km

Page 1

คู่มอื การจัดการความรู้ (Knowledge Management Action)

ปี การศึกษา ๒๕๕๕

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุ ข


คํานํา คู่มือการจัดการความรู ้ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ฉบับนี้ จดั ทําขึ้นเพื่อเป็ นการ กําหนดประเด็นและเป้ าหมายในการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของวิทยาลัยประจําปี การศึกษา ๒๕๕๕ และมีวตั ถุ ประสงค์เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้และการดําเนินงาน โดยการนํากระบวนการการจัดการ ความรู ้มาใช้ในการพัฒนา

คณะกรรมการการจัดการความรู้ กรกฎาคม ๒๕๕๕


สารบาญ

ความเป็ นมาและบทบาทหน้าที่ทีมการจัดการความรู ้ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู ้ ขั้นตอนการทํางานการจัดการความรู ้ แนวทางการกําหนดขอบเขตและเป้ าหมายการจัดการความรู ้ ขอบเขตการจัดการความรู ้ การตัดสิ นใจเลือกขอบเขตการจัดการความรู ้ของหน่วยงาน เป้ าหมายการจัดการความรู ้ของหน่วยงาน แผนการจัดการความรู ้

หน้ า ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๗ ๘ ๙


วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ คู่มือการจัดการความรู้ ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๕ ................................................................. ตามที่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑ กําหนดไว้ว่า “ส่ วนราชการมีหน้าที่พฒั นาความรู้ในส่ วนราชการ เพื่อให้มีลกั ษณะเป็ นองค์กรแห่งการ เรี ยนรู ้ อย่างสมํ่าเสมอ และจากมาตรฐานการอุดมศึกษาข้อที่ ๓ กําหนดให้สถาบันมีการสร้างและพัฒนาสังคม ฐานความรู้และสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ ซึ่ งต้องมีการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่ สถาบันแห่งการเรี ยนรู้ โดยต้องรับรู้ ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวล ผลความรู ้ในด้านต่างๆ เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิราชการได้อย่าง ถูกต้อง รวดเร็ ว และเหมาะสมต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่ งเสริ มและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้าง วิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัด ให้เป็ นบุคลากรที่มีประสิ ทธิ ภาพ มีการแลกเปลี่ยน เรี ยนรู้และมีการเรี ยนรู ้ร่วมกัน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิ ระ สถาบันสมทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สังกัด สถาบันพระบรมราชชนก สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุ ข ได้ตระหนักถึงความสําคัญในการปฏิบตั ิ ราชการตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี จึงมีการนําระบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management) มาใช้ ทั้งนี้ การจัดวางระบบการจัดการความรู้และแผนดําเนินงาน โดย วิทยาลัยพยาบาลบรม ราชชนนี นพรัตน์วชิระ ได้ดาํ เนิ นการแต่งตั้ง CEO (Chief Executive Officer) ผูบ้ ริ หารระดับสู ง CKO (Chief Knowledge Officer) ที่ปรึ กษาทีมงาน KM และทีมงาน KM เพื่อจัดทําระบบการจัดการความรู ้ดาํ เนิ นไปอย่างมี ประสิ ทธิ ผล ดังต่อไปนี้


วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ ขั้นตอนการทํางานการจัดการความรู้

วิธีการปฏิบัติ

คณะกรรมการบริ หารการจัดการความรู ้ และวิเคราะห์กลัน่ กรองผลงานวิจยั

๑.กําหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกคณะกรรมการฯ ๒.กําหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการฯ

ทบทวนแผนกลยุทธ์/แผนปฏิบตั ิการวิทยาลัย และผลการดําเนินงานในปี ที่ผา่ นมา

๑.วิเคราะห์ประเด็นปั ญหา การดําเนิ นงานตามแผนกล ยุทธ์/แผนปฏิบตั ิการวิทยาลัยในปี ที่ผา่ นมา ๑.ประชุมทบทวนประเด็นความสอดคล้องการจัดการ ความรู ้กบั แผนกลยุทธ์/แผนปฏิบตั ิการวิทยาลัย ครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและการวิจยั

วิเคราะห์ประเด็นความสอดคล้องการจัดการความรู ้ กับแผนกลยุทธ์/แผนปฏิบตั ิการวิทยาลัย ครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและการวิจยั

๑.ประชุมพิจารณากลัน่ กรองแผน

จัดทําแผนการจัดการความรู ้

ขออนุมตั ิแผนการจัดการความรู ้ จากคณะกรรมการ บริ หารวิทยาลัยฯ

ผ่าน ดําเนินการตามแผนการจัด การความรู ้ ๗ ขั้นตอน

สรุ ปผลการจัดการความรู ้

ไม่ ผ่าน

๑.เสนอกรรมการบริ หารวิทยาลัยฯให้เห็ นชอบ กรณี ไม่ อนุตินาํ ไปทบทวน กรณี ที่อนุมตั ิให้ดาํ เนินการตามแผน ๑.กํากับติดตามการดําเนินงานทุกไตรมาส ๒.ทํารายงานผลคืบหน้าการดําเนิ นงานการจัดการความรู ้ ต่อคณะกรรมการบริ หารวิทยาลัยฯ - เป็ นไปตามแผนดําเนินงานต่อ - กรณี ไม่เป็ นไปตามแผนให้วเิ คราะห์ ๑.สรุ ปผลการดําเนินงาน ๒.นํา ผลการประเมิ น ไปใช้ใ นการปรั บแผนหรื อจัดทํา แผนการดําเนินงานในปี ต่อไป

บทบาทหน้ าที่ของทีมการจัดการความรู้ ๑. ผูบ้ ริ หารระดับสู ง Chief Executive Officer (CEO) ดร.กนกวรรณ ศิลปกรรมพิเศษ ตําแหน่ง ผูอ้ าํ นวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ


มีหน้ าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ ๑. เป็ นประธาน และเป็ นที่ปรึ กษา การดําเนินงานการจัดการความรู ้ในวิทยาลัยฯ ๒. ส่ งเสริ มและสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้และธํารงการทํางานอย่างมีความสุ ขในวิทยาลัย ๓. กําหนดนโยบายกลยุทธ์ในการจัดการความรู ้ขององค์กร ๔. สนับสนุนในการสร้าง Best Practice ในการจัดการความรู้ ๒. ทีป่ รึกษาทีมงานการจัดการความรู้ Chief Knowledge Officer (CKO) ๒.๑ร.ต.ต.หญิงดร.พิมพ์พฒั น์ จันทร์ เทียน ตําแหน่ง รองฯวิจยั และบริ การวิชาการ ๒.๒ดร.พีระนันทิ์ จีระยิ่งมลคล ตําแหน่ง รองฯกลุ่มวิชาการ ๒.๓ดร.สุ ชีวา วิชยั กุล ตําแหน่ง รองฯกลุ่มกิจการนิสิตและบริ การนิสิต มีหน้ าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ ๑. ให้คาํ ปรึ กษาเกี่ยวกับการดําเนินการและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับทีมงาน KM ๒. นําแผนกลยุทธ์การจัดการความรู ้ขององค์กรสู่ การปฏิบตั ิ ๓. ร่ วมสร้าง Best Practice ในการจัดการความรู้ในองค์กร ๔. ส่ งเสริ มและสนับสนุนในการจัดการความรู ้ในองค์กร ๕. เอื้ออํานวยและสร้างแรงจูงใจในการสร้างองค์ความรู ้ที่ดีข้ ึนในองค์กรร่ วมกับทีมKM ๖. ทําให้การจัดการความรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ขององค์กร ๗. ทําให้การจัดการความรู ้เป็ นกิจกรรมขององค์กร ๘. ให้การสนับสนุนในด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดวัฒธรรมองค์กรแห่งการเรี ยนรู้ ๙. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนํา และร่ วมประชุมเพื่อตัดสิ นใจแก่คณะทีมงาน ๓.งานจัดการความรู้ อาจารย์ สุกจิ ทองพิลา มีหน้ าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ ๑. จัดทําแผนงานการจัดการความรู ้ในองค์กรเพื่อนําเสนอประธานฯ ๒. รายงานผลการดําเนินงาน ๓. ผลักดัน ติดตามความก้าวหน้า และประเมินผลเพื่อปรับปรุ งแก้ไขการจัดการความรู ้ในองค์กร ๔. ประสานงานกับคณะที่ปรึ กษา และทีมงาน

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิ ระ

ขอบเขต KM (KM Focus Areas) ของหน่ วยงาน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิ ระ


ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับจากขอบเขต KM ทีม่ ีต่อ ขอบเขต KM ที่ ข้ าราชการ ของ กระทรวง กรม ประชาชนไทย / (KM Focus Areas) หน่ วยงาน กอง ของ รัฐบาล ชาวต่ างชาติ/ ชุ มชน ตนเอง หน่ วยงานอืน่ เป็ นตัวอย่างการ มีพยาบาลที่ได้ ๑.การจัดการความรู ้ เรื่ องการเตรี ยมความ ได้รับบริ การจาก บัณฑิตมี เตรี ยมเพื่อขอ มาตรฐานวิชาชีพ พร้อมนิสิตพยาบาลในการสอบเพื่อขอรับ บัณฑิตพยาบาลที่มี คุณภาพ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลของ คุณภาพตามเกณฑ์ ตามมาตรฐาน สอบการขึ้น มาตรฐานวิชาชีพ วิชาชีพของ ทะเบียนขอรับ สภาการพยาบาล ใบอนุญาต สภาการ ของสภาการ ประกอบ พยาบาล พยาบาล วิชาชีพการ พยาบาลของ สภาการ พยาบาล มีตวั แบบคู่มือ ผูส้ ู งอายุสามารถ มีคู่มือแนว ๒. การจัดการความรู ้ เรื่ อง คู่มือการดูแล การส่ งเสริ ม ดูแลสุ ขภาพของ สุ ขภาพสําหรับผูส้ ู งอายุ ความสามารถใน ปฏิบตั ิที่ดีใน แนวทาง ตนเองได้ (ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ ๑) การการดูแลตนเอง การส่ งเสริ ม ดําเนินงาน การดูแล ของผูส้ ู งอายุ ผูส้ ู งอายุ

ผู้อนุมัติ ........................................................................ CEO (ดร.กนกวรรณ ศิลปกรรมพิเศษ ) (ผู้อาํ นวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิ ระ ) วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๕ แนวทางการกําหนดขอบเขต KM (KM Focus Areas) และเป้าหมาย KM (Desired State)


พันธกิจ/วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์

(Work process) กระบวนงาน

(ขอบเขต KM)

KM Focus Areas

ความรู้ ท่ สี ําคัญต่ อองค์ กร •ความสัมพันธ์ กับผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ • ประสบการณ์ ความรู้ท่ีองค์กรสั่งสม • ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดการ

๓ ปั ญหา

เรียนการสอน

• ความรู้ท่มี ีอยู่ในบุคลากร

(เป้าหมาย KM) Desired State of KM Focus Areas (แผนการจัดการความรู้ ) KM Action Plans

แผนการจัดการความรู ้ (KM Action Plan) ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๕ ประกอบด้วย ๒ แผนงานที่ สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบันครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจยั คือ ๑. การจัดการความรู ้ เรื่ อง การเตรี ยมความพร้อมนิ สิตพยาบาลในการสอบเพื่อขอรับใบอนุ ญาต ประกอบวิชาชีพการพยาบาลของสภาการพยาบาล ๒. การจัดการความรู ้ เรื่ อง การพัฒนาคู่มือดูแลสุ ขภาพตนเองสําหรับสู งอายุ (ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ ๑)


การตัดสิ นใจเลือกขอบเขต KM ของหน่ วยงาน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิ ระ

เกณฑ์ การกําหนดขอบเขต KM

ขอบเขต KM ที่ ๑

ขอบเขต KM ที่ ๒

๑.สนับสนุน พันธกิจ วิสัยทัศนและยุทธศาสตร์ ๕ ๒.ปรับปรุ งแล้วเห็นได้ชดั เจน (เป็ นรู ปธรรม) ๕ ๓.มีโอกาสทําได้สาํ เร็ จสู ง ๔ ๔.ต้องทํา คนส่ วนใหญ่ในองค์กรต้องการ ๕ ๕.ผูบ้ ริ หารให้การสนับสนุน ๕ ๖.เป็ นความรู ้ที่ตอ้ งจัดการอย่างเร่ งด่วน ๕ ๗ มีคุณค่าต่อองค์กรและสังคม ๕ ๘.เป็ นปั ญหาที่ประสบอยูแ่ ละสามารถนําKM มาช่วยได้ ๕ ๔๐ รวมคะแนน (๔๐ คะแนน) หมายเหตุ : เกณฑ์การให้คะแนน คือ มากที่สุด = ๕, มาก = ๔, ปานกลาง = ๓, น้อย = ๒,น้อยที่สุด = ๑

๕ ๔ ๔ ๕ ๕ ๔ ๕ ๕ ๓๘

........................................................................ CEO (ดร.กนกวรรณ ศิลปกรรมพิเศษ ) (ผู้อาํ นวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิ ระ ) วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ผู้อนุมัติ


เป้าหมาย KM (Desired State) ของหน่ วยงาน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิ ระ เป้าหมาย KM (Desired State)

หน่ วยทีว่ ดั ผลได้ เป็ นรูปธรรม

๑.การจัดการความรู ้ เรื่ องการเตรี ยมความพร้อมนิสิตพยาบาลในการ แนวปฏิบตั ิที่ดีในการเตรี ยมความพร้อมนิสิต สอบเพื่อขอรับใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลของสภาการ พยาบาลในการสอบเพื่อขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพการพยาบาลของสภาการพยาบาล พยาบาล สําหรับ นิสิตพยาบาลศาสตรบัณฑิต รุ่ น ๑๑๑ ๒. การจัดการความรู ้ เรื่ อง การดูแลสุ ขภาพตนเองสําหรับผูส้ ู งอายุ

การจัดการความรู้ เรื่ อง คู่มือการดู แลสุ ขภาพ ตนเองสํา หรั บ การดู แลผูส้ ู ง อายุ (ฉบับ ปรั บ ปรุ ง ครั้งที่ ๑)

........................................................................ CEO (ดร.กนกวรรณ ศิลปกรรมพิเศษ ) (ผู้อาํ นวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิ ระ ) วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ผู้อนุมัติ


แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชื่อหน่ วนงาน : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เป้าหมาย KM (Desired State) :การจัดการความรู ้ เรื่ องการเตรี ยมความพร้อมนิสิตพยาบาลในการสอบเพื่อขอรับใบอนุ ญาต ประกอบวิชาชีพการพยาบาลของสภาการพยาบาล หน่ วยทีว่ ดั ผลได้ เป็ นรูปธรรม : แนวปฏิบตั ิที่ดีในการเตรี ยมความพร้อมนิสิตพยาบาลในการสอบเพื่อขอรับใบอนุ ญาต ประกอบ วิชาชี พการพยาบาลของสภาการพยาบาล สําหรับคณาจารย์เพื่อนิสิตหลักสู ตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต รุ่ น ๑๑๑ ลําดับ กิจกรรม วิธีการสู่ ระยะ ตัวชี้วดั เป้าหมาย เครื่องมือ ผู้รับผิด สถานะ ความสํ าเร็จ เวลา /อุปกรณ์ ชอบ ๑

การบ่งชี้ความรู ้-การ ทบทวนการ ดําเนินงานและข้อ เ ส น อ แ น ะ ใ น ปี การศึกษา ๒๕๕๔ -เสนอขออนุ มตั ิ ต่ อ คณะกรรมการ บริ หารวิทยาลัย

ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ แสวงหาความรู ้ -การเรี ยนรู ้ จากการ สัง่ สมประสบการณ์ ในการเตรี ยมความ พร้อมนิสิตพยาบาล ในการสอบขึ้น ทะเบียนใบ ประกอบวิชาชีพฯ

- การเสวนาและอภิ กค.๕๖ หั ว เ รื่ อ ง หัวเรื่ องได้รับ -กระดาษ A๔ ปราย ได้รับการ การอนุมตั ิให้ -พริ้ นเตอร์ -คอมพิวเตอร์ -วิเคราะห์ความสําคัญ อ นุ มั ติ ใ ห้ ดําเนินการ ของแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี จัดการความ จัดการความรู ้ -เ ค รื่ อ ง การเตรี ยมความพร้อม รู ้จากคณะ ในปี การศึกษา Projector ๒๕๕๕ นิสิตพยาบาลในการ กรรมการ บริ หาร สอบขึ้ นทะเบี ย นใบ วิทยาลัยฯ ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ สํา หรั บ ของสภาการ พ ย า บ า ล ข อ ง นิ สิ ต พยาบาลต่อวิทยาลัย -นําแนวปฏิบตั ิที่ดีใน ตค..๕๕ -มี ก า ร จํ า น ว น -เ อ ก ส า ร เตรี ยมความพร้อม -ตําราวิชาการฯ เตรี ยม รายวิชา นิสิตพยาบาลในการ ความพร้อม ที่มีการเตรี ยม Internet สอบขึ้นทะเบียนใบ นิสิตพยา ความพร้อม -กระดาษ A ๔ ประกอบวิชาชีพพยา บาลในการ นิสิตพยาบาล -คอมพิ ว เตอร์ บาลของสภาการ สอบขึ้นทะ ใน การ สอ บ -พ ริ้ น เ ต อ ร์ พยาบาล ปี การศึกษา เบียนใบ ขึ้นทะเบียนฯ -ห้องประชุม ๒๕๕๔ไปใช้ ใ นปี ประกอบ การ วิช าชี พ ของ ศึกษา๒๕๕๕ สภาการ พยาบาล ตามแนว

-รองผูอ้ าํ นวย ดําเนิน การฝ่ ายวิชาการ การเสร็ จ -KM Team สิ้นแล้ว -หั ว ห น้ า กลุ่ ม วิ ช า ก า ร พยาบาล

-รองผูอ้ าํ นวย การฝ่ ายวิชาการ -KM Team -หั ว หน้ า กลุ่ ม วิ ช า ก า ร พยาบาล

ดําเนิน การ เสร็ จ สิ้นแล้ว


แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชื่อหน่ วนงาน : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เป้าหมาย KM (Desired State) :การจัดการความรู ้ เรื่ องการเตรี ยมความพร้อมนิสิตพยาบาลในการสอบเพื่อขอรับใบอนุ ญาต ประกอบวิชาชีพการพยาบาลของสภาการพยาบาล หน่ วยทีว่ ดั ผลได้ เป็ นรูปธรรม : แนวปฏิบตั ิที่ดีในการเตรี ยมความพร้อมนิสิตพยาบาลในการสอบเพื่อขอรับใบอนุ ญาต ประกอบ วิชาชี พการพยาบาลของสภาการพยาบาล สําหรับคณาจารย์เพื่อนิสิตหลักสู ตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต รุ่ น ๑๑๑ ลําดับ กิจกรรม วิธีการสู่ ระยะ ตัวชี้วดั เป้าหมาย เครื่องมือ ผู้รับผิด สถานะ ความสํ าเร็จ เวลา /อุปกรณ์ ชอบ ปฏิบตั ิที่ดี

การจัดความรู ้ให้ เป็ นระบบ - การวิเคราะห์และ จัดระบบข้อมูล

การประมวลและ กลัน่ กรองความรู ้ - การนําเสนอองค์ ความรู ้

- รวบรวมความรู ้เป็ น พย.๕๕ หมวดหมู่และจัดข้อ มูลเป็ น Knowledge Baseเกี่ยวกับการ เตรี ยมความพร้อม นิสิตพยาบาลใน การสอบขึ้นทะเบียน ใบประกอบวิชาชีพ พยาบาลของสภา การพยาบาล ธค.๕๕ สังเคราะห์ประเด็น สาระความรู ้จาก ประสบการณ์ เกี่ยวกับการเตรี ยม ความพร้อมนิสิต พยาบาลในการ สอบขึ้นทะเบียน ใบประกอบ วิ ช าชี พ พยาบาลของ สภาการพยาบาล

มีขอ้ มูลแนว ปฏิบตั ิที่ดี ในเตรี ยม ความพร้อม นิสิต

จํานวนความรู ้ -กระดาษ A๔ ที่นาํ ไปใช้ได้ -คอมพิวเตอร์ -พริ้ นเตอร์ จริ งอย่าง น้อย ๑รายการ

-รองผู ้ อํานวย การฝ่ ายวิชาการ -KM Team -หัวหน้ากลุ่ม วิชาการ พยาบาล

ดําเนิน การ เสร็ จ สิ้นแล้ว

องค์ความรู ้ เกี่ยวกับ แนวปฏิบตั ิ ที่ดี ในการ เตรี ยมความ พร้ อ มนิ สิ ต พยาบาลใน การสอบขึ้น ทะเบียนฯ

แนวปฏิบตั ิที่ดี -กระดาษ A๔ ในการเตรี ยม -คอม พิวเตอร์ ความพร้อม -พริ้ นเตอร์ นิสิตพยาบาล ในการสอบ ขึ้นทะเบียนฯ นิสิตพยาบาล ศาสตร์ รุ่ น ๑๑๑

-รองผู ้ อํานวย การฝ่ ายวิชาการ -KM Team -หัวหน้ากลุ่ม วิชาการ พยาบาล

ดําเนิน การ เสร็ จ สิ้นแล้ว


แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชื่อหน่ วนงาน : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เป้าหมาย KM (Desired State) :การจัดการความรู ้ เรื่ องการเตรี ยมความพร้อมนิสิตพยาบาลในการสอบเพื่อขอรับใบอนุ ญาต ประกอบวิชาชีพการพยาบาลของสภาการพยาบาล หน่ วยทีว่ ดั ผลได้ เป็ นรูปธรรม : แนวปฏิบตั ิที่ดีในการเตรี ยมความพร้อมนิสิตพยาบาลในการสอบเพื่อขอรับใบอนุ ญาต ประกอบ วิชาชี พการพยาบาลของสภาการพยาบาล สําหรับคณาจารย์เพื่อนิสิตหลักสู ตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต รุ่ น ๑๑๑ ลําดับ กิจกรรม วิธีการสู่ ระยะ ตัวชี้วดั เป้าหมาย เครื่องมือ ผู้รับผิด สถานะ ความสํ าเร็จ เวลา /อุปกรณ์ ชอบ ๕

การเข้าถึงความรู ้ -การนําเสนอองค์ ความรู ้

การแบ่งปั น แลกเปลี่ยนความรู ้

ช่องทางการ มีช่องทางการ เข้าถึงองค์ เข้าถึงอย่าง น้อย ๓ช่อง ความรู ้ ทาง

-รอง ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายวิชาการ -คณะ กรรมการ วิชาการ -KM Team -หัวหน้ากลุ่ม วิชา ๘ กลุ่ม วิชา -เจ้า หน้าที่ IT -กระดาษA ๔ -รอง มีค..๕๖ มีกิจกรรม -จํานวน -จัดทํากิจกรรม -คอม พิวเตอร์ ผูอ้ าํ นวยการ CoP หัวข้อ ผูเ้ ข้าร่ วม COP, After Action ฝ่ ายวิชาการ เรื่ องการการ กิจกรรม CoP -พริ้ นเตอร์ Review -คณะ -Hardware เตรี ยมความ -จํานวนผู ้ เรื่ องการการเตรี ยม กรรมการ Software พร้ อ มนิ สิ ต เข้าถึงองค์ ความพร้อมนิสิต วิชาการ ความรู ้บน พยาบาล พยาบาลในการ -KM Team ในการสอบ web blog สอบขึ้นทะเบียน -หัวหน้ากลุ่ม ขึ้นทะเบี ยน ใบประกอบ วิชา ๘ กลุ่ม ฯ วิ ช าชี พ พยาบาลของ วิชา สภาการพยาบาล -เจ้า หน้าที่ IT

- วางบน Web blog - เอกสาร - ป้ าย ประชาสัมพันธ์ - เสนอในที่ประชุม ประจําเดือน

มค.๕๖

-กระดาษA ๔ -คอม พิวเตอร์ -พริ้ นเตอร์ -Hardware Software -

ดําเนิน การ เสร็ จ สิ้นแล้ว

ดําเนิน การ เสร็ จ สิ้นแล้ว


แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชื่อหน่ วนงาน : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เป้าหมาย KM (Desired State) :การจัดการความรู ้ เรื่ องการเตรี ยมความพร้อมนิสิตพยาบาลในการสอบเพื่อขอรับใบอนุ ญาต ประกอบวิชาชีพการพยาบาลของสภาการพยาบาล หน่ วยทีว่ ดั ผลได้ เป็ นรูปธรรม : แนวปฏิบตั ิที่ดีในการเตรี ยมความพร้อมนิสิตพยาบาลในการสอบเพื่อขอรับใบอนุ ญาต ประกอบ วิชาชี พการพยาบาลของสภาการพยาบาล สําหรับคณาจารย์เพื่อนิสิตหลักสู ตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต รุ่ น ๑๑๑ ลําดับ กิจกรรม วิธีการสู่ ระยะ ตัวชี้วดั เป้าหมาย เครื่องมือ ผู้รับผิด สถานะ ความสํ าเร็จ เวลา /อุปกรณ์ ชอบ ดําเนิน เมย..๕๖ มีกิจกรรม บทสรุ ปจาก -กระดาษA ๔ -รอง ๗ การเรี ยนรู้-ทบทวน -จัดทํากิจกรรม การจัดทํากิจกรรม ในประเด็นการ เตรี ยมความพร้อม นิสิตเพื่อสอบขอขึ้น ทะเบียนการ พยาบาลของสภา การพยาบาล

COP, After Action Review เพื่อ สังเคราะห์ประเด็น ส า ร ะ ค ว า ม รู ้ เ รื่ อ ง เรื่ องการการเตรี ยม ความพร้อมนิสิต พยาบาลในการ สอบขึ้นทะเบียน ใบประกอบ วิชาชีพพยาบาลของ นิสิตพยาบาล

การสรุ ปการ เรี ยนรู ้การ เตรี ยมความ พร้อมนิสิต เพื่อสอบขอ ขึ้นทะเบียน ฯ

การเรี ยนรู ้การ เตรี ยมความ พร้อมนิสิต เพื่อสอบขอ ขึ้นทะเบียนฯ

-คอม พิวเตอร์ -พริ้ นเตอร์ -Hardware Software

ผูอ้ าํ นวยการ การ ฝ่ ายวิชาการ เสร็ จสิ้น แล้ว -คณะ กรรมการ วิชาการ -KM Team -หัวหน้ากลุ่ม วิชา ๘ กลุ่ม วิชา -เจ้า หน้าที่ IT

ผูร้ ายงาน : อาจารย์สุกิจ ทองพิลา งานการจัดการความรู้ ผูท้ บทวน : ร.ต.ต.หญิงดร.พิมพ์พฒั น์ จันทร์เทียน รองฯวิจยั และบริ การวิชาการ ผูท้ บทวน : ดร.พีระนันทิ์ จีระยิง่ มงคล รองฯกลุ่มวิชาการ ผูอ้ นุมตั ิ : ดร.กนกวรรณ ศิลปกรรมพิเศษ ผูอ้ าํ นวยการฯ


แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชื่อหน่ วนงาน : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เป้ าหมาย KM (Desired State) :การจัดการความรู ้ การดูแลสุขภาพตนเองสําหรับผูส้ ูงอายุและผูด้ ูแล หน่ วยที่วัดผลได้ เป็ นรู ปธรรม:คู่มือแนวปฏิบตั ิที่ดีในการดูแลสุ ขภาพตนเองสําหรับผูส้ ู งอายุและผูด้ ูแล คณาจารย์ นิสิตพยาบาลเพื่อบุคลากรของวิทยาลัยฯ และประชาชนที่สนใจ ลําดับ กิจกรรม วิธีการสู่ ความสําเร็จ ระยะ ตัวชี้วดั เป้ าหมาย เครื่องมือ เวลา /อุปกรณ์ หัวเรื่ องได้รับ -กระดาษ A กค.๕๕ หัวเรื่ อง ๑. การบ่งชี้ความรู ้ การเสวนาและ ๔ ได้รับอนุมตั ิ อนุมตั ิให้ -ป ร ะ ชุ ม อภิปราย -พริ้ นเตอร์ ดําเนินการ ให้ ท บ ท ว น ก า ร -วิเคราะห์ ปัญ หาของ ดําเนินการ จัดการความรู ้ -คอม พิว ดํา เนิ น งานของ ภาควิ ช าฯและระบุ ในปี การศึกษา เตอร์ จัดการ ภ า ค ก า ร บ่งชี้ความรู ้ทีจาํ เป็ น -เครื่ อง ความรู ้จาก ๒๕๕๕ พยาบาลผู ้ใ หญ่ ต่อการปฏิบตั ิงานของ Projector คณะกรรม ภาควิชาฯ และผูส้ ูงอายุ การ -เสนอขออนุ มตั ิ -เสนอขออนุ ม ั ติ ต่ อ บริ หาร ต่อคณะกรรม คณะกรรมการบริ หาร วิทยาลัยฯ วิทยาลัย การบริ หาร วิทยาลัยฯ สค.๕๕ -องค์ความรู ้ อาจารย์มีองค์ -เอกสาร -การเสวนาและ ๒. การสร้างและ แสวงหาความรู ้ อภิปราย เกี่ ยวกับการ ความรู ้เกี่ยว -ตํารา - การวิเคราะห์ จาก ค ว า ม รู ้ กับเกี่ยวกับ วิชาการฯ Internet ประสบการณ์ รวบรวมข้อมูล เกี่ ยวกับการ การดูแล การจัดการเรี ยน ข้อเสนอแนะจาก ดูแลสุ ขภาพ สุขภาพตนเอง -กระดาษ ผูใ้ ช้บริ การ การสอนและ ต น เ อ ง สํ า สํา หรับผูส้ ูง A ๔ การค้นคว้า ห รั บ ผู ้ สู ง อายุและผูด้ ูแล -คอม พิว เพิ่มเติม อ า ยุ แ ล ะ และเข้าร่ วม เตอร์ -พริ้ นเตอร์ เสวนาอภิ ผูด้ ูแล -ห้อง ปราย อย่าง น้อยร้อย ประชุม ละ ๘๐ จํานวนความรู ้ -กระดาษ กย.๕๕ มีการ ๓ การจัดความรู ้ - รวบรวมความรู ้ ที่นาํ ไปใช้ได้ A๔ รวบรวม เป็ นหมวดหมู่และ ให้เป็ นระบบ จริ งอย่างน้อย -คอม พิว ความรู ้ จัดข้อมูลเป็ น -รวบรวม เตอร์ เกี่ยวกับการ ๑รายการ Knowledge Base วิเคราะห์และ -พริ้ น ดูแลสุขภาพ จัดระบบข้อมูล เกี่ยวกับการดูแล

สําหรับ ผู้รับผิด ชอบ -รองผู ้ อํานวย การฝ่ ายวิชาการ -KM Team -หัวหน้ากลุ่ม วิชาการ พยาบาล

สถานะ ลําดับ ดําเนิน การ เสร็ จสิ้น แล้ว

-รองผู ้ อํานวย การฝ่ ายวิชาการ -KM Team -หัวหน้ากลุ่ม วิชาการ พยาบาล

ดําเนิน การ เสร็ จสิ้น แล้ว

-รองผู ้ อํานวย การฝ่ ายวิชาการ -KM Team -หัวหน้ากลุ่ม วิชาการ

ดําเนิน การ เสร็ จสิ้น แล้ว


แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชื่อหน่ วนงาน : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เป้ าหมาย KM (Desired State) :การจัดการความรู ้ การดูแลสุขภาพตนเองสําหรับผูส้ ูงอายุและผูด้ ูแล หน่ วยที่วัดผลได้ เป็ นรู ปธรรม:คู่มือแนวปฏิบตั ิที่ดีในการดูแลสุ ขภาพตนเองสําหรับผูส้ ู งอายุและผูด้ ูแล คณาจารย์ นิสิตพยาบาลเพื่อบุคลากรของวิทยาลัยฯ และประชาชนที่สนใจ ลําดับ กิจกรรม วิธีการสู่ ความสําเร็จ ระยะ ตัวชี้วดั เป้ าหมาย เครื่องมือ เวลา /อุปกรณ์ เตอร์ ตนเองสํา ผูส้ ูงอายุที่ป่วยด้วย หรับผูส้ ูง โรคความดันโลหิ ตสูง อายุและ ผูด้ ูแลอย่าง เป็ นระบบ สังเคราะห์ประเด็น -กระดาษ ๔ การประมวล ตค.๕๕ องค์ความรู ้ องค์ความรู ้ และกลัน่ กรอง สาระความรู ้จาก เกี่ยวกับการ เกี่ยวกับการ A๔ ประสบการณ์และ ความรู ้ ดูแลสุขภาพ ดูแลผูส้ ูงอายุ -คอม พิว ทบทวนผลการ การศึกษาค้นคว้า ตนเองของ อย่างน้อย ๑ เตอร์ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ดู แ ล -พริ้ น ดําเนินงาน ผูส้ ูงอายุ รายการ ผู ้ สู งอายุ ที่ ป่ วยด้ ว ย เตอร์ และผูด้ ูแล โรคความดันโลหิ ตสูง การวิ เ คราะห์ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ข้ อ เ ส น อ แ น ะ จ า ก ผูใ้ ช้บริ การ พย.๕๕ ช่องทางการ มีช่องทางการ -กระดาษ - จัดทําเป็ นคู่มือ ๕ การเข้าถึง A๔ เข้าถึงองค์ เข้าถึงอย่าง ความรู ้การนํา สวยงาม -คอม พิว ความรู ้ น้อย -วางบน Web blog เสนอองค์ เตอร์ ๓ ช่องทาง - ป้ ายประชาสัมพันธ์ ความรู ้ -พริ้ น - เสนอในที่ประชุม เตอร์ ประจําเดือน Hardware Software

สําหรับ ผู้รับผิด ชอบ พยาบาล

สถานะ ลําดับ

-รองผู ้ อํานวย การฝ่ ายวิชาการ -KM Team -หัวหน้ากลุ่ม วิชาการ พยาบาล

ดําเนิน การ เสร็ จสิ้น แล้ว

รอผล -รอง ผูอ้ าํ นวยการ การดํา ฝ่ ายวิชาการ เนินงาน -คณะ กรรมการ วิชาการ -KM Team -เจ้า หน้าที่ IT


แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชื่อหน่ วนงาน : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เป้ าหมาย KM (Desired State) :การจัดการความรู ้ การดูแลสุขภาพตนเองสําหรับผูส้ ูงอายุและผูด้ ูแล หน่ วยที่วัดผลได้ เป็ นรู ปธรรม:คู่มือแนวปฏิบตั ิที่ดีในการดูแลสุ ขภาพตนเองสําหรับผูส้ ู งอายุและผูด้ ูแล คณาจารย์ นิสิตพยาบาลเพื่อบุคลากรของวิทยาลัยฯ และประชาชนที่สนใจ ลําดับ กิจกรรม วิธีการสู่ ความสําเร็จ ระยะ ตัวชี้วดั เป้ าหมาย เครื่องมือ เวลา /อุปกรณ์ พค.๕๕ มีกิจกรรม -จํานวน -จัดทํากิจกรรม -กระดาษ ๖ การแบ่งปั น CoP หัวข้อ ผูเ้ ข้าร่ วม CoP, After Action A๔ แลกเปลี่ยน Reviewเรื่ องการดูแล ความรู ้ การการดูแล กิจกรรม CoP -คอม พิว เตอร์ -จัดแลกเปลี่ยน ผูส้ ูงอายุ สุขภาพตน -จํานวนผู ้ -พริ้ น เรี ยนรู ้หลังจาก เองสําหรับ เข้าถึงองค์ เตอร์ นําความรู ้ที่ได้ ความรู ้บน ผูส้ ูงอายุ ไปใช้อย่าง และผูด้ ูแล web blog Hardware ต่อเนื่อง Software ๗ ก า ร เ รี ย น รู ้ - -จัดทํากิจกรรม พค..๕๕ มี คู่ มื อ แนว บทสรุ ปจาก -กระดาษ ท บ ท ว น ก า ร COP, After Action ป ฏิ บั ติ ที่ ดี การใช้คู่มือ A ๔ จัดทํากิจกรรม Review เพื่อ ในการดู แ ล -คอม พิ ว สังเคราะห์ประเด็น สุ ข ภาพตน เ ต อ ร์ เองสํ า หรั บ -พ ริ้ น ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ผู ้ สู ง อ า ยุ เ ต อ ร์ ต น เ อ ง สํ า ห รั บ ( ฉ บั บ ผูส้ ูงอายุและผูด้ ูแล Hardware ป รั บ ป รุ ง Software ครั้งที่๑ )

ผูร้ ายงาน : อาจารย์สุกิจ ทองพิลา ผูท้ บทวน : ร.ต.ต.หญิงดร.พิมพ์พฒั น์ จันทร์เทียน ผูท้ บทวน : ดร.พีระนันทิ์ จีระยิง่ มงคล ผูอ้ นุมตั ิ : ดร.กนกวรรณ ศิลปกรรมพิเศษ

สําหรับ ผู้รับผิด สถานะ ชอบ ลําดับ รอผล -รอง ผูอ้ าํ นวยการ การดํา ฝ่ ายวิชาการ เนินงาน -คณะ กรรมการ วิชาการ -KM Team -เจ้า หน้าที่ IT -รองผูอ้ าํ นวย ร อ ผ ล การฝ่ ายวิชาการ ก า ร ดํ า เนินงาน -คณะ กรรมการ วิชาการ -KM Team -หั ว หน้า กลุ่ ม วิ ช า ๘ กลุ่ ม วิชา -เจ้าหน้า ที่ IT

งานการจัดการความรู้ รองฯวิจยั และบริ การวิชาการ รองฯกลุ่มวิชาการ ผูอ้ าํ นวยการฯ


การค้ นหาความเสี่ ยง งานการจัดการความรู้ ลําดับ ชื่อกระบวนงานหลัก ๑. คณะกรรมการบริ หารการจั ด การความรู ้ แ ละ วิเคราะห์กลัน่ กรองผลงานวิจยั ๒. ทบทวนแผนกลยุทธ์ /แผนปฏิ บตั ิ การวิทยาลัยและ ผลการดําเนินงานในปี ที่ผา่ นมา

๓.

๔.

ปัญหา/ความเสี่ ยงที่อาจเกิด ๑.แต่งตั้งคนไม่ตรงกับงาน ๒.ไม่มีความรู้ ความเข้าใจการจัดการความรู้ ๑. คณะกรรมการเข้าร่ วมประชุมไม่ครบ/ไม่ได้ประชุม ๒.ไม่ ไ ด้ ติ ด ตามข้ อ มู ล แผนกลยุ ท ธ์ / แผนปฏิ บ ัติ ก าร วิทยาลัยและผลการดําเนินงานในปี ที่ผา่ นมา ๓.มี ค วามรู้ ความเข้า ใจแผนกลยุ ท ธ์ / แผนปฏิ บ ัติ ก าร วิทยาลัยคลาดเคลื่อน ๓.เอกสารหาย /ไม่ครบ วิเคราะห์ประเด็นความสอดคล้องการจัดการความรู้ ๑.ประชุ มทบทวนประเด็นความสอดคล้องการจัดการ ๑.คณะกรรมการเข้าร่ วมประชุมไม่ครบ/ไม่ได้ประชุม ๒.ไม่วเิ คราะห์ความสอดคล้องของการจัดการความรู้ กับแผนกลยุทธ์/แผนปฏิบตั ิการวิทยาลัย ครอบคลุม ความรู ้กบั แผนกลยุทธ์/แผนปฏิบตั ิการวิทยาลัย พันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและการวิจยั ครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและการวิจยั

จัดทําแผนการจัดการความรู ้

ขั้นตอนการปฏิบตั ิ ๑.กําหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกคณะกรรมการฯ ๒.กําหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการฯ ๑.วิเคราะห์ประเด็นปั ญหา การดําเนิ นงานตามแผนกล ยุทธ์/แผนปฏิบตั ิการวิทยาลัยในปี ที่ผา่ นมา

๑.ประชุมพิจารณากลัน่ กรองแผน

๑.คณะกรรมการเข้าร่ วมประชุมทําแผนไม่ครบ ๒.แผนฯความรู ้ไม่สอดคล้อง และครอบคลุมพันธกิจด้าน การผลิตบัณฑิตและการวิจยั ๓. แผนฯไม่ ค รบตามขั้ นตอนการจัด การความรู้ ๗ ขั้นตอน


ลําดับ

๕.

๖.

๗.

ชื่อกระบวนงานหลัก

ขั้นตอนการปฏิบตั ิ

ขออนุ มตั ิแผนการจัดการความรู ้ จากคณะกรรมการ ๑.เสนอกรรมการบริ หารวิทยาลัยฯให้เห็นชอบ กรณี ไม่ บริ หารวิทยาลัยฯ อนุ ติ นํา ไปทบทวน กรณี ที่ อ นุ ม ัติ ใ ห้ด ํา เนิ น การตาม แผน ดําเนินการตามแผนการจัด ๑.กํากับติดตามการดําเนินงานทุกไตรมาส การความรู ้ ๗ ขั้นตอน ๒.ทํา รายงานผลคื บ หน้า การดํา เนิ น งานการจัด การ ความรู ้ต่อคณะกรรมการบริ หารวิทยาลัยฯ - เป็ นไปตามแผนดําเนินงานต่อ - กรณี ไม่เป็ นไปตามแผนให้วเิ คราะห์

สรุ ปผลการจัดการความรู ้

ปัญหา/ความเสี่ ยงที่อาจเกิด ๔.แผนฯหาย ถูกไวรัสคอมพิวเตอร์ ทาํ ลาย ไม่ได้ Back up ข้อมูลไว้ ๑.คณะกรรมการวิทยาลัย มี ภาระงานมาก ไม่ไ ด้ประชุ ม หรื อประชุมล้าช้า

๑.ไม่ได้ดาํ เนินงานตามแผนที่ต้ งั ไว้ ๒.ภาระงานอาจารย์มาก บุคลากรขับเคลื่อน้อย ๓.ไม่มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ๔.บุคลากรขาดความมุ่งมัน่ ในการดําเนินงาน ๕.บุ ค ลากรไม่ เ ห็ น ประโยชน์ ไม่ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ ไม่ เข้าใจการจัดการความรู้ ๖.ขาดความร่ ว มมื อ จากภาคี เ ครื อข่ า ยทั้ง ในและนอก วิทยาลัย ๖.งบประเมินเบิกจ่ายล้าช้า ๑.คณะกรรมการเข้าร่ วมสรุ ปโครงการไม่ครบ ๑.สรุ ปผลการดําเนินงาน ๒.นําผลการประเมินไปใช้ในการปรับแผนหรื อจัดทํา ๒.ไม่มีการสรุ ปผลการจัดการความรู้ แผนการดําเนินงานในปี ต่อไป


วิเคราะห์ ระดับความรุ นแรงและจัดระดับความเสี่ ยง งาน.การจัดการความรู้. ชื่อความเสี่ ยง/ปั ญหาที่พบ

การวิเคราะห์ความเสี่ ยง โอกาสที่จะเกิดความเสี่ ยง (A) ผลกระทบของความเสี่ ยง (B) สูง มาก ๕

๑.คณะกรรมการบริ หารการ จัด การความรู ้ แ ละวิ เ คราะห์ กลัน่ กรองผลงานวิจยั ๒.ทบทวนแผนก ล ยุ ท ธ์ / แผนปฏิบตั ิการวิทยาลัยและ ผลการดําเนิ นงานในปี ที่ผา่ น มา ๓.วิ เ คราะห์ ป ระเด็ น ความ สอดคล้องการจัดการความรู ้ กับ แผนกลยุทธ์ /แผนปฏิ บ ตั ิ การวิทยาลัย ครอบคลุมพันธ กิ จด้า นการผลิ ตบัณ ฑิ ตและ

สูง ๔

ปาน กลาง ๓

น้อย ๒ /

น้อย มาก ๑

สูง มาก ๕

สูง ๔

ปาน กลาง ๓

ลําดับ ความ เสี่ ยง น้อย น้อย A  B ๒ มาก ๑ / ๔

กลยุทธ์การจัดการความเสี่ ยง

หลีก เลี่ยง

ถ่าย การ การ โอน ลด ยอมรับ /

/

/

/

/

/

/

แนวทางการจัดการความเสี่ ยง


ชื่อความเสี่ ยง/ปั ญหาที่พบ

การวิเคราะห์ความเสี่ ยง โอกาสที่จะเกิดความเสี่ ยง (A) ผลกระทบของความเสี่ ยง (B) สูง มาก ๕

การวิจยั ๔.จั ด ทํ า แผนก ารจั ด ก าร ความรู ้ ๕.ขออนุ มตั ิ แผนการจัดการ ความรู ้ จ ากคณะกรรมการ บริ หารวิทยาลัยฯ ๖.ดําเนินการตามแผนการจัด การความรู ้ ๗ ขั้นตอน ๗สรุ ปผลการจัดการความรู ้

สูง ๔

ปาน กลาง ๓

น้อย ๒

น้อย มาก ๑

สูง มาก ๕

สูง ๔

ปาน กลาง ๓

/

ลําดับ ความ เสี่ ยง น้อย น้อย A  B ๒ มาก ๑ /

/

/

/

/

/

หลีก เลี่ยง

แนวทางการจัดการความเสี่ ยง

ถ่าย การ การ โอน ลด ยอมรับ

/

/

/

กลยุทธ์การจัดการความเสี่ ยง

/

-มีการควบคุมกํากับการปฏิบตั ิงาน โดยรายงานผลการปฏิบตั ิงานแก่ กบ. ทุกไตรมาส /


แผนจัดการความเสี่ยง กลุ่มงาน/หน่ วยงานการจัดการความรู้ ปี การศึกษา ๒๕๕๕ ลําดับ

ประเภทความเสีย่ ง

ดําเนินการตามแผนการจัด การความรู ้ ๗ ขั้นตอน

ระดับความ รุนแรง ๑(๙)

แนวทางการป้องก้นความเสีย่ ง ทีด่ าํ เนินการอยู่ ควบคุมกํากับการดดําเนินงานการ จัดการความรูโ้ ดยคณะกรรมการการ จัดการความรู้

แนวทางป้องกันความเสีย่ ง ทีด่ าํ เนินการเพิม่ รายงานผลการดําเนินงานเป็ น ไตรมาสกับคณะ กรรมการบริหารวิทยาลัยฯ

ระยะเวลา

หน่วยงาน

ผูร้ บั ผิดชอบ

มค-ตค ๕๖ กลุ่มงานวิจยั ปรับแผนฯ และบริการ ๕๗ วิชาการ

กลุ่มงานวิจยั และบริการ วิชาการ งานจัดการ ความรู้


จัดทําแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในแบบ ปย.๒ รายงานการประเมิ นและการปรับปรุงการควบคุมภายใน สําหรับปี สิ้ นสุดวันที่ … ๓๑…เดือน…พฤษภาคม .พ.ศ…๒๕๕๕…. กระบวนการ ปฏิ บตั ิ งานและ วัตถุประสงค์ของ การควบคุม (๑) ๑ .ดํ า เ นิ น ก า ร ต า ม แผนการจัดการความรู ้ ๗ ขั้นตอน วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีการด ดําเนินงานการจัดการ เรี ยนรู ้ครบทั้ง ๗ ขั้นตอนครบถ้วน สอดคล้องกันและมี ประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล

การควบคุมที่มีอยู่ (๒)

การประเมิ นผลการ ควบคุม (๓)

๑.วิทยาลัยโดยคณะกรรมการ การจัดการความรู ้ ๒. วิเคราะห์ทบทวนแผนกล ยุทธ์/แผนปฏิบตั ิการวิทยาลัย และผลการดําเนินงานในปี ที่ ผ่านมาครอบคลุมพันธกิจด้าน การผลิตบัณฑิตและวิจยั ๓. ประชุมปรับแผน ๔.เสนอคณะกรรมการบริ หาร วิทยาลัยพิจารณาอนุมตั ิ

เพียงพอ เพียงพอ

เพียงพอ เพียงพอ

ความเสี่ยงที่ยงั เหลือยู่ (๔)

การปรับปรุงการ ควบคุม (๕)

กําหนดเสร็จ/ ผูร้ บั ผิดชอบ (๖)

หมายเหตุ (๗)


กระบวนการ ปฏิ บตั ิ งานและ วัตถุประสงค์ของ การควบคุม (๑)

การควบคุมที่มีอยู่ (๒)

๖.ประเมินผลการดําเนิ นงาน

การประเมิ นผลการ ควบคุม (๓)

ไม่เพียงพอ

ความเสี่ยงที่ยงั เหลือยู่ (๔)

การปรับปรุงการ ควบคุม (๕)

กําหนดเสร็จ/ ผูร้ บั ผิดชอบ (๖)

๑ .ดํ า เ นิ น ก า ร ไ ม่ 1.1 แต่งตั้ง รองวิจยั และบริ การ เป็ นไปตามแผน คณะกรรมการ วิชาการ ๓๐ มิย. ๕๖ ติดตามผลการ ดําเนินงานกการ จัดการความรู้ ๑ .๒ กํ า ห น ด ใ ห้ รองวิจยั และบริ การ รายงานในวาระการ วิชาการ ประชุ ม ประจํา เดื อ น ในทุกไตรมาส

หมายเหตุ (๗)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.