กรอบที่ 1
กระบวนการสื่อความหมาย
กระบวนการสื่อความหมายคืออะไร ? การสื่อสาร เป็นพื้นฐานสาคัญในการดารงชีวิตอยู่ในสังคมของมนุษย์ ทุกคนต้องมีการติดต่อสือ่ สาร กันในการปฏิบัติงานต่าง ๆ การสื่อสารทาให้บุคคลได้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็น ได้ถ่ายทอดประสบการณ์ ทางวัฒนธรรมและสังคม ได้ถ่ายทอดทักษะหรือความรู้ซึ่งกันและกัน อันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้ ความสามารถทางด้านสติปญ ั ญา ร่างกาย อารมณ์ และสังคม การสื่อสารจึงเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการ เรียนรู้ ที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับมนุษย์ ในสังคม
ความหมายของการสื่อสาร การสื่อสาร หรือการสือ่ ความหมาย (Communication) มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า (Communius) หมายถึง “ความเหมือนกัน” หรือ “ความร่วมกัน” เมื่อมีการสือ่ สารจะมีการพยายามสร้าง ความเหมือนกันหรือร่วมกันให้เกิดขึ้นระหว่างผูส้ ่งสารกับผูร้ ับสาร มีผู้ให้ความหมายของ การสื่อสารไว้ หลากหลาย ดังนี้ ชแรมม์ (Schramm, 1973 : 3) ได้สรุปความหมายของการสื่อสารไว้ว่า การสื่อสารเป็น ความ พยายามถ่ายทอดข้อมูล (Information) ความคิด (Idea) เจตคติ (Attitudes) ไปยังบุคคลอื่น ไฮเบิร์ต,โดแนลด์ และบอห์น (Hiebert, Donald and Bohn, 1975 : 6 ) กล่าวว่า การสื่อสารเป็น กระบวนการที่มีความเคลื่อนไหวและความต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจง เช่น เพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ์เพื่อถ่ายทอดค่านิยมทางสังคม เป็นต้น สมิตา บุญวาศ (2546 : 3 ) กล่าวว่า การสื่อสารเป็นการติดต่อส่งสาระ เรือ่ งราว ทั้งที่เป็นนามธรรม เช่น ความรัก ความรู้ ความโกรธ ฯลฯ และที่เป็นรูปธรรม เช่น การไหว้ ของขวัญ ภาพ ฯลฯ จากผู้ส่งไปยังผูร้ ับ โดยที่ผู้ส่งจะเป็นบุคคลคนเดียวหรือกลุ่ม และผูร้ ับเป็นบุคคลเดียวหรือกลุ่มก็ได้ การสือ่ สารไม่ได้เกิดขึ้นใน สังคมมนุษย์เท่านั้น ในสังคมของสัตว์ตา่ ง ๆ ก็มีการสื่อสารกัน
การสื่อสารทาให้บุคคลได้แลกเปลี่ยนความรู้ความ คิดเห็น ได้
กรอบที่ 2 กิดานันท์ มลิทอง (2548 : 34) กล่าวว่า การสื่อสารหมายถึงการถ่ายทอดเรือ่ งราว การแลกเปลี่ยน ความคิด การแสดงออกของความคิดและความรู้สึก ตลอดรวมไปถึง “ระบบ” (เช่น ระบบโทรศัพท์) เพื่อการ ติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน นอกจากนี้การสื่อสารยังเป็นการที่บุคคลในสังคมมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันโดยผ่าน ทางข้อมูลข่าวสาร สัญลักษณ์ และเครือ่ งหมายต่าง ๆ ดังนั้นจึงกล่าวโดยสรุปได้ว่า การสื่อสารเป็นกระบวนการส่งหรือถ่ายทอดเรือ่ งราว ข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ เหตุการณ์ตา่ ง ๆ จากผู้ส่ง ซึ่งอาจเป็นบุคคล กลุ่มชน หรือสถาบัน ไปยังผู้รับซึ่งอาจเป็นบุคคล กลุ่มชน หรือสถาบัน อีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อให้ผู้รับได้รับทราบข่าวสารร่วมกัน
วิธีการสื่อสารมีแบบไหนบ้าง ? ลักษณะของการสื่อสาร การสื่อสารของมนุษย์ในแต่ละวาระและสภาพการณ์ จะมีลักษณะของการติดต่อที่แตกต่างกันออกไป ในสถานการณ์หนึง่ อาจใช้วิธกี าร รูปแบบ และประเภทของการสื่อสารอย่างหนึ่ง แต่อาจใช้วิธีการ รูปแบบ และประเภทของการสือ่ สารอีกอย่างหนึ่งในอีกสถานการณ์ก็ได้ตามความเหมาะสม วิธีการของการสือ่ สาร วิธีการของการสือ่ สาร แบ่งออกได้เป็น 3 วิธี คือ 1. การสื่อสารด้วยวาจา หรือ “วจนภาษา” (Oral Communication) เช่น การพูด การร้องเพลง เป็นต้น 2. การสื่อสารที่ไม่ใช่วาจา หรือ “อวจนภาษา” (Nonverbal Communication) และการสื่อสารด้วยภาษา เขียน (Written Communication) เช่นการสือ่ สารด้วยท่าทางภาษามือ และตัวอักษร เป็นต้น 3. การสื่อสารด้วยจักษุภาษา หรือ การเห็น (Visual Communication) เช่น การสื่อสารด้วยภาพ โปสเตอร์ สไลด์ หรือโดยการใช้สัญลักษณ์และเครื่องหมายต่าง ๆ เช่น ลูกศรชี้ทางเดิน เป็นต้น
1. การสื่อสารด้วยวาจา หรือ “วจนภาษา” การสื่อสารด้วย การพูด 2. การสื่อสารที่ไม่ใช่วาจา หรือ “อวจนภาษา” การสื่อสาร ด้วยภาษาเขียน การสื่อสารด้วยท่าทางภาษามือ 3. การสื่อสารด้วยจักษุภาษา หรือ การเห็น
กรอบที่ 3
รูปแบบของการสื่อสารมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง ? รูปแบบของการสื่อสาร รูปแบบของการสือ่ สาร แบ่งได้เป็น 2 รูปแบบ คือ 1. การสื่อสารทางเดียว (One-way Communication) เป็นการส่งข่าวสารหรือการสื่อความหมายไปยัง ผู้รับแต่เพียงฝ่ายเดียว โดยที่ผู้ส่งและผู้รับไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบต่อกันได้ทันที เช่น การสื่อความหมาย ทาง การอ่านหนังสือพิมพ์ ฟังวิทยุ ชมโทรทัศน์ ผู้รับไม่สามารถตอบสนองให้ผสู้ ่งทราบได้ในทันที (Immediate Response) แต่อาจจะมีปฏิกริ ิยาตอบสนองกลับ (Feeback) ไปยังผู้ส่งได้ในภายหลัง เช่น การส่งจดหมาย การส่งอีเมล หรือการส่ง SMS เป็นต้น อย่างไรก็ตาม วิทยุ และโทรทัศน์ ในปัจจุบันได้เปิดโอกาสให้ผฟู้ ังหรือชม ทางบ้านเข้าไปมีส่วนร่วมในรายการต่าง ๆ เช่น มีการให้ผฟู้ ังโทรศัพท์ไปแสดความคิดเห็นหรือตอบปัญหาได้ ทันทีกับผู้จัดรายการ ลักษณะนี้จึงกลายเป็นการสือ่ สารสองทาง 2. การสื่อสารสองทาง (Two-way Communication) เป็นการสื่อความหมายที่ผู้รบั สามารถมีปฏิสัมพันธ์ โต้ตอบกันได้ในทันทีโดยผู้ส่งและผูร้ ับอาจอยู่ตอ่ หน้ากันหรืออาจอยู่คนละสถานที่ก็ได้ แต่ทั้งสองฝ่ายสามารถ เจรจาหรือโต้ตอบกันไปมาได้ โดยต่างฝ่ายต่างผลัดกันทาหน้าที่เป็น ทั้งผู้ส่ง และผู้รับในเวลาเดียวกัน เช่น การ พูดโทรศัพท์ การประชุมทางไกลด้วยวีดิทัศน์ การสนทนาสดบนอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
1. การสื่อสารทางเดียว (One-way Communication) เป็นการส่ง ข่าวสารหรือการสื่อความหมายไปยังผู้รับแต่เพียงฝ่ายเดียว โดยที่ผู้ส่ง และผู้รับไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบต่อกันได้ทันที 2. การสื่อสารสองทาง (Two-way Communication) เป็นการสื่อ ความหมายที่ผู้รับสามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้ในทันที
กรอบที่ 4
ประเภทของการสื่อสารมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ? ประเภทของการสื่อสาร ประเภทของการสือ่ สาร แบ่งออกเป็น 4 ประเภท 1. การสื่อสารภายในตัวบุคคล (Intrapersonal Communication) เป็นการสื่อสาร ภายในตัวเองเพียงคน เดียว บุคคลนั้นเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับในขณะเดียวกัน เช่น การคิด การอ่าน และเขียนหนังสือ 2. การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) เป็นการสือ่ สาร ระหว่างคน 2 คน เช่น การ สนทนา หรือการโต้ตอบจดหมายระหว่างกัน เป็นต้น 3. การสื่อสารแบบกลุ่มชน (Group Communication) เป็นการสื่อสารระหว่าง บุคคลกับกลุ่มชนจานวนมาก เช่น การสื่อสารระหว่างครูกับผู้เรียนในชั้นเรียน หรือการกล่าวคาปราศรัยในที่ชุมนุมชน เป็นต้น 4. การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) เป็นการสื่อสารโดยใช้สื่อมวลชน ประเภท วิทยุ โทรทัศน์ รวมถึงสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ ใบปลิว โปสเตอร์ ฯลฯ เพื่อการติดต่อไปยังผูร้ ับสาร จานวนมากซึ่งเป็นมวลชนให้ได้รับข้อมูลข่าวสารเดียวกันในเวลาพร้อม ๆ กัน หรือไล่เลี่ยกัน
มี 4 ประเภท ได้แก่ การสื่อสารภายในตัวบุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารแบบกลุ่มชน การสื่อสารมวลชน
กรอบที่ 5
องค์ประกอบของการสื่อสาร องค์ประกอบของการสื่อสาร หมายถึง สิ่งที่ประกอบกันเข้าจนเป็นกระบวนการสื่อสารทีส่ มบูรณ์ การ ทาความเข้าใจองค์ประกอบของการสือ่ สารจะช่วยทาให้สามารถควบคุมการสื่อสารให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
อะไรคือตัวกลางสาคัญใช้ในการรับส่งสาร ? องค์ประกอบของการสือ่ สารมีดังนี้ 1. ผู้ส่งสาร หรือต้นแหล่งของสาร (Sender or Source) คือบุคคลที่จะส่งสารไปยังผู้รับ อาจเป็นบุคคล กลุ่ม ชน หรือสถาบันก็ได้ 2. สาร (Message) คือ เนื้อหาหรือเรือ่ งราวที่ส่งออกมา เช่น ความรู้ ความคิด ข่าวสาร ความต้องการ ฯลฯ ที่ ส่งออกมา เพื่อให้ผู้รับรับข้อมูลเหล่านั้น 3. สื่อหรือช่องทาง (Media or Channel) คือ ตัวกลาง หรือพาหนะที่จะนาสารไปถึงผูร้ ับ อาจเป็นภาษาพูด ภาษาเขียน สัญลักษณ์ ท่าทาง วัสดุ อุปกรณ์ และสือ่ สารมวลชนในรูปแบบต่าง ๆ 4. ผู้รับ (Receiver) คือ ผู้รับเนื้อหา เรื่องราว จากผู้ที่ส่งมา ผู้รับนี้อาจเป็น บุคคล กลุ่มชน หรือสถาบันก็ได้ 5. ผล (Effect) คือผลที่เกิดขึน้ หลังจากที่ผู้รับได้รับสาร เช่น ผู้รับสารปฏิบัติตามคาสั่งของ ผู้ส่งสารได้ถูกต้อง 6. ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) เป็นการนาผลที่เกิดขึ้นข้างต้นมาพิจารณา เช่น พูดแล้วผู้ฟัง ปฏิบัตติ ามได้ แสดงว่าสือ่ สารประสบความสาเร็จ หรือพูดไปแล้วผู้ฟังหัวเราะ หรือง่วงนอน เหล่านี้ก็ลว้ นแต่เป็นข้อมูล ป้อนกลับ เพือ่ ให้ผสู้ ่งสารนากลับมาพิจารณาปรับปรุงการสือ่ สารให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึน้ องค์ประกอบเหล่านี้จะทางานประสานสัมพันธ์กัน เพือ่ ให้ผู้รับข่าวสารนั้นเข้าใจได้อย่างถูกต้องว่าผูส้ ่ง หมายความว่าอะไรในข่าวสารนั้น
3. สื่อหรือช่องทาง (Media or Channel) คือ ตัวกลาง หรือพาหนะที่จะนาสารไปถึงผู้รับ
กรอบที่ 6
แบบจาลองการสื่อสารมีไว้สาหรับอะไร ? แบบจาลองการสื่อสาร แบบจาลองการสื่อสาร เป็นการแสดงความสัมพันธ์กันขององค์ประกอบต่าง ๆ ของการสื่อสาร ทาให้ เห็นกระบวนการสือ่ สาร มีนักวิชาการหลายท่านได้นาเสนอแบบจาลองของการสือ่ สารไว้ สามารถนามาใช้เป็น หลักในการศึกษาถึงวิธีการส่งผ่านข้อมูลสารสนเทศ การใช้สื่อ และช่องทางการสือ่ สารถึงผู้รับ เพื่อให้การ สื่อสารประสบผลสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ (กิดานันท์ มลิทอง, 2548 : 39 - 45) ลาสแวลล์ (Lasswell) ลาสแวลล์ ได้คิดแบบจาลองการสื่อสาร ที่แสดงให้เห็นกระบวนการสื่อสารอย่างสอดคล้องกัน โดยใน การสื่อสารนั้นจะต้องตอบคาถามต่อไปนี้ให้ได้คือ ใคร พูดอะไร โดยวิธีการและช่องทางใด ไปยังใคร มีผลอย่างไร แบบจาลองการสื่อสารของลาสแวลล์ เป็นรูปแบบที่เข้าใจง่ายไม่ซับซ้อน เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย และนิยมใช้กันทั่วไป สามารถนามาเขียนเป็นรูปแบบจาลองและเปรียบเทียบกับ องค์ประกอบของการสื่อสาร ได้ดังนี้ ใคร พูดอะไร โดยวิธกี ารและช่องทางใด ไปยังใคร มีผลอย่างไร ผู้ส่ง สาร
สื่อ
ผู้รับ ผล
ภาพที่ 3.1 แบบจาลองการสือ่ สารของลาสแวลล์ (ที่มา : กิดานันท์ มลิทอง, 2548 : 39)
แบบจาลองของการสื่อสาร สามารถนามาใช้เป็นหลัก ในการศึกษาถึงวิธีการส่งผ่านข้อมูลสารสนเทศ การใช้ สื่อ และช่องทางการสื่อสารถึงผู้รับ เพื่อให้การสื่อสาร สาเร็จ
กรอบที่ 7
แบบจาลองการสื่อของ ลาสแวลล์ เป็นแบบไหน ?
ใคร (Who) หมายถึง ผู้ส่งสาร หรือ แหล่งต้นตอของสาร ผู้ส่งสารนอกจากจะเป็นตัวบุคคลหรือกลุ่ม บุคคลแล้วยังรวมถึงสถาบัน หน่วยงานหรือองค์กรก็ได้ เช่น ผู้สื่อข่าว ผู้ประกาศข่าว ครู อาจารย์ วิทยากร โรงเรียน มหาวิทยาลัย บริษทั เป็นต้น พูดอะไร (Say What) หมายถึงข่าวสาร เนื้อหาสาระ ความคิดเห็น ข้อมูล ที่ส่งออกไปจากผู้ส่งยังผูร้ ับ ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย เช่น คาบรรยาย คาชี้แจง บทความ ข้อเขียน เป็นต้น ผ่านสื่อหรือช่องทางใด (In Which Channel) หมายถึง สื่อหรือช่องทางที่เป็นตัวกลางช่วยถ่ายทอด เนื้อหาเรือ่ งราว ข้อมูล ข่าวสาร ความคิด ที่ผู้ส่งต้องการส่งไปให้ผู้รับ เช่น การพูด การเขียน การแสดงกิริยา ท่าทาง หรือสือ่ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ เช่น ไมโครโฟน วิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น ไปยังใคร (To Whom) หมายถึง ผู้รับสารทีเ่ ป็นกลุ่มเป้าหมาย อาจเป็นบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร หรือสถาบันก็ได้ มีผลอย่างไร (Whith What Effect) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นกับผู้รับสารหลังจากได้รับสารจากผู้ส่ง เช่น การแสดงอาการยิ้ม การพยักหน้ายอมรับ การตั้งใจฟัง ตั้งใจดู เป็นต้น
แบบจาลองของลาสแวลล์ ใคร พูดอะไร โดยวิธีการและช่องทางใด ไปยังใคร มีผลอย่างไร
เบอร์โล (Berlo) แบบจาลองการสื่อสารของเบอร์โล แสดงให้เห็นถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของการสื่อสาร แต่ละองค์ประกอบ ซึ่งมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการสื่อสารทั้งกระบวนการ เบอร์โลนาองค์ประกอบของการ สื่อสารมาเขียนในรูปแบบจาลองของกระบวนการสือ่ สาร เรียกว่า SMCR Model มีส่วนประกอบดังนี้
กรอบที่ 8
แบบจาลองการสื่อของ เบอร์โล ประสิทธิภาพของการ สื่อสารจะขึ้นอยู่กับอะไร ?
ภาพที่ 3.2 แบบจาลองการสือ่ สารของ เบอร์โล (ที่มา : กิดานันท์ มลิทอง, 2548 : 41) ประสิทธิภาพของการสื่อสารจะขึ้นอยู่กับส่วนประกอบต่อไปนี้ คือ ผู้ส่งสาร (Source) สาร (Message) ช่อทาง (Channel) และผู้รับ (Receiver) ในแต่ละองค์ประกอบเหล่านีย้ ังมีปัจจัย ย่อย ๆ เป็น ตัวแปรสาคัญที่ส่งผลทาให้กระบวนการสื่อความหมายมีประสิทธิภาพหรือไม่เพียงใด ได้แก่ 1. ผู้ส่งสาร และ ผู้รับสาร ควรมีคุณสมบัติดังนี้ มีทักษะความชานาญในการสือ่ สาร (Communication Skill) เช่น ผู้ส่งสารต้องมีความสามารถเข้ารหัสสาร(Encode) มีการพูดที่ถูกต้อง ใช้คาพูดที่ชดั เจน ฟังง่าย มีการ แสดงสีหน้าหรือท่าทางที่เข้ากับการพูด ท่วงทานองลีลาในการพูดเป็นจังหวะ น่าฟัง หรือเขียนด้วยถ้อยคา สานวนที่ถูกต้อง สละสลวยน่าอ่าน เหล่านี้เป็นต้น ส่วนผูร้ บั ต้องมีความสามารถในการถอดรหัสสาร (Decode) และมีทักษะในการฟัง ที่ดี ฟังภาษาที่ผสู้ ่งมารูเ้ รือ่ ง หรือสามารถอ่านข้อความที่ส่งมานั้นได้ เป็นต้น
ประสิทธิภาพของการสื่อสารจะขึ้นอยู่กับส่วนประกอบต่อไปนี้ คือ ผู้ส่งสาร (Source) สาร (Message) ช่อทาง (Channel) และ ผู้รับ (Receiver)
กรอบที่ 9
ปัจจัยที่ส่งผลทาให้สารนั้นมีคุณภาพมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับ ? ทัศนคติ (Attitudes) ถ้าผู้ส่งสารและผู้รับสารมีทัศนคติที่ดีต่อกันจะทาให้การสื่อสารได้ผลดี แต่ถ้าผู้รับ สารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้ส่งสารอาจแปลความหมายของสารที่ส่งมาผิดไป เช่น ผู้ส่งสารยิม้ ทักทาย ผู้ส่งสารกลับ คิดว่ายิ้มเยาะเย้ย เป็นต้น ระดับความรู้ (Knowledge Levels) ถ้าผู้รับสารและผู้ส่งสารมีระดับความรูเ้ ท่าเทียมกันก็จะทาให้ การสื่อสารนั้นได้ผลดี ดังนั้นผู้ส่งสารควรส่งสารที่มีเนื้อหาสาระทีเ่ หมาะสมกับระดับความรู้ของผู้รับสาร เช่น นักวิชาการเมื่อไปพูดกับชาวบ้านก็ควรใช้ภาษาง่าย ๆ ไม่ควรใช้ศัพท์ทางวิชาการที่ยากเกินไป ระบบสังคมและวัฒนธรรม (Social-Culture System) สังคมและวัฒนธรรมในแต่ละชาติมีความ แตกต่างกัน ดังนั้นในการติดต่อสื่อสารต้องปฏิบัตใิ ห้ถูกต้องเหมาะสม เช่น การแลบลิ้น บางประเทศสื่อความ หมายถึงการทักทายกัน แต่ในบางประเทศอาจสื่อความหมายเป็นอย่างอื่นไป 2. สารได้แก่ เนื้อหาเรื่องราว และสัญลักษณ์ ที่ส่งให้ผู้รับ ควรมีความชัดเจน ซึ่งปัจจัยที่สง่ ผลทาให้สารนั้นมี คุณภาพมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับ ส่วนประกอบ (Element) โครงสร้าง (Structure) การจัดสาร (Treatment) เนื้อหา (Content) รหัส (Code) เป็นคาพูด ตัวอักษร รูปภาพ ท่าทาง เป็นต้น 3. ช่องทาง สารจะถูกส่งไปตามช่องทางต่าง ๆ โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 หรือเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งคือ การเห็น (Seeing) การได้ยิน (Hearing) การได้กลิ่น (Smelling) การสัมผัส (Touching) การลิ้มรส (Tasting)
ปัจจัยที่ส่งผลทาให้สารนั้นมีคุณภาพมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับ ส่วนประกอบ (Element)
โครงสร้าง (Structure)
การจัดสาร (Treatment)
เนื้อหา (Content)
รหัส (Code) เป็นคาพูด ตัวอักษร รูปภาพ ท่าทาง เป็นต้น
กรอบที่ 10
แชนนันและวีเวอร์ (Shannon and Weaver) แบบจาลองการสื่อสารของ
แบบจาลองของแชนนันและวีเวอร์แต่ต่างจากของเบอร์โลยังไง
แชนนันและวีเวอร์ เป็นการสือ่ สารเชิงเส้นตรง โดยมีองค์ประกอบของการสือ่ สารเช่นเดียวกับของเบอร์โล แต่เพิ่มเติมให้ ความสาคัญกับสิ่งรบกวน (Noise) ด้วย เพราะในการสือ่ สารหากมีสิ่งรบกวนเกิดขึ้นก็จะเป็นอุปสรรคต่อการ สื่อสาร เช่น ครูฉายวีดิทัศน์ในห้องเรียน การรับภาพและเสียงของผูเ้ รียนอาจถูกรบกวนจาก ปริมาณแสงที่ส่ง กระทบบนจอโทรทัศน์ หรือเสียงดังรบกวนจากภายนอก ทาให้การสื่อสารไม่ได้ผลเต็มที่ ดังภาพที่ 3.3 สัญญาณ ที่ได้รับ
ภาพที่ 3.3 แบบจาลองการสือ่ สารของแชนนันและวีเวอร์ (ที่มา : กิดานันท์ มลิทอง, 2548 : 43)
ปัจจัยที่ส่งผลทาให้สารนั้นมีคุณภาพมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับ ส่วนประกอบ (Element) แชนนันและวีเวอร์ เป็นการสื่อสารเชิง เส้นตรง โดยมีองค์ประกอบของการสื่อสารเช่นเดียวกับของเบอร์ โล แต่เพิ่มเติมให้ความสาคัญกับสิ่งรบกวน (Noise) ด้วย โครงสร้าง (Structure) การจัดสาร (Treatment)
เนื้อหา (Content)
รหัส (Code) เป็นคาพูด ตัวอักษร รูปภาพ ท่าทาง เป็นต้น
กรอบที่ 11
แบบจาลองของชแรมม์คล้ายกับแบบจาลองของใคร ? ชแรมม์ (Schramm) แบบจาลองการสื่อสารของชแรมม์ ปรับปรุงมาจากแชนนันและวีเวอร์ แบบจาลองนี้แสดงให้เห็นว่า การสื่อสารจะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อทั้งผู้สง่ และผูร้ ับมีวัฒนธรรม ประเพณี ความรู้ ความเชือ่ ฯลฯ ที่สอดคล้องคล้ายคลึงกัน และมีประสบการณ์ร่วมกัน ทาให้เข้าใจความหมายที่สอื่ สารกันได้ เมื่อพิจารณาใน ส่วนที่เป็นประสบการณ์รว่ มกัน (แผนภูมที่ 3.4) ของผู้ส่งและผูร้ ับ อธิบายได้ว่า ถ้าวงกลมที่ซ้อนกันมีขนาดเป็น วงกว้างมากเท่าใดแสดงว่ามีประสบการณ์รว่ มกันมาก จะทาให้การสื่อสารเป็นไปได้โดยสะดวกและง่ายมาก ยิ่งขึ้น เพราะต่างฝ่ายก็เข้าใจสิ่งที่กาลังสื่อสารกันนั้นได้อย่างดี ในทางตรงกันข้ามถ้าวงกลมของขอบข่าย ประสบการณ์ซ้อนกันน้อยมากหรือ ไม่ซ้อนกันเลย ก็แสดงว่าทั้ง ผู้ส่งและผูร้ ับไม่มีประสบการณ์ที่ร่วมกันเลย ทาให้การสื่อสารเป็นไปด้วยความยากลาบาก ดังภาพที่ 3.4 ภาพที่
3.4 แบบจาลองการสือ่ สารของชแรมม์ (ที่มา : กิดานันท์ มลิทอง, 2548 : 45)
แบบจาลองของแชนนันและวีเวอร์
กรอบที่ 12
แบบจาลองของออกูดและชแรมม์เป็นลักษณะใด ? ออสกูดและชแรมม์ (Osgood and Schramm) แบบจาลองการสื่อสารของออสกูดและชแรมม์ เป็นการสือ่ สารซึ่งมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันไปมาระหว่างบุคคล หรือกลุ่มบุคคลในฐานะผู้ส่งและผูร้ ับ ทั้งผู้ส่งและผูร้ ับจะทาหน้าที่เป็นทั้ง ผู้เข้ารหัส ถอดรหัส และตีความหมาย ของสาร โดยเมื่อผูส้ ่งสารได้สง่ ข้อมูลข่าวสารไปแล้ว ทางฝ่ายผู้รับจะทาการแปลความหมายข้อมูลที่รับมา และ จะเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับกลับเป็นผู้ส่งเพือ่ ตอบสนองต่อข้อมูลที่รับมา ในขณะเดียวกันผู้ส่งเดิมจะเปลี่ยน บทบาทเป็นผู้รับเพื่อรับข้อมูลที่ส่งกลับมาและทาการแปลความหมายสิ่งนั้น ถ้ามีข้อมูลที่จะต้องส่งตอบกลับไป ก็จะเปลีย่ นบทบาทเป็นผู้ส่งอีกครั้งหนึ่ง เพื่อส่งข้อมูลกลับไปยังผู้รับเดิม การสื่อสารในลักษณะนี้ทั้งผู้ส่งและ ผู้รับจะวนเวียนเปลี่ยนบทบาทกันไปมาในลักษณะเชิงวงกลม ดังภาพที่ 3.5 36
ภาพที่ 3.5 แบบจาลองการสือ่ สารของออสกูดและชแรมม์ (ที่มา : กิดานันท์ มลิทอง, 2548 : 50)
การสื่อสารในลักษณะที่ทั้งผู้ส่งและผู้รับจะ วนเวียนเปลี่ยนบทบาทกันไปมาในลักษณะ เชิงวงกลม
กรอบที่ 13
ตัวอย่างการใช้การสื่อสารกับการเรียนการสอน การสื่อสารกับการเรียนการสอน การเรียนการสอน ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่พึงประสงค์การเรียน การสอน จัดเป็นกระบวนการสื่อสารรูปแบบหนึ่งที่มีองค์ประกอบเช่นเดียวกับ การสื่อสารทั่วไป คือ มีครูเป็นผู้ ส่งสาร เนื้อหาทีส่ อนคือสาร สื่อการเรียนการสอน กิจกรรม และวิธีการสอน คือสือ่ หรือช่องทาง และนักเรียน คือผู้รับสาร ซึ่งมีทั้งการเรียนการสอนโดยใช้การสือ่ สารทางเดียว และการเรียนการสอนโดยใช้การสือ่ สารสอง ทาง การเรียนการสอนโดยใช้การสื่อสารทางเดียว สามารถใช้ได้ทั้งการเรียนการสอนในห้องเรียนและ การศึกษาทางไกล โดยใช้สอื่ มวลชนและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น สิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์ เป็นสื่อสาคัญในการถ่ายทอดเนื้อหาความรู้ โดยอาจเป็นการใช้โทรทัศน์วงจรปิดใน การสอนแก่ผู้เรียนจานวน มากในห้องเรียนขนาดใหญ่ หรือการสอนโดยใช้วิทยุและโทรทัศน์การศึกษาแก่ผู้เรียนที่เรียนอยู่กับบ้าน การเรียนการสอนโดยใช้การสื่อสารสองทาง ส่วนใหญ่เป็นการเรียนการสอนในห้องเรียนที่ผู้เรียนและ ผู้สอนพบหน้ากันและมีปฏิสมั พันธ์โต้ตอบกัน อาจเป็นการให้สิ่งเร้าแก่ผเู้ รียนโดยใช้เสียงบรรยายและมีสอื่ การ สอนประกอบ หรือใช้การอภิปรายร่วมกันระหว่างผูส้ อนกับผู้เรียนหรือในกลุ่มของผูเ้ รียนด้วยกันเอง รวมทั้ง การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI) เพือ่ ส่งเนื้อหาความรู้จากคอมพิวเตอร์ไปยังผูเ้ รียนเพื่อให้ผเู้ รียนมี การโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ ดังนั้น ในการเรียนการสอนครูจะต้องอาศัยลักษณะและองค์ประกอบของการสื่อสารตามที่กล่าว มาแล้วเป็นหลักในการดาเนินการ เพื่อให้เกิดการสือ่ สารที่ดีระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รียน ซึ่งจะทาให้การเรียนการ สอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีสิ่งที่ควรพิจารณาดังนี้ 1. ครูหรือผู้สง่ สาร (Sender or Source or Communication) ครูในฐานะผู้สอื่ สารหรือผู้สง่ สารต้องมีคุณสมบัติพื้นฐาน ดังนี้ ต้องมีความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาที่จะสอน ต้องมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนการสอน ต้องมีทักษะที่ดีในการสื่อสาร ได้แก่ ทักษะการพูด (Speaking Skill) ทักษะการเขียน (Writing Skill) ทักษะการฟัง (Listening Skill)
กรอบที่ 14 ทักษะการอ่าน (Reading Skill) ทักษะในการคิดหรือใช้เหตุผล (Think or Reasoning) ทักษะการเสริมแรง (Reinforcement) ต้องมีบุคลิกภาพดี 2. เนื้อหาวิชาหรือสาร (Message) ในการกาหนดเนือ้ หาวิชาหรือสารที่จะส่งไปยังผูเ้ รียน ควรคานึงถึง ความสามารถใน การรับสาร โดยยึดหลักการจัดเนือ้ หาวิชาที่จะสอนดังนี้ สอนจากสิง่ ที่รู้ไปหาสิ่งที่ไม่รู้ สอนจากสิง่ ที่ง่ายไปหาสิ่งที่ยาก สอนจากรูปธรรมไปหานามธรรม
3. สื่อหรือช่องทาง (Media or Channel) ในการเรียนการสอนสือ่ หรือช่องทางที่นามาใช้ในการสือ่ สารมี 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ สื่อประเภท วัสดุ สื่อประเภทเครื่องมือหรืออุปกรณ์ และสือ่ ประเภทเทคนิควิธีการ เช่น แผ่นวีซีดี เครื่องโปรเจคเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ การจัดนิทรรศการ การแสดงละคร ฯลฯ เป็นต้น จึงควรเลือก สื่อการสอนที่ดี น่าสนใจ และ เหมาะสมกับผูเ้ รียน 4. ผู้เรียน ผู้รับสาร หรือกลุ่มเป้าหมาย (Receiver or Target Audience ) ผู้เรียนหรือผู้รับสารในแต่ละบุคคลมีความสามารถในการรับสารไม่เท่ากันแตกต่างกันไป ดังนี้ วุฒิภาวะและความพร้อม เชาว์ปัญญา ความสนใจ ประสบการณ์ ความบกพร่องทางร่างกาย ดังนั้นในการสอนครูจะต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลนี้เป็นสาคัญ 5. ผล (Effect) ในการเรียนการสอนผลที่เกิดขึ้นคือการที่ผเู้ รียนเข้าใจเนือ้ หาสาระของสารที่ครูส่งมา ทาให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขนึ้ หรือผูเ้ รียนไม่เข้าใจเนือ้ หาสาระที่ครูส่งมาจนไม่สามารถทาให้เกิดการเรียนรู้ ขึ้นเลย ฉะนั้นผลที่เกิดขึ้นจาการสื่อสารของครูจะมีทั้งสองด้าน
กรอบที่ 15 6. ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) ในการเรียนการสอน ผลการเรียนรู้ดังกล่าวข้างต้นจะเป็นข้อมูล ป้อนกลับทาให้ผู้สอน ทราบว่าการเรียนการสอนนั้นประสบความสาเร็จหรือไม่ ถ้าผลการเรียนรู้ออกมาดีแสดง ว่าการสอนนั้นประสบความสาเร็จ แต่ถ้าผลการเรียนรูอ้ อกมาไม่ดี แสดงว่าการสอนนั้นไม่ประสบความสาเร็จ ครูจะต้องนาผลนั้นมาพิจารณาว่าบกพรองส่วนใด อาจเป็นเพราะตัวครูผู้สง่ สารพูดเร็วเกินไป หรือสารมีเนื้อหา ซับซ้อน หรือตัวสือ่ มีขนาดเล็กไป หรืออาจเป็นเพราะผูเ้ รียนมีปัญหาด้านสติปญ ั ญา ครูผสู้ อนต้องวิเคราะห์หา สาเหตุ และทาการปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น นอกจากนี้ข้อมูลป้อนกลับยังเกิดขึ้นตลอดเวลาของการสอน เช่น ครู สอนแล้วนักเรียนแสดงอาการง่วงนอน เบื่อหน่าย หรือแสดงอาการกระตือรือร้น หัวเราะ ชอบใจ ปรบมือ สิ่ง เหล่านีเ้ ป็นข้อมูลป้อนกลับทั้งสิ้น ครูผู้สอนจะต้องนาข้อมูลป้อนกลับมาวิเคราะห์ปรับปรุงการสอนในคราว ต่อไป ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่ครูและนักการศึกษาโดยเฉพาะนักเทคโนโลยีการศึกษา จะต้องมีความรู้ ความสามารถในการสื่อสารเป็นอย่างดี เพื่อนาไปใช้เป็นหลักพื้นฐานในการจัดกระบวนการเรียน การสอนให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป
กรอบที่ 16
สรุป การสื่อสารเป็นกระบวนการส่งหรือถ่ายทอดเรื่องราว ข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ เหตุการณ์ ต่าง ๆ จากผู้ส่ง ซึ่ง อาจเป็นบุคคล กลุ่มชน หรือสถาบัน ไปยังผู้รับซึ่งอาจเป็นบุคคล กลุ่มชน หรือสถาบัน อีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อให้ผู้รับ ได้รับทราบข่าวสารร่วมกัน วิธีการสื่อสารแบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ การสื่อสารด้วยวาจา หรือ วจนภาษา การสื่อสารที่ไม่ใช่วาจา หรือ อวจนภาษา และการสื่อสารด้วยจักษุภาษา หรือการเห็น รูปแบบของการสือ่ สารมี 2 รูปแบบ คือ การสื่อสารทางเดียว และการสื่อสารสองทาง การสื่อสารแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ การสือ่ สารภายในตัวบุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล การ สื่อสารแบบกลุ่มชน และการสื่อสารมวลชน องค์ประกอบของการสื่อสารที่สาคัญมี 6 องค์ประกอบคือ ผู้ส่ง สาร สื่อหรือช่องทาง ผู้รับ ผล และ ข้อมูลป้อนกลับ องค์ประกอบเหล่านี้จะทางานประสานสัมพันธ์กัน เพือ่ ให้ผรู้ ับข่าวสารนั้นเข้าใจได้ถูกต้องว่าผู้ ส่งสารต้องการสื่อความหมายว่าอย่างไร แบบจาลองการสื่อสาร เป็นการแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของการสื่อสารเชิง แผนภูมิ ทาให้เห็นกระบวนการของการสือ่ สาร แบบจาลองการสื่อสารที่ใช้แพร่หลายอยู่ทั่วไป มีหลายแบบ เช่น แบบจาลองการสื่อสารของ ลาสแวลล์ เบอร์โล แชนนันและวีเวอร์ ชแรมม์ ออสกูดและชแรมม์ การสื่อสารมีความสัมพันธ์กับการเรียนการสอน เพราะการเรียนการสอนเป็นกระบวนการสื่อสาร รูปแบบหนึ่ง ที่มีองค์ประกอบเช่นเดียวกับการสือ่ สารทั่วไป คือ มีครูเป็นผู้ส่งสาร เนือ้ หาที่สอนคือสาร สื่อการ เรียนการสอน กิจกรรม และวิธีการสอน คือสื่อหรือช่องทาง และนักเรียนคือผูร้ ับสาร ซึ่งมีทั้งการเรียนการสอน โดยใช้การสือ่ สารทางเดียว และการเรียนการสอนโดยใช้การสื่อสารสองทาง ครูและนักการศึกษาโดยเฉพาะนักเทคโนโลยีการศึกษา จะต้องมีความรู้ความสามารถในการสื่อสาร เป็นอย่างดี เพือ่ นาไปใช้เป็นหลักพื้นฐานในการจัดกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อไป