โดย ศาสตราจารย์ ดร.เมธี ครองแก้ว กรรมการ ป.ป.ช.
เงื่อนไขของธรรมาภิบาลของ UNDP The United Nations Development Programme หรือ UNDP เป็นองค์การระหว่างประเทศองค์กรแรกที่เผยแพร่ แนวคิดเกีย่ วกับกระบวนการสร้างธรรมาภิบาล (good governance) ในการพัฒนาประเทศ โดยอธิบายว่าการสร้าง ธรรมาภิบาลนี้คือ การดาเนินการทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และการปกครอง เพื่อให้การบริหารจัดการบ้านเมืองบรรลุถึง จุดประสงค์ของการพัฒนาที่แท้จริงและยั่งยืน
ธรรมาภิบาลหรือการปกครองที่ดีในภาคสาธารณะนั้น ประกอบด้วยลักษณะสาคัญ 9 ประการดังนี้ 1. การมีสว่ นร่วม (Participation)
2. การใช้หลักนิติธรรม (Rule of Law) 3. การมีความโปร่งใส (Transparency) 4. การสนองตอบต่อความต้องการ (Responsiveness)
5. การหาความตกลงร่วมกัน (Consensus Orientation) 6. ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียม (Equity)
7. ความคุ้มค่า (Effectiveness) 8. การมีความรับผิดชอบ (Accountability) 9. การมีวสิ ัยทัศน์ที่กว้างไกล (Long – Term Vision)
หลักเกณฑ์การพิจารณา หลักความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐศาสตร์ (ก) ความแตกต่างระหว่างความต้องการของปัจเจกบุคคล กับความต้องการของรัฐ - ความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลในระบบเศรษฐกิจ เอกชน - การเข้ามามีบทบาทของรัฐ
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลและประชาชนในทาง เศรษฐศาสตร์ ค่าตอบแทนปัจจัย
ปัจจัยการผลิต สินค้า ค่าสินค้า
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาล และประชาชน ในทางเศรษฐศาสตร์
ผู้ผลิต
รัฐบาล
ผู้บริโภค
เป้าหมายของพฤติกรรมของผู้บริโภค / ผู้ผลิต / รัฐ (ก) ผู้บริโภค : ผลประโยชน์บุคคลสูงสุด (ข) ผู้ผลิต : กาไรสูงสุด / ยอดขายสูงสุด / อื่น ๆ
(ค) รัฐ : การเจริญเติบโตสูงสุด / การกระจายรายได้ เหมาะสมที่สุด / ระบบ ราคา และการจ้างงานมี เสถียรภาพสูงสุด
การเปรียบเทียบอรรถประโยชน์ระหว่างบุคคล และหลักการการชดเชย (compensation principles)
(ก) Pareto Principle การเปลี่ยนแปลงที่ดีคือ การเปลี่ยนแปลงที่มีผู้ได้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 คน โดยไม่มีผู้ใดเสียประโยชน์ (ข) Kaldor – Hicks Principle การเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได้คือ การเปลี่ยนแปลงที่ผู้ได้ ประโยชน์สามารถชดเชยผู้เสียประโยชน์จนพอใจแล้วยังมี ประโยชน์เหลืออยู่
(ค) Scitovsky Principle การเปลีย่ นแปลงที่ดีขึ้นจะต้องไม่กลับไปกลับมา เช่น ถ้านาย ก. ชดเชยให้นาย ข. จนพอใจแล้วจึงมีการเปลี่ยนแปลง มิได้ หมายความว่า นาย ข. จะพอใจแล้วจึงมีการเปลี่ยนแปลง มิได้ หมายความว่า นาย ข. สามารถให้สินบนนาย ก. เพื่อไม่ เปลี่ยนแปลงได้ (ง) Bergson principle ให้ทุกคนในสังคมสามารถระบุความพึงพอใจได้ทาให้แบบแผน สวัสดิการของบุคคลร่วมเป็นแบบสวัสดิการของสังคม (Social welfare function) ได้
ความคุ้มค่าจากการวิเคราะห์ต้นทุน / ผลประโยชน์ (Cost – Benefit Analysis) (ก) ต้นทุนคืออะไรบ้าง? (ข) ผลประโยชน์คืออะไรบ้าง?
(ค) การหาสัดส่วน ผลประโยชน์ / ต้นทุน B C
> = 1 <
(ง) การหาอัตราผลตอบแทนภายใน (internal rate of return) ซึ่งทาให้ค่าปัจจุบันของต้นทุนและผลประโยชน์ เท่ากัน หาก IRR นี้สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ก็ถือว่า การลงทุนจะมีกาไร
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการทาความคุ้มค่าของ โครงการ - ประเด็นทางด้านสังคม / สถาบัน
- ประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อม - ประเด็นทางด้านการเมือง - ประเด็นอื่น ๆ