BIG Asia Magazine 2 รวบรวมบทความบิ๊กเอเชีย

Page 1

ภาพปกจาก pixabay.com



Talk To ADMIN 4

Korea Unification flag “Korea as one” 27

พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอ ดุลยเดช 6

Discover Bhutan Asian paradise 29

ประวัติศาสตร์ เกาหลีตอนที่ 1 เกาหลีแต่แรก 9

อุลตร้ าแมน แสงแห่งความหวังของทั่วโลก 32

มาดู! เมืองหลวงของมองโกเลีย ไต้ หวัน และเกาหลี

Rising Together (without host) Sea Games KL2017

เหนือ แห่งเอเชียตะวันออก 12

34

ยินดีกบั มูน แจอิน ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ 14

ความเป็ นมา ทาชเคนต์ เมืองหลวงอุซเบกิสถาน36

เยเมน ประเทศต้ องคาสาปแห่งสงครามกลางเมือง 15

ฮาลิมาร์ ยาคอบประธานาธิบดีคนใหม่ของสิงคโปร์ 38

ไม่ใช่ไอเอส ปธน.ยันตัวป่ วนมาลาวีคือกลุม่ มอเต้ 21

โชว์โหด เติร์กเมนิสถานจัดอินดอร์ มาเชียลอาร์ ตสุด ยิ่งใหญ่ 39

อัลมาตี ้ 2022 แคนดิเดทโอลิมปิ กฤดูหนาว 22 This is Bomb Use It “Peace Factory” โรงงาน สันติภาพท่ามกลางความขัดแย้ งในตะวันออกกลาง 24

ซาลามัต ดาตัง ซีเกมส์ 2017 30

บุกหนานจิง เมืองหลวงสิบแผ่นดิน 40 อีกด้ านหนึง่ ของปาเลสไตน์ ที่สอื่ ไม่เคยนาเสนอ 42

ผลงานนี ้ ใช้ สญ ั ญาอนุญาตของครีเอทีฟคอม มอนส์แบบ แสดงที่มา 4.0 International. บรรณาธิการ/Web Administrator ธีร์ธวัช สวาสดิธ์ รรม ขอบคุณภาพปก ภาพด้ านบน และบางภาพในเรื่องจาก pixabay.com และตามเครดิตในแต่ละเรื่องครับ


เว็บไซต์นี ้เกิดขึ ้นครั ้งแรกจากที่ต้องการทาโครงการบริการสังคม หรื อ อาจจะรู้จกั ใน นามโครงการ IS3 ที่โรงเรียนของผมมีการให้ ทาเป็ นรายบุคคลด้ วยความ ความคิด ของผมก็คืออยากจะทาโครงการที่แตกต่างจากคนอื่นๆเลยสร้ างเว็บไซต์นี ้ขึ ้นมา ใน ชื่อ The BIG World ความคิดของผมก็คือต้ องการรวบรวมเรื่องน่าสนใจต่างๆของโลก มาเป็ นคลังไว้ ที่เว็บนี ้ สิง่ ที่ผมทาก็คือ อย่างแรกรวบรวมข้ อมูลพื ้นฐานของแต่ละประเทศมาเรียงๆกันไว้ ครับ มีธงชาติ ตราประเทศ ชื่อ เมืองหลวง สกุลเงิน การปกครอง จากนั ้นก็หาเรื่องที่น่ารู้ เกี่ยวกับภูมิภาคนั ้นๆ ทั ้งที่พิมพ์เอง แล้ วก็หาลิงค์ดีๆมา เราคัดสรรค์ประมาณหนึง่ เลย แหละครับ รวมถึงยังหาวีดีโอทั ้งใน Vimeo และ Youtube เกี่ยวกับประเทศนั ้นๆ ส่วน ใหญ่จะเป็ น VTR ของเมืองหลวงมาใส่ไว้ เพื่อที่จะให้ ผ้ ชู มได้ ร้ ูจกั กับประเทศนั ้นๆมาก ขึ ้น และ ต่อไปเราก็จะมีสว่ นของบุคคลสาคัญอีกด้ วยครับ ต้ องยอมรับความจริงครับว่า ผมคงทาทั ้งโลกไม่ได้ ครับ เลยขอทาแค่ทวีปเดียวแล้ ว กัน เอาให้ แน่นๆไปเลยจึงตัดสินใจเปลีย่ นชื่อเว็บไซต์มาเป็ นบิ๊กเอเชียนัน่ เองครับ จนเดือนมิถนุ ายน 2559 เราก็ได้ มีโดเมนเป็ นของตนเองที่ bigasia.in.th และนาเสนอ บทความในแง่มมุ ต่างๆ ของเอเชียทั ้งด้ านสถานที่ การเมือง หรือ ประวัติศาสตร์ ต่างๆ ด้ วยเนื ้อที่และความแตกต่างทางเชื ้อชาติ วัฒนธรรมของเอเชียทาให้ มนั คงเป็ นไป ไม่ได้ ที่เราจะสามารถเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับเอเชียได้ ทั ้งหมด ทาให้ บทความส่วนใหญ่ ออกไปทางการเมือง และบางเรื่องก็ละเอียดอ่อนเกินที่จะโปรโมทโพสต์ออกไปไกลๆ ได้ และที่สาคัญตัวผมเองก็ไม่ค่อยได้ ศกึ ษา และไม่ร้ ู จะเขียนอะไรแล้ ว ดังนั ้นจึงขอหยุดการทาเว็บไซต์ของเราไว้ เพียงเท่านี ้ ขอขอบคุณทุกท่านสาหรับการรับชม และติดตามที่ผ่านมา สาหรับเว็บไซต์ จะเปิ ดให้ ชมได้ จนถึง 24 มีนาคม 2561 ซึง่ เป็ นเวลาที่หมดรอบการจ่ายเงินเช่า Web Hosting และก็มีหนังสือรวบรวมบทความออกมา ส่วนเว็บแรกที่ thebigworld.wixsite.com/bigasia อันนี ้เป็ นเว็บฟรี เปิ ดให้ ชมได้ ตลอดครับ อย่างไรก็ดีทุกคนสามารถติดตามแอดมิน และคอนเทนต์อื่นๆได้ ที่เพจ The Duck Creator ที่เป็ นรูปเป็ ดสีชาวๆ พื ้นหลังดา ในเฟซบุ๊คนะครับ หวังว่าเราจะมารอดูความสนุก และอื่นๆจากเพจนี ้กันนะครับ ขอบคุณทุกๆ คนครับ


สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านที่เคารพทุกท่าน เล่มนี ้คง เป็ นเล่มที่สอง และเป็ นแล่มสุดท้ ายของวารสารบิ๊กเอเชีย นะครับ เล่มนี ้อาจจะไม่มีบทความใหม่อะไรมาก มีเพียง การรวบรวมบทความในเว็บไซต์บิ๊กเอเชียตลอด 1 ปี ที่ ผ่านมา จริ งๆแล้ วบิ๊กเอเชียของเรา ตั ้งแต่เริ่มทา The BIG World Website จนถึงบัดนี ้ก็ประมาณ 2 ปี บริบูรณ์แล้ ว แต่ก็มีข้อมูลบทความบางอย่างหายไป ดังนั ้นเราก็คงจะ ไม่สามารถมารวมในเล่มนี ้ได้ บิ๊กเอเชียเปิ ดเว็บไซต์เพื่อที่ ต้ องการจะให้ คนไทยเข้ าถึงเอเชียได้ ง่ายยิ่งขึ ้น ได้ ร้ ู จกั ได้

คนก็สงสารชาวปาเลสไตน์เป็ นอย่างมาก แต่ก็คงเป็ นไป

เห็นภาพ ได้ เห็นชีวิตของคนในหลายๆ ประเทศ ซึง่ ใน เอเชียค่อนข้ างหลากหลายมาก รวมถึงอีกอย่างนึง่ คือได้

ไม่ได้ ที่เราจะจัดการคนอิสราเอลทั ้งหมด เพราะพวกเขา ก็ไม่ได้ เลือกเกิดมาเป็ นคนอิสราเอล อาจจะมองว่า

เข้ าใจสถานการณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึ ้นตลอดในทวีปของเรา

หลักการที่อิสราเอลคิด มันไม่ Make Sense แต่เขาถูกสัง่

ในช่วงนี ้ รวมถึงการเป็ นตัวแทนชาวไทย ในการส่งความ

สอนมาอย่างนั ้น เขาถูกทาให้ เขาคิดอย่างนั ้นตั ้งแต่เกิด

ปรารถนาดีไปถึงประเทศอื่นๆ ในทวีปที่ประสบกับ ปั ญหา หรือ ภัยพิบตั ิ ผ่านทางโลกโซเชียล ทั ้งทาง

ประชาชนทั ้งสองประเทศตราบใดที่เขายังไม่ถือปื น ถือ อาวุธมาต่อสู้กนั ทั ้งสองคนนั ้นถือเป็ นผู้บริ สทุ ธิ์ และโลก

Facebook Twitter และ Instagram

ควรจะเปิ ดพื ้นที่ให้ คนสองคนนี ้อย่างเท่ากัน สุดท้ ายการ จะแก้ ความขัดแย้ ง มันก็อยู่ที่การแก้ ความคิดคนนัน่

ผมและบิ๊กเอเชียทราบดีว่าข้ อมูลที่เรานาเสนอ ไม่สามารถแทนเอเชียทั ้งหมดได้

เนื่องจากเอเชียใหญ่

มาก และเป็ นทวีปที่มีความหลากหลายมากที่สดุ ในโลก หลายเรื่อง หลายวัฒนธรรม ทางผมเองก็ไม่เคยทราบมา ก่อน แม้ ตอนนี ้ก็ยงั ไม่ทราบ เราเพียงแค่นาเสนอในมุมๆ หนึง่ เท่านั ้น แต่สงิ่ ที่บิ๊กเอเชียพยายามนาเสนอตลอดปี ที่ ผ่านมานี ้ ในการติดตามข่าวต่างๆ คือการคิดและมอง เข้ าไปในความรู้ สกึ ของคนตรงนั ้น ซึง่ ความคิดของคนแต่ ละคน ในแต่ละพื ้นที่ ย่อมมีความคิดแตกต่างกันออกไป ตามสิ่งที่เขาเห็นและพบมา บางทีเราอาจจะมองว่าเขา เป็ นคนร้ าย พยาบาท ไม่ดี แต่มนั ก็เป็ นสิง่ ที่เขารู้มา เพียงแค่นี ้ ดังนั ้นการจะสู้กบั ความขัดแย้ ง เราจะต้ อง เข้ าใจเสียก่อน และการดาเนินการแก้ ไขความขัดแย้ ง แบบการกาจัดคนผิด คงไม่ใช่ผลที่ดีแน่ๆ เหมือนอย่าง ความขัดแย้ งอิสราเอล กับ ปาเลสไตน์ แน่นอนว่าทุกๆ

แหละ แก้ การบ่มเพาะความคิด ที่เกิดจากสือ่ หรือ รัฐบาล เพื่อดึงความคิดของที่เขามีอยู่ไปตามแนวทางที่ เขาอยากให้ เป็ น ตัวการตัวจริงนะครับ

อยากให้ เรามองให้ ถกู ที่ว่าใครคือ และก็เปิ ดกว้ างว่าคนในแต่ละ

ประเทศในความขัดแย้ งไม่ได้ คิดเหมือนกันหมดนะครับ และความสวยงามของสันติภาพมันมีจริงๆ จากที่พดู มาทั ้งหมด คงเป็ นเหตุผลว่าทาไมเรา ไม่สามารถทาบิ๊กเอเชียต่อได้ อ้ าว นี่เหตุผลเหรอ ใช่ครับ เราคงไม่สามารถโฟกัสทุกจุดได้ รวมถึงเราเองมักจะพูด ในเรื่องอะไรแบบนี ้ ความขัดแย้ ง หรือ ข่าวอื่นๆ มาก เกินไป มันคงไม่ดีที่จะให้ เรื่องเหล่านี ้ไป Represent คา ว่า Asia ซึ่งเต็มไปด้ วยความมหัสจรรย์ต่างๆ มากมาย หนังสือวารสารเล่มนี ้จึงเป็ นเล่มสุดท้ ายที่จะ รวบรวมความทรงจาที่ดีๆ เอาไว้ ระหว่างเรา เกี่ยวกับบิ๊ก


เอเชีย ก่อนที่จะปิ ดตัวลงอย่างเป็ นทางการในวันที่ 24

หรอกครับ ก็คือทาในสิง่ ที่เราชอบนัน่ แหละ ไม่ต้องทา

มีนาคม นี ้ เนื่องจากมันก็ต้องลงทุน จ่ายค่าโดเมน กับ

เป็ นธุรกิจ ไม่ต้องอะไรใหญ่โตก็ได้ แล้ วก็กล้ าที่จะออก

โฮสติ ้ง ซึง่ มันก็ไม่ได้ มีราคาแพงอะไร แต่เห็นแล้ วว่าด้ วย

จากจุด Comfort Zone ของตนเอง ผมเชื่อว่าถ้ าผมได้ พบ

เนื ้อหาที่เราสือ่ รวมกับอย่างอื่นด้ วย การทาแบบนี ้ต่อไป

กับสิง่ ที่ผมชอบ (ซึง่ อาจจะไม่ใช่อย่างนี ้) ผมคงประสบ

คงไม่ได้ สร้ างประโยชน์อะไรกับใคร ทางที่ดีผมก็ควรที่จะ ออกไปจาก Comfort Zone ของตนเอง ด้ วยการเอาเรื่อง

ความสาเร็ จ

แบบนี ้ไปเขียนลงพันธิป หรือ เปิ ดบอร์ ดใน Dek-D หรือ อื่นๆ เพื่อที่จะเข้ าสูฐ่ านผู้ชมที่สนใจเรื่องแบบนี ้ แต่เราก็ ต้ องยอมรับว่าเราก็อาจจะโดนว่าได้ ถ้ าหากเขียนไม่ดี หรือ ข้ อมูลผิดพลาดไป แต่มนั ก็เป็ นการเติมเต็มความรู้ คัดกรองความเข้ าใจ ทั ้งของเราและของผู้ที่มาอ่านด้ วย ตอนนี ้ผมก็เริ่มพบแล้ วว่า

ทาอะไรแล้ วจะประสบ

ความสาเร็ จ ทาอะไรแล้ วคนจะชอบ สุดท้ ายก็ไม่มีอะไร

สุดท้ ายนี ้ผมก็ต้องขอขอบคุณทุกๆ คนนะครับ ที่เข้ ามาอ่านเว็บไซต์บิ๊กเอเชีย เข้ ามาชมคลิป หรือ ติดตามเฟสบุ๊คของเรา แล้ วก็ติดตามผมได้ ที่เพจ Tin Studio นะครับ ในเฟสบุ๊คที่เดิม จนกว่าจะพบกันใหม่ ครับ


พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดชยังมี พระชนมายุไม่ถึง 2 พรรษา เมื่อครั ้งทรงพระเยาว์ พระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดชทรงเข้ าศึกษาที่ โรงเรี ยน มาแตร์ เดอีวิทยาลัย(กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย) เมื่อ ครั ้งมีพระชนมายุได้ 4 พรรษา แต่ต่อมาในปี 2476 ก็ เสด็จไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ณ โรงเรี ยนเมียร์ มองต์ และทรงศึกษาระดับมัธยมศึกษา ณ โรงเรี ยนแห่งใหม่ของซือ อีสมองด์ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพในวันจันทร์ ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2470 ณ โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น สหรัฐอเมริ กา เป็ นพระราช โอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จเจ้ าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศวร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) กับ หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช ชนนี) โดยมีพระนามแรกเกิดว่า Baby Songkla

และต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้ า เจ้ าอยู่หวั รัชกาลที่ 7 ได้ พระราชทานพระนามว่า พระว รวงศ์เธอ เจ้ าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช มีพระเชษฐภคินีและ สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระ เจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดล ต่อมาพระบรมราชชนกก็ได้ เสด็จสวรรคต ขณะที่

เมื่อพระบรมเชษฐาธิราชได้ เสด็จขึ ้นครองราช

สมบัติ พระองค์ได้ รับการสถาปนาฐานนันดรเป็ น สมเด็จ พระเจ้ าน้ องยาเธอ เจ้ าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช และหลังจาก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเสด็จ สวรรคตอย่ากระทันหัน รัฐสภาลงมติเป็ นเอกฉันท์ให้ กราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระเจ้ าน้ องยาเธอ เจ้ าฟ้าภูมิ พลอดุลยเดช ขึ ้นมาครองราชสมบัติต่อไป โดยพระองค์ ท่านตั ้งพระราชหฤทัยว่าจะทรงครองราชสมบัติเฉพาะ ช่วงงานพระบรมศพของสมเด็จพระบรมเซษฐาธิ ราช เท่านั ้น เพราะยังทรงพระเยาว์และไม่เคยเตรียมพระองค์ มาก่อน เลยกลับไปศึกษา ณ ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ โดยพระองค์ทรงศึกษาสาขาสังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ และ รัฐศาสตร์


วันที่ 3 ตุลาคม 2491 ระหว่างทางเสด็จจาก เจนีวาไปโลซาน ทรงประสบอุบตั ิเหตุ รถยนต์พระที่นงั่ ขับชนกับรถบรรทุกอย่างรุนแรง เศษกระจกกระเด็นเข้ า พระเนตรข้ างขวา พระอาการสาหัส หลังทรงเข้ ารับการ ถวายการรักษา พระองค์มีพระอาการแทรกซ้ อนจน แพทย์วินิจฉัยว่าพระองค์ไม่สามารถทอดพระเนตรผ่าน พระเนตรข้ างขวาได้ อีกต่อไป จึงถวายให้ พระองค์ทรง พระเนตรปลอดในที่สดุ

สมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวทรงเสด็จพระราชดาเนิน นิวตั ิพระนครในปี พ.ศ.2493 และได้ โปรดเกล้ าฯให้ จัด พระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์ สริ ิ กิต์ิ กิติ ยากรหลังจากทรงหมั ้นเมื่อปี 2492 และได้ มีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้ าฯให้ สถาปนาเป็ นสมเด็จพระราชินี สิริกิติ์

สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินีสริ ิ กิต์ิ เป็ น สมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิต์ิ พระบรมราชินี พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จออกผนวชเป็ นเวลา 15 วันในปี 2499 โดยมีสมเด็จ พระสังฆราชเจ้ า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์เป็ นพระ อุปัชฌาย์ ทรงได้ รับฉายาว่า ภูมิพโลภิกขุ โดยประทับจา พรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร โดยให้ สมเด็จพระนางเจ้ า สิริกิติ์ พระบรมราชินีเป็ นผู้สาเร็จราชการแทนและเฉลิม พระนามาภิไธยเป็ นสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในวันที่ 5 ธันวาคม ปี เดียวกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช ทรงจัดตั ้งโครงการในพระราชดาริ กว่า 4000 โครงการ โดยที่ได้ รับคาสรรเสริ ญมากที่สดุ คือโครงการเศรษฐกิจ พอเพียง นอกจากนั ้นพระองค์ ยงั ได้ เสด็จลงไปเยี่ยม ราษฎรในถิ่นทุรกันดาร ทรงเป็ นแบบอย่างที่ดีในการ ประหยัด ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ ต่อด้ าน ศิลปวัฒนธรรมเป็ นอย่างมาก เช่นการฝื น้ ฝูพิธีจรดพระ นังคัลแรกนาขวัญ และพระราชนิพนธ์ บทความและแปล หนังสือต่างๆเช่น นายอินทร์ ผ้ ปู ิ ดทองหลังพระ ติโต พระ มหาชนก ทองแดง เป็ นต้ น

และเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2493 ทรงโปรด เกล้ าฯให้ จัดพระราชพิธีราชาภิเษกตามโบราณราช ประเพณีที่พระที่นั่งไพศาลทักษิ ณ มีพระปรมาภิไธย ตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า

โดยพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สขุ แห่ง มหาชนชาวสยาม และทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯให้

พระองค์ทรงพัฒนาชนบทในรูปแบบโครงการ ในพระราชดาริ เพื่อให้ ราษฎรของพระองค์ ได้ อยู่ดีกินดี ตลอดจนเลี ้ยงครอบครัวรวมถึงพึง่ พาตนเองได้ และยัง


ทรงส่งเสริมการให้ ชาวชนบทมีความรุ้ ในการประกอบ อาชีพตามแต่ละท้ องถิ่น และนาวิทยาการสมัยใหม่มา ประยุกต์ กบั ภูมิปัญญาชาวบ้ าน ส่วนด้ านการศึกษาทรง โปรดเกล้ าฯให้ รัฐบาลเป็ นผู้บริหารการศึกษาแบบให้ เปล่าตั ้งแต่ประถมถึงมัธยมศึกษาตอนปลายแบ่งเป็ น โรงเรี ยนราชประชานุเคราะห์ 14 โรงเรียนและโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์ 26 โรงเรี ยน รวมถึงยังมีทนุ อานันท มหิดลเพื่อสนับสนุนทางด้ านการคัดเลือกบัณฑิตไป ศึกษาต่อยังต่างประเทศ

โรงพยาบาลศิริราชตามคากราบบังคมทูลของ คณะแพทย์เพื่อมาตรวจพระวรกายหลังจากที่เสด็จไป ประทับ ณ พระราชวังไกลกังวล อ.หัวกิน จ. ประจวบคีรีขนั ธ์ วันที่ 28 กันยายน 2559 สานัก พระราชวังออกแถลงการว่าพระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยู่หวั มีพระอาการประชวรออกมา ก่อนที่พระอาการ จะทรุดลงไปอีก และมีการติดเชื ้อในกระแสพระโลหิต จนเสด็จสวรรคตในวันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 15.52 น. สิริพระชนมายุ 88 พรรษา 287 วัน

วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 พระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้ า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้ เสด็จมาประทับ ณ

ขอขอบคุณข้ อมูลอ้ างอิงจากวิกิพีเดีย ภาษาไทย เรียบเรียงเขียนใหม่โดยแอดมิน บิ๊กเอเชีย


สวัสดีครับ วันนี ้เราจะมาเล่ากันในเรื่องของ ประวัติศาสตร์ ของประเทศอย่าง “เกาหลี” กันครับ (ทาไมพูดแนะนาจืดจัง) นานมาแล้ ว ตามความเชื่อของเกาหลี เจ้ าชายฮวางวุง เป็ นโอรสของเทพสูงสุดบนสวรรค์ ได้ ลง มาสร้ างเมืองที่ภูเขาแทแบ็ก และก็ได้ แต่งงานกับหมี ด้ านซ้ ายของเรานะครับ ซึง่ ก่อนหน้ านั ้นทั ้งหมีและเสือก็ ต่างมาขอพรกับเจ้ าชายฮวางวุงว่าให้ ได้ เป็ นมนุษย์ เจ้ าชายเลยให้ ทั ้งเสือและหมีทาการอดกลั ้นใจตัวเอง และสุดท้ ายเสือยอมแพ้ ไปซะก่อน มีแต่หมีที่ทาได้ หมี เลยได้ กลายเป็ นหญิงสาว และแต่งงานกับเจ้ าชายฮ วางวุง และได้ โอรสออกมาชื่อ ตันกุน หรือ ทันกุน และ เป็ นผู้สร้ างอาณาจักรโชซ็อนโบราณ ช่วงนั ้นเกาหลีมีเผ่า

นี่ก็น่าจะเป็ นยุคที่เคย ๆ ได้ ยินกันนะครับ เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ เกาหลี หลังจากที่จีนยึดไปแล้ ว จีนก็ดจู ะ เข้ ม ๆ กับนังนังอย่างเดียว ทาให้ อาณาจักรอื่นๆ ค่อยๆ แยกตัวเป็ นเอกราช รวมถึงนังนังก็เป็ นเอกราชได้ เหมือนกัน ต่อมาเมื่อราชวงศ์ฮนั่ อ่อนกาลังเกาหลีก็แบ่งเป็ น 3 เผ่า ใหญ่ ๆ

1. อาณาจักรโคกูรยอ พวกนี ้เข้ มแข็งมาก และยังสามารถยึดอาณาจักร นังนังเข้ ามาได้ อีกด้ วย (มีคนเอาไปแต่งเป็ นหนังอิง ประวัติศาสตร์ เรื่องจามอง ยอดสตรีผ้ พู ลิกแผ่นดิน ด้ วยครับ ลองไปดู) อื่นอีกหลายเผ่าเช่น พูยอ โคกูรยอ อกจอ ทงเย มาฮัน่ ชินฮัน่ และพยอนฮัน่ ใน พ.ศ.434 ราชวงศ์ฮนั่ จากจีน ส่ง กองทัพมายึดโชซ็อนโบราณได้ สาเร็จ และแบ่งที่ยดึ ได้ ออกเป็ น 4 ส่วน คือ อาณาจักรนังนัง(Lelang) ชินบอน อิม ดุน และฮย็อนโท (อันนี ้ผมก็ไม่ร้ ู เหมือนกันว่ามันเขียนแบบอังกฤษ ยังไงนะครับ)

2.อาณาจักรแพ็กเจ โดยพวกเผ่าแพ็กเจได้ ไปรวบรวมแคว้ นทั ้งสามแค้ วนที่ เหลือมาเข้ าด้ วยกัน


อาณาจักรพัลแฮโดยราชวงศ์

3.อาณาจักรชิลลา อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ ของเกาหลี ตอนแรก ๆ ไม่ค่อย แข็งแรง แต่เพราะไปเป็ นมิตรกับโคกูรยอทาให้ มีความ แข็งแรงขึ ้นเรื่อย ๆ

ยุคนี ้อาณาจักรซิลลาสามารถยึดพื ้นที่ทางใต้ ของ คาบสมุทรเกาหลีได้ เกือบหมด แต่ก็เสียดินแดนบางส่วน ให้ จีน และ ดินแดนส่วนบนของเกาหลี รวมถึงดินแดน บางส่วนของโกคูรยอ ถูกสร้ างเป็ นอาณาจักรใหม่ชื่อว่า อาณาจักรพัลแฮ

เหงียนรุกราน


อาณาจักรโคกูรยอใหม่เลยเกิดขึ ้นมา และนอกจากนั ้นที่ ด้ านใต้

และเหตุการณ์จะเป็ นยังไงต่อ ติดตามได้ ในตอนที่ 2 รวมประเทศครับบบบบบ

เขียนมาเป็ นการ์ ตนู เพื่อให้ คนรู้ประวัติศาสตร์ มากขึ ้น ไม่ได้ มีเจตนาจะลบหลูป่ ระวัติศาสตร์ นะครับ ขอขอบคุณข้ อมูลจาก วิกิพีเดีย เพจ ประวัติศาสตร์ เกาหลี และ รูปภาพจาก Ancient Prince Korean Drama แล้ วก็เกิดเป็ นอาณาจักรแพ็กเจใหม่ และทาให้ อาณาจักรชิลลาเดิม รู้ สกึ ว่าตนเองอ่อนแอพอสมควร ทาให้ สามอาณาจักรยุคหลังคือ โคกูรยอใหม่ แพ็คเจใหม่ และ อาณาจักรชิลลา (เอ๊ ะทาไมชื่อมันคุ้น ๆ กับยุคแรกว่ะเนี่ย)


สวัสดีครับ วันนี ้เราจะพาเพื่อน ๆ มารู้จกั กับ เมืองต่าง ๆ ในประเทศที่เราอาจจะไม่ร้ ูจกั กันในเอเชีย ตะวันออก อ่า คือจริ ง ๆ แล้ วเคยโพสเอาไว้ แล้ วในบล็อก เก่านะครับ แต่จะเอามาโพสใหม่ จุดประสงค์ของการทา นี่ก็คืออยากให้ ร้ ู การดารงชีวิตของคนในประเทศต่าง ๆ ว่ามันเหมือน หรือ ต่างกับเรามั ้ย ขนาดไหน บ้ านเมือง เขาเป็ นยังไง โดยเริ่มจากเอาเมืองหลวงมาก่อนเลย คือ คนทั ้งประเทศเขาไม่ได้ ใช้ ชีวิตเหมือนกับคนในเมือง หลวงของเขานะครับ แต่การใช้ ชีวิตของคนในเมืองหลวง ของแต่ละประเทศ จะค่อนข้ างเหมือนโลกทั่วไป มากกว่าไปเทียบเมืองอื่นใช่มั ้ยครับซึง่ มันก็ทาให้ เราได้ รู้จกั เมืองนั ้น ทั ้ง Lanmark การใช้ ชีวิตของคน(บางส่วน) สภาพบ้ านเมือง อะไรอย่างนี ้นะครับ บอกไว้ ก่อนนะครับ ว่าคลิปพวกนี ้อาจจะมอง แบบโลกสวยนิดนึง ถามว่าในเมืองมันไม่มีอะไรเลวร้ าย บ้ างเลยเหรอ มันต้ องมีอยู่แล้ ว แต่บางทีการทา VTR เขา อาจจะมองข้ าม ๆ เอาเป็ นว่าที่เราหามาให้ ดนู ี่เพื่อที่จะ ทาให้ ทกุ ๆ คนรู้จักกับเมือง ๆ นั ้น ประเทศ ๆ นั ้น คนใน ประเทศนั ้นมากขึ ้นนะครับ (เอาง่ายๆคือไม่ได้ โลกสวย แค่ประชาสัมพันธ์ ให้ ร้ ูจักเมืองเฉยๆ) วันนี ้จะมาเริ่ มที่ 3 ประเทศในเอเชียตะวันออกกันก่อน ครับ ประเทศอื่นคนคงจะรู้จกั บ้ างแล้ วแหละ

มองโกเลีย เป็ นประเทศที่อยู่ เหนือจีนไปหน่อย พื ้นที่ไม่น้อยเลยนะครับ ปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีเมืองหลวงชื่ออูลานบาตอร์ วันนี ้จะเอา วีดีโอที่คนมองโกเลียทาขึ ้นมาเกี่ยวกับเมือง อูลานบาตอร์ ของเขา และเมืองอื่น ๆ ด้ วย เรามาดูกนั นะ ครับว่าคนมองโกเลียเขาอยู่กนั ยังไง บ้ านเมืองเขาเป็ น ยังไงกันบ้ าง จัดไป

ไต้ หวัน เป็ นประเทศเกาะเล็ก ๆ ทางตะวันออกของจีน เป็ นประเทศที่ ได้ รับการยอมรับทางพฤตินยั ว่ามีเอก ราช แต่ไม่ได้ รับการรับรองเอกราช และ ไม่ได้ เป็ นสมาชิกของ UN (ด้ วยความที่จีนคิดว่าไต้ หวัน เป็ นส่วนหนึง่ ของเขา)ปกครองแบบประชาธิปไตยแบบ กึง่ รัฐสภากึ่งประธานาธิบดี เมืองหลวงอยู่ที่ กรุงไทเป ปี 2017 กรุงไทเป จะเป็ นเจ้ าภาพจัดกีฬามหาวิทยาลัยโลก และนี่เป็ น Video โปรโมตเมืองของเขานะครับ ไปดูกนั


อันนี ้ต้ องพูดถึงมั ้ย เกาหลีเหนือเป็ นประเทศที่ อยู่ด้านบนของคาบสมุทรเกาหลี ปกครองในระบอบ สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ เผด็จการณ์สดุ ๆ เมืองหลวงอยู่ ที่กรุงเปี ยงยาง ภาพวีดีโอชุดนี ้เป็ นแบบการเร่ งภาพให้ เร็ว และ ปรับภาพให้ slow สร้ างโดยนักถ่าย VTR ระดับ โลก และ นักสร้ างเอกลักษณ์ของเมืองระดับโลก เหมือนกันครับ เขามาทาเองนะครับ โดยได้ รับการ

สนับสนุนจาก Kroyo Tour บริษัทพาไป ทัวร์ เกาหลีเหนือ รัฐบาลไม่ได้ สงั่ แต่ก็ ควบคุมบางอย่าง เช่น ไม่ให้ ถ่ายติด ทหาร เอาไปว่าเรามา City Tour กรุ ง เปี ยงยางกันดีกว่าครับ (อันนี ้มองใน ด้ านดีนะคับ ด้ านมืดอะรู้ๆกันอยู่) (ขอบคุณ paow007.wordpress.com ครับที่แชร์ คลิปนี ้มาให้ ด)ู ไปชมกันครับ


พิธีสาบานตนเข้ ารับตาแหน่งอย่างเรียบง่าย ของมูน แจ อิน จัดขึ ้นที่อาคารรัฐสภาซึง่ เรียบง่ายมาก เทียบกับของปาร์ ก กึน ฮเย ประธานาธิบดีคนก่อน หรือ เมื่อเทียบกับประธานาธิบดีเกาหลีใต้ คนอื่นๆ และ รับ ตาแหน่งทันทีหลังจากรับรองผลการเลือกตั ้งได้ ไม่นาน เนื่องจากว่าตาแหน่งนี ้ว่างอยู่นานแล้ ว (ภาพจาก KoreaTime) มูน แจ-อิน ลูกของอดีตชาวเกาหลีเหนือ ที่ลี ้ ภัยมาอยู่เกาหลีใต้ ในช่วงสงครามเกาหลี ศึกษาด้ าน กฎหมายจากมหาวิทยาลัยคยองฮี แต่ไม่นานก็ถูกไล่ ออก และ ถูกคุมขังเนื่องจากไปประท้ วงต่อต้ านรัฐบาล เผด็จการณ์ของ ปาร์ ก จอง-ฮี (พ่อของปาร์ ก กึน-ฮเย)

หลังจากถูกคุมขังก็ได้ ถูกเลือกให้ เข้ ารับ ราชการทหาร และหลังปลดประจาการ เขาก็ได้ ร่วมกับ เพื่อนของเขาคือ โน มู-ฮยอน เปิ ดสานักงานทนายความ และ ร่วมก่อตั ้งหนังสือพิมพ์ ฉบับหนึง่ ต่อมาเพื่อนของเขาเข้ าสู่การเมือง และเพื่อน ของเขา โน มู-ฮยอน ก็ได้ รับเลือกตั ้งให้ เป็ น ประธานาธิบดีในปี 2003 และมูนก็ได้ เป็ นที่ปรึกษา พิเศษ แต่หลังพ้ นจากตาแหน่ง โน มู-ฮยอนได้ กระโดด น ้าฆ่าตัวตาย เพราะอายที่ถูกตรวจสอบว่ารับสินบน ขัด กับภาพลักษณ์ที่เป็ นคนมือสะอาดของเขา เขาเสียใจมาก และทาให้ เขามาสมัคร เลือกตั ้งปธน.ในปี 2012 ถึงจะแพ้ แต่ก็มาชนะในปี 2017 และเข้ าพิธีสาบานตนเข้ ารับตาแหน่งหลังจากการ รับรองผลเลือกตั ้งเสร็จเพียงไม่กี่ชวั่ โมงเท่านั ้น ขอขอบคุณเนือ้ หาบางส่ วนจากไทยรั ฐออนไลน์


เยเมน กับสงครามกลางเมืองที่ดเู หมือนว่า มันจะยากที่จะจบสิ ้น เรื่องราวจะเป็ นยังไง เราไปดูจากภาพเหล่านี ้กันครับ เยเมนหรื อ สาธารณรั ฐเยเมน เป็ น ประเทศที่ตั ้งอยู่ติดกับทางใต้ ของ ซาอุดิอาระเบีย และทางตะวันตกของโอมาน รวมถึงมีพรหมแดนใกล้ กบั ทวีปแอฟริ กา ซึง่ จัด ว่าเป็ นจุดยุทธศาสตร์ สาคัญแห่งหนึง่ ของโลก เรา เมืองหลวง อยู่ที่กรุ งซานา สกุลเงิน เรียล เยเมน รวมเป็ นประเทศเดียวกันเมือวันที่ 22 พฤษภาคม 1990 โดยก่อนรวมประเทศ เยเมน แบ่งเป็ นเยเมนเหนือ ปกครองคล้ ายๆกับระบอบ กึง่ รัฐสภากึ่งประธานาธิบดี ส่วนเยเมนใต้ ปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ ซึง่ มีเรื่องราวความเป็ นมา ดังนี ้


การรวมตัวเข้ ามานั ้น ไม่ใช่ว่าเป็ นเรื่องง่าย เยเมนทั ้งสองต้ องเจอปั ญหากระทบกระทั่งทั ้งด้ านเขตแดนและด้ าน ต่างๆ กันมาหลายครัง้ หลายครา ครั ้นรวมประเทศแล้ ว วิกฤตทางการเมืองระหว่างพวกที่ต้องการรวมกันอยู่ กับ พรรค สังคมนิยม ที่ต้องการแยกเยเมนใต้ กลับไปเป็ นประเทศเอกราชอีกประเทศดังเดิม แต่การต่อสู้ก็แพ้ ไป ทาให้ เยเมนยังคงเป็ น หนึง่ เดียวอยู่


ครั ้นพอถึงกระแสอาหรับสปริงที่มีการต่อต้ านผู้นาเผด็จการณ์ ผู้นาคอรัปชัน่ หรือ ผู้นาที่ครองอานาจยาวนานในตะวันออกกลาง ประธานาธิบดีซาเลท์ของเยเมน ก็คืออีกคนหนึ่งที่อยู่ในกระแสต่อต้ านผู้นา ตะวันออกกลางครั ้งนี ้ เพราะเขาอยู่ในอานาจนานเกือบ 30 ปี (รวมขณะ เป็ นประธานาธิบดีเยเมนเหนือด้ วย) การต่อต้ านประธานาธิบดีซาเลท์ จึง เริ่มขึ ้นในปี 2011

ไม่เพียงเท่านั ้น กระแสของนิกายต่างๆในอิสลาม ไม่ได้ อยู่ร่วมกันง่ายเหมือนกับของพุทธ หรือ ของคริ สต์ แต่ สาหรับชาวมุสลิมในตะวันออกกลางแล้ ว ซุนนี กับ ชีอะห์ ถือเป็ นความขัดแย้ งที่เกิดมาพร้ อมกับตัว ฮูธิ เป็ นมุสลิมชีอะห์คน หนึง่ ที่พยายามปกป้องพิธีของพวกเขาจากกการรุกรานโดยซุนนี (ในเพจมุสลิมบางเพจของประเทศไทยซึง่ เป็ นชาวซุนนี ได้ ต่อต้ านการกระทาของชีอะห์มาก ถึงกระทั ้งบอกว่าชีอะห์ไม่ใช่อิสลาม แต่เป็ นศาสนาของชีอะห์ของเขา พิธีกรรมต่างๆไม่ใช่ อิสลาม) (เป็ นความเห็นเฉพาะฝ่ าย โปรดใช้ วิจารณญาณ) รวมถึงฝั่ งรัฐบาลที่เป็ นซุนนีเช่นกัน โดยนายฮูธิเองถูกสังหารใน เหตุการปกป้องนิกายของเขาครั ้งนั ้น (ในปี 2004)


การต่อต้ านรัฐบาลของนายซาเลท์ ในปี 2011 กลุม่ ของฮูธิ (บรรดาลูกน้ องหรือพรรคพวกของฮูธิ) ได้ ออกมาร่ วม ต่อต้ านรัฐบาลนี ้เช่นกัน เกิดการต่อรองกันหลายเรื่อง ทั ้ง ซาเลท์จะไม่ลงเลือกตั ้งประธานาธิบดีในสมัยหน้ า จะไม่ตั ้งลูก ชายไว้ สบื ทอดก็ดี สุดท้ ายผู้ประท้ วงต้ องการคือ ใช้ ประธานาธิปดีซาเลท์ลาออก และท้ ายที่สดุ ประธานาธิบดีซาเลท์ ก็หนีไป ที่ซาอุดิอาระเบีย รวมถึงเพื่อไปรักษาตัวด้ วย (เขาสุขภาพไม่ค่อยดี) ก็มีการลงมติในสภาซึง่ หนีไปประชุมที่ซาอุดิอาระเบีย ว่าซาเลท์ จะส่งต่ออานาจให้ กบั รองปธน.ของเขาภายใน 30 วัน แลกกับการที่เขาจะไม่ถกู ดาเนินคดี แต่ผ้ ปู ระท้ วงก็ไม่ยอม เพราะเห็นว่าสภาไม่ได้ เป็ นตัวแทนของประชาชนอย่างแท้ จริง แต่สดุ ท้ ายก็เป็ นตามนั ้น เยเมนจัดการเลือกตั ้งทัว่ ไปในปี 2012 โดยมีผ้ สู มัครคือ นายฮาดี อดีตรองประธานาธิบดี ในสมัยซาเลท์ และได้ รับการโหวดให้ ชนะเลือกตั ้ง 99.8% จากผู้มาใช้ สทิ ธิ 65% ของผู้มีสทิ ธิเลือกตั ้ง และฮาดีก็ได้ รับ ตาแหน่งประธานาธิปดี และ ซาเลท์ได้ กลับมาในเยเมนอีกครัง้ เพื่อเข้ าพิธีสาบานตนของฮาดี


เหตุการณ์ในเยเมนยังไม่จบ และดูเหมือนจะรุนแรงขึ ้นกว่าเดิม หลังจากเยเมนสงบไปพักหนึง่ แต่อีก 2 ปี ต่อมา จากการไม่พอใจในนโยบายของฮาดี ทาให้ กลุ่มฮาธิ ได้ ออกมาต่อต้ านรัฐบาลของเยเมนอีกครั ้ง ทั ้งเรื่องนโยบาย รวมถึง เรื่องนิกายในศาสนาด้ วย ในครั ้งนี ้ ฮาธิพกผู้นาในมุสลิมชีอะห์อย่างอิหร่าน หรือ แม้ แต่อดีตประธานาธิบดีซาเลท์เองก็ดแู ห มือนว่าจะกลับมาอยู่เบื ้องหลังพวกฮาธิซะเอง หรือบางเว็บไซต์บอกว่าทั ้งพวกซีเรี ย ก็ได้ มาสนับสนุนฮาธิ ด้วย ส่วนฮาดีซงึ่ เป็ นซุนนี ก็ได้ ร่วมกับซาอุดิอาระเบียผู้นาแห่งซุนนี รวมถึงอีกหลายประเทศ เช่น จอร์ แดน ก็สนับสนุน ฮาดี และนอกจากสองฝ่ ายนี ้ ฝ่ ายที่ตั ้งท่าจะกินทุกอย่างอย่างอัลเคดาห์ หรือ กลุ่มรัฐอิสลาม ไอสิส ก็ได้ เข้ ามาแจมใน สงครามครั ้งนี ้เหมือนกัน

สงครามเยเมนในวันนี ้เหมือนจะนิ่งๆอยู่ทดแทนไปด้ วยเหตุของโรคระบาดอย่างอหิวตกโรค ในกรุงซานา แต่ก็ไม่ ทราบว่าเรื่องราวต่างๆในเยเมนจะลงรอบกันเมื่อไหร่ เยเมนเหมือนจะถูกแบ่งเป็ นสองประเทศอีกครั ้งไหม หรือ อาจจะมาก กกว่านั ้น ถ้ าถามว่าทาไม เยเมนถึงเป้นประเทศที่มีสงครามกลางเมืองอยู่ตลอด อาจจะเป็ นเพราะว่านี ้อาจจะคือสงคราม ตัวแทนของพวกชาติมหาอานาจอาหรับ โดยอาจจะใช้ นิกาย หรือ แนวคิดทางการเมืองบางอย่าง คล้ ายๆกับลัทธิ คอมมิวนิสต์ หรือ เสรีประชาธิปไตยที่เกิดขึ ้นในสงครามเย็น อาจจะเพื่อไม่ให้ ฝ่ายตรงข้ ามยึดดินแดนแห่งนี ้ เพราะเป็ นจุด ยุทธศาสตร์ สาคัญ หรือ อาจจะเพื่ออะไรสักอย่าง แต่ที่แน่ๆ ผู้ที่ได้ รับผลกรรมก็คือชาวเยเมน


สุดท้ ายก็ขอให้ คนไทยดูเรื่องราวนี ้เป็ นตัวอย่างนะครับ น่าเสียดายที่ วิชาประวัติศาสตร์ ของไทยไม่ได้ สอนถึงเหตุการณ์ ในช่วงสงครามเย็น ซึง่ จะมีผล ต่ออะไรหลายๆอย่างในโลกนับจากนี ้ไป และยังแฝงแง่คิดอีกหลายอย่างที่คนใน โลกควรจะรู้


จากข่าวที่ช็อคโลกต่อจากเหตุระเบิดในเมือง แมนเชสเตอร์ นัน่ ก็คงจะเป็ น การที่มีข่าวออกมา ประมาณดึกๆของประเทศไทยว่ากลุม่ ไอซิส สามารถยึด เมืองมาราวี เมืองทางตอนใต้ ของเกาะมินดาเนาประเทศ ฟิ ลิปปิ นส์ได้ แล้ ว และประธานาธิปดีดเู ตอร์ เต้ ก็ได้ ประกาศกฎอัยการศึก 60 วัน

เต้ หรือ มาอูเต้ กลุม่ ก่อการร้ ายในประเทศ ซึง่ ร่วมเคย สวามิภักดิ์กบั ไอเอส เช่นเดียวกันกับ กลุ่มอาบุไซยาบ และกลุ่มอื่นๆอีก 2 กลุ่มในฟิ ลิปปิ นส์ ล่าสุดรัฐบาลได้ ยืนยันว่าสามารถคุมสถานการณ์ในมินดาเนาได้ แล้ ว และ มีทหารตารวจเสียชีวิต 3 นาย ส่วนประชาชน รวมถึงผู้ก่อการร้ าย ไม่มีใครเสียชีวิต เกาะมินดาเนานั ้น เป็ นที่ตั ้งของกลุ่มติดอาวุธ หลายกลุม่ ในฟิ ลิปปิ นส์ ด้ วยแนวคิดที่พวกเขาต้ องการ เอกราชบ้ าง ต้ องการอย่างอื่นบ้ าง บางกลุ่มก็เป็ น คอมมิวนิสต์ และบางกลุม่ ก็เป็ นกลุม่ ที่สวามิภักดิ์กบั กลุม่ ไอเอส และมีการสู้รบกันในมินดาเนายืดยาวมาถึง 40 ปี และฆ่าชีวิตประชาชนไปกว่า 150,000 คน ก่อนที่ บางกลุ่มจะมาร่วมตกลงสันติภาพกับรัฐบาล แต่ก็มีอีก หลายกลุม่ เช่น มอเต้ หรือ มาอูเต้ ที่สวามิภักดิ์กบั กลุม่ ไอเอส และมีที่มนั่ อยู่ในเมืองมาราวี ได้ มีเหตุปะทะกับ รัฐบาล จนมีหลายอย่างเสียหาย และประชาชนต้ องหนี ตายกันอย่างชุลมุนขึ ้นในสองสามวันที่ผ่านมา

เมื่อวานนี ้ตามการรายงานของสานักข่าว กรุงเทพธุรกิจ บอกว่า ล่าสุดประธานาธิปดีดเู ตอร์ เต้ ของ ฟิ ลิปปิ นส์ได้ ออกมารายงานแล้ วว่า กลุม่ ที่มายึดมาราวี นั ้น ไม่ใช่กลุม่ รัฐอิสลาม แต่ประการใด แต่เป็ นกลุ่ม มอ

ขอขอบคุณข่าวจาก กรุ งเทพธุรกิจ โรงเรี ยนนักข่าว ชายแดนใต้ และไทยรัฐทีวี


อังเดรย์ ครูคอฟ ประธานคณะกรรมการเสนอ ตัวเมืองอัลมาตีเป็ นเจ้ าภาพโอลิมปิ กฤดูหนาว อัลมาตี 2022 พูดขอบคุณทุกฝ่ าย หลังจากการประกาศผล เจ้ าภาพโอลิมปิ ดฤดูหนาว 2022 สิ ้นสุดลง โดยกรุง ปั กกิ่ง ประเทศจีนได้ รับคัดเลือกให้ เป็ นเจ้ าภาพ ส่วน เมืองอัลมาตีของคาซัคสถาน คู่แข่งหนึ่งในสองเมืองที่ เขาสูร่ อบสุดท้ ายของการเสนอตัวเจ้ าภาพฤดูหนาวครั ้ง นั ้น ก็ร้ ูสกึ ภูมิใจไม่น้อย แม่จะไม่ได้ รับเลือกให้ เป็ น เจ้ าภาพ แต่ก็ถือเป็ นการโปรโมทประเทศครัง้ สาคัญของ ชาวคาซักสถานเลยทีเดียว การแข่งขันกีฬาโอลิมปิ กฤดูหนาว ถูกจัดขึ ้น ทุกๆสีป่ ี สลับกับโอลิมปิ กฤดูร้อน สองปี (เช่นปี 2020 มี โอลิมปิ กฤดูร้อน 2022 มีโอลิมปิ กฤดูหนาว) โดยครั ้ง ล่าสุดจัดที่เมืองโซชิ รัสเซียในปี 2014 และจะจัดที่เปี ย งชาง เกาหลีใต้ ในปี 2018 และปี 2022 ก็ได้ มีการเตรี ยม หาเจ้ าภาพขึ ้น

เมืองที่เสนอตัวเป็ นเจ้ าภาพได้ แก่ เมือง Kraków ประเทศโปแลนด์ เมือง Lviv ประเทศยูเครน กรุงสต๊ อกโฮม ของสวีเดน กรุ งออสโล ของนอร์ เวย์ เมืองอัลมาตีของคาซัคสถาน และกรุ งปั กกิ่ง ขอจีน โดย เมือง Krakow,Lviv และ กรุงสต๊ อกโฮม ตกรอบไป และ มีเมืองอัลมาตี กรุงออสโล และ กรุงปั กกิ่ง ได้ เป็ น Candidate City ก่อนที่กรุงออสโลขอถอนตัวไป จน เหลือเพียงสองเมือง แนวคิดหลัก หรือ คอนเสป ของการจัดที่อลั มา ตี คือ Keep It Real คือการนาสถานที่ที่มีอยู่จิง มาใช้ เป็ นสนามในการแข่งขัน เช่น แข่งสกี ก็จดั กันที่ลานที่มนั มีน ้าแข็งเลย เนื่องจากสภาพของเมืองอัลมาตี อานวยให้ สามารถจัดอย่างนั ้นได้ และถือว่าเป็ นการจัดที่แปลก ใหม่ของโลกอีกด้ วย


อัลมาตี คือ เมืองที่ใหญ่ที่สดุ ในคาซัคสถาน ถือ แม้ ว่าจะไม่ใช่เมืองหลวงก็ตาม ความสวยงามสไตล์ รัสเซียของที่ดีสามารถถือได้ ว่าเป็ นมอสโกของเอเชียเลย ก็ว่าได้ ความเห็นส่วนตัวสาหรับอัลมาตี คิดว่าเหมือน เมืองในเกม SimCity มาก (แค่ไม่มีทะเลใหล้ ) ลองดู ออกแนวคล้ ายๆกับกรุงอูลานบาตอร์ ของ มองโกเลีย แต่สวยกว่าฉากหลังเป็ นภูเขาหิมะ เอาจริงๆ ก็อาจจะเห็นได้ ว่าเมืองเขาก็ไม่ได้ เจริญมากเหมือน กรุงเทพของเรา แต่ก็ถือเป็ นเมืองใหญ่ที่สวยมากเมือง หนึง่ ครับ ถึง แม้ ว่าอัลมาตีจะไม่ได้ รับการคัดเลือกให้ เป็ น

เจ้ าภาพโอลิมปิ กฤดูหนาว เพราะอาจจะยังไม่พร้ อม เท่ากับกรุ งปั กกิ่ง ที่พร้ อมกว่าในทุกๆด้ าน แต่อาจจะไม่ Real เหมือนที่อัลมาตี แต่การเสนอตัวครั ้งนั ้นทาให้ คน รู้จกั คาซัคสถานมากขึ ้น ไทยอาจจะไม่ค่อยได้ ยินมาก แต่เชื่อว่าในโลก โดยเฉพาะประเทศหนาวๆที่เขาสนใจ

โอลิมปิ กฤดูหนาวกันก็น่าจะรู้ จกั เมืองนี ้มากขึ ้น การ เสนอตัวถึงแม้ จะได้ จดั หรือไม่ได้ จดั ก็ตาม มันก็ถือเป็ น การโปรโมตเมือง โปรโมตประเทศเขาอย่างหนึง่ ครับ ทา ให้ คนคาซัคสถานได้ ร้ ู สกึ รักชาติ เป็ นอันหนึง่ อันเดียวกัน ออกมาร่ วมกัน ทาโปรเจ็กโปรโมทเมืองร่ วมกัน มาลุ้น ด้ วยกัน ถึงแม้ การเสนอนี่ใช้ งบประมาณมหาศาล แต่ก็ น่าจะคุ้มสาหรับคาซัคสถานครับ โอลิมปิ กเนี่ยมีทั ้งจัดให้ เจ๊ งแล้ วก็จดั ให้ ค้ มุ นะครับ ถ้ าสามารถทาให้ คนมองภาพ ใหม่ของประเทศเจ้ าภาพได้ เข้ าใจคนในประเทศนั ้นได้ โปรโมทประเทศหรือคอนเซปของประเทศที่เขาอยากให้ คนอื่นรู้ได้ มันก็ค้ มุ ครับมหาศาล แต่ถ้าไม่ได้ ก็ล่ม มหาศาลเหมือนกัน 55555 เป็ นกาลังใจให้ คาซัคสถานครับ ถึงอย่างไรอัล มาตีรวมทั ้งกรุงอัสตานาก็ได้ เป็ นเจ้ าภาพกีฬาเอเชียน เกมส์ฤดูหนาว 2011 ที่ผ่านไปแล้ ว รวมถึงจะได้ เป็ น เจ้ าภาพกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาวในปี นี ้อีกด้ วย ซึง่ ก็ผ่านไปแล้ วอีก และก็คงเป็ นสปอร์ ตฮับทางกีฬาฤดู หนาวของเอเชีย เป็ นกาลังใจให้ อัลมาตีครับ


ท่ามกลางความขัดแย้ งทางความคิด อุดมการณ์ ความขัดแย้ งที่เคยเป็ นสงคราม และยังคุ กรุ่นอยู่บ้างตอนนี ้ในตะวันออกกลาง โดยเฉพาะระหว่าง อิสราเอล และ ปาเลสไตน์ อิสราเอล และ อิหร่าน นัก คอมพิวเตอร์ กราฟฟิ กคนหนึ่ง บ้ านเกิดของเขาอยู่ที่ ฝรั่งเศส ก่อนที่เขาจะมาอยู่ที่อิสราเอล และสร้ างโปรเจก นี ้ขึ ้นมา ถึงแม้ รัฐบาลจะมีความขัดแย้ งไม่ว่าจะ ประเทศอะไร แต่ที่แน่ๆ คือ คนทั ้งสองฝั่ งที่อยู่ท่ามกลาง ความขัดแย้ ง ต่างพร้ อมจะเปิ ดใจเข้ าหากัน และ เขาก็ อยู่ด้วยกันอย่างสันติได้ เขาไม่ได้ กล่าวไว้ ผมนี​ี่แหละ กล่าวเอง ผมเคยดูรายการพื ้นที่ชีวิต ตอนที่เขาพาไป อิสราเอล กับ ปาเลสไตน์ เขาไปสัมภาษณ์ชาว ปาเลสไตน์กลุม่ หนึง่ ทาให้ ผมได้ ร้ ู ว่า ในความจริงมัน ไม่ใช่สงครามศาสนาอะไรหรอกครับ ก่อนหน้ าที่จะมี

สงครามอิสราเอล ปาเลสไตน์ ชาวยิว ชาวอาหรับ หรือ ชาวอื่นๆ ในดินแดน ตรงนั ้นก็อยู่ด้วยกันอย่างสันติ และมี ความสุข จนถึงตอนนี ้ ความต้ องการ ของเขาทั ้งฝ่ ายอิสราเอล และ ปาเลสไตน์ ไม่ได้ ต้องการอะไร เพียง ต้ องการ “ประเทศของเขา” เท่า นั ้นเอง แต่การทาให้ คนรักกัน มันก็ไม่ได้ ง่ายนะครับ ผิดกัน การสร้ างลัทธิ ปลูกฝั งความเกลียดชัง หรือ ปลูกฝั งความรักพวกพ้ อง เกลียดอีกฝ่ าย มันโคตรจะง่าย ดูอย่างเหตุการณ์ทางการเมือง 2553 ,2557 ที่ผ่านมา ยังทาให้ คนไทยว่าคนที่คิดไม่ตรงกันได้ เลย ฝั่ งอิสราเอล ปาเลสไตน์ สอนกันตั ้งแต่เกิด เอ้ า เข้ าเรื่องดีกว่า ท่ามกลางความรักประเทศ ตัวเอง ที่ถกู ปลูกฝั งมาจากประเทศนั ้นๆ ความหัวร้ อน (ไม่อยากใช้ คาว่าหัวรุนแรงนะครับ อ้ าวใช้ ซะแล้ วนิ) ของ รัฐบาลประเทศนั ้นๆ พร้ อมจะทาให้ ประเทศตัวเอง ยิ่งใหญ่ จนไม่ได้ คิดเลยว่า อ้ าวแล้ วประเทศอื่นเขาไม่ เดือดร้ อนเหรอว่ะ มันก็ต้องมีคนส่วนหนึง่ และ ผมคิดว่า


มันไม่น้อยเลยแหละ ที่เห็นว่า สิง่ เหล่านี ้ มันไม่ใช่สงิ่ สาคัญที่สดุ หรอก

Noam Shuster ชาวอิสราเอลคนหนึง่ ได้ พูดใน เวที One Young World Summit 2015 รวมถึงการ กระทาร่วมๆ กันในหลายๆอย่างของชาวอิสราเอล และ ปาเลสไตน์ ระดับภาคพื ้น ชี ้ให้ เห็นว่า ถ้ ามันไม่ทาอะไร กันก่อน มันก็ไม่อยากรบกันหรอก Ronny Edry ชาวอิสราเอลเชื ้อสายฝรั่งเศสที่ ผมได้ กล่าวไปข้ างต้ น มาอยู่อิสราเอล และได้ ก่อตั ้ง โครงการ Peace Factory ขึ ้นมา เพื่อที่จะเชื่อมโยงคนใน ภูมิภาคตะวันออกกลางเข้ าด้ วยกัน ในระดับประชาชน เนี่ยแหละ ไม่ต้องรอรัฐบาลซึง่ คงจะช้ ามาก โดยสร้ าง เว็บไซต์ที่ http://thepeacefactory.org และสร้ างเพจ ต่างๆ โดยเขาน่าจะเริ่มที่ Israel love Iran แล้ วไปต่อที่ Israel love Palestine , Palestine love Israel และ อื่นๆอีกมากมาย เพื่อที่จะแชร์ ภาพความประทับใจ หรือ แง่มมุ ดีๆ ในระดับประชาชนของสองฝ่ ายที่ในระดับ รัฐบาล ยังทะเลาะกันอยู่ ต่อมาทาง Peace Factory ได้ สร้ างโครงการ ต่างๆ ไวรัลต่างๆ มากมาย เอาง่ายๆคือเพื่อที่จะให้ คนใน

ตะวันออกกลาง (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อิสราเอล อิหร่าน ปาเลสไตน์) ได้ ใกล้ ชิดกันมากขึ ้น เช่นโครงการ Weekend In Tehran , Iranins in Tel Aviv (เมืองใน อิสราเอล) แบบ ชวนเขามาเที่ยว ๆ กิจกรรม Friend me 4 Peace กิจกรรม +1 ก็คือ กด Add Friend ในเฟสบุ๊ค นี่แหละครับ ให้ มีเพื่อนในประเทศที่ขดั แย้ งกันบ้ าง แค่ แอดเฟส อาจจะเป็ นเรื่องนิดเดียว แต่ลองคิดดูนะครับ มี เพื่อนในเฟส เราก็จะได้ เห็นชีวิต เห็นโพสของเขา เผลอๆ ก็มีกด Like อะไรกัน กิจกรรม Sandbox เล่าเรื่องราวของคนใน ประเทศต่างๆ ของตะวันออกกลาง ซึ่งจะทาให้ คนรู้จัก กันมากยิ่งขึ ้น บวกกับแจกเฟสบุ๊คด้ วย คือจริงๆอาจจะ เห็นว่ามันปกตินะ คนเกาหลีเหนือ ใต้ ยังรักกันเลย คน มันรักกันอยู่แล้ ว ไม่เห็นแปลกตรงไหน แต่จริงๆ ความที่ อินการเมืองมากเกินไป ซึง่ ในประเทศแบบนั ้นน่าจะเป็ น บ่อย อาจจะทาให้ คนหัวร้ อน และเกลียดกัน หรือ ไม่ ค่อยชอบขี ้หน้ ากันได้ เหมือนกับที่เคยเกิดในไทย (ลอง ไป Search เพจ หรือ กลุ่ม พวก กปปส นปช ดูครับ จะรู้ ว่าทาไมในพื ้นที่แบบนั ้น ต้ องมีการสร้ างเพื่อน และ สันติภาพแบบนี ้ขึ ้น)

สุดท้ าย ไฮไลต์ที่อยากให้ ดคู ือ โครงการ 10Israel 10 Palestine เป็ นการเองคนอิสราเอล 10 คน คน


ปาเลสไตน์ 10 คน มาอยู่ด้วยกันในที่แห่งหนึง่ ที่สงบๆ เป็ นเวลา 4 วันให้ คนเหล่านั ้นได้ คยุ กัน ได้ แลกเปลีย่ น ความคิดกัน และเข้ าใจ กันและกัน

คุณ Hunda น่าจะเป็ นหนึง่ ในผู้ที่ได้ ร่วม โครงการ ได้ พดู เอาไว้ โดยโครงการนี ้เขาบอกว่าแม้ จะ ไม่ได้ แนวทางสันติภาพที่เป็ นรูปธรรมแต่อย่างน้ อยก็ได้ เพื่อน จาก 10 คน เป็ น 100 คน ไปเรื่อยๆ จนถึง 10 ล้ านคน

ยังไงก็ขอเป็ นกาลังใจให้ กบั กลุม่ นี ้นะครับ ไปติดตาม เรื่องราวดี ๆ ว่างๆจะเอาเรื่องของคนที่เขามาแชร์ เอาไว้ เนี่ย มาแปลให้ ฟังนะครับ

ไปดูได้ ที่ http://thepeacefactory.org และไป Like Page Israel Love Palestine , Palestine Love Israel แล้ วก็อื่น ๆ ของเขาด้ วยนะครับ แล้ วอาจจะได้ เห็นสิง่ ดีๆ มุมดีๆ ท่ามกลางคนที่ติดอี เอ้ ยผิดแล้ ว นัน่ มันแอดมิน ท่ามกลางความขัดแย้ งบ้ างนะครับ


ธงรวมเกาหลี หรือธง Korea Unification ไม่ได้ เป็ นธง ชาติของเกาหลีเหนือ หรือ เกาหลี ใต้ หรือ ไม่ได้ เป็ นธงทางราชการ แต่อย่างใด ลักษณะเป็ นธงสีขาว มีรูปคาบสมุทรเกาหลี สีฟ้า แต่ธงผืนนี ้แสดงถึงความเป็ นหนึง่ เดียวกันของชาว เกาหลีทั ้งสองประเทศ ถึงแม้ จะแตกต่างกันด้ วยแนวคิดการปกครอง แต่อย่างไรก็ดี เกาหลีทั ้งสองก็ยงั เป็ นพี่น้องกัน และทั ้ง สองฝั่ งต่างก็ฝันที่จะกลับมารวมเป็ นประเทศเดียวกันอีก ครั ้ง (อาจจะมีปัญหาตรงที่แล้ วจะปกครองแบบไหน อัน นี ้ค่อยว่ากัน)

ที่มีค่าสาหรับชาวเกาหลี จนที่เกาหลีใต้ มีการทาเป็ น ภาพยนตร์ เรื่อง As One ขึ ้นมาเลยทีเดียว

กีฬาเป็ นส่วนหนึ่งที่จะกระชับความสัมพันธ์ ระหว่างสองประเทศนี ้ ธงผืนนี ้ถูกใช้ แทนทีม “เกาหลี” ซึง่ เป็ นทีมผสมของนักกีฬาทั ้งสองประเทศ โดยใช้ ในในการ แข่งขันปิ งปองชิงแชมป์โลก 1991 และ ฟุตบอลเยาวชน ชิงแชมป์โลกครั ้งที่ 8 ที่โปรตุเกส โดยทั ้งสองชาติรวมเป็ น ทีมเดียวกัน ยิ่งโดยเฉพาะการแข่งขันปิ งปองชิงแชมป์โลกปี 1991 นับว่าเป็ นเรื่องมหัสจรรย์ของทีมหญิงทีมชาติเกาหลี ที่ สามารถคว้ าแชมป์มาได้ ซึง่ ทีมนั ้นมีทั ้งนักปิ งปองเกาหลี ใต้ และเกาหลีเหนือ ในการแข่งขันประเภทคู่ ก็เป็ น นักกีฬาเกาหลีใต้ 1 เกาหลีเหนือ 1 นับเป็ นความทรงจา

และต่อมาธงนี ้ก็ถูกเอามาใช้ ในกีฬาโอลิมปิ ก และ เอเชียนเกมส์ ตั ้งแต่ปี 2000 ถึง 2006 ถึงแม้ ทั ้งสอง ทีมจะแยกกันแข่งขัน แต่ในตอนที่เดินเข้ าสนามในพิธี เปิ ด เดินมาเป็ นทีมเดียวกัน โดยจะมีคนถือธงสองคน (คาดว่ามาจากเหนือใต้ อย่างละคน) และคนดูก็จะ ปรบมือให้ ทั ้งสนาม น่าเสียดายที่ตั ้งแต่โอลิมปิ ก 2008 เป็ นต้ นมา ไม่ได้ มีการนาธงนี ้มาใช้ เดินร่วมกันแล้ ว ก็เดินเข้ าสนาม เป็ นสองชาติ แต่ภาพประทับใจ ของชาวเกาหลีเหนือ และใต้ ก็ปรากฏให้ เห็นอยู่เรื่อยๆ อย่างในโอลิมปิ กหรือ เอเชี่ยนเกมส์ครั ้งที่ผ่านมาก็พอได้ เห็นครับ แหม่ก็คนพูดภาษาเดียวกัน ไม่ต้องแปลภาษา กันก็เข้ าใจ และคนเกาหลีทั ้งสองประเทศ ก็ยงั เอาธงผืน


นี ้มาใช้ เป็ นเครื่องหมายของการรวมกัน ไม่แยกกัน เช่น ถ้ าจะต้ อนรับชาวเกาหลีเหนือในเกาหลีใต้ แบบมาแข่ง กีฬา หรือ มาทาอย่าง อื่น (คงมาเที่ยวไม่ได้ ) คนเกาหลีใต้ ก็จะโบกธง ผืนนี ้ต้ อนรับ เช่นกันกับเกาหลีใต้ ไปเยือนเกาหลีเหนือ อย่างตอนประธานาธิบดีเกาหลีใต้ ไปเยือน เขาก็โบกธง ผืนนี ้ต้ อนรับเช่นกัน

ทางเว็บของเราก็หวังว่าทั ้งเกาหลีทั ้งสองจะได้ กลับมา รวมกัน อย่างเข้ าใจกัน แล้ วก็เจริญก้ าวหน้ าไปด้ วยกันนะ ครับ หวังว่าทุกอย่างจะจบลงด้ วยดีครับ และขอเป็ น กาลังใจให้ นะครับ “Korea is One”


เกือบทุกๆคนไม่มีใครไม่ร้ ูจกั ภูฏานครับ ทั ้ง เรื่องความสัมพันธ์ อนั ใกล้ ชิดของราชวงศ์ ไทย และ ภูฏาน รวมถึงการที่เขาเป็ นประเทศที่มีความสุขที่สดุ ใน โลก ถึงแม้ เขาอาจจะไม่มีตึกรามบ้ านช่อง ใหญ่โต เหมือนๆบ้ านเรา แต่ดเู หมือนเขาจะไม่ได้ สนใจอะไรตรง นั ้น เขามีความสุขที่เขาได้ เป็ นอย่างนี ้ (แล้ วก็ไม่เหมือน

ประเทศเผด็จการณ์ที่ถกู บังคับให้ มีความสุขด้ วยนะ ครับ) วันนี ้คลิปวีดีโอนี ้ อาจจะยาวสักนิดหน่อย แต่เชื่อ ว่าจะทาให้ คนที่ยงั ไม่เคยเห็นภูฏาน ได้ เห็นภาพ (โดยเฉพาะกรุงทิมพู) ส่วนคนที่เคยเห็นเคยรู้แล้ ว ก็ได้ รู้จกั มากขึ ้น ไปชมกันครับใน Bhutan The Last Paradise (ภาพหน้ าปกจาก Huffington Post)


ซีเกมส์ หรือ South East Asian Games จัดขึ ้นเพื่อส่งเสริมความ เข้ าใจและกระชับความสัมพันธ์ ไมตรีของ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พอดี ว่ามีประเทจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นี ้ ที่เข้ าไปแข่งขั นกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ครั ้งที่ 3 ที่ญี่ปนุ่ ก็เลยตกลงกันจะแข่งกีฬากัน โดย จัดตั ้งกีฬา SEAP Games หรือกีฬาแหลมทองขึ ้น มี ประเทศก่อตั ้ง 6 ประเทศ และค่อยๆเพิ่มเป็ น 7 ก่อนที่ ในปี 2520 จะเปลีย่ นชื่อเป็ ่ น SEA Games และมี ประเทศเพิ่มมาเป็ น 10 ประเทศ และน้ องใหม่ลา่ สุด ติมอร์ เลสเต เข้ าในปี 2546

คือจริงๆแล้ วซีเกมส์ ด้ าน มาตรฐานการจัดการแข่งขันมันก็ เพิ่มขึ ้นทุกปี อยู่แล้ ว แต่ด้วยบางทีช่อง โหว่ของกฎมันมีเยอะ จนไม่เรียกว่า ช่องโหว่แล้ ว เรียกว่าประตูเลยดีกว่า มันก็คงจะต้ องอยู่ที่เจ้ าภาพว่าจะ จัดการแข่งขันได้ สากลสักแค่ไหน มี Olympic Sport ครบมั ้ย ไม่ใช่แค่เอา แต่ที่เจ้ าภาพจะได้ เหรียญ การ ถ่ายทอดสดก็เหมือนกัน แต่จริงๆทางสมาพันธ์ ซีเกมส์ก็ คงจะต้ องทาเหมือน Asian Games หรือ Olympic ที่ จะต้ องควบคุมแล้ วแหละ ต้ องกาหนดมาเลยว่าจะแข่ง อะไรบ้ าง อานวยการถ่ายทอดสด หรืออะไรต่างๆเองเลย ไม่ใช่ให้ เจ้ าภาพทาเองทุกอย่าง อย่างนี ้แม่งก็สบายอะดิ แต่มนั ก็ไม่แปลกหรอกครับ ทุกๆ กีฬาเจ้ าภาพก็จะได้ สิทธิมากกว่าชาติอื่นอยู่แล้ ว แต่ทั ้งนี ้ทั ้งนั ้นต้ องแฟร์ นะ ครับ การแข่งขันครั ้งนี ้จัดขึ ้นระหว่างวันที่ 19-30 สิงหาคม เอาจริงๆฟุตบอลก็เริ่มแข่งตั ้งแต่ 14 แล้ ว อ้ าว พรุ่งนี ้แล้ วนิ สนามที่ใช้ ในการจัดการแข่งขันครั ้งนี ้ก็จะใช้

มาดูการแข่งขันครั ้งนี ้กันบ้ างดีกว่า ถ้ าไม่นบั การโกง กับการไม่ค่อยถ่ายทอดสดอะไรแบบนี ้อ่ะนะ ครั ้งนี ้ถือว่าการจัดการแข่งขันทาเป็ นแบรนด์ได้ ดี พอสมควร โลโก้ ใช้ เป็ นรูปว่าวบุหงัน ดีไซน์ออกมาเก๋ดี แล้ วก็มีคาว่า KUALA LUMPUR 2017 กีฬาซีเกมส์ครั ้ง ที่ 29 และ อาเซียนพาราเกมส์ครัง้ ที่ 9 ส่วนตัวนาโชค เป็ นเสือมลายูที่ชื่อ Rimau ริเมา มาจาก Respect ความ เคารพ, Integrity ความซื่อสัตย์, Moveการเคลือ่ นที่การ พัฒนาดีขึ ้นเรื่อยๆ, Attitude เจตคติ สปริ ต และ Unity ความเป็ นหนึง่ เดียว ถ้ าจะถามว่าเอ๊ ะ จัดได้ จริงตามที่พดู ไว้ รึเปล่า อันนี ้ไม่มนั่ ใจ

ศูนย์กีฬา KL Sport City Bukit Jalil หรือ Bukit Jalil National Stadium เป็ นหลัก มันไม่ได้ มีแค่สนามที่เรา เห็นมาเลเซียใช้ เป็ นสนามเหย้ าฟุตบอลอย่างเดียวนะ ครับ มันครบวงจรมีทั ้งว่ายน ้า กรีฑา อะไรต่างๆ ฮอกกี ้ ยิงธนู แบตมินตัน ส่วนฟุตบอลจะแข่งที่สนามอื่นๆ ด้ วย เช่นสนาม ชาร์ อลาม ,UM Stadium,Selayang Stadium ,Utim Stadium เป็ นต้ น

ยังไงก็อย่าลืมติดตามกันนะครับ เชียร์ ทีมชาติ ไทยในซีเกมส์ครั ้งนี ้ ส่วนเจ้ าภาพก็เอาให้ ดีหน่อยนะครับ ลงทุนไปเยอะอย่าอาแค่เหรี ยญทองดิครับ จัดให้ ดีๆ เพื่อนเขาจะได้ ประทับใจชาติคณ ุ แล้ วจะได้ ไปเที่ยว สร้ างเศรษฐกิจให้ แบบนี ้มันถึงจะคุ้มกับการลงทุนเป็ น เจ้ าภาพนะคับ ก็ติดตามได้ ผ่านโทรทัศน์ รวมการเฉพาะ


กิจนะครับ จะวนถ่ายทอดทางช่อง 3,5,7,9,NBT นี่แหละ ติดตามความเคลือ่ นไหวได้ ที่ www.kualalumper2017.com.my หรือ ดาวน์โหลด แอป KL2017 หรือตามเพจต่างๆของไทยนะครับ เออ ลืมไป คือคราวหน้ าคราวหลังดูด้วยนะพี่ กีฬา ซีเกมส์ก็จดั ตรงกับ ม.โลก อาเซียนพาราเกมส์ก็จัดตรง กับ Asian Indoor&Martial art Games แต่อาจจะ

เพราะเขาไม่อยากให้ เว้ นสโมสรนานมั ้ง ก็แล้ วแต่แหละ ครับ ขอขอบคุณ วิกิพีเดีย , เว็บ Official ของการแข่งขัน ด้ วยครับ


คนที่เกิดในรุ่นๆผม อ่ะ ประมาณเกือบๆ 20 นี่ หรือ รุ่นหลังจากนี ้ก็จะเคยได้ ยิน จนถึงรู้ จกั ดีกบั ไอเรื่อง อุลตร้ าแมน หลายคนก็อาจจะรู้ด้วยว่าอุลตร้ าแมนมีกี่ ตัว ชื่ออะไรบ้ าง ตอนนี ้อุลตร้ าแมนคงจะสามสิบตัวขึ ้น แล้ วแหละ อายุการทาซีรีส์อุลตร้ าก็ประมาณ 40 กว่าปี แล้ ว ที่ผมจะออกมาพูดวันนี ้อาจจะไม่มีสาระในเชิง วิชาการเท่าไหร่ ความรู้ สกึ ล้ วนๆ คือผมก็เป็ นคนนึงที่ดอู ุลตร้ าแมนมาตั ้งแต่เด็ก จนวันนี ้ก็ว่างๆอาจจะมาดูอยู่ แล้ วเมื่อกี ้ผมได้ ดอู ุลตร้ า แมนคอสมอสภาคพิเศษ Cosmos VS Jastice The Final Battle ซึง่ เป็ นหนังที่ทาต่อจากซีรีส์อุลตร้ าแมนคอ สมอส จริงๆผมก็ชอบซีรีส์คอสมอสอยู่แล้ ว รวมถึงทีก้า ด้ วย หลายคนบอกว่าอุลตร้ าแมนเป็ นหนังหลอก เด็ก หรือ หนักเด็กๆ หรือ อะไรก็ชงั่ แต่ผมว่าไม่นะ อุลต ร้ าแมนในยุคหลังๆการสร้ างเนี่ยก็จะใส่อรรถรสต่างๆให้ คล้ ายๆกับละคร ที่เสริมสร้ างความรู้ สกึ อะไรบางอย่าง กับเด็ก หรือ ผู้ใหญ่ที่กาลังดู ความรู้ สกึ แห่งความรัก ความกล้ าหาญ จินตนาการ และความสนุกสนาน ตอนนั ้นผมดูอึ ้งมากเลยกับนาฬิกาที่เปิ ดออก มาแล้ วเป็ นเครื่องสือ่ สารไปยังหัวหน้ าหน่วย หรือ อุปกรณ์ สอื่ สารรูปแบบอื่นๆ เครื่องบิน คอมพิวเตอร์ จอ ใหญ่ๆ สัมผัส หรืออะไรต่างๆ ย้ อนมาตอนนี ้ไอสิง่ ที่ผม

เคยเห็นเมื่อหลายปี ที่แล้ ว อ่าวเป็ นของจริงหมดแล้ ว แล้ วดีกว่าในอุลตร้ าแมนอีกด้ วย แต่จดุ สาคัญที่สดุ ที่ผมจะเอามาเล่าในวันนี ้คือ เรื่องของ Ultraman Cosmos VS Ultraman Jastice The Final Battle โดยเรื่องนี ้พลอตเรื่องมันคือเป็ นกลุ่มๆ หนึง่ ที่จะต้ องการมา Reset โลก นาโดยอุลตร้ าแมนจัส ติส ซึง่ มาแปลงร่างเป็ นหญิงชื่อจูลี่ พร้ อมกับยานอวกาศ มากมาย และอุปกรณ์อื่นๆ เนื่องจากเขาเชื่อว่าโลกของ เราเป็ นโลกแห่งการแย่งชิง สงคราม ทาร้ ายกัน และเชื่อ ว่าโลกของเราอาจจะนาความวิบตั ิมาสูจ่ ักรวาลได้ ซึง่ คง จะดูคล้ ายพลอตเรื่องทัว่ ๆไปของไอเหล่าพิทกั ษ์ โลก ทั ้งหลาย ในส่วนของเนื่อเรื่องก็คงไม่สปอยนะครับ ไปหา ดูเอา แต่จะบอกว่า ปั จจุบนั นี ้เรามีปัญหากันเองทั ้งในโรงเรี ยน โรงเรี ยนเราไม่ดีอย่างนู้น ไม่ดีอย่างนี ้ ที่ทางาน จนถึง ระดับประเทศชาติ และมันจะเป็ นปั ญหาที่เล็กแค่ไหนถ้ า เทียบกับทั ้งจักรวาล ถ้ าสมมติว่าอาจจะไม่มีใครมา ทาลายล้ างโลกหรอก แต่ภัยพิบตั ิหรืออะไรต่างๆของโลก ที่มนั เกิดขึ ้น เราเป็ นหนึง่ พอที่จะผ่านพ้ นเหตุการณ์ เหล่านั ้นไปได้ มั ้ย หรือถ้ ามีใครซักคนจะมาจัดการรีเซท โลกเราขึ ้นมา เราจะมีเหตุผลอะไรไปบอกเขาว่า โลกของ เราดีพอที่จะอยู่ต่อไป ปั ญหาต่างๆ การเมือง หรืออะไรก็ ตามในโลกจะเล็กลงเหลือแค่เม็ดทรายไปเลยเมื่อเทียบ กับวันนั ้น


คือต้ องชื่นชมผู้สร้ างอุลตร้ าแมน และ ภาพยนตร์ แบบนี ้อีกหลายเรื่องนะครับ ที่ทาให้ คนเราได้ คิดและระลึกถึงเหตุการณ์ข้างหน้ า ให้ คิดถึงความฝั น และที่สาคัญ ความหวัง และสิง่ ที่อยู่เหนือการต่อสู้ คือ ความเข้ าใจ นี่คือสิง่ ที่คนญี่ปนเขาสร้ ุ่ างสรรค์ สงั คมของ เขาและสังคมโลกของคนที่ดแู ละได้ อ่านบทความนี ้ทุก คนครับ


หลังจากที่เพจทางการของสมาพันธ์ ฟตุ บอล แห่งเอเชีย หรือ AFC ในชื่อ The Asian Football Confederation นาเสนอผลฟุตบอลหญิงซีเกมส์นดั สุดท้ ายระหว่างเวียดนามกับเจ้ าภาพมาเลเซีย ซึง่ ทัพ เหงียนสามารถถล่มเจ้ าภาพมาเลเซียขาดลอยถึง 6-0 และคว้ าแชมป์ไปครองได้ สาเร็จ แต่คนไทยที่รอคอยอยู่ คงจะเสียใจไม่น้อยที่พลาดเหรี ยญทองในการแข่งขัน ครั ้งนี ้ ตอนนั ้นผมเองหลับซะแล้ ว เนื่องจากมีอาการเจ็บ คอมาก การเป็ นเจ้ าภาพของมาเลเซียครัง้ นี ้คงเห็นได้ อย่างชัดเจนสาหรับคนไทยและประเทศอื่นๆ ว่าเจ้ าภาพ อย่างมาเลเซียเองจัดได้ ต่ากว่ามาตรฐาน ไม่สิ มาเลเซีย จัดได้ ดีครับ จะเห็นจากสนามแข่งขัน แบรนด์ดิ ้ง และ อื่นๆ ถือว่ายากที่ประเทศแถบๆ นี ้จะตามทัน แสดงว่า น่าจะตั ้งใจโกงมากกว่า จากเว็บไซต์ Thestandard.co เขานาการ แข่งขันครั ้งนี ้เปรียบเทียบกับการแข่งขันรักบี ้ชิงแชมป์ โลก 1995 ที่ประเทศแอฟริกาใต้ ที่เจ้ าภาพได้ แชมป์ ซึ่ง รักบี ้เป็ นกีฬาของคนขาว แต่กีฬานี ้ทาให้ คนขาวกับคน ดาที่เคยเคืองกันแทบตายกลับมารักกันและภูมิใจใน ชาติเดียวกัน นัน่ เป็ นผลงานชิ ้นโบว์แดงของ ประธานาธิบดีเนลสัน แมนดาลา จนเขาบอกว่า มาเลเซียจะทาตามรึเปล่าเพราะว่าในมาเลเซียตอนนี ้มี ปั ญหาเรื่องการเมืองใช่ย่อยเหมือนกัน และมีปัญหา อย่างยาวนานมาแล้ วด้ วย เพียงแต่เราไม่ร้ ูแค่นั ้นเอง ความประทับใจหนึง่ ที่ผมได้ เห็นในครั ้งนี ้ ตรง กับหลักการสร้ างชาติอย่างหนึง่ ครับ (หลักการสร้ างชาติ ก็เช่นการสร้ างสัญลักษณ์ ด้วยกัน สร้ างประวัติศาสตร์ ร่วมกัน ความภาคภูมิใจด้ วยกัน) สาหรับครั ้งนี ้คือการ สร้ างประวัติศาสตร์ อันน่าหรือไม่น่าจดจาร่วมกัน ผม เห็นคอมเมนต์ของคนไทยที่พิมพ์เป็ นภาษาอังกฤษ กล่าวแสดงความยินดีต่อชาวเวียดนาม (ผมคิดว่าด้ วย

ใจจริ งนะ) และชาวเวียดนามก็ตอบกลับไทย ด้ วยความ ขอบคุณและเสียใจกับระบบการแข่งขัน คอมเมนต์ต่างๆของประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ยกเว้ นมาเลเซียคงไปทางเดียวกัน ไม่ใช่แค่เรื่องฟุตบอล แต่คงเป็ นหลายเรื่อง ที่เราพบเจอ ร่วมกัน ทั ้งกลโกงต่างๆ การไม่เป็ นมืออาชีพ บางเรื่องก็ ไม่ร้ ูจักผ่อนปรน หรืออะไรต่างๆทาให้ ทกุ ๆประเทศเข้ าใจ เรื่องนี ้ด้ วยกัน และเป็ นหนึง่ เดียวกัน ผมดีใจที่ได้ เห็นคนไทย และคนในประเทศ แถบๆ นี ้ มองออกว่าปั ญหามันมาจากที่ใด และไม่โทษ คนที่ไม่ได้ ผิด เช่นเราไม่ไปด่าเวียดนาม ที่ได้ แชมป์ เพราะเขาก็ทาถูกแล้ ว เขาทาตามกติกาทุกอย่าง และ เขาก็ถือว่าเหนือกว่าเรา ส่วนทีมชาติมาเลเซียอาจจะไม่ มีล้ นุ จึงส่งตัวสารองลง ส่วนตัวก็เข้ าใจได้ นะครับ เอามา ลองสนาม เพื่อโอกาสต่อๆไป ปั ญหาคือเขาควรจะเตะ สองนัดพร้ อมกันมากกว่า มันจะมีผลเยอะ ดูอย่างนัดที่ลิ เวอร์ พลู เจอกับนิวคาสเซิลแล้ วก็แมนซิตี ้เจอกับเวสต์แฮม นัดสุดท้ ายลุ้นแชมป์ Premier League 2013-14 ตอน


นั ้นผมยังจาได้ คนพากย์ยงั บอกเลยว่า ถ้ าลิเวอร์ พูลนา นิวคาสเซิลก่อน บางทีแมนซิอาจจะไขว้ เขวจนอาจจะแพ้ ก็ได้ เพราะกดดัน หรือแม้ แต่นดั สุดท้ ายของ The Championship อังกฤษปี ล่าสุดระหว่างไบรต์ตนั แอนด์ โฮบอาวเบี ้ยน กับ แอสตัน วิลล่า และก็นิวคาสเซิล กับ ทีมอะไรซักทีม ตอนนั ้นไบรต์ตนั เกือบจะได้ แชมป์อยู่แล้ ว ถ้ าชนะ แต่สดุ ท้ ายก็เสมอไปในบ้ านของวิลล่า และส่งผล ให้ นิวคาสเซิลคว้ าแชมป์เป็ นที่สดุ จะเห็นได้ ว่านัด สุดท้ ายของลีกมันก็จะต้ องแตะพร้ อมกัน เพื่อความเท่า เทียมกันของการแข่งขัน และเพื่อความสนุกด้ วย ในฐานะของคนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก็ต้อง ขอขอบคุณ เจ้ าภาพอย่างมาเลเซียนะครับ ที่สามารถ จัดการแข่งขันกีฬาได้ ตามวัตถุประสงค์ของซีเกมส์ คือ สนับสนุนให้ เกิดความรักสามัคคีในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ถึงแม้ จะไม่มีเจ้ าภาพอยู่ในนั ้นก็ตาม แต่ก็ทาให้ ประเทศอื่นๆ รู้สกึ เป็ นหนึง่ เดียวกัน เชื่อดิถ้าประเทศที่ สองเกือบได้ เหรียญทองใกล้ ๆกับมาเลเซีย ทุกประเทศ จะมาเชียให้ เขาได้ เจ้ าเหรี ยญทองแน่นอน

และเราก็จะขอตอบแทนมาเลเซียด้ วยการเชียร์ ทีมชาติไทยของเรา และทีมอื่นทั ้งหลายที่แข่งกับ มาเลเซียให้ ชนะมาเลเซียทั ้งหมด และขอให้ มาเลเซียได้ เหรียญน้ อยที่สดุ ที่จะเป็ นไปได้ นะครับ เพื่อผู้นามาเลเซีย จะได้ ไม่ได้ คะแนนเสียงความนิยมมากเกินไป และ หลังจากการเลือกตั ้ง มาเลเซียจะได้ มีผ้ นู าคนใหม่ที่จะ พามาเลเซียผ่านพ้ นจากอะไรแบบนี ้สักที คนแม่งเคือง มาเลย์ กนั ทั ้งอาเซียนแล้ ว ท้ ายที่สดุ ก็คือ อย่าคิดมากนะครับ ดูกนั สนุกๆ สาหรับซีเกมส์ครั ้งนี ้ สิง่ ที่สาคัญสาหรับซีเกมส์ทกุ ครั ้ง สาหรับประเทศไทยแล้ วอาจจะไม่ใช่แค่เหรียญ เหรี ยญที่ ได้ มนั คือความภาคภูมิใจ และ กาลังใจ ที่เราจะก้ าวเข้ า ไปสู้การแข่งขันชิงแชมป์เอเชีย ชิงแชมป์โลก เอเชี่ยนเกมส์ และ โอลิมปิ กต่อไป ทั ้งประเทศไทย และ ความก้ าวหน้ าขึ ้นของนักกีฬาทุกประเทศเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ นี ้ Rising Together ปล.หวังว่าติมอร์ เลสเต จะได้ เหรียญซักเหรียญกลับ บ้ านนะครับ ขอบคุณภาพจาก Facebook Kuala Lumpur 2017 และ เว็บ Official ของการแข่งขัน


ทาชเคนต์เนี่ยมีสภาพเป็ นเมืองครั ้งแรก ประมาณศตวรรษที่ 4-5 และเมื่อศตวรรษที่ 6 เมืองนี ้ ก็ได้ เป็ นของพวก Turkic Kaganate หรือ ชาวเติร์ก โดยเมืองชื่อ ชาช่า และอีกศตวรรษต่อมาก็ตกไปอยู่ ในมือของพวกอาหรับที่พิชิตเอเชียกลาง และได้ เปลีย่ นชื่อเมืองนี ้เป็ น บินเคนต์ และมีการปรับเมืองนี ้ ให้ เป็ นเมืองของศาสนาอิสลาม มีการทาลาย สวัสดีครับ พบกับบิ๊กเอเชียอีกแล้ ว วันนี ้จะเป็ น บทความแปลด้ วย ใส่เพิ่มด้ วยนะครับ จะเล่าเรื่อง เกี่ยวกับความเป็ นมาของกรุงทาชเคนต์ เมืองหลวงของ ประเทศอุซเบกิสถาน ซึง่ หลายคนคงจะได้ ยินชื่อนี ้กัน อย่างดี อาจจะได้ ยินมาจากฟุตบอล ที่ไทยเคยแพ้ มา 20 นัดอุ่นเครื่อง หรือ อาจจะได้ ยินมาจากอย่างอื่นอย่าง ใด

สิง่ ก่อสร้ างทางวัฒนธรรมอื่นๆที่มีมาก่อน ชาวอาหรับก็ อยู่ที่นี่ได้ ประมาณ 2 ศตวรรษ และเมืองนี ้ก็ตกไปเป็ น ของ Samanid Empire หรือ จักรวรรติซามานิด ซึง่ เป็ น จักรวรรดิอิสลามจักรวรรดิหนึ่ง และตกไปอยู่ใต้ การ ปกครองของ Kara-Khanids และ the Kara-Khitans

อุซเบกิสถานเป็ นประเทศหนึง่ ในเอเชียกลาง เคยเป็ นส่วนหนึง่ ของสหภาพโซเวียดมาก่อน ได้ รับเอก ราชในปี 1991 สาหรับเมืองหลวงอย่างกรุงทาชเคนต์ อาจจะไม่ได้ ฟฟู่่ าเหมือนกรุงเทพของเรา แต่เมืองของเขา ก็มีประวัติใช้ ได้ เลย เอาข้ อมูลมาจากเว็บของเทศบาล ทาชเคนต์ ภาษาอังกฤษ เขาบอกว่าทาชเคนต์เนี่ยเป็ นเมืองที่มีอายุ ราวๆ กว่า 2000 ปี มาแล้ ว หลักฐานชิ ้นแรกเกี่ยวกับเมือง นี ้ถูกพบที่จีน แต่ก่อนช่วงซักปี สองปี ก่อนคริสตการเขา เรียกเมืองนี ้ว่า Shi, Chzhemi, Yueni พอมาช่วงยุค กลาง (ยุคศาสนาเรืองอานาจอ่ะ) เขาเรียกว่า ShashTepa อ่านว่า เชคเทป้า หรือเปล่านี่แหละ และพอมาใน ศตวรรษที่ 11 เขาถึงมาเรียกเมืองนี ้ว่า ทาชเคนต์ ซึง่ แปลว่า เมืองแห่งหิน มาจากภาษาอุซเบกที่ว่า tosch แปลว่า หิน

ช่วงศตวรรษที่ 13 ทาชเคนต์ ถกู ยึดโดยเจงกิส ข่าน และถูกสืบทอดโดย ตีมูร์ นักรบชาวมองโกลผสม เติร์ก ได้ แต่งงานกับคนในราชวงศ์เจงกิสข่าน และได้ สร้ างอาณาจักรตีมูร์ควบคุมพื ้นที่ในเอเชียจานวนมาก อุซเบกิสถาน และ ทาชเคนต์เองก็เป็ นส่วนหนึ่งของ อาณาจักรของตีมรู ์ ด้วย ช่วงตั ้งแต่ถกู ยึดโดยเจงกิสข่าน ทาชเคนต์เจริญขึ ้นเรื่อยๆ จนเป็ นหนึง่ ในสีเ่ มืองที่เจริ ญ


ที่สดุ ของอาณาจักรของติมูร์ และพัฒนาเป็ นเมืองหลัก ในการติดต่อค้ าขายกับรัสเซีย มาต่อกัน ในปี 1865 ทาชเคนต์ ก็กลายเป็ น เมืองๆหนึง่ ของรัสเซีย เช่นเดียวกับเมืองหลายๆ เมืองใน เอเชียกลาง เมืองได้ ถูกแบ่งเป็ นเมืองเก่า และ ส่วนเมือง ใหม่ ย่านเมืองเก่าเป็ นย่านของศิลปิ น พ่อค้ า แม่ค้า ย่าน เมืองใหม่เป็ นสวน และโรงงงานอุตสาหกรรม ต่อมาเมื่อ รัสเซียปฏิรูปเป็ นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียด หรือ สหภาพโซเวียด ซึง่ สหภาพโซเวียดจะประกอบด้ วย ประเทศหลายๆประเทศ เช่น โซเวียดรัสเซีย โซเวียดอื่นๆ เป็ นประเทศที่ไม่มีเอกราช ในสหภาพโซเวียด ทาชเคนต์ ก็อยู่ในสหภาพโซเวียดเช่นกัน โดยอยู่ในโซเวียดเตอร์ เก สถาน และเป็ นเมืองหลวงของโซเวียดเตอร์ เกสถานด้ วย ถ้ าถามว่าโซเวียดเตอร์ เกสถาน คือ ตรงไหน ก็คือ ประเทศที่มีคาว่าสถานๆในปั จจุบนั นัน่ แหละครับ ได้ แค่ อุซเบกิสถาน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน เติร์กเมนิสถาน และ คีร์กีซสถาน ในระหว่างสงครามโลกครั ้งที่สอง ทาชเคนต์ เป็ นเมืองที่มีการเจิรญเติบโตอย่างรวดเร็วมาก พวก อุตสหกรรมภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์ พวกเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์ ทั ้งหลายจากรัสเซียอพยบมายังทาชเคนต์ เป็ นจานวนมาก ทาชเคนต์เป็ นที่พกั อาศัยของคนในช่วง สงครามโลกถึงกว่าแสนคน และได้ รับการขนานนามว่า เมืองแห่งขนมปั ง ในปี 1966 เกิดแผ่นดินไหวครั ้งใหญ่ ทาให้ ทาง โซเวียดต้ องมาปรับปรุ งเมืองนี ้อยู่พักหนึง่ และหลังจาก สหภาพโซเวียดล่มสลายในปี 1991 ทาชเคนต์ได้ เป็ น

เมืองหลวง ของประเทศใหม่ ที่ชื่อสาธารณรัฐอุซเบกิส ถาน มีประชาชนอาศัยราวสองล้ านคน และเป็ นเมืองที่ ใหญ่ที่สดุ ในเอเชียกลาง ณ ปั จจุบนั ขอขอบคุณ ข้ อมูลจาก http://tashkent.uz/eng/article/8384.html และ ข้ อมูล เพิ่มเติมจากวิกิพีเดียครับ


ว่าต้ องเป็ นชาวมาเลย์ หลังจากที่ครั ้งที่แล้ วน่าจะเป็ น ชาวจีน ซึง่ สาหรับผู้สมัครที่เป็ นเชื ้อสายมาเลย์แล้ วก็มี เพียงเธอที่ผ่านคุณสมบัติทั ้งหมด แต่บางส่วนก็คิดว่าไม่เหมาะสม เนื่องจาก ประเทศประชาธิปไตยอย่างสิงคโปร์ เรื่องนี ้ควรจะได้ รับ การตัดสินจากประชาชนซึง่ เป็ นเจ้ าของประเทศอย่าง แท้ จริง

ฮาลิมาห์ ยาคอบ อดีตส.ส.พรรคกิจประชาชน (พรรครัฐบาลของสิงคโปร์ ) สาบานตนเข้ ารับตาแหน่ง ประธานาธิบดีของสิงคโปร์ อย่างเป็ นทางการแล้ ววันนี ้ โดยครั ้งนี ้ไม่มีการเลือกตั ้งประธานาธิบดี เพราะเธอเป็ น เพียงคนเดียวที่สมัครแล้ วผ่านคุณสมบัติ สาหรับสิงคโปร์ ครัง้ นี ้ บางส่วนก็คิดว่า เหมาะสม เพราะสิงคโปร์ ประกอบไปด้ วยคนหลายชาติ หลายศาสนา เพื่อความดูร้ ู สกึ เป็ นเจ้ าของประเทศ ร่วมกัน การเลือกตั ้งประธานาธิบดีครั ้งนี ้ถูกกาหนดมา

อนึง่ ประธานาธิบดีของสิงคโปร์ นั ้นไม่มีอานาจ บริหารใดๆ นะครับ เป็ นเพียงประมุขของประเทศ และ สัญลักษณ์ทางพิธีการเท่านั ้น แต่อาจจะมีอานาจอบ่าง อื่นบ้ างนิดหน่อย ขอขอบคุณ Channel NewsAsia


กีฬาเอเชี่ยนอินดอร์ มาเชียลอาร์ ตเกมส์ครั ้งที่ 5 ซึง่ เป็ นกีฬาที่ทางสภาโอลิมปิ กแห่ง เอเชียจัดขึ ้นเพื่อให้ นกั กีฬาที่แข่งกีฬาที่ไม่ได้ บรรจุในเอเชี่ยนเกมส์ ประเภทกีฬาในร่ ม และกีฬาศิลปะการต่อสู้ได้ มีโอกาสได้ แสดงฝี มือ ความสามารถ ในระดับเอเชีย และปี นี ้ ยังมีทีมจากโอเชียเนียมาร่วมด้ วย กีฬาก็เช่น ฟุตซอล มวยไทย กรี ฑาในร่ ม บาสเกตบอล3×3 หรือจะเป็ นกีฬาอีสปอร์ ตต่าง ๆ การแข่งขัน ครั ้งนี ้จัดขึ ้นที่กรุงอาชกาบัต เมืองหลวงของประเทศเติร์ก เมนิสถาน ที่ตั ้งตระหง่านอยู่ในเอเชียกลาง เคยเป็ นส่วน หนึง่ ของสหภาพโซเวียด ที่จะได้ โอกาสเปิ ดตัวประเทศ ให้ กบั คนทั ้งโลกได้ เห็น ด้ วยสนามกีฬาทีสร้ างใหม่อย่าง มาตรฐาน และการต้ อนรับที่ประทับใจประเทศทุก ประเทศ โดยทางเจ้ าหน้ าที่ของไทยก็ยังชื่นชมการ จัดการแข่งขันในครั ้งนี ้ว่าจัดได้ มาตรฐานเป็ นอย่างมาก สาหรับพิธีเปิ ดกีฬานี ้ได้ จ้างออแกไนซ์ ระดับ โลก ที่เคยทาให้ กบั บราซิลในพิธีเปิ ดปิ ดโอลิมปิ ก 2016 และเคยทาให้ รัสเซียในพิธีเปิ ดปิ ดกีฬาโอลิมปิ กฤดูหนาว

ในปี 2014 รวมถึงงาน World Expo อีกด้ วย มีการ Import อุปกรณ์เทคโนโลยีอนั ทันสมัยเข้ ามามากมาย ผสมปสานกับเรื่องราวของเติร์กเมนิสถาน ส่วนเรื่องกีฬา เจ้ าภาพเองก็ถือว่าประสบ ความสาเร็ จอย่างมาก ตอนนี ้แข่งมาเหลืออีกประมาณ 5 วัน เติร์กเมนิสถานยังนามาเป็ นเบอร์ 1 ของตาราง เหรียญทอง มีเหรียญนาอันดับสองพอสมควรเลยทีเดียว ส่วนที่สองก็ไม่ใช่ใคร ประเทศไทยของเรานัน่ เองครับ ครั ้งนี ้คงจะทาให้ คนเอเชียที่ติดตามกีฬานีด้ร้ ูจักประเทศ นี ้มากขึ ้น และยังไงก็มาเชียร์ ทีมชาติไทยให้ ทาผลงานได้ ดีในการแข่งขันครั ้งนี ้ด้ วยนะครับ ฟุตซอลที่ดเู ป็ นไฮไลต์ ของการแข่งขันนี ้ เราก็เข้ าสู่รอบรองชนะเลิศ ต้ องมาเจอ กับอิหร่านเจ้ าเก่า ต้ องมาดูว่าเราจะผ่านไปได้ หรือไม่ ขอบคุณภาพจาก เพจ Futsal Thailand – ฟุตซอลไทย แลนด์ And Thank You from Ashgabat 2017 5th Asian Indoor & Martial Arts Games


หนานจิง (Nanjing) แปลว่าเมื่อหลวงทางทิศ ใต้ Nan แปลว่าใต้ jing แปลว่าราชธานี หรือ บางคนก็ เรียก นานกิง หรือ นานจิง เป็ นเมืองหลวงของมณฑล เจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองนี ้เคยเป็ นเจ้ าภาพ จัดการแข่งขันกีฬายูธโอลิมปิ กเกมส์ในปี 2014 และเอ เชี่ยนยูธเกมส์ 2013 มาแล้ ว จะมาพูดถึงหนานจิงหรือนานกิง สิง่ ที่ยงั เต็ม ไปในเมืองนี ้คือประวัติศาสตร์ ที่ยิ่งใหญ่ ทั ้งน่าและไม่น่า จดจาของจีนที่ได้ ฝังอยู่ที่นี่ หนานจิงเคยเป็ นเมืองหลวง ของจีนในสมัยราชวงศ์ต่างๆ หลายครัง้ และ ครั ้งล่าสุด คือเป็ นเมืองหลวงของจีนในสมัยสาธารณรัฐจีน (ช่วงเวลาประมาณ 40 ปี หลังจากการล้ มราชวงศ์ และ ก่อนการตั ้งคอมมิวนิสต์จีน) และเคยเป็ นสถานที่ที่สดุ จะไม่น่าจดจาอย่างการสังหารหมู่ที่นานกิง ซึง่ ถือเป็ น ตราบาปชิ ้นใหญ่ที่ญี่ปนได้ ุ่ เคยทากับจีนเอาไว้ ในสมัย สงครามโลกครัง้ ที่สอง แต่มาถึงวันนี ้หนานจิง แม้ จะไม่ใช่เมืองหลวง ของจีนอีกแล้ ว แต่ก็มีการพัฒนาไปมาก และผสมผสาน กันอย่างกลมกลืนระหว่างวัฒนธรรมเก่าแก่ และ ความ ทันสมัย สถานที่ทางประวัติศาสตร์ ที่น่าไปของหนานจิงก็เช่น 1. อนุสรณ์ สถาน ดร.ซุน ยัต เซ็น ซึง่ เป็ นคนที่ คนจีนทั ้งนิยมคอมมิวนิสต์ และ หัวประชาธิปไตยรัก เขา

เป็ นผู้นาการปฏิวตั ิล้มล้ างราชวงศ์ชิง และนามาสู่ สาธารณรัฐจีนที่ปกครองแบบประชาธิปไตย(ถึงแม้ จะ เป็ นช่วงเวลาสั ้นๆ และค่อนข้ างจะเป็ นแบบพรรคเดียว) สุสานนี ้ตั ้งอยู่ที่หนานจิงเช่นกัน 2. สุสานราชวงศ์หมิง เป็ นหนึง่ ราชวงศ์ที่ใช้ หนานจิงเป็ นเมืองหลวง ซึง่ เป็ นสุสานของปฐมกษัตริ ย์ แห่งราชวงศ์หมิง รวมถึงมีกาแพงเมืองสมัยราชวงศ์หมิ งอีกด้ วย 3. อุทยานราลึกเหตุการณ์สงั หารหมู่ที่นาน กิง เป็ นอุทยานที่แสดงการราลึกถึงผู้ที่สญ ู เสียจาก เหตุการณ์การสังหารหมู่ที่นานกิง ซึง่ เป็ นธรรมดาที่เขา จะมีอทุ ยานราลึก และมีการทาพิธีราลึกด้ วยในวันที่ 13 ธันวาคม


นอกจากสถานที่ทางประวัติศาสตร์ แล้ วหนานจิงยังมี ความสวยงามในแง่ความทันสมัย และเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวชั ้นยอดอีกด้ วย

หนานจิงมีสว่ นที่เป็ นเมืองเจริญมากๆ มากมาย มีย่านการค้ าและเศรษฐกิจเช่นย่าน ซินเจียโข่ว และผสมผสานด้ วยธรรมชาติ และวัฒนธรรมอันน่า งดงาม ทั ้งวัดขงจื๊อ หรือ สะพานข้ ามแม่น ้าแยงซี หรือ แม้ แต่ทะเลสาบซุนวู ซึง่ ก็เป็ นตัวชูโรงของหนานจิง เช่นกัน


สือ่ จะเป็ นยังไง แต่ที่นี่ และที่ไหน ไม่มีอะไรมา ทาลายความเป็ นคน และเป็ นชีวิต จากเราไปได้

บนพื ้นที่ 6,020 ตารางกิโลเมตรของ ปาเลสไตน์ (เล็กเป็ น 3 เท่าของอิสราเอล เล็กเป็ น 85 เท่าของประเทศไทย แต่ใหญ่เป็ น 8 เท่าของสิงคโปร์ ) ถึงแม้ ปาเลสไตน์เองอาจจะได้ ใช้ พื ้นที่เหล่านี ้ ไม่เต็มที่ และอาจจะน้ อยกว่าส่วนที่เขาควรได้ รับ แต่ พื ้นที่ขนาดนี ้ก็มากพอที่พวกเขาจะทาอะไรบางอย่าง ก่อนที่น ้าหมึกปากกาของผู้ชายคนนึง จะบรรจงจรดลง ในคารับรองสถานะของเยรูซาเล็ม ที่อาจจะทาให้ ภาพ การประท้ วง และไฟทางการเมืองลุกโชนในปาเลสไตน์ อีกครั ้ง หลังจากก่อนหน้ านี ้ถึงจะมีเรื่องกับอิสราเอลอยู่ บ้ าง แต่สภาพโดยรวมปาเลสไตน์ไม่ได้ อยู่ในสภาวะ สงคราม สงบ และดาเนินชีวิตไปเหมือนพวกเราทุกคน

1 สัปดาห์ที่ผ่านมา ที่กรุงรอมัลลอห์ เมืองหลวงในทางปฏิบตั ิของปาเลสไตน์ ในเวสต์ แบงค์ นอกเหนือจากการเดินขบวนประท้ วง อีก ด้ านหนึง่ ของเมือง การรวมตัวครั ้งยิ่งใหญ่ ของ บริษัททางด้ านเทคโนโลยีในปาเลสไตน์ได้ เกิดขึ ้น ในงาน Palestine Technology Week หรือ ที่เรียกว่า Expotech ถือเป็ นงาน ไอทีที่ใหญ่มากๆ เทคโนโลยีใหม่ๆของปาเลสไตน์ จะถูก เผยแพร่ขึ ้นที่นี่ ริบบิ ้นสีเขียวได้ ถูกตัดลงพร้ อมกับเสียงปรบมือ ในงานเปิ ดตัวเทคโนโลยี 3G ของบริษัท JawwaL ค่าย มือถือชั ้นนาของปาเลสไตน์ พร้ อมทั ้งเหล่าดารา บุคคล สาคัญ รวมทั ้งนักฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์ ต่างมาร่ วม โชว์ตวั และทดลองใช้ บริการใหม่ในบ้ านเขา (ถึงแม้ จะ ช้ ากว่าเราสักพักละ)

แม้ ว่าตอนนี ้ไฟการเมืองอาจจะลุก แต่วิถีชีวิต ทุกอย่างของชาวปาเลสไตน์ก็คงจะดาเนินต่อไป และ ไม่ได้ ต่างอะไรกับคนทัว่ ๆไปในโลก แม้ ว่าภาพที่เห็นจาก

นอกเหนือจาก JawwaL Paltel คู่แข่งคน สาคัญก็ได้ นาเทคโนโลยีสดุ ทันสมัย มาให้ ชาว ปาเลสไตน์ได้ ชมในครั ้งนี ้เหมือนกัน ทั ้งเครื่องเล่นเกม แบบ VR ระบบเน็ทเวิร์คต่างๆ มากมายที่มานาเสนอ ปาเลสไตน์ไม่ได้ เป็ นอาหรับที่เคร่งเหมือนอย่าง ซาอุดิอาระเบีย คูเวต หรือเป็ นอิสลามเคร่ งๆ แบบ อิหร่าน ความเป็ นอาหรับสมัยใหม่ สบายๆ หลากหลาย


และดูมีความเป็ นอิสระค่อนข้ างสูง พบได้ ในปาเลสไตน์ รวมถึงเทคโนโลยีที่นี่ไม่ได้ มีการบล็อกแต่อย่างใด ทาให้ การพัฒนาด้ านเทคโนโลยี ความครีเอทีฟต่างๆ การไลฟ์ สดงานผ่าน Facebook พบได้ ในปาเลสไตน์เช่นกัน หรือ แม้ แต่พวกเพย์เมนต์ ก็ยงั มี PALPAY โดยสามารถูดได้ ที่ Facebook Palestine’s Technology Week [expotech]

มาดูที่เมืองของปาเลสไตน์กันบ้ าง มีเว็บไซต์ เว็บไซต์หนึง่ ชื่อ Welcome to Palestine ซึง่ ผมไม่แน่ใจ ว่าคนทาเป็ นชาวปาเลสไตน์หรือไม่ แต่ก็น่าจะใช่ เว็บนี ้ เขาได้ กล่าวไว้ ว่า

ยินดีต้อนรับสูป่ าเลสไตน์ ในด้ านของชีวิตของคนในแต่ ละวัน ประเทศที่สวยงาม และ ผู้คนที่น่าหลงไหล อย่าง ที่บอก นอกเหนือแง่มมุ ของสงคราม ปาเลสไตน์ แม้ จะ มีพื ้นที่เล็กน้ อย แต่ก็เต็มไปด้ วยความสวยงาม ทั ้งเมือง สถานที่ และ ความเป็ นมนุษย์ของทุกคนที่นี่ เมืองที่คง อาจจะได้ ยินชื่อบ้ างของปาเลสไตน์ ก็จะมีเช่น รอมมัลลอห์ เยรูซาเล็ม(ส่วนหนึง่ ที่ยงั ไม่โดนอิสราเอล ยึดไป) เบธเลเฮ็ม ฮีบอร์ น หรือ แม้ แต่กาซ่าเองก็ตาม

รอมัลลอห์ เป็ นเมืองหลวงในทางปฏิบตั ิ ครา ครั่งไปด้ วยผู้คน และจากที่ดูคลิปต่างๆ ที่นี่ค่อนข้ างที่ จะครีเอทีฟพอสมควร เรามักจะได้ เห็นผู้คนแต่งชุด ประหลาดๆ มาขายกาแฟตามท้ องถนน เพื่อเรียกจุด สนใจ ด้ วยภูมิประเทศที่สวยงามของดินแดนปาเลสไตน์ และ อิสราเอล ทาให้ เมืองของปาเลสไตน์ ก็ค่อนข้ าง สวยงามไปด้ วย ถึงแม้ จะรกๆ ไปหน่อยก็ตาม


และเมืองนี ้ยังเป็ นที่ฝังศพของยัตเซอร์ อาราฟั ต อดีตผู้ ั นศูนย์ รวมของ น ้าผู้ยิ่งใหญ่ของปาเลสไตน์ และยังเป็ เทคโนโลยีของปาเลสไตน์ อย่างที่กล่าวไว้ ตอนต้ นอีก ด้ วย

แล้ วถามว่าเมืองอื่นๆ เป็ นยังไง ก็ลองมาดูย่าน Shinjil ซึง่ อยู่ใกล้ ๆ กับรอมมัลลอห์ ก็จะเป็ นเมือง ประมาณนี ้ ซึง่ อาจจะมีบ้านเมืองที่เป็ นหินผุพงั บ้ าง เล็กน้ อย

มาถึงในเฮบรอน บ้ านเมืองยังคงเป็ นคล้ ายๆ เดิมกับที่ เมืองอื่นๆ ของปาเลสไตน์

เมืองอื่นๆ รวมถึงแถบชานเมืองก็ยังมีภาพให้ ดู อีกมากมายในเว็บ www.welcometopalestine.com แต่เราจะขอปิ ดท้ ายด้ วยเมืองเบธเลเฮ็ม อีกเมืองที่ สวยงาม และ ยังเป็ นเมืองที่สาคัญของชาวคริ สต์ ด้ วย ชาวปาเลสไตน์ นอกจากเป็ นชาวมุสลิมแล้ ว ยังมีชาว คริ สต์ และ ชาวยิวที่เรี ยกว่า Palestinian Jews อีกด้ วย

เบธเลเฮ็มยังคงสวยงามอยู่เช่นเคย แต่ที่นี่ก็ยงั เป็ นหนึง่ ในที่ตั ้งของกาแพง ที่รัฐบาลอิสราเอลตั ้งขึ ้นมา เพื่อป้องกันชาวปาเลสไตน์ เข้ าสูอ่ ิสราเอล


จิตรกรรมจากศิลปิ นชาวเมือง ก็คือคนทั่วไปใน เมือง ได้ ถกู แต่งแต้ มไปในกาแพงในฝั่ งปาเลสไตน์ ซึง่ กาแพงนี ้เป็ นตัวสาคัญที่ตดั ขาดปาเลสไตน์ กับอิสราเอล หรือ กับพื ้นที่บางส่วนของโลกนี ้ และทาให้ ปาเลสไตน์ที่ ได้ รับการยอมรับจากสหประชาชาติในฐานะรัฐ (ถึงจะ ยังไม่ได้ เป็ นสมาชิกก็ตาม) และได้ รับรองเอกราชจาก หลายร้ อยประเทศทัว่ โลก ยังไม่สามารถเป็ นเอกราชที่ สมบูรณ์ได้ ด้ วยความที่เขาไม่สามารถที่จะเดินไปนู่นไป นี่ข้างนอกได้ โดยไม่ได้ รับอนุญาติจากประเทศอื่น มีรายการโทรทัศน์ และรายการใน Youtube เดินทางเข้ าไปในปาเลสไตน์ทั ้งของไทย และของ ต่างชาติ เข้ าไปถามความรู้ สกึ กับชาวปาเลสไตน์ว่าเขา ต้ องการอะไร ซึง่ ส่วนใหญ่จะตอบเป็ นเสียงเดียวกันว่า ต้ องการสันติภาพ และต้ องการสิทธิเสรีภาพที่เขาจะไป ไหนก็ได้ สามารถเดินทางไปเที่ยวในต่างประเทศได้ ซึง่

ปาเลสไตน์ยงั ไม่มีตรงนี ้ เนื่องจากความขัดแย้ งที่มีอยู่กบั อิสราเอล และดินแดนที่ไม่แน่นอน ชาวปาเลสไตน์ อาจจะไม่ได้ ต้องการดินแดนทั ้งหมดคืน และเรื่องนี ้ไม่ใช่ สงครามศาสนาแต่อย่างใด เราก็คงไม่ร้ ูชาวปาเลสไตน์จะได้ สิ่งที่เขา ต้ องการเมื่อไหร่ รัฐบาลอิสราเอลเองจะมีความจริงใจใน การแก้ ปัญหาขนาดไหน รวมถึงข้ อที่ไม่ลงรอยกันทั ้งเรื่อง เยรูซาเล็ม หรือ เรื่องเขตแดนต่างๆ ก็ยงั เป็ นอุปสรรค ที่ ทาให้ การเจรจาสันติภาพ และความสันติที่แท้ จริงของ คนปาเลสไตน์ และ รวมถึงคนอิสราเอลก็จะต้ องไม่มานัง่ คิดมากในเรื่องว่าจะต้ องมีใครหายไปอีกกี่คน เรา เพียงแต่หวังว่าสักวันนึง ความคิดที่ถกู ปลูกฝั งมาในหัว ของเด็กชาวอิสราเอล และเด็กชาวปาเลสไตน์ ในเรื่อง เกี่ยวกับสิทธิในดินแดนนี ้แที่แตกต่างกัน จะถูกปรับปรุง ให้ เห็นถึงความจริง และความเป็ นไปได้ ของสันติภาพ ก็ คงอาจจะเกิดขึ ้นได้ จากคนรุ่นนั ้น หรือถ้ าทั ้งหมดนี ้ไม่ สามารถเกิดขึ ้นได้ เลย อย่างน้ อยก็ขอช่วยพยุงภาพแบบ นี ้ให้ เกิดขึ ้นไปเรื่อยๆ จนกว่าสันติภาพที่แท้ จริงจะเกิดขึ ้น


ทวีปเอเชียตั ้งอยู่บนแผ่นเปลือกโลกยูเรเซีย แผ่นเดียวกับยุโรป มีเนื ้อที่ถงึ 44 ล้ านตารางกิโลเมตร (ถ้ านับรวม รัสเซีย) มีประชากรกว่า 3,900 ล้ านคน มีลกั ษณะภูมิประเทศหลายแบบ ทั ้งที่เป็ นที่ราบต่า อยู่ที่ไซบีเรีย ภูเขาและที่ราบสูง ที่ราบสูงเก่าเช่น ที่ราบสูงเดกกัน ที่ราบสูงอาหรับ และที่ราบลุม่ แม่น ้า เช่น ที่ราบลุม่ แม่น ้าหวางเหอ แม่น ้าคงคา เป็ นต้ น คนในเอเชียถูกแบ่งออกเป็ น 3 พวกได้ แก่ •

เผ่ าพันธุ์มองโกลอยด์ คือคนผิวเหลือง แบ่งเป็ นมองโกลอยด์เหนือ เช่น พวกจีน ญี่ปนุ่ มองโกเลีย กับ มองโกลอยด์ ใต้ เช่นพวกคนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ เอเชียใต้ เผ่ าพันธุ์คอเคซอยด์ จะเป็ นคนผิวขาวร่าวใหญ่เหมือนกับคนยุโรป พบได้ ในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และ บางส่วนของเอเชียใต้ เผ่ าพันธุ์นิกรอยด์ จะเป็ นคนผิวดา ร่างเล็ก พบได้ ในบางส่วนของเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สาหรับประเทศในทวีปเอเชียนั ้นสามารถแบ่งได้ หลายทฤษฎี สูงสุดถึง 48 ประเทศ เนื่องจากว่ามีหลายประเทศที่ อยู่กงึ่ กลางระหว่างเอเชียกับยุโรป แต่เมื่อคิดเทียบกับการปกครอง ความร่วมมือ การแข่งขันกีฬา และอื่นๆ ประเทศใน เอเชียจะมีประมาณ 43 ประเทศ (ไม่นบั อิสราเอล เนื่องจากอิสราเอลแม้ ดินแดนจะอยู่ในเอเชียแต่มกั จะร่วมกิจกรรมต่างๆ กับทางยุโรปมากกว่า เนื่องด้ วยมีหลายประเทศในเอเชียไม่ยอมรับ) และอีก 2 เขตบริหารพิเศษคือ ฮ่องกง และ มาเก๊ า ใน 43 ประเทศนี ้มี 2 ประเทศที่ยงั ไม่ได้ เป็ นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติคือ ปาเลสไตน์ กับ ไต้ หวัน เอเชียสามารถ แบ่งเป็ นภูมิภาคต่าง ๆ ได้ 5 ภูมิภาค

ประเทศไทย

ราชอาณาจักรไทย

กรุงเทพมหานคร

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย

กัวลาลัมเปอร์

ประเทศเมียนมาร์

สาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชน ลาว สาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์

เนปยีดอ

ประเทศลาว

ประเทศเวียดนาม ประเทศฟิ ลิปปิ นส์

ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา(ในสภาวะปกติ) สหพันธรัฐ ประชาธิปไตย แบบรัฐสภา ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา (แบบพิเศษ) รัฐพรรคการเมืองเดียว สังคมนิยมคอมมิวนิสต์

บาท

ฮานอย

สังคมนิยมคอมมิวนิสต์

ดอง

มะนิลา

ประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดี

เปโซ

เวียงจันทน์

ริงกิต จัต กีบ


ประเทศสิงคโปร์

สาธารณรัฐสิงคโปร์

สิงคโปร์

ประเทศกัมพูชา

ราชอาณาจักรกัมพูชา

พนมเปญ

ประเทศอินโดนี เซีย

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

จาการ์ ตา

ประเทศบรู ไน

บันดาร์ เสรี เบกาวัน

ประเทศติมอร์ เลสเต

เนการา บรู ไน ดารุ สซา ลาม สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยติมอร์ เลสเต

ประเทศมองโกเลีย ประเทศเกาหลีเหนื อ

ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา ประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดี สมบูรณาญาสิทธิราช

ดอลลาร์ สงิ คโปร์

ดิลี

ประชาธิปไตยแบบกึง่ รัฐสภากึง่ ประธานาธิบดี

ดอลลาร์ สหรัฐ

มองโกเลีย

อูลานบาตอร์

ทูกรุก

เปี ยงยาง

ประเทศเกาหลีใต้

สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชน เกาหลี สาธารณรัฐเกาหลี

ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา รัฐพรรคการเมืองเดียว คอมมิวนิสต์

วอน

ประเทศญี่ปนุ่

ญี่ปนุ่

โตเกียว

ประเทศจีน

สาธารณรัฐประชาชนจีน ปั กกิ่ง

ประเทศไต้ หวัน (ยังไม่ได้ รับการรับรอง จากองค์ การ สหประชาชาติ) ฮ่ องกง

สาธารณรัฐจีน

ไทเป

ประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดี ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา รัฐพรรคการเมืองเดียว สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ประชาธิปไตยแบบกึง่ รัฐสภากึง่ ประธานาธิบดี

เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน

-

เขตบริหารพิเศษ 1 ประเทศ 2 ระบบ

ดอลลาร์ ฮ่องกง

โซล

เรียล รูเปี ยห์ ดอลลาร์ บรูไน

วอน

เยน หยวน เหรินหมินปี ้ นิวไต้ หวันดอลลาร์


มาเก๊ า

เขตบริหารพิเศษมาเก๊ า ของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน

-

เขตบริหารพิเศษ 1 ประเทศ 2 ระบบ

ปาตากาส์

ประเทศซีเรี ย

สาธารณรัฐอาหรับซีเรี ย

ดามัสกัส

ปอนด์ซีเรีย

ประเทศอิรัก

สาธารณรัฐอิรัก

แบกแดด

ประเทศเลบานอน

สาธารณรัฐเลบานอน

เบรุต

ประเทศอิหร่ าน

สาธารณรัฐอิสลาม อิหร่าน

เตหะราน

ประเทศจอร์ แดน

อัมมาน ริยาด

ประเทศเยเมน

ราชอาณาจักรฮัชไมต์ จอร์ แดน ราชอาณาจักร ซาอุดิอาระเบีย สาธารณรัฐเยเมน

ประชาธิปไตยแบบกึง่ รัฐสภากึง่ ประธานาธิบดี (กึง่ เผด็จการณ์) สหพันธรัฐ ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา เทวาธิปไตย ผสมกับ ประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดี ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา สมบูรณาญาสิทธิราช

ซานา และ เอเดน

รัฐบาลเฉพาะการ

เรียลเยเมน

ประเทศโอมาน

รัฐสุลต่านโอมาน

มัสกัต

สมบูรณาญาสิทธิราช

เรียลโอมาน

ประเทศสหรั ฐอาหรั บ เอมิเรตส์

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

อาบูดาบี

เดอร์ แฮม

ประเทศคูเวต

รัฐคูเวต

คูเวตซิตี ้

ประเทศบาห์ เรน

ราชอาณาจักรบาห์เรน

มานามา

ประเทศกาตาร์

รัฐกาตาร์

โดฮา

สหพันธรัฐ สมบูรณาญา สิทธิราช ราชาธิปไตยกึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ ราชาธิปไตยภายใต้ รัฐธรรมนูญ สมบูรณาญาสิทธิราช

ประเทศอิสราเอล

รัฐอิสราเอล

เยรูซาเล็ม / เทลอาวีฟ

ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา

เชเกลอิสราเอล

ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย

ดินาร์ อิรัก

ปอนด์เลบานอน เรียลอิหร่าน

ดินาร์ จอร์ แดน ริยาล

ดินาร์ คเู วต ดินาร์ บาห์เรน ริยาลกาตาร์


ประเทศปาเลสไตน์ รัฐปาเลสไตน์ (เอกราชยังไม่สมบูรณ์ และไม่ได้ เป็ นสมาชิกของ องค์การสหประชาชาติ)

ประเทศอัฟกานิสถาน

เยรูซาเล็มตะวันออก / รอมัลลอฮ์

สาธารณรัฐอิสลาม อัฟกานิสถาน สหพันธ์ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยเนปาล ราชอาณาจักรภูฏาน

คาบูล

สาธารณรัฐอิสลาม ปากีสถาน สาธารณรัฐอินเดีย

อิสลามาบัด

สาธารณรัฐประชาชน บังกลาเทศ สาธารณรัฐมัลดีฟส์

ธากา

ประเทศศรี ลังกา

สาธารณรัฐสังคมนิยม ประชาธิปไตยศรีลงั กา

ศรีชยั วรเทนปุระ-โกตเต

ประเทศอุซเบกิสถาน

สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน

ทาชเคนต์

ประเทศคีร์กีซสภาน

สาธารณรัฐคีร์กีซ

บิชเคก

ประเทศคาซัคสถาน

สาธารณรัฐคาซัคสถาน

อัสตานา

ประเทศเนปาล ประเทศภูฏาน ประเทศปากีสถาน ประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมัลดีฟส์

ประเทศเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน

กาฐมาณฑุ ทิมพู

นิวเดลี

มาเล

อาชกาบัต

ประชาธิปไตยแบบกึง่ รัฐสภากึง่ ประธานาธิบดี

ประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดี สหพันธรัฐประชาธิปไตย แบบรัฐสภา ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา สหพันธรัฐ ประชาธิปไตย แบบรัฐสภา สหพันธรัฐ ประชาธิปไตย แบบรัฐสภา ประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา ประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดี ประชาธิปไตยแบบกึง่ รัฐสภากึง่ ประธานาธิบดี

เชเกลอิสราเอล และ ดิ นาร์ จอร์ แดน

อัฟกานี เนปาลรูปี งุลตรัม ปากีสถานรูปี อินเดียรูปี ตากา รูฟียาห์ ศรี ลงั การูปี

ประชาธิปไตยแบบ ซอม อุซเบกิสถาน ประธานาธิบดี ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ซอม คีร์กีซสถาน ประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดี ประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดี

เตงเก มานัต


ประเทศทาจิกิสถาน

สาธารณรัฐทาจิกิสถาน

ดูชานเบ

ประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดี

โซโมนี่

หมายเหตุ ลักษณะการปกครอง • สมบูรณาญาสิทธิราช คือ อานาจทั ้งหมดจะอยู่ที่พระมหากษัตริ ย์ • ประชาธิปไตยแบบรั ฐสภา อานาจการบริหารอยู่ที่นายกรัฐมนตรีซงึ่ ได้ รับเลือกมาจากรัฐสภา โดยประมุข อาจจะเป็ นได้ ทั ้งพระมหากษัตริ ย์ และ ประธานาธิบดี โดยที่ประมุขในระบอบนี ้จะไม่มีอานาจในการปกครองใดๆ ทั ้งสิ ้น หรือมีแบบเชิงพิธีการเท่านั ้น แต่ประชาธิปไตยแบบรัฐสภาของเมียนมาร์ เป็ นการเลือกประธานาธิบดีผ่าน สภาที่มาจากการเลือกตั ้ง • ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดี อานาจบริหารอยู่ที่ประธานาธิบดีซงึ่ มาจากการเลือกตั ้งโดยตรงจาก ประชาชน และมีรัฐสภามาคอยคานอานาจ ประธานาธิบดีไม่ต้องรับผิดชอบต่อสภา • ประชาธิปไตยแบบกึ่งรั ฐสถากึ่งประธานาธิบดี อานาจสูงสุดอยู่ที่ประธานาธิบดี ซึง่ มาจากการเลือกตั ้ง โดยตรง จากนั ้นจะมีการเลือกตั ้งสภา และประธานาธิบดีจะแต่งตั ้งนายกรัฐมนตรี ไว้ ช่วยบริหาร และรับผิดชอบ ต่อสภา • รั ฐพรรคการเมืองเดียว สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ คือการปกครองที่ถือพรรคคอมมิวนิสต์ พรรคแรงงาน หรือ แล้ วแต่จะตั ้งชื่อ เป็ นพรรคหลักในการบริหารประเทศ โดยบอกว่าเป็ นตัวแทนของประชาชน ทั ้งนี ้อาจจะมีการ ผ่อนปรนรับพรรคอื่นเข้ าร่วมในสภา มีการเลือกตั ้งสมาชิกสภาบ้ าง เลือกตั ้งประธานาธิบดีในสภาบ้ าง แต่อานาจ ส่วนใหญ่จะขึ ้นอยู่กบั พรรคคอมมิวนิสต์ • สหพันธรั ฐ หมายถึงการที่ประเทศนั ้นๆ มีหลายรัฐมารวมกัน ประเทศที่ไม่ได้ ระบบว่าสหพันธรัฐ คือ รัฐเดี่ยว • ประเทศในโลกนี ้สามารถแบ่งระบบประมุขเป็ นสองแบบคือ สาธารณรัฐ ซึง่ ประธานาธิบดีเป็ นประมุข และ รา ชาธิปไตย คือ พระมหากษัตรย์เป็ นประมุข ซึง่ จะแบ่งย่อยออกมาอีก้ป็นแต่ละรับบการปกครอง ประเทศใดที่ลงใน ช่องการปกครองว่า สาธารณรัฐ หริอ ราชาธิปไตย ถือว่ากล่าวแบบรวมๆ เนื่องจากยังไม่แน่ใจในวิธีการปกครอง ของประเทศนั ้น • ประเทศที่เป็ นประชาธิปไตย บางประเทศอาจจะเป็ นกึง่ เผด็จการณ์ หรือมีแค่พรรคการเมืองเดียวที่ไม่ใช่ คอมมิวนิสต์แต่มีเลือกตั ้ง ซึง่ เราไม่ได้ ระบุในตารางนี ้ ในตารางเป็ นการกล่าวรวมๆ ถึงระบบทั่วไปเท่านั ้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.