ลุ้นรับรางวัล กับกิจกรรม ท้ายเล่ม
ปีท่ี 7 ฉบับที่ 5 ประจ�ำเดือน กันยายน-ตุลาคม 2563
SLASHER
เครื่องตัดหญ้า ดีอย่างไร
AUTO STEERING พวงมาลัย อัตโนมัติ
สุพ รรณิ ก า ค� ำ ภั กดี
ROLE MODEL FOR A NEW GENERATION OF FARMERS
เผยอาวุธลับ ต้นแบบเกษตรกรยุคใหม่
2
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
ไม่อยากเอ้าท์ งดเผาอ้อย สวัสดีพี่น้องมิตรชาวไร่ที่รักทุกท่านครับ ช่วงปลายฝนต้นหนาวนี้สภาพอากาศ เปลีย่ นแปลงบ่อย มีพายุฝนฟ้าคะนองแวะเวียนเข้ามาทักทายประเทศไทย เห็นฝนตกแบบนี้ คนท�ำไร่สมัยใหม่อย่างพวกเราก็ใจชื้นได้น�้ำชุ่มฉ�่ำมาเติมเข้าเขื่อน และเป็นจังหวะดี เช่นกันทีเ่ ราจะได้เติมน�ำ้ ในสระทีพ่ ร่องไปเตรียมไว้ใช้ให้ออ้ ยของเรากันนะครับ โดยเฉพาะ มิตรชาวไร่ทไี่ ด้ขดุ สระเตรียมการไว้แล้วน่าจะยิม้ กว้างกว่าใคร เพราะเราต่างมีบทเรียนร่วมกัน จากแล้งที่ผ่านมากันแล้ว คนที่พร้อมกว่าย่อมได้รับผลกระทบบ้างแต่ไม่หนักหนาเท่ากับ อีกหลายคนที่เตรียมการรับมือไม่ทันการณ์ อย่างไรก็ดี ผมขอให้พวกเรายังต้องติดตาม ประกาศจากกรมอุตุนิยมวิทยาอย่างใกล้ชิดกันนะครับ เพื่อเตรียมรับมือให้พร้อมกับ ทุกสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ในช่วงโค้งสุดท้ายก่อนฤดูหีบอ้อยจะมาถึง เกษตรสมัยใหม่นยี้ งั มีอกี หลายองค์ประกอบทีเ่ รายังต้องเรียนรูแ้ ละน�ำมาใช้อกี มาก นะครับ ล่าสุด กลุม่ มิตรผลเองก็มโี อกาสได้ไปเยีย่ มชมกิจการของบริษทั หัวเว่ย เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จ�ำกัด เพือ่ ศึกษานวัตกรรมช่วยเพิม่ ขีดความสามารถด้านการวิเคราะห์และ เข้าถึงข้อมูลทางการเกษตรทีส่ ามารถน�ำมาปรับใช้ให้การท�ำงานของเรารวดเร็วและแม่นย�ำ มากยิ่งขึ้น ยิ่งโลกยุคดิจิทัลหมุนเร็วและแรงแค่ไหน พวกเราเองก็ต้องปรับตัวให้เร็วรับมือ กับความท้าทายใหม่ด้วยเช่นกันนะครับ และเป็นธรรมเนียมของช่วงนีท้ กุ ปีนะครับ ทีผ่ มจะต้องมาชวนพีน่ อ้ งมิตรชาวไร่ ให้หมั่นตรวจเช็กความพร้อมของเครื่องจักรกลการเกษตรที่เราต้องใช้กันในช่วงตัดอ้อย ที่ใกล้จะมาถึง เรายังเหลือเวลาอีก 1 - 2 เดือน นะครับ หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ส�ำคัญ ในการตัดอ้อย เช่น รถตัดอ้อย รถบิน หรือรถสิบล้อบรรทุกอ้อยของเรา ซ่อมบ�ำรุง เตรียมการไว้ ใครจะส�ำรองอะไหล่กป็ ระเมินจัดเตรียมไว้กนั ให้ดโี ดยให้คำ� นึงถึงการใช้งาน และความเสี่ยงจากหลายปัจจัยที่อาจท�ำให้อุปกรณ์เครื่องไม้เครื่องมือของเราเสียหาย งานต้องสะดุดหยุดชะงักไป เสียทัง้ เวลา เสียทัง้ โอกาส และอาจลุกลามไปถึงคิวการส่งอ้อย เข้าหีบของพวกเราด้วยนะครับ ผมอยากให้พวกเราวางแผนกันให้ดีแผนท่ี่ดีย่อมต้อง สอดคล้องสัมพันธ์กัน เราจึงต้องประสานงานกันอย่างใกล้ชิด และแน่นอนว่าพวกเรา ชาวมิ ต รผลทุ ก คนยิ น ดี พ ร้ อ มอ� ำ นวยความสะดวกให้ พี่ น ้ อ งมิ ต รชาวไร่ ส ามารถ ตัดอ้อยส่งโรงงานของเราได้ส�ำเร็จตลอดฤดูหีบอ้อยที่จะถึงนี้เช่นเคยครับ ย�ำ้ กันอีกครัง ้ นะครับ ปีนใ้ี ครไม่อยากเชย ไม่อยากเอ้าท์ งดเผาอ้อย ตัดอ้อย สดเท่านัน ้ ครับ
บรรเทิง ว่องกุศลกิจ
ประธานกรรมการบริษัท กลุ่มมิตรผล
CONTENTS Special Scoop มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม
6 8
เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก ของเล่นชาวไร่ Gossip ชาวไร่
Cover Story ต�ำบลมิตรผลร่วมพั ฒนา CSR ห้องเรียนชาวไร่
คนเก่งมิตรชาวไร่
10 16 18 20
22
ไลฟ์สไตล์มิตรชาวไร่
24 26 28
30
TEAM ประธานกรรมการบริษทั กลุม่ มิตรผล : บรรเทิง ว่องกุศลกิจ ทีป่ รึกษา : วิโรจน์ ภูส่ ว่าง / วิชรัตน์ บุปผาพันธุ์ / อภิวฒ ั น์ บุญทวี / ไพฑูรย์ ประภาถะโร / พรชัย ศรีสาคร / ทวีป ทัพซ้าย / ทรงศักดิ์ เบญจพิพธิ / ค�ำสี แสนศรี / สมศักดิ์ รอดหลง / อดุลย์ ครองเคหัง / สหชาติ เต็มวงษ์ / กรรณิกา ว่องกุศลกิจ / ดอกรักษ์ สุมาลัย กองบรรณาธิการ : กลุม่ ธุรกิจอ้อย / บริษทั มีเดีย มิกเซอร์ จ�ำกัด ศิลปกรรม/ออกแบบปก : บริษทั มีเดีย มิกเซอร์ จ�ำกัด สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจอ้อย call center โทร 02-794-1888 นิเวศ สุวรรณบุตร บริษัท ไร่ด่านช้าง จ�ำกัด โทร. 061-416-1222 สมศักดิ์ จวงพลงาม บริษัท ไร่อีสาน จ�ำกัด โทร. 084-360-9883 www.mitrpholmodernfarm.com Copyright © 2015 Mitr Phol Group
ศึกษาดูงาน
เจาะลึกเทคโนโลยีจากหัวเว่ย @ Huawei CSIC and Openlab Bangkok
ปัจจุบันนวัตกรรมการเกษตร มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ่ งธุรกิจอาหาร เพราะเกีย ่ วข้อง อย่างมาก และจะไม่พูดถึงไม่ได้เลยในเรือ และจ�ำเป็นต่อมนุษย์ทุกคนบนโลกในการด�ำรงชีวิตอยู่ ในปี 2050 ้ ถึง 70% เพื่ อทีจ ่ ะหล่อเลีย ้ งประชากรโลก การผลิตอาหารจะต้องเพิ่ มขึน 9.6 พั นล้านคน เราจะสามารถน�ำเทคโนโลยีมาเข้าแก้ไขปัญหานีไ้ ด้อย่างไร?
กลุ่มมิตรผลให้ความส�ำคัญในเรื่องการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนา อุ ต สาหกรรมอ้ อ ยและน�้ ำ ตาล และเป็ น โอกาสดี ที่ ก ลุ ่ ม มิ ต รผลได้ ไ ป ศึกษาดูงานที่ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด น�ำทีมโดย คุณพิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ กรรมการบริษทั คุณวีระเจตน์ ว่องกุศลกิจ ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ ธุรกิจน�ำ้ ตาลประเทศไทย พลังงาน และธุรกิจใหม่ และทีม ผูบ้ ริหาร พนักงานกลุม่ มิตรผล โดยมี Mr. Abel Deng, Chief Executive Officer และ Mr. Yao Lu, Director of Public Affairs and Communication Department ให้การต้อนรับ ส�ำหรับประเทศไทยหัวเว่ยจะเข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการน�ำ 5G เข้ามา ช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั อย่างเต็มรูปแบบ ผ่านความร่วมมือทัง้ 3 ด้าน ทัง้ ภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม ภาคประชาชน โดยเทคโนโลยี 5G คือ ระบบการสือ่ สารแบบ ไร้สายในยุคที่ 5 ซึง่ เชือ่ กันว่ามีความทรงพลังทีส่ ดุ โดย 5G จะไม่ใช่แค่การสือ่ สาร ผ่านโทรศัพท์มอื ถือเท่านัน้ แต่จะรวมถึงอุปกรณ์ทกุ ชนิดทีเ่ ชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตได้ (Internet of Thing หรือ IoT) เช่น ใช้ 5G ในการควบคุมเครือ่ งจักร อุปกรณ์ ในระยะไกล หรือการใช้ 5G ในการควบคุมเครือ่ งจักรกลด้วย Sensor การควบคุม รถยนต์ได้โดยไม่ตอ้ งมีคนขับ เป็นต้น ซึง่ นับว่าเป็นระบบทีจ่ ะเข้ามาเปลีย่ นโลก ทั้งใบให้เชื่อมต่อกันในทุกสรรพสิ่ง ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในด้านต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็น ทางด้านการแพทย์ การเงินการธนาคาร ภาคอุตสาหกรรม การขนส่ง ฯลฯ และรวมถึงภาคการเกษตรด้วยเช่นกัน โดยคาดว่าระบบ 5G จะสามารถ เพิ่มมูลค่าผลผลิตต่อไร่ให้สูงขึ้นอันเนื่องมาจากความแม่นย�ำในการท�ำงาน เมือ่ IoT เข้ามาช่วยในการจัดการสภาพแวดล้อม วิเคราะห์ดนิ น�ำ้ และทรัพยากร ให้เกิดประโยชน์สงู สุด รวมถึง 5G จะช่วยในเรือ่ งของการเข้าถึงข้อมูลขนาดใหญ่ บน Cloud Computing ได้อย่างเสถียรและรวดเร็วมากขึน้
การท�ำการเกษตรสมัยใหม่ หรือ เกษตร 5G สามารถ ยกระดับวิถีชีวิตเกษตรกรให้ดีขึ้นได้ ด้วยการท�ำให้วิธีการ ธรรมดากลายเป็นการด�ำเนินธุรกิจดิจิทัลที่สามารถท�ำให้ ผลผลิตเข้าถึงผู้บริโภคง่ายขึ้น และการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ ท�ำให้การด�ำเนินธุรกิจในภาคอุตสาหกรรมเกษตรไม่ใช่เรือ่ งยาก อีกต่อไป การก้าวเข้าสูเ่ กษตรอัจฉริยะ หรือ Smart Agriculture ไม่ใช่การเปลีย่ นแปลงทีน่ า่ กลัวส�ำหรับเกษตรกร เราสามารถ ร่วมมือกันส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการสินค้าเกษตรพัฒนาธุรกิจ ของตัวเองให้มศี กั ยภาพในการแข่งขันตามยุทธศาสตร์พฒ ั นา ประเทศ ไทยแลนด์ 4.0 มิตรชาวไร่ของเราก็ตอ ้ งเตรียมตัวรับมือกับระบบ 5G ในการเพิ่ มประสิทธิภาพการท�ำงาน พั ฒนาการเกษตร ่ นแปลง เข้าสู่ Smart Farming เพื่ อสอดรับกับการเปลีย ่ ั ฒนาอย่างไม่หยุดยัง ของโลกทีพ ้ กันนะคะ
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
5
Special Scoop
ปลู กมิตร บริ ก ารด้ ว ยใจ
ใส่ใจคุ ณภาพ ส่ง ถึง มือคุณ เนื่องจากสถานการณ์ของโลกและวิถีชิวิต ในยุคปัจจุบน ั เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวต ิ ประจ�ำวันของเรามากขึ้น เห็นได้ชัดจากช่วง ่ า่ นมา การระบาดของโรคติดต่อ โควิด-19 ทีผ การต้องเว้นระยะห่างทางสังคม ท�ำให้การใช้ ้ ชีวต ิ ประจ�ำวันต่างออกไปจากเดิม เช่น การซือ ข้าวของเครื่องใช้ออนไลน์ โดยลูกค้าสามารถ ้ สินค้าทีต ่ อ ่ า้ น เลือกซือ ้ งการ และรอรับสินค้าทีบ
6
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
จากสิ่งที่เกิดขึ้นท�ำให้ กลุ่มมิตรผล เล็งเห็นถึงประโยชน์ และความจ�ำเป็น ในการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้เพื่ออ�ำนวยความ สะดวกและรวดเร็วให้กบั ชาวไร่ โดยจัดท�ำแพลตฟอร์ม (Platform) การบริการ ซือ้ -ขายสินค้า ออนไลน์ ทีช่ อื่ ว่า "ร้านปลูกมิตร" คัดสรร สินค้าทีช่ าวไร่ใช้ในการท�ำไร่ เช่น อะไหล่รถตัด อุปกรณ์การเกษตร อุปกรณ์ชลประทาน ปุ๋ย และสินค้าอื่น ๆ อีกมากมายให้ชาวไร่ ได้ซอ้ื กัน และสามารถช�ำระเงินผ่านช่องทางการโอนเงิน บัตรเครดิตบัตรเดบิต และช�ำระเงินปลายทางพิเศษส�ำหรับชาวไร่มติ รผลสามารถ ช�ำระเงินผ่านวงเงินส่งเสริม (เกี๊ยว) ได้อีกด้วย และสินค้าที่อยู่ใน แพลตฟอร์ ม (Platform) ทางร้ า นค้ า จะด� ำ เนิ น การส่ ง สิ น ค้ า ให้ถงึ มือชาวไร่ โดยทีช่ าวไร่แค่กดสัง่ ผ่านหน้าจอ ก็รอรับสินค้าได้เลย และชาวไร่สามารถมัน่ ใจได้วา่ ทางร้านด�ำเนินกิจการอย่างโปร่งใส พร้อม จดทะเบียนบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์ถูกต้องตามกฎหมาย และ ได้จดทะเบียนการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงกับส�ำนักงานคุม้ ครอง ผูบ้ ริโภค ร้านปลูกมิตร บริการด้วยใจ ใส่ใจคุณภาพ ส่งถึงมือคุณ
เราพร้อมแล้วที่จะบริการพี่ น้องมิตรชาวไร่ ง่าย ๆ เพี ยงแค่ปลายนิ้วเท่านั้นของก็จัดส่งถึงบ้านแล้วนะคะ โดยพี่ นอ ้ งมิตรชาวไร่สามารถค้นหาได้ผา่ น One Agri Application หรือพิ มพ์ คำ� ว่า “ปลูกมิตร” บน Google แล้วกดค้นหา แค่นไ้ี ม่ยากเลยใช่มย ้ั คะ อย่าลืมมาช๊อปกัน เยอะ ๆ นะคะ
Scan QR Code
เพื่ อดาวโหลด One Agri Application
iOS
Android
ช่องทาง การช�ำระเงิน
มิตรผล โมเดิร์นฟาร์ม
SLASHER เครื่องตัดหญ้าดีอย่างไร ผู้เขียน - คุณนิเวศ สุวรรณบุตร ผู้จัดการฝ่ายไร่ด่านช้าง
่ เราพู ดถึงการใช้ชว เมือ ี ต ิ ประจ�ำวันยุคโควิด-19 นี้ มีหลายอย่างทีเ่ ป็นของใหม่ ๆ ทีไ่ ม่เคยท�ำกันมาก่อนเลย ก็เช่นเดียวกับการท�ำไร่ออ ้ ยสมัยใหม่แบบมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์ม (Mitr Phol ModernFarm) ของเรา ก็มบ ี างสิง ่ ่ วรด�ำเนินการต่อแปลงอ้อยของเรา แม้อาจเป็นกิจกรรมทีไ่ ม่คน ทีเ่ ป็น New Normal ทีค ุ้ เคย ไม่เคยท�ำมาก่อน ้ ในใจเสมอ ท�ำไมต้องท�ำด้วย ท�ำแล้วจะเกิดประโยชน์อะไรหรือไม่ ล้วนแล้วแต่เกิดค�ำถามขึน
ดังนัน้ วันนีผ้ มจึงขอแนะน�ำเรือ่ งของการตัดหญ้าหัวแปลง ท้ายแปลง ข้างถนน หรือบนถนนทีเ่ ว้นไว้ตามข้อแนะน�ำในการวางผังแปลงอ้อย ทีด่ ี (Farm Design) ของมิตรผลโมเดิรน์ ฟาร์ม เพือ่ ความสะดวก เพิม่ ประสิทธิภาพของเครือ่ งจักรกลเกษตรในไร่ออ้ ยในทุก ๆ ขัน้ ตอน โดยใช้ เครือ่ งตัดหญ้า (Slasher) ทัง้ ขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ เพือ่ ประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั ดังนี้
1
2
3
4
ลดการใช้สารเคมีทเ่ี ป็น พิ ษต่อพี่ นอ ้ งเกษตรกร และเป็นมิตร ต่อสิง ่ แวดล้อม
ลดการชะล้างหน้าดิน โดยเฉพาะแปลงอ้อย ่ ทีเป็นดินทราย ช่วยรักษา ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
เพิ่ มประสิทธิภาพการใช้ ่ งจักรกลเกษตร เครือ ในไร่ออ ้ ย ตัง ้ แต่ปลูกจนถึง ่ วอ้อยเข้าหีบ การเก็บเกีย
่ ยูข เป็นทีอ ่ องตัวห�ำ้ ตัวเบียน แมลงทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ ่ อ้อย ช่วยลดการระบาด ของแมลงศัตรูออ ้ ย
8
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
การออกแบบถนนหัวแปลง ของประเทศออสเตรเลีย
การออกแบบรูปแปลง ของประเทศออสเตรเลีย
การท�ำความสะอาดถนนในแปลง หัวแปลง ท้ายแปลง (Farm Design) ของไร่บริษัท ่ งตัดหญ้า โดยใช้เครือ
เครื่องตัดหญ้า ติดท้ายแทรคเตอร์รถเล็ก เครื่องตัดหญ้า ติดท้ายแทรคเตอร์รถใหญ่
รูปแบบถนนในแปลงและการเว้นระยะหัวแปลง
เห็ น ไหมละครั บ ว่ า เพี ยงแค่ เ รายอมเปลี่ ย นแปลงความคิ ด วางแผนในการท�ำไร่ออ ้ ย ตามวิธก ี ารสมัยใหม่แบบมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์ม แล้ว พี่ นอ ้ งมิตรชาวไร่ทก ุ ท่านก็สามารถท�ำสิง ่ ทีเ่ รียกว่า New Normal ได้แล้วครับ
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
9
COVER STORY
สุพรรณิกา ค�ำภักดี
เผยอาวุธลับ ต้นแบบเกษตรกรยุคใหม่
ROLE MODEL FOR A NEW GENERATION OF FARMERS 10
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
เกษตรสมัยใหม่น�ำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้ ้ กว่าทีเ่ คย ช่วยลดต้นทุนการท�ำไร่ การท�ำไร่งา่ ยขึน ใช้แรงงานคนน้อยลง จากการน�ำเครื่องจักรกล ทันสมัยเข้ามาช่วยเพิ่ มทั้งปริมาณและคุณภาพ ของผลผลิต ซึ่งมิตรชาวไร่หลายคนติดใจเมื่อ ได้ลองท�ำไร่ตามแนวทางของมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์ม ่ นแปลงมักอยู่ หากแต่ความยากของทุกการเปลีย ในช่วงแรก โดยเฉพาะมิตรชาวไร่รุ่นใหม่ไฟแรง อาจต้องใช้เวลากันสักพั ก ศึกษาเรียนรู้ท�ำความ คุ้นเคยกับเทคโนโลยีเครื่องไม้เครื่องมือทันสมัย ที่ เ ริ่ ม ใช้ กั น แพร่ ห ลายในยุ ค นี้ จึ ง เป็ น จั ง หวะดี ่ วชาญ ทีเ่ หล่าทายาทมิตรชาวไร่ทง ั้ น้อยใหญ่ทเี่ ชีย การท่องโลกออนไลน์จะได้แสดงฝีมอ ื ช่วยผ่อนแรง คุณพ่ อคุณแม่กันในทันที
มิตรชาวไร่ฉบับนี้ เราจึงไม่พลาดที่จะชวนคลื่นลูกใหม่ อย่างน้องเก๋ สุพรรณิกา ค�ำภักดี สาวน้อยวัย 27 ปี ทายาทของ คุณอุลัย ค�ำภักดี มิตรชาวไร่แห่งแดนกาฬสินธุ์ ที่ได้ร�่ำเรียนมา ในสาขาบริหารธุรกิจ จนส�ำเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตจากคณะ การบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และกลับมา สืบทอดการท�ำไร่จากคุณพ่อ โดยเธอได้ระเบิดพลังคนรุ่นใหม่ น�ำองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการมาพัฒนาการท�ำไร่ในยุค เกษตรสมัยใหม่ จนสามารถขยายพื้นที่การท�ำไร่ของตนเองได้ 400 ไร่ต่อปี และยังได้ริเริ่มโครงการอ้อยแปลงใหญ่สร้างโอกาส ให้มิตรชาวไร่รายเล็กสามารถเข้าถึงเครื่องจักรกลการเกษตร และเทคโนโลยีลำ�้ สมัย น�ำชุมชนเปลีย่ นจากการท�ำไร่แบบดัง้ เดิม สู่เกษตรสมัยใหม่ได้อย่างเต็มภาคภูมิ
ก่อนจะท�ำอะไรเราก็ตอ ้ งวางแผนก่อนค่ะ จะท�ำไร่กต ็ อ ้ งดูดน ิ เป็น ว่าดินเราเป็นดินประเภทไหน ดูพันธุอ ์ อ ้ ยทีเ่ ราจะน�ำเข้ามาปลูกด้วย ไล่มาตัง ้ ง ้ แต่การไถเตรียมดินเลยค่ะ เราก็ตอ ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศ ว่าฝนจะมาช่วงไหน เราจะไถพลิกหน้าดินได้ชว ่ งไหน ไถเก็บน�ำ้ ช่วงไหน ้ ต ขัน ็ อ ้ งวางแผนทัง ้ ตอนเหล่านีก ้ หมดเลย
อาวุธลับฉบับคนรุ่นใหม่
หลังจบการศึกษาแล้ว น้องเก๋ กลับมาช่วยครอบครัวท�ำไร่อ้อยที่เธอคุ้นเคยมาตั้งแต่เล็ก พร้อมพกองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการ ติดตัวกลับมาใช้เป็นอาวุธลับวางแผนบริหารจัดการไร่ในแบบฉบับคนรุ่นใหม่ “ก่อนจะท�ำอะไรเราก็ต้องวางแผนก่อนค่ะ จะท�ำไร่ก็ต้อง ดูดนิ เป็น ว่าดินเราเป็นดินประเภทไหน ดูพนั ธุอ์ อ้ ยทีเ่ ราจะน�ำเข้ามาปลูกด้วย ไล่มาตัง้ แต่การไถเตรียมดินเลยค่ะ เราก็ตอ้ งติดตามข่าวพยากรณ์อากาศ ว่าฝนจะมาช่วงไหน เราจะไถพลิกหน้าดินได้ช่วงไหน ไถเก็บน�้ำช่วงไหน ขั้นตอนเหล่านี้ก็ต้องวางแผนทั้งหมดเลย เพราะว่าเราท�ำไร่อย่างไร ก็ตอ้ งขึน้ อยูก่ บั สภาพอากาศ จะท�ำอ้อยน�ำ้ ราดในแปลงเรามันเป็นดินทรายมันก็ไม่ได้ มันไม่เหมาะเลยต้องวางแผนกันใหม่ไล่มาตัง้ แต่เตรียมดินเลยค่ะ” น้องเก๋เริม่ ต้นคุยกับเราถึงช่วงแรกทีก่ ลับบ้านมาและเข้ามาช่วยกิจการงานไร่ ซึง่ เธอเตรียมตัวมาอย่างดีทงั้ พลิกต�ำราศึกษาข้อมูลเคล็ดหลักวิชา ท�ำอ้อย และได้คณ ุ พ่อทีม่ ดี กี รีเป็นถึงเกษตรกรดีเด่นสาขาพืชไร่ของจังหวัดกาฬสินธุค์ อยเป็นกุนซืออยูไ่ ม่หา่ ง โดยเฉพาะเทคนิคการเลือกพันธุอ์ อ้ ย ของครอบครัวค�ำภักดี “เพราะเราปลูกอ้อยเยอะยังไงล่ะคะ เราถึงต้องคัดสรรพันธุ์อ้อยให้ถูกฝาถูกตัว พันธุ์อ้อยแต่ละพันธุ์ระยะการสะสม น�้ำตาลของเขาจะไม่เท่ากัน เราปลูกพันธุ์ LK92-11 พันธุ์ K11 และพันธุ์ขอนแก่น 3 ซึ่งเหมาะกับดินทรายบ้านเรา ที่เราต้องปลูกหลายพันธุ์ นี่ก็เพื่อจะได้จัดการได้ พื้นที่ปลูกแต่ละพันธุ์ก็มากน้อยไม่เท่ากัน แต่ละพันธุ์เขาจะให้ผลผลิตไม่เท่ากัน พันธุ์ที่ต้องรีบตัดตั้งแต่ต้นหีบ จะเป็นพันธุ์ K92-11 อายุน้อยให้น�้ำหนักต่อไร่ไม่สูง ตามมาด้วยพันธุ์ขอนแก่น 3 และพันธุ์ K11 ถ้าขืนปลูกอ้อยอยู่พันธุ์เดียวรับรองว่า ตัดไม่ทัน นี่เป็นเทคนิคที่ท�ำให้เราได้อ้อยน�้ำหนักและความหวานดี” น้องเก๋เผยเคล็ดลับวิธีเพิ่มผลผลิตที่แยบยลในแบบที่หลายคนคาดไม่ถึง
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
11
กระบอกเสียงของเกษตรสมัยใหม่ ขวัญใจมิตรชาวไร่ในชุมชน
นอกจากนี้ น้องเก๋ยังฝากฝีไม้ลายมือไว้กับการตัดอ้อยสด 100% ไว้ให้ มิตรชาวไร่แถบกาฬสินธุ์ได้กล่าวขวัญถึงกัน ซึ่งเธอเผยเคล็ดลับเด็ดให้พิชิต เป้าหมายท้าทายว่ามาจากอุปนิสยั พืน้ ฐานของนักจดบันทึกตัวยง “เราแค่บนั ทึก ไว้หมดทุกอย่างโดยละเอียดเลยค่ะ อ้อยแต่ละแปลงได้ผลผลิตกี่ตัน รวมตัด ทัง้ หมดทุกแปลงแล้วผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่คอื เท่าไหร่ หรืออย่างแต่กอ่ นแปลงไหน โดนลักลอบเผา เคยโดน 134 ไร่ และเราอ้อยได้ 1,788.47 ตัน ก็เอา 134 มาหาร เลยค่ะ ออกมาตกไร่ละ 13 ตัน อย่างนี้เราก็จะรู้แล้ว พอปีนี้เป็นอ้อยตอหนึ่ง เราจะมีฐานให้ค�ำนวณได้เลยว่า ถ้าเผาแล้วได้อ้อยเท่าไหร่ แล้วถ้าไม่เผาเราจะ ได้ผลผลิตต่อไร่กี่ตัน” ยิ่งเมื่อน�ำข้อมูลมาเปรียบเทียบกันระหว่างผลผลิตจาก แปลงที่ถูกเผาก่อนตัดกับแปลงที่ตัดอ้อยสด ยิ่งเห็นได้ชัดเจนถึงความแตกต่าง ยิ่งท�ำให้ข้อดีของการตัดอ้อยสดที่ได้ผลผลิตมากกว่าเด่นชัดขึ้นเรื่อย ๆ มากไป กว่านั้น น้องเก๋ยังได้บันทึกข้อมูลการเข้าท�ำงานของคนงานในแต่ละวัน รวมถึง ต้นทุนการท�ำไร่ทกุ อย่างละเอียดลงลึกถึงหน่วยสุดท้าย ไม่วา่ จะเป็นค่าน�ำ้ มันรถ ทุกคัน ค่าอะไหล่เครื่องจักร ลงบันทึกรายรับรายจ่ายแยกหมวดหมู่ไว้ครบถ้วน พร้อมน�ำมาใช้เป็นข้อมูลฐานคิดวิเคราะห์ประกอบวางแผนการท�ำไร่สมัยใหม่ ของครอบครัวได้ต่อไป และด้ ว ยการบั น ทึ กนี่เองที่ท�ำให้น ้องเก๋สามารถวางแผนการเงิ น ได้ ต่อเนื่องหลายปี จัดสรรปันส่วนเงินรายรับรายจ่ายแยกไว้ชัดเจนในแต่ละด้าน น�ำไปสู่ความสามารถใหม่ในการตั้งงบพัฒนาไร่ในอนาคตของตนได้ “ถ้าเป็น เรื่องเงินนี่เราจะกันไว้เลยว่าแต่ละก้อนต้องใช้ท�ำอะไรบ้างไม่ปะปนกัน ก้อนนี้ คือค่าอาหาร ก้อนนี้คือค่าปลูก ค่าน�้ำมันรถ ค่าแรงคนงาน ค่าจิปาถะ ถ้าช่วง เปิดหีบเฉพาะค่าน�ำ้ มันรถตัดอ้อยต้องมีสำ� รองไว้ดว้ ย ส่วนค่าน�ำ้ มันรถพ่วงรถบิน เก๋จะมีแยกไว้อีกต่างหาก เพราะตัดอ้อยเดือนแรกมันจะยังไม่มีรายรับเข้ามา เราต้องส�ำรองเงินไว้เลยในทุกขัน้ ตอน จากข้อมูลทีเ่ ราเก็บไว้กพ็ อจะประเมินได้ รู้ค่าน�้ำมัน รู้ค่าแรงที่ต้องจ่ายค่ะ เคยมีบัญชีที่ท�ำไว้ก่อนแล้ว มันดีที่ท�ำให้เรา ส�ำรองเงินไว้ใช้ได้ตงั้ แต่ปดิ หีบจนถึงเปิดหีบได้แม่นย�ำขึน้ ข้อดีอกี อย่างคือท�ำให้ เราเห็นส่วนที่เรามีไว้เหลือเป็นเงินเก็บด้วยค่ะ” เก๋ สุพรรณิกาเล่าให้เราฟัง ด้วยความอิม่ เอมใจยิง่ เมือ่ นึกย้อนกลับไปถึงเส้นทางการบริหารจัดการไร่สมัยใหม่ ที่เธอน�ำพาครอบครัวก้าวเดินมาอย่างมั่นใจ และเป็นพื้นฐานให้ก้าวย่างต่อไป ใหญ่ขึ้น เมื่อครอบครัวค�ำภักดีกล้าออกรถตัดอ้อยเป็นของตนเอง น�ำไปสู่การ ขยายพื้นที่ปลูกอ้อยได้อย่างน้อยปีละ 400 ไร่ 12
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
ด้วยศักยภาพการจัดการงานไร่ของครอบครัว ค�ำภักดีทโี่ ดดเด่นมาอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่สมัยคุณพ่ออุลยั เป็นก�ำลังหลัก ชนะใจชาวมิตรผลและทาบทามให้เข้ามา เป็นผูร้ บั เหมารถตัดอ้อยของโรงงานน�ำ้ ตาลมิตรกาฬสินธุ์ และเป็นจุดเริม่ ต้นทีท่ ำ� ให้นอ้ งเก๋ได้เปิดโลกลองของเล่น ชิน้ ใหญ่ ใช้รถตัดอ้อยในไร่ของเธอและของลูกไร่ จนเริม่ คุน้ เคยกับการใช้เครือ่ งไม้เครือ่ งมือสมัยใหม่ จุดประกายให้ น้องเก๋ลกุ ขึน้ ชวนชาวไร่ในชุมชนหันมาท�ำไร่สมัยใหม่กนั “ปีแรก ๆ จ�ำได้เลยว่าคนอืน่ เขายังไม่ยอมเปิดใจยอมรับ รถตัด คุณพ่อและตัวเก๋เองนี่ก็ต้องเข้าไปคุยกับชาวไร่ ด้วยกันว่าเราลองมาแล้วมันดีนะ เริม่ จากแนะน�ำข้อมูล เล่าให้เขาฟังก่อน ว่ามันต้องปรับเปลีย่ นวิธกี ารเตรียมแปลง อย่างไรบ้าง ข้อดีของรถตัดอ้อยมีมากน้อยอย่างไรบ้าง ซึ่งแน่นอนว่ารถไม่ได้ท�ำให้ตออ้อยพังอย่างที่หลายคน พูดกัน เราก็เริม่ เปลีย่ นจากลูกไร่ของเรา คนอืน่ เขาเห็น ว่าเราท�ำงานจริง ได้ผลผลิตดีขนึ้ จริง คราวนีเ้ ขาก็อยาก เปลี่ยนมาตัดกับเรา ยิ่งพอเราซื้อรถตัดของเราเองมา เขาก็ถามเราว่าคนงานเรายังเป็นชุดเดิมอยู่ไหม ทั้งทีม รถพ่วง ทีมคนขับรถตัด เราก็บอกเขาว่ายังเป็นคนชุดเดิม ซึ่งเขาก็รู้จักกันอยู่แล้วก็ยิ่งไว้เนื้อเชื่อใจกันแนบแน่น ขึ้นไปอีก ยิ่งเป็นชาวไร่รายเล็ก ๆ ปลูกแค่ 5 ไร่ 10 ไร่ นีโ่ น้มน้าวกันนานอยู่ อย่างไรเสียเขาก็จะตัดเอง ตัดแล้ว ขนขึน้ ใส่รถ 6 ล้อไปวันละเทีย่ วก็ได้ เราก็เลยถามเขาว่า ถ้ารถ 6 ล้อ วันละเที่ยวกับพื้นที่ 10 ไร่ ถ้าตัดอ้อยสด ต้องตัดอยู่กี่วัน เขาก็บอกว่าตัดอยู่ประมาณ 8 วัน เราก็เลยบอกเขาว่าถ้าใช้รถตัดใช้เวลาไม่ถงึ 1 วันด้วยซ�ำ้ แค่ครึ่งวันท�ำงานได้ 10 ไร่ อ้อยไม่เสียน�้ำหนักด้วยนะ ไม่ ต ้ อ งมาลงทุ น ดู แ ลคนงานนานหลายวั น ไม่ ต ้ อ ง เสียเวลาด้วย แค่นั่งรออยู่บ้านจะไม่ง่ายกว่าหรือคะ เงินได้เท่าเดิมแต่ท�ำงานน้อยลง สบายขึ้น เอาเวลาไป ท�ำอย่างอื่นได้อีกเยอะ เก๋ก็อธิบายให้เขาฟัง พูดให้เขา เห็นความต่างจนเขาเริม่ คล้อยตาม” น้องเก๋เล่าถึงความ พยายามโน้มน้าวมิตรชาวไร่อย่างตั้งใจ
ผลงานของทีมงานรถตัดของน้องเก๋ท�ำผลงานได้เข้าตาพี่น้อง ชาวไร่ในพื้นที่จนไว้เนื้อเชื่อใจและยอมหันมาท�ำอ้อยสดใช้รถตัดกัน มากขึ้น ในเรื่องนี้น้องเก๋เผยเคล็ดลับให้เราฟังว่า “ส่วนหนึ่งมาจาก เขาเห็นศักยภาพการท�ำงานของทีมเราค่ะ เพราะเรามีคนตัดหัวแปลงให้ เก็บอ้อยทีร่ ถตัดไปไม่ถงึ ให้ดว้ ย เวลาเขาเกลีย่ อ้อยถ้าอ้อยหกเราก็เก็บให้ ไม่ใช่อ้อยหกตกหล่นรายทางเห็นแล้วไม่เก็บ เราจะเก็บให้เขาทุกล�ำ เขาเลยเห็นความตั้งใจ เห็นประสิทธิภาพ เราเข้าไปแปลงไหนเราท�ำ มาตรฐานเดียวกันหมด เขาก็เลยไว้ใจ คนทีจ่ องตัดอ้อยกับเราถึงเพิม่ ขึน้ เรื่อย ๆ ไงคะ” สถิติการใช้รถตัดอ้อยของกลุ่มน้องเก๋เพิ่มขึ้นอย่าง ก้าวกระโดด เมือ่ เทียบกับปีกอ่ นทีต่ ดั ได้เพียง 5,000 ตัน เพียงปีเดียว มียอดใช้รถตัดเพิม่ ขึน้ ถึง 10,000 ตันเลยทีเดียว นับว่ากลยุทธ์ชกั ชวน กันมาของน้องเก๋สัมฤทธิ์ผลงดงามเยี่ยมจนต้องยกนิ้วให้ ชวนชาวไร่รวมกลุ่มท�ำเกษตรแปลงใหญ่
รถตัดอ้อยเปิดมุมมองการท�ำไร่ของน้องเก๋ให้กว้างขึน้ และเริม่ ฉุกคิดได้ว่าการท�ำไร่แปลงเล็กนั้นท�ำให้ชาวไร่ได้ก�ำไรน้อยกว่าที่ควร จะได้ “ยิ่งเราได้ลงมือท�ำไร่สมัยใหม่เองท�ำให้เรามองเห็นปัญหาของ ชาวไร่นะคะว่าท�ำไมเขาท�ำไร่กนั มาตัง้ นานแล้วยังไม่ได้กำ� ไรงามอย่าง ที่อยากได้กัน ทั้งที่ราคาอ้อยก็ดี โรงงานน�้ำตาลอยู่ใกล้ ๆ มานั่งคิดดู ก็เลยพบว่าส่วนหนึ่งมันเกิดจากการจัดการภายในไร่ของแต่ละคน ไล่มาตั้งแต่การเตรียมดินกันไม่ดีพอ ไหนจะเลือกพันธุ์อ้อยไม่เหมาะ กับพื้นที่ และสิ่งส�ำคัญที่ชาวไร่บ้านเราเขายังไม่ค่อยรู้คือไม่รู้ต้นทุน ของตัวเอง พอไม่รู้ว่าต้นทุนมันเกิดจากอะไรบ้างในแต่ละขั้นตอน เขาก็บริหารงานไม่ถกู จุด เสีย่ งผิดพลาดได้งา่ ย เลยท�ำให้ได้กำ� ไรน้อย” น้องเก๋ตงั้ ข้อสังเกตจากประสบการณ์หลังจากทีไ่ ด้ลงไปสัมผัสคลุกคลี กับชาวไร่ด้วยกันอย่างใกล้ชิด
ยิง ่ เราได้ลงมือท�ำไร่สมัยใหม่เองท�ำให้เรา มองเห็นปัญหาของชาวไร่นะคะว่าท�ำไม เขาท�ำไร่กน ั มาตัง ้ นานแล้วยังไม่ได้กำ� ไรงาม ่ ยากได้กน อย่างทีอ ั ทัง ้ ทีร่ าคาอ้อยก็ดี โรงงาน น�ำ้ ตาลอยูใ่ กล้ ๆ มานัง ่ คิดดูกเ็ ลยพบว่า ่ มันเกิดจากการจัดการภายในไร่ของ ส่วนหนึง แต่ละคน ไล่มาตัง ี อ ้ แต่การเตรียมดินกันไม่ดพ ไหนจะเลือกพั นธุอ ์ อ ้ ยไม่เหมาะกับพื้ นที่ ่ าวไร่บา้ นเราเขายังไม่คอ และสิ่งส�ำคัญทีช ่ ยรู้ คือไม่รต ู้ น ้ ทุนของตัวเอง พอไม่รว ู้ า่ ต้นทุน มันเกิดจากอะไรบ้างในแต่ละขัน ้ ตอน เขาก็บริหารงานไม่ถก ู จุด เสี่ยงผิดพลาดได้งา่ ย เลยท�ำให้ได้กำ� ไรน้อย
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
13
ด้วยเหตุนี้เองจึงท�ำให้เธออยากลงไปช่วยพี่น้องมิตรชาวไร่ ต่อเติมองค์ความรู้การท�ำเกษตรสมัยใหม่ที่เธอเองก็ได้รับถ่ายทอด จากคุณพ่อมาอีกทอดหนึ่ง “ที่เราท�ำได้เพราะเราพอมีองค์ความรู้ พอเรารูเ้ ราเลยอยากช่วยให้เขารอดไปด้วยกัน เพราะถ้ามีแต่เราทีเ่ ป็น ชาวไร่รายใหญ่รอดอยู่รายเดียวคิดหรือว่าเราจะไปรอด มันต้องพา คนอืน่ ไปด้วยกันสิเพือ่ มาซัพพอร์ตซึง่ กันและกัน เราเลยต้องพยายาม ถ่ายทอดความรูเ้ ทคนิควิธใี หม่ ๆ ทีเ่ รามีให้กบั พีน่ อ้ งชาวไร่ทา่ นอืน่ ๆ ด้วย” หากแต่แค่เผยแพร่องค์ความรู้เพียงอย่างเดียวคงไม่เพียงพอ น้องเก๋จึงรับเอาโครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของรัฐบาลเข้า มาช่วยชาวไร่รายเล็กเห็นแนวทางท�ำไร่สมัยใหม่ทที่ ำ� ได้จริงอย่างเป็น รูปธรรม “ถ้าอยู่ ๆ เราเดินไปบอกเขาว่า คุณต้องปลูกอ้อยเว้นระยะ ห่างระหว่างร่อง 1.60 เมตร 1.80 เมตร ไม่มีใครเขาฟังเราหรอกค่ะ เราจึงต้องท�ำให้เขาเห็นเป็นตัวอย่างก่อนว่าเราท�ำแล้วเขาก็ท�ำได้ เลยรับเอาโครงการรัฐบาลเข้ามาช่วยกันเผยแพร่น�ำองค์ความรู้ ไปให้เขาดูว่ามันเกิดขึ้นได้จริงนะ ผ่านโครงการนั้น ซึ่งก็มีสิ่งที่ได้รับ ตอบแทนกลับมาคือถ้าเราจัดตัง้ กลุม่ ได้ เข้มแข็ง เราก็จะได้เครือ่ งมือ เครื่องจักรจากรัฐบาลลงมาช่วยสนับสนุน ตรงนี้ช่วยให้ลดต้นทุน เรื่องเครื่องมือทันสมัยให้พวกเราชาวไร่ได้เยอะเลยค่ะ อีกอย่างคือ ส่วนมากชาวไร่รุ่นคุณพ่อคุณแม่ท่านก็รู้อยู่แล้วว่ามีการส่งเสริมเรื่อง เกษตรแปลงใหญ่ แต่เราเข้าใจได้นะคะว่าท่านไม่เก่งเรื่องเทคโนโลยี ที่จะน�ำมาใช้ค่ะ อย่างการหาพิกัดไร่ใช้แกน X แกน Y ในแผนที่ การพิมพ์เอกสารวาระการประชุม อะไรเหล่านี้เขามองว่ามันเป็น อุปสรรคของการจัดตั้งกลุ่ม เลยท�ำกันไม่ส�ำเร็จสักทีค่ะ ตัวเราเป็น คนรุ่นใหม่ ไปไหนมาไหนก็ง่ายเข้าถึงเทคโนโลยีได้คล่องกว่า เก๋เลย มาเป็นผู้น�ำพาทีมชาวไร่ท่านอื่น ๆ มาจับกลุ่มกัน แล้วเป็นประธาน เองให้ก่อนจะได้สื่อสารกันว่ากลุ่มเราขาดอะไร ทางราชการพอจะ ช่วยอะไรกลุ่มเราได้บ้างค่ะ”
14
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
น้องเก๋ สุพรรณิกา เล่าถึงทีม่ าของการรวมกลุม่ จัดตัง้ วิสาหกิจ ชุมชนอ้อยสะอาด อ�ำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่มีสมาชิก มากถึง 31 คน จากพืน้ ทีแ่ ปลงเล็ก ๆ 5 - 10 ไร่ ของมิตรชาวไร่แต่ละคน น�ำมารวมกันได้กว่า 300 ไร่ ในจ�ำนวนนี้มีพื้นที่ของน้องเก๋เอง รวมอยูด่ ว้ ยเพียง 11 ไร่ เพือ่ เติมให้ครบจ�ำนวนตามเงือ่ นไขของโครงการ “การรวมกลุ่มในโครงการนี้เก๋ใช้พื้นที่เพียง 11 ไร่ มาเข้าร่วมค่ะ ส่วนที่เหลือเราก็แบ่งให้เกษตรกรคนอื่นด้วย เวลาได้ปุ๋ยที่รัฐบาล เขาสนับสนุนมา ก็ตอ้ งค�ำนวณว่าจัดสรรแบ่งกันต้องได้คนละเท่าไหร่ ให้ปุ๋ยกี่กระสอบต่อไร่ เราจะไม่เอาเปรียบกัน เลยเฉลี่ยให้พื้นที่เรา มีเท่า ๆ กับคนอืน่ เวลาแบ่งสัดส่วนจะได้ไม่ตา่ งกันมากค่ะ” ผลจากการ ใช้วิธีนี้ของน้องเก๋ได้รวบรวมสมัครพรรคพวกชาวไร่ให้เข้ามาพูดคุย แลกเปลี่ยนเทคนิคการท�ำไร่สมัยใหม่กันมากขึ้น ชวนกันให้เปลี่ยน มาใช้ ร ถตั ด และศึ ก ษาวิ ธี ก ารท� ำ ไร่ ข องน้ อ งเก๋ รวมถึ ง เทคนิ ค การเก็บข้อมูลที่เธอบันทึกไว้อย่างละเอียดทุกขั้นตอน “เราเอง ก็ใช้แปลงของเรานี่แหละค่ะเป็นแปลงสาธิตให้เขาเห็นค่ะว่าถ้าปลูก แบบเรา อ้ อ ยคุ ณ จะโต แล้ ว อ้ อ ยมั น จะสู ง จะเสมอกั น แบบว่ า จากโคนไปถึงปลายอ่ะจะล�ำใหญ่เท่า ๆ กันด้วย ผลผลิตมันก็จะ ได้เพิ่มขึ้น ซึ่งเราไม่ได้พูดปากเปล่านะคะ เรามีข้อมูลที่ชัดเจนให้เขา ได้เข้ามาดูกนั พอได้เห็นก็เลยเปิดใจยอมรับและมัน่ ใจทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง กันมากขึ้นค่ะ เราถึงได้อ้อยสะอาด เมื่อท�ำได้ส�ำเร็จเราก็จะขยายผล เปิดให้ชาวไร่ทวั่ ไปเข้ามาดูตวั อย่างงานในกลุม่ เราได้คะ่ จะท�ำแบบเรา ได้กลุ่มต้องเข้มแข็ง เมื่อเข้มแข็งก็จะเข้าถึงความช่วยเหลือจาก ภาครัฐได้ ซึ่งหลังจากตั้งกลุ่มแล้ว 2 ปี เกษตรกรจะสามารถเข้าถึง เงินกู้ร้อยละบาทของ ธกส. ได้ค่ะ ตรงนี้เห็นเลยชัดเจนว่าช่วยให้ เกษตรบ้านเราดีขึ้น คุณภาพชีวิตชาวไร่อย่างเรา ๆ ก็จะดีข้ึนท�ำไร่ แล้วจะมีก�ำไร ท�ำไร่แล้วได้ความยั่งยืนยิ่ง ๆ ขึ้นไปใคร ๆ ก็อยากเป็น ชาวไร่กันต่อค่ะ”
ท�ำไร่สมัยใหม่ได้ความสุขทั้งทางตรงและทางอ้อม
แม้ว่าคนรุ่นใหม่หลายคนอาจไม่ได้เลือกที่จะกลับมาท�ำไร่อ้อยต่อจากพ่อแม่ แต่น้องเก๋ สุพรรณิกาก็อยากแชร์มุมมองของเธอส่งต่อไป ยังคนในรุ่นราวคราวเดียวกันว่า “ที่เก๋เลือกกลับมาท�ำไร่อ้อยเพราะว่าเราเติบโตมาจากจุดนี้ เรารู้เราเห็นคุณพ่อคุณแม่ขยายพื้นที่ท�ำไร่ทุกปี การขยายทุกปีมนั หมายถึงว่าเราไม่หยุดนิง่ เราไม่ขาดทุน เรายังเดินต่อได้ จึงเลือกมาท�ำตรงนี้ อยากจะบอกเพิม่ ด้วยว่าการท�ำไร่สมัยนีม้ นั ไม่ได้ เหนื่อยอย่างที่คิดกัน มีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาช่วยผ่อนแรงตลอด อาศัยว่าต้องเรียนรู้อยู่ตลอดเช่นกัน เราต้องทันสมัย ตามให้ทันเทคโนโลยี ประกอบกับบริหารจัดการวางแผนให้ดี ก็สามารถนั่งท�ำงานในออฟฟิศเหมือนพนักงานทั่วไปได้ค่ะ ทุกวันนี้เราก็สนุกนะคะ อาจจะเป็นเพราะ เก๋มาท�ำด้วยใจรักแล้วเราก็ได้อยู่บ้าน ตื่นมาทุกเช้า เจอหน้าคุณพ่อคุณแม่ เจอญาติพี่น้องทุกคน ซึ่งถ้าเราไปท�ำงานกรุงเทพฯ สัก 4-5 ปี แล้ว ค่อยกลับมาอยูบ่ า้ น ช่วงนัน้ ก็จะเป็นช่วงทีพ่ อ่ แม่เราแก่มากแล้ว เราอยากพาท่านไปเทีย่ วก็อาจไปได้ยากแล้วนะ (หัวเราะ) บางคนอายุ 70 กว่า ๆ นี่นั่งรถนาน ๆ ไม่ไหวแล้ว ต่อให้เราท�ำกับข้าวอร่อยแค่ไหนท่านก็อาจเริ่มจะไม่อร่อยเพราะร่างกายก็ถดถอย นี่เลยคิดว่าช่วงปีที่อยู่ตรงนี้ อยูบ่ า้ นทุกวัน ท�ำกับข้าวให้พอ่ แม่ได้กนิ ทุกวัน ถือว่าเราโชคดีกว่าคนอืน่ เป็นไหน ๆ นีม่ นั คือชีวติ มันไม่ใช่แค่การท�ำไร่แล้วได้กำ� ไรเป็นเงินเป็นกอบ เป็นก�ำ แต่มนั คือก�ำไรชีวติ ทีเ่ ราได้ซพั พอร์ตตอบแทนคุณคนในครอบครัวทีเ่ ลีย้ งเราให้โตมา การกลับมาท�ำไร่มนั จึงเป็นความสุขทัง้ ทางตรงและ ทางอ้อมที่มาพร้อม ๆ กันของเก๋ค่ะ” น้องเก๋พูดพร้อมรอยยิ้มอย่างภาคภูมิใจ ่ ลูกใหม่ทม ่ี พ ่ นเป็นอาวุธลับและยังเป็นแรงบันดาลใจให้คนรอบตัวอยากเปลีย ่ น น้องเก๋ สุพรรณิกา ค�ำภักดี คือคลืน ี ลังขับเคลือ ้ องพี่ นอ ชีวต ิ มาสูว ่ ถ ิ เี กษตรสมัยใหม่ตามแนวทางมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์ม เธอจึงเป็นความภูมใิ จวันนีข ้ งมิตรชาวไร่กาฬสินธุ์
แต่กอ ่ นสมัยพ่ อท�ำเป็นหลัก คนท�ำงานกันไม่ทน ั ่ นมาใช้ คนไม่พอ ก็เพิ่ งเปลีย รถตัดอ้อยได้สัก 2-3 ปี มานีเ้ อง เคยใช้คนงาน 20-30 คน มันก็พอท�ำงาน แต่พอมาช่วงหลังนี่ คนหาไม่คอ ่ ยได้ ท�ำให้ตน ้ ทุน ่ นีต ่ ก ตัดอ้อยสูง ตันหนึง ่ ค่เฉพาะ 200 กว่าบาท นีแ ค่าตัดนะ พอมีรถตัดอ้อย เข้ามา เราเหลือคนงาน ประมาณ 10 กว่าคน คนหายไปเยอะนะ แต่กลับกลาย เป็นว่าท�ำอ้อยได้เยอะกว่าเดิม” พ่ ออุลย ั กล่าว
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
15
“ตลาดออนไลน์” ทางเลือกที่ดีกว่าในยุค NEW NORMAL ผู้เขียน - คุณกรรณิกา ว่องกุศลกิจ ผูอ ้ ำ� นวยการด้านพั ฒนาชุมชน เพื่ อความยัง ่ มิตรผล ่ ยืน กลุม
สวั ส ดี ค่ ะ พี่ น้ อ งมิ ต รชาวไร่ ทุกท่าน...ปีนถ ี้ อ ื ว่าเป็นปีทท ี่ า้ ทายส�ำหรับ พี่ นอ ้ งเกษตรกรมาก ๆ อีกปีนง ึ เลย นะคะ ตัง ้ แต่ภาวะแล้ง ผลผลิตทางการ เกษตรลดลง แล้ ว ยั ง มี วิ ก ฤติ ก าร แพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ไม่เพี ยง ส่ ง ผลกระทบต่ อ ภาคธุ ร กิ จ ต่ า ง ๆ โดยเฉพาะการท่ อ งเที่ ย วแต่ พี่ น้ อ ง เกษตรกรเครื อ ข่ า ยต� ำ บลมิ ต รผล ร่ ว มพั ฒนาและสมาชิ ก โครงการ ่ อ ท�ำตามพ่ อ ปลูกเพ(ร)าะสุข ทีถ ื เป็น กลุม ่ ต้นน�้ำ หรือผู้ผลิตอาหารก็ได้รับ ผลกระทบไม่แพ้ กันค่ะ
หลายปีมานีพ้ นี่ อ้ งเกษตรกรได้มงุ่ มัน่ พัฒนาพืน้ ทีแ่ ปลงเกษตรของตนเอง จนสามารถสร้างผลผลิตทางการเกษตรทีห่ ลากหลายกระจายสู่ ผูบ้ ริโภคทัง้ ในและนอกชุมชนได้เป็นจ�ำนวนมาก เกษตรกรมีรายได้เสริมเพิม่ ขึน้ จ�ำหน่ายสินค้าได้อย่างต่อเนือ่ ง บางรายแทบจะไม่ตอ้ งท�ำตลาดเลย เพราะผลผลิตถูกจองไปหมดแล้ว แต่พอเจอวิกฤติโควิด-19 มีการใช้มาตรการเร่งด่วนในการป้องกันการแพร่ระบาด โดยการปิดสถานทีท่ เี่ สีย่ ง ต่อการแออัด เบียดเสียด เพือ่ จ�ำกัดการรวมกลุม่ ของผูค้ น ก็ทำ� ให้ “ตลาดชุมชน” ทีเ่ ป็นแหล่งกระจายสินค้าการเกษตรทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ถูกปิด ไปด้วย แถมพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคในทุกวันนีก้ เ็ ปลีย่ นไปอย่างสิน้ เชิง เพราะไม่มใี ครอยากออกจากบ้าน ท�ำให้การจ�ำหน่ายสินค้าการเกษตรก็ตอ้ ง หยุดชะงักไปในทีส่ ดุ และนีแ่ หละค่ะ คือจุดเริม่ ต้นของการพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส เปลีย่ นวิถเี กษตรกรให้รจู้ กั กับตลาดออนไลน์มากขึน้ เครือข่ายต�ำบลมิตรผลร่วมพัฒนาฉบับนี้ เราจะขอน�ำเสนอเรือ่ งราวการปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ ของพีน่ อ้ งเกษตรกรฯ มาถ่ายทอดให้ทกุ ท่าน ได้ฟงั ว่าแต่ละพืน้ ทีม่ แี นวทางการปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ อย่างไรให้เหมาะสมกับวิถใี หม่ (New Normal) ทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ กันค่ะ ่ น” ทีด ่ ีกว่า เอาตัวรอดด้วยการ “เรียนรู้” สู่การ “ปรับเปลีย
จากภาวะวิกฤติทเี่ กิดขึน้ นีพ้ นี่ อ้ งเกษตรกร ต่างก็ได้เรียนรูถ้ งึ การปรับตัวให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ อย่างรวดเร็วตลอดระยะเวลา 4-5 เดือนทีผ่ า่ นมา รวมถึงจากการทีพ่ นี่ อ้ งเกษตรกร ร่วมประชุมสรุปบทเรียนการด�ำรงชีพและเอาตัวรอดในวิกฤติโควิด-19 ได้สะท้อนให้เห็น ว่าผลผลิตทางการเกษตรทีไ่ ม่สามารถน�ำออกไปจ�ำหน่ายในตลาดได้ตามเดิมนัน้ ส่งผลให้พนี่ อ้ งเกษตรกรขาดรายได้เสริมไม่นอ้ ยเลยค่ะ ท�ำให้การ ทีจ่ ะเอาตัวรอดให้ได้อย่างยัง่ ยืนนัน้ พีน่ อ้ งเกษตรกร จึงต้องยอมทีจ่ ะเปลีย่ นวิถชี วี ติ ให้แตกต่างจากทีเ่ คยเป็นอยู่ ซึง่ แน่นอนว่าในอันดับต้น ๆ ทีจ่ ะต้องปรับเปลีย่ นนัน่ ก็คอื การค้าขายบน “ตลาดออนไลน์” เพราะถือเป็นทางออกเดียวทีไ่ ด้ผลดีทสี่ ดุ ทีจ่ ะท�ำให้ผลผลิตจากแปลงเกษตรเดินทาง ไปหาผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็ว และในที่สุดพี่น้องเกษตรกร ของเราก็ได้เริ่มเปลี่ยนความคิดหันมาสนใจช่องทาง Social Media ขายสินค้า ทางการเกษตรมากขึน้ ทุกท่านคงอยากรูแ้ ล้วสินะคะว่าช่องทางทีว่ า่ นีจ้ ะมีอะไรบ้าง ตามไปดูกนั เลยค่ะ 16
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
เฟซบุ๊ก (Facebook)
เป็ น การพั ฒ นาช่ อ งทางการจ� ำ หน่ า ยผลผลิ ต การเกษตรของ “พี่ ก� ำ ไร” สมาชิ ก โครงการ ท�ำตามพ่อฯ จากบ้านดอนเตาเหล็ก อ.ภูเขียว จ.ชั ย ภู มิ ที่ ไ ด้ ล องปรั บ เปลี่ ย นพื้ น ที่ เ ฟซบุ ๊ ก มาเป็ น พื้ น ที่ จ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า การเกษตรของ ตนเองไม่ ว ่ า จะเป็ น ไข่ ไ ก่ ไข่ เ ป็ ด ปลานิ ล ปลาตะเพี ย น ฯลฯ โดยใช้ ชื่ อ เฟซบุ ๊ ก ว่ า “ชนากานต์ ลาภไพศาล” ซึ่งพี่ก�ำไรมองว่า ช่ อ งทางนี้ ส ามารถเข้ า ถึ ง ลู ก ค้ า ได้ ง ่ า ย ทั้ ง ยั ง ช่ ว ยลดความเสี่ ย งจากการไปจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ในตลาดชุ ม ชนที่ มี ค นหนาแน่ น ท� ำ ให้ พี่ ก� ำ ไร มี ร ายได้ เ ข้ า มาต่ อ เนื่ อ งไม่ ต ่ า งจากก่ อ นที่ โควิด-19 แพร่ระบาดเลยค่ะ กลุ่มไลน์ (Line)
เป็นช่องทางทีก่ ลุม่ วิสาหกิจแปรรูปผักและผลไม้บา้ นหนองครก ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี ได้ใช้อัพเดทสินค้า ผักสวนครัวเข้าไปในกลุม่ ไลน์ตลาดสีเขียว (Market Online @ MPDC) ของโรงงานมิตรผลด่านช้าง เพือ่ ประชาสัมพันธ์จำ� หน่าย สินค้าการเกษตรให้ทั้งพนักงานและคนในชุมชนรอบโรงงานได้ สั่งซื้อ ซึ่งช่องทางนี้ก็ถือว่าเป็นผลดีต่อสมาชิกกลุ่มฯ เพราะ สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ง่ายและสามารถจัดส่งสินค้าได้รวดเร็ว เพราะระยะทางจากทีต่ งั้ กลุม่ ไปยังหน้าโรงงานก็ไม่ถอื ว่าไกลมากนัก จึงไม่มขี อ้ จ�ำกัดเรือ่ งระยะทาง ไลน์ ออฟฟิเชียลแอคเคาท์ (Line Official Account)
เป็นอีกหนึง่ ช่องทางทีเ่ พิง่ เริม่ พัฒนาขึน้ ในชือ่ ร้าน “ข้าว ผัก ปลา” ให้เป็นเสมือนแหล่งรวมสินค้าและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรของ เครือข่ายสมาชิกโครงการท�ำตามพ่อฯ ในพืน้ ทีโ่ รงงานมิตรภูเขียว เพือ่ รองรับผูบ้ ริโภคทีห่ ลากหลายขึน้ ไม่วา่ จะเป็นคนในชุมชนหรือ พนักงานในโรงงานมิตรภูเขียวทีต่ อ้ งการซือ้ สินค้า แต่ยงั กังวลกับ การเข้าไปในสถานทีท่ มี่ คี นแออัด ฉะนัน้ ร้าน “ข้าว ผัก ปลา” จึงมีหน้าที่ช่วยคลายความกังวลเหล่านั้นให้หายไป เพราะการ ซื้อขายในนี้ยังให้ความรู้สึกแก่ผู้ซื้อเหมือนได้ไปจ่ายตลาดจริง เพราะเป็นการซือ้ ตรงจากเกษตรกร มีสนิ ค้าครบทัง้ ข้าว พืชผัก ผล ไม้ และสินค้าแปรรูป เพียงแค่สแกนคิวอาร์โค้ด (QR Code) หรือ แอดไลน์ ไอดี (Line ID) ก็เป็นเพือ่ นกับร้านข้าวผักปลาได้งา่ ย ๆ และสามารถพูดคุยสอบถามกับพีน่ อ้ งเกษตรกร (Admin) ได้อกี ด้วยนะคะ
สามช่องทางนี้เป็นเพียง แค่ตวั อย่างเล็ก ๆ ของการเข้าถึง กลุม่ ลูกค้าแต่ “ตลาดออนไลน์” นั้ น ยั ง มี ป ระโยชน์ ม ากกว่ า ที่ เราคิ ด นะคะ เพี ย งแค่ พี่ น ้ อ ง เกษตรกร เปิดใจเรียนรูเ้ ทคนิค การใช้ช่องทางออนไลน์เล็ก ๆ น้อย ๆ ก็สามารถขายสินค้า ได้โดยไม่จ�ำเป็นต้องมีหน้าร้าน ซึง่ เป็นการช่วยลดต้นทุนการขาย ลงได้ และพื้นที่ตลาดออนไลน์ นีเ้ องยังท�ำให้พี่น้องเกษตรกร ได้ ลู ก ค้ า ที่ ไ ม่ ใ ช่ แ ค่ ใ นชุ ม ชน สามารถขยายออกไปนอกชุมชน หรือต่างประเทศ ได้อกี ด้วย รวมถึงผูบ้ ริโภคก็ยงั เข้าถึงแหล่งผลิตอาหาร และสินค้าการเกษตรได้โดยตรงไม่ตอ้ งผ่านพ่อค้าคนกลาง ท�ำให้ มัน่ ใจได้วา่ สิง่ ทีซ่ อื้ ไปมีคณ ุ ภาพและเป็นอาหารปลอดภัยอย่างแท้จริง ส�ำหรับเรื่องราวที่ได้ถ่ายทอดให้พ่ีน้องมิตรชาวไร่ได้ฟัง ในครัง้ นี้ หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าจะเป็นแรงบันดาลใจและไอเดียใหม่ ๆ ให้สำ� หรับท่านทีก่ ำ� ลังมองหาช่องทางการตลาดทีแ่ ตกต่างไปจากเดิม หรืออยากจะลองปรับใช้ควบคู่กันไปส�ำหรับท่านใดที่มีแหล่ง จ�ำหน่ายอยูแ่ ล้ว ก็ลองน�ำเอาไอเดียเหล่านีไ้ ปทดลองใช้กนั ดูนะคะ เชือ่ ว่าคงไม่ใช่เรือ่ งยากเกินไปส�ำหรับหลาย ๆ ท่านทีค่ นุ้ ชินกับการ ท่องโลกออนไลน์และเล่นโซเชียลมีเดีย (Social Media) เป็นประจ�ำ อยูแ่ ล้ว ไม่วา่ จะใช้ เฟซบุก๊ ไลน์ หรือแอปพลิเคชันอืน่ ๆ ก็สะดวก และเข้าถึงง่ายไม่แพ้กัน และที่ส�ำคัญคงจะเป็นอีกช่องทางหนึ่ง ทีจ่ ะช่วยสร้างรายได้เสริมให้กบั ทุกท่านได้ไม่นอ้ ยเลยค่ะ สุ ด ท้ า ย นี้ เ ค รื อ ข่ า ย ต� ำ บลมิ ต รผลร่ ว มพั ฒนา ขอเป็ น ก� ำ ลั ง ใจให้ พี่ น้ อ ง เกษตรกรทุกคน ให้สามารถ ปรั บ ตั ว และอยู่ ไ ด้ อ ยู่ ดี ใ น ภาวะวิ ก ฤติ ที่ ก ระทบกั บ คน ทัว ่ โลกอยูใ่ นขณะนี้ เพราะเรา ่ ว่าสุดท้ายแล้วถ้าพวกเรา เชือ “ปลูกสิ่งที่กิน และกินสิ่งที่ ปลูก” ไม่วา่ วิกฤติจะรุนแรง แค่ ไ หน เราก็ ยั ง มี อ ยู่ มี กิ น มีความมัน ่ คงทางอาหารท�ำให้ เรามี เ รี่ ย วแรงยิ้ ม สู้ กั บ ทุ ก ปัญหาที่ผ่านเข้ามาทดสอบ พวกเราได้คะ่ ...
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
17
มิตรภูหลวง มิตรอาสา
CSR
ร่วมด้วยช่วยเหลือผูป ้ ระสบภัยน�ำ้ ท่วม จากสถานการณ์ เ กิ ด น�้ ำ ท่ ว มในจั ง หวั ด เลย ที ม ผู้ บ ริ ห ารโรงงานน�้ ำ ตาลมิ ต รผลภู ห ลวง น� ำ ที ม โดย ่ ว ผูอ ้ ำ� นวยการด้านอ้อย ลงพื้ นทีช ่ ยเหลือ และเป็นก�ำลังใจ ให้กบ ั ผูป ้ ระสบภัยน�ำ้ ท่วมมอบของอุปโภค บริโภคช่วยเหลือ ่ ยายใหม่ เขตส่งเสริมที่ 2 ผูป ้ ระสบภัยน�ำ้ ท่วม ในพื้ นทีข ได้แก่ บ้านสูบ บ้านหนองดอกบัว บ้านวังแคน จังหวัดเลย
18
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
มิตรอ�ำนาจเจริญ เข้าร่วมโครงการบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้างรอยยิม ้ ให้ประชาชน มิตรอ�ำนาจเจริญ เข้าร่วมโครงการบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข ่ นที)่ สร้างรอยยิม ้ ให้ประชาชนจังหวัดอ�ำนาจเจริญ (จังหวัดเคลือ ณ โรงเรียนบ้านโพนทอง ต�ำบลโพนทอง อ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ โดยมีคุณสุธี ทองแย้ม ผู้ว่าราชการจังหวัด อ� ำ นาจเจริ ญ เป็ น ประธานในพิ ธี และมี ห น่ ว ยงานราชการ หน่ ว ยงานเอกชน ประชาชนเข้ า ร่ ว มจ� ำ นวนมาก ในครั้ ง นี้ โรงงานน�้ ำ ตาลมิ ต รอ� ำ นาจเจริ ญ ได้ เ ข้ า ร่ ว มออกบู ธ ให้ ค วามรู้ เ รื่ อ ง ก า ร ป ลู ก อ้ อ ย ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า ร ะ บ บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ปลูกอ้อย และท�ำกิจรรมร่วมสนุกตอบค�ำถาม มอบรางวัลแจก น�้ ำ ต า ล แ ผ่ น พั บ อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ซึ่ ง ไ ด้ รั บ เ กี ย ร ติ จ า ก ท่ า น ผู้ว่าราชการจังหวัด คุณสุธี ทองแย้ม ร่วมกิจกรรมมอบรางวัล น�้ำตาลให้กับผู้เข้าร่วมงาน
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
19
ห้องเรียน ชาวไร่
การเตรียมพั นธุ์อ้อย
แบบฉบับมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ผู้เขียน - คุณสมหวัง อนุสนธิ์พรเพิ่ ม | ผู้ช�ำนาญการ บริษัท มิตรผลวิจัย พั ฒนาอ้อยและน�้ำตาล
่ แ การเลือกท่อนพั นธุอ ์ อ ้ ย มีความส�ำคัญส�ำหรับการงอกและการเจริญเติบโต ท่อนพั นธุอ ์ อ ้ ยทีด ี ละสมบูรณ์จะท�ำให้ ่ จะส่งผลให้มจ เปอร์เซ็นต์ความงอกของอ้อยสูง ซึง ี ำ� นวนกออ้อยต่อไร่สูง ส่งผลถึงจ�ำนวนล�ำ และผลผลิตต่อไร่สูง ่ ตา โดยทัว ่ ามารถงอกและเจริญเติบโตได้อย่างน้อยท่อนละหนึง เช่นเดียวกัน ท่อนพั นธุท ์ ด ี่ ต ี อ ้ งมีตาทีส ่ ไปเกษตรกรใช้ ่ ี 3 ตา จะให้ผลผลิตดีกว่าทัง ท่อนพั นธุท ์ ม ี่ ี 2 ตาปลูก แต่ถา้ ใช้ทอ ่ นทีม ้ ในด้านความงอก และการเจริญเติบโต โดยเฉพาะ ่ งการเลือกท่อนพั นธุ์ ท�ำให้อต ในระยะแรก เกษตรกรโดยทัว ั ราการงอกต�ำ่ จึงต้องมีการ ่ ไปมักจะขาดความระมัดระวังเรือ ้ โดยใช่เหตุ ท่อนพั นธุอ ่ ำ� มาปลูก จึงควรมาจาก ชดเชยโดยใช้ทอ ่ นพั นธุเ์ กินความจ�ำเป็นท�ำให้ตอ ้ งเสียค่าใช้จา่ ยเพิ่ มขึน ์ อ ้ ยทีน ่ ก แปลงทีม ี ารดูแลรักษาดี มีความสม�ำ่ เสมอ ตรงตามพั นธุ์ ปราศจากโรคและแมลง ปัจจุบน ั ท่อนพั นธุอ ์ อ ้ ยมีราคาแพง ่ จะเป็นการวางแผนการปลูกอ้อยทีถ ้ ซึง ่ ก เกษตรกรจึงควรท�ำแปลงพั นธุอ ์ อ ้ ยไว้ใช้เอง เพื่ อลดค่าใช้จา่ ยในการซือ ู ต้องและ ่ งจากการระบาดของโรคและแมลงอีกด้วย ลดความเสีย
่ วรพิ จารณาในการเตรียมท่อนพั นธุ์ สิ่งทีค
1
2
อายุออ ้ ยทีใ่ ช้ทำ� พั นธุค ์ วรอยูร ่ ะหว่าง 8-10 เดือน ท่อนพั นธุค ์ วรปราศจากโรคและแมลง (แปลงพั นธุ์ ควรปราศจากโรคและแมลง)
3
้ อง เป็นพั นธุแ ์ ท้ (ลักษณะพั นธุต ์ รงตามลักษณะบ่งชีข ่ า) และไม่มพ แหล่งทีม ี ั นธุอ ์ น ื่ ปน
4
ตาอ้อยต้องสมบูรณ์ ไม่เสียหาย
20
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
หลักในการเตรียมแปลงพั นธุอ ์ อ ้ ย 1 2
3 4
5
6
7
8 9
ชาวไร่ทกุ รายควรมีแปลงพันธุเ์ ป็นของตนเอง เพือ่ ทีจ่ ะได้พนั ธุ์ บริสทุ ธิ์ (ไม่ปนพันธุ์ ปลอดโรค และแมลง) ขณะตัดพันธุ์ต้องตัดเฉพาะอ้อยล�ำที่สมบูรณ์เท่านั้น อ้อย ล�ำเล็กผิดปกติ อ้อยเป็นโรค ห้ามตัด ให้ทงิ้ ไว้ในไร่ ให้นำ� เฉพาะ อ้อยที่ปกติเท่านั้นไปปลูก ไม่ควรน�ำพันธุ์อ้อยมาจากแหล่งที่เป็นดินทราย ดินทรายจัด ดินอุดมสมบูรณ์ตำ�่ เพราะมีโอกาสทีจ่ ะติดเชือ้ โรคใบขาวสูงมาก ต้องใช้พนั ธุอ์ อ้ ยจากอ้อยปลูกใหม่เท่านัน้ เพราะอ้อยตอจะเริม่ มีการสะสมโรคใบขาว แส้ด�ำ หรือโรคอื่น ๆ มากกว่าอ้อย ปลูกใหม่ ก่อนปลูกให้แช่นำ�้ ร้อนเพือ่ ป้องกันโรคทีต่ ดิ มากับท่อนพันธุอ์ อ้ ย โดยเฉพาะโรคใบขาว ควรแช่ท่อนพันธุ์ในน�้ำร้อนที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 2 ชัว่ โมง หรือที่ 52 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที หลังจากนัน้ ใช้นำ�้ อุณหภูมปิ รกติลาดท่อนพันธุ์ เพือ่ ลดความร้อน หรือแช่สารป้องกันก�ำจัดเชือ้ คาร์เบนดาซิน ทีค่ วามเข้มข้น 0.1% เป็นเวลา 15 นาที เพือ่ ป้องกันก�ำจัดโรค บางชนิด เช่น โรคแส้ดำ� แต่ไม่สามารถป้องกันโรคใบขาวทีต่ ดิ มากับท่อนพันธุ์ได้ ถ้าสงสัยว่าแปลงพันธุ์อ้อยจะเป็นโรคใบขาวหรือไม่ ให้สุ่ม ตัดยอดทิ้ง จ�ำนวน 15-20 ยอด ถ้าตาที่แตกมีใบขาวเกินจาก 1-2 ต้น อ้อยแปลงนี้ก็ไม่สมควรท�ำพันธุ์ การตัดพันธุ์ต้องลอกกาบ เพราะการขนย้ายจะท�ำให้ตาซ�้ำ ตาแตก อ้อยไม่งอก • เมือ่ ตัดพันธุเ์ สร็จให้รบี ปลูก เพราะถ้าทิง้ ไว้นานเปอร์เซ็นต์ การงอกจะต�่ำลง • การลอกกาบก่อนปลูกจะท�ำให้ออ้ ยงอกเร็วกว่าไม่ลอกกาบ เล็กน้อย แต่จะท�ำให้เสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายสูงขึ้นโดย ไม่จ�ำเป็น ถ้าใช้เครื่องปลูกควรลอกกาบเพราะจะท�ำให้ อ้อยลงสม�่ำเสมอ แปลงพันธุ์อ้อยต้องมีการดูแล ให้น�้ำ และก�ำจัดวัชพืชที่ดีเพื่อ ให้ได้พันธุ์อ้อยที่แข็งแรง สมบูรณ์ ไม่ควรใส่ปยุ๋ บ�ำรุงมากเกินไปจนปล้องยาว เมือ่ น�ำไปปลูกอ้อย จะงอกห่างกัน จนท�ำให้จ�ำนวนกอต่อไร่ลดลง เกษตรกรไม่ควรปลูกอ้อยเพียงพันธุ์เดียว เพราะจะ เสี่ยงต่อการระบาดท�ำลายของโรคแมลงได้ ควรปลูกอ้อยไว้ อย่างน้อย 2-3 พันธุ์ เพราะหากเกิดการระบาดของโรคหรือ แมลงในพันธุ์ใดพันธุ์หนึ่ง ก็ยังมีพันธุ์อื่น ๆ ที่มีความต้านทาน ต่อโรคหรือแมลงทดแทน
ควรเลือกใช้พันธุอ ์ อ ้ ยตามสภาพพื้ นที่ และชนิดดิน 1
2
สภาพพื้นที่ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ • ที่ลุ่มมีน�้ำขังในช่วงฤดูฝน (น�้ำมาก) ควรเลือกใช้พันธุ์ที่ทน ต่อสภาพน�้ำแช่ขังได้ดี • ที่ราบมีการระบายน�้ำดี (น�้ำพอดี) ใช้ได้ทุกพันธุ์ • ทีด่ อน (ฤดูแล้งมักขาดน�ำ้ น�ำ้ น้อย) ควรเลือกพันธุท์ ไี่ ม่ชอบ น�้ำแช่ขัง แต่มีความทนแล้งได้ดี ชนิดดิน แบ่งเป็น 3 ชนิด • ดินเหนียว ควรเลือกพันธุท์ เี่ จริญเติบโตได้ดใี นดินเหนียวและ ทนต่อสภาพน�้ำแช่ขังได้ดี • ดินร่วน ใช้ได้ทกุ พันธุ์ แต่ควรจะเป็นพันธุท์ มี่ ศี กั ยภาพในการ ให้ผลผลิตที่สูง • ดินทราย ควรเลือกพันธุ์ที่เจริญเติบโตได้ดีในดินทรายและ ทนต่อความแห้งแล้งได้ดี
ช่วงเวลาปลูกอ้อย ปลายเมษายน ต้นมิถน ุ ายน
1. ปลูกอ้อยต้นฝน (ปลายเมษายน-ต้นมิถน ุ ายน) ควรเลือกพั นธุอ ์ อ ้ ยทีโ่ ตเร็วความหวานสูง สะสม น�้ำตาลเร็ว มีอายุการเก็บเกี่ยว 9-10 เดือน (พั นธุเ์ บา)
มกราคม มีนาคม
2. ปลูกอ้อยน�ำ้ ราด (มกราคม-มีนาคม) ควรเลือกพั นธุท ์ ม ี่ ก ี ารเจริญเติบโตเร็ว-ปานกลาง ่ ว 11-12 เดือน ความหวานสูง มีอายุการเก็บเกีย และสะสมน�ำ้ ตาลเร็ว (พั นธุก ์ ลาง)
ตุลาคม พฤศจิกายน
3. ปลูกอ้อยปลายฝน หรืออ้อยตุลา (ตุลาคม-พฤศจิกายน) ควรเลือกพั นธุ์ท่ีมีการเจริญเติบโตทางล�ำต้น ในช่วง 4 เดือนแรกช้า แต่มก ี ารพั ฒนาระบบราก ่ ี เพราะในช่วงฤดูแล้งดินมักมีความชืน ้ น้อย ทีด ่ี ก หากเลือกใช้พันธุท ์ ม ี ารเจริญเติบโตทางล�ำต้น ในช่วงแรกเร็ว พื ชจะต้องการน�ำ้ และธาตุอาหาร มาก พื ชมีโอกาสได้รบ ั น�ำ้ และธาตุอาหารในช่วง 4 เดือนแรกไม่เพี ยงพอ จะชะงักการเจริญเติบโต ่ ว 13-15 เดือน ควรเป็นพั นธุท ์ ม ี่ อ ี ายุการเก็บเกีย ความหวานสูง และหักล้มน้อย (พั นธุห ์ นัก)
การปลูกอ้อยให้ได้ผลผลิตดีน้ัน มิตรชาวไร่ต้องให้ความ ส�ำคัญในทุก ๆ ขัน ้ ตอนนะครับ นอกจากการเตรียมพั นธุแ์ ล้ว การดูแล รักษาหลังจากการปลูกอ้อยก็สำ� คัญไม่แพ้ กน ั อย่าลืมดูแลอ้อย ่ จ ของเราให้ดเี พื่ อผลผลิตทีด ี ะได้เพิ่ มเงินในกระเป๋าเรากันนะครับ
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
21
WELL BEGUN
คนเก่ง มิตรชาวไร่
IS HALF DONE “นุกูล ธรรมสถิตนิเวศ” รากฐานที่ดี ท�ำอ้อยอย่างไรก็ไม่ล้ม ทุ ก สิ่ ง ล้ ว นเกิ ด ขึ้ น และด� ำ รงคงอยู่ ไ ด้ โ ดยอาศั ย ฐานราก หากแต่ถ้าฐานหรือรากนั้นไม่ม่น ั คง อาจส่งผล ให้หก ั โค่นพั งทลายลงได้งา่ ย เฉกเช่นเดียวกับการท�ำไร่ออ ้ ย สมัยใหม่ที่ต้องใส่ใจตั้งแต่เริ่มต้นเตรียมดินให้ดีจึงจะได้ อ้อยที่งอกงาม มิตรชาวไร่จึงจ�ำเป็นต้องมีองค์ความรู้ พื้ นฐานที่เท่าทันโลกยุค 5G ที่เอื้อให้เราสามารถพั ฒนา ตนเองจากการเรี ย นรู้ สิ่ ง ใหม่ แ บบไร้ ขี ด จ� ำ กั ด ได้ ทุ ก ที่ ทุกเวลา เหมือนอย่าง “คุณนุกล ู ธรรมสถิตนิเวศ” คนเก่ง มิ ต รชาวไร่ ถ่ิ น เมื อ งเลยมิ ต รภู ห ลวง ผู้ ว างรากฐาน การพั ฒนาไร่ อ้ อ ยสมั ย ใหม่ ไ ว้ อ ย่ า งเป็ น ขั้ น เป็ น ตอน ่ ำ� ไร่ออกไปได้นบ โดยเริม ั ร้อยไร่ ่ ต้นจากศูนย์ ขยายพื้ นทีท ชนิดที่ไม่เคยย่อท้อและต้องหวาดหวั่นต่ออุปสรรคใด
ก้าวทีละก้าว ถึงช้าแต่ม่น ั คง คุณนุกูลมีหลักคิดส�ำคัญในการท�ำไร่ที่ให้ก้าวทีละก้าวถึงจะช้าแต่ มัน่ คง “ท�ำอ้อยนีเ่ ราต้องท�ำตามก�ำลังของเราเท่าทีม่ นี ะ ไม่ใช่กา้ วกระโดด ค่อย ๆ ท�ำไป พี่ท�ำมา 10 กว่าปี ชีวิตทุกอย่างวันนี้คือได้จากอ้อย อ้อยคือ ชีวติ เพราะเราท�ำอ้อยมาทัง้ ชีวติ ได้ทกุ อย่างก็จากอ้อยทัง้ นัน้ เลย เลยอยาก บอกว่าท�ำอ้อยต้องค่อย ๆ ก้าว จุดที่คนล้มกันที่เห็นมาคือเพราะว่าเขารีบ กลัวคนอื่นจะรวยแซงหน้า (หัวเราะ) ยิ่งต้องค่อย ๆ ก้าว ก้าวไปทีละก้าว ก้าวอย่างมัน่ คง ท�ำไร่เราต้องวางแผน จะต้องท�ำร่องเท่าไหร่ ต้องต่อยาว ๆ พี่เคยพลาดตอนแรกตรงที่ไม่ได้ท�ำบัญชีลงไว้ ค่าใช้จ่ายมันเลยเยอะมาก จิปาถะเบี้ยหัวแตก เราก็ต้องค�ำนวนแล้วว่าเราจะตัดอ้อยได้แปลงละ เท่าไหร่ เราก็มาเริ่มคิดย้อนดูค่าใช้จ่ายของเรา ปีนี้เราต้องตั้งงบต่าง ๆ ไว้ งบบ�ำรุง งบซ่อมแซมบ�ำรุงรักษาต่าง ๆ ตัวเลขเป็นเท่าไหร่ตอ้ งรูต้ อ้ งเห็นก่อน แล้วพี่ก็จะดูว่าเรายังขาดตรงไหน ต้องเพิ่มตรงไหน แล้งมาจะท�ำยังไง ให้เรารอด เพราะมันคือชีวิตทั้งชีวิตของเราเลยนะ ถ้าเราตัดสินใจแล้ว ว่าจะลงอ้อยตรงนี้ มันอยู่อีกแรมปี ไม่คิดไม่ได้ นี่ตอนท�ำปีแรก ๆ นะ พอท�ำเสร็จเราก็เก็บเงินซือ้ ที่ ซือ้ ทีเ่ สร็จแล้วก็คอ่ ย ๆ เก็บสะสมไปเรือ่ ย ๆ ถึงช้าแต่ก็มั่นคง ยังไงก็ไม่ล้ม ถ้าท�ำแล้วมัวคิดแต่ว่ากลัวเจ๊ง มันก็จะ ไม่ได้ท�ำอะไรเลยนะ บางทีก็ต้องยอมเสี่ยง แต่ต้องเสี่ยงบนพื้นฐานของ ความมั่นคง เพราะเราศึกษาวางแผนมาดีไว้แล้วยังไงล่ะ” คุณนุกูลเปิด บทสนทนากับเราด้วยประเด็นชวนคิด 22
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
เตรียมตัวดี มีชัยไปกว่าครึ่ง แต่เดิมคุณนุกลู เป็นคนขับรถบรรทุกมาก่อน หลังจากแต่งงานจึงผันตัว มาท�ำไร่อ้อย “เมื่อก่อนพี่ก็ขับรถบรรทุก พอมามีรถบรรทุกอ้อยเราก็ลอง ศึกษาดูแบบครูพักลักจ�ำเขาไป เราขับสิบล้อไป ก็เห็น ก็ดูเขาไปเรื่อย ๆ จังหวะพอได้แฟน เลยได้มาท�ำไร่ตั้งแต่ปี 2547 ก็เช่าที่เขาก่อนประมาณ 60-70 ไร่ ท�ำอ้อยได้มาประมาณ 800 ตัน จากวันนั้นก็ท�ำมาอ้อยนี่แหละ มาเรื่อย ๆ” ปัจจุบันคุณนุกูลมีพื้นที่ท�ำไร่อ้อยถึงกว่า 600 ไร่ และ ส่งอ้อยเข้าหีบได้กว่า 6,000 ตัน เคล็ดลับการท�ำไร่ให้ได้ผลผลิตดีของคุณนุกูล นอกจากต้องเตรียม ดินให้ดแี ล้ว ยังต้องมองหาแหล่งน�ำ้ เตรียมไว้ให้พร้อมก่อนเสมอ “ท�ำอ้อยนี่ เราต้องเตรียมดินให้ดี จนเป็นปกติทวั่ ไปนีแ่ หละ คือยกร่องไถปลูกเหมือน เพื่อนชาวไร่ปกติ ก็ใช้ทุนรอนที่มีตามสภาพเราไปปลูกอ้อยไว้ตอได้ 4 ตอ ก็รื้อแปลงปลูกใหม่สลับกันไป อย่างปีล่าสุดนี่มันแล้งมากก็ต้องเริ่มท�ำ น�ำ้ บาดาลเข้ามาช่วยอีกแรง แต่สว่ นมากแรกเริม่ เลยพีจ่ ะเลือกทีท่ มี่ สี ระน�ำ้ ที่ที่มีดินด�ำน�้ำชุ่ม พี่ถึงจะเลือกซื้อมาท�ำอ้อยนะ เราต้องศึกษาให้ดีก่อน ถ้าทีม่ นี ำ�้ เราถึงจะท�ำแต่ถา้ ทีไ่ ม่มกี ไ็ ม่ทำ� น�ำ้ จะเป็นตัวท�ำให้ทกุ อย่างมันดีขนึ้ ท� ำ ให้ ดิ น มั น ดี ปุ ๋ ย มั น ซึ ม ก็ ต ้ อ งวางแผนก่ อ นท� ำ ท� ำ อ้ อ ยนี่ ต ้ อ งมี น�้ ำ ถ้าไม่มีน�้ำมันจะท�ำได้ไม่ดี ของพี่ถึงอยู่ได้” คุณนุกูลเผยเคล็ดลับให้เราฟัง
ใช้รถตัดอ้อยแก้ปัญหาเรื้อรัง คุณนุกูลตัดสินใจซื้อรถตัดอ้อยเพื่อแก้ปัญหากวนใจจากคนงาน ที่นับวันจะยิ่งหายากขึ้นทุกที “พี่ตัดสินใจซื้อรถตัดอ้อยเมื่อ 3 ปีก่อน เพราะคนงานเขาเล่นตัวมากเลย เขารูว้ า่ คนหายาก พอเอาเงินไปก่อน ก็ไม่มาท�ำงานให้เราตามนัด พอได้รถตัดอ้อยมานีเ่ ป็นจุดเปลีย่ นเลยนะ กลายเป็นว่าพูดกับรถง่ายกว่าพูดกับคน แต่กอ่ นพีม่ คี นงานอยูป่ ระมาณ 20 คน ตอนนี้มีสัก 4-5 คนก็ท�ำงานได้แล้วนะ เป็นอย่างที่โรงงาน เขาว่าจริง ๆ ” คุณนุกูลยังยืนยันต่ออีกว่าการใช้รถตัดอ้อยดีกว่า ใช้แรงงานคนโดยเฉพาะเรื่องความเร็วและคุณภาพอ้อย “รถตัด ดีกว่าคนเยอะนักนะ เร็วกว่า ใช้เวลาท�ำงานสั้นกว่าท�ำให้เรามีเวลา เหลือดูแลรักษาไร่ได้ดีขึ้น ทั้งไร่ทั้งอ้อยที่ได้ก็มีคุณภาพดีข้ึน ต่อไป ถ้าใช้รถใช้เครื่องจักรแบบนี้ภาพรวมการให้น�้ำใส่ปุ๋ยจะไวขึ้นอีก พี่บอกเลยนะว่าถ้าจะท�ำอ้อยไม่ใช้รถตัดนี่ก็ไม่ได้ละนะ รถคันนึง ท�ำงานได้เท่ากับคนงาน 100 คน แล้วยังได้อ้อยสด ไม่ต้องเผา จะเอายังไงอีก คุ้มกว่า เร็วกว่าด้วย ยิ่งถ้าเป็นแปลงที่เตรียมแปลง รวมแปลงมาดี แถวยาว ๆ นะ วันหนึ่งนี่เคยตัดได้สูงสุด 500 ตัน เลยนะ” คุณนุกูลมือหนึ่งด้านการบริหารรถตัดอ้อยของมิตรภูหลวง ที่ฝากฝีไม้ลายมือตัดอ้อยสดส่งโรงงานได้สูงสุดกล่าวแนะน�ำด้วย ความปลื้มใจ คุณนุกูลยังได้แชร์เทคนิคการใช้รถตัดให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยสามารถตัดอ้อยสดได้ไม่ต�่ำกว่า 30 ไร่ต่อวัน “ใช่ว่ามีรถตัดมา อย่างเดียวแล้วมันจะได้นะ เราต้องวางแผนตัง้ แต่แรกก่อนออกรถเลย คือเราต้องหาพื้นที่ก่อนว่าเรามีที่ให้รถตัดเข้าไปท�ำงานไหม เราจึง ต้องสร้างเครือข่ายอ้อยรถตัดขึ้นมาก่อน เราต้องรู้ว่าเครือข่ายเรา มีอ้อยที่จะตัดร่วมกันไหม ถ้าไม่มีเครือข่ายล�ำพังเอามาตัดอ้อย เฉพาะของเรานี่ไม่รอดนะ มันไม่พอให้ตัดหรอก ถึงต้องหาพันธมิตร มารวมกันเพื่อให้มันคุ้มค่าที่สุด ต่างคนก็ต่างมีโควต้าของเขาเรา ก็ไปหารวบรวมตั้งขึ้นเป็นเครือข่าย ของพี่นี่ส่วนมากเป็นรายใหญ่ 4-5 ราย รวมกลุ่มกันอาศัยว่าเอารถสิบล้อมารวมกัน เราก็มีเขาก็มี รถสิบล้อที่มีอยู่เราก็น�ำมาใช้ร่วมกับรถตัดอ้อย ต้องพึ่งพากัน เพราะ เวลาตัดทีต้องใช้รถสิบล้อบรรทุกเยอะอยู่นะ”
ส�ำรวจแปลงให้พร้อมก่อนส่งรถตัดอ้อย ลงพื้ นที่ นอกจากเทคนิคบริหารเครือข่ายอ้อยรถตัดของคุณนุกลู จะเข้มแข็งแล้ว ยังจ�ำเป็นต้องเตรียมแปลงให้พร้อมส�ำหรับรองรับการท�ำงานของรถตัดอ้อย ด้วย คุณนุกูลจึงแนะน�ำให้มิตรชาวไร่มีแผนล่วงหน้าและลงไปส�ำรวจพื้นที่ ก่อนตัดอ้อยจริงเสมอ “ปีที่แล้วเราวางแผนตัดอ้อยไว้ 100 วัน ถ้าเราจะ ตัดได้ 2 หมื่นตัน อย่างน้อยเราต้องได้วันละ 200 ตัน ก็ค�ำนวนกันต่อว่า อย่างน้อยวันนึงก็ต้องได้ 5 รถพ่วง แต่ปัญหาอุปสรรคมันก็ต้องมีเป็น ธรรมดา แค่รถวิ่งไปก็ชนตอ ชนไม้ ชนหิน พื้นที่บ้านเราแถว ๆ เลยนี่มัน เป็นภูเป็นเขา จึงต้องออกไปส�ำรวจไร่ก่อน ต้องเตรียมพื้นที่ให้พร้อม เก็บหินกันก่อน ถ้าพื้นที่พร้อมก็โอเคนะ แต่ถ้าแปลงไม่พร้อมให้รถตัด ท�ำงาน ก็คิดเอาว่าถ้าชนตอ 1 ครั้ง จะเสียเวลาไปประมาณ 4 ชั่วโมง ต้องเปลีย่ นอะไหล่ เปลีย่ นเสร็จแล้วมาทดสอบเครือ่ ง ใช้เครือ่ งจักรมันก็เร็ว จริงแหละ แต่ถ้าไม่พร้อมก็ท�ำไม่ได้ จึงต้องวางแผนจัดการทีมกันมาก่อน ว่าจะท�ำกันยังไง เรือ่ งคนก็ดว้ ยให้มากินข้าวในกอง ปล่อยให้กนิ ข้าวข้างนอก ไม่ได้เลยจะเสียเวลา มัวไปรอนั่งกินข้าวข้างนอกคุณเสียเวลาไปแล้วกี่นาที เรายอมเสียค่าใช้จ่ายเลี้ยงข้าวเขาเลย แลกกับเราท�ำงานได้เร็วกว่า เพราะ เราต้ อ งท� ำ งานแข่ ง กั บ เวลา การใช้ ร ถตั ด นั้ น จ� ำ เป็ น ต้ อ งเตรี ย มแปลง สร้ า งแนวเบดฟอร์ ม ไว้ ใ ห้ ร ถวิ่ ง ก็ ช ่ ว ยลดอุ บั ติ เ หตุ ใ นแปลงอ้ อ ยได้ น ะ ลดความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ กับรถตัดของเราด้วย ไหนจะช่วยลดการบดอัด ของดินบนแปลงอ้อยได้อกี ทางด้วยนะ บอกง่าย ๆ เลยก็ได้วา่ ถ้าพืน้ ทีไ่ ม่พร้อม ค่าซ่อมบ�ำรุงมันจะเยอะตามมา แต่ถ้าท�ำให้ดีแต่แรกในระยะยาวก็จะดี เรื่อยไปหลายปี ช่วงแรก ๆ รถตัดอ้อยอาจเป็นเรื่องใหม่ใช้กันยังไม่ค่อยเก่ง แต่อีกเดี๋ยวพอเริ่มรู้ก็จะเข้าที่เข้าทางแล้ว” คุณนุกูลกล่าวย�้ำถึงการใช้ รถตัดอ้อยอย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และเป็นทีน่ า่ ดีใจทีล่ า่ สุดไร่ออ้ ย สมั ย ใหม่ ข องคุ ณ นุ กู ล ก็ ไ ด้ ป รั บ พื้ น ที่ แ ปลงอ้ อ ยเพื่ อ รองรั บ รถตั ด อ้ อ ย ไว้เกือบครบทุกแปลงแล้ว อยากต้นทุนลด ได้อ้อยคุณภาพครบ จบที่ท�ำ ไร่สมัยใหม่ ประสบการณ์ที่สั่งสมนับสิบปีที่ได้จากท�ำไร่อ้อยของคุณนุกูล ท�ำให้ สามารถเปรียบเทียบผลลัพธ์จากการท�ำไร่แบบดัง้ เดิมกับการท�ำไร่สมัยใหม่ ที่เริ่มแพร่หลายในพื้นที่ภูหลวงนั้นจะยิ่งเห็นผลที่น่าพอใจได้ในระยาว “ท�ำไร่ตอนนี้ง่ายขึ้นกว่าแต่ก่อนเยอะครับ ไม่ปวดหัว แต่ก่อนต้องใช้ แรงงานคนเราจะหมดเงินทุนไปตรงนั้นเยอะมากใช่ไหมล่ะ ไหนจะต้อง ดูแลคนงานซึ่งเขามักจะขอเบิกเงินล่วงหน้า เอาเงินเราไปแล้วก็มาบ้าง ไม่มาบ้าง ถ้าเป็นอ้อยสดเขาก็ไม่ยอมตัดให้ จะตัดแต่อ้อยไฟไหม้ท่าเดียว ผิดกับตอนนี้หลังจากออกรถตัด ผมเลยมีอ้อยสดเกือบทั้งหมด วางแผน ปลูกอ้อยในปีต่อไปได้ดีมีคุณภาพมากขึ้น ถ้าเทียบแล้วอ้อยสดยังไงเสีย ก็ ดี ก ว่ า ท�ำง่ายกว่า ตัดอ้อยสดนี่เราจะได้ปุ๋ยด้วยนะก็จากใบที่เราทิ้งไว้ คลุมดินนัน่ ไง ไร่เราก็จะดีขึ้นเรื่อย ๆ อ้อยตอก็ดี ไม่ค่อยตายแล้ว แถมช่วย เก็บความชื้นได้ดีขึ้นด้วย ประหยัดค่าปุ๋ยประหยัดค่าน�้ำไปได้ในตัวเลย ต้นทุนที่ลดได้ก็เอากลับมาคิดเพิ่มประสิทธิภาพให้ไร่เรานั่นแหละ นี่ก็ก�ำลัง เล็งว่า อยากเอาพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้และจะท�ำน�้ำหยดสู้แล้งหน่อย มัวรอฝนอย่างเดียวเหมือนแต่ก่อนไม่ได้แล้ว สภาวะอากาศยังไม่เหมือน เดิมเลย แล้วเราจะมัวท�ำไร่แบบเดิมอยู่ได้ยังไงจริงไหม” คุณนุกูลฝาก ทิ้งท้ายข้อคิดไว้ให้มิตรชาวไร่
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
23
เทคโนโลยี เปลี่ยนโลก
AUGMENTED REALITY (AR)
มาท�ำความรู้จักกับ AR ่ นโลกอนาคต เทคโนโลยีทจ ี่ ะมาเปลีย ผูเ้ ขียน - คุณดาวรุณี ศรีงาม ่ างแผนกลยุทธ์กลุม เจ้าหน้าทีว ่ ธุรกิจอ้อย
มีการคาดการณ์วา่ เทคโนโลยี AR จะช่วยผลักดัน ให้เศรษฐกิจโลกเติบโตถึงราว 1.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (45 ล้านล้านบาท) ภายในปี 2573 และจะส่งผลกระทบต่อ ่ ไหร่ ต�ำแหน่งงานทัว ่ โลกกว่า 23 ล้านต�ำแหน่ง และเมือ ทีเ่ ราสามารถใช้เทคโนโลยี 5G ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ การใช้งานเทคโนโลยี AR ก็จะยิ่งแพร่หลายมากขึ้น ่ มต่อและตอบสนองย่อมไวกว่า 4G อย่าง เพราะการเชือ มหาศาล
ในช่วงเวลาวิกฤตโควิด-19 ทีผ่ า่ นมาหลาย ๆ คนคงเห็นว่าเทคโนโลยี ใหม่ ๆ เริ่มมีการถูกปรับใช้เข้ากับธุรกิจที่แพร่หลายมากขึ้น เนื่องจาก ปัจจัยหลายอย่างทั้ง พฤติกรรมผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นไป และการรณรงค์ให้ เป็ น ไปตามหลั ก Social Distancing หนึ่ ง ในเทคโนโลยี ที่ มี ค วาม โดดเด่นมาก ด้วยคุณสมบัตทิ สี่ ามารถลดการสัมผัส และประหยัดเวลาได้ นั่นคือ AR (Augmented Reality) หรือ ที่ไทยเราคุ้นเคยกันว่ามันคือ เทคโนโลยีการจ�ำลองภาพเสมือนจริงแบบสามมิติผ่านกล้องมือถือ คือ เทคนิคการแทนที่วัตถุในโลกแห่งความเป็นจริงด้วย รูปภาพ วิดีโอ หรือ วัตถุ 3 มิติ และแสดงผลผ่านฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์เคลื่อนที่ที่รองรับ การใช้เทคโนโลยี AR เริม่ ถูกใช้มากขึน้ ในบรรดาธุรกิจประเภทขายสินค้า ซึ่งช่วยให้ลูกค้าสามารถดูหน้าตา หรือ ดูว่าสินค้ามีรายละเอียดอย่างไร โดยไม่ตอ้ งไปถึงสถานทีจ่ ริง ซึง่ นับว่ามีคณ ุ สมบัตเิ หมาะกับช่วงเวลาโควิด-19 24
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
[ลิขสิทธิ:์ Ahmet Misirligul] © 123RF.com https://illusion.in.th/%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8 %95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8% 84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5-ar/
ประโยชน์ที่ใช้ในปัจจุบัน • AR กับประโยชน์ในวงการแพทย์
มีการสร้างสถานการณ์จ�ำลองทางการแพทย์ เช่น การแสดง ข้อมูลทางการแพทย์ โดยศัลยแพทย์สามารถบอกพยาบาลได้ว่า ส่วนไหนต้องรับการช่วยเหลือในลักษณะไหน และอย่างไร และ พยาบาลสามารถใช้เทคโนโลยี AR ในการค้นหาเส้นเลือดของผูป้ ว่ ย เพื่ อ ความแม่ น ย� ำ ในการเจาะเลื อ ดให้ เ ป็ น เรื่ อ งง่ า ย และใน มหาวิทยาลัยแห่งหนึง่ ในกรุงลอนดอน มีการน�ำ AR มาช่วยในการ ฝึกท�ำคลอดได้ ที่ส�ำคัญ AR สามารถเข้ามาช่วยเรื่องการผ่าตัด ให้ศัลยแพทย์สามารถเห็นส่วนที่อยู่ภายในก่อนการผ่าตัดจริง เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยได้รบั การเยียวยารักษาอย่างปลอดภัยและเกิดความ ผิดพลาดให้น้อยที่สุด ่ า : - https://illusion.in.th/ท�ำไมต้องเทคโนโลยี-ar/ ทีม
ตัวอย่างการจ�ำลองการใช้แว่นตาโฮโลแกรมกับวงการแพทย์
• AR กับประโยชน์ อุตสาหกรรม
จากตัวอย่างภาพเป็น การแสดงให้เห็นว่า เทคโนโลยี AR สามารถเข้ามาช่วย ผู้ท่ไี ม่มีประสบการณ์ ในการซ่อมแซมเครื่องจักร ให้รับรู้ข้อมูล เทคนิค กระบวนการ และขั้นตอน ในการซ่อมแซม อย่างแม่นย�ำ
การพัฒนากระบวนการท�ำงานใน กลุ่มงานวิศวกรรม เช่น การผลิต หรือ การซ่อม ก็สามารถจ�ำลองภาพวัตถุ หรื อ แผนผั ง งาน เพื่ อ ค้ น หาจุ ด ที่ มี ปั ญ หาได้ โดยผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านสามารถ ด� ำ เนิ น งานโดยไม่ ต ้ อ งการผ่ า นการ เข้าฝึกอบรมเลยดีเดียว [ลิขสิทธิ:์ nicoelnino] © 123RF.com [ลิขสิทธิ:์ Evgeny Gerasimov] © 123RF.com
่ า : https://www.visartech.com/blog/how-virtual-andทีม augmented-realities-help-agriculture/
จากในภาพเป็นตัวอย่างการใช้แว่นตาทีเ่ ป็น AR แล้วแสดงแผนทีใ่ นอากาศ ้ ร้านกาแฟได้อย่างง่ายดาย เพื่ อให้ผใู้ ช้งานค้นหาร้านค้า ร้านค้าเสือ
• AR กับประโยชน์ต่อผู้บริโภค
ในปัจจุบนั ก่อนการซือ้ ของต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นการซือ้ บ้าน คอนโด เครื่องใช้ในบ้าน เฟอร์นิเจอร์ และการซื้อสินค้า Online เราสามารถ ใช้เทคโนโลยี AR เพื่อช่วยในการตัดสินใจก่อนซื้อทั้งสิ้น ในไทยเอง ก็มีหลายธุรกิจที่ได้น�ำ เทคโนลียี AR มาใช้ เช่น SCG Sansiri ใช้ AR มาช่วยให้ลูกค้าได้เห็นแบบบ้านเสมือนจริงที่สุดก่อนการสร้างบ้าน และช่วยให้ลูกค้าสามารถจ�ำลองดีไซน์ห้องต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง เช่นเดียวกับ IKEA ทีใ่ ห้ผบู้ ริโภคลองจินตนาการได้วา่ ผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ จะดูเป็นอย่างไร เพื่อให้เข้ากับเฟอร์นิเจอร์ และพื้นที่เดิมของคุณ โดยไม่ต้องเปิดประตูออกจากบ้านเลยด้วยซ�้ำ
• การประยุกต์ใช้ในด้านการเกษตร
ปัจจุบัน AR สามารถติดตามดูการเจริญเติมโตของพืชตลอด วงจรชีวติ และส�ำรวจส่วนประกอบภายในอันซับซ้อนของราก ล�ำต้น ใบ และดอก โดยคุณจะได้เฝ้าสังเกตการเติบโตในแต่ละระยะตั้งแต่ เมล็ดเริ่มงอกและเรียนรู้เกี่ยวกับสภาพที่เอื้อต่อการเติบโตของพืช เสมื อ นจริ ง ได้ และ AR ยังสามารถตรวจหาศัตรูพืชและแมลงได้ นอกจากนีย้ ังสามารถระบุชนิดของแมลงและก�ำหนดวิธีการจัดการ ได้อย่างเหมาะสม เกษตรกรสามารถตรวจสอบและก�ำหนดคุณภาพ ของดินได้ง่ายขึ้น และยังสามารถรับข้อมูลเกี่ยวกับสภาพอากาศ อุ ณ หภู มิ สุ ข ภาพของพื ช ความต้ อ งการปุ ๋ ย และวั น ที่ เ ก็ บ เกี่ ย ว ได้อย่างเหมาะสม
เทคโนโลยี AR ที่พูดได้อย่างแท้จริงนั้นค่อนข้างใหม่ส�ำหรับสาขาเกษตรกรรมและยังไม่ได้ ถูกน�ำมาใช้อย่างเต็มความสามารถ อย่างไรก็ตามมีความเป็นไปได้มากมายที่จะน�ำไปใช้ในรูปแบบ ที่หลากหลายและมีจุดมุ่งหมายมากขึ้น และอีกไม่นาน AR จะมีบทบาทส�ำคัญในการจัดการระบบ เกษตรกรรมทั้งหมดและจัดการปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขานี้ และด้วยวิธีนี้จะท�ำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงในรูปแบบและวิธีการเกษตรกรรมอย่างแน่นอน นี่จึงเป็นโอกาสส�ำคัญที่ในแต่ละธุรกิจจะน�ำเทคโนโลยี AR เข้ามาช่วยสร้างมูลค่า เพิ่ มให้กบ ั สินค้าและบริการ รวมทัง ้ ลดเวลาและค่าใช้จา่ ยในการท�ำงานของเราได้ในอนาคต
่ า ทีม
www.mitrpholmodernfarm.com
SCAN HEARE
MITR PHOL MODERNFARM
25
ของเล่น ชาวไร่
AUTO STEERING พวงมาลัยอัตโนมัติ เรียบเรียงโดย - คุณรังสิมน ั ตุ์ สัมฤทธิ์ ผ้บ ู ริหารประสานงานภาครัฐ
ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 นี้ เราจะเห็น ได้อย่างชัดเจนว่าทัง ้ ทางภาครัฐและเอกชนได้ให้ ความส�ำคัญกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ามามีบทบาทในทุกภาคส่วนของธุรกิจ เพื่ อ เพิ่ มประสิทธิภาพในการท�ำงาน ให้มค ี วามสะดวก รวดเร็ว และลดต้นทุนการผลิต ทั้งนี้รวมถึง อุตสาหกรรมภาคการเกษตรอีกด้วย ดังเช่น โครงการมิ ต รผลโมเดิ ร์ น ฟาร์ ม ของพวกเรา ซึ่งใช้เครื่องจักรกลเข้ามาแทนแรงงานคนทุก ขั้ น ตอน ตั้ ง แต่ ก ารเตรี ย มดิ น จนถึ ง การ เก็ บ เกี่ ย ว และมี ก ารใช้ ร ะบบจี พี เอสในการ ควบคุ ม การท� ำ งานของเครื่ อ งจั ก รให้ มี ก าร ่ ม่นย�ำ รวมถึงใช้เครือ ่ งจักรได้อย่างมี ท�ำงานทีแ ประสิทธิภาพ 26
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
หนึ่งในเทคโนโลยีที่น่าสนใจจาก บริษัท ท็อปคอน อินสทรูเม้นท์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ซึ่งสอดคล้องกับการท�ำไร่อ้อยสมัยใหม่แบบมิตรผล โมเดิร์นฟาร์ม คือ ระบบพวงมาลัยอัตโนมัติ (Auto Steering) โดยการใช้สัญญาณจีพีเอสน�ำทาง ซึ่งเป็นพื้นฐานในทุกขั้นตอน เริ่มตั้งแต่ การปรับหน้าดิน การยกร่อง การปลูก การใส่ปุ๋ย จนถึงการเก็บเกี่ยว โดยมีอุปกรณ์พื้นฐานและหลักการท�ำงานที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ดังนี้ ่ งรับสัญญาณดาวเทียมจีพีเอส AGI-4 คือเครือ เพื่ อก� ำ หนดต� ำ แหน่ ง พิ กั ด ที่ มี แ ม่ น ย� ำ สู ง ซึ่ ง ติดตั้งอยู่บนหลังคารถแทรกเตอร์
1
หน้าจอรุ่น X-35 ส�ำหรับควบคุมและสั่งการ แสดงข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ บนจอแสดงผล เพื่ อให้รถวิง ่ ตามแนวอ้างอิงทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ โดย ติดตัง ้ ในห้องขับบริเวณด้านหน้าที่นั่ง
2
พวงมาลัยอัตโนมัติรุ่น AES-35 ติดตั้งแทน ่ ารควบคุมทิศทาง พวงมาลัยปกติ โดยท�ำหน้าทีก ของรถ ช่วยเพิ่ มประสิทธิภาพในการท�ำงาน โดย ผู้ขับไม่ต้องบังคับพวงมาลัยเอง หรือมีความ ช�ำนาญในการบังคับรถแทรกเตอร์
3
4
เครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียมจีพีเอสชนิด สถานีฐาน เบส สเตชั่น (Base Station)
โดยมีวธ ิ ก ี ารท�ำงานดังนี้
1. เบส สเตชัน่ จะรับสัญญาณจากดาวเทียม เพือ่ ค�ำนวณ หาต�ำแหน่งที่แม่นย�ำบนแปลงนั้น ๆ จากนั้นชุด เบส สเตชั่นจะ ท�ำการส่งค่าปรับแก้ทางต�ำแหน่งไปยังเครือ่ งรับสัญญาณดาวเทียม จีพีเอส AGI-4 บนหลังคารถ เพื่อให้ทราบต�ำแหน่งของรถ แทรกเตอร์ตลอดเวลาทีร่ ถเคลือ่ นทีไ่ ป ด้วยความแม่นย�ำสูง โดย มีความคลาดเคลื่อนเพียงแค่ 2-3 เซ็นติเมตรเท่านั้น 2. วิ่งรถรอบ ๆ แปลงหนึ่งรอบเพื่อสร้างแผนที่และ ก�ำหนดแนวเส้นอ้างอิงในการยกเบดแต่ละร่อง เมื่อระบบ ประมวลผลเสร็จแล้ว แนวเส้นอ้างอิงทัง้ หมดจะแสดงบนหน้าจอ X35 จากนัน้ คนขับเพียงแค่เหยียบคันเร่งให้รถเคลือ่ นทีไ่ ป โดยพวงมาลัย อัตโนมัตจิ ะท�ำหน้าทีร่ กั ษาทิศทางรถแทรกเตอร์ให้ตรงกับแนวเส้นอ้างอิง ตลอดเวลา 3. ระบบพวงมาลัยอัตโนมัตินี้ มีความสะดวกและใช้งานง่าย ท�ำให้แนว เส้นตรง ร่องไม่ทับซ้อนกัน โดยคนขับไม่จ�ำเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญในการขับ รถแทรกเตอร์เลย ไม่ต้องใช้มาร์คเกอร์ในการก�ำหนดร่องแนวดิน รวมถึง หลีกเลี่ยงการบดอัดหน้าดินซ�้ำๆ ในบริเวณที่ไม่เหมาะสม ซึ่งส่งผลให้ผลผลิต ออกมาไม่มปี ระสิทธิภาพ วิธกี ารนีส้ นับสนุนการท�ำไร่ออ้ ยแบบมิตรผลโมเดิรน์ ฟาร์ม ในเสาหลักที่เกี่ยวกับ การควบคุมแนวล้อวิ่ง (Controlled Traffic) อีกด้วย
่ ี โดยมีการยกร่อง หากเราเริม ่ พื้ นฐานในการปลูกทีด เป็นแถวตรงและยาวไม่ต่�ำกว่า 250 เมตร แล้วนั้น ขัน ุ๋ และ ้ ตอนถัดมาทัง ้ หมดตัง ้ แต่การปลูก การใส่ปย การเก็บเกี่ยว ก็จะมีประสิทธิภาพและให้ผลผลิตที่ดี รวมถึงลดการท�ำลายดินในบริเวณที่ไม่เหมาะสมใน ระยะยาว ตามหลักของการจัดการไร่ออ ้ ยอย่างยัง ่ ยืน ่ ต แบบฉบับมิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์ม เพื่ อทีม ิ รชาวไร่จะได้ ่ ี มีคณ ่ ด ผลผลิตทีด ุ ภาพในท้ายทีส ุ นะครับ
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
27
GOSSIP ชาวไร่
กลุ่ม มิ ตรผล รั บ รางวั ลในพิ ธี มอบรางวัลชาวไร่อ้อยดีเด่น และ
โรงงานน�้ ำ ตาลดีเด่น ประจ�ำปี 2563 ด�ำเนินจัดกิจกรรมประชุมทายาทเถ้าแก่ไร่ออ้ ย ในวันที่ 23 มิถนุ ายน 2563 เพือ่ พัฒนาชาวไร่รนุ่ ใหม่ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการบริหารจัดการไร่ออ้ ยสมัยใหม่แบบมิตรผลโมเดิรน์ ฟาร์ม และระบบชลประทานในไร่ออ้ ย ยกระดับผลผลิตต่อไร่ให้สงู ขึน้ เปิดโอกาสให้ชาวไร่รนุ่ ใหม่ระดมสมองแลกเปลีย่ นแนวคิดการท�ำ ไร่อ้อยระหว่างกัน พร้อมลงพื้นที่ศึกษาดูงานแปลงต้นแบบ การบริหารจัดการไร่ดว้ ยระบบโซล่าเซลล์ ระบบน�ำ้ หยด นอกจาก สามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ของตนเองแล้ว สิง่ ส�ำคัญเราได้สร้างเครือข่ายชาวไร่คนรุน่ ใหม่ ทีจ่ ะเติบโต พัฒนา ตนเองเป็นชาวไร่ทมี่ คี ณ ุ ภาพ พร้อมทีจ่ ะสานต่อธุรกิจไร่ออ้ ยต่อ จากครอบครัวต่อไปในอนาคต
มิ ต รภู ห ลวง พั ฒนาระบบชลประทาน (บ่อบาดาล โซล่า เซลล์ ระบบน�้ำหยด) มิตรผลหลวงจัดประชุมชาวไร่ “หมูบ่ า้ นการบริหารจัดการน�ำ้ ” ณ ศูนย์เรียนรูก้ ารจัดการน�ำ้ นายช�ำนาญ ค�ำมา นายประคม พิลมจิตร และนางเพชรลัดดา วิชยั วงศ์ มีชาวไร่เข้าร่วมศึกษาดูงาน โดยมีชาวไร่ ต้นแบบที่มีความเชี่ยวชาญ และปฏิบัติจริงในด้านการจัดการน�้ำ ให้ค�ำแนะน�ำแลกเปลี่ยนแนวคิด วิธีการปฏิบัติและตอบค�ำถาม ข้อสงสัยในเรือ่ งบ่อบาดาล โซล่าเซลล์ ระบบน�ำ้ หยด พร้อมน�ำชาวไร่ เยี่ยมชมแปลงการจัดการน�้ำด้วยระบบน�้ำหยด ชาวไร่สามารถน�ำไป ประยุกต์ใช้ในพื้นที่ของตนเอง ยกระดับผลผลิตให้สูงขึ้น
มิ ต รภู เ วี ย งและมิ ต รภู เ ขี ย ว
จั ด กิ จ กรรม "พู ดจา ภาษาอ้ อ ย" ด้านอ้อยมิตรภูเวียงจัดกิจกรรม "พูดจา ภาษาอ้อย" ชาวไร่รถตัด โดยมีคุณค�ำสี แสนศรี ผอ.ด้านอ้อยน�้ำตาลมิตรภูเขียวและภูเวียง กล่าว เปิดงาน พบปะพร้อมสือ่ สารนโยบายการส่งเสริม 2563/64 2564/65 โดยมี วิทยากรคุณทวีศักดิ์ กันนุฬา ผจก.ฝ่ายเครื่องมือเกษตร NE1 บรรยาย ในขัน้ ตอนการเตรียมดินปลูกอ้อยตุลาในดินเหนียว คุณพีรญา กลมสอาด ผจก.ฝ่ายวิจัย Crop Production บรรยายในเรื่องพันธุ์อ้อยแนะน�ำของ มิตรผลและการคัดเลือกพันธุอ์ อ้ ยทีเ่ หมาะสมแต่ละพืน้ ที่ ร่วมกับชาวไร่ทมี่ ี ประสบการณ์การท�ำไร่อ้อย และในเรื่องเทคนิคการท�ำงาน บ�ำรุงรักษา รถตั ด อ้ อ ยเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานของรถตั ด สู ง สุ ด โดย คุณสันติภาพ ศรีสุขจร 28
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
โครงการขยายเกษตรสมบูรณ์
จัดกิจกรรมพบปะชาวไร่
โครงการขยายเกษตรสมบูรณ์ จัดกิจกรรมพบปะชาวไร่ เพือ่ ส่งเสริมขยายพืน้ ทีป่ ลูกอ้อยตุลาและส่งเสริมให้ปรับเปลีย่ น มาปลู ก อ้ อ ยแบบสมั ย ใหม่ / การท� ำ แผนธุ ร กิ จ ชาวไร่ อ ้ อ ย (รายกลาง-รายใหญ่) ระหว่างวันที่ 17 กรกฎาคม - 14 สิงหาคม 2563 มีชาวไร่เข้าร่วมกิจกรรมรวม 433 ราย สถานที่จัด ณ ศูนย์เรียนรู้การท�ำไร่อ้อยประจ�ำเขตส่งเสริมฯ (เฉพาะเขต ส่งเสริมฯ ที่มีศูนย์เรียนรู้)
อุทยานมิตรผลด่านช้างประชุม แลกเปลี่ย นแนวคิดวางแผนป้องกัน
และแก้ ไ ขปั ญ หาอ้ อ ยไฟไหม้ แบบบูรณาการ ปี 2563/64
คุ ณ ไพฑู ร ย์ ประภาถะโร ผู้ช ่ว ยกรรมการผู้จัด การ สายงานอ้อย ภาคกลาง น�ำทีมผูบ้ ริหารและพนักงาน อุทยานมิตรผล ด่านช้าง เข้าร่วมประชุมแลกเปลีย่ นแนวคิดวางแผนป้องกันและ แก้ไขปัญหาอ้อยไฟไหม้แบบบูรณาการ ปี 2563/64 โดยมี คุณสิทธิศกั ดิ์ แย้มพรายภิรมย์ นายอ�ำเภอด่านช้าง ให้เกียรติ เป็นประธานในที่ประชุมฯ ซึ่งทุกภาคส่วนของอ�ำเภอด่านช้าง ได้เข้าร่วมประชุมฯ เช่น หน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ ผู้น�ำ ชุมชน และชาวไร่ออ้ ย กว่า 100 คน โดยทีป่ ระชุมฯ ได้รว่ มแสดง ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ และน�ำเสนอการเพิ่มมาตรการ ด้านต่าง ๆ เพือ่ ป้องกันและควบคุมไฟไม่ให้ลกุ ลามในแปลงอ้อย และใต้แนวสายส่งไฟฟ้า ให้บรรลุตามเป้าหมายทีไ่ ด้ตงั้ ไว้รว่ มกัน ต่อไป
มิตรอ�ำนาจเจริญ จัดกิจกรรม
ประชาสัมพั นธ์โครงการปลูกอ้อย เดือนตุลาคม ปีการผลิต 2564/65
มิตรอ�ำนาจเจริญ ได้จดั กิจกรรมลงพืน้ ทีค่ าราวานเคาะประตูบา้ น และประชุมหมู่บ้านในพื้นที่ส่งเสริมของโครงการมิตรอ�ำนาจเจริญ เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ โ ครงการปลู ก อ้ อ ยเดื อ นตุ ล าคม ปี ก ารผลิ ต 2564/65 ให้ความรู้ และเปิดรับสมัครชาวไร่ผสู้ นใจปลูกอ้อยเข้าร่วม โครงการ ซึ่งการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ มีผู้บริหาร พนักงาน ทุกคน ได้ลงพื้นที่อย่างใกล้ชิดทั่วถีง ครอบคลุม 851 หมู่บ้าน ในเขตจังหวัด อ�ำนาจเจริญ ยโสธร มุกดาหาร ร้อยเอ็ด และอุบลราชธานี สร้างความ เชื่อมั่นให้ชาวบ้านมั่นใจในการท�ำอาชีพไร่อ้อย และสร้างความรู้จัก กับโรงงานน�้ำตาลมิตรอ�ำนาจเจริญ มากยิ่งขึ้น www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
29
ไลฟ์สไตล์ มิตรชาวไร่
10 วัชพื ชดีมคี ณ ุ ค่า
ที่เ ราถอนทิ้ ง ไปโดยไม่ทันรู้ตัว ! ผู้เขียน : คุณบุษยา พรมทา | เจ้าหน้าที่วางแผนกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจอ้อย
่ พี่ นอ ่ื ว่า “วัชพื ช” ซึง มิตรชาวไร่ฉบับนีเ้ ราจะมาเผยคุณค่าของพื ชเกรดล่างทีไ่ ด้ชอ ้ งมิตรชาวไร่อาจพบว่ามีคณ ุ ค่า ทางสมุนไพรซ่อนตัวอยู่ ! และเราอาจจะยังไม่เคยรู้มาก่อนว่ามันกินได้ และมีประโยชน์ต่อร่างกายไม่แพ้ สมุนไพร ้ เี กร็ดความรูร้ อบตัวเรือ ่ งวัชพื ชทีม ่ ป ชัน ้ ก ั กันมานาน วันนีม ี ระโยชน์ทางสมุนไพรทีเ่ รามักก�ำจัดทิง ้ เอกทีเ่ รารูจ ้ เป็นประจ�ำ มีอะไรบ้าง มาดูกัน !
1. ส้มกบ (Wood Sorrel หรือ Oxalis)
ส้มกบ เป็นวัชพืชที่มีความสูงแค่ 2-3 นิ้ว เลือ้ ยคลุมพืน้ ดิน มีใบรูปหัวใจแบ่งออกเป็น 3 ใบ ต่อ 1 ช่อ และดอกสีเหลืองทีม่ ี 5 กลีบดอกด้วยกัน สรรพคุณ มีกรดมาลิก กรดซิตริก แคลเซียม วิตามินซี และแคโรทีน ซึง่ ช่วยในการย่อยอาหาร ช่ ว ยให้ เ จริ ญ อาหาร รั ก ษาโรคนอนไม่ ห ลั บ แก้อาการหวัด รักษาโรคดีซ่านนั่นเอง
2. วอเตอร์เครส (Watercress)
พื ช ที่ ค นไทยขนานนามว่ า ผั ก สลั ด น�้ ำ เป็นพืชใบเขียวทีอ่ ยูใ่ นตระกูลเดียวกับดอกกะหล�ำ่ รูปร่างคล้ายใบบัวบก สรรพคุณ จากผลวิจยั จะอุดมไปด้วยวิตามินซี แคลเซี ย ม ธาตุ เ หล็ ก และสารต้ า นอนุ มู ล อิสระสูง ช่วยในการยับยั้งและป้องกันการเกิด มะเร็งและสารพิษต่าง ๆ
4. เรด โคลเวอร์ (Red Clover)
วัชพืชชนิดนี้อยู่ในตระกูลเดียวกับถั่วและมักจะขึ้นแซมปกคลุม หน้าดินในสนามหญ้า จุดสังเกต คือ ดอกของมันจะมีสีแดงชมพูระเรื่อเป็น ทรงพุ่ม กลีบดอกซ้อนกันเป็นชั้น และมีใบที่ฐานดอกประมาณ 3-4 ใบ เป็นหนึ่งในวัชพืชที่ถูกน�ำมาสกัดเป็นอาหารเสริมยอดนิยมในตอนนี้ สรรพคุ ณ รั ก ษาอาการไข้ ห วั ด ขั บ เสมหะ แก้ เ จ็ บ คอ และล้ า งพิ ษ ในร่างกาย 30
MITR PHOL MODERNFARM
www.mitrpholmodernfarm.com
3. ผักกาดน�ำ้ (Plantago major)
เป็นพืชล้มลุกที่เจริญเติบโตขึ้นซ้อนกัน เป็นกอ ล�ำต้นจะมีสีเขียวอมแดง ใบยาวเป็นรูป วงรีขึ้นสลับซ้อนกันรอบต้น และมีดอกเล็ก ๆ ขึ้นที่ปลายยอดมากมาย สรรพคุณ ช่วยแก้อาการปวดฟัน มีฤทธิ์เป็น ยาระบาย และแก้หนองใน
้ นผี (Cleome viscosa) 5. ผักเสีย
วัชพืชชนิดนี้ถือว่าเป็นพืชล้มลุก ลักษณะล�ำต้นจะสูงได้ถึง 30 เซนติเมตร มีขนตามล�ำต้น ใบจะมีรูปร่างออกกลมและปลายเรียวแหลม ใน 1 ช่อจะมีดว้ ยกัน 5 ใบ ส่วนดอกนัน้ จะออกเป็นช่อ ด้านบนล�ำต้นมีสขี าว ทีค่ อยชูเกสรสีนำ�้ ตาลให้สงู ชันตลอดเวลา และผลของผักเสีย้ นจะมีลกั ษณะ เป็นฝักและด้านในมีเมล็ด สรรพคุณ ช่วยบ�ำรุงเลือดลม ต้านอนุมูลอิสระ ต้านมะเร็ง แก้ปวดหู ขับพยาธิไส้เดือน และแก้อาการปวดท้อง
้ ใหญ่ (Purslane) 6. ผักเบีย
รวมอยู่ในตระกูลเดียวกับ คุณนายตื่นสาย เป็นพืชล้มลุกเลื้อย ปกคลุมหน้าดินเพื่อรักษาความชื้นให้กับดิน ออกดอกสีเหลืองมีกลีบดอก 4-5 ดอก และใบเล็กโค้งมนที่โอบอุ้มน�้ำเอาไว้ สรรพคุณ เป็นวัชพืชทีม ่ ากไปด้วย กากใย วิตามิน เกลือแร่ สารต้านอนุมลู อิสระ กรดไขมันโอเมก้า 3 ที่เป็นตัวช่วยอย่างดีในการลดคอเลสเตอรอล ควบคุมความดัน ลดการแข็งตัวของหลอดเลือด แถมยังเป็นยาที่ใช้รักษา ล�ำไส้อกั เสบ แก้ตอ่ มน�ำ้ เหลืองอักเสบ รักษาแผลเป็นหนอง รักษาไส้ตงิ่ อักเสบ เฉียบพลัน และป้องกันโรคบิด
8. หญ้าชันกาด (Torpedo grass)
เป็นพืชล้มลุกทีข่ นึ้ ได้ดใี นทีท่ มี่ นี ำ�้ เป็นข้อ ปล้องมีใบเรียวยาวขึน้ แซมสลับกัน ออกดอกย่อย ๆ ทีป่ ลายยอดล�ำต้นและจะพบมากตามทุง่ นา ซึง่ มี อายุยืนข้ามปีกันเลยทีเดียว สรรพคุณ ช่วยให้ประจ�ำเดือนมาปกติ แก้ไต พิการ ละลายก้อนนิ่ว ขับปัสสาวะ รักษาโรคตา แก้อาการบวมน�้ำ และแก้ไข้พิษ
7. สาบเสือ (Siam weed)
เป็นพืชล้มลุก ทีแ่ ตกกิง่ ก้านสาขามากจนเหมือนทรงพุม่ กิง่ ก้านและ ล�ำต้นจะปกคลุมไปด้วยขนนุ่มอ่อน ๆ มีล�ำต้นสูงประมาณ 1-2 เมตร มีลกั ษณะเด่นคือใบหยักรูปสามเหลีย่ ม มีขนอ่อนรอบใบและล�ำต้น เมือ่ ขยีจ้ ะ มีกลิน่ ว่ากันว่าคล้ายกลิน่ สาบเสือ สรรพคุณ ช่วยชูกำ� ลัง แก้อาการอ่อนเพลีย ช่วยบ�ำรุงหัวใจ ช่วยแก้ ตาฟาง ช่วยแก้ไข้ ห้ามเลือด ใช้สมานแผล ช่วยป้องกันการเกิดรอยแผลเป็น ใช้เป็นยา แก้ปวดท้อง อาการท้องขึน้ ท้องเฟ้อ
9. โทงเทง (Cape gooseberry)
จั ด เป็ น พื ช ล้ ม ลุ ก อายุ ร าว 1 ปี ทั้ ง ต้ น ปกคลุมไปด้วยขน แตกกิง่ ก้านบริเวณยอด ก้านมี ขนาดเล็ก มักพบขึน้ บริเวณริมน�ำ้ มีลกั ษณะเด่น อยู่ที่ผลมีใบเลี้ยงหุ้มซึ่งห้อยระย้าตามกิ่งใบมอง คล้ายกระดิง่ เล็ก ๆ สรรพคุณ เป็นยาขับความชืน ้ ในร่างกาย แก้ไข้ แก้รอ้ นใน รักษาอาการเจ็บคอ รักษาต่อมทอนซิล อักเสบได้
คงจะรู้สึกเสียดายที่เคยก�ำจัดวัชพื ชดี ๆ เหล่านี้ท้ิงไป ใช่ไหมค่ะ หากสนใจอยากลองน�ำมากินและใช้เป็นยาเพื่ อรักษา อาการต่าง ๆ บ้างนั้น เราขอแนะน�ำให้ศึกษาหาข้อมูลอย่าง ละเอี ย ดก่ อ น หรื อ สอบถามจากแพทย์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญเพื่ อให้ คุณได้ใช้ประโยชน์จากวัชพื ชได้อย่างสบายใจกันนะคะ
10. หญ้าไก่ (Chickweed)
ขอยกต�ำแหน่งพืชทีเ่ ป็นได้ทงั้ อาหารและ ยาให้กับชิคหวีดหรือหญ้าไก่ วัชพืชที่ออกดอก 1 ดอกต่อ 1 ต้น ดอกมีลกั ษณะคล้ายดาว ซึง่ กลีบ ดอกจะแยกออกเป็นแฉกและมีสขี าว ใบเรียวยาว สรรพคุณ อุดมไปด้วยวิตามิน แร่ธาตุ โอเมก้า 6 โพแทสเซี ย ม แมกนี เ ซี ย ม และยั ง ช่ ว ยรั ก ษา โรคเก๊าท์ โรคข้อ ระบบทางเดินหายใจ และอาการ ทางผิวหนังได้เช่นกัน
่ า : - https://home.kapook.com/view126323.html ทีม - https://numberssd.com/archives/546 - https://medthai.com/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8 %B0%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87/ - https://medthai.com/%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%87%E0%B9% 80%E0%B8%97%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/ - https://medthai.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0% B9%83%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%9A/ - https://medthai.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8% 9A%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD/
www.mitrpholmodernfarm.com
MITR PHOL MODERNFARM
31
้ํา จากบาก้า น ย ุ ๋ ะป ล แ ด ย ้ ห า ํ น เลือกอุปกรณ์ระบบ
สนับสนุนทุกการเจริญเติบโตของอ้อย
บาก้า...เพื่ อชาวไร่อ้อย
สอบถามข้อมูลสินค้าเพิ่ มเติม ปรึกษา พู ดคุย ได้ท่พ ี นักงานบาก้าในพื้ นที่ใกล้บ้านท่าน