โครงการส่วนบุคคล Final Project Sweet Corn

Page 1

โครงการส่วนบุคคล Final Project Kanchanaburi Sweet Corn (Yocorn Sweet Corn Yogurt)

เสนอ ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์ ประชิด ทิณบุตร

จัดทาโดย นางสาว อรุโณทัย ธรรมเทวินทร์ 5011310108 กลุ่ม103

วิชา การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ รหัส ARTI3314 ภาคเรียนที1 ปีการศึกษา 2554 ่


คานา

โครงการนี้ป็นส่วนหนึ่งของวิชา การออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ARTI3314 โครงการนี้เป็นโครงการส่วนบุคคลซึ่งเป็นชิ้นสุดท้ายของภาคเรียนนี้ จัดทาขึ้นเพื่อสืบค้น พัฒนาและสรุปผล ของบรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ ข้าวโพดหวานจังหวัดกาญจนบุรี โดย นาไปใช้ประกอบการเรียนและการนาเสนอโครงการในชั้นเรียน โดยผู้ศึกษาโครงการ ต้องการให้เกิดประโยชน์สงสุดแก่โครงการนี้ โดยเรียบเรียง เนื้อหาให้เกิดความเข้าใจ ตามหลักการ 3ส คือ ส. 1 สืบค้น ( Research) ส.2 สมมติฐาน ( Resume) และ ส.3 การสรุปผลการออกแบบ (Result) จัดทาขึ้นบน Google Document และ Google Presentation เพื่อให้รุ่นต่อๆไปได้ศึกษาได้ง่ายสะดวกในการเปิดอ่านและตรวจ งาน

นางสาว อรุโณทัย ธรรมเทวินทร์


NAME: นางสาวอรุโณทัย ธรรมเทวินทร์ 5011310108 กลุ่ม103 Email: arunotai50@gmail.com Blog: arunotai-th-arti3314.blogspot.com

โครงการออกแบบส่วนบุคคล ผลิตภัณฑ์แปรรูปข้าวโพดหวาน Final Project ( Sweet Corn ) โครงการออกแบบส่วนบุคคล ที่พัฒนาบรรจุภัณฑ์และกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ของ ผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปมาจากข้าวโพดหวาน ภายใต้การประเมินผลเป็นรายบุคคล โดยติดตาม งาน final project ตามขั้นตอน 3ส. โดยการศึกษาและวิเคราะห์ตัวอย่างบรรจุภัณฑ์และ กราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ จากของจริงที่มีอยู่ตามท้องตลาดทั่วไป รวมถึงผลิตภัณฑ์ด้วย ขั้นตอนการศึกษาขั้นแรก ส.1 ส.1 การสืบค้น ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และการฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์ ข้าวโพดหวานแปรรูป และเริ่มต้น สร้างแนวคิด ข้าวโพดหวาน (Sweet Corn) เป็นข้าวโพดที่คนส่วนมาก รับประทาน โดยไม่มีการแปรรูป เมล็ดมักจะใสและเหี่ยวเมื่อแก่ เต็มที่ เพราะมีน้าตาลมาก ก่อนที่จะ สุกจะมีรสหวานมากกว่าชนิดอื่น ๆ จึงเรียกข้าวโพดหวาน มีหลายสาย พันธุ์ พันธุ์ข้าวโพดหวานที่ใช้ปลูกควร เป็นข้าวโพดหวานลูกผสม ใน ตลาดมีหลายพันธุ์ผลิตจากหลาย บริษัทให้เลือก แต่พันธุ์ที่แนะนาคือ พันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม ไฮ-บริกซ์ 10 และ ไฮ-บริกซ์ 3 ทั้งสองพันธุ์เป็นพันธุ์ข้าวโพด หวานลูกผสมที่ผลิตโดย บริษัท แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ จากัด ซึ่งสามารถให้ผลผลิตสูง มีขนาด


ฝักใหญ่เป็นที่ต้องการของตลาด คุณภาพฝักสดดีมาก รสชาติดี กลิ่นหอม นอกจากนี้ยัง สามารถปลูกได้ในทุกสภาพแวดล้อมในประเทศไทย เพราะเป็นพันธุ์ที่ปรับปรุงขึ้นโดยใช้เชื้อ พันธุกรรมที่มีในประเทศ ทาให้สามารถปรับตัวได้อย่างกว้างขวาง

สรรพคุณของข้าวโพดหวาน การกินข้าวโพดหวานต้ม สามารถช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจ และมะเร็งได้ การต้มทาให้ข้าวโพดหวาน ปล่อยสารต้านอนุมูลอิสระ หรือที่บางคนเรียกกันว่า แอนตี้ออกซิแดนท์มาหลายตัว และที่ สาคัญตัวหนึ่งที่มีชื่อว่า “กรดเฟอรูลิก” (Ferulic acid ) ซึ่งเป็นสาระสาคัญที่เป็นตัวช่วยทาให้ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายมี ประสิทธิภาพ กรดเฟอรูลิกเป็นสารต้านอนุมูล อิสระจึงถูกใช้สาหรับต่อต้านการแก่ (aging) ของเซลล์ป้องกันการเกิดเซลล์มะเร็ง โรคหัวใจ ไข้หวัด รักษาสุขภาพของกล้ามเนื้อ ต่อต้านผลกระทบจากรังสีอุลตร้าไวโอเลต (จึงป้องกันมะเร็งผิวหนังได้) สารต้านอนุมูลอิสระ อนุมูลอิสระเป็นโมเลกุลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย เนื่องจากเป็นอนุภาคไม่คงตัว จึงทาปฏิกิริยา กับโมเลกุลที่อยู่ติดกันได้อย่างรวดเร็ว เกิดปฏิกิริยาที่เรียกว่าออกซิเดชัน (oxidation) ซึ่ง อาจก่อผลกระทบที่อันตรายต่อร่างกายได้ ตัวการก่อโรคร้าย


เมื่ออนุมูลอิสระทาปฏิกิริยากับรหัสพันธุกรรมดีเอ็นเอในนิวเคลียสของเซลล์ อาจทาให้ เซลล์ กลายพันธุ์และกลายเป็นเซลล์ มะเร็ง ถ้าเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด จะกระตุ้นให้เกิดไขมัน สะสมในหลอดเลือด นาไปสู่โรคหัวใจ และหลอดเลือดในสมองแตก/ตีบ นอกจากนี้ อนุมูลอิสระยังมีส่วนทาให้เกิดต้อกระจก ภูมิ ต้านทานต่า โรคข้ออักเสบ และแก่ก่อนวัย บทบาทของสารต้านอนุมูลอิสระ สารต้านอนุมูลอิสระทาลายฤทธิ์ของอนุมูลอิสระโดยป้องกันการเกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชันในส่วนต่างๆ ของร่างกาย นอกจาก สารต้านอนุมูลอิสระที่ร่างกายสร้างเองแล้ว ในวิตามิน แร่ธาตุ และพฤกษเคมีก็มีสารต้าน อนุมูลอิสระอยู่ด้วย และช่วยต้านอนุมูลอิสระ ได้ดี

การศึกษาผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานแปรรูป

ข้าวโพดหวานที่จาหน่ายในตลาดแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ 1.ผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานแปรรูป ในช่วงระยะ 3 ปีที่ผ่านมาปริมาณการผลิตข้าวโพดหวาน เพื่อนาไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ข้าวโพดแปรรูปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผลผลิต ข้าวโพดหวานในประเทศร้อยละ 95 จะส่งเข้าโรงงานเพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ข้าวโพด และที่ เหลืออีกร้อยละ 5 ส่งเข้าโรงงานผลิตข้าวโพดสดแช่เย็นแช่แข็ง คาดการณ์ว่าในปี 2548 ปริมาณการผลิตข้าวโพดหวานในส่วนนี้เท่ากับ 141,200ตัน เมื่อเทียบกับในปี 2547 แล้ว เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.7 ปริมาณข้าวโพดหวานที่ผลิตได้ในแต่ละปีประมาณร้อยละ 94 ส่งออกไป


จาหน่ายต่างประเทศ ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 6 เป็นการบริโภคในประเทศการส่งออกข้าวโพด หวานแปรรูปมีทั้งในรูปของเมล็ดข้าวโพดหวานในน้าเกลือ(Whole KernelCorn) และซุป ข้าวโพด(Cream Style Corn) ซึ่งข้าวโพดหวานแปรรูปของไทยได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น เรื่อยๆ การส่งออกผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานแปรรูปของไทยมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง คาดการณ์ว่าในปี 2548 มูลค่าการส่งออกเท่ากับ 3,500 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2547 แล้ว เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.2 ตลาดส่งออกสาคัญคือ สหภาพยุโรปมีสัดส่วนตลาดประมาณร้อยละ 50.0 ส่วนตลาดที่มีความสาคัญรอง ลงมาและมีการขยายตัวอยู่ในเกณฑ์สูงคือ เกาหลีใต้ รัสเซีย ญี่ปุ่น สหรัฐฯ และฟิลิปปินส์ คาดว่าในอนาคต ตลาดเหล่านี้จะเพิ่มความสาคัญมาก ขึ้นทดแทนการส่งออกไปยังสหภาพยุโรปที่เริ่มมีปัญหา โดยผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานแปรรูป ของไทยสามารถแย่งชิงส่วนแบ่งตลาดบางส่วนจากสหรัฐฯมาได้ ทั้งนี้เนื่องจากราคาข้าวโพด หวานแปรรูปคุณภาพดีของไทยนั้นมีราคาถูกกว่าของสหรัฐฯประมาณร้อยละ 20 และคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานแปรรูปของไทยนั้นดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่งขัน


การศึกษาบรรจุภัณฑ์


ประโยชน์ของบรรจุภัณฑ์ 1. การป้องกัน (Protection) เช่น กันน้า กันความชื้น กันแสง กันแก๊ส เมื่ออุณหภูมิสูงหรือต่า ต้านทานไม่ให้ผลิตภัณฑ์แปรสภาพไม่แตกไม่ฉีกขาดง่าย ปกป้องให้สินค้าอยู่ในสภาพใหม่ สดอยู่ในสภาวะแวดล้อมของตลาดได้ในวงจรยาว โดยไม่แปรสภาพขนานแท้และดั้งเดิม 2. การจัดจาหน่ายและการกระจาย (Distribution) เหมาะสมต่อพฤติกรรมการซื้อขาย เอื้ออานวยการแยกขาย ส่งต่อ การตั้งโชว์ การกระจาย การส่งเสริมจูงใจในตัว ทนต่อการขน ย้าย ขนส่งและการคลังสินค้า ด้วยต้นทุนสมเหตุสมผล ไม่เกิดรอยขูดขีด / ชารุด ตั้งแต่จุด ผลิตและบรรจุจนถึงมือผู้ซื้อ / ผู้ใช้ /ผู้บริโภค ทนทานต่อการเก็บไว้นานได้ 3. การส่งเสริมการจาหน่าย (Promotion) เพื่อยึดพื้นที่แสดงจุดเด่น โชว์ตัวเองได้อย่างสะดุด ตา สามารถระบุแจ้งเงื่อนไข แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอผลประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อจูงใจ ผู้บริโภค เมื่อต้องการจัดรายการเพื่อเสริมพลังการแข่งขัน ก็สามารถเปลี่ยนแปลงและจัดทา ได้สะดวก ควบคุมได้และประหยัด 4. การบรรจุภัณฑ์กลมกลืนกับสินค้า และกรรมวิธีการบรรจุ (Packaging) เหมาะสมทั้งในแง่ การออกแบบ และเพื่อให้มีโครงสร้างเข้ากับขบวนการบรรจุ และเอื้ออานวยความสะดวกใน การหิ้วถือกลับบ้าน ตลอดจนการใช้ได้กับเครื่องมือการบรรจุที่มีอยู่แล้ว หรือจัดหามาได้ ด้วย อัตราความเร็วในการผลิตที่ต้องการ ต้นทุนการบรรจุภัณฑ์ต่าหรือสมเหตุสมผล ส่งเสริม จรรยาบรรณและรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ก่อให้เกิดมลพิษและอยู่ในทานองคลองธรรมถูกต้อง ตามกฎหมายและพระราชบัญญัติต่าง ๆ 5. เพิ่มยอดขาย เนื่องจากในตลาดมีสินค้าและคู่แข่งเพิ่มขึ้นตลอดเวลา หากบรรจุภัณฑ์ของ สินค้าใดได้รับการออกแบบเป็นอย่างดี จะสามารถดึงดูดตา ดึงดูดใจผู้บริโภคและก่อให้เกิด การซื้อในที่สุด รวมทั้งการลดต้นทุนการผลิต คุณสมบัติของขวดแก้ว 1. มีความเป็นกลางและไม่ทาปฏิกิริยาใดๆ กับผลิตภัณฑ์ที่บรรจุอยู่ภายใน เพื่อให้ผู้บริโภค ได้รับความปลอดภัยสูง 2. มีความใส สามารถมองเห็นของที่บรรจุอยู่ภายในได้ ช่วยในการตัดสินใจของผู้บริโภค 3. เมื่อเปิดแล้วสามารถปิดกลับเพื่อใช้ใหม่ได้ 4. ขวดแก้วยังสามารถใช้หมุนเวียนได้ มีความคงรูปเมื่อวางเรียงซ้อน จึงให้ความสะดวกใน การขนส่งมีความคงทนถาวรไม่เสื่อมสภาพ ตลอดอายุของผลิตภัณฑ์ ทนความร้อนได้สูงมาก และป้องกันการซึมผ่านของก๊าซและไอน้าได้


ส.2 สมมติฐาน สร้างกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ และแบรนด์ของโยเกิรต์ข้าวโพดหวาน (Yocorn) บรรจุภัณฑ์ที่ ใช้เปนขวดแก้วแบบใส เพื่อให้เห็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ด้านใน และฝาปิดสีขาว แรงบันดาลใจ (Inspiration)

แรงบันดาลใจเกิดจาก เห็นผู้คนหันมาสนใจสุขภาพกันมากขึ้น และโยเกิรต์ก้อเป็นผลิกภัณฑ์ หนึ่ง ที่เหมาะสาหรับผู้ที่รักสุขภาพ และจากการเดินสารวจท้องตลาด เห็นโยเกิรต์มี หลากหลายรสชาติแต่ยังไม่มีใครที่นาข้าวโพด มาเปนส่วนผสมของโยเกิรต์ จึงมีความคิดว่า รสหวานของข้าวโพด ถ้ามารวมกับรสเปรี้วของโยเกิรต์ น่าจะเข้ากันได้ดี รวมถึงสีสันของ ข้าวโพดและโยเกิรต์ ที่มีสีเหลืองนวล บวกกับสีขาวนวลของโยเกิรต์ น่าจะมีสีสันที่น่า รับประทาน


การพัฒนาข้าวโพดหวานกระป๋องให้มาเป็นโยเกิรต์ข้าวโพดหวาน พัฒนาโดยการนาข้าวโพดกระป๋องตามท้องตลาด มาพัฒนาให้เกิดสิ่งแปลกใหม่ โดย นามาผสมกับโยเกิรต์ ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่คือ โยเกิรต์รสข้าวโพดหวาน การทา โยเกิรต์ข้าวโพดหวาน ส่วนผสม 1.นมสดรสจืด 4ขวด 2.โยเกิรต์รสธรรมชาติ 2 แก้ว 3.น้าตาลทราย 4.ข้าวโพดหวานกระป๋องชนิดครีม 5.ข้าวโพดหวานกระป๋องชนิดเมล็ด 6.เครื่องทาโยเกิรต์ ขั้นตอนการทา 1. เทนมลงในถ้วยที่เตรียมไว้ทั้งหมด 4 ขวด 2.ใส่น้าตาลทราย 1 ช้อนโต๊ะ คนให้เข้ากัน 3. ใส่โยเกิรต์ลงไป 1 ถ้วย แล้วคนให้ นมและโยเกิรต์เป็นเนื้อเดียวกัน 4. ตักข้าวโพดหวานกระป๋องชนิดครีม ลงไป 2ช้อนโต๊ะ แล้วคนให้เข้ากัน 5. นาส่วนผสมทั้งหมด ตักใส่ถ้วยโยเกิรต์ที่เตรียมไว้ ใส่จนครบ เติมน้าให้เต็มเครื่อง รักษาอุณหภูมิ 6.ปิดฝาเครื่องกดปุ่มเพื่อให้เครื่องทางาน ทิ้งไว้12 ชม. จึงนามารับประทานได้ (เครื่องรักษาอุณหภูมิ จะตัดเมื่อถึงจุดเดือดของน้า และเริ่มรักษาอุณหภูมิให้คงที่)


ปัญหาที่พบ 1. ไม่มีรสชาติของข้าวโพดที่มากพอ จึงไม่ค่อยได้รับรสชาติของข้าวโพดเท่าไหร่ แก้ปัญหาด้วยการเพิ่มข้าวโพดหวานมากกว่าเดิมอิก1ช้อน และใส่ข้าวโพดหวานแบบเมล็ดลง ไปด้วย 2. สีสันดูไม่น่ารับประทานเท่าไหร่ แก้ปัญหาด้วยการ ใส่ข้าวโพดแบบเมล็ดเข้าไปหลังจาก ทาเสร็จ เพื่อให้ดูสวยงามมากขึ้น


My mapping


Mood Board


ส.3 สรุปผลการออกแบบ ตราสัญลักษณ์ Yocorn โยเกิรต์ข้าวโพดหวาน


ฉลากบรรรจุภัณฑ์

ขนาด 4.5x5 เซนติเมตร


Sketch Up Size

ผลงานที่เสร็จสมบูรณ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.