คู่มือการสีข้าว

Page 1

คู่มือการสี ขา้ ว จัดทําโดย กรมส่งเสริ มอุตสาหกรรม ร่ วมกับ สํานักงานพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


สารบัญ เรือง แผนผังวิธีปฏิบตั ิการควบคุมการสีขา้ ว

หน้า 1

ตรวจสอบเครืองจักร 1. เครืองทําความสะอาด 2. เครืองเครืองกะเทาะ 3. ตะแกรงโยก 4. เครืองขัดขาว 5. เครืองขัดมัน

3 3 4 8 9 12

ตรวจสอบคุณภาพข้าวเปลือก 1. สิงเจือปน 2. ความชืนข้าวเปลือก 3. ความขาวข้าวกล้อง 4. กรัมข้าวกล้อง 5. กรัมข้าวขาวรวม 6. กรัมข้าวต้น 7. เมล็ดร้าวข้าวกล้อง 8. การบันทึกข้อมูล ใบสังผลิต ใบควบคุมการสี การควบคุมการสี ข้าว 1. ขันตอนการทําความสะอาด 2. ขันตอนการแยกหิน

14 14 15 15 15 15 16 16 17 17 18 19 19 20


สารบัญ เรือง

หน้า

3. ขันตอนการกะเทาะเปลือก และแยกแกลบ 3.1 การกะเทาะเปลือก 3.2 การแยกแกลบ 4. ขันตอนการคัดแยกข้าวเปลื อกข้าวกล้อง (ตะแกรงโยก) 5. ขันตอนการขัดขาว 6. ขันตอนการขัดมัน 7. ขันตอนการคัดขนาด (ตะแกรงเหลียม-ตะแกรงกลม) 7.1 ตะแกรงเหลียม 7.2 ตะแกรงกลม 8. การประมาณการข้าวต้นคาดการณ์

21 21 25 26

ภาคผนวก มาตรฐานข้าวกระทรวงพาณิชย์ มาตรฐานข้าวขาว (พืนข้าว) มาตรฐานข้าวขาว (ส่วนผสม) มาตรฐานข้าวขาว (ข้าวและสิงเจือปน) มาตรฐานข้าวขาวหัก มาตรฐานข้าวกล้อง มาตรฐานข้าวกล้อง (พืนข้าว-ส่วนผสม) มาตรฐานข้าวกล้อง (ข้าวและสิงเจือปน)

36 36 36 37 38 39 40 40 41

27 31 32 32 33 35


1

แผนผังวิธีปฏิบัตกิ ารควบคุมการสี ข้าว


2


3

ตรวจสอบเครืองจักร ก่อนเดินเครืองจักรประจําวัน หรือเดินเครืองจักรระหว่างการ สีขา้ ว ควรตรวจสอบสภาพเครืองจักร และปรับแต่งเครืองจักร ให้อยูใ่ นสภาวะทีเหมาะสมสําหรับการสีขา้ ว ดังนี 1. เครืองทําความสะอาด - ตรวจสอบแผ่นตะแกรง ต้องอยูใ่ นสภาพ เรียบร้อยไม่ชาํ รุด ไม่มีรอยขาด - เก็บเศษฟาง เศษเชือก ฟางท่อน หรือ เศษ สิงทีตกค้างบนตะแกรงออกให้หมด และ ควร ตรวจสอบทุกๆ ชัวโมง เนื องจากเศษฟางที ตกค้างอยู่ มีโอกาสทีหลุดลอดไปตะแกรงชัน ล่าง และไปกวนเครืองกะเทาะ ทําให้เครือง กะเทาะทํางานได้ไม่ดีเท่าทีควร อาจทําให้ลกู ยางไหม้ เป็ นร่อง เป็ นคลืนได้ - ขู ด ใต้ต ะแกรง เพื อทํ า ความสะอาดแผ่ น ตะแกรงชันล่าง ทีใช้คดั แยกฝุ่น เมล็ดดอกหญ้า ไม่ให้อุ ดตัน ซึ งจะทําให้ประสิทธิ ภาพการคัด แยกสิงเจือปนดีขึน เครืองกะเทาะทํางานได้ดี ขึ น เนื องจากข้า วเปลื อ กสะอาด และควร ตรวจสอบทุกๆ 2-3 ชัวโมง


4 2.

เครืองกะเทาะ - สภาพลูกยาง อยูใ่ นสภาพดีตอ้ งไม่เป็ นปี ก ผิวลูกยางเรียบ ไม่ไหม้ ไม่เป็ นคลืน ไม่ขรุขระ ต้องเปลียนลูกยางก่อน เดินเครืองกะเทาะ ถ้าลูกยางไม่เป็ นไปตามลักษณะดังกล่าว อาจจะทําให้การแตกหักสูงขึนกว่าทีควรจะเป็ น ยางไหม้ เนื องจากข้าวเปลือกกระจาย ไม่เต็มหน้า ยาง เพราะข้าวเปลือก ไม่สะอาด มีฟางท่อนอุดตันรางปล่อยข้าวของเครืองกะเทาะ

ยางเป็ นปี ก เนื องจากหน้าลูกยางไม่เสมอกัน แก้ไขโดยใช้แหวนรองลูกยาง ลูกทีอยูล่ ึกกว่า

ยางไหม้ เนื องจากข้าวเปลือกหมด แล้วยังเดินเครืองกะเทาะต่อ ถ้าเนื อยางยัง เหลืออยูม่ าก ให้นําลูกยางไปกลึงผิวยางออก ให้เรียบ แล้วนํากลับมาใช้ใหม่


5

- เส้นผ่ านศูน ย์ก ลางลู กยาง ทังสองลูก มีข นาดต่ างกัน ไม่ เกิ น 5 มม. ถ้ามากกว่าต้องเปลี ยนลู กใดลูกหนึ งออก และหาขนาดที ใกล้เคีย งมา ทดแทน หรื อ เปลี ยนลู ก ใหม่ ทั งสองลู ก ก็ ไ ด้ เพราะเมื อเส้ น ผ่ า น ศูน ย์ก ลางลู ก ยางต่ า งกั น มากกว่ า 5 มม. จะทํ า ให้แ รงเฉื อ นลดลง กะเทาะข้าวเปลือกเป็ นข้าวกล้องได้น้อยลง จึงต้องชดเชยด้วยแรงอัดลูก ยางเพื อให้ก ะเทาะข้าวเปลื อกเป็ นข้าวกล้องได้เ ท่ า เดิ ม ส่ ง ผลให้ก าร แตกหักเพิมขึน

เส้นผ่านศูนย์กลางลูกยาง ทังสองลูกมีขนาดต่างกันไม่เกิน 5 มม. ส่งผลให้การแตกหักเพิมขึน

- ท่อลมดูดของเครืองกะเทาะอยู่ในสภาพปกติ ไม่มีรอยรัว ดูดลมในห้อง กะเทาะได้ดี ช่วยลดอุณหภูมิในห้องกะเทาะ ทําให้การเกิดเมล็ดร้าวลดลง ลดการแตกหัก และยังช่วยดูดข้าวลีบ ฝุ่นละออง ทําให้ขา้ วเปลื อกสะอาด ขึน ส่งผลให้ประหยัดลูกยาง เป็ นการเพิมประสิทธิภาพของเครืองกะเทาะ อีกทางหนึ งด้วย การเกิดเมล็ดร้าวในข้าวเปลือกเพิมขึน 3-4% ถ้าไม่มีท่อลมดูดของเครืองกะเทาะ ความเร็วลมของท่อลมดูด 8-10 ม./วินาที และต้องมีตะแกรงกันข้าว


6

หมายเหตุ 1. เมือเปลี ยนลูกยาง ให้ต รวจสอบสลักยึดลูกยางมีครบ จํานวน 4 อันหรื อไม่ ถ้ามีไม่ครบให้จัดหาให้ครบ เพราะจะทําให้ เกิดการแตกหักสูง เนื องจากสลักจะช่วยประคองลูกยางให้ได้ศูนย์ ไม่สัน

ไม่มีสลักยึดลูกยาง ทําให้ลกู ยางสัน เกิดการแตกหักสูง

- ความแข็งของลูกยางทีเหมาะสมสําหรับการกะเทาะข้าวเปลื อกมีค่า เท่ากับ 86 ± 2 ชอร์ (Shore) ดังนั นก่อนเปลียนลูกยาง ควรวัดความ แข็งของลูกยาง เพือให้แน่ ใจว่าลูกยางทีจะนํ ามาเปลียนมีความแข็งที เหมาะสม ทังลูกยางใหม่ และลูกยางทีใช้แล้ว ลูกยางทีมีความแข็งน้อย จะกะเทาะข้าวได้ไม่ดี ต้องชดเชยด้วยแรงดันลม ทําให้เกิดการแตกหัก สูง ส่วนลูกยางทีมีความแข็งมากจะเกิดการแตกหักสูง ถึงแม้ว่าจะใช้ แรงดันลมน้อยก็ตาม เนื องจากความแข็งมากเกินไปไม่ยืดหยุ่น และ เพือให้ได้ลูกยางทีมีความแข็งทีต้องการ โรงสีตอ้ งตรวจรับลูกยางแต่ละ งวดทีสังซือเข้ามา โดยการสุ่มวัดความแข็ง และรับลูกยางทีได้ มาตรฐาน มีความแข็งและลักษณะทางกายภาพตามต้องการ ควร สังซือลูกยางแต่ละงวดไม่มากเกินไป และจัดกลุ่มการใช้งานตามลําดับ การรับเข้าก่อน-หลัง เพราะลูกยางทีเก็บไว้นานจะเสือมสภาพ และมี ความแข็งเพิมขึน


7

วัดความแข็งลูกยางก่อนนําไปเปลียน

ตรวจรับลูกยางแต่ละงวดทีสังซือเข้ามา โดยการสุม่ วัดความแข็ง

ตรวจสอบรางปล่อยข้าว ต้องปล่อยข้าวลงระหว่างลูกยางพอดี

รางปล่อยข้าวไม่ลงระหว่างลูกยาง ทําให้เกิดการแตกหักเพิมขึน 5-10%


8

3. ตะแกรงโยก - ตรวจสอบลินตะแกรงโยก และช่องข้าวลงทุกช่อง มีเศษฟาง หรือฟาง ท่อนอุดตันหรือไม่ ถ้ามีทาํ ความสะอาดให้เรียบร้อย ควรใช้ลมเป่ าแทน การใช้เหล็กกระทุง้ เพราะอาจทําให้พืนตะแกรงรัวได้

- ทดลองเดินเครืองเปล่า แล้วใช้มือแตะตะแกรงโยกเพือตรวจสอบการ ทํางานของตะแกรงโยก ว่าเดินเรียบหรือไม่ ถ้ามีสะดุ ดหรือกระโดด ให้ วางแผนในการซ่ อ มปรั บ ปรุ ง ให้เ ร็ ว ที สุ ด เพื อลดความเสี ย หาย เนื องจากตะแกรงโยกทีเดิ นไม่ เรี ย บจะปรับ ตังไม่ ไ ด้ ทําให้ขา้ วกล้อง กลั บ หลั ง สู ง และมี ข า้ วเปลื อกปนข้า วกล้อง (การแตกหัก จะเพิ มขึ น เนื องจากข้า วกล้องถูก ส่ ง ไปกะเทาะใหม่ และข้า วสารไม่ ไ ด้คุ ณ ภาพ เพราะมีขา้ วเปลือกปน)


9

4. เครืองขัดขาว - เป่ ารําทําความสะอาดตะแกรงล้อมหิน

การเป่ ารําทําความสะอาด ควรทําอย่างน้อย 2 ชัวโมงครัง ถ้ารําตันตะแกรง จะทําให้ลมค่อย ส่งผลให้ขา้ วไม่ขาว ข้าวไม่สะอาด ข้าวอมรํา เกิดการแตกหักสูง - ตรวจสอบหน้าหินเรียบหรือไม่

ถ้าไม่เรียบให้กลึงล้างหน้าหินใหม่ ให้ เรียบ แม้จะยังไม่ครบชัวโมงการใช้งาน (ควรกลึงล้างหน้าหินทุก 72 ชัวโมงใช้งานสําหรับเครืองขัดขาวแบบหินโคน และ 300 ชัวโมงใช้งาน สําหรับเครืองขัดขาวแบบ VTA เพือเป็ นการเปิ ดหน้าหินใหม่มาใช้งาน ซึง จะทําให้ลดการแตกหัก เสริมจมูกข้าว)

หน้าหินไม่เรียบ ทําให้เกิดการแตกหักสูง


10

หน้าหินหลังกลึง เรียบและคม ทําให้ไม่ตอ้ งใช้แรงอัดในห้องขัดมาก เพือให้ได้ความขาวเท่ากัน

เครืองขัดขาวแบบ VTA ก็ตอ้ งกลึงล้างเหมือนกัน แต่ระยะเวลาการใช้งานแต่ละรอบจะนานกว่าหินโคน

เครืองขัดขาวแบบ VTA อีกยีห้อหนึ ง แท่นจับจักรยาวมาก ต้องระวังในการกลึงเพราะแท่นจับจักรสัน สะบัดง่าย กลึงให้หน้าหินเรียบยาก ควรให้กินหน้าหินทีละน้อย


11

- ตรวจสอบทางข้าวให้ได้ตามทีกําหนด ทางข้าวทีเหมาะสมสําหรับหิ นขนาดต่างๆ ขนาดหิ น

ทางข้าวทีเหมาะสม (หุ น)

ตํากว่า 20"/22”

4 – 4.5

20"/22" - 28"/30”

4.5 – 5

30"/32" - 40"/42”

5–6

เตเปอร์

0.5 - 1

- ตรวจสอบความเร็วลมให้ได้ตามทีกําหนด ความเร็วลมทีเหมาะสม และจุดวัดลม ประเภทหิ นขัด ขาว

ความเร็วลม (เมตร/วินาที)

จุดวัด (ปิ ดข้าว – เป่ ารําก่อน)

ตะแกรง

หิ นโคน

15-16

ช่องปล่อยข้าว ฝาครอบหิ น

ลวดถักเบอร์ 13×13

หิ น VTA

30 – 35

ท่อใต้หิน

ปั มรู 0.80 – 0.85×20 มิลลิเมตร

- ตรวจสอบตะแกรงล้อมหินอยู่ในสภาพปกติ ไม่ขาด ไม่โป่ ง หรือยุบ จนเสียรูป ถ้ามีรอยขาด หรือเสียรูป ให้วางแผนในการซ่อมปรับปรุงให้ เร็วทีสุด เพือลดความเสียหาย เนื องจากจะมีขา้ วรัวไปกับรําตามรอย ขาด หรือถ้าตะแกรงเสียรูปจะทําให้ทางข้าวไม่สมําเสมอ ทําให้การ แตกหักเพิมขึน


12

ตะแกรงล้อมหินโป่ งออก ทําให้เกิดการแตกหักสูง เพราะทางข้าวไม่สมําเสมอ

5. เครืองขัดมัน - เป่ ารําทําความสะอาดตะแกรงขัดมัน - ตรวจสอบตะแกรงขัดมันอยู่ในสภาพปกติ ไม่ขาด ไม่โป่ ง หรือยุบจน เสียรูป ถ้ามีรอยขาด หรือเสียรูป ให้วางแผนในการซ่อมปรับปรุงให้เร็ว ทีสุด เพือลดความเสียหาย เนื องจากจะมีขา้ วรัวไปกับรําตามรอยขาด หรือถ้าตะแกรงเสียรูปจะทําให้ทางข้าวไม่สมําเสมอ ทําให้การแตกหัก เพิมขึน - ตรวจสอบปริมาณนํา และความเร็วลม อยูใ่ นค่าทีกําหนด รวมทังระบบปั มนํา และปั มลมทํางานได้ตามปกติ


13

ปริมาณนํา 15 ลิตร/ชัวโมง ความเร็วลม 25 เมตร/วินาที (วัดหน้าเครือง)


14

ตรวจสอบคุณภาพข้าวเปลือก ในการสี ขา้ วแต่ล ะครังควรตรวจสอบคุ ณ ภาพข้า วเปลื อกที จะนํ าเข้า สี เพื อให้ท ราบคุ ณ ภาพของวัต ถุ ดิ บ และนํ า ไปปรับ แต่ ง เครื องจัก รให้ เหมาะสมกับข้าวเปลือกทีนํ าเข้ามาสี ซึงคุณสมบัติต่างๆ ทีควรตรวจสอบ มีดงั นี 1.สิงเจือปน มีผลโดยตรงต่อกรัมข้าวขาวรวม กรัมข้าวกล้อง และกรัมข้าวต้น ถ้ากรณีขา้ วเปลือกมีสิงเจือปน-ฟางท่อนมาก และการทําความสะอาดไม่ ดีพอ จะส่งผลต่อผิวลูกยาง ทําให้ผิวลูกยางขรุขระ การแตกหักเพิมขึน ควบคุมการแตกหักได้ยาก ส่งผลให้กําลังการผลิตลดลง และยังทําให้ ประสิทธิภาพการใช้งานลูกยางลดลงอีกด้วย


15

2.ความชืนข้าวเปลือก มีผลโดยตรงต่อการแตกหัก โดยถ้า%ความชืนไม่เหมาะสม จะทําให้เกิดการ แตกหักสูง ต้องลดอัตราการกะเทาะลง

3.ความขาวข้าวกล้อง มีผลต่ออัตราการขัดขาว ถ้าความขาวข้าวกล้องมามาก จะ ทําให้ลดอัตราการขัดขาวลง ส่งผลให้การแตกหักลดลง แต่โดยทัวไป แล้วจะใช้ค่า 22.5-23.0% สําหรับข้าวเจ้า 4.กรัมข้าวกล้อง แสดงให้เห็นถึงปริมาณรําทีถูกขัดออกอย่างเหมาะสม ถ้าถูก ขัดออกมากจะทําให้การแตกหักเพิมขึน และยังทําให้ผลผลิต หรือ นํ าหนั กข้าวรวมทีสีได้ ลดลงอีกด้วย 5.กรัมข้าวขาวรวม มีผลต่อการแตกหัก และความขาว โดยถ้ามีค่าสูงจะทําให้ การขัดขาวในแต่ละขันตอนมีความยืดหยุ่น ทําให้สามารถควบคุ มการ แตกหักได้ง่าย


16

6.กรัมข้าวต้น แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มปริมาณข้าวต้นทีสีได้ ถ้ามีค่าสูงแสดง ว่าพืนข้าวทีเข้าสีดี สามารถปรับแต่งเครืองจักรได้ง่าย ทําให้ได้ เปอร์เซ็นต์ขา้ วต้นสูง ทําให้การขัดขาวในแต่ละขันตอนมีความยืดหยุ่น สามารถควบคุมการแตกหักได้ง่าย โรงสีส่วนใหญ่ใช้กรัมข้าวต้นในการคาดการณ์ขา้ วต้นทีจะสีได้ โดยพิจารณาร่วมกับปั จจัยอืนๆ ทีได้กล่าวมา ทังนี ขา้ วต้นทีสีได้จะต้อง มากกว่ากรัมข้าวต้น และควรได้มากกว่า 5% ขึนไป

7.เมล็ดร้าวข้าวกล้อง มีผลโดยตรงต่อการแตกหัก โดยเฉพาะในขันตอนการ กะเทาะ ถ้ามีเมล็ดร้าวสูงต้องลดอัตราการกะเทาะลง โดยมีหลักการ กว้างๆ ดังนี เมล็ดร้าวข้าวกล้อง (%)

อัตราการกะเทาะ (ข้าวกล้อง:ข้าวเปลือก) แนะนํา

น้อยกว่า 10%

9:1

10-20%

8:2

มากกว่า 20%

7:3

ทังนี ให้ดูการแตกหักเป็ นหลัก และทดลองปรับอัตราการกะเทาะให้ เหมาะสม


17

8. การบันทึกข้อมูล บันทึกข้อมูลคุ ณภาพข้าวเปลือกทีได้ลงในแบบฟอร์มใบสังผลิต โรงสีสหกรณ์การเกษตร เกษตรวิส ัย ชนิดข ้าวเปลือกเข ้าสี

สีเป็ นข ้าวชันคุณภาพ

รหัสคําสั งซือ

จํานวนข ้าวเปลือกเข ้าสี กก.

มาตรฐานข ้าวก่อนสี

ลูกค ้า/สถานทีจัดส่ ง

สิงเจือปน ความชืนข ้าวเปลือก ความขาวข ้าวกล ้อง %เมล็ดร ้าว

เป้ าหมายการสี ขันตอน กะเทาะ ขัดขาว1 ขัดขาว2 ขัดมัน1 ขัดมัน2 สรุปผล

= = = =

2 14.1 23 11.5

วันเริมผลิต

รหัสงวดการผลิต

วันแล ้วเสร็จ วันกํ าหนดส่งลูกค ้า

ผลการทดสอบคุณภาพข ้าวเปลือก % กรัมข ้าวกล ้อง = % กรัมข ้าวต ้นกล ้อง = % กรัมข ้าวขาว = % กรัมข ้าวต ้น =

ให ้ได ้ข ้าวต ้นอย่างน ้อย ความขาวทีต ้องการ

ความขาว (%) เพิมขึน สะสม 23.00 23.00 9.50 32.50 5.70 38.20 1.90 40.10 1.90 42.00

ว ันที ......./........../........

ใบสงผลิ ั ต

75 55 66 38

50 %(บวกเพิม 42 %(เพิมขึน

% % % %

เกณฑ์

12 %) 19 %)

ค่าการควบคุมการแปรรูป แตกหัก (%) ข ้าวต ้น หมายเหตุ เพิม สะสม 10.00 10.00 90.00 อัตราการกะเทาะ (แนะนํ า) = 9.45 19.45 80.55 5.67 25.13 74.88 1.89 27.02 72.98 1.89 28.91 71.09

ข ้าวต ้นทีได ้จากการปฏิบัต ิ (ผลการสีจริง) =

%

เปรียบเทียบกับเป้ าหมายแล ้ว ได ้มากกว่า..........%เท่ากับ น ้อยกว่า..........% ข ้อสังเกตุ/ข ้อควรปรับปรุง /ข ้อเสนอแนะ

การคํา นวนหาข ้าวต ้นคาดการณ์จากการตรวจสอบระหว่างผลิต (มาตรฐานข ้าว 100% ชัน 2) 1. การแตกหักรวมทุกขันตอน = % 2. มีข ้าวเต็ มเมล็ด = 100-แตกหักรวม = 100= % 3. %ข ้าวเต็ มเมล็ดเทียบข ้าวเปลือก = ข ้าวเต็มเมล็ดxกรัมข ้าวขาว = x 0.64 = % 4. %ข ้าวต ้นคาดการณ์ = %ข ้าวเต็มเม็ ลดเทียบข ้าวเปลือก+4.5 (+ 4.5 = = % 5. เปรียบเทียบกับเป้ าหมาย หมายเหตุ 4.5 เป็ น%ข ้าวทียอมให ้ได ้ตามมาตรฐานกระทรวงพานิชย์ ผู ้ตรวจสอบ ผู ้อนุมัต ิ ให ้เจ ้าหน ้าทีสีข ้าว หรือผู ้ทีได ้รับมอบหมายส่งแบบฟอร์มนีเข ้าสํ านักงานเมือสีข ้าวล็อตนีเสร็จ


18

แบบฟอร์มใบควบคุมการสี โรงสีสหกรณ์การเกษตร เกษตรวิส ัย ชนิดข ้าวเปลือกเข ้าสี

สีเป็ นข ้าวชันคุณภาพ

รหัสคํ าสังซือ

จํานวนข ้าวเปลือกเข ้าสี กก.

มาตรฐานข ้าวก่อนสี

ลูกค ้า/สถานทีจัดส่ง

รายการ กะเทาะ กะเทาะ ควบคุม 1 2 ความขาว 23.00 เวลา แตกหักเพิม 10.00 สะสม 10.00 ข ้าวต ้น 90.00 8.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 9.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 10.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 11.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 12.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 13.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 14.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 15.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 16.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 17.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 18.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 19.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น 20.00 %ความขาว %ข ้าวต ้น

ว ันที ......./........../........

ใบควบคุมการสี

ขัดขาว1 32.50 9.45 19.45 80.55

ขัดขาว2 38.20 5.67 25.13 74.88

วันเริมผลิต

รหัสงวดการผลิต

วันแล ้วเสร็จ

ขัดมัน1 40.10 1.89 27.02 72.98

ขัดมัน2 42.00 1.89 28.91 71.09

บันทึกการแก้ไขและป้องก ัน หรือข้อเสนอแนะ

ผู ้ตรวจสอบ

ผู ้อนุมัต ิ ให ้ผู ้ตรวจสอบ หรือผู ้ทีได ้รับมอบหมายส่งแบบฟอร์ม นีเข ้าสํ านั กงานทุกวัน ก่อนเลิกงาน

วันกําหนดส่ งลูกค ้า

หมายเหตุ 1. เป้ าหมายการสี ให ้ได ้ข ้าวต ้นอย่างน ้อย 50 % 2. ความขาวทีต ้องการ 42 %


19

การควบคุมการสีขา้ ว การควบคุมการสีขา้ วเพือให้ได้ขา้ วต้นสูงสุ ดนั น จําเป็ นต้องตรวจสอบ การทํ า งานในทุ ก ขันตอน และเอาใจใส่ อ ย่ า งสมําเสมอ ซึ งในการ ควบคุ ม นั นเราต้องควบคุ มตัวชีวัดให้อยู่ในเกณฑ์ทีกํา หนด โดยการ ปรับแต่งเครืองจักรในขันตอนต่างๆ ดังนี 1.ขันตอนการทําความสะอาด -ข้าวเปลือกทีผ่านเครืองทําความสะอาดแล้ว จะต้องมีสิงเจือปน ไม่เกิน 2% และไม่มีฟางท่อน เพราะว่าสิ งเจือปนจะมีผลโดยตรงต่ อ กําลังการผลิต และประสิทธิภาพของเครืองกะเทาะ ถ้ามีสิงเจือปนมาก จะทําให้กาํ ลังการผลิตลดลง อีกทังยังทําให้ผิวลูกยางขรุขระ เป็ นคลื น ส่ ง ผลให้อั ต ราการแตกหัก เพิ มขึ น และทํ า ให้ใ ช้ลู ก ยางได้ไ ม่ เ ต็ ม ประสิทธิภาพ - ควรมี เ ครื องทํ า ความสะอาดอย่ า งน้ อ ย 2 เที ยว เนื องจาก ปั จจุบนั สภาพการเก็บเกียวเปลียนไป เกษตรหันมาใช้เครืองเกียวนวด เป็ นส่วนใหญ่ ทําให้มีสิงเจือปนสูง และการทําความสะอาดเทียวเดียว ไม่เพียงพอ - อัตราการปล่อยข้าวเปลื อกต้องเหมาะสม ไม่มากเกินไปจนล้น ถัง พัก และต้องหยุ ดปล่ อยข้า วเปลื อกเป็ นระยะ หรื อน้ อยเกิน ไปจน เลี ย งเครื องกะเทาะไม่ ทัน ต้องให้พอดี หรื อน้ อยที สุ ด เท่ า ทีจะเลี ย ง เครืองกะเทาะทัน โดยไม่ตอ้ งหยุดรอ ซึงจะให้เครืองทําความสะอาด ทํางานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ - ข้าวเปลื อกควรกระจายเต็ ม หน้ า ตะแกรง ไม่ล งจุ ด ใดจุ ดหนึ ง เป็ นแพหนา ซึงจะทําให้ขา้ วเปลื อกไม่ ถูกทําความสะอาดอย่ างทัวถึ ง ถ้า ข้า วไม่ ก ระจายเต็ ม หน้ า ตะแกรง อาจต้องทํา ลู ก ฟูก กระจายข้า ว เพิมเติม


20

- ควรเก็ บเศษฟาง เศษเชือก หรื อสิ งเจื อปนอื นที ตกค้า งอยู่บ น ตะแกรงออก อย่างน้อยชัวโมงละครัง เพือไม่ให้เศษฟาง เศษเชือก หรือ สิ งเจือปนอืนทีถูกคัดแยกออก และตกค้างอยู่บนตะแกรง มีโอกาสหลุ ด รอดไปกับข้าวเปลือกได้ - ควรขูดใต้ตะแกรง 2-3 ชัวโมงครัง เพือเพิมประสิทธิภาพการ คัดแยกฝุ่น ดอกหญ้าออกจากข้าวเปลือก

2.ขันตอนการแยกหิน ข้ า วเ ปลื อก ที ผ่ า น เครื องแย กหิ น แ ล้ ว ต้ อ งไ ม่ มี หิ น ปนอยู่ ขณะเดียวกันเครืองต้องคัดแยกเฉพาะหินออกไป โดยไม่มีขา้ วเปลื อก ติดไปด้วย หรือ อาจกล่าวได้ว่า “ต้องไม่มีหนิ ปนไปกับข้าวเปลื อก และ ไม่มีขา้ วเปลือกปนไปกับหิน” - ถ้าข้าวเปลือกปนไปกับหิน ต้องปรับลมใหม่ ไม่ให้มีขา้ วเปลือก ปนออกไป - ถ้ามีหนิ ปนไปกับข้าวเปลือกอาจเป็ นไปได้ 2 กรณีคือ 1. ปริมาณหินมีมากเกินความสามารถของเครืองทีจะคัดแยก ได้หมด ซึ งคงจํา เป็ นต้องเพิ มเครื องแยกหิน อี ก 1 เครื อง หรื อเพิ ม ขันตอนการทําความสะอาดเพือคัดแยกหินออกก่อนส่ วนหนึ ง เป็ นการ ลดภาระของเครืองแยกหิน หรือ


21

2. ประสิ ทธิ ภาพของเครืองแยกหินลดลง เนื องจากตะแกรงสึ กหรอ หรืออุดตัน ประสิทธิภาพของพัดลมลดลง มุมเอียงไม่เหมาะสมเนื องจาก ชุ ดปรับตังหลวมหรือหลุ ดเลื อน เป็ นต้น ซึงจะต้องแก้ไขให้คืนสภาพเดิม ต่ อไป เช่ น ปรับ ตังมุ ม เอี ย งใหม่ เปลี ยนหรื อ ทํา ความสะอาดตะแกรง ตรวจวัดปริมาณ-แรงดันลม และปรับแต่งให้เหมาะสมตามข้อกําหนดของ เครือง

3.ขันตอนการกะเทาะเปลือก และแยกแกลบ 3.1 การกะเทาะเปลือก ต้องปรับให้เครืองกะเทาะมีอัตราการ กะเทาะที เหมาะสมกับพืนข้าว หรือ จํานวนเมล็ ดร้าว โดยปรับตังอัตรา การกะเทาะดังนี เมล็ดร้าวข้าวกล้อง (%)

อัตราการกะเทาะ (ข้าวกล้อง:ข้าวเปลือก) แนะนํา

น้อยกว่า 10%

9:1

10-20%

8:2

มากกว่า 20%

7:3


22

หลังปรับตังอัตราการกะเทาะแล้ว ให้ตรวจสอบอัตราการแตกหัก ถ้า สู ง มากเกิ น กว่ า ที กําหนดให้ป รับลดอัต ราการกะเทาะลง เพื อลด อัตราการแตกหัก ซึงการลดหรือเพิมอัตราการกะเทาะ จะส่ งผลอย่าง มากต่อการเพิมหรือลดอัตราการแตกหัก แต่การลดอัตราการกะเทาะ ไม่ค วรลดลงเหลื อน้อยกว่ า 7:3 เพราะจะทําให้กําลั งการผลิ ตลดลง ส่ งผลกระทบต่อตะแกรงโยก และทําให้มีปริมาณข้าวกล้องเลี ยงเครือง ขัดขาวไม่ทนั ดังนั น โรงสีควรมีเครืองกะเทาะเผือไว้สําหรับเดินเครือง ในกรณีนี - การหาอัตราการกะเทาะทําได้ 2 วิธีดงั นี 1. ประมาณด้ว ยสายตา วิ ธี นี ส ะดวก รวดเร็ ว เหมาะสํ า หรับ ผูค้ วบคุ ม เครื องกะเทาะ และการปรับ ตังเครื องเบื อ งต้น โดยเก็ บ ตัว อย่ า งจากใต้เ ครืองกะเทาะ 2-3 กํา มื อใส่ กระด้ง ฟั ดแกลบและ สิ งเจือปนออกให้เหลือเฉพาะข้าวกล้องและข้าวเปลื อก เขย่ากระด้งให้ ข้าวกล้องและข้าวเปลือกแยกจากกัน แล้วกะประมาณด้วยสายตาว่ามี ข้าวกล้องกีส่วน ข้าวเปลือกกีส่วน จากทังหมด 10 ส่วน


23

2. โดยการชังนํ าหนั ก และหาอัตราส่ วนร้อยละของนํ าหนั กข้าว กล้องต่ อนํ าหนั ก ทังหมด (ข้า วกล้อง+ข้า วเปลื อก) วิ ธี นี ค ล้า ยการ ประมาณด้วยสายตา แต่ แทนที จะประมาณต้องคัด แยกข้า วเปลื อก และข้าวกล้องออกเป็ น 2 กอง แล้วชังนํ าหนั กข้าวเปลื อก, ข้าวกล้อง และหาอัตราการกะเทาะได้ดงั นี อัตราการกะเทาะ  (

นําหนักข้ าวกล้ อง )  100 % นําหนักข้ าวกล้ อง  นําหนักข้ าวเปลือก

วิธีนีจะให้ความแม่นยํากว่า และใช้เวลามากกว่า แต่จะช่วยให้ การปรับแต่งเครืองกะเทาะทําได้ดีกว่า แม่นยํากว่า และง่ายกว่า - การหาอัตราการแตกหักทําได้ดงั นี นํ าข้าวกล้องทีได้จากการหาอัตราการกะเทาะมาคัดแยกออกเป็ น ข้าวเต็ม เมล็ ด และข้า วหัก แล้วชังนํ าหนั กข้า วหัก และข้าวเต็มเมล็ ด แล้วนํ ามาหาอัตราการแตกหักดังนี อัตราการแตกหัก  (

นําหนักข้ าวกล้ องหัก )  100 % นําหนักข้ าวกล้ องหักห◌ัก นําหนักข้ าวกล้ องเต็มเมล็ด

- ควรพักลูกยางทุก 4 ชัวโมง เป็ นเวลา 5-10 นาที โดยการปิ ด ข้าว และให้แยกลูกยางจากกัน เพือลดอุณหภูมิในห้องกะเทาะ เพราะ อุณหภูมิในห้องกะเทาะทีสูงมากเกินไป จะทําให้เกิดเมล็ ดร้าวในข้าว กล้องเพิมมากขึน 3-4% ซึงจะส่งผลให้เกิดการแตกหักเพิมมากขึนใน ขันตอนการขัดขาว - ควรตรวจสอบอัต ราการกะเทาะ และอัต ราการแตกหัก อย่ า ง น้ อ ยชัวโมงละครัง เนื องจากลู ก ยางสึ ก หรอ และทํ า ให้อั ต ราการ กะเทาะเปลี ยนไป ดัง นั นเราจําเป็ นต้องปรับ แรงดัน ลมใหม่ เพือให้ อัตราการกะเทาะเป็ นไปดังทีต้องการ


24

- ควรสลับ หรือสับเปลียนลูกยางกะเทาะ (ลูกช้า-ลูกเร็ว) ทุก 8 ชัวโมง หรือเมือมีเส้นผ่านศูนย์กลางต่างกันมากกว่า 5 มม. - ถ้าลูกยางมีผิวไม่เรียบ ขรุขระ เป็ นคลืน ยางไหม้ ต้องเปลียนใหม่ ทันที - อัตราการแตกหักของเครืองกะเทาะแต่ละเครืองควรเท่ากัน หรือ ใกล้เคียงกัน เนื องจากเป็ นข้าวเปลื อกชุ ดเดียวกัน และเครืองกะเทาะมี สมรรถนะใกล้เคีย งกัน ถ้า หากมีเครืองกะเทาะเครื องใด มี อัตราการ แตกหัก สูง ผิ ดสั ง เกต ต้องหาสาเหตุ และแก้ไขให้เ รีย บร้อย ซึ งอาจมี สาเหตุมาจากผิวลูกยางไม่เรียบ มีเส้นผ่านศูนย์กลางต่างกันมากกว่า 5 มม. ลู กยางไม่นิง เพลาสัน ลูกยางไม่ข นานกัน ความแข็ งของลูกยาง ไม่ได้มาตรฐาน เป็ นต้น - ความแข็งของลูกยางทีเหมาะสม คือ 86 ± 2 ชอร์ ดังนั น โรงสี ควรมีขนตอนการตรวจรั ั บลูกยาง โดยสุ่มตรวจวัดความแข็งของลูกยาง เพือให้ได้ลูกยางทีมีความแข็งใกล้เคียงกัน และมีความแข็งทีต้องการ


25

3.2 การแยกแกลบ ซึ งอาจใช้ตู ้สี ฝั ด แบบใหม่ ร ะบบปิ ดที เรียกว่า “ตูว้ ิน” หรือตูส้ ี ฝัดแบบเก่า ก็มีการตรวจสอบเหมือนกันคือ ต้องไม่ มี ข า้ วเปลื อก-ข้า วกล้องปนไปกั บ แกลบ อัน ทํ า ให้เ กิ ด การ สูญเสีย เพราะราคาแกลบและข้าวเปลือกต่างกันมากถึ ง 10 เท่าหรือ มากกว่า - ค่ า ที ยอมให้ไ ด้ คื อ มี ข ้า วปนไปกับ แกลบน้ อ ยกว่ า 0.1% หรือไม่มีเลย และไม่ควรมีแกลบปนไปกับข้าวเปลื อก-ข้าวกล้อง ซึ ง แกลบจะไปกวนตะแกรงโยก ทําให้ประสิทธิภาพการคัดแยกข้าวกล้อง ของตะแกรงโยกลดลง มีขา้ วกล้องกลับหลังมาก ส่งผลให้ขา้ งกล้องวน กลับไปกะเทาะใหม่ ทําให้เกิดการแตกหักเพิมขึนโดยไม่จาํ เป็ น - ถ้า มี ขา้ วเปลื อก-ข้าวกล้องปนไปกับ แกลบ แสดงว่ าลมแรง เกินไป ให้เปิ ดหูชา้ งเพือลดแรงลมในตูส้ ี ฝัดแบบเก่า หรือปรับลิ นเพือ ลดแรงลมในตูส้ ีฝัดแบบใหม่ (ตูว้ ิน) - ถ้ามี แกลบปนไปกับ ข้า วเปลื อก-ข้าวกล้อง แสดงว่ าลมค่ อย เกินไป ให้ปิดหูชา้ งเพือเพิมแรงลมในตูส้ ีฝัดแบบเก่า หรือปรับลิ นเพือ เพิมแรงลมในตูส้ ีฝัดแบบใหม่ (ตูว้ ิน)


26

อนึ ง การปรับ เพิ ม-ลดแรงลม ต้องให้เ หมาะสม และมี ค วาม สมดุล กล่าวคือ ถ้าลมแรงมากข้าวจะปนไปกับแกลบ ถ้าเบาไปแกลบ จะปนไปกับข้าว ดังนั นการปรับลม ต้องปรับ เพิ ม-ลดที ละน้อย และ ตรวจสอบแกลบ-ข้าวไปพร้อมกัน - ส่วนผสมของข้าวและแกลบควรแผ่กระจายเต็มหน้าตูส้ ี ฝัด ซึงจะ ทําให้ตสู ้ ีฝัดทํางานได้เต็มประสิทธิภาพ ถ้าส่ วนผสมของข้าวและแกลบ ลงจุ ด เดี ย ว หรื อเป็ นแพหนา อาจจํา เป็ นต้อ งทํา ลู ก ฟูก กระจายข้า ว เพิมเติม หรือ ให้ตรวจสอบเกลี ยวกระจายข้าวอาจสึ กหรอ หรือมีเศษ ฟาง เศษเชือกติดอยู่ 4.ขันตอนการคัดแยกข้าวเปลือกข้าวกล้อง (ตะแกรงโยก) ตะแกรงโยกที ใช้คัด แยกข้า วเปลื อ กออกจากข้า วกล้อ งต้อ งมี ประสิทธิภาพดี กล่าวคือ ต้องไม่มีขา้ วเปลื อกปนไปกับข้าวกล้อง และ ไม่มีขา้ งกล้องปนไปกับข้าวเปลื อก (ค่ายอมรับได้คือ มีขา้ วกล้องกลับ หลังไม่เกิน 2%) - ปรับรอบตะแกรงโยกให้เหมาะสมเพือให้มีขา้ วกล้องกลับหลั ง น้อยทีสุด และต้องไม่มีขา้ วเปลือกปนไปกับข้าวกล้อง โดยถ้าข้าวกล้อง กลับหลังมาก ให้ปรับลดความเร็ว รอบลง และถ้ามี ขา้ วเปลื อกปนไป กับข้าวกล้อง ให้เพิมความเร็วรอบ - ต้องมีขา้ วกล้องเลียงตะแกรงโยกให้เพียงพอ (สังเกตได้จากข้าว เต็ ม ราง ท่ ว มลิ น ตะแกรง) จึ ง จะทํ า ให้ต ะแกรงโยกทํา งานได้เ ต็ ม ประสิทธิภาพ สามารถแยกข้าวเปลือก-ข้าวกล้องได้ดี ข้าวไม่เต็มราง ทําให้มีขา้ วกล้องกลับหลังมาก


27

- หากตะแกรงโยกเดิน ไม่เ รียบ สะดุ ด กระโดด จะทําให้การคัด แยกไม่ ดี การปรั บ ตั งทํ า ได้ย าก หรื อ ทํ า ไม่ ไ ด้เ ลย ต้อ งแก้ไ ขให้ เรี ยบร้อยก่ อน ซึ งส่ วนใหญ่มี สาเหตุจ ากลูก ปื นอกตะแกรงชํา รุด ให้ เปลียนใหม่ - บางกรณีทีปรับความเร็วรอบของตะแกรงแล้ว การคัดแยกยังไม่ ดี อาจจําเป็ นต้องปรับมุมเอียงตะแกรงใหม่

การปรับตังมุมเอียงจะทําให้ตะแกรงโยกมีประสิทธิภาพดีขึน หรือไม่เพียงใดนัน ขึนอยูก่ บั อกตะแกรงทีสร้างครังแรกว่ามีความลึกเพียงพอเหมาะสมหรือไม่

5.ขันตอนการขัดขาว ในการขัดขาวแต่ละเทียว จะต้องทําให้ความขาวเพิมขึนอย่าง เหมาะสม โดยเกิดการแตกหักน้อยทีสุด โดยทัวไปขัดขาว1 จะขัดรํา ออกมากทีสุด และน้อยลงตามลําดับ ส่วนใหญ่แล้วจะใช้อตั ราการขัด ขาวดังนี ในกรณีขดั ขาว 3 เทียว ใช้อตั ราการขัดขาว = 5:3:2 ขัดขาวเทียวที 1 ความขาวเพิมขึน 50% ขัดขาวเทียวที 2 ความขาวเพิมขึน 30% ขัดขาวเทียวที 3 ความขาวเพิมขึน 20%


28

ตัวอย่างเช่น ความขาวข้าวกล้อง 23% ความขาวทีต้องการ 43% => ความขาวเพิมขึน 20% ดังนั น ข้าวทีผ่านการขัดขาวเทียวที 1 จะได้ความขาว 33% ข้าวทีผ่านการขัดขาวเทียวที 2 จะได้ความขาว 39% ข้าวทีผ่านการขัดขาวเทียวที 3 จะได้ความขาว 43% ทังนี ต้องดูอตั ราการแตกหักประกอบด้วย ถ้ามากเกินไปให้ปรับลด ความขาวลง การปรับเพิมหรือลดความขาวลง จะมีผลอย่างมากต่อ อัตราการแตกหัก - องค์ประกอบ 7 ประการทีจะทําให้เกิดการแตกหักน้อยทีสุ ด และ ได้ความขาวทีต้องการ ซึงต้องปรับองค์ประกอบเหล่ านี ให้ถูกต้อง และ เหมาะสม 1. หินขัดขาว (ส่วนผสมของหิน หรือสูตรพอกหิน หน้าหิน) 2. ความเร็วรอบลูกหิน 3. ความเร็วลม 4. ตะแกรงล้อมหิน (เบอร์ตะแกรง สภาพตะแกรง) 5. ทางข้าว และเตเปอร์ 6. ยางขัดขาว 7. วิธีการปล่อยข้าว


29

- ยางขัดขาว ความแข็งทีเหมาะสม คือ 56 ± 2 ชอร์ (สําหรับหิน โคน) และมีระยะห่างระหว่างหน้ายางกับหน้าหินประมาณ 2-3 มม. เพือให้ขา้ วพลิกตัวผ่านไปได้พร้อมสลัดรํา ทําให้ขา้ วสะอาดไม่อมรํา การอัดยางมากเกินไปจะทําให้เกิดแรงอัดในห้องขัดมาก และเป็ นผลทํา ให้เกิดการแตกหักสูง - ควรใช้วิธีการขึนลงหิน แทนการอัดยาง ซึงจะทําให้การควบคุ ม ทําได้ง่ายกว่า เกิดการผิดพลาดน้อย และสามารถสร้างมาตรฐานใน การทํางานได้ (หินโคน) - การใช้ลูกตุม้ ถ่วง (VTA) แทนเตเปอร์ของหินโคนนั น ต้องระวัง ไม่ให้ขา้ วทีออกมาจากเครืองขัดมีอุณหภูมิสูงมากเกินไป (มากกว่า 40 องศา) เพราะจะทําให้เกิดการแตกหักสูง - การปล่อยข้าว ต้องเสมอหน้าหิน เต็มห้องขัด จึงจะทําให้ขา้ ว ขาวสมําเสมอ การแตกหักตํา ข้าวโกรกหิน เป็ นการปล่อยข้าวน้อยเกินไป ข้าวไม่เต็มห้องขัด ทํา ให้ขา้ วขาวไม่เพียงพอ ขาวไม่สมําเสมอ เนื องจากมีเวลาอยู่ในห้องขัด น้อยเกินไป ต้องชดเชยด้วยการอัดยางทําให้ขา้ วแตกหักสูง ข้าวท่วมหิน เป็ นการปล่อยข้าวมากเกินไป ข้าวล้นห้องขัด ทําให้ ข้าวแตกหักสูง เนื องจากมีเวลาอยู่ในห้องขัดมากเกินไป - หน้าหินต้องเรียบ ไม่ขรุขระ หรือหลุดร่อน ควรกลึงล้างหน้าหิน เมือใช้งานครบ 72 ชัวโมง (หินโคน) หรือ 200 ชัวโมง (VTA) - เมือกลึงล้างหน้าหินเสร็จสิน ต้องตังทางข้าวใหม่ให้เหมาะสม และตรวจวัดความเร็วรอบ พร้อมทังปรับตังให้ได้ค่าทีกําหนด ดังนี


30

ทางข้าวทีเหมาะสม ทางข้าวทีเหมาะสมสําหรับหิ นขนาดต่างๆ ขนาดหิ น

ทางข้าวทีเหมาะสม (หุ น)

ตํากว่า 20"/22”

4 – 4.5

20"/22" - 28"/30”

4.5 – 5

30"/32" - 40"/42”

5–6

เตเปอร์

0.5 - 1

ความเร็วลมทีเหมาะสม ความเร็วลมทีเหมาะสม และจุดวัดลม ประเภทหิ นขัดขาว

ความเร็วลม (เมตร/วินาที)

จุดวัด (ปิ ดข้าว – เป่ ารําก่อน)

ตะแกรง

หิ นโคน

15-16

ช่องปล่อยข้าว ฝาครอบหิ น

ลวดถักเบอร์ 13×13

หิ น VTA

30 – 35

ท่อใต้หิน

ปั มรู 0.80 – 0.85×20 มิลลิเมตร

- ในกรณีทีเครืองปรับรอบมอเตอร์ ควรปรับตังความเร็วรอบใหม่ให้ได้ ความเร็วรอบทีเหมาะสม ดังนี ความเร็วเชิงเส้นของหิ นขัดขาวทีเหมาะสม หิ นขัดขาว

ความเร็วเชิงเส้นของหิ นขัดขาว (ฟุต/นาที)

เทียวที 1

2,200

เทียวที 2

2,100

เทียวที 3

2,000


31

6.ขันตอนการขัดมัน การแตกหัก เพิ มขึ น ไม่ เ กิ น 1% และความขาวเพิ มขึ น 1% ซึ ง ความขาวทีเพิมขึนเป็ นผลพลอยได้มาจาก การทีผิวของเมล็ ดข้าวเรียบ ลื น ไม่เป็ นขุย และข้าวสะอาดไม่มีราํ เกาะผิว ข้าวทีจะนํ ามาขัดมันควร มีความขาวจากการขัดขาวเพียงพอแล้ว ไม่ควรบังคับเอาความขาวจาก เครืองขัดมัน เพราะจะทําให้เกิดการแตกหักสูงมาก - ความเร็วลมวัดหน้าเครือง 25-30 เมตร/วินาที - อัตราการปล่ อยนํ า 15-20 ลิ ตร/ชัวโมง ถ้านํ ามากเกินไปจะ ทํา ให้ข ้า วมี ก ลิ น ถ้า นํ าน้ อ ยเกิ น ไปจะทํา ให้ข า้ วร้อ น และเกิ ด การ แตกหักเพิมขึน - ข้า วที ออกจากเครื องต้อ งมี อุ ณ หภู มิ ตํ ากว่ า 40 องศา ถ้ า อุ ณ หภู มิ สู ง เกิ น ไปจะทํ า ให้เ กิ ด การแตกหั ก สู ง ให้ล ดตุ ้ม ถ่ ว งลง ตรวจสอบปริมาณนํ า ความเร็วลม และปรับให้เหมาะสม

ข้าวทีร้อนเกินไป จะทําให้เนื อข้าวขยายหดตัวอย่างรุนแรง เกิดเมล็ดร้าว การแตกหักสูง

- ควรสลับตะแกรงคู่หน้าและหลัง 3 เดือนครัง เพือให้ตะแกรงสึก เท่ากัน


32

- นํ าทีใช้ตอ้ งเป็ นนํ าสะอาด ผ่านการกรองเอาสารแขวนลอยขนาด เล็กทีมองไม่เห็น และความกระด้างออกแล้ว นํ าทีไม่สะอาดจะทําให้ ข้าวหมอง และ/หรือมีกลินไม่พึงประสงค์ ควรทําความสะอาดระบบ กรองนํ าอย่างน้อยเดือนละครัง หรือตามคําแนะนํ าของผูต้ ิดตังระบบ 7.ขันตอนการคัดขนาด (ตะแกรงเหลียม-ตะแกรงกลม) การลดการแตกหักในทุกขันตอนเป็ นหัวใจทีสําคัญของโรงสี ก็จริง แต่ขนตอนการคั ั ดขนาดก็เป็ นหัวใจทีมีความสําคัญยิงกว่า เนื องจาก ผลกําไรหรือขาดทุนของโรงสีจะขึนอยู่กบั ประสิทธิภาพการคัดแยก ซึง ถ้าคัดแยกไม่ดีจะทําให้เสี ยโอกาสเพราะนํ าข้าวเต็มเมล็ ดราคาสูงไป ขายในราคาข้าวหัก หรือ ถูกกดราคาเพราะมีหกั เล็ กหรือ ปลายหยิม ปน 7.1ตะแกรงเหลียม คัดแยกข้าวต้นส่วนหนึ งออกจากข้าวรวมทีจะไปคัดแยกยัง ตะแกรงกลม เพือไม่ให้เป็ นภาระของตะแกรงกลม โดยข้าวรวมทีจะ ไปตะแกรงกลมต้องมีขา้ วต้นปนอยู่ไม่เกิน 40% รวมทังต้องไม่มีขา้ ว ปลายปนไปด้วย - ถ้ามีขา้ วต้นปนอยู่เกินกว่า 40% เป็ นไปได้ 3 กรณี คือ 1. ตะแกรงอุดตัน (ต้องถอดตะแกรงออกมาล้าง เพือเพิมประสิทธิภาพ ในการคัดแยกข้าวต้น) หรือ 2. เบอร์ตะแกรงไม่เหมาะสม ต้อง เปลียนเบอร์ตะแกรงใหม่ หรือ 3. ขนาด-จํานวนตะแกรงไม่ เหมาะสมกับกําลังการผลิต อาจจําเป็ นต้องเพิมตะแกรงช่วย เบอร์ตะแกรงไม่เหมาะสม ข้าวออกหน้า ตะแกรงน้อย ต้องเปลียนแผ่นตะแกรงใหม่


33

- ถ้ามีปลายข้าวปนไปกับข้าวรวม แสดงว่าตะแกรงอุดตัน ต้องถอด ตะแกรงออกมาล้าง เพือเพิมประสิทธิ ภาพในการคัดแยกปลายข้าว ออกไปได้

ลูกยางในตะแกรงเสือมสภาพ อาจเป็ นสาเหตุหนึ งทีทําให้ตะแกรงอุดตันได้ง่าย ต้องเปลียนใหม่

7.2ตะแกรงกลม ต้องสามารถคัดแยกข้าวขนาดความยาวต่างๆ กัน เช่น ข้าวต้น ข้าวหักใหญ่ ข้าวหักกลาง และข้าวหักเล็ก ออกจากกันได้เป็ นอย่างดี โดยอนุ โลมให้มีขา้ วชนิ ดอืนปนได้ไม่เกิน 5% - ถ้าตะแกรงกลมคัดแยกได้ไม่ดี โดยทีข้าวรวมมาตะแกรงกลมมี ข้าวต้นปนอยู่ไม่เกิน 40% แล้ว อาจเป็ นไปได้ว่าตะแกรงกลมมีไม่ เพียงพอ จําเป็ นต้องเพิม - ตะแกรงกลมต้องสามารถปรับมุมเอียงของถาดได้ง่าย และ สามารถเก็บตัวอย่างข้าวบนถาด และใต้ถาดหลังการปรับแต่งได้ โดยง่าย - สามารถปรับเปลียนรางข้าวได้


34

ผังการจัดตะแกรงกลมทีเหมาะสม คัดแยกข้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ


35

8.การประมาณการข้าวต้นคาดการณ์ การคํานวนหาข ้าวต้นคาดการณ์จากการตรวจสอบระหว่างผลิต (มาตรฐานข้าว 100% ชัน 2) 1. การแตกหักรวมทุกขันตอน = % 2. มีขา้ วเต็มเมล็ด = 100-แตกหักรวม = 100= % 3. %ข ้าวเต็มเมล็ดเทียบขา้ วเปลือก = ข ้าวเต็มเมล็ดxกรัมข้าวขาว = x 0.64 = % 4. %ข ้าวตน้ คาดการณ์ = %ขา้ วเต็มเม็ลดเทียบข้าวเปลือก+4.5 (+ 4.5 = = % 5. เปรียบเทียบกับเป้ าหมาย หมายเหตุ 4.5 เป็ น%ขา้ วทียอมให้ได้ตามมาตรฐานกระทรวงพานิชย์

ตัวอย่างการคํานวณ สมมุติให้การแตกหักรวมทุกขันตอน 38.50% กรัมข้าวขาว 64% การคํานวนหาข้าวต้นคาดการณ์จากการตรวจสอบระหว่างผลิต (มาตรฐานข้าว 100% ชัน 2) 1. การแตกหักรวมทุกขันตอน = 38.50 % 2. มีขา้ วเต็มเมล็ด = 100-แตกหักรวม = 100-38.5 = 61.50 % 3. %ข้าวเต็มเมล็ดเทียบข้าวเปลือก = ข้าวเต็มเมล็ดxกรัมข้าวขาว = 61.50 x 0.64 = 39.36 % 4. %ข้าวต้นคาดการณ์ = %ข้าวเต็มเม็ลดเทียบข้าวเปลือก+4.5 = 39.36 (+ 4.5 = 43.86 % 5. เปรียบเทียบกับเป้ าหมาย หมายเหตุ 4.5 เป็ น%ข้าวทียอมใหไ้ ด้ตามมาตรฐานกระทรวงพานิชย์


36

ภาคผนวก มาตรฐานข้าวกระทรวงพาณิชย์ มาตรฐานข้าวขาว (พืนข้าว) พืนข้าว (หน่วย/ร้อยละ)

ชนิดข้าวขาว

ชัน1

เมล็ดยาว ชัน 1 (เกิน 7.0 มม.) ชัน 2 (เกิน 6.6-7.0 มม.) ชัน 3 (เกิน 4.7-6.6 มม.) เมล็ดสัน (ไม่เกิน 6.2 มม.) 70.0 5.0 0

ชัน2

40.0

-

 6.0

ชัน3

30.0

-

 5.0

5%

20.0

-

 10.0

10%

10.0

-

 15.0

15%

5.0

-

 30.0

25% เลิศ

50.0

 50.0

25%

50.0

 50.0

35%

50.0

 50.0

45%

50.0

 50.0


37

มาตรฐานข้าวขาว (ส่วนผสม)

ชนิด ข้าวเต็ม ข้าวขาว เมล็ด

ชัน1 ชัน2 ชัน3 5% 10% 15% 25% เลิศ 25% 35% 45%

60.0 60.0 60.0 60.0 55.0 55.0 40.0 40.0 32.0 28.0

ส่วนผสม (หน่วย/ร้อยละ) ต้นข้าว ข้าวหักและปลายข้าวซีวัน ทังหมด ข้าวหักทีมีความยาว ปลายข้าว ขนาดหัก ขนาดหัก (รวมทังข้าวหักทีไม่ผ่าน ไม่ถึงส่วนขันตําที ซีวัน (มม.) เล็ก (มม.) ตะแกรงเบอร์ 7 และ กําหนดและไม่ผา่ น ปลายข้าวซีวัน) ตะแกรงเบอร์ 7  4.0 0 0 5.2  4.5  0.5  0.1 5.2 3.25  5.0  0.5  0.1 5.2 3.25  7.0  0.5  0.1 4.6 2.15  12.0  0.7  0.3 4.3 2.15  17.0  2.0  0.5 4.0 1.96  28.0  1.0 3.2  28.0  2.0 3.2  40.0  2.0 3.2  50.0  3.0 3.2 -

< น้อยกว่า, £ น้อยกว่าหรือเท่ากับ, > มากกว่า, ³ มากกว่าหรือเท่ากับ, 0 ไม่มี, - ไม่กาํ หนด


38

มาตรฐานข้าวขาว (ข้าวและสิงเจือปน) ข้าวและสิงทีอาจมีปนได้ไม่เกิน (หน่วย/ร้อยละ) เมล็ดแดง และ ข้าว เมล็ดลีบ เมล็ดอ่อน ชนิดข้าว เมล็ด เมล็ดพืชอืน และวัตถุ หรือข้าวเมล็ดสี ท้องไข่ เมล็ดเสีย เหนียว อื น อย่างใดอย่างหนึง ขาว เหลือง ตํากว่ามาตรฐาน ขาว หรือหลายอย่างรวมกัน ชัน1 0 0 3.0 0 1.5 0 ชัน2 0 0.2 6.0 0.25 1.5 0.2 ชัน3 0 0.2 6.0 0.25 1.5 0.2 5% 2.0 0.5 6.0 0.25 1.5 0.3 10% 2.0 1.0 7.0 0.5 1.5 0.4 15% 5.0 1.0 7.0 1.0 2.0 0.4 25% เลิศ 5.0 1.0 7.0 1.0 2.0 1.0

ข้าว เปลือก เมล็ด/กก. 5 7 7 10 15 15 15

25%

7.0

1.0

8.0

2.0

2.0

2.0

20

35%

7.0

1.0

10.0

2.0

2.0

2.0

20

45%

7.0

1.0

10.0

2.0

2.0

2.0

20

ระดับการสี สีดีพเิ ศษ สีดีพเิ ศษ สีดีพเิ ศษ สีดี สีดี สีดีปานกลาง สีดีปานกลาง สีธรรมดาและ ไม่เกินสีปานกลาง สีธรรมดาและ ไม่เกินสีปานกลาง สีธรรมดาและ ไม่เกินสีปานกลาง

< น้อยกว่า, £ น้อยกว่าหรือเท่ากับ, > มากกว่า, ³ มากกว่าหรือเท่ากับ, 0 ไม่มี, - ไม่กาํ หนด


39

มาตรฐานข้าวขาวหัก ส่วนผสม (หน่วย/ร้อยละ) ข้าวเต็ม ข้าวเต็ม เมล็ด เมล็ดรวม ชนิดข้าว พืนข้าวได้จาก กับข้าวหัก ขาวหัก การสีข้าวขาว ทีมีความ ยาวตังแต่ 6.5 ส่วน ขึนไป เอวันเลิศ 100%  15.0 พิเศษ 100%, 5%, เอวันเลิศ -  15.0 10% 15%, 25% เอวันพิเศษ -  15.0 เลิศ

ข้าวและสิงทีอาจมีปนได้ไม่เกิน (หน่วย/ร้อยละ) ข้าวหักทีมี ปลายข้าว ข้าวเหนียวขาว ความยาวไม่ ซีวัน ถึง 5.0 ส่วน ทังหมด และไม่ผ่าน ปลายข้าว วัตถุอืน (รวมทั งปลาย ตะแกรง ซีวัน ข้าวซีวัน) เบอร์ 7

ข้าวหักทีมี ความยาว ตังแต่ 5.0 ส่วนขึนไป

ข้าวหักทีมี ความยาว ไม่ถึง 6.5 ส่วนและไม่ ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7

 74.0

-

 10.0

 1.0

1.5

0.5

0.5

-

 80.0

-

 5.0

1.5

0.5

0.5

-

 79.0

-

 6.0

2.5

0.5

1.0

< น้อยกว่า, £ น้อยกว่าหรือเท่ากับ, > มากกว่า, ³ มากกว่าหรือเท่ากับ, 0 ไม่มี, - ไม่กาํ หนด


40

มาตรฐานข้าวกล้อง (พืนข้าว-ส่วนผสม) พืนข้าว (หน่วย/ร้อยละ) ชนิดข้าวกล้อง

100% ชัน 1 100% ชัน 2

ส่วนผสม (หน่วย/ร้อยละ)

เมล็ดยาว ชัน 2 และหรือชัน เมล็ดสัน ข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว ชัน 1 3 (เกิน 6.2-7.0 (ไม่เกิน 6.2 มม.) (เกิน 7.0 มม.) มม.)  70.0  5.0  80.0  55.0  6.0  80.0

ข้าวหัก 4.0  4.5

100% ชัน 3

 40.0

-

 7.0

 80.0

-

 5.0

5%

 30.0

-

 10.0

 75.0

-

 7.0

10%

 20.0

-

 15.0

 70.0

-

 12.0

15%

 10.0

-

 35.0

 65.0

-

 17.0

< น้อยกว่า, £ น้อยกว่าหรือเท่ากับ, > มากกว่า, ³ มากกว่าหรือเท่ากับ, 0 ไม่มี, - ไม่กาํ หนด


41

มาตรฐานข้าวกล้อง (ข้าวและสิงเจือปน) ข้าวและสิงทีอาจมีปนได้ไม่เกิน (หน่วย/ร้อยละ) ชนิดข้าวกล้อง

เมล็ดลีบ เมล็ดอ่อน เมล็ดพืชอืน และวัตถุ ข้าว เมล็ดเสีย ข้าวเหนียวขาว อืน อย่างใดอย่างหนึง เปลือก หรือหลายอย่างรวมกัน

เมล็ดแดง

เมล็ดเหลือง

ท้องไข่

100% ชัน 1

1.0

0.5

3.0

0.5

1.5

3.0

0.5

100% ชัน 2

1.5

0.75

6.0

0.75

1.5

5.0

1

100% ชัน 3

2.0

0.75

6.0

0.75

1.5

5.0

1

5%

2.0

1.0

6.0

1.0

1.5

6.0

1

10%

2.0

1.0

7.0

1.0

1.5

7.0

2

15%

5.0

1.0

7.0

1.5

2.5

8.0

2

< น้อยกว่า, £ น้อยกว่าหรือเท่ากับ, > มากกว่า, ³ มากกว่าหรือเท่ากับ, 0 ไม่มี, - ไม่กาํ หนด


42

คณะผูจ้ ดั ทํา โครงการเพิมผลิตภาพของอุตสาหกรรมด้านกระบวนการผลิต (โรงสีขา้ ว) 1 ศาสตราจารย์สุทธิพนั ธ์ จิตพิมลมาศ

ทีปรึกษาโครงการ

2.ผศ.พนมกร ขวาของ

หัวหน้าโครงการ

3.นายกุลวุฒิ จอกน้อย

ทีปรึกษา

4. นายสุวิชา สายโพธิ

ทีปรึกษา

5. นายกริชสุบรรณ กมโลบล

ทีปรึกษา

6. นายชลวุฒิ กมลเลิศ

ทีปรึกษา

7. นายทวีสิทธิ พานเยือง

ทีปรึกษา

8. นางสาวสิริกร ตุลยะสุข

เจ้าหน้าทีประสานงาน

หน่ วยงานผูว้ ่าจ้าง กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที 3 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที 4 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที 5 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที 6 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที 7



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.