LIST OF CONTENT FIRST PAGE
1
DETAIL
2
LIST OF CONTENT
3
INTRODUCTION
4 5
POSSIBLE OF PROJECT
6 10
SITE ANALYSIS
11 13
AREA REQUIRMENT
14 29
CASE STUDY
30 35
SYSTEM
36 41
LAW
42 44
WORK PROCESS
45 47
DRAFT
48 49
FINAL WORK
50 70
INTRODUCTION
POSSIBLE OF PROJECT
SITE ANALYSIS
AREA REQUIRMENT
FUNCTION
FUNCTION
AREA REQUIRMENT
AREA REQUIRMENT
AREA REQUIRMENT
AREA REQUIRMENT
AREA REQUIRMENT
AREA REQUIRMENT
AREA REQUIRMENT
AREA REQUIRMENT
AREA REQUIRMENT
CASE STUDY
CASE STUDY
CASE STUDY
CASE STUDY
CASE STUDY
CASE STUDY
SYSTEM
ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ
ระบบการจ่ายลมเย็นของระบบปรับอากาศ (Ventilation) ส่วนสาคัญของ ระบบปรับอากาศ HVAC ที่นอกจากระบบการทาความเย็น (Air-conditioning) แล้ว ระบบหมุนเวียนอากาศ (Ventilation) ก็เป็นอีกระบบหนึ่งที่ควบคุมคุณภาพของอากาศให้เป็นไปตามที่ ต้องการได้ ซึ่งระบบหมุนเวียนอากาศแบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบหมุนเวียนอากาศสาหรับระบบปรับอากาศแบบไม่มีท่อส่งลม ระบบนี้ใช้เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนในพื้นที่ปรับอากาศ โดยอากาศในพื้นที่จะถูกพัดลมดูด หมุนเวียนไปยังคอยล์เย็นแล้วส่งกลับไปที่ห้องปรับอากาศอีกครั้ง มีการระบายอากาศโดยพัดลมดูด อากาศที่ทาหน้าที่ดูดอากาศออกไปทิ้งยังภายนอก และเติมอากาศใหม่โดยอาศัยการแทรกซึมของ อากาศตามช่องลม ขอบหน้าต่าง หรือขอบใต้ประตู 2. ระบบหมุนเวียนอากาศสาหรับระบบปรับอากาศแบบมีท่อส่งลม ระบบปรับอากาศที่ใช้ท่อส่งลมเย็นมักเป็นระบบปรับอากาศขนาดใหญ่ โดยอากาศในพื้นที่ที่ต้องการ ปรับอากาศจะถูกพัดลมดูดหมุนเวียนอากาศกลับไปที่คอยล์เย็นผ่านทางท่อลม ซึ่งในขณะที่หมุนเวียน อากาศอยู่ก็จะมีการเติมอากาศใหม่จากภายนอกเข้าไปเพื่อช่วยเพิ่มคุณภาพของอากาศ และส่งกลับไป ยังพื้นที่ปรับอากาศ การควบคุมคุณภาพอากาศ คุณภาพของอากาศจะถูกพิจารณาโดยระดับความบริสุทธิ์ของอากาศ ซึ่งแบ่งคุณภาพอากาศ ออกเป็นหลายระดับ โดยมีผลต่อทั้งภาวะการปรับอากาศและสุขภาพของมนุษย์ และอากาศที่มี คุณภาพต่านั้นจะประกอบไปด้วยสิง่ เจือปน เช่น ควันบุหรี่ ฝุ่นละออง ก๊าซพิษ ดังนั้นการปรับปรุง คุณภาพอากาศให้ดีขึ้นควรติดตั้งเครื่องดักจับหรือเจือจางสิง่ เจือปนต่างๆ เพื่อกรอกให้อากาศมี ความสะอาดมากยิ่งขึ้น และแทนที่ด้วยอากาศบริสุทธิ์จากภายนอก
ระบบสุขาภิบาล ระบบจ่ายน้าดีหรือประปา
ระบบบาบัดน้าเสีย
ระบบน้ําโสโครก
ระบบสุขาภิบาล ระบบท่ออากาศ
ระบบระบายน้าฝน 1. ระบบระบายน้าฝนแบบดั้งเดิม (Gravity System) Gravity System หรือระบบระบายน้าฝนตามธรรมชาติโดยใช้แรงโน้มถ่วงของโลก ข้อเสียอย่างหนึ่งของระบบระบายน้าฝนนี้คือ ระบายน้าได้น้อยไม่ เต็มประสิทธิภาพ เนื่องจากระบบจะดูดอากาศลงไปท่อจานวนมาก น้าจะไหลวนเกาะขอบท่อลงไปได้เพียง 33% ของพื้นที่ภายในท่อ ทาให้ต้องใช้ท่อ ขนาดใหญ่และปริมาณมาก 2. ระบบระบายน้าฝนแบบ Siphonic (JAS Siphonic) ระบบไซโฟนิค (Siphonic) คือระบบระบายน้าฝนที่สามารถระบายน้าได้อย่างรวดเร็วกว่า เมื่อเทียบกับระบบกราวิตี้ (Gravity) (ตามตารางเปรียบเทียบ) ความแตกต่างของระบบระบายน้าฝนแบบไซโฟนิค (Siphonic)กับระบบระบายน้าฝนกราวิตี้ (Gravity) ประการแรกคือ ตะแกรงหัวระบายน้าฝนแบบ ไซโฟนิค (Siphonic) ที่ได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อ ป้องกันการเกิดน้าวน โดยป้องกันอากาศเข้าไปในระบบท่อ ประการที่สอง ท่อระบายน้าฝนจะ ถูกออกแบบอย่างละเอียด เพื่อให้ระบบทางานแบบไซโฟนิค (Siphonic) โดยการ Balance ความเร็ว แรงดันติดลบ และอัตราการระบายน้า ช่วยให้น้า สามารถไหลออกได้เร็วขึ้น ทาให้ระบบทางานได้เต็มประสิทธิภาพ
ระบบการขนส่งในอาคาร (Transportation System)
ลิฟต์ (LIFT) 1. ลิฟต์โดยสาร ใช้สาหรับรับส่งผู้โดยสารทั่วไป 2. ลิฟต์บริการใช้สาหรับโดยสารหรือส่งของ (ตามโรงงาน หรือ โรงแรม) 3. ลิฟต์ดับเพลิง ใช้สาหรับขนส่งผู้โดยสารทั่วไป แต่เมื่อเกิดเพลิงไหม้สามารถให้พนักงาน ดับเพลิงเข้ามาใช้ได้ 4.ลิฟต์ขนของ ใช้สาหรับขนของที่มีขนาด และ นาหนักมาก เพื่อเป็นการสะดวกในการขน วัสดุและอุปกรณ์ ใช้ตามโรงแรม หรือ โรงงาน
บันไดเลื่อน (Escalator) 1. โครงสร้าง (Truss Structure) 2. ลูกขั้น ( ขั้นบันได (Steps) หรือ ชั้นเหยียบ ) และโซ่ลูกขั้น (Chain Guide) 3. ราวบันได หรือ ราวมือ (Handrail) 4. ลูกกรง (Balustrade) 5. ชุดอุปกรณ์ขับ (Motor Drive ) 6. อุปกรณ์ควบคุม (Control Equipment) 7. แผ่นพื้น (floor plate)
สามารถแบ่งระบบลิฟต์ได้โดยการแยกประเภทของ Diving System แยกได้ เป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. ไฮดรอลิค (Hydraulic Elevators) 2. สลิงดึง (Traction Elevators)
ความเร็วของบันไดเลือ่ น ต้องไม่เกิน 0.5 m/s
ชนิดของลิฟต์แบบสลิงดึง (TRACTION ELEVATORS) 1. ลิฟต์ที่ไม่ต้องมีห้องเครื่อง (Machine-roomless) 2. ลิฟต์ชนิดไม่มีเกียร์ (Gearless) 3. ลิฟต์ชนิดมีเกียร์ (Geared)
ระบบลิฟต์ที่ไม่มีห้องเครื่อง ระบบลิฟต์ได้รับการออกแบบสาหรับติดตั้ง กับอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 2 จนถึง 30 ชั้น โดยใช้ลูก ล้อที่มีขนาดเล็กกว่าล้อของลิฟต์ชนิดเกียร์และชนิดไม่ มีเกียร์แบบดั้งเดิม ระบบลิฟต์ทไี่ ม่มเี กียร์ ลิฟต์ชนิดไม่มีเกียร์ สามารถปฏิบัติงานได้ ที่ ความเร็วมากกว่า 500 ฟุตต่อนาที (2.54 เมตรต่อวินาที) สาหรับลิฟต์ชนิดไม่มีเกียร์ ปลายด้านหนึ่งของเชือกลวด แขวนทั้งหมดจะยึดติดกับส่วนบนสุดของตัวลิฟต์ และ คล้องผ่านร่องของรอกขับชนิดพิเศษ ระบบลิฟต์ทมี่ เี กียร์ ลิฟต์ชนิดมีเกียร์นี้ มอเตอร์ไฟฟ้าได้ถูกออกแบบ มาเพื่อขับชุดเกียร์ลดความเร็วรอบที่ใช้ในการหมุนรอกขับ ลิฟต์ ชุดเกียร์ลดความเร็วรอบจะช่วยให้มอเตอร์ไฟฟ้า สามารถลดกา ลังไฟฟ้าที่ใช้ในการหมุนรอกขับลิฟต์ โดยทั่วไปลิฟต์ชนิดเกียร์จะมีความเร็วระหว่าง 350-500 ฟุตต่อนาที (1.7-2.5 เมตรต่อวินาที) และมีน้าหนักบรรทุก สูงสุด 30,000 ปอนด์ (13,600 กิโลกรัม)
ลิฟต์ชนิดไม่มีเกียร์ (GEARLESS ELEVATORS)
ระบบลิฟต์ที่ไม่มีห้องเครื่อง
ลิฟต์ชนิดมีเกียร์ (GEARED ELEVATORS) ระบบลิฟต์ที่ไม่มีเกียร์ ระบบลิฟต์ที่มีเกียร์
ระบบสื่อสาร (Communication System) การพาดสายและติดตั้งอุปกรณ์ โทรศัพท์บนเสาไฟฟ้า -ตู้รับสัญญาณโทรศัพท์ -ท่อร้อยสายที่ให้รหัสสีสาหรับใช้ กับอุปกรณ์ไฟฟ้าสื่อสารต่าง ๆ -การติดตั้งจานดาวเทียม -การเดินสายสัญญาณต่าง ๆ ภายในอาคาร -การตรวจสอบคู่สายของโทรศัพท์ ภายในอาคาร เช่น โรงแรม คอนโดมิเนียม -การใช้อินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย
LAW
WORK PROCESS
WORK PROCESS
WORK PROCESS
DRAFF
DRAFF
FINAL
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
CHART PRESENTATION