บทบาทและหน้าที่ของ กสทช. ในฐานะองค์กรกากับดูแล นายประเสริฐ อภิปุญญา รองเลขาธิการ กสทช. 9 กรกฎาคม 2554 1
การนาเสนอ ส่วนที่ 1 • พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกากับการ ประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 • กลไกกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม ส่วนที่ 2 • ความท้าทายในการปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. 2
ส่วนที่ 1 • พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกากับ การประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 • กลไกกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม
3
พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกากับ การประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553
4
ที่มาของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
5
มาตรา 47 แห่งรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 คลืน่ ความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และโทรคมนาคมเป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ ให้มีองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระองค์กรหนึ่งทาหน้าที่จัดสรรคลืน่ ความถี่ตามวรรคหนึ่ง และกากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
6
มาตรา 47 แห่งรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 (ต่อ) การดาเนินการตามวรรคสองต้องคานึงถึงประโยชน์สูงสุดของ ประชาชนในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ทั้งในด้านการศึกษา วัฒนธรรม ความ มั่นคงของรัฐ ประโยชน์สาธารณะอื่น และการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม รวมทั้งต้องจัดให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการดาเนินการสื่อมวลชน สาธารณะ การกากับการประกอบกิจการตามวรรคสองต้องมีมาตรการเพื่อ ป้องกันมิให้มีการควบรวมการครองสิทธิข้ามสื่อ หรือการครอบงาระหว่าง สื่อมวลชนด้วยกันเองหรือโดยบุคคลอื่นใด ซึ่งจะมีผลเป็นการขัดขวางเสรีภาพ ในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารหรือปิดกั้นการได้รับข้อมูลข่าวสารที่หลากหลายของ ประชาชน 7
องค์กรกากับด้านกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2543 คณะกรรมการ คณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคม กิจการกระจายเสียง แห่งชาติ (กทช.) และกิจการโทรทัศน์ แห่งชาติ (กสช.) คณะกรรมการ ร่วม
พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553
คณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
คณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคม (กทค.)
คณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ (กสท.) 8
กระบวนการสรรหา กสทช. 9
องค์ประกอบของ กสทช. (11 คน) ด้าน ด้านกิจการกระจายเสียง ด้านกิจการโทรทัศน์ ด้านกิจการโทรคมนาคม ด้านกฎหมาย ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค /ด้านการส่งเสริมสิทธิและ เสรีภาพของประชาชน • การกากับดูแลกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ • การกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม ด้านการศึกษา / วัฒนธรรม / การพัฒนาสังคม
จานวน 1 1 2 2 2
1 1 1
กสทช.
คณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคม (กทค.)
คณะกรรมการกิจการ กระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์ (กสท.)
11
การได้มาซึ่งรายชื่อผู้สมควรได้รับเลือกเป็น กสทช.
การคัดเลือกกันเอง
การสรรหา
22 คน (มาตรา 13)
22 คน (มาตรา 15)
44 คน เสนอวุฒิสภา 12
กระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่ง กสทช. (มาตรา 13, 15-17) การสรรหา (บัญชี 2)
ภายใน 90 วัน
เลขาธิการวุฒิสภาเสนอบัญชีรายชื่อ ต่อประธานวุฒิสภา
ภายใน 30 วัน
ภายใน 16 ก.ค.
วุฒิสภามีมติเลือก
ภายใน 60 วัน
ภายใน 13 ก.ย.
การคัดเลือกกันเอง (บัญชี 1)
รวม
ภายใน 180 วัน
กระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่ง กสทช. (ต่อ) (มาตรา 17) กรณีมีผู้ได้รับเลือกจากวุฒิสภาไม่ครบตามจานวน ประธานวุฒิสภาแจ้งให้นายกรัฐมนตรีทราบ นายกรัฐมนตรีเสนอ ครม.
ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ นายกรัฐมนตรี ได้รับแจ้ง
ครม. พิจารณา + ดาเนินการให้ครบจานวน 14
วิธีการทางาน 15
หลักการ ยุติธรรม
เท่าเทียมไม่เลือกปฏิบัติ ประโยชน์สาธารณะ แข่งขันเสรีและ เป็นธรรม 16
การจัดทาแผน การกาหนดหลักเกณฑ์
การจัดสรร +การอนุญาต 17
การจัดทาแผน แผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ แผนความถี่วิทยุ แผนเลขหมายโทรคมนาคม แผนการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึง และบริการเพื่อสังคม 18
แผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ (มาตรา 48) รายละเอียดเกี่ยวกับตารางกาหนดคลื่นความถี่ แนวทางการดาเนินการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ ระหว่างประเทศ รายละเอียดเกี่ยวกับคลื่นความถี่ที่กาหนดให้ใช้ใน กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ กิจการ โทรคมนาคม และกิจการอื่น แนวทางในการคืนคลื่นความถี่เพื่อนาไปจัดสรรใหม่ หรือการปรับปรุงการใช้คลื่นความถี่ 19
แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม (มาตรา 49) ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการระยะ 5 ปี อย่างน้อยต้องมีแนวทางการพัฒนาและการส่งเสริม แข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมระหว่างผูป้ ระกอบ กิจการ แนวทางการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่และ การอนุญาตให้ประกอบกิจการ 20
แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์ (มาตรา 49) ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการระยะ 5 ปี อย่างน้อยต้องมีแนวทางการพัฒนาและการส่งเสริม แข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมระหว่างผู้ประกอบ กิจการ แนวทางการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่และ การอนุญาตให้ประกอบกิจการ 21
แผนเลขหมายโทรคมนาคม หลักเกณฑ์ในการพิจารณา* ให้มีเลขหมายโทรคมนาคมเพียงพอแก่การให้บริการ ให้มีการใช้เลขหมายโทรคมนาคมอย่างมีประสิทธิภาพและ เป็นธรรม แผนเลขหมายโทรคมนาคมต้องช่วยจาแนกลักษณะและ ประเภทของบริการและอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจการโทรคมนาคม เป็นไปโดยง่ายและชัดเจน สอดคล้องกับหลักการและแนวปฏิบัติสากล *ข้อ 10 ของประกาศ กทช. เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดสรรและบริหารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2551 22
แผนการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐาน โดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม (มาตรา 50) กาหนดพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาในการดาเนินการ พร้อมทั้งประมาณการค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้น ประกาศกาหนดจานวนค่าใช้จ่ายที่จะเรียกเก็บจาก ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม เพื่อนาไปใช้ดาเนินการ ประกาศกาหนดจานวนเงินจากกองทุน ที่จะนามาสนับสนุนผู้ได้รับใบอนุญาต 23
อานาจหน้าที่ 24
อานาจหน้าที่ของ กสทช. (มาตรา 27) ตัวอย่างอานาจหน้าที่ของ กสทช. ตามมาตรา 27 1. จัดทาแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ ตารางกาหนดคลื่นความถี่แห่งชาติ แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ แผนแม่บทกิจการ โทรคมนาคม แผนความถี่วิทยุ และแผนเลขหมายโทรคมนาคม 2. กาหนดการจัดสรรคลื่นความถี่ระหว่างคลื่นความถี่ที่ใช้ในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการวิทยุคมนาคม และกิจการโทรคมนาคม 3. กาหนดลักษณะและประเภทของกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคม 4. พิจารณาอนุญาตและกากับดูแลการใช้คลื่นความถี่และเครื่องวิทยุคมนาคมใน การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม หรือในกิจการวิทยุคมนาคมและกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการ อนุญาต เงื่อนไข หรือค่าธรรมเนียมการอนุญาตดังกล่าว
25
อานาจหน้าที่ของ กสทช. (มาตรา 27) (ต่อ) ตัวอย่างอานาจหน้าที่ของ กสทช. ตามมาตรา 27 5. กาหนดหลักเกณฑ์การใช้คลื่นความถี่ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ปราศจากการรบกวนซึ่งกันและกัน ทั้งในกิจการประเภทเดียวกันและระหว่าง กิจการแต่ละประเภท 6. พิจารณาอนุญาตและกากับดูแลการประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับบริการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ รวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นธรรม และกาหนดหลักเกณฑ์และ วิธีการเกี่ยวกับการอนุญาต เงื่อนไข หรือค่าธรรมเนียมการอนุญาตดังกล่าว 7. พิจารณาอนุญาตและกากับดูแลการใช้เลขหมายโทรคมนาคม และกาหนด หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการอนุญาต เงื่อนไข หรือค่าธรรมเนียมการ อนุญาตดังกล่าว ฯลฯ
26
สานักงาน กสทช. ให้มี สานักงาน กสทช. เป็นนิติบุคคล มีฐานะเป็น หน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและไม่เป็น รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายอื่น (มาตรา 56) 27
อานาจหน้าที่ของ สานักงาน กสทช. (มาตรา 57) อานาจหน้าที่ของสานักงาน กสทช. ตามมาตรา 57 1. รับผิดชอบในการรับและจ่ายเงินรายได้ของสานักงาน กสทช. 2. จัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีของสานักงาน กสทช. เพื่อเสนอ กสทช. อนุมัติ โดยรายจ่ายประจาปีของสานักงาน กสทช. ให้หมายความรวมถึง รายจ่ายใดๆ อันเกี่ยวกับการดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของ กสทช. กสท. กทค. และสานักงาน กสทช. 3. ตรวจสอบและติดตามการใช้คลื่นความถี่ 4. รับและพิจารณาเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการใช้คลื่นความถี่ การประกอบกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อตรวจสอบและ แก้ไขปัญหาหรือเสนอความเห็นต่อ กสทช. เพื่อพิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่ กสทช. กาหนด
28
อานาจหน้าที่ของ สานักงาน กสทช. (มาตรา 57) (ต่อ) อานาจหน้าที่ของสานักงาน กสทช. ตามมาตรา 57 5. ศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับคลื่นความถี่ การใช้คลื่นความถี่ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม 6. รับผิดชอบงานธุรการของ กสทช. กสท. กทค. และคณะกรรมการบริหาร กองทุน 7. ปฏิบัติการอื่นตามที่ กสทช. กสท. และ กทค. มอบหมาย
29
อานาจของ กสทช. ในการออกระเบียบหรือประกาศ (มาตรา 58) ให้ กสทช. มีอานาจออกระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับการบริหารงานทั่วไป การ บริหารงานบุคคล การงบประมาณ การเงินและทรัพย์สิน และการดาเนินการอื่น ของสานักงาน กสทช. โดยให้รวมถึงเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย 1. การแบ่งส่วนงานภายในของสานักงาน กสทช. และขอบเขตหน้าที่ของส่วนงาน ดังกล่าว 2. การกาหนดตาแหน่ง อัตราเงินเดือน และค่าตอบแทนอื่นของเลขาธิการ กสทช. พนักงานและลูกจ้างของสานักงาน กสทช. ตลอดจนค่าตอบแทนและค่าใช้จ่าย ของกรรมการอื่นและอนุกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ 3. การคัดเลือกหรือการประเมินความรู้ความสามารถเพื่อประโยชน์ในการบรรจุและ แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง หรือการเลื่อนขั้นเงินเดือน หลักเกณฑ์การต่อสัญญาจ้าง และการจ่ายเงินชดเชยกรณีเลิกจ้างเนื่องจากไม่ผ่านการประเมิน 30
อานาจของ กสทช. ในการออกระเบียบหรือประกาศ (มาตรา 58) (ต่อ) อานาจของ กสทช. ในการออกระเบียบหรือประกาศ 4. การบริหารงานบุคคล รวมตลอดทั้งการดาเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และร้องทุกข์ 5. การรักษาการแทนและการปฏิบัติการแทน 6. การกาหนดเครื่องแบบและการแต่งกายของพนักงานและลูกจ้างของสานักงาน กสทช. 7. การจ้างและการแต่งตั้งบุคคลเพื่อเป็นผู้เชี่ยวชาญหรือเป็นผู้ชานาญการเฉพาะด้านอัน จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ กสทช. รวมทั้งอัตราค่าตอบแทนการจ้าง 8. การบริหารและจัดการงบประมาณ ทรัพย์สิน และการพัสดุของสานักงาน กสทช. 9. การจัดสวัสดิการหรือการสงเคราะห์อื่น 31
การตรวจสอบการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญา (มาตรา 82 วรรค 2) ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐแจ้งรายละเอียด เกี่ยวกับการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญา รวมถึงอายุสัญญาและ ค่าสัมปทานหรือค่าตอบแทนต่างๆ ต่อ กสทช. ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ กสทช. กาหนด และให้ กสทช. ตรวจสอบความชอบ ด้วยกฎหมายของการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญานั้น พร้อมทั้ง เปิดเผยข้อมูลและผลการตรวจสอบให้สาธารณชนทราบ 32
การเปิดเผยข้อมูล
33
การเปิดเผยข้อมูลตามมาตรา 59 ให้สานักงาน กสทช. เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการ ดาเนินงานของ กสทช. และสานักงาน กสทช. ให้ ประชาชนทราบทางระบบเครือข่ายสารสนเทศหรือ วิธีการอื่นที่เห็นสมควร
34
การเปิดเผยข้อมูลตามมาตรา 59 (ต่อ) ต้องเปิดเผยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ 1. ใบอนุญาตประกอบกิจการของผู้ได้รับใบอนุญาตทุกราย พร้อมทั้งเงื่อนไข ที่กาหนด 2. รายได้ของสานักงาน กสทช. ตามมาตรา 65 เป็นรายเดือนโดยสรุป 3. รายจ่ายสาหรับการดาเนินงานของ กสทช. และสานักงาน กสทช. เป็นราย เดือนโดยสรุป 4. รายละเอียดของอัตราค่าตอบแทนกรรมการ กสท. กทค. อนุกรรมการ และ ที่ปรึกษาต่างๆ เป็นรายบุคคล 35
การเปิดเผยข้อมูลตามมาตรา 59 (ต่อ) ต้องเปิดเผยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ 5. ผลการศึกษาวิจัยและผลงานอื่นๆ ที่ว่าจ้างให้หน่วยงานภายนอก ดาเนินการ 6. รายการเรื่องร้องเรียน ความคืบหน้าและผลการพิจารณาเรือ่ งร้องเรียนของ ผู้บริโภคและผู้รับใบอนุญาตและจานวนเรื่องที่ยังค้างพิจารณา 7. รายละเอียดของผลการจัดซื้อจัดจ้างของสานักงาน กสทช. และสัญญา ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 36
บทเฉพาะกาล 37
มาตรา 89 ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ หนี้ พนักงานและ ลูกจ้างและเงินงบประมาณของ สานักงาน กทช. ไปเป็นของ สานักงาน กสทช. ให้พนักงานและลูกจ้างที่โอนไปได้รับเงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง หรือค่าจ้าง รวมทั้งสิทธิและประโยชน์ต่างๆ เท่ากับที่เคยได้รับอยู่ เดิมไปพลางก่อน จนกว่าจะได้บรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งใน สานักงาน กสทช. แต่จะแต่งตั้งให้ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างต่ากว่า เงินเดือนหรือค่าจ้างที่ได้รับอยู่เดิมไม่ได้ 38
มาตรา 95 ให้บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคาสั่งที่ออกตาม พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ 2543 ซึ่งชอบด้วย กฎหมายและมีผลบังคับได้อยู่ในวันที่ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรร คลื่นความถี่ฯ 2553 ใช้บังคับ ยังคงใช้บังคับได้ต่อไป เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้ง จนกว่าจะมีระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคาสั่งที่ออกตาม พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ 2553 ใช้บังคับ 39
บทกาหนดโทษ 40
บทกาหนดโทษ (มาตรา 79) • พนักงานเจ้าหน้าที่ กสทช. หรือผู้ซึ่งใช้อานาจของ กสทช. ที่รู้หรือ ได้รับแจ้งจากบุคคลใดว่ามีการใช้คลื่นความถี่อันเป็นการฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามพ.ร.บ. นี้ หากมิได้ดาเนินการบังคับการให้ เป็นไปตาม พ.ร.บ. นี้ และการกระทาหรืองดเว้นการกระทานั้นไม่ เป็นความผิดตามมาตรา 157 แห่งประมวลกฎหมายอาญา พนักงานเจ้าหน้าที่ กสทช. หรือผู้ซึ่งใช้อานาจของ กสทช. ที่ กระทาการดังกล่าวต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่ เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 41
มาตรา 157 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตต้องระวาง โทษจาคุกตั้งแต่ 1 ปีถึง 10 ปี หรือปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
42
การพิจารณาคาขอหรือคาร้องเรียนของประชาชน (มาตรา 30) หากกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือสัญญา มิได้กาหนด ระยะเวลาในการดาเนินการไว้ โดยเฉพาะ
ให้ กสทช. กาหนดระยะเวลา การดาเนินการแล้วเสร็จ และประกาศให้ประชาชน ทราบโดยทั่วไป
เรื่องใดที่มิได้กาหนดระยะเวลาไว้
ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในเวลาไม่เกิน 15 วัน นับ แต่วันที่ได้รับเรื่อง
43
การพิจารณาคาขอหรือคาร้องเรียนของประชาชน (มาตรา 30) (ต่อ) • กรณีที่มีการปฏิบัติหน้าที่ล่าช้ากว่าที่กาหนดโดยไม่มีเหตุอัน สมควร หากก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลใด ให้สานักงาน กสทช. รับผิดชดใช้ความเสียหายให้แก่บุคคลนั้น • ให้เรียกเงินชดใช้คืนจากผู้เป็นต้นเหตุแห่งความล่าช้านั้น แล้วแต่กรณี หากความเสียหายนั้นเกิดจากการกระทาหรืองด เว้นการกระทาด้วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่าง ร้ายแรง 44
ความสัมพันธ์กับ รัฐบาลและรัฐสภา 45
ความสัมพันธ์กับรัฐบาลและรัฐสภา (มาตรา 74) ในการดาเนินการตามอานาจหน้าที่ กสทช. ต้องดาเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายที่ คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภา
46
หลักธรรมาภิบาล* vs. การปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. หลักการ หลักนิติธรรม
ตัวอย่างการปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. ที่สอดคล้อง • กฎหมาย ประกาศและระเบียบต่างๆ ที่ออกมีความเป็นธรรม เช่น การกาหนดโครงสร้างอัตราค่าธรรมเนียม รวมถึงมี บทลงโทษแก่ผู้กระทาความผิด • กฎหมาย ประกาศและระเบียบต่างๆ มีการทบทวนและ ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนไป • คานึงถึงหลักการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม และความเท่า เทียมไม่เลือกปฏิบัติ
* ที่มา: สถาบันพระปกเกล้า 47
หลักธรรมาภิบาล vs. การปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. (ต่อ) หลักการ หลักความ โปร่งใส
ตัวอย่างการปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. ที่สอดคล้อง • มีการกาหนดให้เปิดเผยข้อมูลให้สาธารณชนได้รับทราบ (มาตรา 59) สามารถตรวจสอบได้ • การปฏิบัติหน้าที่ของ กสทช. กสท. กทค. ในเรื่องที่เกี่ยวข้องหรือ มีผลกระทบต่อประโยชน์สาธารณะ ต้องกระทาโดยมติของที่ ประชุม และต้องเปิดเผยรายงานการประชุมพร้อมทั้งผลของการ ลงมติให้สาธารณชนทราบผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์และโดย วิธีการอื่นที่เหมาะสม (มาตรา 24) • มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนทราบอย่างสม่าเสมอ • มีระบบการตรวจสอบภายใน • มีตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่เป็นรูปธรรม 48
หลักธรรมาภิบาล vs. การปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. (ต่อ) หลักการ หลักการ มีส่วนร่วม
ตัวอย่างการปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. ที่สอดคล้อง • มีการกาหนดให้รับฟังความคิดเห็น (ผู้มีส่วนได้เสียและ ประชาชนทั่วไป) ต่อระเบียบ/ประกาศ/คาสั่ง เกี่ยวกับการ กากับดูแลที่มีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไปและเกี่ยวข้องกับการ แข่งขัน/มีผลกระทบต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ (มาตรา 28) • การนาความคิดเห็นที่ได้มาประกอบการพิจารณาก่อนออก ระเบียบ/ประกาศ/คาสั่ง 49
หลักธรรมาภิบาล vs. การปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. (ต่อ) หลักการ ตัวอย่างการปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. ที่สอดคล้อง หลักคุณธรรม • มีกลุ่มภารกิจด้านคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมทา หน้าที่รับเรื่องร้องเรียนและติดตามตรวจสอบการบริการใน กิจการโทรคมนาคม ตลอดจนไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกิดขึ้นกับ ผู้บริโภค • พ.รบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ 2553 มีการกาหนดให้ จัดทาแผนต่างๆ เช่น แผนแม่บทฯ แผนเลขหมาย โทรคมนาคมเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรในชาติให้เกิดประโยชน์ สูงสุด 50
หลักธรรมาภิบาล vs. การปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. (ต่อ) หลักการ หลักความ รับผิดชอบ
ตัวอย่างการปฏิบัติงานของสานักงาน กสทช. ที่สอดคล้อง • ผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้องให้การยอมรับและความพอใจ • คุณภาพของงานในเรื่องความถูกต้อง ครบถ้วน รวมทั้ง จานวนความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานอยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ หลักความคุ้มค่า • การทางานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • มีการตรวจสอบและติดตามแผนการดาเนินการและแผนการใช้ จ่ายเงินงบประมาณให้ตรงกับการดาเนินงานของหน่วยงาน 51
กลไกการกากับดูแล กิจการโทรคมนาคม 52
เจตนารมณ์การกากับดูแล รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 47 1. หน่วยงานอิสระที่กากับดูแลกิจการโทรคมนาคม กิจการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ 2. ทรัพยากรสื่อสาร 3. ประโยชน์สาธารณะ ไม่ใช่เพื่อองค์กรหนึ่ง องค์กรใด หรือ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง 53
วัตถุประสงค์ของการกากับดูแล เพื่อให้มั่นใจว่ามีการแข่งขัน ที่เสรีและเป็นธรรม (free and fair competition) เพื่อประโยชน์ต่อผูบ้ ริโภค
54
แนวทางกากับดูแล (Regulatory Regime)
แนวทางคาสั่งและควบคุม (Command-and-control Approach)
แนวทางกลไกตลาด (Market-based Approach)
แนวทางการยกเว้น ใบอนุญาต (License-exempt)
หน่วยงานกากับดูแล
ธุรกิจกากับดูแล
ไม่กากับดูแล
55
วิธีการกากับดูแล 1. แบบกาหนดมาตรการกากับดูแลล่วงหน้า (ex-ante regulation) •
มีการตั้งกฎเกณฑ์และข้อจากัดเพื่อป้องกันการ ต่อต้านการแข่งขันหรือกิจกรรมทางการตลาดที่ ไม่พึงปรารถนา 56
วิธีการกากับดูแล (ต่อ) 2. แบบภายหลังจากที่เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นแล้ว (ex-post regulation) •
• •
มีการกาหนดกฎเกณฑ์บางอย่างล่วงหน้าหรือไม่มี การกาหนดเลย ใช้วิธีการเยียวยาและลงโทษหากเกิดการละเมิด ความเสียหายอาจเกิดขึ้นแล้วและผลลัพธ์ของการ กากับดูแลอาจไม่แน่นอน 57
การเปลี่ยนแปลงบริบทการกากับดูแล • การปรับเปลี่ยนบริบทจากการถือครองคลื่นความถี่ และการประกอบกิจการ (Paradigm Shift) จาก : ภาครัฐเพียง ฝ่ายเดียว
การอนุญาตภาครัฐ และภาคเอกชน
58
การเปลี่ยนแปลงบริบทการกากับดูแล (ต่อ) • การกากับดูแลตามกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ และมติ • เพิ่มบทบาทการกากับดูแลที่มุ่งเน้นการวิเคราะห์ และ การเยียวยาความเดือดร้อน
59
การเปลี่ยนแปลงบริบทการกากับดูแล (ต่อ) • การกากับดูแลแบบสหวิทยาการซึ่งประกอบไปด้วย ---> เทคนิค ---> เศรษฐกิจ ---> สังคม • Command & Control -> Market-Based -> Non-Regulated 60
การกากับดูแลในยุคของการหลอมรวม ทางเทคโนโลยี • เป็นการหลอมรวมทางเทคโนโลยีทั้ง อุปกรณ์ (Devices) เครือข่าย (Networks) และบริการ (Services) • ในยุคของการหลอมรวมทางเทคโนโลยี ควรมุ่งสู่กรอบ การออกใบอนุญาตใบเดียวสาหรับบริการทุกประเภท (Unified Licensing) เพื่อมุ่งสู่ความเป็นกลางทาง เทคโนโลยีและการให้บริการ (Technology and Service Neutral) 61
สรุป • การสรรหา กสทช.: ภายใน 13 ก.ย. • การทางาน: อิงหลักยุติธรรม เท่าเทียมไม่เลือกปฏิบัติ ประโยชน์สาธารณะ และการแข่งขันเสรีและ เป็นธรรม • การกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม: - แบบสหวิทยาการ (เทคนิค เศรษฐกิจ และสังคม) - การผ่อนคลายกฎระเบียบ 62
ส่วนที่ 2 ความท้าทายในการปฏิบัติงานของ สานักงาน กสทช. 63
การกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม
64
การกากับดูแลเท่าที่จาเป็น •
ส่งเสริมแนวทางการกากับดูแลเท่าที่จาเป็นให้มีมากขึ้น 1. การกากับดูแลกันเองระหว่างผู้ประกอบการ (Self-Regulation) 2. การกากับดูแลร่วมกันระหว่างผู้กากับดูแล ผู้ประกอบการและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (Co-Regulation)
65
การผ่อนคลายกฎระเบียบ (Deregulation) • แนวโน้มอุตสาหกรรมโทรคมนาคมมุ่งสูก่ ารผ่อนคลาย กฎระเบียบ ได้แก่ - การผ่อนคลายการกากับดูแลกิจการ - การยกเว้นใบอนุญาต (license-exempt) เพื่อส่งเสริมการแข่งขัน
66
การผ่อนคลายกฎระเบียบ (Deregulation) (ต่อ) • กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ควรนามาใช้เมื่อกลไกทางการตลาด ล้มเหลวแล้วเท่านั้น (Dippon, 2009) • อย่างไรก็ดี การลดการกากับดูแลลงอย่างสิ้นเชิงนั้นไม่น่า เหมาะสมกับอุตสาหกรรมโทรคมนาคม เนื่องจากต้อง รักษาไว้ซึ่งสภาวะการแข่งขัน 67
การกากับ การกากับดูแลคุณภาพการให้บริการ (QoS) การกากับเนื้อหา (Content) การแยกแยะอานาจตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 68
การบริหารทรัพยากรโทรคมนาคม
69
การบริหารทรัพยากรโทรคมนาคม หัวข้อ คลื่นความถี่ การบริหาร คลื่นความถี่ เลขหมาย โทรคมนาคม
รายละเอียด การจัดสรรคลื่นความถี่ใหม่ (Refarming) ลดการแทรกแซงของผู้กากับดูแล และ หันมาเน้นการใช้กลไกทางการตลาดมาก ขึ้น การจัดสรรเลขหมายโทรคมนาคมตาม แผนเลขหมายโทรคมนาคม 70
การแข่งขันการประกอบกิจการ ที่เสรีและเป็นธรรม
71
การแข่งขันการประกอบกิจการ ที่เสรีและเป็นธรรม •
•
การออกประกาศและระเบียบในอนาคตต้องคานึงถึง ผู้ประกอบการที่มอี านาจเหนือตลาดอย่างมีนัยสาคัญ (Significant Market Power) โดยอาจมีการใช้การกากับ ดูแลที่ไม่เท่าเทียมกัน (asymmetric) การออกกฎระเบียบเท่าที่จาเป็นเพื่อจูงใจผู้ประกอบการ รายย่อยและรายใหม่ และส่งเสริมผู้ประกอบการรายย่อย และรายใหม่ให้เข้าสู่ตลาดได้โดยเท่าเทียมกัน 72
ประเภทของการอนุญาตในภาพรวม โครงสร้างการอนุญาต
แบบที่ 1 การให้บริการ ใบอนุญาตอินเทอร์เน็ต ใบอนุญาตโทรคมนาคม
แบบที่ 3 มีโครงข่าย
แบบที่ 2 Services Based
Network Based
ใบอนุญาตอินเทอร์เน็ต
ใบอนุญาตอินเทอร์เน็ต
ใบอนุญาตโทรคมนาคม
ใบอนุญาตโทรคมนาคม
ใบอนุญาตอินเทอร์เน็ต
ใบอนุญาตโทรคมนาคม
73
จานวนใบอนุญาต
จานวนผู้รับใบอนุญาตจาก กสทช. 300 250 200 150 100 50 0
ใบอนุญาตโทรคมนาคม ใบอนุญาตอินเทอร์เน็ต รวมใบอนุญาตทั้งหมด
2548
2549
2550
2551
2552
2554Q 2554Q 2553 1 2
5 23 28
25 54 79
66 90 156
102 106 208
122 105 227
143 105 248
140 103 243
156 108 264
จานวนผู้รับอนุญาตตามมาตรา 80 (สัมปทาน)* 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ผู้ให้บริการ TrueMove DPC AIS CS Loxinfo Samart Telcom True Corp. DTAC DTAC TT&T Thai Com
บริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ย่าน 1800 MHz โทรศัพท์เคลื่อนที่ย่าน 1800 MHz โทรศัพท์เคลื่อนที่ย่าน 900 MHz บริการรับ-ส่งสัญญาณฯ ผ่านดาวเทียม บริการสื่อสารผ่านดาวเทียม VSAT โทรศัพท์พื้นฐาน (กรุงเทพและปริมลฑล) โทรศัพท์เคลื่อนที่ย่าน 800 MHz โทรศัพท์เคลื่อนที่ย่าน 1800 MHz โทรศัพท์พื้นฐาน (ส่วนภูมิภาค) บริการดาวเทียมและสื่อสารผ่านดาวเทียม
* พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544
อายุสัญญา
ก.ย. 56 ก.ย. 56 ก.ย. 58 ส.ค. 59 พ.ค. 60 ธ.ค. 60 ก.ย. 61 ก.ย. 61 มิ.ย. 62 ก.ย. 64
การอนุญาตประกอบกิจการ • การทบทวนประกาศ ระเบียบ • การตีความตามกฎหมาย (มาตรา 46: MVNO) • การดาเนินการตามกฎหมาย (มาตรา 45: การประมูล)
76
การตีความตามกฎหมาย: MVNO พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ 2553 มาตรา 46 ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ เป็นสิทธิเฉพาะตัวของผู้ได้รับใบอนุญาต จะโอนแก่กันมิได้ ผู้ได้รับใบอนุญาตต้องประกอบกิจการด้วยตนเอง จะมอบ การบริหารจัดการทั้งหมดหรือบางส่วนหรือยินยอมให้ บุคคลอื่นเป็นผู้มีอานาจประกอบกิจการแทนมิได้ 77
MVNO MNO
„ Mobile Network Operator „ ผู้ประกอบการที่มีใบอนุญาตให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่โดยตรง โดยมีใบอนุญาตให้ใช้ คลื่น มีโครงข่าย และให้บริการแก่ผู้บริโภคโดยตรง
MVNO
„ Mobile Virtual Network Operator „ ผู้ประกอบการที่ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ แต่ ไม่มีใบอนุญาตให้ใช้คลื่น และมีบริการแก่ผู้บริโภค 78
Value Chain of Mobile Operator Access Network Radio Access
Core Network Network Routing
Appl. Systems
Customer Care
Rating & Billing
Network Application CustomerFunctionality Systems activation
Billing
Customer Care
Brand & Sales Marketing
Sale and Distribution
THIN MVNO แบบที่หนึ่ง MEDIUM MVNO แบบที่หนึ่ง FULL MVNO แบบที่สาม MNO แบบที่สาม
79
การดาเนินการตามกฎหมาย พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ 2553 มาตรา 45 • ผู้ใดประสงค์จะใช้คลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคม ต้องได้รับใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. นี้ ซึ่งต้องดาเนินการ โดย “วิธีการประมูลคลื่นความถี”่ • เงินที่ได้จากการประมูลเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้วให้ส่งเข้า เป็นรายได้แผ่นดิน 80
การกาหนดหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ กิจการโทรคมนาคมที่ใช้ดาวเทียม
81
พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ 2553 (มาตรา 4) คาจากัดความของคาว่า “กิจการโทรคมนาคม” ได้รวมถึง “กิจการซึ่งให้บริการดาวเทียมสื่อสาร”
82
อานาจหน้ า ที่ การกากั บ ดู แ ลกิ จ การผ่ า น ดาวเที ย มของผู้ ป ระกอบการไทย มี 2 องค์ประกอบหลัก วงโคจร (Orbital Slot)
วงโคจรอยู่ ภายใต้ ค วามรับ ผิ ด ชอบของรั ฐ โดยรั ฐ อาจมอบหมายให้หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง เช่น กระทรวง ICT หรือ กสทช. เป็นผู้ดาเนินการตาม ขั้นตอนการดาเนินการระหว่างประเทศที่ต่อเนื่อง ตามมา การได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ป ระกอบกิ จ การ
การประกอบกิ จ การดั ง กล่ า วอยู่ ภ ายใต้ ค วาม รับผิดชอบของ กสทช. โดยตรง
การกากับดูแลกิจการผ่านดาวเทียม ของผู้ประกอบการต่างชาติในไทย ไม่มีกฎหมายใดที่ครอบคลุมดาวเทียมต่างชาติที่อยู่
ใน Outer Space ไม่ว่าจะเป็นขอบเขตอานาจ (Jurisdiction) ของรัฐ ไทย ภายใต้ กฎหมายและ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ หรือขอบเขตอานาจของ กสทช. เอง กิจการโทรคมนาคมผ่านดาวเทียมเป็นกิจการที่มี ลั ก ษณะเฉพาะ คื อ ถึ ง แม้ ว่ า จะมี ด าวเที ย มอยู่ ใ น Outer Space แต่หากไม่มีสถานีดาวเทียมภาคพื้นดิน ก็จะไม่สามารถให้บริการได้ การกากับดูแลของผู้ประกอบการดังกล่าวจึงทาได้ ผ่ า นทางการก ากั บ สถานี ด าวเที ย มภาคพื้ น ดิ น โดย กสทช.
การกากับดูแ ล ส ถา นี ด า วเ ที ย มภาคอ วกา ศ บมจ.ไทยคม
ส ถา นี ด า วเ ที ย มภาคพื้ น ดิ น บริการ - อินเทอร์เน็ต - เสียง - โทรทัศน์ ฯลฯ
ส ถา นี ลู ก ข่ า ย
บมจ. ไทยคม ผู้ให้บริการรายย่อย บมจ. กสท โทรคมนาคม เช่น ISP บมจ. สามารถเทลคอม หรือผู้ใช้บริการปลายทาง บมจ. ทีโอที บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ บจ. อคิวเมนท์ บจ. เอส ที ซี เน็ทเวิร์ค คอร์ปอเรชั่น บจ. เอเชีย บรอดคาสติ้ง อินเตอร์เนชั่นแนล บจ. สยามเทเลคอมแอคเซส
บริการ - อินเทอร์เน็ต - เสียง - โทรทัศน์ ฯลฯ
การครอบงากิจการโทรคมนาคม โดยคนต่างด้าว
85
ปัจจุบัน การครอบงากิจการ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 มาตรา 8 วรรค 3 (1) ผู้ขอรับใบอนุญาตแบบที่สองและผู้ขอรับใบอนุญาตแบบที่สามต้องมิใช่ เป็นคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว …. พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 มาตรา 8 (3) ห้ามมิให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจที่คนไทยยังไม่มีความพร้อมที่จะแข่งขัน ในการประกอบกิจการกับคนต่างด้าว ตามที่กาหนดไว้ในบัญชีสาม เว้นแต่ จะได้รับอนุญาตจากอธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ 86
พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 มาตรา 4: ความหมายของคนต่าวด้าว
(1) บุคคลธรรมดาซึ่งไม่มีสัญชาติไทย (2) นิตบิ ุคคลซึ่งไม่ได้จดทะเบียนในประเทศไทย (3) นิตบิ ุคคลซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทยและมีลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) นิติบุคคลซึ่งมีหุ้นอันเป็นทุนตั้งแต่กึ่งหนึ่งของนิติบุคคลนั้นถือโดยบุคคล ตาม (1) หรือ (2) หรือนิติบคุ คลซึ่งมีบุคคลตาม (1) หรือ (2) ลงทุนมีมูลค่า ตั้งแต่กึ่งหนึ่งของทุนทั้งหมดในนิติบุคคลนั้น (ข) ห้างหุ้นส่วนจากัดหรือห้างหุ้นส่วนสามัญที่จดทะเบียน ซึ่งหุ้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้จัดการเป็นบุคคลตาม (1) (4) นิติบุคคลซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทย ซึง่ มีหุ้นอันเป็นทุนตั้งแต่กึ่งหนึ่งของ นิติบุคคลนั้นถือโดยบุคคลตาม (1) (2) หรือ (3) หรือนิติบคุ คลซึ่งมีบคุ คลตาม (1) (2) หรือ (3) ลงทุนมีมูลค่าตัง้ แต่กึ่งหนึ่งของทุนทั้งหมดในนิติบุคคลนั้น 87
ความท้าทาย การจากัดการลงทุนของคนต่างชาติ vs. การหาเงินลงทุนภายในประเทศไทย การจากัดสัดส่วนการลงทุนกับความมั่นคงของ ประเทศ (การผูกขาดหรือการเข้าครอบครองกิจการ โทรคมนาคม) 88
ความท้าทาย (ต่อ) การจากัดสัดส่วนการลงทุนของคนต่างชาติเพื่อการ สงวนรักษาธุรกิจไว้ให้แก่คนในประเทศ การรักษาสถานภาพของผู้บริหารคนไทย กระแสการเปิดเสรีธุรกิจโทรคมนาคม ปัจจุบันมีประกาศ กสทช. ว่าด้วยการกาหนดข้อห้ามการ กระทาที่มีลักษณะเป็นการครอบงากิจการโดยคนต่างด้าว 89
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
90
กระบวนการบริหารการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การมีส่วนร่วมของ ฝ่ายบริหาร
การบริหารเชิง กลยุทธ์
การพัฒนางานด้าน พัฒนาทรัพยากรบุคคล
แผนพัฒนา บุคคล
กระบวนการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล
ผลการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์ความ จาเป็นในการพัฒนา
ระบบข้อมูลและการประเมิน/รายงานผลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 91
การบริหารความเสี่ยง ขององค์กร
92
ความท้าทายในการบริหารความเสี่ยงขององค์กร
การประเมินและการบริหารจัดการกับความเสี่ยงที่มี ผลกระทบสาคัญต่อองค์กร อย่างเป็นระบบโดยมี กระบวนการประเมินความเสี่ยงที่ได้มาตรฐาน
การสร้างและรักษาไว้ซึ่งระบบการบริหารความเสี่ยงที่ สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์กร/ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป
การติดตามและรายงานการจัดการความเสี่ยงอย่าง ต่อเนื่อง และสม่าเสมอ 93
ความท้าทายในการ บริหารความเสี่ยงขององค์กร (ต่อ) การหาหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบโดยตรงต่อการ บริหารความเสี่ยงของสานักงาน กสทช. การสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้มีการตระหนักถึง ความจาเป็นในการควบคุมและบริหารความเสี่ยง
94
ตัวอย่างความเสี่ยงที่สาคัญขององค์กร ตัวอย่าง การเปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับโดยไม่ได้รับอนุญาต ข้อมูลที่ได้รับจากบุคคลภายนอกไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง และไม่ทันเวลา การวางแผนและบริหารจัดการงบประมาณไม่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ขององค์กรและแผนงบประมาณที่จัดทาขึ้น ที่มา: โครงการปรับปรุงและพัฒนา กระบวนการด้านการเงิน บัญชี และรายได้ โดย สถาบันวิจัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 95
สรุปความท้าทายหลักในการปฏิบัตงิ าน การกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม การบริหารทรัพยากรโทรคมนาคม การแข่งขันการประกอบกิจการที่เสรีและเป็นธรรม
96
สรุปความท้าทายหลักในการปฏิบัตงิ าน (ต่อ) กิจการโทรคมนาคมที่ใช้ดาวเทียม
การครอบงากิจการโทรคมนาคมโดยคนต่างด้าว การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การบริหารความเสีย่ งขององค์กร 97
ธรรมาภิบาลกับการกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม ยุติธรรม
ตรวจสอบและชี้แจงได้ ไม่เลือกปฏิบัติ คานึงถึงประโยชน์สาธารณะ แข่งขันเสรีและเป็นธรรม
กากับดูแลกันเอง 98
คาถาม & คาตอบ 99