เยี่ยมบ้ านฟรอยด์
การใช้ ชีวิต 1. ยามสายวันหนึ่งของฤดูร้อน ผมเดินฝ่ าอุณหภูมิอนั อบอ้าวกลางกรุ งเวียนนาเพื่อเดินทางไปยัง บ้านเลขที่ 19 บนถนน Berggasse กล่าวตามตรง ในวันที่เมืองนี้ระอุไปด้วยไอแดด ความงามของสถาปั ตยกรรมต่าง ๆ ก็พลันหายไปจนหมดสิ้ นและ แทบไม่เหลือกลิ่นอายของความโรแมนติกที่คนร่ าลือกัน เหตุผลเดียวที่ผมอดทนมาถึงที่นี่คือบ้านหลังนี้เคยเป็ นที่พานักของซิก มุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, 1856 - 1939) บิดาทางความคิดจิตวิเคราะห์แบบฟรอยด์และเป็ นหนึ่ งในนักคิดทรงอิทธิ พลของ ค.ศ.ที่ 19 แนวคิดของของเขามิได้เป็ นเพียงแค่การเปิ ดภูมิทศั น์ทางจิตอันซับซ้อนของมนุษย์ในฐานะปัจเจคบุคคล ทว่ายังแสดง ให้เห็นความเชื่อมโยงกับบริ บททางสังคมและระบอบของอานาจที่ทางานในสังคมนั้น ๆ อย่างแยบยล ผมหลงใหลแนวคิดจิตวิเคราะห์ต้งั แต่เรี ยนปริ ญญาตรี กบั นักมานุษยวิทยาท่านหนึ่งในมหาวิทยาลัยเล็ก ๆ ตีนดอยสุ เทพ จ. เชี ยงใหม่ คิดอยู่เสมอว่าหากมี โอกาสก็จะมาเยี่ยมเยือนที่พานักของฟรอยด์สักครั้ง เพราะโดยส่ วนตัว ผมมี ความเชื่ อว่า ความคิดของเขาน่าจะปรากฏให้เห็นผ่านร่ องรอยต่างๆ บ้าง ไม่มากก็นอ้ ย บ้านหลังนี้ ได้ถูกฟื้ นฟูข้ ึนมาในปี 1971 โดยการริ เริ่ มของแอนนา ฟรอยด์ (Anna Freud, 1895 - 1982) ลูกสาวคนเล็ก เธอตั้งใจให้ที่นี่เป็ นพิพิธภัณฑ์สาหรับเก็บรักษาข้าวของสาคัญของผูเ้ ป็ นบิดาและสาหรับผูส้ นใจทัว่ ไปในการเดินทางมาเยี่ยมชม ที่นี่จึงถูกเก็บรักษาเอาไว้ในสภาพที่ใกล้เคียงกับความเป็ นจริ งมากที่สุด โดยเฉพาะในกลุ่มของห้องทางาน, ห้องตรวจคนไข้, ห้องรอคิวการรักษา, ตลอดจนของสะสมต่าง ๆ ของฟรอยด์ ขณะที่ห้องนอนของเขากับลูกในปั จจุบนั ได้ถูกดัดแปลงเป็ นโถง นิทรรศการชัว่ คราวและเป็ นบริ เวณที่มีการจัดกิจกรรมเสวนาอย่างต่อเนื่อง บ้านของฟรอยด์มิได้เป็ นบ้านเดี่ยว (House) แต่เป็ นบ้านที่มีลกั ษณะคล้ายกับห้องชุดหรื ออพาร์ ตเม้นต์เสี ยมากกว่า ที่ พักในลักษณะนี้ในประเทศออสเตรี ยและเยอรมนีเรี ยกว่า Wohnung ซึ่งจัดเป็ นบ้านอีกประเภทหนึ่งเช่นกัน เช่นเดียวกับผูเ้ ข้าชมทัว่ ไป เมื่อเดินทางมาถึง ผมจะต้องกดกริ่ งตั้งแต่ทางเข้าประตูบา้ นชั้นล่างเพื่อให้เจ้าหน้าที่ปลดล็อค ลูกบิดที่ประตู จากนั้น เมื่อเดินขึ้นไปบนชั้นที่ 1 (ชั้นแรกคือชั้น E) ผมพบว่าบริ เวณหน้าประตูทางเข้าบ้านจะมีกริ่ งเล็กๆ ซ่อนอยู่ อีกอันหนึ่ง หากไม่กดกริ่ งนี้ประตูก็จะไม่เปิ ดให้เราเข้าไป ความรู ้สึกมันช่างคล้ายกับการไปเยี่ยมบ้านเพื่อนหรื อคนรู ้จกั มากกว่า การไปพิพิธภัณฑ์ และนี่คงเป็ นความต้องการของแอนนาและทีมผูจ้ ดั ทาที่ตอ้ งการให้ “ที่นี่” เป็ นเหมือนบ้านที่อยู่รวมปะปนไป กับบ้านในชั้นอื่น ๆ ปัจจุบนั ผูเ้ ยี่ยมชมก็ยงั คงเดินขึ้นลงบันไดสวนทางกับผูอ้ ยูอ่ าศัยร่ วมตึกอย่างเป็ นปกติ 2. หลังจากซื้อตัว๋ เรี ยบร้อย ผมเดินเข้าไปในโถงนิทรรศการก่อนเป็ นอันดับแรก นิทรรศการครั้งนี้ถูกจัดขึ้นในหัวข้อ The apartment is doing well ซึ่งเริ่ มจัดแสดงมาตั้งแต่ตน้ ปี ที่ผา่ นมา การจัดแสดงต้องการสื่ อให้เห็นถึงการใช้ชีวิตในบ้านหลังนี้เกือบ ครึ่ งศตวรรษของครอบครั วฟรอยด์ ชี วิตอันประกอบไปด้วยภรรยาและลูกหกคน นอกจากนี้ ยงั มีน้องสะใภ้อีกหนึ่ งและคน ปรนนิบตั ิรับใช้อย่างน้อยสองคน โถงของนิทรรศการประกอบไปด้วยภาพถ่ายครอบครัว ในช่วงของความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ , จดหมายซึ่ งเขียนด้วยลายมือของฟรอยด์ , และสารคดีเกี่ยวกับครอบครัวฟรอยด์ บรรยากาศของนิทรรศการจึงมีลกั ษณะของ
ความก้ ากึ่งและใกล้ชิดกันระหว่างการฉายภาพความเป็ นส่ วนตัวกับภาพความเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ ที่ครอบครัวของฟ รอยด์ผา่ นพ้นช่วงเวลาต่าง ๆ หัวใจหลักของการเล่าเรื่ องคือการดาเนิ นรอยตามความคิดเรื่ อง การใช้ชีวิต (Dwelling) ของวอลเตอร์ เบนยามิ น (Walter Benjamin, 1892 - 1940) โดยเฉพาะรู ปแบบการเสพการใช้ชีวิต ในครัวเรื อนของบรรดากระฎุมพี (Bourgeois) ในช่วง ค.ศ.ที่ 19 ซึ่ งถือว่าการใช้ชีวิตในบ้านเป็ นสิ่ งสาคัญแล้ว มันยังเป็ นภาพสะท้อนถึงวัฒนธรรมสมัยใหม่ซ่ ึ ง วางบนพื้นฐานของ เสรี ภาพส่ วนบุคคลที่จะเลือกใช้ชีวิตในสถานที่หนึ่ง ๆ เพื่อพักอาศัยหรื อเคลื่ อนย้ายไปในสถานที่อื่น การใช้ชีวิตในแง่น้ ีจึงมี ลักษณะที่ผกู พันกับพื้นที่ทางกายภาพเป็ นสาคัญ คาว่า Dwelling เองก็แปลมาจากคาว่า Wohnen ในภาษาเยอรมันอันหมายถึงการ ใช้ชีวิตอยูใ่ นพื้นที่เชิงกายภาพ และการมีเสรี ภาพที่จะใช้ชีวิตเช่นนี้เองจึงจะเกิดความหมายของการมีชีวิตอยูห่ รื อ Leben ย้อนกลับไปเมื่อสมัยฟรอยด์ยงั ใช้ชีวิตอยูใ่ นบ้านหลังนี้ ความคิดว่าด้วยสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ (Modern architecture) และความคิดแบบการใช้ชีวิตแบบนาคร (Urbanism) เป็ นที่เฟื่ องฟูอย่างมาก ในช่วงค.ศ.ที่ 19 เวียนนาได้กลายเป็ นศูนย์กลางของ ศิลปะวิทยาการหลายด้าน ประชากรชาวยิวในเวียนนามีราว ๆ 9 เปอร์ เซ็นต์ของจานวนทั้งหมดในเมือง มากกว่าครึ่ งหนึ่งของ พวกเขาก็พกั อยูใ่ นเขตที่ 1, 2 และ 9 ซึ่งล้วนเป็ นเขตที่จดั ได้ว่าเป็ นย่านกระฎุมพีมีการศึกษาและรสนิยม บ้านของฟรอยด์ต้งั อยูใ่ น เขตที่ 9 อยู่ก่ ึงกลางระหว่างมหาวิทยาลัยเวียนนาและโรงพยาบาล สถานที่ ซ่ ึ งเขาใช้ชีวิตผูกพันมาโดยตลอด ระหว่างทางยังคัน่ ด้วยร้านกาแฟแบบเวียนนา (Viennese coffee house) ซึ่ งเป็ นแหล่งพบปะของปั ญญาชนในสมัยนั้นอีกหลายร้าน ภายในบ้าน ของฟรอยด์และบรรดายิวชั้นกระฎุมพีท้ งั หลายก็ซึมซับรับเอาวัฒนธรรมสมัยใหม่เข้ามาจนมีส่วนทาให้พวกเขาเองแยกตัวออก จากความเคร่ งครัดทางประเพณี และวัตรปฏิบตั ิทางศาสนาของชาวยิว บางครอบครัวถึงกับจัดต้นคริ สต์มาสไว้สาหรับเด็ก ๆ ใน บ้านในช่วงเทศกาล ออตโต บาวเออร์ (Otto Bauer, 1881 - 1938) นักคิดชั้นนาของกลุ่มออสโตร – มาร์ กซิ สต์ 1 ระบุไว้อย่าง น่ าสนใจว่า ในช่วงเวลานั้นอัตลักษณ์ของคนยิว (น่ าจะหมายถึงชั้นกระฎุมพี) มีลกั ษณะที่เป็ นแก่นสารน้อยมาก พวกเขาเป็ น เสมือนผูค้ นที่ปราศจากประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมพวกเขายังเป็ นส่ วนหนึ่งของอดีตที่ไกลแสนไกล ขณะเดียวกันก็ยงั ซึ มซับเอา วัฒนธรรมต่าง ๆ โดยรอบ แม้ในวัยเด็ก ฟรอยด์จะมีชีวิตที่ไม่รุ่มรวยนัก ทว่า ตลอดระยะเวลา 47 ปี ที่เขาใช้ชีวิตเข้าในบ้านหลังนี้ (ปี ค.ศ.1891 – 1938) ชีวิตแบบชั้นกระฎุมพีภายใต้ที่บา้ นเพดานสู ง ห้องถูกแยกเป็ นสัดส่ วนและทันสมัย ทว่าประดับด้วยเครื่ องใช้และของตบ แต่งแบบคลาสสิ กก็ลว้ นแต่มีผลต่อชี วิตและวิธีคิดของเขาเป็ นอย่างมาก ฟรอยด์ยงั ใช้ส่วนหนึ่ งของบ้านเป็ นห้องทางานและ รักษาคนไข้ผมู ้ ีอาการจิตเภทหรื อ Hysteria อีกด้วย บ้านในความหมายของพื้นที่การใช้ชีวิตสาหรับฟรอยด์จึงเป็ นพรมแดนอัน พร่ าเลือนระหว่างการทางานและชีวิตส่วนตัว ในช่วงศตวรรษที่แล้ว บ้านหลังนี้ คงมีผูค้ นมากหน้าหลายตาเดินทางมากดกริ่ งหน้าบ้านและเข้าคิวเพื่อรอการรักษา จากฟรอยด์แทบทุกวัน เพราะในยุคที่ความความเจริ ญในยุโรปทะยานขึ้นอย่างสู งสุ ด พวกเขาก็คน้ พบว่าตนเองป่ วยไข้ทางจิตใจ กันเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะโรคจิตเภท อันที่จริ ง ความเจ็บป่ วยประเภทนี้มกั เป็ นที่เข้าใจผิดมาโดยตลอดว่ามีสาเหตุจากความเสื่ อมทรามทางศีลธรรมและความ ไร้ยางอายในการแสดงออกทางเพศ ความเชื่อประเภทนี้ การศึกษาจิตวิเคราะห์แบบฟรอยด์ได้วิจารณ์อย่างแหลมคมว่า การเก็บ กดและปิ ดกั้นทางเพศต่างหากที่เป็ นส่วนหนึ่งของปัญหาความป่ วยไข้ โดยเฉพาะการควบคุมบทบาททางเพศและการแสดงออก 1
ออตโด บาวเออร์ยงั มีความสนิ ทสนมใกล้ชิดกับฟรอยด์ในอีกหลายแง่มุมทั้งบทสนทนาทางความคิดและน้องสาวของเขา อีดา บาวเออร์ (Ida Bauer) ยังเป็ นคนไข้คนสาคัญของฟรอยด์และปรากฏในงานเขียนวิเคราะห์ผปู ้ ่ วยจิตเภทของฟรอยด์ในนามสมมติว่า โดร่ า (Dora)
ทางเพศของชายและหญิงอย่างชัดเจนภายใต้กรงเหล็กของศีลธรรม ฟรอยด์อธิบายเพิ่มเติมถึงบทบาทของความศิวิไลซ์ซ่ ึงเติบโต อย่างรวดเร็ วในเมื องใหญ่ต่อ สภาวการณ์ ป่วยไข้ทางจิต ของผูค้ น อาทิ การแสดงออกซึ่ งความปรารถนาทางเพศของผูห้ ญิง กลายเป็ นสิ่ งต้องห้ามของสังคม ขณะที่ การค้าบริ การทางเพศในเมืองก็เกิดขึ้นเพื่อรองรับแรงขับทางเพศ (Libido) ของผูช้ ายซึ่งมิ อาจแสดงออกได้กบั ภรรยาภายใต้มายาคติเรื่ องศีลธรรมทางเพศ (Sexual morality) ที่น่าสนใจ คือภาวะป่ วยไข้อนั เนื่องมาจาก ความเก็บกดปิ ดกั้นทางเพศนี้มกั เกิดขึ้นในบรรดากลุ่มกระฎมุ พีเป็ นสาคัญ ปี เตอร์ เกย์ (Peter Gay, 1923 - 2015) นักประวัติศาสตร์ ผูเ้ ชี่ยวชาญเรื่ องความคิดของฟรอยด์และวัฒนธรรมเยอรมัน มี ความเห็นว่าชีวิตของบรรดาชาวยิวชั้นกระฎุมพีในช่วงเวลาดังกล่าวมีลกั ษณะที่เกาะกลุ่มสมาคมกันเองค่อนข้างมาก พวกเขา ยอมรับซึ่ งสภาวะป่ วยไข้และรับการรักษาจากฟรอยด์อย่างสม่าเสมอ กระฎุมพีกลุ่มนี้ยงั มีความเชื่อเสี ยด้วยซ้ าว่าการใช้ชีวิตใน เมืองสมัยใหม่และความศิวิไลซ์มีส่วนสาคัญอย่างยิง่ ในการทาลายระบบประสาทและก่อให้เกิดโรคจิตเภท ขณะเดียวกันพวกเขา ก็ยงั คงพึงพอใจที่จะใช้ชีวิตเยี่ยงกระฎุมพีในเมืองต่อไป อาการป่ วยทางจิตใจลักษณะนี้สามารถกลายเป็ นหนทางที่ดาดิ่งลงไป ภายในใจของสมาชิกผูใ้ ช้ชีวิตในบ้านได้ ในทางกลับกัน การใช้ชีวิตในบ้านก็เป็ นหนทางหนึ่งในการจัดการและเยียวยา ผมเชื่อ ว่า สภาวะย้อนแย้งเช่นนี้ สะท้อนให้เราเห็นว่าเสรี ภาพในการเลือกที่จะใช้ชีวิตและมีชีวิตอยูเ่ ป็ นสิ่ งสาคัญอย่างยิ่ง ในพิพิธภัณฑ์ ผมไม่แปลกใจเลยที่ห้องรอคิวการรักษาและห้องรักษาคนไข้ของฟรอยด์จึงไม่ได้มีลกั ษณะของคลินิก แบบที่เราเห็นกันในปัจจุบนั หากมีรูปแบบของการเป็ นบ้านนับตั้งแต่ที่นงั่ รอของผูป้ ่ วยและมุมแขวนเสื้ อโค้ท เมื่อเราเดินเข้าไป ในห้องรักษาก็จะรู ้สึกคล้ายกับห้องรับแขกเพื่อสนทนา แวดล้อมไปด้วยรู ปภาพและของตบแต่ง ตลอดจนชุดโซฟาเพื่อให้ผปู ้ ่ วย รู ้สึกผ่อนคลาย เหนือสิ่ งอื่นใด มันคือความรู ้สึกถึงความสัมพันธ์เชิ งอานาจระหว่างฟรอยด์กบั คนไข้ของเขาที่ถูกปรับลดลง จนผูร้ ับ การรักษารู ้สึกได้ถึงความปรารถนาที่จะใช้ชีวิตและมีชีวิต แม้ว่าชีวิตดังกล่าวยังคงเวียนวนอยูก่ บั สถานะกระฎมุ พีซ่ ึงอาจนามาซึ่ ง ความป่ วยไข้เช่นเดิม แต่หากเราพิจารณาจากจุดยืนของฟรอยด์ การหลุดพ้นจากสภาวะความเจ็บป่ วยทางจิตใจนั้น มนุษย์จะต้อง ปลดปล่อยตนเองจากภายในจากความเก็บกดปิ ดกั้นและเชื่อมโยงไปสู่การปลดปล่อยสังคมจากระบอบของอานาจที่ไม่เป็ นธรรม ในปี ค.ศ. 1930 งานเขียนของเขาเรื่ อง Civilization and its Discontents ได้รับรางวัลเกอเธ่ จากเมื องแฟรงก์เฟิ ร์ ต ซึ่ ง นับว่าเป็ นรางวัลอันทรงเกียรติในด้านการค้นคว้าและวิจยั งานชิ้นนี้ของเขานับเป็ นงานชิ้นแรกที่เขียนขึ้นเพื่อเชื่อมโยงความคิด ด้านจิตวิเคราะห์กบั งานด้านสังคมวิทยาอย่างเป็ นระบบ ทั้งแฝงไว้ดว้ ยการวิพากษ์ดา้ นมืดของความศิวิไลซ์เอาไว้อย่างแยบยล ในระหว่างบรรทัดของหนังสื อเล่มนี้ ผมคิดว่าฟรอยด์ตอ้ งการบอกกับเราว่าความศิวิไลซ์มิได้เพียงแค่พรากความเป็ นมนุษย์ของ เราไป แต่มนั ได้สร้างความเป็ นมนุษย์ที่เต็มไปด้วยความเจ็บป่ วยทางจิตใจและอัดแน่นไปด้วยพลังการทาลายล้าง 3. สามปี ต่อมา ด้วยคาสั่งของของฮิ ตเลอร์ ผูน้ านาซี งานเขียนชิ้ นนี้ และหนังสื ออีกหลายเล่มของฟรอยด์ได้ถูกเผาทิ้ง ร่ วมกับหนังสื ออีกจานวนมากกลางกรุ งเบอร์ ลิน ปี ค.ศ. 1938 ฮิ ตเลอร์ ได้ขยายอานาจเข้า สู่ เวียนนาและออสเตรี ย ฟรอยด์ ตัดสิ นใจลี้ภยั ไปอยูใ่ นกรุ งลอนดอน สถานที่ซ่ ึงให้ความต้อนรับเขาเป็ นอย่างดี อย่างไรก็ตาม ในวันที่ 23 ของเดือนกันยายน ปี ค.ศ. 1939 ฟรอยด์ได้เสี ยชีวิตลง หลายคนให้ความเห็นว่านอกจากความ ชราภาพแล้ว เขาคงเหนื่อยล้าจากการเดินทางและประสบความทรมานทางใจอันเป็ นผลพวงจากสงคราม ทว่า หลังจากที่ผมเข้า มาเยี่ยมบ้านของเขาและได้มีโอกาสเห็นรู ปแบบของชี วิตและบ้านซึ่ งเป็ นทั้งสถานที่ทางานและอยู่กบั ครอบครัว ฟรอยด์เห็น
สมาชิกในครอบครัวถือกาเนิด, เติบโต, และเสี ยชีวิต รอยสึ กกร่ อนบริ เวณพื้นบันไดทางขึ้นบ่งบอกว่าบ้านหลังนี้เคยเปิ ดต้อนรับ คนไข้และมิตรสหายอีกนับไม่ถว้ น ผมไม่อาจเข้าไปนัง่ ในใจของฟรอยด์ได้ ทว่า ร่ องรอยในบ้านของเขากาลังบอกเล่าบางสิ่ งกับ ผม บางทีความตายของคน ๆ หนึ่ง อาจมีสาเหตุมาจากการถูกบังคับให้พลัดพรากจากการใช้ชีวิตอย่างมีเสรี ภาพ จนเขาเอง ไม่อาจค้นหาเหตุผลในการมีชีวิตอยู่ อ้างอิง Robertson, Ritchie. Introduction. In A Case of Hysteria (Dora). Author by Sigmunf Freud. Translated by Anthea Bell. Oxford University Press. 2013 Benjamin, Walter. The Arcades Project. Translated by Howard Eiland and Kevin McLaughlin. Harvard University Press. 2002. Freud, Sigmund. Civilization and Its Discontents. Translated by David Mclintock. Penguin Book. 2002. Gay, Peter. The Bourgeois Experience: Victoria to Freud Volume 2:The Tender Passion. Oxford University Press. 1987.
กระจกเงาและเรื่องเล่าของลูกสาว 1.
ในทุกสงครามและความรุ นแรง การปกป้ องชี วิตให้รอดพ้นจากความตายและอยู่รอดปลอดภัยมิใช่สองสิ่ งที่ จาเป็ น ทว่า การรั กษาความเป็ นมนุ ษย์ให้หลงเหลื ออยู่ก็เปรี ยบเสมื อนสนามรบที่ ซ่อนตัวอยู่ในสงครามอี กชั้นหนึ่ ง ในช่วงที่การเกลียดและกลัวชนต่างชาติ (Xenophobia) ถูกจุดชนวนขึ้นในยุโรปโดยกองทัพนาซี ชาวยิวจานวนมากต้อง เผชิญหน้ากับความเกลียดชังนานาประเภท ทั้งยังกลายเป็ นเป้าหมายของความรุ นแรงโดยตรงอย่างมิอาจหลีกเลี่ยงได้ เมื่อคราที่กองทัพนาซี แผ่ขยายอานาจถึงออสเตรี ย ฟรอยด์ในฐานะชาวยิวผูท้ รงอิทธิ ทางความคิดได้ถูกเรี ยกตัว เข้าพบเพื่อรับการไต่สวน สาหรับชายวัย 80 กว่าปี สิ่ งนี้ อาจเป็ นเรื่ องที่หนักหนาสาหัสเกินกว่าจะรับมือได้ ในหนังสื อ ของ มาร์ค เอ็ดมุนด์สัน (Mark Edmundson) บอกเล่าว่า อันนา (Anna Freud) ลูกสาวของฟรอยด์ อาสาเป็ นตัวแทนของฟรอยด์ เพื่อเข้าไปพบกับเจ้าหน้าที่ของนาซี ท้ายที่สุด เธอได้รับการปล่อยตัวและจากนั้นไม่นาน ครอบครัวของฟรอยด์ก็ล้ ีภยั ไป อยูล่ อนดอน หลายคนอาจมองว่าครอบครัวของฟรอยด์โชคดีและด้วยสถานะของเขา การอพยพลี้ภยั และการค้นหาที่พกั พิงใหม่น่าจะเป็ นเรื่ องที่ง่ายดายกว่าชาวยิวทัว่ ไป ผมเห็นด้วยกับเรื่ องนี้ ทว่า สิ่ งที่หวั ใจของผมยังคงจดจาก็คือ ก่อนที่อนั นาจะเดินทางไปรับการไต่สวน ฟรอยด์ได้ยนื่ ยาพิษไว้ในมือของเธอ เป็ นนัยให้ฆ่าตัวตายเสี ยดีกว่าการถูกนาซีทรมาน สาหรับผูเ้ ป็ นพ่อ การกระทาดังกล่าวไม่ต่างจากการดึงลูกให้ กา้ วขาเข้าสู่ ความตาย ไม่ว่าจะเป็ นทั้งการยินยอม ให้เธอเป็ นตัวแทนและการยื่นยาพิษ มันอาจเป็ นการตัดสิ นใจอันยากยิ่งของฟรอยด์ ชายผูเ้ ชื่อในมนุษยภาพของความ เป็ นมนุษย์ 2.
ภายในห้ อ งท างานของฟรอยด์ นัก ท่ อ งเที่ ย วและผู ้เ ยี่ ย มชมมัก จะให้ ค วามส าคัญ กับ เก้า อี้ ท างานของเขา จินตนาการของคนส่ วนใหญ่อาจจะเดินทางไปสุ่ อดีตของชายคนหนึ่ งที่ใช้เก้าอี้น้ ี ท้ งั เขียนงานวิจยั , บันทึกอาการของ ผูป้ ่ วย ตลอดจนนัง่ เขียนจดหมายโต้ตอบทางความคิดกับปัญญาชนคนอื่นๆ ในยุโรป เก้าอี้ของฟรอยด์จึงมิใช่เก้าอี้ทวั่ ไป หากเป็ นดัง่ สัญลักษณ์และที่ต้ งั ทางปัญญาของเขา โดยส่ วนตัว ผมไม่ใคร่ สนใจเก้าอี้สักเท่าไหร่ สายตาของผมจับจ้องแต่ กระจกบานหนึ่งซึ่งแขวนอยูบ่ ริ เวณหน้าต่างติดกับเก้าอี้ทางานตัวนั้น นัน่ คือ กระจกที่อนั นามอบให้กบั ผูเ้ ป็ นพ่อ
อันนา เป็ นลูกคนสุ ดท้องของครอบครัวฟรอยด์และนับได้วา่ เป็ นคนที่ใกล้ชิดกับผูเ้ ป็ นพ่อมากที่สุด เธอเกิดในปี 1895 อันเป็ นปี เดียวกับที่ฟรอยด์เผยแพร่ ผลงานในชื่อ Studies on Hysteria ในหนังสื อบอกเล่าประวัติชีวิตของอันนา ระบุว่าเธอ เป็ นเด็กที่เติบโตขึ้นท่ามกลางบทสนทนาทางปัญญาของผูเ้ ป็ นพ่อกับเพื่อนๆ เธอสามารถใช้ภาษาเยอรมัน, ฝรั่งเศส, อังกฤษ, ฮีบรู , และอิตาเลี่ยนได้เป็ นอย่างดี นอกจากนี้ในสมุดบันทึกของฟรอยด์ผพู ้ ่อเอง อันนาคือบุคคลที่ฟรอยด์เขียนถึงมากที่สุดในบรรดา สมาชิกทั้งหมดของครอบครัว ผมคิดว่า ความสัมพันธ์อนั ใกล้ชิดของอันนากับผูเ้ ป็ นพ่อมีหลายแง่มุมให้ครุ่ นคิดมากไปกว่าความ เข้าใจทัว่ ๆ ไป ด้านหนึ่ ง ฟรอยด์ได้บนั ทึกการเติ บโตของอันนาเสมือนเป็ นการศึกษาจิตใต้สานึ กของเด็ก ในหนังสื ออันมี ชื่อเสี ยงโด่งดังของเขาคือ การตีความความฝัน (The Interpretation of Dreams) ฟรอยด์ได้บนั ทึกชีวิตของอันนาน้อยวัย 19 เดือน ไว้อย่างน่าสนใจ ฟรอยด์เชื่อมโยงการเติบโตของลูกสาวไปสู่ อ าการหลอน (Hallucination) ของเด็กซึ่ งซ่อนอยูใ่ นภาษาที่เด็กใช้ เช่นคาว่า สตรอเบอรี่ ที่อนั นาพูด อาจมิได้สะท้อนการฝึ กหัดทางภาษาเพียงอย่างเดียว แต่สะท้อนภาพของจิตใต้สานึกออกมาใน รู ปของความอยากกระหาย (Need) ซึ่งซ่อนเร้นอยูใ่ นความเป็ นวัตถุหรื อรู ปทรงที่เด็กใช้ออกมา อนึ่ง เราคงต้องเข้าใจเสี ยเบื้องต้นว่า อาการหลอนดังกล่าวมิใช้อาการทางประสาท หากเป็ นขั้นตอนของการสร้างและ ยืนยันตัวตนหรื อความเป็ นอัตบุคคล (Subject) ของเด็ก ฌาคส์ ลากอง (Jacques Lacan) นักจิตวิเคราะห์คนสาคัญ ผูม้ ีส่วนสาคัญ ในการทาให้แนวคิดของฟรอยด์มีความเป็ นระบบและเชื่อมโยงกับแนวคิดทางสังคมศาสตร์ มากขึ้นอธิ บายว่าขั้นตอนการสร้าง ตัวตนเช่นนี้คือ ขั้นตอนกระจกเงา (Mirror Stage) ขั้นตอนนี้เกิดขึ้นมาจากจินตนาการของภาพแทนความเป็ นตนเองผ่านวัตถุ สิ่ งของ หรื อแม้กระทัง่ กฏเกณฑ์ทางสังคม อัตบุคคลจึงเป็ นเสมือนภาพของการเป็ นผูถ้ ูกกระทาซึ่ งถูกจ้องมองในกระจกและ ยอมรับระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ เข้ามา ขณะเดียวกัน ผูก้ ระทาหรื อผูจ้ อ้ งมองกระจกนั้นก็ไม่สามารถแยกตัวเองออกจากเงาที่ตน กาลังจ้องได้ มนุษย์จึงมิได้เป็ นผูก้ ระทาการอย่างแท้จริ ง แต่เป็ นทั้งผูก้ ระทาและผูร้ ับผลของการกระทาอันเนื่องมาจากกฎเกณฑ์, ค่านิยม, และอานาจ ในสังคม ขณะเดียวกัน การก่อร่ างสร้างอัตบุคคลของมนุษย์น้ นั เกิดขึ้นในระดับจิตใต้สานึก การใช้อานาจ และรับผลของอานาจต่างๆ จึงเกิดขึ้นและดาเนินไปอย่างเป็ นธรรมชาติ ชี วิตของอันนามีความน่ าสนใจและตรงที่เธอได้กลายเป็ นภาพสะท้อนของการศึกษาทางจิตวิเคราะห์ เธออาจไม่ใช่ วัตถุทางการศึกษาเสี ยทีเดียว หากชี วิตของเธอได้ฉายภาพบางประการเกี่ ยวกับภูมิทศั น์ทางจิตใจของผูค้ นช่วงต้นค.ศ. 1900 ในช่วงอายุ 17 ปี เธอมีอาการป่ วยจากโรคซึ มเศร้าและสภาวะไม่อยากอาหาร (Anorexia) นอกจากนี้ เธอยังมีความรู ้สึกไม่มนั่ คง ทางจิตใจ ทั้งยังวิตกกังวลเกี่ยวกับอนาคตที่ยงั มาไม่ถึง ทั้งหมดนี้คือภาพสะท้อนของชีวิตด้านทึมมืดของผูค้ นในยุโรปในช่วงที่ ความเจริ ญทางวิทยาการก้าวขึ้นสู่จุดสุ ดยอดผ่านความหมายของคาว่า “ศิวิไลซ์” อันนาในบทบันทึกของฟรอยด์จึงเป็ นดัง่ กระจกเงาสะท้อนชีวิตและภูมิทศั น์ทางจิตใจของผูค้ นในยุคนั้น กระจกเงาบานที่แขวนอยูข่ า้ งเก้าอี้ทางานนั้นเล่า เป็ นเช่นไร? ในชีวิตของฟรอยด์ มาร์ ธา เบร์ นายส์ (Martha Bernays) ผูเ้ ป็ นภรรยามักถูกเล่าสั้นในฐานะผูห้ ญิงทรงเสน่ห์และเปี่ ยม การศึกษา เธอได้สละเวลาทุกอย่างมาเป็ นแม่อบอุ่นของลูกทั้ง 6 คน รวมไปถึงการเป็ นแม่บา้ นที่มีส่วนในการหนุนครอบครัวให้ มัน่ คงและเสี ยสละเพื่อสามี แม้จะมีการวิจารณ์ในส่ วนนี้อย่างกว้างขวาง ทว่า ในแง่มุมทางจิตวิเคราะห์กลับมีคาหนึ่งซึ่ งอาจช่วย ให้เข้าใจได้นนั่ คือปมมาตุฆาต (Electra Complex) คานี้เกิดขึ้นอย่างเป็ นทางการ โดยคาร์ล ยุง (Carl Jung) มิตรและลูกศิษย์ของฟ รอยด์ ยุง ใช้ค านี้ เพื่ อ อธิ บ ายถึ ง จิ ตวิ ท ยาทางเพศเชิ ง การแข่ งขัน (Psychosexual competition) ระหว่ างแม่ กับ ลู กสาวในการ ครอบครองผูเ้ ป็ นพ่อหรื อผูช้ ายซึ่ งเป็ นใหญ่ในบ้าน เด็กสาวจะเริ่ มพัฒนาและสร้างอัตบุคคลขึ้นมาผ่านผูเ้ ป็ นแม่ราวกับการส่อง กระจก แต่ที่พิเศษกว่านั้นคือ เธอจะต้องสร้างตัวตนของเธอขึ้นมาอย่างเป็ นอิสระและแตกต่างจากแม่ กระนั้น ความสัมพันธ์
ระหว่างลูกสาวกับแม่ก็เหมือนดัง่ ที่นิยายหรื องานเขียนหลายเล่มบอกเล่าเอาไว้ก็คือ เป็ นทั้งความผูกพัน, ความขมขื่น, พันธนา, และการพยายามดิ้นให้หลุดออกจากวงจรความเป็ นหญิงที่แม่มีและดารงอยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างอันนากับมาร์ธาไม่มีความชัดเจนในลักษณะนั้น มาร์ธาเสี ยชีวิตในวัย 90 ปี (1861 - 1951) แต่เธอ กับลูกก็มิได้มีความสนิทสนมกันมากนัก ในช่วงที่อ ันนาประสบสภาวะเจ็บป่ วย เธอเลือกที่จะปรึ กษาพ่อและเดินทางไปอิตาลี เพื่ออาศัยอยู่กบั คุณยายของเธอ ในวัย 19 ปี เธอเลือกที่จะไปอังกฤษเพื่อฝึ กฝนภาษาด้วยตนเอง จากนั้น เธอได้เลือกดาเนินรอย ตามเส้นทางชี วิตของพ่อ และในสายวิชาชี พนักจิตวิเคราะห์น้ ีเองเธอก็ประสบความสาเร็ จ งานเขียนเล่มแรกของเธอเรื่ อง An Introduction to Psychoanalysis: Lectures for Child Analysts and Teachers 1922-1935 คื อ ปฐมบทที่ ย อดเยี่ ย มต่ อ การประยุกต์ แนวคิดจิตวิเคราะห์มาทาความเด็กซึ่ งผูเ้ ป็ นครู และผูด้ ูแลเด็กทุกคนควรได้เรี ยนรู ้ โดยเฉพาะการเรี ยนการสอนในเรื่ องเพศและ กระบวนการสร้างตัวตนของเด็ก ท่ามกลางบรรยากาศของสังคมที่มุ่งเน้นความเงียบหงิมและเก็บกดปิ ดกั้นทางเพศ ภายใต้ขอ้ อ้าง ของความเป็ นอารยะ อันนาเหมือนพ่อมากกว่าแม่ เธอมุ่งมาดพัฒนาความคิดของพ่ออย่างเต็มทีจนแทบจะเรี ยกได้ว่าเป็ นดัง่ ตัวแทนของผู ้ เป็ นพ่อทั้งทางความคิดและการดาเนินชีวิต ลูอิส บรี เจอร์ (Louis Breger) นักเขียนอัตชีวประวัติของฟรอยด์ กล่าวถึงงานเขียน ของเธอในเชิงวิพากษ์วิจารณ์เสี ยด้วยซ้ าว่าขาดความเป็ นแบบฉบับและงานส่วนมากตกอยูใ่ นเงื้อมเงาทางทฤษฏีของผูเ้ ป็ นบิดา การเดินตามรอยทางของพ่อ อาจเป็ นภาพสะท้อนแบบหนึ่งของชัยชนะในปมมาตุฆาตที่อนั นามีต่อแม่ของเธอ ผมคิด ว่าอันนาคงไม่รู้สึกเสี ยใจอย่างไรต่อคาวิจารณ์ที่มิใช่มีเพียงแค่ลูอิสเท่านั้นที่คิดและแสดงออกแบบนี้ สาหรับเธอ พ่ออาจเป็ น มากกว่าสัญลักษณ์ของอานาจและความพึงใจ หากเรามองผ่านทัศนะของลากอง ฟรอยด์ในฐานะพ่ออาจเป็ นดัง่ จุดอ้างอิงใน ดินแดนแห่งจินตนาการ ( The Realm of the Imaginary) ที่ช่วยสร้างตัวตนในความคิดของอันนาและเป็ นสิ่ งที่อนั นาแสดงออกมา ให้คนอื่นได้เห็นเพื่อให้โลกรับรู ้ซ่ ึงตัวตนของเธอ สิ่ งที่ซ่อนอยู่ในปมมาตุฆาตมิใช่การแก่งแย่งระหว่างผูห้ ญิง แต่มนั คืออานาจของความเป็ นพ่อ โลกแห่ งจินตนาการได้ เปิ ดเผยให้เห็นถึงความสัมพันธ์อนั ลึกซึ้ งระหว่างพ่อและลูกสาว ขณะที่ในโลกแห่ งความเป็ นจริ ง ผูเ้ ป็ นลูกสาวก็ยงั คงทาหน้าที่ ตัวแทนของพ่อจนวาระสุ ดท้ายของชีวิต 3. ภายในห้องทางานของฟรอยด์ ผมยืนมองกระจกบานนั้นพร้อมกับนึกถึงเรื่ องราวของอันนาอยูน่ าน นักท่องเที่ยวหลาย คนบอกให้ผมยืนหลบไปทางอื่น เนื่ องจากพวกเขาต้องการถ่ายรู ปกระจกบานนี้ หลายคนถ่ายในลักษณะเซลฟี่ (Selfie) หน้า กระจก ผมไม่สามารถคาดเดาได้ว่าพวกเขาและเธอเหล่านั้น เห็น “ใคร” อยูใ่ นนั้น ท่ามกลางความรุ่ มรวยในรสนิยมและความเป็ นอยู่ของกระฎุมพี ทาไมอันนาจึงเลือกมอบกระจกบานหนึ่งให้กบั ผูเ้ ป็ น พ่อ ในฐานะนักจิตวิเคราะห์ดว้ ยกัน กระจกคืออุปลักษณ์หรื อ Metaphor สาคัญ ในการทาความเข้าใจพัฒนาการในตัวตนของ ผูป้ ่ วย ทว่า ในความสัมพันธ์ระหว่างพ่อกับลูกนั้นเล่า กระจกนั้นเป็ นเช่นไร ยามที่ฟรอยด์ส่องกระจก เขาจะเห็นอันนาอยูใ่ นนั้นหรื อไม่ ในริ้ วรอยบนใบหน้าและรอยขมวดระหว่างคิ้วนั้น ฟรอยด์ เห็นตนเองย้อนกลับไปสู่วยั เยาว์ในรู ปของหญิงสาวคนหนึ่งบ้างไหม เฉกเช่นอันนาที่เห็นเงาในกระจกและจินตนาการถึงชายสู ง วัยคนหนึ่ง บางที พวกเขาอาจสบตากันทุกครั้งที่จอ้ งมองกระจกบานนั้น
ย้อนไปสู่ยาพิษที่ฟรอยด์หยิบยื่นใส่มือของลูกสาว ห้วงยามนั้น ผมเชื่อว่าในมือของเขาหรื อที่ใดสักแห่งในห้องทางาน ย่อมต้องมียาพิษชนิดเดียวกันอยู่ดว้ ย หากวันนั้นอันนาไม่ได้รับการปล่อยตัวออกมา ฟรอยด์คงตัดสิ นใจปลิดชีพตัวเองตามเธอ ไปอย่างแน่นอน ในห้วงยามของสงคราม มีคนจานวนไม่นอ้ ยที่ยอมตายเพื่อรักษาความเป็ นมนุษย์ เพราะอย่างน้อยมันยังดีกว่าการมีชีวิต อยูอ่ ย่างสู ญสิ้นความเป็ นคน อ้างอิง Breger, Louis. Freud: Darkness in the Midst of Vision. John Wiley and Sons. 2000. Edmundson. Mark. The Dead of Sigmund Freud: The Legacy of His Last Days. Bloomsbury. 2007. Lacan, Jacques. The Four Fundamental Concepts of Psychoanalysis. London.1994.
เราทุกคนคือผู้ป่วย 1. ในฐานะที่เป็ นพื้นที่ทางกายภาพ พิพิธภัณฑ์ฟรอยด์ที่เวียนนาทาหน้าที่เล่าเรื่ องเชื่ อมโยงชีวิตการทางานและส่ วนตัว ของฟรอยด์ได้ดีดังที่ เขียนไปในสองตอนก่ อนหน้า ทว่า ทั้งหมดนั้นคือภาพที่ปรากฎและถูกคัดสรรขึ้นมานาเสนอเท่านั้น (Present) ผมอดคิดไม่ได้ถึงความย้อนแย้งบางประการว่า การเล่าเรื่ องทั้งหมดนี้เหมือนดัง่ การทางานของจิตสานึกและเป็ นส่วน ยอดปลายของภูเขาน้ าแข็งเท่านั้น หากเราซื่ อสัตย์ต่อแนวทางของจิตวิเคราะห์แบบฟรอยด์ เราย่อมต้องค้นหาสิ่ งที่ไม่ปรากฏ (Absent) ในการเล่าเรื่ อง หรื อสิ่ งที่ซุกซ่อนอยูภ่ ายในราวกับฐานภูเขาน้ าแข็งขนาดมหึมาที่จมอยูใ่ ต้น้ าแข็ง ในแง่แนวคิด แม้เขาจะนับได้ว่าเป็ นผูบ้ ุกเบิกความสาคัญในบทบาทและการทางานของจิตใต้สานึ ก ทว่า ชายชราซึ่ ง เสี ยชีวิตเมื่อค.ศ. 1939 คงไม่ทนั ได้รู้ว่า แนวคิดของเขาแม้จะได้รับการพัฒนาต่อไปมากมาย แต่ก็ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างถึง รากถึงโคนเช่นกัน โดยเฉพาะในกลุ่มนักสตรี นิยมที่ช้ ีให้เห็นว่าปัญหาสาคัญของฟรอยด์คือการใช้เครื่ องเพศเป็ นสัญลักษณ์ของ การแยกความเป็ นชายและหญิ งออกจากกัน ความเป็ นผูห้ ญิ งจึ งอยู่ในฐานะผูช้ ายที่ ไม่มีองคชาติ และด้อยกว่ าเนื่ องจากไร้ สัญลักษณ์แห่ งอานาจ ปั ญหาในแง่น้ ี ช้ ี ให้เห็นว่าฟรอยด์ยงั คงยึดติดและตั้งต้นกับการจาแนกความเป็ นเพศผ่านลักษณะทาง กายภาพและเครื่ องเพศของผูช้ ายเป็ นสาคัญ ท่ามกลางความลุ่มหลงในความรู ้แห่งยุคสมัย ฟรอยด์อาจไม่รู้ตวั เสี ยด้วยซ้ าว่าเขาก็มิ อาจรอดพ้นจากการครอบงาความคิดว่าด้วยผูช้ ายเป็ นใหญ่ ทั้งนี้ ยังมิอาจรวมถึงการใช้ชีวิตแบบชาวยิวกระฎมุ พี ซึ่งน่าจะมีส่วน ให้เขามองไม่เห็นสิ่ งที่ไม่ปรากฏในช่วงเวลาอันรุ่ งโรจน์ของตนเอง บนเก้าอี้เล็กๆ ที่มีไว้รับรองผูเ้ ยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ ผมนัง่ นึกถึงชีวิตของนักจิตวิเคราะห์สตรี คนหนึ่ง เธอชื่อ ซาบีน่า ชปี ล รายน์ (Sabina Spielrein) 2.
ในปี ค.ศ 1977 ภายในห้องใต้ดินของอาคารซึ่ งเคยเป็ นสถาบันจิ ตวิทยาของกรุ งเจนี วา ได้มีการค้นพบไดอารี่ และ จดหมายจานวนมากของหญิงรัสเซี ยไม่ทราบชื่อคนหนึ่ง รายละเอียดจานวนมากในนั้นระบุถึงการสนทนาโต้ตอบทางความคิด กับสองนักบุกเบิกด้านจิตวิเคราะห์คนสาคัญ คือฟรอยด์ และคาร์ ล กุสตาฟ ยุง (Carl Gustav Jung) เอกสารเหล่านี้ราวกับเป็ น ประจักษ์พยานสาคัญในการสารวจส่ วนที่ลึกที่สุดของจิ ตใจมนุษย์และนาไปสู่ การผลิตภาพยนตร์ และสารคดีคุณภาพเยี่ยมสอง เรื่ องในปี ค.ศ. 2002 คือ The Soul Keeper และ My name was Sabina Spielrein ใช่ เจ้าของลายมือในบันทึกทั้งหมด คือ ซาบีน่า ชปี ลรายน์ ซาบีน่า ลืมตาดูโลกปี ค.ศ. 1885 ในเมือง รอสตอฟ (Rostov) ประเทศรัสเซีย ภายในครอบครัวชาวยิวที่มีความเคร่ งครัด ทางศาสนา เธอเป็ นพี่สาวคนโตของน้องทั้งทั้ง 5 คน ซาบีน่าเป็ นเด็กที่มีพรสวรรค์ในด้านการเรี ยน โดยเฉพาะทางด้านภาษา เธอ สามารถพูดรัสเซี ย, เยอรมัน, ฝรั่งเศส และอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว ทว่า ที่โดดเด่นที่สุดคงจะเป็ นความสามารถด้านดนตรี โดยเฉพาะเปี ยโน เพลงที่เธอชื่นชอบเป็ นพิเศษคือ Tumbalalaika บทเพลงที่ไร้ความเป็ นเจ้าของ หากเป็ นเสมือนท่วงทานองร่ วม ของคนในยุโรปตะวันออก ตั้งแต่เล็ก ซาบีน่าเป็ นคนที่ชอบเขียนบันทึกประจาวันประกอบกับความเป็ นเด็กที่โตในครอบครัวที่เคร่ งครัดศาสนา ในสมุดบันทึกของเธอจึงมีชื่อของ เทวดาผูพ้ ิทกั ษ์ (Guardian Angels) ปรากฏขึ้นในฐานะเพื่อนคุยและผูร้ ับฟังคาร้องขอในยามที่ เธอประสบกับความสบสันและกังวลใจอยู่เสมอ ซาบีน่าประสบกับสภาวะทางเจ็บป่ วยทางจิตใจเมื่อย่างเข้าสู่ อายุ 17 ในช่วง เวลานั้น สภาวะจิตเภทหรื อ Hysteria ที่เธอประสบอยูไ่ ด้ถูกตีตราในเชิงศีลธรรมเอาไว้ คนไข้จึงมิได้เป็ นเพียงผูป้ ่ วย หากถูกมอง ว่ามีความไร้ยางอายทางเพศอยูใ่ นจิตใจและการแสดงออก ซาบีน่าเคยถูกปฏิบตั ิอย่างโหดร้ายภายใต้ขอ้ อ้างของการเยียวยา อาทิ การผูกล่ามติดเตียง, การอาบน้ าเย็นจัด, และการสวมใส่ หน้ากากป้ องกันการกัดลิ้น ทว่าหน้ากากดังกล่าวกลับคล้ายคลึ ง กับ หน้ากากแห่งความอับอายที่เอาไว้ใช้กบั ผูห้ ญิงซึ่งละเมิดข้อห้ามทางเพศในยุคกลาง ในวันที่ 17 สิ งหาคม ค.ศ. 1904 ซาบีน่าถูกส่ งตัวไปรักษาตัวที่กรุ งซู ริค เธอได้ส่งตัวไปที่ Burghölzli Treatment and Care Institution หรื อสถานบาบัดทางจิต ที่นี่ ซาบีน่าได้กลายเป็ นคนไข้คนแรกของนักจิตเคราะห์ชาวเยอรมันนาม คาร์ล ยุง ใน ภาพยนตร์ เรื่ อง The Soul Keeper บอกเล่าบทสนทนาครั้งแรกเมื่อเขาทั้งสองพบกันได้อย่างน่าสนใจและสอดคล้องกับชีวิตของ ซาบีน่าเป็ นอย่างมาก ยุงเดินเข้าไปในห้องคนไข้พร้อมกับพยาบาล ทว่า ซาบีน่ามีท่าทีตื่นกลัวและวิ่งไปหลบอยู่หลังฉากกั้นใน บริ เวณมุมห้อง เขาให้พยาบาลเดิน ออกไป เมื่ออยู่กนั เพียงลาพัง ยุงถามซาบีน่าว่าทาไมถึงคิดจะตาย คาตอบที่เขาได้รับคือ “เพราะฉันเป็ นคนบาปหนา” หลักการรักษาของยุงแตกต่างจากคนอื่นๆ ในช่วงเวลาเดียวกันเป็ นอย่างมาก เขาเน้นการทาความเข้าใจผูป้ ่ วยและให้ เธอได้มีโอกาสเล่าเรื่ องตามความคิดของตนเอง ในบางครั้ง ยุงใช้ทักษะการรักษาผ่านเกมทางภาษา หรื อการพูดคาๆ หนึ่ ง จากนั้นให้ซาบีน่าตีความและอธิ บายความหมายนั้นออกมา ตัวอย่างเช่น เมื่อยุงเอ่ยคาว่าพ่อ ซาบีน่าจะตอบว่าการลงทัณฑ์ และ เมื่อยุงพูดคาว่ามือ ซาบีน่าจะตอบว่าการทุบตี ครั้งที่น่าสนใจยิ่ง คือ เมื่อยุงเอ่ยชื่อของซาบีน่าออกมา เธอตอบว่าความตาย และ เมื่อเขาพูดว่าน้องสาว เธอก็ตอบว่าสุ สาน เกมส์ทางภาษานี้มีส่วนสาคัญในการทาความเข้าใจภูมิหลังของซาบีน่าได้เป็ นอย่างดี ความเป็ นพ่อในลักษณะที่ใช้อานาจและให้ความสาคัญกับลูกชายมากกว่าลูกสาว ตลอดจนความผูกพันระหว่างความตา ยกับ ตัวตนของเธอ ซึ่งสะท้อนอย่างชัดเจนเมื่อเธอต้องสู ญเสี ยน้องสาววัย 6 ขวบด้วยโรคไข้รากสาดน้อย ตอนนั้นเธออายุ 15 ปี การรักษาของยุงมิใช่เพียงรับฟังการเล่าเรื่ องของซาบีน่าเท่านั้น เขายังเห็นพรสวรรค์ที่ซ่อนอยูใ่ นตัวของเธอ ดังนั้น ซาบี น่าจึงได้รับคาแนะนาและถูกหยิบยื่นให้อ่านหนังสื อปรัชญา ที่เขียนขึ้นโดยนักคิดทรงอิทธิ พลในยุคนั้น ไม่ว่าจะเป็ นงานเขียน ของฟรอยด์, นิชเช่ และโชเปนฮาวเออร์ ทว่า สิ่ งที่มีอิทธิพลต่อแนวทางการรักษาของยุงจริ งๆ คือความรัก เขาเชื่อมัน่ ในศักยภาพ
ของความเป็ นมนุ ษย์และการเยียวยาคนไข้ให้ฟ้ื นความเป็ นคนขึ้นมาได้ดว้ ยความรัก ความคิดเช่นนี้ ส่วนหนึ่งเป็ นผลพวงของ ความคิดโรแมนติกแบบเยอรมัน (German Romanticism) ซาบีน่าเชื่ อในความรักเช่นเดียวกัน ทว่าความรักของเธอมีลกั ษณะ ซับซ้อนและย้อนแย้งตามการนิพนธ์ของวากเนอร์ ( Richard Wagner) คีตกวีผมู ้ กั ประพันธ์บทเพลงซึ่งถ่ายทอดความรักในฐานะ สิ่ งที่ถือกาเนิดมาพร้อมกับความสู ญเสี ยและความตาย กล่าวในภาษาแบบจิตวิเคราะห์คือภายในส่ วนลึกสุ ดของจิตใต้สานึกนั้น สัญชาติญาณแห่ งชีวิตและความรัก (Eros) และสัญชาติญาณแห่ งความตาย (Thanatos) เป็ นสิ่ งที่เกี่ยวพันกันอย่างแนบแน่น มิได้ เป็ นคู่ตรงข้ามกันแบบความเข้าใจผิดทัว่ ไป ความสัมพันธ์ระหว่างซาบีน่าและยุงเป็ นที่กล่าวถึงอย่างมากในช่วงเวลานั้น ทั้งสองได้กา้ วข้ามเส้นแบ่งระหว่างคนไข้ กับจรรยาบรรณของนายแพทย์สู่ความรักที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากในช่วงเวลานั้นยุงมีภรรยาอยู่ก่อนแล้ว ในภาพยนตร์ เรื่ อง The Soul Keeper ช่วงหนึ่ง บอกเล่าการเผชิญหน้ากับปัญหายุ่งยากในส่ วนนี้ได้ดี ท่ามกลางความพยายามของยุงในการทาให้ซาบีน่า มีความมัน่ ใจในการใช้ชีวิตร่ วมกับผูอ้ ื่นมากขึ้นในพื้นที่สาธารณะ ตัวเขาเองกลับถูกเธอดึงออกมาจากความเหนียมอายในการ แสดงออกทางความรักและความสัมพันธ์ทางเพศระหว่างหญิงชายทั้งในพื้นทีสาธารณะและพื้นที่ส่วนตัว ในภาพยนตร์ยงุ ถึงกับ บอกว่าซาบีน่าทาให้เขารู ้สึกในแบบที่ไม่เคยรู ้สึกมาก่อน เฉกเช่นคนที่ออกจากกรงขังของความศิวิไลซ์ คนเหล่านี้โหยหาความรักและการแสดงออกที่เป็ นมากกว่าการปฏิ บตั ิ ตามโครงสร้างหรื อธรรมเนียมของสังคม การตามหาแรงปรารถนาแห่งความรักของปัจเจกบุคคลอาจเป็ นส่ วนหนึ่งของการตาม หาเสรี ภาพในการกาหนดวิถีชีวิตของตนเอง มากกว่าการสยบยอมต่อความหมายของความรักและการดาเนินชีวิตที่ถูกกาหนดมา ไว้แ ล้วอย่างเบ็ดเสร็ จ ในโลกของซาบี น่ า มนุ ษ ย์ คือ อัต บุคคลแห่ งแรงปรารถนาและเสรี ภ าพที่ ท้ งั ตั้ง คาถามและพังทลาย กฎระเบียบที่บงการความเป็ นมนุษย์ ทว่า สุ ดท้ายแล้ว ความสัมพันธ์ของคนทั้งคู่ก็จบลง ยุงกล่าวกับเธอว่าความรักของซาบีน่า กาลังทาร้ายชีวิตของเขา และแรงปรารถนา (Passion) จะทาลายเราทั้งคู่ ในภาพยนตร์ และสารคดีท้ งั สองเรื่ อง เล่าความสัมพันธ์ของทั้งสองไว้ในระหว่างบรรทัดว่า ท่ามกลางการรักษา ยุง ค้นพบว่าแท้จริ งแล้วตนเองคือคนไข้และเขาได้รับการเยียวยาจากซาบีน่า ทว่า หลังจากได้รับการปลดปล่อยแล้ว เขากับหา จุดอ้างอิงกับตัวตนใหม่ของตัวเองไม่ได้ สาหรับเขาเสรี ภาพที่ได้รับมีความน่าประหวัน่ พรั่นพรึ ง ท่ามกลาง ปัญหาในการรักษาและถูกรักษาของยุงนี่เอง ทาให้เขาเริ่ มต้นเขียนจดหมายถึงฟรอยด์ พร้อมบอกเล่าเรื่ องราว ต่างๆ ที่เกิดขึ้น พร้อมขอคาปรึ กษาจากฟรอยด์ นัน่ เป็ นครั้งแรกที่ทาให้ฟรอยด์รู้จกั ชื่อของซาบีน่า หลังจากแยกทางกับยุง เธอได้ตดั สิ นใจเรี ยนต่อจนจบปริ ญญาเอกด้านการแพทย์และทาการค้นคว้าเกี่ยวกับโรคจิตเภท ผ่านมุมมองและเนื้อหาด้านจิตวิเคราะห์เป็ นสาคัญ เธอได้กลายเป็ นนักจิตวิเคราะห์หญิงคนที่สองที่ได้เข้าเป็ นสมาชิกของสมาคม จิตวิเคราะห์แห่ งเวียนนาซึ่ งแวดล้อมไปด้วยผูช้ าย แม้เธอจะได้รับอิ ทธิ ทางความคิดจากฟรอยด์และยุง แต่ซาบีน่าถูกยกย่องใน ภายหลังว่าความคิดของเธอก่อร่ างสร้างมาจากประสบการณ์ของความเป็ นผูห้ ญิง เธอเป็ นนักจิตวิเคราะห์เพียงคนเดียวที่เคยผ่าน สภาวะของการเป็ นคนไข้และทนทุกข์กบั การรักษามากมาย ซาบีน่าได้ขา้ มเส้นสมมติที่ขีดสร้างความเป็ น คนอย่างไม่เท่ากัน ระหว่างคนจิตเภทและคนปกติและเธอได้สลายเส้นแบ่งนั้นไปด้วยตัวเธอเอง ซาบีน่าได้พบกับฟรอยด์ในเดือนตุลาคมของปี ค.ศ. 1911 ในสารคดีเรื่ อง My name was Sabina Spielrein เล่าไว้อย่างน่าสนใจว่าการพบกันครั้งนั้นส่งผลต่อการพัฒนางานและ ความคิดของฟรอยด์ในระยะหลังเป็ นอย่างมาก ฟรอยด์ได้อา้ งอิงความคิดของเธอโดยเฉพาะในส่ วนที่ว่าด้วยความตายและแรง ขับทางเพศ (Libido) ในความหมายของพลังทะยานชีวิต ในช่วงที่เธอทางานในเวียนนา เธอได้จดั บรรยายสาธารณะและเขียนบทความต่างๆ ไว้มากมาย งานเขียนของเธอแทบ ทุกชิ้นจะถูกส่งให้ยงุ เป็ นผูอ้ า่ นและให้ความเห็น ซาบีน่าได้รับความไว้วางใจจากฟรอยด์ในแง่ของการรักษาคนไข้ ฟรอยด์มกั จะ
ส่ งคนไข้ของเขาไปให้เธอรักษาแทนอยู่บ่อยครั้ง อีกด้านของความไว้วางใจก็คือ การช่วยให้ซาบีน่ามีความมัน่ คงทางการเงิน มากขึ้น เนื่ องจากชี วิตในเวียนนาช่ วงเวลานั้นนับว่ามี ค่าใช้จ่ายสู งที่ สุดแห่ งหนึ่ งในยุโรป ประกอบกับการสมาคมในกลุ่ม ปัญญาชนที่นนั่ มีราคาที่ตอ้ งจ่ายมากมาย สุ ดท้าย ซาบีน่าเลือกที่จะเดินทางออกจากเวียนนาและมุ่งหน้าสู่กรุ งเบอร์ลิน ปี ค.ศ. 1912 เธอแต่งงานกับนายแพทย์อายุรเวชผูม้ ีภูมิหลังทางเชื้อชาติเหมือนเธอ คือ ชาวยิวที่เติบโตในรัสเซี ย หนึ่งปี หลังจากนั้นเธอได้ให้กาเนิดลูกสาวคนแรก ในช่วงเวลาที่เธอทางานในเบอร์ ลิน ซาบีน่ายังคงเขียนจดหมายถึงยุงและฟรอยด์ อย่างสม่าเสมอ จากการค้นพบเอกสารในห้องใต้ดิน ทาให้ทราบว่าซาบีน่าเขียนจดหมายถึงยุงจนถึงปี ค.ศ 1919 เป็ นอย่างน้อย ในขณะที่ของฟรอยด์สิ้นสุ ดลงที่ปีค.ศ. 1923 อย่างไรก็ตาม ชีวิตของเธอในเบอร์ลินก็ไม่ยาวนานนัก หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้ นสุ ดลง เธอเดินทางไปทางานที่สวิตเซอร์ แลนด์แต่ก็ตอ้ งประสบกับปัญหาเรื่ องค่าครองชีพและการดารงชีวิตอีกครั้ง ในแง่ ของการค้นคว้า ไม่ค่อยมีใครบอกเล่ าถึงความสัมพันธ์ระหว่างเธอกับสามีมากนัก รู ้เพียงว่าหลังจากที่เธอคลอดลูกคนแรกไม่ นาน สามีของเธอได้มีลูกกับผูห้ ญิงอื่นและย้ายไปอยูด่ ว้ ยกัน ซาบีน่าจึงเป็ นผูด้ ูแลลูกด้วยตัวเองมาตลอด กระทัง่ ในปี ค.ศ. 1920 เธอได้มีโอกาสนาเสนอความคิดของเธอในเวทีประชุมวิชาการครั้งที่ 6 ของสภานานาชาติว่าด้วยจิตวิเคราะห์ ที่กรุ งเฮก การ บรรยายครั้งนั้นเองทาให้เธอได้งานที่มนั่ คงขึ้นบ้าง ซาบีน่าย้ายไปทางานที่กรุ งเจนี วา ที่นั่นเธอทั้งจัดทาการบรรยายและเปิ ด คลินิกบาบัด ความคิดที่เธอนาเสนอที่กรุ งเฮกคือประเด็นว่าด้วยพัฒนาการของเด็กซึ่ งมี ส่ วนเกี่ ยวข้องกับการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง เสรี ภาพในการทาความรู ้จกั เรื่ องเพศ เธออยู่ที่เจนีวาเพียงสามปี เท่านั้น ในปี ค.ศ. 1923 ซาบีน่าตัดสิ นใจเดินทางกลับไปเยี่ยมครอบครัวของเธอที่รัสเซี ย เธอ อาศัยอยู่ในกรุ งมอสโคว์และที่นี่ เธอได้ดารงตาแหน่ งผูอ้ านวยการภาควิชาจิตวิทยาเด็กที่มหาวิทยาลัยมอสโคว์ที่หนึ่ ง (First Moscow University) ชีวิตของซาบีน่ามีจุดเปลี่ยนมากมาย เธอมิเคยและมิอาจมีชีวิตอยู่ที่ใดที่หนึ่งเป็ นระยะเวลานานได้ ในปี ค.ศ. 1924 เธอกับสามีกลับมาอยูด่ ว้ ยกันอีกครั้ง ทั้งสองเดินทางกลับไปอยูย่ งั บ้านเกิดของซาบีน่าที่เมืองรอสตอฟ สองปี ต่อมาซา บีน่าได้ให้กาเนิดลูกสาวคนที่สองที่นนั่ เธอทางานสอนหนังสื อในมหาวิทยาลัยและเป็ นผูก้ ่อตั้งสถานรับเลี้ยงเด็กในแนวทางจิต วิเคราะห์ โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการจิตเภท ในสถานพยาบาลแห่ งนั้น เธอได้สอนให้เด็กรู ้จกั ความลี้ลบั ของร่ างกายและเสรี ภาพ ในการเรี ยนรู ้และแสดงออกทางเพศ ควบคู่ไปกับการเล่นดนตรี ซาบีน่าตระหนักดีถึงสภาวะเก็บกดปิ ดกั้นที่เธอเผชิญมาในวัย เด็กและความทารุ ณที่ได้รับจากการถูกเยียวยารักษา ในสถานพยาบาลแห่งนี้เธอจึงเปรี ยบเสมือนเป็ นเทวดาผูพ้ ิทกั ษ์ของเด็ก เฉก เช่นที่เธอเคยอธิษฐานถึง อย่างไรก็ตาม ซาบีน่าต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงอีกครั้งในปี ค.ศ. 1936 ซึ่ งเป็ นช่วงเวลาที่สตาลินถืออานาจสู งสุ ด และสั่งระงับการเรี ยนการสอนทางด้านจิตวิเคราะห์อย่างสิ้ นเชิ ง ในช่ วงเวลาที่ใกล้กัน เธอยังสู ญเสี ยน้องชายซึ่ งถูกฆ่าตาย ท่ามกลางความโหดร้ายในการปกครองของสตาลินอีก ด้วย ฉากหนึ่ งในภาพยนตร์ เรื่ อง The Soul Keeper ได้แสดงให้เห็นถึง บรรยายกาศอันแสนกดดัน ผ่านบทสนทนาหนึ่งในช่วงที่ทหารบุกเข้าไปในสถานรับเลี้ยงเด็กของเธอ เธอถูกเรี ยกตัวให้ไปพบ นายทหารคนหนึ่งเพื่อรับฟังว่าการสอนแนวคิดว่าด้วยเสรี ภาพทางความคิดและการทาให้มีเสรี ภาพทางเพศกับเด็กนั้นเป็ นสิ่ งที่ ปลุกปั่ นยัว่ ยุและขัดต่อหลักการพื้นฐานของเลนิน-มาร์กซิ สต์ นายทหารนั้นระบุว่าเธอควรจะสอนว่ารถยนต์เป็ นสัญลักษณ์แห่ง ความเสื่ อมทรามของนายทุนมากกว่า นอกจากนี้ นายทหารคนเดิมยังยื่นเอกสารให้เธอเซ็นยินยอมและรับในความผิดพลาดของตนเอง ซาบีน่าหยิบเอกสาร แผ่นนั้นขึ้นมาพิจารณาและฉี กทิง้ เธอโดนตบเข้าที่หน้า กระนั้นเธอยังพูดสวนกลับไปด้วยแววตาและใบหน้าที่ขึงขัง โดยหยิบ ยกถ้อยคาของ มายาคอฟสกี้ (Mayakovsky) กวีชาวรัสเซียที่ว่า “ถึงแม้ว่าเขาจะฆ่าฉัน และถึงแม้ว่าเขาจะกลบฝังฉัน ฉันจะลุกขึ้น อีกครั้ง…”
ชี วิตของซาบีน่าหลังจากที่สตาลินครองอานาจเป็ นปริ ศนาค่อนข้างมาก บันทึกที่คน้ พบในกรุ งเจนี วาก็มิได้ระบุถึง เรื่ องราวชีวิตของเธอในรัสเซี ย ความตายของเธอและคนในครอบครัวยิ่งไม่มีใครคาดเดาได้ว่าเกิดขึ้นตอนไหนและอย่างไร ชื่อ ของเธอแทบจะเลือนหายไปจากหน้าประวัติศาสตร์ พร้อมกับการที่ความคิดจิตวิเคราะห์กลายเป็ นสิ่ งต้องห้ามในช่วงเวลาอัน มืดมนที่สุดช่วงหนึ่งของประวัติศาสตร์ ยุโรป กระทัง่ ปี ค.ศ. 1983 ผูส้ ื่ อข่าวและนักเขียนชาวสวีเดนคนหนึ่ งได้ทาการค้นคว้า เรื่ องราวของเธอ จนทราบจากเพื่อนบ้านของซาบีน่าว่าในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ค.ศ. 1942 เธอกับลูกสาวอีกสองคนถูกต้อน ไปรวมกับคนยิวจานวนหนึ่งโดยกองทัพเยอรมันที่เข้ายึดเมืองรอสตอฟเป็ นครั้งที่สอง ซาบีน่าและลูกของเธอถูกสังหารร่ วมกับ ชาวยิวคนอื่นๆ โดยทหารนาซี ไม่กี่ปีจากเหตุการณ์น้ ี สามีของเธอก็เสี ยชีวิตลง 3. ผมยังคงนัง่ อยู่บนเก้าอี้ตวั เดิม เวลาผ่านไปนานจนเจ้าหน้าที่เดินเข้ามาถามพร้อมยื่นกระดาษทิชชู่ให้ เธอถามว่าทาไม ร้องไห้ในพิพิธภัณฑ์ ผมกล่าวขอบคุณเพียงสั้นๆ แล้วเดินออกมา ระหว่างทางเดินกลับจากพิพิธภัณฑ์ฟรอยด์ไปมหาวิทยาลัยเวียนนา ทานองเพลง Tumbalalaika แว่วเข้ามาในใจครั้ง แล้วครั้ งเล่า บ้านของฟรอยด์หลังนี้ คงไม่ได้มีแต่เขาและครอบครั วที่ใช้ชีวิตอยู่ ถนนเส้นนี้ คงไม่ได้มีแต่ฟรอยด์และเหล่า ปั ญญาชนชายที่ใช้มนั พาไปสู่ ร้านกาแฟเพื่อ การพบปะสังสรรค์ ทว่า ซาบีน่าคงได้เคยนัง่ สนทนากับฟรอยด์บนเก้าอี้ตวั ใดตัว หนึ่งในบ้านและเธอคงเคยเดินบนถนนเส้นนี้ เป้าหมายของเธอคงไม่ใช่ร้านกาแฟ หากน่าจะเป็ นสนามเด็กเล่นสักแห่ง ภาพที่ไม่ ปรากฏ (Absent) ในพิพิธภัณฑ์ฟรอยด์แห่งนี้ก็คือเรื่ องราวของ “ความเป็ นผูห้ ญิง” ที่ไม่ใช่ผหู ้ ญิงทั้งในฐานะนักจิตวิเคราะห์และ ผูป้ ่ วย แม้ผมจะชื่นชอบฟรอยด์และความคิดของเขาเพียงไร แต่ก็มิอาจปฏิเสธได้ว่าความคิดของเขาถูกปกคลุมด้วยความเป็ นชาย และตัวเขาก็อยูใ่ นสังคมที่ยอมรับในความสามารถและความสาเร็ จของผูช้ ายเป็ นพื้นฐาน เส้นทางชี วิตของซาบีน่าจึงแตกต่างออกไปอย่างสิ้ นเชิ ง ชื่ อของเธอมิได้ถูกจารึ กเอาไว้ในฐานะ “บิดา” ของนักจิต วิเคราะห์ ทั้งยังมิได้มีภาพลักษณ์แห่ งการประสบความสาเร็ จในชีวิตและวิชาชีพ ผมคิดว่าเธอก็คงไม่ชอบสักเท่าไหร่ หากจะมี ใครยกย่องให้เธอเป็ น “มารดา” ของนักจิตวิเคราะห์ในภายหลัง หากเราย้อ นกลับ ไปสู่ ข้อ ถกเถี ย งว่ าด้วยการเอาองคชาติ เป็ นเครื่ อ งมื อในการจาแนกความแตกต่ างทางเพศและ สัญลักษณ์ทางอานาจ ซาบีน่าเหมือนจะไม่ให้ความสาคัญในความแตกต่างระหว่างชายและหญิง มากเท่ากับการมุ่งเป้าไปยังการ รื้ อถอนการเก็บกดปิ ดกั้นทางเพศไปสู่การเรี ยนรู ้เรื่ องเพศและการแสดงออกทางเพศอย่างมีเสรี ภาพ ชีวิตของเธอเป็ นสิ่ งยืนยันได้ เป็ นอย่างดีที่สุดว่าไม่ว่าจะมีองคชาติหรื อไม่ ทุกเพศก็ลว้ นมีสิทธิ และศักยภาพที่จะปลดปล่อยตัวเองให้เป็ นไทจากการครอบงา ตลอดจนสิ ทธิที่จะแสดงออกและได้มาซึ่งความรักและความปรารถนาอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่แบ่งแยกเพศและเชื้อชาติ แน่นอน ชีวิตและความคิดของซาบีน่าคือสิ่ งแปลกปลอมในยุคสมัยของเธอ เรามิอาจปฏิเสธได้ว่าความทรมานและ ยากลาบากในภูมิทศั น์แห่งชีวิตที่เธอประสบล้วนเกิดขึ้นบนฐานของอานาจของความเป็ นชาย ไม่ว่าจะเป็ นผูเ้ ป็ นพ่อ, คนรัก, แวด วงปัญญาชน รวมไปถึงอานาจเผด็จการทหารแบบสตาลินและนาซีซ่ ึงเชิดชูความเป็ นชายอย่างสู งสุ ด ในยุคสมัยของเธอ องคชาติ จึงเป็ นสัญลักษณ์ของอานาจที่กดขี่และเถลิงบนร่ างกายของคนทุกเพศ เมื่อเรามองผ่านประสบการณ์ของซาบีน่า ความเสื่ อม ทรามในความศิวิไลซ์ที่แท้จริ งมิใช่การสู ญเสี ย รากหรื อวัฒนธรรมที่ดีงามตามการนิยามแบบอุดมการณ์โรแมนติกแบบเยอรมัน ทว่า มันคือ การผนวกเอาความเจริ ญให้แนบติดกับอานาจความเป็ นชาย จนกลายเป็ นลักษณาการทางอานาจที่เบ็ดเสร็ จ ในความศิวิไลซ์เช่นนี้ เราทุกคนต่างหากที่เป็ นผูป้ ่ วย พวกเราหวาดกลัวและรู ้สึกพรั่นพรึ งกับเสรี ภาพ ทั้งยังพยายาม หลีกเร้นให้ห่างจากมัน
ในหลักฐานหรื อเอกสารสาคัญหลายชิ้น ระบุตรงกันอย่างน่าสนใจว่าความสัมพันธ์ระหว่างซาบีน่ากับยุงมีลกั ษณะของ ความเป็ นหนึ่ ง เดี ย วกัน ทางจิ ตวิ ญ ญาณอันลึ ก ซึ้ ง (Spiritual Union) ซาบี น่ า เป็ นหญิ งชาวยิ ว และยุง เป็ นชายอารยัน ทั้ง สอง โดยเฉพาะซาบีน่าได้ขา้ มผ่านพรมแดนของความเป็ นเพศและความเกลียดชังทางเชื้อชาติ สู่ ความรักที่มนุษยชาติควรมอบต่อกัน เธอคือผูต้ ้งั คาถามกับการทาลายความเป็ นคนและยืนยันความเป็ นมนุษย์ดว้ ยชีวิตทั้งหมดของเธอเอง สาหรับผม ซาบีน่าคือตัวแทนของเจตจานงค์อนั เสรี อ้างอิง ภาพยนตร์เรื่ อง The Soul Keeper (2002) สารคดีเรื่ อง My name was Sabina Spielrein (2002) www.jwa.org (Jewish Women’s Archive) Covington, Coline and Barbara Wharton (eds). Sabina Spielrein: Forgotten Pioneer of Psychoanalysis. Brunner – Routledge. 2003.