PORTFOLIO 2013-2017 ATHICHA PHONGPOOL
EDUCATION
ATHICHA PHONGPOOL PRIM
2011 - 2016 2005 - 2011
ABOUT&CONTACT NAME : BIRTHDAY : NATIONAL : GPA :
Athicha Phongpool 10 October 1993 Thai 3.67 (First Class Honors)
ADDRESS : E-MAIL : TEL :
22 Ladprao124 Ladprao Rd. wangthoglang ,Bangkok 10310 athicha.phongpool@gmail.com 092-2801782
Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang Major Science - Mathematics our lady of perpetual help school
EXPERIENCE 2017 2016 2015 - 2014
Work & Travel at Hawaii (United States) Internship at Architects 49 Limited Internship at Appropiate Architecture of Technology (ATT)
SKILL&ABILITIES REVIT SKETCHUP AUTOCAD LUMION ADOBE PHOTOSHOP ADOBE INDESIGN ADOBE ILLUSTRATOR ADOBE LIGHTROOM MICROSOFT OFFICE
CONTENTS
01 | CHIANG-MAI CHILDREN’S MUSEUM
06
พิพิธภัณฑ์เด็กจังหวัดเชียงใหม่ 02 | THE CAVERNRY
18
GEM AND JEWELRY 03 | MS LUXURY HOTEL
26
โครงการโรงแรมระดับ 5 ดาว ใจกลางเม อื ง 04 | INTERNATIONAL MUSIC COLLEGE
34
KHAO-YAI | NAKHON RATCHASIMA 05 | PATTAYA INTERNATIONAL PORT STADIUM 06 | W TOWER OFFICE BUILDING | AKAMAI 07 | FLOW IN
42 48 56
COMMUNITYMALL | AKAMAI 08 | WOODEN BOX
64
KMITL 09 | LANG-FON
70
GUEST HOUSE | AYUTTAYA 10 | ART MOR ART STREET 2015 ART & MUSIC FESTIVAL | KMITL
76
PORTFOlIO | PAGE 6
01 | CHIANG-MAI CHILDREN’S MUSEUM
CHIANGMAI CHILDREN’S MUSEUM
Type : Museum Project Year : 2017 Area : 14,100 sq.m. Locatiwon : Chiang-mai , Thailand พิพิธภัณฑ์เด็กเกิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ให้เป็น สถานที่ ใ นการสร้ า งสรรค์ ก ระบวนการเรี ย นรู ้ อย่างเพลิดเพลินของเด็กและเป็นพื้นที่ในการจัด กิจกรรมสำ�หรับเด็กและครอบครัวเพื่อพัฒนาให้ เด็กเรียนรู้ได้อย่างสนุกสนาน การจัดสร้างโครงการส่งผลสอดคล้องตามแผน พั ฒ นาของจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ที่ ต ้ อ งการให้ จังหวัดเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางบริการการศึกษา ของภาคเหนือ (Education Hub) นอกจากนี้ยัง เป็นสถานที่ที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองทำ�ให้เกิดความเป็นปึกแผ่นของ สถาบั น ครอบครั ว ทั้ ง ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ แ ละ ภูมิภาคใกล้เคียง
พิพิธภัณฑ์เด็กจังหวัดเชียงใหม่
PORTFOLIO | PAGE 7
PORTFOlIO | PAGE 8
SITE ANALYSIS ที่ตั้งโครงการพิพิธภัณฑ์เด็กจังหวัดเชียงใหม่ (CCM)ตั้ ง อยู่ ที่ ตำ � บลสุ เ ทพเทศบาลนคร จังหวัดเชียงใหม่บริเวณถนนนิมมานเหมินท์ ตัดกับซอยเชียงราย 2 ขนาดที่ดิน 8 ไร่ 3 งาน 200 ตารางเมตรกำ�หนดเขตพื้นที่สีเขียว มะกอก ที่ดินประเภทสถานศึกษา
CIRCULATION
SUN PATH AND WINDS
EXISTING
VIEWS AND EFFECT
[1] Lanna Traditional House Museum [2] CMU Art Center [3] Princess Mothers Health Garden [4] CMU Convention Center
AREA
EXHIBITION LIBRARY AND MEETING RM PUBLIC SPACE CANTEEN SOUVENIR OFFICE M&E CARPARK
USER
CHILDREN ADULT STAFF
Site Area : 14,100 sq.m. Building Area : 8,400 sq.m. Parking Area : 1,870 sq.m. (65 cars)
PORTFOLIO | PAGE 9
แนวความคิดในการออกแบบจะมุ่งเน้นที่ตัวเด็ก ตามกฎ LAW OF EFFECT กล่าวว่า หากเด็กได้ รับความพอใจจากผลการทำ�กิจกรรมจะเกิดผล ดีกับการเรียนรู้ทำ�ให้เด็กอยากเรียนรู้เพิ่มมาก ขึ้นอีก และการทำ�ซ�้ำ คือพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจาก การเล่นของเด็ก ทำ�ให้เด็กเข้าใจลำ�ดับขั้นและเกิด พัฒนาการการเรียนรู้ต่างๆ จึ ง เกิ ด เป็ น แนวความคิ ด ในการออกแบบทาง สัญจรในพิพิธภัณฑ์ที่สะดวกในการให้เด็กได้เกิด กิ จ กรรมที่ ส ามารถทำ�ซ�้ ำ ได้ แ ละให้ สิ ท ธิ ใ นการ เลือกเล่นส่วนต่างๆในพิพิธภัณฑ์ได้อย่างแบบ อิสระ
Wat Phra That Doi Suthep
GRID STREET PLAN
Site
GIRD LANDSCAPE
Moat of Chiang Mai
OVERLAP
MASS DEVELOP IDEA FROM LOCATION แนวความคิดการวางเส น้ แกนเมืองและแกนการมองเห็นสถานที่สำ �คัญของบริบท จากมุมมองของตำ�แหน่งโครงการ
EXTRUDE
LAYOUT
PUT IN MIX
CONNECT TO NEAR BUILDING OPEN SPACE
WATER COURT AND PLAYGROUND
PORTFOlIO | PAGE 10
MASS DEVELOP ใช้การสร้าง MASS เผื่อมองหาความสัมพันธ์ของพื้นที่ว่างทั้งในและนอกอาคาร
PORTFOLIO | PAGE 11
PORTFOlIO | PAGE 12
EXHIBITION นิทรรศการภายในโครงการถูกออกแบบให้เด็กเข้าใจเรื่องราวต่างๆผ่านมุมมองใน3 ระดับ โดยเริ่มจากเรื่องใกล้ตัวที่เข้าใจได้ง่ายจนถึงเรื่องไกลตัวถูกแยกย่อยออกเป็น EXHIBITION ย่อยดังนี้
PORTFOLIO | PAGE 13 A
B
G
G F
G
C
E
B
C
D A
1ST FLOOR PLAN [A] Main Entrance [B] Drop off [C] Parking [D] Lobby Hall [E] Water Feature Court [F] Playground Court [G] Exhibition
(A)แสดงทั ศ นี ย ภาพภายนอกบริ เ วณPlaygroundCourtจากมุ ม มองจากทางเข้ า สู่ ส่ ว น Exhibition(B)แสดงทัศนียภาพภายในExhibition(C)แสดงทั ศ นี ย ภาพบริ เ วณโถงทางขึ้ น ภายในส่วนExhibition(D)แสดงภาพทัศนียภาพ ภายนอกบริเวณดาดฟ้าของ ส่วน Exhibition
D
PORTFOlIO | PAGE 14
WALL SECTION
SECTION A
PORTFOLIO | PAGE 15
SECTION B
PORTFOlIO | PAGE 16
PORTFOLIO | PAGE 17
PORTFOlIO | PAGE 18
02 | THE CAVERNRY GEM AND JEWELRY
Type : Gem and Jewelry Center Project Year : 2016 Area : 30,800 sq.m. Location : Bang-Na rd. bangkok (Group work)
The Cavernry เป็นโครงการศูนย์การค้า อั ญ มณี ท่ี ร วบรวมธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ อั ญ มณี และเครื่องประดับไว้อย่างครบวงจร ประกอบ ไปด้วย พื้นที่แลกเปลี่ยนซื้อ-ขายอัญมณี และเครื่องประดับ , Office Teard , Exhibition รวมไปถึงโรงเรียนที่เปิดหลักสูตรการ เรี ย นการสอนเฉพาะด้ า นเกี่ ย วกั บ อั ญ มณี และเครื่องประดับ
PORTFOLIO | PAGE 19
PORTFOlIO | PAGE 20
Zoning
Site Analysis
ทีต่ ั้งโครงการตั้งอยูบ่ ริเวณ ถนน บางนา-ตราด ขาออก (บริเวณบุญถาวร) ผังสี พ.4 สีแดง ทีด่ นิ ประเภทพาณิชยกรรมและทีอ่ ยูอ่ าศัยหนาแน่นมาก
PORTFOLIO | PAGE 21
Basement Plan
แนวความคิดของโครงการมาจากการรวมค�ำ ของค�ำว่า Cave + Jewelry การน�ำแนว ความคิด Cave มาใช้เนื่องจากอยากให้ผู้ใช้ งานโครงการรู้สึกถึงเนื้อแท้และเรื่องราวของ ความเป็นอัญมณี โดยตัวอาคารแสดงออก ถึงการเป็นเหมืองแร่ที่ถูกชะล้างด้วยน�้ำจนเกิด ความเป็นเหลี่ยมมุม ประกายแวววาว ออกสู่ สายตาผู้คน แสดงถึงความหรูหราและยิ่งใหญ่ ของการเป็ น ผูู ้ น�ำการค้ า อั ญ มณี แ ละเครื่ อ ง ประดับของประเทศไทย
1 st Floor Plan
PORTFOlIO | PAGE 22
CONSTRUCTURAL AND FACADE DESIGN โครงสร้างพิเศษที่เกี่่ยวข้อง
2 nd Floor Plan
3 rd Floor Plan
PORTFOLIO | PAGE 23
PORTFOlIO | PAGE 24
PORTFOLIO | PAGE 25
PORTFOlIO | PAGE 26
03 | MS LUXURY HOTEL โครงการโรงแรมระดับ 5 ดาว ใจกลางเม อื ง
Type : Hotel Project Year : 2016 Area : 26,500 sq.m. Location : Petchaburi rd. bangkok, Thailand โครงการโรงแรมตั้งอยู่บริเวณถนนเพชรบุรีตัดใหม่ซึ่งอยู่ บริเวณหัวมุมแยกตัดกับซอยนานา มีการตมนาคมที่ สะดวกสบายเนื่องจากอยู่ไม่ห่างจาก โครงการรถไฟฟ้า Airport Link โดยในส่วนของขนาดโรงแรม มีจ�ำนวนห้องพัก มากกว่า 200 ห้อง เป็นโรงแรมระดับ 5 ดาว มีกลุ่มเป้า หมายหลักทางการตลาดคือ นักท่องเที่ยวและนักธุรกิจชาว ต่างชาติในรูปแบบของ City Hotel
โดยวิธีการออกแบบโครงการนี้จะเน้นให้เกิดพื้นที่การใช้งาน ที่ตอบสนองต่อผู้ใช้งานเป็นหลัก ล�ำดับความสัมพันธ์ของ การใช้งานพื้นที่สาธารณะ พื้นที่กึ่งส่วนตัว และพื้นที่ส่วนตัว ของผู้ใช้งานอาคาร เนื่องจากรูปแบบอาคารเป็นอาคาร สาธารณะที่มีการใช้งานในหลายหลายรูปแบบ ได้แก่ ที่พัก อาศัย ส�ำนักงาน ภัตตาคาร ส่วนบริการ ร้านค้าให้เช่าและ อื่นๆจึงจ�ำเป็นต้องมีการจัด Zoning ที่สะดวกต่อความ สัมพันธ์ในแต่ละการใช้งานต่างๆ
PORTFOLIO | PAGE 27
PORTFOlIO | PAGE 28
Hospital Landscape
site
nana rd. Phetchaburi rd.
GUEST ROOM SPACE
DUCK FLOOR LOBBY SPACE MEETING ROOM
LOBBY SPACE
PORTFOLIO | PAGE 29
C H
J F
D
I E
B
G
1 ST FLOOR PLAN
6 ST FLOOR PLAN
[A] MIAN ENTRANCE [B] DROP OFF [C] PARKING [D] LOBBY HALL [E] LOBBY LOUNGE [F] OFFICE [G] COFFEE SHOP [H] ELEVATOR CORE [I] RESTUARANT [J] BACK OF HOUSE
SUITE JUNIOR SUITE DELUXE ROOM ELEVATOR CORE
A
TYPE
38 LEVEL
EXECUTIVE PENTHOUSE (3035 FLOOR ,12 UNIT) DELUXE ROOM , JUNIOR SUITE , SUITE
Administration
สำ�นักงานมี 3 ชั้น ประกอบด้วยเผนก front office,executive office,sale&publice, relation department,accounting department โดยออกแบบให้ทุกชั้นเชื่อมโยง ถึง กันด้วย landscape court
Function area FACILITY
ออกแบบให้ Banguet hall อยู่ทางปีกขวา ของ Podium ทำ�ให้เกิดความ Private และ ง่ายต่อการจัดการ มีบันไดเลื่อนที่เคลื่อนย้าย คนจากชั้น Lobby สู่ส่วน Banguet hall
Publice Space
ออกแบบ lobby ส่วนตอนรับใหพื้้นต่ำ�กว่า ระดับดิน และมี floor to floor ที่สูงเพื่อทำ�ให้ เกิด space ที่รอบรับคนจำ�นวนมากและเกิด ความหรูหรา space ถูกเพิ่มระดับไปเรื่อยๆ จนเกิดการไหลลื่นของ space
PORTFOlIO | PAGE 30
Executive Penthouse
30th & 31th Floor Plan
PORTFOLIO | PAGE 31
PORTFOlIO | PAGE 32
SECTION A
SECTION B
PORTFOLIO | PAGE 33
Roof Roof of the elevator shaft Roof
Elevator Facade
PORTFOlIO | PAGE 34
04 | INTERNATIONAL MUSIC COLLEGE KHAO-YAI | NAKHON RATCHASIMA Type : School Project Year : 2016 Area : 31,000 sq.m. Location : Khao-Yai | Nakhon Ratchasima, Thailand โครงการโรงเรี ย นดนตรี น านาชาติ เ ขาใหญ่ จังหวัดนครราชศรีมา เป็นโรงเรียนนานาชาติ ในระดับปริญญาตรี ที่มุ่งเน้นการสอนเฉพาะ ทาง ทางด้านดนตรี โดยรองรับนักเรียนจาก หลากหลายประเทศ ภายในโครงการประกอบ ไปด้วยFunction ต่างๆที่รองรับการใช้งาน ของคนภายในโครงการ เช่น ห้องเรียน ห้อง ฝึกซ้อม theater , amfi theater หอพัก โรงอาหาร ที่จอดรถ ส�ำนักงาน เป็นต้น
Site Analysis
PORTFOLIO | PAGE 35
PORTFOlIO | PAGE 36
Isomatic Layout แนวความคิดในการออกแบบคือการด�ำรงไว้ ซึ่งธรรมชาติรอบที่ดินและจ�ำกัดความถึบตัน ของแต่ละตัวอาคารโดยออกแบบอาคารใน ลักษณะเรียวยาวจากนั้นจึงน�ำตัวอาคารไป แทรก เกิดการแบ่งท�ำหน้าที่เป็นตัวโอบล้อม และกั้นให้เกิด Court Space form ภายใน ระหว่างอาคาร อาคารในลักษณะดังกล่าวเหมาะสมกับการ ออกแบบในแนวคิดแบบ Passive Form ที่ ค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมของบริเวณที่ตั้ง
แบ่งพื้นที่site ออกเป็น 3 ส่วนและจัด Zoning การใช้งานที่ส่งเสริมกิจกรรมที่เกี่ยวของ กับการส่งเสริมสติปัญญา สังคม และ กายภาพ
จากนั้นจึงจัด FUNCTION ในส่วนการ ส่ ง เสริ ม ในด้ า นสติ ปั ญ ญาและด้ า นสั ง คม อารมณ์ อยู่ในตัวอาคารส่วนพื้นที่ของด้าน กายภาพคือพื้นที่ COURT ที่เชื่อมระหว่าง อาคารหลักต่างๆเปรียบเสมือนการเชื่อมโยง พฤติกรรมต่างๆเข้าด้วยกัน
PORTFOLIO | PAGE 37
Level Follow Function by VOLUME LEVEL
PORTFOlIO | PAGE 38
1st Floor Plan
2nd Floor Plan
PORTFOLIO | PAGE 39
Court Space
Mass Form ของอาคารจะท�ำให้เกิดพื้นที่ Court Space เป็นลักษณะตัว L ท�ำหน้าที่ใน การพั ก ผ่ อ นและเพิ่ ม พื้ น ที่ สี เ ขี ย วระหว่ า ง อาคารรวมถึ ง ยั ง ช่ ว ยในการระบายอากาศ ระหว่ า งอาคารและสร้้ า งพื้ น ที่ ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ทางการมองเห็นระหว่างตัวอาคาร
Section A
PORTFOlIO | PAGE 40
PORTFOLIO | PAGE 41
PORTFOlIO | PAGE 42
05 | PATTAYA INTERNATIONAL PORT STADIUM
Type : Stadium Project Year : 2016 Area : 81,500 sq.m. Location : Bali hai Pair | Pattaya (Group Work)
ท่ า เรื อ แหลมบาลี ฮ ายอยู่ ใ นเขตพั ท ยาใต้ ในอำ � เภอบางละมุ ง ห่ า งจากตั ว เมื อ งพั ท ยา ประมาณ 2.4 กิโลเมตร แหลมบาลีฮายเป็นสถานที่ที่จัด Event งาน ต่ า งๆตามเทศกาลต่ า งๆมากมายเช่ น งาน Countdownในช่ ว งเทศกาลปี ใ หม่ ห รื อ เทศกาลดนตรี ต่ า งๆและแหลมบาลี ฮ ายยั ง เป็นท่าเรือที่สำ�คัญของพัทยาที่ขนส่งนักท่อง เที่ยวไปยังเกาะต่างๆมากมายของพัทยา
PORTFOLIO | PAGE 43
PORTFOlIO | PAGE 44
หลั ก สำ � คั ญ ของการออกแบบอาคาร รูปแบบ Stadiam ต้องคำ�นึงถึงการ คมนาคมภายในและโดยรอบของอาคาร
ทำ�การเพิ่ม Function สองจุดทั้งทางบก และทางน้ำ�เพื่อรองรับการถ่ายคนเป็นจำ�นวน มากในเวลาใดเวลาหนึ่งเป็นการกระจายคน ก่อนเข้า-ออก เวลามีการจัดกิจกรรม
การผสมผสานระหว่าง Function และ Mass Concept
TENSION FABRIC
TENSION FABRIC TENSION FABRIC (BE TURBID) SPACE TRUSS TENSION FABRIC (BE TURBID)
หลั ก การโดยทั่ ว ไปเหมื อ นกั บ ระบบเสาและ คานคื อ จะรั บ น้ำ � หนั ก จากส่ ว นบนถ่ า ยลงสู่ เสาหรือจุดรองรับ แต่ระบบ TRUSS ต่างกับ ระบบเสา – คาน เนื่องจากระบบ TRUSS สามารถรับน้ำ�หนักได้ดีกว่ามีน้ำ�หนักเบากว่า หากเที ย บในระยะเดี ย วกั น และยั ง สามารถ พาดช่ ว งได้ ย าวกว่ า มากการนำ � เอาชิ้ น ส่ ว น มาประกอบขึ้ น เป็ น รู ป โครงสร้ า งแบบต่ า งๆ โดย ยึดปลายทั้งสองของชิ้นส่วนต่างๆ ให้ยึด ติดกันและสามารถถ่ายแรงให้กันได้ด้วยการ เชื่อม การใช้ หมุดย้ำ�หรือการใช้น๊อต
PURLIN ( CARBON STEEL RECTANGULAR PIPES ) RIGID FRAME SPACE TRUSS
PORTFOLIO | PAGE 45
PORTFOlIO | PAGE 46
PORTFOLIO | PAGE 47
PORTFOlIO | PAGE 48
06 | W TOWER OFFICE BUILDING | AKAMAI
Type : Office Building Project Year : 2015 Area : 26,500 sq.m. Location : Akamai | Bangkok สำ�นักงาน S M A R T O F F I C E รูปแบบ ใหม่ที่ตอบโจทย์ LIFE STYLE ของคนรุ่น ใหม่ สร้างบรรยากาศที่เกิดความสนุกสนาน ในที่ทำ�งานเหมือนการกลับไปเป็นเด็กที่เล่น อยู่ในดินแดน W O N D E R L A N D ที่จิตนาการไร้ ขอบเขตจำ � กั ด อะไรที่ เ ป็ น ไปไม่ ไ ด้ ก็ ส ามารถ เป็นไปได้ ขึ้นอยู่กับผู้ใช้งานว่าจะลงมือทำ�ให้ ความฝันสำ�เร็จหรือไม่ ส่งเสริมพื้นที่สร้าง สรรค์ให้ผู้ใช้อาคาร
PORTFOLIO | PAGE 49
PORTFOlIO | PAGE 50
MASS CONCEPT
สร้าง SPACE ที่สนุกสนานในแบบ WONDERLAND ด้วยการใช้ระนาบการเดินไต่ระดับ
เพิ่มพื้นที่ว่างให้อาคารให้อาคารมีความโปร่ง และสร้ า งมุ ม มองจากด้ า นในสู้ ด้ า นนอกให้ มากขึ้ น จากนั้ น ทำ � พื้ น ที่ ว่ า งด้ ว ยการเพิ่ ม พื้นที่สีเขียวเข้าสู่ตัวอาคาร
Entrance
Shock Space
Float
การเข้าถึง LOBBY ด้วยการเล่น SPACE โดยการเข้าถึงโดยใช้ความสูงของระนาบด้าน บนเป็นตัวเปลี่ยนถ่ายความรู้สึก จากสูงไป ต่ำ � และจากต่ำ � ไปสู ง โดยให้ รู้ สึ ก ว่ า ผู้ เ ข้ า ใช้ มี ลั ก ษณะที่ ตั ว เล็ ก ลงหรื อ รู้ สึ ก ว่ า ตั ว มี ข นาด ใหญ่ขึ้น
สร้ า งควา มรู้ สึ ก ตื่ น เต้ น ด้ ว ยกา รสร้ า ง SPACE จากการขึ้นระนาบชั้นบนจากพื้นที่ ที่มีปริมาณแสงน้อยและแคบสู่พื้นที่ที่มีความ สูงต่ำ�ลงไปคล้ายการใกล้จะตกจากที่สูง
ชั้นบนสุดบอง TOWER สร้าง SPACE ที่ใช้ พื้ น ด้ ว ยวั ส ดุ ที่ เ ป็ น กระจกให้ รู้ สึ ก ว่ า ตั ว เอง ลอยอยู่บนอากาศ
Layout
PORTFOLIO | PAGE 51
A Floor Plan
2nd Floor Plan
3rd Floor Plan
4th Floor Plan
13rd Floor Plan
5th Floor Plan
21th Floor Plan
7th Floor Plan
22nd Floor Plan
PORTFOlIO | PAGE 52
COMMON SPACE
OFFICE FOR RENT
HEADQUARTER
PORTFOLIO | PAGE 53
GARDEN
GARDEN
PORTFOlIO | PAGE 54
PORTFOLIO | PAGE 55
PORTFOlIO | PAGE 56
07 | FLOW IN COMMUNITYMALL | AKAMAI
Type : Community Mall Project Year : 2015 Area : 5,000 sq.m. Location : Akamai | Bangkok สถานที่ตั้งโครงการอยู่ในซอยเอกมัยจัดอยู่ ในผังเมืองพื้นที่่สีน้ำ�ตาล (ย.8-10) ที่ดิน ประเภทที่อยู่อาศัยหนาหนาแน่นมาก ภายใน ซอยมีการจราจรที่หนาแน่นเกือบตลอดทั้ง วัน บริเวณโดยรอบแวดล้อมไปด้วย OFFICE BUILDING ร้านอาหาร คอมโดมีเนียม หมู่บ้านชุมชนและสถานศึกษา รวมถึง COMMUNITY MALL ขนาดเล็กจำ�นวนมาก เนื่องจาก SITE ตั้งอยู่บริเวณย่านชุมชนเมือง ดั ง นั้ น กลุ่ ม เป้ า หมายส่ ว นใหญ่ จึ ง อยู่ ใ นช่ ว ง วัยทำ�งาน และเด็กนักเรียนนักศึกษา วัดจาก จำ�นวนของ OFFICE BUILDING และสถาน ศึกษาที่มีอยู่เป็นจำ�นวนมากรองลงมาคือแม่ บ้านและชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ระยะยาวและ อื่นๆทั่วไป
PORTFOLIO | PAGE 57
PORTFOlIO | PAGE 58
layout
PORTFOLIO | PAGE 59
Site Analysis Site Community mall Residence School
CONCEPT OPEN AIR SPACE NEIGHBORHOOD COZY FRIENDLY
ทางเข้าหลักและทางสัญจรในอาคารเป็นบันได และทางลาดชันเพื่อให้เกิดSPACEที่แตกต่าง สร้างความรู้สึกตื่นตัว
นำ � คนขึ้ น ชั้ น บนก่ อ นเพื่ อ ให้ ส ามารถมอง เห็นทัศนียภาพได้มากขึ้นเห็นกิจกรรมรอบ โครงการสร้างโอกาสในการซื้อ
MATIRAL & COLOR การใช้งานโครงการที่แตกต่างกันตามช่วงวัย
PORTFOlIO | PAGE 60
A Floor Plan
1st Floor Plan
2nd Floor Plan
PORTFOLIO | PAGE 61
PORTFOlIO | PAGE 62
PORTFOLIO | PAGE 63
PORTFOlIO | PAGE 64
08 | WOODEN BOX KMITL
Type : Public Building Project Year : 2015 Area : 5,000 sq.m. Location : Faculty of Architecture ,KMITL | Bangkok สถานที่ ตั้ ง โครงการตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณคณะ สถาปัตยกรรมศาตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็น อาคารที่ ร องรั บ การใช้ ง านของนั ก ศึ ก ษา ภายในคณะ ภายในประกอบไปด้วย ห้อง เรียนนักศึกษา ห้อง EXhibition และเป็นพื้น ที่ในการสร้างสรรค์การเรียนรู้ของนักศึกษา แนวคิดในการออกแบบจะนำ� Concept ของ เล่นไม้นำ�มาใช้ เปรียบเสมือนการนำ� Box ของ Function ต่างๆมาต่อกันอย่างลงตัว และแบ่งพื้นที่ส่วนที่กระตุ้นในการเคลื่อนไหว และพื้ น ที่ ที่ ต้ อ งการความสงบออกแต่ เ ชื่ อ ม ด้วย Space ส่วนกลางที่เป็นตัวแจกไปยัง ส่วนต่างๆ
PORTFOLIO | PAGE 65
PORTFOlIO | PAGE 66
DIFFERENT
BREAK
THINK ZONG
การเข้าถึงส่วนต่างๆของพื้นที่แบ่งพื้นที่ด้าน บนสำ�หรับส่วน PUBLICE และนำ�ส่วนปิดกั้น ไว้ด้านล่างสุดสำ�หรับส่วน PRIVATE โดยใช้ ระดับชั้นของอาคารเป็นการแบ่ง การเข้าถึง ส่วนต่างๆจะถูกปิดกั้นโดยตำ�แหน่ง
1st Floor Plan
2nd Floor Plan
PORTFOLIO | PAGE 67
Underground Floor Plan
PORTFOlIO | PAGE 68
PORTFOLIO | PAGE 69
PORTFOlIO | PAGE 70
09 | LANG-FON GUEST HOUSE | AYUTTAYA
Type : Guest House Project Year : 2015 Area : 1,000 sq.m. Location : Ayuttaya
ที่ ตั้ ง ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ตั้ ง อ ยู่ ที่ จั ง ห วั ด น ค ร ศรี อ ยุ ธ ยาซึ่ ง โดยสภาพภู มิ ป ระเทศมี ค วาม เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ�ทำ�ให้เมื่อถึงฤดูนำ�หลากจึง มีการท่วมของน้ำ�เป็นประจำ�ทุกปี รวมถึงโค รงการเป็นการนำ�เอาที่ดินผืนหลังจากตัวบ้า นที่มาการสร้างไว้อยู่ก่อน จึงต้องคิดถึงการ เข้าถึงและการผสมผสานตัวสิ่งปลูกสร้างเดิม และใหม่ให้อยู่ร่วมกันได้อย่างกลมกลืน เมื่ อ สภาพอากาศเป็ น ตั ว กำ � หนดกิ จ กรรม ของมนุ ษ ย์ ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น การ ออกแบบจึงนำ�เรื่องราวของฤดูกาลมาอยู่ใน ทุกส่วนของ GUEST HOUSE ผสมผสานกับ บรรยากาศของอยุ ธ ยาด้ ว ยการสร้ า งพื้ น ที่ อยู่แบบไทย ลานกว้าง ชานทางเดิน ใต้ถุนสูง WEATHER CAN CHANGE YOUR MOOD
PORTFOLIO | PAGE 71
PORTFOlIO | PAGE 72
BETWEEN SEASONS AND PEOPLE
LAYOUT PLAN
PORTFOLIO | PAGE 73
1ST FLOOR PLAN
2ND FLOOR PLAN
3RD FLOOR PLAN
PORTFOlIO | PAGE 74
PORTFOLIO | PAGE 75
PORTFOlIO | PAGE 76
10 | ART MOR ART STREET 2015 ART & MUSIC FESTIVAL | KMITL
Art & Production team
PORTFOLIO | PAGE 77