ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 1

ระบบเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์

(computer network)


ความหมาย ของระบบ เครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์


หมายของระบบเครือ ข่า ยคอมพ ระบบเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์

(Computer Network)

หมายถึง การนำา เครื่อ ง คอมพิว เตอร์ต ั้ง แต่ 2 เครื่อ งขึ้น ไป มาเชื่อ มต่อ เข้า ด้ว ยกัน โดย อาศัย ช่อ งทางการสื่อ สารข้อ มูล เพื่อ แลกเปลีย ่ นข้อ มูล ข่า วสาร


ความสำา คัญ ของระบบ เครือ ข่า ย ทำา ให้เ กิด การทำา งานร่ว มกัน เป็น กลุ่ม สามารถทำ า งานพร้ว อ มกั น คอมพิ เตอร์

และ

ทำา ให้ส ามารถใช้ข ้อ มูล ต่า งๆร่ว มกัน ซึง่ ทำา ให้อ งค์ก ารได้ร ับ ประโยชน์ม ากขึ้น ทำา ให้ส ามารถใช้ท รัพ ยากรได้ค ม ุ้ ค่า เช่น ใช้เ ครื่อ งประมวลผลร่ว มกัน แบ่ง กัน ใช้แ ฟ้ม ข้อ มูล ใช้เ ครื่อ งพิม พ์ และอุป กรณ์ท ี่ม ี


องค์ป ระกอบพื้น ฐาน ของเครือ ข่า ย


องค์ป ระกอบพื้น ฐานของเครือ ข่า ย

การที่ค อมพิว เตอร์จ ะเชือ ่ มต่อ กัน เป็น เครือ ข่า ยได้ ต้อ งมี องค์ป ระกอบพื้น ฐานดัง ต่อ ไปนี้

- คอมพิว เตอร์ อย่า งน้อ ย

- เน็ต เวิร ์ด การ์ด

Card)

หรือ

2 เครื่อ ง

NIC (Network Interface

- สื่อ กลางและอุป กรณ์ส ำา หรับ การรับ ส่ง ข้อ มูล - โปรโตคอล ( Protocol) - ระบบปฏิบ ัต ิก ารเครือ ข่า ย หรือ NOS (Network

Operating System)


1. เน็ต เวิร ์ด การ์ด (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสำา หรับ ใช้ใ นการ เชือ ่ มต่อ สายสัญ ญาณของเครือ ข่า ย ติด ตั้ง ไว้ใ นเครื่อ งคอมพิว เตอร์ท ี่เ ป็น เครื่อ งแม่ข ่า ย และเครื่อ งที่เ ป็น ลูก ข่า ย หน้า ที่ข องการ์ด นี้ คือ แปลงสัญ ญาณจากคอมพิว เตอร์ส ง่ ผ่า น ไปตามสายสัญ ญาณ ทำา ให้ค อมพิว เตอร์ใ น เครือ ข่า ยแลกเปลี่ย นข้อ มูล ข่า วสารกัน ได้ รูป แสดงการ์ด เชื่อ มต่อ เครือ ข่า ย


2. สายสัญ ญาณ ปัจ จุบ น ั มีส ายสัญ ญาณที่ใ ช้เ ป็น มาตรฐาน ในระบบเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์ คูบ ่ ด ิ เกลี ( twisted pair ) ในแต่ล ะคูข ่ องสายทองแ อยูย ่ 3ว ประเภท พัน กัน ตามมาตรฐานเพื่อ ต้อ งการลดการรบกวนจาก ไฟฟ้า กับ คูส ่ ายข้า งเคีย งได้แ ล้ว ผ่า นไปยัง สายเคเบิล ภายนอกเท่า นัน ้ เนือ ่ งจากสายคูบ ่ ด ิ เกลีย วนัน ้ มีร าค มูล ได้ด ีแ ล้ว นำ้า หนัก เบา ง่า ยต่อ การติด ตั้ง จึง ทำา ให างขวางตัว อย่า งคือ สายโทรศัพ ท์ นีม ้ ี 2 ชนิด คือ


บ ู่ ิด เกลีย วชนิด หุ้ม ฉนวน

Twisted Pair : STP)

คู่บ ด ิ เกลีย วที่ห ุ้ม ด้ว ยฉนวนชั้น นอกที่ห นาอีก ช กัน การรบกวนของคลื่น แม่เ หล็ก ไฟฟ้า

สายคู่บ ิด เกลีย ว ชนิด หุม ้ ฉนวน


ข. สายคูเ่ กลีย วชนิด ไม่ห ุ้ม ฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP)

เป็น สายคูบ ่ ด ิ เกลีย วที่ห ุ้ม ด้ว ยฉนวนชัน ้ นอก ด้ว ยซึง่ บางทีก ็ห ุ้ม อีก ชัน ้ ดัง รูป ซึ่ง ทำา ให้ส ะดวกในการโค้ง งอ แต่ก ็ส ามารถ ป้อ งกัน การรบกวนของคลื่น แม่เ หล็ก ไฟฟ้า ได้น อ ้ ยกว่า ชนิด แรก

สายคู่บดิ เกลียวชนิดไม่ ห้ ุมฉนวน


2.2 สายโคแอกเชีย ล สายโคแอกเชีย ล เป็น ตัว กลางการเชือ ่ มโยง ที่ม ีล ัก ษณะเช่น เดีย วกับ สายทีว ีท ี่ม ก ี ารใช้ง าน กัน อยู่เ ป็น จำา นวนมากไม่ว ่า จะ ใช้ใ นระบบเครือ ข่า ยเฉพาะที่แ ละใช้ใ นการ ส่ง ข้อ มูล ระยะที่ไ กลระหว่า งประชุม สายโทรศัพ ท์ห รือ การส่ง ข้อ มูล สัญ ญาณ วีด ีท ัศ น์ ซึ่ง สายโคแอกเชีย ลที่ใ ช้ ทั่ว ไปก็ม อ ี ยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่ง ใช้ส ง่ ข้อ มูล แบบดิจ ิท อลและชนิด 75โอห์ม ลัก ษณะของสายโคแอกเชีย ล


ก้ว นำา แสง ( fiber optic ) เป็น การที่ใ ช้ใ ห้แ สงเคลื่อ นท ซึ่ง สามารถส่ง ข้อ มูล ด้ว ยเป็น อัต ราความหนาแน่น ข กที่ป จ ั จุบ น ั ถ้า ใช้เ ส้น ใยนำา แสงกับ ระบบอีเ ธอร์เ น็ต ก ว 10 เมกะบิต ถ้า ใช้ก ับ FDDI ก็จ ะใช้ไ ด้ด ้ว ยความเร ต ิ

ลัก ษณะของเส้น ใยนำา แสง


3. อุป กรณ์เ ครือ ข่า ย

อุปกรณ์ทน ี่ ำามาใช้ในเครือข่ายทำา หน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ- ส่งข้อมูลใน เครือข่าย หรือใช้สำาหรับทวนสัญญาณเพื่อ ให้การรับ-ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ ไกลมากขึน ้ หรือใช้สำาหรับขยายเครือข่าย ให้มีขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่ พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์ เตอร์


3.1 ฮับ (Hub) ฮับ (HUB) คือ อุป กรณ์ท ี่ใ ช้เ ชือ ่ มกัน ระหว่า งกลุ่ม ของฮับ มีห น้า ที่ร ับ ส่ง เฟรม ข้อ มูล ทุก เฟรมที่ไ ด้ร ับ จากพอร์ต ใดพอร์ต หนึ่ง เพื่อ ส่ง ไปยัง ทุก ๆ พอร์ต ที่เ หลือ คอมพิว เตอร์ท ี่เ ชือ ่ มต่อ เข้า กับ ฮับ จะแชร์ แบนด์ว ิธ หรือ อัต ราข้อ มูล ของเครือ ข่า ย

ฮับ (HU


ตซ์ (Switch) (Switch) หรือ บริด จ์ (Bridge) เป็น อุป กรณ์ท ี่ใ ช้ส ำา ห LAN สองเครือ ข่า ยเข้า ด้ว ยกัน โดยจะต้อ งเป็น LA และก็ใ ช้โ ปรโตคอลในการรับ ส่ง ข้อ มูล เหมือ นกัน ารเชือ ่ มต่อ Ethernet LAN ทั้ง สองเครือ ข่า ยเข้า ด้ว ยก

สวิต ซ์ (Switch) หรือ บริด จ์ (Bridge)


อร์ ( Routing ) ที่ท ำา หน้า ที่เ ชือ ่ มต่อ ในระบบเครือ ข่า ยกับ หลายระบบ ดจ์ แต่ก ็ม ส ี ว ่ นการทำา งานจะซับ ซ้อ นมากกว่า บริด จ อร์ก ็ม เี ส้น ทางการเชือ ่ มโยงข้อ มูล ระหว่า งแต่ล ะเครือ น ้ ทางเรีย กว่า Routing Table ทำา ให้เ ราท์เ ตอร์ น้า ที่จ ัด หาเส้น ทาง และเลือ กเส้น ทางเหมาะสมที่ส ด ุ และเพื่อ การติด ต่อ ระหว่า งเครือ ข่า ยได้อ ย่า งมีป ระ

เราท์


3.4 โมเด็ม Demodulator)

( Modem : Modulator

หมายถึง อุป กรณ์ส ำา หรับ การแปลง สัญ ญาณดิจ ิต อล (Digital) จากคอมพิว เตอร์ด ้า นผูส ้ ง่ เพื่อ ส่ง ไปตาม สายสัญ ญาณข้อ มูล แบบอนา ลอก(Analog) เมือ ่ ถึง คอมพิว เตอร์ด ้า นผูร้ ับ โมเด็ม ก็จ ะทำา หน้า ที่แ ปลงสัญ ญาณอนาลอก ให้เ ป็น ดิจ ิต อลนำา เข้า สูเ่ ครื่อ งคอมพิว เตอร์ เพื่อ ทำา การประมวลผล โดยปกติจ ะใช้ โมเด็ม กับ ระบบเครือ ข่า ยระยะไกล โดย


ปแสดงการใช้โ มเด็ม ในการติด ต่อ เครือ ข่า ยระยะไก


3.4 เซอร์เ วอร์ (Server)

หรือ เรีย กอีก อย่า งหนึง่ ว่า เครือ งแม่ข ่า ย เป็น เครื่อ งคอมพิว เตอร์ห ลัก ในเครือ ข่า ยทีท ่ ำา หน้า ที่ จัด เก็บ และให้บ ริก ารไฟล์ข ้อ มูล และทรัพ ยากร อื่น ๆ กับ คอมพิว เตอร์เ ครื่อ งอื่น ๆในเครือ ข่า ย

เซอร์เ วอร์ (Server)


3.5 ไคลเอนต์ (Client)

หรือ เรีย กอีก อย่า งหนึง่ ว่า เครื่อ งลูก ข่า ย เป็น คอมพิว เตอร์ใ นเครือ ข่า ยที่ ร้อ งขอบริก ารและเข้า ถึง ไฟล์ข ้อ มูล ที่จ ัด เก็บ ในเซิร ์ฟ เวอร์

ไคลเอนต์ (Client)


3.6 เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็น อุป กรณ์ฮ าร์ด แวร์ท เี่ ชือ ่ ม ต่อ เครือ ข่า ยต่า งประเภทเข้า ด้ว ยกัน เช่น การ ใช้เ กตเวย์ใ นการเชื่อ มต่อ เครือ ข่า ย ทีเ่ ป็น คอมพิว เตอร์ป ระเภทพีซ ี (PC) เข้า กับ คอมพิว เตอร์ป ระเภทแมคอิน ทอช (MAC) เป็น ต้น

เกตเวย์ (Gateway)


3.7 โปรโตคอล (Protoc โปรโตคอล หมายถึง กฎ ol)

เกณฑ์ ข้อตกลง ภาษาสือ ่ สาร รูปแบบ วิธีการเชื่อมต่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ใน เครือข่าย (ระบบใดๆ ก็ตาม) ให้สามารถ ติดต่อสื่อสารมีการใช้งานร่วมกันได้หลาก หลาย บางกรณีถ้าคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง สือ ่ สารกันคนละภาษากันและต้องการนำา มาเชื่อมต่อกัน จะต้องมีตัวกลางในการ แปลงโปรโตคอลกลับไปกลับมาซึ่งนิยม


ภาพแสดงการใช้ร ูป แบบโพรโตคอล


ความสำา คัญ ของ โปรโตคอล

ในการติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านทาง เครือข่ายนั้น จำาเป็นต้องมีโปรโตคอลที่เป็นข้อ กำาหนดตกลงในการสื่อสารขึ้น เพื่อช่วยให้ ระบบสองระบบที่แตกต่างกันสามารถสือ ่ สารกัน อย่างเข้าใจได้หากไม่มีโปรโตคอลแล้ว การ สื่อสารบนเครือข่ายจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ใน ปัจจุบัน นอกจากโปรโตคอลระดับประยุกต์ แล้ว การดำาเนินการภายในเครือข่าย ยังมี โปรโตคอลย่อยที่ชว ่ ยทำาให้การทำางานของ เครือข่ายมีประสิทธิภาพขึ้น โดยที่ผใ ู้ ช้ไม่


การทำา งาน ของ เครือข่ายคอมพิ วเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ ที่ โปรโตคอล

ทำางานร่วมกันเป็นจำานวนมาก มีการใช้ โปรโตคอลมาตรฐานที่มีข้อกำาหนดให้ทำางาน ร่วมกันได้ ผูใ ้ ช้อินเตอร์เน็ตที่ทำาหน้าที่เป็นผู้ ใช้บริการ หรือเป็นไคลเอนต์ (Client) สามารถ เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน ไปยัง เครื่องให้บริการหรือเซิร์ฟเวอร์ (Server) บน เครือข่าย การทำางานของพีซีที่เชื่อมต่อร่วมกับ เซิร์ฟเวอร์ ก็จำาเป็นต้องใช้โปรโตคอลเพื่อ ประยุกต์ใช้งานรับส่งข้อมูล ซึ่งโปรโตคอลที่ใช้


ภาพการทำา งานของโพรโตคอล


ประเภทของโพรโตคอลที่ใ ช้ง านในปัจ จุบ น ั 1) NetBIOS (Network Basic Input/Output System) และ NetBEUI (Network Extended User Interface)

เป็น โปรโตคอลที่ เหมาะสำา หรับ ระบบ เครือ ข่า ยขนาดเล็ก เนือ ่ งจาก โปรโตคอลนีใ ้ ช้ว ธ ิ ี กระจายสัญ ญาณไปทัว ่ ทัง้ เครือ ข่า ยไม่ส ามารถหา เส้น ทาง (route) ไปยัง คอมพิว เตอร์ท รี่ ้อ งขอ ข้อ มูล ได้ ข้อ ดีข อง


2) IPX (Internetwork Packet Exchange) /SPX (Sequenced Packet Exchange)

เป็นโปรโตคอลที่ถูกพัฒนาขึ้น มาเพื่อนำาไปใช้กับระบบเครือข่าย ของ Netware โปรโตคอลนี้มีความ สามารถในการหาเส้นทางได้ แต่ก็ ไม่ดีเท่ากับ TCP/IP ดังนั้นจึงเหมาะ สำาหรับเครือข่ายขนาดเล็กถึงระดับ กลางเท่านั้น โพรโตคอล IPX จะ เป็นโพรโตคอลที่ทำางานอยู่ใน Network Layer เมื่อมีการส่งข้อมูล แล้วไม่ต้องรอสัญญาณยืนยันการ รับข้อมูลจากปลายทาง ส่วน SPX จะเป็นโพรโตคอลที่ทำางานอยู่ใน Transport Layer โดยมีหน้าที่ใน

OSI Model


3) TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)

เป็นโปรโตคอลที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในเครือ

ข่ายขนาดใหญ่และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็น โพรโตคอลทีไ ่ ด้รับความนิยมสูงสุดในขณะนี้ โดยมี การใช้งานมากทัง้ ใน LAN และ WAN เนือ ่ งจากมี ความสามารถในการค้นหาเส้นทางไปยังเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ร้องขอข้อมูล TCP/IP เป็นชุด โปรโตคอลทีป ่ ระกอบด้วยโปรโตคอลต่างๆ หลาย โปรโตคอล ทีม ่ ีลักษณะและมีความสามารถในการ ทำางานแตกต่างกัน ข้อเสียของโปรโตคอลนี้ คือ ต้องมีความรู้พื้น


ตัว อย่า งประเภทย่อ ยของชุด โปรโตคอลTCP/IP 3.1 FTP (File Transfer Protocol)

ใช้ในการรับ-ส่ง แฟ้มข้อมูลระหว่างเครื่องลูกข่ายและ เครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์จะต้องมีโปรแกรม ให้บริการ FTP (FTP Server) ติดตั้งและทำางานอยู่ เพื่อให้ เครื่องลูกข่ายที่รันโปรแกรม FTP Client สามารถเข้ามาขอ ใช้บริการได้

ภาพแสดงการทำา งานของ FTP


3.2 HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) ใช้ในการติดต่อรับส่งข้อมูลชนิดไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) ระหว่างเครื่องลูกข่ายกับ WWW Server (World Wide Web) โดยทีเ่ อกสารนีจ ้ ะอยู่ ในรูปแบบที่เขียนในภาษา HTML (Hyper Text Markup Language) เอกสารแต่ละชิ้นจะสามารถ เชื่อมโยงไปยังเอกสารชิ้นอืน ่ ได้ ซึ่งเอกสารทีถ ่ ูก เชื่อมโยงนีอ ้ าจจะอยู่บนเครือ ่ งคอมพิวเตอร์เครื่อง เดียวกันหรือต่างเครื่องกันก็ได้


ประเภทของ เครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์


การจำา แนกประเภทของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ เครือ ข่า ยสามารถจำา แนกออกได้เ ป็น หลาย ประเภทแล้ว แต่เ กณฑ์ท ี่ใ ช้ ถ้า ใช้ข นาดเป็น เกณฑ์ จะสามารถแบ่ง ออกได้ โดยทั่ว ไป จำา แนกประเภทของเครือ ข่า ยมีอ ยู่ 3 วิธ ค ี อ ื 1. ประเภทของเครือ ข่า ยแบ่ง ตามขนาดทาง ภูม ศ ิ าสตร์ 2. ประเภทของเครือ ข่า ยแบ่ง ตามหน้า ที่ข อง คอมพิว เตอร์


เภทของเครือ ข่า ยแบ่ง ตามขนาดทางภูม ิศ าสต

ข่า ยจะถูก แบ่ง ออกตามขนาดของเครือ ข่า ย ซึ่ง ปัจ จ มีอ ยู่ 3 แบบ คือ

ยภายใน (LAN) ยงานบริเ วณนครหลวง (MAN) ยวงกว้า ง (WAN) สองเครือ ข่า ยเพิ่ม เติม อีก คือ ยของการติด ต่อ ระหว่า งไมโครคอนโทรลเลอร์ (CAN ยส่ว นบุค คล (PAN) เป็น เครือ ข่า ยไร้ส าย


1. LAN (Local Area Network) หรือ แลน จะเป็น เครือ ข่า ยซึ่ง อุป กรณ์ท ั้ง หมด เชือ ่ มโยงกัน อยู่ใ นพื้น ที่ใ กล้ ๆ กัน ใน ระยะทางไม่เ กิน 10 กิโ ลเมตร เช่น อยู่ ภายในแผนกเดีย วกัน อยู่ภ ายใน สำา นัก งาน หรือ อยู่ภ ายในตึก เดีย วกัน เป็น ต้น โดยส่ว นมากแล้ว การเชือ ่ มต่อ ใน ระบบแลนจะใช้ส ายเคเบิล แบบต่า ง ๆ ใน การเชือ ่ มโยงถึง กัน


1.1 อีเ ธอร์เ น็ต (Ethernet) อีเ ธอร์เ น็ต (Ethernet) เป็น ชือ ่ ที่เ รีย กวิธ ี การสือ ่ สารในระดับ ล่า งหรือ ที่เ ราเรีย กว่า โปรโตคอล (Protocol) ในระบบ LANชนิด หนึ่ง ที่พ ัฒ นาขึ้น โดย 3 บริษ ท ั ใหญ่ 1.2 โทเคนริง (Token Ring) โทเคนริง (Token Ring) หรือ มัก จะเรีย ก อีก อย่า งว่า ไอบีเ อ็ม โทเคนริง จัด เป็น เครือ ข่า ยที่ใ ช้ใ นโครงสร้า งแบบวงแหวน ด้ว ยสายคูบ ่ ด ิ เกลีย ว หรือ เส้น ใยนำา แสง


1.3 ATM ย่อ มาจากคำา ว่า “

Asynchronous Transfer Mode” ATM เป็น

มาตรฐานการรับ ส่ง ข้อ มูล ที่ก ำา หนด โดย ITUT (International Telecommunication UnionTelecommunication Standard Sector)


2. MAN (Metropolitan Area Network) หรือ แมน ระบบเครือ ข่า ยบริเ วณเมือ งใหญ่ ซึง่ เป็น เครือ ข่า ยแบบแวนที่ม ีร ะยะห่า งไม่ม ากนัก เช่น เป็น เครือ ข่า ยที่เ ชือ ่ มโยงภายในเขต เมือ ง หรือ ย่า นใจกลางธุร กิจ เป็น ต้น การ เชือ ่ มโยง ปกติแ ล้ว จะเป็น การเชือ ่ มโยง ระหว่า งตึก ต่า ง ๆ ด้ว ยการเชือ ่ มโยง ความเร็ว สูง ผ่า นสายใยแก้ว นำา แสง และเป็น ระบบเครือ ข่า ยสาธารณะที่ส ามารถทำา การ เช่า ใช้ง านจากผู้ใ ห้บ ริก ารได้ท ัน ที


3. WAN (Wide Area Network) หรือ แวน ระบบเครือ ข่า ยระดับ ประเทศ หรือ เครือ ข่า ยบริเ วณกว้า งเป็น ระบบเครือ ข่า ยที่เ ชื่อ มโยงเครือ ข่า ยแบบท้อ งถิ่น ตั้ง แต่ 2 เครือ ข่า ยขึ้น ไปเข้า ไว้ด ้ว ยกัน โดยผ่า นระยะทางที่ไ กลมาก โดยทั่ว ไป จะต้อ งมีก ารต่อ เข้า กับ ระบบสือ ่ สารของ องค์ก ารโทรศัพ ท์ห รือ การสือ ่ สารแห่ง ประเทศไทย และการส่ง ข้อ มูล อาจใช้ อุป กรณ์ใ นการสือ ่ สาร เช่น สาย โทรศัพ ท์ คลื่น ไมโครเวฟหรือ ดาวเทีย ม



CAN (Controller area network) หรือ แคน หมายถึง การควบคุม พื้น ที่เ ครือ ข่า ย เป็น มาตรฐานการติด ต่อ สือ ่ สารแบบอนุก รม ต้อ งการการส่ง ข้อ มูล เป็น รหัส จัง หวะทาง ไฟฟ้า โดยการใช้ส ายสัญ ญาณการ หรือ แพน ติดPAN ต่อ สื(Personal อ ่ สารเพียarea ง 2network) เส้น คือ "ระบบการติด ต่อ สือ ่ สารไร้ส ายส่ว น บุค คล" เป็น เทคโนโลยีก ารเข้า ถึง ไร้ส าย ในพื้น ที่เ ฉพาะส่ว นบุค คล โดยมีร ะยะทาง ไม่เ กิน 1เมตร และมีอ ัต ราการรับ ส่ง ข้อ มูล ความเร็ว สูง มาก


2. ประเภทของเครือ ข่า ยแบ่ง ตามหน้า ที่ ของคอมพิว เตอร์ ใช้ลักษณะการแชร์ข้อมูลของ คอมพิวเตอร์ หรือหน้าที่ของคอมพิวเตอร์ใน แต่ละเครือข่ายเป็นเกณฑ์ เพื่อเป็นการแบ่ง ประเภทของเครือข่าย ซึ่งเมื่อใช้หลักการนี้ แล้วเราสามารถแบ่งเครือข่ายออกได้ เป็น 2 ประเภทคือ 2.1 เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์ (Peer – To - Peer) 2.2 เครือข่ายแบบไคลเอนท์เซิร์ฟเวอร์


2.1 เครือ ข่า ยแบบเพีย ร์ท ูเ พีย ร์ (Peer – To - Peer) โดยเป็นการเชื่อมต่อของเครื่องทุกเครื่องที่ใช้ ในระบบเครือข่าย และยังมีสถานะเท่าเทียม กันหมด โดยเป็นเครื่องทุกเครื่องสามารถเป็น ได้ทั้งเครื่องผู้ใช้บริการและผูใ ้ ห้เครื่องบริการ ในขณะใดขณะหนึ่ง


2.2 เครือ ข่า ยแบบไคลเอนท์ เซิร ์ฟ เวอร์ (Client/Server Network) ถ้าระบบเครือข่ายมีคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก ควรสร้าง เครือข่ายแบบเพียร์ทเู พียร์ เนื่องจากง่ายและค่าใช้จ่าย จะถูกกว่า แต่เมื่อเครือข่ายนัน ้ มีการขยายใหญ่ขึ้น จำานวนผูใ ้ ช้ก็มากขึ้นเช่นกัน การดูแลและการจัดการ ระบบก็จะซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เครือข่ายจำาเป็นทีต ่ ้องมี เซิร์ฟเวอร์ทำาหน้าทีจ ่ ัดการเรื่องต่างๆ และให้บริการ อืน ่ ๆ เครื่องเซิร์ฟเวอร์นั้นก็ควรทีจ ่ ะเป็นเครื่องทีม ่ ี ประสิทธิภาพทีส ่ ูงขึ้น และสามารถบริการให้ผใ ู้ ช้ได้ หลายๆ คนในเวลาเดียวกันได้


ประเภทของเซิร ์ฟ เวอร์ท ี่ใ ห้ บริก ารแบบต่า ง ๆ

ก. ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server) เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่ทำาหน้าที่ในการจัดเก็บ ไฟล์ จะเสมือนฮาร์ดดิสก์รวมศูนย์ (Cauterized disk storage) เสมือนว่าผูใ ้ ช้งานทุกคนมีที่เก็บ ข้อมูลอยู่ที่เดียว เพราะควบคุม-บริหารง่าย การสำารองข้อมูลโดยการ Restore ง่าย


ข. พริน ต์เ ซิร ์ฟ เวอร์

Print Server

หนึ่งเหตุผลที่จะต้องมี Print Server ก็คือ เพื่อแบ่งให้พรินเตอร์ราคาแพง บางรุ่นที่ออกแบบมาใช้สำาหรับการทำางาน มาก ๆ เช่น HP Laser 5000 พิมพ์ได้ถึง 10 - 24 แผ่นต่อนาที พรินเตอร์สำาหรับประเภท นี้ ความสามารถในการทำางานที่จะสูง


ค. แอพพลิเ คชัน ่ เซิร ์ฟ เวอร์ (Application Server) Application Server คือ เซิร์ฟเวอร์ที่รัน โปรแกรมประยุกต์ได้ โดยการทำางาน สอดคล้องกับไคลเอ็นต์ เช่น Mail Server ( รัน MS Exchange Server ) Proxy Server (รัน Proxy Server) หรือ Web Server (รันWeb Server Program) เช่น ( Xitami , Apache‘)


ง. อิน เตอร์เ น็ต เซิร ์ฟ เวอร์ (Internet Server) ปัจจุบันอินเตอร์เน็ตนั้น มีผลกระทบกับ เครือข่ายในปัจจุบน ั เป็นอย่างมาก อินเตอร์เน็ต เป็นเครือข่ายที่มข ี นาดใหญ่มากและมีผใ ู้ ช้งาน มากที่สุดในโลก เทคโนโลยีที่ทำาให้อินเตอร์เน็ต เป็นที่นย ิ มก็คือ เว็บ และอีเมลล์ เพราะทั้งสอง แอพพลิเคชั่นทำาให้ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยน ข้อมูลและสื่อสารกันได้ง่ายและมีรวดเร็ว


- เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการข้อมูลในรูป แบบ HTML (Hyper text Markup Language) - เมลเซิร์ฟเวอร์ (Mail Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการรับ - ส่ง จัดเก็บ และ จัดการเกี่ยวกับอีเมล์ของผู้ใช้


3.ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามระดับ ความปลอดภัยของข้อมูล การใช้ระดับความปลอดภัยของ ข้อมูล จะแบ่งออกได้ เป็น 3 ประเภทคือ 1. อินเตอร์เน็ต (Internet) 2. อินทราเน็ต (Intranet) 3. เอ็กส์ตราเน็ต (Extranet)


อิน เตอร์เ น็ต (Internet) เครือ ข่า ยสาธารณะ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ทุกคน สามารถเชื่อมต่อเข้าได้ เครือข่ายนี้จะไม่มีความ ปลอดภัยของข้อมูลเลย ถ้าทุกคนสามารถเข้าถึง ข้อมูลที่แชร์ไว้บนอินเทอร์เน็ตได้ เป็นเครือข่ายที่ ครอบคลุมทั่วโลก ซึ่งมีคอมพิวเตอร์เป็นล้านๆ เครื่องเชื่อมต่อเข้ากับระบบ อินเทอร์เน็ตใช้ โปรโตคอลที่เรียกว่า “TCP/IP” ในการสื่อสาร ข้อมูลผ่านเครือข่าย ซึ่งโปรโตคอลนี้เป็นผลจาก โครงการหนึ่งของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โครงการนี้มีชอ ื่ ว่า ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) จุดประสงค์


ทราเน็ต (Intranet) หรือ เครือ ข่า ยส่ว นบุค ค อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วนบุคคล ข้อมูลจะ ถูกแชร์เฉพาะผูท ้ ี่ใช้อยู่ข้างในเท่านั้น อินทราเน็ตใช้ โปรโตคอล TCP/IP สำาหรับการรับส่งข้อมูลเช่นเดียวกับ อินเทอร์เน็ต ทำาให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้เครือข่ายจากที่ ห่างไกลได้ ฮาร์ดแวร์ที่ใช้สร้างเครือข่ายไม่ใช่ปัจจัย หลักของอินทราเน็ต แต่เป็นซอฟต์แวร์ทท ี่ ำาให้ อินทราเน็ตทำางานได้ อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายที่ องค์กรสร้างขึ้นสำาหรับให้พนักงานขององค์กรใช้ เท่านัน ้ เครือข่ายอินทราเน็ตขององค์กรจะถูกปกป้อง โดยไฟร์วอลล์ (Firewall) ทำาหน้าทีก ่ รองข้อมูลทีแ ่ ลก เปลีย ่ นกันระหว่างอินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ตเมื่อทัง้


อ็ก ส์ต ราเน็ต (Extranet) หรือ เครือ ข่า ยร่ว เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) เป็นเครือข่ายกึง่ อินเทอร์เน็ตกึ่งอินทราเน็ต คือ เอ็กส์ทราเน็ตคือ เครือข่ายทีเ่ ชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสอง องค์กร ดังนัน ้ จะมีบางส่วนของเครือข่ายที่เป็น เจ้าของร่วมกัน การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จำากัด ด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายทีเ่ กี่ยวกับ การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทีท ่ ั้งสององค์กร จะต้องตกลง การสร้างเอ็กส์ทราเน็ตจะเน้นที่ระบบ การรักษาความปลอดภัยข้อมูล รวมถึงการติดตัง้ ไฟร์วอลล์ และการเข้ารหัสข้อมูลและสิ่งที่สำาคัญ ทีส ่ ุดก็คือ นโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูล


โครงสร้า งของ ระบบเครือ ข่า ย (Network Topology)


โครงสร้า งของระบบเครือ ข่า ย (Network Topology) แบบ LAN

ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าเป็นระบบเครือข่าย เฉพาะบริเวณ (LAN) สามารถออกแบบการเชื่อมต่อ กันของเครื่องในเครือข่าย ได้หลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละ รู1. ปแบบจะมี ้อดีและข้ เสียแตกต่างกันไป แบ่งเป็น 5 โครงสร้าขงแบบบั ส อ(Bus Topology) รู2. ปแบบ คือางแบบดาว (Star Topology) โครงสร้ 3. โครงสร้างแบบแหวน (Ring Topology) 4. โครงสร้างแบบเมช (mesh topology) 5. โครงสร้างแบบผสม (hybrid topology) และ เครือข่ายแบบไร้สาย ( Wireless LAN)


1. โครงสร้า งแบบบัส (Bus Topology) เป็นโครงสร้างที่เชือ ่ มคอมพิวเตอร์ แต่ละตัวด้วยสายเคเบิลที่ใช้ร่วมกัน ซึ่งสาย เคเบิลหรือบัสนีเ้ ปรียบเสมือนกับถนนที่ข้อมูล จะส่งผ่านไปมาระหว่างแต่ละเครื่องได้ตลอด เวลา โดยไม่ต้องผ่านไปที่ศูนย์กลางก่อน โครงสร้างแบบนี้มีข้อดีที่ใช้สายน้อย และถ้า มีเครื่องเสียก็ไม่มีผลอะไรต่อระบบโดยรวม ส่วนข้อเสียก็คอ ื ตรวจหาจุดที่เป็นปัญหาได้ ยาก


ภาพแสดงโครงสร้า งแบบบัส (Bus Topology)


2. โครงสร้า งแบบดาว (Star Topology) เป็นโครงสร้างที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ แต่ละตัวเข้ากับคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง การรับ ส่งข้อมูลทั้งหมดจะต้องผ่านคอมพิวเตอร์ ศูนย์กลางเสมอ มีข้อดีคือการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใหม่สามารถทำาได้ง่ายและไม่ กระทบกระเทือนกับเครื่องอื่นในระบบเลย แต่ ข้อเสียคือมีคา่ ใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูงและถ้า คอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสียระบบเครือข่ายจะ หยุดชะงักทั้งหมดทันที


ภาพแสดงโครงสร้า งแบบดาว (Star Topology)


3. โครงสร้า งแบบแหวน (Ring Topology) เป็นโครงสร้างที่เชื่อมคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เข้าเป็นวงแหวน ข้อมูลจะถูกส่ง ต่อ ๆ กันไป ในวงแหวนจนกว่าจะถึงเครื่องผู้รับที่ถูกต้อง ข้อดีของโครงสร้างแบบนี้คอ ื ใช้สายเคเบิลน้อย และสามารถตัดเครื่องที่เสียออกจากระบบได้ ทำาให้ไม่มีผลต่อระบบเครือข่าย ข้อเสียคือหากมี เครื่องที่มีปญ ั หาอยู่ในระบบจะทำาให้เครือข่ายไม่ สามารถทำางานได้เลย และการเชื่อมต่อเครื่อง เข้าสู่เครือข่ายอาจต้องหยุดระบบทั้งหมดลงก่อน


ภาพแสดงโครงสร้างแบบแหวน (Ring Topology)


4. โครงสร้า งแบบเมช (mesh topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ เมช มีการทำางานโดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละ เครื่องจะมีชอ ่ งสัญญาณจำานวนมาก เพื่อที่จะเชื่อม ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆทุกเครื่อง โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์นี้เครื่อง คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะส่งข้อมูล ได้อิสระไม่ ต้องรอการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องอื่นๆ ทำาให้การส่งข้อมูลมีความรวดเร็ว แต่ ค่าใช้จ่ายสายเคเบิล ้ ก็สูงด้วยเช่นกัน


ภาพแสดงโครงสร้างแบบเมซ (mesh topology)


5. โครงสร้า งแบบผสม (hybrid topology) เป็นโครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ ผสมผสานความสามารถของโครงสร้างเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์หลาย ๆ แบบรวมกัน ประกอบด้วยเครือข่าย คอมพิวเตอร์ย่อยๆ หลายเครือข่ายที่มีโครงสร้างแตกต่างกันมา เชื่อมต่อกันตามความเหมาะสม ทำาให้เกิดเครือ ข่ายที่มีประสิทธิภาพสูงในการสื่อสารข้อมูล


ภาพแสดงโครงสร้างแบบผสม (hybrid topology)


เครือ ข่า ยแบบไร้ส าย ( Wireless LAN) เป็นระบบแลน (LAN) ที่ไม่ได้ใช้สาย เคเบิลในการเชือ ่ มต่อ ทำางานโดยอาศัยคลื่นวิทยุ ในการรับส่งข้อมูล ซึ่งมีประโยชน์ในเรื่องของการ ไม่ต้องเจาะผนังหรือเพดานเพื่อวางสาย เพราะ คลื่นวิทยุมีคณ ุ สมบัติในการทะลุทะลวงสิ่งกีดขวาง อย่าง กำาแพง หรือพนังห้องได้ดี แต่ก็ต้องอยู่ใน ระยะทำาการ การใช้เครือข่ายแบบไร้สายนี้ สามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์พีซี และโน้ตบุก ๊ และต้องใช้การ์ดแลนแบบไร้สายมาติดตั้ง รวมถึง อุปกรณ์ที่เรียกว่า Access Point ซึ่งเป็นอุปกรณ์


ประโยชน์ ของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์


1. การแลกเปลี่ย นข้อ มูล ทำา ได้ง า ่ ย โดยผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถที่จะดึงข้อมูลจาก ส่วนกลาง หรือข้อมูลจากผู้ใช้คนอื่นมาใช้ได้ อย่างรวดเร็วและง่ายดาย เหมือนกับการดึงข้อมูล มาใช้จากเครื่องของตนเอง และนอกจากดึงไฟล์ ข้อมูลมาใช้แล้ว ยังสามารถคัดลอกไฟล์ไปให้ผู้ อื่นได้อีกด้วย


2. ใช้ท รัพ ยากรร่ว มกัน ได้

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทเี่ ชื่อมต่อกับเครือข่ายนั้น ถือว่าเป็นทรัพยากรส่วนกลางที่ผใ ู้ ช้ในเครือข่ายทุก คน สามารถใช้ได้โดยการสั่งงานจากเครื่อง คอมพิวเตอร์ของตัวเองผ่านเครือข่ายไปยังอุปกรณ์ นั้น เช่น มีเครื่องพิมพ์ส่วนกลางในเครือข่าย เป็นต้น ซึ่งทำาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้ด้วย


3. ใช้โ ปรแกรมร่ว มกัน

ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถทีจ ่ ะรันโปรแกรมจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง เช่น โปรแกรม Word, Excel, Power Point ได้ โดยไม่จำาเป็นจะต้อง จัดซื้อโปรแกรม สำาหรับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง เป็นการประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อ และยัง ประหยัดเนื้อที่ในหน่วยความจำาด้วย


4. ทำางานประสานกันเป็นอย่างดี ก่อนที่เครือข่ายจะเป็นทีน ่ ิยม องค์กรส่วนใหญ่จะ ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม หรือมินิ คอมพิวเตอร์ ในการจัดการงาน และข้อมูลทุกอย่าง ในองค์กร แต่ปัจจุบันองค์กรสามารถกระจายงานต่าง ๆ ให้กับหลาย ๆ เครื่อง แล้วทำางานประสานกัน เช่น การใช้เครือข่ายในการจัดการระบบงานขาย โดยให้ เครื่องหนึ่งทำาหน้าทีจ ่ ัดการการเกี่ยวกับใบสั่งซื้อ อีก เครื่องหนึ่งจัดการกับระบบสินค้าคงคลัง เป็นต้น


5. ติด ต่อ สือ ่ สารสะดวก รวดเร็ว เครือข่ายนับว่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อ สื่อสาร ได้เป็นอย่างดี ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยน ข้อมูล กับเพื่อนร่วมงานทีอ ่ ยู่คนละที่ ได้อย่าง สะดวก และรวดเร็ว


6. เรีย กข้อ มูล จากบ้า นได้

เครือข่ายในปัจจุบันมักจะมีการติดตัง้ คอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งเป็นเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ผใ ู้ ช้สามารถเข้าใช้ เครือข่ายจากระยะไกล เช่น จากทีบ ่ ้าน โดยใช้ตด ิ ตัง้ โมเด็มเพื่อใช้หมุนโทรศัพท์เชื่อมต่อ เข้ากับเครื่อง เซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นก็จะเป็นส่วนหนึง่ ของเครือข่าย


7. สามารถประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจได้ องค์กรธุรกิจทีม ่ ีการเชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ กับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อ ประโยชน์ทางธุรกิจ เช่น เครือข่ายของธุรกิจ ธนาคาร ธุรกิจการบิน ธุรกิจประกันภัย ธุรกิจการ ท่องเที่ยว ธุรกิจหลักทรัพย์ สามารถดำาเนินธุรกิจ ได้อย่างรวดเร็ว ตอบสนองความพึงพอใจ ให้แก่ ลูกค้าในปัจจุบัน เช่นการสั่งซื้อสินค้า การจ่ายเงิน ผ่านระบบธนาคาร เป็นต้น


ข้อ จำา กัด ของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร 1. 2. 3. 4.

ลงทุนสูงและจัดการยุ่งยาก ขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ การรักษาความปลอดภัย ความเร็วในการรับส่งข้อมูลตำ่า


สรุป

ในปัจจุบันระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นับว่ามีความ สำาคัญอย่างมาก ในการนำามาใช้ประโยชน์ในหลายๆด้าน ทั้งทางด้านธุรกิจ องค์กร สำานักงาน หรือรวมทั้งระบบการ ศึกษาด้วยเนื่องจากสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้พอ เหมาะกับงาน โดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงจาก กลุม ่ เล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่มรวมกันเป็นเครือข่ายขององค์กร ในธุรกิจขนาดเล็กที่ไม่มีกำาลังในการลงทุนซื้อเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงเช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถ ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อเชื่อมโยงกันเป็นเครือ ข่าย โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เป็นสถานี บริการที่ทำาให้ใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ ซึ่งมีตั้งแต่ระบบ เครือข่ายแบบท้องถิ่น จนถึงระบบเครือข่ายแบบบริเวณ กว้างที่ทำาให้สามารถเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล


คำา ถามท้า ยการนำา เสนอ

ข่ายทีใ ่ ช้เชื่อมโยงกันในพืน ้ ทีใ ่ กล้ๆหรือภายในตึกเป็นเครือข่ายประ เครื อข่ายแบบ LAN 2. เครือข่ายประเภทใดที่เป็นเครือข่ายสาธารณะและไม่มี ความปลอดภั ประเภทอินเทอร์ยเน็ของข้ ต อมูลเลย 3. โครงสร้างเครือข่ายแบบใดทีไ ่ ม่ได้ใช้สาย เคเบิ ลในการเชื ่อมต่Wireless LAN อ โครงสร้ างเครื อข่ายแบบ 4. โพรโตคอลที่ได้รับความนิยมในการใช้งานสู งสุ ดคือโปรโตคอลประเภทใด ประเภท TCP/IP


ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (computer network)

เสนอ อาจารย์ สุ จิตตรา จันทร์ ลอย


นางสาวเกล็ดแก้ว นิลศรีสนิท รหัสนักศึกษา 564152019


นางสาวสุ จิตตรา ทองอ่อน รหัสนักศึกษา 564152021


นางสาวอริษา ปะลาติตงั รหัสนักศึกษา 564152022


นางสาวสิ นี กำาเนิดมงคล รหัสนักศึกษา 564152024


นายศิริศักดิ์ จันทรัตน์ รหัสนักศึกษา 564152055


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.