วิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

Page 1

เอกสารประกอบการเรียนการสอน

วิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ รหัส 2201-2316 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546)

เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ลักษณะรายวิชา รหัสและชื่อวิชา

2201-2316 การพัฒนาบุคลิกภาพ

สภาพรายวิชา

หมวดวิชาชีพ วิชาชีพสาขางาน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาพณิชยการ สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ

เวลาเรียน

18 สัปดาห

หนวยกิต

2 หนวยกิต (4 ชม./สัปดาห)

จุดประสงครายวิชา

เพื่อให 1. มีความเขาใจในการพัฒนาบุคลิกภาพ 2. สามารถนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน 3. มีเจตคติที่ดีในการพัฒนาบุคลิกภาพ

มาตรฐานรายวิชา

1. ประยุกตความรูในการพัฒนาบุคลิกภาพ 2. ปองกันและดูแลสุขอนามัยของรางกาย

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรูในการพัฒนาบุคลิกภาพ แบบของบุคลิกภาพ สุขอนามัย ศิลปะการแตงกาย กิรยิ าทาทาง การฝกใหเกิดกิจนิสัยและทักษะในการแสดงกิริยามารยาท

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

1


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ตารางแสดงและการจัดแบงหัวเรื่องและงาน หนวยที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ เปนจํานวนครั้ง 2 ครั้ง (2, 2 ชม.) ตอสัปดาห สัปดาหที่

ชั่วโมงที่

หัวขอเรื่องและงาน แนะนํารายวิชา และทดสอบกอนเรียน

1-2

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ 1. ความหมายของบุคลิกภาพ 2. การเกิดของบุคลิกภาพ

1 3-4

3. องคประกอบของบุคลิกภาพ 4. ความหมายของการพัฒนาบุคลิกภาพ

5-6

5. ประเภทของบุคลิกภาพที่ควรปรับปรุง 6. กระบวนการในการพัฒนาบุคลิกภาพ 7. ประโยชนที่ไดรับจากการมีบุคลิกภาพที่ดี

2

7

9. บุคลิกภาพที่พึงประสงคของเด็กไทยในสังคมปจจุบัน สรุปสาระความรูเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

8

ทดสอบหลังเรียน การประเมินผลหลังการเรียนรู

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

2


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หนวยที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ สาระสําคัญ ประเทศที่มีความเจริญกาวหนา เนือ่ งจากประชากรของประเทศนั้นมีการพัฒนาใหเปนบุคคลที่ดีและ มีคุณภาพ และสิ่งสําคัญที่จะชวยใหประชากรมีคุณภาพ ก็คือ การพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคลใหมีบคุ ลิกภาพ ที่ดีและเปนที่ตองการของสังคม ทั้งนี้เพราะบุคลิกภาพเปนตัวกําหนดพฤติกรรมและแบบแผนในการปรับตัว ของบุคคลใหเขากับสภาพการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสมชวยใหบุคคลอยูใ นสังคมไดอยางมีความสุข

สาระการเรียนรู ความหมายของของบุคลิกภาพ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

การเกิดของบุคลิกภาพ องคประกอบของบุคลิกภาพ ความหมายของการพัฒนาบุคลิกภาพ ประเภทของบุคลิกภาพที่ควรปรับปรุง กระบวนการในการพัฒนาบุคลิกภาพ ประโยชนที่ไดรับจากการมีบุคลิกภาพที่ดี บุคลิกภาพที่พึงประสงคของเด็กไทยในสังคมปจจุบัน

จุดประสงคการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

บอกความหมายของของบุคลิกภาพ อธิบายการเกิดของบุคลิกภาพได อธิบายองคประกอบของบุคลิกภาพได บอกความหมายของการพัฒนาบุคลิกภาพ จําแนกประเภทของบุคลิกภาพที่ควรปรับปรุง อธิบายกระบวนการในการพัฒนาบุคลิกภาพได บอกประโยชนที่ไดรับจากการมีบุคลิกภาพที่ดี บอกบุคลิกภาพที่พึงประสงคของเด็กไทยในสังคมปจจุบัน

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

3


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ความหมายของบุคลิกภาพ บุคลิกภาพ (Personality) เดิมเคยใชคําวา บุคลิกลักษณะ หมายถึง ลักษณะของบุคคล ทําให ความหมายแคบไป คําวา ลักษณะ เนนไปที่ รูปราง หนาตา ทาทางภายนอกมากกวา แตจริง ๆ แลว บุคลิกภาพยังมีความหมายรวมถึงสิ่งที่ไมสามารถมองเห็นได เชน สติปญญา และนิสัยใจคอ แตปจจุบัน นิยมใชทั่วไปวา “บุคลิกภาพ” หรือเรียกกันในบางโอกาสวา “บุคลิก” นั่นเอง (เดโช สวนานนท, 2518) บุคลิกภาพ มาจากคําวา Person ซึ่งมาจากรากศัพทภาษาลาตินวา Persona หมายถึง หนากาก ที่ตัวละครสวมเลนละครหรือแสดงบนเวทีในสมัยกรีกโบราณ เพื่อแสดงไปตามบทบาทที่ถูกกําหนด คําวา บุคลิกภาพเปนคําที่ไดรับการกลาวถึงและปรากฏอยูทั่วไป โดยมีผูใหความหมายไวตาง ๆ กัน ทั้งนักการศึกษา ของไทยและตางประเทศ นักการศึกษาไทย เชน เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ (2520, 3) ใหความหมายวา บุคลิกภาพเปนลักษณะนิสัย (Traits) ที่รวมกัน เปนแบบฉบับเฉพาะตัวของแตละบุคคลและเปนสิ่งที่ย้ําใหเห็นความแตกตางระหวางบุคคล ซึ่งพิจารณาได จากรูปแบบพฤติกรรมของบุคคลนั้นทีแ่ สดงออกหรือตอบสนอง (Interaction) ตอสิ่งแวดลอม นิภา นิธยายน (2530, 27) ไดใหคําจํากัดความของบุคลิกภาพวาครอบคลุมความหมาย 2 ประการ คือ 1. เปนความหมายที่แสดงถึงทักษะทางสังคมหรือความคลองตัว เปนความสามารถในการตอบสนอง กับบุคคลตาง ๆ ในสิ่งแวดลอมที่แตกตางกันไป ในความหมายนี้บุคลิกภาพสามารถฝกฝนได 2. พิจารณาบุคลิกภาพในลักษณะเปนสิ่งที่ติดตัวมาและแสดงออก หรือสรางความรูสึกประทับใจกับ บุคคลอื่นที่เขาติดตอดวย ซึง่ บุคคลที่ติดตอดวยจะมีความคิดเห็นตอบุคคลนั้นในลักษณะตาง ๆ เชน บุคลิกภาพกาวราว (Aggressive Personality) บุคลิกภาพยอมตามผูอื่น (Submissive Personality) กระทรวงศึกษาธิการ (2530) ไดใหความหมายไววา หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของแตละคน ที่ทําใหเรามีความแตกตางจากคนอื่น สําหรับนักจิตวิทยาชาวตางประเทศ ไดใหความหมายของบุคลิกภาพไว เชน ออลพอรท (Allport, 1937 อางถึงใน นิภา นิธยายน, 2530 : 25) กลาววา บุคลิกภาพเปน หนวยรวมที่ทรงพลังของระบบทางกายและจิตภายในตัวบุคคล ซึ่งกําหนดลักษณะการปรับตัวเปนแบบเฉพาะ ของบุคคลนั้นตอสิ่งแวดลอมของเขา นอลล (Noll, 1951) ใหความหมายไววา บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะทุกอยางในตัวบุคคลซึ่งเปน ผลรวมของอุปนิสัยและพฤติกรรม บุคลิกภาพนั้นบอกใหทราบไดวา คนนั้นคิดอะไรและรูสึกอยางไร

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

4


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สมิธ ซาราสันและซาราสัน (Smith, Sarason and Saraton,1982 : 412) กลาวถึงบุคลิกภาพวา หมายถึง การรับรูพฤติกรรมรวมทั้งหมดของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทั้งในสิง่ ที่มองเห็นได และสิ่งที่มองไมเห็น ซึ่งจะทําใหบุคคลอื่นสามารถที่จะเขาใจและแยกแยะความแตกตางของบุคคลนั้นจากบุคคลอื่นได ฟลลิป จี. ซิมบารโด และฟลอยด แอล.รูช (Zimbardo and Ruch 1980 : 292) อธิบายวา บุคลิกภาพเปนผลรวมของลักษณะเชิงจิตวิทยาของบุคคลแตละคน มีผลตอการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม หลากหลายของบุคคลนัน้ ทัง้ สวนที่เปนลักษณะภายนอกที่สังเกตไดงาย และพฤติกรรมภายในที่สังเกต ไดยาก ลักษณะที่หลากหลายดังกลาวสงผลใหบุคคลแสดงออกตางกันในแตละสถานการณและชวงเวลา กลาวโดยสรุป บุคลิกภาพของแตละคนจะเปนสิ่งประจําตัวของคนคนนั้น ที่ทําใหแตกตางจากคนอื่น และมีหลายสิ่งหลายอยางที่จะประกอบกันทําใหคนแตละคนมีบุคลิกภาพเปนของตัวเอง ทั้งสวนที่มองเห็นจาก ภายนอก ไดแก รูปราง หนาตา กิริยาทาทางตาง ๆ และทีม่ องไมเห็น เชน ความรูสึกนึกคิด ทัศนคติ เปนตน

การเกิดของบุคลิกภาพ นักจิตวิทยาไดพยายามศึกษาวา บุคลิกภาพเกิดขึ้นไดอยางไร และไดผลการศึกษาที่ตรงกันวามี องคประกอบ 2 ประการ ที่มอี ิทธิพลตอการเกิดบุคลิกภาพของมนุษย อันไดแก พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม 1) พันธุกรรม (Heredity) เปนสิ่งที่อยูน อกเหนือการควบคุมใด ๆ ทัง้ สิ้น บุคคลไดรบั การถายทอด กรรมพันธุโดยผานทางยีน (Genes) ดวยวิธีการสืบพันธุจากบรรพบุรษุ มาสูลูกหลาน จึงพบวา รุนลูกจะมี ลักษณะหลักตาง ๆ เหมือนพอบางและเหมือนแมบาง เปนตนวาลักษณะทางกาย ผิวพรรณ หนาตา โครงสรางของรางกาย และสติปญญา

รูปที่ 1 ที่มารูปภาพ : www.oknation.net

ภาพที่ 1.1 การถายทอดทางพันธุกรรม ที่มา : www.oknation.net

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

5


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ลักษณะที่ถายทอดทางพันธุกรรม ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมโดย Genes สามารถสงผลใหลูกหลานนัน้ แบงไดเปนสองทางคือ ลักษณะทางรางกาย และลักษณะทางจิต 1.1 ลักษณะทางรางกาย ลักษณะทางกายสามารถอธิบายไดดังตอไปนี้ คือ 1) ลักษณะของสี ไดแก สีที่ปรากฏอยูในสวนตาง ๆ ของรางกาย บางคนมีสีผิวขาวหรือ บางคนมีสีผิวเปนสีแทนหรือน้ําตาล สีของผิวหนังรวมไปถึงลักษณะความหยาบและความละเอียดของผิวหนัง สีของเสนผม บางคนอาจมีเสนผมตรง บางคนหยิก บางคนเสนผมหยักศก นอกจากนี้ยังมีสีที่ปรากฏใน นัยนตา 2) ลักษณะใบหนา รวมทั้งสวนประกอบตาง ๆ ของใบหนา คือ หู ตา จมูก ริมฝปากหนาผาก แกม รูปหนาถูกกําหนดโดยลักษณะทางพันธุกรรม 3) ลักษณะประจําเพศ เชน เพศชายตองมีหนวด ขน มีเสียงหาว ๆ กลามเนื้อแข็งแรง สวนหญิงมีพัฒนาการทางกระดูกเชิงกราน ทรวงอกขยายใหญ เปนตน 4) สัดสวนของรางกาย เชน ความสูง ลูกจะสูงหรือเตี้ยขึ้นอยูกับพอแม ถาพอแมเปนคนเตี้ย ลูกก็มักจะเตี้ยดวย แมวาจะเลี้ยงดูใหอาหารดีอยางไรความสูงที่เพิ่มขึ้นก็จะไมเกิน Genes ที่กําหนดไว 5) การทํางานของรางกาย บางคนทํางานดวยความเครงเครียด แตบางคนก็ทํางานแบบ สบาย ๆ หรือบางคนโตชาแตก็มีบางคนโตเร็ว ทั้งนี้ขึ้นอยูกับพันธุกรรมบังคับการทํางานตาง ๆ ของ รางกาย เชน การทํางานของระบบยอยอาหาร การเผาผลาญอาหาร หรือความถนัดตาง ๆ เชน บางคนถนัด ที่จะทํางานใชสมองมากกวาการทํางานที่ใชกําลังกาย เปนตน 6) เพศ การเกิดเปนเพศหญิงหรือเพศชายเปนสิ่งที่ถายทอดมาทางพันธุกรรมลูกทีเ่ กิดจะเปน เพศหญิงหรือเพศชายขึ้นอยูกับ Chromosome ของ Sperm ที่จะเขาผสมกับไข 7) หมูเลือด หมูเลือดของลูกจะเปนหมูเดียวกันกับหมูเลือดของพอและแมแตสวนปลีกยอยของ เลือดอาจแตกตางกัน หมูเลือดของคนมี 4 หมู คือ A B O และ AB 8) โรค โรคบางชนิดสามารถถายทอดทางพันธุกรรมไดโดยติดไปกับ Autosome เชน โรคเบาหวาน ลมบาหมู หรือขอบกพรองทางรางกายบางอยางก็สามารถถายทอดทางพันธุกรรมได เชน ตาบอดสี ผิวเผือก ศีรษะลาน เปนตน

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

6


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

7

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพที่ 1.2 ลักษณะทางกายที่ไดรับถายทอดจากพันธุกรรม ที่มา : http://3.bp.blospot.com 1.2 ลักษณะทางจิต ลักษณะทางจิตที่ไดรับทางพันธุกรรมคือ สติปญญา (Intelligence) ลักษณะนิสัยอารมณ และ สัญชาตญาณตาง ๆ สิ่งเหลานี้สามารถถายทอดจากพอหรือแมไปสูลูกหลานได อิทธิพลของพันธุกรรม ตอบุคลิกภาพนั้น มีนักจิตวิทยาเชื่อวา บุคลิกลักษณะที่ไดรับอิทธิพลจากพันธุกรรมมากที่สุดคือ ความสามารถ พื้นฐานทั่ว ๆ ไปของบุคคล สติปญญา ความรวดเร็วในการตอบสนองตอสิ่งเรา การแสดงปฏิกิริยาโตตอบตอ สิ่งเราตาง ๆ ทักษะในการเคลื่อนไหว การใชสัมผัสสิ่งตาง ๆ ไดถูกตองและละเอียดลออ ความรอบคอบ ความ มีไหวพริบของคน และลักษณะที่ไดรับอิทธิพลจากพันธุกรรมรองลงมา คือ นิสัยทีแ่ สดงอารมณประจําตัวของ บุคคล ซึง่ เกิดจากระบบการทํางานของตอมไรทอตาง ๆ ทําใหพฤติกรรมของบุคคลเปลี่ยนแปลงไป สวนลักษณะ ที่ไดรับอิทธิพลของพันธุกรรมนอยที่สุด คือ เรื่องของเจตคติ คานิยม และความเชื่อ ความซาบซึ้งในคุณคาของ สิ่งตาง ๆ 2) สิ่งแวดลอม (Environment) หมายถึง สภาพภายนอกซึ่งแยกออกจากตัวบุคคลได เปนสิ่งที่มี อิทธิพลในการเสริมสรางบุคลิกภาพของบุคคล เปนสิ่งที่เกิดขึ้นทีละนอย นับแตวินาทีแรกที่ลืมตาดูโลก และ จะพัฒนาเปนลําดับจนกลายเปนลักษณะประจําตัวของแตละบุคคล เด็กที่อยูในสิ่งแวดลอมที่ไมดี อยูในสภาวะ บานแตก ประสบกับความอดอยาก ไดยินแตเสียงดาทอ ทะเลาะเบาะแวง พบเห็นแตส่งิ สกปรกรกรุงรังอยู ตลอดเวลา ก็ยอมจะพัฒนาบุคลิกภาพไปในทางที่แตกตางกับเด็กที่อยูในครอบครัวที่อบอุน ไดรับความรักและ ความหวงใยจากครอบครัวอยูต ลอดเวลา ซึ่งเด็กกลุมนี้ยอมมีบุคลิกภาพที่ดีกวา และประสบความสําเร็จใน ชีวิตที่ดี มีประสบการณที่ดีและสามารถยึดเปนแบบอยางในชีวิตได ประสบการณดังที่กลาวสามารถแบงได เปน 2 ประเภท คือ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------2.1 ประสบการณกลาง (Common Experiences) เปนประสบการณที่คนในสังคมนั้นมี เหมือนกัน เชน ประเพณีการแตงกาย ความเชื่อ หรือบทบาทแหงเพศของตน (Sex Roles) เปนตนวา สังคมไทยคาดหวังใหสตรีมีความสงบเสงี่ยมเรียบรอย และบุรุษแสดงความกลาหาญ หรือประสบการณกลางใน ดานบทบาททางอาชีพ เชน ผูประกอบอาชีพแพทย ครู ทนายความ นักรอง นักแสดง จะมีบทบาทตางกันตาม ลักษณะของงานและความคาดหวังของคนในสังคม จะเห็นไดวา คนในสังคมนัน้ หรือคนในกลุม นั้น จะมีประสบการณเหมือนกัน เปนประสบการณ กลาง ซึ่งจะทําใหเกิดลักษณะพฤติกรรมคลายคลึงกัน แตกไ็ มเหมือนกันเลยทีเดียวบุคลิกภาพของแตละคนใน สังคมเดียวกันนั้น ยังมีขอแตกตางกันอีก เนือ่ งจากสาเหตุดังนี้ คือ ก. แตละครอบครัว จะเนนการอบรมสั่งสอนบุตรหลานตางกัน แมวาครอบครัวเหลานั้นจะอยูใน สังคมเดียวกัน เชน ครอบครัวไทยคาดหวังใหเด็กเชื่อฟงผูใ หญ แตครอบครัวหนึง่ อาจอบรมใหเด็กเปนตัว ของตัวเองมากกวาอีกครอบครัวหนึ่ง ซึ่งอบรมใหเด็กปฏิบัติตามคําสั่งของผูใหญโดยไมโตแยง ข. แตละบุคคล มีประสบการณสวนตัวที่แตกตางจากบุคคลอื่น ซึง่ จะไดกลาวถึงในขอตอไปนี้ 2.2 ประสบการณสวนตัว (Unique Experiences) เปนประสบการณที่แตละบุคคลมีแตกตางกัน เปนตนวา คนที่ตองฟนฝาอุปสรรคมาตั้งแตขณะเปนเด็ก ประสบการณนั้นอาจทําใหเปนคนแกรงหรือเขมแข็ง หรือคนที่ประสบความสําเร็จดานการเรียนมาอยางตอเนื่องกัน จะกอใหเกิดความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น ประสบการณที่บุคคลไดรับ ทั้งประสบการณกลางและประสบการณสวนตัว ประกอบเขากับลักษณะทางพันธุกรรม จะกอตัวเกิดเปนบุคลิกภาพของบุคคลนัน้ สวนวิถีทางที่บุคลิกภาพจะกอตัวเกิดขึ้นมาไดอยางไรนั้น มีผศู ึกษา วิจัยอยางละเอียดและตั้งเปนทฤษฎีบุคลิกภาพ (Personality Theories) ตางๆ ขึ้นมากมาย และเปนที่มาของ พัฒนาการบุคลิกภาพในวัยตาง ๆ กลาวไดวา ทั้งพันธุกรรมและสิ่งแวดลอมมีอิทธิพลตอบุคลิกภาพของบุคคล บุคคลแตละคนจะมี ปฏิกิริยาโตตอบตอสถานการณในสังคมตามวิถีทางของตน ตามพื้นฐานทางพันธุกรรมที่แตกตางกัน วัฒนธรรมการเลี้ยงดูจากบิดามารดา จะสงผลใหบุคคลประสบความสําเร็จไดไมเทาเทียมกัน พันธุกรรมจะมี อิทธิพลในระยะแรกของการเจริญเติบโต แตเมื่อบุคคลเจริญวัยขึ้น พันธุกรรมจะลดบทบาทลง และสิ่งแวดลอม จะเพิ่มบทบาทมากขึ้น ทั้งสิ่งแวดลอมและพันธุกรรม จึงมีความสัมพันธกันเปนลักษณะดังที่ ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2542 : 63) สรุปไวดังนี้ บุคคล

=

พันธุกรรม x สิ่งแวดลอม

พันธุกรรม

=

ฐานของสี่เหลีย่ มมุมฉาก

สิ่งแวดลอม

=

ความสูงของสี่เหลี่ยมมุมฉาก

บุคลิกภาพ

=

พื้นที่ของสี่เหลีย่ มมุมฉาก

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

8


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม

พันธุกรรม

ภาพที่ 1.3 แสดงความสัมพันธของพันธุกรรมและสิ่งแวดลอมที่มีตอบุคลิกภาพ ที่มา : สุนัน จันทรโมลี

องคประกอบของบุคลิกภาพ องคประกอบของบุคลิกภาพ ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากพันธุกรรมและสิ่งแวดลอมสามารถแยก ออกใหเห็นชัดเจนวาประกอบไปดวยสิ่งตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. โครงสรางทางรางกาย (Physical construction) หมายถึง รูปรางหนาตาของบุคคล ไดแก ความสูง ความเตี้ย ความอวน ความผอม สีของผิวที่แตกตางกัน หัวกลม หัวแบน เปนตน สิ่งเหลานี้มอี ิทธิพล ตอการพัฒนาบุคลิกภาพ เชน คนสูงมากหรือคนที่เตี้ยมากๆ หรือคนที่มสี ีผิวที่ไมสวยงามตามที่เขานิยมกัน หรือแมแตเรื่องความเกงกับความไมเกงของบุคคลก็อาจเกิดปญหาในการปรับตัวไดทั้งสิ้น 2. ลักษณะทางดานจิตใจ (Mentality) ลักษณะทางจิตใจของบุคคลจะรวมถึงเรื่องของสติปญญา ความรู ความจํา ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับลักษณะทางดานจิตใจ ทั้งสิ้น ทั้งนี้รวมไปถึงความรูสึกตาง ๆ และการรับรูของบุคคล ลักษณะทางจิตใจของบุคคลจะเปนตัวที่ สามารถบอกไดวาคน ๆ นัน้ มีลักษณะอยางไร มีความแตกตางจากผูอื่นอยางไร ซึ่งอาจตองใชเวลาในการ สังเกตแตเมื่อคบกันนาน ๆ ก็สามารถสังเกตได 3. ความสามารถ (Ability) หมายถึง ขีดจํากัดของลักษณะทางกายภาพที่มีในแตละบุคคลในการที่ จะทํางานสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เรียกวา ความถนัดตามธรรมชาติ ความสามารถนี้ ไดแก ความสามารถ ทางดนตรี กีฬา ศิลปะ และงานสรางสรรค เปนตน 4. ความคลองแคลววองไว (Mobility) เกี่ยวของกับอวัยวะกลามเนื้อ ที่มสี วนในการเคลื่อนไหว การทํางานประสานสัมพันธระหวางกลามเนื้อและระบบประสาท การทํางานของระบบอวัยวะภายในที่ ประสานกัน

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

9


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------5. สติปญญา (Intelligence) ความสามารถทางสมอง รวมไปถึงความสามารถในการที่จะปรับตัว ใหเขากับสถานการณใหมๆ ไดเปนการผสมผสานของประสบการณเดิม ไดแก ความจํา การเรียนรู ความ เขาใจ และการมีวิจารณญาณ เปนตน 6. การแสดงตน (Self-expression) บุคคลจะมีความแตกตางกัน เมื่อเขาไดแสดงออกโดยอิสระ มีเสรีภาพทางความคิด บางคนชอบแสดงออก กลาเปดเผยตนเอง แตในบางคนอาจจะพยายามควบคุม อารมณของตนเอง ไมแสดงออกใหคนอืน่ ไดรู การแสดงออกของคนจึงมักพบใน 2 ลักษณะ คือ กลุมที่ชอบ แสดงออกกับกลุมที่ไมชอบแสดงออก หรืออาจพบอีกกลุม คือ มีการผสมผสานอยางละครึ่งของทั้งสองกลุม 7. ความสนใจ (Interest) เปนความรูสึกที่แสดงถึงแนวโนมที่จะเขาหาบุคคล หรือวัตถุรวมไปถึง เรื่องความสนใจในการแตงกาย การพูดจา กิริยามารยาท การเขาสังคม และการสมาคมกับกลุมตางๆ 8. ความสามารถในการควบคุมตนเอง (Impulse control) วางตนใหเหมาะสมกับโอกาสเปน ผูมีวุฒิภาวะทางอารมณไมโกรธหรือโมโหงาย ไมใชอารมณหรือความรูสกึ เหนือเหตุผล 9. ความสามารถในการเขาสังคม (Social ability) หมายถึง ความสามารถที่บุคคลแสดง พฤติกรรมตอผูอื่นโดยการสมาคม การอยูรว มกับกลุม การชอบเดน ชอบมีเพื่อนๆ อยูใ นกลุมคนมากหนา หลายตา หรือเปนคนไมคอ ยชอบสังคมไมชอบสมาคม เปนคนสงบเสงี่ยม ชอบเก็บตัวและพฤติกรรมไม แสดงออก

ภาพที่ 1.4 องคประกอบของบุคลิกภาพที่ทําใหบุคคลแตกตางกัน ที่มา : www.thaibizchina.com กลาวไดวา การศึกษาและทําความเขาใจถึงองคประกอบของบุคลิกภาพที่แตกตางกัน ชวยให บุคคลรูจักพิจารณาและเลือกลักษณะบุคลิกภาพที่เหมาะสม ที่ควรใชเปนแนวทางฝกฝนและพัฒนาใหเกิด เปนลักษณะประจําตัว

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

10


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------การพัฒนาบุคลิกภาพ มนุษยทุกคนในโลกนี้ ไมมีใครเลยที่เกิดมาพรอมความสมบรูณของบุคลิกภาพในทุกองคประกอบแต ละบุคคลจะตองมีความบกพรองไมมากก็นอย ดังนัน้ บุคคลจึงจําเปนตองปรับปรุงหรือพัฒนาบุคลิกภาพสวน ที่บกพรองของตนเองใหมีความสมบรูณมากที่สุดเทาที่จะทําได มนุษยเรา หลายหลากจิต ใชพื้นฐาน ทั้งดีบาง

ตางเขตคาม คิดคน เคยพบเห็น เลวบาง

ตางความคิด คนละอยาง เปนแนวทาง ตางกันไป

ความหมายของการพัฒนาบุคลิกภาพ การพัฒนาบุคลิกภาพ (Personality Development) หมายถึง การปรับปรุงพฤติกรรมของบุคคล เพื่อขจัดสิ่งดอยและเพิ่มจุดเดน โดยพยายามขจัดจุดดอยใหออกไปใหมากที่สุด และพยายามพัฒนาสิ่งที่ดี ที่เดนเขามาแทนที่ เพื่อเปนการสรางภาพลักษณ และภาพพจนของบุคคลนั้นใหเปนทีน่ าเชื่อถือ ศรัทธา โดย การปรับปรุงทัง้ ภายในและภายนอก จากกิริยามารยาท การแตงกาย การแสดงออกทางอารมณและถอยคํา เกิดเปนกระบวนการที่ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี และบุคคลมีทัศนคติที่ดีตอการเปลี่ยนแปลงนั้น

ประเภทของบุคลิกภาพทีค่ วรปรับปรุง หากจะกลาวถึงบุคลิกภาพของบุคคลโดยทัว่ ๆ ไป สามารถแบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1. บุคลิกภาพภายนอก ไดแก บุคลิกภาพทางกาย เชน รูปรางหนาตา ความแข็งแรงของ รางกาย การแตงกาย ทวงที กิริยามารยาท การเดิน การยืน การนัง่ การรับประทานอาหาร เปนตน 2. บุคลิกภาพภายใน ไดแก บุคลิกภาพทางสติปญญา อันไดแก ความรู ความชํานาญ ความเฉลียวฉลาดไหวพริบ และบุคลิกภาพทางจิตใจและอารมณ ไดแก ความโอบออมอารี ความมานะ อุตสาหะ ความหนักแนน ความกลาหาญ ความสุภาพ ความกาวราว ความมีคุณธรรมในจิตใจ เปนตน การปรับปรุงบุคลิกภาพภายนอก การปรับปรุงบุคลิกภายนอก หมายถึง สิ่งทีส่ ังเกตเห็นไดชดั หรือสัมผัสได การปรับปรุงแกไข สามารถทําไดงาย ใชเวลานอย และวัดผลไดทันที ประกอบดวย 1. การปรับปรุงรูปรางหนาตา โดยการบํารุงรักษาใหดูสะอาด เรียบรอย ปราศจากกลิ่นนารังเกียจ หากรูปรางมีขอ บกพรอง อาจใชการแตงกายที่เหมาะสม ชวยอําพรางหรือเสริมแตงใหดูดีขึ้น เหมาะสมกับวัย และฐานะ และความถูกตองตามโอกาส

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

11


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------2. การรักษาสุขภาพ ดวยการทําใหรางกายแข็งแรงอยูเสมอ เพราะผูที่สขุ ภาพไมดี มักมีอารมณ หงุดหงิด จึงควรบํารุงรางกายดวยอาหาร การพักผอนนอนหลับและการออกกําลังกาย รักษาอารมณให แจมใสอยูเสมอ

3. การปรับปรุงกิริยาทาทาง ควรปรับปรุงกิริยาทาทางใหสุภาพ ออนโยน เหมาะสมกับกาละเทศะ เชน การไหวเพื่อแสดงความเคารพ หรือแสดงการทักทายตามวัฒนธรรมไทย ควรเดินและนั่งอยางรักษากิริยา ที่ดี ไมมองคนดวยหางตา ฝกการมองใหสอความรูสึกในทางดี เปนตน 4. การปรับปรุงการแตงกาย การแตงกายเปนองคประกอบเบื้องตนที่เสริมบุคลิกภาพของบุคคล จึง ควรแตงกายดวยเสื้อผาที่สะอาด สวยงามเหมาะสมแกโอกาส สรางเสนหแกผูพบเห็น 5. การปรับปรุงการพูด สิ่งสําคัญที่สุดในการสรางมิตรภาพกับบุคคล คือ การพูด เนือ่ งจากเปนการ ถายทอดความรูสึกนึกคิด ความเชื่อ คานิยม ทัศนคติที่มีตอ ตนเองและผูอ ื่น เราจึงควรฝกการพูดดวยวาจา ไพเราะ เลือกใชถอยคํา และน้ําเสียงที่แสดงความจริงใจ รวมถึงฝกการฟงผูอื่น ทําใหผูอื่นรูสึกวาสิ่งที่พูดมี ความสําคัญ สงผลถึงบุคลิกภาพที่ดีของตนเอง 6. การปรับปรุงการทํางาน บุคคลที่ทํางานหรือทํากิจกรรมตาง ๆ ไดดีเดน มีลักษณะคลองแคลว วองไว ดวยลักษณะทาทางที่สงางามเขมแข็งและจริงจังเหมาะสมกับสภาพงานที่กระทํา ยอมเปนสิ่งที่สะทอน ใหเห็นบุคลิกภาพของบุคคลนัน้ วามีบุคลิกภาพที่นาศรัทธายกยอง การปรับปรุงบุคลิกภาพภายใน การปรับปรุงบุคลิกภาพภายใน เปนการสรางความงามในจิตใจ สงเสริมการมีสุขภาพจิตที่ดี บุคคล ที่สามารถปรับปรุงพฤติกรรมภายในได จะเปนที่รักใครชนื่ ชมของผูอนื่ บุคลิกภาพทางจิตจะเขาใจไดดวย การศึกษาจากสิ่งที่บุคคลแสดงออกมาในรูของพฤติกรรม ไดแก การปรับปรุงดานความคิด อารมณ ความรูสึก และนิสัยใจคอ ประกอบดวย 1. ฝกรักตนเอง ตามสภาพที่เปนอยู เห็นคุณคาของตนเอง มองภาพพจนตนเองในทางบวก เมื่อ รูจักเขาใจตนเอง จะทําใหเราฝกรูจักและเขาใจผูอื่น 2. ฝกเอาชนะตนเอง ควบคุมตนเองและพฤติกรรมใหดีงาม เหมาะสม และเกิดความเชื่อมั่น เชน เอาชนะความหยาบคาย การรูผิดชอบชั่วดี 3. ฝกความอดทน อดกลั้น และเขาใจผูอื่น โดยยอมรับผูอนื่ อยางที่เขาเปน มีเมตตาและชวยเหลือ ผูอื่น มีความรูสึกรวมกับผูอื่น เชน เห็นเขามีความสุข เราก็สุขดวย หรือเมือ่ เขามีความทุกข เราก็ทุกขดวย 4. ฝกจัดการกับความโกรธ ความเกลียด เพื่อมิใหแสดงพฤติกรรมที่รุนแรง พยายามควบคุมอารมณ ขณะโกรธ และปรับความเขาใจกันดวยเหตุและผล 5. ฝกเปนผูมีจติ ใจสงบ พิจารณาผูคนแวดลอม และสภาพการณตาง ๆ อยางถูกตอง และตรงตาม ความเปนจริง มีความมั่นคงไมหวั่นไหว ฝกตั้งสติวาเมื่อเกิดปญหาแลว เราจะแกปญหาอยางไร 6. ฝกตั้งเปาหมายใหกับชีวิต ทําสิ่งตาง ๆ อยางมีแผนโครงการ มีจุดประสงคมีพิธีการ ลงมือกระทํา ตามขั้นตอนของโครงการนัน้ อยางมุงมั่น

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

12


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------7. ฝกคิดอยางมีเหตุผล เปนคนกลาเผชิญปญหา และหาทางแกไขโดยใชสติปญญา และเหตุผล ใครครวญ รูจักเปดใจรับฟงเหตุผลของผูอื่น 8. ฝกพัฒนาตนใหมีความมั่นใจในตนเอง เปนตัวของตัวเอง พึ่งตนเองได พึ่งผูอนื่ เพียงที่จําเปน เล็กนอยเทานัน้ เมื่อทําสิ่งตางๆ ดวยตนเองจะภูมิใจ มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในเรื่องตาง ๆ เปนคน แสวงหาความรูและประสบการณใหม ๆ เพื่อพัฒนาตนเอง

ภาพที่ 1.5 การปรับปรุงบุคลิกภาพภายใน ที่มา : www.chainat.ac.th

กระบวนการในการปรับปรุงบุคลิกภาพ บุคลิกภาพมีความสําคัญตอชีวิตเราอยางยิ่ง ทําใหเรารูสึกถึงความสําคัญของตัวเอง เราจะไมมีทางรู ไดเลยวา ชีวิตของเราจะเปนอยางไร ถาเราไมรูวาขณะนี้ตัวเราเปนคนอยางไร ในการปรับปรุงบุคลิกภาพ ของบุคคลนั้น จําเปนตองอาศัยผูอื่นชวยเหลือใหคําแนะนํา เพราะบุคคลไมสามารถมองตนเองใหตรงตาม ความจริงวามีบุคลิกภาพดานใดบางที่บกพรอง และการจะยอมรับภาพสะทอนและคําแนะนําของบุคคลอื่น เกี่ยวกับขอบกพรองของตนเองเพื่อการปรับปรุงบุคลิกภาพที่ดีไดนั้น สมเดช สิทธิพงศพิทยา (2547 : 259) ไดกลาวไววามีขั้นตอนดังนี้ 1. จงเปนคนทีเ่ ปดใจยอมรับ (Be open-minded) 2. จงใหความรวมมือกับผูอื่น (Be Cooperation) 3. จงเปนตัวของตัวเองที่มีความมั่นใจ (Have confidence) 4. จงแสวงหาคําแนะนํา (Seek advice) 5. จงลงมือกระทําจนกวาจะถูกตอง (Take action) 6. จงตรวจสอบผลความกาวหนาของตนเอง (Check your progress)

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

13


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพที่ 1.6 แสดงกระบวนการในปรับปรุงบุคลิกภาพ ที่มา : สุนัน จันทรโมลี

ประโยชนที่ไดรับจากการมีบุคลิกภาพที่ดี การที่บุคคลใหความสําคัญและยอมรับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงจนเปนผูท ี่มีบุคลิกภาพที่ดี ไมวาจะ เปนดานหนาตา รางกาย จิตใจ คําพูด ฯลฯ ยอมจะชวยใหเกิดประโยชนหลายประการ กลาวโดยสรุปคือ 1. บุคลิกภาพทีด่ ีนํามาซึ่งความสําเร็จ โดยทั่วไปบุคคลที่มีรูปรางหนาตา ลักษณะทาทางดี ยอมไดเปรียบ คือ เปนที่ดึงดูดความสนใจแกผูพบเห็น ดังนั้น มักจะทํากิจกรรมใดก็สําเร็จ เพราะไดรับ ความรวมมือหรือความชวยเหลือจากบุคคลรอบขางเปนอยางดี ซึ่งตรงกันขามกับบุคคลที่หนาตาและ ทาทางไมดี หากมีนิสัยที่ไมดีดวยแลวยิ่งทําใหไมมีใครอยากจะคบหา หรือพูดจาดวย อาจทําใหไมไดรับ ความสําเร็จในการทํางานหรือกิจกรรมใด ๆ จึงกลาวไดวา การพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคลมีความสําคัญ ตอความสําเร็จในชีวิต 2. บุคลิกภาพทีด่ ีนํามาซึ่งความกาวหนาในชีวิต บุคคลใดที่มีความสามารถในการทํางานได สําเร็จ ยอมเกิดความกาวหนาทั้งในอาชีพการงาน และการดํารงชีวิต ดังนั้น คนที่มีบคุ ลิกภาพดี ไมวาจะ อยูในวัยใด เพศใด หรือมีอาชีพอะไร ยอมมีความสําเร็จและเกิดความกาวหนาในตนเอง เชน วัยเด็ก ทําให เรียนดี มีความกาวหนาในการเรียนสูง หรือวัยผูใหญ ทําใหทํางานเกง มีความกาวหนาในอาชีพการงาน ก็จะประสบแตความสุขความเจริญในชีวิต 3. บุคลิกภาพทีด่ ีนํามาซึ่งความเจริญกาวหนาของประเทศชาติ หากประชาชนในชาติมี บุคลิกภาพที่ดี มีความรูความสามารถ มีความคิดสรางสรรค ก็ยอมทําใหมีแตความสุข ความสงบ เปน กําลังสําคัญในการสรางความเจริญใหแกประเทศชาติดวย

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

14


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------บุคลิกภาพทีพ่ ึงประสงคของเด็กไทยในสังคมปจจุบัน สังคมไทยในปจจุบันมีความทัดเทียมกันดานการแสดงออกมากขึ้น แนวคิดที่มุงใหเด็กเชื่อฟงหรือ ปฏิบัติตามผูใหญ โดยไมตอ งใหซักถามหรือโตแยงเปลี่ยนไป ในปจจุบนั การสั่งสอนเด็กเราจะบอกถึงเหตุผล เพื่อใหเด็กเห็นประโยชนที่จะไดรับอยางสมเหตุสมผล สังคมหรือบุคคลสวนใหญจึงมุงหวังที่จะเห็นเด็กไทยมี พัฒนาการทางบุคลิกภาพที่พึงประสงคในดานตาง ๆ ดังตอไปนี้ (ประดินันท, 2553 : 799) 1. มีสุขภาพรางกายสมบูรณ แข็งแรง แตงกายไดเหมาะสมกับสมัย วัย รูปราง เหมาะกับ โอกาสและสะอาดหมดจด พูดดวยน้ําเสียงนุมนวล คลองแคลว ถูกตองชัดเจน และมีกิริยาทาทางนุมนวล 2. รูจักควบคุมอารมณและพฤติกรรมในขณะเกิดอารมณ เพื่อมิใหเกิดความเครียดเกินไปจนเสีย สุขภาพจิต รูจักการอดทนรอและอดกลั้นตอสิ่งยั่วยุความรูสึก หรือความตองการที่ไมถกู ตองหรือไมเหมาะสม 3. ยิ้มแยมแจมใส รูจักสรางมนุษยสัมพันธที่ดีกับผูอื่น สามารถปรับตัวใหเขากับบุคคลหรือ สภาพแวดลอมไดดี มีลักษณะของผูนําและผูตามที่ดีและยอมรับในความคิดเห็นและความสําคัญของผูอื่น 4. แสดงความคิดเห็น หรือวิพากษวิจารณอยางมีเหตุผล ยอมรับหรือปฏิบัติตามความคิดเห็น ของผูอนื่ อยางมีวิจารณญาณ สามารถตัดสินใจไดดวยตนเองและสามารถแกปญหาที่เกิดขึ้นไดอยางมีเหตุผล 5. มีความรับผิดชอบตอตนเอง ตอครอบครัว และตอสังคม ปฏิบัติภารกิจที่ตนพึงกระทํา หรือ ไดรับมอบหมายใหสําเร็จลุลวงไป โดยมิตองใหผูอื่นตองตักเตือนหรือควบคุม และยอมรับผลการกระทําของ ตนเองทั้งในแงการรับผิดและชอบ 6. มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง การกลาคิด กลาทํา กลาตัดสินใจ โดยเขาใจบทบาทของตนเอง ในสังคมไดอยางเหมาะสม และสามารถปรับตนใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข 7. มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ ประพฤติและแสดงออกโดยรูจ ักการแบงปนสิ่งของที่ตนมีอยูใหกับคน ไมมีหรือมีนอยกวา เปนการทําใหผูอื่นมีความสุข และเปนการสรางมิตร 8. มีความขยัน กระตือรือรนที่จะทํางานทุก ๆ อยาง อยางสม่ําเสมอเพื่อใหงานสําเร็จลุลวงไป ตามที่ตั้งเปาหมายไว 9. รูจักประหยัด โดยพิถีพถิ นั ในการเลือกซื้อของที่จําเปน และเหมาะสมกับราคาหรือคุณภาพใน แงประโยชนใชสอย และใชจา ยโดยมิใหตนเองหรือผูอื่นเดือดรอน 10. มีน้ําใจ ดวยการไมดูดายและกระตือรือรนที่จะใหความชวยเหลือแกผูอื่นในทุกโอกาสที่ สามารถทําได โดยไมเดือดรอนแกตนเองและผูอื่น 11. มีความกตัญูรูคุณ ดูแลชวยเหลือผูม ีพระคุณ เชน บิดา มารดา และตอบแทนแกผูที่เคย มีน้ําใจหรือเคยใหความชวยเหลือมากอน

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

15


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------แบบทดสอบกอนเรียน หนวยที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ วัตถุประสงค เพื่อทดสอบความรูเดิมของผูเรียน เรื่อง “ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนา บุคลิกภาพ” คําชี้แจง จงเลือกคําตอบที่ทานเห็นวาถูกตองทีส่ ุดเพียงคําตอบเดียว และกา x ลงใน กระดาษคําตอบ 1. ความหมายของ “บุคลิกภาพ” ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุด ก. ภาพของบุคคลที่ปรากฏใหเห็น ข. ลักษณะทาทีที่แสดงออกของบุคคล ค. ลักษณะที่ดีของแตละบุคคล ง. ลักษณะเฉพาะตัวของแตละบุคคล 2. ลักษณะความสูง สีผิว และหมูเลือด เปนบุคลิกภาพที่ไดมาจากสิ่งใด ก. พันธุกรรม ข. สิ่งแวดลอม ค. ประสบการณกลางของบุคคล ง. ประสบการณสวนตัวของบุคคล 3. ขอใดกลาวถึง “สิ่งแวดลอม” ไดถูกตอง ก. สิ่งแวดลอมมีพัฒนาการมาตั้งแตบุคคลแรกเกิด ข. สิ่งแวดลอมมีความสําคัญนอยกวาพันธุกรรม ค. สิ่งแวดลอมที่สงผลตอบุคคลมาจากครอบครัวมากกวาโรงเรียน ง. สิ่งแวดลอมไมไดเปนสาเหตุทําใหบุคคลมีบุคลิกภาพดีหรือเลว 4. ขอใด ไมใช องคประกอบของบุคลิกภาพ ก. ลักษณะการปรับตัวที่ผูอื่นมองเห็น ข. ลักษณะที่แสดงออกโดยการเคลื่อนไหวของกลามเนื้อ ค. ลักษณะของบุคคลที่ไมสามารถเปลี่ยนแปลงได ง. ลักษณะของบุคคลที่ชอบแสดงความรูสึกสวนตัวใหคนอื่นรับรู

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

16


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------5. ความหมายของ “การพัฒนาบุคลิกภาพ” คือขอใด ก. กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ข. การเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพภายนอกใหเปนที่ยอมรับของสังคม ค. การเปลี่ยนฐานะทางสังคมของบุคคลจากระดับหนึ่งไปอีกระดับหนึ่ง ง. วิธีการเปลี่ยนแปลงใหมบี ุคลิกภาพที่ดีขึ้น และดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข 6. การพัฒนาบุคลิกภาพ ควรเริ่มจากการพัฒนาสิ่งใดกอน ก. พัฒนาดานรางกายกอน ข. พัฒนาดานจิตใจกอน ค. พัฒนาดานสังคมกอน ง. พัฒนากิรยิ ามารยาทกอน 7. บุคลิกภาพที่ปรากฏแกสายตาผูอื่น ไดแกขอใด ก. ความจํา ข. ความถนัด ค. การใชภาษา ง. ความรอบรู 8. ขอใดไมจัดเปนบุคลิกภาพภายนอก ของบุคคล ก. ทาทีสุภาพ ข. การพูดจา ค. กิริยาทาทาง ง. แตงกายเหมาะสม 9. ขอใด คือสิ่งสําคัญในการเสริมสรางบุคลิกภาพ ก. การอาน ข. การพูด ค. การเขียน ง. การฟง 10. ขอใดเปนความสําเร็จในการดํารงชีวิตของมนุษย ก. ความรูดี ข. มีความสามารถ ค. มีประสบการณแปลกใหม ง. มีบุคลิกภาพเหมาะสม

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

17


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน หนวยที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ค ก ข ข ง ค ง ค ก ค

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

18


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------แบบทดสอบบุคลิกภาพ กิจกรรมที่ 1 วัตถุประสงค เพื่อทดสอบบุคลิกภาพความเปนตัวตนของผูเรียน วาเราเปนคนอยางไร คําชี้แจง ในแตละขอจะมีคํา 4 คํา ใหนักศึกษาเลือกคําที่แสดงความเปนตัวของตัวเองมากที่สุด ทําจนครบทั้ง 40 ขอโดยทําเครื่องหมาย x ลงหนาขอ จุดแข็ง 1 .....ชอบทาทายผจญภัย 2 .....ยืนหยัด

.....ปรับตัวงาย .....รักสนุก

3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

.....เสียสละ .....ควบคุมอารมณไดดี .....ใหเกียรติผูอื่น .....ใสใจกับผูอื่น .....อดทน .....ไมกดดันตัวเอง .....เห็นพองกับคนอื่น .....ซื่อตรง .....สนุกสนาน .....สม่ําเสมอ .....พึ่งตัวเอง

.....ยอมตาม .....ขี้เกรงใจ .....สดใส .....ยินดีกับสิ่งรอบกาย .....เปนนักวางแผน .....เชื่อมั่น .....มีระเบียบ .....เปนมิตรกับทุกคน .....กลาเสี่ยง .....ราเริง .....มาตรฐานสูง

14 .....ชอบแสดงออก 15 .....ไกลเกลี่ย

.....กลาตัดสินใจ .....ชื่นชมสุนทรียภาพ ของศิลปะ .....ยืนกราน .....จงรักภักดี .....เปนหัวหนา

.....ชอบแสดงออก .....ใชเหตุผลใหผูอื่น คลอยตาม .....ชอบเขาสังคม .....ชอบแขงขัน .....เก็บอารมณ .....พึ่งพาตัวเอง .....เชื่อมั่นในตัวเอง .....มีแผนการ .....ตรงไปตรงมา .....มีอารมณขัน .....ตอรองเกง .....ชอบศิลปะ .....ไมชอบโตแยง .....มีมุขเด็ด .....ไมอยูเฉย

16 .....รูกาลเทศะ 17 .....เปนผูฟงที่ดี 18 .....พอใจกับสถานะ ปจจุบัน 19 .....สมบูรณแบบ

.....เขากับคนอื่นไดงาย

.....ชางพูด .....เปนผูนํา .....ชอบใชขอมูล สนับสนุน .....ทํางานไมหยุด

20 .....อยูไมสุข

.....กลาไดกลาเสีย

.....อยูในกรอบ

.....ชางคิดวิเคราะห .....รักสงบ .....เอาแตใจตัวเอง .....นาเชื่อถือ .....สมองไว .....กระตือรือรน .....เปนคนชี้นําคนอื่นไดดี .....ขี้อาย .....มองคนในดานดีเสมอ .....ครอบงําคนอื่น .....ละเอียดรอบคอบ .....มั่นใจในตนเอง .....เปนแรงบันดาลใจ ใหผูอื่น .....ลึกซึ้ง .....เขากับคนอื่นไดงาย .....ยอมคนอื่น .....มีชีวิตชีวา .....มีเสนหนารัก .....เปนที่นิยมชมชอบ ของคนอื่น .....เดินสายกลาง

รวมคะแนน – จุดแข็ง ………………

………………

………………

………………

เกณฑการทดสอบ : รวมคะแนนตามเครือ่ งหมาย x ที่คุณทําจากแบบทดสอบขางตน ขอที่กา x ใหนับเปนหนึ่ง นับคะแนนรวมแนวตั้ง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

19


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------จุดออน 21 .....เฉย ๆ อะไรก็ได 22 .....ขาดวินัย 23 .....ไมชอบมีสวนรวม 24 .....หยุมหยิม 25 .....ไมมีน้ําอดน้ําทน 26 .....ไมคอยมีคนเขาหา

.....ไมชอบเปนจุดสนใจ .....ไมคอยแสดงน้ําใจ .....ขี้รําคาญ .....ขี้กังวล .....ขาดความมั่นใจ .....ไมชอบมีสวนรวม

27 .....หัวแข็ง 28 .....ไมยินดียินราย

.....ไมสม่ําเสมอ .....เห็นแตแงรา ย

29 .....โกรธงาย 30 .....ไมทันคน

.....ไมมีเปาหมาย ชัดเจน .....ขวานผาซาก

31 .....กระสับกระสาย 32 .....ออนไหวงาย 33 .....ไมแนใจใน

.....ปลีกตัวจากผูคน .....กาวราว .....ไมมีระเบียบ

34 35 36 37 38 39 40

.....ชอบเก็บตัว .....อารมณเสียบอย .....ดื้อ .....แสดงอํานาจ .....เจาคิดเจาแคน .....ไมอยูเฉย .....ชอบวิพากยวิจารณ ตัดสินคนอืน่

ความสามารถของตัวเอง

.....ขัดแยงในตัวเอง .....รกรุงรัง .....เชื่องชา .....ชอบอยูคนเดียว .....เฉื่อย .....สมบูรณแบบ .....ประนีประนอม

.....โวยวาย .....ไมกระตือรือรน .....หัวแข็ง .....ขี้ลืม .....ลังเล .....วูบวาบไมสามารถ คาดเดาได .....เอาใจยาก .....เห็นวาตัวเองเปน ฝายถูกเสมอ .....ชอบโตแยง

.....ชอบออกคําสั่ง .....ไมคอยใหอภัย .....ซ้ําซาก .....ขวานผาซาก .....ชอบขัดจังหวะ .....เฉยเมย

.....มองแตแงราย .....บางาน .....ไมยุงกับใคร .....ชอบออกคําสั่ง

.....เฉย ๆ ไมเอาอะไร สักอยาง .....อยากไดรับคําชมเชย .....พูดไมหยุด .....เศราสรอยหดหู

.....ไมยอมรับคนอื่น .....บนฮึมฮัม .....ชอบเปนจุดสนใจ .....ขี้เกียจ .....ใจรอน .....ไมอยากมีสวนรวม .....เจาเลห

.....ยอมไดทุกอยาง .....ฉลาดแกมโกง .....ขี้สงสัย .....เสียงดัง .....ไมคอยมีสมาธิ .....หุนหัน .....เบื่องาย

.....เชื่องชาและเฉยชา .....ไมโตแยง .....ไมสุงสิงกับใคร

รวมคะแนน – จุดออน ………………

………………

………………

………………

เกณฑการทดสอบ : รวมคะแนนตามเครือ่ งหมาย x ที่คุณทําจากแบบทดสอบขางตน ขอที่กา x ใหนับเปนหนึ่ง นับคะแนนรวมแนวตั้ง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

20


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวมคะแนนทัง้ หมด ……………… เฉลย

คนราเริง

………………

………………

………………

คนไมยอมใคร

คนเจาระเบียบ

คนอะไรก็ได

เกณฑการทดสอบ : ใหนําคะแนนในแตละคอลัมนรวมกัน จะทําใหพอเขาใจวาตัวเรามีพื้นฐานทาง บุคลิกภาพแบบใด เราอาจไมไดมีลักษณะเดนเปนคนแบบใดเปนพิเศษ แตเมื่อ ดูจากคะแนนที่ได จะทําใหรูวาตัวเรามีสวนผสมของบุคลิกภาพแบบใด ตัวอยางเชน ถาไดคะแนนรวมในคอลัมน คนไมยอมใคร เทากับ 15 คอนขางชัดเจนวาเราเปน คนไมยอมใครแน ๆ แตหากเรามีคะแนนรวมคอลัมน คนราเริง เทากับ 8 และ คนเจาระเบียบ เทากับ 6 คนอะไรก็ได เทากับ 2 และคนไมยอมใคร เทากับ 2 ตีความไดวา เราเปนคนราเริงที่คอนขางเจาระเบียบ เปนตน

กิจกรรมที่ 2 จากกิจกรรมที่ 1 ใหผูเรียนสรุปลักษณะบุคลิกภาพที่ดี (จุดแข็ง) และบุคลิกภาพที่ตองปรับปรุง (จุดออน) ในมุมมองของตนเองและเพื่อนรวมชั้น ลงในตารางตอไปนี้ บุคลิกภาพที่ดี (จุดแข็ง)

บุคลิกภาพที่ตองปรับปรุง (จุดออน)

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

21


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------แบบทดสอบหลังเรียน หนวยที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ วัตถุประสงค เพื่อประเมินความกาวหนาในการเรียนรูของผูเรียน เรื่อง “ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ การพัฒนาบุคลิกภาพ” คําชี้แจง จงเลือกคําตอบที่ทานเห็นวาถูกตองทีส่ ุดเพียงคําตอบเดียว และกา x ลงใน กระดาษคําตอบ 1. ความหมายของบุคลิกภาพขอใดถูกตองที่สุดของ ก. ภาพของบุคคลที่ปรากฏใหเห็น ข. ลักษณะทาทีที่แสดงออกของบุคคล ค. ลักษณะเฉพาะตัวของแตละบุคคล ง. ลักษณะที่ดีของแตละบุคคล 2. ลักษณะสีผิว ความสูง และหมูเลือด เปนบุคลิกภาพที่ไดมาจากสิ่งใด ก. พันธุกรรม ข. สิ่งแวดลอม ค. ประสบการณกลางของบุคคล ง. ประสบการณสวนตัวของบุคคล 3. ขอใดกลาวถึง “สิ่งแวดลอม” ไดถูกตอง ก. สิ่งแวดลอมมีความสําคัญนอยกวาพันธุกรรม ข. สิ่งแวดลอมมีพัฒนาการมาตั้งแตบุคคลแรกเกิด ค. สิ่งแวดลอมที่สงผลตอบุคคลมาจากครอบครัวมากกวาโรงเรียน ง. สิ่งแวดลอมไมไดเปนสาเหตุทําใหบุคคลมีบุคลิกภาพดีหรือเลว 4. ขอใด ไมใช องคประกอบของบุคลิกภาพ ก. ลักษณะการปรับตัวที่ผูอ่นื มองเห็น ข. ลักษณะของบุคคลที่ไมสามารถเปลี่ยนแปลงได ค. ลักษณะที่แสดงออกโดยการเคลื่อนไหวของกลามเนื้อ ง. ลักษณะของบุคคลที่ชอบแสดงความรูสึกสวนตัวใหคนอื่นรับรู

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

22


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------5. “การพัฒนาบุคลิกภาพ” ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุด ก. กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ข. การเปลีย่ นแปลงบุคลิกภาพภายนอกใหเปนที่ยอมรับของสังคม ค. การเปลีย่ นฐานะทางสังคมของบุคคลจากระดับหนึ่งไปอีกระดับหนึง่ ง. วิธีการเปลี่ยนแปลงใหมีบุคลิกภาพที่ดีขึ้น และดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข 6. การพัฒนาบุคลิกภาพ ควรเริ่มจากการพัฒนาสิ่งใดกอน ก. พัฒนาดานจิตใจกอน ข. พัฒนาดานสังคมกอน ค. พัฒนาดานรางกายกอน ง. พัฒนากิริยามารยาทกอน 7. บุคลิกภาพที่ปรากฏแกสายตาผูอื่น ไดแกขอใด ก. ความจํา ข. ความถนัด ค. ความรอบรู ง. การใชภาษา 8. ขอใดไมจัดเปนบุคลิกภาพภายนอก ของบุคคล ก. การพูดจา ข. กิริยาทาทาง ค. ทาทีสุภาพ ง. แตงกายเหมาะสม 9. ขอใด คือสิ่งสําคัญในการเสริมสรางบุคลิกภาพ ก. การพูด ข. การอาน ค. การเขียน ง. การฟง 10. ขอใดเปนความสําเร็จในการดํารงชีวิตของมนุษย ก. ความรูดี ข. มีความสามารถ ค. มีบุคลิกภาพเหมาะสม ง. มีประสบการณแปลกใหม

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

23


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน หนวยที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ง ก ก ค ง ก ค ก ข ง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

24


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

25

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค เลขที่

ชื่อ-สกุล

ความ รับผิดชอบ 3 2 1

มีภาวะ ผูนํา 3 2 1

อากัปกิรยิ า 3

2

1

ควบคุม อารมณ 3 2 1

มีอารมณ ขัน 3 2 1

ไววางใจ ได 3 2 1

ยอมรับ คําวิจารณ 3 2 1

เชื่อมั่นใน ตนเอง 3 2 1

ใหความ รวมมือ 3 2 1

ควคะแนน ใหใสเครื่องหมาย √ ลงในชองวางตามระดับคะแนน ดังนี้ 3 = ดี

2 = พอใช

1 = ปรับปรุง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ

หนวยที่ 1 : ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บรรณานุกรม จุฬพงษ แสงกุล. มปป. การพัฒนาบุคลิกภาพ. กรุงเทพมหานคร : มณฑลการพิมพ. นราธิป นัยนา. 2546. บุคลิกภาพเชิงบวก. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพดอกหญา. ประดินันท อุปรมัย, 2553. การสรางเสริมบุคลิกภาพที่พึงประสงคใหกบั เด็ก. เอกสารการสอนชุดวิชา พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ทองทิพพา วิริยะพันธุ. 2550. มนุษยสัมพันธกับการบริหาร. (พิมพครั้งที่ 4) กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพสหธรรมิก จํากัด. พงศ หรดาล. 2540. จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคกรเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : ศูนยหนังสือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. พิมลพรรณ เชื้อบางแกว. 2552. การพัฒนาบุคลิกภาพ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ฤดี หลิมไพโรจน. 2552. การพัฒนาบุคลิกภาพ. (พิมพครั้งที่ 24) กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ลักขณา สริวัฒน. 2544. จิตวิทยาในชีวิตประจําวัน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร. สมเดช สิทธิพงศพิทยา. 2547. จิตวิทยาบริการ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เรียบเรียงโดย สุนัน จันทรโมลี

แผนกวิชา เลขานุการ

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทองเที่ยวกรุงเทพ

26


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.