หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน

Page 1

ผศ.ทศพล สมพงษ์ ผู้อานวยการสานักพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วม สานักงานสภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า


ความโปร่งใส

การมีส่วนร่วม

นิติธรรม

ธรรมาภิบาล สานึกรับผิดชอบ

คุณธรรม ความคุ้มค่า


การมีส่วนร่วมของประชาชนมีความสาคัญในการ สร้างประชาธิปไตยอย่างยัง่ ยืนและส่งเสริม ธรรมาภิบาลในการบริหารงานยิ่งประชาชน มีส่วนร่วมมากขึ้น จะช่วยให้มีการตรวจสอบ การทางานของผู้บริหาร และทาให้ผบู้ ริหารมี ความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งช่วยให้ผู้บริหาร ได้รับความเชื่อถือจากสังคม


ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเชื่อถือ ความโปร่งใส

การบริหาร แบบมีส่วนร่วม

ความเชื่อถือ อปท.


เศรษฐกิจ สังคมและภาคประชาชนมีการเปลี่ยนแปลง  การเมืองกาลังพัฒนาสู่ระบอบประชาธิปไตยยุคใหม่  ภาคสังคมและประชาชนมีการพัฒนาและเรียกร้องสิทธิใน การรับรู้ เสนอความคิดเห็นและร่วมตัดสินใจ  รัฐบาลเริ่มตระหนักถึงความสาคัญ เพราะ  การดาเนินโครงการมีปัญหาการต่อต้าน  เริ่มได้บทเรียนและเรียนรู้จากการสูญเสีย  แสวงหารูปแบบและนาไปประยุกต์ใช้ 


หยิบยื่น

สนับสนุน

เสริมสร้าง พลัง

บทบาทภาครัฐ รวมศูนย์อานาจ รัฐทาหน้าที่ตดั สินใจ

ประชาชนไม่มีทางเลือก ความสัมพันธ์แนวดิ่งจากบน ลงล่าง

ปิดกั้นการมีส่วนร่วมของ ประชาชน

ผู้ตดั สินใจคือกลุ่มที่ได้รับ การคัดเลือก

ประชาชนมีส่วนร่วมได้ เฉพาะเรื่อง ประชาชนมีทางเลือกจากัด

ประชาชนร่วมตัดสินใจ ประชาชนมีส่วนร่วม

กระจายอานาจ รวมประชาชนเข้าไว้ในกลุ่มผู้ตดั สินใจ มีทางเลือกเปิดกว้าง รัฐมีพันธความรับผิดชอบต่อสังคม โปร่งใส/เปิดกว้าง

ประชาชนมีความเป็นพลเมือง


หยิบยื่น

ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง

สนับสนุน

เกี่ยวข้องตามที่ได้ รับอนุญาต

บทบาทของประชาชน

เสริมสร้าง พลัง

ตัดสินใจ


1950s การบริหารรัฐกิจแบบ ดั้งเดิม Traditional Public Adm.

กฎระเบียบ ลาดับชั้นบังคับบัญชา ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน การตรวจสอบ สอบ ทาน ความเป็นมืออาชีพ การแบ่งบทบาท ภารกิจ มาตรฐานการทางาน

1970s การบริหารจัดการ ภาครัฐ Public Management

หลักการบริหารเอกชน หลักประหยัด ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เน้นความต้องการ ผู้รับบริการ ให้ความสาคัญกับ ผู้รับบริการ หลักการแข่งขัน ลดบทบาทภาครัฐ ส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน

1980s การบริหารภาครัฐ ยุคใหม่ New Public Management

สืบสานการบริหารในยุค PM ทางานร่วมระหว่าง รัฐและเอกชน เน้นผลสัมฤทธิ์ วัดผลงาน ให้อิสระการบริหาร เน้นหลักจริยธรรม จรรยาบรรณ

2000s การบริหารภาครัฐ ตามหลักธรรมาภิบาล Good Governance

เน้นหลักการมีส่วนร่วม ของประชาชน ทางานเป็นเครือข่าย เน้นเปิดเผย โปร่งใส สุจริต หลักคุณธรรม จริยธรรม หลักความรับผิดชอบ ให้ความสาคัญกับ คุณภาพและผลกระทบ ของงาน


พัฒนาระบบบริหารราชการแผ่นดิน (ม.78)  ขยายสิทธิประชาชนในการมีส่วนร่วมในการ บริหารราชการ (ม.87 ม.287)


มาตรา 78 แนวนโยบายแห่งรัฐ ส่งเสริมให้หน่วยงานรัฐใช้ Good governance จัดระบบราชการให้บริการสาธารณะเป็นไปอย่าง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบได้ บริหารราชการโดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของ ประชาชน


มาตรา 87 ให้การมีส่วนร่วมของประชาชน  การกาหนดนโยบายและวางแผนพัฒนา  ตัดสินใจทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการจัดทา บริการสาธารณะ


มาตรา 287  ประชาชน มีสิทธิมส ี ่วนร่วมในการบริหารกิจการ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องจัดให้มีวิธีการที่ ให้ประชาชนมีส่วนร่วม


 

พัฒนาระบบราชการให้สอดคล้องกับสังคมประชาธิปไตยยุคใหม่ พัฒนาระบบราชการตามหลักการบริหารภาครัฐแนวใหม่ ให้บริการที่มคี ณ ุ ภาพ ประสิทธิภาพ  ทันโลกทันสมัย มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล วัดผลงานได้ 

พัฒนาระบบราชการเพื่อให้มีคุณลักษณะตามที่กาหนดในสากล สุจริต โปร่งใส  บริหารในระบบเปิดให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วม  มีความพร้อมรับผิดชอบ 


 พั ฒ นาระบบราชการไทยให้มี ค วามเป็ น เลิ ศ

สามารถรองรับกับการพัฒนาประเทศในยุค โลกาภิวัตน์ โดยยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี และประโยชน์สุขของประชาชน


การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม การเปิดระบบราชการให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม


การปรั บ เปลี่ ย นกระบวนทั ศ น์ วั ฒ นธรรมและ ค่า นิ ยม ของข้ า ราชการ ให้ เอื้ อต่อ การพั ฒ นาระบบ ราชการ  บริหารให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะของการ สร้างการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง  สามารถเรียนรู้และปรับ เปลี่ยนกระบวนทัศน์ด้วย ตนเอง ด้วยความเต็มใจ การเรียนรู้เป็นเรื่องของผู้เรียน โดยแท้


สร้างรูปแบบการเรียนรู้ของผู้บริหารระดับสูง  ให้ส่วนราชการประกาศมาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม  สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มในการแสวงหากระบวนทั ศ น์ วัฒ นธรรมและค่ า นิย มใหม่ ที่เอื้ อต่ อ การพัฒ นาระบบ ราชการ โดยระดมการมี ส่ ว นร่ ว มจากทุ ก ภาคส่ ว นที่ เกี่ยวข้อง


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ขยาย สิ ท ธิ ใ ห้ ป ระชาชนเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารกิ จ การ บ้านเมืองโดยตรงมากขึ้น  แต่ระบบราชการไทยยังไม่ได้มีการปรับตัวอย่างจริงจัง และคงแบบดั้งเดิม  จาเป็นที่จะต้องเปิดระบบราชการเข้าสู่ กระบวนการความเป็น ประชาธิปไตยมากขึ้น  ยอมรับและให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอแนะ ความคิ ด เห็ น ร่ ว มปฏิ บั ติ ง านและการตรวจสอบผลการ ดาเนินงาน


ส่ ง เสริ ม ให้ ข้ า ราชการตระหนั ก ในการปฏิ บั ติ ต าม เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ  วางหลั ก เกณฑ์ ใ ห้ แ ต่ ล ะส่ ว นราชการจั ด ให้ มี ร ะบบการ ปรึ ก ษาหารื อ กับ ประชาชน สารวจความต้ อ งการของ ประชาชน จัดเวทีระดมความคิดเห็นของประชาชน อย่างสม่าเสมอ  จั ด ตั้ ง คณะกรรมการที่ ป รึ ก ษาภาคประชาชน เพื่ อ ให้ ข้อคิดเกี่ยวกับการพัฒนานโยบายขอรัฐและระบบการ บริหารงานการให้บริการ


 แต่ละส่วนราชการจัดให้มีอาสาสมัครภาค

ประชาชนเข้าร่วมทางานกับข้าราชการ ในส่วน ของโครงการพัฒนางานให้บริการสาธารณะ  ส่วนราชการนาเสนอสารสนเทศแสดงความ รับผิดชอบและโปร่งใส  การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เป็น ตัวชี้วัดหนึ่งในการบริหารที่ดีของส่วนราชการ


หลักการในการปฏิรูประบบราชการไทย พ.ศ. 2551 – 2555      

ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางโดยต้องรับฟังความคิดเห็น ระบบราชการเป็นผู้สนับสนุนและอานวยความสะดวก ไม่เป็น ผู้ดาเนินการเอง มีความพร้อมในการทางานเป็นทีมร่วมกับเครือข่ายอื่นๆ มีขีดความสามารถสูงในการรับรู้ เรียนรู้ มองไปข้างหน้า สร้างระบบธรรมาภิบาลในการกากับดูแลตัวเอง มีความเป็นเลิศในการปฏิบัติงานและสร้างคุณค่าต่อสังคม แสวงหา พัฒนาและธารงรักษาคนดี ค่านิยมและกระบวน ทัศน์ที่ดี


วิสัยทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการ 

มุ่งเน้นประโยชน์สูงสุดของประชาชน และ รักษาผลประโยชน์ของประเทศชาติ  มีขีดความสามารถสูง  สามารถเรียนรู้ ปรับตัวและตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลง  ยึดมั่นในหลักจริยธรรมและธรรมาภิบาล


ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการ ตอบสนองความ คาดหวังประชาชน

ตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลง

ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบตรวจสอบ ตนเอง

มี ส่วน ร่วม

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ทางานเชิง บูรณาการ แสวงหาความ ร่วมมือ สร้างเครือข่าย ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

ประโยชน์ของ ประชาชน

เก่ง

ดี

ยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งเป็นองค์กรที่มีขึด ความสามารถสูง เรียนรู้ และริเริ่มเปลี่ยนแปลง


ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการ

 กลยุทธ

ส่งเสริมสนับสนุนให้มีกลไกการ รับฟังความคิดเห็นของประชาชน


ยุทธศาสตร์ที่ 2 ทางานแบบบูรณาการ 

กลยุทธ - จัดระบบบริหารทางานร่วมเป็นเครือข่าย กับภาคเอกชน NGO องค์กรชุมชน เป็นภาคี พันธมิตร หุ้นส่วนในการจัดบริการสาธารณะ - สนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการบริหารราชการ


ยึดหลักบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม รัฐธรรมนูญ

2540 และ 2550 มุ่งเน้นให้ประชาชนเข้า มามีส่วนร่วมในการบริหารกิจการบ้านเมืองโดยตรง ต้องเปิดระบบราชการเข้ามาสู่กระบวนการความเป็น ประชาธิปไตย โดยยอมรับให้ประชาชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการเสนอแนะความคิดเห็น ร่วมปฏิบัติงานและ ตรวจสอบผลการทางาน


2

1 ประชาชน เข้ามา มีส่วนร่วม การบริหารและ ให้บริการ สาธารณะ

3 วัดผล การปฏิบตั ิ ราชการ

การบริหารและ ให้บริการ สาธารณะ

การบริหาร ประชาชน และ เข้ามา ให้บริการ มีส่วนร่วม สาธารณะ

4 ประชาชน เข้ามา มีส่วนร่วม การบริหาร วัดผล และ ให้บริการ การปฏิบตั ิ ราชการ สาธารณะ

ประชาชนต้องการเห็นผล การปฏิบตั ริ าชการ รัฐ-ประชาชนจัดระบบการ ประชาชนเข้าร่วมแก้ไข หน่วยงานและผู้บริหาร บริหารราชการแบบมีส่วน ปัญหาสาธารณะ วัดผลการปฏิบัติงาน ร่วม


 กระบวนการที่ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องมีโอกาส

ได้เข้าร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทาความเข้าใจ ร่วม แสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหา/ประเด็นสาคัญที่ เกี่ยวข้อง ร่วมคิดแนวทาง ร่วมการแก้ไขปัญหา ร่วมในระบวนการตัดสินใจ และร่วม กระบวนการพัฒนาในฐานะหุ้นส่วนการพัฒนา


เงื่อนไขพืน้ ฐานของการมีส่วนร่วมของประชาชน

ความสามารถ

อิสรภาพ

ความเสมอภาค


ต้องมีวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย ชัดเจน 2. ต้องมีกิจกรรมเป้าหมาย 3. ต้องมีบุคคลหรือกลุ่มเป้าหมาย 1.


การมีส่วนร่วมใน การประเมินผล Evaluation

การมีส่วนร่วมในการรับประโยชน์ Benefit การมีส่วนร่วมในการดาเนินการ Implementation การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ Decision Making


เสริมอานาจ ประชาชน Empower

ร่วมมือ Collaboration เกี่ยวข้อง Involve เข้าร่วมทางานด้วย

รับฟังความคิดเห็น Consult ให้ข้อมูลข่าวสาร แก่ประชาชน Inform

ตัดสินใจ

สมัครใจเข้าร่วม

ให้ความเห็น รับฟัง

การมีส่วนร่วมของ ประชาชน


เสริมอานาจ ประชาชน Empower

ร่วมมือ Collaboration เกี่ยวข้อง Involve

รับฟังความคิดเห็น Consult ให้ข้อมูลข่าวสาร แก่ประชาชน Inform


เข้าร่วมทางานด้วย

ตัดสินใจ

สมัครใจเข้าร่วม

ให้ความเห็น รับฟัง

การมีส่วนร่วมของ ประชาชน


มาก

สูง

การความคุมโดยประชาชน น้อย

ระดับ การมี ส่วน ร่วม

ต่า

การร่วมติดตามตรวจสอบ การร่วมปฏิบัติ การร่วมวางแผน การปรึกษาหารือ การรับฟังความคิดเห็น การให้ข้อมูล

จานวน ประชากร ที่เกี่ยวข้อง

มาก


ประเด็นที่มี ทิศทางต้อง ปฏิบตั ใิ ห้ เกิดผล

ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องกับ ประเด็นที่ นาไปปฏิบัติ ให้เกิดผล

ประเด็นที่ นาไปปฏิบตั ิ ให้เกิดผลต่อ ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง


ประเด็นทีน่ าไปปฏิบัติให้เกิดผลโดยผู้มสี ่วนเกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการกาหนดประเด็นกาหนดทิศทาง ร่วมนาไปปฏิบัติ ร่วมรับผลของนโยบาย และร่วมประเมินผล


สาธารณะไม่ใชของใครคนใดคนหนึ่งไม่ใช่ของภาค ส่วนใดส่วนหนึ่งแต่เป็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด


กระบวนการมีส่วนร่วมทางนโยบาย ริเริ่ม รับรู้

ยุติ / ต่อเนือ่ ง

รับฟัง

ติดตาม

ปรึกษา / วางแผน

ปฏิบัติ ตัดสินใจ


วิธีการ คณะกรรมการภาคประชาชน Citizen Juries

วัตถุประสงค์ • หารือเกี่ยวกับนโยบาย • ตัดสินใจ

เวทีพลเมือง Citizen Parels

• พิจารณาประเด็น • ลงมติ

ประชุมเพื่อหาฉันทามติ Consensus Conferen

• จัดทาข้อเสนอ • หาแนวทาง

สารวจความเห็นเชิงหารือ Deliberating Polling

• รวบรวมข้อเสนอแนะ


วิธีการ

ประชุมกลุ่ม Focus groups

ประชาพิจารณ์

วัตถุประสงค์

วางแผน พิจารณาประเด็น ฯลฯ ตัดสินใจ

Public Hearing

การวางแผนชุมชน Community Planning

กาหนดแนวทาง ฯลฯ


ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม คือ การ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเมืองและ การบริหาร มีการกระจายอานาจการ ตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากรใน ระหว่างประชาชนให้เท่าเทียมกัน และร่วมประเมินผล


อานาจในการตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากร ต่างๆนั้นจะส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ ของประชาชน มีการเพิ่มการคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพของประชาชนโดยมีโครงสร้างการ ทางานที่สามารถตรวจสอบได้ โปร่งใส และคานึงถึงความต้องการของผู้มีส่วนร่วม และการมีส่วนร่วมของประชาชนทั้งในระดับ ท้องถิ่นและระดับชาติ



พื้นที่สาธารณะยุคใหม่

ภาครัฐ

ภาคธุรกิจเอกชน

ภาคประชาสังคม

อยู่กันแบบหุ้นส่วน


พื้นที่สาธารณะยุคเดิม

ภาครัฐ

ภาคราชการ

ภาคการเมือง

ประชาชน ครอบครัว

ประชาสังคม

ธุรกิจเอกชน


ราษฎร  ประชาชน  พลเมือง

47


 ในแต่ละสังคมมีประชาชนเป็นเจ้าของ

อานาจอธิปไตย แต่ประชาชนยังไม่ได้ เป็นพลเมืองที่ดี คือ ยังเป็นเพียง ผู้บริโภค ไม่รู้สึกว่าตนเป็นเจ้าของ อานาจอธิปไตยหรือเจ้าของประเทศ หรือความเป็นพลเมือง 48






























77


78


79


80


81


หรือชีวิต.....ก็เพียงแค่นี้

82


83


84


85


86


87


88


(ภาพคนช่วยเหลือสังคม)

89


ดารงชีวิตแบบนี้เรียกว่า มีสานึกพลเมือง 90


91


ราษฎร = ผู้ถูกปกครอง ↔ ผู้ปกครอง ประชาชน = คนทั่วไป ↔ นักการเมือง พลเมือง = ประชาสังคม ↔ สานึกในหน้าที่และสิทธิ


• ทะเลข้างหน้า ก็ดูปั่นป่วนหนักขึ้นทุกที

• เป็นไข้ เจ็บป่วยอยู่แล้ว • ว่ายน้าก็ไม่เป็น

• ต้องรักษาตัวให้ฟื้นให้รอดและรีบ หัดว่ายน้าให้เป็นดูทะเลให้ออก


คิดว่ามอบอานาจในรัฐเบ็ดเสร็จประชาชน ไม่ต้องรับผิดชอบอะไร  ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย ลืมเรื่อง การช่วยกันทา ลืมเรื่องส่วนรวม เรื่องของ ชุมชนคิดว่าเป็นเรือ่ งของรัฐ


สังคมที่มแี ต่ปัจเจกชนที่พิการทางความคิด  ความรับผิดชอบต่อส่วนรวมจะบอบบางลงจน แตกเป็นผุยผง  มนุษย์เริ่มจะไม่คิดว่า วันนี้ดีกว่าวันวาน ปีนี้ดีกว่าปีก่อน....แต่จะอยู่ไปเรื่อยๆ  หาคนเอาบ้านเอาเมืองไม่ได้ มีแต่คนกินบ้านกิน เมืองขาดสานึกพลเมือง


“ต้องยึดหลักสังคมมาก่อนรัฐ” หมายความ ว่าถ้ามีกิจกรรมหรือปัญหาอะไรที่สังคมหรือ ประชาชนต้องการให้ทาหรือแก้ไข การเมืองภาคพลเมืองต้องเป็นผู้ เริ่มคิดทาการแก้ไขก่อนโดยรัฐให้ การสนับสนุน


...แต่อนิจจา...ปัจเจกชนไทยคิดตรงกันข้าม นอกจากไม่คดิ รวมตัวกันแก้ไขแล้ว ยังเรียกร้อง ให้รัฐเข้ามาแก้ไขปัญหาร้อยแปด....ประชาชน ไม่มีความหมาย....ต้องรัฐเท่านั้น เรามักบ่นว่า..ทาไมรัฐไม่เข้ามาแก้ไขปัญหา นี้ถ้ารัฐเข้ามาทาดีใจมาก แต่ถ้าใครไม่เห็นด้วย จะกลายเป็นพวกขัดขวางรัฐ



1 3

นโยบาย รัฐบาล

2 รัฐบาล

4

ชีวิตสาธารณะ

สภา นิติบัญญัติ นโยบาย หาเสียง

ทาเอง กลไกรัฐ

ร่วม ประชาชน ตรวจสอบ คนเลือกตั้ง ประสิทธิภาพ และความโปร่งใส

REPRESENTATIVE DEMOCRACY

PARTICIPATIVE DEMOCRACY


จิตสานึกสาธารณะก็คือ ความสานึกใน ความเป็นประชาชนคนไทยตระหนักในสิทธิ และความรับผิดชอบที่จะช่วยกันสร้างสรรค์ สังคม และมีความเป็นพลเมืองที่มีศักดิ์ศรี และมีส่วนร่วมในเรื่องส่วนรวม ...(ต่อ) 100


โดยมุ่งหวังที่จะต้องการเข้าร่วมกิจกรรม ทางการเมืองการปกครองพร้อมที่จะดูแก กาหนดชะตากรรมของตนและชุมชน เพื่อ สร้างเมืองและสร้างชุมชนให้น่าอยู่ด้วยคน ในสังคมไทยโดยมิต้องเพียงแต่หวังพึ่งรัฐ ชนชั้นนา ผู้ปกครอง และนักการเมือง เท่านั้น 101


การพั ฒ นาสั ง คม คื อ การสร้ า ง คุ ณ ค่ า ให้ ชี วิ ต เพื่ อ การด ารงอยู่ ร่วมกันอย่างมีความหมาย มีคุณค่า และชีวิตที่ดีขึ้น 102


เพราะฉะนั้น การพัฒนาสังคม ต้องการพลเมืองที่มี สานึก สาธารณะ เต็มใจ ภูมิใจ และ อาสาที่จะใช้ชีวิตการเมืองด้วยการ ระดมทุนทางสังคมเพื่อสร้างสิ่งที่ มีคุณค่าให้เกิดขึ้นในสังคม 103


คนประเภทนี้เรียกว่า คนมีจิต อาสาเพื่อพัฒนาสังคม • ไม่นิ่งดูดายเมื่อสังคมมีปัญหา • พร้อมที่จะอาสาสร้างบ้าน แปลงเมือง • เป็นคนเอาบ้านเอาเมือง 104


ยึดหลักบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม

2540 และ 2550 มุ่งเน้นให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารกิจการ บ้านเมืองโดยตรง ต้องเปิดระบบราชการเข้ามาสู่กระบวนการความ เป็นประชาธิปไตย โดยยอมรับให้ประชาชนเข้ามา มีส่วนร่วมในการเสนอแนะความคิดเห็น ร่วม ปฏิบัติงานและตรวจสอบผลการทางาน รัฐธรรมนูญ


เครือข่ายภาคประชาสังคมเพื่อการพัฒนาระบบราชการ

ยุทธศาสตร์ที่ 2

ส่วส่นราชการ วส่นราชการ วนราชการ

ราชการระบบเปิด

เครือข่ายภาคประชาสังคม เพื่อการพัฒนาระบบราชการ กลุ่มงาน พัฒนาระบบ

เครือข่ายที่ปรึกษา ภาคประชาสังคม

ผู้ว่าราชการจังหวัด

ส่วส่นราชการ วส่นราชการ วนราชการ

ระดับชาติ

ยุทธศาสตร์ที่ 7

ปลัดกระทรวง / อธิบดี

ระดับ จังหวัด

กลุ่มงาน พัฒนาระบบ

Citizen’s Engagement


CEO

ประชาสังคม ผู้แทนชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภาคธุรกิจ องค์กรชุมชน ภาคพลเมือง เวทีคนเอาบ้านเอาเมือง นักวิชาการ

หน่วยราชการ มูลนิธิ / ชุมชน องค์การปกครอง ท้องถิ่น

เสียงพลเมือง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.