ดูแลอยางไร ?
เมื่อคนที่คุณรักไดน้ำเกลือ
การใหสารน้ำทางหลอดเลือดดําสวนปลายหรือการใหน้ำเกลือ หมายถึง การใหสารน้ำที่มีสวนผสมของน้ำตาลและหรือเกลือแร โดยการแทงเข็มปราศจากเชื้อเขาหลอดเลือดดําสวนปลาย บริเวณ หลังมือ แขน หรือ ขา (ในเด็กหรือกรณีจําเปน) วัตถุประสงคของการใหสารน้ำทางหลอดเลือดดําสวนปลายหรือการใหน้ำเกลือ
1. เพื่อใหสารน้ำและเกลือแรทดแทนกรณีไมสามารถใหอาหารทางปากได หรือรับประทานอาหารไดนอย ทองเสียหรือมีไขสูง 2. เพื่อใหสารน้ำทดแทนในกรณีที่ผูปวยสูญเสียสมดุลการไหลเวียนของเลือดในรางกาย 3. เพื่อเปนทางสําหรับใหสารอาหาร ยา หรือ ยาเคมีบําบัดทางหลอดเลือดดํา 4. เพื่อเปนทางสําหรับใหเลือดหรือสวนประกอบของเลือด 5. เพื่อเปนชองทางสําหรับใหสารทึบแสงเพื่อการวินิจฉัย ความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดขึ้น
1. อาการน้ำบวม เนื่องจากมีสารน้ำรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดหรือระคายตอเนื้อเยื่อบริเวณรอบๆหลอดเลือด ระดับของความรุนแรงขึ้นอยูกับชนิดของยา 2. อาการอักเสบของหลอดเลือดดํา เนื่องจากสารน้ำมีความเขมขนสูง ยาระคายเคืองตอหลอดเลือด 3. การอุดตันของเข็ม ซึ่งมีผลใหไมสามารถใชเข็มนั้นในการใหสารน้ำหรือยาได อาการผิดปกติที่ควรสังเกต และแจงพยาบาลทันที
1. ปวด บวม แดง รอน บริเวณตําแหนงที่แทงเข็ม 2. มีเลือดออกบริเวณที่ใหสารน้ำ 3. มีเลือดไหลยอนกลับในสายที่ใหสารน้ำ 4. มีการเลื่อนหลุดของเข็มหรือ ขอตอบริเวณที่ใหสารน้ำ 5. สารน้ำ ยา หรือเลือด ที่ไดรับหยุดไหล 6. เมื่อมีเสียงเตือนจากเครื่องควบคุมอัตราการหยดของสารน้ำ
การดูแลแกไขเมื่อเกิดภาวะแทรกซอน
1. พยาบาลจะนําเข็มใหสารน้ำออก 2. เปลี่ยนตําแหนงที่ใหสารน้ำใหม 3. ประคบดวยความเย็นหรือรอนขึ้นกับชนิดของสารน้ำ หรือ ยา 4. แพทยอาจใหยาทาผิวหนังบริเวณที่มีการอักเสบหรือบริเวณที่มีรอยรั่วของยาที่มี การทําลายเนื้อเยื่อ ( โดยปฏิบัติติดตอกัน เพื่อปองกันมิใหยาแพรกระจายทําลายเนื้อเยื่อมากขึ้น ) 5. พยาบาลจะขออนุญาตตรวจเยี่ยม ตําแหนงที่ใสเข็มใหสารน้ำเปนระยะ เพื่อประเมินอาการและใหการดูแล คําแนะนําการปฏิบัติตัว
1. กอนใหสารน้ำยา หรือยาเคมี
บำบัดทางหลอดเลือดดํา ควรทํา กิจวัตรสวนตัวใหเรียบรอย เชน อาบน้ำ เขาหองน้ำ เปนตน
2. กรณีที่ใหสารน้ำ ยา หรือ ยาเคมีบําบัด ติดตอกันเปน
ระยะเวลานาน พยาบาลจะใชเครื่องควบคุมอัตราการหยด สารน้ำ โดยนําสายชุดใหสารน้ำเขาเครื่องควบคุมอัตราการ หยดสารน้ำ ซึ่งอาจทําใหทานไมสะดวกในการทํากิจกรรม หรือ กิจวัตรประจําวันระหวางที่ใหสารน้ำ ยา หรือ ยาเคมี บําบัด หากทานตองการทํากิจกรรม หรือ กิจวัตรประจําวัน เชน เขาหองน้ำ ควรแจงเจาหนาที่พยาบาล เพื่อชวยเหลือในการเคลื่อนยายเครื่อง ควบคุ ม อั ต ราการหยดสารน้ ำ และ ไมควรถอดปลั๊กสายไฟจากตัวเครื่อง เอง เพราะทําใหเกิดอุบัติเหตุได
4. ขณะที่ไดรับสารน้ำ ยา หรือยาเคมีบำบัดทางหลอด
เลือดดำควรสังเกตอัตราการหยดของสารน้ำหรือยา ถาพบวาสารน้ำไมหยด หรือหยดชา หรือเร็วเกินไป
กรุณาแจงพยาบาลทันที หามปรับอัตราการหยด ของสารน้ำเองโดยเด็ดขาด
7.
5. ดูแลขวดสารน้ำ ใหสูงจากตัวไมนอยกวา
3 ฟุต
ในกรณีที่เกิดอาการบวมหรือปวดบริเวณที่แทงเข็มแสดงวา มีการรั่วซึมของสารน้ำยา หรือยาเคมีบําบัดออกนอกหลอดเลือด ควรแจงพยาบาลทันที ไมควรทนปวด เนื่องจากยา หรือยาเคมีบําบัด อาจจะเปนเหตุใหเนื้อเยื่อบริเวณที่ยารั่วซึม ถูกทําลาย เกิดการอักเสบรุนแรง และเกิดการตายของเนือ้ เยือ่ ได กรณีที่ยาเคมีบําบัดรั่วซึมออกนอกหลอดเลือด กอนที่จะนําเข็ม ใหยาออกพยาบาลจะดูดยาที่รั่วซึมบริเวณเนื้อเยื่อออกให มากที่สุดเพื่อลดการทําลายเนื้อเยื่อ
8. สารน้ำในขวดใกลหมด รบกวนแจงพยาบาลทันที
3. หากมีเสียงสัญญาณเตือนจากเครื่องควบคุม อัตราการหยดสารน้ำ รบกวนแจงพยาบาลทันที เพื่อให พยาบาล ตรวจสอบหาสาเหตุของการ เกิดสัญญาณเตือนและทําการแกไขใหถูกตอง
หามกดหยุด หรือปรับเครื่องเองโดยเด็ดขาด
6. ถาสายใหสารน้ำหลุดจากขวดหรือ
ขอตอเข็มกรุณาแจงพยาบาลทันที หามตอ เขาไปเหมือนเดิม เพราะ มีการปนเปอนเชื้อโรค เกิดขึน้ แลว อาจจะทําให
เกิดการติดเชื้อทาง
กระแสเลือดได
9. กรณีที่ผูปวยไดรับยาเคมีบําบัด ผูปวยควร
ใหความรวมมือในการดูแลบริเวณที่ใหสารน้ำ ระมัดระวังการรั่วของสารน้ำ หรือยาเคมีบําบัด ออกนอกหลอดเลือดดํา ปฏิบัติตามคําแนะนํา ของพยาบาลอยางเครงครัด ไมควรลุกเดินไปมา ขณะใหยาเคมีบำบัดโดยไมจำเปน
การปฏิบัติตัวหลังถอดเข็ม เมื่อมีการถอดเข็มออก พยาบาลจะใชสําลีแหงกดไวจนเลือดหยุดไหล หลังจากนั้นจะเปลี่ยนเปน พลาสเตอรปดรอยเข็มไวระหวางนี้ไมควรใหบริเวณรอยเข็มเปยกน้ำ ควรทิ้งระยะเวลาประมาณ 30 นาที หรือจนกวารอยเข็มจะปด หลังจากนั้น แกะพลาสเตอรออก สังเกตวามีอาการ ปวด บวม แดง รอน หรือมีสารคัดหลั่งหรือไม ถามีกรุณาแจงพยาบาลทันที