VOLUME 7 ISSUE 2 MARCH-APRIL 2019
TOGETHER WE’LL GO FAR SPECIAL SCOOPS
BUSINESS ANALYTIC
BUSINESS VENUE
READY FOR SUPPORT “น�ำ้ ลิก 1” ขุมพลังใหม่ ของนครหลวงเวียงจันทน์
“AV-AUTONOMOUS VEHICLE” HOT HAPPENINGS ่ ก ต่อยอดรถ EV เพื่ อชีวต ิ ทีด ี ว่า
HOW TO SUCCEED ON DIGITAL PATHWAY ่ 5G เขย่าโลก เมือ
ENGINEERING AND CONSTRUCTION SERVICES ่ วชาญจาก กฟผ. โดยผูเ้ ชีย
PRE-DEVELOPMENT PHASE
IMPLEMENTATION PHASE Pre-Construction
Construction
ติดต่อ ฝ่ายจัดการธุรกิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย Website : www.egatbusiness.com Call Center : Tel. +66 (0) 2436 7488 Mobile. +66 (0) 81 812 2680 Email : msd3@egat.co.th
รังสิ นี ประกิจ บรรณาธิการ
MAJOR
สวัสดีคะ่ คุณผูอ้ า่ น EGAT Biznews ทุกท่าน นีค่ อื เสียงทักทายจากบรรณาธิการคนใหม่ปา้ ยแดง ทีม่ ารับหน้าที่ ต่อจาก คุณสุรสิทธิ์ พิไลยเกียรติ ดิฉันขอฝากเนื้อฝากตัวกับคุณผู้อ่านทุกท่าน และขอให้ค�ำมั่นสัญญาว่า EGAT Biznews จะยังคงหยิบเอาเรือ่ งราวทีน่ า่ สนใจในแวดวงธุรกิจพลังงาน มาฝากคุณผูอ้ า่ นกันอย่างเต็มอิม่ เช่นเดิม สิง่ ส�ำคัญประการหนึง่ ในการด�ำเนินธุรกิจให้เติบโตอย่างมัน่ คง ก็คอื ความเชือ่ มัน่ ไม่วา่ จะเป็นความเชือ่ มัน่ ในทีมงาน เชือ่ มัน่ ในแนวทางการด�ำเนินธุรกิจ ตลอดจนเชือ่ มัน่ ในพันธมิตร EGAT Biznews ฉบับนี้ จึงน�ำเสนอ หลากหลายแง่มมุ ของการด�ำเนินธุรกิจภายใต้คยี เ์ วิรด์ ส�ำคัญค�ำว่า “Trust” และบุคคลส�ำคัญทีจ่ ะมาบอกเล่าเรือ่ งราว ของการด�ำเนินธุรกิจด้านพลังงานก็คอื คุณชวลิต ทิพพาวนิช ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) (GPSC) ส่วนคอลัมน์ Superior Experience ฉบับนี้ พาทุกท่านไปท�ำความรูจ้ กั กับคุณจินดา หงษ์ขจร กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั ไฮโดร เอ็นจิเนียริง่ จ�ำกัด นักลงทุนหญิงแกร่ง ทีเ่ ริม่ ต้นจากธุรกิจน�ำ้ ประปา สัง่ สมประสบการณ์ มากกว่า 20 ปีบนเส้นทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับน�้ำ ก่อนก้าวมาสู่การเป็นเจ้าของเขื่อนผลิตไฟฟ้าในสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว อย่างเต็มตัว จากนัน้ พลิกหน้าไปพบกับ คุณเรืองพงษ์ เรืองหิรญ ั กรรมการผูจ้ ดั การ บริษัท ไฟฟ้า น�้ำลิก 1 จ�ำกัด ที่มาเล่าเรื่องราวของโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำน�้ำลิก 1 ความส�ำเร็จล่าสุดจาก นักลงทุนไทยทีเ่ ข้าไปปักธงใน สปป.ลาว เสริมความเชือ่ มัน่ ด้วยทีมงานเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษามืออาชีพจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ท�ำให้ ณ วันนี้ น�ำ้ ลิก 1 มีความพร้อมเต็มอัตราทีจ่ ะจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ เสริมความมัน่ คงทางพลังงานให้กบั นครหลวงเวียงจันทน์ ติดตามได้ในคอลัมน์ Special Scoops ส่วนคอลัมน์ Business Venue ฉบับนี้ ไปท�ำความรูจ้ กั กับ “5G” เทคโนโลยีแห่งอนาคต ทีจ่ ะมาพลิกโฉม วงการธุรกิจทุกสาขาให้ก้าวสู่ยุคดิจิทัลเต็มตัว ไม่เว้นแม้แต่อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า จากนั้นไปพบกับอีกหนึ่ง ความก้าวล�ำ้ ทางเทคโนโลยี “Autonomous Vehicle (AV)” รถยนต์ไร้คนขับ นวัตกรรมทีจ่ ะมาเปลีย่ นแปลง ระบบคมนาคมให้มปี ระสิทธิภาพ ลดอุบตั เิ หตุและมลพิษ ติดตามได้ในคอลัมน์ Business Analytic นอกจากนีย้ งั มีเรือ่ งราวทีน่ า่ สนใจอีกมากมาย ไม่วา่ จะเป็น “ไข่เค็มฟีเวอร์” ทีห่ นั ไปทางไหนเป็นต้องเจอ สารพัดเมนูรสชาติไข่เค็ม กระแสฮิตนีเ้ ริม่ ต้นมาจากไหน ไปหาค�ำตอบได้ในคอลัมน์ Enjoy Life จากนัน้ มาดูแล สุขภาพร่างกายในหน้าร้อน ให้ปลอดภัยจาก “ฮีทสโตรก” ในคอลัมน์ Healthy Corner และทัง้ หมดนีค้ อื เรือ่ งราว น่าสนใจทีร่ อคุณผูอ้ า่ นอยูใ่ น EGAT Biznews ฉบับนี้ อย่ามัวรอช้าอยูเ่ ลยค่ะ พลิกหน้าถัดไปกันเลยดีกว่า
OVERHAUL
EGAT BIZNEWS 3 EDITOR'S TALK
CONTENTS VOLUME 7 ISSUE 2
MARCH-APRIL 2019
26
05
IF IT FLOWS, WE HAVE IT!
BIZMOVE
30
“AV-AUTONOMOUS VEHICLE” HOT HAPPENINGS
10
TOGETHER WE’LL GO FAR
34
FIGHT AGAINST HEATSTROKE
18
HOW TO SUCCEED ON DIGITAL PATHWAY
36
P.10
SALTHED EGG FEVER
22
READY FOR SUPPORT
P.22
P.36
HOROSCOPE
บรรณาธิการอาวุโส สมคิด ประดิษฐ์เสรี บรรณาธิการบริหาร รังสินี ประกิจ กองบรรณาธิการ สุมานี ธีรสวัสดิ์ | ปวีณ์สุดา อรุณสวัสดิ์ | ภัสสรา รงค์บัญฑิต ภริษา ธรรมวัฒนา | อธิศีล ธัญญ์ ณ ป้อมเพชร | พนัสบดี ประเสริฐพลกรัง นักเขียนรับเชิญ รามพล โหราราม ภาพ จักรกฤษณ์ เฉยชมพล ศิลปกรรม ณัฐวุฒิ บัวสุข นิตยสาร อีแกทบิซนิวส์
38
ฝ่ายจัดการธุรกิจ ชั้น 14 อาคาร ท.102 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เลขที่ 53 หมู่ที่ 2 ถนนจรัญสนิทวงศ์ ต�ำบลบางกรวย อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 โทรศัพท์ 0-2436-7413, 0-2436-7418 โทรสาร 0-2436-7492 e-mail address : egat_biznews@egat.co.th นิตยสาร อีแกทบิซนิวส์ จัดท�ำขึ้นเพื่อเป็นสื่อในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร สาระประโยชน์ และเพิ่มพูนความรู้ ความสัมพันธ์ภายใน กฟผ. และบริษัทในเครือ บทความและรูปภาพในวารสารฯ สงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย การน�ำบทความหรือรูปภาพในวารสารฯ ไปเผยแพร่ต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก กฟผ. เท่านั้น
BI Z MO V E
EGAT BIZNEWS 05 BIZMOVE
ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย เยี่ยมชม บจก. ผลิตไฟฟ้า นวนคร และ บจก. อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส
เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2562 นายวิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (ผวก.) นายสืบพงษ์ บูรณศิรน ิ ทร์ รองผูว้ า่ การอาวุโสส�ำนักผูว้ า่ การ (รอสก.) นายบุญทวี กังวานกิจ รองผูว้ า่ การประจ�ำส�ำนักผูว้ า่ การ (รวสก.) นายบุญญนิตย์ วงศ์รก ั มิตร รองผูว้ า่ การธุรกิจเกีย ่ วเนือ ่ ง (รวธ.) พร้อมคณะผูบ ้ ริหารการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เข้าเยีย ่ มชม บริษท ั ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด โดยมี พลอากาศเอก ดร. นพพร จันทวานิช ประธานกรรมการบริษท ั ผลิตไฟฟ้านวนคร จ�ำกัด และคณะผูบ ้ ริหารบริษท ั ฯ ให้การต้อนรับ
โดยวัตถุประสงค์ในการเยี่ยมชมดังกล่าว เพื่อ แลกเปลี่ยนแนวคิด พร้อมทั้งรับฟังผลการด�ำเนินงาน ของ กฟผ. ในการรับงานบุคคลภายนอก แก่ บริษัท ผลิตไฟฟ้านวนคร จ�ำกัด ในงานเดินเครื่องและบ�ำรุง รักษา (O&m) โดยการรับด�ำเนินงานดังกล่าว ถือเป็น ความส� ำ เร็ จ อี ก ก้ า วของ กฟผ. ในการน� ำ หลั ก การ Lean Management มาใช้ ป รั บ ปรุ ง กระบวนการ ท�ำงาน เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว คล่องตัว ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าและท�ำก�ำไรได้ตามเป้าหมาย ที่ลูกค้าตั้งไว้ นอกจากนี้ ผวก. และคณะผูบ้ ริหาร กฟผ. ได้เยีย่ มชม ศักยภาพ บริษทั อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด หนึง่ ใน บริษทั ในเครือของ กฟผ. โดยมี นายสมบูรณ์ ด�ำรงสุสกุล ผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (EDS) ให้การต้อนรับ โดย ผวก. กล่าวว่า การเยีย่ มชมดังกล่าว ถือเป็นโอกาสอันดี ในการชืน่ ชมความส�ำเร็จ และการเติบโต ในด้านการด�ำเนินงานของบริษทั ในเครือ กฟผ. และหวัง เป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายในการ ร่วมกันผลักดันมาตรฐานในการด�ำเนินงานเพือ่ ความส�ำเร็จ ยิง่ ขึน้ ไป
BIZMOVE 06
EGAT BIZNEWS
BIZMOVE กฟผ. ร่วมโชว์นวัตกรรมพลังงานไฟฟ้า และแสดงศักยภาพด้านพลังงานของไทย ในงาน “IEEE PES GTD ASIA 2019” การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร่วมสนับสนุน การจัดประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ IEEE PES GTD ASIA 2019 ซึง่ เป็นงานด้านไฟฟ้าและพลังงานระดับโลก ประกอบด้วย งาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) งาน Renewable Energy (RE Asia) บูรณาการกับองค์ประกอบด้าน Digitalization ทีม่ ี Smart City & Data Center รวมเข้าด้วยกัน จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 19 - 23 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ กฟผ. ในฐานะ เป็นผูส้ นับสนุนการจัดงานหลัก (Supporting Utilities) ร่วมกับอีกสามหน่วยงาน ได้แก่ การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งงาน ในครั้งนี้ ได้จัดขึ้นที่ประเทศไทยเป็นครั้งแรก มีผู้เข้าร่วมงาน มากกว่า 6,000 คน และมีผู้ประกอบการด้านไฟฟ้าและพลังงาน เข้าร่วมจัดแสดงงานกว่า 400 นิทรรศการ โดยภายในงาน กฟผ. ได้รว่ มจัดบูธนิทรรศการ แสดงผลงานทางด้าน Power Generation, Transmission and Distribution และ Renewable Energy ทั้งนี้ ฝ่ายจัดการธุรกิจ (อกธ.) ได้มีโอกาสเป็นส่วนหนึ่งของคณะ ท�ำงานจัดงานดังกล่าว โดยส่งผูบ้ ริหารและผูป้ ฏิบตั งิ านเข้าร่วมเป็น เจ้าหน้าที่ประจ�ำบูธ ในส่วน Business Zone โดยมีจุดประสงค์ เพือ่ ประชาสัมพันธ์ธรุ กิจของสายงานรองผูว้ า่ การธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง (รวธ.) ให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย พร้อมทั้งให้ข้อมูลเกี่ยวกับ งานบริการต่าง ๆ ให้แก่ผทู้ สี่ นใจภายในงาน รวมทัง้ เป็นเวทีในการ เจรจาธุรกิจและส่งเสริมโอกาสในการขยายตลาด
EGAT BIZNEWS 07 BIZMOVE
่ วเนือ ่ ง จัดงานเลีย ้ งรับรองเนือ ่ งในโอกาสลงนาม สายงานรองผูว้ า่ การธุรกิจเกีย สัญญา Operation and Maintenance Service Agreement ระหว่าง NL1PC และ EGAT เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2562 สายงานรองผู้ว่าการธุรกิจ เกีย่ วเนือ่ ง (รวธ.) ได้จดั งานเลีย้ งรับรองเนือ่ งในโอกาสลงนามสัญญา Operation and Maintenance Service Agreement หรือ OMSA ณ โรงแรม Crowne Plaza กรุงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐ ประชาชนธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ซึ่งได้มีการลงนาม สัญญาระหว่าง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และ บริษัท ไฟฟ้า น�้ำลิก 1 จ�ำกัด (Nam Lik 1 Power Company Limited : NL1PC) เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562 ทีผ่ า่ นมา ภายในงาน ดังกล่าว ได้รับเกียรติจาก นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร (รวธ.) เป็นประธานกล่าวเปิดงาน และกล่าวแสดงความยินดี โดยมี นายสมคิด ประดิษฐ์เสรี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการธุรกิจ (อกธ.) กล่ า วรายงานความเป็ น มาของความร่ ว มมื อ ในครั้ ง นี้ และมี คุณชวลิต ทิพ พาวณิช กรรมการผู้ จัดการใหญ่ บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) (GPSC) คุณเรืองพงษ์ เรืองหิรญั กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท ไฟฟ้ า น�้ ำ ลิ ก 1 จ� ำ กั ด (NL1PC) คุ ณ จิ น ดา หงษ์ ข จร กรรมการ ผู ้ จั ด การ บริ ษั ท ไฮโดร เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด (HEC) ท่านบุญอุ้ม สีวันเพ็ง Vice Chairman Electricite du Laos (EDL) ท่ า นนางรั ต นา ปทุ ม วรรณ Managing Director, EDL, ผู้บริหาร GPSC, HEC และ กฟผ. เข้าร่วมงานในครัง้ นี้ ทั้งนี้ บริษัท ไฟฟ้า น�้ำลิก 1 จ�ำกัด ได้มอบความไว้วางใจ ให้ กฟผ. ดูแลเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไฟฟ้า โดยมีระยะเวลาการให้บริการรวม 6 ปี 7 เดือน เริม่ ตัง้ แต่เดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2561 จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2567 การให้บริการ แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ Pre-Operation Period และ Operation Period โดยมีขอบเขตการให้บริการ ตัง้ แต่ งานสนับสนุนการตรวจรับ และการเก็บข้อมูลของเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ งานจัดเตรียมอะไหล่ วัสดุ และ Procedure ต่าง ๆ งานเดินเครือ่ งเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้า ให้กบั Electricite du Laos (EDL) รวมถึงงานบ�ำรุงรักษาประจ�ำโรงไฟฟ้า ซึง่ การให้บริการครัง้ นี้ นับเป็นโอกาสอันดีที่ กฟผ. ได้รบั ความไว้วางใจจาก บริษัท ไฟฟ้า น�้ำลิก 1 จ�ำกัด และยังนับเป็นความร่วมมือครั้งใหม่ระหว่างกลุ่มพันธมิตร คือ กลุ่มผู้ถือหุ้นของ บริษทั ไฟฟ้า น�ำ้ ลิก 1 จ�ำกัด (ได้แก่ GPSC, HEC, บริษทั พอสโก้ เอ็นจิเนียริง่ แอนด์คอนสตรักชัน่ จ�ำกัด และ EDL) กับ กฟผ.
เมือ่ วันที่ 4 เมษายน 2562 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) โดยสายงานรองผูว้ า่ การธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง (รวธ.) ได้จดั การประชุม POMCO Kick Off Meeting 2019 ภายใต้บนั ทึกความเข้าใจว่าด้วย ความร่วมมือเชิงวิชาการ การแลกเปลีย่ นองค์ความรูแ้ ละประสบการณ์ งานเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า (Power Plant Operation and Maintenance Collaboration : POMCO) ระหว่าง กฟผ. และ บริษัท Mitsubishi Hitachi Power Systems (MHPS) บริษัท Mitsubishi Corporation (MC) ณ ส�ำนักงานกลาง กฟผ. โดยมี นายอมรพันธ์ ลีลาภรณ์ ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การธุรกิจบ�ำรุงรักษา (ชธธ.) เป็นประธานการประชุมฯ พร้อมด้วยคณะท�ำงานฯ และผูป้ ฏิบตั งิ าน ด้านบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าประชุมร่วมกับ Mr.Shinji Shimada-Chief Operating Officer; Thai-MC Company Mr. Yasuyuki Ushijima Deputy General Manager; Takasago Service MHPS (ประธานร่วม) และผู้ปฏิบัติงานบริษัท MHPS บริษัท MC และบริษัท Mitsubishi Electric Corporation (MELCO) เพือ่ ร่วมกันขับเคลือ่ นและติดตามการด�ำเนินกิจกรรมภายใต้ความร่วมมือ POMCO ประจ�ำปี 2562 ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้การด�ำเนินกิจกรรมฯ บรรลุตามแผน เป้าหมาย วัตถุประสงค์บนั ทึกความเข้าใจ (MOU) และเกิดผลส�ำเร็จเชิงรูปธรรม การประชุมครัง้ นีบ้ รรลุตามวัตถุประสงค์และช่วยกระชับความสัมพันธ์อนั ดีระหว่าง 3 องค์กร ซึง่ จะร่วมกันพัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาคุณภาพและระบบงาน ผ่านกระบวนการแลกเปลีย่ นองค์ความรูป้ ระสบการณ์ และขยายโอกาสทางธุรกิจในงานด้านเดินเครือ่ ง และบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศอย่างต่อเนือ่ ง โดยมุง่ หวังให้ทกุ ฝ่ายได้รบั ผลส�ำเร็จและประโยชน์รว่ มกัน
BIZMOVE
บริ ษัท กฟผ. ร่วมกับกลุ่มบริษัท Mitsubishi จัดประชุม POMCO Kick Off Meeting 2019
BIZMOVE 08
EGAT BIZNEWS
BIZMOVE
่ วเนือ ่ ง ร่วมแสดงนวัตกรรมและศักยภาพด้านงานเชือ ่ ม สายงานรองผูว้ า่ การธุรกิจเกีย ในงาน The 8th Asia Pacific IIW International Congress
เมือ่ วันที่ 20 มีนาคม 2562 สายงานรองผูว้ า่ การธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง (รวธ.) โดย นายนัฐวุธ พิรยิ ะจิตตะ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบ�ำรุงรักษาเครือ่ งกล (อบค.) นายสายัณห์ ปานซัง ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายบ�ำรุงรักษา เครือ่ งกล-1. (ช.อบค-1.) ได้เข้าร่วมในพิธเี ปิดงานการประชุมวิชาการ นานาชาติดา้ นการเชือ่ มในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟคิ ครัง้ ที่ 8 (The 8th Asia Pacific IIW International Congress 2019) ภายใต้หัวข้อ “Promote and Ensure the Quality of Welding Education in the Region” จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 20-22 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์ประชุม แห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ กรุงเทพฯ ภายในงานดังกล่าว สายงานรองผูว้ า่ การธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง (รวธ.) ได้เข้าร่วมการออกบูธนิทรรศการภายใต้แบรนด์ EGAT Business เพือ่ เป็นการประชาสัมพันธ์ธรุ กิจของสายงาน พร้อมทัง้ แสดงศักยภาพด้านนวัตกรรม และงานเชือ่ มให้กบั ลูกค้า เพือ่ แสวงหาพันธมิตรทาง ธุรกิจในอนาคต โดยมี ผูแ้ ทนจาก ฝ่ายบ�ำรุงรักษาเครือ่ งกล (อบค.) ฝ่ายโรงงานและอะไหล่ (อรอ.) และ ฝ่ายจัดการธุรกิจ (อกธ.) ร่วมเป็น เจ้าหน้าทีป่ ระจ�ำบูธเพือ่ ให้ขอ้ มูลแก่ผทู้ สี่ นใจอีกด้วย ทัง้ นี้ อบค. ได้ให้สมั ภาษณ์ในภาพรวมการด�ำเนินงานของ กฟผ. ว่า หน่วยงานฯ มีการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนือ่ ง โดยมุง่ เน้น การประดิษฐ์เครือ่ งมือทีท่ นั สมัย พร้อมทัง้ ปรับปรุงกระบวนการในเรือ่ งของนวัตกรรม นอกจากนี้ กฟผ. ได้มกี ารน�ำโดรนมาใช้ในการตรวจสอบ อุปกรณ์หม้อน�ำ้ โดยใช้ Software ใหม่ ๆ มาช่วยในการวิเคราะห์เพิม่ ขึน้ ตามล�ำดับ ซึง่ ท�ำให้เกิดความแม่นย�ำ ในส่วนงานเชือ่ ม กฟผ. มีเครือ่ งมือทีท่ นั สมัย มีการน�ำหุน่ ยนต์มาใช้ในการซ่อมบ�ำรุงรักษาเพือ่ ปรับปรุงวิธกี ารท�ำงานให้เกิดความแม่นย�ำ รวดเร็ว และปลอดภัย มากยิง่ ขึน้
ผูแ ้ ทน กฟผ. และ EGATi เข้าพบผูบ ้ ริหาร บริษท ั Organo Corporation เพื่อหารือ โอกาสความร่วมมือทางธุรกิจในประเทศ เวียดนาม
เมื่ อ วั น ที่ 27-29 มี น าคม 2562 การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) น�ำโดย นายสุรชัย เจริญศักดิ์ ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายจัดการธุรกิจ 1 (ช.อกธ-1.) นายมรุต พิทยชวาล หัวหน้ากองธุรกิจ เดินเครื่องและบ�ำรุงรักษาต่างประเทศ (กธบต-ธ.) นายเทพรัตน์ ธัญญพงศ์ชยั หัวหน้าแผนกการขายและบริหารสัญญาต่างประเทศ 2
(หขบต2-ธ.) และ นายณพล กลั่นสอน หัวหน้าแผนกวิชาการ เคมี (หวค-ธ.) ตัวแทนผู้ปฏิบัติงานสายงานรองผู้ว่าการธุรกิจ เกีย่ วเนือ่ ง (รวธ.) ร่วมเดินทางกับคณะผู้แทนจากบริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (EGATi) น�ำโดย นายศุภชัย คุณเศรษฐ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาธุรกิจ และ นายสุดชัย เสวะมาตย์ ผูจ้ ดั การ ส�ำนักงานตัวแทนบริษัท เข้าพบผู้บริหารบริษัท Organo Corporation (Vietnam) เพือ่ รับทราบศักยภาพในการให้บริการ ด้านการจัดหาสารเคมี และแนวทางการด�ำเนินงานด้านเคมี โรงไฟฟ้า รวมถึงหารือโอกาสความร่วมมือทางธุรกิจในประเทศ เวียดนามในอนาคต ณ ส�ำนักงาน Organo Corporation (Vietnam) กรุงโฮจิมนิ ห์ ณ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม นอกจากนี้ คณะผู้แทนจาก กฟผ. และ EGATi ยังได้ เข้าเยีย่ มชมการให้บริการ Water Treatment Service ของ Organo Corporation (Vietnam) ณ โรงงานของบริษัท Kyocera Vietnam พร้อมทัง้ ได้มโี อกาสเข้าพบผูแ้ ทนจากบริษทั EVNGenco 3 ในฐานะผูใ้ ห้บริการงานเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษา โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม Phu My 4 เพื่อรับทราบข้อมูล อันเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อน กวางจิ 1 (Quang Tri 1) ซึง่ อยูร่ ะหว่างการพัฒนาโครงการโดย EGATi โดยมีฝ่ายจัดการธุรกิจ (อกธ.) เป็นผู้ให้การสนับสนุน ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องอย่างต่อเนือ่ ง
EGAT BIZNEWS 09 BIZMOVE
่ มชม บริษท ั ผลิตไฟฟ้าขนอม จ�ำกัด เข้าเยีย ศูนย์บ�ำรุงรักษา ส�ำนักงานไทรน้อย และ EGAT Workshop
กฟผ. ร่วมงานสัมมนา “ทิศทางการพั ฒนาอุตสาหกรรมไทย....ในอนาคต” เมือ่ วันที่ 13 มีนาคม 2562 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้รบั เชิญร่วมงานสัมมนา “ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ....ในอนาคต” ซึ่งจัดโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม ณ โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพฯ โดยมี นายสายัณห์ ปานซัง ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบ�ำรุงรักษาเครือ่ งกล-1 (ช.อบค-1.) และผูบ้ ริหารสายงาน รวธ. เข้าร่วมงานในฐานะที่ กฟผ. เป็นผู้สนับสนุนงานวิชาการด้านหม้อน�้ำซึ่ง กฟผ. มี MOU ร่วมกับ กรอ. โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจของสายงาน รองผู ้ ว ่ า การธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ ง (รวธ.) ให้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก อย่ า งแพร่ ห ลาย ภายในงานดั ง กล่ า ว กฟผ. ได้ จั ด แสดงบู ธ นิ ท รรศการ งานบริการบ�ำรุงรักษาหม้อน�้ำของสายงาน รวธ. โดยมี นายสหเทพ จ้อยประดิษฐ์ หัวหน้าแผนกบ�ำรุงรักษาหม้อน�้ำ-2 (หบน2-ธ.) และ นายกฤษฏิ์ พฤกษ์บวรพงศ์ วิศวกรระดับ 7 แผนกวิศวกรรมหม้อน�ำ้ (วศ.7 หวม-ธ.) เป็นวิทยากรประจ�ำบูธซึง่ ได้รบั ความสนใจ จากผูป้ ระกอบการ และบุคคลภายนอกในแวดวงอุตสาหกรรมอย่างมาก
BIZMOVE
เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2562 Mr. Norihisa Tegawa Plant Manager นายโกศล ศิริวาลย์ ผู้ช่วยผู้จัดการโรงไฟฟ้า พร้อมคณะ ผูบ้ ริหาร บริษทั ผลิตไฟฟ้าขนอม จ�ำกัด (บฟข.) เดินทางเข้าเยีย่ มชม ศูนย์บำ� รุงรักษา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ส�ำนักงาน ไทรน้อย โดยมีผบู้ ริหาร กฟผ. น�ำโดย นายเชิดชัย แสนสีหา ผูช้ ว่ ย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบ�ำรุงรักษาไฟฟ้า-2 (ช.อบฟ-2.) นายเกรียงศักดิ์ พงษ์วฒ ั นาพร วิศวกรระดับ 11 ฝ่ายบ�ำรุงรักษาเครือ่ งกล (วศ.11 อบค.) และ นายสมไชย สินธนนพคุณ วิศวกรระดับ 11 ฝ่ายโรงงานและอะไหล่ (วศ.11 อรอ.) ให้การต้อนรับ โดยคณะผู้บริหาร บฟข. ได้รับฟัง การบรรยายผลิตภัณฑ์และการบริการของสายงาน รวธ. ซึง่ ครอบคลุม งานดูแลบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าครบวงจร นอกจากนี้ได้เข้าเยี่ยมชม การบริหารจัดการอะไหล่กงั หันก๊าซ ณ คลังอะไหล่ ฝ่ายโรงงานและ อะไหล่ (อรอ.) และศูนย์ Competency Certificate Center : CCC ฝ่ายบ�ำรุงรักษาไฟฟ้า (อบฟ.) ด้วย ต่อมาในวันที่ 28 มีนาคม 2562 คณะผูบ้ ริหาร บฟข. ได้เดินทางเข้าเยีย่ มชมศักยภาพของ EGAT Workshop ส�ำนักงานหนองจอก โดยมีผบู้ ริหาร กฟผ. นายนพดล มัง่ พร้อม ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายโรงงานและอะไหล่ (ช.อรอ.) พร้อมผูป้ ฏิบตั งิ าน อรอ. ให้การต้อนรับ และน�ำคณะเข้าเยีย่ มชมการด�ำเนินงานของ EGAT Workshop รวมถึงขัน้ ตอนการด�ำเนินงาน Comprehensive Rotor Inspection (CRI) เครือ่ งกังหันก๊าซของโรงไฟฟ้าพระนครใต้ ส�ำหรับโรงไฟฟ้าขนอมยูนติ 4 นัน้ กฟผ. โดยสายงานรองผูว้ า่ การธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง (รวธ.) ได้รบั ความไว้วางใจจาก บฟข. ให้ดแู ลงาน บ�ำรุงรักษาตามวาระมาอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ การเข้าเยีย่ มชมศูนย์บำ� รุงรักษา กฟผ. ในครัง้ นี้ ถือเป็นส่วนช่วยเสริมสร้างความเชือ่ มัน่ ของ บฟข. ทีม่ ตี อ่ ผลิตภัณฑ์และบริการงานของสายงาน รวธ. และถือเป็นการขยายโอกาสทางธุรกิจของสายงาน รวธ. ในอนาคตอีกด้วย
EGAT BIZNEWS
TOGETHER WE’LL GO FAR
EXECUTIVE VIEW 10
คุณชวลิต ทิพพาวนิช ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด (มหาชน) (GPSC)
EGAT BIZNEWS 11 EXECUTIVE VIEW
TOGETHER WE’LL GO FAR บนย่างก้าวที่มั่นใจของ GPSC เมื่อเอ่ยถึงยักษ์ใหญ่ในธุรกิจพลังงานประจ�ำภาคพื้ นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งนักลงทุนในประเทศไทย และต่างประเทศต่างต้องรูจ ้ ก ั และปฏิเสธไม่ได้ถง ึ ความร้อนแรงของกลุม ่ ปตท. ซึง ่ นอกจากจะเป็นผูน ้ ำ� อันดับ 1 ของไทยในธุรกิจด้านเชือ ้ เพลิงแล้ว วันนีค ้ วามมัง ่ ปตท. ยังคงเติบโตอย่างต่อเนือ ่ ง และขยายวงกว้าง ่ คัง ่ ของกลุม ออกไปครอบคลุมธุรกิจอื่นอีกมากมาย ตามรายงานประจ�ำปี 2561 กลุ่ม ปตท. มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้นเกือบ 2.4 ล้านล้านบาท โดยสัดส่วนร้อยละ 1 ของสินทรัพย์มล ู ค่ามหาศาลคิดเป็นเม็ดเงินราว 2.4 หมืน ่ ล้านบาทนัน ้ กลุ่ม ปตท. ได้น�ำไปลงทุนในบริษัทย่อย 25 บริษัท บริษัทร่วมค้า 3 บริษัท และบริษัทร่วมอีก 2 บริษัท และ หนึง ่ เรือธงส�ำคัญทีข ่ บ ั เคลือ ่ นธุรกิจพลังงานไฟฟ้าของกลุม ่ ปตท. นัน ่ คือ “GPSC” บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด (มหาชน) ที่ ปตท. ถือหุน ้ โดยตรงอยูถ ่ ง ึ ร้อยละ 22.58 และมีบริษัทย่อยอย่าง GC, Thai Oil และ Thai Oil Power ร่วมถือหุ้นด้วยอีกถึงร้อยละ 52.43 นับจากก้าวแรกที่ก่อตั้งในปี 2556 จวบจนวันนี้ GPSC ใช้เวลาเพียง 6 ปี ในการสร้างการเติบโตในธุรกิจพลังงานไฟฟ้าอย่างต่อเนือ ่ งผ่านการลงทุนในพอร์ต มากถึ ง 35 โครงการชั ก ธงปลิ ว ไสวอยู่ ใ น 4 ประเทศ ลอยเด่ น เห็ น ตระหง่ า นในฐานะบริ ษั ท เรื อ ธงด้ า น พลังงานไฟฟ้าของกลุม ่ ปตท. ได้อย่างสมภาคภูมิ ครัง ้ ง ึ ถือเป็นโอกาสดีของ EGAT Biznews ทีไ่ ด้รบ ั เกียรติ ้ นีจ จาก คุณชวลิต ทิพพาวนิช ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด (มหาชน) มาร่วมพู ดคุยกับเราถึงทิศทางการลงทุนในธุรกิจผลิตไฟฟ้าของ GPSC ภายหลัง การประกาศใช้แผนพัฒนาก�ำลังการผลิตพลังงานไฟฟ้าฉบับใหม่ของประเทศไทย รวมถึงบรรยากาศการลงทุน ในประเทศเพื่อนบ้านอย่างสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)
EXECUTIVE VIEW 12
EGAT BIZNEWS
ลอยล�ำสูผ ่ ผ ู้ ลิตไฟฟ้าเอกชน รายใหญ่ของไทยอันดับ 4 “ธุรกิจหลักของ GPSC คือการผลิตและ จ�ำหน่ายไฟฟ้า ไอน�้ำ และน�้ำเย็น มีการลงทุนทั้ง ในประเทศไทยและต่างประเทศ คือสหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ่ และ สปป.ลาว โดยล่าสุดนีเ้ มือ่ เดือนมีนาคม ที่ผ่านมา เรามีก้าวส�ำคัญที่ท�ำให้ GPSC เติบโต อย่างก้าวกระโดด คือการเข้าไปเป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ของ บริษทั โกลว์ พลังงาน จ�ำกัด (มหาชน) (GLOW) และเข้าท�ำค�ำเสนอซื้อจากผู้ถือหุ้นรายย่อยของ GLOW ท�ำให้ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าของเราเพิ่มขึ้น จากเดิมที่ 1,955 เมกะวัตต์ ขึ้นมาเป็น 4,726 เมกะวัตต์ ในปัจจุบันครับ” คุณชวลิตเริ่มการ สนทนาด้วยการเล่าภาพรวมสถานการณ์ธุรกิจ ทีร่ อ้ นแรงของ GPSC ให้เรามองเห็นถึงการเติบโต ทางธุรกิจก้าวส�ำคัญที่ได้ตัดสินใจเข้าซื้อกิจการ ของ GLOW เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2562 โดย GPSC ประกาศซื้อหุ้นจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GLOW คือ ENGIE Global Developments B.V. ในสัดส่วนเกือบร้อยละ 70 ในราคาหุ้นละ 91.9906 บาท คิดเป็นมูลค่ารวมถึง 93,000 ล้านบาท ก่อนจะควบรวมกิจการของ GLOW เข้ามาอยู่ ภายใต้ชายคาอาณาจักรผลิตไฟฟ้าของ GPSC อย่างเป็นทางการและอยู่ระหว่างท�ำค�ำเสนอซื้อ จากผู้ถือหุ้นรายย่อยของ GLOW ท�ำให้ GPSC มีกำ� ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ ทันทีอกี 2,771 เมกะวัตต์ รวมทัง้ สิน้ 4,726 เมกะวัตต์ ก้าวสูอ่ นั ดับ 4 ในกลุม่ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ของประเทศไทย ที่พร้อมเติบโตอย่างต่อเนื่อง ่ น GPSC เติบโตต่อเนือ ่ งด้วยหลัก 3M ขับเคลือ ปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้ GPSC เติบโตอย่างต่อเนื่องขึ้นมายืนหนึ่งบนแถวหน้าร่วมกับบริษัทชั้นน�ำในธุรกิจผลิตไฟฟ้าได้อย่างรวดเร็ว ส่วนหนึง่ มาจากหลัก 3M ทีป่ ลูกฝังการบริหารจัดการทีด่ ใี ห้กบั ผูบ้ ริหารและผูป้ ฏิบตั งิ าน ซึง่ คุณชวลิตได้ขยายความถึงแก่นหลัก 3M ของ GPSC ให้เราฟังว่า “เรายึดหลัก 3M ในการด�ำเนินธุรกิจ ประกอบด้วย M ที่หนึ่ง “Manage” คือการท�ำ Asset Management บริหารจัดการ สินทรัพย์ที่มีอยู่ให้ประสบผลส�ำเร็จและสร้างผลก�ำไร M ที่สอง คือ “Move” ท�ำให้ธุรกิจเติบโตทั้งในประเทศและแสวงหาโอกาสการลงทุน ใหม่ ๆ ให้สามารถเติบโตในต่างประเทศให้ได้เช่นกัน ซึ่งการเติบโตที่ว่านี้ก็มีทั้งจาก Conventional Growth และการสร้างนวัตกรรมใหม่ ให้เกิดขึ้นร่วมด้วย และ M สุดท้ายคือ “Maximize” ส่วนนี้เป็นเรื่องของการสร้าง Operation Excellence ให้การด�ำเนินธุรกิจเกิดความ มั่นคงเชื่อถือได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด” ่ ำ� คัญของ GPSC Renewable Energy : Move ทีส คุณชวลิตยังได้อธิบายเจาะลึกถึง M ที่สองอย่าง “Move” ที่เป็นตัวเร่งสร้างการเติบโตทางธุรกิจของ GPSC ตามหลัก 3M ซึ่งสอดคล้อง กับจังหวะที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) มีมติเห็นชอบแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยฉบับใหม่ หรือ PDP 2018 ที่มีผลระหว่างปี พ.ศ. 2561 -2580 ซึ่งให้ความส�ำคัญกับพลังงานหมุนเวียน โดยก�ำหนดสัดส่วนก�ำลังการผลิตไฟฟ้าในส่วนนี้มากกว่า 20,000 เมกะวัตต์ ท�ำให้ GPSC ลุกขึ้นมาขานรับแผน PDP ฉบับใหม่นี้ ด้วยการปรับกระบวนท่าทางธุรกิจหันมาขยายก�ำลังผลิตในสัดส่วน การลงทุนในโครงการพลังงานหมุนเวียนให้เติบโตอย่างมีนัยส�ำคัญ
TOGETHER
EGAT BIZNEWS 13 EXECUTIVE VIEW
ผลิตภัณฑ์
2559
2560
2561
ไฟฟ้า (กิกะวัตต์-ชัว่ โมง)
4,603
4,365
5,412
ไอน�ำ้ (พันตัน)
6,694
6,429
6,572
น�ำ้ เย็น (พันตันความเย็น)
28,558
25,740
27,266
น�ำ้ เพื่อการอุตสาหกรรม (ล้านลูกบาศก์เมตร)
5
4
5
เชือ ้ เพลิงขยะ (ตัน)
-
-
4,491 ่ า : GPSC Annual Report 2018 ทีม
“หลังจากที่เราได้ GLOW เข้ามาเสริมความเข้มแข็ง สัดส่วน ก�ำลังการผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิลของเราเพิ่มขึ้นอย่างมาก เราจึง ต้องหันมาให้ความส�ำคัญกับพลังงานหมุนเวียนควบคูก่ นั ไป โดยเฉพาะ โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ ตอนนี้เรามีเขื่อนใน สปป.ลาว อยู่ 3 แห่ง แห่งแรก คือโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ น�ำ้ ลิก 1 ก�ำลังการผลิต 65 เมกะวัตต์ความคืบหน้า ของโครงการนี้ ต้องเรียนว่าเราได้เริม่ COD ไปแล้ว ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มีนาคม ทีผ่ า่ นมา แห่งทีส่ องคือโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ไซยะบุรี ก�ำลังการผลิต 1,285 เมกะวัตต์ ที่เราถือหุ้นอยู่ร้อยละ 25 ร่วมทุนกับกลุ่ม ช.การช่างก็มี ความคืบหน้าดีก�ำลังจะเข้าสู่ช่วง COD ในเดือนตุลาคมปีนี้เช่นกัน นอกจากนี้การได้ GLOW เข้ามาอยู่ด้วยกันกับเรายังท�ำให้เรามีเขื่อน ใน สปป.ลาว เพิ่มขึ้นอีก 1 แห่ง คือโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนห้วยเหาะ ก�ำลังผลิต 152 เมกะวัตต์ ที่เดินเครื่องกันมาอยู่ก่อนแล้ว พ่วงติด รวมมาด้วย ก็ถือว่าเป็นไปตาม Move ของเราที่จะเพิ่มสัดส่วนก�ำลัง การผลิตในส่วนพลังงานหมุนเวียนให้เติบโตขึ้น นอกจากนี้ เรายังมี บริษัทในเครือคือ บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จ�ำกัด (CHPP) ที่ได้มอบหมายให้ดูแลเรื่องขยายก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ ไม่ใช่เพียงแต่ในประเทศไทยนะครับ ในญีป่ นุ่ เองเราก็ยงั มี บริษัท อิชิโนเชกิ โซล่า พาวเวอร์ 1 จีเคที่ท�ำเรื่องโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์อยู่ด้วยเช่นกัน โดยรวมแล้วเราตั้งเป้าหมายไว้ว่า ภายใน ระยะเวลา 5 ปีเราต้องมีก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ประมาณ 1,000 เมกะวัตต์ คิดเป็นร้อยละ 21 ของก�ำลังการผลิต ทั้ ง หมดของกลุ ่ ม เรา” คุ ณ ชวลิ ต กล่ า วถึ ง ทิ ศ ทางการเติ บ โต ของพลั ง งานหมุ น เวี ย นทั้ ง พลั ง น�้ ำ และพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ โดยปัจจุบัน GPSC มีโครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ อยูท่ งั้ สิน้ 6 โครงการ มีกำ� ลังการผลิตรวม 105.8 เมกะวัตต์ และก�ำลัง มุ่งเป้าพัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพลังงานหมุนเวียนที่ส�ำคัญ อย่าง Energy Storage System
พั ฒนานวัตกรรม ESS ควบคูก ่ บ ั การพั ฒนาธุรกิจทีเ่ ติบโตได้ นอกเหนือจากการพัฒนาธุรกิจหลักทีเ่ ป็น Cash Cow ให้ GPSC เติบโตอย่างมั่นคงแล้ว สิ่งที่บริษัทชั้นน�ำแห่งนี้ยังคงมุ่งมั่นพัฒนา คู่ขนานไปพร้อมกัน คือการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อรองรับ พลังงานหมุนเวียนในอนาคตให้เสถียร ด้วยการลงนามสัญญา License and Services Agreement กับ บริษัท 24M Technologies สหรัฐอเมริกา โดยได้รับสิทธิน�ำเทคโนโลยีของ 24M มาผลิตและ จ� ำ หน่ า ยแบตเตอรี่ ทั้ ง ในประเทศไทยและกลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย น ซึง่ ความตัง้ ใจของทัง้ GPSC และ 24M ทีพ่ ฒ ั นาร่วมกันมาตลอดระยะ กว่า 4 ปี คือการพัฒนาแบตเตอรี่ประยุกต์ใช้เป็นระบบกักเก็บไฟฟ้า ส�ำรอง ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมเพื่อเสริมความมั่นคงให้ระบบไฟฟ้า
EXECUTIVE VIEW 14
EGAT BIZNEWS
่ น ญีป ุ่
สหรัฐอเมริกา
บริษท ั อิชโิ นเชกิ โซล่า พาวเวอร์ 1 จีเค
่ น ญีป ุ่
สหรัฐอเมริกา 24 Technology Inc.
สปป.ลาว โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ่ นไซยะบุรี เขือ
พระนครศรีอยุธยา
สปป.ลาว
สปป.ลาว
โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ่ นน�ำ้ ลิก 1 เขือ
สปป.ลาว โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ่ นห้วยเหาะ เขือ
ประเทศไทย กาญจนบุรี
สุพรรณบุรี
ราชบุรี ปทุมธานี ชลบุรี กรุงเทพมหานคร
จันทบุรี ระยอง
ธุรกิจโรงไฟฟ้าทีใ่ ช้ ้ เพลิง ก๊าซธรรมชาติเป็นเชือ
ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้
ธุรกิจโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์
ธุรกิจเทคโนโลยี การจัดเก็บพลังงาน
่ า : GPSC Annual Report 2018 ทีม
EGAT BIZNEWS 15 EXECUTIVE VIEW
“ส�ำหรับ 24M นัน้ ช่วง 4-5 ปี ทีผ่ า่ นมา ถือเป็นเฟสทีเ่ ราด�ำเนินการวิจยั อยูใ่ นห้องแล็บ มาโดยตลอด แต่ในเดือนมิถนุ ายนนี้ เราจะเริม่ น�ำออกมาประมาณ 40 เซลล์ ท�ำออกมา ในลักษณะตูเ้ ก็บพลังงาน 2 ตู้ และจะทดลอง เอาเข้าระบบ ESS ซึ่งมีต้นแบบมาจากทาง ญี่ปุ่น ซึ่งที่นั่นจะเป็นตลาดส�ำคัญของเรา ในอนาคต เพราะประเทศเขามีโอกาสเกิด Power Interruption สูงมาก จากปัจจัยการเกิด แผ่นดินไหวบ่อยครัง้ ท�ำให้ตามบ้านเรือนของ คนญี่ ปุ ่ น มี ค วามต้ อ งการติ ด ตั้ ง ตู ้ พ ลั ง งาน ส�ำรองลักษณะนีส้ งู เราจึงน�ำเทคโนโลยี 24M ของเรามาปรับใช้ให้เหมาะสม โดยต้องทดลอง ดูวา่ จะใช้งานได้ดมี ากน้อยเพียงใด ผมมองว่า ทิศทางตลาดแบตเตอรีน่ นั้ จะต้องแข่งขันกัน ที่เรื่องราคา ซึ่งสามารถพัฒนาจากสองทาง คือจาก Energy Storage กลุ่ม Stationary ที่อยู่กับที่ อาจจะอยู่ในคอนเทนเนอร์ หรือ อยู่ในตู้ขนาดเล็กตามบ้านเรือน ซึ่งกลุ่มนี้ ต้นทุนการผลิตจะถูกกว่าอีกด้านหนึง่ คือพวก Mobility เป็นกลุ่มที่ใช้ในรถ EV จะเป็น กลุ ่ ม แบตเตอรี่ NMC (Lithium Nickel Manganese Cobalt Oxide) ซึง่ แบตเตอรี่ ประเภทนี้ต้องการความเข้มข้นของการใช้ พลังงาน (Energy Intensity) ทีส่ งู มากเพราะ ในรถมีพื้นที่จ�ำกัด ในขณะเดียวกันความจุ แบตเตอรี่ต้องมาก ดังนั้นต้นทุนการผลิต จึงต้องสูงตามไปด้วยแต่แนวโน้มตลาดของ กลุม่ นีจ้ ะโตไวกว่าในกลุม่ แรกมาก ท�ำให้เรือ่ ง ราคาจะค่อย ๆ ลดลงมา คล้ายกับโซลาร์เซลล์ ทีร่ าคาจะลดลงทุกปี เฉลีย่ ปีละ 5-7 เปอร์เซ็นต์ ขณะทีฝ่ ง่ั ของเราก็ตอ้ งค่อย ๆ ท�ำตลาดเพือ่ ให้ ราคามันโตตามขึน้ ไปเจอกันตรงกลางทีป่ ระมาณ 100 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ กิ โ ลวั ต ต์ - ชั่ ว โมง ซึง่ ปัจจุบนั ยังอยูท่ ปี่ ระมาณ 200 เหรียญสหรัฐ ต่อกิโลวัตต์-ชัว่ โมง” คุณชวลิตแสดงความมัน่ ใจ ในแนวโน้มทีส่ ดใส ของอนาคตตลาดแบตเตอรี่ ที่ยังต่อยอดและพัฒนาให้ธุรกิจเติบโตได้
EXECUTIVE VIEW 16
EGAT BIZNEWS
พั ฒนา Smart Grid ในเขต EECi ที่ ม ากไปกว่ า ตลาดแบตเตอรี่ ต าม บ้ า นเรื อ น คุ ณ ชวลิ ต ยั ง มองเห็ น โอกาส การพัฒนาเทคโนโลยี ESS ข้ามช็อตสู่การ พัฒนาต่อยอดระบบ Micro Grid ให้เกิดขึ้น ได้จริง เพื่อรองรับการเข้ามาของพลังงาน หมุนเวียนที่ยังไม่เสถียร “ตอนนีก้ ลุม่ เราก�ำลังเข้าไปศึกษาโอกาส ความเป็นไปได้ในเรื่องนี้อยู่ เรามีโครงการ ในอนาคตที่จะท�ำ Ecosystem ให้เกิดขึ้น วางแผนไว้ว่าจะท�ำที่เขตนวัตกรรมระเบียง เศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) ที่วังจันทร์ วัลเลย์ อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ซึง่ เป็น พื้นที่ที่กลุ่ม ปตท. พัฒนาร่วมกับกระทรวง วิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยีอยู่แ ล้ว โดย อยากจะทดลองทั้งเรื่อง Energy Storage System เรือ่ ง Battery Management System อยากท�ำเรือ่ ง Micro Grid และ Smart Grid ควบคูไ่ ปพร้อมกัน ตัง้ ใจจะท�ำให้เป็น “ซิลคิ อน วัลเลย์” ของประเทศไทย ซึ่งจากที่หารือกัน เบื้ อ งต้ น พื้ น ที่ ต รงนั้ น มี ค วามต้ อ งการใช้ ไฟฟ้าพื้นฐานจากอาคารที่อยู่อาศัย ออฟฟิศ มหาวิทยาลัย และห้องแล็บวิจัย รวมแล้ว มีความต้องการใช้ไฟถึง 40 เมกะวัตต์ ซึง่ การ จะท�ำ Micro Grid ให้เกิดขึ้นได้ จ�ำเป็นต้อง มีพนั ธมิตรทีม่ คี วามพร้อม” คุณชวลิตกล่าวถึง แนวทางการพัฒนา Smart Grid ในพื้นที่ EECi ที่เป็นอีกหนึ่งโอกาสทางธุรกิจที่เติบโต ได้ในอนาคต
T
WE’LL GO FA
EGAT BIZNEWS 17 EXECUTIVE VIEW
TOGETHER
AR
่ มัน ่ ” “ความเชือ คือพื้ นฐานส�ำคัญ เมื่อ GPSC มีเป้าหมายการลงทุนใน พลังงานหมุนเวียนทีช่ ดั เจน โดยล็อคเป้าโฟกัส ไปทีก่ ารพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ใน สปป.ลาว โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ น�ำ้ ลิก 1 สิง่ ส�ำคัญ ทีไ่ ม่อาจมองข้ามไป คือการสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกภาคส่วน ให้เกิดความ มัน่ ใจในโครงการนี้ โดยเฉพาะการเดินเครือ่ ง และบ�ำรุงรักษา จึงจ�ำเป็นต้องอาศัยบุคลากร ที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องโรงไฟฟ้าพลังน�้ำ เข้ามารับหน้าที่นี้ ซึ่งค�ำตอบสุดท้ายที่คณะ กรรมการบริษทั ไฟฟ้า น�ำ้ ลิก 1 จ�ำกัด ตัดสินใจ เลือกคือ ทีม O&M กฟผ. ทีค่ ณ ุ ชวลิตบอกกับ เราว่า นอกจากจะท�ำให้ GPSC ในฐานะผูล้ งทุน พัฒนาโครงการนีม้ นั่ ใจแล้ว เจ้าของประเทศ อย่าง สปป.ลาว เองก็สบายใจเพราะเชื่อมั่น ในเครดิตของมหามิตรทางพลังงานคนส�ำคัญ อย่าง กฟผ. มาโดยตลอด
BUSINESS VENUE 18
EGAT BIZNEWS
HOW TO SUCCEED ON DIGITAL PATHWAY ่ 5G เขย่าโลก เมือ
HOW TO SUCCEED ON DIGITAL PATHWAY
ยุคนีไ้ ม่วา่ หันไปทางไหน มักได้ยน ิ ใคร ๆ ก็พูดถึงเทคโนโลยี 5G กันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะข่าวคราวในแวดวงธุรกิจ โทรคมนาคม ผู้ให้บริการเครือข่ายรายใหญ่แทบทุกค่ายต่าง พาเหรดกันออกมาตบเท้าแสดงความพร้อมให้บริการ 5G กันชนิด ทีเ่ รียกว่า ไม่มใี ครยอมน้อยหน้าใคร แม้กระทัง ้ ลิตสมาร์ทโฟน ่ ผูผ แบรนด์ดง ั ยังน�ำมาใช้ชเู ป็นจุดขายของออกผลิตภัณฑ์ซรี ย ี ใ์ หม่ ทีร่ องรับ 5G ล่วงหน้าไปก่อนทีป ่ ระเทศไทยจะเปิดให้บริการ 5G อย่างเป็นทางการ
EGAT BIZNEWS 19 BUSINESS VENUE
ความเร็วในการดาวน์โหลดของแต่ละยุค 3.5G/DC-HSPA+ 4G/LTE 4G/LTE Cat.4 4G/LTE Advanced
42.2 Mbps 100 Mbps 150 Mbps 1,000 Mbps
5G
10,000 Mbps ่ า : Qorvo.com ทีม
ในขณะที่ภาคธุรกิจต่างตื่นตัวโหมโรงกันคึกคัก ขยับรับลูกเตรียม ความพร้อมกันอย่างแข็งขัน ในทางกลับกันเมื่อหันมาจับกระแสทางฝั่ง ผูบ้ ริโภคเองอาจก�ำลังงุนงงสงสัยว่า เจ้า 5G ทีว่ า่ นีค้ อื อะไร เหมือนหรือต่าง จาก 4G ทีใ่ ช้กนั อยูท่ กุ วันนีม้ ากน้อยแค่ไหน จะเป็นเทคโนโลยีแห่งอนาคตทีม่ า พลิกโฉมวงการโทรคมนาคมทัว่ โลกสมดัง่ ค�ำโฆษณา หรือแท้จริงแล้วเป็นเพียง อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงทีแ่ รงกว่าเดิมเท่านัน้ เอง Business Venue เรามี ค�ำตอบคลายสงสัยในประเด็น 5G เหล่านีค้ รับแอปเปิลแพ้คดี ต้องชดใช้ ค่าเสียหายถึง 31 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือราว 960 ล้านบาท น่าปวดเศียร เวียนเกล้าแทน ทิม คุก นายใหญ่คา่ ยแอปเปิลเสียเหลือเกินทีย่ งั มองไม่เห็น หนทางทีส่ ดใสมองไปทางไหนก็เจอแต่ปญ ั หารุมเร้า ราวกับว่าปี 2019 นีค้ อื ปีชงของแอปเปิลก็คงไม่ผิดนัก แต่หากเรามองย้อนไปในอดีตตลอด 4 ทศวรรษที่ผ่านมาของแอปเปิล ก็ใช่ว่ายักษ์ใหญ่รายนี้จะไม่เคยเจอ วิกฤตการณ์ใดใด กว่าจะก้าวขึน้ มาเป็นเบอร์หนึง่ ในวงการได้อย่างทุกวันนี้ แอปเปิลเองก็เคยล้มลุกคลุกคลานจนถึงขัน้ เกือบล้มละลายมาแล้วเช่นกัน แต่กย็ งั ลุยไฟก้าวข้ามผ่านวิกฤตต่าง ๆ มาได้ดว้ ยฝีมอื ของชายทีช่ อ่ื สตีฟ จอบส์ ผูล้ ว่ งลับ 5G เป็นชือ่ เรียกสัน้ ๆ ของการสือ่ สารด้วยโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นยุคที่ 5 (5th Generation of Cellular Mobile Communications) หากมอง ย้อนกลับไปทีละยุค เราจะเห็นพัฒนาการของการสือ่ สารไร้สายเติบโตขึน้ มาเป็นล�ำดับ นับตั้งแต่ ยุค 1G ที่เป็นการสื่อสารพูดคุยด้วยเสียงผ่าน โทรศัพท์มอื ถือระบบ Analog ก่อนจะขยับมาสูย่ คุ 2G ทีส่ ามารถส่งข้อความ มัลติมเี ดีย MMS หากันได้ จากนัน้ ก็กา้ วเข้าสูเ่ ทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ตบนมือ ถือกันอย่างเต็มตัวในยุค 3G ซึง่ มีความเร็วเฉลีย่ อยูท่ ี่ 20kbps-42.2 Mbps ก่อนจะมาถึงยุค 4G ในปัจจุบนั ทีค่ วามเร็วอินเทอร์เน็ตบนมือถือเพิม่ ขึน้ เป็น 100 Mbps (4G LTE), 150 Mbps (4G LTE Cat.4) และ 1,000 Mbps (4G LTE Advanced) ท�ำให้เราได้รบั ชมทัง้ ภาพนิง่ ภาพเคลือ่ นไหว และ ฟังเสียงบนสมาร์ทโฟนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้
ส�ำหรับพระเอกของท้องเรือ่ งอย่าง “5G” ทีพ่ ฒ ั นาขีดความ สามารถอินเทอร์เน็ตไร้สายอย่างก้าวกระโดด ควบความเร็วทะยาน ไปข้างหน้ากว่า 4G ได้สงู สุดถึง 10 Gbps ตอบสนองแรง โดยใช้ เวลาเชือ่ มต่อไปยังปลายทางน้อยกว่า 0.001 วินาที มีคา่ ความเสถียร (Availability) สูงถึง 99.999% รองรับการเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต จากอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ได้มากกว่า 4G ถึง 100 เท่า และยังรองรับการ เชือ่ มต่อที่หนาแน่นมากขึ้นจากเดิมที่ 4G รองรับได้ประมาณ 1 แสนคน ต่อ 1 ตารางกิโลเมตร แต่ 5G รองรับได้ 1 ล้านคน ต่อ 1 ตารางกิโลเมตร และยังช่วยประหยัดการใช้พลังงานของอุปกรณ์ ทีเ่ ชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตลงได้ถึง 90 เปอร์เซ็นต์ นั่นหมายความว่า อุปกรณ์ทเี่ ชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต 5G บางตัวทีใ่ ช้แบตเตอรีไ่ ม่มากนัก อาจมีอายุการใช้งานแบตเตอรี่ นานถึง 10 ปี เลยทีเดียว ด้ ว ยสมรรถนะทั้ ง หมดที่ ก ล่ า วมานี้ ท� ำ ให้ ก ารใช้ ง าน อินเทอร์เน็ตไร้สายในยุค 5G ไม่จ�ำกัดอยู่เพียงบนสมาร์ทโฟน อีกต่อไป อุปกรณ์ตา่ ง ๆ รอบตัวเราในยุค 5G ไม่วา่ จะเป็นรถยนต์ โทรทัศน์ เครื่องปรับอากาศ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกอื่น อีกมากมาย จะสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ผ่านอินเทอร์เน็ต หรือ ทีเ่ รียกว่า Internet of Things (IoT) ท�ำให้เราติดตามการท�ำงาน สัง่ การเปิดปิดเครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ได้อย่าง ง่ายดายผ่านสมาร์ทโฟน น�ำไปสู่ “บ้านอัจฉริยะ” (Smart Home) ที่สามารถสั่งการทุกสิ่งผ่านอินเทอร์เน็ตได้ และที่มากไปกว่านั้น ด้ ว ยความเร็ ว มหาศาลของ 5G นี่ เ องจึ ง เป็ น พื้ น ฐานส� ำ คั ญ ของการพัฒนานวัตกรรมใหม่ อาทิ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence - AI) การพัฒนารถยนต์ไร้คนขับ รวมไปถึงการบริหาร จัดการคลังข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ให้เกิดขึ้นจริงได้อย่าง ไม่ตอ้ งสงสัย
BUSINESS VENUE 20
EGAT BIZNEWS
เมื่ อ 5G เป็ น พื้ น ฐานส� ำ คั ญ ของ เทคโนโลยีในอนาคตมากมายขนาดนี้ จึงไม่นา่ แปลกใจที่บรรดาประเทศยักษ์ใหญ่ ต่างเร่ง พัฒนาเทคโนโลยี 5G ของตนเอง เพือ่ ช่วงชิง ความได้เปรียบในการเข้ามาสู่ตลาดก่อนใคร ซึ่งนี่คือ สงครามรูปแบบใหม่ที่ดุเดือดตั้งแต่ วันแรกของการเปิดตัว เมื่อเกาหลีใต้ และ สหรัฐอเมริกา เล่นเกมหักเหลี่ยมเฉือนคม ชิ ง ธงน� ำ เป็ น ประเทศที่ เ ปิ ด ใช้ ง าน 5G เชิงพาณิชย์รายแรกของโลก สุดท้ายก็เป็น เกาหลีใต้ทปี่ าดหน้าสหรัฐฯ เข้าเส้นชัยไปก่อน เมื่อวันตันเดือนเมษายนที่ผ่านมา เล่นเอา พีใ่ หญ่แดนลุงแซมเสียหน้าไปไม่นอ้ ย กลิน่ อายสงครามย่อม ๆ ระหว่างเกาหลีใต้ และสหรัฐฯ เริ่มโชยกลิ่นมาเมื่อมา 3 ค่าย มือถือยักษ์ใหญ่ของเกาหลีใต้ ได้แก่ เอสเค เทเลคอม เคที และ แอลจี ยูพลัส ออกมา ประกาศว่าจะเปิดให้บริการ 5G เป็นที่แรก ในโลก เมือ่ วันศุกร์ที่ 5 เมษายน ทันทีท่ ราบข่าว บริษทั Verizo Communications Inc. ของ สหรัฐฯ ต้องประกาศเลือ่ นวันดีเดย์ให้บริการ 5G มาเป็นวันที่ 3 เมษายน ก่อนในสองเมืองส�ำคัญอย่างนครชิคาโก และ มินนีแอโพลิส ด้วยความ ตัง้ ใจทีจ่ ะเปิดตัวตัดหน้าเกาหลีใต้ให้ได้ แต่กเ็ ป็นทางเกาหลีใต้เองทีก่ ดั ฟันลุยหักเหลีย่ มบดลุงแซมในช่วงโค้งสุดท้าย เข็น 5G ออกมาได้กอ่ นในช่วง กลางดึกของวันพุธที่ 3 เมษายน ตัดหน้า Verizon ไปเพียง 2 ชัว่ โมงเท่านัน้ เห็นไหมครับว่า ยังไม่ทนั ไร 5G ก็ออกตัวแสดงอิทธิฤทธิเ์ ขย่าขวัญคนทัง้ โลกไปแล้ว แค่เปิดตัวยังแข่งกันดุเดือดขนาดนี้ รับรองได้เลยว่า การแข่งขันในยุคเทคโนโลยีใหม่ 5G ในหลายประเทศทัว่ โลกจะยิง่ ทวีความเข้มข้นขึน้ อีกหลายเท่าตัวทัง้ จีน และ ญีป่ นุ่ เอง ต่างก�ำลังหยัง่ เชิง หาจุดได้เปรียบเตรียมกระโจนลงสนามรับความท้าทายนีด้ ว้ ยเช่นกัน ในยามนีท้ คี่ นทัว่ โลกต่างจับตามองกันอยูว่ า่ เมือ่ 2 มหาอ�ำนาจ ด้าน ICT โลก ตีฆอ้ งเปิดใช้งาน 5G เชิงพาณิชย์ไปแล้วนัน้ โฉมใหม่ของ วงการธุรกิจโลกจะเปลีย่ นแปลงไปทิศทางใดอยูน่ นั้ ในวันเดียวกันนัน้ 3 เมษายน ทีเ่ มืองไทยของเรา ก็เป็นฤกษ์งานยามสะดวกที่ ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม แถลงถึงความคืบหน้าในการเตรียมเปิดให้บริการ 5G เชิงพาณิชย์ โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ก�ำลังอยูร่ ะหว่างจัดท�ำรูปแบบ การประมูลคลืน่ 5G ซึง่ มีลกั ษณะทีแ่ ตกต่างจากการประมูล 3G และ 4G ที่เคยผ่านมา เพราะ 5G นั้น มีปริมาณการรับ-ส่งข้อมูลจ�ำนวน มหาศาลอย่างทีไ่ ม่เคยมีมาก่อน โดยในเรือ่ งนี้ บริษทั หัวเว่ย เทคโนโลยี (ประเทศไทย) คาดการณ์ไว้วา่ หาก กสทช. สามารถเปิดประมูลคลืน่ 5G ได้จริงภายในปลายปีนี้ ประเทศไทยจะมี 5G ให้บริการครอบคลุม ทุกจังหวัด ภายในปี 2565 โดยจะขยายจากเมืองไปสู่ท้องถิ่นจน ครอบคลุมทุกพืน้ ทีท่ วั่ ไทยได้ ภายในปี 2567 เช่นกัน เมือ่ ภาครัฐส่งสัญญาณแรงขึน้ เรือ่ ย ๆ บรรดาค่ายมือถือน้อยใหญ่ ในไทยต่างก็เด้งรับลูก ออกสตาร์ทล่วงหน้ากันไปก่อนอีกแล้ว โดยคราว นีล้ กุ ขึน้ มาเรียกน�ำ้ ย่อยโชว์ศกั ยภาพการให้บริการ 5G กันแล้ว น�ำโดย ค่าย AIS ทีจ่ บั มือกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกเสียงฮือฮาในงาน “5G ปลุกไทยที่ 1 อาเซียน” เมือ่ วันที่ 3 เมษายน ทีผ่ า่ นมา สาธิตใช้งาน VDO Call ผ่านเครือข่าย “5G Live Network” ครัง้ แรกในประเทศไทย รวมทัง้ ยังน�ำเอา “First 5G Connected Car” รถยนต์ไร้คนขับคันแรกของไทยทีเ่ ชือ่ มต่อบนเครือข่าย 5G ของ AIS มาอวดโฉมและทดลองวิง่ ให้ดเู ป็นหนังตัวอย่าง
SMART HOME
EGAT BIZNEWS 21 BUSINESS VENUE
่ า : TCSGlobal Channel ทีม
แน่นอนว่าสาเหตุทที่ กุ ภาคส่วนตืน่ ตัวรับการมาของ 5G นัน่ คง เป็นเพราะตระหนักได้ถงึ สมรรถนะทีไ่ ม่ได้ถกู จ�ำกัดไว้เพียงเฉพาะบน เครื่องมือสื่อสารเท่านั้น หากแต่ยังขยายศักยภาพกลายเป็นจิ๊กซอว์ ตัวส�ำคัญที่ต่อยอดให้เกิดนวัตกรรมที่มิอาจคาดเดาได้อีกมากมาย ทีพ่ ร้อมเข้ามา “Disrupt” ทะลุทะลวงธุรกิจทีเ่ พิง่ คิดจะปรับตัว วงการไหน ก็วงการนัน้ ไม่เว้นแม้แต่ธรุ กิจทีเ่ ราคุน้ เคยกันดีอย่างอุตสาหกรรมผลิต ไฟฟ้าก็ตอ้ งเฝ้าจับตาความเคลือ่ นไหวเพือ่ รับมือการมาของ 5G ไว้ให้ดี การมาของ 5G เป็นแรงขับเคลือ่ นส�ำคัญให้เกิด “Digitalization” ครัง้ ใหญ่ในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า โรงไฟฟ้าทีเ่ ดินเครือ่ งวันนีม้ แี นวโน้ม จะถูกแทนทีด่ ว้ ยโรงไฟฟ้าดิจทิ ลั ทีใ่ ช้นวัตกรรมล�ำ้ สมัย น�ำโดยหุน่ ยนต์ และปัญญาประดิษฐ์เข้ามาแทนทีแ่ รงงานคน เป็นโรงไฟฟ้าความแม่นย�ำ สูงทีม่ รี ะดับความมัน่ คงของระบบไฟฟ้า (Reliability) และความพร้อม ในการจ่ายไฟ (Availability) ทีส่ งู ถึงสูงมาก ซึง่ หนึง่ ในหัวใจหลักของ การท�ำโรงไฟฟ้าดิจทิ ลั คือเทคโนโลยี “Digital Twin” หลักการท�ำงานของ Digital Twin คือ การสร้างโมเดลฝาแฝด ดิจทิ ลั ขึน้ มาด้วยเทคโนโลยีหลากหลายผสมผสานกันทัง้ IoT, Machine Learning, Big Data Analytic และ Cloud Computing เซนเซอร์ จ�ำนวนมากจะถูกติดตัง้ ไว้ตามชิน้ ส่วนของเครือ่ งจักรส�ำคัญในโรงไฟฟ้า เพื่อเก็บข้อมูลการท�ำงาน และน�ำขึ้นไปเก็บไว้บน Cloud Server ก่อนจะถูกประมวลผลผ่านซอฟต์แวร์เพื่อจ�ำลองให้เกิดเป็นโรงไฟฟ้า ฝาแฝดทีม่ หี น้าตาและการท�ำงานเหมือนกับโรงไฟฟ้าจริงทุกประการ ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ใช้เปรียบเทียบกันแบบ Real-time โดยเซนเซอร์จะยังคงเก็บ ข้อมูลการท�ำงานของโรงไฟฟ้าต้นแบบอย่างละเอียด ไม่เว้นแม้แต่ระดับ การสัน่ สะเทือน ระดับความร้อน ระดับเสียงของเครือ่ งจักรขณะท�ำงาน เพือ่ บันทึกค่ามาตรฐานปกติของโรงไฟฟ้า เมือ่ ใดทีโ่ รงไฟฟ้าทีเ่ ดินเครือ่ ง อยูจ่ ริงท�ำงานผิดปกติไปจากค่ามาตรฐาน คือต่างไปจากโรงไฟฟ้าฝาแฝด ระบบจะแจ้งเตือนทันที เพือ่ ให้เราลงไปดูและแก้ไขได้ทนั ท่วงที เพือ่ จูน ให้กลับมาเดินเครือ่ งได้ตามค่ามาตรฐานปกติ นอกจากนี้ การเก็บข้อมูล ทีท่ งั้ ละเอียดและมากขนาดนีย้ งั ท�ำให้เราสามารถวิเคราะห์และประเมิน สถานการณ์ลว่ งหน้าได้อย่างแม่นย�ำยิง่ ขึน้ อย่างทีไ่ ม่เคยเป็นมาก่อนด้วย เช่นกัน ส่งผลให้การเดินเครื่องตลอดจนการบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ด้วย ปัจจุบัน Digital Twin ถูกน�ำมาใช้งานแล้วในหลากหลาย อุตสาหกรรม ในอุตสาหกรรมการบิน บริษทั เจเนอรัลอิเล็กทริก (GE) ติดตัง้ เซนเซอร์บนเครือ่ งบินทุกล�ำทีผ่ ลิตเพือ่ ใช้งานควบคูก่ บั ซอฟต์แวร์
Digital Twin ของตนเอง สร้างโมเดลแบบจ�ำลองเครื่องบินขึ้นมา สามารถตรวจสอบสถานะการบินได้แบบ Real-Time ในการวางผังเมือง ใหม่ บริษทั ซิตซี้ นี ธิ น�ำระบบ Digital Twin มาจ�ำลองการวางผังเมือง ส�ำหรับพัฒนาเมืองอมราวดี เมืองหลวงใหม่ของรัฐอานธร ประเทศ อินเดีย โดยวางผังเมืองแบบ 3 มิติ เพือ่ ดูความก้าวหน้าในงานก่อสร้าง แบบ Real-Time และทีใ่ กล้ตวั เรามาก ๆ ในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า บ้านเรา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้นำ� Digital Twin มาทดลองใช้กบั โรงไฟฟ้าพระนครเหนือแล้ว เพือ่ น�ำร่องเตรียมความ พร้อมช่วงเปลีย่ นผ่านไปสูย่ คุ โรงไฟฟ้าดิจทิ ลั อย่างเต็มตัว เมือ่ เทคโนโลยี สือ่ สารประสิทธิภาพสูงอย่าง 5G เข้ามาอย่างเต็มตัวแล้วนัน่ เอง ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อว่าเพี ยงไม่ก่ีปี เราก้าวจากวันที่ โทรศัพท์มือถือท�ำได้เพี ยงส่งเสียงสื่อสารกัน มาสู่ยุค ที่การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างไร้พรมแดน อีกทั้งยัง ขยายขี ด ความสามารถไปสู่ ก ารรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล ดิ จิ ทั ล มหาศาลเป็นรากฐานของการเกิดนวัตกรรมล�้ำสมัย มากมาย นี่คงได้เวลาแล้วที่เราเองต่างต้องย้อนกลับ มาพั ฒ นาตั ว เองให้ รู้ เ ท่ า ทั น และก้ า วให้ ไ วกว่ า การ วิวัฒน์ใหม่ท่ีเกิดขึ้นนี้ เพราะยุคที่โลกหมุนเร็วจี๋ ผู้ท่ี ปรับตัวได้เร็วกว่าเท่านัน ่ ะอยูร่ อด และก้าวขึน ้ มาเป็น ้ ทีจ ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง วันนี้เราเริ่มอยู่ในยุคพลังงาน 4.0 วิสย ั ทัศน์ใหม่ กฟผ. ได้เปลีย ่ นแปลงสู่ “นวัตกรรม พลังงานไฟฟ้าเพื่อชีวต ิ ทีด ่ ก ี ว่า” แล้วนะครับ ในเร็ววันนี้ เมือ ่ 5G สุกงอมพร้อมเข้ามาเติมเต็ม นวัตกรรมในยุค พลังงาน 4.0 จะเบ่งบานเต็มที่ คุณเองพร้อมแล้ว หรือยัง? ่ า : https://droidsans.com/introducing-5th-generation-5g/ ทีม https://www.thairath.co.th/content/1539356 https://techsauce.co/pr-news/first-5g-live-vdo-call-by-ais-x-chula/ https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/19758 https://mgronline.com/cyberbiz/detail/9620000029884
SPECIAL SCOOPS 22
EGAT BIZNEWS
READY FOR SUPPORT “น�้ำลิก 1” ขุมพลังใหม่ ของนครหลวง เวียงจันทน์
คุณเรืองพงษ์ เรืองหิรญ ั กรรมการผูจ ้ ด ั การ บริษัท ไฟฟ้า น�ำ้ ลิก 1 จ�ำกัด
EGAT BIZNEWS 23 SPECIAL SCOOPS
ขณะที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ก�ำลังผลักดันยุทธศาสตร์ชาติด้านพลังงาน เพื่ อก้าวขึน ้ มาเป็น Battery of Asia โครงการพั ฒนาเขื่อนผลิตไฟฟ้าน้อยใหญ่มากมายได้นำ� เม็ดเงินลงทุน หลัง ่ ระเทศทีเ่ คยเป็น Land Locked แห่งอาเซียน ให้กลายเป็น Land Linked พร้อมสร้างรายได้ ่ ไหลเข้าสูป จากไฟฟ้า ทีก ่ ลายเป็นสินค้าส่งออกไปขายยังต่างประเทศ ขณะเดียวกันการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้พลิกโฉม ให้เมืองเอกอย่าง “นครหลวงเวียงจันทน์” เปลีย ่ นแปลงไป วิถช ี วี ต ิ ของคนเมืองหลวงแห่งนีก ้ เ็ ปลีย ่ นตามไปด้วย เช่ น กั น แน่ น อนว่ า สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น เงาตามตั ว ในสถานการณ์ ท่ี ค วามเจริ ญ มุ่ ง สู่ เ มื อ งหลวงทุ ก มิ ติ เ ช่ น นี้ คือความต้องการใช้ไฟฟ้าทีเ่ พิ่มสูงขึน ้ เพื่อรองรับการเติบโตเช่นเดียวกัน “โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ น�ำ้ ลิก 1” จึงเป็นขุมพลังใหม่ทก ่ี ำ� ลังก้าวเข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการผลิตไฟฟ้าหล่อเลีย ้ งนครหลวงเวียงจันทน์แห่งนี้
โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำน�้ำลิก 1 เป็นโรงไฟฟ้าพลังน�้ำแบบ ฝายน�้ำล้น (Run-Of-River) กั้นขวางแม่น�้ำลิก ในแขวงเวียงจันทน์ ทางภาคกลางตอนบนของ สปป.ลาว อยูห่ า่ งจากนครหลวงเวียงจันทน์ ไปทางเหนือประมาณ 90 กิโลเมตร มีก�ำลังการผลิตติดตั้งรวม 65 เมกะวัตต์ ด้วยเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าขนาด 32.5 เมกะวัตต์ จ�ำนวน 2 หน่วย โดยมีบริษทั ไฟฟ้า น�ำ้ ลิก 1 จ�ำกัด เป็นผูไ้ ด้รบั สัมปทานอายุสญั ญา 30 ปี นับแต่วนั ทีม่ ผี ลบังคับใช้ เริม่ ต้นลงนามสัญญาสัมปทาน ระหว่างรัฐบาล สปป.ลาว กับ บริษทั ไฟฟ้า น�ำ้ ลิก 1 จ�ำกัด (NL1PC) แล้วตัง้ แต่วนั ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2556 เริม่ ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 30 เมษายน 2557 และได้รบั สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าซึง่ เป็นสัญญาระหว่างรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว (EDL) กับ บริษัท ไฟฟ้า น�้ำลิก 1 จ�ำกัด ซึ่งไฟฟ้าที่ได้จากโรงไฟฟ้าแห่งนี้ จะขายให้กับรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาวเพื่อใช้ในกิจการภายในประเทศ โดยเฉพาะพื้นในเขตภาคกลางตอนบนซึ่งเป็นที่ตั้งของนครหลวง เวียงจันทน์ที่ EDL คาดการณ์ว่าจะมีอัตราความต้องการใช้ไฟฟ้า ขยายตัวสูงขึน้ เฉลีย่ ร้อยละ 11 ต่อปี สอดคล้องกับความต้องการไฟฟ้า ของทัง้ ประเทศทีเ่ ติบโตอย่างต่อเนือ่ ง Nam Lik 1 แม่นำ�้ ถนน
Nam Ngum Reservoir
Hin Hoeup Substation Thalat
โพนโฮง
สัดส่วนการถือหุน ้ ของ บริษท ั ไฟฟ้า น�ำ้ ลิก 1 จ�ำกัด (NL1PC)
40% 40% 10% 10%
บริษัท ไฮโดร เอ็นจิเนียริง ่ จ�ำกัด (HEC) Global Power Synergy Public Company Limited (GPCS)
บริษัท พอสโก เอ็นจิเนียริง ่ แอนด์ คอนสตรัคชัน ่ จ�ำกัด (POSCO)
รัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว (EDL)
EDL 10% POSCO 10%
40%
Toulakhom Phonsavang
เวียงจันทน์
นครหลวงเวียงจันทน์ Nadi
HEC 40% ่ า : www.gpscgroup.com/ ทีม
SPECIAL SCOOPS 24
EGAT BIZNEWS
NAM LIK 1 POWER COMPANY LIMITED Type : Run-Of-River Hydropower Capacity : 64.7 MW COD :
COD March 2019
NAM LIK 1
Customer : EDL (30 years PPA)
POWER COMPANY LIMITED
EGAT BIZNEWS 25 SPECIAL SCOOPS
คุณเรืองพงษ์ เรืองหิรญั กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไฟฟ้า น�ำ้ ลิก 1 จ�ำกัด ได้กล่าวถึงบทบาทของโรงไฟฟ้าใหม่ทกี่ ำ� ลังจะเข้ามามีสว่ นร่วม ในการเติบโตทางเศรษฐกิจของแขวงเวียงจันทน์วา่ “โครงการโรงไฟฟ้า พลังน�ำ้ น�ำ้ ลิก 1 ถือว่าอยูใ่ กล้กบั นครหลวงเวียงจันทน์มาก ไฟฟ้าทีเ่ ราผลิต ได้ทงั้ หมดจะจ่ายเข้าระบบผ่านทางสถานีไฟฟ้าย่อยหินเหิบ ไฟฟ้าทีไ่ ด้จาก โรงไฟฟ้าของเราจะส่งตรงเข้าสูน่ ครหลวงเวียงจันทน์ เพือ่ ช่วยสนับสนุน ความมัน่ คงทางพลังงานให้กบั นครหลวงทีก่ ำ� ลังขยายตัวอยูใ่ นขณะนี้ ความคืบหน้าของการด�ำเนินโครงการแล้วเสร็จไปกว่า 98.5 เปอร์เซ็นต์ ยังเหลือรายละเอียดงานอีกเพียงเล็กน้อยก็จะเรียกว่าสมบูรณ์แบบ ซึง่ ตัง้ แต่ วันที่ 1 มีนาคมทีผ่ า่ นมา เราได้เริม่ เดินเครือ่ งผลิตไฟฟ้าเชิงพาณิชย์จา่ ยไฟ เข้าระบบไปแล้ว โดยได้รบั ใบอนุญาตจากกระทรวงพลังงานและบ่อแร่ ของ สปป.ลาว ทีใ่ ห้เราสามารถเข้าสูก่ ระบวนการซือ้ -ขายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ ได้อย่างถูกต้อง ขัน้ ตอนทีเ่ หลืออยูเ่ ป็นเพียงรออนุมตั ใิ บอนุญาต COD Certificate จากรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาวให้เราอย่างเป็นทางการในเร็ว ๆ นี้ เท่านัน้ โดยในช่วง Pre-COD เราได้ทมี ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและมากด้วย ประสบการณ์อย่าง กฟผ. เข้ามาร่วมงานตัง้ แต่ขนั้ ตอนนี้ จึงท�ำให้ทกุ อย่าง ลุลว่ งได้ดว้ ยดี” ส�ำหรับการเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ น�ำ้ ลิก 1 แห่งนี้ บริษทั ไฟฟ้า น�ำ้ ลิก 1 จ�ำกัด ไว้วางใจให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) เข้ามาเป็นผูร้ บั ผิดชอบงานเดินเครือ่ งและ บ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า (O&M) ช่วงอายุสญั ญา 6 ปี 7 เดือน ระหว่างปี 25612567 ด้วยความเชื่อมั่นในประสบการณ์การท�ำงานในอุตสาหกรรม ผลิตไฟฟ้าเป็นทีย่ อมรับในระดับสากล “ตามสัญญางาน O&M กฟผ. จะดูแลโรงไฟฟ้า ให้เราหลังจากนีไ้ ปอีก 6 ปี โดยเข้ามาด�ำเนินการไปแล้ว ในขัน ้ เคยกับ ้ ตอน Commissioning เพื่อท�ำความคุน อุปกรณ์เครื่องมือต่าง ๆ ตั้งแต่ช่วงเดือนตุลาคม ปี 2561 เป็ น ช่ ว งที่ เ ข้ า มาช่ ว ยผมและที ม น�้ ำ ลิ ก 1 ได้เยอะมาก จริง ๆ แม้ว่าในช่วง Commissioning เราเองมี Owner Engineer ท�ำหน้าที่ตรวจสอบ ความเรียบร้อยของโครงการอยูแ ่ ล้ว การมีทม ี กฟผ. เข้ามาช่วยตรวจซ�ำ้ ท�ำให้รัดกุมยิ่งขึ้น ช่วยเพิ่ มความ มั่นใจให้เรา ทีมผู้รับเหมาเขาก็รับไปด�ำเนินการแก้ไข ตาม Punch List ของ กฟผ. อีกทาง ผมประทับใจ ที ม งานของ กฟผ. โดยเฉพาะเวลาท� ำ งานเขาจะ จริงจัง ท�ำงานกันเป็นระบบ ทีส ่ ำ� คัญคือรูว้ า่ ต้องท�ำอะไร ตรงไหนทุกขั้นตอน ถ้าให้เปรียบเทียบก็เหมือนของ ทีพ ่ ร้อมใช้งาน ซือ ้ มาแกะกล่อง ใช้งานได้เลย หายห่วง และด้ ว ยมาตรฐานการท� ำ งานนี้ ท่ี ท� ำ ให้ เ รามั่ น ใจว่ า การเดินเครือ ่ งของโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ น�ำ้ ลิก 1 จะสามารถจ่ายไฟรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของ สปป.ลาว ได้อย่างราบรื่น”
“โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำน�้ำลิก 1 ถือว่าอยูใ่ กล้กบ ั นครหลวงเวียงจันทน์ มากที่สุด ไฟฟ้าที่เราผลิตได้ทั้งหมด จะจ่ายเข้าระบบผ่านทาง สถานีไฟฟ้าย่อยหินเหิบ ไฟฟ้าที่ได้จากโรงไฟฟ้าของเรา จะส่งตรงเข้าสู่นครหลวงเวียงจันทน์ เพื่ อช่วยสนับสนุนความมั่นคง ทางพลังงานให้กับนครหลวง ที่ก�ำลังขยายตัวอยู่ในขณะนี้”
IF IT FLOWS, WE HAVE IT!
SUPERIOR EXPERIENCE 26 EGAT 26 BIZNEWS EGAT BIZNEWS
จินดา หงษ์ขจร กรรมการผูจ ้ ด ั การ บริษัท ไฮโดร เอ็นจิเนียริง ่ จ�ำกัด
EXPERIENCE EGAT BIZNEWS 27 EGAT BIZNEWS 27 SUPERIOR
IF IT FLOWS, WE HAVE IT! “จินดา หงษ์ขจร” ขึ้นแท่นเจ้าแม่พลังน�้ำ ้ ี่ กับความส�ำเร็จวันนีท “น�ำ้ ลิก 1” พลันที่กวาดตามองภาพรวมธุรกิจผลิตไฟฟ้าในภูมิภาค อาเซียน ใครเลยจะอดใจไหวไม่เหลียวมองโพรไฟล์ของประเทศ เพื่ อนบ้ า นร่ ว มเขตเศรษฐกิ จ AEC อย่ า งสาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ทีใ่ นวันนีก ้ ลายเป็นฐาน ที่มั่นส�ำคัญของนักลงทุนมากหน้าหลายตาพาเหรดกันเข้ามา ลงทุนในโครงการผลิตไฟฟ้ากันอย่างคับคัง ่ ส่งผลให้ สปป.ลาว มีแหล่งผลิตไฟฟ้ารวมกันแล้วกว่า 60 แห่ง รวมก�ำลังการผลิต ติดตัง ่ ในนัน ้ สูงถึง 7,207.24 เมกะวัตต์ โดยหนึง ้ คือ “โรงไฟฟ้า ้ ้ พลังน�ำน�ำลิก 1” ทีม ่ ส ี องบริษท ั สัญชาติไทยอย่าง บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GPSC ทีผ ่ นึกก�ำลัง กับ บริษัท ไฮโดร เอ็นจิเนียริง ้ ใหญ่ ่ จ�ำกัด (HEC) ร่วมถือหุน ในสัดส่วนรายละ 40% เท่ากัน
ข ึ้ น ชื่ อ ว่ า ลงทุ น ท� ำ ธุ ร กิ จ โดยเฉพาะในถิ่ น ที่ ไ ม่ ใช่ บ ้ า นเกิ ด เมื อ งนอน ของตนแล้ว ย่อมไม่ใช่เรื่องง่าย ซึ่งผู้ที่จะถ่ายทอด Superior Experience ให้เราได้ซึมซับรับทราบความท้าทายในต่างแดนฉบับนี้ คือหญิงแกร่งแห่งค่าย HEC คุณจินดา หงษ์ขจร กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไฮโดร เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด (HEC) ที่กล้ากระโดดจากธุรกิจในกลุ่ม Water Supply กระโจนสู่สนามธุรกิจ ผลิตไฟฟ้าอย่างเต็มตัว
SUPERIOR EXPERIENCE 28 EGAT 28 BIZNEWS EGAT BIZNEWS
“ความรู้ความช�ำนาญของเรา เริ่มต้นมาจากธุรกิจเกี่ยวกับน�้ำ เราท�ำระบบผลิต น�ำ้ ประปา วางท่อประปา ไปจนถึงการบริหารจัดการน�ำ้ สูญเสียในระบบเส้นท่อให้กบั การประปาส่วนภูมภิ าคและการประปานครหลวง ถือเป็นบริษทั เอกชนแรก ๆ ทีเ่ ข้าไป บุกเบิกกิจการทางด้านนี้ ก่อนจะพัฒนามาสู่ธุรกิจผลิตไฟฟ้า เราค่อย ๆ เริ่มจาก งานง่าย อย่างงานขาย Electronics Equipment และเครื่องมือสื่อสารให้กับ บริษทั กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) จากนัน้ ก็ขยายมาท�ำอุปกรณ์เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าพลังงานน�้ำขนาดเล็ก Micro Turbine, Mini Turbine รับเป็น Supplier พร้อมงานวิศวกรรมติดตั้ง จากนั้นเราจึงขยับมารับงาน ที่ใหญ่ขึ้นอย่างงาน Renovate เขื่อนค่ะ” เพี ย งประโยคแรกที่ คุ ณ จิ น ดาเริ่ ม เล่ า เรื่ อ งของเธอ ก็ ท� ำ ให้ เราต้ อ งทึ่ ง ใน ประสบการณ์อันโชกโชนของ Working Woman คนนี้ ชวนให้อดถามถึงจุดเริ่มต้น บนเส้นทางสายธุรกิจมาตั้งแต่ปี 2536 เป็นต้นมาของ HEC สั่งสมประสบการณ์ ผ่านร้อนหนาวในธุรกิจ Water Supply ยืนตระหง่านอยู่บนแถวหน้าของเมืองไทย ก่อนที่จะค่อย ๆ ขยับเข้าใกล้ธุรกิจผลิตไฟฟ้า โดยมีจุดเปลี่ยนส�ำคัญอยู่ท่ีโครงการ ปรับปรุงโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนแก่งกระจานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ในปี 2551 ที่มีมูลค่างาน 112 ล้านบาท “ต้องย�้ำว่าเราถนัดท�ำงานที่เกี่ยวกับน�้ำจริง ๆ ตั้งแต่ท่อประปาเรื่อยไปจนถึง เขือ่ น ความรูค้ วามช�ำนาญตรงนีถ้ อื ว่าเราไม่นอ้ ยหน้าใคร ดิฉนั มองว่าทัง้ ไฟฟ้าและน�ำ้ ต่างเป็นสาธารณูปโภคพืน้ ฐานทีไ่ ม่วา่ ใครก็ตอ้ งใช้ เมือ่ เราเองมีศกั ยภาพเพียงพอ ผูใ้ หญ่ ในกลุม่ บริษัทเราจึงแนะน�ำว่า น่าจะลองแสวงหาโอกาสต่อยอดขยายการลงทุนไปยัง ประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเรามองไปที่ สปป.ลาว เพราะอย่างที่ทราบกันดีว่านักลงทุน รายใหญ่หลายบริษัทต่างเข้าไปลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานน�้ำโครงการใหญ่ ๆ กัน มากแล้ว เราจึงมองมาที่โครงการขนาดย่อมแต่มีศักยภาพที่จะพัฒนาให้เติบโตได้ จนกระทั่งเรามาเจอโครงการน�้ำลิก 1 ก็ไม่ได้รีรออะไร เมื่อตัดสินใจได้แล้วก็ลุยเลย เราเริ่มติดต่อจนได้ลงนามสัญญา MOU แล้วท�ำ Feasibility Study จนแล้วเสร็จ จากนัน้ ก็เข้าสูก่ ระบวนการพัฒนาโครงการ ตรงนีเ้ องเราได้ Partner เข้ามาร่วมพัฒนา โครงการ คือ บริษัท ปตท.อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ซึ่งภายหลังคือ GPSC นั่นเอง” คุณจินดาเท้าความย้อนไปถึงก้าวแรกของการลงทุนพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังน�ำ้ น�ำ้ ลิก 1 เขื่ อ นและโรงไฟฟ้าแห่งนี้ บริหารงานโดย บริษัท ไฟฟ้ า น�้ ำ ลิ ก 1 จ� ำ กั ด เป็นโครงการที่ใช้เงินลงทุนรวม กว่า 4,300 ล้านบาท โดยเมื่อเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ (COD) จะขายไฟฟ้าได้ปีละ 1,291.2 ล้านบาท ในอายุสัมปทานที่เหลืออยู่อีก 25 ปี นั่นหมายถึงเม็ดเงินกว่า 3 หมื่นล้านบาท ที่จะเกิดขึ้นนั้นเป็นผลลัพธ์แห่งความส�ำเร็จ ให้เหล่านักลงทุนผู้พัฒนาโครงการ แต่กว่าจะถึงจุดหมายปลายทาง ถนนสายนี้ ของคุณจินดาก็มไิ ด้โรยด้วยกลีบกุหลาบ เธอเล่าถึงความเด็ดเดีย่ วทีโ่ ลดโผนโจนทะยาน มาตลอด 5-6 ปี ของการปลุกปั้นโครงการนี้ว่า
“ นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ห ลายรายเขาเข้ า มาเซ็ น MOU กัน แต่ถึงเวลาก็ไม่ได้มาท�ำจริง เอาโครงการ ไปขายต่อเปลี่ยนมือไปก็มาก ทาง สปป.ลาวเอง เขาอยากได้คนตัง้ ใจเข้ามาพัฒนาโครงการอย่างจริงจัง เราถือว่าเราท�ำจริง ถึงจะเป็นโครงการไม่ใหญ่นัก แต่เราก็ลงทุนจ้างที่ปรึกษาชั้นน�ำจากยุโรปตั้งแต่ ขั้นตอนท�ำ Feasibility Study บางคนถามว่าท�ำไม ต้องเสียเงินมากมายขนาดนั้น ส�ำหรับดิฉันคิดว่า ถ้ามัวมา “ฆ่าควายเสียดายเกลือ” ลงทุนน้อย ๆ แต่ได้ ข้อมูลที่มันเชื่อถือไม่ได้กลับมา เมื่อถึงเวลาลงทุนจริง ไปแล้ ว มั น ล้ ม เหลว นั่ น เท่ า กั บ ว่ า ต้ อ งเสี ย เงิ น อี ก ไม่รู้เท่าไหร่ในอนาคต เราถึงยอมลงทุนอย่างคุ้มค่า ในส่วนนีต้ ั้งแต่แรกดีกว่า ทาง Partner เอง พอเขาเห็น ข้อมูลเขาก็เชือ่ มัน่ ไม่อย่างนัน้ ใครจะกล้ามาเสีย่ งกับเรา ส�ำหรับเราการเริ่มต้นครั้งแรกกับน�้ำลิก 1 มันไม่ใช่ งานง่าย โปรเจกต์นเี้ ดิมพันด้วยอนาคตบริษทั เลยก็วา่ ได้ เพราะเราเองไม่ใช่บริษทั ใหญ่ถา้ เทียบกับคนอืน่ เงินทุน ไม่ใช่น้อยเลยที่ต้องลงไป ถ้าโปรเจกต์นี้ล้ม เราเอง ก็คงแย่เหมือนกัน ถ้าถอดใจไปตั้งแต่ตอนนั้น ก็คง ไม่ตอ้ งลุยอะไรกันต่อแล้ว แต่เพราะเราสูถ้ งึ ได้ผา่ นมา ถึงวันนี้ ข้อดีทไี่ ด้นนั่ คือเราผ่านงานยากแบบนีม้ า ต่อไป เราก็จะไม่กลัวอะไรเลย งานใหม่ที่เข้ามาหลังจากนี้ ดิ ฉั น รู ้ แ ล้ ว ว่ า จะต้ อ งรั บ มื อ อย่ า งไร ระหว่ า งทาง ที่พัฒนาโครงการต้องเจอปัญหานั่นเป็นเรื่องปกติค่ะ แต่เราต้องแก้ปญ ั หาให้ดที สี่ ดุ อย่างตอนทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุ กับเขือ่ นทางใต้ใน สปป.ลาว เมือ่ ปีกอ่ น ตอนนัน้ ทางการ เขาลงมาดูเรือ่ งสเปกงานก่อสร้างต่าง ๆ อย่างละเอียด และเข้มข้นขึ้น แต่ดิฉันไม่กังวล เพราะลักษณะเขื่อน ของเราเป็น Run-of-River โครงสร้างเป็น Roller Compacted Concrete Dam ทีม่ นั่ คงแข็งแรง ทุกคน จึงวางใจในการก่อสร้าง ถือเป็นจังหวะพลิกวิกฤติ ให้เป็นโอกาส เราเองก็ทั้งได้เรียนรู้และแข็งแกร่งขึ้น ไปพร้อมกัน”
IF IT FLOWS,
EXPERIENCE EGAT BIZNEWS 29 EGAT BIZNEWS 29 SUPERIOR
“เพราะเราผ่านอุปสรรคมามากมาย ตั้งแต่ช่วงพั ฒนาและก่อสร้างโครงการ พอถึงขัน ้ Operation & Maintenance (O&M) เราไม่อยากมาเจอปัญหาในช่วงเดินเครื่องอีก จึงเลือกคนที่เราไว้ใจอย่าง กฟผ. ให้มารับหน้าที่นี้ ส�ำหรับดิฉันแล้วในภูมิภาคนี้ ถ้าเป็นเรื่องเขื่อน เรื่องโรงไฟฟ้า ไม่มีใครสู้ กฟผ. ได้”
ด ้ ว ยประสบการณ์ ก ารด� ำ เนิ น โครงการนี้ ในช่วงต้นที่ท�ำให้คุณจินดาและพันธมิตรผู้ร่วมลงทุน ต้องลุ้นและเข้ามาประคับประคองจนผ่านมาถึงช่วง เดินเครื่องเชิงพาณิชย์ (COD) การมองหามืออาชีพ ที่ไว้ใจได้ให้เข้ามารับไม้เดินเครื่องและบ�ำรุงรักษา โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ น�ำ้ ลิก 1 จึงเป็นค�ำตอบทีค่ ณะกรรมการ บริษทั ต่างเห็นพ้องต้องกันให้ กฟผ. เข้ามาด�ำเนินการ “เพราะเราผ่านอุปสรรคมามากมายตั้งแต่ช่วง พัฒนาและก่อสร้างโครงการ พอถึงขั้น Operation & Maintenance (O&M) เราไม่อยากมาเจอปัญหา ในช่วงเดินเครือ่ งอีก จึงเลือกคนทีเ่ ราไว้ใจอย่าง กฟผ. ให้มารับหน้าที่นี้ ส�ำหรับดิฉันแล้วในภูมิภาคนี้ถ้าเป็น เรื่องเขื่อน เรื่องโรงไฟฟ้า ไม่มีใครสู้ กฟผ. ได้ ทั้งเรื่อง บุคลากร เรื่ององค์ความรู้ เรื่องเครื่องไม้เครื่องมือ ถ้าเขือ่ นเราจะมีปญ ั หาก็แน่นอนว่าจะต้องแสดงอาการ ออกมาตั้งแต่ช่วง 5-6 ปีแรก ดังนั้น การที่เราเลือก มื อ อาชี พ เข้ า มาดู แ ล ก็ เ พื่ อ ให้ ทุ ก คนมั่ น ใจได้ ว ่ า หากเกิดปัญหาขึ้นมาจริง ๆ เขาจะช่วยเรารับมือ จัดการทุกอย่างได้อยู่หมัด”
และนี่คือมุมมองจากนักลงทุนหญิงแกร่งมากประสบการณ์ ที่พา HEC ไปปักธงความส�ำเร็จให้ธุรกิจใหญ่บนแผ่นดินประเทศ เพื่อนบ้านได้อย่างสมภาคภูมิ ก่อนทีค ่ ณ ุ จินดาจะทิง ้ ท้ายกับเราฝาก แนวทางถึงนักลงทุนไทยทีเ่ ตรียมข้ามโขงเข้ามาลงทุนใน สปป.ลาว “การขยายธุรกิจไปยังประเทศเพื่อนบ้านถือเป็นโอกาสและเป็นเรือ ่ ง ทีน ่ า่ ยินดี แต่ตอ ้ งระมัดระวังด้วยเช่นกัน เพราะแต่ละประเทศต่างมี เงือ ่ นไข มีขอ ้ จ�ำกัดต่างกัน เราต้องศึกษากฎหมายของประเทศนัน ้ ๆ ให้ แ ตกฉาน บางครั้ ง กฎหมายเปลี่ ย นแปลงเร็ ว มาก อย่ า ง เวียดนาม กัมพู ชา หรือแม้แต่ท่ี สปป.ลาว เอง ซึง ่ ผูท ้ จ ่ี ะช่วยเราได้ มากทีส ่ ด ุ คือการมี Local Partner ทีด ่ ี ให้เลือกคนทีเ่ ขาแนะน�ำเรา ตามบริบทพื้นฐานรอบด้านของประเทศเขาได้ บางคนไปเจอ Partner ไม่ดี ไม่รอบคอบ ถูกหลอก ถึงขั้นถอดใจกลับบ้านไปก็มีให้เห็น อยูม ่ าก พู ดไปบางอย่างล้วนสอนกันไม่ได้ ต้องมาเจอเองถึงจะรูซ ้ ง ึ้ จึงจะเข้าใจ แต่เชือ ่ ว่าปัญหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน ้ เมือ ่ ผ่านไปได้ จะเป็น ประสบการณ์สอนเราได้ดี ขอเป็นก�ำลังใจให้นก ั ลงทุนไทยทุกคนค่ะ”
WE HAVE IT!
BUSINESS ANALYTIC 30 EGAT 30 BIZNEWS EGAT BIZNEWS
“AV-AUTONOMOUS VEHICLE” HOT HAPPENINGS ต่อยอดรถ EV เพื่ อชีวิตที่ดีกว่า
ANALYTIC EGATEGAT BIZNEWS BIZNEWS 31 BUSINESS 31
ประเด็ น ที่ ไ ด้ รั บ การกล่ า วถึ ง ในช่ ว ง เทศกาลสงกรานต์เป็นประจ�ำทุกปี นอกจาก ความสวยงามของประเพณีรดน�ำ้ ด�ำหัว และ ความสนุกสนานของการเล่นสาดน�้ำชุ่มฉ�่ำ รับหน้าร้อนกันแล้ว ยังมีสถิตผ ิ บ ู้ าดเจ็บและ ผู้ เ สี ย ชี วิ ต บนท้ อ งถนนจากการเดิ น ทาง ที่น�ำเสนอตีคู่กันมากระตุกให้ความระเริงใจ กลายเป็นหดหู่ จากข้อมูลของกรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยพบว่า ในช่วง 7 วัน อั น ตรายของเทศกาลสงกรานต์ ปี 2561 (ตัง ั ที่ 11–17 เม.ย. 2561) เกิดอุบต ั เิ หตุ ้ แต่วน บนท้องถนนทัง ้ าดเจ็บ ้ สิน ้ พบผูบ ้ 3,724 ครัง 3,897 คน และเสียชีวต ิ 418 ราย ซึง ่ ตัวเลข เหล่ า นี้ ส่ ง ผลกระทบทั้ ง ในเชิ ง สั ง คมและ เศรษฐกิจไม่นอ ้ ย
จากการศึกษาของกรมทางหลวงในรายงานเรื่อง “มูลค่าความเสียหายของ อุบัติเหตุในประเทศไทย” โดยคณะผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระบุว่า ความสูญเสียทางเศรษฐกิจของไทยที่มีสาเหตุมาจากอุบัติเหตุบนท้องถนน แต่ละปีนั้น คิดเป็นมูลค่าสูงถึง 232,000 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.8 ของ GDP ประเทศเลยทีเดียว มากไปกว่านั้นจากรายงานการศึกษาของธนาคารโลกที่เลือก ศึกษา 5 ประเทศได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ แทนซาเนีย และไทย เป็นกรณี ศึกษายังระบุว่า หากประเทศเหล่านี้สามารถลดการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน ลงร้อยละ 50 ได้ในเวลา 24 ปีนบั จากนี้ จะท�ำให้ GDP ต่อหัว (GDP per capita) เพิ่มสูงขึ้นได้ถึงร้อยละ 22 เลยทีเดียว การลดอุบัติเหตุบนท้องถนนจึงกลายเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกรัฐบาลพยายาม หาแนวทางในการแก้ปัญหาที่ไม่เพียงแต่ช่วยรักษาชีวิตของผู้คน แต่ยังหมายถึง การรั ก ษาผลประโยชน์ และลดความสู ญ เสี ย ทางเศรษฐกิ จ ให้ ป ระเทศด้ ว ย เมื่อการรณรงค์ขับขี่ปลอดภัยจากทุกภาคส่วนอย่างที่เคยท�ำกันมาอย่างต่อเนื่อง เพียงอย่างเดียวยังไม่สัมฤทธิ์ผล การน�ำนวัตกรรมล�้ำสมัยสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ “Thailand 4.0” เข้ า มามี บ ทบาทร่ ว มด้ ว ยจึ ง เป็ น ความหวั ง ใหม่ ใ ห้ อุ บั ติ ภั ย บนท้องถนนลดลงได้อย่างมีนัยส�ำคัญ ซึ่งความหวังใหม่นี้คือนวัตกรรม “รถ AV ยานยนต์ไร้คนขับ”
BUSINESS ANALYTIC 32 EGAT 32 BIZNEWS EGAT BIZNEWS
การจัดระดับยานพาหนะ ทีข ่ บ ั เคลือ ่ นแบบไร้ผข ู้ บ ั ขี่ ระดับ 0
ยานพาหนะไม่มก ี ารควบคุม ด้วยระบบอัตโนมัตแิ ต่อย่างใด
ระดับที่ 1 “Driver Assistance”
เป็นระดับการขับขีอ ่ ต ั โนมัตข ิ น ้ ฐาน เช่น ้ั พืน การท�ำงานของระบบ Cruise Control ทีส ่ ามารถ ปรับระยะตรวจจับหน้ารถได้กอ ่ นรถเบรก
ระดับที่ 2 “Partial Automation”
ระบบควบคุมการขับเคลือ ่ นรถยนต์ได้บางส่วน เช่น ระบบการเข้าจอดในทีจ ่ อดรถแบบอัตโนมัติ (Remote-Controlled Parking)
ระดับที่ 3 “Conditional Automation” ยานพาหนะสามารถขับเคลือ ่ นอัตโนมัตใิ น ระยะทางไกล โดยผูข ้ บ ั ขีส ่ ามารถกลับมาควบคุม ยานพาหนะได้ทน ั ทีทจ ่ี ำ� เป็น
ระดับที่ 4 “High Automation”
ยานพาหนะสามารถขับเคลือ ่ นได้เองเป็นส่วนใหญ่ โดยผูข ้ บ ั สามารถหลับตาพักผ่อนได้
ระดับที่ 5 “Full Automation” เป็นระดับทีไ่ ม่ตอ ้ งมีคนขับ มีแต่เพียงผูโ้ ดยสารในรถ
ที่มา : http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/644432
รถ AV หรือ Autonomous Vehicle เป็นยาน ยนต์แห่งอนาคตที่น�ำรถยนต์ไฟฟ้า (Electric VehicleEV) มาพัฒนาร่วมกับปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence-AI) จนสามารถขับเคลื่อนได้เองโดยไม่ต้องใช้ มนุษย์ควบคุม ในปัจจุบันหลายบริษัทชั้นน�ำของโลกต่าง เร่งพัฒนาและทดสอบรถยนต์ AV ของตนแข่งกันเพื่อ ให้สามารถน�ำมาวิ่งได้จริงบนท้องถนนสาธารณะ ทั้ง BMW, AUDI, FORD, MERCEDES-BENZ รวมถึงเจ้า ตลาดสัญชาติญี่ปุ่นอย่าง TOYOTA แต่กลุ่มบริษัทที่น่า จับตามองที่ท�ำให้อุตสาหกรรมนี้คึกคักกลับเป็นกลุ่มผู้ ท้าชิงที่มีความเจนจัดเรื่องนวัตกรรมอย่าง Google ผู้น�ำ ด้าน AI โลก ที่ซุ่มพัฒนารถ AV มาตั้งแต่ปี 2009 ภาย ใต้โครงการ Self-Driving Car ก่อนจะแตกออกมาเป็น บริษัทในเครือชื่อ WAYMO ซึ่งทดสอบการขับขี่รถ AV มาแล้วกว่า 8 ล้านกิโลเมตร WAYMO มุ่งมั่นพัฒนารถ AV อย่างเอาจริงเอาจัง จะเห็นได้จากค�ำสั่งซื้อรถ EV รุ่น I-PACE จากค่าย Jaguar จ�ำนวน 20,000 คัน ส่ง มอบภายในปี 2020 หลังจากที่ก่อนหน้านั้นได้สั่งซื้อรถ มินิแวน EV จากค่าย FIAT CHRYSLER ไปแล้วหลาย พันคัน ทั้งหมดนี้ก็เพื่อน�ำไปพัฒนารถ AV นั่นเอง ในขณะทีบ่ ริษทั ผูบ้ กุ เบิกรถยนต์ไร้คนขับเจ้าแรก ๆ อย่าง TESLA ของอีลอน มัสก์ สามารถพัฒนาระบบ Autopilot ที่ปล่อยให้รถยนต์ขับเองเหมือนเครื่องบิน ได้ส�ำเร็จ และเป็นค่ายแรกที่น�ำระบบนี้มาใช้งานได้จริง แต่พัฒนาการของ TESLA กลับล่าช้ากว่าที่คิด แม้อีลอน มัสก์จะเคยลั่นวาจาไว้ว่ารถยนต์ของ TESLA นั้นจะขับขี่ อัตโนมัติเต็มรูปแบบได้ภายในปี 2015 ซึ่งสวนทางกับ ค่ายรถยนต์ยักษ์ใหญ่อย่าง General Motors (GM) ที่ เปิดตัว CRUISE AV ยานยนต์ไร้คนขับเต็มรูปแบบที่ไม่มี แม้กระทั่งพวงมาลัย คันเร่ง เบรก และเกียร์ โดยใช้เพียง หน้าจอสัมผัสแค่ 3 จอในรถเท่านั้น แม้ GM จะเคลม ว่ารถยนต์ CRUISE AV จะผ่านการทดสอบและพร้อม ผลิ ต ออกขายได้ แ ล้ ว แต่ ก็ ยั ง ต้ อ งได้ รั บ อนุ ญ าตจาก องค์ ก รบริ ห ารความปลอดภั ย บนท้ อ งถนนของ สหรัฐอเมริกา (NHTSA) เสียก่อน และน้องใหม่ที่มาแรงเกินความคาดหมายนั่นคือ เจ้าของแพลตฟอร์มรถสาธารณะชื่อดังอย่าง Uber ที่ งานนี้โดดเข้ามาร่วมพัฒนาและทดสอบรถ AV กับเขา ด้วยเช่นกัน โดยเริ่มพัฒนาตั้งแต่ปี 2016 มุ่งหวังตั้งใจ ให้โปรเจคนี้เป็น New Service“รถแท็กซี่ไร้คนขับ” (Robo-Taxi หรือ Robo-Cab) แต่ก็น่าเสียดายที่ Uber ต้ อ งระงั บ โครงการนี้ ไ ปกลางคั น หลั ง เกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ระหว่างการทดสอบรถ AV ในรัฐแอริโซนา ท�ำให้มีผู้ เสี ย ชี วิ ต 1 ราย แม้ อุ บัติ เ หตุ ค รั้ ง นี้ จ ะท� ำ ให้เกิด ค� ำ ถามตามมาถึ ง ความปลอดภั ย ของการใช้ รถยนต์ไร้คนขับบนท้องถนนจริง แต่ก็มีผลงาน วิจัยส�ำคัญออกมายืนยันว่า รถ AV จะเข้ามา ช่วยลดอุบัติเหตุและความสูญเสียบนท้อง ถนนได้
EGAT BIZNEWS EGAT BIZNEWS 33 BUSINESS 33 ANALYTIC
จากการศึกษาวิจัยของกระทรวงการคมนาคมสหรัฐอเมริกา (US Department of Transportation - DoT) ระบุว่า หากมีการใช้ รถ AV เต็ ม รู ป แบบ จะช่ ว ยลดอั ต ราการเสี ย ชี วิ ต บนท้ อ งถนนได้ ม ากกว่ า ร้ อ ยละ 90 เพราะสาเหตุ ห ลั ก ของความสู ญ เสี ย ล้ ว น มาจากความผิดพลาดจากมนุษย์ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นเมาแล้วขับ เล่นโทรศัพท์ขณะขับรถ รวมไปถึงปัญหาการมองเห็นจากทัศนวิสยั ไม่ดี เมื่อสภาพอากาศไม่เป็นใจ ซึ่งเทคโนโลยีจะเข้ามาจัดการในเรื่องเหล่านีไ้ ด้แทนมนุษย์ สอดคล้องกับงานวิจยั จากสถาบัน Eno Centre for Transportation ที่ระบุว่า หากรถยนต์ร้อยละ 90 ในสหรัฐเปลี่ยนมาเป็นรถ AV นอกจากจะช่วยลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุลงได้ถึงร้อย ละ 80 แล้ ว ยั ง ช่ ว ยลดอั ต ราการใช้ พ ลั ง งานโดยไม่ จ� ำ เป็ น จากระบบการตั ด สิ น ใจอั ต โนมั ติ ข องรถยนต์ ท� ำ ให้ ก ารเบรกและ การเร่งเครื่องยนต์มีประสิทธิภาพมากขึ้น และยังช่วยลดอัตราการเกิดมลภาวะในอากาศได้สูงถึง 300 ล้านตันต่อปีอีกด้วย เมื่อหันกลับมามองสถิติอุบัติเหตุบนท้องถนนของไทยที่ยังคง อยู่ในสถานะที่น่าเป็นห่วง การวิจัยและพัฒนารถ AV จึงเป็นยาแรง ขนานใหม่ที่ต้องเร่งปรุงออกมาให้ส�ำเร็จ เพื่อเข้ามาช่วยลดความสูญ เสียทั้งในเรื่องชีวิตและทรัพย์สินนับแสนล้านบาท และยังเป็นการ พัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ตามที่รัฐบาลตั้งเป้าหมายส่ง เสริ ม การคิ ด ค้ น และสร้ า งนวั ต กรรมใหม่ เพื่ อ ขยายผลเป็ น อุตสาหกรรมที่สร้างมูลค่าสูงให้เกิดขึ้นภายในประเทศ โดยล่าสุด เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2562 ที่ผ่านมาได้เกิดความร่วมมือจาก 8 หน่วยงาน ภายใต้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจับมือกับ กระทรวงคมนาคมเข้ า มาส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การพั ฒ นาและ ประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่แล้ว โดยมีขอบเขต ครอบคลุมการศึกษาเทคโนโลยียานยนต์ขับขี่อัตโนมัติ (Autonomous Vehicle) เทคโนโลยียานยนต์ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า (Battery Electric Vehicle: BEV) ระบบสนับสนุนการคมนาคมและขนส่ง แบบอัจฉริยะ (Intelligent Transport System: ITS)เทคโนโลยี การสร้างแผนที่ดิจิทัลแบบละเอียด (High Definition Map) ระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดระเบียบ และแก้ไขปัญหาการจราจร
2
คืออันดับของไทย ในฐานะประเทศทีม ่ ผ ี เู้ สียชีวต ิ จากอุบต ั เิ หตุบนท้องถนนมากทีส ่ ด ุ รองจาก ลิเบีย
24,000
คือจ�ำนวนโดยประมาณของผูเ้ สียชีวต ิ บนท้องถนนในประเทศไทยแต่ละปี
73 %
ของผูเ้ สียชีวต ิ เหล่านี้ ่ ก เป็นผูข ้ บ ั ขีจ ั รยานยนต์
39.9 ล้านคัน
คือจ�ำนวนรถยนต์ทงั้ หมดบนท้องถนน ในประเทศไทย ณ ปัจจุบน ั ที่มา : World Health Organization (WHO)
“ก้าวแห่งอนาคตของรถ EV กฟผ.”
นีจ ่ ง ึ เป็นโอกาสของการพัฒนายานยนต์สมัยใหม่ ให้เกิดขึน ้ จริงได้ในประเทศไทยได้ เหมือนดัง ่ ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมาที่เราได้ศึกษาจนมีฐานองค์ความรู้จากการ พัฒนารถ EV ด้วยฝีมอ ื คนไทย โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร่วมกับส�ำนักงานพั ฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกัน พั ฒ นารถ EGAT EV ด้ ว ยการน� ำ เอารถยนต์ เ ก่ า มาดั ด แปลงให้ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยระบบไฟฟ้า โดยใช้ ชุ ด อุปกรณ์ EV Kit ได้เป็นผลส�ำเร็จ ปัจจุบน ั ก�ำลังด�ำเนิน โครงการในระยะที่ 2 ช่วงถ่ายทอดเทคโนโลยีพร้อม พิมพ์เขียวต้นแบบให้กบ ั บริษท ั รถยนต์และอูต ่ ด ิ ตัง ้ น�ำไปขยายผลเชิงพาณิชย์เพื่อให้ประชาชนสามารถเป็นเจ้าของได้ โดยรถ EGAT EV นัน ้ ง ั ไม่รวมแบตเตอรี)่ ซึง ่ ยังพอแข่งขันได้กบ ั ้ มีราคาไม่เกินคันละ 2 แสนบาท (โดยราคานีย รถยนต์ไฟฟ้าน�ำเข้าจากต่างประเทศ แต่สง ่ ลายคน ่ิ ทีเ่ ป็นความหวังของประเทศจริง ๆ ในบริบท Thailand 4.0 ทีห ฝากความหวังไว้คอ ื ก้าวต่อไปในการแปรเปลีย ่ นงานวิจย ั ให้เป็นธุรกิจของ กฟผ. โดยน�ำความส�ำเร็จของ EGAT EV มาต่อยอดจะไปในทิศทางใดต่อ จะเร่งจับมือกับพันธมิตรทัง ้ ในและต่างประเทศพัฒนาต่อยอดสูร่ ถ AV สัญชาติไทย ช่วยชาติได้หรือไม่ หรือจะหยุดความหวังของคนไทยไว้เพียงเท่านี้ เรือ ่ งนีจ ้ ง ึ ไม่ใช่ความฝันทีเ่ ลือ ่ นลอยหากแต่มี ร่องรอยแห่งความส�ำเร็จปรากฎให้เห็นอยู่ และเป็นจังหวะทีท ่ า้ ทายอีกครัง ่ ของ กฟผ. ทืจ ่ ะพิสจ ู น์ให้คนไทย ้ หนึง ได้เห็นถึงศักยภาพตามวิสย ั ทัศน์ “Innovate Power Solutions for a Better Life”. ่ า : http://www.worldbank.org/en/programs/global-road-safety-facility/publication/the-high-toll-of-traffic-injuries-unacceptable-and-preventable ทีม https://www.sciencealert.com/driverless-cars-could-reduce-traffic-fatalities-by-up-to-90-says-report http://www.disaster.go.th/intro.php
HEALTHY CORNER 34
EGAT BIZNEWS
FIGHT AGAINST HEAT บอกลา Heatstroke ด้วย “เสื้อเบอร์ 5”
EGAT BIZNEWS 35 HEALTHY CORNER
TSTROKE
ช่วงนีป ้ ระเทศไทยเข้าสูฤ ่ ดูรอ ้ นอย่างเป็นทางการ ขึน ้ ชือ ่ ว่าหน้าร้อนเมืองไทยไม่เคยปราณีใครอยูแ ่ ล้ว นอกเหนือจากต้องทาครีมกันแดดป้องกันผิวกลายเป็น สีแทนแบบไม่ได้ต้ังใจ อีกหนึ่งสิ่งที่เราต้องระวัง ในช่วงนี้ คือ “โรคฮีทสโตรก” (Heatstroke) หรือ “โรคลมแดด” ทีห ่ ลายคนคุน ้ หูเคยได้ยน ิ ชือ ่ กันมาบ้าง แต่นอ ้ ยคนนักทีจ ่ ะรูซ ้ ง ึ้ ถึงความน่ากลัวของโรคทีว่ า่ นี้ ยิง ่ ผิด ๆ เกีย ่ วกับฮีทสโตรก ้ ยังมีความเชือ ่ ไปกว่านัน ว่าจะเกิดขึ้นเฉพาะแต่กับผู้ท่ีท�ำงานกลางแดดจ้า เท่ า นั้ น หากแต่ แ ท้ ท่ี จ ริ ง แล้ ว หนุ่ ม สาวออฟฟิศ นี่แหละคือกลุ่มเสี่ยงที่จะเผชิญโรคนี้ได้ไม่ต่างกัน
นายแพทย์ศกั ดา อาจองค์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเวชศาสตร์ ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย มหิดล ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคฮีทสโตรกว่า เป็นอาการที่ร่างกาย ได้รับความร้อนสูงเกิน 41 องศาเซลเซียส จนไม่สามารถควบคุม ระดับความร้อนในร่างกายได้ ซึ่งตามปกติแล้วเมื่อร่างกายมี อุณหภูมสิ งู ขึน้ กลไกของร่างกายจะระบายความร้อนออกมาทางเหงือ่ และลมหายใจ เมื่อเหงื่อออกจนร่างกายสูญเสียน�้ำมากขึ้นเรื่อย ๆ สมองจะสั่งการให้เรารู้สึกหิวน�้ำ เพื่อรักษาสมดุลในร่างกายทันที แต่หากเกิดอาการฮีทสโตรกขึ้น สมองของเราจะท�ำงานผิด พลาดจนไม่สามารถรับรู้ได้เลยว่าร่างกายก�ำลังขาดน�้ำ ยิ่งเหงื่อ ออกมากจนเสียน�้ำมากเกินไป ร่างกายก็จะหยุดระบายความร้อน ทันที ท�ำให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นเรื่อย ๆ น�ำไปสู่อาการเมื่อยล้า อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด คลื่นไส้อาเจียน หรืออาจจะ รุนแรงถึงขั้นหัวใจ สมอง และตับล้มเหลวถึงแก่ชีวิตได้
นอกจากนี้ กลุ่มเสี่ยงที่อาจเป็นโรคฮีทสโตรกไม่แพ้ผู้ท�ำงาน กลางแจ้ง ยังรวมถึงกลุม่ คนออฟฟิศทีน่ งั่ ท�ำงานในห้องแอร์ทงั้ วัน แล้ว ออกมาสัมผัสอากาศร้อนฉับพลัน กลุม่ ผูส้ งู อายุ และเด็กเล็กทีไ่ ม่สามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้ รวมถึงคนที่ดื่มแอลกอฮอล์ด้วยเช่นกัน เมือ่ อ่านมาถึงตรงนีแ้ ล้ว ก็ไม่ตอ้ งตืน่ ตระหนกตกใจกันไปนะครับ เพราะเรามีเทคนิคป้องกันตัวเองจากฮีทสโตรกมาฝากกันง่าย ๆ เพียงดื่มน�้ำให้เพียงพอ 6-8 แก้วต่อวันจนติดเป็นนิสัย และหลีกเลี่ยง การอยู่ในที่อับ อากาศไม่ถ่ายเท ส่วนคนที่ต้องท�ำงานกลางแดด เป็นเวลานาน ควรพกน�้ำดื่มติดตัวเอาไว้และย�้ำเตือนตัวเองให้จิบน�้ำ อย่างสม�ำ่ เสมอ ท่องไว้ให้ขนึ้ ใจนะครับว่าเราต้องดืม่ น�ำ้ ให้มากกว่าปกติ และต้องสวมใส่เสื้อผ้าสีอ่อน เนื้อผ้าบางเบา เพื่อให้ความร้อนระบาย ได้ดี ดังนั้น “เสื้อเบอร์ 5” ที่ กฟผ. รณรงค์ให้คนไทยหันมาสวมใส่ ใส่ใจโลกร้อนในช่วงขวบปีทผี่ า่ นมา ด้วยนวัตกรรมเนือ้ ผ้า CoolMode ทีช่ ว่ ยระบายความร้อน ลดอุณหภูมริ า่ งกายลงได้ถงึ 1-5 องศาเซลเซียส สวมใส่แล้วเย็นสบาย โดยเฉพาะในสภาพอากาศที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 25 องศาเซลเซียส นี่จึงถือเป็นอรรถประโยชน์ที่แฝงอยู่ภายในเสื้อ เบอร์ 5 ที่นอกจากสวมใส่แล้วจะช่วยรักษ์โลก ช่วยประหยัดไฟฟ้า เพราะเสือ้ ไม่ยบั จึงไม่ตอ้ งรีด เสือ้ เบอร์ 5 ยังเป็นเสือ้ ทีร่ กั สุขภาพคนใส่ ช่วยให้ห่างไกลจากฮีทสโตรกได้ดีอีกด้วย รูอ ้ ย่างนีแ ้ ล้ว จะไม่ลองหันมาใส่เสือ ้ เบอร์ 5 บอกลา ฮีทสโตรกกันหน่อยหรือครับ ง่าย ๆ นะครับ เริ่มเลย วันนี้ท่ต ี ัวของคุณเอง
ENJOY LIFE 36
EGAT BIZNEWS
Christopher Hwang
Jonathan Shen
SALTED EGG FEVER ไข่ เ ค็ ม ฟีเ วอร์ จากไอเดี ย ธรรมดาสู่ Food Trend สุ ด ฮอตแห่ ง ปี 2019 ที่มา : Facebook-Jonathan Shen
EGAT BIZNEWS 37 ENJOY LIFE
ถ้าพู ดถึงเทรนด์อาหารสุดฮิตในช่วงนี้ คงหนีไม่พ้น “ไข่เค็ม” ที่ไม่ว่าจะหันหน้าไปทางไหน เป็นต้องเห็นเมนู ไข่เค็มหลายหลากมากมาย ตั้งแต่ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป เบเกอรี่ ไปจนถึงเครื่องดื่มรสไข่เค็มกันเลย ทีเดียว ซึ่งใครจะไปคิดว่าไข่เค็มที่อยู่ในชีวิตประจ�ำวันของหลายครัวเรือนมาอย่างช้านานนั้น จะกลายมาเป็น กระแสฮิตติดลมบน ไม่ได้จำ� กัดอยูเ่ พียงแค่ในเมนูอาหารจานหลักกินคูก ่ บ ั ข้าวต้มอย่างทีเ่ คยคุน ้ ชินกันมา หากแต่ น้อยคนที่จะทราบกันว่าที่มาที่ไปของกระแส “ไข่เค็มฟีเวอร์” นี้มาจากไหน วันนี้ EGAT Biznews จะพาทุกคน ไปหาค�ำตอบเรื่องนี้กันครับ
กระแสไข่เค็มฟีเวอร์ทว่ี า่ นี้ เริม่ ต้นมาจาก ไอเดียของสองหนุ่ม โจนาธาน เฉิน วัย 29 ปี และคริสโตเฟอร์ ฮวาง วัย 28 ปี เพื่อนซี้ ชาวสิงคโปร์ ที่ต่างเริ่มต้นท�ำธุรกิจส่วนตัว กั น ตั้ ง แต่ อ ายุ ยั ง น้ อ ย แต่ ก็ ยั ง ไม่ ป ระสบ ความส� ำ เร็ จ นั ก จนกระทั่ ง ทั้ ง คู ่ ป ิ ๊ ง ไอเดี ย ขึ้นมาว่า ไข่เค็มเป็นอาหารยอดนิยมของคน ทั่วเอเชีย แต่กลับไม่มีใครลองน�ำไข่เค็มมา พลิกแพลงท�ำเป็นขนมขบเคี้ยวเลยสักราย นัน่ จึงเป็นจุดเริม่ ต้นให้ทงั้ คูน่ กึ สนุก เริม่ คิดค้น ไข่เค็มสูตรใหม่กันอย่างจริงจัง จนเกิดเป็น มันฝรั่งทอดกรอบรสไข่เค็ม แบรนด์ “The Golden Duck” ทีโ่ ด่งดังสุด ๆ ในเวลาต่อมา ปัจจุบัน The Golden Duck พัฒนาสินค้า รสใหม่ ๆ ออกมาตีตลาดอย่างต่อเนือ่ ง นอกจาก มันฝรั่งทอดแล้ว ยังมีหนังปลาทอดกรอบ พร้อมออกรสชาติใหม่อย่างปูผัดพริก ปูผัด ไข่เค็ม แต่ก็ยังไม่สาแก่ใจฮอตฮิตติดตลาด ได้เท่ารสไข่เค็มดั้งเดิมของแบรนด์ ที่ส่งให้ The Golden Duck กลายเป็นของฝากยอดฮิต ทีไ่ ม่วา่ ใครไปเยือนสิงคโปร์ จ�ำต้องไปกวาดซือ้ กลับมาฝากคนทีบ่ า้ นกันแทบทุกคนไป แถมยัง กลายเป็นแบรนด์ฮติ ส่งออกของประเทศไปยัง 20 ประเทศทั่วเอเชีย ปลุกกระแสไข่เค็ม ฟีเวอร์เป็นไฟลามทุง่ อย่างทีฮ่ ปิ สเตอร์เขาก�ำลัง แฮปเพนนิ่งกันสุด ๆ
ความส�ำเร็จของสองหนุ่มเจ้าของแบรนด์ The Golden Duck สร้างยอดขายได้ถึงปีละ 2 ล้านห่อ คิดเป็นเงินกว่า 600 ล้านบาท จนท�ำให้นิตยสาร Forbes จัดให้โจนาธานและ คริสโตเฟอร์ เป็น 1 ใน 30 รายชื่อ ของนักธุรกิจอายุต�่ำกว่า 30 ปี ที่ประสบความส�ำเร็จสูงสุด ในเอเชีย หรือจะเรียกว่าเป็น “เถ้าแก่น้อย” แห่งแดนลอดช่องก็คงไม่ผิดนัก ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อว่า จากบทสนทนาเล่น ๆ ของสองคู่หูจะเป็น จุดเริม่ ต้นสูค่ วามส�ำเร็จทางธุรกิจได้ในทีส่ ดุ ท�ำให้สนิ ค้าอืน่ ต้องขยับตัว ตามเทรนด์ พัฒนาสินค้าไข่เค็มของตัวเองออกมาช่วงชิงพื้นที่ตลาด คื น กั น อย่ า งเข้ ม ข้ น และนี่ อ าจเป็ น สิ่ ง ที่ ยื น ยั น ได้ เ ป็ น อย่ า งดี ว ่ า ความส�ำเร็จทีย่ งิ่ ใหญ่อาจไม่จำ� เป็นต้องมาจากเรือ่ งยากเสมอไป อยูท่ เี่ รา จะเลือกหยิบเอาเรือ่ งง่าย มาท�ำให้เจ๋งโดนใจลูกค้าได้มากน้อยแค่ไหน มันก็เท่านั้นเอง อ่ า นคอลั ม น์ Enjoy Life ฉบั บ นี้ กั น จบแล้ ว เชือ ่ เหลือเกินว่า คุณผูอ ้ า่ นหลายท่านต้องหยิบสมาร์ทโฟน ขึน ้ มาค้นหาค�ำว่า “ไข่เค็ม” กันอย่างแน่นอน ไม่เชื่อ ก็ลองดู!
่ า : https://www.thegoldenduck.co/ ทีม
HOROSCOPE 38
EGAT BIZNEWS
HOROSCOPE วันอาทิตย์
วันจันทร์
วันอังคาร
ยังเป็นจังหวะทีอ่ าจจะได้พบกับเรือ่ งชวน ปวดเศียรเวียนเกล้าเข้ามาท้าทายความสามารถ จนบางครั้งอยากเปลี่ยนงานก็ให้เริ่มขยับขยาย คิดเสียในช่วงนีเ้ พราะอนาคตสดใสกว่าทีเ่ ป็นอยู่ เรือ่ งเงินทองต้องลุน้ กันหืดขึน้ คอว่าจะพอใช้ชน เดือนหรือไม่ เหตุเพราะความมือเติบท�ำให้เงินตึง คนโสดได้เฮเพราะมีคนถูกใจเข้ามาวนเวียน แต่ ยั ง ต้ อ งห่ า งไกลกั น คนมี คู ่ ร ะวั ง โดนแฉ เรื่องลับรักร้าว
อย่าเอาเรื่องคนอื่นมาแบกไว้ จะพัวพัน ใหญ่หลวงให้เสียทรัพย์ได้ งานทีต่ งั้ ใจท�ำจะส่งผล ให้บังเกิดมีชื่อเสียงในช่วงท้ายจนได้เลื่อนขั้น เลือ่ นต�ำแหน่ง คนว่างงานงานก็จะเข้ามาให้ไม่วา่ ง เงินทองมีเกณฑ์ไหลเข้ามาจากเรื่องร้ายกลาย เป็นดี จะมีโอกาสได้สร้างหนี้ระยะยาว ๆ กับ อสังหาริมทรัพย์ กิจการงานต่างชาติต่างภาษา สดใสฟ้าเปิด คนโสดเหมือนจะได้พบคูแ่ ท้แต่ไม่ใช่ สุดท้ายต้องปล่อยไป คนทีม่ คี เู่ หนือ่ ยหน่อยต้อง ไล่จบั โกหกแฟน
การลุงทุนมีความเสีย่ งเสมอ ระวังชักหน้า ไม่ถึงหลังกับโปรเจกต์ใหญ่ที่ตั้งความหวังไว้สูง ตรวจรับนับเช็คตัวเลขทางบัญชีให้ดี ๆ จะมี ความผิดพลาดฟาดเคราะห์ต้องเฉือนเนื้อจน เลือดซิบ หากต้องลงทุนใหม่ขอให้ชะลอ ระวัง เงินตึงมือ ตัดรายจ่ายที่ไม่จ�ำเป็นออกได้ต้องท�ำ ทันที แต่คนโสดจะเสน่หแ์ รงกับคนสูงวัยเข้ามา อุปถัมภ์ชวั่ ครู่ ส่วนคนมีครู่ ะวังบ้านแตกเหตุจาก เสน่ห์ของตัวเองเช่นกัน
วันพุ ธกลางวัน
วันพุ ธกลางคืน
ช่วงนีข้ าขึน้ เป็นพิเศษ ใคร ๆ ก็รอ้ งเรียกหา งานเข้าหนักหัวไม่ได้วางหางไม่ได้เว้น นายรัก นายหลงป้อนงานท้าทายให้ได้สร้างโพรไฟล์ กระฉ่อนลือชาไปทั้งบาง ปัญหาจุกจิกกวนใจ ย่อมมีบ้างแต่อย่าได้แคร์มารผจญ เดินหน้า โกยแต้มต่อไป หันดูเงินในกระเป๋าก็รอ่ ยหรอลง เช่นกัน ไหลออกไม่ขาดสาย การเสีย่ งดวงช่วยได้ หรือโชคใหญ่จะมาจากต่างแดน คนโสดยังคง วนเวียนอยูก่ บั การบริหารเสน่ห์ รถไฟชนกันแล้ว ชนกันอีก คนมีคู่ยังถูกก่อกวนจากมือที่สาม ไม่เลิกลา และยังคงถูกแฉต่อเนื่อง
ช่ ว งขาขึ้ น หั น ไปทางไหนก็ พ านพบ ความส�ำเร็จ โกยชื่อเสียง เกียรติยศ เงินทอง กลายเป็ น โชคหลายชั้ น ต่ อ ยอดไต่ ขึ้ น นั่ ง ต�ำแหน่งใหญ่ได้ในภายหน้า ใครคิดขยับขยาย ให้ตัดสินใจท�ำเลยในช่วงนี้ดีที่สุดแล้ว แต่ให้ท�ำ คนเดียวอย่างเด็ดเดี่ยวมั่นใจไม่ต้องมีหุ้นส่วน มาแบ่งปันผลประโยชน์ แต่อย่าเผลอปล่อยกู้ จะสูญไปไม่ได้คืน คนโสดจะได้หวนกลับมาคุย กับคนเก่าหรือคนสูงวัยเข้ามาผูกพัน คนมีครู่ ะวัง เตียงหักเพราะถูกเปิดโปงเรือ่ งบ้านเล็กบ้านน้อย
ประจ�ำเดือน มีนาคม เมษายน 2562 อ.รามพล ส�ำนักโหราราม
วันพฤหัสบดี
วันศุกร์
วันเสาร์
ยั ง คงต้ อ งท� ำ งานด้ ว ยความรอบคอบ อย่างต่อเนื่อง จิตใจจดจ่อมีโฟกัสอย่าวอกแวก รวมถึงต้องฟังเสียงเพื่อนร่วมงานด้วยเพื่อปิด ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับโปรเจคท้าทาย ทีก่ ำ� ลังด�ำเนินการอยู่ คนรอบข้างอาจล้มหมอน นอนเสื่ อ ให้ เ ผื่ อ เงิ น ไว้ ด ้ ว ยได้ จ ่ า ยแน่ น อน มากน้อยสุดแล้วแต่บุญท�ำกรรมแต่ง คนโสด ยังมีเกณฑ์ได้พบรักต่างวัย คนมีคู่ยังพัวพันกับ รักสามเส้าร้าวทั้งครอบครัว
ตัง้ สติไว้ให้มนั่ รับมือกับงานด่วน งานใหญ่ หรือการโยกย้ายแบบไม่คดิ ฝัน แต่ตอ้ งท�ำต่อไป อย่างตั้งใจเพื่อความอยู่รอด เพราะหากเทไป ตอนนีจ้ ะยิง่ หนีเสือปะจระเข้ ลดพฤติกรรมเสีย่ ง ทุกชนิดย่อมส่งผลถึงรายจ่ายมากกว่ารายรับ โดยเฉพาะคนยื ม เงิ น ต้ อ งหลี ก ลี้ ห นี้ ใ ห้ ไ กล คนโสดระวังตกเป็นเหยือ่ เสือหิวทีแ่ ย่งกันรุมทึง้ และจากไป คนมีคู่ได้เวลาความลับแตกผ่าน สื่อออนไลน์ ใครแอบซุกกิ๊ก ต้องห่างกันซักพัก
ยังคงได้รับความไว้ใจอย่างต่อเนื่องให้ ท�ำงานส�ำคัญเป็นที่เชิดหน้าชูตาขององค์กร ต้องอยู่ท่ามกลางคนมากหน้าหลายตา รู้หน้า ไม่รใู้ จ ขอให้ตงั้ มัน่ ในทางแจ้ง อย่าเอาตัวไปพัวพัน ในทางลับจะพลาดท่าเสียทีได้ การเงินยังมีโชค เข้ามาไม่ขาดสาย หลากสไตล์หลายรูปแบบ กิจการงานเข้าสังคมยังเป็นตัวแปรส�ำคัญให้เงิน พร่องร่อยหรอลงไป คนโสดระวังเป็นมือที่สาม ฉับพลัน คนมีคู่จะต้องมีปากเสียงกันเพราะ ญาติเราเผาเรือน
EGAT BIZNEWS 39
ติดต่อ ฝ่ายจัดการธุรกิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย Website : www.egatbusiness.com Call Center : Tel. +66 (0) 2436 7488 Mobile. +66 (0) 81 812 2680 Email : msd3@egat.co.th