หลักนิติธรรม - นายจรัญ ภักดีธนากุล ต

Page 1

หลักนิติธรรม โดย

นายจรัญ ภักดีธนากุล ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ


I. หลักนิติธรรมในความหมายดั้งเดิม “Rule by Law, not by man” 1. is first found in “Stateman and Law” ของ Plato และ “Politics” ของ Aristotle

2. The principle is intended to be a safeguard against arbitrary government or governance whether by a totalitarian leader or by mob rule. Thus, the rule of law is hostile both to dictatorship and to anarchy. จาก Lex, Rex(1644) ของ Samuel Rutherford และ The Spirit of the Laws (1748) ของ Montesquieu


II. หลักนิติธรรมในความหมายร่วมสมัย Not only Ruled by Law, But there must be Rules of Law

1. หลัก 3 ประการ ของ Dicey ในตารากฎหมายรัฐธรรมนูญของ U.K [Law of constitution (10th ed.,1959)]

(1) Supremacy of Laws not Power (2) Equality before the Law of the Land administered by ordinary Courts (3) Right and Liberty of individauls be guaranteed by Constitution and enforced by the Courts.

2. Lord Bingham’s 8 Sub - Rules (2006)

(1) Laws must be accessible, clear and predictable. (2) Law is better than Discretion. (3) Applied equally to all. (4) Adequate Protection of Human Rights (5) Justice Administration without unjustifiable Expense and Delay (6) Power and Discretion shall be exercised legally, in good faith, without discrimination and proportionate. (7) Fair Trial or Due Process (8) International Law prevails over Domestic Laws.


หลักนิตธิ รรม (Rule of Law) 1. หมายถึง หลักการที่เป็นกฎกติกาของกฎหมายที่ผู้บัญญัติกฎหมายจะต้อง ยึดถือและปฏิบัติตาม มิเช่นนั้น กฎหมายนั้นจะไม่มีสภาพเป็นกฎหมาย แม้กฎหมายจะถูกตราขึ้นโดยชอบด้วยหลักนิติธรรมแล้ว การบังคับใช้และการตีความ กฎหมายนั้นก็จะต้องกระทาภายในกรอบของหลักนิติธรรมด้วย จึงจะได้ชื่อว่าเป็นการใช้ กฎหมายโดยชอบ ใช้อานาจโดยธรรม 2. หลักนิติธรรม มิใช่หลักยุติธรรมตามกฎมาย ซึ่งยึดถือบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เป็นสรณะใช้กฎหมายเป็นยุติ โดยมิได้คานึงถึงกฎ กติกา ของกฎหมายนั้นเลย คาว่า Rule of Law มิใช่เพียงแค่ Ruled by Law ซึ่งแปลว่า การปกครองโดยใช้ กฎหมายเท่านั้น แต่หมายถึงกฎเกณฑ์กติกาของกฎหมายอีกชั้นหนึ่ง 3. หลักนิติธรรมมีเนื้อหาสาระอย่างไร? มิได้มีบัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร มี เนื้อหาใกล้เคียงกับหลักกฎหมายธรรมชาติ ที่สังคมยึดถือร่วมกันอยู่ เช่น หลักยุติธรรม [Principle of Natural Justice] หลักความชอบธรรม [Righteousness] และเพื่อประโยชน์ สุขแห่งมหาชนชาวสยาม [Public Interests] เป็นต้น


หลักนิตริ ฐั (Legal State) หลักนิติรัฐมิใช่เพียงแค่หลักกฎหมายเท่านั้น แต่เป็นหลักของกฎหมาย หลักของ กระบวนการยุติธรรม และหลักของการใช้อานาจรัฐด้วย หลักนิติรัฐเป็นหลักสาคัญประการหนึ่งของการเมืองการปกครองในระบอบเสรี ประชาธิปไตย เพื่อความสาเร็จและป้องกันความเสื่อมทรามลงของระบอบประชาธิปไตย แบบเสรีนิยม หลักนิติรัฐจึงมีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับหลักการปกครองข้ออื่นๆ ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นหลักการแบ่งแยกอานาจ(Separation of Power) หลักนิติธรรม(Rules of Law) หลักความยุติธรรมธรรมชาติ(Natural Justice) หลักศุภนิติกระบวน(Due Process of Law) หรือความชอบธรรม(Righteousness) อื่นๆ หลักนิติรัฐมิได้ให้ความสาคัญแก่นักกฎหมาย แต่ต้องการนักยุติธรรมที่ไม่สยบ ยอมต่อผู้ใช้อานาจโดยปราศจากความชอบธรรม /1. การปกครอง...


หลักนิตริ ฐั (ต่อ) 1. การปกครองประเทศทีไ่ ม่ถือบุคคลเป็นใหญ่ แต่ถือหลักเกณฑ์และ กติกาสังคมเป็นสาคัญ ผู้ปกครองประเทศมิใช่เจ้าของประเทศ เพียงแต่เป็นผู้ที่ประชาชน มอบหมายไว้วางใจให้เข้ามาใช้อานาจรัฐแทนประชาชน และเพื่อประโยชน์สุข ของประชาชนเท่านัน้ ผู้ใช้อานาจรัฐมิใช่เจ้าของอานาจรัฐ จะใช้อานาจตามอาเภอใจ หรือตาม อารมณ์ของตนมิได้ ต้องใช้ตามหลักเกณฑ์กติกาที่สังคมวางไว้ ด้วยความ สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลอย่างไม่เป็นธรรม และไม่รุนแรงหรือย่อหย่อน จนเกินไป /2. แม้หลัก...


หลักนิตริ ฐั (ต่อ) 2. แม้หลักนิติรัฐจะถือหลักเกณฑ์กติกาว่าสาคัญกว่าความรู้สกึ ของคน แต่ ก็มิได้ถือบทกฎหมายเป็นสรณะ

บทบัญญัติกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่ผู้ปกครองประเทศบัญญัติขึ้นนั้น ถ้าปราศจากความชอบธรรมรองรับ สภาพบังคับก็แทบจะไม่มี กฎหมายดังกล่าวนี้ ย่อมมีสภาพเพียงกระดาษเปื้อนหมึก ผู้บัญญัติย่อม เสื่อม ผู้บังคับใช้ก็พลอยเสื่อมไปด้วย ยิ่งบังคับใช้มากเท่าใดยิ่งเสื่อมมาก เท่านั้น ถ้าไม่เชื่อ ลองบัญญัติกฎหมายบังคับให้ประชาชนใช้มือเดินแทนเท้าดูก็ได้ /3. หลักนิติรัฐ...


หลักนิตริ ฐั (ต่อ) 3. หลักนิติรัฐปฏิเสธผู้ใช้อานาจเป็นธรรม (Might is Right) แต่เทิดทูนผู้ที่ ใช้ธรรมเป็นอานาจ (Right is Might) การบัญญัติกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมายและการตีความกฎหมายจะต้อง กระทาตามกรอบและครรลองแห่งหลักนิติธรรม [Rule of Law] หลักยุติธรรม [Principle of Natural Justice] และหลักศุภนิติกระบวน [Due Process of Law] อานาจทุกชนิดมีต้นทุนกากับอยู่ ใช้มากย่อมหมดมาก ครั้นไม่ใช้ในคราวที่ ควรต้องใช้ ผู้ทรงอานาจก็จะกลายเป็นผู้หย่อนสมรรถภาพ หรือขาดความ รับผิดชอบ ทาให้เสื่อมจากอานาจได้ไม่น้อยไปกว่าพวกบ้าอานาจ ถ้าการปกครองที่ดีที่สุด คือการปกครองที่น้อยที่สดุ เป็นคากล่าวที่ถกู ต้อง การใช้อานาจที่ดีที่สุด ก็ควรจะเป็นการใช้อานาจที่ได้สัดส่วนพอเหมาะพอควรแก่ กรณีที่สดุ /4. หลักนิติรัฐ...


หลักนิตริ ฐั (ต่อ) 4. หลักนิติรัฐถือว่ากฎหมายเป็นเครื่องมือช่วยให้เกิดความถูกต้อง เป็นธรรม และสันติสุขในสังคม มิใช่เครื่องมือสาหรับกดขี่ ข่มเหง เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นหรือ ประชาชน แสวงหาผลประโยชน์ทับซ้อนวาระซ่อนเร้น ภายใต้ภาพลวงตาว่าเป็น กฎหมายเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารจัดการบ้านเมือง ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการบ้านเมืองเป็นเป้าประสงค์ประการหนึ่งของ หลักนิติรัฐ แต่มิใช่เป้าประสงค์ประการเดียว เหนือสิ่งอืน่ ใด ยังมีสิ่งดีๆ อีกหลาย ประการที่สาคัญยิ่งกว่าประสิทธิภาพ เช่น ความดารงคงอยู่อย่างสงบสุขแห่ง ราชอาณาจักร ผลประโยชน์ของชาติและพัฒนาการอย่างยั่งยืนประชาชน หรือ ประโยชน์และความสุขของมหาชนชาวสยาม เป็นต้น /5. หลักนิติรัฐ...


หลักนิตริ ฐั (ต่อ) 5. หลักนิติรัฐเรียกร้องให้ต้องมีการแบ่งแยกอานาจ และมีการคาน อานาจตรวจสอบอานาจอย่างสมดุล เพราะอานาจมักพาให้ใช้ผิด ยิ่งมี อานาจมากเพียงใด ก็เผลอใช้ตามอาเภอใจไปได้เพียงนั้น ดังคากล่าวของ Lord Acton ที่ว่า “Power tends to corrupt; Absolute power corrupts absolutely.”


กฎหมายต้อง ส่งเสริม สนับสนุน

กฎหมายต้อง ให้เสรี

กฎหมายต้องการาบ ปราบปราม ขัดขวาง ควบคุม

 กิจกรรมทีด่ ี มีประโยชน์

 กิจกรรมทัว่ ไป ไม่รา้ ย - ไม่ดี

 กิจกรรมทีไ่ ม่ดี มีโทษมีภยั


ความสงบสุขของสังคม มัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน Peacefully Sustainable Existence and Development ตีความในทาง ขยายความ  บังคับใช้อย่างเข้มแข็ง

ความถูกต้องเป็นธรรม (Righteousness)  เจตนารมณ์ของกฎหมาย (Spirit of Law)

ตีความในทาง จากัดความ  บังคับใช้อย่างระมัดระวังและผ่อนปรน

 บัญญัติให้มีมากขึ้น

ตรรกวิทยาและ การให้เหตุผล (Rationale and Logics)

 บัญญัติให้มีเท่าที่จ่าเป็นจริงๆ เท่านั้น

 ดี – มีประโยชน์ต่อสังคม และประชาชนมาก + ผลกระทบน้อย ต้นทุนต่​่า

บริบทล้อมรอบบทบัญญัติ (Context)

 เป็นโทษต่อสังคม และประชาชนมาก + ประโยชน์น้อย ต้นทุนสูง

 

ลายลักษณ์อักษร บทบัญญัติ (Text) 

กฎหมาย


Sustainable and Peaceful Existence and Development

Honesty + Benevolence Knowledge + Wisdom Courage + Dedication

Moral Authority  Legal Authority Morality 

Law

 Legitimacy

 Justification


I. อุดมการณ์ : Ideology 1. ประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม : Public Interest 2. มั่นคง - มั่งคั่ง - ยั่งยืน : Security - Prosperity - Sustainability 3. เพื่อความสถิตสถาพร ความสงบสันติสุข และความเจริญรุ่งเรืองอย่างยั่งยืน : Sustainable Existence, Peace and Prosperity

II. หลักการ : Rationale 1. เราจักครองแผ่นดินโดยธรรม : Rule of Law - Legal State - Due Process 2. สติปัญญา - ความรู้ความสามารถ - ความเสียสละ : Wisdom - Knowledge - Dedication 3. ไม่โง่ - ไม่โกง - ไม่กลัว - กรุณา : Wisdom - Courage - Honesty - Benevolence /III.วิธีการ...


III. วิธีการ : Methodology 1. ให้คนดีปกครองบ้านเมือง : Put the good man on the public post 2. เข้าใจ - เข้าถึง - พัฒนา : Understand - Implement - Development 3. Legality - Good Faith - Non-discrimination - Proportionality

IV. ปฏิบัติการ : Delivery 1. โปร่งใส - รับผิดชอบ - ตรวจสอบได้ : Transparency - Responsibility - Accountability 2. ใช้อานาจน้อยที่สุด - ผู้เกีย่ วข้องมีส่วนร่วมมากที่สุด - สัมฤทธิผลสูงสุด The least

The most

The highest

: dependence on power - participation of all concerned - success and satisfaction 3. ทาด้วยความเคารพ - อวลอบด้วยเมตตา - บริการประชาชน : Respect - Compassion - Service to the People


ชนสันธชาดก ว่าด้วย เหตุทที่ าจิตให้เดือดร้อน “...วิสัยพระราชาต้องไม่ประมาทในราชกิจทั้งหลาย ดารงพระองค์เสมอด้วยมารดาบิดาของชาวแว่นแคว้น ละอคติเสีย ครองราชสมบัติโดยทศพิธราชธรรมจึงจะควร เพราะเมื่อพระราชาประพฤติธรรม แม้บริษัทของพระองค์ ก็ประพฤติธรรม...” จากพระสุตันตปิฎก เล่มที่ 19 ขุททกนิกาย ชาดก ภาค 1 ทวาทสนิบาตชาดก ชนสันธชาดก


ประทานแก่พระเจ้าปัสเสนทิโกศล

1. ต้องไม่ประมาทในราชกิจ ติดอยู่ในสุขสาราญงานรื่นเริง 2. ปกครองไพร่ฟ้าประชาชนเยี่ยงบิดามารดาปกครองบุตร 3. ใช้อานาจโดยปราศจาก “อคติ” กอปรด้วยวิจารณญาณอันแยบยล 4. ดารงตนอยู่ในทศพิธราชธรรม เป็นแบบนาชีวิตชาวประชา

เพราะเมื่อพระราชาอยู่ในธรรม บรรดาข้าราชบริพารของ พระองค์ก็จักประพฤติธรรม ทวยราษฎร์ทุกส่าจักอยู่เย็นเป็นสุข


ปัญหาใหญ่ อะไรหรือ คือมงคล ?

อย่าสับสน ปนเป เฉไฉ เอาวัตถุ อิฏฐารมณ์ หรือสิ่งใด มายึดไว้ เป็นมงคล จนปัญญา กุศลกรรม ล้าค่า คือมงคล อย่ากังวล ฉงนจิต คิดกังขา

หากทาดี มีคุณธรรม นาชัยมา หากทาชั่ว อย่าสงกา ต้องปราชัย


สวัสดี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.