ATTANA VASUWATTANA อัตนา วสุวัฒนะ
ATTANA VASUWATTANA อัตนา วสุวัฒนะ
CONTACT ADDRESS
166/129 M.2 T.Tonpao A.Sankampaeng Chiangmai
TELEPHON
089-6337134
tong_at@hotmail.com t.vasuwattana@gmail.com
www.facebook.com/tongvasu
LINE
atong3
SKYPE
tong_at3
@aTonG3
atong3
24 SEPTEMBER 1992
BORN EDUCATION
1999-2011 PRIMARY SCHOOLHIGH SCHOOL 2009 HIGH SCHOOL EXCHANGE 2011-2015 BACHELOR DEGREE
REGINA COELI COLLEGE CHIANGMAI, THAILAND FUKUOKA FUTABA HIGH SCHOOL FUKUOKA, JAPAN DEPARTMENT OF LANDSCAPE ARCHIHTECTURE FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY BANGKOK, THAILAND
SKILLS AUTODESK AUTOCAD ADOBE PHOTOSHOP
AUTODESK 3DS MAX
ADOBE LIGHTROOM ADOBE INDESIGN ADOBE ILLUSTRATOR
LANGUAGES THAI : EXCELLENT ENGLISH : GOOD JAPANESE : GOOD
CONTENT
PARK, BKK PRACHUAB CITY DEVELOPMENT, PRACHUAB BANGCHAK REFINERY BROWNFIELD PROJECT, BKK WATER MANAGEMENT PROJECT, BKK CHULA SARABURI CAMPUS, SARABURI REHABILITATION OF PICHIT RIVER, PICHIT
สวนสาธารณะตั้งอยู่ท่ามกลางย่านธุรกิจที่สามารถเข้าถึงพื้นที่ได้อย่างสะดวก ด้วยรถไฟฟ้าใต้ดินและรถเมล์ พื้นที่รอบใกล้เคียงมีความหลากหลาย เช่น สํานักงาน ศูนย์ วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โรงละคร โรงแรม ตลาดนัด จึงดึงดูดผู้คนที่มีความหลากหลาย เข้ามายังพื้นที่ กิจกรรมที่เกิดขึ้นโดยรอบสวนสาธารณะแห่งนี้ล้วนเป็นกิจกรรมแบบ active การออกแบบสวนเพื่อเป็นพื้นที่สาธารณะสีเขียวสําหรับการพักผ่อนหย่อนใจจึงเป็นการ สร้างทางเลือกสําหรับคนบริเวณโดยรอบให้เข้ามาใช้ และเป็นทางเดินเชื่อมต่อสถานที่ต่างๆ ท่ามกลางความร่มรื่นเพื่อสนับสนุนให้คนเลือกใช้การสัญจรด้วยการเดินมากขึ้น นอกจากนี้
CONCEPT….. TOURIST GATEWAY TOURIST
นักท องเที่ยวท่ี่มาเที่ ยวบริเวณใกล เคียง เช น อ าวมะนาว กุยบุรี สามร อยยอด นักท องเที่ยว one-day tour ซ่ึงซื้อทัวร มาเท่ี่ยวชายหาดต างๆฝ งอ าวไทย นักท องเที่ยว backpacker ท่ีเที่ยวแถบ asian มาที่ นี่ ก อนข ามไปพม าผ านทางด านสิงขร นักธุรกิจที่มาทําการติดต อค าขายผ านทางด านสิงขร แล วเข ามาพักในเทศบาลเมืองประจวบฯ
GATEWAY
เนื่องจากประจวบฯเป นเมืองที่เข าถึงได ง าย รถส วนตัว รถตู รถไฟ เรือ เครื่องบิน
ตามทางหลวงแผ นดินสายเอเชียหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) มีบริษัทท่ีให บริการรถตู โดยสารจาก กทม. 4 บริษัท และรถตู เส นทางประจวบฯ-ชัยราช-ชุมพร 1 บริษัท รถไฟสายใต จากกทม. ประมาณ 318 กิโลเมตร ใช เวลาเดินทางประมาณ 4-6 ชั่วโมง มีโครงการพัฒนาสะพานปลาให เป นท าเทียบเรือเพือการท องเที่ยวทางทะเล สนามบินกองบิน 5 กองพลบินที่ 4 เป นสนามบินของกองทัพอากาศ ตั้งอยู ชายทะเลบริเวณ เขาล อมหมวก และอ าวมะนาว อําเภอเมืองประจวบคีรีขันธ
…….Gateway to Leisurely City เส นทางสู เมืองแห งความเนือบช า ซ่ึงมีจุดเด นเรื่อง ธรรมชาติ วัฒนธรรม วิถีชีวิต เส นทางวิถีชีวิต ท าเรือ ตลาด สวนสาธารณะต างๆ สนามกีฬา สวนสาธารณะริมท าเรือ ปรับปรุงพื้นที่สําหรับตลาดนัด เชือมต อพื้นที่ต างๆให เข าถึงได สะดวก 1.
เส นทางธรรมชาติ ทะเล หาดทราย ป าชายเลน เกาะทรายงอก เขาช องกระจก คูน้ํา สวนสาธารณะแบบธรรมชาติ พัฒนาเกาะบางนางรม ปรับปรุงถนนริมหาด ปรับปรุงทัศนียภาพของร องรับน้ําริมทางรถไฟ 2.
เส นทางวัฒนธรรม วัดธรรมมิกการาม ศาลหลักเมือง เกาะหลัก ย านบ านเก า ถนนสู ศึก สวนสาธารณะเชิงประวัติศาสตร พุทธมณฑล ปรับปรุงถนนสู ศึก สร างสวนธารณะเล็กๆแทรกตามพื้นที่ต างๆ
A.
B.
C.
โครงการป องกันน้ําท วมกรุงเทพมหานครฯ ฝ งตะวันออก โครงการออกแบบพื้นที่เขตลาดกระบัง บริเวณใกล กับสนามบินสุวรรณภูมิ คลังสินค า และนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งเป นจุุดสุดท ายของ floodway กทม. ฝ งตะวันออก เป นการจัดการพื้นที่ ให ยังคงมีความสามารถในการระบายน้ําออกจาก กทม. แม ว าเมืองจะมีการเจริญเติบโตขยายตัวแล วก็ตาม โดยมีจุดประสงค หลักของโครงการ ดังนี้ 1) เพิ่มศักยภาพในการระบายน้ําจากพื้นท่ี floodway ลงสู คลองประเวศน บุรีรมย เนื่องจากในป จจุบันเมืองมีการขยายตัวสูง ทําให สภาพพื้นที่เปลี่ยนจากดินที่สามารถกักเก็บและชะลอน้ําได ไปเป นพื้นดาดแข็งที่ไม ซึมน้ํา และมีการถมที่ยกสูงเพื่อเลี่ยงป ญหาน้ําท วมใน พื้นที่ตัวเอง ทําให เกิดเป นน้ํา run-off จํานวนมาก ซึ่งก อให เกิดป ญหาแก ชุมชนที่อาศัยอยู บริเวณนั้น นอกจากป ญหาที่เกิดกับคนในพื้นที่บริเวณนั้นแล ว ยังมีผลกับพื้นที่บริเวณอื่นอีกด วย กล าวคือ หากพื้นทที่ floodway มีศักยภาพในการรับน้ําและระบายน้ําได ดีนั้น มวลทั้งที่มาจากทางเหนือ และมาจากฝน จะสามารถระบายลงสู คลองและลงทะเลได อย างมีประสิทธิภาพ ซึ่งช วยลดป ญหาน้ําท วม บริเวณอื่นๆ 2) เป นพื้นที่การเกษตร ที่สามารถอยู กับน้ําได พื้นที่บริเวณนี้ แต เดิมเคยเป นพื้นที่การเกษตรมาก อน แต หลังจากมีการสร างสิ่งก อสร างต างๆขึ้นมา ทําให มีผลกระทบกับระบบน้ํา พื้นที่นาจึงค อยๆลดน อยลง การสร างทางน้ําใหม ขึ้น มาทําให พื้นที่รกร างว างเปล านั้น มีศักยภาพที่จะนํากลับมาทําเป นพื้นที่การเกษตรอีกครั้ง โดยบริเวณพื้นที่หลักของโครงการจะมีการทําการเกษตรในรูปแบบต างๆที่ผัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันไปตาม ช วงฤดูแล ง และช วงฤดูน้ําหลาก เป นสถานที่ที่ให คนนอกสามารถเข ามาเรียนรู ได และมีพื้นที่สําหรับการทดลองขนาด 1 ไร อีกหลายแปลง ให เกตรกรเข ามาทดลองทําการเกษตร เพื่อหารูปแบบที่มี ประสิทธิภาพ
จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย วิทยาเขตสระบุรี จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยมีแผนการจะในการเป ดวิทยาเขตที่จังหวัดสระบุรี ซึ่งพื้นที่ของ จุฬาฯสระบุรีนั้นตั้งอยู ในอําเภอแก งคอย มีส วนที่ติดต อกับพื้นที่ของป าอนุรักษ จึงมีธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ เป นจุดเด นของวิทยาเขตแห งนี้ การออกแบบจึงดึงจุดเด นออกมาเป นสื่อในการเรียนรู ของนิสิต เพื่อให เกิดความคุ นเคย เข าใจ และเห็นคุณค าของธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีพื้นที่สําหรับการเรียนรู ของประชาชนทั่วไป เพื่อ เป นการสร างความรู พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มโอกาศให แก คนในพื้นที่ อย างให สอดคล องกับวิสัยทัศน ของมหาวิทยาลัย
พิจิตรตั้งอยู ทางตอนล างของภาคเหนือ เป นพื้นที่บริเวณตอนบนของ floodplain ทําให มีน้ําหลา
จังหวัดพิจิตรมีแม น้ําที่สําคัญไหลผ าน 3 สาย ได แก แม น้ํายม น าน พิจิตร โดยแม น้ําพิจิตรแยกออ รวมกับแม น้ํายมทางตอนล างของจังหวัด
พื้นที่ของพิจิตรมีความอุดมสมบูรณ จากตะกอนที่พัดพาโดยน้ํา ทําให มีพืชพรรณนานาชนิดขึ้น ส นานาชนิด และมีการตั้งถิ่นฐานของคน โดยชนชาติแรกที่เข ามาอยู ในพื้นที่คือละโว ซึ่งสร างเมืองอ เมืองไชยบวร ต อมาได อพยพขึ้นเหนือไปตามแม น้ําพิจิตรและสร างเมืองขึ้นริมแม น้ําพิจิตรทางทิศ หลวงหมายถึงบึงสีไฟ)
ซึ่งการอยู อาศัยของคนในอดีตนั้นจะมีความสัมพันธ กับสภาพแวดล อมและมีปฏิสัมพันธ กับแม น้ํา การเกษตร การอุปโภคบริโภค และใช ในการสัญจร จนกระทั่งสมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 4 ก็ยังได พิษณุโลก
แต ในป จจุบันแม น้ําพิจิตรถูกทําลายโดยการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ซึ่งไม มีความสอ ชลประทานซึ่งสร างขนาบข างแม น้ําพิจิตรตั้งแต ต นสายไปจนสุดสายรวมทั้งถ พิจิตรได และถนนที่สร างขวางทางน้ําในหลายจุด ทําให แม น้ําพิจิตรเหือดแห ง
ซึ่งโครงการนี้จะเป นการนํากลับมาซึ่งการบริการทางด าน ecological socio-economic และ culture ให แก พื้นที่ จึงเป นที่มาของ concept “the flow” ซึ่งจะเป นการ reconnection แม น้ําพิจิตรเข ากับ พื้นที่ต างๆซึ่งแบ งเป นธรรมชาติและมนุษย
ากเป นประจํา
อกจากแม น้ําน านทางตอนบนของจังหวัด และไป
สภาพพื้นที่อุดมสมบูรณ เป นที่อยู อาศัยของสัตว ยู ทางตอนล างของจังหวัด ติดกับแม น้ําพิจิตร ชื่อ ศตะวันตกของบึงสีไฟชื่อว าเมืองสระหลวง(ซึ่งสระ
พิจิตร โดยใช ประโยชน จากแม น้ําทั้งในด าน ด ใช แม น้ําพิจิตรเป นทางผ านในการเสด็จไปยัง
อดคล องกับพื้นที่เดิม ทั้งจากการสร างคลอง ถมบริเวณต นน้ํา ทําให น้ําไม สามารถเข าสู แม น้ํา งและหมดความสําคัญลง
A) Water inlet เป นการเชื่อมต อระหว างแม นําพิจิตรกับ พื้นที่ทางธรรมชาติ โดยอาศัยหลักการ regenerate ซึ่ง มีวัตถุประสงค คือการทําให แม น้ําที่เคยถูกถมกลับมาไหล ได ดังเดิม
B) Pichit city เป นการเชื่อมต อระหว างแม น้ําพิจิตร กับชุมชนมนุษย โดยอาศัยหลักการ recreate ชึ่งมีจุด ประสงค ในการเชื่อมต อระหว งตัวเมืองพิจิตรกับแม น้ํา พิจิตร และพัฒนาพื้นที่ริมน้ําให คนสามารถเข าไปใช งาน ได
A) Water inlet
B) Pichit city
C) Sraluang town
C) Sraluang town เป นการเชื่อมต อระหว าง แม น้ําพิจิตรกับชุมชนมนุษย พื้นที่กึ่งธรรมชาติ(พื้น เกษตรกรรม) และพื้นที่ธรรมชาติ(บึงสีไฟ) โดยอาศัย หลักการ relearn คือการเรียนรู ว าพื้นที่บริเวณนี้ในอดีต เป นอย างไร และออกแบบโดยอ างอิงจากสภาพเดิม โดยมี วัตถุประสงค คือการฟื้นฟูแม น้ําพิจิตรให สามารถกลับมา เป นส วนหนึ่งของเมืองโบราณ ใช น้ําในการทําการเกษตร และลําเลียงน้ําเข าสู บึงสีไฟได
A-1
A-2
B-1
B-2
B-4
B-5
B-7 111-2
B-8 111-2
111-1
B-3
B-6
111-1
115-3
115-1 115-2
1068-2 1068-1
115-3 1068-2 115-2
115-1
1068-1