local_forum_53

Page 1

ศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ 9 กันยายน 2553 เวลา 09.15 น. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา


ย้อนมองพัฒนาการของการปกครองท้องถิ่น ช่วงที่ 1 : พ.ศ. 2547 – 2500 ก้าวย่างของประชาธิปไตยระดับท้องถิ่นก้าวไปพร้อมกับการพัฒนา ประชาธิปไตยระดับชาติ โดยเน้นให้การศึกษาแก่ประชาชนเรื่องประชาธิปไตยผ่าน การปกครองท้องถิ่น และให้ “ข้าราชการ” ซึ่งถือว่าเป็นคนที่มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปกครองดีกว่าประชาชนทาหน้าที่เป็น

“พี่เลี้ยง” ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดซึ่งให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทาหน้าที่เป็น “นายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัด” นายอาเภอทาหน้าที่เป็น “ประธานสุขาภิบาล”


ช่วงที่ 2 : พ.ศ. 2501 – 2532 ก้าวย่างของการปกครองท้องถิน่ อยู่ในกระแสของสงครามเย็น “เจ็บปวด เพราะเป็นการก้าวถอยหลัง” เพราะเหตุแห่งการกลัวภัย จากคอมมิวนิสต์จึงทาให้ตอ้ งมีการยกเลิกการเลือกตั้งท้องถิ่นทั่วประเทศ ช่วงที่ 3 : พ.ศ.2532 – 2540

มีการรวมศูนย์อานาจการตัดสินใจไว้ที่ราชการบริหารส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ไม่เปิดโอกาสให้มีการกระจายอานาจ ประชาชน ชุมชนขาดการมีสว่ นร่วมที่ แท้จริงตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


60 ปีของการก้าวย่างสู่ระบอบประชาธิปไตย ..เกิดอะไรขึ้น  ระบบการรวมศูนย์อานาจของประเทศ ขาดการกระจายอานาจไปสู่      

ประชาชน และชุมชน รัฐบาลเป็นศูนย์รวมของการแก้ปญ ั หาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทุกพื้นที่ เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาที่ดิน การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ดาเนินการอย่างล่าช้า ไม่ตรงจุด เกิดการ “สะสมของปัญหา” จนก่อให้เกิดการชุมนุม การเรียกร้อง ความ รุนแรง ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ความเหลื่อมล้าและความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ

วิกฤตเหล่านี้..ต้องเร่งแก้ไข!!


รธน. 2540 กับความเปลี่ยนแปลงในการปกครองท้องถิ่น ด้วยความเชื่อมั่นของ สสร. 40 “การมีส่วนร่วมที่มาจากทุกฝ่ายในการบริหาร ประเทศ จะได้มาซึ่งการบริหารทรัพยากรอย่างเป็นธรรมในสังคม ทาให้เกิดความ ยั่งยืนในการบริหารประเทศและเชื่อว่าองค์กรปกครองท้องถิ่นเป็นหัวใจสาคัญ ของการพัฒนาบ้านเมือง นาสู่สภาวะที่เป็นประโยชน์สูงสุด” ดังนั้น ต้องกระจาย อานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และประชาชน  รัฐต้องให้ท้องถิ่นตัดสินได้เอง และรัฐต้องจัดสรรภาษีอากรให้แก่องค์กรปกครอง

รธน. 2540

   

ส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารและสมาชิกต้องมาจากากรเลือกตั้งของประชาชน รัฐต้องให้อิสระในการกาหนดนโยบาย การเงิน การคลังและการบริหารแก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม จารีตประเพณี และ การจัดการศึกษาอบรมและการฝึกอาชีพ เพิ่มช่องทางในการมีส่วนร่วมของประชาชน เช่น การเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น และ การถอดถอนผู้บริหารและสมาชิกสภา


รธน. 2550 กับการสานต่อเจตนารมณ์ของ รธน. 2540 รัฐธรรมนูญ 2550 ได้สานต่อเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 2540 เช่น การกาหนดให้มีการจัดทาประมวลกฎหมาย ท้องถิ่น กาหนดให้มีการตรากฎหมายรายได้ท้องถิ่น การ กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถร่วมกันจัดการ บริการสาธารณะในรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งการกาหนดให้ บุคลากรท้องถิ่นปรับเป็น “ข้าราชการท้องถิ่น” เหมือนกันใน ทุกรูปแบบ


การกระจายอานาจ ??  แผนการกระจายอานาจ กาหนดว่าจะต้องมีการถ่ายโอนภารกิจจานวน 324 ภารกิจ

แต่ในปี 2551 ยังสามารถถ่ายโอนได้เพียงร้อยละ 73.8 โดยเป็นปัญหาที่การกระจาย ภารกิจด้านสาธารณสุข การศึกษา และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  แม้ว่าสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จะเพิ่มขึ้นหาเทียบกับเมื่อ 10 ปีที่ ผ่านมา แต่ถอื ว่า “ยังไม่สดใส” หากเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว  การแก้ไขกฎหมาย (พ.ร.บ.กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551) ที่กาหนดว่าตั้งแต่ปีงบประมาณพ.ศ. 2550 องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จะมีรายได้คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 และเงินอุดหนุนที่จัดสรรให้ต้องไม่น้อยกว่าปีงบประมาณพ.ศ. 2549 เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า “ในท้ายที่สุดรัฐก็ต้องการให้ส่วนกลางเป็นผูจ้ ัดทาบริการ สาธารณะเสียเอง”

เราจะทาอย่างไรให้เกิดประโยชน์กับประชาชนและประเทศชาติ??


โลกาภิวตั น์ ความท้าทายและโอกาส พ.ศ. 2558 “อาเซียน” จะพัฒนาไปสู่การเป็น “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ทา ให้เกิดการค้าเสรี (ทั้งด้านสินค้าและบริการ การเคลื่อนย้ายการลงทุน การเคลือ่ นย้าย แรงงานฝีมอื และการตกลงเป็นตลาดเดียวกัน ดังนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมี... รวบรวมองค์ความรู้ที่ครบถ้วน และถูกต้อง เทคโนโลยี ทักษะ และการบริหารจัดการที่ทันสมัย ยุทธศาสตร์ มีนโยบาย และทางเลือกที่ดี “เครือข่าย” ในการทางานท้องถิ่น ทั้งนี้ เสนอให้มีการจัดตั้งสถาบันส่งเสริมการกระจายอานาจและพัฒนาท้องถิ่น ไทย เพื่อทาหน้าที่หลักในการศึกษาวิจัยด้านการปกครองท้องถิ่น ด้านการจัดทานโยบาย สาธารณะด้านการกระจายอานาจและการบริหารท้องถิ่น


องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการปรับระบบความสัมพันธ์ ภายใต้บริบทสังคมโลก ภูมิภาค และ สังคมไทย อปท. กับชุมชนท้องถิ่นและประชาชน ให้ความสาคัญกับการมีสว่ นร่วมของ ประชาชน ชุมชน

อปท. กับ ภูมิภาค และ รัฐบาล

อปท. กับ ภูมิภาค และ รัฐบาล อปท. ต้องก้าวพ้นจากการควบคุม กากับดูแลไปสู่ “ความร่วมมือกับรัฐบาล ส่วนกลาง และภูมิภาค”

อปท. กับ อปท. ด้วยกันเอง อปท.กับชุมชน ท้องถิ่นกับ ประชาชน

อปท.

อปท. กับ อปท. ด้วยกันเอง อปท. ควรจะรวมตัวกันในรูป ของ “สมาคม” หรือ “ภาค” หรือ “สหการ” หรือ “องค์การมหาชน”


ศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ 9 กันยายน 2553 เวลา 09.15 น. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.