ประวัติข้าวโพด แหล่งปลูกข้าวโพด ข้าวโพดสามารถปลูกได้อย่างกว้างขวางทัว่ โลกตั้งแต่ละติจูดที่ ๕๘ องศา ในประเทศแคนนาดา ผ่าน เขตโซนร้อนลงมาจนถึงเขตตอนใต้ประมาณละติจูดที่ ๓๕-๔๐ ข้าวโพดสามารถเจริ ญเติบโตได้ดี บนพื้นที่ซ่ึงมีระดับ เดียวกับน้ าทะเลไปจนถึงพื้นที่ระดับสูงกว่าน้ าทะเล ๓,๐๐๐-๓,๙๐๐ เมตร ใน ประเทศเปรู และเม็กซิโก แหล่งผลิตข้าวโพดสาคัญ ๆ เรี ยงตามปริ มาณการผลิตมากไปหาน้อย คือ สหรัฐอเมริ กา สหภาพโซเวียตรุ สเซีย เม็กซิโก สหภาพแอฟริ กาใต้ อาร์เจนตินารู มาเนีย ยูโกสลาเวีย อินเดีย อิตาลี ฝรั่งเศษ และอินโดนิเซีย สาหรับในประเทศไทยอาจกล่าวได้ว่า ข้าวโพดสามารถปลูกได้ดีทุกภาค จังหวัดที่ผลิตข้าวโพดมาก ในแต่ละภาค เรี ยงตามปริ มาณการผลิตมากไปหาน้อย ดังนี้ ภาคกลาง มี เพชรบูรณ์ ลพบุรี นครสวรรค์ สระบุรี พิษณุโลก พิจิตร สุโขทัย และปราจีนบุรี ภาคเหนือ มี แพร่ น่าน เชียงราย และเชียงใหม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี นครราชสีมา ศรี สะเกษ อุบลราชธานี ขอนแก่น และชัยภูมิ ภาคใต้ ปลูกมากที่ สงขลา สุราษฎร์ธานี และ นครศรี ธรรมราช
ประวัติและถิ่นฐานดั้งเดิมของข้าวโพด พันธุข์ า้ วโพดที่ใช้ปลูกในปัจจุบนั นี้ เป็ นพืชที่ไม่สามารถขึ้นเองได้ถา้ มนุษย์ไม่ให้การปฏิบตั ิรักษา เท่าที่ควร ไม่มีใครทราบเกี่ยวกับรากฐานดั้งเดิมว่า พืชนี้เปลี่ยนจากพืชป่ ามาเป็ นพืชเลี้ยงเมื่อใด แต่คง เป็ นเวลานับพัน ๆ ปี มาแล้ว นักภูมิศาสตร์และนักโบราณคดีหลายท่านสันนิษฐานว่า มนุษย์รู้จกั ปลูก ข้าวโพดกันมากกว่า ๔,๕๐๐ และในข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาและถิ่นฐานดั้งเดิมของ
ข้าวโพดนั้น ในปัจจุบนั นี้ยงั ไม่มีผใู้ ดทราบแน่ชดั ถึงแม้ว่าได้มีนกั ค้นคว้าหลายท่านได้ทาการศึกษา และให้ขอ้ สันนิษฐานต่าง ๆ มานาน แต่ก็ยงั มีเหตุผลหลายประการที่ขดั แย้งกันอยูบ่ างท่านสันนิษฐาน ว่า ข้าวโพดอาจมีถิ่นฐานในแถวที่ราบสูงซึ่งเป็ นที่ต้งั ของประเทศเปรู โบลิเวีย และ เอกวาตอร์ ใน ทวีปอเมริ กาใต้ เนื่องจากมีผพู้ บข้าวโพดพันธุพ์ ้นื เมืองหลายพันธุม์ ีความปรวนแปรในด้านกรรมพันธุ์ และมีลกั ษณะต่าง ๆ ผิดแผกกันมาก นอกจากนี้ขา้ วโพด บางชนิดที่มีลกั ษณะคล้ายข้าวโพดป่ ายังพบ ขึ้นในแถบนั้นอีกด้วย แต่บางท่านก็ให้ขอ้ คิดว่า ในแถบอเมริ กากลางและตอนใต้ของประเทศเม็กซิโก น่าจะเป็ นแหล่งกาเนิดข้าวโพดมากกว่า เพราะมีหญ้าพื้นเมืองขิงบริ เวณนี้ ๒ ชนิด คือ หญ้าทริ พซาคัม (Trip saxum) และหญ้าทิโอซินเท (Teosinte) ซึ่งมีลกั ษณะทางพฤกษาศาสตร์หลายประการคล้ายคลึง กับข้าวโพดมาก นอกจากนี้ ยังมีนกั โบราณคดี ได้ขุดพบซากซังของข้าวโพดปนกันอยูก่ บั ซากของ โบราณวัตถุต่าง ๆ ซึ่งฝังอยูใ่ ต้ดินลึกถึง ๒๘ เมตร บริ เวณเมืองหลวงของประเทศเม็กซิโกในบริ เวณ ถ้าและสุสานหลายแห่งจากการพิสูจน์ตามหลักวิทยาศาสตร์ทาให้ทราบว่าซากสิ่งของเหล่านี้มีอายุ นานกว่า ๔,๐๐๐ ปี ซึ่งแสดงว่ามีขา้ วโพดปลูกอยูใ่ นแถบนี้เป็ นเวลานานนับพันปี มาแล้ว นอกจากนี้ บางท่านได้ให้ความเห็นอีกว่า ข้าวโพดบานิดอาจมีรากฐานอยูใ่ นเอเซียก็ได้ เพราะพืชพื้นเมืองหลาย อย่างในแถบนี้จะมีลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์คล้ายข้าวโพดมาก เช่น ลูกเดือยและอ้อน้ า แต่อย่างไรก็ ตาม ทั้งหมดนี้เป็ นข้อสันนิษฐานและเหตุผลของแต่ละท่าน ยังไม่มีประจักษ์พยานยืนยันแน่ชดั คง จะต้องถกเถียงและค้นคว้าหาความจริ งกันต่อไปอีก สาหรับพืชดั้งเดิมของข้าวโพดนั้น ได้มีนกั พฤกษศาสตร์และนักพันธุศาสตร์ ตั้งสมมุติฐานขึ้นต่าง ๆ กัน เนื่องจากข้าวโพดมีส่วนใกล้เคียงกับหญ้าทริ พซาคัม และทิโอซินเทมาก บางท่านจึงเชื่อว่า หญ้า พวกนี้เป็ นบรรพบุรุษของข้าวโพด อย่างไรก็ตาม จากการทดลองผสมพันธุร์ ะหว่างข้าวโพดกับหญ้าท ริ พซาคัม ปรากฏว่า ได้ลกู ผสมออกมาเป็ นหญ้าทิโอซินเท นอกจากนั้น ความแตกต่างทางพันธุกรรม ของข้าวโพดกับหญ้าทั้งสองชนิดนี้ทาให้หลายท่านสรุ ปได้ว่าหญ้าทั้ง ๒ ชนิด นั้นไม่ได้เป็ นพืชดั้งเดิม ของข้าวโพด ข้าวโพดที่ปลูกอยูท่ ุกวันนี้ คงจะวิวฒั นาการมาจากข้าวโพดพันธุป์ ่ า (pod maize) อย่าง แน่นอน ดังนั้น หญ้าทริ พซาคัม และ ทิโอซินเท ก็ควรเป็ นพืชดั้งเดิมเดียวกับข้าวโพด หากแต่ได้ วิวฒั นาการมาคนละสาย จึงมีลกั ษณะแตกต่างกันในปัจจุบนั
ประวัติของข้าวโพดในประเทศไทย ปัจจุบนั นี้ไม่อาจทราบแน่ชดั ว่าบรรพบุรุษของไทยเรา รู้จกั ปลูกข้าวโพดกันมาตั้งแต่เมื่อใด ถึงแม้จะมี นักค้นคว้าบางท่านกล่าวว่า ชนชาติไทยอาจรู้จกั ปลูกข้าวโพดกันมาก่อนที่จะอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยูใ่ น แหลมทองเสียอีก บางท่านสันนิษฐานว่าได้รับข้าวโพดมาจากอินเดีย แต่ท้งั นี้ไม่มีหลักฐานยืนยันได้ แน่ชดั เอกสารเก่าแก่ที่พบเป็ นจดหมายเหตุของลูแบร์ (Monsieur De La Loubere) ชาวฝรั่งเศสที่เข้ามา เมืองไทยในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราชระหว่างปี พ.ศ. ๒๒๓๐-๒๒๓๑ โดยได้เขียนไว้ ว่า "คนไทยปลูกข้าวโพดแต่ในสวนเท่านั้น และต้มกินหรื อเผากินทั้งฝักโดยมิได้ปอกเปลือกหรื อ กะเทาะเมล็ดเสียก่อน" เขายังได้อธิบายถึงข้าวโพดสาลี (kaou-possali) ว่า เป็ นอาหารเฉพาะพระเจ้า แผ่นดิน จดหมายเหตุฉบับนี้ทาให้พอทราบว่าข้าวโพดมีปลูกในประเทศไทยมาตั้งแต่สมัยนั้นแล้ว หากแต่ปลูกกันไม่มากนักคงจะปลูกกันอย่างพืชหายาก หรื อพืชแปลกที่นามาจากที่อื่น ข้าวโพดในสมัยโบราณของไทย อาจเป็ นพืชหลวงหรื อพืชหายากดังกล่าวมาแล้ว ราษฎรสามัญอาจ ไม่ได้ปลูกกันมาก แต่เนื่องจากข้าวโพดเป็ นพืชที่มีความเหมาะสมกับสภาพดินฟ้ าอากาศของไทย และ ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ง่าย ฉะนั้น ในระยะต่อมาจึงได้ขยายพันธุอ์ อกไปในหมู่ประชาชน อย่างแพร่ หลายแต่ก็คงมีการปลูกกันไม่มากนัก เพราะไม่ใช้เป็ นอาหารหลักเหมือนข้าวเจ้า ส่วนมากคง ปลูกในสวนในที่ดอน หรื อในที่ที่น้ าไม่ท่วม เพื่อรับประทานแทนข้าวบ้างในยามเกิดทุพภิกขภัยเมื่อ ทานาไม่ได้ผล การปลูกข้าวโพดในสมัยก่อน ๆ นั้นจึงไม่สูม้ ีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ เท่าใดนัก ในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ นับว่าเป็ นยุคต้น ๆ ของการกสิกรรมมัยใหม่ของประเทศไทยหรื อที่ เรี ยกกันว่า "การกสิกรรมบนดอน" โดยที่ได้มีนกั เกษตรรุ่ นแรกหลายท่านที่ได้ไปศึกษาการเกษตรแผน ใหม่มาจากต่างประเทศ และได้เล็งเห็นความสาคัญของการปลูกพืชไร่ หรื อพืชดอน เพื่อใช้เป็ นอาหาร สัตว์และเพื่อการทาไร่ นาผสม อันเป็ นการบุกเบิกแนวใหม่ของการกสิกรรมในประเทศไทย ซึ่งแต่เดิม เคยยึดมัน่ อยูแ่ ต่ขา้ วเพียงอย่างเดียว ให้ข้ ึนอยูก่ บั พืชอื่น ๆ อีกหลายชนิด ในบรรดาพืชไร่ เหล่านี้ก็มี ข้าวโพดรวมอยูด่ ว้ ย แต่เดิมข้าวโพดที่มีปลูกกันในประเทศไทยขณะนั้น เป็ นชนิดหัวแข็ง (flint corn) และมีสีเหลืองเข้มแต่เมล็ดมีขนาดเล็กมาก เป็ นพันธุท์ ี่นามาจากอินโดจีนต่อมา ม.จ. สิทธิพร กฤดากร อดีตอธิบดีกรมเพาะปลูก (กรมวิชาการเกษตรในปัจจุบนั ) ซึ่งได้ลาออกไปทาฟาร์มส่วนตัวที่ตาบลบาง
เบิด อาเภอสะพานใหญ่ จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๖๓ ได้ทดลองสัง่ พันธุ์ ข้าวโพดไร่ ชนิดหัวบุบ (dent corn) มาจากสหรัฐอเมริ กา และทดลองปลูกเป็ นครั้งแรกในประเทศไทย จานวน ๒ พันธุ์ คือ พันธุน์ ิโคลสันยลโลเดนต์ (nicholson's yellow dent) ซึ่งมีเมล็ดสีเหลือง และพันธุ์ เม็กซิกนั จูน (mexican june) ซึ่งมีเมล็ดสีขาว โดยได้ทดลองปลูกที่ฟาร์มบางเบิด เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๖๗ เพื่อใช้เมล็ดเลี้ยงไก่ไข่ขายส่งตลาดกรุ งเทพฯและเลี้ยงสุกรขายตลาดปี นัง นอกจากนี้ ท่านยัง ได้ส่งไปขายเป็ นอาหารไก่ในประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย และได้รายงานไว้ว่าข้าวโพดทั้ง ๒ พันธุน์ ้ ีข้ ึนได้ดี มาก ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๙ โรงเรี ยนฝึ กหัดครู ประถมกสิกรรมของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้การ ควบคุมของพระยาเทพศาสตร์สถิตย์ ซึ่งตั้งอยูต่ าบลบางสะพานใหญ่ จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ได้นาไป ทดลองปลูกที่โรงเรี ยนก็ได้ผลดีมาก ครั้นเมื่อโรงเรี ยนย้ายมาอยูท่ บั กวาง ได้นาข้าวโพดทั้ง ๒ พันธุม์ า ปลูกแบบการค้าเป็ นการใหญ่ โดยใช้เครื่ องมือทุ่นแรงต่าง ๆ ปรากฏว่า ได้ฝักใหญ่และงามดีมาก เพราะดินเป็ นดินใหม่หลวงชุณห์กสิกรได้รายงานว่า ข้าวโพดพันธุเ์ ม็กวิกนั จูน ซึ่งทดลองปลูกที่ โรงเรี ยนฝึ กหัดครู กสิกรรทับกวางได้ผลเฉลี่ย ๒,๓๐๐ ฝัก/ไร่ หรื อเมล็ดแก่ ๘๒๕ ปอนด์/ไร่ โดยพืชที่ ปลูกระหว่างหลุมข้าวโพดมีถวั่ ฝักยาว ส่วนระหว่างแถวมีถวั่ ลิสงและพริ กขี้หนู ดินที่ปลูกไม่ได้รับการ บารุ งจากปุ๋ ยอะไรเลย และขณะนั้น ขายได้ราคาปอนด์ละ ๑๐ สตางค์ ปรากฏว่าได้กาไรไร่ ละ ๓๐ บาท ต่อมาโรงเรี ยนฝึ กหัดครู กสิกรรมแห่งนี้ได้ทาการปลูกข้าวโพดทั้ง ๒ พันธุเ์ ป็ นการค้าเรื่ อยมาเป็ นเวลา หลายปี และเมล็ดพันธุก์ ็ได้แพร่ หลายไปในหมู่กสิกรจังหวัดใกล้เคียง เช่น ลพบุรี สระบุรี นครราชสีมา โดยกสิกรได้คดั เลือกและเก็บเมล็ดพันธุไ์ ว้ใช้เอง และได้รู้จดั ชกกันในนามของข้าวโพดฟันม้าบ้าง หรื อข้าวโพดพันธุป์ ากช่องบ้าง ซึ่งต่อมาได้แพร่ หลายไปตามแหล่งต่าง ๆ ลักษณะทั่ว ๆ ไปและลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ราก รากแรกที่ออกมาจากคัพภะ (embryo) เป็ นรากชั่วคราวเรียกว่า ไพรมารี (primary) หรือ เซมินัล (seminal) หลังจากข้ าวโพดเจริญเติบโตได้ ประมาณ ๗-๑๐ วัน รากถาวรจะงอกขึน้ รอบ ๆ ข้ อปลาย ๆ ในระดับใต้พนื้ ดินประมาณ ๑-๒ นิว้ รากถาวรนี้ เมือ่ เจริญเติบโตเต็มที่จะแผ่ออกไปโดยรอบประมาณ ๑๐๐ เซนติเมตร และแทงลึกลงไปในดินแนวดิ่งยาวมากซึ่งอาจยาวถึง ๓๐๐ เซนติเมตร รากของ
ข้ าวโพดเป็ นระบบรากฝอย (fibrous root system) นอกจากรากที่อยู่ใต้ดินแล้ว ยังมีรากยึดเหนี่ยว (bracer root) ซึ่งเกิดขึน้ รอบ ๆ ข้ อที่อยู่ใกล้ผวิ ดิน และบางครั้งรากพวกนีย้ งั ช่ วยหยัง่ ยึดพืน้ ดินอีกด้ วย ลาต้น ข้ าวโพดมีลาต้นแข็ง ไส้ แน่ นไม่กลวง มีความยาวตั้งแต่ ๓๐ เซนติเมตร จนถึง ๘ เมตร แล้วแต่ ชนิดของพันธุ์ ตามลาต้นมีข้อ (node) และปล้อง (internode) ปล้องที่อยู่ในดินและใกล้ผวิ ดินสั้น และ จะค่อย ๆ ยาวขึน้ ไปทางด้ านปลาย ปล้องเหนือพืน้ ดินจะมีจานวนประมาณ ๘-๒๐ ปล้อง พันธุ์ข้าวโพด ส่ วนมากลาต้นสดมีสีเขียว แต่บางพันธุ์มสี ีม่วง ข้ าวโพดแตกกอไม่มากนัก ส่ วนมากไม่แตกกอทั้งนี้ แล้วแต่ชนิดพันธุ์และสิ่งแวดล้อม ข้ าวโพดที่แตก กอได้ ๓-๔ ต้น เช่ น ข้ าวโพดหวาน ข้ าวโพดที่ปลูกในที่สูงกว่าระดับนา้ ทะเลมาก ๆ อาจแตกกอได้ ต้งั แต่ ๗-๑๐ ต้น ใบ ข้ าวโพดมีใบลักษณะยาวรี คล้ายพืชตระกูลหญ้ าทั่วไป ประกอบด้ วยตัวใบ กาบใบ และเขีย้ วใบ ลักษณะของใบรวมทั้งสีของใบแตกต่างกันไป แล้วแต่ชนิดของพันธุ์ บางพันธุ์ใบสีเขียว บางพันธุ์ใบสี ม่วงและบางพันธุ์ใบลายจานวนใบก็เช่ นเดียวกันอาจมีต้งั แต่ ๘-๔๘ ใบ ดอก ข้ าวโพดจัดเป็ นพวกโมโนอิเซียส (monoecious) คือ มีดอกตัวผู้และดอกตัวเมียแยกอยู่ในต้น เดียวกัน ช่ อดอกตัวผู้ (tassel) อยู่ตอนบนสุ ดของลาต้น ดอกตัวผู้ดอกหนึ่งจะมีอบั เกสร (anther) ๓ อับ แต่ละอับจะมีเรณูเกสร (pollen grain) ประมาณ ๒,๕๐๐ เม็ด ดังนั้นข้ าวโพดต้นหนึ่ง จึงมีเรณูเกสรอยู่ เป็ นจานวนหลายล้าน และสามารถปลิวไปได้ ไกลกว่า ๒,๐๐๐ เมตร ส่ วนดอกตัวเมียอยู่รวมกันเป็ นช่ อ เกิดขึน้ ตอนข้ อกลาง ๆ ลาต้น ต้นหนึ่งอาจมีหลายช่ อแล้วแต่ชนิดพันธุ์ ดอกตัวเมียแต่ละดอก ประกอบด้ วยรังไข่ (ovary) และเส้ นไหม (silk หรือ style) ซึ่งมีความยาวประมาณ ๕-๑๕ เซนติเมตร และยืน่ ปลายโผล่ออกไปรวมกันเป็ นกระจุกอยู่ตรงปลายช่ อดอกซึ่งมีเปลือกหุ้มอยูดอกพวกนี ่ พ้ ร้ อมที่ จะผสมพันธุ์ หรือรับละอองเกสรได้ เมือ่ เส้ นไหมโผล่ออกมา หลังจากได้ รับการผสมเส้ นไหมจะแห้ ง เหี่ยวและรังไข่ เจริญเติบโตเป็ นเมล็ด ช่ อดอกตัวเมียที่รับการผสมแล้วเรียกว่า ฝัก (ear) แต่ละฝักอาจมี เมล็ดมากถึง ๑,๐๐๐ เมล็ด แกนกลางของฝักเรียกว่า ซัง (cob) การเจริญเติบโตของข้ าวโพด
เมล็ดข้ าวโพดจัดเป็ นพวกไม่มรี ะยะการฟัดตัว (seed dormancy) เมือ่ เมล็ดแก่เก็บเกีย่ วแล้ว สามารถ นาไปปลูกได้ เลย เมือ่ เมล็ดแก่เก็บเกีย่ วแล้ว สามารถนาไปปลูกได้ เลย เมือ่ ฝังเมล็ดลงไปในดิน เมล็ดจะ งอกโผล่พ้นผิวดิน และใบแรกคลีอ่ อกให้ เห็นภายในประมาณ ๔-๖ วัน (ระยะที่ ๑-๒ ในภาพ) หลังจาก ผสมเกสร
ชนิดของข้าวโพด ข้าวโพดอาจจาแนกออกได้เป็ น ๒ แบบ คือ ๑. การจาแนกทางพฤกษศาสตร์ การจาแนกแบบนี้ถือเอาลักษณะของแป้ งและเปลือกหุม้ เมล็ดเป็ น หลัก จาแนกออกเป็ น ๗ ชนิด คือ (๑) ข้าวโพดหัวบุบ (dent corn) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ซี เมย์ส อินเดนทาทา (Zea mays indentata) เมล็ดตอนบนมีรอยบุ๋ม เนื่องจากตอนบนมีแป้ งอ่อนและตอนข้าง ๆ เป็ นแป้ งชนิดแข็ง เมื่อตากเมล็ด ให้แห้งแป้ งอ่อนจะยุบหดตัวลง จึงเกิดลักษณะหัวบุบดังกล่าว ขนาดของลาต้น ความสูง เหมือนข้าว ไร่ ทวั่ ๆ ไป สีของเมล็ดอาจเป็ นสีขาว สีเหลือง หรื อสีอื่น ๆ แล้วแต่พนั ธุ์ นิยมปลูกกันมากใน สหรัฐอเมริ กา (๒) ข้าวโพดหัวแข็ง (flint corn) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ซี เมยส์ อินดูราทา (Zea mays in durata) เมล็ดมีแป้ งแข็งห่อหุม้ โดยรอบ หัวเรี ยบไม่บุบเมล็ดค่อนข้างกลม มีปลูกกันมากในเอเชียและอเมริ กา ใต้ ข้าวโพดไร่ ของคนไทยมีนิยมปลูกกัยอยูเ่ ป็ นชนิดนี้ท้งั สิ้นสีของเมล็ดอาจเป็ นสีขาว สีเหลือง สี ม่วง หรื อสีอื่นแล้วแต่ชนิดของพันธุ์ (๓) ข้าวโพดหวาน (sweet corn) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ซี เมย์ส แซคคาราทา (Zea mays saccharata) นิยมปลูกกันอย่างแพร่ หลาย เพื่อรับประทานฝักสด เพราะฝักมีน้ าตาลมาก ทาให้มีรสหวาน เมื่อแก่ เต็มที่หรื อแห้งเมล็ดจะหดตัวเหี่ยวย่น (รายละเอียดอ่านเรื่ องข้าวโพดหวานและข้าวโพดฝักอ่อน) (๔) ข้าวโพดคัว่ (pop corn) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ซี เมย์ส อีเวอร์ทา (Zea mays everta) เมล็ดมีขนาด
ค่อนข้างเล็ก มีแป้ งประเภทแข็งอยูใ่ น ภายนอกห่อหุม้ ด้วยเยือ่ ที่เหนียวและยืดตัวได้ เมล็ดมีความชื้น ภายในอยูพ่ อสมควร เมื่อถูกความร้อนจะเกิดแรงดันภายในเมล็ดระเบิดตัวออกมา เมล็ดอาจมีลกั ษณะ กลมหรื อหัวแหลมก็ได้ มีสีต่าง ๆ กัน เช่น เหลือง ขาว ม่วง (๕) ข้าวโพดข้าวเหนียว (waxy corn) ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ซี เมย์ส เซอราทินา (Zea maysceratina) เมล็ดมีแป้ งอ่อนคล้ายแป้ งมันสาปะหลังนิยมปลูกเพื่อรับประทานฝักสดคล้ายข้าวโพดหวานแม้จะไม่ หวานมาก แต่เมล็ดนิ่ม รสอร่ อย ไม่ติดฟัน เมล็ดมีสีต่าง ๆ กัน เหลือง ขาว ส้ม ม่วง หรื อมีหลายสีใน ฝักเดียวกัน (๖) ข้าวโพดแป้ ง (flour corn) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ซี เมย์ส อะมิโลเซีย (Zea mays amylocea) เมล็ด ประกอบด้วยแป้ งชนิดอ่อนมาก เมล็ดค่อนข้างกามหัวไม่บุบ หรื อบุบเล็กน้อย นิยมปลูกในอเมริ กาใต้ อเมริ กากลาง และสหรัฐอเมริ กา ชาวอินเดียนแดงนิยมปลูกไว้รับประทานเป็ นอาหาร (๗) ข้าวโพดป่ า (pod corn) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ซี เมย์ส ทูนิกา (Zea mays tunica) มีลกั ษณะ ใกล้เคียงข้าวโพดพันธุป์ ่ า มีลาต้น และฝักเล็กกว่าข้าวโพดธรรมดา ขนาดเมล็ดค่อนข้างเล็กเท่า ๆ กับ เมล็ดข้าวโพดมีข้วั เปลือกหุม้ ทุกเมล็ด และยังมีเปลือกหุม้ ฝักอีกชั้นหนึ่งเหมือนข้าวโพดธรรมดาทัว่ ๆ ไป เมล็ดมีลกั ษณะต่าง ๆ กัน (ดูรูปข้าวโพดพันธุป์ ่ าใน หน้า ๖๔a) ข้าวโพดชนิดนี้ไม่มีความสาคัญ ทางเศรษฐกิจ ปลูกไว้เพื่อการศึกษาเท่านั้น ๒.การจาแนกตามวัตถุประสงค์ของการปลูก อาจจาแนกออกได้เป็ น ๔ ชนิด คือ (๑) ข้าวโพดใช้เมล็ด (grain corn) ปลูกเพื่อเก็บเมล็ดแก่ใช้เป็ นอาหารสัตว์และมนุษย์ หรื อทา อุตสาหกรรมอย่างอื่น (๒) ข้าวโพดหมัก (silage corn) ปลูกเพื่อตัดต้นสดมาหมักใช้เป็ นอาหารสัตว์ (๓) ข้าวโพดอาหารสัตว์ (fodder corn) ปลูกเพื่อตัดต้นสดไปใช้เลี้ยงสัตว์ (๔) ข้าวโพดฝักอ่อน (baby corn) ในประเทศไทยนิยมปลูกเพื่อเก็บฝักอ่อนไปใช้ในการปรุ งอาหาร (รายละเอียดอ่านเรื่ องข้าวโพดฝักอ่อน) พันธุข์ า้ วโพดที่ปลูกเพื่อวัตถุประสงค์แต่ละอย่างมีลกั ษณะไม่เหมือนกัน พวกปลูกเพื่อใช้เมล็ดต้องใช้
พันธุท์ ี่มีผลิตผลของเมล็ดสูง แต่พวกที่ปลูกเพื่อตัดต้นสดไปหมัก หรื อให้สตั ว์กินโดยตรง มักจะใช้ พันธุท์ ี่มีลาต้นสูงหรื อพันธุท์ ี่มีการแตกกอมาก เพื่อจะได้ปริ มาณต้นและใบมาก ส่วนข้าวโพดฝักอ่อน นั้น นิยมใช้พนั ธุท์ ี่มีหลายฝักต่อต้น เช่น ข้าวโพดหวาน
พันธุข์ า้ วโพด ข้าวโพดที่นิยมปลูกกันอยูท่ วั่ ๆ ไป อาจจาแนกพันธุไ์ ด้เป็ น ๒ พวกใหญ่ ๆ คือ ๑. พันธุล์ กู ผสม (hybrids) นิยมปลูกในประเทศที่วิทยาการทางการเกษตรเจริ ญมากแล้ว ทั้งนี้เนื่องจาก ข้าวโพดพวกนี้มีการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมไม่ดี หรื อเปลี่ยนแปรไปตามสิ่งแวดล้อม เช่น ไม่ได้ใส่ ปุ๋ ยเพียงพอ ไม่กาจัดวัชพืช มีน้ าไม่พอ ข้าวโพดพวกนี้จะให้ผลิตผลไม่ดี นอกจากนั้น การใช้ขา้ วโพด ลูกผสมจะต้องซื้อเมล็ดใหม่มาปลูกทุกปี เพราะถ้าใช้เมล็ดเก่าเก็บจากไร่ จะกลายพันธุไ์ ป ๒. พันธุผ์ สมปล่อย (open-pollinated variety) พันธุข์ า้ วโพดชนิดนี้ หากได้รับการปรับปรุ งพันธุอ์ ย่างดี อาจให้ผลิตผลได้ไม่แพ้พนั ธุล์ กู ผสม นอกจากนั้นพันธุพ์ วกนี้ยงั ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้อย่าง กว้างขวาง แม้ดินฟ้ าอากาศจะเปลี่ยนแปรไป ก็ยงั ให้ผลิตผลพอใช้ได้ นอกจากนั้น ชาวไร่ ยงั สามารถเก็บ เมล็ดไว้ทาพันธุต์ ่อไปได้อีกอย่างน้อย ๒-๓ ปี หรื อถ้ารู้จกั คัดเลือกพันธุเ์ อง อาจไม่ตอ้ งซื้อเมล็ดพันธุ์ ใหม่อีกก็ได้ พันธุข์ า้ วโพดพวกนี้ อาจแยกได้เป็ น ๒ ชนิด คือ (๑) พันผสมรวม (composite) เป็ นการรวมพันธุห์ รื อสายพันธุต์ ่าง ๆ เข้าด้วยกัน วิธีรวมง่าย ๆ ก็โดยเอา เมล็ดจานวนเท่า ๆ กัน จากแต่ละพันธุห์ รื อสายพันธุม์ ารวมกันเข้า แล้วนาไปปลูกในแปลงอิสระ ห่างไกลจากข้าวโพดพันธุอ์ ื่น ๆ ปล่อยให้ผสมกันเองตามธรรมชาติแล้วเก็บเกี่ยวเมล็ดไว้ปลูกเป็ นพันธุ์ ต่อไป การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษา
ฝักข้าวโพดจะแก่จดั และเก็บเกี่ยวได้เมื่อเปลือกหุม้ ฝักเริ่ มมีสีฟางทางที่ดีควรปล่อยข้าวโพด ทิ้งไว้ในแปลงให้แห้งดีเสียก่อน เพื่อทุ่นเวลาในการตากและสะดวกในการเก็บรักษา โดย เฉลี่ยแล้วข้าวโพดไร่ พนั ธุท์ ี่ใช้ปลูกอยูใ่ นประเทศไทย มีอายุต้งั แต่ปลูกถึงเก็บเกี่ยวประมาร ๙๐-๑๒๐ วัน ในการเก็บเกี่ยวข้าวโพด ชาวไร่ ทวั่ ๆ ไปยังใช้แรงคนเก็บ โดยหักฝักที่แห้งแล้วออกจากต้น แกะเปลือกหุม้ ฝักออกหรื อจะเอาไว้แกะเปลือกที่หลังก็ได้ การใช้เครื่ องทุ่นแรงเก็บเกี่ยว ข้าวโพดยังมีนอ้ ยมากในประเทศไทย ทั้งนี้เนื่องจากเครื่ องมือมีราคาแพง และมี ประสิทธิภาพในการทางานต่า เพราะพันธุท์ ี่ชาวไร่ ปลูกมีความสูงของลาต้นและฝักไม่ เท่ากัน นอกจากนั้นต้นยังหักล้มมากอีกด้วย หลังจากเก็บฝักข้าวโพดและปอกเปลือกออกแล้วควรตามฝัดไว้ภายในโรงเรื อน หรื อทา แคร่ เตี้ย ๆ กลางแจ้ง มีโครงไม้สาหรับใช้แฝกหรื อผ้าพลาสติกคลุมเวลา ฝนตกได้ ถ้ามี ข้าวโพดเป็ นจานวนมากควรสร้างฉางขนาดกว้างพอสมควร ยกพื้นสูงไม่ต่าว่า ๕๐ เซนติเมตร พื้นเป็ นไม้ระแนงด้านข้างกรุ ดว้ ยลวดตาข่ายหรื อไม้ระแนงเช่นเดียวกับพืน้ ทั้งนี้เพื่อให้ลมโกรกผ่านเข้าออกได้ ด้านบนเป็ นหลังคากันฝน เมื่อฝักข้าวโพดแห้งดีแล้ว จึงทาการกะเทาะเมล็ดไม่ควรกะเทาะเมล็ดเมื่อความชื้นยังสูงอยู่ จะทาให้เมล็ดแตกมาก เครื่ องกะเทาะเมล็ดข้าวโพดในปัจจุบนั มีท้งั แบบมือหมุน และแบบ ที่หมุนด้วยเครื่ องยนต์ เครื่ องกะเทาะเมล็ดเหล่านี้สร้างในประเทศ ราคาจึงไม่แพงนัก เครื่ อง กะเทาะใหญ่ ๆ อาจกะเทาะได้ถึง ๑,๐๐๐ ตัน/ชัว่ โมง เมล็ดที่กะเทาะออกจากฝักแล้ว ถ้ายังแห้งไม่สนิทควรตากต่อให้แห้งก่อนเก็บเข้ากระสอบ ควรมีความชื้นในเมล็ดไม่เกิน ๑๕% จากนั้นอาจนาไปจาหน่ายหรื อเก็บในยุง้ ฉางต่อไป ถ้า จะเก็บไว้นานโดยเฉพาะอย่างยิง่ ส่วนของเมล็ดที่เอาไว้พนั ธุ์ ควรคลุกยากันเชื้อราออโท โซด์ ๗๕ หรื อ ซีเรแซนเอ็ม ในอัตราประมาณ ๑ กรัม/เมล็ดข้าวโพด ๑ กิโลกรัม และใช้ยา ป้ องกันและกาจัดแมลงดีดีทีผงชนิด ๗๕% ในอัตรา ๑ กรัม/เมล็ดข้าวโพด ๑๐ กิโลกรัม คลุกไปด้วย สาหรับข้าวโพดเมล็ดที่เก็บไว้เลี้ยงสัตว์หรื อเก็บไว้จาหน่ายนาน ๆ ควรรมยา
พวกเมทิลโบรไมด์เดือนละครั้ง (๒) พันธุส์ งั เคราะห์ (synthetics) เป็ นพันธุท์ ี่ได้จากการรวมสายพันธุท์ ี่ได้รับการทดสอบการรวมตัว (combining abillity) มาแล้ว วิธีการรวมสายพันธุอ์ าจทาได้เช่นเดียวกับพันธุผ์ สมรวม
การใช้ประโยชน์ เมล็ดข้าวโพดและส่วนต่าง ๆ ของข้าวโพดสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง อาจแบ่งการ ใช้ออกเป็ น ๓ ประเภท คือ ๑. ใช้เป็ นอาหารมนุษย์ ในประเทศไทย ประชาชนนิยมรับประทานฝักสดของข้าวโพดหวาน ข้าวโพดข้าวเหนียวและ ข้าวโพดไร่ โดยการต้มหรื อเผาให้สุกเสียก่อน นอกจากนั้น ฝักอ่อนของข้าวโพดยังนิยมรับประทาน กันอย่างแพร่ หลายนับเป็ นผักชนิดหนึ่งที่นามาปรุ งอาหาร นอกจากจะรับประทานในประเทศแล้ว ยังบรรจุกระป๋ องส่งไปจาหน่ายยังต่างประเทศเป็ นอุตสาหกรรมชนิดหนึ่งด้วย ประชาชนในบางประเทศ อาศัยบริ โภคข้าวโพดเป็ นอาหารหลักในรู ปต่าง ๆ กัน เช่น ในอเมริ กา กลางและอเมริ กาใต้ ใช้แป้ งบดจากเมล็ดแก่มาทาเป็ นแผ่นนึ่งหรื อย่างให้สุก รับประทานกับอาหาร อื่นคล้ายกับการรับประทานขนมปัง ในฟิ ลิปปิ นส์นิยมตาเมล็ดข้าวโพดแก่ให้แตกเป็ นชิ้นเล็กเท่า ๆ เมล็ดข้าว แล้วต้มรับประทานแทนข้าว ๒. ใช้เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม เมล็ดและผลิตผลจากเมล็ดข้าวโพด สามารถนาไปใช้ในการอุตสาหกรรมได้หลายประเภท เช่น ทา แอลกอฮอล์ แป้ ง น้ าตาลชนิดต่าง ๆ น้ าเชื่อมและน้ ามันผลิตผลเหล่านี้ อาจนาไปใช้ทา ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอื่น ๆ ได้อีกต่อหนึ่ง เช่น ยารักษาโรค กระดาษ กระดาษแก้ว ผ้าสังเคราะห์ กรด น้ าหอม น้ ามันใส่ผม และ แบตเตอรี่ นอกจากเมล็ดแล้ว พวกฝัก ใบ และลาต้น อาจนาไปใช้ทา
ผลิตภัณฑ์ได้หลายชนิด เช่น กระดาษ ปุ๋ ย และฉนวนไฟฟ้ า ๓. ใช้เป็ นอาหารสัตว์ ข้าวโพดนับเป็ นพืชที่ใช้เป็ นอาหารสัตว์ได้ดีชนิดหนึ่ง การใช้ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์อาจทาได้หลาย อย่าง เช่น ใช้เมล็ด กากน้ าตาล กากแป้ งที่เหลือจากสกัดน้ ามัน ตัดต้นสดให้สตั ว์กินโดยตรง ตัดต้น สดหมัก และใช้ตน้ แก่หลังเก็บเกี่ยวฝักแล้ว ในต่างประเทศนิยมใช้ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์กนั มาก แต่ใน ประเทศไทยยังใช้กนั น้อย ทั้งนี้เนื่องจากราคายังสูงอยู่ ถ้าสามารถลดต้นทุนการผลิตลง และราคา ข้าวโพดอยูใ่ นระดับพอสมควร อาจมีการใช้เลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้น ลักษณะการแปรรู ปของสินค้าข้าวโพด ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็ นพืชเศรษฐกิจที่มีความสาคัญต่ออุตสาหกรรมอาหารสัตว์ พบว่าประมาณร้อยละ 94 ของผลผลิตข้าวโพดใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ของประเทศ (กรมวิชาการเกษตร 2552) และมี แนวโน้มความต้องการเพิ่มขึ้นทุกปี ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นมากหลังจากที่ มีการขยายการเลี้ยงสัตว์ต้งั แต่ปี 2535 เป็ นผลให้การส่งออกลดลงตามลาดับ ปัจจุบนั การผลิตข้าวโพด เลี้ยงสัตว์มีไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ภายในและมีปริ มาณไม่แน่นอนเนื่องจากการผลิตขึ้นกับดิน ฟ้ าอากาศ ทาให้มีความเสี่ยงต่อความเสียหายจากความแห้งแล้งมาก และพื้นที่ปลูกต้องแข่งขันกับพืช เศรษฐกิจอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า ส่งผลให้ในระยะ 4-5 ปี ที่ผา่ นมา ประเทศไทยจาเป็ นต้องนาเข้า ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการการใช้ภายในประเทศ ทั้งๆ ที่ในอดีตไทยเคยเป็ น ประเทศผูส้ ่งออกรายใหญ่รายหนึ่งของโลกและไทยมีศกั ยภาพด้านการผลิตการตลาดที่สามารถแข่งขัน กับต่างประเทศได้ ดังนั้นจึงควรเร่ งการผลิตภายในประเทศให้เพิ่มขึ้นทันกับความต้องการใช้และมี เหลือส่งออก โดยลักษณะการแปรรู ปของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีดงั นี้ การแปรรู ปเป็ นอาหารสัตว์ เมล็ดข้าวโพดเป็ นธัญพืชที่มีคุณค่าอาหารสูง เป็ นที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ในหลายประเทศ เช่น อเมริ กา ออสเตรเลีย เดนมาร์ก สาหรับประเทศที่มีพลเมืองหนาแน่นทาให้ไม่มีพ้นื ที่ว่างพอที่จะ ปลูกข้าวโพด แต่ตอ้ งการเนื้อสัตว์มากจึงจาเป็ นต้องสัง่ เมล็ดข้าวโพดจากประเทศที่ปลูกข้าวโพดได้ มากเพื่อเอาไปเลี้ยงสัตว์ประเทศเหล่านี้ ได้แก่ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ไต้หวัน และประเทศทางตะวันออก กลาง เป็ นต้น สาหรับประเทศที่ปลูกข้าวโพดเองสามารถใช้ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ในรู ปแบบต่าง ๆ กันคือ เมล็ด ซัง ต้นสด ต้นแก่ และผลพลอยได้อื่น ๆ จากโรงงานอุตสาหกรรมข้าวโพด ได้แก่ เปลือกเมล็ด
กาก และรา เป็ นต้น ในประเทศไทยปัจจุบนั มีโรงงานอาหารสัตว์ได้ใช้ขา้ วโพดเป็ นส่วนประกอบส่วน ใหญ่ของอาหารสัตว์ ฉะนั้น ความต้องการข้าวโพดของโรงงานเหล่านี้จึงมีปริ มาณสูงมาก การแปรรู ปในอุตสาหกรรมแป้ ง แป้ งข้าวโพดเป็ นแป้ งที่มีคุณภาพดีและนิยมใช้เป็ นอุตสาหกรรมในการประกอบอาหารในรู ปแบบต่าง ๆ ได้มากมายหลายชนิด สาหรับผลพลอยได้จากเมล็ดข้าวโพดได้ถกู นาไปใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น อาหารกระป๋ อง อาหารแห้ง น้ ามัน น้ าตาล น้ าเชื่อม แอลกอฮอล์ น้ าส้ม เวชภัณฑ์ น้ าหอม น้ ามัน ใส่ผม แบตเตอรี่ อุปกรณ์กนั ความร้อน เครื่ องเคลือบ สียอ้ มหมึก พรม น้ ามันน้ ายาชักเงา สารแทนพวก ยาง สารเคมี สารระเบิด อุตสาหกรรมกระดาษแผ่นใยอัดแน่น ซังใช้ทาจุกก๊อกและกล้องสูบยา วัตถุ ฉนวนไฟฟ้ า ผลิตเป็ นเชื้อเพลิง แหล่งเชื้อเพลิงที่สาคัญในอดีตจนถึงปัจจุบนั คือ ปิ โตรเลียม ที่นามาใช้เป็ นเชื้อเพลิงในยานพาหนะ แต่ ในระยะ 20 ปี ที่ผา่ นมา มีแหล่งเชื้อเพลิงใหม่ที่มนุษย์เริ่ มนามาใช้ คือ เอทานอล โดยนามาใช้เป็ น ส่วนผสมของน้ ามันเชื้อเพลิงในอัตราต่าร้อยละ 5-10 หรื อในอัตราสูงร้อยละ 85 (อาจมีใช้ในบาง ประเทศ) เอทานอลทาให้เครื่ องยนต์เผาไหม้ได้ดี มีคาร์บอนมอนนอกไซด์นอ้ ย มีควันน้อย ประสิทธิภาพเครื่ องยนต์ดีข้ ึน ใช้แทนเบนซินซึ่งเป็ นส่วนประกอบของน้ ามันเชื้อเพลงที่อนั ตราย ข้าวโพดสามารถนามาทาเอทานอลได้โดยบดเมล็ดให้ละเอียดเป็ นแป้ ง เติมเอ็นไซม์เพื่อเปลี่ยนแปลง แป้ งเป็ นน้ าตาล แล้วหมักน้ าตาลที่ได้ดว้ ยยีสต์เพื่อเปลี่ยนน้ าตาลเป็ นเอทานอลและ คาร์บอนไดออกไซด์ นอกจากการนาไปผลิตเป็ นอาทานอลแล้ว ยังใช้น้ ามันข้าวโพดผสมโดยตรงกับ น้ ามันเชื้อเพลิง เพื่อใช้กบั เครื่ องยนต์ เนื่องจากคุณสมบัติทางด้านอุณหภูมิและความหนืดดี ลดการสึก หรอและยืดอายุของเครื่ องยนต์ ลดมลภาวะและสลายได้ในธรรมชาติ การแปรรู ปเป็ นสบู่ขดั ผิวข้าวโพด เมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ผลิตได้ นอกจากจะนาไปใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ แล้ว เกษตรกรยังสามารถ นามาสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อเสริ มรายได้ให้แก่ ครอบครัวได้โดยตรง เช่น การนาข้าวโพดมาทาเป็ นสบู่ขดั ผิว ในปัจจุบนั กระแสของผูบ้ ริ โภคที่กลับมานิยมใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อรักษาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมมี เพิ่มขึ้น ศูนย์วิจยั พืชไร่ นครสวรรค์ ได้เล็งเห็นความเป็ นไปได้ในการนาเมล็ดข้าวโพด เลี้ยงสัตว์มาแปร รู ปเป็ นส่วนผสมในการทาสบู่ ซึ่งเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ยงั ไม่เป็ นที่ รู้จกั แพร่ หลายภายในประเทศ จึงเป็ น โอกาสดีในการแนะนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่แปลกแตกต่างไปจากสบู่ที่มีจาหน่ายอยูใ่ นท้องตลาด รวมทั้ง
ยังเป็ นการใช้วตั ถุดิบข้าวโพดที่มีอยูย่ า่ งมากมายให้เกิดประโยชน์อีกด้วย สบู่ขา้ วโพดได้จากการทา ปฏิกิริยาระหว่างน้ ามันพืชกับน้ าด่างโซดาไฟ ผลของปฏิกิริยานอกจากจะได้สบู่แล้วยังเกิดกลีเซอรี น ซึ่งไม่เป็ นอันตรายต่อผิวหนัง ช่วยให้ผวิ ชุ่มชื้น และมีส่วนผสมที่สาคัญคือเมล็ดข้าวโพดที่บดละเอียด ผสมลงไปในเนื้อสบู่ในอัตราที่เหมาะสมทาให้สบู่มีเนื้อสากขึ้น มีคุณสมบัติใน การขัดผิว กาจัดสิ่งอุด ตันรู ขุมขน ดูดซับความมันเหมาะสาหรับผูท้ ี่มีผวิ มัน สาหรับสูตรที่ได้คิดค้นนี้ยงั ได้ผสมงาบด ซึ่ง เมล็ดงามีวิตามินอีช่วยชะลอ ผิวเหี่ยวย่น นอกจากนี้ยงั ได้เพิ่มกลีเซอรี นและวิตามินอีเพือ่ ให้ความชุ่ม ชื้น และถนอมผิวมากยิง่ ขึ้น สบู่ขา้ วโพดสามารถทาได้ในครัวเรื อน เป็ นสบู่ที่ผลิตจากวัตถุดิบ ธรรมชาติ แตกต่างจากสบู่ที่จาหน่ายในท้องตลาดซึ่งผลิตในระบบอุตสาหกรรมไม่มีการใส่สารเพิ่ม ฟอง สี หรื อสารกันบูด ที่อาจระคายเคืองต่อผิว จึงเหมาะสาหรับผูท้ ี่มกั มีผวิ แพ้ง่าย และจะใส่เฉพาะ สารเคมีบางชนิดที่จาเป็ นเท่านั้น ได้แก่ น้ าหอม เนื่องจากผูใ้ ช้ โดยทัว่ ไปมักติดในกลิ่นของสบู่ที่จะต้อง หอม แต่สบู่ที่ไดจากปฏิกิริยา โดยตรงนั้นจะมีกลิ่นเฉพาะตัวที่ผใู้ ช้ทวั่ ไปมักไม่ชอบ อย่างไรก็ตามจะ เห็น ได้ว่าวัตถุดิบที่นามาผลิตเป็ นวัตถุดิบธรรมชาติเป็ นส่วนใหญ่ การใช้สบู่ชนิดนี้ จึงเท่ากับเป็ นการ รักษาสภาพแวดล้อม ลดการใช้สารเคมี ใช้ทรัพยากร ที่มีอยูใ่ ห้เกิดประโยชน์สูงสุด และยังสามารถ สร้างรายได้ให้กบั ผูผ้ ลิตอีกด้วย สิ่งหนึ่งที่ทาให้ขา้ วโพดเป็ นธัญพืชที่นิยมนามาแปรรู ปเป็ นอาหารนานาชนิดก็เนื่องจากเป็ นพืช ที่ให้พลังงานสูง เพราะมีคาร์โบไฮเดรตเป็ นส่วนประกอบหลัก แถมยังมีโปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และ วิตามินที่มีประโยชน์อีกมากมาย เช่นวิตามินซี เอในรู ปเบต้าแคโรทีน อีซ่ึงเป็ นสารต้านอนุมลู อิสระ ชะลอความเสื่อมของเซลล์ ลูเทียน และซีแซนทิน ซึ่งเป็ นสารคาโรตีนอย ช่วยป้ องกันตาเสื่อมสภาพ
ส่วนประโยชน์ดา้ นอื่นๆ คงหนีไม่พน้ สรรพคุณทางยา ที่คนโบราณค้นพบและนามาใช้กนั อย่างแพร่ หลาย เช่นเมล็ดของมันใช้ทานเพื่อบารุ งร่ างกาย หัวใจ ปอดขับปัสสาวะ และนามาบดพอก
รักษาแผล นอกเหนือจากนี้ยงั ใช้ซงั ข้าวโพดต้มนาน้ ามาดื่มแก้บิด ท้องร่ วง ขับปัสสาวะ ต้น ราก และ ไหมข้าวโพด รสจืดหวาน ต้มเอาน้ าดื่ม ขับปัสสาวะได้ดว้ ย สารอาหารในเมล็ดข้าวโพด 100 กรัมนั้น ประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต 8.2 กรัม โปรตีน 11.1 กรัม เกลือแร่ 1.7 กรัม ไขมัน 4.9 กรัม และเส้นไยหยาบอีก 2.1 กรัม แนะซักนิด สาหรับผูท้ ี่ชอบการ รับประทานข้าวโพดเป็ นชีวิตจิตใจว่า หากจะรับประทานข้าวโพดเมื่อใดก็ควรล้างน้ าเปล่าให้สะอาด เสียก่อน หากซื้อจากร้านค้าก็ควรเลือกชนิดที่ไม่ฟอกหรื อขัดมากจนเกินไป เพราะจะเสียคุณค่าทาง อาหารและอาจมีสารขัดสีตกค้างเป็ นของแถม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผลิตภัณฑ์แปรรู ปต่างๆ ที่ควรเลือก แต่สินค้าที่ได้มาตรฐานและได้รับการรับรองแล้วเท่านั้น เห็นกันแล้วว่าการรับประทานข้าวโพดเพียงชนิดเดียวก็ได้รับประโยชน์อนั มหาศาล ดังนั้นถ้า บ้านใครมีพ้นื ที่ว่างพอที่จะปลูกได้ล่ะก็อย่ารี รอกันอยูเ่ ลย เพราะวิธีการปลูกนั้นง่ายนิดเดียว เพียงหยอด เมล็ดพันธุข์ า้ วโพดลงในหลุมดินร่ วนที่ขุดไว้ 3-5 เมล็ด เมื่อต้นกล้างอกให้ถอนออกเหลือหลุมละ 1 ต้น เท่านี้ก็จะได้ขา้ วโพดที่เป็ นได้ท้งั อาหารและยาไว้รับประทานกันในบ้านโดยไม่ ต้องกังวลกับเรื่ อง สารพิษตกค้างอีกด้ว
สบู่สมุนไพรน้ านมข้าวผสมน้ านมข้าวโพด (Mix milk, rice milk, corn) ลดความหยาบกร้านของผิว กระตุน้ การไหลเวียนของเลือดเพราะสามารถดูดซับได้ดี ทางผิวหนัง สามารถต้านอนุมลู อิสระและรังสียวู ีได้ บารุ งผิวให้เนียนนุ่มชุ่มชื้นและช่วยให้ ผิวแลดูอ่อนเยาว์
น้ านมข้าว milk, rice มีธาตุเหล็ก ไฟเบอร์ บีหนึ่ง บีสอง วิตามินอี สถาบันอาหารทางมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ได้ทาการวิจยั ว่ามีสารเอ็นโทรไซยานีน ซึ่งป้ องกันการก่อเกิดมะเร็ งในลา
ไส้ได้ ยังมีสรรพคุณอื่นๆ อีก เช่น ป้ องกันโรคภูมิแพ้ แก้ระบบขับถ่ายไม่สะดวก Iron Fiber One B Two B Vitamin Food Institute, Kasetsart University. Conducted research that contains N as AirTouch call site. Which prevents the formation of colon cancer. There are other properties such as anti-allergy Incontinence is not easy to solve.
นมข้าวโพด milk, corn คุณประโยชน์ที่ได้รับประกอบด้วยไขมันและโซเดียมต่า ซึ่งไม่เป็ นอันตรายต่อผูป้ ่ วย โรคไต มีเบต้าแคโรทีนช่วยบารุ งผิวและสายตา มีแคลเซียมช่วยกระตุน้ การเจริ ญ ของกระดูก ผม และฟันในเด็กวัยเรี ยน นอกจากนั้น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน แมกนีเซียม โพแตสเซียม เมไธโอนีน วิตามิน เอ บี Your benefits include lower fat and sodium. Which is not harmful to kidney patients. With beta carotene to help nourish the skin and eyes. Calcium stimulates the growth of my bones and teeth among school children in addition to the carbohydrates, protein, magnesium, potassium, but low post Ah, B vitamins, methionine. ......จากข้อมูลของกรมเศรษฐกิจการพาณิ ชย์พบว่า ประเทศไทยมีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากข้าวโพดฝักอ่อน และข้าวโพดหวาน ในรู ปข้าวโพดอ่อนสด ข้าวโพดอ่อน กระป๋ อง ข้าวโพดหวานแช่แข็ง และข้าวโพดหวานกระป๋ อง โดยในปี พ.ศ.2536 มีการส่งออกประมาณ 36,000 ตัน คิด เป็ นมูลค่า 840 ล้านบาท และเพิ่มขึ้นมาเป็ น 82,000 ตัน ต้นข้าวโพด
มูลค่า 2,100 ล้านบาท ในปี พ.ศ.2540 ......จากการส่งออกที่เพิม่ ขึ้นนี้ จึงต้องมีการผลิตข้าวโพดฝัก อ่อน และข้าวโพดหวานเพิ่มมากขึ้น เพือ่ ให้พอเพียงต่อการ นาไปทาผลิตภัณฑ์ต่างๆ มีผลทาให้มีเศษวัสดุเหลือจาก ข้าวโพด เช่น ต้นเปลือกฝักไหม และซังเหลืออยูม่ าก ซึ่ง เศษวัสดุฯเหล่านี้ สามารถนามาใช้ประโยชน์ในรู ปเป็ น อาหารสัตว์ได้ ข้ า ว โ พ ด ฝั ก อ่ อ น (Baby corn) ปลูกกันมากในเกือบทุกภาคของประเทศ ภาคเหนือ จะปลูกมากในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดหนองคาย นครราชสีมา และภาคกลาง ในพื้นที่จงั หวัดนครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี ระยะเวลาปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 40-45 วัน ปลูกได้ดีในช่วงฤดูฝน แต่ถา้ เป็ น พื้นที่ในเขตชลประทานสามารถปลูกได้ตลอดปี (4 ครั้ง/ปี ) ดังนั้น เศษเหลือจากการผลิตข้าวโพดฝักอ่อน เช่น ต้นข้าวโพด เปลือกฝักข้าวโพด และไหม จึงมีมากในเกือบทุกภาคของประเทศ และเกือบตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในเขตชลประทาน ข้าวโพดฝักอ่อนจะถูกเก็บเกี่ยวในขณะที่ตน้ ยังมีสีเขียว (อายุ 40-45 วัน) คุณค่าทางอาหารของต้นข้าวโพด ฝักอ่อน จึงสูงมีโปรตีนอยูใ่ นช่วง 8.5-9.7% เยือ่ ใยหยาบ 26-27% ส่วนเปลือกฝัก และไหม ที่เหลือทิ้งจาก อุตสาหกรรมการทาข้าวโพดอ่อนกระป๋ อง และข้าวโพดอ่อนสด จะมีปริ มาณมาก สภาพของเปลือก และ ไหมจะยังคงมีสีเขียว ลักษณะอ่อนนุ่ม รสหวาน สัตว์ชอบกิน มีคุณค่าทางอาหารสัตว์ดี โปรตีนอยูใ่ นช่วง 12.6-17.0% เยือ่ ใยหยาบ 9.5-21.0% ต้นเปลือก และไหมของข้าวโพดฝักอ่อน เกษตรกรสามารถนาไปใช้ เลี้ยงโคนมแทนหญ้าสดได้ดี ทาให้โคให้ผลผลิตน้ านมมากกว่า เมื่อเปรี ยบเทียบกับการเลี้ยงโคนมด้วย ฟางข้าว หรื อหญ้าธรรมชาติ เปลือกฝักข้าวโพดอ่อน นอกจากนามาใช้เป็ นอาหารหยาบสดได้ดีแล้ว ยัง สามารถนามาหมักเพื่อเก็บไว้ใช้ในยามขาดแคลนหญ้าสดได้เช่นเดียวกัน ตารางแสดง ส่ วนประกอบทางเคมีของเศษเหลือจากการผลิตข้ าวโพดฝักอ่อน (% วัตถุ แห้ ง) ส่ วนประกอบ วัตถุแห้ง (dry matter) โปรตีน (crude protein) เยือ่ ใยหยาบ (crude
ต้นข้ าวโพด 25.3
เปลือกฝัก 18.0
ไหม 12.4
8.8 - 9.7
12.6 - 13.5
17.1
26.8
21.0 - 21.5
9.7
fiber) ไขมัน (ether extract) เถ้า (Ash) Nitrogen free extract ADF NDF ลิกนิน แคลเซียม ฟอสฟอรัส
0.9 7.5 - 8.5 55.0 37.2 - 37.4 61.7 - 63.6 3.8 - 4.3 0.4 0.2
1.0 - 1.8 5.2 - 5.7 58.3 - 59.4 27.3 -28.7 60.6 - 61.5 1.6 - 2.5 0.1 0.4
2.6 5.9 64.7 13.9 38.4 1.9 -
หมายเหตุ (-) หมายถึง ไม่มขี ้ อมูล การนาไปใช้ ........โคนม โคเนื้อ และแกะ สามารถใช้ตน้ หรื อเปลือกข้าวโพดฝักอ่อน หรื อใช้เปลือกข้าวโพดฝักอ่อน ร่ วมกับหญ้าสดเป็ นอาหารหยาบได้ หรื อใช้เปลือกข้าวโพดฝักอ่อนหมักร่ วมกับข้าวโพดบดเป็ นอาหารหยาบ ในโคเนื้อ จะช่วยให้โคเนื้อมีอตั ราการเจริ ญเติบโตเพิ่มขึ้น กระต่าย ใช้เปลือกข้าวโพดฝักอ่อนเป็ นอาหารหยาบได้ แต่ตอ้ งให้อาหารข้นเต็มที่ และลูกกระต่ายที่มี น้ าหนักตัวมากกว่า 1 ก.ก. สามารถใช้เปลือกข้าวโพดฝักอ่อนทดแทนอาหารข้นได้ 25% ของระดับที่กินได้ เต็มที่ ข้ าวโพดหวาน (Sweet corn) ........ปลูกกันมากในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม และทาง ตะวันตกของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี นครปฐม เพชรบุรี สมุทรสาคร อายุเก็บเกี่ยวสั้น เก็บฝักสดเมื่ออายุ 65-80 วัน (ขึ้นอยูก่ บั พันธุ)์ ปลูกได้ดีในช่วงฤดูฝน และสามารถปลูกได้ตลอดปี ถ้ามีแหล่ง น้ า และดินอุดมสมบูรณ์ดี ข้าวโพดหวาน ส่วนใหญ่จะเก็บเกี่ยวฝักสด เพื่อนาไปแปรรู ปเป็ นข้าวโพดหวาน กระป๋ อง เช่น ซุปข้าวโพด และเมล็ดข้าวโพดในน้ าเกลือ ต้นที่เหลืออยูห่ ลังจากเก็บเกี่ยวฝัก แล้วจะยังคงมีใบ และลาต้นเป็ นสีเขียวอยูม่ าก ส่วนของฝักที่นาไปแปรรู ปก็จะมีเศษเหลือพวกเปลือก ฝัก ไหม และซังเป็ น จานวนมาก เศษวัสดุเหลือใช้ของข้าวโพดหวานเหล่านี้ สามารถนามาใช้เป็ นอาหารสัตว์ได้ ........ต้นข้าวโพดหวานมักจะมีคุณภาพด้อยกว่าต้นข้าวโพดฝักอ่อน เพราะอายุการเก็บเกี่ยวนานกว่า คุณภาพ จะอยูใ่ นช่วงปาน กลาง-ต่า มีโปรตีนอยูใ่ นช่วง 6.5-9.1% เยือ่ ใยหยาบ 30.5-36% มีแร่ ธาตุแคลเซี่ยม และ ฟอสฟอรัสอยูใ่ นเกณฑ์ปกติ คือ 0.4% และ0.3% เปลือกฝักจะมีโปรตีน 6.5-7.5% ธาตุแคลเซี่ยมมีแนวโน้ม ค่อนข้างต่า คือ 0.09-0.4% อาจไม่เพียงพอต่อความต้องการของสัตว์ ส่วนซังข้าวโพดที่เหลือทิ้งจาก
โรงงานผลิตซุปข้าวโพด ซึ่งจะมีส่วนของเมล็ดติดหลงเหลืออยู่ มีโปรตีนประมาณ 7-8% เยือ่ ใยหยาบ 23.5% แคลเซี่ยมต่า 0.04-0.11% นอกจากนี้ ยังมีเศษเหลือพวกยอด และช่อดอกตัวผูข้ องข้าวโพดหวานที่ตอ้ งตัด ออกก่อนช่อดอกจะบาน หรื อ7-10 วัน ก่อนเก็บเกี่ยวฝัก เพื่อเร่ งให้ฝักโตเร็ วขึ้น และลดการแย่งอาหาร ซึ่ง ส่วนนี้จะมีคุณค่าทางอาหารสูง มีโปรตีนประมาณ 11% เยือ่ ใยหยาบ 21% การนาไปใช้ ........ต้นข้าวโพดหวานใช้เป็ นอาหารหยาบทดแทนหญ้าสดสาหรับโคเนื้อ-โคนมได้ ซังข้าวโพดหวานที่ เหลือทิ้งจากการนาไปทาซุปข้าวโพดกระป๋ อง ใช้เป็ นอาหารหยาบสาหรับโครี ดนมในช่วงฤดูแล้งได้ แต่ซงั ข้าวโพดเหล่านี้จะมีความชื้นสูง และเกิดเชื้อราได้ง่าย ซึ่งอาจเป็ นอันตรายต่อสัตว์ การนาไปใช้เลี้ยงสัตว์จึง ควรใช้ซงั ข้าวโพดหวานที่สด และใหม่ ........ในกรณี ตอ้ งการเก็บถนอมต้นข้าวโพดหวานไว้ สาหรับใช้ในยามขาดแคลนอาหารหยาบ สามารถนาไป หมักได้เช่นเดียวกับการทาหญ้าหมัก และอาจเติมราละเอียด หรื อเมล็ดข้าวโพดบด ในปริ มาณ 10% ของ น้ าหนักต้นข้าวโพดสด ซึ่งจะช่วยให้ตน้ ข้าวโพดหมักมีคุณภาพดีข้ ึน
ตารางแสดงส่ วนประกอบทางเคมีของเศษเหลือจากการผลิตข้ าวโพดหวาน (% วัตถุ แห้ ง) ส่ วนประกอบ วัตถุแห้ง (dry matter) โปรตีน (crude protein) ไขมัน (ether extract)
ต้น
22.8 6.5 - 9.1 1.0 - 3.2 30.5 เยือ่ ใยหยาบ(crude fiber) 36.2 Nitrogen free extract (NFE) 47.6 เถ้า (Ash) 9.7 68.2 NDF 69.3 NDS -
28.0 6.53 1.01
ยอดและช่ อดอกตัว ผู้ 11.3 1.63
36.25
21.4
23.57
-
40.5 5.5
-
68.19
-
69.3 - 71.8
31.81
-
30.74
เปลือกฝัก
ซัง 27.5 7.1 - 8.01 2.2 - 2.24
ADF ลิกนิน แคลเซี่ยม ฟอสฟอรัส
38.2 48.1 5.3 0.4 0.3
48.13
-
0.4 0.33
-
การผลิตสบู่ขา้ วโพด ข้าวโพดเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญพืชหนึ่งของประเทศไทย ผลผลิตที่ได้ส่วนใหญ่นาไปใช้เป็ นอาหารสัตว์ ซึ่งราคาที่เกษตรกรจาหน่ายได้ ค่อนข้างต่าและไม่แน่นอน ศูนย์วิจยั พืชไร่ นครสวรรค์ ซึ่งรับผิดชอบในการ ทางานวิจยั ข้าวโพดแบบครบวงจร จึงได้นาเมล็ดข้าวโพดมาทดลองแปรรู ปใน รู ปแบบต่าง ๆ และพบว่าวิธีการหนึ่งที่ทาได้สาเร็ จ และได้ผลดีในการนาไป ทดลองใช้ คือ สบู่ขา้ วโพด สบู่ขา้ วโพดที่ได้น้ ีเป็ นลักษณะของ สบู่ขดั ผิว เพราะ ข้าวโพดบดที่ผสมในเนื้อสบู่ช่วยขจัดสิ่งอุดตันรู ขุมขนและส่วนผสมของงาบด กลีเซอรี นและวิตามินอี ช่วยให้ผวิ หนังชุ่มชื้น ชะลอการเหี่ยวย่นของผิวหนังได้ 1. หม้อเคลือบ 1 ใบ 2. เทอร์โมมิเตอร์ อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส 2 อัน 3. ไม้พาย 1 อัน 4. ทัพพีสาหรับตักสบู่ 1 อัน 5. กระบอกแก้วตวง 500 มล. สาหรับผสมสารละลายโซดาไฟ 1 ใบ 6. ถาดใส่น้ า สาหรับหล่อที่ใส่สารละลายโซดาไฟให้อุณหภูมิ ลดลง 1 ใบ 7. เหยือกสาหรับใส่สารละลายโซดาไฟที่อุ่นลงแล้ว 1 ใบ อุปกรณ์ที่ใช้ 8. แท่งแก้วสาหรับกวนโซดาไฟ 9. เตาไฟฟ้ า หรื อเตาแก๊ส 10. เครื่ องชัง่ ขนาด 1 – 2 กิโลกรัม 11. ถุงมือ แว่นตา เสื้อคลุม ที่ปิดจมูก 12. พิมพ์พลาสติก เลือกแบบตามที่ชอบ
28.20 33.6 5.6 0.04 - 0.11 0.3 - 0.33
13. อื่น ๆ เช่น ผ้าเช็ดมือ กระดาษทิชชู กระดาษหนังสือพิมพ์ ใช้แล้ว 1. น้ ามันมะพร้าว 220 กรัม 2. น้ ามันมะกอก 100 กรัม 3. น้ ามันปาล์ม 80 กรัม 4. โซดาไฟ 75 กรัม 5. น้ า 140 กรัม 6. ข้าวโพดบด 20 กรัม 7. งาบด 2.5 กรัม 8. กลีเซอรี น 2.5 กรัม 9. วิตามินอี 2 กรัม 10. น้ าหอม ( มากหรื อน้อยตามชอบ ) 3 กรัม ส่วนผสมของสบู่ 1. ค่อย ๆ ใส่โซดาไฟลงในน้ าที่เตรี ยมไว้ กวนให้ละลายเป็ นเนื้อ เดียวกัน ตั้งทิ้งไว้จนอุณหภูมิลดลงเหลือ 42 องศาเซลเซียส 2. ผสมน้ ามันมะพร้าว น้ ามันมะกอก น้ ามันปาล์ม ใส่หม้อเคลือบ ตั้งไฟคนให้เข้ากันจนได้อุณหภูมิ 42 องศาเซลเซียส แล้วยกลงจากเตา 3. ใส่สารละลายโซดาไฟ ( ในข้อ 1 ) ลงในน้ ามันผสม (ในข้อ 2 ) ทีละน้อยแล้วคนให้เข้ากันจนสารละลายโซดาไฟหมด 4. คนไปเรื่ อย ๆ จนสบู่จบั ตัวเหนียวข้น ใช้เวลาประมาณ 1 ชัว่ โมง หากอุณหภูมิลดลงระหว่างกวน ให้ยกหม้อขึ้นตั้งบนเตา จนอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่า เดิม คือ 42 องศาเซลเซียส ใส่กลีเซอรี น วิตามินอี ข้าวโพดบด งาบด คนให้ เข้ากัน กวนต่อไปอีก 10 นาที แล้วจึงใส่น้ าหอมกวนต่ออีก 5 นาที แล้วจึงใช้ ทัพพีตกั ใส่แม่พิมพ์ที่เตรี ยมไว้ 5. ตั้งทิ้งไว้ประมาณ 4 – 6 ชัว่ โมง หรื อข้ามคืนจนสบู่จบั ตัวเป็ น ก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดูแล้วจึงนาออกจากแม่พิมพ์ 6. แกะสบู่ออกจากแม่พิมพ์ แล้วผึ่งในที่ร่ม อากาศถ่ายเทได้ดี เพื่อให้กอ้ นสบู่แห้ง ทิ้งไว้ประมาณ 1 เดือน เพื่อให้คลายฤทธิ์ด่างของโซดาไฟ จึงนาไปใช้ได้ ข้อเสนอแนะ 1. เมล็ดข้าวโพดบด ควรบดให้ละเอียดมากมิฉะนั้นอาจรู้สึกระคาย ผิว ( อาจเพิ่มหรื อลดปริ มาณได้ตามใจชอบ )
2. เมล็ดงา ควรสับให้ละเอียดหากใช้เครื่ องบดละเอียดมากจะจับ ตัวเป็ นก้อน เพราะน้ ามันในงาจะออกมาผสมกับเนื้องา ( อาจเพิ่มหรื อลดปริ มาณ ได้ตามใจชอบ )กลุ่ม 3.ผูท้ าสบู่ควรสวมเสื้อกันเปื้ อน สวมถุงมือ มีผา้ ปิ ดจมูก และมี แว่นตากันอุบตั ิเหตุที่อาจเกิดจากโซดาไฟกระเด็น เพราะโซดาไฟมีฤทธิ์เป็ น ด่างรุ นแรง ห้ามสัมผัสและเมื่อใช้แล้วต้องเก็บใส่ภาชนะปิ ดมิดชิด ห้ามปล่อยให้ ชื้น เก็บให้พน้ มือเด็ก 4. บริ เวณที่ทาสบู่ควรมีอากาศถ่ายเทได้ดีและมีอ่างน้ า / ก๊อกน้ า เพื่อป้ องกันหากมีอุบตั ิเหตุข้ ึน นอกจากนี้ยงั ควรใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ปู บริ เวณปฏิบตั ิงาน เพื่อป้ องกันโซดาไฟกระเด็นและกัดพื้นผิวโต๊ะ และเมื่อเท โซดาไฟลงในน้ าจะมีควัน ห้ามสูดดม 5. อุปกรณ์สาหรับกวนสบู่หา้ มใช้โลหะหรื ออลูมิเนียมเพราะ โซดาไฟจะทาปฏิกิริยา ควรใช้ประเภทหม้อเคลือบสแตนเลส หรื อแก้วทนไฟ 6. โซดาไฟที่ผสมน้ า ควรกวนให้ละลายให้หมด มิฉะนั้นจะจับตัว เป็ นก้อน เมื่อเทโซดาไฟลงในน้ า อุณหภูมิจะสูงขึ้นมาก ควรใช้ถาดใส่น้ าแล้ว แช่กระบอกแก้วตวงที่ใช้ผสมสารละลายโซดาไฟ เพื่อให้อุณหภูมิลดลงและเมื่อ อุณหภูมิลดลงแล้ว เทสารละลายโซดาไฟลงในเหยือกพลาสติกมีหูจบั เพื่อ สะดวกในการเทสารละลาย 7. อุณหภูมิของโซดาไฟและน้ ามันต้องเท่ากันระหว่างเทโซดาไฟ ลงในน้ ามัน 8. น้ าที่ใช้ผสมโซดาไฟควรเป็ นน้ าที่สะอาด 9. พิมพ์สบู่ไม่ควรเป็ นวัสดุจาพวกโลหะหรื ออลูมิเนียม เพราะจะทา ปฏิกิริยากับโซดาไฟ ควรเป็ นวัสดุที่ทาจากพลาสติกยืดหยุน่ ได้พอควร เพื่อให้ แกะสบู่ออกจากพิมพ์ได้ง่าย 10. เมื่อแกะสบู่ออกจากพิมพ์แล้ว ห้ามตากบนกระดาษที่มีหมึก พิมพ์เพราะหมึกจะติดเนื้อสบู่ กลับสบู่บา้ งเพื่อให้แห้งสม่าเสมอกัน
เปลือกข้าวโพดที่ถกู ทิ้งไว้เกลื่อนกลาดมาเพิ่มคุณค่า สร้างเป็ นประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ได้มากมาย อาทิเช่น ดอกไม้ พานแหวนหมั้น กระทง ตุ๊กตา พานพุ่ม ฯลฯ
วิธีการคือ นาเปลือกข้าวโพดมาแช่น้ าประมาณ 2-3 ชัว่ โมง จากนั้นต้มน้ าให้เดือด และใส่สี นาเปลือก ข้าวโพดแช่ลงไปโดยสีที่ใช้อาจจะเป็ นสีบาติกหรื อสีผสมอาหารก็ได้ การต้มจะทาให้สีซึมเข้าไปในเปลือก ข้าวโพดได้ดีกว่าน้ าปกติ โดยต้มประมาณ 2-3 ชัว่ โมง จากนั้นนาไปผึ่งแดดให้แห้ง และนามาคลี่ออกให้เป็ น แผ่น โดยตากแดดอ่อนๆ จนแห้งสนิท เพื่อเป็ นการป้ องกันเชื้อราจะนาผลิตภัณฑ์ไปอบกามะถันประมาณ 1-2 ชัว่ โมง หลังจากนั้นพ่นแล็กเกอร์ทบั อีกครั้ง ปัญหาอุปสรรคในการนาเปลือกข้าวโพดประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ไม่สามารถทากลีบดอกไม้ได้เนื่องจาก เปลือกข้าวโพดจะคืนตัวอยูเ่ สมอ ดังนั้น ในการออกแบบส่วนใหญ่จะเป็ นการนาไปเย็บแบบก่อนแล้ว ประกอบเป็ นรู ปต่างๆ ตามต้องการ ราคาต้นทุนในการผลิตไม่เกิน 150 บาทต่อชิ้น นับว่าสินค้าสวยต้นทุนต่า อีกทั้งยังสามารถพัฒนาเทคนิคใน การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ได้ เปลือกข้ าวโพด เป็ นเศษวัสดุธรรมชาติเหลือใช้ ที่มอี ยู่ทั่วไปทั่วทุกภาคของประเทศไทยเมือ่ นามาแปรสภาพ หรือประยุกต์ใช้ ให้ เกิดประโยชน์ เช่ นประดิษฐ์ เป็ นดอกไม้ สร้ างงานสร้ างราคา อธิบดีกรมการค้าภายใน กล่าวว่าได้ต้งั เป้ าหมายผลักดันราคาสินค้าเกษตรปี การผลิต 52/53 ใน 8 รายการ ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง กาแฟ ปาล์มน้ ามัน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถัว่ เหลือง สุกร และไก่เนื้อ ให้มีมลู ค่าเพิ่มขึ้นอีก 30% จากปี 51/52 เพื่อช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร เพื่อพัฒนาสินค้าเกษตร และลด ปัญหาผลิตล้นตลาด ข้าวโพดเป็ นสินค้าเกษตรที่ปลูกกันทัว่ ทุกภาคของประเทศไทย แต่จากข่าวข้างต้นจะเห็นว่าราคาของ พืชเกษตร เช่นข้าวโพด มีราคาตกต่า ทาให้เกษตรกร มีรายได้นอ้ ย เพื่อเป็ นการเพิ่มรายได้สร้างงานสร้างคน จึงควรนาเปลือก ข้าวโพดที่เป็ นเศษวัสดุเหลือใช้ที่คนส่วนใหญ่มองไม่เห็นคุณค่านาไปเผาทิ้ง มาแปรสภาพหรื อประยุกต์ใช้ ทาให้เกิดประโยชน์ เช่นประดิษฐ์เป็ นดอกไม้ ประดิษฐ์ตุ๊กตาและของประดับตกแต่งอื่นๆอีกมากมาย เป็ น การช่วยลดภาวะ โลกร้อย ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย สร้างงาน และสร้าง รายได้ให้กบั ครอบครัวได้อีกทางหนึ่ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 2 การคัดเลือกเปลือกข้ าวโพด เปลือกข้าวโพดที่ใช้จะต้องอยูใ่ นสภาพดี ไม่ฉีกขาด ไม่ข้ ึนรา หรื อแมลงกัดแทะ พันธุท์ ี่นิยมนามาใช้ใน งานประดิษฐ์จะเป็ นพันธุส์ ุวรรณ 1 เพราะมีลกั ษณะกลาบเปลือกยาว มีความเหนียวไม่ฉีกขาดง่าย รวมทั้ง สามารถต้านทานน้ าค้าง และเชื่อราในที่อบั ชื้นได้ดีกว่าเปลือข้าวโพดพันธุอ์ ื่น การเตรียมเปลือกข้ าวโพด ลอกเปลือกชั้นนอกสุดทิ้งเพราะมีลกั ษณะแข็งแตกง่าย นาเปลือกข้าวโพดที่ดีมาล้างน้ าผึ่งแดดประมาณ 3-4 วันจนแห้งสนิทถ้าไม่มีแดดให้ใช้วิธีการรี ดกับเตาดก็ได้ การฟอกเปลือกข้ าวโพด ใช้สารฟอกสีช่วยฟอกเปลือกข้าวโพดให้ขาวเพื่อช่วยให้เปลือกข้าวโพดติดสีได้ ง่ายขึ้น ซึ่งมีวิธีการฟอกดังนี้ 1. ใช้ผงฟอกสี 1 ส่วน ผสมน้ า 2.ส่วนในอ่างพลาสติกคนให้เข้ากัน 2. นาเปลือกข้าวโพดที่เตรี ยมไว้แช่ให้จม แช่ทิ้งไว้ 1 วัน 3. ใช้ที่หนีบนาเปลือกข้าวโพดขึ้นจากอ่าง 4. นาเปลือกข้าวโพดมาล้างน้ าหลายๆครั้ง 5. นาไปผึ่งแดดให้แห้งสนิทประมาณ 3-4 วัน การย้อมสีเปลือกข้ าวโพด(ใช้สียอ้ มผ้าหรื อสีผสมอาหารก็ได้) 1. เตรี ยมสี 1ส่วน ต่อน้ า 2ส่วน(ใช้สีทากลีบดอกตามชอบและใช้สีเขียวสาหรับทาใบ) 2. ต้มน้ าให้เดือดเตรี ยมไว้ผสมสี 3. นาสีที่เตรี ยมไว้สาหรับย้อมกลีบดอกผสมน้ าคนให้ละลายก่อนแล้วเทลงไปในน้ าเดือดจากนั้นคนให้ สีละลายเป็ นเนื้อเดียวกัน 4. นาเปลือกข้าวโพดที่ฟอกสีแล้วแช่ลงไปต้มในน้ าสีประมาณ 30นาที สังเกตว่าสีติดเปลือกข้าวโพดดี แล้ว 5. นาไปผึ่งแดดให้แห้งสนิทประมาณ 3-4 วัน 6. นาไปรี ดให้เรี ยบ
7. การย้อมเปลือกข้าวโพดสาหรับทาใบใช้วิธีเดียวกับย้อมสีกลีบดอกแต่ใช่สียอ้ มสีเขียว ขั้นตอนการเตรียมกลีบดอกไม้และใบ 1. ตัดเปลือกข้าวโพดสาหรับทาเป็ นกลีบดอก 54 ชิ้น 2. ตัดเปลือกข้าวสีเขียวสาหรับทาใบ ใบเล็ก 12 ชิ้น และใบใหญ่ 7 ชิ้น 3. ตัดลวดเบอร์ 30 สีเดียวกับกลีบดอกใช้สาหรับตามกลีบดอก ยาว 3.5 นิ้ว จานวน 54 เส้น 4. นาลวดมาทากาวติดเส้นกลางของกลีบดอกตามความยาวของกลีบ 5. ตัดลวดเบอร์ 30 สีเขียวใช้สาหรับตามใบเล็ก ยาว 4.5 นิ้ว จานวน 12 เส้น 6. นาลวดมาทากาวติดเส้นกลางของใบเล็กตามความยาวของใบ 7. ตัดลวดเบอร์ 30 สีเขียวใช้สาหรับตามใบใหญ่ ยาว 5 นิ้ว จานวน 7 เส้น 8. นาลวดมาทากาวติดเส้นกลางของใบใหญ่ตามความยาวของใบ ขั้นตอนการเข้ าดอก 1. นาเกสรสาเร็ จแบบตุ่มเล็กมาตัดแบ่งครึ่ ง แล้วมัดเข้ากับลวดเบอร์ 30 โดยใช้ดา้ ยมัดให้แน่น 2. เข้ากลีบดอกชั้นที่ 1 โดยนากลีบดอกไม้ที่ตามลวดแล้ว 3 กลีบ เข้ากลีบรอบดอกเกสร 3. เข้ากลีบดอกชั้นที่ 2 โดยนากลีบดอกไม้ที่ตามลวดแล้ว 3 กลีบ เข้ากลีบดอกสับหว่างกับกลีบ ชั้นที่ 1 ใช้ดา้ ยมัดให้แน่น 4. ใช้ฟลอร่ าเทปพันก้านลวดตั้งแต่โคนก้านดอกยาวลวดมาตลอดเส้นลวด ขั้นตอนการทาใบ 1. นาใบเล็กที่ดามลวดแล้วมาเข้ากับก้านของใบใหญ่ขนาบซ้าย-ขวาโดยวัดจากโคนใบใหญ่ลงมา 1 นิ้ว พันด้วยฟลอร่ าเทป 2. เข้าใบเล็กอีก 1 คู่ โดยวัดจากโคนใบคู่แรกลงมา 1 นิ้วใช้ดา้ ยมัดให้แน่นพันด้วยฟลอร่ าเทป ขั้นตอนการเข้ าช่ อ 1. นาช่อใบที่เตรี ยมไว้มาพันรวมเข้ากับกลีบดอก โดยวัดจากโคนดอกลงมาประมาณ 1 1/2 นิ้ว 2. นาดอกที่ประกอบใบเรี ยบร้อยแล้ว นามาเข้าช่อรวมกลุ่มหลายๆช่อพันด้วยฟลอร่ าเทป จะได้ดอกไม้ จากเปลือกข้าวโพดตามต้องการ ช่ วยกันหาคาตอบ 1. ควรเลือกเปลือกข้าวโพดลักษระใดที่เหมาะสาหรับนามาประดิษฐ์ดอกไม้
2. สีที่ใช้ยอ้ มเปลือกข้าวโพดควรใช้สีอะไรถึงจะดูเป็ นธรรมชาติ 3. เปลือกข้าวโพดนอกจากใช้ประดิษฐ์ดอกไม้ได้แล้วนักเรี ยนคิดว่าน่าจะทาอะไรได้อีก ข้ อเสนอแนะ 1. การทาสีดอกไม้จากเปลือกข้าวโพดสามารถใช้สีสเปร์พ่นกลีบดอกก็ได้ ข้อดีคือสะดวก รวดเร็ ว ส่วนข้อเสียคือ กลีบดอกแข็งไม่เป็ นธรรมชาติ ทาลายสิ่งแวดล้อม และเป็ นอันตรายจากสีสเปร์ 2. เปลือกข้าวโพดสามารถนาไปประดิษฐ์เป็ นผลิตต่างๆได้หลายอย่างเช่น ของประดับตกแต่งและใช้ เป็ นวัสดุถกั ทอ หรื อสานได การศึกษาข้อมูลในการทาฟองน้ าขัดตัว แบบเดิมที่มีตามท้องตลาด
ส่วนใหญ่ตามทท้องตลาดจะไม่มีโลโก้ ไม่มีขนาดบอกไม่มีวิธีการใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ก็จะเป็ นถุงพลาสติก ธรรมดาไม่มีลวดลายใดๆ
แบบบรรจุภณ ั ฑ์
แบบร่ างโลโก้
บรรณานุกรม ข้อมูล : กรมวิชาการเกษตร.2545.เอกสารคาแนะนาการผลิตสบู่ขา้ วโพด. กรุ งเทพฯ:ฝ่ ายถ่ายทอดเทคโนโลยี สถาบันวิจยั พืชไร่ จัดทาและเผยแพร่ ทางเว็บไซด์ : กลุ่มสื่ อส่งเสริ มการเกษตร สานักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริ มการเกษตร http://www.ryt9.com http://gotoknow.org http://learners.in.th/blog/wanwisa-edu3204/176479 http://www.rvsd.ac.th http://gotoknow.org/blog/mmmmm52 http://www.rvsd.ac.th/jobs/capital/ocupations/50.html http://learners.in.th/blog/wanwisa-edu3204/176479 สาหรับผูท้ ี่สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ ศูนย์วิจยั พืชไร่ นครสวรรค์ สถาบันวิจยั พืชไร่ กรมวิชาการเกษตร โทร 056-241019 หรื อที่กรมวิชาการเกษตร เขตจตุจกั ร กรุ งเทพฯ 10900 โทร.02-5612825 หรื อเข้าไปดูขอ้ มูลในเว๊บไซต์ http//www.doa.go.th