นางเลิ้ง

Page 1




ยานนางเลิ้ง

อากาศเย็นสบายกับทองฟาที่มีแสงสาดออนๆ วันนี้ดูจะเปน วันที่สดใส และดีที่เดียวโดยเฉพาะกับการเดินทาง และนั้นเปนสิ่งที่นำเรา มายังที่แหงนี้ สถานที่ซึ่งซอนอยูในมหานครกรุงเทพ ที่ๆ มีผูคน หลากหลาย มีตึกสูงใหญระฟา แตนั้นก็ ไมสามารถบดบังประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของผูคนที่อยูแหงนี้ ได ที่ซึ่งคนนอกไดเรียนรู คนในไดรักษา วันนี้เราจะนำทานไปที่ “ยานนางเลิ้ง” นั้นเอง “ยานนางเลิ้ง” แตเดิมมีช�อวา “ยานสนามกระบือ” ตอมาเรียก ยาน “อีเลิ้ง” ซึ่งเกิดมาจากภาชนะตุมอีเลิ้งที่ ชาวมอญลองเรือนำมา ขายบริเวณคลองผดุลกรุงเกษมจนถึงคลอดเปรมประชากร ทำให กลายเปนช�อเรียกที่ติดปากกันมาจวบจนถึงยุคสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี ไดมีการเปลี่ยนช�ออีกครั้ง ใหมี ความสุภาพมากยิ่งขึ้นเปน “นางเลิ้ง” และเปนช�อที่ใชกันมาจนถึง ปจจุบัน ในยานนางเลิ้งนี้มีแหลงเรียนรู ใหเดินชมมากมาย ไมวาจะเปน ตลาด วัด หรือแหลงที่รวบรวมศิลปะแขนงตางๆ ไวดวยกัน นอกจากนี้ยังมีอาหารและขนมหวานมากมายที่นาทานอีกดวย

1


2




















Culture

ในอดีตยานนางเลิ้งนี้เปรียบเหมือนกับสยามสแควร ในปจจุบัน เน�องจากในยานนี้จะมี “ตลาดนางเลิ้ง” แลว ยังมี “ศาลาเฉลิมธานี” ที่ชาวบานมักเรียกกันวา “โรงหนังนางเลิ้ง” ที่เปดฉายกันตั้งแตสมัยที่ยังเปน หนังเงียบ ซึ่งถือเปนศูนยรวมความบันเทิงใจที่สรางความคึกคักใหกับยานนี้กันเลยทีเดียว แลวยังมีวังเกา ของ “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรเขตตอุดมศักดิ์ รวมถึงขาราชบริพารของทานก็อาศัยอยูในละแวกนี้ดวย จึงเปนเหตุให ยานนี้มีความเจริญเปนอยางมาก ตอไปเรารูจักกับสถานที่สำคัญที่แสดงใหเห็นถึงวิถีชีวิต ของผูคนในยานนี้กันเลย

ศาลาเฉลิมธานี ศาลาเฉลิมธานีนี้อยูคูกับตลาดนางเลิ้ง มาอยางยาวนาน มีช�อเรียกอีกอยางหนึ่งวา “โรงหนังนางเลิ้ง” ถูกสรางขึ้นในสมัยพระบาท ยุคแรกๆ ของเมืองไทยกันเลยทีเดียว เริ่มเปด ฉายภาพยนตรเร�องแรกอยางเปนทางการเม�อ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2461 จนสรางความ คึกคักต�นตัวในการชมมหรสพตามอยาง วัฒนธรรมตะวันตกกับชาวบานในละแวกนั้น และผูที่เดินทางมาไดเปนอยางดี โรงหนังนางเลิ้งเปนโรงหนังที่สามารถ ฉายหนังไดจากทุกชาติไมวาจะเปน ไทย, จีน อินเดีย, ฝรั่ง เปนตน และตัวโรงหนังมี ลักษณะเปนอาคารโถง 2 ชั้นที่สรางดวยไม ดูคลายโกดัง ตั้งแตเปดกิจการมานั้นไมเคยใช

21

เคร�องปรับอากาศเลย ใชแคพัดลมใหญพัด ตามชองเทานั้น ระยะแรกที่เปดฉายนั้น ที่นั่งชมจะเปน เกาอี้ ไมที่วางตั้งเปนแถวยาว ไมมีการกำหนด เลขที่นั่ง ใครเขามากอนก็สามารถเลือกที่นั่งได โดยอิสระ อีกทั้งยังไมมีเจาหนาที่ตรวจตั๋วดวย โดยกอนที่หนังจะฉายนั้น จะมีการบรรเลง แตรวง เพ�อคอยเรียกความสนใจจากคนดูอยู หนาโรง และพอถึงเวลาหนังฉายก็จะยายเขามา บรรเลงเพลงประกอบหนังตอไป เน�องจาก การฉายหนังในยุคแรกนั้นยังเปนการฉายหนัง ใบที่ไมมีเสียงพากยประกอบนั่นเอง


โรงหนังนางเลิ้ง ไดถูกขายกิจการตอมาใหกับ บริษัท สหศีนิมา จำกัด ในสังกัดสำนักงานทรัพยสินสวน พระมหากษัตริย ในสมัยรัชกาลที่ 7 ชวงที่มีการเฉลิมฉลองพระนครครบ 150 ป ไดมีการเปลี่ยนช�อโรงหนัง ทุกโรงใหมีคำนำหนาวา “ศาลา” ตอดวยคำวา “เฉลิม” โดยเริ่มตนเปลี่ยนที่ “ศาลาเฉลิมกรุง” กอนจากนั้นทุก โรงหนังก็เปลี่ยนช�อกันหมด รวมถึงโรงหนังนางเลิ้งนี้ดวย จึงเปนที่มาของช�อ “ศาลาเฉลิมธานี”

22


ศาลาเฉลิมธานี ในยุครุงโรจนนั้น เคยมีคนมาดูถึง 300-500 คนตอรอบเลย ทีเดียว แตภายในป พ.ศ.2536 ที่เปนชวง ซบเซาของวงการภาพยนตรไทย ทำใหมีคน มาดูไมถึง 10 คนตอรอบ จนในที่สุดก็ ได ปดกิจการลง ถือวา เปนที่สิ้นสุดของศูนย รวมความบันเทิงเกาแก แหงหนึ่งของ กรุงเทพมหานครที่มีอายุยาวนานกวา 75 ป ภายหลังตัวอาคารจะถูกแปรสภาพกลาย มาเปนโกดังเก็บสินคาของเอกชนแทน

ศาลเสด็จพอกรมหลวงชุมพรเขต อุดมศักดิ์ (เสด็จเตี่ย)

ศาลเสด็จพอกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (เสด็จเตี่ย) เปนศาลอีกแหงหนึ่งของ “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ที่ที่ตั้งอยูใจกลางตลาด นางเลิ้ง ซึ่งเปนสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ที่เปนที่เคารพกราบ ไหวสักการะของชาวบานในยานนี้ ศาลเจานี้ถูกออกแบบมา ใหมีลักษณะคลายกับศาลเจาของจีน ก็คือตัวศาลเจานี้จะ เนนสีแดงเปนหลัก และมีการอัญเชิญเจาแมกวนอิม เจาที่ และเชิญกรมหลวงชุมพรฯ มาไว ณ ที่แหงนี้ เหตุที่ตองมีศาลเจาไวที่นี่เน�องมาจากความใกลชิด ผูกพันในอดีตของกรมหลวงชุมพรฯ กับชาวบานปอม ปราบศัตรูพาย ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางวังที่ ประทับแกกรมหลวงชุมพรฯ ในที่ดินชุมชนบริเวณริม คลองผดุงกรุงเกษม ใกลกับยานนางเลิ้ง ชาวบานจึง เรียกกันวา “วังนางเลิ้ง”

23


ปจจุบันพื้นที่วังเปนที่ตั้งของ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต พาณิชยการพระนคร จึงถือไดวาศาล แหงนี้มีความใกลชิดกับกรมหลวง ชุมพรฯ มากกวาศาลอ�นๆ ชวงปลาย เดือนธันวาคมของทุกๆ ป ซึ่งคาบ เกี่ยวกับวันคลายวันประสูติของ “เสด็จเตี่ย” ก็คือวันที่ 19 ธันวาคม ศาลเจาแหงนี้จะมีการจัดงานประจำป 5 วัน 5 คืนดวยกัน ในงานมีการเซนไหว และมีงิ้ว มีลิเก เหมือนกับงานศาลเจา จีนทั่วไป ของที่เอามาบวงสรวงก็จะ มีมากมายตางๆ กันไปตามแตละบุคคล

24


วัดสุนทรธรรมทาน

(วัดแคนางเลิ้ง)

วัดสุนทรธรรมทาน หรือวัดแคนางเลิ้ง เปนวัดที่ เปนศูนยกลางแรกเริ่มของยานนางเลิ้งตั้งแตกอนที่จะมีการ ขุดคลองผดุงกรุงเกษมเลยทีเดียว ในวัดแหงนี้มี “หลวงพอบารมี” เปนพระพุทธรูปคูบุญบารมีกับวัด สุนทรธรรมทานมากวา 50 ป ซึ่งเปนพระพุทธรูปที่ชาว นางเลิ้งเคารพบูชาเปนอยางมาก โดยมีประวัติวาสมัยกอน พระพุทธรูปองคนี้ประดิษฐานอยูใตตนโพธิ์ใหญใกลกับพระ อุโบสถ ครั้งหนึ่งเกิดพายุพัดเอาตนโพธิ์โคนลมลงมาตั้งแต ไมไดทับองคพระเปนที่นาอัศจรรยมาก ชาวบานจึงพากันมา กราบไหวบูชาจนเปนที่เล�อมใสแกพุทธศาสนิกชนมาโดย ตลอด กระทั่งปพ.ศ.2511 จึงไดทำการอัญเชิญ พระพุทธรูปหลวงพอบารมีไปประดิษฐานยังวิหารอยาง ถาวร แตเดิมวัดนี้มี 2 ช�อคือ วัดแค และวัดสนามกระบือ ซึ่งช�อ วัดแค นี้สันนิษฐานวา เพี้ยนมาจากคำวา วัดแค ที่แปลวา วัดใกล ๆ ตามสำเนียงพูดของคนปกษ ใตที่อาศัย อยูในบริเวณนี้ สวนช�อ วัดสนามกระบือ มาจากการที่ วัดตั้งอยูในบริเวณตำบลสนามกระบือ และช�อในปจจุบันนี้ เกิดจากการนำช�อของบุคคล 2 ทานที่รวมกัน บูรณปฏิสังขรณวัดแหงนี้มารวมกัน นั้นก็คือ พระธรรมทานาจารย เจาอาวาส วัดสระเกศวรมหาวิหาร และพระเจาบระมวงศเธอ กรมหม�น สุนทรธิบดี พระราชโอรสในรัชกาลที่ 3 เม�อรวมกันแลวจึงเปน “วัดสุนทรธรรมทาน” นั้นเอง

25


26


27


นอกจากนี้ยังเปนที่รูจักกันดีวาเปนที่

เก็บอัฐิของพระเอกหนังไทย “มิตร ชัยบัญชา” ซึ่งมีบานเกิดในยานนางเลิ้งแหงนี้ ในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2513 มิตร ชัยบัญชาเสียชีวิต ขณะถายทำฉากโหนบันไดเชือกเฮลิคอปเตอร จากภาพยนตรเร�อง อินทรีทอง การถายทำ สำเร็จไดดวยดี จนถึงฉากสุดทายของเร�อง เกิดความไมพรอมของเสื้อผาของนักแสดงแทน และเพ�อความสมจริง มิตรตกลงวาจะแสดง ฉากนี้ดวยตัวเอง แตดวยความผิดพลาดทาง เทคนิคที่ตัวเขาเองไมอาจรูได ปรากฏวาดวย แรงกระตุกของเคร�องขณะบินขึ้น ทำใหเขา พลาดไมไดเหยียบบนบันได จนตองโหนตัวอยู กับบันได เคร�องไมไดลงจอดเม�อผานหนา กลองแลว มิตรพยายามใหสัญญาณดวยการ ตบเทาเขาหากัน ในขณะที่นักบินมองไมเห็น ความผิดปกติ และสัญญาณจากพื้นลาง จึงยัง บินสูงขึ้นตอไป เม�อเกิดแรงเหวี่ยงในจังหวะ ที่เคร�องเลี้ยวกลับ มิตรไดแกปญหาเฉพาะหนา โดยการใชขอมือซายเกี่ยวพันกับบันไดลิง แต เน�องจากเชือกบากขอมือเขา จนเกือบขาด เขาทนความเจ็บปวดไมไหว จึงตัดสินใจแกะเชือก ที่รัดขอมือ แลวปลอยตัวลงมา โดยตั้งใจวา จะลงสูบึงขางลางจะไดรอดชีวิต แตดวยที่วาลม ตีรางมิตร ทำใหตกลงมากระแทกกับพื้นตรง จอมปลวก จากความสูง 300 ฟุต เขาถูกนำ สงโรงพยาบาลศรีราชาดวยเฮลิคอปเตอร ดังกลาวภายใน 5 นาที แตสายเกินไป จากผล การชันสูตรศพยืนยันวา เขาเสียชีวิตทันที เพราะรางกายแหลกเหลวไมมีชิ้นดี

ศพของมิตร ชัยบัญชา ตั้งบำเพ็ญกุศล ที่วัดแคนางเลิ้ง หลังจากครบ 100 วัน พิธีพระราชทานเพลิงศพจัดเม�อ 21 มกราคม พ.ศ. 2514 มีประชาชนหลั่งไหลเขาไปรวมงาน จำนวนหลายหม�นคน สำหรับการพระราชทาน เพลิงศพยายจากวัดแค ไปวัดเทพศิรินทร มีประชาชนหลั่งไหลไปรวมงานกวา 3 แสนคน จนกระทั่ง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช กลาววาเปน งานศพของสามัญชนที่มีผูไปรวมงานมากที่สุดใน ประวัติศาสตร

28


Meet the Master

3

ศิลปะของชุมชนนางเลิ้ง เปนอีกสถานที่หนึ่งที่ยังมีมนตเสนหของศิลปะการเเสดง หลงเหลืออยู ซึ่งมีบานละครชาตรี ที่ยังมีลานเตนรำสำหรับการฝกสอนละครชาตรี มีบานเตนรำ ที่ยังคงสะทอนใหเห็นถึงรากเงาของชุมชนนางเลิ้ง แสดงใหเห็นวามนตเสนหของศิลปนยังคง เหลืออยูในที่เเหงนี้ ซึ่งบานเหลานี้เปนสถานที่รวมตัวกันของเด็กๆ ซึ่งขาดโอกาสทางการศึกษา และสภาพแวดลอมที่ดีอีกดวย

บานละครชาตรี บานละครชาตรี มีลานเตนรำสำหรับการฝกสอนละครชาตรี และรำซัด โดยทุกวันเสาร-อาทิตย จะมีเด็กในชุมชน 4-5 คนมารวมฝกซอม ผู ใดที่สนใจอยากจะเรียนรูละครชาตรี ที่นี่เปดใหเรียนกันฟรีเลย

29


คุณกัญญา ทิพโยสถ หรือ ครูจา วัย 76 ป เจาของคณะ ละครชาตรี “คณะกัญญา ลูกแมแพน” ครูจานั้นมีเทคนิค และ กระบวนทารำที่เปน เอกลักษณซึ่งเรียกไดวาเธอ นั้นเปนผูสืบทอดละครชาตรี ของไทยใหยังสืบสานอยูเลยก็ วาได ทำใหเปนที่ร่ำลือของคน ยานนางเลิ้งเลยทีเดียวละคร ชาตรีของครูจานั้นเปนตน ตำรับละครไทย ที่ไมมีการ ผสมผสานละครแบบสมัยใหม เลยแมแตสวนเดียว ซึ่งครูจา มุงมั่นในการถายทอดความรู ใหแกผูคนที่มีความสนใจไมวา จะเปนคนไทยหรือชาวตางชาติ โดยไมยอทอตอยุคสมัยที่ เปลี่ยนแปลงไป

ผลงาน

“คณะกัญญา ลูกแมแพน” เคยไดรับความนิยม ถึงขั้นไปแสดงที่กัมพูชา ตอหนาพระภักดิ์ของ พระบาทสีสวัสดิ์ มณีวงศ ซึ่งตอนนั้นแมของครูจา อายุไดเพียง 18 ป จึงถูกถวายตัวเปนสนมของ กษัตริย ซึ่งชวงนั้นฝรั่งเศสไดพยายามครอบครอง กัมพูชา เพ�อเปนเมืองขึ้น สถานการณเลยพลิกเปลี่ยน ใหครอบครัวเรืองนนท ตองกลับประเทศไทย และนำ ละครชาตรีมาแสดงอยางตอเน�องในประเทศไทยจนได รับความนิยมอยางมากในชวงนั้น

30


บานเตนรำหลังนี้เปนพิพิธภัณฑ และ โรงเรียนสอนลีลาศ ซึ่งเจาของบานเปดเปน โรงเรียนสอนเตนลีลาศ เพ�อเปนการยอนวันวาน ที่ยังคงอยู สำหรับการเตนของบานหลังนี้ เพียงแคคุณกาวเทาเขาไปในบาน ก็เหมือนดั่งเรา ไดยอนอดีตกลับไปในยุคกอนเม�อ 60 ปที่แลว ที่ภายในตัวบานยังคงมีเสนห ในเร�องของการ ตกแตงที่ทำใหรูสึกถึงมนตเสนหของการเตนรำ ไมวาจะเปนการตกแตงดวยเทปหรือเคร�องเลน แผนเสียงสมัยกอน ซึ่งบานเตนรำแหงนี้ ไดเปด ใหผูที่สนใจเขามาเรียนลีลาศไดฟรี

31


"บานเตนรำ" สมัยกอนเรียกวา “บานสามัคคีลีลาศ” ยานนางเลิ้งเคยเปนแหลงรวม หนุมสาวสังคมชนชั้นสูงที่มาเตนลีลาศกันเม�อ 60 ปที่แลว ซึ่งภาพอดีตกำลังหวนกลับมาอีกครั้ง เม�อคนในชุมชนเริ่มคืนชีวิตใหบานเกาหลังนี้กลาย เปนพิพิธภัณฑที่ยังคงมีเสนหของการเตนรำ ครุกรุนอยู และโรงเรียนสอนลีลาศ ไมเพียงใช บอกเลาประวัติศาสตรของพื้นที่เล็กๆ แตยังเปน อีกวิธีที่นำศิลปะมาพัฒนาเยาวชน ใหรูจักรากเงา ของนางเลิ้ง และวัฒนธรรมของนางเลิ้งอยาง แทจริง และสามารถคงเอกลักษณ และมนตเสน ของชมชุนเอาไวได

32


People

4

“นางเลิ้ง” เปนยานชุมชนเล็กๆ ที่ถูกแวดลอม ดวยถนนสายหลักอยาง ถนนหลานหลวง ถนน นครสวรรค ถนนกรุงเกษม ถนนพะเนียง ถนน จักรพรรดิพงษ ในอดีตนั้นเคยอึกทึกไปดวยความ เจริญ แตทุกวันนี้ “วิถีของยานนางเลิ้ง” กลับดำเนิน ไปแบบมีชีวิตแตไมมีชีวาเทาที่ควร การเปลี่ยนแปลงนี้ คอยๆ เกิดขึ้นจากการละทิ้ง ถิ่นฐานของลูกหลาน ในชุมชน จากบานหนึ่งสูอีกบานหนึ่ง หรือไมก็กลาย เปนที่พักพิงของผูอพยพที่ไมไดดูแลถิ่นฐานนี้เหมือน บานของตนเอง อยางไรก็ตาม เสนหของความเปนเครือญาติ ที่อยูในวิถีชีวิตประจำวันก็ยังคงทำใหชุมชนนางเลิ้ง เปนเสมือนกับ “ชนบทกลางเมือง” ซึ่งในปจจุบันผูคน ยานนางเลิ้งยังคงทำกับขาวแลกกันกิน ปนบานชวยกัน เก็บผาหนีฝน และทักทายกันอยางออกรส สิ่งเหลานี้ ทำใหชุมชนที่เหลืออยูมีความอบอุนเปนกันเอง อีกทั้ง ผูคนหลากหลายวงการยังเริ่มใหความสนใจกับ วัฒนธรรมของนางเลิ้งมากขึ้น ดังจะเห็นไดวา “หลักฐานความเปนนางเลิ้ง” ที่มักแทรกตัวอยูใน บทสนทนาของสังคมรวมสมัย ไมวาจะในเชิงการ อนุรักษชุมชนเกา การสืบทอดวัฒนธรรม การบริหารจัดการชุมชนดวยศิลปะตางๆ ฯลฯ

33


เร�องราวหลากหลายที่สั่งสมมายาวนานนี้ ทำใหยานนางเลิ้ง เปนช�อพื้นที่ที่ติดหูคนทั่วไป อยูแลว แตลูกหลานรุนปจจุบันก็อยากจะสาน ตอใหบานเกิดของพวกเขา ใหกลายเปนอีกหนึ่ง “พื้นที่ทองเที่ยวใจกลางเมือง” โดยตองการนำ เสนอเอกลักษณชุมชนที่เรียบงาย จริงใจ และ ตอนรับผูมาเยือนเสมือนญาติมิตร และเพ�อ สนับสนุนใหคนในชุมชนเกิดความรักความสามัคคี พรอมทั้งเล็งเห็นถึงตัวตน และคุณคาของสิ่งที่ ตัวเองมี จึงไดมีการบริหารจัดการกองทุน หมุนเวียนให โครงการเติบโตไดอยางยั่งยืน รวมไปถึงการแกปญหาในชุมชนเบื้องตน เชน การกระจายรายไดจากการคากลวยแขก โดยใหคน ในชุมชมไดมีอาชีพเสริมจากการรับกลวยแขกไป ขายตามถนน การสรางบานเตนรำ บานละครชาตรี บานศิลปะ และบานนราศิลป เพ�อจัดกิจกรรม การเรียนรู ใหกับเด็กๆ และผูที่สนใจในศิลปะเหลานี้ ไดมาทำกิจกรรมรวมกัน ทำใหเด็กๆ ไดรับโอกาส มีกิจกรรมใหไดเรียนรู อีกทั้งยังเปนการสืบทอด ศิลปะไปในตัวดวย ถึงวันนี้ลูกหลานที่เคยทิ้ง ถิ่นฐานไปก็เริ่มกลับมารวมแรงรวมใจชวยกัน พัฒนา “เพิ่มมูลคา” ใหกับนางเลิ้ง ทำใหระบบ เศรษฐกิจของชุมชนมีความเข็มแข็งมากขึ้น เปนลำดับ

34


Nearby

5

เราไดรูจักกับสถานที่ตางๆ ของยานนางเลิ้งกันไปแลว ตอไปเราไปรูจักกับสถานที่บริเวณใกลเคียงกับยานนางเลิ้งกันเลย

วัดเทวราชกุญชร คงพูดไดวาในชวงเชานั้นสำหรับสังคมไทยการเขาวัดฟงธรรมในชวงนี้ เหมือนเปนการเริ่มตนใหมใน วันใหมๆเพ�อใหเปนสิริมงคลกับตัว เพราะฉะนั้นในทริปแรกของการเดินทางนี้ เราจึงมาเริ่มกันที่วัดที่ สำคัญที่สุดวัดหนึ่งในอารามหลวงชั้นตรี กอนกรุงรัตนโกสินทร นั้นก็คือวัดเทวราชกุญชรแหงนี้ วัดแหงนี้ตั้งอยูเลขที่ 90 ถนน ศรีอยุธยา แขวงวชิรพยาบสล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ดานเหนืออยูติดกับถนน ศรีอยุธยา ทิศตะวันตกติดแมน้ำเจาพระยา ถาเราสังเกตเห็นวัดหลายๆ แหงที่ติดแมน้ำ นั้น สวนใหญจะหันอุโบสถออกสูแมน้ำ แตวัดเทวกุญชรนั้นจะหันขวางทางแมน้ำ สาเหตุก็เพราะวาเหมาะแกการคมนาคม นั้นเอง วัดเทวราชกุญชรนั้นเดิมเปน วัดราษฎรมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา จนลวงเลยมาถึงสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงรับ เปนพระอารามหลวง และพระราชทานนาม ใหมวาวัดเทวราชกุญชรวรวิหาร มาจากพระนามของกรมพิทักษเทเวศร

33


พูดถึงอุโบสถก็เปนไฮไลทหลักของการมาวัดแหงนี้เลยทีเดียว จะรูได อยางไรละวา ที่ไหนคืออุโบสถ? คำตอบก็คือ เราสามารถดูไดจาก ”ซุมเสมา” ที่ลอมรอบอาคารหลังนั้นไว สิ่งที่เปนจุดเดนที่สุดของอุโบสถนี้ ก็คงเปนภาพ จิตรกรรมผนังทั้ง 2 ดาน ซึ่งเราเหตุการณ ตอนเหลาเทพยดามาชุมนุมกัน ขณะพระพุทธเจาเสด็จโปรดพุทธมารดาบนสวรรคชั้น ดวงดึงส สวนผนังตอนลางดานหนาระหวางชองประตูเปนภาพทศชาติเร�อง สุวรรณสาม ดานขางทั้ง 2 ดานเปนภาพภิกษุกำลังปลงอสุภกรรมฐานและดานหลังเปนภาพกิจวัตรประจำวันของพระสงฆ พระพุทธรูปที่เปนประธานประจำพระอุโบสถแหงนี้ก็คือ “พระพุทธเทวราชปฏิมากร”

ตองบอกวาเปนพระพุทธรูปที่เกาแกพอสมควรทีเดียว ประวัติของพระพุทธรูปองคนี้นั้น ลาวาในหลวงรัชกาลที่ 3 ทรงทราบวากรุงศรีอยุธยาพบพระทององค ใหญพระองคจึงได โปรดเกลาฯ ใหกรมหม�นพระพิทักษเทเวศรไปอัญเชิญลงมา กรมหม�นพระพิทักษเทเวศรไดทรงตอแพและนำ พระพุทธรูปองค ใหญลองลงมา แตเหมือนโชคชะตาฟาลิขิต เม�อแพของกรมหม�นพระพิทักษเทเวศร มาถึงคลองเทเวศร แพเกิดดื้อฉุดเทาไรก็ ไมไป กรมหม�นพระพิทักษเทเวศรเห็นวัดสมอแครงอยูใกลๆ จึงอัญเชิญพระพุทธรูปนี้ขึ้นที่วัดสมอแครง และก็อยูมาจนถึงทุกวันนี้

34


คลองผดุงกรุงเกษม คลองผดุงกรุงเกษม เปนคลองรอบพระนครชั้นนอก ขุดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหขุดเม�อ พ.ศ. 2394 ทรงพิจารณาเห็นวาบานเมืองเจริญขึ้น ผูคนก็มากกวาเม�อเริ่มสรางกรุง ควรขยับขยายพระนครออกไป จึงโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จ เจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) จางจีนขุดคลองพระนครออกไปอีกชั้นหนึ่ง

โดยขุดถัดจากคลองรอบกรุงออกไปทางชานพระนคร เริ่มขุดจากปากคลองริมแมน้ำ เจาพระยาบริเวณวัดเทวราชกุญชร (วัดสมอแครง) ยานเทเวศร มีแนวขนานไปกับคลองคู เมืองเดิม ผานยานหัวลำโพง ตัดผานคลองมหานาคไปทะลุแมน้ำเจาพระยาอีกดานหนึ่งบริเวณ วัดแกวแจมฟา สี่พระยา คลองนี้ขุดเสร็จในป พ.ศ. 239ไดรับพระราชทานช�อวา"คลองผดุง กรุงเกษม"คลองนี้ตัดผานคลองมหานาค บริเวณสี่แยกมหานาค ซึ่งเปนยานการคาที่สำคัญ ผานบริเวณหัวลำโพงในปจจุบัน ผานวัดมหาพฤฒารามเดิมเรียกวา วัดทาเกวียน)

37


ในสมัยที่ทำการขุดมีขนาดกวาง 20 เมตร ลึก 3 เมตร ยาว 5.5 กิโลเมตร สินคาจางขุด ทั้งหมด 27,500 บาท รัชกาลที่ 4 ทรง โปรดเกลาฯ ใหสรางปอมระยะหางกัน 480 เมตร ทั้งหมด 8 ปอม คลองสายนี้เปน คลองเมืองชั้นนอกที่มีความสำคัญมากมา ตั้งแตสมัยเม�อแรกขุดในชวงรัชกาลที่ 4 ราวป พ.ศ. 2394 – 2395 เพราะทำใหเกิดชุมชนซึ่ง มีวัดเปนศูนยกลางเรียงรายไปตลอดตามแนว คลองเพิ่มมากขึ้นกวากอน เชน ชุมชนนางเลิ้ง ชุมชนยานวัดเทวราชกุญชร วัดบางขุนพรหม วัดโสมนัสราชวรวิหาร และวัดสามจีน เปนตน นอกจากนั้นคลองผดุงกรุงเกษม หรือที่เรียกกันวา “คลองขุดใหม” สายนี้ ยังมีความสำคัญตอการสัญจร และการคาขาย ดวยเพราะเปนเสนทางที่เช�อมแมน้ำเจาพระยาจา กบริเวณวัดสมอแครงหรือวัดเทวราชกุญชร ทางทิศเหนือ ไปออกที่วัดแกวแจมฟาทางทิศใต ซึ่งไดตัดผานหนึ่งในยานการคาที่สำคัญของ กรุงเทพ คือ “สี่แยกมหานาค”

38


พิพิธภัณฑสักทอง โอาคารพิพิธภัณฑสักทองสรางตั้งแตป พ.ศ.2549 ลักษณะเปนทรงปนหยาประยุกตสองชั้น กวาง 16.75 เมตร ยาว 30.15 เมตร เนื้อที่ชั้นละ 505 ตารางเมตร รวมสองชั้นมีเนื้อที่ 1,010 ตารางเมตร ไมสักที่ใช ในการ สรางพิพิธภัณฑหลังนี้ มีอายุประมาณ 479 ป จากการนับ จำนวนวงปพบวาตัวอยางที่มีจำนวนวงมากที่สุด คือ 179 วง และโครงสรางเปนเสาไมสักทอง จำนวน 59 ตน

39


พิพิธภัณฑสักทองหลังนี้ สรางเสร็จเม�อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 รวมทุนทรัพยคากอสรางทั้งสิ้น 110,000,000 (หนึ่งรอยสิบลานบาทถวน) สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และพระเจาวรวงคเธอ พระองคเจาศรีรัศมิ์ พระวรชายา ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงเปนองคประธานประกอบพิธีเปด อาคารพิพิธภัณฑสักทอง วัดเทวราชกุญชร วรวิหาร เม�อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2552 วัตถุประสงคของพิพิธภัณฑนี้ ก็เพ�อถวายเปนพระราชกุศล เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในมงคลวโรกาส ที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในมงคลวโรกาสที่ทรงเจริญ พระชนมพรรษา 75 พรรษา ป พ.ศ. 2550 และเปนศูนย เผยแพรความรูทางดานพระพุทธศาสนาเพ�อใหประชาชนผูศรัทธา ไดสักการบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และพระรูปปนไฟเบอรกลาส ของสมเด็จพระสังฆราช 18 พระองคแหงกรุงรัตนโกสินทร นอกจากนี้ยังเปนแหลงเรียนรูการอนุรักษไมสักทอง เพ�อให ประชาชนทั่วไปมีโอกาสชมความงดงามของไมสักทองที่เกาแก และผูกพันกับวิถีชีวิตของชนชาวไทยที่มีตอไมสักมาอยาง ยาวนาน

40



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.