รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล

Page 1

การบริหารงานภาครัฐกับ การสร้างธรรมาภิบาล โดย รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย รองเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า


แนวการบรรยาย 1. 2. 3. 4. 5. 6.

แนวคิดและองค์ประกอบของธรรมาภิบาล ทศพิธราชธรรม : ธรรมสาหรับผู้บริหาร หลักราชการ : หนทางสู่ความสาเร็จ การยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้อง ชอบธรรม (INTEGRITY) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซักถาม - แลกเปลี่ยน


หลักสานึก รับผิดชอบ หลักความ โปร่งใส

หลักความ คุ้มค่า

ธรรมาภิบาล หลัก คุณธรรม

หลักนิติ ธรรม หลักการมี ส่วนร่วม


1. เป้าหมายของการบริหารจัดการ

2. โครงสร้างและกระบวนการบริหารจัดการ 3. สภาพแวดล้อมของการบริหารจัดการ


เป้าหมาย ความสมดุลและเป็นธรรม, ความสุจริต , ความมีประสิทธิภาพ/ผล โครงสร้างและวิธกี าร -การมีความรับผิดชอบ -การตอบสนองต่อความต้องการ -ความโปร่งใส -การมีส่วนร่วม

สภาพแวดล้อม -กฎหมาย , ระเบียบ -ประมวลจริยธรรม -ประมวลการปฏิบัตงิ านที่เป็นเลิศ

-วัฒนธรรม


1. มีความเป็นธรรม (equity): การจัดสรรทรัพยากรเป็นไป อย่างสมดุลแก่คนทุกกลุ่ม 2. มีความสุจริตไม่ผิดไปจากความถูกต้อง (integrity) 3. มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล(efficiency & effectiveness)


1. มีความรับผิดชอบ (accountability)

2. การตอบสนองความต้องการ (responsiveness) 3. มีความโปร่งใส (transparency) 4. มีส่วนร่วมที่เหมาะสม (participation)


1. กฎหมาย ระเบียบ (Laws & Regulations) 2. จริยธรรม (Ethics) 3. การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) 4. วัฒนธรรม (Culture)


ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสาหรับผู้บริหาร

รองศาสตราจารย์วุฒสิ าร ตันไชย

9


ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสาหรับผูบ้ ริหาร การไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น การทา ตนให้ปกติ (ไม่โหดร้าย – ไม่มือไว – ไม่ใจเร็ว – ไม่ขป ี้ ด – และไม่ หมดสติ)

การซื่อตรงต่อหน้าที่ การปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความซื่อสัตย์ และสุจริต มีความจริงใจ

         

ทานัง ศีลัง ปริจาคัง อาชชะวัง มัททะวัง ตะปัง อักโกธะ อะวีหิสัญจะ ขันติญจะ อะวิโรธะนัง

การให้ความรัก การสละทรัพย์ การให้ความคิด พลัง สร้างสรรค์ การให้สิทธิและ เสรีภาพอย่างเท่าเทียม

การเสียสละความสุขส่วนตน เพื่อรักษาประโยชน์ส่วน ใหญ่ การเสียสละทรัพย์เพื่อ รักษาอวัยวะ การเสียสละ อวัยวะเพื่อรักษาชีวิต และ การเสียสละชีวิตเพื่อรักษา ความเป็นธรรม

รองศาสตราจารย์วุฒสิ าร ตันไชย

10


ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสาหรับผูบ้ ริหาร การมีความอ่อนโยนทั้ง ต่อผู้สูงกว่า เสมอกัน และต่ากว่า และการ เคารพในเหตุผลที่ควร มีสัมมาคารวะ

   

การไม่พยายามมุ่งร้าย ผู้อื่น และหากจะ ลงโทษผูท ้ าผิดก็ให้ทา ด้วยเหตุผล

     

ทานัง ศีลัง ปริจาคัง อาชชะวัง มัททะวัง ตะปัง อักโกธะ อะวีหิสัญจะ ขันติญจะ อะวิโรธะนัง

การมีความอ่อนโยนทั้ง ต่อผู้สูงกว่า เสมอกัน และต่ากว่า และการ เคารพในเหตุผลที่ควร มีสัมมาคารวะ

รองศาสตราจารย์วุฒสิ าร ตันไชย

11


ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสาหรับผูบ้ ริหาร   การไม่เบียดเบียนซึ่งกัน และกัน ต่างคนต่างก็ทา หน้าที่ของตน ไม่ ผูกขาดในตาแหน่ง หน้าที่การงาน และเปิด โอกาสให้ผู้อื่นทีม ่ ี ความสามารถ

     

การไม่ประพฤติผิดทานอง คลองธรรม ไม่ผิดต่อ จารีตประเพณี และ กฎหมาย

 

ทานัง ศีลัง ปริจาคัง อาชชะวัง มัททะวัง ตะปัง อักโกธะ อะวีหิสัญจะ ขันติญจะ อะวิโรธะนัง

ความอดทน อดกลั้น ต่อความลาบาก อดทน ต่อดินฟ้าอากาศ อดทน อดกลั้นต่อผู้ร่วมงาน เพื่อรักษาสัมพันธภาพ และมิตรภาพเอาไว้ และ เพื่อการปฏิบัติร่วมกันจะ ได้ราบรื่น

รองศาสตราจารย์วุฒสิ าร ตันไชย

12


หลักราชการ จาก หนังสือหลักราชการ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์


หนทางไปสู่ความสาเร็จ ประกอบด้วย คุณวิเศษ 10 ประการ


1. ความสามารถ เป็นสิ่งมิได้อยู่ในตาราอันใด และจะสอนให้แก่ กันก็หาได้มาไม่… หรืออาจแปลได้ว่า ทาการงานให้ เป็ น ผลส าเร็ จ ได้ ดี ก ว่ า ผู้ ที่ มี โ อกาสเท่ า ๆกั น … ความสามารถเป็นสิ่งซึ่งต้องการสาหรับคนที่จะใช้ เป็ น ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาคน…ซึ่ ง จะดู ค วามสามารถ มากกว่าดูภูมิวิช า…ความสามารถจึงเป็น ลักษณะ หนึ่งของผู้บังคับบัญชาคน…


2. ความเพียร คาว่า "เพียร" แปลว่า "กล้าหาญไม่ย่อท้อต่อ ความยากและบากบั่น เพื่อจะข้ามความขัดข้องให้ จงได้ โดยใ ช้ ค วามอุ ต สาหะวิ ริ ย ะภาพ มิ ใ ห้ ลดหย่อน" ผู้ที่ตีราคาว่าเป็นคนมีวิชามักจะลืมคานึง ข้อนี้ จึงไม่เข้าใจว่า เหตุใดผู้มีวิชาน้อยกว่าตน จึง กลับได้ดีมากกว่า


3. ความมีไหวพริบ รู้ จั ก สั ง เกตเห็ น โดยไม่ ต้ อ งมี ใ ครเตื อ นว่ า เมื่อมีเหตุเช่นนั้นจะต้องปฏิบัติการอย่างนั้น เพื่อให้บังเกิดผลดีที่สุดแก่กิจการทั่วไป และ รีบทาการอันเห็นควรนั้นโดยฉับพลัน


4. ความรู้เท่าถึงการ รู้จักปฏิบัติกิจการให้เหมาะด้วยประการทั้ง ปวง คื อ การเลื อ กว่ า จะปฏิ บั ติ อ ย่ า งไรจึ ง จะ เหมาะสมแก่เวลาและให้สมเหตุสมผลจึงเป็น ประโยชน์สูงสุด


5. ความซื่อตรงต่อน่าที่ ตั้งใจกระทากิจการซึ่งได้รับมอบนั้น โดย ซื่อสัตย์สุจริต ใช้ความอุตสาหะวิริยะเต็มสติ กาลัง ของตน ด้ว ยความมุ่ งหมายให้ กิ จการ นั้นๆ บรรลุซึ่งความสาเร็จและงดงามที่สุดที่ จะพึงมีหนทางจะทาได้


6. ความซื่อตรงต่อคนทั่วไป ความประพฤติ ซื่ อ ตรงต่ อ คนทั่ ว ไป รั ก ษาตนให้ เ ป็ น คนควรที่ เ ขาทั้ ง หลายจะ เชื่อถือได้ โดยรักษาวาจาสัตย์ไม่ยกตนข่ม ท่าน ตอบแทนผู้มีไมตรีโดยสม่าเสมอ


7. ความรู้จักนิสัยคน ผู้ที่รู้จักอ่อนน้อม ทาตัวให้เป็นที่รักใคร่ และเมตตาแห่งผู้ใหญ่ เข้าใจว่ามนุษย์ทุก คนต่างก็มีความแตกต่าง


8. ความรู้จักผ่อนผัน ต้ อ งเป็ น ผู้ ที่ รู้ จั ก ผ่ อ นสั้ น ผ่ อ นยาวว่ า เมื่ อ ใดควรตั ด ขาดและเมื่ อ ใดควรอ่ อ นหรื อ ผ่ อ นผั น กั น ได้ มิ ใ ช่ แ ต่ จ ะยึ ด ถื อ หลั ก เกณฑ์ หรื อ ระเบี ย บอย่ า งเดี ย ว ซึ่ ง จะก่ อ ให้ เ กิ ด ผลเสียควรจะยืดหยุ่นได้


9. ความมีหลักฐาน เครื่องช่วยบุคคลให้ได้รับตาแหน่งหน้าที่อันมีความ รับผิดชอบ ได้แก่ การมีบ้าน เป็นสานักมั่นคงเป็น หลักแหล่ง การมีครอบครัวอันมั่นคง และการตั้งตน ไว้ในที่ชอบละเว้นอบายมุข โดยทุกคนก็สามารถมี โอกาสเท่า ๆ กันที่จะสร้างความมีหลักฐานได้


10. ความจงรักภักดี ยอมเสียสละตนเพื่อประโยชน์แห่งชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์


การยึดมั่นในสิ่งทีถ่ ูกต้อง ชอบธรรม (INTEGRITY)


INTEGRITY STRENGTH AND FIRMNESS OF CHARACTER UNCOMPROMISING ADHERENCE TO A CODE OF MORAL VALUES MORAL UPRIGHTNESS


INTEGRITY มาจากรากศัพท์วา่ “INTEGER” แปลว่า “ความครบถ้วนสมบูรณ์ , ความ เป็นจานวนเต็ม” คนที่จะเป็นคนเต็มคน ต้องมี “INTEGRITY” เป็นคุณธรรมประจาตัว


INTEGRITY มีความหมายใกล้เคียงกับคาว่า “อวิโรธนัง” ซึง่ หมายถึง ความไม่คลาดจากธรรม


โดยมีคติธรรม 12 ประการ ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

สัจจะ พูดความจริง (TRUTH) ความซื่อสัตย์สุจริต (HONESTY) ความระลึกในหน้าที่ (SENSE OF DUTY) ความอดกลั้น (PATIENCE) ความเป็นธรรม (FAIR PLAY) ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (CONSIDERATION FOR OTHERS) 7. เมตตาธรรม (KINDNESS)


8. 9. 10. 11. 12.

ความกตัญญูกตเวที (GRATITUDE) ความสุภาพนุ่มนวล (POLITENESS) ความคารวะต่อผู้อาวุโส (RESPECT FOR ELDERS) รักษาคาพูด (PROMISE) จิตสานึกสาธารณะ เสียสละเพื่อส่วนรวม (PUBLIC CONSCIENCE)


หลักปฏิบัติ ดังนี้ 1) 2)

3)

พินิจพิเคราะห์แยกแยะว่าสิ่งใดเป็นสิ่งที่ถูกต้อง หรือสิ่งใดเป็นสิ่งที่ผดิ ให้ กระจ่างชัด (DISCERNING WHAT IS RIGHT AND WHAT IS WRONG) ปฏิบตั ิตามสิ่งที่ตนเชื่อว่าถูกต้องอย่างเคร่งครัด แม้จะทาตนลาบากหรือเสีย ผลประโยชน์ก็ตาม (ACTING ON WHAT YOU HAVE DISCER,EVEN AT PERSONAL COST) ประกาศให้ผู้อื่นได้ทราบโดยทั่วกันว่าตนได้ปฏิบตั ิไปเช่นนั้น โดยได้พินิจ พิเคราะห์แยกแยะว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว (SAYING OPENLY THAT YOU ARE ACTING ON YOUR UNDERSTANDING OF RIGHT FROM WRONG)


คอรัปชั่นเชิงนโยบาย คือ การที่ผู้มีอานาจและหน้าที่กาหนดนโยบายได้ใ ช้อานาจ หน้าที่ของตนเอื้อประโยชน์แก่ตนเองและพวกพ้อง โดยวิธีการกาหนด นโยบายที่มีจุดมุ่งหมายซ่อนเร้นที่จะแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบาย ดังกล่าว และมอบหมายให้ฝ่ายประจาไปดาเนินการจัดทาโครงการเสนอ ขึ้ น มาเพื่ อ อนุ มั ติ การคอรั ป ชั่ น เชิ ง นโยบายจึ ง เป็ น รู ป แบบใหม่ ข อง คอรัปชั่นที่มีจุดเริ่มต้นมาจากผู้กาหนดนโยบายโดยได้รับความร่วมมือ หรื อตกอยู่ ใ นสภาวะจ ายอมจากฝ่า ยประจ าในการจัด ท าโครงการให้ เป็นไปตามนโยบาย และเป็นการคอรัปชั่นที่อาศัยความชอบธรรมทาง กฎหมายเป็นเครื่องบังหน้าในการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว


คอรัปชั่น ?? ผาสุก พงศ์ไพจิตร (2546 : 161-162) แยกประเภทของคอรัปชั่นออกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรก คือ ภาษีคอร์รัปชั่น ซึ่งนักการเมืองและข้าราชการเก็บจากพ่อค้า นักธุรกิจ และประชาชน ในรูปของค่าคอมมิชชั่น และส่วยต่างๆ ประเภทที่สอง เป็นการคอร์รัปชั่นที่เกิดจากการทับซ้อนของผลประโยชน์ หรือ การขัดกันระหว่างผลประโยชน์สาธารณะและผลประโยชน์ส่วนบุคคล (Conflict of Interest) เช่น รายได้ซึ่งนักการเมืองและพรรคพวกเพือ่ นพ้อง ได้รับจากการตั้งราคาสินค้า หรือบริการซึ่งพวกเขาทาการผลิตอยู่ในราคาสูง เนือ่ งจากเป็นธุรกิจผูกขาดหรือกึ่งผูกขาด เช่น บริษัท ก. ได้สัมปทานจากรัฐทาธุรกิจโทรศัพท์มอื ถือ และรัฐให้สัมปทานบริษัทไม่กี่แห่ง ให้ทาธุรกิจนี้ ดังนัน้ บริษัท ก. จึงสามารถคิดค่าบริการเป็นรายเดือน (retaining fees) นอกเหนือจากค่าใช้โทรศัพท์จริงๆ ในอัตราสูงกว่าที่เก็บกันในประเทศอืน่ ๆ ซึ่งหมายความว่า บริษัท ก. สามารถทากาไรได้มากจนเจ้าของบริษัทเขยิบฐานะเป็นมหาเศรษฐีหมื่นล้านได้ใน เวลาประมาณ 5 ปี



"..The strongest deterrent (against corruption) is in a public opinion which censures and condemns corrupt persons; in other words, in attitudes which make corruption so unacceptable that the stigma of corruption cannot be washed away by serving a prison sentence...."

Lee Kuan Yew

(Singapore Parliament, 1987)

พลังสาคัญที่จะหยุดยั้งคนที่จะคอร์รัปชัน ได้ผลที่สุด คือทัศนคติของสังคมที่จะ ร่วมกันประณามและไม่ยอมรับคนโกงใดๆ

การลงโทษคนคอร์รัปชันจับเข้าคุกเท่านั้น ไม่พอเพียงกับโทษที่เขากระทาต่อสังคม


ซักถาม – แลกเปลี่ยน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.