Bannasan School
คำนำ หนั งสื อคู่มือนั กเรี ยนและผู้ป กครอง ปีการศึกษา 2563 จัดทาขึ้น เพื่อให้ นักเรียนและ ผู้ปกครอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทุกคนใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตน ระหว่างการศึกษาอันประกอบด้วย โครงสร้างของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้ นฐานพุทธศักราช 2551 ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระเบียบการวัดและประเมินผล รวมทั้งข้อมูล กฎระเบียบของโรงเรียนที่นักเรียนต้องปฏิบัติ เช่น ระเบียบเกี่ยวกับการแต่งกาย ทรงผม การมาโรงเรียนและกลับ การมาสาย ระเบียบการใช้บริการห้องสมุด ห้องพยาบาล ห้องประชาสัมพันธ์ ห้องแนะแนว การปฏิบัติที่ถูกต้องระหว่างที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนบ้านนาสาร ทางโรงเรียนหวังว่าหนังสือคู่มือนักเรียนและผู้ปกครองเล่มนี้จะเป็นคู่มือที่ผู้ปกครองใช้ให้เป็น ประโยชน์ ทาให้เกิดความเข้าใจตรงกันในการร่วมมือกันดูแลนักเรี ยนของโรงเรียนบ้านนาสารทุกคน ให้ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ด้วยความปรารถนาดี
นายสมชาย กิจคาม (ผู้อานวยการโรงเรียน)
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑
Bannasan School
สำรบัญ ข้อมูลพื้นฐำนโรงเรียนบ้ำนนำสำร - วิสัยทัศน์ - พันธกิจ - เป้าหมาย/จุดหมาย - ที่ตั้ง - เขตพื้นที่บริการ - เปิดสอนระดับชั้น - ประวัติโรงเรียน ทำเนียบผู้บริหำรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ภำคีเครือข่ำยโรงเรียนบ้ำนนำสำร คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนโรงเรียนบ้ำนนำสำร คณะผู้บริหำรโรงเรียนบ้ำนนำสำร บุคลำกรโรงเรียนบ้ำนนำสำร แผนผังโรงเรียนบ้ำนนำสำร แผนภูมิโครงสร้ำงกำรบริหำรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ปีกำรศึกษำ 2563 กลุ่มบริหำรวิชำกำร - หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - โครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ (IEP) - โครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ (SMP) - โครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ – เพิ่มเวลารู้ - โครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น ห้องเรียนทั่วไป- เพิ่มเวลารู้ - โครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ห้องเรียนภาษาอังกฤษ – ภาษาจีน (ECP) - โครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) - โครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ - โครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ห้องเรียนภาษา – สังคมศึกษา - โครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ห้องเรียนทั่วไป การศึกษาเพื่อการมีงานทา - การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ - งานห้องสมุด - งานแนะแนว
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
หน้า 4 5 5 5 6 6 6 6 10 12 13 14 15 21 22 23 24 30 33 36 39 42 45 48 51 54 57 68 69
๒
Bannasan School
สำรบัญ (ต่อ) กลุ่มบริหำรงบประมำณ กลุ่มบริหำรทั่วไป - ห้องพยาบาล - ระเบียบการใช้โรงอาหาร - อาคารสถานที่ - ร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน - ระเบียบว่าด้วยการใช้โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์(NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสาร กลุ่มบริหำรกิจกำรนักเรียน - ระเบียบและแนวปฏิบัติของนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสาร - ระเบียบว่าด้วยการควบคุมความประพฤติของนักเรียน พ.ศ. 2563 - ระเบียบว่าด้วยเครื่องแบบ การแต่งกาย และทรงผมนักเรียน พ.ศ. 2563 - แบบอย่างการแต่งกายนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น - แบบอย่างการแต่งกายนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย - ระเบียบว่าด้วยคณะกรรมการนักเรียน พ.ศ. 2563 - หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกนักเรียนดีเด่น - เบอร์โทรศัพท์ติดต่อข้าราชการครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านนาสาร คำสั่งโรงเรียนบ้ำนนำสำรที่ 110/2563
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
หน้า 74 79 80 80 81 81 82 85 86 92 99 103 104 105 109 113 115
๓
Bannasan School
ข้อมูลพื้นฐำนโรงเรียนบ้ำนนำสำร
พระพุทธรูปประจำโรงเรียน ตรำสัญลักษณ์ พระบรมธาตุไชยา บนยอดพระธาตุเป็นรังสีสีชมพู ด้านล่างเป็นแถบสีฟ้ามีชื่อเต็มของโรงเรียน
เป็นพระพุทธรูปปางลีลา มีชื่อว่า “พระพุทธกตัญญุตานุสรณ์”
ชือ่ อักษรย่อ ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อย่อภาษาไทย ชื่อย่อภาษาอังกฤษ
โรงเรียนบ้านนาสาร Bannasan School บ.ส. B.S.
คติพจน์ประจำโรงเรียน
ความสามัคคีของหมู่คณะ นามาซึ่งความสุข
สีประจำโรงเรียน สีประจาโรงเรียนคือ
ต้นไม้ประจำโรงเรียน ต้นราชพฤกษ์หรือ คูน
ชมพู – ฟ้ำ
สีชมพู หมายถึง ความมีน้าใจ รักใคร่ สามัคคี กลมเกลียวกัน สีฟ้า หมายถึง ผู้มีจิตใจเยือกเย็น สุขุม รอบคอบ สดชื่น อัตลักษณ์ของโรงเรียน
“ คนดีศรีนำสำร”
คำขวัญประจำโรงเรียน “ศึกษำดี มีวินัย ใฝ่ธรรมะ พละเด่น เป็นกำรงำน”
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔
Bannasan School
วิสัยทัศน์ “โรงเรียนบ้ำนนำสำร มีคุณภำพตำมมำตรฐำนสำกล บนพื้นฐำนคุณธรรมบริหำรจัดกำรตำม แนวทำงศำสตร์พระรำชำ”
พันธกิจ 1. จัดการศึกษาให้ประชากรวัยเรียนในเขตบริการได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเท่า เทียม 2. จัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพและมีผลการทดสอบระดับชาติที่สูงขึ้น 3. จัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีทักษะชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง เป็นครูมืออาชีพ 5. บริหารจัดการเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม 6. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนและการบริหาร จัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
เป้ำหมำย/จุดหมำย 1. เพิ่มโอกาสให้ประชากรวัยเรียนในเขตบริการได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 2. พัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 3. ส่งเสริมนักเรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมมีทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงและต่อเนื่องเป็นครูมืออาชีพ 5. เพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ เน้นกระบวนการมีส่วนร่วม 6. ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนและ การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕
Bannasan School
ที่ตั้งโรงเรียน โรงเรียนบ้านนาสาร ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 9 ถนนเหมืองทวด ตาบลนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสไปรษณีย์ 84120
เปิดสอนระดับชั้น
เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6
เขตพื้นที่บริกำร มีเขตพื้นที่บริการอาเภอบ้านนาสาร ได้แก่ 1. ตาบลนาสาร 2. ตาบลลาพูน 3. ตาบลเพิ่มพูนทรัพย์ 4. ตาบลคลองปราบ
ประวัติโรงเรียน 1.นำมโรงเรียน เรียกว่า โรงเรียนบ้านนาสาร โดยหนังสือกระทรวงศึกษาธิการที่ 11469/2494 2.ที่ตั้งโรงเรียน ในตอนแรกยังหาที่ตั้งโรงเรียนได้ไม่แน่นอน แต่เพื่อให้ทันตามเวลา กาหนดเปิดใน ปีการศึกษา 2494 คณะกรรมการอาเภอบ้านนาสารพร้อมด้วยพระมหาบุญมี เจ้าอาวาสวัดอภัยเขตตา ราม ตลอดจนชาวบ้านพร้อมใจกันให้ใช้หอฉันของวัดอภัยเขตตาราม เป็นสถานที่ให้การศึกษาแก่นักเรียน ชั่วคราวและได้ใช้สถานที่แห่งนี้เป็นเวลา 2 ปี 1 เดือน 21 วัน 3.เปิ ด ท ำกำรสอนครั้ ง แรก เมื่ อ วั น ที่ 14 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2494 โดยอาศั ย หอฉั น ของวั ด อภัยเขตตาราม เป็นอาคารเรียนมีนายแผ้ว พรหมสวัสดิ์ เป็นครูใหญ่ นางสาวสมจิต เดชะ เป็นครู ประจาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหนังสือแผนกศึกษาธิการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ 1116/2494 ลง วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2494 ในวันพิธีเปิด นายเจริญ วิทยศักดิ์ ศึกษาธิการจังหวั ดสุราษฎร์ธานี ทาการแทนผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นประธานการเปิดเรียน และนายนอง ปานชู นายอาเภอ บ้ า นนาสาร กล่ า วในนามข้ า ราชการ พ่ อ ค้ า ประชาชนอ าเภอบ้ า นนาสาร หลั ง จากนั้ น นายแผ้ ว พรหมสวัสดิ์ เริ่มทาการสอนเป็นปฐมฤกษ์ เรื่อง “หลักเกณฑ์ในการเล่าเรียน” 4.กำรคัดเลือกนักเรียนเข้ำเรียนในปีแรกนั้น ดาเนินการตามระเบียบของกรมสามัญศึกษาว่าด้วย การรับนักเรียน พุทธศักราช 2487 โดยคาสั่งของ นายนอง ปานชู นายอาเภอบ้านนาสาร ได้จัดการไป ตามข้ อ เสนอของ นายวิ ญ ญ์ ฉวาง ศึ ก ษาธิ ก ารอ าเภอบ้ า นนาสาร โดยมี น ายแผ้ ว พร หมสวัส ดิ์ เป็นประธานกรรมการ มีนักเรียนสมัครเรียน 71 คน รับไว้ได้เดียง 40 คน เป็นนักเรียนชาย 28 คน นักเรียนหญิง 12 คน เริ่มคัดเลือกเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2494
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖
Bannasan School 5.กำรจัดตั้งอำคำรเรียนถำวรทางการต้องการที่ดินไม่น้อยกว่า 6 ไร่แต่ด้วยความสามารถของ นายวิญญ์ ฉวาง ศึกษาธิการอาเภอบ้านนาสาร และคณะกรรมการอาเภอบ้านนาสาร ช่วยกันจัดหาที่ดิน ได้ 13 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา อาคารเรียนหลังแรกเป็นเรือนไม้ชั้นเดียว ใต้ถุนสูง 5 ห้องเรียน ทาพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2495 เวลา 10.40 น. โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นประธานฝ่ายฆราวาส และพระครูวัดอภัยเขตตาราม เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ในการก่อสร้างอาคารเรียนหลังแรกนี้ได้รับเงิน งบประมาณสร้างเพียง 180,000 บาท สร้างตามแบบแปลนแผนผังโรงเรียนประจาอาเภอแบบ 2 (2495) ครูใหญ่การช่างสุราษฎร์ธานีเป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง เงินงบประมาณจานวนนี้ไม่สามารถจัดสร้าง ได้ แต่ด้วยการวิ่งเต้นช่วยเหลือของนายวิญญ์ ฉวาง ศึกษาธิการอาเภอบ้านนาสาร และนายเที่ยว เวียง วีระ กานันดาบลทุ่งเตาช่วยจัดหาไม้มาได้ในราคาต่า การสร้างจึงสาเร็จ ซึ่งถ้าถือ ว่าเป็นราคาตาม ท้องตลาด อาคารเรียนหลังแรกจะต้องใช้งบประมาณไม่ต่ากว่า 270,000 บาท อาคารเรียนหลังแรกนี้ใช้เป็นสาถนที่เรียน เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 เนื่องจากสถาน ที่ดินเดิมเป็นป่าไผ่และจอมปลวก จึงต้องใช้แรงครูและนักเรียนช่วยกันถากถางและปรับให้ราบ แต่ไม่ เรี ย บร้ อ ยลงได้ คณะผู้ ป กครองนั กเรี ย นโดยการน าของ นายสั น ต์ สกุ ล แต่ ง เสมี ย นใหญ่ บริ ษัทไซมิ สตีน ซิน ติเกด ห้ ว ยมุด จั ดหาเงินและจ้างคนขุดปรับที่ใช้เป็นสนามของโรงเรียนได้ในปี พ.ศ. 2500 6 สภำพของโรงเรียนบ้ำนนำสำร 6.1 ที่ดินของโรงเรียน พ.ศ. 2495 โรงเรียนได้ที่ดิน 13 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา พ.ศ. 2515 กรมสามัญศึกษาซือ้ ที่ดินของนายแจว ประไพวรรณ จานวน 7 ไร่ ด้วยเงิน งบประมาณ 350,000 บาท เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2515 ที่ดิน แปลงนี้ติดกับที่เดิมทางทิศตะวันตก พ.ศ. 2516 ประชาชนโดยการนาของ นายชัช อุตตมางกุล จัดซื้อที่ดินของนายสุม่า ระยะปูโล จานวน 8 ไร่ ด้วยราคา 35,000 บาท เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 เพื่อให้เป็นหมูบ่ ้านพักครูที่ดินแปลงนี้อยู่ห่างจากโรงเรียนประมาณ 2 กิโลเมตร ในเส้นทางนาสาร – บ้านดอน (รวมที่ดินของโรงเรียนบ้านนาสาร ทั้งสิ้น 28 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา) 6.2 อำคำรเรียนและอำคำรประกอบของโรงเรียน พ.ศ. 2495 สร้างอาคารเรียนหลังแรกเป็นอาคารไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูง จานวน 3 ห้องเรียน ด้วยเงินงบประมาณ 180,000 บาท และโรงเรียนได้จัดหาเงินสร้างเพิ่มเติม อาคารชั้นล่างจนเต็ม 10 ห้องเรียน สาเร็จในปี 2509 ขนาดห้องเรียน หลังนี้ 41 x 11 เมตร พ.ศ. 2509 สร้างอาคารอุตสาหกรรมศิลป์ ขนาด 10 x 24 เมตร ด้วยเงินงบประมาณ 90,000 บาท พ.ศ. 2510 สร้างบ้านพักครู 1 หลัง ด้วยเงินงบประมาณ 50,000 บาท พ.ศ. 2512 สร้างบ้านพักครู 1 หลัง ด้วยเงินงบประมาณ 50,000 บาท คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๗
Bannasan School พ.ศ. 2513
พ.ศ. 2514
พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2516
พ.ศ. 2517
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2520
- สร้างอาคารเรียนไม้สองชั้น ขนาด 31.5 x 10 เมตร จานวน 6 ห้องเรียน ด้วยเงินงบประมาณ 360,000 บาท - สร้างโรงอาหาร/หอประชุม ขนาด 12 x 32 เมตร ด้วยเงินงบประมาณ 200,000 บาท - สร้างอาคารอาชีวเกษตร ขนาด 9 x 24 เมตร ด้วยเงินงบประมาณ 170,000 บาท - สร้างอาคารคหกรรมศิลป์ ขนาด 10 x 105 เมตร ด้วยเงินงบประมาณ 70,000 บาท - สร้างบ้านพักครู 1 หลัง ด้วยเงินงบประมาณ 50,000 บาท - สร้างห้องน้า – ห้องส้วม 1 หลัง ขนาด 4 ที่นั่ง ด้วยเงินงบประมาณ 30,000 บาท - สร้างอาคารเรียนแบบ 216 ขนาด 27 x 10 เมตร จานวน 4 ห้องเรียน ด้วยเงินงบประมาณ 199,000 บาท - สร้างบ้านพักครู 3 หลัง ด้วยเงินงบประมาณ 150,000 บาท - สร้างบ้านพักครู 1 หลัง และบ้านพักภารโรง 1 หลัง ด้วยเงินงบประมาณ 80,000 บาท - สร้างห้องน้า – ห้องส้วม จานวน 2 หลัง ขนาด 8 ที่นั่ง ด้วยเงิน งบประมาณ 60,000 บาท - สร้างบ้านพักภารโรง จานวน 2 หลัง ด้วยเงินงบประมาณ 60,000 บาท และได้จัดสร้างที่หมู่บ้านนาเตรียะ - สร้างห้องน้า – ห้องส้วม จานวน 1 หลัง ขนาด 4 ที่นั่ง ด้วยเงิน งบประมาณ 30,000 บาท - สร้างบ้านพักครู จานวน 1 หลัง ด้วยเงินงบประมาณ 80,000 บาท และ ได้จัดสร้างที่หมู่บ้านนาเตรียะ - สร้างห้องน้า – ห้องส้วม จานวน 1 หลัง ขนาด 4 ที่นั่ง ด้วยเงิน งบประมาณ 40,000 บาท - สร้างบ้านพักครู จานวน 2 หลัง บ้านพักภารโรง 1 หลัง ด้วยเงิน งบประมาณ 200, 000 บาท - สร้างห้องน้า – ห้องส้วม 1 หลัง ขนาด 8 ที่นั่ง - สร้างอาคารตึก4 ชั้น แบบ 424 ก. ขนาด 31.5 x 9 จานวน 12 ห้องเรียนด้วยเงินงบประมาณปี 2519 จานวน 2,000,000 บาท - สร้างอาคารหอประชุมขนาดใหญ่ ขนาด 21x 42 เมตร ด้วยเงิน งบประมาณ 9000,000 บาท - สร้างบ้านพักครูจานวน 1 หลัง ด้วยเงินงบประมาณ 70,000 บาท
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๘
Bannasan School พ.ศ. 2521 - ได้รับงบประมาณ 50,000 บาท ก่อสร้างอาคารชั่วคราวแบบ 004 จานวน5 ห้องเรียน - ได้รับงบประมาณ 80,000 บาท เป็นค่าสร้างบ้านพักครูจานวน 1 หลัง พ.ศ. 2522 - ได้รับเงินงบประมาณ 2,500,000 บาท เป็นค่าก่อสร้างอาคารเรียนแบบ 424ก. (ต่อเติม) จานวน 12 ห้องเรียน ขนาด 9 x 31.5 เมตร - ได้รับงบประมาณ 80,000 บาท เป็นค่าก่อสร้างบ้านพักครูจานวน 1 หลัง ขนาด 6 x 8 เมตร พ.ศ. 2525 - ได้รับงบประมาณสร้างอาคารฝึกงานแบบ 204/27 จานวน 1 หลังเป็น เงินงบประมาณ996,000 บาท พ.ศ. 2530 - ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ 216 ล จานวน 1 หลัง พ.ศ. 2534 - ได้รับงบประมาณสร้างอาคารฝึกงานแบบ 204/27 จานวน 1 หลัง ด้วย เงินงบประมาณ 2,826,000 บาท พ.ศ. 2535 - ได้รับเงินงบประมาณสร้างอาคารฝึกงานแบบ 204/27 จานวน 1 หลัง เป็นเงิน 996,000 บาท พ.ศ. 2537 - ได้รับงบประมาณสร้างอาคารหอประชุมโรงอาหารแบบ 101 ล/27 จานวน 1 หลังเป็นเงิน 6,153,000 บาท พ.ศ. 2560 - ได้รับงบประมาณสร้างอาคารพักครู 205/26 จานวน 1 หลัง - ได้รับงบประมาณปรับปรุงบ้านพักครู ด้วยเงินงบประมาณ 200,000 บาท พ.ศ. 2561 - ได้รับงบประมาณปรับปรุงพื้นห้องโสตทัศนศึกษาด้วยเงินงบประมาณ 587,000 บาท
อำคำรเรียนหลังแรก คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙
Bannasan School
ทำเนียบผู้บริหำรโรงเรียนบ้ำนนำสำร 1. นายแผ้ว พรหมสวัสดิ์ 2. นายชุ่ม ทวีวิทย์รัศมี 3. นายสมศักดิ์ เวสสุวรรณ 4. นายเรืองเกียรติ อัฐพร
5. นายหิรัญ บุปผา 6. นายระงับ ศรีรุ่งเรือง 7. นายสาธร ลิกขะไชย 8. นายนิคม โพธิ์เพชร 9. นายสุชาติ หงษ์ทอง 10. นายทวี ทองปลูก 11. นางสมร เผือกเดช 12. นายสมชาย กิจคาม
ดารงตาแหน่งครุใหญ่ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2494 ดารงตาแหน่งครูใหญ่ เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2500 ดารงตาแหน่งครูใหญ่ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2512 และดารงตาแหน่งอาจารย์ใหญ่ ระดับ 7 เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2522 อาจารย์ 3 ระดับ 7 โรงเรียนบดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ส่วนกลางรักษาการในตาแหน่งอาจารย์ใหญ่ ระดับ 7 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2524 และดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน บ้านนาสาร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2528 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร ตั้งแต่วันที่ 26 กรกฎาคม 2528 ถึงวันที่ 1 ธันวาคม 2530 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร ตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม 2530 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2532 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ถึงวันที่ 28 ตุลาคม 2536 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ถึงวันที่ 15 กรกฎาคม 2543 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร ตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2543 ถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร ตั้งแต่วันที่ 27 มิถุนายน 2554 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2556 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร ตั้งแต่วันที่ 4 ธันวาคม 2556 ถึงวันที่ 9 พฤษภาคม 2561 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร ตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม 2561 ถึงปัจจุบัน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐
Bannasan School
สถิติข้อมูลบุคลำกรโรงเรียนบ้ำนนำสำร 1. ผู้บริหำร ตำแหน่ง ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ ปฏิบัติหน้าที่รองผู้อานวยการ รวม 2. ข้ำรำชกำร ตำแหน่ง ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ ภาษาต่างประเทศ สนับสนุน รวม 3.
ชำย 1 2 3
หญิง 1 1
รวม 1 2 1 4
ชำย 3 6 2 3 2 3 2 21
หญิง 8 7 8 7 1 4 2 10 5 51
รวม 8 10 14 9 4 6 5 12 5 72
ชำย
หญิง
รวม
1 1 3 -
1
1 1 3 1
2 1 4 12
3 3 5 12
5 4 9 24
36
64
101
บุคลำกำรทำงกำรศึกษำ
ตำแหน่ง ในงบประมำณ ครูผู้ทรงคุณค่าแห่งแผ่นดิน ครูอัตราจ้าง ลูกจ้างประจา เจ้าหน้าที่ธุรการ นอกงบประมำณ ครูอัตราจ้าง ครูอัตราจ้างต่างชาติ ลูกจ้างชั่วคราว รวม
รวมทั้งหมด
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๑
Bannasan School
ภำคีเครือข่ำยโรงเรียนบ้ำนนำสำร
นายบุญส่ง จันทร์ชัย ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านนาสาร
นายธานนท์ ชูเมือง นายกสมาคม ศิษย์เก่าโรงเรียนบ้านนาสาร
นายจุกออน ชินธเนศ นายกสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนบ้านนาสาร
ร้อยตารวจเอกชัยณรงค์ ราชรักษ์ ประธานเครือข่ายผู้ปกครอง นักเรียนโรงเรียนบ้านนาสาร
นายอุดม จิตตารมย์ ประธานชมรมครูเก่าโรงเรียนบ้านนาสาร
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๒
Bannasan School
คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนโรงเรียนบ้ำนนำสำร
นายบุญส่ง จันทร์ชัย ประธานกรรมการ
นางปรานี ศรีสวัสดิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ
นายวิวัฒน์ นาครอด ผู้ทรงคุณวุฒิ
นายรุ่งโรจน์ สันติวิทยารมย์ นายอภิวัฒน์ ประชุมรัตน์ นายธีรยุทธ์ สันติสกุลธรรม ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผูท้ รงคุณวุฒิ
นายประเทือง มีแต้ม ผู้ทรงคุณวุฒิ
นายภราดร ลิ่วรุ่งโรจน์ ผู้ทรงคุณวุฒิ
นายอรรถพร พุทธารักษ์ ผู้แทนครู
นายพรชัย ลิขิตวิทยาไกร ผู้แทนศิษย์เก่า
นายยงยุทธ บุญต่อยุทธ ผู้แทนองค์กรชุมชน
นางนวพร อรุณเมฆ ผู้แทนผู้ปกครอง
ร.ต.ชาญชัย บุญสร้าง ผู้แทนองค์กรศาสนา
พระสมุห์วชรินทร์ ทกขญาโณ ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์
นายสมชาย กิจคาม กรรมการและเลขานุการ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๓
Bannasan School
คณะผู้บริหำรโรงเรียนบ้ำนนำสำร
นายสมชาย กิจคาม ผู้อานวยการสถานศึกษา
นายพยนต์ ไทยเกิด รองผู้อานวยการสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ
นายพงษ์ศักดิ์ นาครพัฒน์ รองผู้อานวยการสถานศึกษา กลุ่มบริหารงบประมาณและ กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน
นางรัชนี ศิลปธีรธร ปฏิบัติหน้าที่รองผู้อานวยการ กลุ่มบริหารงานบุคคล
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๔
Bannasan School
บุคลำกรโรงเรียนบ้ำนนำสำร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
นางพจนาถ ศิริสกุล หัวหน้ากลุ่มสาระฯภาษาไทย
นางนาตยา ดาพัฒน์
นางสาวอารีย์ ยีหมาด
นางสาวสุภาวดี พลายแก้ว
นางสาวญาณิศา รัตนาพร
นางสาวนิตยา วิบูลย์ชัยวัฒน์
นางสาวนริสรา นวลอม
นางสาวเมธินี มีดี
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์
นางนุตริยา เครือหงส์ นางสาวพนาวรรณ พุฒถนอม หัวหน้ากลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์
นางอุษา สื่อมโนธรรม
นายธีรพงษ์ อนันตวิทยวงศ์
นางพัฒนสุฎา เพชรมีศรี
นายวินัย ดาพัฒน์
นายอรรถพร พุทธารักษ์
นางสาวจารุณี บัวแย้ม
นางสุกัญญา คงแก้ว
นางสาวมนชนก จันทบูรณ์
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๕
Bannasan School
กลุ่มสำระกำรเรียนรูว้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
นายชัยยุทธ ยิ้มมาก หัวหน้ากลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
นายสมยศ เอกอัครบัณฑิต
นางจรรยา ไทยทอง
นางสาวทิพวรรณ แซ่ตั้ง
นางสาวสุชาดา เสวกสูตร
นางสาววาสนา ชัยพรหม
นางวรุนันท์ บางรักษ์
นายจตุพล โฉมยงค์
นางนิทยา บุญฤทธิ์
นางสาวอัมพวัน คงสุข
นางสาวดุษฎี เหมนะ
นายอาทิตย์ หมวดคงจันทร์
นายก้องภพ จรูญพงศ์
นายอรรถชัย สมมะลวน
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศึกษำและพลศึกษำ
นายสายันต์ ศรีพงษ์พันธ์กุล หัวหน้ากลุ่มสาระสุขศึกษาฯ
นางพรรณวดี ทวีวิทย์ชาคริยะ
นายภูมิพัฒน์ อาวุธเพชร
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
นายเซน ร่มพฤกษ์
๑๖
Bannasan School
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม
นางอุบล ไทยเสน หัวหน้ากลุ่มสาระฯสังคมศึกษาฯ
นางจิตราวัฒน์ อภิรัชวงศ์
นางมันทนา ปุณยปรัชญ์
นายวันชัย ช่วยไทย
นางสาวกมลลักษณ์ สิริภัทรธนากูล
นางสาวพิชญา พรหมปองสุข
นายศิริศักดิ์ ทองเหมือน
นางสาวนิศากร คงช่วย
นางสาวอภิญญา ชุมคง
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ
นายสันติ ยิม้ ปลืม้ หัวหน้ากลุ่มสาระศิลปะ
นางภาณี ชินธเนศ
นางสาวเปมิกา เกษตรสมบูรณ์
นางปิยะมาศ ปราสาทิกะพันธ์
นางสาวกุลนิธี แสงกิตติคุณ
นายอาทินันท์ อนุวัฒน์
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๗
Bannasan School
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ
นางทิพวรรณ์ สนธนวณิชย์ หัวหน้ากลุ่มสาระฯภาษาต่างประเทศ
นางรัตนา ธนเกัยรติวงศ์
นายเดโชว์ แก้ววิหค
นางสาวฉันทนา ชัยพูลเดช
นางกัลยาณี ถ่างก้าวหน้า
นางจิราวรรณ นาคพิน
นายสมเกียรติ จาปีพันธ์
นางนันทิยา หงษ์ทอง
นางสาวสรัลชนา กลางนุรักษ์
นางสาวสุชาดา ฉิมพงษ์
นางสาวกุสุมา ชูสสี ุข
นางสาวนรีพันธ์ คงนาค
กลุ่มสำระกำรเรีย.นรูก้ ำรงำนอำชีพ
นายนเรศ อ่อนศรี หัวหน้ากลุ่มสาระฯการงานอาชีพ
นางสุภาพร จงสิริสถิตย์
นายสุรศักดิ์ ปราสาทิกะพันธ์
นายวรพจน์ วิชัยดิษฐ์
นางศิริรัช โสมล
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๘
Bannasan School
สนับสนุนกำรสอน
นางรัชนี ศิลปธีรธร
นางจินตนา บัวเผียน
นางอุรา เชิดเพชรรัตน์
นางสาวเยาวภา สุวรรณรัตน์
นางจิรภา สุขไกว
นางสาวรัชณี ชูมณี
ลูกจ้ำงประจำ
นายชเนาว์ ตรีสงค์
นายอยุธยา อนุภักดิ์
นายประสิทธิ์ จันทร์เหมือน
ลูกจ้ำงชั่วครำวชำวต่ำงประเทศ
Mr Mariano U Pineda lll
Mrs. Patricia Sue Beecher
Mrs.Jessica Giva Sarsalijo
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
Mrs. Camen Isolde MabaoAdetunji
๑๙
Bannasan School
ลูกจ้ำงชั่วครำว
นายพจนันท์ สุริรักษ์ ครูอัตราจ้าง (คอมพิวเตอร์)
นางสาวอรสา สารทิพย์ ครูอัตราจ้าง (คอมพิวเตอร์)
นางสาวฐิตารัตน์ ไชยอมรสิทธิ์
ว่าที่ร้อยตรีกฤษณะ วงศ์สกุล ครูอัตราจ้าง (ภาษาจีน)
นายสมพงษ์ จิตต์มาตร ครูผู้ทรงคุณค่าแห่งแผ่นดิน
นางสาวศศิธร ภัทรปรัชญากุล
นายสาโรจน์ ล้านเหลือ พนักงานขับรถ
นายไชยพร คงแก้ว พนักงานรักษาความปลอดภัย
เจ้าหน้าที่ทะเบียนวัดผล
เจ้าหน้าที่การเงิน
นางสาวอรอุมา ชัยสอาด ครูอัตราจ้าง (สังคมศึกษา)
นางสาวสุชานาฎ โปอินทร์ เจ้าหน้าที่ธุรการโรงเรียน
นางนริศรา ปานวัฒน์ พนักงานทาความสะอาด
นางฉวีวรรณ เมืองน้อย พนักงานทาความสะอาด
นางสุนี ปาลคะเชนทร์ พนักงานทาความสะอาด
นายจักรกฤษณ์ ขวัญกลับ พนักงานรักษาความปลอดภัย
นายณัฐพงษ์ กระบิน ครูอัตราจ้าง (พลศึกษา)
นายเกรียงศักดิ์ เขตเขว้า พนักงานตัดหญ้า
นางสาวพุทธิมา ชื่นจิตร์ เจ้าหน้าที่ธุรการงานกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๒๐
Bannasan School
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๒๑
Bannasan School
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๒๒
Bannasan School
กลุ่มบริหารวิชาการ คณะกรรมกำรบริหำรวิชำกำร 1. งานบริหารงานวิชาการ 2. งานสานักงานกลุ่ม 3. งานวัดและประเมินผล 4. งานทะเบียนและเทียบโอนผลการเรียน 5. งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6. งานพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี 7. งานโครงการห้องเรียนพิเศษ 8. งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 9. งานนิเทศการศึกษา 10. งานประกันคุณภาพการศึกษา 11. งานแนะแนว 12. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 13. งานห้องสมุด 14. งานรับนักเรียน 15. งานประเมินผลการดาเนินงานกลุ่ม
นายพยนต์ นางสาวเยาวภา นางสาวทิพวรรณ นางสาวเยาวภา นางสุภาพร นางสาวเยาวภา นายเดโชว์ นางจิตราวัฒน์ นายพยนต์ นางสุภาพร นางจินตนา นางสาวสุชาดา นางอุรา นางสาวพนาวรรณ นายพยนต์
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
ไทยเกิด สุวรรณรัตน์ แซ่ตั้ง สุวรรณรัตน์ จงศิริสถิตย์ สุวรรณรัตน์ แก้ววิหค อภิรัฐวงศ์ ไทยเกิด จงศิริสถิตย์ บัวเผียน เสวกสูตร เชิดเพชรรัตน์ พุฒถนอม ไทยเกิด
๒๓
Bannasan School
หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ให้เป็น หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดมุ่งหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบ ทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการ แข่งขันในเวทีโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) พร้อมกันนี้ได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้ สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเน้นการกระจาย อานาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษาได้มีบทบาทและมี ส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และความต้องการท้องถิ่น (สานัก นายกรัฐมนตรี, 2542) จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ 6 ปี ที่ผ่านมา (สานักวิชาการ และมาตรฐานศึกษา, 2546 ก., 2546 ข., 2548 ข., สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2547; ส านั กงานผู้ ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, 2548; สุ วิมล ว่องวาณิช และนงลั กษณ์ วิรัชชัย, 2547; Nutravong, 2002; Kittisunthorn, 2003) พบว่า หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มี จุ ด ดี ห ลายประกา เช่ น ช่ ว ยส่ ง เสริม การกระจายอ านาจทางการศึ ก ษา ท าให้ ท้ อ งถิ่ น และ สถานศึกษามีส่ ว นร่ว มและมีบ ทบาทส าคัญในการพัฒ นาหลักสู ตรให้ส อดคล้องกับความต้องการของ ท้องถิ่น และสถานศึกษามีส่ ว นร่ ว มและมีบ ทบาทส าคั ญในการพัฒ นาหลั กสู ตรให้ ส อดคล้ อ งกับ ความ ต้องการของท้องถิ่น มีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชัดเจน อย่างไร ก็ตามผลการศึกษาดังกล่าวสะท้อนให้เห็น ถึงประเด็นที่เป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของหลักสูตรหลาย ประการทั้งในส่วนของเอกสารหลักสูตรกระบวนการนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติและผลผลิตที่เกิดจากการใช้ หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ส่วนใหญ่กาหนดสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้มาก ทาให้เกิด ปัญหาหลักสูตรแน่น การ วัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐานส่งผลต่อปัญหาการจัดทาเอกสารหลักฐาน การศึกษาและการเทียบ โอนผลการเรียน รวมทั้งปัญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ นอกจากนั้นแผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ( พ.ศ. 2550 – 2554) ได้ ชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นในการปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้มีคุณธรรม และ มีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และ ศีลธรรม สามารถก้าว ทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนาไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคน ดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็ก และเยาวชนให้มีพื้นฐาน จิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะ และความรู้พื้นฐานที่ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๒๔
Bannasan School จาเป็นในการดารงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่ งชาติ , 2549) ซึ่งแนวทางดังกล่ าวสอดคล้ องกับนโยบายของกระทรวงศึก ษาธิการในการพั ฒ นา เยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุค ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมี คุณธรรม รักความเป็นไทย มี ทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น และสามารถ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544ที่ผ่ านมาประกอบกับ ข้อมูล จากแผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสั ง คมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 เกี่ยวกับ แนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ 21 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสม ชัดเจน ทั้งเป้าหมายของหลักสูตร ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษาโดยได้มี ก ารก าหนดวิสั ย ทั ศ น์ จุดหมาย สมรรถนะส าคั ญ ของผู้ เ รีย น คุณลั กษณะอั น พึ ง ประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร การเรียนการ สอนในแต่ละระดับ นอกจากนั้นได้กาหนดโครงสร้าง เวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ใน แต่ละชั้นไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเปิดโอกาสให้ สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การจบ การศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อการนาไปปฏิบัติ เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ปรับปรุง พ.ศ. 2560) นี้ จั ด ท าขึ้ น ส าหรั บ ท้ อ งถิ่ น และ สถานศึ ก ษาได้ น าไปใช้ เ ป็ น กรอบและทิ ศ ทางในการจั ด ท าหลั ก สู ต ร สถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพ ด้านความรู้และทักษะที่จาเป็น สาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทาให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุก ระดับเห็นผลการคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถ ช่วยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษา ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจทาให้ การจัดทาหลักสูตรในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษาจะต้องสะท้อนคุณภาพตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานรวมทั้งเป็นกรอบ ทิศทางใน การจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา เยาวชนของชาติไปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๒๕
Bannasan School
วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะ ขั้นพื้นฐานรวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษา ต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
หลักกำร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็น ไทยควบคู่กับความเป็นสากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่น ทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม ทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จุดหมำย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึ งกาหนดเป็นจุดหมาย เพื่อให้ เกิดกับผู้ เรียนเมื่ อจบการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตัวเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้อันเป็นสากลและความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มงุ่ ทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๒๖
Bannasan School
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพมาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งการ พัฒนาผู้เรียนรู้ที่กาหนดนั้นจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งเอกสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัด และลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้ างสรรค์ การคิดอย่ างมีวิจ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้างองค์ ความรู้ ห รื อ สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหาเป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการ ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหา และความขัดแย้งต่างๆอย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้ จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุง่ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้ สามารถอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซื่อสัตย์สุจริต 6. มุ่งมั่นในการทางาน 3. มีวินัย 7. รักความเป็นไทย 4. ใฝ่เรียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๒๗
Bannasan School
สำระกำรเรียนรู้ สาระการเรี ย นรู้ ประกอบด้ ว ย องค์ ค วามรู้ ทั ก ษะหรื อ กระบวนการเรี ย นรู้ และคุ ณ ลั ก ษณะ อันพึงประสงค์ ซึ่งกาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจาเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๒๘
Bannasan School
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบ ด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคมสามารถจัดการตนเอง ได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข โรงเรียนบ้านนาสาร ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับ ตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้ คาปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน 2. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี ความ รับผิดชอบ การทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือ แบ่งปันกันเอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัด ให้สอดคล้องกับ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตาม แผน ประเมินและ ปรับปรุงการทางาน เน้นการทางานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้อง กับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียนประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร 2.2 กิ จ กรรมชุ ม นุ ม ชมรม เป็ น กิ จ กรรมที่ เ น้ น ผู้ เ รี ย นรวมกลุ่ ม กั น จั ด ขึ้ น ตาม ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน เพื่อเติมเต็มความรู้ ความชานาญ ประสบการณ์ ทักษะ เจตคติเพื่อพัฒนาตามศักยภาพ 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสำธำรณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน บาเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์ สังคม
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๒๙
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑/๑ (ห้องเรียนพิเศษภำษำอังกฤษ : Intensive English Program : IEP) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2563 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 รำยวิชำพื้นฐำน ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๓/1.5 ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๓/1.5 ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ๓/1.5 ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ว๒๑๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๑/0.5 ว๒๑๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๑ ส๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๓/1.5 ส๒๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ส๒๑๑๖๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ๑/0.5 ส๒๑๑๖๒ ประวัติศาสตร์ ๒ พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ๒/1.0 พ๒๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๒/1.0 ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑/0.5 ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๓/1.5 อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ รำยวิชำเพิ่มเติม 12/6.0 รำยวิชำเพิ่มเติม ส๒๑๒๔๑ หน้าที่พลเมือง ๑ ๑/0.5 ส๒๑๒๔๒ หน้าที่พลเมือง ๒ ว๒๑๒๘๑ คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ๑/0.5 ว๒๑๒๘๒ คอมพิวเตอร์กราฟิก จ๒๑๒๐๑ สัมผัสภาษาจีน ๑ ๓/1.5 จ๒๑๒๐๒ สัมผัสภาษาจีน ๒ อ๒๐๒๐๗ สนทนาภาษาอังกฤษ ๑ ๒/1.0 อ๒๐๒๐๘ สนทนาภาษาอังกฤษ ๒ อ๒๐๒๑๙ การอ่านเพื่อความเข้าใจ ๑ ๒/1.0 อ๒๐๒๒๐ การอ่านเพื่อความเข้าใจ ๒ อ๒๐๒๑๓ การใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ๑ ๑/0.5 อ๒๐๒๑๔ การใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ๒ อ๒๐๒๒๕ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ ๑ ๒/1.0 อ๒๐๒๒๖ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ ๒ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 3/กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว ๑/กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ๑/กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ๑/ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รวมเวลำเรียนทั้งหมด 37/17.0 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 22/11.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5 12/6.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 3/๑/๑/๑/37/17.0
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 74/34 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๓๐
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2/๑ (ห้องเรียนพิเศษภำษำอังกฤษ : Intensive English Program : IEP) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2564 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 รำยวิชำพื้นฐำน ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๓/1.5 ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๓/1.5 ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๓/1.5 ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๔ ว๒๒๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒ ๑/0.5 ว๒๒๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๒ ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๓/1.5 ส๒๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ส๒๒๑๖๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๑/0.5 ส๒๒๑๖๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๒๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ๒/1.0 พ๒๒๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๒/1.0 ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ ๑/0.5 ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๔ อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๓/1.5 อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รำยวิชำเพิ่มเติม 14/7.0 รำยวิชำเพิ่มเติม ว๒๒๒๘๑ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ๑/0.5 ว๒๒๒๘๒ โปรแกรมภาษา ส๒๒๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๓ ๑/0.5 ส๒๒๒๔๔ หน้าที่พลเมือง ๔ อ๒๐๒๐๙ สนทนาภาษาอังกฤษ ๓ ๓/1.5 อ๒๐๒๑๐ สนทนาภาษาอังกฤษ ๔ อ๒๐๒๒๑ การอ่านเพื่อความเข้าใจ ๓ ๒/1.0 อ๒๐๒๒๒ การอ่านเพื่อความเข้าใจ ๔ อ๒๐๒๑๕ การใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ๓ ๒/1.0 อ๒๐๒๑๖ การใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ๔ อ๒๐๒๒๗ ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ๓
จ๒๒๒๐๑ สัมผัสภาษาจีน ๓ I๒๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 22/11.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5 14/7.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๒/1.0 ๒/1.0
๑/0.5
อ๒๐๒๒๘ ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ๔
๑/0.5
๒/1.0 2/1.0 3/๑/๑/๑/37/17.0
จ๒๒๒๐๒ สัมผัสภาษาจีน ๔ I๒๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๒/1.0 2/1.0 3/๑/๑/๑/37/17.0
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 74/34 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๓๑
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3/๑ (ห้องเรียนพิเศษภำษำอังกฤษ : Intensive English Program : IEP) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2565 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 รำยวิชำพื้นฐำน ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๓/1.5 ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๓/1.5 ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๓/1.5 ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ ว๒๓๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๓ ๑/0.5 ว๒๓๑๘๑ วิทยาการคานวณ ๓ ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๓/1.5 ส๒๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ ส๒๓๑๖๕ ประวัติศาสตร์ ๕ ๑/0.5 ส๒๓๑๖๖ ประวัติศาสตร์ ๖ พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๒/1.0 พ๒๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๒/1.0 ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๑/0.5 ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๖ อ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๓/1.5 อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ รำยวิชำเพิ่มเติม 12/6.0 รำยวิชำเพิ่มเติม ๑/0.5 ส๒๓๒๔๕ หน้าที่พลเมือง ๕ ส๒๓๒๔๖ หน้าที่พลเมือง ๖ ๑/0.5 ว๒๓๒๘๑ การสร้างเว็บไซต์ ว๒๓๒๘๒ โครงงานคอมพิวเตอร์ ๒/1.0 อ๒๐๒๑๑ สนทนาภาษาอังกฤษ ๕ อ๒๐๒๑๒ สนทนาภาษาอังกฤษ ๖ ๒/1.0 อ๒๐๒๒๓ การอ่านเพื่อความเข้าใจ ๕ อ๒๐๒๒๔ การอ่านเพื่อความเข้าใจ ๖ ๑/0.5 อ๒๐๒๑๘ การใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ๖ อ๒๐๒๑๗ การใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ๕ ๒/1.0 อ๒๐๒๒๙ ภาษาอังกฤษรอบรู้ ๑ อ๒๐๒๓๐ ภาษาอังกฤษรอบรู้ ๒ ๓/1.5 จ๒๓๒๐๑ สัมผัสภาษาจีน ๕ จ๒๓๒๐๒ สัมผัสภาษาจีน ๖ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 3/กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว ๑/กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ๑/กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ๑/ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รวมเวลำเรียนทั้งหมด 37/17.0 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 22/11.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5 12/6.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๓/1.5
3/๑/๑/๑/37/17.0
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 74/34 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๓๒
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑/๒,๑/๓ (ห้องเรียนพิเศษวิทยำศำสตร์ – คณิตศำสตร์) : Science and Mathematics Program : SMP ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2563 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 รำยวิชำพื้นฐำน ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๓/1.5 ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๓/1.5 ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ๓/1.5 ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ว๒๑๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๑/0.5 ว๒๑๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๑ ส๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๓/1.5 ส๒๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ส๒๑๑๖๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ๑/0.5 ส๒๑๑๖๒ ประวัติศาสตร์ ๒ พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ๒/1.0 พ๒๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๒/1.0 ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑/0.5 ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๓/1.5 อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ รำยวิชำเพิ่มเติม 12/6.0 รำยวิชำเพิ่มเติม ค๒๐๒๐๑ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๑ ๑/0.5 ค๒๐๒๐๒ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๒ ค๒๐๒๐๗ คณิตศาสตร์เพิ่มพูนประสบการณ์ ๑ ๑/0.5 ค๒๐๒๐๘ คณิตศาสตร์เพิ่มพูนประสบการณ์ ๒ ว๒๑๒๙๑ วิทยาศาสตร์กับความงาม ๓/1.5 ว๒๑๒๙๒ ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ ว๒๐๒๔๑ ชีววิทยา สอวน. ๒/1.0 ว๒๐๒๒๑ เคมี สอวน. ส๒๑๒๔๑ หน้าที่พลเมือง ๑ ๒/1.0 ส๒๑๒๔๑ หน้าที่พลเมือง ๒ ว๒๑๒๘๑ คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ๑/0.5 ว๒๑๒๘๒ คอมพิวเตอร์กราฟิก จ๒๑๒๐๓ ทักษะภาษาจีน ๑ ๒/1.0 จ๒๑๒๐๔ ทักษะภาษาจีน ๒ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 3/กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว ๑/กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ๑/กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ๑/ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รวมเวลำเรียนทั้งหมด 37/17.0 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 22/11.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5 12/6.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 3/๑/๑/๑/37/17.0
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 74/34 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๓๓
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2/๒,2/๓ (ห้องเรียนพิเศษวิทยำศำสตร์ – คณิตศำสตร์) : Science and Mathematics Program : SMP ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๓/1.5 ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๓/1.5 ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๓/1.5 ว๒๒๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒ ๑/0.5 ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๓/1.5 ส๒๒๑๖๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๑/0.5 พ๒๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ๒/1.0 ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๒/1.0 ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ ๑/0.5 อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๓/1.5 รำยวิชำเพิ่มเติม 13/6.5 ค๒๐๒๐๓ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๓ ๒/1.0
ปีกำรศึกษำ 2564 ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๔ ว๒๒๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๒ ส๒๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ส๒๒๑๖๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๒๒๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๔ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รำยวิชำเพิ่มเติม ค๒๐๒๐๔ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๔
ค๒๐๒๐๙ คณิตศาสตร์เพิ่มพูนประสบการณ์ ๓
ค๒๐๒๑๐ คณิตศาสตร์เพิ่มพูนประสบการณ์ ๔
๒/1.0
ว๒๒๒๙๑ วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ ๑ ว๒๐๒๐๑ ฟิสิกส์ สอวน. ว๒๒๒๘๑ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ส๒๒๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๓
๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๑/0.5 I๒๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ๒/1.0 จ๒๒๒๐๓ ทักษะภาษาจีน ๓ ๑/0.5 กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 3/กิจกรรมแนะแนว ๑/กิจกรรมชุมนุม ๑/ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ๑/รวมเวลำเรียนทั้งหมด 38/17.5
ว๒๒๒๙๒ วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ ๒ ว๒๐๒๖๑ ดาราศาสตร์ สอวน. ว๒๒๒๘๒ โปรแกรมภาษา ส๒๒๒๔๔ หน้าที่พลเมือง ๔ I๒๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ จ๒๒๒๐๔ ทักษะภาษาจีน ๔ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 22/11.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5 13/6.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑/0.5 3/๑/๑/๑/38/17.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 76/35 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๓๔
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3/๒,3/๓ (ห้องเรียนพิเศษวิทยำศำสตร์ – คณิตศำสตร์) : Science and Mathematics Program : SMP ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๓/1.5 ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๓/1.5 ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๓/1.5 ว๒๓๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๓ ๑/0.5 ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๓/1.5 ส๒๓๑๖๕ ประวัติศาสตร์ ๕ ๑/0.5 พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๒/1.0 ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๒/1.0 ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๑/0.5 อ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๓/1.5 รำยวิชำเพิ่มเติม 11/5.5 ค๒๐๒๐๕ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๕ ๒/1.0
ปีกำรศึกษำ 2565 ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ ว๒๓๑๘๑ วิทยาการคานวณ ๓ ส๒๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ ส๒๓๑๖๖ ประวัติศาสตร์ ๖ พ๒๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๖ อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ รำยวิชำเพิ่มเติม ค๒๐๒๐๖ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๖
ค๒๐๒๑๑ คณิตศาสตร์เพิ่มพูนประสบการณ์ ๕ ว๒๓๒๙๑ พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
ค๒๐๒๑๑ คณิตศาสตร์เพิ่มพูนประสบการณ์ ๖
๒/1.0 ๒/1.0
ว๒๓๒๙๒ เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม ว๒๓๒๙๓ วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา ๒/1.0 ว๒๓๒๙๔ สนุกกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ว๒๓๒๘๑ การสร้างเว็บไซต์ ๑/0.5 ว๒๓๒๘๒ โครงงานคอมพิวเตอร์ ส๒๓๒๔๕ หน้าที่พลเมือง ๕ ๑/0.5 ส๒๓๒๔๖ หน้าที่พลเมือง ๖ จ๒๓๒๐๓ ทักษะภาษาจีน ๕ ๑/0.5 จ๒๓๒๐๔ ทักษะภาษาจีน ๖ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 3/กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว ๑/กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ๑/กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ๑/ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รวมเวลำเรียนทั้งหมด 36/16.5 รวมเวลำเรียนทั้งหมด รวมเวลาเรียนทั้งหมด 72/33 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
ช.ม./นก. 22/11.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5 11/5.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0
๒/1.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 3/๑/๑/๑/36/16.5
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๓๕
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑/๔ (ห้องเรียนวิทยำศำสตร์-คณิตศำสตร์-เพิ่มเวลำรู้) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2563 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 รำยวิชำพื้นฐำน ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๓/1.5 ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๓/1.5 ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ๓/1.5 ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ว๒๑๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๑/0.5 ว๒๑๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๑ ส๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๓/1.5 ส๒๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ส๒๑๑๖๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ๑/0.5 ส๒๑๑๖๒ ประวัติศาสตร์ ๒ พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ๒/1.0 พ๒๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๒/1.0 ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑/0.5 ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๓/1.5 อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ รำยวิชำเพิ่มเติม 7/3.5 รำยวิชำเพิ่มเติม ค๒๐๒๐๑ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๑ ๒/1.0 ค๒๐๒๐๒ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๒ ว๒๐๒๔๑ ชีววิทยา สอวน. ๒/1.0 ว๒๐๒๒๑ เคมี สอวน. ส๒๑๒๔๑ หน้าที่พลเมือง ๑ ๑/0.5 ส๒๑๒๔๒ หน้าที่พลเมือง ๒ ว๒๑๒๘๑ คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ๑/0.5 ว๒๑๒๘๒ คอมพิวเตอร์กราฟิก จ๒๑๒๐๓ ทักษะภาษาจีน ๑ ๑/0.5 จ๒๑๒๐๔ ทักษะภาษาจีน ๒ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 6/กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว ๑/กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ๑/กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ๑/ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 3/กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ รวมเวลำเรียนทั้งหมด 35/14.5 รวมเวลำเรียนทั้งหมด รวมเวลาเรียนทั้งหมด 70/29 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
ช.ม./นก. 22/11.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5 7/3.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 6/๑/๑/๑/3/35/14.5
กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๓๖
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2/๔ (ห้องเรียนวิทยำศำสตร์-คณิตศำสตร์-เพิ่มเวลำรู้) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๓/1.5 ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๓/1.5 ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๓/1.5 ว๒๒๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒ ๑/0.5 ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๓/1.5 ส๒๒๑๖๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๑/0.5 พ๒๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ๒/1.0 ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๒/1.0 ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ ๑/0.5 อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๓/1.5 รำยวิชำเพิ่มเติม 9/4.5 ค๒๐๒๐๓ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๓ ๒/1.0 ว๒๐๒๐๑ ฟิสิกส์ สอวน. ๒/1.0 ว๒๒๒๘๑ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ๑/0.5 ส๒๒๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๓ ๑/0.5
ปีกำรศึกษำ 2564 ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๔ ว๒๒๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๒ ส๒๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ส๒๒๑๖๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๒๒๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๔ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รำยวิชำเพิ่มเติม ค๒๐๒๐๔ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๔ ว๒๐๒๖๑ ดาราศาสตร์ สอวน. ว๒๒๒๘๒ โปรแกรมภาษา ส๒๒๒๔๔ หน้าที่พลเมือง ๔
I๒๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
I๒๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ
๒/1.0
จ๒๒๒๐๓ ทักษะภาษาจีน ๓ ๑/0.5 จ๒๒๒๐๔ ทักษะภาษาจีน ๔ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 6/กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว ๑/กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ๑/กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ๑/ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 3/กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ รวมเวลำเรียนทั้งหมด 37/15.5 รวมเวลำเรียนทั้งหมด รวมเวลาเรียนทั้งหมด 74/31.5 ชัว่ โมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
ช.ม./นก. 22/11.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5 9/4.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0
๑/0.5 6/๑/๑/๑/3/37/15.5
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชัว่ โมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๓๗
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3/๔ (ห้องเรียนวิทยำศำสตร์-คณิตศำสตร์-เพิ่มเวลำรู้) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2565 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๓/1.5 ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๓/1.5 ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๓/1.5 ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๓/1.5 ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๓/1.5 ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ ๓/1.5 ว๒๓๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๓ ๑/0.5 ว๒๓๑๘๑ วิทยาการคานวณ ๓ ๑/0.5 ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๓/1.5 ส๒๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ ๓/1.5 ส๒๓๑๖๕ ประวัติศาสตร์ ๕ ๑/0.5 ส๒๓๑๖๖ ประวัติศาสตร์ ๖ ๑/0.5 พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๒/1.0 พ๒๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ๒/1.0 ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๒/1.0 ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ๒/1.0 ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๑/0.5 ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๖ ๑/0.5 อ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๓/1.5 อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๓/1.5 รำยวิชำเพิ่มเติม 7/3.5 รำยวิชำเพิ่มเติม 7/3.5 ค๒๐๒๐๕ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๕ ๒/1.0 ค๒๐๒๐๖ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๖ ๒/1.0 ว๒๓๒๙๓ วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา ๒/1.0 ว๒๓๒๙๔ สนุกกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ๒/1.0 ว๒๓๒๘๑ การสร้างเว็บไซต์ ๑/0.5 ว๒๓๒๘๒ โครงงานคอมพิวเตอร์ ๑/0.5 ส๒๓๒๔๕ หน้าที่พลเมือง ๕ ๑/0.5 ส๒๓๒๔๖ หน้าที่พลเมือง ๖ ๑/0.5 จ๒๓๒๐๓ ทักษะภาษาจีน ๕ ๑/0.5 จ๒๓๒๐๔ ทักษะภาษาจีน ๖ ๑/0.5 กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 6/กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 6/กิจกรรมแนะแนว ๑/กิจกรรมแนะแนว ๑/กิจกรรมชุมนุม ๑/กิจกรรมชุมนุม ๑/ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ๑/ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ๑/กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 3/กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 3/รวมเวลำเรียนทั้งหมด 35/14.5 รวมเวลำเรียนทั้งหมด 35/14.5 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 70/29.0 ชัว่ โมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๓๘
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑/๕-๑/๙ (ห้องเรียนทั่วไป-เพิ่มเวลำรู้) ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๓/1.5 ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๓/1.5 ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ๓/1.5 ว๒๑๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๑/0.5 ส๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๓/1.5 ส๒๑๑๖๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ๑/0.5 พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ๒/1.0 ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๒/1.0 ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑/0.5 อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๓/1.5 รำยวิชำเพิ่มเติม 5/2.5
ปีกำรศึกษำ 2563 ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ว๒๑๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๑ ส๒๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ส๒๑๑๖๒ ประวัติศาสตร์ ๒ พ๒๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ รำยวิชำเพิ่มเติม
ส๒๑๒๔๑ หน้าที่พลเมือง ๑ ว๒๑๒๘๑ คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ง๒๐๒๐๑ เกษตรเพื่อชีวิต
๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5
ส๒๑๒๔๒ หน้าที่พลเมือง ๒ ว๒๑๒๘๒ คอมพิวเตอร์กราฟิก ง๒๐๒๐๒ งานช่างในบ้าน
๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5
เลือกเพิ่มอีก ๑ รำยวิชำ
2/1.0
เลือกเพิ่มอีก ๑ รำยวิชำ
2/1.0
ท๒๑๒๐๑ ทักษะภาษาไทย ๑ ศ๒๐๒๐๖ นาฏศิลป์ไทย ง๒๐๒๑๗ การเย็บหมอนอิง ง๒๐๒๐๗ การปลูกพืชผักทั่วไป ง๒๐๒๑๓ งานไม้เครื่องเรือน จ๒๐๒๐๑ ภาษาจีน ๑
(๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0)
ท๒๑๒๐๒ ทักษะภาษาไทย ๒ ศ๒๐๒๑๑ ช่างเขียนภาพการ์ตูน ง๒๐๒๑๘ การเย็บหมอนสม๊อก ง๒๐๒๐๘ การปลูกพืชสมุนไพร ง๒๐๒๑๔ งานโลหะ จ๒๐๒๐๒ ภาษาจีน ๒
(๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0)
ช.ม./นก. 22/11.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5 5/2.5
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน
6/-
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน
6/-
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
๑/๑/๑/3/-
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
๑/๑/๑/3/-
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
33/13.5 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
33/13.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 66/27 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๓๙
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2/๕- 2/๙ (ห้องเรียนทั่วไป-เพิ่มเวลำรู้) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน 22/11.0 ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๓/1.5 ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๓/1.5 ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๓/1.5 ว๒๒๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒ ๑/0.5 ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๓/1.5 ส๒๒๑๖๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๑/0.5 พ๒๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ๒/1.0 ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๒/1.0 ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ ๑/0.5 อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๓/1.5 รำยวิชำเพิ่มเติม 7/3.5
ปีกำรศึกษำ 2564 ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๔ ว๒๒๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๒ ส๒๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ส๒๒๑๖๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๒๒๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๔ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รำยวิชำเพิ่มเติม
ว๒๒๒๘๑ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ง๒๐๒๐๓ งานประดิษฐ์ ส๒๒๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๓ I๒๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 2/1.0
ว๒๒๒๘๒ โปรแกรมภาษา ง๒๐๒๐๔ งานบ้าน ส๒๒๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๓ I๒๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ
๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 2/1.0
เลือกเพิ่มอีก ๑ รำยวิชำ
2/1.0
เลือกเพิ่มอีก ๑ รำยวิชำ
2/1.0
ท๒๒๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าพื้นฐาน ๑ ศ๒๐๒๐๕ งานเขียนลวดลายบนผลิตภัณฑ์ ง๒๐๒๑๙ การร้อยตาข่าย ง๒๐๒๐๙ การปลูกไม้ผล ง๒๐๒๑๕ งานไฟฟ้าเบื้องต้น จ๒๐๒๐๓ ภาษาจีน ๓ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
(๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) 6/๑/๑/๑/3/-
ท๒๒๒๐๒ การศึกษาค้นคว้าพื้นฐาน ๒ ศ๒๐๒๐๗ ดนตรีไทย-ขับร้องไทย ง๒๐๒๒๐ งานประดิษฐ์ของชาร่วย ง๒๐๒๑๐ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ง๒๐๒๑๙ งานตีเหล็ก จ๒๐๒๐๔ ภาษาจีน ๔ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
(๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) 6/๑/๑/๑/3/-
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
33/13.5 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 22/11.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5 7/3.5
33/13.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 66/27 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔๐
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3/๕ - 3/๙ (ห้องเรียนทั่วไป-เพิ่มเวลำรู้) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2565 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 รำยวิชำพื้นฐำน
22/11.0
รำยวิชำพื้นฐำน
ช.ม./นก. 22/11.0
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ว๒๓๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๓ ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ส๒๓๑๖๕ ประวัติศาสตร์ ๕ พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ อ ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕
๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5
ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ ว๒๓๑๘๑ วิทยาการคานวณ ๓ ส๒๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ ส๒๓๑๖๖ ประวัติศาสตร์ ๖ พ๒๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๖ อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖
๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๓/1.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๓/1.5
รำยวิชำเพิ่มเติม
5/2.5
รำยวิชำเพิ่มเติม
5/2.5
ส๒๓๒๔๕ หน้าที่พลเมือง ๕ ว๒๓๒๘๑ การสร้างเว็บไซต์ ง๒๐๒๐๕ งานธุรกิจ เลือกเพิ่มอีก ๑ รำยวิชำ ท๒๓๒๐๑ ภาษาไทยเพื่อกิจธุระ ๑ ส๒๐๒๐๑ กฎหมายในชีวิตประจาวัน ๑ ศ๒๐๒๐๓ ศิลปะไทย ง๒๐๒๑๑ การปลูกไม้ดอก ง๒๐๒๒๑ งานดอกไม้ประดิษฐ์ จ๒๐๒๐๕ ภาษาจีน ๕ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
1/0.5 1/0.5 1/0.5 2/1.0 (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) 7/๑/๑/๑/1/3/-
ส๒๓๒๔๖ หน้าที่พลเมือง ๖ ว๒๓๒๘๒ โครงงานคอมพิวเตอร์ ง๒๐๒๐๖ ประสบการณ์อาชีพ เลือกเพิ่มอีก ๑ รำยวิชำ ท๒๓๒๐๒ ภาษาไทยเพื่อกิจธุระ ๒ ส๒๐๒๐๒ กฎหมายในชีวิตประจาวัน ๒ ศ๒๐๒๐๙ ดนตรีสากล-ขับร้องสากล ง๒๐๒๑๒ การปลูกไม้ประดับ ง๒๐๒๒๒ งานปักด้วยมือ จ๒๐๒๐๖ ภาษาจีน ๖ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ลูกเสือ/เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
34/13.5 รวมเวลำเรียนทั้งหมด รวมเวลาเรียนทั้งหมด 68 /27 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๘ ชั่วโมง
1/0.5 1/0.5 1/0.5 2/1.0 (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) (๒)/(1.0) 7/๑/๑/๑/1/3/-
34/13.5
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก ๗ ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔๑
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๔/๑ ห้องเรียนพิเศษภำษำอังกฤษ-ภำษำจีน (English and Chinese Program : ECP) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ปีกำรศึกษำ 2563 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 14/7.0 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒/1.0 ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๒/1.0 ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว๓๐๑๔๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๑ ๒/1.0 ว๓๐๑๔๒ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๒ ว๓๑๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๑/0.5 ว๓๑๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๑ ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๒/0.5 ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ส๓๑๑๖๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ๑/0.5 ส๓๑๑๖๒ ประวัติศาสตร์ ๒ พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษา-พลศึกษา ๑ ๑/0.5 พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษา-พลศึกษา ๒ ศ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๑/0.5 ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๒/1.0 อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ รำยวิชำเพิ่มเติม 18/9.0 รำยวิชำเพิ่มเติม ว๓๑๒๘๑ เสริมทักษะการออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๒/1.0 ว๓๑๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๑ อ๓๐๒๐๑ ภาษาอังกฤษทักษะฟัง-พูด ๑ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๒ ภาษาอังกฤษทักษะฟัง-พูด ๒ อ๓๐๒๐๗ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒ อ๓๐๒๑๓ การแปลภาษาอังกฤษเบื้องต้น ๑ ๒/1.0 อ๓๐๒๑๔ การแปลภาษาอังกฤษเบื้องต้น ๒ จ๓๑๒๐๑ ภาษาจีนฟัง-พูด ๑ ๒/1.0 จ๓๑๒๐๒ ภาษาจีนฟัง-พูด ๒ จ๓๑๒๐๓ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๑ ๖/3.0 จ๓๑๒๐๔ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๒ ท๓๐๒๐๑ ประวัติวรรณคดี ๒/1.0 ท๓๐๒๐๓ การเขียน ส๓๐๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๑
ช.ม./นก. 14/7.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 18/9.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๖/3.0 ๒/1.0 1/0.5
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
4/-
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
๑/๑/-
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
๑/-
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
4/๑/๑/๑/-
โฮมรูม-ประชุมระดับ
1/-
โฮมรูม-ประชุมระดับ
1/-
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
36/16.0 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
36/16.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 72 /32.5 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔๒
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/๑ ห้องเรียนพิเศษภำษำอังกฤษ-ภำษำจีน (English and Chinese Program : ECP) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 ปีกำรศึกษำ 2564 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 14/7.0 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒/1.0 ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๒/1.0 ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว๓๐๑๒๑ วิทยาศาสตร์กายภาพ(เคมี) ๒/1.0 ว๓๐๑๐๑ วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟิสิกส์) ง๓๐๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑/0.5 ว๓๒๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๒ ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๒/0.5 ส๓๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ส๓๒๑๖๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๑/0.5 ส๓๒๑๖๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษา-พลศึกษา ๓ ๑/0.5 พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษา-พลศึกษา ๔ ศ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๑/0.5 ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๒/1.0 อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รำยวิชำเพิ่มเติม 21/10.5 รำยวิชำเพิ่มเติม ๑/0.5 ส๓๐๒๔๔ หน้าที่พลเมือง ๒ ส๓๐๒๔๕ หน้าที่พลเมือง ๓ ว๓๒๒๘๑ เสริมทักษะการออกแบบและเทคโนโลยี ๒ ๒/1.0 ว๓๒๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๒ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๓ ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ๑ อ๓๐๒๐๔ ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ๒ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๙ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๓ อ๓๐๒๑๐ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๔ อ๓๐๒๑๕ ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ๑ ๒/1.0 อ๓๐๒๑๖ ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ๒ ๒/1.0 จ๓๒๒๐๑ ภาษาจีนฟัง-พูด ๓ จ๓๒๒๐๒ ภาษาจีนฟัง-พูด ๔ ๒/1.0 จ๓๒๒๐๓ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๓ จ๓๒๒๐๔ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๔ ๒/1.0 ท๓๐๒๐๗ การอ่านและพิจารณาวรรณกรรม ท๓๐๒๐๕ การพูด I๓๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ๒/1.0 I๓๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
3/-
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
๑/๑/-
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๑/38/17.5
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 14/7.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 21/10.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 3/๑/๑/๑/38/17.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 76 /35 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔๓
Bannasan School
โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/๑ ห้องเรียนพิเศษภำษำอังกฤษ-ภำษำจีน (English and Chinese Program : ECP) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ปีกำรศึกษำ 2565 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 13/6.5 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๒/1.0 ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๒/1.0 ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ว๓๐๑๖๑ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๑ ๒/1.0 ว๓๐๑๖๒ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๒ ง๓๐๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ ๑/0.5 ง๓๐๑๐๓ การงานอาชีพ ๓ ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๒/1.0 ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ พ๓๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๑/0.5 พ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ศ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๑/0.5 ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๒/1.0 อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ รำยวิชำเพิ่มเติม 19/9.5 รำยวิชำเพิ่มเติม ว๓๓๒๘๓ การผลิตสื่อมัลติมีเดีย ๒/1.0 ว๓๓๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๓ อ๓๐๒๐๕ ภาษาอังกฤษรอบรู้ ๑ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๖ ภาษาอังกฤษรอบรู้ ๒ อ๓๐๒๑๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๕ ๒/1.0 อ๓๐๒๑๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๖ อ๓๐๒๑๗ การเขียนภาษาอังกฤษ ๑ ๒/1.0 อ๓๐๒๑๘ การเขียนภาษาอังกฤษ ๒ จ๓๓๒๐๑ ภาษาจีนฟัง-พูด ๕ ๒/1.0 จ๓๓๒๐๒ ภาษาจีนฟัง-พูด ๖ จ๓๓๒๐๓ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๕ ๖/3.0 จ๓๓๒๐๔ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๖ ท๓0209 วรรณกรรมปัจจุบัน ๒/1.0 ท๓๐๒๑๒ หลักภาษาไทย ส๓๐๒๔๖ หน้าที่พลเมือง ๔ ๑/0.5 กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร IS๓ การจัดกิจกรรมการนาองค์ความรู้ ไปใช้บริการสังคม (กิจกรรมแนะแนว)
4/๑/-
กิจกรรมชุมนุม
๑/-
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
พัฒนาผลสัมฤทธิ์
๑/1/-
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
36/16.0
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ โฮมรูม/ประชุมระดับ ม.๖ รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 13/6.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 18/9.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๖/3.0 ๒/1.0 5/๑/๑/๑/1/1/36/15.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 72 /31.5 ชัว่ โมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔๔
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๔/๒ ห้องเรียนพิเศษวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยี (Science Mathematic and Technology : SMT) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ปีกำรศึกษำ 2563 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 14/7.0 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒/1.0 ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๒/1.0 ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว๓๐๑๔๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๑ ๒/1.0 ว๓๐๑๔๒ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๒ ว๓๑๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๑/0.5 ว๓๑๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๑ ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๒/0.5 ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ส๓๑๑๖๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ๑/0.5 ส๓๑๑๖๒ ประวัติศาสตร์ ๒ พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษา-พลศึกษา ๑ ๑/0.5 พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษา-พลศึกษา ๒ ศ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๑/0.5 ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๒/1.0 อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ รำยวิชำเพิ่มเติม 20/10.0 รำยวิชำเพิ่มเติม ค๓๐๒๐๑ คณิตศาสตร์เสริมทักษะ ๑ จ๓๐๒๐๑ ภาษาจีน ๑ อ๓๐๒๐๑ ภาษาอังกฤษทักษะฟัง-พูด ๑ ว๓๑๒๘๑ เสริมทักษะการออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ว๓๐๒๐๑ ฟิสิกส์ ๑ ว๓๐๒๒๑ เคมี ๑ ว๓๐๒๔๑ ชีววิทยา ๑ ว๓๐๒๖๑ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๑ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) โฮมรูม-ประชุมระดับ รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๔/2.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๒/1.0 4/-
๑/๑/๑/-
ค๓๐๒๐๒ คณิตศาสตร์เสริมทักษะ ๒ จ๓๐๒๐๒ ภาษาจีน ๒ อ๓๐๒๐๒ ภาษาอังกฤษทักษะฟัง-พูด ๒ ว๓๑๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๑ ว๓๐๒๐๒ ฟิสิกส์ ๒ ว๓๐๒๒๒ เคมี ๒ ว๓๐๒๔๒ ชีววิทยา ๒ ว๓๐๒๖๒ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๒ ส๓๐๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๑ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
ช.ม./นก. 14/7.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 21/10.5 ๔/2.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๒/1.0
1/0.5 3/๑/๑/๑/-
1/38/17.0
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
38/17.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 76 /34.5 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔๕
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/๒ ห้องเรียนพิเศษวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยี (Science Mathematic and Technology : SMT) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน 14/7.0 ๒/1.0 ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒/1.0 ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๒/1.0 ว๓๐๑๒๑ วิทยาศาสตร์กายภาพ(เคมี) ง๓๐๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑/0.5 ๒/0.5 ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๑/0.5 ส๓๒๑๖๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๑/0.5 พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษา-พลศึกษา ๓ ๑/0.5 ศ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๒/1.0 อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ รำยวิชำเพิ่มเติม 22/11.0 ๑/0.5 ส๓๐๒๔๔ หน้าที่พลเมือง ๒ ๓/1.5 ค๓๐๒๐๓ คณิตศาสตร์ ๓ ๓/1.5 ว๓๐๒๐๓ ฟิสิกส์ ๓ ๓/1.5 ว๓๐๒๒๓ เคมี ๓ ๓/1.5 ว๓๐๒๔๓ ชีววิทยา ๓ ๒/1.0 ว๓๐๒๖๓ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๓ ว๓๒๒๘๑ เสริมทักษะการออกแบบและเทคโนโลยี ๒ I๓๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
จ๓๐๒๐๓ ภาษาจีน ๓ อ๓๐๒๐๓ ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ๑ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 3/-
๑/๑/๑/39/18.0
ปีกำรศึกษำ 2564 ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน
รำยวิชำเพิ่มเติม
ช.ม./นก. 14/7.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 22/11.0
ส๓๐๒๔๕ หน้าที่พลเมือง ๓ ค๓๐๒๐๔ คณิตศาสตร์ ๔ ว๓๐๒๐๔ ฟิสิกส์ ๔ ว๓๐๒๒๔ เคมี ๔ ว๓๐๒๔๔ ชีววิทยา ๔ ว๓๐๒๖๔ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๔ ว๓๒๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๒ I๓๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ จ๓๐๒๐๔ ภาษาจีน ๔ อ๓๐๒๐๔ ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ๒ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๑/0.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 3/๑/๑/๑/39/18.0
ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว๓๐๑๐๑ วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟิสิกส์) ว๓๒๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๒ ส๓๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ส๓๒๑๖๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๓๒๑๐๔ สุขศึกษา-พลศึกษา ๔ ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 78 /36 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔๖
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/๒ ห้องเรียนพิเศษวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยี (Science Mathematic and Technology : SMT) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ปีกำรศึกษำ 2565 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 13/6.5 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๒/1.0 ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๒/1.0 ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ว๓๐๑๖๑ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๑ ๒/1.0 ว๓๐๑๖๒ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๒ ง๓๐๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ ๑/0.5 ง๓๐๑๐๓ การงานอาชีพ ๓ ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๒/1.0 ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ พ๓๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๑/0.5 พ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ศ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๑/0.5 ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๒/1.0 อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ รำยวิชำเพิ่มเติม 20/10.0 รำยวิชำเพิ่มเติม ค๓๐๒๐๕ คณิตศาสตร์ ๕ ๓/1.5 ค๓๐๒๐๖ คณิตศาสตร์ ๖ ว๓๐๒๐๕ ฟิสิกส์ ๕ ๓/1.5 ว๓๐๒๐๖ ฟิสิกส์ ๖ ว๓๐๒๒๕ เคมี ๕ ๓/1.5 ว๓๐๒๒๖ เคมี ๖ ว๓๐๒๔๕ ชีววิทยา ๕ ๓/1.5 ว๓๐๒๔๖ ชีววิทยา ๖ ว๓๐๒๖๕ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๕ ๒/1.0 ว๓๐๒๖๖ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๖ ว๓๓๒๘๓ การผลิตสื่อมัลติมีเดีย ๒/1.0 ว๓๓๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๓ อ๓๐๒๐๕ ภาษาอังกฤษรอบรู้ ๑ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๖ ภาษาอังกฤษรอบรู้ ๒ จ๓๐๒๐๕ ภาษาจีน ๕ ๑/0.5 จ๓๐๒๐๖ ภาษาจีน ๖ ส๓๐๒๔๖ หน้าที่พลเมือง ๔ ๑/0.5 กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
3/-
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
ช.ม./นก. 13/6.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑๖/8.0
๓/1.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 4/-
กิจกรรมชุมนุม
๑/-
กิจกรรมชุมนุม
๑/-
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
๑/-
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
๑/-
พัฒนาผลสัมฤทธิ์
๑/-
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ โฮมรูม/ประชุมระดับ ม.๖
๑/1/-
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
38/17.0
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
34/14.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 72 /31.5 ชัว่ โมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔๗
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๔/3 (ห้องเรียนวิทยำศำสตร์-คณิตศำสตร์) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ปีกำรศึกษำ 2563 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 ช.ม./นก. 14/7.0 รำยวิชำพื้นฐำน รำยวิชำพื้นฐำน 14/7.0 ๒/1.0 ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒/1.0 ๒/1.0 ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๒/1.0 ๒/1.0 ว๓๐๑๔๒ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๒ ว๓๐๑๔๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๑ ๒/1.0 ว๓๑๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๑/0.5 ว๓๑๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๑ ๑/0.5 ๒/0.5 ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๒/0.5 ๑/0.5 ส๓๑๑๖๒ ประวัติศาสตร์ ๒ ส๓๑๑๖๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ๑/0.5 ๑/0.5 พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษา-พลศึกษา ๒ พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษา-พลศึกษา ๑ ๑/0.5 ๑/0.5 ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ศ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๑/0.5 ๒/1.0 อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๒/1.0 ๒๐/10.0 รำยวิชำเพิ่มเติม ๒1/10.5 รำยวิชำเพิ่มเติม ๔/2.0 ค๓๐๒๐๒ คณิตศาสตร์เสริมทักษะ ๒ ค๓๐๒๐๑ คณิตศาสตร์เสริมทักษะ ๑ ๔/2.0 ๑/0.5 จ๓๐๒๐๒ ภาษาจีน ๒ จ๓๐๒๐๑ ภาษาจีน ๑ ๑/0.5 ๒/1.0 อ๓๐๒๐๒ ภาษาอังกฤษทักษะฟัง-พูด ๒ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๑ ภาษาอังกฤษทักษะฟัง-พูด ๑ ว๓๑๒๘๑ เสริมทักษะการออกแบบและเทคโนโลยี ๑
ว๓๐๒๐๑ ฟิสิกส์ ๑ ว๓๐๒๒๑ เคมี ๑ ว๓๐๒๔๑ ชีววิทยา ๑ ว๓๐๒๖๑ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๑
๒/1.0 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๒/1.0
ว๓๑๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๑
ว๓๐๒๐๒ ฟิสิกส์ ๒ ว๓๐๒๒๒ เคมี ๒ ว๓๐๒๔๒ ชีววิทยา ๒ ว๓๐๒๖๒ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๒
ส๓๐๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๑ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
โฮมรูม-ประชุมระดับ รวมเวลำเรียนทั้งหมด
4/๑/๑/๑/1/38/17.0
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๒/1.0
๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๒/1.0 1/0.5 3/๑/๑/๑/38/17.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 76 /34.5 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔๘
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/3 (ห้องเรียนวิทยำศำสตร์-คณิตศำสตร์) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 ปีกำรศึกษำ 2564 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 14/7.0 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒/1.0 ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๒/1.0 ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว๓๐๑๒๑ วิทยาศาสตร์กายภาพ(เคมี) ๒/1.0 ว๓๐๑๐๑ วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟิสิกส์) ง๓๐๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑/0.5 ว๓๒๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๒ ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๒/0.5 ส๓๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ส๓๒๑๖๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๑/0.5 ส๓๒๑๖๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษา-พลศึกษา ๓ ๑/0.5 พ๓๒๑๐๔ สุขศึกษา-พลศึกษา ๔ ศ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๑/0.5 ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๒/1.0 อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ ๒๒/11.0 รำยวิชำเพิ่มเติม รำยวิชำเพิ่มเติม ๑/0.5 ส๓๐๒๔๕ หน้าที่พลเมือง ๓ ส๓๐๒๔๔ หน้าที่พลเมือง ๒ ๓/1.5 ค๓๐๒๐๔ คณิตศาสตร์ ๔ ค๓๐๒๐๓ คณิตศาสตร์ ๓ ๓/1.5 ว๓๐๒๐๔ ฟิสิกส์ ๔ ว๓๐๒๐๓ ฟิสิกส์ ๓ ๓/1.5 ว๓๐๒๒๔ เคมี ๔ ว๓๐๒๒๓ เคมี ๓ ๓/1.5 ว๓๐๒๔๔ ชีววิทยา ๔ ว๓๐๒๔๓ ชีววิทยา ๓ ว๓๐๒๖๓ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๓ ว๓๒๒๘๑ เสริมทักษะการออกแบบและเทคโนโลยี ๒
จ๓๐๒๐๓ ภาษาจีน ๓ อ๓๐๒๐๓ ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ๑ I๓๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
๑/๑/-
กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 3/-
ว๓๐๒๖๔ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๔
ว๓๒๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๒ จ๓๐๒๐๔ ภาษาจีน ๔ อ๓๐๒๐๔ ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ๒ I๓๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
๑/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) 39/18.0 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 14/7.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒๒/11.0 ๑/0.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๓/1.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 3/-
๑/๑/๑/39/18.0
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 78 /36 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๔๙
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/3 (ห้องเรียนวิทยำศำสตร์-คณิตศำสตร์) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ปีกำรศึกษำ 2565 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน ๑๓/6.5 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๒/1.0 ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๒/1.0 ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ว๓๐๑๖๑ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๑ ๒/1.0 ว๓๐๑๖๒ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๒ ง๓๐๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ ๑/0.5 ง๓๐๑๐๓ การงานอาชีพ ๓ ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๒/1.0 ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ พ๓๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๑/0.5 พ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ศ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๑/0.5 ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๒/1.0 อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๒๐/10 รำยวิชำเพิ่มเติม รำยวิชำเพิ่มเติม ค๓๐๒๐๕ คณิตศาสตร์ ๕ ๓/1.5 ค๓๐๒๐๖ คณิตศาสตร์ ๖ ว๓๐๒๐๕ ฟิสิกส์ ๕ ๓/1.5 ว๓๐๒๐๖ ฟิสิกส์ ๖ ว๓๐๒๒๕ เคมี ๕ ๓/1.5 ว๓๐๒๒๖ เคมี ๖ ว๓๐๒๔๕ ชีววิทยา ๕ ๓/1.5 ว๓๐๒๔๖ ชีววิทยา ๖ ว๓๐๒๖๕ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๕
๒/1.0
ว๓๐๒๖๖ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๖
ว๓๓๒๘๓ การผลิตสื่อมัลติมีเดีย อ๓๐๒๐๕ ภาษาอังกฤษรอบรู้ ๑ จ๓๐๒๐๕ ภาษาจีน ๕ ส๓๐๒๔๖ หน้าที่พลเมือง ๔
๒/1.0 ว๓๓๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๓ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๖ ภาษาอังกฤษรอบรู้ ๒ ๑/0.5 จ๓๐๒๐๖ ภาษาจีน ๖ ๑/0.5
๑๖/8.0
๓/1.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0
๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร IS๓ การจัดกิจกรรมการนาองค์ความรู้ ไปใช้บริการสังคม (กิจกรรมแนะแนว)
4/-
กิจกรรมชุมนุม
๑/-
กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
๑/-
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
๑/๑/-
พัฒนาผลสัมฤทธิ์
1/-
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ โฮมรูม/ประชุมระดับ ม.๖
1/1/-
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๑/-
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
ช.ม./นก. ๑๓/6.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0
กิจกรรมแนะแนว
38/17.0 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
5/๑/-
34/14.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 72 /31.5 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕๐
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๔/๔-๔/๕ (ห้องเรียนภำษำ-สังคมศึกษำ) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน 14/7.0 ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒/1.0 ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๒/1.0 ว๓๐๑๔๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๑ ๒/1.0 ว๓๑๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๑/0.5 ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๒/0.5 ส๓๑๑๖๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ๑/0.5 พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษา-พลศึกษา ๑ ๑/0.5 ศ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๑/0.5 อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๒/1.0 ๑๖/8.0 รำยวิชำเพิ่มเติม พ๓๐๒๐๘ ฟุตซอล ๑ ๑/0.5
ปีกำรศึกษำ 2563 ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว๓๐๑๔๒ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๒ ว๓๑๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๑ ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ส๓๑๑๖๒ ประวัติศาสตร์ ๒ พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษา-พลศึกษา ๒ ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ รำยวิชำเพิ่มเติม พ๓๐๒๐๙ ฟุตซอล ๒
ว๓๑๒๘๑ เสริมทักษะการออกแบบและเทคโนโลยี ๑
๒/1.0
ว๓๑๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๑
อ๓๐๒๐๑ ภาษาอังกฤษทักษะฟัง-พูด ๑ อ๓๐๒๐๗ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ ท๓๐๒๐๑ ประวัติวรรณคดี ท๓0211 วรรณกรรมท้องถิ่น ส๓๐๒๒๖ อาเซียนศึกษา จ๓๐๒๐๑ ภาษาจีน ๑ ศ๓๐๒๐๑ นาฏศิลป์พื้นเมือง
๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0
อ๓๐๒๐๒ ภาษาอังกฤษทักษะฟัง-พูด ๒ อ๓๐๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒ ท๓๐๒๐๓ การเขียน ท๓๐๒๑๐ ภาษาเพื่อกิจกรรมการแสดง
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
4/๑/๑/-
จ๓๐๒๐๒ ภาษาจีน ๒ ศ๓๐๒๐๕ ศิลปะพื้นบ้าน ส๓๐๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๑ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
๑/-
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
โฮมรูม-ประชุมระดับ
1/-
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ส๓๐๒๒๑ พัฒนาการเมืองการปกครองของไทย
34/15.0 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 14/7.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑7/8.5
๑/0.5 ๒/1.0
๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 1/0.5 3/๑/๑/๑/34/15.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 68 /30.5 ชัว่ โมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕๑
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/๔ - 5/๕ (ห้องเรียนภำษำ-สังคมศึกษำ) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน 14/7.0 ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒/1.0 ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๒/1.0 ว๓๐๑๒๑ วิทยาศาสตร์กายภาพ(เคมี) ๒/1.0 ง๓๐๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑/0.5 ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๒/0.5 ส๓๒๑๖๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๑/0.5 พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษา-พลศึกษา ๓ ๑/0.5 ศ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๑/0.5 อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๒/1.0 ๑๙/9.5 รำยวิชำเพิ่มเติม ๒/1.0 ท๓๐๒๐๕ การพูด ท๓๐๒๐๖ วรรณคดีมรดก ๒/1.0 ส๓๐๒๒๒ การปกครองท้องถิ่นของไทย ๒/1.0 ส๓๐๒๔๔ หน้าที่พลเมือง ๒ ๑/0.5 พ๓๐๒๐๕ แบดมินตัน ๑ ๑/0.5 ศ๓๐๒๑๓ การเขียนลวดลายบนผลิตภัณฑ์ ๒/1.0 ว๓๒๒๘๑ เสริมทักษะการออกแบบและเทคโนโลยี ๒ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๓ ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ๑ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๙ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๓ ๒/1.0 จ๓๐๒๐๓ ภาษาจีน ๓ ๑/1.0 I๓๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ๒/1.0 กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร 3/กิจกรรมแนะแนว ๑/กิจกรรมชุมนุม ๑/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ปีกำรศึกษำ 2564 ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว๓๐๑๐๑ วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟิสิกส์) ว๓๒๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๒ ส๓๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ส๓๒๑๖๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษา-พลศึกษา ๔ ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รำยวิชำเพิ่มเติม ท ๓๐๒๐๗ การอ่านและพิจารณาวรรณกรรม
ท๓๐๒๐๘ การแต่งคาประพันธ์ ส๓๐๒๒๓ กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ ส๓๐๒๔๕ หน้าที่พลเมือง ๓ พ๓๐๒๑๐ เปตอง ศ๓๐๒๐๖ พื้นฐานดนตรีไทย ว๓๒๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๒ อ๓๐๒๐๔ ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ๒ อ๓๐๒๑๐ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๔ จ๓๐๒๐๔ ภาษาจีน ๔ I๓๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
๑/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) 36/16.5 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 14/7.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑๙/9.5
๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/1.0 ๒/1.0 3/๑/๑/๑/36/16.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 72 /33 ชั่วโมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕๒
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/๔ - 6/๕ (ห้องเรียนภำษำ-สังคมศึกษำ) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน ๑๓/6.5 ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๒/1.0 ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๒/1.0 ว๓๐๑๖๑ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๑ ๒/1.0 ง๓๐๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ ๑/0.5 ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๒/1.0 พ๓๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๑/0.5 ศ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๑/0.5 อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๒/1.0 รำยวิชำเพิ่มเติม ๑๗/8.5 ท๓0209 วรรณกรรมปัจจุบัน ๒/1.0 พ๓๐๒๐๑ ลีลาศ ๑ ๑/0.5 ศ๓๐๒๐๘ องค์ประกอบศิลป์ ๒/1.0 ว๓๓๒๘๓ การผลิตสื่อมัลติมีเดีย ๒/1.0 อ๓๐๒๐๕ ภาษาอังกฤษรอบรู้ ๑ ๒/1.0 อ๓๐๒๑๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๕ ๒/1.0 จ๓๐๒๐๕ ภาษาจีน ๕ ๑/0.5 ส๓๐๒๘๓ ประชากรกับสิ่งแวดล้อม ๒/1.0 ส๓๐๒๐๑ ศาสนาสากล ๒/1.0 ส๓๐๒๔๖ หน้าที่พลเมือง ๔ ๑/0.5
ปีกำรศึกษำ 2565 ภาคเรียนที่ 2 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน ๑๓/6.5 ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๒/1.0 ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๒/1.0 ว๓๐๑๖๒ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๒ ๒/1.0 ง๓๐๑๐๓ การงานอาชีพ ๓ ๑/0.5 ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ ๒/1.0 พ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ๑/0.5 ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ๑/0.5 อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๒/1.0 ๑6/8..0 รำยวิชำเพิ่มเติม ท๓๐๒๑๒ หลักภาษาไทย ๒/1.0 พ๓๐๒๐๒ ลีลาศ ๒ ๑/0.5 ศ๓๐๒๔๕ ดนตรีสากลปฏิบัติตามความถนัด ๒/1.0 ว๓๓๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๓ ๒/1.0 อ๓๐๒๐๖ ภาษาอังกฤษรอบรู้ ๒ ๒/1.0 อ๓๐๒๑๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๖ ๒/1.0 จ๓๐๒๐๖ ภาษาจีน ๖ ๑/0.5 ส๓๐๒๒๕ เหตุการณ์ปัจจุบันของโลก ๒/1.0 ส๓๐๒๖๒ เศรษฐกิจพอเพียง ๒/1.0
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร IS๓ การจัดกิจกรรมการนาองค์ความรู้ ไปใช้บริการสังคม (กิจกรรมแนะแนว)
4/-
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว
5/-
กิจกรรมชุมนุม
๑/-
กิจกรรมชุมนุม
๑/-
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
๑/-
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
๑/-
พัฒนาผลสัมฤทธิ์
1/-
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ โฮมรูม/ประชุมระดับ ม.๖
1/1/-
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๑/-
35/15.0 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๑/-
34/14.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 69 /29.5 ชัว่ โมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕๓
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๔/๖ (ห้องเรียนทั่วไป กำรศึกษำเพื่อกำรมีงำนทำ) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. รำยวิชำพื้นฐำน 14/7.0 ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒/1.0 ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๒/1.0 ว๓๐๑๔๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๑ ๒/1.0 ว๓๑๑๘๑ การออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๑/0.5 ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๒/0.5 ส๓๑๑๖๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ๑/0.5 พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษา-พลศึกษา ๑ ๑/0.5 ศ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๑/0.5 อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๒/1.0 ๑๖/8.0 รำยวิชำเพิ่มเติม
ปีกำรศึกษำ 2563 ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว๓๐๑๔๒ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๒ ว๓๑๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๑ ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ส๓๑๑๖๒ ประวัติศาสตร์ ๒ พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษา-พลศึกษา ๒ ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ รำยวิชำเพิ่มเติม
พ๓๐๒๐๘ ฟุตซอล ๑ ว๓๑๒๘๑ เสริมทักษะการออกแบบและเทคโนโลยี ๑ จ๓๐๒๐๑ ภาษาจีน ๑ ง๓๐๒๐๙ งานเขียนแบบ ง๓๐๒๒๑ อาหารว่าง ง๓๐๒๒๒ ปุ๋ยอินทรีย์ ศ๓๐๒๐๑ นาฏศิลป์พื้นเมือง ศ๓๐๒๑๔ ภาพพิมพ์ พ๓๐๒๑๒ กรีฑา ๑
พ๓๐๒๐๙ ฟุตซอล ๒ ว๓๑๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๑ จ๓๐๒๐๒ ภาษาจีน ๒ ง๓๐๒๐๑ หลักพืชกรรม ง๓๐๒๑๔ การตัดเย็บหมอนอิง ง๓๐๒๒๓ เพิ่มเติมกำรงำน ศ๓๐๒๐๕ ศิลปะพื้นบ้าน ศ๓๐๒๑๑ การออกแบบ พ๓๐๒๑๓ กรีฑา ๒ ส๓๐๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๑
๑/0.5 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
4/๑/๑/-
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
๑/-
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
โฮมรูม-ประชุมระดับ
1/-
รวมเวลำเรียนทั้งหมด
34/15.0 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 14/7.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑๗/8.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5
3/๑/๑/๑/34/15.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 68 /30.5 ชัว่ โมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕๔
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/๖ (ห้องเรียนทั่วไป กำรศึกษำเพื่อกำรมีงำนทำ) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 ปีกำรศึกษำ 2564 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน 14/7.0 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒/1.0 ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๒/1.0 ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว๓๐๑๒๑ วิทยาศาสตร์กายภาพ(เคมี) ๒/1.0 ว๓๐๑๐๑ วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟิสิกส์) ง๓๐๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑/0.5 ว๓๒๑๘๒ วิทยาการคานวณ ๒ ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๒/0.5 ส๓๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ส๓๒๑๖๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๑/0.5 ส๓๒๑๖๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษา-พลศึกษา ๓ ๑/0.5 พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษา-พลศึกษา ๔ ศ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๑/0.5 ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๒/1.0 อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ ๑๗/8.5 รำยวิชำเพิ่มเติม รำยวิชำเพิ่มเติม ส๓๐๒๔๔ หน้าที่พลเมือง ๒ ๑/0.5 ส๓๐๒๔๕ หน้าที่พลเมือง ๓ พ๓๐๒๐๕ แบดมินตัน ๑ ๑/0.5 พ๓๐๒๑๐ เปตอง ศ๓๐๒๑๓ การเขียนลวดลายบนผลิตภัณฑ์ ๒/1.0 ศ๓๐๒๐๖ พื้นฐานดนตรีไทย ง๓๐๒๐๒ หลักการเลี้ยงสัตว์ทั่วไป ๒/1.0 ง๓๐๒๐๓ บริการงานเกษตร ง๓๐๒๑๕ งานดอกไม้ประดิษฐ์ ๒/1.0 ง๓๐๒๐๔ การดูแลรักษาสวนหย่อม ง๓๐๒๑๖ งานตกแต่งด้วยผ้า ๒/1.0 ง๓๐๒๑๑ งานประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ ง๓๐๒๑๐ งานประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ ๒/1.0 ง๓๐๒๑๘ ขนมไทย ว๓๒๒๘๑ เสริมทักษะการออกแบบและเทคโนโลยี ๒ ๒/1.0 ว๓๒๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๒ จ๓๐๒๐๓ ภาษาจีน ๓ ๑/1.0 จ๓๐๒๐๔ ภาษาจีน ๔ I๓๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ๒/1.0 I๓๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร 3/- กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนว ๑/- กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม ๑/- กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) รวมเวลำเรียนทั้งหมด
๑/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา) 34/15.5 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. 14/7.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑๗/8.5
๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/1.0 ๒/1.0 3/๑/๑/๑/34/15.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 68 /31.0 ชัว่ โมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕๕
Bannasan School โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนบ้ำนนำสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/๖ (ห้องเรียนทั่วไป กำรศึกษำเพื่อกำรมีงำนทำ) ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 6 ปีกำรศึกษำ 2565 ภาคเรียนที่ 1 ช.ม./นก. ภาคเรียนที่ 2 รำยวิชำพื้นฐำน ๑๓/6.5 รำยวิชำพื้นฐำน ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๒/1.0 ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๒/1.0 ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ว๓๐๑๖๑ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๑ ๒/1.0 ว๓๐๑๖๒ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๒ ง๓๐๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ ๑/0.5 ง๓๐๑๐๓ การงานอาชีพ ๓ ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๒/1.0 ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ พ๓๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๑/0.5 พ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ศ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๑/0.5 ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๒/1.0 อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๑๗/8.5 รำยวิชำเพิ่มเติม รำยวิชำเพิ่มเติม พ๓๐๒๐๑ ลีลาศ ๑ ศ๓๐๒๐๘ องค์ประกอบศิลป์ จ๓๐๒๐๕ ภาษาจีน ๕ ว๓๓๒๘๓ การผลิตสื่อมัลติมีเดีย ง๓๐๒๐๕ การปลูกยางพารา ง๓๐๒๐๖ การปลูกไม้ผล ง๓๐๒๑๒ ช่างเฟอร์นิเจอร์ ง๓๐๒๑๗ การผูกผ้าในอาคาร ส๓๐๒๔๖ หน้าที่พลเมือง ๔
๑/0.5 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๔/2.0 ๒/1.0 ๑/0.5
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร IS๓ การจัดกิจกรรมการนาองค์ความรู้
4/-
พ๓๐๒๐๒ ลีลาศ ๒ ศ๓๐๒๑๒ ดนตรีสากลปฏิบัติตามความถนัด จ๓๐๒๐๖ ภาษาจีน ๖ ว๓๓๒๘๒ เสริมทักษะวิทยาการคานวณ ๓ ง๓๐๒๑๙ เครื่องแขวนไทย ง๓๐๒๐๗ การเพาะกล้าพันธุไ์ ม้ ง๓๐๒๐๘ การปลูกไม้ดอกประดับ ง๓๐๒๑๓ ผลิตภัณฑ์จากวัสดุในท้องถิ่น ง๓๐๒๒๐ การเย็บกระเป๋าผ้า
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร
๑/-
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมชุมนุม
๑/-
กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
๑/1/-
กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์(อาสาพัฒนา)
ไปใช้บริการสังคม (กิจกรรมแนะแนว)
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ รวมเวลำเรียนทั้งหมด
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ โฮมรูม/ประชุมระดับ ม.๖ 34/15.0 รวมเวลำเรียนทั้งหมด
ช.ม./นก. ๑๓/6.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑/0.5 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑๖/8.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๑/0.5 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0 ๒/1.0
5/๑/๑/๑/1/1/34/14.5
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 68 /29.5 ชัว่ โมง/หน่วยกิต/ปี กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใช้เวลานอก 10 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕๖
Bannasan School
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของโรงเรียนบ้านนาสารตั้งอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน นั้นผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้สะท้อน สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการ ประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของ ผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตาม ศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่โรงเรียนดาเนินการ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ดังนี้ ๑. กำรประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่ครูผู้สอน ดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอในการจัดการเรียนการสอนใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟ้ม สะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วั ดให้มีการสอนซ่อมเสริม การประเมิน ระดับชั้นเรียนนี้เป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจาก การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและ ส่งเสริมในด้านใดเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ๒. กำรประเมินระดับสถำนศึกษำ เป็นการประเมินที่โรงเรียนดาเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียนของ ผู้เรียนเป็นรายภาค รวมทั้งการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของโรงเรียนว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของ ผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนไป เปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติและระดับเขตพื้นที่การศึกษา ๓. กำรประเมินระดับเขตพื้นที่กำรศึกษำ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา และการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับ สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่ จัดทาและดาเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา โดยความร่วมมือของโรงเรียนในการดาเนินการจัดสอบ ๔. กำรประเมินระดับชำติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่โรงเรียนจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพ การศึกษาในระดับต่างๆ ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ จะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนในการตรวจสอบ ทบทวน พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น ถื อ เป็ น ภาระความรั บ ผิ ด ชอบของโรงเรี ย นที่ จ ะต้ อ งจั ด ระบบดู แ ล ช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุน เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕๗
Bannasan School แตกต่างระหว่างบุคคลที่จาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการ พัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรียน
เกณฑ์กำรวัดและประเมินผลกำรเรียน ๑. กำรตัดสินและกำรให้ระดับผลกำรเรียน ๑.๑ กำรตัดสินผลกำรเรียน ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น จะคานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริม ผู้เรียนให้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ ดังนี้ (๑) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้นๆ (๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด (๓) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา (๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑.๒ กำรให้ระดับผลกำรเรียนรำยวิชำ โรงเรียนบ้านนาสารได้กาหนดให้ผู้เรียนได้รับการตัดสินผลการประเมินจากครูผู้สอนเป็น ๘ ระดับ จากผล การเรียนรายภาคของผู้เรียน ดังนี้ ระดับผลกำรเรียน ควำมหมำย ช่วงคะแนน ๔ ดีเยี่ยม ๘๐-๑๐๐ ๓.๕ ดีมาก ๗๕-๗๙ ๓ ดี ๗๐-๗๔ ๒.๕ ค่อนข้างดี ๖๕-๖๙ ๒ ปานกลาง ๖๐-๖๔ ๑.๕ พอใช้ ๕๕-๕๙ ๑ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า ๕๐-๕๔ ๐ ต่ากว่าเกณฑ์ ๐-๔๙ ในกรณีที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเป็น ๘ ระดับ ได้ใช้ตัวอักษรระบุเงื่อนไขของผลการ เรียน ดังนี้ “มส” หมายถึง ผู้เรียนไม่มีสิทธิเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕๘
Bannasan School “ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการเรียนไม่ได้ เนื่องจากผู้เรียนไม่มีข้อมูลผลการเรียนรายวิชา นั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ทา ซึ่งงาน นั้นเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยที่ทาให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้ ๑.๓ กำรประเมินด้ำนกำรอ่ำน คิดวิเครำะห์ และเขียนสื่อควำม โรงเรียนบ้านนาสารได้กาหนดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในทุกรายวิชา โดยใช้เกณฑ์การประเมินของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้กาหนดขึ้น การตัดสินผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ของผู้เรียน จะเป็น ๔ ระดับ ดังนี้ ระดับ ควำมหมำย เกณฑ์กำรพิจำรณำ ๓ ดีเยี่ยม มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มี คุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ ๒ ดี มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มี คุณภาพเป็นที่ยอมรับ ๑ ผ่าน มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มี คุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ ๐ ไม่ผ่าน ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน หรือ ถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขหลาย ประการ ๑.๔ กำรประเมินด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนบ้านนาสารได้กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และใช้เป็นรายการสาหรับการประเมินของครูผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยใช้ เกณฑ์การประเมินของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้กาหนดขึ้นการตัดสินผลการพัฒนาคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ของผู้เรียนประกอบด้วย ๘ ด้าน ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๕๙
Bannasan School โรงเรียนบ้านนาสารกาหนดเกณฑ์การตัดสินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็น ๔ ระดับ ดังนี้ ระดับ ควำมหมำย เกณฑ์กำรพิจำรณำ ๓ ดีเยี่ยม ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัยและนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมิน ระดับดีเยี่ยม จานวน ๕-๘ คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการ ประเมินต่ากว่าระดับดี ๒ ดี ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามเกณฑ์ เพื่อให้เป็นการยอมรับ ของสังคม โดยพิจารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ๑-๔ คุณลักษณะและไม่มี คุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี หรือ ๒. ได้ผลการประเมินระดับดีทั้ง ๘ คุณลักษณะ หรือ ๓. ได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จานวน ๕-๗ คุณลักษณะและมีบาง คุณลักษณะได้ผลการประเมินระดับผ่าน ๑ ผ่าน ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่โรงเรียนกาหนดโดย พิจารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมินระดับผ่านทั้ง ๘ คุณลักษณะ หรือ ๒. ได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จานวน ๑-๔ คุณลักษณะ และคุณลักษณะที่เหลือได้ผลการประเมินระดับผ่าน ๐ ไม่ผ่าน ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ๐ ไม่ผ่าน โรงเรียนกาหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ ๑ คุณลักษณะ ๑.๕ กำรประเมินกิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มี ๓ ลักษณะ คือ ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร อาสาพัฒนา โดยผู้เรียนเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง 2.2 กิจกรรมชุมนุม ทั้งนี้กิจกรรมนักเรียนข้อ 2.1 ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพศชายทุกคนต้องเลือกเข้าร่วม กิจกรรมลูกเสือ ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพศหญิงต้องเลือกเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ(เนตรนารี) หรื อ ผู้ บ าเพ็ ญ ประโยชน์ ส่ ว นผู้ เ รี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายทุ ก คนต้ อ งเลื อ กเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม นักศึกษาวิชาทหาร หรืออาสาพัฒนา ๓) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖๐
Bannasan School การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและ ผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด และให้ผลการประเมิน ดังนี้ ผลกำรประเมิน ควำมหมำย ผ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงานตามเกณฑ์ ที่โรงเรียนกาหนด มผ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงานไม่เป็นไป ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด
๒. กำรเปลี่ยนผลกำรเรียน ๒.๑ กำรเปลี่ยนระดับผลกำรเรียน “๐” เนื่องจากการวัดผลให้น้าหนักของคะแนนการวัดผลระหว่างเรียนมากกว่าคะแนนการวัดผลปลาย ภาค และผู้ เรี ย นที่ไม่ผ่ านเกณฑ์ตัว ชี้วัด/ผลการเรี ยนรู้ จะได้รับการพัฒ นาการเรียนรู้และวัดซ้ าจาก ครู ผู้ ส อนก่อนการตัดสิ น ผลการเรี ย น เมื่อมีการตัดสิ นผลการเรียนผู้ เรียนได้ระดับผลการเรี ย น “๐” โรงเรียนต้องจัดสอนซ่อมเสริมตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ก่อนแล้วจึงสอบแก้ตัวหรือให้ ปฏิบัติงานหรือกิจกรรม โดยโรงเรียนให้โอกาสผู้เรียนแก้ตัวได้ไม่เกิน ๒ ครั้งทั้งนี้ผู้เรียนต้องดาเนินการ แก้ไขให้เสร็จสิ้นตามปฏิทินงานวัดผลที่กาหนด ถ้าผู้ เรียนไม่มาดาเนินการตามระยะเวลาที่กาหนดไว้นี้ ให้ อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการโรงเรียนที่จะพิจารณาขยายเวลาแก้ “๐” ออกไปได้อีก การเปลี่ยนระดับ ผลการเรียนจาก “๐” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” กรณีที่ผู้เรียนได้สอบแก้ตัวตามปฏิทินที่กลุ่ม บริหารวิชาการกาหนดไว้ ๒ ครั้งแล้ว และยังได้ระดับผลการเรียน “๐” ให้เรียนซ้ารายวิชานั้น ในภาค ฤดูร้อนหรือตามเวลาที่โรงเรียนกาหนด ๒.๒ กำรเปลี่ยนผลกำรเรียน “ร” แยกเป็น ๒ กรณี ดังนี้ ๒.๒.๑ ในกรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “ร” เพราะไม่เข้าสอบกลางภาค/ปลายภาค หรือไม่ส่งงาน ด้วย เหตุสุดวิสัย เมื่อผู้เรียนได้เข้าสอบหรือส่งงานที่ติดค้างอยู่เสร็จเรียบร้อยแล้วให้ได้ระดับผลการเรียน ตามปกติ (ตั้งแต่ ๐-๔) ๒.๒.๒ ในกรณีที่ผู้เรียนได้ระดับผลการเรียน “ร” แล้วไม่ดาเนินการแก้ไข “ร” ให้ผู้สอนนาข้อมูล ที่มีอยู่ตัดสินผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการโรงเรียนที่จะขยายเวลา การแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรียน ทั้งนี้ต้องดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ๒.๓ กำรเปลี่ยนผลกำรเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดังนี้ ๒.๓.๑ กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐แต่มีเวลำเรียนไม่ น้อยกว่ำร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น โรงเรียนต้องจัดให้เรียนเพิ่มเติมโดยใช้คาบซ่อมเสริม หรือเวลาว่าง หรือใช้วันหยุด หรือมอบหมายงานให้ทา จนมีเวลาเรียนครบตามที่กาหนดไว้สาหรับรายวิชา นั้น แล้วจึงให้สอบปลายภาค ผลการแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” การแก้ “มส” กรณีนี้ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖๑
Bannasan School ให้กระทาให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ถ้าผู้เรียนไม่มาดาเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่กาหนด ไว้นี้ให้เรียนซ้า ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการโรงเรียนที่จะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีก แต่เมื่อพ้นกาหนดนี้แล้ว ให้เรียนซ้ารายวิชานั้น ๒.๓.๒ กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียน ทั้งหมด ให้เรียนซ้ารายวิชานั้น ๒.๔ กำรเปลี่ยนผลกำรเรียน “มผ” กรณีที่ผู้เรียนได้ผล “มผ” โรงเรียนต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทากิจกรรมในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้า ร่วมหรือไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทั้งนี้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน ภาคเรียนนั้นๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการโรงเรียนที่จะพิจารณาขยายเวลา ออกไปอีก
กำรเลื่อนชั้น เมื่อสิ้นปีการศึกษา ผู้เรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ดังนี้ ๑. รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียน กาหนด ๒. ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด ในการ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๓. ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นควรได้ไม่ต่ากว่า ๑.๐๐ ทั้งนี้ รายวิชาใดที่ไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมิน โรงเรียนสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้ได้รับการแก้ไขให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น
กำรสอนซ่อมเสริม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดให้โรงเรียนจัดสอนซ่อม เสริมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีที่ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะกระบวนการ หรือเจตคติ/คุณลักษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด โรงเรียนต้องจัดสอนซ่อมเสริมเป็นกรณี พิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกติ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ ตั ว ชี้ วั ด ที่ ก าหนดไว้ เป็ น การให้ โ อกาสแก่ ผู้ เ รี ย นได้ เ รี ย นรู้ แ ละพั ฒ นา โดยจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ที่ หลากหลายและตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล การสอนซ่อมเสริมสามารถดาเนินการได้ในกรณี ดังนี้ ๑. ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ควรจัดสอนซ่อม เสริม ปรับความรู้/ทักษะพื้นฐาน ๒. ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะ กระบวนการ หรือเจตคติ/คุณลักษณะที่กาหนดไว้ ตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดในการประเมินผลระหว่างเรียน ๓. ผู้เรียนที่ได้ระดับผลการเรียน “๐” ให้จัดสอนซ่อมเสริมก่อนสอบแก้ตัว ๔. กรณีผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อน เพื่อแก้ไขผลการ เรียน ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการโรงเรียน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖๒
Bannasan School
กำรเรียนซ้ำชั้น ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่ สู ง ขึ้ น โรงเรี ย นตั้ ง คณะกรรมการพิ จ ารณาให้ เ รี ย นซ้ าชั้ น ได้ ทั้ ง นี้ ให้ ค านึ ง ถึ ง วุ ฒิ ภ าวะและความรู้ ความสามารถของผู้เรียนเป็นสาคัญ การเรียนซ้าชั้นมี ๒ ลักษณะ ดังนี้ ๑. ผู้เรียนมีระดับผลกำรเรียนเฉลี่ยในปีกำรศึกษำนั้นต่ำกว่ำ ๑.๐๐ และมีแนวโน้มว่าจะเป็น ปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น ๒. ผู้เรียนมีผลกำรเรียน ๐, ร, มส เกินครึ่งหนึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้ง ๒ ลักษณะ โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา หาก เห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ซ้าชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน หาก พิจารณาแล้วไม่ต้องเรียนซ้าชั้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการโรงเรียนในการแก้ไขผลการเรียน
เกณฑ์ การจบการศึกษา สถานศึกษาได้กาหนดเกณฑ์ ดังนี้ 1. เกณฑ์กำรจบระดับมัธยมศึกษำตอนต้น 1.1 ผู้เรียนต้องได้รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด 1.2 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับ 1 (ผ่านเกณฑ์ ก าร ประเมิน) ขึ้นไป การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน กาหนดผลการประเมินเป็น 4 ระดับ ระดับ 3 (ดีเยี่ยม) หมายถึง มีผลงานแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียนที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ ระดับ 2 (ดี) หมายถึง มีผลงานแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มี คุณภาพเป็นที่ยอมรับ ระดับ 1(ผ่านเกณฑ์การประเมิน) หมายถึง มีผลงานแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ ระดับ 0(ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน) หมายถึง ไม่มีผลงานแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนหรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการ ปรับปรุงแก้ไขหลายประการ 1.3 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ 1 “ผ่านเกณฑ์การประเมิน” ขึ้นไป คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖๓
Bannasan School การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์กาหนดผลการประเมินเป็น 4 ระดับ คือ ระดับ 3 (ดีเยี่ยม) หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตามคุณลักษณะ โดยพิจารณาจากผลการ ประเมินระดับดีเยี่ ย มจานวน 5-8 คุณลักษณะและไม่มีคุณลั กษณะใดได้ผ ลการ ปฏิบัติต่ากว่าระดับดี ระดับ 2 (ดี) หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตามคุณลักษณะ โดยพิจารณาจาก 1. ผลการประเมินระดับดีเยี่ยมจานวน 1-4 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะ ใดได้ผลการประเมินต่ากว่า ระดับดี 2. ผลการประเมินระดับดีเยี่ยมจานวน 4 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ากว่า ระดับผ่าน 3. ผลการประเมินระดับดี จานวน 5-8 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ากว่า ระดับผ่าน ระดับ 1 (ผ่านเกณฑ์การประเมิน) หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตามคุณลักษณะ โดยพิจารณาจาก 1. ผลการประเมินระดับผ่าน จานวน 5-8 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล 2. การประเมินต่ากว่า ระดับผ่าน 3. ผลการประเมินระดับดี จานวน 4 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการ 4. ประเมินต่ากว่า ระดับผ่าน ระดั บ 0(ไม่ผ่ านเกณฑ์การประเมิน ) หมายถึง ผู้ เรียนไม่ปฏิบัติตามคุณลั กษณะหรือได้ผ ลการ ประเมินในระดับผ่านไม่เกิน 4 คุณลักษณะ 1.4 ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมิน “ผ่าน” ทุกกิจกรรมการประเมินการ เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กาหนดผลการประเมินเป็น 2 คือ ผ หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงานตาม เกณฑ์ที่กาหนด มผ หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงานไม่ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด 2. เกณฑ์กำรจบระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย 2.1 ผู้ เรี ย นต้องได้ร ายวิช าพื้น ฐานและเพิ่มเติม ไม่น้ อยกว่า 77 หน่ว ยกิต โดยเป็นรายวิช า พื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด 2.2 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับ 1 (ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน) ขึ้นไป การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน กาหนดผลการประเมินเป็น 4 ระดับ ระดับ 3 (ดีเยี่ยม) หมายถึง มีผลงานแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่ มี คุณภาพดี เลิศอยู่เสมอ ระดับ 2 (ดี) หมายถึง มีผลงานแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มี คุณภาพเป็นที่ยอมรับ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖๔
Bannasan School ระดับ 1 (ผ่านเกณฑ์การประเมิน) หมายถึง มีผลงานแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ ระดับ 0 (ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน) หมายถึง ไม่มีผลงานแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วิ เ คราะห์ แ ละเขี ย นหรื อ ถ้ า มี ผ ลงาน ผลงานนั้ น ยั ง มี ข้ อ บกพร่ อ งที่ ต้ อ งได้ รั บ การ ปรับปรุงแก้ไขหลายประการ 2.3 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ 1 “ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน” ขึ้นไป การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์กาหนดผลการประเมินเป็น 4 ระดับ คือ ระดับ 3 (ดีเยี่ยม) หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตามคุณลักษณะ โดยพิจารณาจากผลการประเมิน ระดับดีเยี่ยมจานวน 5-8 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการปฏิบัติต่ากว่าระดับดี ระดับ 2 (ดี) หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตามคุณลักษณะ โดยพิจารณาจาก - ผลการประเมินระดับดีเยี่ยมจานวน 1-4 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะ ใดได้ผลการประเมินต่ากว่า ระดับดี - ผลการประเมินระดับดีเยี่ยมจานวน 4 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ากว่า ระดับผ่าน - ผลการประเมินระดับดี จานวน 5-8 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ากว่า ระดับผ่าน ระดับ 1 (ผ่านเกณฑ์การประเมิน) หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตามคุณลักษณะ โดยพิจารณาจาก - ผลการประเมินระดับผ่าน จานวน 5-8 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ากว่า ระดับผ่าน - ผลการประเมินระดับดี จานวน 4 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล การประเมินต่ากว่า ระดับผ่าน ระดับ 0 (ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน) หมายถึง ผู้เรียนไม่ปฏิบัติตามคุณลักษณะหรือได้ผล การประเมินในระดับผ่านไม่เกิน 4 คุณลักษณะ 2.4 ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมิน “ผ่ำน” ทุกกิจกรรมการประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กาหนดผลการประเมินเป็น 2 คือ ผ หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน ตามเกณฑ์ที่กาหนด มผ หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖๕
Bannasan School
สำหรับห้องเรียนพิเศษมีเกณฑ์กำรจบหลักสูตร เพิ่มเติม ดังนี้ ห้องเรียนพิเศษภำษำอังกฤษ : Intensive English Program : IEP ผู้เรียนเรียนรายวิชา/กิจกรรม เพิ่มเติมตามหลักสูตรห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ : Intensive English Program : IEP นอกเวลาเรียนปกติ (โปรแกรมเสริม) และมีผลการเรียน ดังนี้ (๑) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศห้องเรียนพิเศษตามที่สถานศึกษากาหนด (๒) ผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมทักษะวิชาการ IEP Show ตามที่สถานศึกษากาหนด (๓) ผู้เรียนเข้าร่วมการสอบวัดมาตรฐานความรู้ด้านภาษาอังกฤษโดยหน่วยงานภายนอก ตามที่ สถานศึกษากาหนด (๔) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ค่ายภาษาอังกฤษ ตามที่สถานศึกษากาหนด อย่าง น้อยปีละ ๑ ครั้ง (ม.๑ ในจังหวัด ม.๒ ต่างจังหวัด ม.๓ ต่างประเทศ) (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมสอนเสริมเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ ในวันเสาร์หรือวัน อาทิตย์ ตามที่สถานศึกษากาหนด (๖) ผู้เรียนเรียนเสริมภาษาอังกฤษช่วงก่อนปิดภาคเรียน ตามที่สถานศึกษากาหนด อย่างน้อยภาค เรียนละ ๑๐ วัน ห้องเรียนพิเศษวิทยำศำสตร์-คณิตศำสตร์ : Science and Mathematics Program : SMP ผู้เรียนเรียนรายวิชา/กิจกรรม เพิ่มเติมตามหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ -คณิตศาสตร์ : Science and Mathematics Program : SMP นอกเวลาเรียนปกติ (โปรแกรมเสริม) และมีผลการเรียน ดังนี้ (๑) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศห้องเรียนพิเศษตามที่สถานศึกษากาหนด (๒) ผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมทักษะวิชาการ Science-Math Show ตามที่สถานศึกษา กาหนด (๓) ผู้เรียนเข้าร่วมการสอบวัดมาตรฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยหน่วยงาน ภายนอก ตามที่สถานศึกษากาหนด (๔) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ค่ายวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ตามที่สถานศึกษา กาหนด อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง (ม.๑ ในจังหวัด ม.๒ ต่างจังหวัด ม.๓ ต่างประเทศ) (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมสอนเสริมเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ ในวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ ตามที่สถานศึกษากาหนด ห้องเรียนพิเศษภำษำอังกฤษ-ภำษำจีน : English and Chinese Program : ECP ผู้ เ รี ย นเรี ย นรายวิ ช า/กิ จ กรรม เพิ่ ม เติ ม ตามห้ อ งเรี ย นพิ เ ศษภาษาอั ง กฤษ-ภาษาจี น : English and Chinese Program : ECP นอกเวลาเรียนปกติ (โปรแกรมเสริม) และมีผลการเรียน ดังนี้ (๑) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศห้องเรียนพิเศษตามที่สถานศึกษากาหนด (๒) ผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมทักษะวิชาการ ECP Show ตามที่สถานศึกษากาหนด (๓) ผู้เรียนเข้าร่วมการสอบวัดมาตรฐานความรู้ด้านภาษาจีนและภาษาอังกฤษ โดยหน่วยงาน ภายนอก ตามที่สถานศึกษากาหนด คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖๖
Bannasan School (๔) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ค่ายภาษาอังกฤษและภาษาจีน ตามที่สถานศึกษา กาหนด อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง (ม.๔ ในจังหวัด ม.๕ ต่างจังหวัด ม.๖ ต่างประเทศ) (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมสอนเสริมเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ ในวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ ตามที่สถานศึกษากาหนด (๖) ผู้เรียนเรียนเสริมภาษาอังกฤษ/ภาษาจีน ช่วงก่อนปิดภาคเรียน ตามที่สถานศึกษากาหนด อย่าง น้อยภาคเรียนละ ๑๐ วัน ห้องเรียนพิเศษวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยี : Science Mathematic and Technology : SMT ผู้ เรี ย นเรี ย นรายวิช า/กิจ กรรม เพิ่มเติมตามห้ องเรี ยนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยี : Science Mathematic and Technology : SMT นอกเวลาเรียนปกติ (โปรแกรมเสริม) และมีผลการเรียน ดังนี้ (๑) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศห้องเรียนพิเศษตามที่สถานศึกษากาหนด (๒) ผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมทักษะวิชาการ Science-Math Show ตามที่สถานศึกษา กาหนด (๓) ผู้เรียนเข้าร่วมการสอบวัดมาตรฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยหน่วยงาน ภายนอก ตามที่สถานศึกษากาหนด (๔) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ค่ายวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ตามที่ สถานศึกษากาหนด อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง (ม.๔ ในจังหวัด ม.๕ ต่างจังหวัด ม.๖ ต่างประเทศ) (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมสอนเสริมเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ ในวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ ตามที่สถานศึกษากาหนด
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖๗
Bannasan School
งำนห้องสมุด ระเบียบกำรใช้ห้องสมุดกำญจนำภิเษก โรงเรียนบ้ำนนำสำร เวลาทาการ วันจันทร์ – วันศุกร์ เวลา 07.00 น.- 16.30 น. สำหรับนักเรียน 1. ไม่นากระเป๋าหนังสือ หรือเอกสารใด ๆเข้าห้องสมุด 2. ผู้ใช้ห้องสมุดควรแต่งกายสุภาพเรียบร้อย 3. ไม่นาอาหารและเครื่องดื่ม หรือของขบเคี้ยวเข้าไปรับประทานในห้องสมุด 4. ไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น 5. ห้ามนั่งระหว่างชั้นหนังสือ ซึ่งจะทาให้ผู้อื่นไม่ได้รับความสะดวกในการค้นหาหนังสือ 6. ช่วยกันรักษาหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ห้ามขีดเขียน ทาลายตัดฉีกทรัพยากรของห้องสมุด ทุกชนิด 7. เมื่ออ่านหนังสือเสร็จแล้ว ให้เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย 8. เมื่อลุกจากที่นั่งอ่านหนังสือ ให้เก็บเก้าอี้ให้เรียบร้อยทุกครั้ง
ข้อปฏิบัติในกำรยืม –คืนหนังสือ สำหรับนักเรียน 1. ใช้บริการยืม – คืนหนังสือในเวลาพักกลางวัน เวลา 11.00 น. – 13.00น. 2. ผู้ที่จะยืมหนังสือจะต้องแสดงบัตรประจาตัวนักเรียนของตนเองทุกครั้งในการยืมและคืนหนังสือ 3. ยืมหนังสือได้ครั้งละไม่เกิน 4 เล่ม ในเวลา 7 วัน แต่ละเล่มจะต้องไม่ซ้ากัน 4. เมื่อนักเรียนไม่คืนหนังสือตามกาหนดให้เสียค่าปรับวันละ 1 บาทต่อ 1 เล่ม นับรวมวันหยุด 5. กรณีหนังสือหายหรือชารุดให้จัดหาหนังสือเล่มนั้นมาแทน ในกรณีที่ไม่สามารถซื้อได้ ต้องชาระเงินค่า หนังสือเท่ากับราคาหนังสือในปัจจุบัน 6. สิ่งพิมพ์ที่ไม่อนุญาตให้ยืมออกนอกห้องสมุด ได้แก่หนังสืออ้างอิง จุลสาร กฤตภาค วารสาร หนังสือพิมพ์วารสารเย็บเล่ม วารสารใหม่
ข้อปฏิบัติกำรใช้คอมพิวเตอร์ในห้องสมุด 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
ก่อนเข้าใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกครั้งต้องลงบันทึกการเข้าใช้ที่สมุดบันทึกการเข้าใช้ ห้ามเปิดรูปภาพหรือ Website ที่ไม่เหมาะสม ห้ามนาอุปกรณ์ใด ๆ ของคอมพิวเตอร์ออกนอกห้องสมุดโดยเด็ดขาด ไม่อนุญาตให้นาเกมและโปรแกรมอื่นมาใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตจากอาจารย์หรือเจ้าหน้าที่ ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยความระมัดระวังและห้ามขีดเขียนข้อความใด ๆ ทั้งสิ้นลงในอุปกรณ์ทุกชิ้น ห้ามนากระเป๋าหรือสิ่งของมาวางบนโต๊ะคอมพิวเตอร์ ให้วางที่ชั้นวางของหน้าห้องสมุด หากพบว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดมีปัญหา กรุณาแจ้งบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุดด้วย หากผู้ใดทาผิดกฎระเบียบการใช้คอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่จะงดให้ผู้นั้นใช้คอมพิวเตอร์ชั่วคราว คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖๘
Bannasan School
งำนแนะแนว บริกำรแนะแนว เป็นบริการที่จัดให้กับนักเรียนทุกคนในโรงเรียน ดังนี้ 1. บริการให้คาปรึกษา นักเรียนที่มีปัญหา หรือต้องการหาข้อมูลด้านการเรียน ด้านการศึกษาต่อ ด้านการเลือกอาชีพ ด้านส่วนตัว สามารถมาขอคาปรึกษาได้ที่ห้องแนะแนว หากไม่พบครูแนะ แนวนักเรียนสามารถเขียนโน้ตไว้บนโต๊ะครูแนะแนวและนัดเวลาขอพบได้ 2. บริการส่งต่อนักเรียน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ที่ประสงค์ จะเข้าศึกษาต่อในสถาบันการศึกษาต่างๆ ในกรณีพิเศษ (โควตา) งานแนะแนวจะประสานกับ สถาบันการศึกษา และจัดส่งนักเรียนที่มีคุณสมบัติตามที่สถาบันกาหนดไปยังสถาบันการศึกษา นั้นๆ 3. บริการทุนการศึกษา นักเรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ สามารถมาขอทุนการศึกษาได้ ซึ่ง ทุนการศึกษามีหลายประเภท ดังนี้ 3.1 ทุนการศึกษาทั่วไป เป็นทุนที่ทางโรงเรียนจัดหาและมอบให้แก่นักเรียนตาม คุณสมบัติของผู้รับทุน ได้แก่ ทุนเรียนดี ทุนกิจกรรมดี มีจิตอาสา ทุนกีฬาเด่น ทุน ประพฤติดีและขาดแคลน ทุนความสามารถพิเศษ 3.2 ทุนอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสาหรับนักเรียนยากจน 3.3 ทุนยากจนพิเศษ แบบมีเงื่อนไข (นักเรียนทุนเสมอภาค) 3.4 ทุนพระราชทาน 3.5 กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา 4. บริการจัดโครงการเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์อาชีพ ส่งนักเรียนไปฝึกประสบการณ์ด้านอาชีพ ในสถานประกอบการในช่วงปิดภาคเรียน 5. บริการติดตามผล งานแนะแนวจะติดตามผลนักเรียนทั้งที่ยังศึกษาในโรงเรียนและสาเร็จ การศึกษาไปแล้ว เพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนาและวางแผนการบริหารงานโรงเรียน ในด้านต่างๆ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๖๙
Bannasan School
ทุนกำรศึกษำ โรงเรียนบ้ำนนำสำร มีการจัดสรรทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนหลายประเภท เพื่อเป็นค่าเล่า เรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าใช้จ่ายที่จาเป็นในการครองชีพ ให้นักเรียนได้รับโอกาส ทางการศึกษา อย่างทั่วถึง โดยมีครูที่ปรึกษาและผู้ปกครองคอยให้การสนับสนุน ส่งเสริม และร่วมมือกัน เพื่ อ ให้ เ ด็ ก เป็ น คนดี มี ค วามรู้ และเป็ น ที่ พึ่ ง ของครอบครั ว ในอนาคตข้ า งหน้ า โรงเรี ย นได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการขึ้นเพื่อพิจารณานักเรียนที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับทุนการศึกษาแต่ละประเภท ทุนอุดหนุนปัจจัยพื้นฐำนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐำนนักเรียนยำกจน โดย สพฐ. จะจัดสรรให้ 30% ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้นชองโรงเรียน ซึ่งมีแนวทางในการดาเนินงานทุนอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานของสถานศึกษาดังนี้ 1.1 สารวจข้อมูลนักเรียนยากจน และรายงานข้อมูลในระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล โดยให้ระบุประเภทความด้อยโอกาสของนักเรียนเป็น “ยากจน” 1.2 ครูลงพื้นที่เยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อจัดเก็บข้อมูลสถานะเศรษฐกิจครัวเรือนของนักเรียน 1.3 รายงานข้อมูลตามแบบขอรับทุนการศึกษานักเรียนยากจน (แบบ นร.01และ นร.02) ผ่าน ระบบสารสนเทศปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน (Conditional Cash Transfer: CCT) ตามระยะเวลาที่ กาหนดในปฏิทินการดาเนินงาน เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ 1.4 จัดสรรงบประมาณให้นักเรียนตามรายชื่อที่ได้รับจัดสรรและติดตาม ควบคุม กากับให้ นักเรียนใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 1.5 รายงานผลการดาเนินงาน เกณฑ์กำรพิจำรณำคัดกรองนักเรียนยำกจน 1. นักเรียนที่พิจารณาจากเกณฑ์การคัดกรองนักเรียนยากจนมีรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนไม่เกิน 3,000 บาท/เดือน 2. เกณฑ์สถานะครัวเรือน ประกอบด้วย ครอบครัวมีภาระพึ่งพิง สภาพที่อยู่อาศัยสภาพบ้าน ช ารุ ด ทรุ ด โทรม หรื อ อยู่ บ้ า นเช่ า ไม่ มี ร ถยนต์ ส่ ว นบุ ค คล เป็ น เกษตรกรไม่ มี ที่ ดิ น ท ากิ น หรื อ มี ที่ ดิ น (รวมเช่า) ไม่เกิน 1 ไร่ กำรจ่ำยเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐำนสำหรับนักเรียนยำกจน โดยสถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย 3 คนร่วมกันจ่ายเงิน เป็นค่าอาหารกลางวันและ ค่าพาหนะในการเดินทางมาโรงเรียน โดยใช้ใบสาคัญรับเงินเป็นหลักฐานในการจ่าย ซึ่งใช้ลักษณะแบบถัว จ่ายรายเดือนๆละ 375 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท/คน/ภาคเรียน / 3,000 บาท/คน/ปี 2. เงินอุดหนุนนักเรียนยำกจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (นักเรียนทุนเสมอภำค) หลักเกณฑ์กำรคัดกรองนักเรียนทุนเสมอภำค 1. การคัดกรองนักเรียนทุนเสมอภาค กสศ.ใช้การประเมินจากข้อมูล ดังต่อไปนี้ 1.1 ข้อมูลรายได้เฉลี่ยของสมาชิกครัวเรือนต่อคนต่อเดือน ไม่เกิน 3,000 บาทต่อเดือน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๗๐
Bannasan School 1.2 ข้อมูลสถานะครัวเรือน ได้แก่ สมาชิกครัวเรือนที่มีภาระพึ่งพิง การอยู่อาศัย สภาพที่อยู่ อาศัยที่ดินทาการเกษตร(รวมเช่า) ยานพาหนะในครัวเรือน ของใช้ในครัวเรือน(ที่ใช้งานได้) 1.3 ให้ มีการรั บ รองความถู กต้ อ ง ของข้อมูล โดย 3 ฝ่ ายดังต่อไปนี้ 1) ผู้ ปกครองของ นักเรียน 2) ผู้อานวยการสถานศึกษา 3) เจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้เป็นไปตามประกาศสานักงานกองทุน เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาเรื่องหลักเกณฑ์การจัดให้มีการรับรองข้อมูลการขาดแคลนทุนทรัพย์ หรือด้อยโอกาสโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ วิธีกำรใช้จ่ำย เงินอุดหนุนนักเรียนยำกจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (นักเรียนทุนเสมอภำค) แบ่ง กำรจัดสรรเงินออกเป็น 2 ส่วน เท่ำๆกัน คือ ส่วนที่ 1 สถานศึกษาจ่ายเป็นเงินสดให้แก่นักเรียน/ผู้ปกครอง โดยสร้างความเข้าใจวัตถุประสงค์ ในการใช้จ่ายเงินอุดหนุนให้นักเรียนและผู้ปกครอง ใช้จ่ายเงิน ดังนี้ 1.ค่าหนังสือเรียนและอุปกรณ์การ เรียน 2. ค่าเสื้อผ้า และวัสดุเครื่องแต่งกายนักเรียน 3. ค่าอาหารหรือคูปองค่าอาหาร 4. ค่าพาหนะใน การเดินทาง หรือจ้างเหมารถรับ-ส่งนักเรียน พร้อมถ่ายภาพและลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน ซึ่งโรงเรียน จะให้ลงนามในเอกสารตามแบบฟอร์มใบสาคัญรับเงิน (นร.06/กสศ.06) พร้อมแนบสาเนาบัตร ประชาชน หรือจะลงลายมือชื่อแบบอิเล็กทรอนิกส์และแนบภาพถ่ายหน้าบัตรประชาชนผ่านระบบแอป พลิเคชันก็ได้ ทั้งนี้ภาพถ่ายจะต้องประกอบด้วย 1) ผู้ปกครองเป็นผู้รับเงิน 2) ครูประจาชั้น/ผู้แทนครู เป็นผู้บันทึกข้อมูล 3) นักเรียนทุนเสมอภาค เป็นพยาน 4) ผู้อานวยการโรงเรียน หรือ เป็นพยาน ส่วนที่ 2 สถานศึกษาจ่ายเป็นเงินสดให้นักเรียนทุนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข(นักเรียนทุนเสมอ ภาค)เป็นค่าอาหารเช้าโดยแบ่งจ่ายเป็นรายสัปดาห์จนครบ ตามที่ กสศ. จัดสรรงบประมาณให้มา
กองทุนให้กู้ยมื เพื่อการศึกษา (กยศ.) กองทุ น เงิ น ให้ กู้ ยื ม เพื่ อ การศึ ก ษา มุ่ ง สร้ า งโอกาสทางการศึ ก ษาโดยสนั บ สนุ น ค่ า เล่ า เรี ย น ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยว เนื่องกับการศึกษา และ ค่าครองชีพ แก่นักเรียน นักศึกษาที่มีความจาเป็นตั้งแต่ระดับ มัธยมปลายสายสามัญและสายอาชีพ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา โดยไม่คิดดอกเบี้ยระหว่างศึกษาอยู่ และจะต้องชาระเงินคืนหลังจากจบการศึกษาแล้ว 2 ปี โดยกองทุนฯ จะคิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปี ระยะเวลาผ่อนชาระคืนทั้งสิ้นไม่เกิน 15 ปี คุณสมบัติผู้กู้ยืม 1. เป็นผู้มีสัญชาติไทย 2. เป็นผู้ที่มีรายได้ต่อครอบครัวไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี รายได้ต่อครอบครัว 3. ต้องมีอายุในขณะที่ขอกู้ โดยเมื่อนับรวมกับระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี และระยะเวลาผ่อน ชาระอีก 15 ปี รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 60 ปี 4. เป็นผู้ที่เข้าศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (สายสามัญ-สายอาชีพ) ระดับอาชีวศึกษา หรืออุดมศึกษา
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๗๑
Bannasan School 5. เป็นผู้ที่ทาประโยชน์ต่อสังคมหรือสาธารณะในระหว่างปีการศึกษาก่อนหน้าปีการศึกษาที่จะ ขอกู้ยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคมหรือสาธารณะไม่น้อยกว่า 36ชั่วโมง ขั้นตอนกำรให้กู้ยืมเงิน กยศ. 1. ผู้กู้รายใหม่ลงทะเบียน Pre-Register ในระบบe-Studentloan เพื่อรับรหัสผ่านโดยไม่ระบุ สถานศึกษา 2. ผู้กู้รายเก่าและรายใหม่ยื่นแบบคาขอกู้/แบบคายืนยันขอกู้ยืมเงินในระบบe-Studentloan ภายในระยะ เวลาที่กองทุนกาหนด สาหรับภาคเรียนที่ 1 ให้ดาวน์โหลดแบบคาขอกู้ยืมเงิน (กยศ.101) และแนบเอกสารที่เกี่ยว ข้องส่งให้สถานศึกษาพิจารณาคุณสมบัติ 3. คณะกรรมการสถานศึกษาดาเนินการตรวจสอบคุณสมบัติสัมภาษณ์นักเรียนผู้มีสิทธิกู้ยืม 4. สถานศึกษาบันทึกกรอบวงเงินกู้ยืมเงินทั้งปีในระบบ e-Studentloan 5. สถานศึกษาประกาศรายชื่อผู้ได้รับสิทธิกู้ยืมในระบบ e-Studentloan 6. ผู้กู้ยืมทั้งรายใหม่หรือรายเก่าที่เปลี่ยนระดับ/เปลี่ยนสถานศึกษา บันทึกและพิมพ์สัญญากู้ยืม เงินในระบบ e-Studentloan และนาส่งสัญญาพร้อมเอกสารประกอบสัญญาที่ได้ลงนามแล้วให้ สถานศึกษาตรวจสอบความถูกต้อง 7. สถานศึกษายืนยันความถูกต้องของสัญญาและส่งข้อมูลในระบบในระบบ e-Studentloan พร้อมลงนามในสัญญา 8. ผู้กู้ยืมบันทึกจานวนเงินค่าเล่าเรียนและ/หรือค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาตามที่ ประสงค์กู้ยืมแต่ไม่เกินจานวนที่สถานศึกษาเรียกเก็บจริงในระบบ e-Studentloan 9. สถานศึกษาลงทะเบียนในระบบ e-Studentloan พร้อมกับพิมพ์แบบลงทะเบียน/แบบยืนยัน จานวนเงินค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพ ให้ผู้เกี่ยวข้องลงนาม 10. สถานศึกษาตรวจสอบและยืนยันข้อมูลแบบลงทะเบียน แบบยืนยันจานวนเงินค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพ ในระบบ e-Studentloan 11. สถานศึกษารวบรวมสัญญาและเอกสารประกอบสัญญากู้ยืมและแบบลงทะเบียนฯ จัดส่งให้ ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม (บมจ.ธนาคารกรุงไทยและธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย)
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๗๒
Bannasan School
ขอบเขตจานวนเงินให้กู้ยืม ระดับการศึกษา/สาขาวิชา 1.มัธยมศึกษาตอนปลาย 2. ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 3. ปวท./ปวส. หรือเทียบเท่า 3.1 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ศิลปกรรม คหกรรม อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3.2 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เกษตรกรรม ประมง อุตสาหกรรมสิ่งทอ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3.2.1 สาขาวิชาช่างอากาศยาน ช่างเทคนิค ระบบขนส่งทางราง การตรวจสอบโดยไม่ทาลาย การเดินเรือ 3.2.2 สาขาอื่นๆ นอกจาก 3.2.1 4. อนุปริญญา / ปริญญาตรี 4.1 สังคมศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ 4.1.1 สาขาที่ขาดแคลน/หรือเป็นความต้องการของ ตลาดแรงงาน ได้แก่ บัญชี เศรษฐศาสตร์ สารสนเทศ นิติศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรม โลจิสติกส์ อุสาหกรรมบริการ ธุรกิจอุตสาหกรรม และธุรกิจการบิน 4.1.2 สาขาอื่นๆ นอกเหนือจาก 4.1.1 4.2 ศิลปกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ 4.3 วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4.4 เกษตรศาสตร์ 4.5 สาธารณสุขศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ เภสัชศาสตร์ 4.6 แพทยศาสตร์ สัตวศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์
ค่าเล่าเรียน/ค่าใช้จ่าย ค่าครองชีพ ที่เกี่ยวเนื่อง (บาท/ราย/ปี) (บาท/ราย/ปี) 14,000 21,600 21,000
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
25,000
60,000 30,000 36,000
60,000 50,000 70,000 70,000 70,000 90,000 200,000
๗๓
Bannasan School
กลุ่มบริหารงบประมาณ คณะกรรมการบริหารงบประมาณ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
งานบริหารงานงบประมาณ คณะกรรมการบริหารงานกลุ่ม งานแผนงานและโครงการ งานการเงิน งานบัญชี งานตรวจสอบภายใน งานระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา งานบริหารพัสดุและสินทรัพย์
นายพงษ์ศักดิ์ นางสาวจารุณี นางสาวจารุณี นางจิระภา นางสุกัญญา นางนุตริยา นางสาวจารุณี นางจิราวรรณ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
นาครพัฒน์ บัวแย้ม บัวแย้ม สุขไกว คงแก้ว เครือหงส์ บัวแย้ม นาคพิน
๗๔
Bannasan School
กลุ่มบริหารงบประมาณ ตั้งอยู่ชั้น 2 อาคารสัตตบรรณ กลุ่มบริหารงบประมาณของโรงเรียน มีหน้าที่สนับสนุนการเรียน การสอนให้สัมฤทธิ์ผลตามความมุ่งหมายของหลักสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน้าที่ที่ฝ่ายบริหาร งบประมาณเกี่ยวข้องกับผู้ปกครองและนักเรียน คือการอานวยความสะดวกในเรื่องต่อไปนี้ กำรติ ด ต่ อกับฝ่ำ ยบริ หำรงบประมำณ นักเรียนและผู้ ปกครองสามารถติดต่อทางโทรศัพท์ โทรสาร ดังต่อไปนี้ หมายเลขโทรศัพท์ 077-341044 หมายเลขโทรสาร 077-341935 งานที่อยู่ในความดูแลของฝ่ายงบประมาณประกอบด้วย งานบริหารงบประมาณ งานการเงิน งานพัสดุและสินทรัพย์ ซึ่งแต่ละงานมีหน้าที่รับผิดชอบดังนี้ 1. งานบริหารงบประมาณ รับผิดชอบเกี่ยวกับการโอนขออนุมัติจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ประจาปีการเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ การขอกันเงิน การเบิกจ่าย งบประมาณแทนกันและ ควบคุมการจ่ายงบประมาณประจาปี รวมทั้งการขอยืมเงินราชการ การควบคุม กากับ ดูแล การใช้ จ่ายเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ 2. งานพัสดุและสินทรัพย์ รับผิดชอบในการดาเนินงานให้มีการใช้สินทรัพย์อย่างคุ้มค่ารวมทั้ง งานที่เกี่ยวกับราชพัสดุ การบริหารทรัพย์สิน และการจัดหาพัสดุ ควบคุม จาหน่ายและให้ คาปรึกษาและแก้ปัญหาการพัสดุให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. งานการเงินและบัญชี ศึกษาวิเคราะห์ จัดทาบัญชี และรายงานการเงินของส่วนราชการ รวบรวมรายงานการเงินของโรงเรียนตามระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง และการดาเนินงานการเบิก-จ่าย ในระบบ GFMIS 4. งานการบริหารเงินตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่ างเสมอ ภาคและเป็นธรรม เบิกจ่ายเงินนโยบายตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตามที่ได้รับ จัดสรร จ่ายเงินสด ค่าเครื่องแบบนักเรียน และค่าอุปกรณ์การเรียนให้แก่นักเรียน ประสานงานกับ ผู้เกี่ยวข้อง เรื่องการจัดซื้อหนังสือเรียน และการจัดสรรเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามที่ได้รับจัดสรร 5. การรับบริจาคและระดมทรัพยากร เพื่อให้สถานศึกษาใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามระเบียบของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๗๕
Bannasan School
แนวทำงกำรดำเนินงำนตำมโครงกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำ ตั้งแต่ระดับอนุบำลจนจบกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ปีงบประมำณ 2563 เกณฑ์กำรจัดสรรงบประมำณและแนวทำงกำรดำเนินงำน 1. ค่ำจัดกำรเรียนกำรสอน (เงินอุดหนุนรายหัว/ปัจจัยพื้นฐานสาหรับนักเรียนยากจน) สาหรับนักเรียนโรงเรียนปกติ มีเกณฑ์การจัดสรร ดังนี้ 1.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - เงินอุดหนุนรายหัวโรงเรียนปกติ 1,750 บาท/คน/ภาคเรียน (3,500 บาท/คน/ปี) - ค่าปัจจัยพื้นฐานสาหรับนักเรียนยากจน (ร้อยละ 30) ของจานวนนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นทั้งหมด 1,500 บาท/คน/ภาคเรียน (3,000 บาท/คน/ปี) 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - เงินอุดหนุนรายหัวโรงเรียนปกติ 1,900 บาท/คน/ภาคเรียน (3,800 บาท/คน/ปี) 2. ค่ำหนังสือเรียน 2.1 ลักษณะของหนังสือที่ใช้ หนังสือที่กระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนงบประมาณให้สถานศึกษาจัดซื้อตามนโยบาย การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ 2.1.1 ระดับมัธยมศึกษา (ม.1-ม.6) เป็นหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานรายวิชา พื้นฐาน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2.1.2 งบประมาณค่าหนังสือที่ได้รับปี 2563 มูลค่ำหนังสือต่อชุด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 764 บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 877 บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 949 บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 1,318 บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 1,263 บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1,109 บาท/คน/ปี 3. ค่ำอุปกรณ์กำรเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น 210 บาท/ภาคเรียน (420 บาท/ปี) มัธยมศึกษาตอนปลาย 230 บาท/ภาคเรียน (460 บาท/ปี) 4. ค่ำเครื่องแบบนักเรียน เครื่องแบบนักเรียน ประกอบด้วย เสื้อ/กางเกง/กระโปรง คนละ 2 ชุด/ปี ในอัตรา ดังนี้ มัธยมศึกษาตอนต้น 450 บาท/คน/ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 500 บาท/คน/ปี คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๗๖
Bannasan School กรณีนักเรียนมีชุดนักเรียนเพียงพอแล้ว สามารถซื้อเข็มขัด รองเท้า ถุงเท้า ชุดลูกเสือ/เนตร นารี/ผู้บาเพ็ญประโยชน์/ชุดกีฬาได้ กรณีการจัดซื้อชุดนักเรียนที่แตกต่างไปจากชุดนักเรียนปกติและ ราคาสูงกว่าที่กาหนดวงเงิน ดังกล่าว อาจซื้อได้เพียง 1 ชุด ทั้งนี้ ผู้ปกครอง/นักเรียน สามารถถัวจ่ายระหว่างเครื่องแบบนักเรียน และอุปกรณ์การเรียนได้ 5. กำรบริกำรเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร (ICT) ทั้งนี้ในการงานแผนกาหนดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนต้องให้ภาคี 4 ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทน ผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน และผู้แทนคณะกรรมการนักเรียน) และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมี ส่วนร่วมและพิจารณา โดยที่ผลการพิจารณาต้องไม่เป็นการรอนสิทธิ์ของเด็กยากจน เด็กที่มีความ ต้องการพิเศษ และเด็กด้อยโอกาสที่พึงได้รับ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๗๗
Bannasan School
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๗๘
Bannasan School
กลุ่มบริหารทั่วไป คณะกรรมการกลุ่มบริหารทั่วไป 1. งานสานักงานกลุ่ม 2. งานอาคารสถานที่ละสิ่งแวดล้อม 3. งานควบคุมภายใน 4. งานโรงเรียนกับชุมชน 5. งานกิจกรรมเสริมหลักสูตร 6. งานอนามัยโรงเรียน 7. งานยานพาหนะ 8. งานโภชนาการและคุ้มครองผู้บริโภค 9. งานสื่อสารและประชาสัมพันธ์ 10. งานธนาคารโรงเรียน 11. งานบริหารสาธารณะ 12. งานเวรยาม
นางสาวรัตนา นายสุรศักดิ์ นางปิยะมาศ นางสาวรัตนา นางสาวรัตนา นางพรรณวดี นางสาวอารีย์ นางศิริรัช นางสาวสุชาดา นางสาวพิชญา นายสมเกียรติ นายวันชัย
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
ธนเกียรติวงษ์ ปราสาทิกะพันธ์ ปราสาทิกะพันธ์ ธนเกียรติวงษ์ ธนเกียรติวงษ์ ทวีวิทย์ชาคริยะ ยีหมาด โสมล เสวกสูตร พรหมปองสุข จาปีพันธ์ ช่วยไทย
๗๙
Bannasan School
ห้องพยำบำล ข้อปฏิบัติกำรให้บริกำรห้องพยำบำลโรงเรียนบ้ำนนำสำร 1. ห้องพยาบาล เปิดให้บริการ เวลา 07.30 - 16.30 น. 2. ครู นักเรียนและเจ้าหน้าที่ของโรงเรียนที่ป่วย มารับบริการ กรุณาลงชื่อในสมุดบันทึกสถิติการใช้ บริการทุกครั้ง 3. ผู้รับบริการให้แจ้งอาการแพ้ยา และชื่อยาที่แพ้ด้วยทุกครั้ง 4. หากผู้ป่วย มีโรคประจาตัว ต้องแจ้งให้ครูห้องพยาบาล ทราบทุกครั้ง 5. ห้ามหยิบยารับประทานเอง 6. นักเรียนที่ป่วย หากต้องการนอนพัก ให้ติดต่อขออนุญาตจากครูที่ปรึกษา หรือครูผู้สอน ก่อนลงมาพัก และมีใบอนุญาตให้มานอนพักที่ห้องพยาบาลทุกครั้ง 7. ห้ามเข้าเยี่ยมนักเรียนที่นอนพักห้องพยาบาล 8. ห้ามส่งเสียงดังรบกวน ครูและนักเรียนที่ป่วย 9. นักเรียนที่ป่วยมาก หรือได้รับอุบัติเหตุที่รุนแรง จะนาส่งโรงพยาบาลบ้านนาสารหรือสานักงาน สาธารณสุขเทศบาลเมืองนาสาร และอยู่ในข้อตกลงของงานประกันอุบัติเหตุ
ระเบียบกำรใช้โรงอำหำร 1. โรงอาหารเปิดบริการ ดังนี้ เช้า 06.30 – 07.30 น. ทุกระดับชั้น กลางวัน 11.00 – 12.00 น. ม. 1 ม. 2 ม. 3 12.00 – 13.00 น. ม. 4 ม. 5 ม. 6 2. เข้าแถวซื้ออาหาร 3. ห้ามนาอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดออกนอกโรงอาหาร 4. ห้ามนาภาชนะทุกชนิดออกนอกโรงอาหาร 5. ห้ามติดป้ายทุกชนิดในบริเวณโรงอาหารก่อนได้รับอนุญาต 6. ห้ามใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดในโรงอาหารก่อนได้รับอนุญาต 7. เก็บภาชนะหลังรับประทานอาหารอิ่มแล้วทุกครั้ง 8. ขออนุญาตทุกครั้งก่อนใช้โรงอาหารรวมทั้งการขอรับประทานอาหารก่อนเวลา 9. ไม่เล่นและส่งเสียงดังบริเวณโรงอาหาร 10. ช่วยกันรักษาความสะอาดในโรงอาหาร 11. ไม่ทาให้ภาชนะ อุปกรณ์ และสิ่งต่าง ๆ บริเวณโรงอาหารเสียหาย 12. ห้ามเคลื่อนย้ายโต๊ะ เก้าอี้ ในโรงอาหาร คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๘๐
Bannasan School
อำคำรสถำนที่ ระเบียบกำรใช้อำคำรสถำนที่ที่นักเรียนต้องปฏิบัติ มีดังนี้ 1. ไม่เล่นบนอาคารเรียน 2. ไม่เล่นสวิตซ์ไฟฟ้าในห้องเรียน และแผงสวิตซ์ควบคุมไฟฟ้าประจาอาคาร 3. ไม่เล่นฟุตบอลในอาคารเรียนและบริเวณใกล้เคียง 4. ห้ามเล่นถังน้ายาดับเพลิง 5. ห้ามนั่ง ยืน บนโต๊ะทุกชนิด 6. นักเรียนต้องช่วยรักษาความสะอาด และทาความสะอาดในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของ ตนเอง 7. ต้องขออนุญาตก่อนทาการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ประจาอาคารทุกครั้ง และต้องเคลื่อนย้ายด้วย ความระมัดระวัง 8. ห้ามปีนหน้าต่างเล่น และห้ามลงไปที่กันสาด 9. ห้ามปิดประกาศตามฝาผนังอาคารด้วยวัสดุชนิดที่ทาให้สีผนังลอก (ให้ติดเฉพาะที่กาหนดไว้ เท่านั้น) 10. ห้ามเขียน ขูด ขีด หรือพ่นสี ทาให้อาคาร สถานที่หรือโต๊ะ เก้าอี้ สกปรก 11. ห้ามนาน้ายาลบคาผิด (ลิควิดเปเปอร์) มาใช้ในสถานศึกษา 12. ห้ามนาอาหารและเครื่องดื่มขึ้นบนอาคารเรียน 13. ห้ามขึ้นบนอาคารเรียนก่อนเวลา 07.00 น. ช่วงพักกลางวันและหลังชั่วโมงเรียนสุดท้าย นอกจากได้รับอนุญาตเป็นรายบุคคล 14. ห้ามนักเรียนสวมรองเท้าขึ้นบนอาคารเรียน 15. ห้ามทาลายสมบัติของโรงเรียน กรณีที่นักเรียนทาความเสียหายเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ในด้าน อาคาร สถานที่ จะต้องชดใช้ตามราคาสิ่งของที่เป็นจริง 16. นักเรียนมีหน้าที่ศึกษาและปฏิบัติตามระเบียบการใช้ห้องพิเศษต่าง ๆ
ร้ำนค้ำสวัสดิกำรโรงเรียน ระเบียบกำรใช้ร้ำนค้ำสวัสดิกำรโรงเรียน 1. ร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน เปิดบริการ ดังนี้ ช่วงเช้าก่อนเข้าเรียน เวลา 06.30 – 08.20 น. ช่วงเวลาเรียน เวลา 09.30 – 16.00 น. 2. ห้ามขโมยสินค้าทุกชนิด 3. ไม่เล่นและส่งเสียงดังบริเวณร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน 4. ช่วยกันรักษาความสะอาดบริเวณร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๘๑
Bannasan School
ระเบียบโรงเรียนบ้ำนนำสำร ว่ำด้วย กำรใช้โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสำรในโรงเรียน พ.ศ. 2561 ........................................................... สภาพปัจจุบันตามนโยบายรัฐบาย ไทยแลนด์ 4.0 การใช้เทคโนโลยีมีความจาเป็นต่อการ เรียนการสอน และการติดต่อสื่อสานงานระหว่างครูกับนักเรียน หรือผู้ปกครองกับนักเรียน โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสาร จึงมีความจาเป็นสาหรับนักเรียน ในขณะเดียวกัน ถ้านักเรียนนาโทรศัพท์มาใช้ในทางที่ไม่ถูกต้อง ก็ย่อมไม่เกิดผลดีกับนักเรียน จะส่งผลกระทบต่อนักเรียน พฤติกรรมความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์กับการจัดการเรียนการสอนของนักเรียน คุณครู ผู้ปกครองร่วมป้องกัน ปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับนักเรียน โรงเรียนบ้านนาสาร จึงอนุญาตให้นักเรียนนาโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสาร มาโรงเรียนได้ แต่นักเรียนจะต้องปฏิบัติตามระเบียบ ของโรงเรียนบ้านนาสาร ว่าด้วย การใช้โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสาร ในโรงเรียน พ.ศ. 2561 อย่างเคร่งครัด ดังนี้ ข้ อ 1. ระเบี ย บนี้ เ รี ย ก “ระเบี ย บโรงเรี ย นบ้ า นนาสาร ว่ า ด้ ว ย การใช้ โ ทรโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสารในโรงเรียน พ.ศ.2561” ข้อ 2. ให้ใช้ระเบียบนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ข้อ 3. ระเบียบใด ๆ ที่สอดคล้อง “ระเบียบโรงเรียนบ้านนาสาร ว่าด้วย การใช้โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสารในโรงเรียน พ.ศ. 2561 ” นี้ ให้ใช้ระเบียบโรงเรียน บ้านนาสาร ว่าด้วย การใช้โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสารในโรงเรียน พ.ศ. 2561 นี้แทน ข้อ 4. ในระเบียบโรงเรียนบ้านนาสาร ว่าด้วย การใช้โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสารในโรงเรียน พ.ศ. 2561 นี้ 4.1 โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนบ้านนาสาร 4.2 ครูและบุคลากร หมายถึง ครูและบุคลากรที่ทาหน้าที่ให้ความรู้ อบรมสั่งสอนนักเรียน ในโรงเรียนบ้านนาสาร 4.3 นักเรียน หมายถึง นักเรียนทุกคนที่กาลังศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนบ้านนาสาร 4.4 ผู้ปกครอง หมายถึง บิดา มารดา หรือ บุคคลที่ลงชื่อมอบตัวนักเรียนไว้กับโรงเรียนบ้าน นาสารในวัยที่มอบตัวนักเรียน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๘๒
Bannasan School 4.5 อุปกรณ์สื่อสาร หมายถึง โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์ สื่อสาร หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์อื่น ๆ ที่มีลักษณะการใช้งานในลักษณะเดียวกัน ข้อ 5. นักเรียนที่นาโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสาร มาโรงเรียน จะต้องปฏิบัติดังนี้ 5.1 การนาโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสาร มาโรงเรียน เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนเท่านั้น ไม่ใช้เพื่อการติดต่อสื่อสาร ฟังเพลง ดูสื่อ หรือเล่นเกมใด ๆ ในขณะที่มีการเรียนการสอน 5.2 ถ้ามีความจาเป็นจะต้องใช้โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์ สื่อสารในการค้นคว้าหาข้อมูลประกอบการเรียนในขณะที่อยู่ในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ หรือห้องสอบ จะต้องได้รับอนุญาตจากครูผู้สอนในคาบเรียนนั้น ๆ และถ้าอยู่ในช่วงการเรียนการสอนให้นาไปเก็บไว้ในที่ ที่โรงเรียนจัดไว้เท่านั้น 5.3 หากมีความจาเป็นจะต้องใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองหรือบุคคลอื่น ใน บริเวณโรงเรียนให้ใช้เวลาว่างจากการเรียนโดยพูดในบริเวณที่เปิดเผยนั่งพูดประจาที่ที่เหมาะสมไม่เดินพูด 5.4 ห้ามใช้โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสาร ในการถ่ายรูป คลิปต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสม และนาไปเผยแพร่อันจะนามาซึ่งความเสียหายหรือทาลายชื่อเสียงของโรงเรียน และบุคคลอื่น 5.5 ห้ ามใช้โ ทรศัพท์มือถือ คอมพิว เตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่ อสาร เผยแพร่ ข้อความเพื่อก่อเหตุให้เกิดการทะเลาะวิวาทหรือยุ ยงให้เกิดการตากความสามัคคี ทั้งภายในและภายนอก โรงเรียน 5.6 ห้ามชาร์จโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสาร กับปลั๊ก ไฟฟ้าของโรงเรียน 5.7 ให้นักเรียนเก็บรักษาโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสาร ให้ปลอดภัย หากเกิดการสู ญหายหรือเสียหายและหาผู้รับผิดชอบไม่ได้ ทางโรงเรียนจะไม่รับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น 5.8 หากนักเรียนกระทาผิด ตามข้อ 5.1 – 5.7 ข้อหนึ่งข้อใด คุณครูจะว่ากล่าวตักเตือน หรือยึดโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ (NOTE BOOK) และอุปกรณ์สื่อสารทันที แล้วนามาเก็บไว้ที่กลุ่ม บริ ห ารกิ จ การนั ก เรี ย น โดยเชิ ญ ผู้ ป กครองมาติ ด ต่ อ ขอรั บ คื น ต่ อ ไปอยู่ ใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของคณะ กรรมการบริหารกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๘๓
Bannasan School ข้อ 6 ให้รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
(นายสมชาย กิจคาม) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๘๔
Bannasan School
กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน คณะกรรมการกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
งานบริหารกิจการนักเรียน งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน งานส่งเสริมระเบียบวินัยและความประพฤตินักเรียน งานสารวัตรนักเรียน งานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม งานสภานักเรียนและส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน งานประกันอุบัติเหตุ งานสานักงานกลุ่ม
นายพงษ์ศักดิ์ นายพงษ์ศักดิ์ นายพงษ์ศักดิ์ นายสายันต์ นายศิริศักดิ์
นาครพัฒน์ นาครพัฒน์ นาครพัฒน์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล ทองเหมือน
นางสาวกมลลักษณ์ สิริภัทรธนากูล
นางสาววาสนา นางนิทยา
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
ชัยพรหม บุญฤทธิ์
๘๕
Bannasan School
ระเบียบและแนวปฏิบัติของนักเรียนโรงเรียนบ้ำนนำสำร เพื่อให้การปฏิบัติตนของนักเรียนในด้านต่างๆ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีความเข้าใจที่ตรงกัน ทั้งครู บุ คลากร และนั กเรี ย น เป็ น ผลดีต่อการบริหารและการปกครองรวมทั้งการรัก ษาชื่อเสี ยงของ โรงเรียน และส่วนรวม นักเรียนเป็นที่รักของครูบุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง ตลอดถึงเป็น แบบอย่างที่ดีแก่บุคลอื่นจึงกาหนดให้มีแนวปฏิบัติของนักเรียนในเรื่องต่าง ๆ ไว้ดังนี้ อาสาสมัครสารวัตรนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสาร อาสาสมัครสารวัตรนักเรียน คือ นักเรียนใน โรงเรียนบ้านนาสารที่อาสาสมัครเป็นสารวัตรนักเรียน ของโรงเรียนบ้านนาสาร ซึ่งต้องรักษาระเบียบ วินยั และจรรยาบรรณดังนี้ 1. อาสาสมัครสารวัตรนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสารต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เรียน ของโรงเรียนบ้านนาสารและผู้คนที่พบเห็น 2. อาสาสมัครสารวัตรนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสาร ต้องเอาใจใส่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเต็มใจ และบริสุทธิ์ใจ มีความซื่อสัตย์และซื่อตรง 3. อาสาสมัครสารวัตรนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสารต้องมีความอดทน อดกลั้น ปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความเมตตาธรรม และเสียสละ อาสาสมั ค รสารวั ต รนั ก เรี ย นโรงเรี ย นบ้ า นนาสารมี ห น้ า ที่ และบทบาทในการพั ฒ นาความ ประพฤติและพฤติกรรมของนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสารดังต่อไปนี้ 1. ร่วมกับครู บุคลากรในการแก้ปัญหาความประพฤติและคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน 2. ร่วมกับครู บุคลากรสอดส่องดูแลความประพฤติของนักเรียน 3. ให้ถือเป็นหน้ าที่ที่ต้องให้คาแนะนา กระตุ้นเตือนแก่นักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับ สภาพเป็นนักเรียน 4. ปฏิบัติงานอื่นตามที่นักเรียนหรือ ครู บุคลากรที่เกี่ยวข้องมอบหมาย
กำรเข้ำแถว 1. เมื่อได้ยินสัญญาณครั้งที่ 1 ให้นักเรียนหยุดการเล่นหรือกิจกรรมอื่นใด เพื่อเตรียมตัวเข้ าแถว ให้นักเรียนทากิจกรรมส่วนตัวให้เรียบร้อย และไปรอเข้าแถว 2. เมื่อได้ยินสัญญาณครั้งที่ 2 ให้นักเรียนเข้าแถวตามชั้นที่กาหนดไว้ รีบจัดแถวให้เรียบร้อยและ อยู่ในความสงบ 3. ทาพิธีเชิญธงชาติขึ้นสู่ยอดเสา สวดมนต์ไหว้พระ ร้องเพลงโรงเรียน กล่าวคาปฏิญาณตนด้วย ความพร้อมเพรียง 4. ตั้งใจรับฟังประกาศจากครูเวรประจาวัน หรือตัวแทนนักเรียน การอบรมจากครูเวรประจาวัน หรือผู้บริหาร หรือกิจกรรมอื่นๆ ของโรงเรียน 5. เมื่อมีคาสั่งให้แยกย้ายเข้าห้องเรียน นักเรียนต้องเดินเป็นแถวเรียง 1 ด้วยความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ไปยังอาคารเรียนทุกคน ห้ามแยกแถวตัดแถว ก่อนถึงอาคารเรียน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๘๖
Bannasan School 6. ต้องถอดรองเท้าก่อนขึ้นอาคารเรียนทุกครั้ง และต้องสวมรองเท้าให้เรียบร้อยเมื่อลงหรือออก จากบริเวณอาคาร
กำรใช้และกำรปฏิบัติตนในห้องเรียน 1. เวลาเข้าห้องเรียน ให้นารองเท้าไปวางหลังห้องให้เรียบร้อย 2. ขณะที่กาลังเรียน การลุกอกจากที่นั่ง หรือออกนอกห้อง หรือการทากิจกรรมอื่นๆ ต้องขอ อนุญาตจากครูผู้สอนก่อนทุกครั้ง 3. ขณะที่อยู่ในห้องเรียน ห้ามนักเรียนรับประทานอาหาร ห้ามวิ่งเล่น ห้ามร้องเพลง เคาะโต๊ะ หยอกล้อซึ่งกันและกัน ห้ามส่งเสียงเอ็ดอึง หรือกระทาการอื่นใดที่ไม่เป็นผลดีต่อการเรียน 4. ห้ามนักเรียนนาโต๊ะเก้าอี้ โต๊ะ หรืออุปกรณ์อื่นๆ มาใช้เป็นที่นอนในห้องเรียน ทั้งในเวลาเรียน และเวลาพัก 5. นักเรียนต้องช่วยกันรักษาทรัพย์สินในห้องเรียน 6. ห้ามทิ้งขยะลงบนกันสาดห้องเรียน 7. ต้องช่วยกันรักษาความสะอาดภายในห้องเรียน 8. ในกรณีที่ครูไม่อยู่ในห้องเรียน ให้ทุกคนอยู่ในห้องเรียนด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่ส่ง เสียงดังหรือทาการใดๆ อันเป็นเหตุรบกวนผู้อื่น 9. ถ้ามีความจาเป็นต้องออกนอกห้องเรียนขณะที่ครูไม่อยู่ ให้แจ้งหัวหน้าห้องทราบ 10. ถ้าครูประจาวิชายังไม่เข้าห้องเกิน 5 นาทีไปแล้ว ให้หัวหน้าชั้นรีบแจ้งหัวหน้าหมวดวิชา นั้นๆ หรือหัวหน้าฝ่ายวิชาการทราบทันที 11. ถ้ามีความจาเป็นต้องพบเพื่อนนักเรียนที่เรียนอยู่ในห้ องอื่นๆ ขณะที่ครูกาลังสอนให้ ขอ อนุญาตครูที่สอนก่อน 12. ในกรณีที่นักเรียนต้องไปเรียนที่ห้องปฏิบัติการเฉพาะวิชา หรือห้องอื่นๆ ให้ เดินเป็นแถวไป กลับด้วย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย 13. ตั้งใจเรียน ไม่ทางานหรือนาวิชาอื่นขึ้นมาทาโดยที่ครูผู้สอนไม่อนุญาต 14. ไม่นาของมีค่า อาวุธ หรือสิ่งอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนเข้ามาในห้องเรียน 15. ห้ามนักเรียนซื้ออาหาร หรือเครื่องดื่มมารับประทานในห้องเรียน
กำรลำโรงเรียน 1. เมื่อนักเรียนไม่สามารถมาโรงเรียนได้ ต้องส่งใบลาที่มีลายเซ็นผู้ปกครอง (ครูที่ปรึกษาต้อง บันทึกในสมุดการสอนของห้องให้ครูประจาวิชาทราบ ส่วนใบลาครูที่ปรึกษาเก็บใบลาไว้เป็นหลักฐาน) 2. ถ้านักเรียนลาโรงเรียนเกิน 7 วัน ต้องมีใบรั บรองแพทย์มายืนยัน ในกรณีที่ลาป่วย ถ้าลากิจ ต้องนาผู้ปกครองมาพบอาจารย์ที่ปรึกษา
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๘๗
Bannasan School
กำรมำโรงเรียน 1. นักเรียนทุกคนต้องมาโรงเรียน ก่อนเวลา 07.35 น. 2. นักเรียนที่มาโรงเรียนหลังเวลา 07.35 น.(สัญญาณที่ 2) ขึ้นไปถือว่ามาสายจะต้องปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 นักเรียนคนใดมาถึงโรงเรียนระหว่างเวลา 07.35 – 07.40 น. ต้องทากิจกรรมดังนี้ 1. ลงชื่อบันทึกการมาสายในสมุดประจาตัวนักเรียน และแบบบันทึกการมาสาย ประจาวันของโรงเรียน 2. ทากิจกรรมร้องเพลงชาติ สวดมนต์ ร้องเพลงโรงเรียน และกล่าวคาปฏิญาณ 3. ทากิจกรรมอื่นตามที่ครูเวรเห็นสมควร 2.2 ในกรณีที่มาสายหลังเวลา 08.10 น. ให้ดาเนินการดังนี้ 1. ลงชื่อมาสายในแบบบันทึกการมาสายของโรงเรียนที่ป้อมยาม 2. ให้นักเรียนที่มาสายติดต่อขอรับบัตรเข้าชั้นเรียนที่ฝ่ายกิจการนักเรียน (หากไม่ ติดต่อรับบัตรเข้าชั้นเรียน จะถือว่าขาดเรียนในวันนั้น) 3. บันทึกการมาสาย ในสมุดประจาตัวนักเรียน 4. ทากิจกรรมทดแทน หรือตัดคะแนนความประพฤติ กรณีมีเหตุไม่สมควร 3. นักเรียนที่มีเหตุผลหรือความจาเป็นในเรื่องมาสาย ให้ผู้ปกครองมาติดต่อกับฝ่ายปกครอง
การออกนอกบริเวณโรงเรียน 1. ในวันเวลาเปิดเรียน ตั้งแต่เวลาโรงเรียนเข้าจนถึงเวลาโรงเรียนเลิกเรียน ห้ามนักเรียนออก นอกบริเวณโรงเรียนโดยไม่ได้อนุญาต 2. ถ้านั กเรี ย นมี กิจ ธุร ะจ าเป็ น ต้องออกนอกบริเวณโรงเรียน ต้องปฏิบัติตามขั้นตอนการขอ อนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน คือ ต้องขออนุญาตครูประจาวิชาในคาบเรียนที่นักเรียนจะออกไป หรือ ในคาบที่นั กเรี ย นอาจมาไม่ทัน เข้าแถวตามแบบฟอร์มที่โ รงเรียนกาหนด แล้ ว จึงไปขออนุญาตกับครู สารวัตรนักเรียน หรือครูอื่นใดที่โรงเรียนมอบหมายเฉพาะกรณี และลงชื่อในสมุดการขออนุญาตออกนอก บริเวณโรงเรียนที่ป้อมยาม ต่อหน้ายามเป็นลาดับสุดท้าย จึงจะออกนอกบริเวณโรงเรียนได้ โรงเรียนจะอนุญาตให้นักเรียนออกนอกบริเวณโรงเรียนได้ 3 กรณีดังนี้ 2.1 กรณีปกติ หมายถึง นักเรียนทราบล่วงหน้าก่อนมาโรงเรียน ถึงกิจธุระจาเป็นที่ต้อง ทานอกบริเวณโรงเรียน ต้องให้ผู้ปกครองเขียนระบุลงในสมุดประจาตัวนักเรียนในตารางหน้า กำรออก นอกบริเวณโรงเรียน ให้ครบทุกช่องพร้อมลงลายมือชื่อกากับในช่อง ลงชื่อครู ผู้ปกครอง และให้ครู สารวัตรนักเรียนพิจารณาอนุญาต 2.2 กรณีเร่งด่วน หมายถึง ขณะที่นักเรียนเกิดเหตุการณ์เร่งด่วนที่จะต้องออกนอก บริเวณโรงเรียน ให้อยู่ในดุลยพินิจครูที่พิจารณาอนุญาต 2.3 กรณีพิเศษ หมายถึง ขณะที่นักเรียนอยู่ในโรงเรียนมีเหตุจาเป็นบางประการ ซึ่งไม่ เข้ากรณีเร่งด่วน เช่น กรณีมีการจัดกิจกรรมพิเศษในโรงเรีย น นักเรียนต้องขออนุญาตครูสารวัตรนักเรียน หรือครูที่มอบหมายเฉพาะกรณี คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๘๘
Bannasan School 3. นักเรียนที่ออกนอกบริเวณโรงเรียนจะต้องมีลายมือชื่อของครูผู้ อนุญาตในสมุดประจาตัว นักเรียน (หากเข้ากรณีข้อที่ 2.1 ต้องมีลายมือชื่อของผู้ปกครองประกอบด้วย) และต้องกลับเข้าโรงเรียน ให้ทันตามวัน เวลา ที่กาหนดถ้าไม่เข้าหรือมาไม่ทันโรงเรียนถือว่าหนีเรียน
กำรใช้รถใช้ถนน 1. ในวัน เวลาที่โ รงเรี ย นเปิ ดเรี ย นหรือมีกิจกิจกรรมในโรงเรียนห้ ามนักเรียนขับขี่รถยนต์มา โรงเรียน 2. นักเรียนที่ขับขี่รถจักรยานหรือรถจักรยานยนต์มาโรงเรียน ต้องระมัดระวังไม่ประมาท และ ต้องปฏิบัติตามกฎหมายจราจรโดยเคร่งครัด 3. การขับขี่รถภายในบริเวณโรงเรียน ใช้ความเร็วได้ไม่เกิน 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และใช้ถนน ในช่องทางที่กาหนดเท่านั้น 4. จานวนคนในการขับขี่ และนั่งซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ต้องปฏิบัติดังนี้ 4.1 หลังโรงเรียนเลิกผู้ขับขี่รวมทั้งผู้นั่งซ้อนท้ายไม่เกิน 2 คน 4.2 ก่อนเข้าโรงเรียนตอนเช้า หมายถึง การที่นักเรียนขับขี่รถจักรยานยนต์ เข้าโรงเรียน ห้ามมีผู้ซ้อนท้าย 5. นักเรียนที่ขับขี่รถมาโรงเรียนต้องนารถเข้ามาจอดในบริเวณที่โรงเรียน กาหนดไว้เท่านั้นและ ห้ามนาไปจอดไว้นอกบริเวณโรงเรียน 6. หากยังไม่ถึงเวลาโรงเรียนเลิกหรืออนุญาตให้กลับบ้านห้ามนักเรียนเข้าไปในบริเวณที่จอดรถ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากครูที่ได้รับมอบหมาย 7. หากผู้ปกครองหรือญาติของนักเรียนต้องการใช้รถที่นักเรียนนามาโรงเรียนนักเรียนต้องแจ้งให้ ยามโรงเรียน หรือครู บุคลากรทราบเสียก่อ น และต้องนารถออกจากที่จอดรถด้วยตนเองให้ยามบันทึก ทะเบียนรถ และชื่อผู้มารับรถ 8. นั ก เรี ย นที่ นั่ ง รถโดยสารมา หรื อ กลั บ จากโรงเรี ย นให้ ใ ช้ ค วามระมั ด ระวั ง เกี่ ย วกั บ ความ ปลอดภัยให้มากที่สุด และต้องไม่แสดงกิริยาใดๆ อันเป็นเหตุให้เสื่อมเสียของโรงเรียน เป็นอันขาด เช่น แต่งกายไม่สุภาพเรียบร้อยตามกฎของโรงเรียน พูดคุยเสียงดัง พูดคาหยาบทิ้งสิ่งของออกจากตัวรถห้อย โหน หรือนั่งบนหลังคารถ เป็นต้น 9. นักเรียนที่ต้องการรอรถโดยสารกลับบ้านเป็นเที่ยวที่สองหลังโรงเรียนเลิกให้นักเรียนกลับเข้า ไปรอรถในบริเวณโรงเรียนด้านประตูทิศตะวันตก 10. การเดินเท้ามา – กลับจากโรงเรียน ให้เดินบนทางเท้าเท่านั้น ห้ามเดินบนถนน 11. การเดินเท้าเข้า – ออกจากโรงเรียนให้เดินเป็นแถวเรียง 2 เข้า – ออกทางประตูด้านทิศ ตะวันตกอย่างเป็นระเบียบ 12. ห้ามนักเรียนเดินเท้าเข้า – ออกทางประตูด้านทิศตะวันออก 13. ห้ามนักเรียนที่ขับขี่รถจักรยาน รถจักรยานยนต์เข้า – ออกทางประตูด้านทิศตะวันออก 14. การใช้ถนนกรณีเดินถนนเข้า – ออกโรงเรียนให้เดินเป็นแถวเรียง 2 ชิดขอบถนนตามที่ กาหนด คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๘๙
Bannasan School
กำรรับประทำนอำหำร 1. ห้ามซื้ออาหารหรือรับประทานอาหารนอกเวลาที่โรงเรียนกาหนด (อนุญาตตั้งแต่ 10.000 – 13.00 น.) และตอนเช้าก่อนสัญญาณที่ 1 2. นักเรียนต้องเข้าแถวซื้ออาหารให้เป็นระเบียบเรียบร้อย 3. เมื่อซื้ออาหารได้แล้วต้องไปนั่งรับประทานให้เรียบร้อยในที่ที่โรงเรียนจัดไว้ให้ 4. นักเรียนต้องปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ และมารยาทในการรับประทานอาหารโดยเคร่งครัด 5. เมื่อรับประทานอาหารเสร็จแล้ว ต้องนาภาชนะใส่อาหารไปวางไว้ในถังเก็บของแม่ค้า แต่ละ เจ้าให้ตรงกับถังของแต่ละร้าน
กำรทำควำมเคำรพ 1. เมื่อนักเรียนเดินเข้าโรงเรียน นักเรียนต้องวางสัมภาระ ยืนตรง ยกมือไหว้ครูเวรที่ยืนประจา หน้าประตูก่อน แล้วจึงเดินแถวให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่เกิน 2 แถว ตามแนวถนนที่โรงเรียนกาหนด 2. การเดินถนนไปสู่อาคารเรียน (ตอนเช้า) ให้เดินชิดซ้ายของถนน การเดินถนนเมื่อกลับบ้าน (ตอนเลิกเรียน) ให้เดินชิดขวาของถนน และเดินเป็นแถวไม่เกิน 2 แถว 3. ถ้านักเรียนเดินผ่านครู บุคลากร ต้องทาความเคารพโดยการยกมือไหว้ หรือยืนตรงในกรณีที่มี สัมภาระในมือ 4. ในกรณีที่นักเรียนใช้รถจักรยาน หรือรถจั กรยานยนต์ เข้าทางประตูทิศตะวันตก ให้นักเรียน หยุดทาความเคารพครูเวรประจาวันโดยการไหว้ 5. เมื่อนักเรียนพบครูภายนอกโรงเรียนให้แสดงความเคารพโดยการไหว้ หากกาลังขับขี่ให้ชะลอ ความเร็ว แล้วแสดงความเคารพครูด้วยการก้มศีรษะเล็กน้อย 6. เมื่อครูเข้าห้องเรียนให้หัวหน้าบอกทาความเคารพ โดยใช้คาว่า นักเรียนเคำรพ ให้นักเรียน หยุดทางานทันที แล้วยืนตรงยกมือไหว้กล่าวคาว่า สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ และเมื่อครูจะออกจากห้องเรียน ให้หัวหน้าบอกนักเรียนทาความเคารพ โดยใช้คาว่า นักเรียนเคำรพ นักเรียนยืนตรง ยกมือไหว้ กล่าวคา ว่า ขอบคุณครับ ขอบคุณค่ะ 7. เมื่อนักเรียนเข้าพบครูที่โต๊ะทางาน ขณะที่ครูนั่ง ให้นักเรียนคุกเข่าไม่ยืนรุมล้อมครู 8. นักเรียนแต่งเครื่องแบบลูกเสือ – เนตรนารี ให้ทาความเคารพแบบลูกเสือ เนตรนารี 9. เมื่อมีผู้ใหญ่ทางราชการ หรือครู อาจารย์ จากโรงเรียนอื่นเข้ามาในโรงเรียนให้นักเรียน แสดง ความเคารพแบบเดียวกับที่แสดงความเคารพครู บุคลากรในโรงเรียน ถ้าผู้ใหญ่ทางราชการเข้ามาเยี่ยมใน ห้องเรียน ให้นักเรียนฟังคาสั่งจากครูที่สอนในขณะนั้น
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙๐
Bannasan School
ระเบียบโรงเรียนบ้ำนนำสำร ว่ำด้วยกำรควบคุมควำมประพฤติของนักเรียน พ.ศ. 2563 ………………………………………………….. เพื่อให้นักเรียนของโรงเรียนมีความประพฤติเรียบร้อย ปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับยั้ง ชั่งใจ ไม่ประพฤติผิดระเบียบ รู้จักรับผิ ดชอบตนเอง สามารถเล่าเรียนได้อย่างมีความสุข และประสบ ความสาเร็จในชีวิต รู้จักแก้ไขข้อบกพร่ องของตนเองอยู่เสมอ จึงอาศัยอานาจแห่งระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 2556 ออกระเบียบโรงเรียนบ้านนาสาร ว่าด้วย การควบคุมความประพฤตินักเรียน พ.ศ. 2562 ไว้ดังนี้ หมวดที่ 1 บททั่วไป 1. ระเบียบนี้ให้ชื่อว่า ระเบียบการควบคุมความประพฤตินักเรียนโรงเรียนบ้านนาสาร พ.ศ. 2563 2. ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันประกาศใช้เป็นต้นไป 3. ระเบียบอื่นใด ที่ขัดต่อระเบียบนี้ให้ยกเลิก 4. ในระเบียบนี้ 4.1 นักเรียน หมายถึง นักเรียนโรงเรียนบ้านนาสาร 4.2 ครู หมายถึง ครูโรงเรียนบ้านนาสาร 4.3 คณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน หมายถึง คณะครูที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการ ฝ่ายกิจการนักเรียน โรงเรียนบ้านนาสาร 4.4 หัวหน้าฝ่ายกิจการนักเรียน หมายถึง รองผู้อานวยการฝายกิจการนักเรียน 4.5 หัวหน้าสถานศึกษา หมายถึง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร 4.6 การปกครอง หมายถึง การควบคุมดูแลป้องกัน แก้ไข และส่งเสริมความประพฤติดี ประพฤติชอบ 4.7 การลงโทษ หมายถึง การลงโทษนักเรียนที่ประพฤติผิระเบียบข้อบังคับของโรงเรียน หรือของกระทรวงศึกษาธิการ ออกตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 132 โดยมุ่งหวังที่จะว่ ากล่าว ตักเตือน อบรม สั่งสอน โดยมีเจตนาจะแก้นิสัย และความประพฤติที่ไม่เหมาะสมของนักเรียน ให้สานึกใน ความผิด ละเว้นประพฤติชั่ว และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต่อไป 4.8 คะแนนความประพฤติ หมายถึง คะแนนความประพฤติของนักเรียนขณะที่ศึกษาอยู่ใน โรงเรียนบ้านนาสาร แบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ คะแนนความประพฤติดี เริ่มต้นที่ 0 เมื่อกระทาดีจะได้ คะแนนเพิ่มขึ้น และคะแนนความประพฤติไม่ดีเริ่มต้นที่คนละ 100 เมื่อประพฤติไม่ดีจะถูกตัดคะแนนลง 4.9 กิ จ กรรมบ าเพ็ ญ ประโยชน์ หมายถึ ง กิ จ กรรมใดๆ ที่ ม อบหมายให้ นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ ทดแทนกรณีที่นักเรียนกระทาผิด 4.10 คะแนนความดี หมายถึง คะแนนที่ให้นักเรียนที่ประพฤติดี หรือกระทาดี ตามที่กาหนด ไว้ในระเบียบนี้ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙๑
Bannasan School 4.11 ตัดคะแนนความประพฤติ หมายถึง การตัดคะแนนในกรณีที่นักเรียน ประพฤติผิด ระเบียบตามที่กาหนดไว้ในระเบียบนี้ 5. ครูมีสิทธ์ให้คะแนนความดี หรือลงโทษนักเรียนสาหรับนักเรียนที่กระทาผิด ตามอานาจใน ระเบียบนี้ 6. ให้ครูเสนอการให้คะแนนความดี หรือลงโทษนักเรียนที่เกินอานาจตน ต่อผู้มีอานาจตามที่ กาหนดในระเบียบนี้ 7. ให้ครูบันทึกผลการให้คะแนนความดี หรือลงโทษนักเรียนตามความในข้อ 5 หรือ 6 ลงใน สมุดประจาตัวนักเรียน ในทะเบียนประวัติ และแบบบันทึกการแก้ไข และพัฒนาพฤติกรรมนักเรียน 8. ให้ครูแบบบันทึกการให้คะแนนความดี หรือลงโทษนักเรียนต่อหัวหน้าระดับชั้น สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 9. ให้หัวหน้าระดับชั้นรวบรวมสรุปผลการให้คะแนนความดี หรือการลงโทษนักเรียนตามความ ในข้อ 8 แจ้งให้ครูที่ปรึกษาทราบ และรายงานรองผู้อานวยการฝ่ายกิจการนักเรียนตามลาดับ 10. ให้ครูที่ปรึกษาบันทึกพฤติกรรมนักเรียนไว้เป็นหลักฐานเพื่อติดตามแก้ไขตามควรแก่กรณี 11. ในกรณีที่ผู้มีอานาจในการให้คะแนนความดี หรือลงโทษในระดับที่เหนือขึ้นไป เมื่อได้รับ รายงานจากครูให้รีบสอบสวนพิจารณาโทษให้คะแนนความดีตามที่กาหนด ในระเบียบนี้แล้วให้ดาเนินการ ตามข้อ 7 และ 8 โดยอนุโลม 12. นักเรียนคนใดถูกตัดคะแนนความประพฤติถึง 30 และ 40 คะแนนให้ครูที่ปรึกษาแจ้งให้ ผู้ปกครองทราบเป็นลายลักษณ์อักษร (รวม 2) 13. นักเรียนคนใดถูกตัดคะแนนความประพฤติถึง 50 คะแนน ให้ครูที่ปรึกษาประสานงานกับ หั ว หน้ าระดับ ชั้น เชิญผู้ ป กครอง พบรองผู้ อานวยการฝ่ ายกิจการนักเรียนเพื่อ ทาสั ญญารับรองความ ประพฤติ 14. เมื่อนักเรียนคนใดถูกตัดคะแนนความประพฤติ 70 และ 80 คะแนน ขึ้นไปให้นาเข้าทา ทัณฑ์บน ในที่ประชุมระดับชั้น และเชิญผู้ปกครองมาทาทัณฑ์บนกับฝ่ายกิจการนักเรียนตามลาดับ 15. เมื่อนักเรียนคนใดถูกตัดคะแนนความประพฤติ 80 คะแนนขึ้นไป ให้คณะกรรมการฝ่าย กิจการนักเรียนประชุมพิจารณาเสนอผู้อานวยการโรงเรียน เพื่อสั่งดาเนินการอื่นใด ตามความเหมาะสม ของแต่ละระดับชั้น และเชิญผู้ปกครองมารับทราบ 16. นักเรียนคนใดถูกตัดคะแนนความประพฤติถึง 100 คะแนน ให้คณะกรรมการฝ่ายกิจการ นักเรียนประชุมพิจารณาร่วมกับผู้ปกครองนักเรียน (อาจให้นักเรียน และตัวแทนนักเรียนเข้าร่วมด้วยก็ได้) เพื่อดาเนินการตามความเหมาะสม 17. นักเรียนที่คะแนนความดีสะสมตั้งแต่ 100 คะแนนขึ้นไป และไม่มีโทษตั้งแต่ตัดคะแนน ความประพฤติขึ้นไปในทะเบียนประวัติ จะได้รับเกียรติบัตรประพฤติดี และช่วยเหลือกิจกรรมดีเด่น 18. นักเรียนที่ไม่เคยรับโทษความผิดใดๆ ในขณะที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนบ้านนาสารระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (3 ปีติดต่อกัน) จะได้รับเกียรติบัตรประพฤติดี หมวดที่ 2 ระดับควำมผิด โทษ สำหรับนักเรียนที่กระทำควำมผิด 1. โทษสาหรับนักเรียนที่กระทาความผิดมี 4 สถาน ดังนี้ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙๒
Bannasan School 1.1 ว่ากล่าวตักเตือน 1.2 ทาทัณฑ์บน 1.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 1.4 ทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. ระดับความผิด และลงโทษ 2.1 ว่ากล่าวตักเตือน ให้ใช้กรณีนักเรียนกระทาความผิดไม่ร้ายแรง 2.2 การท าทั ณ ฑ์ บ น ใช้ ก รณี นั ก เรี ย นประพฤติ ต นไม่ เ หมาะสม กั บ สภาพนั ก เรี ย นตาม กฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียน และนักศึกษา หรือกรณีทาให้เสื่อมเสียชื่อเสียง และเกียรติ ศักดิ์ของสถานศึกษาหรือฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษา หรือได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือนแล้วแต่ยังไม่เข็ด หลาบ หรือถูกตัดคะแนนความประพฤติ 50 คะแนนขึ้นไป การทาทัณฑ์บนให้เป็นหนังสือ และเชิญ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมาบันทึกความผิด และ รับรองการทาทัณฑ์บนไว้ด้วย 2.3 การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยคะแนนตัด ความ ประพฤตินักเรียนตามที่โรงเรียนกาหนดไว้เป็นหลักฐาน คือ ควำมผิดระดับ 1 ลงโทษตัดคะแนนครั้งละไม่เกิน 10 คะแนน 2.3.1 ควำมผิด ระดับโทษ ตัดคะแนนครั้งละไม่เกิน 5 คะแนน 1. แต่งกายไม่ถูกต้องตามระเบียบของโรงเรียน 2. มาโรงเรียนสายโดยเหตุผลไม่สมควร 3. ส่งเสียงรบกวนเพื่อนในห้องเรียน ห้องข้างเคียงในเวลาเรียน 4. ไม่เข้า – ออก โรงเรียนทางประตูที่โรงเรียนกาหนด 5. ไม่มีหรือไม่พกสมุดประจาตัวนักเรียน 6. สมุดประจาตัวนักเรียนไม่เป็นปัจจุบัน 7. รับประทานอาหารก่อน หรือหลังเวลาเรียนที่โรงเรียนกาหนด 8. ไม่รักษาความสะอาดห้องเรียน บริเวณโรงเรียน หรือสถานที่อื่นใดที่ใช่ร่วมกัน 9. ไม่เคารพครู บุคลากรของโรงเรียน 10. เล่นในสถานที่โรงเรียนห้าม 11. สวมรองเท้าเข้าไปในสถานที่ที่ไม่เหมาะสม 12. ใช้กระเป๋า หรือเป้ที่โรงเรียนไม่อนุญาต 13. ใช้เครื่องประดับใดๆ ที่โรงเรียนไม่อนุญาต 14. ใช้เครื่องสาอาง หรือสิ่งแปลกปลอมเพื่อการเสริมสวย เช่น หวีสับ น้ามันใส่ผม หรือเยล ฯลฯ 15. พูดจาหยาบโลน ใช้วาจาไม่สุภาพ 16. แต่งเครื่องแบบนักเรียนที่ไม่เป็นไปตามระเบียบที่โรงเรียนกาหนด ทั้งในและนอกโรงเรียน 2.3.2 ควำมผิด ระดับโทษตัดคะแนนครั้งละไม่เกิน 10 คะแนน 1. ไม่ให้ความร่วมมือต่อส่วนรวม 2. เที่ยวเตร่กลางคืนเป็นนิจ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙๓
Bannasan School 3. ไม่เข้าร่วมกิจ กรรมของโรงเรียน พิธีหน้าเสาธง อบรมระดับ หนีเวรหรือไม่พบครู ตามที่ นัดหมาย 4. กล่าวเท็จต่อครู บุคลากร 5. จงใจตัดผมผิดระเบียบ 6. ซื้อของนอกบริเวณโรงเรียน 7. ไม่นาเครื่องเรียน หนังสือกลับบ้าน 8. เสพสารเสพติด หรือมีไว้ในครอบครอง สาหรับสารเสพติดประเภทไม่ร้ายแรง 9. ขัดคาสั่งครูที่ชอบด้วยระเบียบ 10. ไม่นาสมุดรายงานผลการเรียนให้ผู้ปกครองเซ็นทราบ และส่งกลับมายังครูที่ปรึกษา 11. หนีเรียน 12. ปลอมลายเซ็นผู้ปกครอง 13. ออกนอกบริเวณโรงเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาต 14. พูดจาโกหกเพื่อปกปิดความผิดของตน หรือผู้อื่น 15. ทะเลาะวิวาท โดยไม่ใช้กาลัง ควำมผิดระดับ 2 โทษตัดคะแนนควำมประพฤติระหว่ำง 11 – 30 คะแนน 2.3.3 ควำมผิดระดับโทษตัดคะแนนครั้งละ 11 – 20 คะแนน 1. พูดจาท้าทาย และแสดงกิริยาไม่สมควรต่อครู บุคลากร หรือบุคคลอื่น 2. เขียนหรือวาดภาพลามก อนาจาร ไว้ในที่สาธารณะหรือโรงเรียน 3. ทาลายเอกสารหรือทรัพย์สินของผู้อื่น (ต้องชดใช้ค่าเสียหายด้วย) 4. ไม่จอดรถจักรยาน หรือจักรยานยนต์ในพื้นที่ที่โรงเรียนกาหนด 5. ปีนรั้วเข้า หรือออกบริเวณโรงเรียน 6. ก่อการทะเลาะวิวาทโดยใช้กาลัง 7. ใช้กิจกรรมของโรงเรียนแอบอ้างกับผู้ปกครองเพื่อออกจากบ้านไปทากิจกรรมอื่นที่ไม่ใช่ กิจกรรมของโรงเรียน 8. แสดงกิริยาอนาจารในที่สาธารณะ 2.3.4 ควำมผิดระดับโทษตัดคะแนนครั้งละ 21 – 30 คะแนน 1. ลักขโมย 2. เล่นการพนัน 3. ดื่มสุรา หรือของมึนเมา 4. ทาลายทรัพย์สินของโรงเรียน (ต้องชดใช้ค่าเสียหายด้วย) 5. ประพฤติตนพาลเกเร ข่มขู่ รังแกผู้อื่นให้ได้รับความเดือดร้อน 6. สมาคมกับคนชั่วเที่ยวตามบาร์ สานักโสเภณี อาบอบนวด หรือสถานเริงรมย์ต่างๆ 7. มีสารเสพติดประเภทไม่ร้ายแรงไว้ในครอบครอง เพื่อจาหน่ายจ่ายแจก 8. กระทาการอนาจารกับบุคคลอื่น
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙๔
Bannasan School ควำมผิดระดับ 3 โทษตัดคะแนนควำมประพฤติระหว่ำง 31 – 50 คะแนน 1. เข้าร่วมหรือเป็นตัวการในการชุมนุมประท้วงที่นามาซึ่งความเสื่อมเสียชื่อเสียงของ โรงเรียนและส่วนรวม 2. พกพาอาวุธ หรือสิ่งเสมือนอาวุธเข้ามาในโรงเรียน (อยู่ในดุลพินิจของกรรมการฝ่ายกิจการ) 3. ยุยงส่งเสริมให้แตกสามัคคีในหมู่คณะ หรือก่อให้เกิดความวุ่นวาย สร้างสถานการณ์ที่เป็น ปฏิปักษ์ ต่ออานาจบริหารของโรงเรียน 4. ก่อการทะเลาะวิวาทระหว่างโรงเรียน 5. นาบุคคลภายนอกมาก่อการทะเลาะวิวาทกับนักเรียนในโรงเรียน ควำมผิดระดับ 4 โทษตัดคะแนนควำมประพฤติตั้งแต่ 50 คะแนนขึ้นไป 1. ทาร้ายร่างกายนักเรียน ครู บุคลากร หรือเจ้าหน้าที่ของโรงเรียน 2. มีสารเสพติดร้ายแรงในครอบครอง เพื่อจาหน่ายจ่ายแจกในโรงเรียน 3. ประพฤติตนฉันท์ชู้สาวทาให้เสื่อมเสียชื่อเสียงของโรงเรียน 4. ได้รับโทษอาญาทางกฎหมายบ้านเมือง 5. ดูหมิ่น ข่มขู่ และสบประมาทครู บุคลากร หรือบิดา มารดาอย่างร้ายแรง 6. ประพฤติตนเป็นที่เสื่อมเสียของโรงเรียนอย่างร้ายแรง 7. กระทาการอันเป็นปฏิปักษ์ต่ออานาจบริหารของโรงเรียน หรือบังคับ ขู่เข็ญ ยุยง ส่งเสริม ผู้อื่นให้กระทาการดังกล่าว 8. เผยแพร่ลัทธิที่ขัดต่อกฎหมายบ้านเมือง 9. ลักขโมย หรือเจตนาทาลายทรัพย์สินของผู้อื่นอันทาให้เสื่อมเสียชื่อเสียงของโรงเรียน 10. ก่อการทะเลาะวิวาท และมีการใช้อาวุธ 2.4 ทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ต้องประชุม พิจารณาเพื่อกาหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา และลักษณะการทากิจกรรม ทั้งนี้เพื่อแก้นิสัย และความ ประพฤติที่ไม่เหมาะสมของนักเรียน ให้สานึกในความผิด ละเว้นความชั่ว และกลับพฤติกรรมตนไป ในทางที่ดี การทากิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนให้ใช้ในกรณีต่อไปนี้ 1. นักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติยังไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องทาทัณฑ์บน 2. เป็นไปด้วยความสมัครใจของนักเรียน 3. ผู้บริหารสั่งการหรือคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียนนาเสนอในที่ประชุมเพื่อพิจารณา เป็นรายๆ หมวดที่ 3 อำนำจในกำรลงโทษนักเรียน 1. ครู – ครูที่ปรึกษาตักเตือน และตัดคะแนนความประพฤติครั้งละไม่เกิน 10 คะแนน 2. หัวหน้าเวร หัวหน้าระดับตักเตือน และตัดคะแนนความประพฤติ ครั้งละไม่เกิน 30 คะแนน 3. รองผู้อานวยการตักเตือน และตัดคะแนนความประพฤติครั้งละไม่เกิน 50 คะแนน 4. คณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน พิจารณาโทษทากิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ ตัดคะแนนความประพฤติไม่เกิน 80 คะแนน หรือตามความเหมาะสม คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙๕
Bannasan School หมวดที่ 4 กำรปรับลดคะแนนควำมผิด เนื่องจากนักเรียนยังเป็นผู้เยาว์ การกระทาใดๆ ในบางครั้งอาจจะขาดความยั้งคิด หรือรู้เท่าไม่ถึง การณ์หรือโดยเกิดจากบันดาลโทสะ จึงก่อให้เกิดความผิดขึ้น และถูกตัดคะแนนความประพฤติ ซึ่งนักเรียน บางส่วนอาจรู้สานึกในความผิดของตน จึงให้มีการปรับลดคะแนนความผิดได้ดังนี้ 1. สิทธิที่นักเรียนจะได้รับการปรับลดคะแนนความผิด 1.1 ในภาคเรียนใดที่นักเรียนไมมีประวัติว่ากระทาความผิด และได้รับโทษตั้งแต่ตัด คะแนนความประพฤติขึ้นไป ให้ปรับลดคะแนนความผิดสะสมที่มีอยู่เดิมลง 20 คะแนน 1.2 สามารถนาเอาคะแนนความดีสะสมจานวนไม่กิน 10% มาปรับลดคะแนนความผิด สะสมได้ในกรณีที่จาเป็น แต่ทั้งนี้ห้ามนาคะแนนความดีสะสมมาปรับลดให้นักเรียนที่เคยทาความผิด และ ได้รับโทษตัดคะแนนตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป 2. วิธีปฏิบัติในการปรับลดคะแนนความผิด 2.1 การปรับลดคะแนนความผิดตาม 1.1 เมื่อสิ้นภาคเรียนหนึ่งๆ ให้ครูที่ปรึกษาสารวจ และบันทึกปรับลดคะแนนความผิดให้กับนักเรียนที่มีคุณสมบั ติถูกต้อง ในสมุดประจาตัวนักเรียน และ แฟ้มประวัติ พร้อมรายงานให้ฝ่ายกิจการนักเรียน 2.2 การปรั บ ลดคะแนนความผิดตาม 1.2 เป็นอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฝ่าย กิจการนักเรียนที่จะพิจารณาเมื่อมีกรณีจาเป็นต้องใช้ เช่น กรณีที่ต้องพักการเรียน หรือการมอบเกียรติ บัตรนักเรียนประพฤติดี และช่วยเหลือกิจกรรมดีเด่น เป็นต้น หมวดที่ 5 กำรให้คะแนนควำมดีสะสม นักเรียนที่ทาความดีและสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน จะได้รับคะแนนความดีเมื่อสิ้นปีการศึกษา หนึ่งๆ ให้ประกาศผล และมอบเกียรติบัตรนักเรียนประพฤติดี และช่วยเหลือกิจกรรมดีเด่น ให้กับนักเรียน ทีม่ ีคะแนนสะสม 100 คะแนนขึ้นไป และไม่มีโทษตั้งแต่คะแนนความประพฤติในแฟ้มประวัติ 1. หลักเกณฑ์กำรให้คะแนนควำมดีสะสม 1.1 ครั้งละ 5 คะแนน 1. เก็บของตกมูลค่าไม่เกิน 50 บาท ได้ และนาไปมอบให้ฝ่ายกิจการนักเรียนเพื่อประกาศ หาเจ้าของ 2. ช่วยเหลือกิจกรรมโรงเรียน มีผลงานปรากฏเป็นที่ยอมรับ 3. แจ้งข้อมูลนักเรียนที่ประพฤติผิดระเบียบของโรงเรียน ในระดับความผิด ระดับ 1 ให้ครูทราบ 4. เป็นตัวแทนของโรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรม หรือแข่งขันในระดับต่างๆ 5. เป็นคณะกรรมการห้องเรียน และมีผลงานปรากฏเป็นที่ยอมรับ 6. การกระทาความดีอื่นใด ที่เทียบได้กับการกระทาความดีในข้อ 1.1 (1) – (5) 1.2 ครั้งละ 10 คะแนน 1. เก็บของตกมูลค่ามากกว่า 50 บาท ได้ และนาไปมอบให้ฝ่ายกิจกานักเรียน ประกาศหาเจ้าของ 2. แจ้งข้อมูลนักเรียนที่ประพฤติผิดระเบียบของโรงเรียน ในระดับความผิด คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙๖
Bannasan School ระดับ 2 ขึ้นไป ให้ครูทราบ 3. ช่วยผู้ประสบภัยต่างๆ 4. เป็นตัวแทนของโรงเรียน เข้าร่วมกิจกรรมหรือแข่งขันในระดับจังหวัด 5. เป็นนักดุริยางค์ของโรงเรียน 6. เป็นนักดนตรีของโรงเรียน 7. เป็นอาสาสมัครสารวัตรนักเรียน หรือคณะกรรมการนักเรียน และมีผลงาน ปรากฏเป็นที่ยอมรับ 8. การกระทาความดีอื่นใดที่เปรียบได้กับการกระทาความดีใน ข้อ 1.2 (1) – (7) 1.3 ครั้งละ 20 คะแนน 1. นาชื่อเสียงมาสู่โรงเรียนให้บุคคลภายนอกรู้จักโรงเรียนมากขึ้น 2. เป็นตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรมหรือแข่งขันในระดับเขตหรือระดับภาคขึ้นไป 3. การกระทาความดีอื่นใดที่เปรียบได้กับการกระทาความดี ใน ข้อ 1.3 (1) – (2) 2. อำนำจและระยะเวลำในกำรให้คะแนนควำมดี 2.1 ครู และครูที่ปรึกษาให้คะแนนความดีตามหมวดที่ 5 ดังนี้ 1. ข้อ 1.1 (1) – (4) ครั้งละ 5 คะแนน 2. ข้อ 1.1 (5) ครั้งละ 5 คะแนน 2.2 หัวหน้าระดับ หัวหน้าเวรให้คะแนน หมวดที่ 5 ดังนี้ 1. ข้อ 1.2 (1) – (4) ครั้งละ 10 คะแนน 2. ข้อ 1.2 (5) ครั้งละ 10 คะแนน 2.3 รองผู้อานวยการ ผู้อานวยการโรงเรียน หรือคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ให้ คะแนนตามหมวดที่ 5 ข้อ 1.3 (1) – (3) ครั้งละ 20 คะแนน 3.
ขั้นตอนในกำรให้คะแนนควำมดี 3.1 นักเรียนที่กระทาความดี และประสงค์จะบันทึกคะแนนความดีสะสม ให้นาสม ประจาตัว (พร้อมหลักฐาน ถ้ามี) มอบให้ครูที่มีอานาจให้คะแนนบันทึกให้คะแนน ตามระยะเวลา และ สิทธิที่ควรได้รับ 3.2 เมื่อผู้มีอานาจให้คะแนนความดีกับนักเรียนคนใดแล้ว จะต้องบันทึกการให้คะแนนไว้ ในแฟ้มประวัติในแบบบันทึกข้อมูล การแก้ไข และพัฒนาพฤติกรรมนักเรียน และส่งต่อหัวหน้าระดับเพื่อ รายงานโรงเรียนทราบ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง (บททั่วไปข้อ 7 – 9 และ 11) ให้รองผูอ้ านวยการฝ่ายกิจการนักเรียนรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ เป็นต้นไป (นายสมชาย กิจคาม) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙๗
Bannasan School
ระเบียบโรงเรียนบ้ำนนำสำร ว่ำด้วยเครื่องแบบ กำรแต่งกำย และทรงผมนักเรียน พ.ศ.2563 ………………………………………………….. เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยเครื่องแบบและทรงผมนักเรียนและเพื่อ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการแต่งกายของนักเรียน จึงออกระเบียบว่าด้วยเครื่องแบบการแต่งกาย และทรงผม ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบโรงเรียนบ้านนาสารว่าด้วยเครื่องแบบ การแต่งกาย และทรงผม นักเรียน พ.ศ.2562 ข้อ 2 ระเบียบนี้มีผลบังคับนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อ 3 เครื่องแบบที่กาหนดไว้ประกอบด้วย 3.1 เครื่องแบบนักเรียนชำยชั้นมัธยมศึกษำตอนต้น 3.1.1 เสื้อ แบบเชิ้ตคอตั้ง ผ้าขาวเกลี้ยงไม่ บางเกินควร ผ่าอกตลอด สาบที่คอกว้าง 3 เซนติเมตรใช้กระดุมขาวกลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1 เซนติเมตร จานวน 5 เม็ดแขนสั้น เพียง ข้อศอกมีกระเป๋าไม่มีฝาปิดติดแนวราวนมเบื้ องซ้าย 1 กระเป๋า ขนาดกว้าง 8 – 12 เซนติเมตร และลึก 10 – 15 เซนติเมตร พอเหมาะกับขนาดเสื้อ ด้านหลังเสื้อไม่มีจีบ เวลาสวมให้สอดชายเสื้อไว้ในกางเกง 3.1.2 กำงกง ใช้สีกากีแบบทรงไทยไทย เนื้อผ้าเกลี้ยง มีจีบ ขาสั้นเหนือเข่าพ้นกลาง ลูกสะบ้าประมาณ 5 เชนติเมตร ส่วนกว้างของกางเกง เมื่อยืนตรงวัดห่างจากขา 8-12 เขนติเมตร ตาม ขนาดขาปลายขาพับข้าข้างในกว้าง 5 เซนติเมตร ผ่าตรงส่วนหน้า มีกระเป้าตามแนวตะเข็บข้างละ 1 กระเป๋า เวลาส้อมให้สวมทับชายเสื้อให้เรียบร้อย มีหูกางเกงไว้สาหรบสอดเข็มขัด 7 หู ไม่มีกระเป๋าหน้า หรือกระเป๋าหลัง 3.1.3 เข็มขัด ใช้เข็มขัดสีน้าตาล กว้าง 3-4 เซนติเมตร หัวเข็มขัดเป็นโลหะสีทองรูปสี เหลี่ยมผืนผ้ามี ปลอก 1 ปลอก ขนาดกว้าง 1.5 เซนติเมตร สาหรับสอดปลายเข็มขัด ปลายเข็มขัดยาวไม่ น้อยกว่า 15 เซนติเมตรเข็มขัดนี้ใช้สอดหูกางเกง คาดทับกางเกงและเมื่อคาดเข็มขัดแล้วต้องให้มองเห็น เข็มขัดโดยรอบ 3.1.4 รองเท้ำ เป็นรองเท้าผ้าใบ หรือหนังสีน้าตาล ชนิดหุ้มสัน มีเชือกผูกสีเดียวกับรอง ท้าและผูกสายให้เรียบร้อย รองเท้าจะต้องไม่มีลวดลายใดๆ ทั้งสิ้น 3.1.5 ถุงเท้ำ ใช้ถุงเท้าสั้นสีน้าตาลธรรมดา เป็นเส้นด้าย ไม่มีลวดลาย ไม่ใช้ถุงไนล่อน บางไม่ขลิบหรือปักหรือตกแต่ง ไม่พับปลาย ความยาวของถุงเท้าเมื่อสวมแล้วยาวประมาณครึ่งน่อง ไม่ ม้วนถุงเท้า(ห้ามใช้ถุงเท้าลูกเสือ)9* 3.2 เครื่องแบบนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษำตอนต้น 3.2.1 เสื้อ ใช้เสื้อแบคอพับในตัว มีปกด้านหลังแบกทหารเรือ วัดจากต้นคอลงไปไม่ เกิน 12 เซนติเมตร แขนยาวเหนือศอก 1-2 นิ้ว ปลายแขนจีบเล็กน้อย ประกอบด้วยผ้า 2 ชั้นกว้าง 3 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙๘
Bannasan School เซนติเมตร ความยาวของตัวเสื้อเมื่อยืนตรงวัดจากข้อมือถึงชายเสื้อไม่เกิน 8 – 12 เซนติเมตร ชายขอบ เสื้อด้านล่างมีรอยพับกว้างไม่เกิน 3 เซนติเมตร เสื้อต้องไม่หลวมหรือคับจนเกินไป ให้พอเหมาะกับลาตัว ริมขอบล่างด้านหน้าติดกระเป๋าปากกระเป๋าพับริมประมาณ 1 เซนติเมตร 3.2.2 กระโปรง ใช้แบบทรงนักเรียน ผ้ากรมท่า เนื้อผ้าเกลี้ยง มีมีลวดลาย ด้านหน้า และด้านหลังพับเป็นกลีบด้านละ 6 กลีบ โดยหันกลับออกด้านนอกด้านละ 3 กลีบ เย็บทับกลีบจาก สะเอวลงมา 6 – 12 เซนติเมตร ความลึ กของแต่ล ะกลี บประมาณ 3-4 เซนติเมตร ความยาวของ กระโปรงเมื่อยืนตรงต้องยาวคลุมเข้าไม่เกิน 10 เซนติเมตร (ตัวกระโปรงห้ามเป็นทรงสะเอวต่าหรือสะเอว สูง) 3.2.3 หูกระต่ำย (คอซอง) ใช้ผ้าสีกรมท่า ชายเป็นสามเหลี่ยม กว้าง 8-10 เซนติเมตร (เมื่อผูกแล้วต้องอยู่ในแนวกระดุมอกเสื้อของนักเรียน) 3.2.4 รองเท้ำ เป็นรองเท้าหนังสีดาแบบหุ้มสัน และหุ้มปลายท้า หัวมน มีสายรัดบน หลังเท้า สันสูงไม่เกิน3 เซนติเมตร 3.2.5 ถุงเท้ำ เป็นถุงเท้าสั้นสีขาวแบบธรรมดา มีเส้นด้าย ไม่มีลวดลาย ไม่ใช้ถุงเท้าไน ล่อนบาง ไม่ขลิบริม หรือปัก หรือตกแต่งเวลาสวมให้พับปลายกว้างประมาณ 2 นิ้ว ลงมาอยู่เหนือข้อเท้า ประมาณ 2 นิ้ว (ห้ามม้วนถุงเท้า) 3.3 เครื่องแบบนักเรียนชำยชั้นมัธยมศึกษำตอนปลำย 3.3.1 เสื้อ แบบเชิ้ตคอตั้ง ผ้าขาวเกลี้ยง ไม่บางเกินควร ผ่าอกตลอดสาบ ที่คอกว้าง 3 เซนติเมตรใช้กระดุมขาวกลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1 เซนติเมตร จานวน 5 เม็ด แขนสั้นเพียง ข้อศอก มีกระเป้า ไม่มีฝาปิดติดแนวราวนมเยื้องซ้าย 1 กระเป้า ขนาดกว้าง 8-12 เซนติเมตร และลึก 10-15 เซนติเมตร พอเหมาะกับขนาดของเสื้อค้นหลัง เสื้อไม่มีจีบ เวลาสวมให้สอดชายเสื้อไว้ในกางเกง 3.3.2 กำงเกง ใช้สี ดา แบบทรงไทย เนื้อผ้ าเกลี้ ยง มีจีบ ขาสั้ นเหนือเข่าพัน กลาง ลูกสะบ้าประมาณ 5 เซนติเมตร ส่วนกว้างของขากางเกงเมื่อยืนตรงวัดห่างจากขา 8-12 เซนติเมตร ตาม ขนาดของขา ปลายขาพับเข้าข้างใน 5 เซนติเมตร ผ่าตรงส่วนหน้า มีกระเป๋าตามแนวตะเข็บข้างละ 1 กระเป๋า เวลาสวมให้สวมทับชายเสื้อให้เรียบร้อย มีหูกางเกงไว้สาหรับสอดเข็มขัด7 หู ไม่มีกระเป๋าหน้ า หรือกระเป๋าหลัง 3.3.3. เข็มขัด ใช้เข็มขัดสีดา ขนาดกว้าง 3-4 เซนติเมตร หัวเข็มขัดเป็นโลหะสีเงิน รูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าปลอกหนังสีดาขนาดกว้าง 1.5 เซนติเมตร ปลายเข็มขัดยาวไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร เมื่อคาดเข็มขัดแล้วต้องให้มอบเห็นเข็มขัดโดยรอบ (ห้ามใช้เข็มขัดนักศึกษาวิชาทหาร) 3.3.4 รองเท้ำ เป็นรองเท้าผ้าใบ หรือหนังสีดาชนิดหุ้มส้นมีเชือกผูกสีเดียวกับรองเท้า ผูกสายรองเท้าให้เรียบร้อย และรองเท้าต้องไม่มีลวดลายใด ๆ ทั้งสิ้น 3.3.5 ถุงเท้ำ ใช้ถุงเท้าสั้นสีขาวธรรมดา เป็นเส้นด้าย ไม่มีลวดลาย ไม่ใช้ถุงเท้าไรล่อน บาง ไม่ขลิบริม ไม่ปักหรือตกแต่งความยาวถุงเท้า เมื่อสวมแล้วยาวครึ่งน่อง ไม่ม้วนหรือพับปลาย 3.4 เครื่องแบบนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษำตอนปลำย 3.4.1 เสื้อ แบบคอเสื้อเชิ้ต ผ่าอดตลอด ผ้าขาวเกลี้ยง ไม่บางเกินควร ที่หน้าอกเสื้อทา เป็นสาบตลบเข้าในกว้าง 3 เซนติเมตร มี กระดุมกลมแบน ขนาดเส้นผ้าศูนย์กลางไม่เกิน 1 เซนติเมตร คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๙๙
Bannasan School จานวน 5 เม็ด แขนยาว เพียงเหนือข้อศอก ต้นแขนและปลายแขนจีบเล็กน้อย ปลายแขนประกอบด้วย ผ้าสองชั้นกว้าง 3 เซนติเมตร เวลาสวมสอดชายไว้ในกระโปรง 3.4.2 กระโปรง ใช้แบบทรงนักเรียน ผ้าสีกรมท่า เนื้อผ้าเกลี้ยงไม่มีล วดลาย ด้านหน้า และด้านหลังพับเป็นกลีบด้านละ 6 กลีบ โดยหันกลีบออกด้านละ 3 กลีบ เย็บทับกลีบจากสะเอวลงมา 6 – 12 เซนติเมตร ความลึกของแต่ละกลีบประมาณ 3 – 4 เซนติเมตร ความยาวของกระโปรงเมื่อยืนตรง ต้องยาวคลุมเข่าไม่เกิน 10 เซนติเมตร (ตัวกระโปรงห้ามเป็นทรงสะเอวต่าหรือสะเอวสูง) 3.4.3 เข็มขัด เป็นเข็มขัดหนังสีดา กว้าง 3 -4 เซนติเมตร ไม่มีลวดลาย หัวเข็มขัดเป็น สี่เหลี่ยมผืนผ้าชนิดหัวกลัด ใช้หนังสีดาหุ้ม มีปลอกหนังสีเดียวกับเข็มขัด กว้าง 1-1.5 เซนติเมตร สาหรับ สอดปลายเข็มขัดดังกว่างให้คาดทับกระโปรง และต้องให้มองเห็นเข็มขัดโดยรอบ 3.44 รองเท้ำ เป็นรองเท้าหนังสีดาแบบหุ้มส้น และหุ้มปลายท้า หัวมน มีสายรัดบน หลังเท้า ส้นสูงไม่เกิน 3 เซนติเมตร 3.4.5 ถุงเท้ำ เป็นถุงเท้าสีขาว แบบธรรมดา ไม่มีลวดลาย ไม่ใช้ถุงเท้าไนล่อนบาง ไม่ ขลิบริม หรือหรือตกแต่ง เวลาสวมให้พับปลาย กว้างประมาณ 2 นิ้ว ลงมาอยู่เหนือข้อเท้าประมาณ 2 นิ้ว (ห้ามม้วนถุงเท้า) ข้อ 6 เครื่องหมำยโรงเรียน - ปักเครื่องหมาย บ.ส. ที่หน้าอกด้านขวา ประมาณกระดุมเม็ดที่ 2 ปักทึบด้วยไหมสีน้าเงิน ขนาดตัวอักษร สูง 1.2 เซนติเมตร ตามแบบตัวพิมพ์ของโรงเรียน - ปัก ชื่อ – สกุล ใต้อักษร บ.ส. ลงมาประมาณ 2.5 เซนติเมตร ด้วยไหมสีน้าเงิน แบบตัวพิมพ์ ขนาดตัวอักษรสูง 1 เซนติเมตร - ปักเครื่องหมายบอกระดับชั้นใต้ ชื่อ - สกุล ลงมาประมาณ 1 เซนติเมตร ปักแบบวงกลมทึบ มี เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.3 เซนติเมตร ด้วยไหมสีน้าเงิน จานวนตามระดับชั้น ดังนี้ ม.1 , ม.4 ปัก 1จุด ม.2 , ม.5 ปัก 2จุด ม.3 , ม.6 ปัก 3จุด ข้อ 7 กระเป๋ำนักเรียน ให้ใช้เป้ตราของโรงเรียน สาหรับใส่หนังสือและสมุดเท่านั้น ข้อ 8 แนวปฏิบัติในเรื่องกำรแต่งกำยนักเรียน 1. การแต่งกายของนักเรียนให้เป็นไปในลักษณะเรียบร้อย สะอาด สุภาพ ประหยัด เหมาะสมกับ สภาพและวัยของนักเรียน 2. การแต่งกายอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ เป็นการแต่งกายที่ผิดระเบียบ และไม่เหมาะสมกับ สภาพนักเรียน ได้แก่ 2.1 ไว้ผมยาวเกินกาหนด หรือไม่สุภาพเรียบร้อย 2.2 ดัด เซ็ท ซอย ยืด เปลี่ยนสีผม ไว้เล็บ แต่งหน้า แต่งคิ้ว แต่งริมฝีปาก
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐๐
Bannasan School 2.3 ใช้ของมีค่าหรือเครื่องประดับกาย สายสร้อย ต่างหู แหวน เหรียญ กาไล (ยกเว้นนาฬิกา ข้อมือ) ในกรณีที่นักเรียนแขวนพระ สายสร้อยต้องเป็นสร้อยเงินหรือโลหะเงิน และสร้อยต้องยาวพอควร ใส่ห้อยไว้ในเสื้อ 2.4 นักเรียนหญิงนุ่งกระโปรงสั้นจนชายกระโปรงสูงกว่าสะบ้าเข่าเกิน 5 เซนติเมตร หรือขอบ กระโปรงต่ากว่าสะดือ คาดเข็มขัดหลวมต่ากว่าระดับขอบกระโปรง แต่งกายไม่เหมาะสมกับสตรีไทย 3. ห้ามใช้เครื่องสาอางหรือสิ่งแปลกปลอมเพื่อการเสริมสวย 4. เครื่องแบบชุดพลศึกษาที่โรงเรียนกาหนด ทางโรงเรียนอนุญาตให้แต่งมาจากบ้านได้เฉพาะ วันที่เรียนวิชาพลศึกษาเท่านั้น และต้องสอดชายเสื้อไว้ในกางเกงให้เรียบร้อย (ห้ามร้อยสายเชือกไว้ที่ ชายเสื้อ) ให้รองผู้อานวยการฝ่ายกิจการนักเรียนรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2563 เป็นต้นไป
(นายสมชาย กิจคาม) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐๑
Bannasan School
ระเบียบกระทรวงศึกษำธิกำร ว่ำด้วยกำรไว้ทรงผมของนักเรียน โรงเรียนบ้ำนนำสำร พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยที่เป็นการสมควรกาหนดข้อปฏิบัติและข้อห้ามปฏิบัติในการไว้ทรงผมของนักเรียนเพื่อให้เกิด ความชัดเจนในการดาเนินการของสถานศึกษา มีความเหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบันและการปฏิบัติตน ของนักเรียนเป็นไปด้วยความถูกต้อง รวมทั้งเป็นการคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ อาศัยอานาจตาม ความในมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติร ะเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการไว้ทรงผมของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๓” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้ อ ๓ ในระเบี ย บนี้ “นั ก เรี ย น” หมายความว่ า บุ ค คลซึ่ ง ก าลั ง ศึ ก ษาอยู่ ใ นสถานศึ ก ษา “สถานศึ ก ษา” หมายความว่ า สถานศึ ก ษาในสั ง กั ด หรื อ ก ากั บ ดู แ ลของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ที่ จั ด การศึกษาขั้นพื้นฐาน เว้นแต่การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย “หัวหน้าสถานศึกษา” หมายความว่า ผู้อานวยการ หรือหัวหน้าสถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีอานาจหน้าที่หรือวัตถุประสงค์ ในการจัดการศึกษา ข้อ ๔ นักเรียนต้องปฏิบัติตนเกี่ยวกับการไว้ทรงผม ดังนี้ (๑) นักเรียนชายจะไว้ผมสั้นหรือผมยาว ก็ได้ กรณีไว้ผมยาวด้านข้าง ด้านหลังต้องยาว ไม่เลยตีนผม ด้านหน้าและกลางศีรษะให้เป็นไปตามความ เหมาะสมและมีความเรียบร้อย (๒) นักเรียนหญิงจะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวให้เป็นไปตาม ความเหมาะสม และรวบให้เรียบร้อย ข้อ ๕ นักเรียนต้องห้ามปฏิบัติตน ดังนี้ (๑) ดัดผม (๒) ย้อมสีผมให้ผิดไปจากเดิม (๓) ไว้หนวด หรือเครา (๔) การกระทาอื่นใดซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาพการเป็นนักเรียน เช่น การตัดแต่งทรงผม เป็น รูปทรงสัญลักษณ์หรือเป็นลวดลาย ข้อ ๖ ความในข้อ ๔ และข้อ ๕ มิให้นามาใช้บังคับแก่นักเรียนที่มีเหตุผลความจาเป็น ในการ ปฏิบัติตามหลักศาสนาของตนหรือการดาเนินกิจกรรมของสถานศึกษา ให้หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้มี อานาจพิจารณาอนุญาต ข้อ ๗ ภายใต้บังคับ ข้อ ๔ ให้สถานศึกษาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา หรือ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนวางระเบียบเกี่ยวกับการไว้ทรงผมของนักเรียนที่มีความเฉพาะเจาะจง ได้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ การดาเนินการตามวรรคหนึ่งให้ยึดถือหลักความเหมาะสมในการพัฒนา บุคลิกภาพที่ดี ของนักเรียน และการมีส่วนร่วมของนักเรียน สถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชนท้องถิ่น ข้อ ๘ ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจ ตีความ และวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้ไว้ ณ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖3 (นายสมชาย กิจคาม) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐๒
Bannasan School
แบบอย่างการแต่งกายนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐๓
Bannasan School
แบบอย่างการแต่งกายนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐๔
Bannasan School
ระเบียบโรงเรียนบ้ำนนำสำร ว่ำด้วยคณะกรรมกำรนักเรียน พ.ศ. 2563 ........................................... เพื่อให้ดาเนินพัฒนาความเป็นผู้นา ส่งเสริมประชาธิปไตย เสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการ การปฏิ บั ติ กิ จ กรรมภายในและภายนอกโรงเรี ย นเป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จึ ง สมควรจั ด ให้ มี คณะกรรมการนักเรียน เพื่อทาหนาที่ดังกล่าว และเพื่อให้ ดาเนินงานคณะกรรมการนักเรียนเป็นไปด้วย ความเรียบร้อยมีประสิทธิภาพ จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้ อ 1 ระเบี ย บนี้ เ รี ย กว่ า " ระเบี ย บโรงเรี ย นบ้ า นนาสารว่ า ด้ ว ยคณะกรรมการนั ก เรี ย น พ. ศ. 2563 ข้อ 2 ให้เริ่มใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ข้อ 3 เครื่องหมายขอคณะกรรมการนักเรียน เป็นป้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตราประจาโรงเรียนติดอยู่ ส่วนบน มีอักษรคาว่าคณะกรรมการนักเรียน อยู่ในกรอบใต้ตราประจาโรงเรียน ติดรูปขนาด 1X1 นิ้ว ใต้ รูปมีลายมือชื่อของเจ้าของเครื่องหมาย และใช้เครื่องหมายนี้ติดที่เสื้อด้านซ้ายเหนือกระเป๋า คุณสมบัติของประธำนคณะกรรมกำรนักเรียน โรงเรียนบ้ำนนำสำร ข้อ 4 ประธานคณะกรรมการนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสาร ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ 4.1 เป็นนักเรียนระดับขั้น ม.5 ของโรงเรียนบ้านนาสารในปีกาศึกษาที่ดารงตาแหน่ง 4.2 มีผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษาที่ผ่านมา ไม่ต่ากว่า 2.00 4.3 ไม่เคยถูกลงโทษถึงขั้นภาคทัณฑ์ในระหว่างที่เรียนในโรงเรียนบ้านนาสาร 4.4 ต้องได้รับความยินขอมจากผู้ปกครอง และได้รับการรับรองจากครูที่ปรึกษา หัวหน้าระดับชั้น ฝ่ายวัดผล และรองผู้อานวยการกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน 4.5 ได้รับการเลือกตั้งจากนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสาร คุณสมบัติของคณะกรรมกำรนักเรียนโรงเรียนบ้ำนนำสำร ข้อ 5 คณะกรรมกรนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสารต้องมีคุณสมบัติดังนี้ 5.1 เป็นนักเรียนโรงเรียนบ้านนาสาร ในปีการศึกษาที่ดารงตาแหน่ง 5.2 ไม่เคยถูกลงโทษขั้นภาคทัณฑ์ในระหว่างที่เรียนในโรงเรียนบ้านนาสาร 5.3 เป็ น ผู้ ได้รั บ การคั ด เลื อ กจากประธานคณะกรรมการนั กเรีย นและได้รั บการแต่ งตั้ ง จาก ผู้อานวยการ 5.4 ให้ ป ระธานระดับ ชั้น ที่ได้รั บ การเลื อกตั้งจากระดับต่าง ๆ 6 ระดับ เป็นกรรมการโดย ตาแหน่ง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐๕
Bannasan School กำรดำเนินกำรจัดตั้งคณะกรรมกำรนักเรียนโรงเรียนบ้ำนนำสำร ข้อ 6 การจัดตั้งคณะกรรมการนักเรียน มีขั้นตอนดังนี้ 6.1 .ให้ ความรู้ เกี่ย วกับ ประชาธิป ไตยในโรงเรียนจัด อบรมระดับ ก่อนการเลื อกตั้งประธาน คณะกรรมการนักเรียน 6.2 ประกาศรับสมัครลงเลือกตั้งประธานคณะกรรมการนักเรียน หาเสียงในคาบอบรมระดับ กิจกรรมหน้าเสาธงและดาเนินการเลือกตั้งให้เสร็จสิ้นในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี 6.3 ประธานคณะกรรมการนักเรียนที่ลงสมัครเลือกตั้งสังกัดพรรคหรือกลุ่มโดยแต่ละพรรคหรือ กลุ่มต้องมีประธาน 1 คน และรองประธาน 2 คน โดยเป็นนักเรียนระดับชั้น ม.4 ในปีการศึกษาที่รับ สมัคร 6.4 การด าเนิ น การเรื่ อ งการเลื อ กตั้ ง ประธานคณะกรรมการนั ก เรี ย นให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการนักเรียนชุดเดิม ภายใต้การควบคุมดูแลจากคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียนและครูที่ ปรึกษาติดต่อคณะกรรมการนักเรียน 6.5 ให้ประธานคณะกรรมการนักเรียนที่ได้รับเลือกตั้งทาการคัดเลือกคณะกรรมการนักเรียนทุก ตาแหน่งแล้วเสนอซื่อเพื่อให้ผู้อานวยการโรงเรียนออกคาสั่งแต่งตั้ง 6.6 คณะกรรมการนักเรียนโดยตาแหน่งตามคุณสมบัติข้อ 5.4 6.7 ตาแหน่งในคณะกรรมการนักเรียนประกอบด้วย (1) ประธานกรรมการนักเรียน (2) รองประธานกรรมการ (3) เหรัญญิก (4) ปฏิคม (5) ประชาสัมพันธ์ (6) เลขานุการ (7) ฝ่ายพัฒนา (8) ฝ่ายสารวัตรนักเรียน (9) ฝ่ายกีฬาและนันทนาการ (10) ฝ่ายกิจกรรม 6.8 กรรมการนักเรียนแต่ละฝ่ายสามารถตั้งผู้ช่วยจากนักเรียนในระดับชั้นต่าง ๆ ได้ตามความ เหมาะสม 6.9 ประธาน รองประธาน หัวหน้าฝ่าย และกรรมการโดยตาแหน่ง มีสิทธิ์เข้าร่วมประชุมออก เสียงลงมติ หน้ำที่ของคณะกรรมกำรนักเรียน ข้อ 7 หน้าที่ของคณะกรรมการโรงเรียนบ้านนาสารมีดังนี้ 7.1 เป็นผู้นาในการส่งเสริมประชาธิปไตย เสริมสร้างวินัยในตนเอง ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม เสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการ และเสริมสร้างบรรยากาศภายในโรงเรียน 7.2 ปฏิบัติกิจกรรมภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน ตามที่โรงเรียนมอบหมาย คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐๖
Bannasan School 7.3 เป็นผู้นาในการปลูกฝังจิตสานึก ให้แก่เพื่อนนักเรียนตระหนัก เกิดความรักและความภูมิใจ ในสถาบัน 7.4 ปฏิบัติตนตามนโยบายของโรงเรียนทุกประกาศ 7.5 ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของเพื่อนักเรียนในโรงเรียน 7.6 เป็นผู้นาในการเสริมสร้างความสามัคคีระหว่างเพื่อนนักเรียน และเสียสละเพื่อส่วนรวม 7.7 ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่โรงเรียนมอบหมาย วำระกำรดำรงตำแหน่ง ข้อ 8 การดารงตาแหน่งของประธานและคณะกรรมการนักเรียนในโรงเรียนบ้านนาสารปฏิบัติ หน้าที่อยู่ในวาระคราวละ 1 ปีการศึกษา สิ้นสุดสถำนภำพกำรเป็นคณะกรรมกำรนักเรียน ข้อ 9 ประธานและคณะกรรมการนักเรียน สิ้นสุดวาระการปฏิบัติงานดังนี้ 9.1 ครบกาหนดวาระ 9.2 ตาย 9.3 ได้รับอนุญาตให้ลาออก 9.4 กระทาผิดระเบียบและจรรยาบรรณอย่างร้ายแรงจนถูกพิจารณาโทษถึงขั้นภาคทัณฑ์เป็นต้น ไปโดยผู้อานวยการเป็นผู้สั่งการให้พ้นจากสภาพการเป็นประธานและคณะกรรมการนักเรียน 9.5 ในกรณีที่ประธานคณะกรรมการนักเรียนพ้นสภาพการเป็นประธานคณะกรรมการนักเรียน ให้ ถือว่าคณะกรรมการนั กเรี ย นพ้น สภาพการเป็นคณะกรรมการนักเรีย นทั้งชุด โดยให้ เลื อกตั้งซ่อม ประธานคณะกรรมการนักเรียนให้เสร็จสิ้นภายใน 30 วัน นับจากวันที่ประธานคณะกรรมการนักเรียน สรรหาและเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสมเข้ารับตาแหน่งภายใน 15 วัน นับจากวันที่พ้นตาแหน่งของบุคคล นั้น 9.6 ในกรณีที่คณะกรรมการนักเรียนตาแหน่งใดว่างลง ให้ประธานคณะกรรมการนักเรียนสรรหา และเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสมเข้ารับตาแหน่งภายใน 15 วัน นับจากวันที่พ้นตาแหน่งของบุคคลนั้น ที่ปรึกษำคณะกรรมกำรนักเรียน ข้อ 10 ที่ปรึกษาโดยการแต่งตั้ง ผู้อานวยการโรงเรียนสามารถแต่งตั้งครูที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียนได้ตามความเหมาะสม กำรให้ควำมรู้และประสบกำรณ์แก่คณะกรรมกำรนักเรียน ข้อ 11 ควรให้ความรู้และประการณ์แก่คณะกรรมการนักเรียนก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ดังนี้ 1.1.1 จั ดให้ ป ระธานและคณะกรรมกรนั กเรี ยนที่ จ ะเข้ ารับ หน้ า ที่ปฏิ ญ าณตนต่ อ ที่ป ระชุ ม นั ก เรี ย นรุ่ น พี่ ฟั ง ค าชี้ แ นะจากกรรมการชุ ด เก่ า ผู้ อ านวยการ รองผู้ อ านวยการ และครู ที่ ป รึ ก ษา คณะกรรมการนักเรียน 1.1.2 ให้คณะกรรมการนักเรียนได้มีการเข้าค่าย อบรม ประชุม สัมมนา ระหว่างปิดภาคเรียนที่ 2 จานวน 1 ครั้ง โดยมีหลักสูตรดังนี้ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐๗
Bannasan School (1) บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการนักเรียน (2) ลักษณะผู้นาและวินัยในตนเองของผู้นา (3) การส่งเสริมประชาธิปไตย (4) การเสริมสร้างบรรยากาศภายในบริเวณโรงเรียน (5) การวางแผนงาน การเขียนแผนปฏิบัติงาน (6) เทคนิคการทางานร่วมกัน (7) การจัดกิจกรรมภายในและภายนอกโรงเรียน (8) นันทนาการบันเทิง ข้อ 12 ถ้ามีร ะเบี ย บโรงเรี ยนบ้า นนาสารว่าด้วยคณะกรรมการนักเรียนฉบับใดที่ขัดแย้งกับ ระเบียบนี้ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้รองผู้อานวยกรฝ่ายกิจการนักเรียนเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2563 เป็นต้นไป
(นายสมชาย กิจคาม) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐๘
Bannasan School
หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกนักเรียนดีเด่น ศึกษาดี มีวินัย ใฝ่ธรรมะ พละเด่น เป็นการงาน เกณฑ์กำรคัดเลือกนักเรียนประเภทเรียนดี 1. มีผลการเรียนยู่ในระดับเกรดเฉลี่ย 3.75 ขึ้นไป 2. มีความประพฤติเรียบร้อย 3. รู้จักใช้เวลาว่างใฝ่หาความรู้ด้วยตนเอง เกณฑ์กำรคัดเลือกนักเรียนดีเด่นด้ำนระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม 1. มีความประพฤติเรียบร้อยอยู่ในระเบียบวินัย โดยไม่เคยถูกตัดคะแนนความประพฤติ 2. มีพฤติกรรมที่ควรยกย่องอย่างน้อย 7 ครั้งขึ้นไป 3. มีสัมมาคารวะสุภาพอ่อนน้อมต่อบุคคลทั่วไป 4. ช่วยกิจกรรมทางศาสนาอยู่เสมอ 5. มีผลการเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์กำรคัดเลือกนักเรียนดีเด่นด้ำนกิจกรรม และจิตอำสำ 1. เป็นนักกีฬา นักดนตรี นักศิลปะ ของโรงเรียน 2. ทาชื่อเสียงสู่สถานศึกษา 3. มีความประพฤติเรียบร้อย 4. มีผลการเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน 5. มีจิตสาธารณะ กำรขอใบรับรองควำมประพฤติ 1. นักเรียนต้องยื่นคาร้องขอใบรับรองความประพฤติ พร้อมกับสมุดประจาตัวนักเรียนต่อฝ่าย กิจการนักเรียนผ่านครูที่ปรึกษาและหัวหน้าระดับ 2. การออกใบรับรองความประพฤติ ทางฝ่ายกิจการนักเรียนจะพิจารณาความประพฤติ โดยยึด คะแนนพฤติกรรมของนักเรียนที่ถูกตัดเป็นหลัก (ถูกตัดคะแนนเกิน 80 คะแนน งดออกใบรับรอง) 3. ใบรับรองความประพฤติฉบับแรกทางโรงเรียนจะบริการฟรี ถ้าหากนักเรียนต้องการหลาย ฉบับนักเรียนต้องเสียค่าบริการฉบับละ 5 บาท หน้ำที่ของผู้ปกครองนักเรียน 1. ผู้ปกครองนักเรียน 1.1 ผู้ปกครองที่ดีที่สุดขอนักเรียนคือ บิดา มารดา หรือญาติสนิท หรือผู้ที่บิดามารดามอบหมาย ที่โรงเรียนเห็นชอบด้วย และต้องเป็นผู้ที่อยู่บ้านเดียวกับนักเรียน ถ้านักเรียนไม่มีผู้ปกครองที่โรงเรียน เห็นชอบและเชื่อถือได้ ทางโรงเรียนจะไม่รับเข้าเป็นนักเรียนของโรงเรียน ถ้าเปลี่ยนผู้ปกครองนักเรียน จะต้องนาผู้ปกครองคนใหม่มาทาใบมอบตัวใหม่ที่โรงเรียนภายในเวลาที่กาหนด ทั้งนี้โรงเรียนจะต้อง คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๐๙
Bannasan School เห็นชอบด้วย หากนักเรียนไม่มีผู้ปกครองที่โรงเรียนเห็นชอบด้วย นักเรียนจะหมดสิทธิ การเป็นนักเรียน จะต้องออกจากโรงเรียน 1.2 การแจ้งชื่อบิดามารดาในทะเบียนของโรงเรียนนั้น ตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องแจ้งชื่อบิดามารดผู้ให้กาเนิดเท่านั้น แม้ว่าจะจดทะเบียนเป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นแล้วก็ตาม ดังนั้น การเขียนไว้มอบตัวซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้ ปกครองจึงต้องเขียนให้ถูกต้องการ เขียน วัน เดือน ปีเกิด ของ นักเรียนก็เช่นกันต้องเขียนตามทะเบียนบ้าน หากทะเบียนบ้านผิด ให้ดาเนินการแก้ภายหลัง 1.3 เมื่อบิดาได้เลื่อนยศหรือเปลี่ยนนามสกุล เป็นหน้าที่ของผู้ปกครองที่จะต้องทาหนังสือถึง โรงเรียนพร้อมทั้งส่งใบสาคัญการเลื่อนยศ หรือหลักฐานในการได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อ หรือเปลี่ยน นามสกุล 1.4 เมื่อผู้ปกครองย้ายที่อยู่ โปรดแจ้งให้โรงเรียนทราบโดยเร็วที่สุด เพื่อความสะดวกในการ ติดต่อ 2. กำรร่วมมือกับทำงโรงเรียน 2.1 ถ้ า มี ข้ อ ข้ อ งใจหรื อ ปั ญ หาใดๆ โปรดติ ด ต่ อ โรงเรี ย นด้ ว ยตนเอง เ พื่ อ สอบถามหรื อ ปรึกษาหารือกับครูที่ปรึกษาหรือรองผู้อานวยการฝ่ายกิจการนักเรียนและผู้อานวยการเพื่อร่วมกันแก้ไข ปั ญ หานั้ น ๆ ให้ ลุ ล่ ว งไป ถ้ า ไปติ ด ต่ อ ด้ ว ยตนเองไม่ ไ ด้ข อให้ โ ทรศั พ ท์ ถึ งโรงเรี ยน หมายเลขโทรศัพท์ 077-344-430 2.2 โปรดให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียน โดยสมัครเป็นสมาชิกสมาคมผู้ปกครองและครูฯ และ ไปร่วมประชุมทุกครั้ง หรือในการนัดพบกับครูที่ปรึกษา ครูผู้สอนวิชาต่าง ๆ ครูหัวหน้าระดับชั้น และครู ฝ่ายกิจการนักเรียน 3. กำรศึกษำของนักรเรียนในปกครอง 3.1 ควรสอบถามถึงการเรี ยนของนักเรียน และควบคุมให้ นักเรียนเอาใจใส่ในการเล่า เรียน สม่าเสมอแทนที่จะเร่งเมื่อใกล้เวลาสอบปลายภาคเรียน 3.2 ควรให้โอกาสแก่นักเรียนได้มีเวลาดูหนังสือให้เพียงพอ แต่ไม่ควรให้อยู่ดึกมากเกินไป 3.3 ควรดูแลในเรื่องเครื่องเขียนแบบเรียนของนักเรียน อย่าให้บกพร่อง เพราะจะเป็นอุปสรรค สาคัญในการศึกษาเล่าเรียน 3.4 ควรห้ ามนั กเรี ย นอ่า นหนั งสื ออ่ านเล่ น ที่ช วนให้ เพลิ ดเพลิ น ทางกามารมณ์ หรือขัด ต่ อ ศีล ธรรมอัน ดีห รื อหลงเชื่อในทางที่ผิ ด ต้องห้ ามนักเรียนดูภ าพยนตร์ ที่ยั่ว ยุ กามารมณ์ และต้องห้ า ม นักเรียนไปเที่ยวในสถานที่ซึ่งไม่เหมาะสมแก่สภาพนักเรียน เช่น ร้านเกมส์ โต๊ะสนุกเกอร์ ร้านคาราโอเกะ หรือสถานที่อื่นๆ ที่ไม่เหมาะสม 3.5 ควรให้โอกาสแก่นักเรียนได้ไปศึกษานอกสถานที่ ตามโอกาสที่โรงเรียนจัดหรือผู้ปกครองจะ นาไปเองสุดแต่จะเห็นควร แต่ไม่ควรปล่อยให้นักเรียนไปกับเพื่อนตามลาพังเพราะจะชักชวนไปในทาง เสี ย หายและจะเกิ ด อั น ตรายแก่ เ ด็ ก ได้ ง่ า ย อนึ่ ง การจั ด โครงการดั ง กล่ า วโรงเรี ย นจะมี ห นั ง สื อ แจ้ง ผู้ปกครองทราบทุกครั้ง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๑๐
Bannasan School 4. ควำมประพฤติของนักเรียนในปกครอง 4.1 ความระมัดระวังในเรื่องการเงิน โปรดควบคุมอย่าให้เงินนักเรียนไปโรงเรียนมากเกินจาเป็น เพราะจะเป็นทางให้นักเรียนใช้เงินไปในทางเที่ยวเตร่ตามโรงมหรสพบ่อยเกินไป หรือสถานที่อื่นใดอันไม่ ควรแก่นักเรียน ถ้าบิดามารดาอยู่ต่างจังหวัด หรือต่างอาเภอ ก็จะต้องฝากฝังกับผู้ปกครองหรือครูอาจารย์ ทางโรงเรียนเพื่อขอความร่วมมือให้ช่วยกวดขันแทนได้ 4.2 ควรกวดขันนักเรียนมาให้ทันเวลาเข้าแถวเคารพธงชาติ 4.3 ควรกวนขันเวลากลับของนักเรีย นให้ตรงเวลา อย่าให้ล่าช้าเกินควรเพราะนักเรียนจะถือ โอกาสประพฤติในทางที่ไม่ควร 4.4 ควรเอาใจใส่เรื่องการคบเพื่อนของนักเรียน โดยเลือกคบเพื่อนที่มีความประพฤติดีจะได้ชัก จูงไปในทางที่ดี 4.5 ควรห้ามนักเรียนสูบบุหรี่ดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ เสพยาเสพติดให้โทษและเล่นการ พนันเด็ดขาด เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องชักจูงใจไปทางที่ไม่ดี และไม่เหมาะสมกับสภาพของนักเรียน 4.6 ควรกวดขันการเที่ยวเตร่ของนักเรียน ควรจะไปดูมหรสพกับผู้ปกครอง ไม่ควรไปในคืน อาทิตย์ถึงศุกร์ เพื่อให้นักเรียนมีการเตรียมตัวเรียนในวันรุ่งขึ้นได้อย่างเต็มที่ 4.7 คอยสอดส่องและป้องกันอย่าให้นักเรียนกระทากรอันใดเกี่ยวไปในทางชู้สาว ต้องพยายาม ชี้แจงอบรมให้นักเรียนเข้าใจ รวมทั้งจัดงานสังสรรค์ หรือร่วมงานสังสรรค์ใดๆ ที่โรงเรียนมีได้จัดขึ้น 4.8 คอยแนะนาตักเตือน และอบรมสั่งสอนให้นักเรียนดารงตนอยู่ในศีลธรรม กิริ ยามารยาท เรียบร้อยมีสัมมาคารวะ รู้จักประพฤติในสิ่งที่ควรประพฤติ ละเว้นในสิ่งที่ควรเว้น 4.9 อบรมให้เป็นผู้มีนิสัยรักความเรียบร้อย และความสะอาดทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับตนเองและ เกี่ยวกับครอบครัว โดยการช่วยงานที่บ้านตามควรแก่กาลังและเวลา 4.10 ไม่ ค วรให้ นั ก เรี ย นท างานที่ ไ ม่ ส มควรกั บ วั ย และภาวะนั ก เรี ย น เช่ น เสิ ร์ ฟ อาหาร ช่วยต้อนรับแขกในร้านอาหาร ทางานในบาร์หรือไนต์คลับ ทางานในสถานอาบอบนวด เป็นต้น ไม่ควรใช้ เด็กไปซื้อสุรา หรือเบียร์และไม่ควรให้เด็กออกจากบ้านยามวิกาล(หลังเวลา 22.00 น.)อันจะเกิดอันตราย ได้ง่าย 5. กำรอนำมัย 5.1 ช่วยดูแลรักษาความสะอาดร่ างกาย เสื้อผ้า เครื่องเล่าเรียน และเครื่องใช้ทุกอย่างของ นักเรียนตลอดจนสถานที่อยู่อาศัย โปรดอย่าส่งเสริมให้นักเรียนดัด ผมซอยผม และใช้เครื่องสาอางหรือ แต่งกายผิดระเบียบของโรงเรียน 5.2 ควรให้นักเรียนรับประทานอาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อร่างกาย เพื่อความเจริญเติบโตและ แข็งแรงและให้ได้รับประทานอาหารตรงเวลาเสมอ 5.3 ควรให้นักเรียนออกกาลังกายบ้าง ด้วยการช่วยเหลือการงานในบ้าน หรือออกกาลังกายโดย เล่นกีฬาตามสมควร 5.4 ดูแลให้นักเรียนได้พักผ่อนและหลับนอนตามเวลา 5.5 คอยสังเกตและเอาใจใส่ต่อสุขภาพของนักเรียนให้ปกติอยู่เสมอ หากผิดปกติต้องนาไป ปรึกษาแพทย์ทันที คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๑๑
Bannasan School 6. กำรแต่งกำยของนักเรียน 6.1 ผู้ ป กครองต้องช่ว ยดูแลนั ก เรี ยนให้ แต่ง กายสะอาดเรียบร้ อย ถูกต้องตามระเบีย บของ โรงเรียน 6.2 ไม่ควรให้นักเรียนในปกครองใช้เครื่องแต่งกายที่มีราคาแพงเกินสมควร และฟุ้งเฟ้อผิดภาวะ ของนักเรียน 6.3 โปรดห้ามใช้เครื่องประดับต่าง ๆ ที่ผิดระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ การผูกนาฬิกาก็ ควรใช้สายนาฬิกาที่สุภาพ สาหรับนักเรียน 6.4 ห้ามใช้เครื่องโทรศัพท์มือถือในขณะมีการเรียนกรสอนเว้นแต่ได้รับอนุญาตจากครูผู้สอน 6.5 การตัดผมของนั กเรียนให้เป็นไปตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ และระเบียบของ โรงเรียน 6.6 โปรดห้ามนักเรียนในความปกครองใช้เครื่องสาอางใด ๆ 6.7 ห้ามนักเรียนในปกครองใช้แว่นตารูปทรงแปลก ๆ กรอบแว่นสายตาที่นักเรียนจาเป็นต้องใช้ ควรเป็นสีดา สีน้าตาล ที่มีกรอบกะทัดรัด และสุภาพเรียบร้อย 7. กำรหยุดเรียนของนักเรียนและออกจำกโรงเรียน 7.1 เมื่อนักเรียนในปกครองของท่านมีเหตุต้องหยุดเรียน ไมว่ากรณีใดๆ ท่านจะต้องลงชื่อรับรอง ในใบลาของนักเรียนทุกครั้ง 7.2 ถ้านักเรียนหยุดเรียนเกิน 3 วันท่านจะต้องแจ้งให้ทางโรงเรียนทราบด้วยตนเอง 7.3 ถ้านั กเรี ย นหยุ ดเรี ย นเนื่ องจากป่ว ยเกิน 7 วัน ต้องมีใบรับรองแพทย์ ไปแสดงต่ อ ทาง โรงเรียนด้วย 7.4 ในแต่ละภาคเรียน หากนักเรียนจะขอพักเรียนให้ผู้ปกครองยื่นคาร้องขอพักการเรียนต่อ หัวหน้าสถานศึกษาภายใน 7 วันทาการ นับแต่วันเปิดภาคเรียน 7.5 เมื่อเปิดภาคแล้ว หากนักเรียนไม่มาเรียนโดยไม่แจ้งเหตุผลให้โรงเรียนทราบโรงเรียนจะแจ้ง หนังสือถึงผู้ปกครอง 2 ครั้ง หากผู้ปกครองไม่มาติดต่อ โรงเรียนจะจาหน่ายออก เพราะเหตุขาดเรียนนาน 7.6 นักเรียนจะต้องมีเวลาเรียน 80 % ของรายวิชาเรียนแต่ละภาคเรียน จึงจะมีสิทธิสอบใน รายวิชานั้น 7.7 เมื่อผู้ปกครองได้รับหนังสือจากโรงเรียนแจ้ง ให้ทราบ เกี่ยวกับการขาดเรียนของนักเรียน ตลอดจนเรื่องอื่น ๆ ผู้ปกครองจะต้องรีบติดต่อกับโรงเรียนทันที 7.8 ในกรณีผู้ปกครองได้รับหนังสือจากโรงเรียนแล้ว ไม่ได้มาติดต่อกับทางโรงเรียนไม่ว่ากรณี ใด ๆ โรงเรียนจาเป็นต้องให้นักเรียน พักเรียนหรือพักการเรียนแล้วแต่สถานภาพของนักเรียน ทางโรงเรียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ท่านผู้ปกครองจะอ่านและทาความเข้าใจทั้งระเบียบการปฏิบัติ ของนักเรียนและหน้าที่ของผู้ปกครองเพื่อจะได้ร่วมมือกับทางโรงเรียนอบรมและปกครองนักเรียน ซึ่งเป็น ทรัพยากรอันมีค่ายิ่งของประเทศชาติ ถ้ามีปัญหาใด ๆ หรือท่านผิดสังเกตในตัวนักเรียนหรือท่านเกิดสงสัย ใด ๆ ขอโปรดตืดต่อกับทางโรงเรียนได้ทุกโอกาส เพื่อการร่วมมือแก้ไขนักเรียนของเราให้ทันการ โรงเรียน ขอขอบคุณเป็นอย่างยิ่งที่ท่านให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียนอย่างใกล้ชิด
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๑๒
Bannasan School
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๑๓
Bannasan School
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๑๔
Bannasan School
คำสัง่ โรงเรียนบ้ำนนำสำร ที่ 110 / ๒๕๖3 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมจัดทาคู่มือนักเรียน ปีการศึกษา 2563 ********************************************* ด้วยทางกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน ได้จัดทาคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2563 เพื่อให้ นั กเรี ย นและผู้ป กครองได้รั บทราบระเบียบ และแนวปฏิบัติในการบริห ารจัดการ นักเรียน น าไปใช้เป็ น แนวทางยึ ด ถื อปฏิ บั ติ ได้ถูกต้อ งตามระเบีย บที่โ รงเรี ยนก าหนดไว้ ซึ่งปัจจุบันได้ มี ก าร เปลี่ยนแปลงไป จึงมีความ จ าเป็ น ต้ อ งปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขให้ เ ป็ น ปั จ จุ บั น ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ กั บ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และส่งผลให้นักเรียนอันเป็นผลผลิตของโรงเรียนบ้านนาสารได้ใช้ศึกษาคู่มืออย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ ดาเนินงานฝ่ายต่างๆ ดังต่อไปนี้ ๑. คณะกรรมกำรอำนวยกำร มีห น้าที่ ให้ คาปรึกษา อานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ๑.๑ นายสมชาย กิจคาม ผู้อานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ ๑.๒ นายพงษ์ศักดิ์ นาครพัฒน์ รองผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ ๑.3 นายพยนต์ ไทยเกิด รองผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ ๑.4 นางรัชนี ศิลปธีรธร ปฏิบัติหน้าที่รองผู้อานวยการ รองประธานกรรมการ 1.5 นางจรรยา ไทยทอง หัวหน้างานกิจการนักเรียน กรรมการแลเลขานุการ ๑.6 นางนิทยา บุญฤทธิ์ หัวหน้างานกิจการนักเรียน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 2. คณะกรรมกำรฝ่ำยดำเนินงำน มีหน้าที่ เก็บรวบรวมข้อมูล จัดพิมพ์ข้อมูล ติดต่อประสานงาน ครูที่เกี่ยวข้อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อมูลประกอบด้วย ประกอบด้วย 2.1 นายพงษ์ศักดิ์ นาครพัฒน์ ประธานกรรมการ 2.2 นางสาววาสนา ชัยพรหม รองประธานกรรมการ 2.3 นายนเรศ อ่อนศรี กรรมการ 2.4 นายสุรศักดิ์ ปราสาทิกะพันธ์ กรรมการ 2.5 นายสายันต์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล กรรมการ 2.6 นายอรรถพร พุทธารักษ์ กรรมการ 2.7 นายสมยศ เอกอัครบัณฑิต กรรมการ 2.8 นางอุบล ไทยเสน กรรมการ 2.9 นางจรรยา ไทยทอง กรรมการ 2.10 นางสาวจารุณี บัวแย้ม กรรมการ 2.11 นางอุษา สื่อมโนธรรม กรรมการ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๑๕
Bannasan School 2.12 นายจตุพล 2.13 นางจินตนา 2.14 นางอุรา 2.15 นางจิตราวัฒน์ 2.16 นางสาวรัตนา 2.17 นายก้องภพ 2.18 นางนิทยา 2.19 นางสาวพุทธิมา
โฉมยงค์ บัวเผียน เชิดเพชรรัตน์ อภิรัฐวงศ์ ธนเกียรติวงษ์ จรูญพงศ์ บุญฤทธิ์ ชื่นจิตร์
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
3. ตรวจสอบปรับปรุงข้อมูล มีหน้าที่ รวบรวมเอกสาร ตรวจสอบความถูกต้องของคา สระ วรรณยุกต์ และปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้อง ประกอบด้วย 3.1 นางพจนาถ ศิริสกุล ประธานกรรมการ 3.2 นางนิทยา บุญฤทธิ์ กรรมการ 3.3 นางสาววาสนา ชัยพรหม กรรมการ 3.4 นางสาวพุทธิมา ชื่นจิตร์ กรรมการ 3.5 นางจรรยา ไทยทอง กรรมการและเลขานุการ 4. จัดทำรูปเล่ม มีหน้าที่ ออกแบบ จัดรูปแบบของเล่มให้สวยงาม ประกอบด้วย 4.1 นางสาวสุชาดา เสวกสูตร ประธานกรรมการ 4.2 นางนิทยา บุญฤทธิ์ กรรมการ 4.3 นางสาววาสนา ชัยพรหม กรรมการ 4.4 นางสาวพุทธิมา ชื่นจิตร์ กรรมการ 4.5 นางจรรยา ไทยทอง กรรมการและเลขานุการ ให้ผู้ที่ได้รบั การแต่งตั้งมอบหมาย ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มศักยภาพ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ ผู้เรียนและทางโรงเรียนสืบไป สั่ง ณ วันที่ 6 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ลงชื่อ ( นายสมชาย กิจคาม ) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจำปีกำรศึกษำ 2563
๑๑๖