เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

Page 1

เคมีพนื้ ฐานของสิ่ งมีชีวติ 1


สารชีวโมเลกลุ

2


สารชีวโมเลกุล คือ สารประกอบขนาดใหญ่ (macromolecules) ในสิ่ งมีชีวติ จัดเป็ น 4 กลุ่มตามลักษณะโครงสร้ างของโมเลกุล ได้ แก่ Carbohydrate ประกอบด้ วยธาตุ

C, H, O

Protein

C, H, O, N

Lipid

C, H, O

Nucleic acid

C, H, O, N, P 3


Building models to study the structure of macromolecules

Linus Pauling (1901-1994)

Today, scientists use computer

4


ปฏิกริ ิยาเคมีของ macromolecules ได้ แก่ Condensation เป็ นปฏิกริ ิยาสังเคราะห์ macromolecules จาก monomers เล็กๆเป็ น จำานวนมาก และได้ ผลผลิต H2O ด้ วย ดังนัน้ อาจเรี ยก ว่ า ปฏิกริ ิยา dehydration Hydrolysis เป็ นปฏิกริ ิยาย่ อยสลาย macromolecules ให้ เล็กลง เพื่อให้ สามารถนำา ผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ เข้ าสู่เซลล์ ได้ หรือย่ อยสลาย macromolecules ที่ไม่ ใช้ แล้ วภายในเซลล์ 5


The synthesis of a polymer

6


The Breakdown of a polymer

7


Carbohydrates Carbohydrates เป็ นสารประกอบจำาพวก น้ำ าตาล และ polymer ของน้ำ าตาล แบ่ งกลุ่ม carbohydrates ได้ เป็ น 3 กลุ่ม ตาม จำานวนโมเลกุลของน้ำ าตาลที่เป็ นองค์ ประกอบ ได้ แก่ Monosaccharide Disaccharide Polysaccharide

8


Monosaccharide เป็ นน้ำ าตาลโมเลกุลเดี่ยว ที่ประกอบด้ วย C, O และ H มีสูตรคือ (CH2O)n โดยมีอะตอมของ C ต่ อกันเป็ นสาย และมี Carbonyl group และ hydroxy group ต่ อ กับอะตอมของ C Carbonyl group aldehydes

ketones 9


The structure and classification of some monosaccharides

10


Linear and ring forms of glucose

11


น้ำ าตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เกิดจาก การรวมตัวของน้ำ าตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล โดย ปฏิกริ ิยา condensation Covalent bond ที่เกิดขึน้ เรียกว่ า Glycosidic linkage

12


Examples of disaccharides synthesis

13


Polysaccharide เป็ น carbohydrate ที่มี ขนาดใหญ่ มาก ประกอบด้ วย monosaccharides จำานวนมากต่ อกันด้ วย glycosidic linkage ชนิดของ polysaccharide ขึน้ อยู่กับ 1. ชนิดของ monosaccharide 2. ชนิดของ Glycosidic linkage ตัวอย่ าง polysaccharide ได้ แก่ starch, glycogen, cellulose และ chitin 14


Storage polysaccharides

15


Starch: 1-4 linkage of Îą glucose monomers

Cellulose: 1-4 linkage of β glucose monomers 16


Cellulose มี glucose เป็ นองค์ ประกอบเช่ น เดียวกับ แป้ง แต่ มีพนั ธะแบบ 1-4 glycosidic linkage ผนังเซลล์ ของพืชประกอบด้ วย cellulose เป็ นจำานวนมาก

17


The arrangement of cellulose in plant cell walls

18


Chitin, a structural polysaccharide

Chitin forms the exoskeleton of Arthropods

Chitin is used to make a strong and flexible surgical thread 19


Chitin มีโครงสร้ างคล้ ายกับ Cellulose ต่ างกันที่ว่า หน่ วยย่ อยเป็ น N-acetylglucosamine ต่ อกันเป็ น โมเลกุลสายยาว

20


หน้ าที่ของ carbohydrate Sugars : ทำาหน้ าที่ให้ พลังงานและเป็ นแหล่ งคาร์ บอนแก่ ส่ ิงมีชีวิต ribose และ deoxyribose เป็ นองค์ ประกอบของ nucleic acid Polysaccharide : เป็ นแหล่ งสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวิต โดยพืชเก็บสะสม พลังงานในรู ปของ starch ส่ วนสัตว์ เก็บสะสมพลังงานในรู ป ของ glycogen Cellulose และ chitin เป็ นโครงสร้ างของพืชและสัต21ว์


Lipids Diverse Hydrophobic molecules ำ นเป็ นสำรประกอบ ไขมันและน้ำมั เอสเทอร์ที่เกิดจำกกรดไขมันกับ แอลกอฮอล์บำงชนิด ที่ 25°C • ของแข็ง เรี ยกว่ำ ไขมัน ำ น • ของเหลว เรี ยกว่ำ น้ำมั 22


Lipids เป็ นสารที่ไม่ เป็ น polymer Lipids ไม่ ละลายน้ำ า เนื่องจากโครงสร้ างของ lipids ประกอบด้ วย nonpolar covalent bonds เป็ นส่ วนมาก Lipids ได้ แก่ ไขมัน (Fat) Phospholipid Steroid ขีผ้ งึ ้ (Wax) 23


Fats : เป็ นแหล่ งสะสมพลังงาน Fats ถึงแม้ จะไม่ เป็ น polymer แต่ เป็ นสารที่มีโมเลกุล ขนาดใหญ่ ประกอบด้ วยสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่ ามาต่ อกัน ด้ วยปฏิกิริยา Dehydration Fats ประกอบด้ วย Glycerol และ กรดไขมัน (Fatty acid)

24


ส่ วน “tail” ของ fatty acid ที่เป็ น hydrocarbon ที่มักมี อะตอมคาร์ บอนต่ อกันประมาณ 16-18 อะตอม เป็ นส่ วนที่ทาำ ให้ fats ไม่ ละลายน้ำ า (hydrophobic) 25


Triglycerol ไขมัน 1 โมเลกุล ประกอบด้ วย Glycerol 1 โมเลกุล และ กรดไขมัน 3 โมเลกุล

26


โครงสร้ างของไขมันและน้ำ ามัน

(Triglyceride)

27


กรดไขมันแบ่ งออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้ แก่ Saturated fatty acid (กรดไขมันชนิดอิ่มตัว) Unsaturated fatty acid (กรดไขมันชนิดไม่ อ่ มิ ตัว) ไขมันที่ได้ จากสัตว์ เช่ น เนย มี saturated fatty acid เป็ น องค์ ประกอบ มีลักษณะเป็ นของแข็งที่อุณหภูมหิ ้ อง ไขมันจากพืช มี unsaturated fatty acid เป็ นองค์ ประกอบ มีลักษณะเป็ นของเหลวที่อุณหภูมหิ ้ อง

28


Saturated fat and fatty acid

Unsaturated fat and fatty acid

29


กรดไขมัน

30


สมบัตขิ องกรดไขมัน • โมเลกุลของกรดไขมันในธรรมชำติส่วนใหญ่จะมีจำำ นวนอะตอม ของคำร์บอนเป็ นเลขคู่ท้ งั ชนิดอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว • จุดหลอมเหลวของกรดไขมันจะสูงขึ้นเมื่อมวลโมเลกุลเพิ่มขึ้น • กรดไขมันอิ่มตัวจะมีจุดหลอมเหลวสูงกว่ำกรดไขมันไม่อิ่มตัวเมื่อ โมเลกุลมีจำำ นวนอะตอมของคำร์บอนเท่ำกัน • จุดหลอมเหลวของกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่มีจำำ นวนอะตอมของ คำร์บอนเท่ำกันจะลดลงเมื่อจำำนวนพันธะคู่เพิ่มขึ้น 31


Phospholipids เป็ นองค์ ประกอบหลักของ cell membrane ประกอบด้ วย glycerol 1 โมเลกุล fatty acid 2 โมเลกุล และ phosphate group (phosphate group มีประจุ -) มีส่วนหัวที่มีประจุ และเป็ นส่ วนที่ชอบน้ำ า (hydrophilic) และส่ วนหางที่ไม่ ชอบน้ำ า (hydrophobic) 32


The structure of phospholipid

33


Phospolipid in aqueous environments เมื่อเติม phospholipids ลงในน้ำ า phospholipids จะรวมตัวกัน โดยเอาส่ วนหางเข้ าหา กัน และส่ วนหัวหันออกทางด้ านนอก กลายเป็ นหยดเล็กๆ เรียกว่ า micelle Micelle

34


ที่ cell membrane ของสิ่งมีชีวติ Phospholipids จะเรียงตัวเป็ น 2 ชัน้ โดย hydrophilic head จะหันออกทางด้ านนอก เข้ าหากัน ส่ วน hydrophobic tail อยู่ตรงกลาง Phospholipid bilayer

35


Steroids เป็ น lipids ประกอบด้ วย คาร์ บอนเรียงตัวเป็ น วงแหวน 4 วง Steroids ชนิดต่ างๆ มีหมู่ functional group ที่ต่อกับวงแหวนแตกต่ างกัน Cholesterol เป็ น steroid ที่เป็ นองค์ ประกอบ ของ cell membrane 36


Cholesterol, a steroid Cholesterol ยังเป็ น precusor สำาหรั บการ สังเคราะห์ steroid อื่นๆหลายชนิด เช่ น hormones 37


Steroid

Testosterone

38


Protein เป็ น polypeptide ของ amino acid ที่ต่อกันเป็ น ลำาดับเฉพาะตัวสำาหรับโปรตีนแต่ ละชนิด โปรตีนสามารถทำางานได้ ต้ องมีรูปร่ าง (conformation) ที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัว มนุษย์ มีโปรตีนมากกว่ า 10,000 ชนิด แต่ ละชนิดมี โครงสร้ างและหน้ าที่แตกต่ างกัน 39


Amino acid เป็ นสารอินทรี ย์ท่ มี ีหมู่ carboxyl และหมู่ amino ต่ อกับอะตอมคาร์ บอนที่เป็ นศูนย์ กลาง อะตอมที่เป็ นศูนย์ กลางยังต่ อกับอะตอม hydrogen และหมู่ R group 1 หมู่ท่ แี ตกต่ างกัน

H

H N H Amino group

C R

O C OH Carboxyl group 40


Amino acid แบ่ งออกเป็ นกลุ่มตามคุณสมบัตขิ อง R group R group ที่แตกต่ างกันนี ้ ทำาให้ เกิด amino acid แตกต่ างกัน 20 ชนิด แต่ ละชนิดมีคุณสมบัตทิ าง เคมีและชีววิทยาแตกต่ างกัน

41


Amino acid กลุ่ม Nonpolar

42


กลุ่ม Polar

43


กลุ่ม Electrically charged

44


45


Making a polypeptide chain

Amino acid ต่ อกันเป็ นสายยาวด้ วย covalent bond เรี ยกว่ า peptide bond

46


ปลายที่มีหมู่ amino เรียกว่ า N-terminus ปลายที่มีหมู่ carboxyl เรียกว่ า C-terminus 47


โมเลกุลเพปไทด์ โมเลกุลเพปไทด์

จำำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโน

Dipeptide

2

Tripeptide

3

Tetrapeptide

4

Polypeptide

5 – 35

Protein คือ Polypeptide ที่มีมวลโมเลกุลมำกกว่ำ 5000

ที่มำ : ชีวเคมีเบื้องต้น, รศ.เรื องลักขณำ จำมิกรณ์ มหำวิทยำลัยรำมคำำแหง 48


สาย polypeptide ประกอบด้ วย amino acid ทัง้ 20 ชนิด เรียงต่ อกันเป็ นอิสระ สาย polypeptide จึงสามารถมีรูปแบบที่ไม่ เหมือนกันนับ หมื่นชนิดได้

49


โปรตีนสามารถทำางานได้ ต้องมีรูปร่ าง (conformation) ที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัว โปรตีนที่ทาำ งานได้ ประกอบด้ วย polypeptide 1 สาย หรือมากกว่ า ซึ่งม้ วนพับไปมาตามแรงยึดเหนี่ยวระหว่ าง side chain ของ amino acid รู ปร่ างของโปรตีนจึงขึน้ อยู่กับลำาดับของ amino acid ที่เรียงกันอยู่

50


A protein’s function depends on its specific conformation

Ribbon model

Space filling model

51


โครงสร้ างของโปรตีนถูกแบ่ งออกเป็ น Primary structure Secondary structure Tertiary structure Quaternary structure สำาหรั บโปรตีนที่ ประกอบด้ วย polypeptide มากกว่ า 1 สาย 52


โครงสร้ างของโปรตีน โครงสร้ำงปฐมภูมิ

โครงสร้ำงทุติยภูมิ

(primary structure)

(secondary structure)

โครงสร้ำงจตุรภูมิ

โครงสร้ำงตติยภูมิ

(quarternary structure)

(tertiary structure)

53


โครงสร้ างของโปรตีน

http://courses.cm.utexas.edu/jrobertus/ch339k/overheads-1/ch5-16.JPG 54


The four levels of protein structure

55


The primary structure of a protein Primary structure คือ ลำาดับของ amino acid ที่ ประกอบขึน้ เป็ นโปรตีน Primary structure ถูก กำาหนดโดยข้ อมูลทางพันธุกรรม (DNA) 56


การเปลี่ยนแปลงลำาดับ amino acid ในโปรตีน อาจมีผลให้ รูปร่ างของโปรตีนเปลี่ยนไป และอาจมีผลต่ อ การทำางานของโปรตีนชนิดนัน้ ๆ ตัวอย่ างเช่ น โรค sickle-cell anemia

57


A single amino acid substitution in a protein causes sickle-cell disease

58


The secondary structure of a protein Secondary structure เป็ น โครงสร้ างที่เกิดขึน้ จาก H-bond ระหว่ างหมู่ carboxylและหมู่ amino Secondary structure ที่พบบ่ อยใน ธรรมชาติได้ แก่ Helix และ  Pleated sheet

59


ตัวอย่ างเช่ น เส้ นใยแมงมุม มีโครงสร้ างแบบ  Pleated sheet ทำาให้ เส้ นใยแมงมุมมีความแข็งแรงมาก Spider silk: a structural protein

60


Tertiary structure of a protein

61


Tertiary structure เป็ นรูปร่ างของ polypeptide สาย หนึ่งตลอดสาย ซึ่งการม้ วนพบไปมาขึน้ อยู่กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่ าง R group ด้ วยกันเอง หรือ R group กับโครงสร้ างหลัก แรงยึดเหนี่ยวหมายถึง H-bond ionic bond Hydrophobic interaction Van der Waals interaction นอกจากนีบ้ างตอนยึดติดกันด้ วย covalent bond ที่แข็ง แรง เรียกว่ า disulfide bridges ระหว่ างหมู่ sulhydryl (SH) ของกรดอะมิโน cysteine ที่อยู่ใกล้ กัน 62


The Quaternary structure of proteins เป็ นโครงสร้ างของโปรตีนที่ประกอบด้ วย polypeptide มากกว่ า 1 สายเท่ านัน้ เกิดจาก tertiary structure ของ polypeptide แต่ ละสายมารวมกัน ตัวอย่ างเช่ น :

Polypeptide Collagen เป็ น fibrous chain

protein ประกอบด้ วย polypeptide 3 สายพันกันอยู่ ซึ่งทำาให้ โปรตีนชนิดนีม้ ีความแข็ง แรงและพบใน connective tissue 63


Hemoglobin ประกอบด้ วย polypeptide 4 สาย รวมกันกลายเป็ นโปรตีนที่มีรูปร่ างเป็ นก้ อน

64


รู ปร่ างของโปรตีนบางชนิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้ าสภาพ แวดล้ อมของโปรตีนเปลี่ยนไป เช่ น pH อุณหภูมิ ตัวทำาลาย เป็ นต้ น เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวต่ างๆระหว่ าง amino acid ในสาย polypeptide ถูกทำาลาย การเปลี่ยนแปลงนีเ้ รียกว่ า Denaturation โปรตีนบางชนิดเมื่อเกิด denaturation แล้ ว ยังสามารถกลับ คืนสู่สภาพเดิมได้ เรี ยกว่ า Renaturation

65


หน้ าที่ของโปรตีน เป็ นโครงสร้ างเยื่อหุ้มเซลล์ และเยื่อหุ้ม oganelles เป็ นโครงสร้ างสำาคัญของสิ่งมีชีวติ เช่ น keratin เป็ นองค์ ประกอบของ เล็บ ผม เป็ นต้ น Haemoglobin ทำาหน้ าที่ขนส่ งออกซิเจน Hormones ต่ างๆ ทำาหน้ าที่ควบคุมการทำางานของร่ างกาย Acin และ myosin ในกล้ ามเนือ้ ทำาหน้ าที่เกี่ยวกับการ เคลื่อนไหว Enzymes ทำาหน้ าที่เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยาเคมีต่างๆ

ฯลฯ

66


ประเภทของโปรตีน

โปรตีนเส้ นใย(fibrous protein) โปรตีนก้ อนกลม(globular protein) (การจัดตัวในโครงสร้ าง 3 มิติ) http://courses.cm.utexas.edu/jrobertus/ch339k/overheads-1/ch6_collagen.jpg

67


ประเภทของโปรตีน โปรตีนก้ อนกลม • เกิดจำกสำยพอลิเพปไทด์รวมตัว ม้วนพับพันกันและอัดแน่นเป็ น ก้อนกลม ำ ดี • ละลำยน้ำได้ • ทำำหน้ำที่เกี่ยวกับกระบวนกำรเม ทำบอลิซึมต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นภำยใน เซลล์

โปรตีนเส้ นใย

• เกิดจำกสำยพอลิเพปไทด์พนั กันใน ลักษณะเหมือนเส้นใยยำวๆ ำ นอ้ ย • ละลำยน้ำได้ • ทำำหน้ำที่เป็ นโปรตีนโครงสร้ำง มี ควำมแข็งแรงและยืดหยุน่ สูง

68


ตัวอย่ างโปรตีนเส้ นใย

Silk Keratin 69


ตัวอย่ างโปรตีนก้ อนกลม

Casein

Albumin Enzyme

70


ประเภทของโปรตีน ประเภทของโปรตีน หน้ าที่ โปรตีนเร่ งปฏิกิริยำ เร่ งปฏิกิริยำในเซลล์สิ่งมีชีวติ โปรตีนขนส่ ง ขนส่ งสำรไปสู่ ส่วนต่ำงๆ ของร่ ำงกำย โปรตีนโครงสร้ำง ให้ควำมแข็งแรงและช่วยคง รู ปร่ ำงโครงสร้ำงต่ำง ๆของ ร่ ำงกำร โปรตีนสะสม สะสมธำตุต่ำง ๆ

ตัวอย่ าง เอ็นไซม์ ฮีโมโกลบิน คอลลำเจน เครำติน เฟอริ ทิน

71


ประเภทของโปรตีน ประเภทของโปรตีน หน้ าที่ โปรตีนป้ องกัน ป้ องกันและกำำจัดสิ่ งแปลก ปลอมที่เข้ำมำในเซลล์ โปรตีนฮอร์โมน แตกต่ำงกันตำมชนิดของ ฮอร์โมนนั้นๆ

ตัวอย่ าง แอนติบอดี

ควบคุมกำรเจริ ญเติบโต

Growth hormone

ควบคุมกำรเผำผลำญ

Insulin

คำร์โบไฮเดรต 72


ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อการแปรสภาพของโปรตีน • • • • •

ควำมร้อนและรังสี อลั ตรำไวโอเลต ตัวทำำละลำยอินทรี ย ์ เช่น เอทำนอล แอซิโตน ควำมเป็ นกรด หรื อเป็ นเบส กำรฉำยรังสี เอกซ์(X – ray) กำรเขย่ำหรื อเหวีย่ งแรงๆ ทำำให้ตกตะกอน 73


เอ็นไซม์ (Enzyme) • เอ็นไซม์ เป็ นโปรตีนที่ทำำ หน้ำที่เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยำในเซลล์ สิ่ งมีชีวติ

74


ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการทำางานของเอนไซม์ • • • • • •

ชนิดของสำรตั้งต้น ควำมเข้มข้นของสำรตั้งต้น ควำมเข้มข้นของเอนไซม์ ควำมเป็ นกรด-เบสของสำรละลำย อุณหภูมิ สำรยับยั้ง สำรกระตุน้ 75


Nucleic acid (Informational polymer)

76


1. Nucleic acid เป็ นแหล่ งเก็บข้ อมูลทาง พันธุกรรมและถ่ ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวติ Nucleic acid มี 2 ชนิด ได้ แก่ Ribonucleic acid (RNA) Deoxyribonucleic acid (DNA)

77


DNA ถูกใช้ เป็ นแม่ แบบในการสังเคราะห์ mRNA ซึ่งถูกใช้ เป็ นตัวกำาหนดในการสังเคราะห์ โปรตีนอีกทอดหนึ่ง

DNA

RNA

protein 78


สิ่งมีชีวติ ได้ รับการถ่ ายทอด DNA จากรุ่ นพ่ อแม่ โมเลกุลของ DNA เป็ นสายยาวมียีนเป็ นจำานวนมากเป็ น องค์ ประกอบ DNA อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากสาเหตุต่างๆ เช่ น ฤทธิ์ของสารเคมี หรื อ รังสีจากสารกัมมันตรั งสี การเปลี่ยนลำาดับ nucleotide ใน DNA อาจมีผลให้ สิ่งมีชีวิตมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้ การเปลี่ยนแลงลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่มีผลมาจากการ เปลี่ยนแปลงลำาดับ nucleotide สามารถถ่ ายทอดต่ อไปยัง รุ่ นลูกได้ 79


2. สายของ nucleic acid ประกอบด้ วย polymer ของ nucleotides แต่ ละ nucleotide ประกอบด้ วย 3 ส่ วน ได้ แก่ Nitrogen base Pentose sugar Phosphate group 80


Nitrogen base แบ่ งออกเป็ น 2 กลุ่ม ตามโครงสร้ างทางเคมี ได้ แก่

Pyrimidines

Purines 81


ใน DNA และ RNA มีเบสอยู่ 4 ชนิดเท่ านัน้ DNA มีเบส A, G, C, T RNA มีเบส A, G, C, U

82


น้ำ าตาล pentose ใน RNA คือ ribose ใน DNA คือ deoxyribose

83


ตรงตำาแหน่ งอะตอมคาร์ บอนที่ 5 (5’) ของน้ำ าตาล pentose มี หมู่ phosphate group มาต่ อ รวมเรียก pentose + nitrogen base + phosphate group ว่ า nucleotide

84


The components of nucleic acids

85


Nucleotide หลายโมเลกุลมาเชื่อม ต่ อกัน ได้ สายยาวของ polynucleotide ที่มีหมู่ phosphate และ pentose เรี ยงต่ อกันเป็ นสาย โดย nitrogen base ยื่นออกมาจากส่ วนยาวของ nucleic acid Bond ที่มาเชื่อมต่ อระหว่ าง nucleotide 2 โมเลกุล เรียกว่ า Phosphodiester linkage 86


ลำาดับของ nitrogen base บนสาย DNA หรื อ mRNA มีลักษณะเฉพาะตัว ลำาดับของ base ในยีนจะเป็ นตัวกำาหนดลำาดับของ amino acid ของ polypeptide ของโปรตีน

87


3. การถ่ ายทอดลักษณะทางกรรมพันธุ์เกิดขึน้ เนื่องจาก DNA มีการจำาลองตัวเอง RNA ประกอบด้ วยสาย polynucleotide เพียงสาย เดียว DNA ประกอบด้ วยสาย polynucleotide 2 สาย เรียงต่ อขนานกัน และมีโครงสร้ างเป็ นเกลียว เรี ยกว่ า double helix

88


สายทัง้ สองของ DNA มีการเรี ยง ตัวสลับปลายกัน คือ ปลายด้ าน 5’ ของ DNA สายหนึ่งจะเข้ าคู่กับปลาย ด้ าน 3’ ของอีกสายหนึ่ง โดยยึดติดกัน ด้ วย H-bond ระหว่ าง A กับ T และ G กับ C (ดังรู ป) ลักษณะการเข้ าคู่กันของ base เรียกว่ า complementary 89


The DNA double helix and its replication

เมื่อเซลล์ จะมีการแบ่ งตัว DNA จะจำาลองตัวเอง และถ่ ายทอดต่ อไปให้ เซลล์ ใหม่ การสร้ าง DNA โมเลกุลใหม่ เรี ยกว่ า DNA replication

90


ปั จจุบนั นักวิทยาศาสตร์ พยายามเปรี ยบเทียบลำาดับ nucleotide ของยีนชนิดเดียวกันจากสิ่งมีชีวติ ต่ างๆ เพื่อใช้ ในการจำาแนกกลุ่มของสิ่งมีชีวิต และศึกษาเรื่อง วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตชนิดต่ างๆ

91


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.