รัฐธรรมนูญและธรรมาภิบาล

Page 1

รัฐธรรมนูญกับธรรมาภิบาล รศ. ดร. อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ประเด็นในการบรรยาย     

 

รัฐธรรมนูญคืออะไร ประเทศจาเป็นต้องมีรัฐธรรมนูญหรือไม่ รัฐธรรมนูญที่ดตี ้องเป็นอย่างไร ธรรมาภิบาลเกีย่ วข้องกับหลักการใดบ้าง รัฐธรรมนูญมีสาระสาคัญอะไรบ้าง รัฐธรรมนูญมีอะไรเป็นหลักการสาคัญ รัฐธรรมนูญจาแนกได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


รัฐธรรมนูญคืออะไร  กฎหรือกติกาของรัฐสมัยใหม่ 

Aristotle: A constitution is a basic law determining the allocation of power within the state as well as the distribution of rights and rewards.


ประเทศจาเป็นต้องมีรัฐธรรมนูญหรือไม่ 

มนุษย์โดยธรรมชาติเป็นสัตว์สังคม อยู่รวมกันเป็นหมู่คณะ การมีกติกาของ สังคม เป็นกฎระเบียบย่อมเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ทาให้ทุกฝ่ายรู้ว่าอะไรสิ่งที่ทาได้ และอะไรทาไม่ได้ ซึ่งก็คือการ

กาหนดสิทธิและหน้าที่ของบุคคลแต่ละคน นอกจากนี้ การอยู่รวมกันเป็นสังคมยังต้องมี การจัดตั้งองค์กรที่ใช้อานาจ มหาชนให้เป็นที่ยอมรับกันในฐานะผู้ปกครอง ซึ่งได้มาโดยวิธีการที่ สังคมเห็นพ้องต้องกัน ยิ่งมีหลายองค์กรก็ยิ่งต้องกาหนดความสัมพันธ์ ระหว่างองค์กรนั้น รวมถึงความสัมพันธ์กับประชาชนที่อยู่ภายใต้อานาจ


รัฐธรรมนูญที่ดีต้องเป็นอย่างไร  ต้องสามารถสร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อย  ต้องสามารถสร้างประโยชน์สุขให้กับประชาชน

 ต้องสามารถสร้างความยุติธรรมให้เกิดแก่สังคม  ต้องสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าให้เกิดแก่สังคม


ธรรมาภิบาลเกี่ยวข้องกับหลักการใดบ้าง     

หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า


หลักธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE) กับรัฐธรรมนูญ หลักธรรมาภิบาล (แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ใน รธน. ม.78) มีองค์ประกอบที่สาคัญ 6 ประการ ดังนี้ 

1. หลักนิติธรรม คือ การตรากฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับและกติกา ต่าง ๆ ให้ทันสมัยและเป็นธรรม ตลอดจนเป็นที่ยอมรับของสังคมและ สมาชิก โดยมีการยินยอมพร้อมใจและถือปฏิบัติร่วมกันอย่างเสมอภาค และเป็นธรรม กล่าวโดยสรุป คือ สถาปนาการปกครองภายใต้กฎหมาย มิใช่กระทากันตามอาเภอใจหรืออานาจของบุคคล

(ดู รธน. ม.4 ม.6 ม.26 – 30)


หลักธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE) กับรัฐธรรมนูญ (ต่อ) 

2. หลักคุณธรรม คือ การยึดถือและเชื่อมั่นในความถูกต้องดีงาม โดยการ รณรงค์เพื่อสร้างค่านิยมที่ดีงามให้ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรหรือสมาชิกของ สังคมถือปฏิบัติ ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริตความเสียสละ ความอดทน ขยันหมั่นเพียร ความมีระเบียบวินัย เป็นต้น (ดู รธน. หมวด 13 จริยธรรมของผุ้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ม.279- 280)


หลักธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE) กับรัฐธรรมนูญ (ต่อ)

3. หลักความโปร่งใส คือ การทาให้สังคมไทยเป็นสังคมที่เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร อย่างตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้โดยการปรับปรุง ระบบและกลไกการทางานขององค์กรให้มีความโปร่งใส มีการเปิดเผยข้อมูล ข่ า วสารหรื อ เปิ ด ให้ ป ระชาชนสามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารได้ ส ะดวก ตลอดจนมี ร ะบบหรื อ กระบวนการตรวจสอบและประเมิ น ผลที่ มี ประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็นการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และช่วยให้การ ทางานของภาครัฐและภาคเอกชนปลอดจากการทุจริตคอร์รัปชั่น (ดู รธน. ม.56 – 57 และ 62)


หลักธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE) กับรัฐธรรมนูญ (ต่อ) 

4. หลักความมีส่วนร่วม คือ การทาให้สังคมไทยเป็นสังคมที่ประชาชนมีส่วน ร่วมรับรู้ และร่วมเสนอความเห็นในการตัดสินใจสาคัญ ๆ ของสังคม โดยเปิด โอกาสให้ ป ระชาชนมี ช่ อ งทางในการเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม ได้ แ ก่ การแจ้ ง ความเห็น การไต่สวน สาธารณะ การประชาพิจารณ์การแสดงประชามติ หรือ อื่น ๆ และขจัดการผูกขาดทั้งโดยภาครัฐหรือโดยภาคธุรกิจเอกชน ซึ่งจะช่วย ให้เกิดความสามัคคีและความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน (ดู รธน. ม.57 และ 163 – 165)


หลักธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE) กับรัฐธรรมนูญ (ต่อ) 

5. หลักความรับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งดารงตาแหน่งทางการเมืองข้าราชการ และผู้ ป ฏิ บั ติ ง านทุ ก ฝ่ า ย ต้ อ งตั้ ง ใจปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ตามหน้ า ที่ อ ย่ า งเต็ ม ก าลั ง ความสามารถ เพื่อผลสัมฤทธิ์ของงานในด้านต่างๆ รวมทั้งต้องมีความรับผิดชอบ ต่อความบกพร่องในหน้าที่การงานที่ตนรับผิดชอบอยู่ และพร้อมที่จะปรับปรุง แก้ไขได้ทันท่วงที (ดู รธน. บททั่วไป ม.59 – 60 และ 62 การตรวจสอบทางการเมือง ม.156-162 หมวด 12 ว่าด้วยการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ม.259 -278)


หลักธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE) กับรัฐธรรมนูญ (ต่อ) 

6. หลักความคุ้มค่า ในการบริหารจัด การจาเป็ นจะต้องยึดหลักความ ประหยัดและความคุ้มค่า และต้องคิดถึงประโยชน์ที่ผู้รับบริการหรือ ประชาชนโดยส่วนรวมจะพึงได้รับอย่างเต็มที่เสมอ (ดูตัวอย่าง รธน. มาตรา 78 (1) มาตรา 83 หรือในหลักการกระจายอานาจมาตรา 283 ว.2)


รัฐธรรมนูญมีสาระสาคัญอะไรบ้าง 

John Kingdom: Constitutions usually do two things: define the powers of those holding office and guarantee the rights of the ordinary members. Hood Phillips: A constitution as the system of laws, customs and conventions which define the composition and powers of organs of the state, and regulate the relations of the various state organs to one another and to the private citizen.


รัฐธรรมนูญมีอะไรเป็นหลักการสาคัญ 

การจั ด สรรอ านาจ ผลประโยชน์ และหน้ า ที่ ภ ายในรั ฐ จะยึ ด ถื อ อะไรเป็ น หลักการ จะยึดถือความเสมอเท่าเทียมกันเป็นหลัก หรือจะยึดถือความมั่งคั่ง เป็ น หลั ก หรื อ จะยึ ด ถือ ความแข็ ง แรงของร่า งกายเป็ น หลั ก ในการจั ด สรร อานาจในสังคม อริสโตเติล เสนอว่าต้องยึดถือหลักว่าใครสามารถทาประโยชน์ให้แก่สังคม มากที่สุดควรเป็นผู้ได้รับการจัดสรรอานาจและผลประโยชน์มากกว่าคนที่ทา ประโยชน์ให้แก่สังคมน้อยกว่า


รัฐธรรมนูญจาแนกได้เป็นกี่ประเภท 

ตามทัศนะของอริสโตเติลแยกได้เป็น 6 ประเภท โดยถือจานวนผู้เป็นเจ้าของ อานาจอธิปไตยและเป้าหมายของการปกครองว่าเพื่อส่วนรวมหรือเพื่อ ส่วนตัว ดังนี้ ดี 3 ประเภท ได้แก่ 1) ราชาธิปไตย 2) อภิชนาธิปไตย 3) ประชาธิปไตยสายกลาง เลว 3 ประเภท ได้แก่ 1) ทุชนาธิปไตย 2) คณาธิปไตย 3) ประชาธิปไตยสุดขั้ว


Aristotle’s Politics 

All classes of men error in making judgment on this matter. Democrats error in assuming that because men are born equally free, each man is entitled to exercies an amount of political power similar to his neighbor’s. The oligarchs mistake superiority of wealth for virtue in all other respects. But justice, Aristotle contends, does not consist in an enforced equality in the holding of public office, nor does it meant that office shall go to those who possess wealth. Rather, “Claims to political rights must be based on the ground of contribution to the elements which constitute the being of the state.”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.