CHIANG MAI MAP ART

Page 1

NUTTHAKORN SOMNA

CHIANG MAI

MAP ART



สารบัญ ที่มาและตวามสำ�คํญ แนวความคิด รูปแบบเทคนิค - ศิลปะการจัดวาง - ศิลปะสื่อผสม ผลงานศิลปะ - การเปลี่ยนแปลงเมืองเชียงใหม่ - การเปลี่ยนแปลงเส้นทางระบบ ขนส่งแห่งอนาคต - ผังเมืองต้นไม้แห่งชีวิต - ความวุ่นวายสภาวะจิตภายในสังคม การวิเคระห์ผลงานสร้างสรรค์ - จากอาจารย์ - จากตนเอง - ปัญหาและอุปสรรคในการสร้างสรรค์ สรุป บรรณานุกรม ประวัติส่วนตัว

ที่มาแรงบันดาลใจ ความเป็นเมือง เป็นกระบวนการทีป ่ ระชากรมาอยูร่ วมกัน มากขึ้น ทั้งด้านจำ�นวน และความหนาแน่น ณ บริเวณใด บริ เ วณหนึ่ ง อั น เป็ น ผลทำ � ให้ วิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ข อง ประชากรเหล่านั้นเปลี่ยนไปสู่วิถีชีวิตแบบเมือง การขยายตัว ของชานเมือง เป็นลักษณะของการเปลีย ่ นแปลงทีเ่ กิดจากการ ขยายตัวของเมือง เมื่อชานเมืองมีประชากรเคลื่อนย้ายเข้าไป ตั้ ง ถิ่ น ฐ า น ห น า แ น่ น ม า ก ขึ้ น มี ค ว า ม เ จ ริ ญ ทั้ ง ด้ า น สาธารณูปโภค และอุปโภค สิง่ เหล่านีเ้ ป็นเครือ่ งชีส้ ว่ นหนึง่ ของ ลักษณะกระบวนการกลายเป็นเมืองนั่นเอง ความเป็นเมืองในช่วงหลายสิบปีทผ ี่ า่ นมากระจุกตัวอยูใ่ น เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เมื่อพูดถึงปัญหาเมืองของไทย ทุกคนจะเห็นภาพของความสับสนวุน่ วายของผูค้ นจำ�นวนมาก แต่ปจั จุบน ั โดยเฉพาะเมืองใหญ่ทไี่ ด้รบ ั การส่งเสริมให้เป็นเมือง หลักตามภูมิภาค ล้วนประสบปัญหารุมเร้าไม่ต่างกันแต่ว่า ความรุนแรงของปัญหาไม่เท่าที่เกิดขึ้นในกรุงเทพ ทั้งปัญหา การดำ�เนินชีวิต ปัญหาการจราจรติดขัด ส่งผลถึงปัญหา มลพิษที่มีผลทำ�ให้คุณภาพชีวิตของคนในสังคมนั้น ความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สภาพสังคมเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบน ั กลายเป็นศูนย์กลาง ความเจริญในระบบภูมภ ิ าค มีแผนพัฒนาและ จัดระบบบริการ พื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมให้สอดคล้องกับ มาตรการทางผั ง เมื อ ง โดยเฉพาะการปรั บ ปรุ ง ระบบ สาธารณูปการในเขตเมือง พร้อมทัง้ วางโครงข่ายการคมนาคม ขนส่งหลัก โครงข่ายถนนและระบบจราจรที่เชื่อมโยงเมือง ศูนย์กลางเข้ากับระบบเศรษฐกิจของประเทศ แผนพัฒนาและ การวางผังเมืองจึงมีความสำ�คัญต่อการพัฒนาเมืองให้มคี วาม เจริญเพิ่มมากขึ้น เมืองเชียงใหม่กลายเป็นเมืองสำ�คัญของประเทศ ปัญหา เรือ่ งการจราจรติดขัดมีความสำ�คัญมากในเมืองทีก่ ำ�ลังพัฒนา แนวคิดและการออกแบบวางแผนผังเมืองเป็นแนวคิดริเริ่มใน การสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะ และเป็นแรงบันดาลใจในการ สร้างสรรค์ผลงานโดยถ่ายทอดเรื่องราวบริบทของผังเมือง เชียงใหม่ เพื่อสะท้อนภาพและมุมมองการออกแบบผังเมือง ตระหนักถึงปัญหาความสำ�คัญของความเจริญทีจ่ ะเกิดขึน ้ ใน สังคมเมืองเชียงใหม่ และเป็นแนวทางในการพัฒนาเมืองใน อนาคต ถูกจัดการและรวมรวบองค์ความรู้ใหม่ถ่ายทอดเป็น ผลงานศิลปะการจัดวาง และศิลปะสือ่ ผสม โดยนำ�เรือ่ งราวของ บริบทแผนที่ แผนผังเมือง และแผนที่ระบบคมนาคมเมือง เชียงใหม่ถ่ายทอดและสร้างสรรค์ในรูปแบบงานศิลปะ แนวความคิด ข้าพเจ้าต้องการนำ�เสนอเรือ่ งราวบริบทของผังเมือง แผนที่ เส้นทางระบบขนส่งมวลชนเชียงใหม่ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความ สำ � คั ญ ความสั ม พั น ธ์ ข องการวางแผนพั ฒ นาออกแบบ โครงสร้างของเมืองในอนาคต


รูปแบบ เทคนิค ศิลปะจัดวาง (Installation art) ศิลปะจัดวางเกิดขึน ้ ช่วงปลายปีคริสต์ทศวรรษ 1960 เริ่มเด่นชัดในปีคริสต์ทศวรรษ 1970 จุดเริ่มต้นอยู่ที่ อเมริกาและยุโรป หมายถึงการสร้างความหมายให้กบ ั พืน ้ ที่ ด้วยการนำ�วัสดุ มาจัดการใหม่ด้วยความหมายใหม่ มิติ ใหม่ ในพื้นที่เนื้อหาเรื่องราวที่ศิลปินต้องการสื่อสารผ่าน ผลงานศิลปะจัดวาง งานศิลปะทีม่ ตี วั วัตถุทางศิลปะสัมพันธ์ เฉพาะกั บ พื้ น ที่ (Site-Specific) ศิ ล ปะจั ด วาง (Installation art ) ถูกทำ�ขึ้นเฉพาะพื้นที่นั้น เช่น ทำ�ขึ้น เพือ่ ติดตัง้ ในแกลเลอรี่ พืน ้ ทีก ่ ลางแจ้ง ความสำ�คัญของผล งานไม่ ไ ด้ อ ยู่ ที่ ศิ ล ปวั ต ถุ ชิ้ น ใดชิ้ น หนึ่ ง เท่ า นั้ น แต่ ค วาม สำ�คัญจะอยูท ่ ก ี่ ารประกอบส่วน การจัดสภาพแวดล้อมให้ มีความหมายที่ศิลปินต้องการนำ�เสนอ

Installation of 1,000 melting men in Berlin to highlight global warming, Nele Azevedo.

ศิลปะจัดวาง สามารถเป็นได้ทงั้ ชัว่ คราวหรือถาวร งาน ศิ ล ปะที่ ไ ด้ รั บ การติ ด ตั้ ง สร้ า งขึ้ น ในพื้ น ที่ จั ด แสดง นิทรรศการ เช่น พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์และพื้นที่ที่ศิลปิน กำ�หนดขึ้น Janek Schaefer. 1994. (ออนไลน์) ได้นิยามองค์ ประกอบของศิลปะจัดวางเป็น 6 องค์ประกอบดังนี้ 1. การกำ�หนดพื้นที่ติดตั้งผลงาน (Site-specific) ศิลปินสร้างผลงานเพื่อให้สัมพันธ์กับพื้นที่และตอบสนอง ต่อแนวความคิดในการสร้างสรรค์ 2. ความชั่วคราว (Temporality) คือ พื้นที่ช่วงหนึ่ง ของเวลา (Space-time) ทำ�ให้ผลงานจัดวางมีการแปร เปลีย ่ นในแต่ละครัง้ ทีน ่ ำ�ออกแสดง ในกรณีทเี่ ปลีย ่ นสถาน ที่ซึ่งโดยปกติการเปลี่ยนพื้นที่ ก็บ่อมทำ�ให้การจัดวางถูก ปรับเปลี่ยนไปด้วยเพราะเป็นสิ่งที่ต้องสัมพันธ์กัน 3. แนวความคิด (Concept) คือ เนื้อหาหลักความ คิดเพือ่ อธิบายความหมายของผลงานทีถ ่ ก ู สร้างสรรค์โดย ศิลปิน 4. การมีส่วนร่วม (Interaction) ผลงานของศิลปิน ที่ มี จุ ด มุ่ ง หมายในการสร้ า งปฎิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผลงาน พื้นที่ และผู้ชม 5. กระบวนการ (Process) การสร้างผลงานจะ ตระหนักในกระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน มากกว่าผล สำ�เร็จสุดท้าย 6. การเก็บบันทึกข้อมูล (Photo-record) ผลงาน บางชุดไม่คงทนถาวร จึงควรมีการเก็บบันทึกข้อมูลอย่าง เป็นระบบไว้ทั้งหมด

All the Submarines ot the United of Amwrica, Chris Burden

Light and Space, Allan Kaprow


Postmodern art approaches include: mixed media, appropriation, hybridization, layering, recontextualization, collaboration, and irony. Artist: Nam June Paik Date: 1990 Medium: Mixed media, Media Arts, Multimedia Size: overall installed 148 x 64 x 48 inches Institution: Walker Art Center Accession #: 1990.194.1-.6


ศิลปะสื่อผสม (Installation art) ศิลปะสื่อผสม เป็นวิจิตรศิลป์ ในการนำ�สื่อหรือศิลปะ มากกว่าสองชนิดมารวมกัน และสร้างออกมาเป็นงานชิ้น เดียว โดยมักจะใช้สื่อ หรือชนิดของงานศิลปะที่ต่างกัน และ นำ�จุดเด่นของสื่อและงานศิลปะนั้น เข้ามารวมกัน โดยผสม ผสานออกมาเป็นงาน 2 มิติ หรือ 3

สมัยช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ทางฝั่งตะวันตกนิยมแบ่ง ศาสตร์ออกจากกัน ในยุคนัน ้ ศิลปะจึงถูกตีกรอบบังคับ งาน จิตรกรรม ประติมากรรม และสื่อ จึงถูกแยกออกจากกัน โดยสิ้นเชิง ต่อมาช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ใน ยุคศิลปะร่วมสมัย ความเคร่งครัดในการแบ่งประเภทแยก ศาสตร์เริม ่ คลายตัว การผสมสือ่ จึงได้กลายเป็นธรรมเนียม ปฏิบัติปกติ ในการศึกษาและการทำ�งานศิลปะ จึงเกิดงาน ผสมผสาน สื่อผสม เกิดขึ้น โดยพื้นฐานของสื่อผสมแล้ว การผสมผสานสือ่ ทีแ่ ตกต่างกันไม่ใช่สงิ่ ประดิษฐ์ทค ี่ ด ิ ค้นขึน ้ ใหม่ เพราะผลงานศิลปะและงานหัตถกรรมในวัฒนธรรมทั่ว โลก ทีท ่ ำ�สืบทอดกันมาหลายศตวรรษ ต่างก็มลี ก ั ษณะผสม สือ่ ทีต่ า่ งกันอยูค่ อ่ นข้างมาก จะเห็นได้จากงานไม้แกะสลักของ ชนเผ่า ทีม ่ ก ี ารแกะสลักไม้ให้เป็นงาน 3 มิติ มีการลงสีและติด ปะด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่น เปลือกหอย เขี้ยวสัตว์ กระดูก สัตว์ ผสมเข้าไปด้วย

ศิลปะสื่อผสม จะมีการนำ�สื่อพวกภาพถ่าย วิดีโอ เข้า มาประกอบด้วย จึงมีการเรียกทีแ่ ตกออกไปเป็น Intermedia หรือ Multimedia แต่ปัจจุบัน จะเป็นที่เข้าใจกันว่าคำ�ศัพท์ Multimedia นี้ จะใช้เรียกกับงานที่ทำ�ขึ้นจากคอมพิวเตอร์ กราฟิกทีม่ ภ ี าพเคลือ่ นไหวและเสียงประกอบกันขึน ้ มาเท่านัน ้ ส่วน Mixed Media หรือสื่อผสมที่เรากำ�ลังพูดถึงกันอยู่นี้ จะเป็นงานด้านทัศนศิลป์ งานศิลปะ (Visual Art) แต่เพียง อย่างเดียว

ศิลปะสื่อผสม นอกจากการผสมของสื่อแล้ว ยังหมาย รวมไปถึงงานศิลปะที่มีการใช้วัสดุผสม หรือกรรมวิธี หรือ วิธีการในการสร้างสรรค์ในลักษณะผสม เช่น กรรมวิธีของ จิตรกรรมผสมกับกรรมวิธที างประติมากรรม ศิลปินบางคน อาจไม่ใช้คำ�ว่า “Mixed Media” กับงานของเขา แต่จะระบุให้ แน่นอนลงไปเลยว่า ใช้วัสดุหรือกรรมวิธีอะไรบ้าง บางคนก็ ใช้คำ�อื่นที่มีความหมายในทำ�นองเดียวกันเช่น Assorted Materials, Combined Materials, Combined Painting, Mixed Mediums และบางคนก็ ใ ช้ Mixed Media Environment


ผลงานศิลปะ การเปลี่ยนแปลงเมืองเชียงใหม่ การเปลี่ยนแปลงเส้นทางขนส่งอนาคต ผังเมืองต้นไม้แห่งชีวิต ความวุ่นวายสภาวะจิตภายในสังคม


การเปลี่ยนแปลงเมืองเชียงใหม่

เทคนิค : ศิลปะสื่อผสม ขนาด : ปรับเปลี่ยนตามพื้นที่


การเปลี่ยนแปลงเมืองเชียงใหม่ แนวความคิด ข้าพเจ้าต้องการนำ�เสนอภาพเชิงซ้อนถึงสภาวะความไม่ แน่นอน เปรียบเทียบความงามของสิ่งที่มีอยู่กับสิ่งที่กำ�ลัง พัฒนาสูก่ ารเปลีย่ นแปลง และแสดงให้เห็นถึงความสำ�คัญของ ระบบขนส่ ง มวลชนและสถาปั ต ยกรรมที่ มี โ ครงสร้ า งปรั บ เปลี่ยนไปตามกาลเวลา ที่มาและความสำ�คัญ สังคมเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน เริ่มมีความเจริญเข้ามา ในสั ง คมเพิ่ ม ขึ้ น ควบคู่ กั บ การพั ฒ นาเทคโนโลยี สภาพ แวดล้อมความเป็นอยู่ วิถีชีวิตถูกเปลี่ยนแปลงและพัฒนา สังคมปัจจุบันเป็นสังคมเร่งรีบมีการแข่งขันสูง เกิดความ เปลี่ยนแปลงทางด้านของวิถีชีวิต และการปรับเปลี่ยนของ ทัศนียภาพของเมือง ทำ�ให้เกิดปัญหาการจราจร ปัญหา มลพิษ มีผลกระทบต่ออาคาร บ้านเรือน แสดงให้เห็นถึงความ ไม่ แ น่ น อนในสั ง คมปั จ จุ บั น ทั้ ง นี้ ก ารศึ ก ษาข้ อ มู ล การ สร้างสรรค์ เกิดเป็นแรงบันดาลใจทีถ่ า่ ยทอดถึงเรือ่ งราวบริบท ของเมืองเชียงใหม่ โดยใช้รูปทรงมุมมองโครงสร้างของสถาน ที่ในจังหวัดเชียงใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลง และการพัฒนา เทคโนโลยีระบบการขนส่งเพือ่ แก้ไขปัญหาจราจรถ่ายทอดถึง รู ป ทรงความไม่ แ น่ น อนของสิ่ ง ที่ ถู ก สร้ า งขึ้ น ซึ่ ง มี ก าร เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และการนำ�แนวคิดวิถีชีวิต ปัญหา ของสังคมเมืองที่อาศัยอยู่มาออกแบบสร้างสรรค์ผลงาน วิธีการสร้างสรรค์ รูปแบบและเทคนิค ข้าพเจ้าใช้เทคนิคการฉายวิดีโอลงบนแผ่นใส ที่ถูกจัด วางทับซ้อนกันให้เกิดระยะเป็นงานจิตรกรรมมากกว่า 2 มิติ มาสร้ างสรรค์และจัดองค์ประกอบผ่ านงานศิ ลปะสื่อผสม (Mixed Media) วัตถุประสงค์ ถ่ายทอดแนวความคิดแรงบันดาลใจและความรู้สึกถึง ความไม่แน่นอน ของการเปลีย ่ นแปลงระบบขนส่งมวลชนและ สถาปัตยกรรมที่ถูกปรบเปลี่ยนโครงสร้างตามกาลเวลา ผลที่คาดว่าจะได้รับ เพือ่ ถ่ายทอดมุมมองของการเปลีย่ นแปลงเมืองเชียงใหม่ ทั้งระบบขนส่งมวลชนและสถาปัตยกรรมที่ถูกปรับเปลี่ยน โครงสร้ า งไปตามกาลเวลา สะท้ อ นถึ ง การพั ฒ นาและหา แนวทางแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในสังคมเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบนั


การเปลี่ยนแปลงเส้นทางระบบขนส่งแห่งอนาคต

เทคนิค : ศิลปะการจัดวาง ขนาด : ปรับเปลี่ยนตามพื้นที่


การเปลี่ยนแปลงเส้นทาง ระบบขนส่งแห่งอนาคต แนวความคิด ข้าพเจ้าต้องการนำ�เสนอถึงมุมมองภาพสะท้อนความไม่ มั่นคงของสังคมปัจจุบัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาเพิ่ม มากขึ้นของระบบขนส่งมวล เพื่อสะท้อนความไม่แน่นอนของ สังคมที่กำ�ลังพัฒนา ที่มาและความสำ�คัญ สังคมเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน เริ่มมีความเจริญเข้ามา ในสจากสภาพสังคมปัจจุบน ั ของเมืองเชียงใหม่มค ี วามเจริญ และพัฒนาเป็นเมืองเศรษฐกิจ ระบบคมนาคมจึงมีความ สำ�คัญในการติดต่อสื่อสาร ปัญหาสำ�คัญที่สุดคือเรื่องรูป แบบของระบบการขนส่งการขนส่งในจังหวัดเชียงใหม่ มีรูป แบบเดียวเป็นผลกระทบถึงปัญหาการจราจร เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของจำ�นวนทรัพยากรทีเ่ พิม่ มากขึน้ ต่อปริมาณ ของระบบขนส่งมวลชน ข้าพเจ้าสนใจเรื่องของการศึกษา ระบบขนส่ง แนวทางและแผนพัฒนาระบบขนส่งมวลชนของ เมืองเชียงใหม่ และการวางรากฐานของเมือง การวางผังเมือง เพือ่ แก้ไขปัญหาการจราจร นำ�แนวคิดการพัฒนามาเป็นส่วน หนึง่ ในผลงงานสร้างสรรค์ โดยใช้หลักความคิดการวางผังมือ งการออกแบบโครงสร้าง ระบบขนส่งมวลชนของเมืองให้มี ความหลากหลาย ให้มีความสะดวกสบายต่อสังคม เกิดเป็น แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานครั้งนี้ วิธีการสร้างสรรค์ รูปแบบและเทคนิค ข้ า พเจ้ า ได้ นำ � รู ป แบบเส้ น ของผั ง เมื อ งและรู ป แบบ การขนส่งมวลชนรูปแบบอื่น โดยเลือกใช้วัสดุ สายไฟ และ แผ่นที่จริงมาสร้างสรรค์และจัดองค์ประกอบ ผ่านศิลปะการ จัดวาง วัตถุประสงค์ ถ่ายทอดแนวความคิดเกีย ่ วกับความไม่มน ั่ คงของระบบ ขนส่งมวลชน ทีม่ ก ี ารเปลีย่ นแปลงตามสังคมปัจจุบน ั ให้ผชุ้ ม เห็นถึงความสำ�คัญของแผนพัฒนาทัง้ เรือ่ งการวางโครงสร้าง ผังเมือง การออกแบบเมือง และการวางระบบขนส่งเพือ่ มวลชน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ถ่ายทอดแนวความคิดและแรงบันดาลใจ เพื่อสะท้อนให้ แก่สังคมในปัจจุบันได้เรียนรู้และเข้าใจในแผนพัฒนาระบบ ขนส่งที่มีความสำ�คัญ


ผังเมืองต้นไม้แห่งชีวิต

เทคนิค : ศิลปะการจัดวาง ขนาด : ปรับเปลี่ยนตามพื้นที่


ผังเมืองต้นไม้แห่งชีวิต แนวความคิด ข้าพเจ้าแสดงออกถึงรูปแบบความงามของต้นไม้ ทีร่ บั แรง บันดาลใจมากจากธรรมชาติโดยใช้ผังเมืองเป็นจุดเด่นของ โครงสร้างในการสร้างสรรค์ผลงานเพือ่ สะท้อนถึงวัฎจักรของ ชีวิตมนุษย์เปรียบเทียบกับต้นไม้ ทุกสิ่งเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และ ดับไปตามกาลเวลา ที่มาและความสำ�คัญ สังคมในปัจจุบนั เป็นสังคมทีม่ คี วามเจริญเติบโตขึน้ อย่าง รวดเร็วทั้งความเจริญทางด้านวัตถุ เป็นศูนย์กลางความ เจริญทางด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีที่ตอบสนองพฤติกรรม ของมนุษย์เพิม่ มากขึน้ ส่งผลให้คนในสังคมชอบความสะดวก สบาย สนุกสนาน การไม่เคร่งครัดต่อระเบียบวินัยเป็นผลให้ เกิดความย่อหย่อนในการรักษา กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ และ กติกาของสังคม ผู้คนจะมีการแข่งขันกันสูง เป็นการแข่งขัน เพือ่ ชัยชนะคูแ่ ข่ง หรือเพือ่ ความอยูร่ อดในสังคม ความเจริญ เติบโตของสังคมมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นซึ่งส่วนทางกับกรอบ ระเบียบของสังคมที่ลดน้อยลงตามโครงสร้าง แบบแผนที่ กำ�หนดไว้ การเจริญเติบโตของสังคมโครงสร้างที่เพิ่มจำ�นวนเพิ่ม มากขึ้น เปรียบเสมือนกับต้นไม้ต้นหนึ่งที่ถูกปลูกขึ้น และ กำ�ลังเจริญเติบโตขึน ้ อย่างรวดเร็ว รากยิง่ หลัง่ ลึกยิง่ ถอนยาก ขึน ้ ต้นไม้จะสวยงามและมีคณ ุ ค่าเหมาะสมกับพืน ้ ทีน ่ น ั้ ต้นไม้ หนึ่งต้นเปรียบเหมือนชีวิตหนึ่งชีวิตมีวัฎจักรของมันเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปนั่นเอง จากแนวความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องของการเจริญ เติบโต โครงสร้างของสังคมเมือง และการนำ�แนวความคิดเรือ่ ง ของต้นไม้ มาศึกษาและสร้างสรรค์ข้อมูลผ่านผลงานศิลปะ การจัดวาง วิธีการสร้างสรรค์ รูปแบบและเทคนิค ข้ า พเจ้ า ใช้ เ ทคนิ ค การตั ด การดาษเป็ น โครงสร้ า งช่ อ ง สี่เหลี่ยมเล็ก จัดวางให้ซ้อนทับกัน และใช้กระดาษตัดเป็นรูป ดอกไม้ที่มีรูปแบบแตกต่างกันทั้งขนาด และชนิดของดอกไม้ นำ�มาสร้างสรรค์และจัดองค์ประกอบผ่านศิลปะการจัดวาง วัตถุประสงค์ เพื่อแสดงให้เห็นถึงวัฎจักรของชีวิต ทุกสิ่งทุกอย่าตั้งขึ้น อยู่ และดับลงตามลำ�ดับ ผลที่คาดว่าจะได้รับ เพื่อให้ผู้ชมตระหนักถึงและเข้าใจในกฎของชีวิตทุกสิ่งมี เวลาเป็นตัวกำ�หนด การใช้ชีวิตในสังคมตั้งอยู่ในความไม่ ประมาท มีสติ สมาธิเสมอในการใช้ชีวิตในสังคมปัจจุบัน


ความวุ่นวายสภาวะจิตในสังคมเมือง

เทคนิค : ศิลปะการจัดวาง ขนาด : ปรับเปลี่ยนตามพื้นที่


ความวุ่นวายสภาวะจิตใน สังคมเมือง แนวความคิด ข้าพเจ้าต้องการนำ�เสนอถึงสภาวะความสับสน วุ่นวาย ภายในภาวะจิต การถ่ายทอดถึงบริบทของเส้นที่มีทิศทางไม่ แน่นอนเพื่อสะท้อนให้เห็นความไม่มั่นคงในสภาวะจิตภายใน การดำ�เนินชีวิตในสังคมเมือง ที่มาและความสำ�คัญ ข้าพเจ้ามีความสนใจในเรือ่ งของงานตัดกระดาษ ข้าพเจ้า ได้ซึมซับถึงกิจกรรมยามว่างของมารดาในสมัยเด็ก เกิดเป็น พฤติกรรมที่เลียนแบบการกระทำ�ของมารดา โดยใช้สมาธิ จดจ่ อ กั บ สิ่ ง ที่ ส นใจอยู่ ส่ ง ผลต่ อ การฝึ ก สมาธิ ใ นวั ย เด็ ก ข้าพเจ้าได้เรียนรู้และพัฒนาฝีมือจากมารดา เป็นช่วงเวลาใน วัยเด็กที่มีความสุขกับการใช้ชีวิตที่เรียบง่ายในสังคมชนบท ปัจจุบน ั ข้าพเจ้าได้มาอาศัยในสังคมเมืองทีห่ า่ งไกลบ้าน ได้พบ เจอกับปัญหาและเรียนรู้การดำ�เนินชีวิตตามลำ�พังในสังคม เมือง สังคมเมืองเป็นสังคมที่มีความเจริญ การดำ�เนินชีวิตมี การแข่งขัน การดำ�เนินชีวิตต้องเร่งรีบขึ้น การใช้ชีวิตตาม ลำ�พังเกิดความสับสนในการดำ�เนินชีวิตบางช่วง เกิดความ วุ่นวายขึ้นในสภาวะจิตในการใช้ชีวิตตามลำ�พัง ในเวลาหนึ่ง ข้าพเจ้าใช้งานตัดกระดาษ ในเรื่องของการฝึกสมาธิในสภาวะ จิตที่สับสันวุ่นวายของข้าพเจ้า จากประสบการณ์ที่ได้เรียน รู้มากจากมารดา และประสบการณ์ที่ข้าพเจ้าสนใจเพื่อสงบ อารมณ์และสร้างสรรค์ผลงาน ข้าพเจ้าจึงแนวคิดที่มา เรื่องราวในวัยเด็กมาถ่ายทอดผ่านการใช้ชีวิตในสังคม เมือง เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงสภาวะจิตข้างใน ในการใช้ดำ�เนิน ชีวิตตามลำ�พังในสังคมเมือง วิธีการสร้างสรรค์ รูปแบบและเทคนิค ข้าพเจ้าใช้เทคนิคตัดกระดาษและได้นำ�รูปแบบเส้นของ ผังเมืองกับวัสดุทใี่ ช้เดินเส้นเ และโคมไฟ มาสร้างสรรค์และจัด องค์ประกอบ ผ่านศิลปะการจัดวาง วัตถุประสงค์ ถ่ า ยทอดแนวความคิ ด แรงบั น ดาลใจและความรู้ สึ ก ภายในสภาวะจิต ของข้าพเจ้าในการดำ�เนินชีวต ิ ในสังคมเมือง ผลที่คาดว่าจะได้รับ เพื่อถ่ายทอดมุมมองการดำ�เนินชีวิตในสังคมใหญ่ ที่มี ความวุน ่ วายภายในสภาวะจิต ให้เห็นถึงภาพมุมมองของการ ใช้ชีวิตสังคมในปัจจุบัน


การวิเคราะห์ผลงานสร้างสรรค์ จากอาจารย์ จากภาพรวมทัง้ หมดของการสร้างสรรค์ผลงานในช่วง แรก มีการแบ่งเนื้อหาของผลงานออกเป็นหลายประเด็น มากเกินไป ผลงานช่วงหลังแต่ละชิน ้ มีพฒ ั นาการความต่อ เนือ่ ง เห็นถึงความใส่ใจ แต่ประเด็นของผลงานยังตีความได้ ไม่สมบูรณ์ เทคนิควิธก ี ารนำ�เสนอเริม่ มีความน่าสนใจมาก ขึ้น เห็นแนวทางที่จะสามารถพัฒนารูปแบบของผลงานใน อนาคตได้ ควรศึกษาเทคนิควิธีการเพิ่มเติม เรียนรู้และ เข้าใจให้มากยิ่งขึ้นจะทำ�ให้งานศิลปะมีความสมบูรณ จากตนเอง ในการสร้างสรรค์ผลงานแต่ละชิ้นงาน ได้พัฒนาผล งานตามคำ�แนะนำ�ของอาจารย์ และได้มีการศึกษาหาข้อมูล เพิ่มเติม ประกอบกับความพยายามที่จะพัฒนาผลงาน อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ รูปแบบ เทคนิคงาน แนวความคิด และการ ตีความในทางศิลปะ

ปัญหาและอุปสรรคในการสร้างสรรค์ จากการสร้างสรรค์งานศิลปะทีผ ่ า่ นมา ในแต่ละชิน ้ งาน ที่มีการสร้างสรรค์ขึ้นมานั้น ต่างก็มีปัญหาและอุปสรรคที่ แตกต่างกัน ดังนี้ 1. เนือ้ หาของผลงานศิลปะควรตีความหมายให้ชด ั เจน และ ควรเปิดมุมมองให้ผู้ชมได้มีส่วนร่วม ทั้งความคิด และรูป แบบงาน 2. การจัดการผลงานศิลปะยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่อง ของการใช้พน ื้ ที่ ทีว่ า่ ง และรูปแบบของผลงานศิลปะการจัด วาง และสื่อผสม 3. รูปแบบ วัสดุที่ใช้ในการสร้างสรรค์ควรสอดคล้องกับ เรื่องราว เนื้อหาที่นำ�เสนอ เทคนิคงานบางอย่างมีความน่า สนใจแต่ยังขาดจัดการเทคนิคที่ดี ควรศึกษาเพิ่มเติมและ ดึงความน่าสนใจใช้ให้ถูกประเด็น

สรุป ผลงานศิลปะชุดนี้เป็นการสร้างสรรค์ที่มุ่งแสดงสาระ ของเรื่องราว ประสบการณ์ที่ได้รับจากเหตุการณ์ความ เปลีย่ นแปลงทีข่ า้ พเจ้าได้ประสบพบเจอมาในสังคมเมืองทีม่ ี การขยายตัวเพื่อให้เพียงพอต่อจำ�นวนประชากรเพิ่มมาก ขึ้น ปัจจุบันสังคมที่มีความเจริญทางด้านวัตถุ เรื่องของ ระบบขนส่งคมนาคม และการวางแผนออกแบบผังเมือง สิง่ เหล่ า นี้ ล้ ว นเป็ น แรงบั น ดาลใจในการศึ ก ษาค้ น คว้ า ผล งานการสร้างสรรค์ ของการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน ้ โดยการ สร้างสรรค์มก ี ารวิเคราะห์ขอ้ มูลหลายๆ ด้าน การประมวล ความรู้เข้าสู่กระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน นอกจากการ สะท้อนปัญหาความไม่แน่นอนในสังคมทีเ่ กิดขึน ้ ยังเป็นการ แสดงออกทางด้านความคิด ความรู้สึกส่วนตัวที่รับรู้โดย การแสดงออกผ่านการสร้างสรรค์ศิลปะการจัดวาง และ ศิลปะสื่อผสม จากการสร้างสรรค์และการพัฒนางาน 4 ชุด ข้าพเจ้า หวังว่าผลงานศิลปะชุดนีจ้ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การค้นคว้าและ กระบวนการสร้างสรรค์ทางศิลปะต่อผู้ที่สนใจต่อไป


บรรณานุกรม ดรณี ถวิลพิพัฒน์กุล. กระบวนการเป็นเมืองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในประเทศกำ�ลังพัฒนา. กรุงเทพฯ:สำ�นักพิมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2549. ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตยม์ เจริญเมือง. (2548). เมืองยั่งยืนในเชียงใหม่: แนวคิดและประสบการณ์ ของเมืองในหุบเขา. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประยูร อุลุชาฎะ. วัดบวกครกหลวง.กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2544. (12-78) วัดบวกครกหลวง.วิกิพีเดีย:วัดบวกครก [ออนไลน์],เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2557 เข้าถึงได้จากhttp://th.wikipedia.org/วัดบวกครกหลวง


ประวัติ

ชื่อ-สกุล เกิด ที่อยู่ โทรศัพท์ Email

: นายณัฐกรณ์ สมนา : 30 ธันวาคม 2534 : 19 หมู่ 12 บ้านเกาะทุ่งม่านตำ�บล ป่าพลู อำ�เภอ บ้านโฮ่ง จังหวัดลำ�พูน 51130 : 0816739797 : Nutthakorn_som@hotmail.com

ประวัติการศึกษา - ปริญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาเอกศิลปะไทย คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จ.เชียงใหม่ - ปัจจุบันกำ�ลังศึกษา คณะวิจิตรศิลป์ สาขาทัศนศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประวัติการแสดงผลงาน 2556 - ร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการ ก้าวแรกสู่ศิลปะไทย ครั้งที่ 3 2556 - ร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการศิลปะโดยกลุ่ม“Smart Art Exhibition” ณ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงใหม่ 2557 - ร่วมแสดงนิทรรศการ“การแสดงศิลปนิพนธ์ ART THESIS” ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.