2554
กระแสสังคมประชาธิปไตยยุคใหม่เรียกร้องสังคม มีธรรมาภิบาล สิ่งแวดล้อมภายนอกและภายใน ภาคการเมือง กระแสโลกาภิวัตน์
ภาคธุรกิจเอกชน
เงิน อานาจ อิทธิพล สื่อ
กระแสโลกาภิวัตน์
ภาคราชการ
หลักคุณธรรม
หลักความโปร่งใส
หลักนิติธรรม
หลักความรับผิดชอบ
ธรรมาภิบาล
หลักความคุ้มค่า
หลักความมีส่วนร่วม หลักความมีอิสระ
พื้นฐานทาง จิตวิญญาณ
อุดมการณ์ ชีวิต
กระบวนทัศน์ ใหม่
ปลูกสร้าง สานึกด้วย การเรียนรู้
รักษาคุณค่า ด้วยการ ปฏิบัติ พลังขององค์กรที่จะ บรรลุผลสัมฤทธิ์ของ พันธะกิจ
กลไก ธรรมาภิบาล
สร้างเครือข่าย สร้างความ ผูกพัน
-
ละมิจฉาทิฐิ รับฟังความเห็นของผู้อนื่ เคารพฝ่ายข้างน้อย ฝ่ายข้างน้อยเคารพฝ่ายข้างมาก รู้แล้วต้องพูด พูดแล้วต้องทา รูจ้ ักให้อภัย มีความรักเอื้ออาทรผู้อื่น มองตัวเอง อย่าโทษผู้อื่น ร่วมมือ ร่วมใจ ทางานร่วมกัน
วิธีการบริหารภาครัฐแนวใหม่เน้น ลดการควบคุมและกระจายอานาจควบคุมจากระดับบนและส่วนกลาง ให้อานาจการจัดการแก่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติในการรับผิดชอบต่อผลงาน โดยมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน เพิ่มประสิทธิภาพ ความคุ้มค้า ความรวดเร็ว ลดขั้นตอน และกฎ ระเบียบ ที่ไม่จาเป็น การบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีการวัดผลงาน และการให้รางวัลองค์กร และบุคคล ให้ความสาคัญในการจัดสรรทรัพยากรที่เน้นเป้าหมาย ผลงาน ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่จาเป็น เพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร และ การให้บริการ
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 78 (4) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และ จริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและ วิธีการทางาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้ หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติ ราชการ มาตรา 78 (5) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอื่น เพื่อให้การจัดทา และการ ให้บริการสาธารณะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน มาตรา 78 (6) ดาเนินการให้หน่วยงานทางกฎหมายที่มีหน้าที่ให้ความเห็นเกี่ยวกับ การดาเนินงานของรัฐตามกฎหมายและตรวจสอบการตรากฎหมาย ของรัฐ ดาเนินการอย่างเป็นอิสระ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไป ตามหลักนิติ ธรรม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 3 วรรคสอง การปฏิบัติหน้าที่ ของ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตาม รัฐธรรมนูญ และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไป ตามหลักนิติธรรม
หลักการที่เป็นรากฐานสาคัญในสังคมประชาธิปไตย
1. หลักนิติรฐั /หลักนิตธิ รรม 2. หลักความเป็นกฎหมาย สูงสุดของรัฐธรรมนูญ
3. หลักการใช้อานาจรัฐและ หลักการ ตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
1. หลักการแบ่งแยกการใช้อานาจ 2. หลักการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล 3. หลักการควบคุมตรวจสอบความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย 4. หลักการควบคุมตรวจสอบความชอบ ด้วยกฎหมายของการกระทา 5. หลักความอิสระของผู้พิพากษา 6. หลักความรับผิดแห่งรัฐ
หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ - รัฐธรรมนูญได้รับการยอมรับว่าเป็นกฎหมายที่อยู่ในลาดับสูงสุดใน ระบบกฎหมายของรัฐและในกรณีที่มีความขัดแย้งระหว่างกฎหมาย กับรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญย่อมอยู่ในฐานะที่มาก่อน ซึ่งมีผลทาให้ กฎหมายที่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญไม่อาจใช้บังคับได้ ทั้งนี้ โดยพิจารณา (1) ในแง่การจัดทารัฐธรรมนูญ (2) ในแง่เนื้อหาสาระ (3) ในแง่สิทธิเสรีภาพของประชาชน (4) ในแง่ปรัชญา เป็นจุดเริ่มต้นของการออกกฎหมายอื่น
การคุ้มครองหลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญอยู่ภายใต้ หลัก 6 ประการ
อานาจรัฐ/ อานาจมหาชน
อานาจอธิปไตย
เป็นอานาจสูงสุดของรัฐ ทาให้รัฐมีสภาพเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย ระหว่างประเทศ องค์ ก รของรั ฐ เป็ น ตั ว แทนรั ฐ ในการใช้ อานาจรัฐไปตามหน้าที่ต่าง ๆ ตามหลักการ แบ่ ง แยกการใช้อ านาจเพื่อ มิใ ห้ มี การรวม ศูนย์อานาจและใช้อานาจเกินขอบเขต
การใช้อานาจรัฐ อยู่ภายใต้หลัก 6 ประการ
การตรวจสอบ การใช้อานาจรัฐ
การตรวจสอบภายในองค์กรของรัฐ
การตรวจสอบโดยภาคประชาชน กา รตรวจสอบโดยอง ค์ ก รตา ม รัฐธรรมนูญ การตรวจสอบโดยองค์กรศาล การใช้อานาจรัฐ อยู่ภายใต้หลัก 6 ประการ
หลักนิติธรรม
(Rule of Law) มาจากหลักกฎหมายในระบบ Common Law มีจุดเริ่มต้นที่อังกฤษและมี อิทธิพลเผยแพร่ไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาและ ประเทศทั้งหลายที่ใช้ระบบ Common Law
หลักนิติรัฐ
(Legal State) มาจากหลักกฎหมายในระบบ Civil Law มีจุดเริ่มต้นที่เยอรมันนี และมีอิทธิพล เผยแพร่ไปทั่วยุโรป
ความเหมือนกัน
เป็นหลักการที่กาเนิดและพัฒนาเพื่อมุ่งจากัดอานาจของ ผู้ปกครอง คุ้มครองประชาชน หลักการมีกฎหมายที่ดี ต้องชัดเจน ยืนอยู่บนหลักเหตุผล หลักเสมอภาค หลักห้ามมีผลย้อนหลังเอาโทษกับบุคคล หลักไม่มีกฎหมาย ย่อมไม่มีอานาจ ไม่มีความผิด
หลักการใช้อานาจตามกฎหมายต้องไม่เกินกว่าที่กฎหมาย บัญญัติให้อานาจไว้ การคุ้มครองหลักนิติรัฐ / หลักนิติธรรมอยู่ภายใต้ หลัก 6 ประการ
ความต่างกัน บนความเหมือนกัน
นิติรัฐ มีการแบ่งแยกระบบศาลออกเป็นหลายศาล และระบบศาลคู่ เป็นระบบประมวลกฎหมาย นิติธรรม มีระบบศาลเดียว คือศาลยุติธรรม มีกฎหมาย 2 กลุ่ม คือ ศาลเป็นผู้วางหลัก กฎหมาย และสร้างหลักกฎหมาย (Judge made law) และกฎหมาย ที่รัฐสภาตราขึ้น
หลักนิติรัฐ หลักนิติธรรม ต่างมุ่งสู่ความยุติธรรม เพื่อความผาสุกของประชาชน
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.
การเคารพในสิทธิมนุษยชน การมีส่วนร่วมของประชาชนให้มากที่สุด มีสถาบันทางการเมือง และองค์กรตามรัฐธรรมนูญที่โปร่งใส มีการเสริมสร้างความเป็นธรรมแก่สังคม สร้างความเข้มแข็งในการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม ที่อยู่อาศัย การ บริการด้านสุขภาพ และสาธารณสุข การสร้างความเข้มแข็งกระบวนการประชาธิปไตย การให้เงินอุดหนุนอย่างโปร่งใสแก่พรรคการเมือง การส่งเสริมการกระจายอานาจ การต่อสู้กับการทุจริตคอร์รัปชั่นในภาครัฐ ภาคเอกชน และกระบวนการยุติธรรม ระบบการชดใช้ค่าเสียหายทางแพ่ง ทางอาญา และทางปกครองทีเ่ ป็นธรรม การห้ามนิรโทษกรรมในคดีคอร์รัปชั่น
1. อานาจรัฐมีจากัด 2. การปราศจากการทุจริตคอร์รัปชั่น 3. การมีตัวบทกฎหมายที่ชัดเจนไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยและเป็นที่รับรู้ แก่ประชาชนทั่วไป 4. ความมั่นคงปลอดภัยในร่างกายและทรัพย์สิน 5. การคุ้มครองสิทธิพื้นฐานของประชาชน 6. การใช้อานาจรัฐที่โปร่งใส 7. การใช้บังคับกฎหมาย 8. ความสามารถเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมของประชาชน 9. การดาเนินกระบวนการทางคดีอาญามีประสิทธิภาพและยุติธรรม ไทย
ข้อ 3 และ6 อันดับ 7/7 ข้อ 1,2,4,5,7,8,9 อันดับ 5/7
1-7 ของประเทศในเอเชีย และออสเตรเลีย
หลักการปกครองโดยกฎหมาย เพื่อความยุติธรรม และ สมานฉันท์โดยแท้จริง
หลักการปกครองที่ใช้กฎหมาย เป็นเครื่องมือของผู้มีอานาจ โดยไม่คานึงถึงความยุติธรรม
1. ความหมายตามคุณสมบัติของรัฐ 4 ประการ 1.1 รัฐและเจ้าหน้าที่รัฐมีความรับผิดชอบและปฏิบัติหน้าทีภ่ ายใต้กฎหมายอย่าง เคร่งครัด 1.2 กฎหมายของประเทศมีความชัดเจนมีการเผยแพร่ให้ทราบแก่ประชาชน อย่างทั่วถึงให้ความทัดเทียมกันและคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน 1.3 ขั้นตอนการตรากฎหมาย การบริหารและการบังคับใช้กฎหมายต้องเปิดเผย เท่าเทียมกันโดยไม่เลือกปฏิบตั ิและมีประสิทธิภาพ 1.4 ประชาชนทุกระดับสามารถเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมที่มีเจ้าหน้าที่รัฐที่มี ประสิทธิภาพ มีอสิ ระในการทางาน มีจรรยาบรรณ รวมทั้งมีเจ้าหน้าที่ใน กระบวนการยุติธรรมที่มีความซื่อสัตย์และมีจานวนเพียงพอ
หลักนิติธรรม ( Rule of Law )
หลักการปกครองโดยกฎหมาย เพื่อความยุติธรรม และ สมานฉันท์โดยแท้จริง
เที่ยงธรรม
ยุติธรรม
ชอบธรรม ชอบด้วยเหตุผล
การตรากฎหมาย ความยุติธรรม
การบังคับใช้กฎหมาย การตีความกฎหมาย
ความยุติธรรม การตรากฎหมาย การใช้อานาจของฝ่ายนิติบัญญัติ หลักธรรมาธิปไตย มีกระบวนการตัดสินใจบนพื้นฐานของ
ฝ่าย ข้างมากที่มีเหตุผล คุณธรรม คุ้มครอง และ รักษา ผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ ต้องสร้าง และรักษา กฎหมายที่ยุติธรรมโดยแท้จริง
หลักรัฐธรรมนูญ ต้องคานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ ในการตรากฎหมาย การตรากฎหมายออกมาจากัดสิทธิเสรีภาพ โดยตรง จะต้องเป็นไปเฉพาะการที่รัฐธรรมนูญกาหนดไว้ และเท่าที่จาเป็น ไม่กระทบสาระสาคัญแห่งสิทธิ เสรีภาพ มีผลเป็นการทั่วไปและต้องระบุบทบัญญัติรฐั ธรรมนูญที่ ให้อานาจ ในการตรากฎหมายนั้นด้วย (มาตรา 29)
หลักการมีกฎหมายที่ดี ต้องไม่ใช้บังคับย้อนหลัง บทกฎหมายเป็นไปตามหลักที่เปิดเผย มั่นคง ชัดเจน มีการประกาศให้ทราบทั่วไป ไม่วางหลักที่ขัดแย้งกับกฎหมายอื่น มีความมั่นคงไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย สิทธิ เสรีภาพของบุคคลจะต้องได้รับ การ คุ้มครอง ไม่บังคับให้ทาในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
การตรวจสอบความชอบด้วย รัฐธรรมนูญของร่างกฎหมาย และกฎหมาย โดยศาลรัฐธรรมนูญ
กลุ่มที่ 1 อานาจหน้าที่ในการควบคุมกฎหมายหรือร่างกฎหมาย มิให้ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ กลุ่ม 1 ก. การพิจารณาวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติ แห่งกฎหมายและข้อบังคับการประชุมของฝ่ายนิติบัญญัติก่อนที่จะประกาศใช้บังคับ (1) การพิจารณาวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 141) (2) การพิจารณาวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของ ร่างพระราชบัญญัติ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 154) การตรวจสอบตาม (1) และ (2) ศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจตรวจสอบทั้ง เนื้อหา และรูปแบบหรือกระบวนการทางกฎหมาย (3) การพิจารณาวินิจฉัยร่างพระราชบัญญัติว่ามีหลักการอย่าง เดียวกัน หรือคล้ายกันกับหลักการของร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้ หรือไม่ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 149) (4) การพิจารณาวินิจฉัยร่างข้อบังคับการประชุมของ ฝ่ายนิติบัญญัติไม่ให้ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 154) (5) การวินิจฉัยว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือ กรรมาธิการ กระทาการใดเพื่อให้ตนมีส่วนโดยตรงหรือโดยอ้อมในการใช้งบประมาณ รายจ่ายหรือไม่ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณฯ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 168)
กลุ่ม 1 ข. การวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่ง กฎหมายที่ประกาศใช้บังคับแล้ว (1) การพิจารณาวินิจฉัยว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ศาลจะใช้บังคับ แก่คดีขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 211) (2) การพิจารณาวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่ง กฎหมายตามที่ผู้ตรวจการแผ่นดินเป็นผู้เสนอ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 245 (1)) (3) การพิจารณาวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่ง กฎหมายตามที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นผู้เสนอ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 257 (2)) (4) การพิจารณาวินิจฉัยคาร้องของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิและ เสรีภาพ เพื่อมีคาวินิจฉัยว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือไม่ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 212) แต่การใช้สิทธิกรณีนี้ต้องเป็นกรณีที่ไม่อาจใช้ สิทธิโดยวิธีการอื่นได้แล้ว (5) การวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของเงื่อนไขการตรา พระราชกาหนด (รัฐธรรมนูญ มาตรา 184)
กลุ่มที่ 2 อานาจหน้าที่ในการพิจารณาวินิจฉัยปัญหาความขัดแย้ง เกี่ยวกับอานาจหน้าที่ระหว่างรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือองค์กรตาม รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ มาตรา 214 ในกรณีที่มีความขัดแย้งเกี่ยวกับอานาจ หน้าที่ระหว่างรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญที่มิใช่ศาล ตั้งแต่สององค์กรขึ้นไป ให้ประธานรัฐสภา นายกรัฐมนตรี หรือองค์กรนั้น เสนอเรื่องพร้อมความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัย รัฐธรรมนูญ หมวด 11 ว่าด้วย “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ” แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ประเภทที่ 1 องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มี 4 องค์กร คือ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผูต้ รวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ประเภทที่ 2 องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ มี 3 องค์กร คือ องค์กร อัยการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ
รั ฐ ธรรมนู ญ ได้ ก าหนดให้ อ งค์ ก รศาล องค์ ก รตาม รั ฐ ธรรมนู ญ ผู้ ด ารงต าแหน่ ง ส าคั ญ ทางการเมื อ ง บาง ตาแหน่ง เช่น นายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานสภา ผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา สมาชิ กสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา รวมทั้ง อั ย การสูงสุด นายทะเบียนพรรค การเมือง หัวหน้าพรรคการเมืองหรือกรรการบริหารพรรค การเมือง และบุคคลผู้ถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพ สามารถ ใช้สิทธิยื่นคาร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัย หรือมีคาสั่งได้
1. องค์คณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณาและ การจัดทาคาวินิจฉัย ต้องประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ไม่น้อย กว่า 5 คน 2. วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งควรมี หลักการสาคัญ ดังนี้ 2.1 มีหลักประกันขั้นพื้นฐานในเรื่อง การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย การให้คู่กรณีแสดงความเห็นของตน การให้สิทธิคู่กรณีขอตรวจดูเอกสารที่เกี่ยวกับตน การเปิดโอกาสให้มีการคัดค้านตุลาการ การให้เหตุผลประกอบคาวินิจฉัยหรือคาสั่ง
2.2 ใช้ระบบการไต่สวน 2.3 มีอานาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องจาก บุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคา ตลอดจนขอให้พนักงาน สอบสวน หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการ ส่วนท้องถิ่น ดาเนินการใดเพื่อประโยชน์แห่งการพิจารณาได้ 2.4 การพิจารณาคดี จะหมายถึง การประชุม ปรึกษา เพื่อ พิจารณาและวินิจฉัยเกี่ยวกับคดี และการออกนั่งพิจารณา เพื่อสืบพยาน หรือให้คู่กรณีและผู้เกี่ยวข้องชี้แจง แถลง หรือแสดงความเห็น 2.5 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่เป็นองค์คณะทุกคน จะต้อง จัดทาความเห็นในการวินิจฉัยในส่วนของตนพร้อมแถลงด้วยวาจาต่อที่ ประชุมก่อนการลงมติ
2.6 การลงมติในประเด็นแห่งคดีในคาวินิจฉัยของ ศาลรัฐธรรมนูญให้ถือเสียงข้างมาก (ยกเว้นการตรวจสอบเงื่อนไขการตรา พระราชกาหนดไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ต้องมีคะแนนเสียงสองในสามขึ้น ไป) 2.7 คาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญและความเห็นในการวินิจฉัย ของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทุกคน ให้ประกาศในราชกิจจา-นุเบกษา 2.8 การจัดทาคาวินิจฉัยและการอ่านคาวินิจฉัยของศาล รัฐธรรมนูญในวันที่มีการลงมติ 2.9 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่เป็นองค์คณะเสียงข้างน้อยที่ไม่ รับคาร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย หรือเห็นว่าการแสวงหาข้อเท็จจริงยังไม่ เพียงพอ จะต้องพิจารณาวินิจฉัยประเด็นหลักแห่งคดี จะงดเว้นการ พิจารณาวินิจฉัยไม่ได้
1. คาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้ใช้ได้ในคดีทั้งปวง แต่ไม่กระทบกระเทือนถึงคาพิพากษาของศาลอันถึงทีส่ ุดแล้ว (มาตรา 211 วรรคท้าย) 2. คาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นเด็ดขาด มีผล ผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองค์กรอื่นของรัฐ (มาตรา 216 วรรคห้า) 3. สิทธิและเสรีภาพที่รับรองไว้โดยคาวินิจฉัยของ ศาลรัฐธรรมนูญ ย่อมได้รบั ความคุ้มครองและผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญและ หน่วยงานของรัฐโดยตรง ในการตรากฎหมาย การใช้บังคับ กฎหมาย และการตีความกฎหมายทั้งปวง
กฎหมาย คือ กฎเกณฑ์ที่วางระเบียบแห่ง การอยู่ ร่ ว มกั น ของคนในสั ง คม โดยมี สภาพบังคับของสังคมนั้น
ใช้เนื้อหาของกฎหมายเป็นเกณฑ์ กฎหมายสารบัญญัติ
กาหนดสิทธิและหน้าที่ ของบุคคลโดยตรง
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
กาหนดกระบวนการและวิธีการเยียวยา เมื่อเกิดการละเมิดสิทธิหน้าที่เกิดขึ้น
ใช้ลักษณะความสัมพันธ์ทางกฎหมายเป็นเกณฑ์ กฎหมายเอกชน
ใช้บังคับกับความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับ เอกชนด้วยกัน โดยทั้งสองฝ่ายเสมอภาคกัน
กฎหมายมหาชน
ใช้บังคับกับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ เอกชน โดยรัฐมีฐานะเหนือกว่าเอกชน
เอกชนต่ า งฝ่ า ย ต่ า ง มุ่ ง ห ม า ย ประโยชน์ ส่ ว นตั ว ของตน นิ ติ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง เ อ ก ช น อ า ศั ย ค ว า ม สมั ค รใจ หรื อ ความ ยินยอมที่จะเข้าผูกนิติ สัมพันธ์ระหว่างกัน
เอกชนเสมอกัน ตามกฎหมาย
ประโยชน์ ส่วนตัว
นิ ติ สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า งเ อ ก ช น ด้วยกัน ส่วนใหญ่ เป็นสัญญา หากมีข้ อโต้แ ย้งในนิ ติ สั ม พั น ธ์ ที่ ท า กั น ไ ว้ คู่กรณีจะบังคับกันเอง ไม่ได้ แต่จะต้องขอให้ ศาลบังคับให้
ใ น ก ร ณี ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ตั ว ข อ ง เอกชนสอดคล้ อ งกั บ ประโยชน์ ส่วนรวม หรือประโยชน์สาธารณะ รั ฐ ใช้ นิ ติ สั ม พั น ธ์ ต ามกฎหมาย เอกชนได้
รั ฐ โ ด ย อ ง ค์ ก ร ข อ ง รั ฐ ห รื อ เจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นผู้ดูแลรักษา ประโยชน์ส่วนรวมของคนหมู่มาก ในสังคม หรือประโยชน์สาธารณะ
ประโยชน์ สาธารณะ ก ร ณี ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ตั ว กั บ ประโยชน์สาธารณะไม่สอดคล้อง กัน จะต้องให้ประโยชน์สาธารณะ อยู่ เ หนื อ ประโยชน์ ส่ ว นตั ว ของ เอกชน
ถ้ า เ อ ก ช น ไ ม่ ยิ น ย อ ม จ ะ ส ล ะ ประโยชน์ ส่ ว นตั ว เพื่ อ ประโยชน์ สาธารณะก็จะต้องให้รัฐโดยองค์กร ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมีอานาจ บั ง คั บ เ อ ก ช น เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ สาธารณะได้
บริการสาธารณะ ระดับชาติ
บริ ก ารสาธารณะ ทางปกครอง บริการสาธารณะทาง อุ ต ส า ห ก ร ร ม คมนาคมขนส่ ง และ พาณิชยกรรม
บริ ก ารสาธารณะทาง สังคม และวัฒนธรรม
ส่วนราชการ
ส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค
คณะกรรมการ
รัฐวิสาหกิจ
องค์การมหาชน
ต้องใช้อานาจรัฐ
จัดตั้งโดย พ.ร.บ.
รัฐต้องกากับดูแล
จัดตั้งโดย พ.ร.ฎ.
ให้อิสระสูงระดม ทุนจากเอกชน
รูปแบบบริษัท มหาชน
จัดตั้งโดย พ.ร.บ. จัดตั้งโดย พ.ร.ฎ.
บริการสาธารณะ ระดับท้องถิ่น
องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่
หลักว่าด้วยความเสมอภาค ผู้ใช้บริการสาธารณะ การเข้าทางานในหน่วยงานของรัฐ
หลักว่าด้วยความต่อเนื่อง ผลที่มีต่อบริการสาธารณะ ผลที่มีต่อสัญญาทางปกครอง ผลที่มีต่อการนัดหยุดงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
หลักว่าด้วยการปรับปรุงให้สอดคล้อง กับความต้องการของประชาชน
มาตรการทางกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง กฎหมายปกครอง นิติกรรมทางปกครอง
นิติกรรมทางแพ่ง กฎ คาสั่งทางปกครอง
ปฏิบัติการทางปกครอง ข้าราชการ บุคลากร
พนักงาน ลูกจ้าง
ทรัพย์สิน
จัดซื้อ
ได้มาโดยนิติกรรมทางแพ่ง
จัดจ้าง
ได้มาโดยใช้อานาจรัฐ อานาจ มหาชน
รับบริจาค
การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
การโอนกิจการของเอกชนเป็นของรัฐ
เป็นกฎหมายที่กาหนดสถานะและ ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายปกครอง ของรัฐต่อกัน และต่อประชาชน
กฎหมายปกครอง เป็นสาขาหนึ่งของ กฎหมายมหาชน
กฎหมายปกครองต้องวางหลักในการ คุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของราษฎร ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทาของ ฝ่ายปกครอง เพื่อป้องกันมิให้ ฝ่ายปกครองบังคับเอาแก่ราษฎรตาม ใจชอบ การกระทาของฝ่ายปกครอง ได้แก่ การออกกฎและการออกคาสั่ง ทางปกครอง
1. ต้องเป็นหลักกฎหมายที่แยก “งานนโยบาย” ออกจากงานประจาได้ 2. ต้องเป็นหลักกฎหมายที่สามารถแยก “ดุลยพินิจโดยแท้ของงาน บริหาร” ออกจากการควบคุมของสถาบันฝ่ายปกครองได้ 3. ต้องเป็นหลักกฎหมายที่ไม่ก้าวล่วงเข้าไปในอานาจของสถาบันอื่นที่มี ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 4. ต้องเป็นหลักกฎหมายที่ให้ความคุ้มครองแก่ “สิทธิ” (โดยชอบ) ของเอกชนและในขณะเดียวกันก็ให้ความคุ้มครองแก่ “สิทธิของ สาธารณะ” ให้รอดพ้นจากการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบของ เอกชน 5. ต้องเป็นหลักกฎหมายที่มุ่งไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร บริการสาธารณะ ภายใต้ระบบความรับผิดชอบ
ฝ่ายบริหาร หมายถึง องค์กรของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อานาจบริหาร ประกอบด้วย 1. องค์กรฝ่ายรัฐบาล ได้แก่ คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ที่มีอานาจหน้าที่ ในการกาหนดนโยบาย อันเป็นภารกิจขั้นสูงทางการเมือง หรือการใช้ อานาจทางบริหาร ไม่ว่าจะเป็นการกาหนดนโยบาย การเสนอร่าง กฎหมาย การทาสนธิสัญญาระหว่างประเทศ 2. องค์กรฝ่ายปกครอง ได้แก่ บรรดาเจ้าหน้าที่ของรัฐทั้งหลายที่อยู่ ภายใต้การควบคุม บังคับบัญชาหรือกากับดูแลขององค์กรฝ่ายรัฐบาล และหมายความรวมถึงคณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ซึ่งเป็นผู้ใช้อานาจ ตามกฎหมายในการออกกฎหรือออกคาสั่งทางปกครอง
1. การใช้อานาจทางบริหาร ได้แก่ การใช้อานาจตามรัฐธรรมนูญ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. การใช้อานาจทางปกครอง ได้แก่ การใช้อานาจตามกฎหมาย โดย อาศัยองค์กรของรัฐและการบังคับตามกฎหมาย การใช้อานาจทาง ปกครองจะถูกมอบหมายผ่านทางองค์กรของรัฐ ซึ่งเป็นราชการ บริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาคและราชการบริหาร ส่วนท้องถิ่นตามสายการบังคับบัญชาและกากับดูแลตามที่กาหนดไว้ ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน รวมทั้งการ รักษาการตามพระราชบัญญัติต่าง ๆ การตราพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ระเบียบและกฎเกณฑ์แห่งกฎหมาย ลาดับรองตามที่กฎหมายบัญญัติ
1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 2. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 3. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 4. พระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. 2542 5. พระราชบัญญัติข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
1. หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทาทางปกครอง การกระทาทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย ทาให้องค์กร/ เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องผูกพันตนต่อกฎเกณฑ์ที่ฝ่ายนิติบัญญัติ และกฎเกณฑ์ที่ตนเองตราขึ้น หลักนี้เป็นองค์ประกอบที่สาคัญของ “หลักนิติรัฐ” ประกอบด้วย หลักการย่อย 2 ประการ 1.1 หลัก “ไม่มีกฎหมาย ไม่มีอานาจ” การกระทาขององค์กร ฝ่ายปกครอง ซึ่งแสดงออกโดยองค์กร เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง จะต้องมี ฐานทางกฎหมายรองรับ อาจอธิบายได้โดยหลักประชาธิปไตยในระบบ รัฐสภาหลักนิติรัฐและหลักการประกันสิทธิเสรีภาพขั้นพืน้ ฐาน
1.2 หลัก “การกระทาทางปกครองต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย” องค์ ก ารฝ่ า ยปกครองต้ อ งผู ก พั น ตนต่ อ กฎหมายที่ ใ ช้ บั ง คั บ อยู่ จ ริ ง ในบ้านเมือง ซึ่งอาจมี 2 ลักษณะ คือ กรณีที่กฎหมายกาหนดหน้าที่ ให้ องค์กรฝ่ายปกครองต้องปฏิบัติ องค์กรฝ่ายปกครองย่อมมีหน้าที่ต้อง ปฏิบัติ แต่หากกฎหมายไม่ได้กาหนดหน้าที่ให้องค์กรฝ่ายปกครองต้อง ปฏิ บัติ และเป็น กรณี ที่ อ งค์ กรฝ่า ยปกครองตัด สิน ใจด าเนิ น การตาม แผนการปกครองเพื่อให้ชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรดีขึ้น เช่น การ สร้างสวนสาธารณะ การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ฝ่าย ปกครองย่อมมีหน้าที่ต้องละเว้น ไม่กระทาการดังกล่าวนั้นให้ขัดต่อ กฎหมายบ้านเมืองที่บังคับอยู่ เหตุผลมาจากหลักความเป็นเอกภาพ ของอานาจรัฐและความเป็นเอกภาพในระบบกฎหมาย (สาหรับคาว่า กฎหมาย มีขอบเขตตามตารางที่ 3)
2. หลักการพื้นฐานที่สาคัญสาหรับการกระทาทางปกครอง 2.1 หลักความพอสมควรแก่เหตุ เป็นหลักการพื้นฐานใน กฎหมายมหาชนที่ห้ามมิให้องค์กรเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง กระทาการ อันมีผลเป็นการสร้างภาระให้เกิดกับปัจเจกชนเกินสมควร หลักการนี้ รู้ จั ก กั น ในนาม “หลั ก ความได้ สั ด ส่ ว น” มี ขั้ น ตอนในการพิ จ ารณา 4 ขั้นตอน คือ 2.1.1 การค้นหาวัตถุประสงค์ของการกระทาทาง ปกครอง ในการออกกฎ องค์กรเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองอาจจะต้องระบุ ไว้ ใ นกฎดั ง กล่ า วว่ า ตนออกกฎนั้ น เพื่ อ อะไร หากไม่ ไ ด้ ร ะบุ ไ ว้ อาจ ค้น หาวัตถุประสงค์ของการกระท าทางปกครองจากบริ บทแวดล้อม มาตรการนั้น หรือจากข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุให้ต้องกาหนดมาตรการ นั้นขึ้นใช้บังคับ เมื่อทราบวัตถุประสงค์แล้ว ย่อมจะต้องตรวจสอบว่า เป็นวัตถุประสงค์ที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ หากไม่ชอบด้วยกฎหมาย ย่อมไม่ต้องพิจารณาในประเด็นอื่นต่อไปอีก
2.1.2 การพิเคราะห์ว่ามาตรการที่องค์กรเจ้าหน้าที่ฝ่าย ปกครองเลือก เป็นมาตรการที่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ได้ หรื อ ไม่ อาจเรี ย กว่ า “หลั ก ความสั ม ฤทธิ์ ผ ล” หรื อ “หลั ก ความ เหมาะสม” 2.1.3 การพิเคราะห์ว่ามาตรการที่อาจบรรลุวัตถุประสงค์ ที่องค์กรเจ้ าหน้ าที่ ฝ่ายปกครองต้องการนั้ น เป็น มาตรการที่ จ าเป็น หรือไม่ อาจเรียกว่า “หลักความจาเป็น” ฝ่ายปกครอง ถ้าเปรียบเทียบ มาตรการหลาย ๆ มาตรการว่ามาตรการใดกระทบต่อสิทธิเสรีภาพ ของปัจเจกชนมากน้อยประการใด 2.1.4 การพิเคราะห์ว่ามาตรการที่อาจบรรลุวัตถุประสงค์ ที่องค์กรเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องการและเป็นมาตรการที่จาเป็นนั้น เป็นมาตรการที่พอสมควรแก่เหตุหรือไม่ โดยต้องชั่งน้าหนักประโยชน์ ที่ปัจเจกชนต้องเสียไปกับประโยชน์ที่สาธารณะจะได้รับ
2.2 หลักความชัดเจนแน่นอนและคาดหมายได้ในการกระทา ทางปกครอง การกระทาขององค์กรเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีลักษณะ เป็นการล่วงล้าสิทธิหรือสร้างภาระให้แก่ปัจเจกชนมากเท่าใด องค์กร เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองจะต้องกาหนดเนื้อหาของกฎเกณฑ์ให้ชัดเจน แน่นอนมากขึ้นเท่านั้น 2.3 หลักการห้ามเลือกปฏิบัติโดยอาเภอใจ สิทธิในความ เสมอภาค เป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน สิทธิดังกล่าวจึงผูกพันองค์กรของรัฐ ทุกองค์กรในการตรากฎหมาย การบังคับใช้กฎหมายและการตีความ กฎหมายทั้งหลาย 2.4 หลักการคุ้มครองความช่วยเหลือและไว้วางใจ เป็นหลัก ในทางกฎหมายที่กาหนดว่าปัจเจกชนผู้อยู่ภายใต้อานาจรัฐ ย่อม สามารถที่ จ ะเชื่ อ มั่ น ในความคงอยู่ ส าหรั บ การตั ด สิ น ใจใด ๆ ของ องค์กรเจ้าหน้าที่ของรัฐ และความเชื่อมั่นดังกล่าวนั้นจะต้องได้รับการ คุ้มครอง
2.5 หลักการคุ้มครองประโยชน์ สาธารณะ “ประโยชน์ สาธารณะ” เป็นองค์ประกอบประการสาคัญที่องค์กรเจ้าหน้าที่ ฝ่าย ปกครองต้องคานึงถึงเสมอ ในการดาเนินกิจกรรมทางปกครอง หาก อ ง ค์ ก ร เ จ้ า ห น้ า ที่ ฝ่ า ย ป ก ค ร อ ง อ อ ก ค า สั่ ง ใ ห้ มี ก า ร เ ว น คื น อสังหาริมทรัพย์โดยอาศัยอานาจตามกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ หากปรากฏชั ด ว่ า การเวนคื น ดั ง กล่ า วมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พี ย งเพื่ อ ให้ เจ้ า ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ค นใดคนหนึ่ ง ได้ ป ระโยชน์ ไม่ ป รากฏว่ า สาธารณะ จะได้ประโยชน์ใด ๆ ทั้งสิ้น คาสั่งเวนคืนอสังหาริมทรัพย์นั้น ย่อมเป็นคาสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
1. ในการบัญญัติให้องค์กรเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมี ดุลพินิจตัดสินใจ นั้ น องค์ ก รนิ ติ บั ญ ญั ติ มั ก จะใช้ ถ้ อ ยค าในท านองที่ ใ ห้ พ นั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ “มีอานาจ...” ส่วนในกรณีที่องค์กรเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองไม่มีดุลพินิจตัดสินใจ องค์กรนิติบัญญัติมักจะใช้ถ้อยคา ในทานองว่า “ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ (ปฏิบัติ อย่างใด อย่างหนึ่ง)...” 2. แม้ว่าองค์กรเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองจะมีดุลพินิจที่สามารถจะ เลือกดาเนินการใด ๆ ได้ตามที่กฎหมายกาหนด แต่ฝ่ายปกครองก็ไม่อาจใช้ ดุลพินิจได้ตามอาเภอใจเหมือนที่เอกชนจะทาได้ ระบบกฎหมายปกครองไม่ ยอมรับดุลพินิจอย่างเสรี ยอมรับแต่ดุลพินิจที่สมเหตุสมผลหรือดุลพินิจที่ ผูกพันอยู่กับกฎหมายเท่านั้น องค์กรฝ่ายปกครองจึงต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ ในการมอบอานาจดุลพินิจและกรอบการใช้ดุลพินิจตามกฎหมายเสมอ
1. 2. 3. 4. 5.
การไม่ใช้ดุลพินิจ การใช้ดุลพินิจเกินกว่าที่กฎหมายบัญญัติ การใช้ดุลพินิจอย่างบิดเบือน การใช้ดุลพินิจโดยไม่คานึงถึงสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ การใช้ดุลพินิจขัดกับหลักกฎหมายทั่วไป
ดุลพิ นิ จ ที่ ผิ ด พลาด ส่ง ผลให้ คาสั่ง ทางปกครองไม่ ชอบ ด้วยกฎหมาย ในกรณีที่คาสั่งทางปกครองดังกล่าวกระทบสิทธิของ เอกชนท าให้ ไ ด้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นเสี ย หาย เอกชนย่ อ มมี สิ ท ธิ อุทธรณ์โต้แย้งตามกระบวนการและขั้นตอนที่กฎหมายกาหนด และ ในที่ สุดย่ อมมี สิท ธิที่ จ ะน าคดี ไปฟ้ องร้ องยัง ศาลปกครอง เพื่ อให้ เพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้น
ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 หมายถึง 1) การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่มีผลเป็นการสร้าง นิตสิ ัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับหรือ มีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวร หรือ ชั่วคราว เช่น การสั่ง การ การอนุญ าต การอนุ มัติ การวินิ จฉั ยอุท ธรณ์ การรับรองและการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ 2) การอื่นที่กาหนดในกฎกระทรวง คาว่า “เจ้าหน้าที่ ” มีความหมายอย่างกว้าง อาจเป็น บุคคลคนเดียว หรือเป็นคณะบุคคลหรือนิติบุคคลก็ได้ ที่สาคัญต้องเป็นบุคคลที่กฎหมายให้ อานาจในการพิจารณาหรือทาคาสั่งทางปกครองหรือดาเนินการต่าง ๆ ตาม พระราชบัญญัติฉบับนี้ แต่ต้องไม่ใช่เจ้าหน้าที่ที่ใช้อานาจทางนิติบัญญัติหรือ ทางตุลาการ
1. เจ้าหน้าที่ใช้อานาจสั่งการฝ่ายเดียวตามกฎหมาย 2. การสัง่ การของเจ้าหน้าที่เป็นการใช้อานาจในทางปกครอง 3. การสั่งการของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลสร้างนิติสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลหรือมีผลกระทบต่อสิทธิหน้าที่ 4. การสั่งการของเจ้าหน้าที่มีผลบังคับแก่บุคคลหรือกรณี เฉพาะเรื่อง เฉพาะราย
1. คาสั่งทางปกครองต้องกระทาโดยเจ้าหน้าที่ที่มีอานาจ และใช้อานาจ ในพื้นที่ที่ตนมีอานาจ 2. กระบวนการและขั้นตอนเป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ 3. กระทาตามรูปแบบที่กฎหมายกาหนด ถ้าเป็นหนังสือต้องจัดให้มี เหตุผลที่สมบูรณ์ ชัดเจน 4. เงื่อนไขทางเนือ้ หา มีฐานทางกฎหมายรองรับ ใช้ดุลพินิจไม่บกพร่อง กาหนดเนื้อหาโดยคานึงถึงหลักแห่งความพอสมควรแก่เหตุ ชัดเจนพอที่ผู้รับคาสั่งจะเข้าใจว่าฝ่ายปกครองต้องการอะไร คานึงถึงความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติของคาสั่งทางปกครอง
1.
2.
คาสั่งทีห่ น่วยงานออกแก่เจ้าหน้าที่ คาสั่งเกีย่ วกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการ คาสั่งเกีย่ วกับเงินเดือน เงินประจาตาแหน่งและสวัสดิการ ต่าง ๆ ของข้าราชการ คาสั่งอื่น ๆ เช่น คาสั่งให้เจ้าหน้าทีท่ ี่ทาละเมิดในการปฏิบัติ หน้าทีช่ ดใช้เงินทีห่ น่วยงานของรัฐได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน แก่ผู้เสียหายคืนแก่หน่วยงานของรัฐ คาสั่งทีเ่ จ้าหน้าที่ออกแก่บุคคลอื่นหรือประชาชน คาสั่งอนุญาตหรือไม่อนุญาต คาสั่งเพิกถอนหรือพักใช้ใบอนุญาตต่าง ๆ คาสั่งรับหรือไม่รับจดทะเบียน คาสั่งเกีย่ วกับการพัสดุหรือการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างของ ทางราชการ คาสั่งยกเลิกการประกวดราคา คาสั่งให้ประชาชนหรือบุคคลดาเนินการต่าง ๆ ตามกฎหมาย
เพราะ “กฎ” มีลักษณะเป็นหลักเกณฑ์ที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจงกับบุคคลหรือกรณี “กฎ” หมายถึง พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับหรือบทบัญญัติอื่นทีม่ ีผลบังคับเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ กฎต้องออกโดยเจ้าหน้าที่ที่มอ ี านาจ
กระบวนการและขั้นตอนเป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมายที่ให้อานาจในการออกกฎ
1. ศาลปกครองสูงสุด 2. ศาลปกครองชั้นต้น ศาลปกครองกลาง ศาลปกครองในภูมิภาค (จานวน16 ศาล)
ต้องฟ้องคดีต่อศาลปกครองชั้นต้นก่อน เมื่อคู่ความฝ่ายใดไม่พอใจ คาพิพากษา หรือคาสั่ง จะมีสิทธิอุทธรณ์คัดค้านคาพิพากษาหรือคาสั่ง นั้นต่อศาลปกครองสูงสุด คดีปกครองที่ต้องฟ้องต่อศาลปกครองสูงสุด 1) คดีพิพาทเกี่ยวกับคาวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท ตามที่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ประกาศกาหนด 2) คดีพิพาทเกี่ยวกับความชอบด้วยกฎหมายของพระราชกฤษฎีกา หรือ กฎ ที่ออกโดยคณะรัฐมนตรีหรือโดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี 3) คดีที่มีกฎหมายกาหนดให้อยู่ในอานาจศาลปกครองสูงสุด 4) คดีที่อุทธรณ์คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลปกครองชั้นต้น
คู่กรณี
ลักษณะคดี
1. หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน 2. ระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ด้วยกัน 1. คดีที่ฟ้องว่าการออก กฎ คาสั่งหรือการกระทาอื่นใด ของหน่วยงานหรือเจ้าหน้าทีข่ องรัฐเป็นไปโดย ไม่ชอบด้วยกฎหมาย 2. คดีที่ฟ้องว่าหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลย ต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร 3. คดีฟ้องให้หน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐรับผิดทาง ละเมิดหรือรับผิดอย่างอื่นอันเกิดจากการใช้อานาจ หรือจากการละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า เกินสมควร
ลักษณะคดี 4. คดีฟ้องให้หน่วยงานหรือบุคคลที่กระทาการแทนรัฐ (ต่อ)
เกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง (สัญญาที่มีลักษณะเป็น สัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทาบริการสาธารณะ หรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภคหรือแสวงประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ) 5. คดีที่กฎหมายกาหนดให้หน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ของ รัฐฟ้องคดีต่อศาลเพื่อบังคับให้บุคคลต้องกระทาหรือ ละเว้นการกระทาอย่างหนึ่งอย่างใด 6. คดีที่กฎหมายกาหนดให้อยู่ในเขตอานาจ ศาลปกครอง
1. การฟ้องคดีกรณีการกระทาทางปกครองไม่ชอบด้วยกฎหมาย / ละเลยต่อ หน้าทีห่ รือปฏิบตั ิหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร กฎหมายไม่ได้มุ่งหมายถึงขนาด ว่าสิทธิของผู้ฟ้องคดีต้องถูกโต้แย้ง ผู้ฟ้องคดีเพียงแต่ได้รบั ความเดือดร้อน หรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อน หรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลีย่ งได้ซึ่ง ถือว่ามีประโยชน์ได้เสียเกี่ยวข้องก็สามารถฟ้องคดีได้ แต่ถ้าเป็นกรณี สัญญาทางปกครองหรือกรณีละเมิด เอกชนผู้ฟ้องคดีต้องถูกโต้แย้งสิทธิ 2. การยื่นฟ้อง ผู้ฟ้องคดีอาจส่งคาฟ้องทางไปรษณีย์ได้ 3. ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาล เว้นแต่เป็นกรณีละเมิดหรือความรับผิด อย่างอื่นหรือสัญญาทางปกครองที่ต้องเสียค่าธรรมเนียมร้อยละ 2.5 แต่ไม่เกิน 200,000 บาท 4. เจ้าหน้าที่สานักงานศาลปกครองสามารถให้คาแนะนาแก่ผู้ฟ้องคดีเพื่อแก้ไข เพิ่มเติมคาฟ้องให้ถูกต้อง 5. อาจมอบอานาจให้ทนายความดาเนินการแทนได้ ถ้าเป็นคดีที่ซับซ้อนน้อย ไม่จาเป็นต้องมีทนายความ
1. 2.
3.
4. 5.
พิจารณาแบบไต่สวน เป็นกระบวนการพิจารณาแบบกึ่งลับ แต่ศาลต้องให้คกู่ รณีรับรู้ถึง การดาเนินการทั้งปวงในกระบวนพิจารณาและกระบวนการพิจารณาใน ชั้นการนั่งพิจารณาจะกระทาโดยเปิดเผย กระบวนพิจารณาเป็นลายลักษณ์อักษร ศาลจะไม่ยอมให้การแถลงการณ์ ด้วยวาจามาหักล้าง หรือแทนทีเ่ อกสารทีเ่ ป็นลายลักษณ์อักษร เสียค่าใช้จ่ายน้อย การฟ้องคดีมิได้เป็นเหตุให้มีการทุเลาการบังคับตามการกระทาทาง ปกครอง หากผู้ฟ้องคดีประสงค์จะขอให้ทุเลาการปฏิบัติ ต้องร้องขอ ต่อศาล ศาลจะสั่งให้ในกรณีทมี่ ีเหตุผลอันสมควรจริง ๆ เพราะอาจทาให้ ประโยชน์สาธารณะของฝ่ายปกครองต้องชะงักได้
6. การแสวงหาข้อเท็จจริงและสรุปสานวน เป็นบทบาทสาคัญของตุลาการ เจ้าของสานวน โดยจะกาหนดระยะเวลาให้คู่กรณีแสดงพยานหลักฐาน และเพื่อเป็นการถ่วงดุลเอกสิทธิของฝ่ายปกครองและให้ฝ่ายปกครอง ปฏิบัตหิ น้าที่อย่างตรงไปตรงมา หากหน่วยงานหรือเจ้าหน้าทีไ่ ม่ส่ง พยานหลักฐานภายในกาหนด หรือประวิงคดีให้ล่าช้า ย่อมถูกลงโทษทาง วินัยหรือศาลมีคาสั่งลงโทษฐานละเมิดอานาจศาล 7. ต้องมีการนัง่ พิจารณาคดีอย่างน้อยหนึ่งครัง้ โดยตุลาการผู้แถลงคดีจะ แถลงการณ์ต่อหน้าองค์คณะและคู่กรณี เมื่อเสร็จการแถลงการณ์ องค์คณะก็จะประชุมปรึกษาเพือ่ พิพากษาคดีตอ่ ไป 8. คาพิพากษาหรือคาสั่งชีข้ าดจะต้องบังคับตามความเห็นของฝ่ายข้างมาก ส่วนตุลาการฝ่ายข้างน้อยก็สามารถทาความเห็นแย้งไว้ในคาพิพากษา หรือคาสั่งได้ คาพิพากษาจะระบุตุลาการเจ้าของสานวนและตุลาการ ผู้แถลงคดีไว้ด้วย เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและวิจารณ์ทาง วิชาการ
9.
การบังคับคดีตามคาพิพากษานั้น คาบังคับจะสัมพันธ์กบั คาฟ้องและ คาขอของผู้ฟ้องคดี เช่น กรณีละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติล่าช้าเกิน สมควรก็ต้องขอให้ศาลสั่งให้ฝ่ายปกครองปฏิบัติตามหน้าทีภ่ ายในเวลา ที่ศาลกาหนด กรณีการกระทาละเมิดหรือสัญญาทางปกครองก็ต้อง ขอให้ศาลสั่งให้ชดใช้เงินหรือส่งมอบทรัพย์สนิ สานักงานศาลปกครอง จะเป็นองค์กรดาเนินการบังคับให้เป็นไปตามคาบังคับในคาพิพากษา ของศาลปกครอง 10. คาพิพากษาของศาลปกครองชัน้ ต้น ต้องรอการปฏิบัติตามคาบังคับไว้ จนกว่าจะพ้นระยะเวลาการอุทธรณ์ หรือในกรณีที่มีการอุทธรณ์ต้องรอ จนกว่าคดีจะถึงที่สุด
1.3 หลักความ รับผิดชอบ
1.4 หลักความโปร่งใส
-
1.5 หลักการมีส่วนร่วม 1.6 หลักความคุ้มค่า -
ไม่ละเลย ไม่ล่าช้า อานวยความสะดวกและบริการประชาชน รับผิดชอบต่อผลของงาน มุ่งประโยชน์สุขของประชาชน ไม่กระทาการใดๆให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลและองค์กร ไม่กระทาการโดยไม่สุจริต กระจายภารกิจ มอบอานาจ เปิดเผยพ้นสมัยเป็นความลับ รับฟังความคิดเห็น ให้โอกาสรับทราบข้อมูลและโต้แย้ง มุ่งผลสัมฤทธิ์ในภารกิจ ลดขนาดองค์กร ลดขั้นตอนที่ไม่จาเป็น
2. เคร่งครัดในหลักนิติธรรม คือ หลักความชอบด้วยกฎหมาย ไม่มีกฎหมาย ไม่มีอานาจ การกระทาใด ๆ ต้องไม่ขดั ต่อกฎหมาย ใช้ดุลพินิจที่ผูกพันอยู่กับกฎหมายและเป็นดุลพินิจที่สมเหตุสมผลไม่เกินกว่า กฎหมายบัญญัติ คานึงถึงสิทธิเสรีภาพของบุคคล 3. ต้องพิจารณาหลักเกณฑ์ในกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองควบคู่ไปกับ กฎหมายเฉพาะ 4. ใช้หลักเกณฑ์ในกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเมื่อกฎหมายเฉพาะไม่ บัญญัติ ไว้หรือบัญญัติไว้แต่มีมาตรฐานต่ากว่า ยกเว้นขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณ์ 5. ต้องคานึงถึงสิทธิของคู่กรณีอยู่เสมอ 6. ศึกษาหลักกฎหมายซึ่งถือเป็นหลักปฏิบัติราชการจากคาพิพากษาของศาลปกครอง สูงสุด และนาไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติราชการของหน่วยงาน
ในการมีผู้กระทาละเมิดกฎหมายในทางอาญา มีกระบวนการ สืบสวน สอบสวน จับกุม ฟ้องร้องโดยตารวจ อัยการ และต้องพิจารณา โดยศาลยุติธรรม ซึ่งต้องมีทนายคอยแก้ต่าง กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ เป็นพัฒนาการอีกรูปแบบ หนึ่ง ของ “ การกระทาทางสังคม ” ความสัมพันธ์ระหว่างเหยื่อผู้กระทา ผิด ชุมชน รวมถึงผู้สนับสนุนของทั้งสองฝ่ายเพื่อให้ทุกฝ่ายในสังคม หรือ ชุมชนนั้นๆ ยอมรับว่ามีความขัดแย้งเอาเปรียบ หรือล่วงละเมิดกัน เกิดขึ้น และจัดการความขัดแย้งนั้นร่วมกันอย่างจริงจัง ทาให้ความ ขัดแย้งยุติลง มีผู้รับผิดชอบมีการชดใช้เยียวยา และส่งผลให้เกิดความ สมานฉันท์ในชุมชนนั้น ระบบความยุติธรรมทางอาญา ไม่ใช่มีอยู่แค่ในตารวจ อัยการ หรือ ผู้พิพากษา แต่แท้จริงแล้วทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการ ยุติธรรมด้วยกันทั้งหมดได้
ศาลยุติธรรม พิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี ทั้ ง ปวง เว้ น แต่ ค ดี ที่ รั ฐ ธรรมนู ญ หรื อ ก ฎ ห ม า ย บั ญ ญั ติ ใ ห้ อ ยู่ ใ น อานาจของศาลอื่น
- การตีความตามถ้อยคาประกอบกับเจตนารมณ์ (แม้ถ้อยคาจะชัดเจน ก็ต้องดูความมุ่งหมายและเจตนารมณ์ด้วย) - การตีความตามระบบ - ดูว่าบทกฎหมายนั้นว่าอยู่ในหมวดใด มาตราใด เกี่ยวข้องกับ มาตราใด - ต้องดูกฎหมายทั้งระบบ เป็นการใช้กฎหมายประกอบกัน - การตีความตามเจตนารมณ์ - การตีความตามหลักประเพณีการปกครอง - การตีความโดยยึดหลักประโยชน์แห่งรัฐ
การตีความกฎหมายโดยไม่มีความกระจ่าง ในเจตนารมณ์ ไม่มีใจที่เป็นกลาง ขาดจริยธรรม ย่อมนามาสู่การตีความในลักษณะตะแบงแบบ ศรีธนญชัย การตีความตะแบง ผิดพลาด หรือมี อคติ จะทาให้หลักนิติธรรมถูกกฎหมาย
องค์กรของรัฐและองค์กรศาล ซึ่งนากฎหมายไปปฏิบัติ ต้องมุ่งใช้กฎหมายเพื่อรักษาความยุติธรรม การตีความ กฎหมายนอกจากพิจารณาตามลายลักษณ์อักษร ยังต้อง คาจึงถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็นสาคัญ
การตีความตามลายลักษณ์อักษร อย่างเคร่งครัด แม้จะไม่ต้องเสี่ยงกับ ข้อผิดพลาด แต่อาจจะขัดต่อหลักการ ความยุติธรรม
“...... กฎหมายนั้น ไม่ใช่ตัวความยุติธรรม เป็นแต่เพียง เครื่องมืออย่างหนึ่งสาหรับใช้ในการรักษาและอานวยความ ยุติธรรมเท่านั้น การใช้กฎหมาย จึงต้องมุ่งหมายใช้เพื่อ รักษาความยุติธรรม ไม่ใช่เพื่อรักษาตัวบทของกฎหมายเอง และการรักษาความยุติธรรมในแผ่นดิน ก็มิได้มีวงแคบอยู่ เพียงแค่ขอบเขตของกฎหมาย หากต้องขยายออกไปให้ถงึ ศีลธรรมจรรยา ตลอดจนเหตุและผลตามความเป็นจริงด้วย ......” (พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานประกาศนียบัตร แก่เนติบัณฑิต ปี 2531)
“......กฎหมายทั้งปวง จะธารงความยุติธรรมและถูกต้องเที่ยงตรง หรือ จะธารงความศักดิ์สิทธิ์และประสิทธิภาพเต็มเปี่ยมอยู่ได้หรือไม่เพียงไร นั้น ขึ้นอยู่กับการใช้ คือ การใช้ให้ได้ถูกวัตถุประสงค์หรือเจตนารมณ์ ของกฎหมายนั้น ๆ จริงแล้ว ก็จะทรงความศักดิ์สิทธิ์และประสิทธิภาพ อันสมบูรณ์ไว้ได้ แต่ถ้าหากนาไปใช้ให้ผิดวัตถุประสงค์และเจตนารมณ์ โดยการพลิกแพลง บิดพลิ้วให้ผันผวนไปด้วยความหลงผิดด้วยอคติ หรือด้วยเจตนาอันไม่สุจริตต่าง ๆ กฎหมายก็เสื่อมความศักดิ์สิทธิ์และ ประสิทธิภาพลงทันที และกลับกลายเป็นพิษ เป็นภัยแก่ประชาชน อย่างใหญ่หลวง......” (พระบรมราโชวาท ในพิธพ ี ระราชทานประกาศนียบัตรแก่เนติบัณฑิต ปี 2520)
ความยุตธิ รรมภายใต้หลักนิติธรรมย่อมไร้ผล 1) ยังมีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม 2) ยังมีผลประโยชน์ขัดกัน ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม 3) การบังคับใช้กฎหมายยังมีปัญหา 4) คู่กรณีไปศาลด้วยเจตนาไม่สุจริต 5) ความล่าช้าในการตัดสินข้อพิพาทของศาล