือบริษัทที่มีบรรษัทภิบาลที่ดี (Good Corporate Governance) จากการจัดอันดับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ต.ล.ท.) รวมกับสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) และสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) โดยพิจารณาจากหลักเกณฑ 5 หมวดหลัก ไดแก การเปดเผยขอมูลและความ โปรงใส ,สิทธิของผูถือหุน, การปฏิบัติที่เทาเทียมกันตอผูถือหุน, บทบาทของผูมีสวนไดสวนเสีย และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ความภูมิใจอันเปนที่ยอมรับในระดับประเทศ
ภาพที่ 2.8รางวัลพระราชทาน “เทพทอง” ครั้งที่ 6 ที่มาของภาพ : http://www.gmmgrammy.com/th/our_company.html ความภูมิใจอันเปนที่ยอมรับในระดับประเทศ บริษัทไดรับรางวัลพระราชทาน “เทพทอง” ครั้งที่ 6 ประเภทองคอรดีเดน ประจําป 2546 จากสมาคมนักวิทยุโทรทัศน แหงประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ รางวัลแหงความภาคภูมิใจที่ไดรับ เปนผลจากความมุงมั่นของบริษัทฯ ที่จะพัฒนา คุณภาพและศักยภาพใหดียิ่งขึ้นในฐานะผูนําธุรกิจบันเทิงของไทย และกาวสูความเปนผูนําดาน บันเทิงของเอเซียใหเปนที่ยอมรับในระดับโลก พรอมกับความรับผิดชอบตอสังคมสวนรวมที่บริษัท
24
บทที่ 3 การปฏิบตั งิ าน
หลักการของการปฎิบตั งิ าน 1. เพื่อเพิ่มทักษะ สรางเสริมประสบการณ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเปนจริงในสถาน ประกอบการ 2. เพื่อจะไดทราบถึงปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานและสามารถใชสติปญญาแกปญหาได อยางมีเหตุผล 3. เพื่อใหมีความรับผิดชอบตอหนาที่ มีระเบียบวินัย และทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. เพือใหมีเจตคติที่ดีตอการทํางาน และมีความภูมิใจในวิชาชีพ เพื่อเปนแนวทางในการประกอบ อาชีพตอไปภายหลังจากสําเร็จการศึกษา 5. เพื่อสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ และหนวยงานรัฐบาล ระเบียบวาดวย งานที่ไดรับมอบหมาย การปฏิบตั ติ วั ระหวางการฝกงาน 1. ตรงตอเวลา 2. มีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น 3. แตงกายชุดนักศึกษา กรณีใสเสื้อช็อปตองผานความเห็นชอบจากบริษัทกอน 4. การลากิจ ลาปวย ตองปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของสถานที่ฝกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใชเครื่องมือสื่อสาร 6. ไมควรตอรองเรื่องระยะเวลาการฝกงานหรือ เรียกรองอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กลาคิด กลาแสดงออกและกลาตัดสินใจ 8. ใหถือเสมือนวา การฝกงานก็คือการทํางาน และทําการ ฝกงานอยางเต็มกําลังความสามารถ 9. การไปฝกงานของนักศึกษา ถือวาไปในนามตัวแทนของมหาวิทยา ลัยและในนามของคณะฯ ตอง ไมกระทําการ ใด ๆ ที่จะทําใหเสื่อมเสียตอสวนรวม 10. ในระหวางการฝกงาน หากมีปญหาเกี่ยวกับงานตองการคําปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควร ติดตอกลับมายังอาจารยประจําภาควิชา แตถามีปญหาเกี่ยวกับการฝกงานติดตอเจาหนาที่หนวยทะเบียนฯ โดยตรง
25
11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหวางการฝกงานใหติดตอคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หรือมหาวิทยาลัย ราชภัฎจันทรเกษม การปฎิบัติงานของฝาย graphic design บริษัท GMM GRAMMY (digital business) โดยแผนกที่ผูฝกประสบการณวิชาชีพไดเขาไปปฎิบัติงานคือแผนก graphic design ซึ่งทํางาน ออกแบบสรางสรรคงานกราฟก เพื่อโปรโมทเพลงและการดาวโหลดเพลงตางๆ เชน *123 หรือผานทาง เครือขายมือถือ และโปรโหมดกิจกรรม ตางๆของทางบริษัท โดยภายในแผนกจะเจาหนาที1่ คนในการ แจกจายงานแก graphic designer ในแผนกเพื่อทํางานสรางผลงานออกมาตามที่ฝายการตลาดตองการหรือ ติดตอประสานงานกับทางบริษัทผูชื้อไว ขั้นตอนการปฎิบัติงานของกราฟกดีไซดเนอรเปนดังนี้ 1. ฝายการตลาดสงไฟลงานเขามาที่เจาหนาที่แจกจายงาน 2. เจาหนาที่แจกจายงานเรียกประชุมเพื่อจายงานใหกับ graphic designer แตละคน 3. ทําการออกแบบ ของงาน ART WORK ตามขนาดและรูปแบบของฝายการตลาด 4. สงแบบใหเจาหนาที่แจกจายงานเพื่อสงตอใหฝายการตลาดและโปรแกรมเมอรอัพงานขึ้นระบบ ตางๆเชน มือ ถือ เว็บไซ และอื่นๆ 5. ปด ART WORK งานทีไ่ ดรบั มอบหมาย 1.Banner เพื่อโปรโหมดเพลง จํานวน 2.โปสเตอร 3.Micro site for website จํานวน 4. Thumb for web shopping 8000 5.งาน Art Work ตางๆ
26
1.Banner เพื่อโปรโหมดเพลง จํานวน 294 ชิ้น ยกตัวอยางขันตอนการทําและงานบางสวน
ภาพที่ 3.1 ตัวอยาง การใชโปรแกรมออกแบบชิ้นงาน ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
ภาพที่ 3.2 ตัวอยาง การใชโปรแกรมออกแบบชิ้นงาน ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
27
ตัวอยาง Banner จากจํานวน 294 ชิ้น
ภาพที่ 3.3 ตัวอยางผลงานที่เสร็จสมบูรณ ที่มาของภาพ : www.gmeamber.com ,2556
28
2.โปสเตอรบางสวน
ภาพที่ 3.4 ตัวอยาง ตัวอยางผลงานที่เสร็จสมบูรณ ที่มาของภาพ : GMM Grammy digital business ,2556
ภาพที่ 3.5 ตัวอยาง ตัวอยางผลงานที่เสร็จสมบูรณ ที่มาของภาพ : www. http://www.123musicmv.com/
29
3. Micro site for website
ภาพที่ 3.5 ตัวอยาง ขั้นตอนการออกแบบชิ้นงาน ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด , 2556
30
4.รูปภาพโปรโมทราน web shopping 8000 บางสวน
ภาพที่ 3.6 ภาพเมนูอาหาร รานรวมโครงการในเว็บ Shopping 8000 ที่มาของภาพ : www.shopping800.com , 2556 งานที่ไดขึ้นเว็บไซต บางสวน
ภาพที่ 3.7ภาพเมนูอาหาร รานรวมโครงการในเว็บ Shopping 8000 ที่มาของภาพ : www.shopping800.com , 2556
31
ภาพที่ 3.7 ภาพการประกาศผลรางในบนเว็บไซต ที่มาของภาพ : www. http://www.123musicmv.com/
32
ภาพที่ 3.8 ภาพการประกาศผลรางในบนเว็บไซต ที่มาของภาพ : www. http://www.123musicmv.com/
ภาพที่ 3.9ภาพชิ้นงานกราฟกขึ้นบน Face book ที่มาของภาพ : https://www.facebook.com/123gmmgrammy
33
ภาพที่ 3.10 ภาพชิ้นงานกราฟกขึ้นบนพื้นหลังเว็บ Gemamber ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด ,2556
34
ภาพที่ 3.11 ภาพชิ้น Micro site Website ที่มาของภาพ : ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด ,2556
35
บันทึกสรุปผลความรูจ ากการฝกประสบการณวชิ าชีพ จากการที่นักศึกษาไดออกไปฝกประสบการณวิชาชีพ และไดรับมอมหมายในการทํางานตามหนาที่ ที่ทางบริษัท ไดทํางานจายงานใหจึงทําใหนักศึกษาเกิดความรูและความเขาใจในการทํางานและพบปญหาที่ เกิดขึ้นระหวางการทํางานโดยทําการบันทึกรายสัปดาหดังนี้ วันที่ 1 เดือน มีนาคม 2556 –วันที่ 8 มีนาคม 2556 เรื่อง การทํางานฝกประสบการณวิชาชีพ ณ แผนก กราฟก ชั้น 39 บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ดังที่ไดบันทึกสาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติการ ดังนี้ 1. ทําการแกไข แบบกราฟก ฉากหลังการมอบรางวัล แกรมมี่ ชั้น 27 โดยแยกเปนชิ้นๆ และสั่งพิมพ พรอมทําการติดตั้ง 2. ทําการ Die-Cut ภาพศิลปน The Star9 จํานวน 5 ภาพ 3. ทําการออกแบบ Banner เพื่อประชาสัมพันธการดาวโหลดเพลง ศิลปน AOF ปองศักดิ์ 4. ทําการออกแบบ Banner ประชาสัมพันธรายการเจาะดวง ลวงดาว จํานวน 9 ขนาด 5.ทําการออกแบบหนา Website micro site และ Banner พี่มากพระโขนงจํานวน 4 ขนาด และ Banner YES-SIRDAY จํานวน 6 ขนาด ปญหาที่เกิดขึ้น 1.การปรับฉากหลังเวที ออกมาผิดขนาดเนื่องจากโรงพิมพนําไปยืด Size ออก การแกไขปญหา 1. ทําการแกไขปญหาโดยการตัดแบบที่โรงพิมพนํามาใหใหมและทําการตัดประกอบเรียงใหม 2.นักศึกษาไมสามาราทําการตัดเว็บไซตไดเนื่องจากไมมีในการเรียนการสอน ประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการฝกประสบการณวิชาชีพในครั้งนี้ 1.การสงไฟลเขาโรงพิมพตองมีขนาดเพื่อทําการกํากับใหชัดเจน เพื่อ ไมใหงานที่ออกมานั้นผิด ขนาด ควรกําหนดสีและ และขอบเขตชิ้นงาน ความละเอียดตางๆเมื่อสงไปแลวให Save file งานเก็บเปน หลักฐานในการยืนยังทุกครั้ง 2.ศึกษาเพิ่มเพิ่มเติมในการทํา Website โดยมีพี่ทีมงานชวยสอน
36
วันที่ 11 เดือน มีนาคม 2556 –วันที่ 15 มีนาคม 2556 เรื่อง การทํางานฝกประสบการณวิชาชีพ ณ แผนก กราฟก ชั้น 39 บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ดังที่ไดบันทึกสาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติการ ดังนี้ 1. ทําการออกแบบ Banner *123 ,*333,True ,Detac,GMM แจกเสื้อพี่มากพระโขนง จํานวน 30 ขนาด ออกแบบหนา Website micro site จํานวน 4 ขนาด 2. ทําการออกแบบ Banner พี่มากพระโขนง จํานวน 31 ชิ้น 3. ทําการ Die-Cut รูปศิลปนแกรมมี่เพื่อใชทําโปสเตอร จํานวน 4 คน 4. ทําการตกแตงรูปภาพและ จัดเรียง Lay-out ภาพเพื่อลง Website shopping 8000 ปญหาที่เกิดขึ้น 1.ขนาดของ Banner มีจํานวนมาก และสับสนกับการแยกประเภทและขนาดของ Banner 2.ไฟล PSD หายตองทําชินงาน Banner ใหมเมื่อตองมีการปรับแกแบบ การแกไขปญหา 1. ทําการแยกไฟลออกเปนโฟลเดอรของและละเครือขายมือถือและชนิดของเว็บที่จะไปลงรวมถึง การกําหนดไฟล PSD ใหอยูในโฟลเดอรเดียวกัน ประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการฝกประสบการณวิชาชีพในครั้งนี้ 1.จากการที่ไดทํางานพรอมกันหลายชินทําใหนักศึกษาตองมีความรอบคอบละรัดกุมในการจัดเก็บ ไฟลงานใหเปนระเบียบและควรตั้งชื่อไฟลงานใหเขาใจงายเพื่อนการคนหาและแกไขงานนั้นๆในภายหลัง วันที่ 18 เดือน มีนาคม 2556 –วันที่ 22 มีนาคม 2556 เรื่อง การทํางานฝกประสบการณวิชาชีพ ณ แผนก กราฟก ชั้น 39 บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ดังที่ไดบันทึกสาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติการ ดังนี้ 1. ทําการ Die-Cut รูปศิลปนแกรมมี่เพื่อใชทําโปสเตอร จํานวน 7 คน 2. ทําการออกแบบ Banner ประชาสัมพันธรายการเจาะดวง ลวงดาว จํานวน 12 ขนาด 3. ทําการออกแบบโปสเตอร และ Banner ประกาศผลผูโชคดีได I-PAT 4. ทําการตกแตงรูปภาพรานpot and pan 7ภาพ จัดเรียง lay-out ภาพเพื่อลง Website shopping 8000 5.ทําการออกแบบหนาเว็บ MMS-SONG 2 U เสนอลูกคา AIS
37
ปญหาที่เกิดขึ้น 1.ลูกคาตองการดวน การแจงรายละเอียดตางๆไมชัดเจน ARTWORK ตนแบบไมมี การแกไขปญหา 1.คิดงานไหไวและตั้งสติทนตอแรงกดดัน ประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการฝกประสบการณวิชาชีพในครั้งนี้ 1.จากการที่ไดทํางานในครั้งนี้เปนงานที่ตองใชความละเอียดสูงในการทํางาน สีที่ออกแบบในเว็บ ตองเปนสีที่ลูกคา AIS กําหนดใหมาเทานั้น ทําใหขอบเขตการออกแบบจํากัดอยูเพียงแคสีขาวเขียว กลับสวน ทางกับ เว็บ MMS-SONG 2 U ที่เนนเปนการตูนออกแนวสนุกราเริงทําใหการทํางานของผูออกแบบนั้นยาก ขึ้น และตองทํางานใตสภาวะแรงกดดัน จากเวลาและลูกคา สิ่งที่ไดมาจากการฝกประสบการณในครั้งนี้คือ ตองคิดงานไหเร็วทําใหเร็วและมีความมั่นใจในผลงานที่ตนออกแบบ วันที่ 25 เดือน มีนาคม 2556 –วันที่ 5 เมษายน 2556 เรื่อง การทํางานฝกประสบการณวิชาชีพ ณ แผนก กราฟก ชั้น 39 บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ดังที่ไดบันทึกสาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติการ ดังนี้ 1. ทําการออกแบบหนาเว็บ MMS-SONG 2 U เสนอลูกคา AIS 2. ทําการออกแบบโปสเตอร และ Banner ประกาศผลผูโชคดีไดเสื้อยืดพี่มากพระโขนง 3. ทํางานออกแบบหนา Website micro size ประกาศผลผูโชคดีไดตั๋วดูหนังฟรี พี่มากพระโขนง และ Banner จํานวน 4 ขนาด 4. ทําการแกไข ขนาด Banner จํานวน 30 ชิ้น (งานแกขนาดจากพี่ในแผนกลาหยุด) ปญหาที่เกิดขึ้น 1.ในสัปดาหนี้งานเขาแผนกนอยมากแทบไมมีงานทํา การแกไขปญหา 1.การทํางานเริ่มคลองตัวมากขึ้นเนื่องจากคุนเคยกับการทํางานและพี่ชวยกันสอนงานทุกคน ประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการฝกประสบการณวิชาชีพในครั้งนี้ 1.จากการที่ไดทํางานในครั้งนี้เปนชวงเดือนที่มีงานเขาทางฝายนอยมากเนื่องจากไมมีกิจกรรมจัด เพือ่ โปรโมทอะไรเลย จึงทําใหฝายกราฟกนั้นมีเวลาวางมากเกินไป
38
วันที่ 8 เดือน เมษายน 2556 –วันที่ 20 เมษายน 2556 เรือ่ ง การทํางานฝกประสบการณวิชาชีพ ณ แผนก กราฟก ชั้น 39 บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ดังที่ไดบันทึกสาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติการ ดังนี้ 1. ทําการออกแบบ Banner MMS-SONG 2 U เสนอลูกคา AIS 2. ทํา การด บทสวดมนใหกับวัด (งานบุญพี่ฝายการตลาด) 4. ทํา Banner ฉลองรายได 200 ลานพี่มากพระโขนง จํานวน 6 ขนาด 5.ทําการออกแบบ Banner คุณชายจุฑาเทพ และ มายาตะวัน ชอง3 จํานวน 12 ขนาด ปญหาที่เกิดขึ้น 1.ปญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากไฟลภาพที่ไดมานั้นมีคุณภาพต่ําเกินไปทําให Pixel แตก การแกไขปญหา 1.ทําการเปลี่ยนรูปภาพและ จัดตําแหนงการวางใหม ประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการฝกประสบการณวิชาชีพในครั้งนี้ 1.การทํางานควรทํางานอยางรอบคอบควรตรวจเช็คคุณภาพของไฟลงานทุกครั้งวา Pixel แตก หรือไม ไมควรมองงานในหนาจอ 100% ควรมองที่ 300% วันที่ 22 เดือน เมษายน 2556 –วันที่ 3 พฤษภาคม 2556 เรื่อง การทํางานฝกประสบการณวิชาชีพ ณ แผนก กราฟก ชั้น 39 บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ดังที่ไดบันทึกสาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติการ ดังนี้ 1. ทําการตกแตงภาพดวยโปรแกรม Adobe Photoshop เสื้อยืด 6.2.13 เพื่อขายใน Website shopping 8000 2. ทําการออกแบบ Banner ดาวโหลดเพลง คุณชายจุฑาเทพ จํานวน 3 ขนาด 4. ทําการออกแบบ พื้นหลัง Website gmember จํานวน 2แบบ ปญหาที่เกิดขึ้น การแกไขปญหา ประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการฝกประสบการณวิชาชีพในครั้งนี้ ประสบการณในการทํางานในครั้งนี้ไดความรูและความเขาใจใน Adobe Photoshop ในเรื่องของการวางตําแหนงรูปภาพ เพื่อไมใหรูปภาพในเว็บไซตเลือนไปมา
39
วันที่ 6 เดือน พฤษภาคม 2556 –วันที่ 17 พฤษภาคม 2556 เรื่อง การทํางานฝกประสบการณวิชาชีพ ณ แผนก กราฟก ชั้น 39 บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ดังที่ไดบันทึกสาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติการ ดังนี้ 1. ทําการออกแบบ Website micro size ประกาศผลผูโชคดีไดเสื้อยืด พี่มากพระโขนง และ Banner จํานวน 4 ขนาด 2. ทําการออกแบบ Banner ดาวโหลดเพลง กับ ตั้ม The Star 9 จํานวน 7 ชิ้น 3.ทําการ Die-cut ภาพ Universal Banner เจาะดวงลวงดาว จํานวน 4 ขนาด 4. ทําการออกแบบ ปญหาที่เกิดขึ้น 1.ปญหาความไมชํานาญการในการใชโปรแกรมและการคํานวณ จึงเกิดปญหาเสนขาวขึ้นในหนา Website micro size 2.ภาพที่นํามา Die-cut นั้นมีขนาดเล็กเกินไปทําใหยากตอการทํางานและพื้นหลังที่ลายทําใหใชเวลา ในการตัดออกนานมากตอ 1ภาพ และภาพไมถูกนําไปใช การแกไขปญหา 1.ในการตัด Website micro size นั้นการแสดงผลในแตละBrowser นั้นจะแตกตางกันจึงตองเช็คผล ลับทุก Browser วามีปญหาหรือไม ประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการฝกประสบการณวิชาชีพในครั้งนี้ ประสบการณในการทํางานในครั้งนี้ไดความรูก ารวางแผนในการทํางานที่ดีสงผลตองานที่มีคุณภาพ และความรอบคอบในการตรวจหนาเว็บไซต
40
วันที่ 20 เดือน พฤษภาคม 2556 –วันที่ 31 พฤษภาคม 2556 เรื่อง การทํางานฝกประสบการณวิชาชีพ ณ แผนก กราฟก ชั้น 39 บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ดังที่ไดบันทึกสาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติการ ดังนี้ 1. ทําการออกแบบ Banner จํานวน 6 ขนาด คุณชายจุฑาเทพ ชอง 3 2. ทําการออกแบบ Banner ดาวโหลดเพลง AB NORMOL AIS จํานวน 6 ขนาด 3.ทําการออกแบบ Banner ดาวโหลดเพลงละครชอง 3 4. ทําการออกแบบ Banner *123 แกรมมี่ไดหมดเลย จํานวน 5 ขนาด 5. ทําการออกแบบ Banner และ Website micro size 2 หนา link และ Banner จํานวน 30 ชิ้น ปญหาที่เกิดขึ้น 1.เกิดการเปลี่ยนรีมสีขึ้นมาเมื่อทํางานทุกชิ้นเสร็จเรียบรอยแลว จึงตองทํางานใหมทั้งหมด การแกไขปญหา 1.ทํางานใหมทั้งหมด ประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการฝกประสบการณวิชาชีพในครั้งนี้ ประสบการณในการทํางานในครั้งนีค้ ือการทํางานภายใตแรงกดดันและเวลานอยเมื่อทางลูกคา ตองการเปลี่ยนสีงานใหมทั้งหมด จึงจําเปนตองทํางานใหมตั้งแตตนทั้งหมด ทําใหเรามีพัฒนาการที่ดีขึ้นใน การทํางานเพื่อฝกฝนตัวนักศึกษาเอง
41
บทที่ 4 ผลทีไ่ ดรบั จากการฝกงาน วัตถุประสงคของการ ปฏิบัติงานครั้งนี้ คือเพื่อเปนการสรางสรรคผลงานการออกแบบสื่อโฆษณา ประชาสัมพันธในเว็บไซตสําหรับการเลนกิจกรรมและการดาวโหลดเพลงรวมถึงขายสินคาที่ระลึก ในรูป แลบของ Banner website micro size และweb ดังนั้นผูฝกประสบการณวิชาชีพจึงไดยกการทํา website micro size มาเปนตัวอยางในการทําตามขั้นตอนของการศึกษาเรียนรู ก. ขั้นการวางแผนกอนการผลิตผลงาน(Pre Production Stage) 1. ตั้งสมมติฐาน 2. ศึกษาขอมูลความตองการของผูผลิต และความตองการในการออกแบบ (Creative Brief) กรุณาดูที่ ภาคผนวก 3. การศึกษาตัวอยางจากกรณีศึกษา (Case Study) ข. การกําหนดแบบรางทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงคและสมมุติฐาน 1. วิเคราะหขอมูลที่ไดจากการศึกษา 2. กําหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบแบบรางทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด (Concept) 4. เขียนแบบออกมาในรูปแบบภาพแบบขาว-ดํา พรอมวิเคราะหและแกไข 5. การปรับปรุงแกไขแบบจนไดรูปแบบที่ถูกตองและเหมาะสม ค. ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน(Development and Production Stage) ง. ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน(Post Production Stage) 1. เตรียมไฟล jpg,index พรอมสงใหฝายการตลาด
42
ก. ขัน้ การวางแผนกอนการผลิตผลงาน(Pre Production Stage) การกําหนดประเด็นและการศึกษาคนควาขอมูลตางๆที่เกี่ยวของจากการวิเคราะหที่มาของปญหา และตั้งสมมติฐาน ผูปฏิบัติงานไดทําการวิเคราะหขอมูลเพื่อนําไปสูการออกแบบเพื่อใหตรงตามสมมติฐาน และวัตถุประสงค ซึ่งสามารถจําแนกได ดังนี้ 1. ตั้งสมมติฐาน Website หมายถึง หนาเว็บเพจหลายหนา ซึ่งเชื่อมโยงกันผานทางไฮเปอรลิงก สวนใหญจัดทําขึ้น เพื่อนําเสนอขอมูลผานคอมพิวเตอร โดยถูกจัดเก็บไวในเวิลดไวดเว็บ หนาแรกของเว็บไซตที่เก็บไวที่ชื่อ หลักจะเรียกวา โฮมเพจ เว็บไซตโดยทั่วไปจะใหบริการตอผูใชฟรี แตในขณะเดียวกันบางเว็บไซตจําเปนตอง มีการสมัครสมาชิกและเสียคาบริการ เพื่อที่จะดูขอมูล ในเว็บไซตนั้น ซึ่งไดแกขอมูลทางวิชาการ ขอมูลตลาด หลักทรัพย หรือขอมูลสือ่ ตางๆ ผูทําเว็บไซตมีหลากหลายระดับ ตั้งแตสรางเว็บไซตสวนตัว จนถึงระดับ เว็บไซตสําหรับธุรกิจหรือองคกรตางๆ การเรียกดูเว็บไซตโดยทั่วไปนิยมเรียกดูผานซอฟตแวรในลักษณะ ของ เว็บเบราวเซอร Web Micro site หมายถึง Pop up ของเว็บไซตกอนเขาหนาหลักหรือโปรโมทกิจกรรมตางๆเมื่อคลิก เขาไปแลวจะปรากฏหนาตาง Micro site ขึ้นมา จากโจทที่ไดรับมาเปนการออกแบบ ใหผูรวมสนุกดาวโหลด เพลงประกอบละครชุด สุภาษบุรุษจุฑาเทพ เพื่อลุนชิง รางวัล จี้ทองคํา ประจําตระกูล จุฑาเทพ โดยทางฝาย การตลาดไดสั่งทํา Micro site ออกเปน 2 หนาคือหนา โปรโมทกิจกรรม และกติกา การเลนชิงรางวัล เมื่อทราบที่มาของปญหาและวิเคราะหขอมูลแลวจึงทําการตั้งสมมติฐาน เพื่อใชกําหนดขอบเขต แนวทางในการทํางาน ดังนี้ 1.หนา Micro site ตองเปนสองหนา มีปุมเพื่อลิงคออกไปสูหนา กติกา 2.สีที่ใชตองเปนสีโทนสีน้ําตาล หามใชสีเหลือง 3.ตองทําการสรางจี้ทองคําขึ้นมาเอง 4.ขอกําหนดและรูปภาพจากฝายการตลาด 2. ศึกษาขอมูลความถูกตองของเอกสาร และความตองการในการออกแบบ (Creative Brief) กรุณาดูที่ ภาคผนวก ดูงานออกแบบกับWebsiteที่ใกลเคียงและวิเคราะหผลการศึกษา การจัดวางองคประกอบ การใชภาพ เทคนิคการใช ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับก ารออกแบบ Website ทางสื่อออนไลนตางๆ ความตองการการ ออกแบบจากฝายการตลาด ใหใชโทนสีน้ําตาลครีม หามใชโทนสีเหลืองสรางจี้ทองคําจากลายเสนปากาให เปนจี้ทองและใหจี้ทองมีความโดดเดนทําการออกแบบ 2หนาเว็ปมีปุมลิงคเพื่อเขาหนากติกา
43
3. การศึกษาตัวอยางจากกรณีศกึ ษา (Case Study) โดยมีกรณีศึกษา 3 ตัวอยาง ดังนี้ ศึกษาทั้งโครงสรางเว็บและการจัดวาง lay-out ใหสวยงาม 1. http://www.1234musiccupid.com 2. http://www.123musicmv.com 3. http://www.chandra.ac.th
ข. การกําหนดแบบรางทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงคและสมมุติฐาน 1. วิเคราะหขอมูลทั้งหมดที่ไดจากการศึกษาเพื่อกําหนดขอบเขตในการทํางานตอไป 2. กําหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ จากการเห็นก ระบวนการผลิตจริงทําให เล็งเห็นวาwebไดรับการออกแบบอยางเหมาะสมเพื่อใหสื่อสารไดงายการสื่อสารสามารถตอบโจทได 3. ออกแบบแบบรางทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด (Concept) 4. เขียนแบบออกมาในรูปแบบของการวาง lay-out พรอมวิเคราะหและแกไข 5. การปรับปรุงแกไขแบบจนไดรูปแบบที่ถูกตองและเหมาะสม
44
ค. ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน(Development and Production Stage)
ภาพ 4.4 ไฟลงานที่ฝายการตลาดสงเพื่อนํามาผลิตชิ้นงาน ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
ภาพ 4.5 การสรางเหรีญทองขึ้นมาใหม ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
45
ภาพ 4.6การออกแบบวาง lay-out หนาโปรโมท
ภาพ 4.7การออกแบบวาง lay-out หนากติกาการรวมสนุก ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
ภาพ 4.8การตัดภาพออกมาเปนสวนเพื่อเตรียมนําเขาสูการทําweb ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
46
ภาพ 4.9ทําการตัด Web และใส link หนาโปรโมท ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
ภาพ 4.10ทําการตัด Web และใส link หนากติการวมสนุก ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
ภาพ 4.11 ทําการตรวจสอบ Web กับ Browser ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
47
ง. ขัน้ ตอนหลังการผลิตผลงาน(Post Production Stage) 1. เตรียมไฟล jpg,index พรอมสงใหฝายการตลาด
ภาพ 4.11 ภาพไฟลงานเตียมสง ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
ภาพ 4.11 Banner โปรโมท 30 ชิ้น ที่มาของภาพ : นายอานนท ทองรอด, 2556
48
สรุปผลการปฏิบัติงาน ในการศึกษาของนักศึกษาสาขาออกแบบนิเทศศิลป คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม นั้น นอกจากนักศึกษาจะไดความรูในหลักสูตรแลว การศึกษาประสบการณ วิชาชีพศิ ลปกรรมยังเปนสิ่งที่สําคัญและจําเปนที่นักศึกษาตองทําการปฏิบัติกอนการจบหลักสูตรการศึกษา เพื่อเปนการเตรียมความพรอมในพฤติกรรมทุกดาน ไมวาจะเปนในสวนของบุคลิกภาพ สติปญญา เจตคติ การวางตัวที่ถูกตองเหมาะสม เพื่อพรอมที่จะออกไปดําเนินชีวิตและประกอบอาชีพ ไดอยางมีประสิทธิภาพ การฝกประสบการณวิชาชีพนั้นถือเปนการฝกทักษะการทํางานและรูจักการปรับตัวของการทํางานรวมกับ ผูอื่น มีประโยชนอยางยิ่งสําหรับแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษา การฝกประสบการณวิชาชีพสาขาออกแบบนิเทศศิลป ณ GMM GRAMMY (digital business) ใน ครั้งนี้ ทําใหนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพไดเพิ่มพูนความรู ความเขาใจในวิชาชีพมากยิ่งขึ้น เขาใจการ ทํางานดานการออกแบบเว็บไซต การทํางานในโลกออนไลน และสิ่งพิมพ การมีมนุษยสัมพันธที่ดีตอผูอื่น การวางตัวในสังคมได อีกประการหนึ่งที่สําคัญที่สุดสําหรับนักศึกษาที่ไดรับคือ การทํางานของตนเองไดรับ ความไววางใจใหปฏิบัติหนาที่ดวยตนเองเปรียบเสมือนตนเองเปนบุคลากรคนหนึ่งขององคกร โดยมีการ ควบคุมดูแลแบบกันเองเสมือนญาติ ตั้งแตวันแรกของการฝกประสบการณจนถึงวันสุดทายของการฝก ประสบการณเปนอยางดี ทุกคนตางมีไมตรีจิตที่ดีตอนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพ อีกทั้งยังใหคําแนะนํา และชวยเหลือในทุกๆเรื่อง ไมวาจะเปนเรื่องงานและเรื่องสวนตัวแกนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพเสมอ ประโยชนที่ไดรับจากการเขารับการฝกงาน 1.ไดเรียนรูถึงกระบวนการทํางานตางๆของการทํางานหลังจากการที่ไดเขารับการฝกงานใน หนวยงานที่ไดรับมอบหมายทําใหไดทราบถึงกระบวนการในการทํางานของฝายอื่นๆอีกดวยและไดทราบถึง บทบาทหนาที่และความสําคัญของการทํางาน 2. มีความรูเกี่ยวกับเทคนิคการใชโปรแกรมในการออกแบบเว็บไซต การเขียนโปรแกรม การตัดเว็บ 3. การทํางานรวมกับผูอื่นการทํางานเปนทีมการไวใจและเชื่อมั่นเพื่อนรวมทีมการเห็นคุณคาของบุก คลอื่นและการชวยเหลือซึ่งกันและกัน 4. ไดความรูเกี่ยวกับการศึกษาหาขอมูลผลงานออกแบบเพื่อเปนตัวอยางวิเคราะห พัฒนาแนวคิดการ ออกแบบ กระบวนการคิดของนักออกแบบ
49
ดานนักศึกษาผูปฏิบัติงาน 1. ไดรับความรูใหมและประสบการณในสภาวะการทํางานจริง 2. ฝกใหผูปฏิบัติงานมีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย 3. พัฒนาบุคลิกภาพชวยสรางความมั่นใจในการทํางานการกลาแสดงออกและการแสดงความคิดเห็น มากขึ้น 4. ไดเรียนรูการทํางานรวมกับผูอื่นและเพิ่มทักษะการเรียนรูระบบการทํางานในองคกร 5. สามารถนําประสบการณจากการฝกงานไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันได 6. ฝกฝนใหเปนคนชางสังเกตและรูจักปรับปรุงการพัฒนาการทํางานของตน 7. เพิ่มพูนทักษะการใชโปรแกรมทางการออกแบบ 8. เรียนรูโปรแกรมตางๆที่องคกรนํามาใชในการทํางาน 9. ฝกฝนการปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมในการทํางาน 10. สรางเสริมสรางเสริมลักษณะนิสัยใหเปนคนตรงตอเวลามากยิ่งขึ้น 14. ทําใหมีความขยันหมั่นเพียรมากยิ่งขึ้นการมีบุคลิกภาพที่ดีและการวางตัวที่เหมาะสม 11. มีมนุษยสัมพันธที่ดีมากขึ่น 12. ฝกฝนใหเปนคนที่มีความรับผิดชอบตอภาระหนาที่ ดานสถานประกอบการ 1. เปดโอกาสใหองคกรไดรับนักศึกษาฝกงานที่มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในสิ่งใหมเขามาทํางาน 2. องคกรไดรับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยตางๆในการคัดเลือกบุคคลเขารับการฝกงาน 3. ชวยลดคาใชจายในสวนของการจางงานประจํามากขึ้นเนื่องจากการดําเนินงานของนักศึกษา ฝกงานมาชวยทํางานในสวนที่สามารถชวยทําได 4. องคกรมีทางเลือกในการคัดสรรพนักงานที่เหมาะสมกับองคกรจากโครงสรางนักศึกษา 5. องคกรไดรับทราบเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของแตละมหาวิทยาลัยโดยดูจากนักศึกษาของแต ละมหาวิทยาลัย ดานมหาวิทยาลัย 1. เกิดความรวมมือกันทางวิชาการและความสัมพันธที่ดีกับสถานประกอบการ 2. มหาวิทยาลัยไดขอมูลยอนกลับเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรในการเรียนการสอนตอไป 3. จากการสงตัวเขารับการฝกงานไปยังบริษัทตางๆชวยใหมหาวิทยาลัยไดรับการยอมรับจาก ตลาดแรงงานมากขึ้น
50
ขอเสนอแนะเพิ่มเติม เนื่องจากผูฝกงานยังเปนมือใหมสําหรับงานออกแบบดาน Website ฉะนั้นควรฝกฝนฝมือดวยการดู งานออกแบบจากของทั้งในและตางประเท ศเทศเพื่อเปนแนวทางในการออกแบบเพราะงานออกแบบยังดูไม ทันสมัย และฝกการใชโปรแกรมทางดานกราฟกใหมีความชํานาญยิ่งขึ้นเพื่อใหรวดเร็วในการทํางาน การตอบรับจากทีฝ่ ก งาน จากการที่เขาไปฝกประสบการณวิชาชีพศิลปกรรม ณ บริษัท GMM GRAMMY (digital business) ไดรับการตอบรับเปนอยางดี มีการใหความชวยเหลือในทุกๆดาน ไมวาจะเปนการใหคําแนะนําในการใชงาน โปรแกรม เทคนิคทางดานโปรแกรม การใหความรูทั้งในและนอกสถานที่โดยไดไปศึกษางานในดานการ เขียนเว็บไซต การทํางานตั้งแตขั้นเริ่มตนและนําเสนองานกับพี่เลี้ยงเพื่อฝกทักษะ การเขียเว็บและการแกปญา หาเมื่อเกิดความผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรม ใหเราทํางานจริง เสมือนนักศึกษาคือพนักงานคนหนึ่งของ องคกร ความรูสึกที่มีตอที่ฝกงาน การฝกประสบการณวิชาชีพศิลปกรรม บริษัท GMM GRAMMY (digital business) นักศึกษามีความ ประทับใจและดีใจเปนอยางยิ่งที่ ไดเขารับการฝกประสบการณวิชาชีพที่ องคกร ที่นี่พนักงานทุกคนจะอยูกัน แบบพี่นอง คอยใหคําปรึกษาและชวยเหลือซึ่งกันและกัน การทํางานจะทํางานเปนทีม ทําใหนักศึกษาได เรียนรูการทํางานรวมกับบุคคลอื่นไดเปนอยางดี และการทํางานที่นี้นักศึกษารูสึกวาไดความรูตา งๆ มากมาย นอกเหนือจากการศึกษาในชั้นเรียน คือ เกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเอง การทํางานรวมกับผูอื่น ความ รับผิดชอบ และมีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น ซึ่งเปนคุณสมบัติที่พึงประสงคของสถานประกอบการ ที่ สําคัญนอกเหนือสิ่งใด คือ งานที่นักศึกษาออกแบบสามารถนํามาใชไดจริง ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนที่ดีตอการ ทํางานจริงตอไป