ปูมการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต

Page 1


1

ปูมการท่ องเทีย่ วของจังหวัดภูเก็ต บันทึก / เรียบเรียงโดย นายชาญ วงศ์ สัตยนนท์

charn.wongsatayanont@gmail.com โทร 081 8213213 โทรสาร 076 236771

เกริ่นนํา การท่องเที่ยวเริ่ มต้นที่ไหน? เมื่อไร? วิวฒั นาการมาอย่างไร? คงไม่มีใครบอกกล่าวได้อย่างชัดเจน แต่พอจะเป็ นที่ เข้าใจได้วา่ เป็ นการพัฒนาการอย่างต่อเนื่องเรื่ อยมาอย่างยาวนาน จากการเดินทางเพื่อการค้า เพื่อการแสวงหาวัตถุดิบและสิ นค้า เพื่อเยีย่ มเยือนญาติ หรื อ เพื่อนสนิทมิตรสหาย รวมถึงท่องเที่ยวไปเพื่อการเรี ยนรู ้สภาพแวดล้อมที่แตกต่าง การเดินทางจาก สถานที่หนึ่งไปยังสถานที่หนึ่ง จะด้วยวัตถุประสงค์ใดก็ตาม การเดินทางไปในสถานที่และมีผคู ้ นที่แตกต่างทั้งภูมิศาสตร์และวิถี ชีวติ ในการเดินทางเยีย่ มเยือนแต่ละครั้งย่อมแฝงไว้ดว้ ยไมตรี จิตของผูค้ นที่ไปเยีย่ มเยือนและผูใ้ ห้การต้อนรับ มีการให้เกียรติซ่ ึง กันและกันระหว่างผูเ้ หย้าและผูเ้ ยือน แลกเปลี่ยนเล่าเรื่ องราวสู่กนั ฟัง แสดงนํ้าใจด้วยของฝากและของที่ระลึกระหว่างกัน ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี ในการแสดงออกซึ่งนํ้าใจ นับว่าเป็ นความสุขของทั้งผูท้ ี่เดินทางไปเยีย่ มหา และความเปรมปรี ดาของ ผูใ้ ห้การต้อนรับอย่างแท้จริ ง พอจะที่กล่าวได้วา่ การท่องเที่ยวนั้นได้ซ่อนความดีงาม นําความสุข ให้กบั ผูค้ นที่เกี่ยวข้อง และหาก จะมองให้ลึกลงไปอีกยังจะพบอีกว่า นอกเหนือจากความสุขจากการท่องเที่ยวและเยีย่ มเยือนกันด้วยนํ้าใสไมตรี แล้วนั้น พบว่ามี การเคารพและยอมรับ ใน ประเพณี ศาสนา วัฒนธรรม ปรัชญาความคิด และวิถีชีวติ ของชุมชนที่แตกต่างระหว่างกัน อีกด้วย ครั้นเมื่อการคมนาคมขนส่งทั้งทางนํ้า ทางบก ทางอากาศได้มีการวิวฒั น์พฒั นาก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มากขึ้น เกิดการประดิษฐ์คิดค้นยานพาหนะเรื่ อยมานับตั้งแต่อดีต ไม่วาจะเป็ น เรื อใบ รถม้า รถยนต์ เรื อยนต์ รถไฟ ตลอดจน เครื่ องบิน ในขนาดและรู ปร่ างต่างๆ ทําให้การเดินทางไปมาหาสู่มีความรวดเร็ วและสะดวกสบายมากขึ้น มีผเู ้ ดินทางเพื่อการ ท่องเที่ยวมากขึ้น ต่อมาการเยีย่ มเยือนเหล่านี้จึงวิวฒั น์รูปแบบเป็ นธุรกิจการท่องเที่ยวมากขึ้น ขยายผลครอบคลุมไปยังการ ประกอบการอื่นๆได้แก่ ที่พกั ร้านอาหาร การนําเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แหล่งกิจกรรมนันทนาการ ร้านจําหน่ายของ ฝากที่ระลึก และ อื่นๆ ที่พฒั นาเป็ นสี่ งที่จะรองรับการเยีย่ มเยือนในลักษณะต่างๆ ในปั จจุบนั ทุกประเทศพัฒนาการทางการ ท่องเที่ยวเพื่อเศรษฐกิจ พบว่า การท่องเที่ยวในระดับโลกเติบโตเป็ นอุตสาหกรรมที่ใหญ่โตมากขึ้น จากสถิติที่มีการบันทึกโดย องค์กรการท่องเที่ยวโลก (World Tourism Organization) ในปี พ.ศ.2493 มีจาํ นวนนักท่องเที่ยวของโลกประมาณ 25 ล้านคน และ ในปี พ.ศ. 2550 มีนกั ท่องเที่ยวกว่า 904 ล้านคนที่ใช้จ่าย 855 พันล้านเหรี ยญสหรัฐ http://ieg-ego.eu/en/threads/europeon-the-road/the-history-of-tourism

ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีความนิยมในระบอบเสรี นิยม ประชาธิปไตย ทุกรัฐบาลมีนโยบายเปิ ดประตูรับ นักท่องเที่ยวต่างชาติดว้ ยความยินดีเพื่อส่งเสริ มเศรษฐกิจในประเทศ ด้วยความพยายามที่จะผ่อนคลายข้อจํากัดเพื่ออํานวยความ สะดวกให้กบั ผูเ้ ดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทย จนกระทัง่ ในปัจจุบนั การเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยมีความสะดวกสบาย เป็ นอย่างมาก การท่องเที่ยวจึงมีบทบาทที่สาํ คัญต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทางด้าน เศรษฐกิจ ด้วยในระยะ 30 ปี ที่ผา่ นมานับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 เป็ นต้นมา ทุกรัฐบาลได้ใช้การท่องเที่ยวเป็ นเครื่ องมือหนึ่งใน ยุทธศาสตร์ของการแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจของประเทศ เพราะสามารถแบ่งเบาภาระของรัฐบาลในการแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจ และ การกระจายรายได้ของประเทศไปสู่พ้นื ที่ที่ห่างไกลได้

1


2

อย่างไรก็ตาม แม้การท่องเที่ยวได้ส่งผลดีตอ่ มิติทางเศรษฐกิจของชุมชนได้เป็ นอย่างดี แต่ในเวลาเดียวกันได้ส่ง ผลกระทบต่อมิติทางสังคมด้านอื่นๆด้วยเช่นกัน อันได้แก่ สิ่ งแวดล้อม วิถีชีวติ วัฒนธรรม และ ปรัชญาความคิดของคนในแต่ละ ชุมชน ผลกระทบต่างๆที่เกิดขึ้น ตลอดระยะเวลากว่า 50 ปี นับตั้งแต่มีการก่อตั้งองค์การส่งเสริ มการท่องเที่ยวไทย เกิดทั้งผลดี และผลเสี ย ซึ่งผลกระทบเหล่านี้ในอดีตที่ผา่ นมายังไม่ได้มีการบันทึกและทําการวิเคราะห์วา่ วิวฒั นาการทางการท่องเที่ยวจาก อดีตจนถึงปัจจุบนั เป็ นไปอย่างไร ได้ส่งผลกระทบต่อสังคมในแต่ละด้านอย่างไร ผูเ้ ขียนมีความเห็นว่า สมควรที่จะทําการศึกษา วิเคราะห์วา่ การพัฒนาการทางการท่องเที่ยวนั้นเป็ นไปในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสมหรื อไม่อย่างไร และควรพัฒนาปรับปรุ งให้ เป็ นไปในแนวทางที่ดีเป็ นประโยชน์ต่อสังคมนั้นๆให้มากที่สุดเท่าที่จะกระทําได้อย่างไร ผูเ้ ขียนมีความคิดว่าหากได้มีการบันทึกการพัฒนาการเหล่านี้ไว้ ย่อมสามารถที่จะเป็ นข้อมูล และเป็ นแนวทางใน การวิเคราะห์ ขยายผลให้รู้ถึง จุดแข็ง(Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และ อุปสรรค (Threats) ต่อพัฒนาการการท่องเที่ยวได้ไม่มากก็นอ้ ย ในฐานะที่ผเู ้ ขียนเองได้มีโอกาสสัมผัส และ คลุกคลีกบั การพัฒนาการ ท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ตมาระยะหนึ่ง คิดว่าหากทําการบันทึกพัฒนาการที่ผา่ นมาขึ้น โดยคาดหวังว่าข้อมูลเหล่านี้อาจเป็ นข้อสังเกตุ ที่นาํ มาใช้เป็ นแนวทางในการศึกษา พัฒนาการท่องเที่ยวในระดับต่อๆไปได้ จึงได้บนั ทึกเรี ยบเรี ยงลําดับเหตุการณ์ในแต่ละปี แต่ ละช่วงเวลา พร้อมนําเสนอบทวิเคราะห์ ตลอดจนข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ มา ณ โอกาสนี้ดว้ ย หมายเหตุ

ผูเ้ ขียนได้บนั ทึกเรี ยบเรี ยง ปูมการท่องเที่ยวนี้ ข้ ึน จาก ความทรงจํา และ ประสบการณ์ ในอดีต เพื่อเป็ นข้อมูลให้ผเู ้ กี่ยวข้องใช้เป็ นแนวทางใน

การศึกษา ถึงการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อการพัฒนาการทางการท่องเที่ยวของภูเก็ต หากข้อมูล หรื อ เงื่อนเวลา มีความคลาดเคลื่อนไปบ้าง ผูเ้ ขียนใคร่ ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ หากบทความนี้ มีส่วนดีมีคุณค่าและมีประโยชน์ ผูเ้ ขียนขอมอบให้บคุ คลต่างๆที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ต ซึ่ งมี อยูเ่ ป็ นจํานวนมากจนไม่สามารถระบุได้ครบ

2


3

ยุคเหมืองแร่ พ.ศ. 2228 การติดต่อกับต่างชาติของภูเก็ตในระยะแรก

ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ประเทศฮอลันดามีอิทธิพลในเอเซียเป็ นอย่างมากได้สร้าง เมือง Batavia (เมืองปัตตาเวียเป็ นเมืองเก่าตั้งอยูท่ างทิศเหนือของกรุ งจาการ์ตา้ ในเกาะชวาของประเทศอิน โดนิเซียในปัจจุบนั ) มีการค้าที่ความเจริ ญรุ่ งเรื องเป็ นอย่างมาก และ ได้ขยายอิทธิพลมาถึงกรุ งสยาม ดังนั้น สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีพระราชประสงค์ที่จะเจริ ญราชไมตรี กบั พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 กับพระ สันตะปาปาของฝรั่งเศส เพื่อช่วยเหลือให้กรุ งสยามพ้นภัยคุกคามจากฮอลันดา ในขณะเดียวกันพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ก็ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะโค่นอํานาจทางการค้าของฮอลันดาในตะวันออก ส่วนพระสันตะปาปามีพระราชประสงค์ที่ จะเผยแพร่ คริ สตจักรมายังตะวันออกเช่นกัน จึงได้ส่งคณะฑูตโดยมีเชอวาเลีย เดอ ซามอง (เชอวาลิเอร์ เดอ โชมองต์)เป็ นราชทูต เพื่อที่ฝรั่งเศสสามารถที่จะร่ วมกับไทยต่อสูฮ้ อลันดา สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ฝรั่งเศส สร้างเมืองสงขลาเป็ นเมืองท่าเพื่อต่อสูท้ างการค้ากับเมืองปั ตตาเวีย ท่านราชฑูตเชอวาเลีย เดอ ซามอง ขอรับสิ ทธิทางการค้า ผูกขาดค้าขายแร่ ดีบุกที่ภูเก็ตแต่ผเู ้ ดียว จัดตั้งคลังสิ นค้ารับซื้อดีบุกโดยมีเรื อจาก "คลอรามันเดล" แล่นรับส่งสิ นค้า เดินทางมายัง ภูเก็ตปี ละ 1 ลําประจําทุกปี อ้างอิง https://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระนารายณ์มหาราช https://th.wikipedia.org/wiki/ประวัติศาสตร์เมืองสงขลา http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=966

พ.ศ. 2328 การค้าดีบุกกับต่างชาติ

ในยุคสมัย ท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรี สุนทร พระยาราชกปิ ตันเหล็ก หรื อ กัปตันฟรานซิส ไล้ท์ (Captain Francis Light) แห่ งเมืองซัฟฟอร์ค ประเทศอังกฤษ เป็ นนายทหารเรื อ ยศเรื อโท ประจําอยู่ ในเรื อแอโรเก้น (H.M.S.Arrogant)ได้ลาออกจากราชการ และ ผันแปรตนเองเป็ นพ่อค้าวานิช อยูใ่ น สังกัด บริ ษทั อีสต์อินเดีย ของอังกฤษ ได้ทาํ การเช่าเกาะหมาก(เกาะปี นังในปัจจุบนั ) จากเจ้าเมืองไทรบุรี พร้อมสถาปนาตนเองเป็ นเจ้าเมือง และ ด้วยความเป็ นกัปตันเรื อ จึงได้เดินเรื อค้าขายระหว่างอินเดีย กับ ชายฝั่งตลอดแหลม มลายู เช่น เมืองตะนาวศรี มะริ ด เมืองถลาง เมืองไทรบุรี ปี นัง และ มะละกา เป็ นต้น ระหว่างที่จอดเรื อตาม เมืองท่าต่างๆ นั้น ก็จะนําสิ นค้าจากอังกฤษและยุโรป มาขาย ในขณะเดียวกันจะรับซื้อสิ นค้าพื้นเมืองกลับไปขายที่องั กฤษและ ยุโรปเช่นกัน เรื อเมื่อมาถึงเกาะภูเก็ต(เมืองถลาง) เข้าทําการ ติดต่อค้าขายกับท่านผูห้ ญิงจัน (ท้าวเทพกระษัตรี ) ด้วยการนําเสื้ อผ้า แพรพรรณ อาวุธ และ ฝิ่ น มาขาย ในขณะเดียวกันได้รับซื้อดีบุก ไข่มุก งาช้าง หนังสัตว์ และ สมุนไพร กลับไป การเดินทางไปในท้องทะเลอันดามันอยูต่ ลอดเวลา กัปตันฟรานซิส ไล้ทจ์ ึงเป็ นผูห้ นึ่งที่เตือนท่านผูห้ ญิงจันให้รู้วา่ พม่ากําลังเดินทางมาเข้าตีเมืองถลาง ทําให้ท่านผูห้ ญิงจัน(ท้าวเทพกระษัตรี ) คุณหญิงมุก(ท้าวศรี สุนทร) เตรี ยมตัวป้ องกัน และ ตี ทัพพม่าแตกพ่ายไปในวันที่ 24 มีนาคม 2328 http://phuketindex.com/travel/photo-stories/s-thaothep/details.htm 3


4

พ.ศ. 2450 การทําเหมืองแร่ ในทะเล ในยุคสมัยพระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี ( คอซิมบี้ ณ ระนอง ) และ เป็ นช่วงเวลาเดียวกันกับการ ปฏิวตั ิอุตสาหกรรมของประเทศอังกฤษ ทําให้แร่ ธาตุต่างๆ เป็ นที่ตอ้ งการอย่างมาก มีชาวอังกฤษเดินทางออก แสวงหาแร่ ต่างๆ โดยเฉพาะแร่ ดีบุกเป็ นที่ตอ้ งการเป็ นอย่างมาก ด้วยความสมบูรณ์ของแร่ ดีบุกในภูมิภาค เอเซียตะวันออกเฉี ยงใต้ การทําเหมืองแร่ ดีบุกบนบกเกิดขึ้นเป็ นจํานวนมาก ในทุกพื้นที่ในเอเซียตะวันออก เฉี ยงใต้ นับตั้งแต่ เกาะบอร์เนียว สิ งคโปร์ มะละกา ปี นัง ตลอดแนวจนถึง พังงา และ ภูเก็ต สําหรับการทํา เหมืองแร่ ดีบุกบนบกนั้นมีความต้องการใช้แรงงานเป็ นอย่างมาก จึงมีชาวจีนอพยพผ่านปี นังเข้าภูเก็ตเป็ นจํานวนมาก เพื่อเป็ น แรงงานในเหมืองแร่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1907) พบว่าแร่ ดีบุกมีอยูใ่ นทะเลเป็ นจํานวนมาก แต่ไม่สามารถนํา ขึ้นมาได้ ชาวออสเตรเลีย Captain Edward Thomas Miles เกิดที่เมืองโฮบาต (Hobart), เกาะทัสมาเนีย (Tasmania) ภายหลังเติบโตในรัฐวิคตอเรี ย (Victoria), ประเทศ ออสเตรเลีย (Australia) ได้เดินทางมาที่จงั หวัดภูเก็ต และได้รับสัมปทานการทําเหมืองแร่ ทําการจัดตั้ง บริ ษทั ทุ่งคาฮาเบอร์ข้ ึนและนําหุน้ ออกขายที่เมืองโฮบาต (Hobart) โดย Captain Edward Thomas Miles ได้รับการ แต่งตั้งเป็ นผูจ้ ดั การทัว่ ไปของบริ ษทั ฯ ต่อมา Captain Edward Thomas Milesได้คิดประดิษฐ์เรื อดูดแร่ ในทะเล (Tin Dredge) ลําแรกของโลก โดย Captain Edward Thomas Miles ทําการออกแบบและก่อสร้างขึ้นในสกอตแลนด์ แล้ว นํามาประกอบขึ้นที่เกาะปี นังประเทศมาเลเซีย การใช้เรื อดูดแร่ สามารถผลิตปริ มาณดีบุกได้เป็ นจํานวนมาก ดังนั้นการทําเหมือง แร่ ในเขตจังหวัดพังงา ตะกัว่ ป่ า และ ภูเก็ตเป็ นไปอย่างกว้างขวางทัว่ ทุกพื้นที่ท้ งั บนบกและในทะเล เศรษฐกิจของจังหวัดภูเก็ต เติบโตและเฟื่ องฟูดว้ ยธุรกิจเหมืองแร่ ดีบุกตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมา ข้อมูลอ้างอิง http://adbonline.anu.edu.au/biogs/A100487b.htm

เข้ าสู่ ยุคการท่ องเที่ยว พ.ศ. 2512 เริ่ มต้นการท่องเที่ยวของภูเก็ต

มีการเริ่ มถ่ายทําภาพยนตร์เรื่ อง เจมส์บอนด์ ตอน เทพบุตรปื นทอง(James Bond - The Man with The Golden Gun) นําแสดงโดยโรเจอร์ มัวร์ ซึ่งรับแสดงบทเป็ นเจมส์ บอนด์ เป็ นการรับบทครั้งแรกต่อจากฌอน คอนเนอรี่ ในภาพยนตร์ชุด “เจมส์ บอนด์ พยัคฆ์ร้าย 007” ซึ่ งเป็ นภาพยนตร์ที่มีความโด่งดังเป็ นอย่างมากในเวลานั้น เป็ นที่ปรากฏว่าสถานที่ใดที่ได้ใช้ เป็ นสถานที่ถ่ายทําภาพยนตร์เรื่ องนี้มกั จะกลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสี ยงในเวลาต่อมา ดังนั้นภายหลังในปี พ.ศ. 2517 ภาพยนตร์เรื่ องนี้ได้นาํ ออกฉายตามโรงภาพยนตร์อย่างแพร่ หลายและโด่งดังไปทัว่ โลก ทําให้หมู่เกาะพังงา เขาพิงกัน และ เกาะ ตะปู ในอ่าวพังงา เผยแพร่ ออกไปเป็ นที่รู้จกั อย่างกว้างขวางในระดับโลก จูงใจให้นกั ท่องเที่ยว สนใจเข้ามาท่องเที่ยว และมีความ 4


5

นิยมชมชอบบอกกล่าวเล่าต่อกัน จนเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความนิยมเป็ นอย่างมาก จึงพอจะยึดถือได้วา่ การท่องเที่ยวของภูเก็ต ได้เริ่ มต้น ณ บัดนั้นเป็ นต้นมา ในระยะแรกๆนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยว มีลกั ษณะกระเป๋ าสะพายหลัง (Backpacker) เข้าพักอาศัยโรงแรมในเมือง ส่วนที่พกั ตามบริ เวณชายหาด มีการก่อสร้างเป็ นแบบบังกะโลอย่างง่ายๆ พักค้างคืนในอัตราค่าห้อง คืนละ 60-100 บาท

พ.ศ. 2515 - 2522 การลงทุนทางการท่องเที่ยวของภูเก็ตในระยะแรก

ความมีชื่อเสี ยงของหมู่เกาะพังงา โดยภาพยนตร์ James Bond ทําให้เขาพิงกัน และ เกาะตะปู เริ่ มเป็ นที่รู้จกั กัน และเรี ยกขานว่า James Bond Island ปริ มาณนักท่องเที่ยวต่างชาติได้เพิ่มจํานวนมากขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง จึงมีการสร้างโรงแรมระดับชั้นหนึ่ง (First Class Hotel) เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ได้แก่ โรงแรมภูเก็ตไอแลนด์รีสอร์ท (พ.ศ. 2515 โรงแรมดิเอเวซอนในปั จจุบนั ) โรงแรมเพิร์ล (พ.ศ. 2517) โรงแรมป่ าตองบีช (พ.ศ. 2519) โรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน (พ.ศ.2522) และ โรงแรมพันทรี (พ.ศ. 2524 โรงแรมเดอะเจดียใ์ นปั จจุบนั ) ตามลําดับ ราคาห้องพักอยูใ่ นระดับอัตรา 240 – 320 บาทต่อคืน สามารถทํารายได้ เข้าสู่จงั หวัดปี หนึ่งไม่ต่าํ กว่า 300 ล้านบาท

พ.ศ. 2521 – 2524 การท่องเที่ยวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แต่ตอ้ งเผชิญกับวิกฤตการณ์ราคานํ้ามัน

ในขณะที่ภาคเอกชนมีความตื่นตัวในเรื่ องการท่องเที่ยว มีการลงทุนสร้างโรงแรมเกิดขึ้นตามแหล่งท่องเที่ยว ต่างๆ ได้แก่ พัทยา เชียงใหม่ ภูเก็ต มีจาํ นวนห้องพักเพิ่มมากขึ้นในทุกแหล่งท่องเที่ยวที่สาํ คัญ แต่จาํ นวนนักท่องเที่ยว ไม่ได้ เพิ่มขึ้นในอัตราหรื อปริ มาณที่สอดคล้องกับจํานวนห้องพักของโรงแรมที่เพิ่มขึ้นแต่อย่างใด ในปี พ.ศ. 2521 ผูป้ ระกอบการทางการท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต ได้รวมตัวกันก่อตั้งสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต โดยมีนายวิจิตร ณ ระนองเป็ นนายกสมาคมฯ ในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 แม้องค์การส่งเสริ มการท่องเที่ยว (อ.ส.ท.) ซึ่งจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2503 เพื่อส่งเสริ มการท่องเที่ยว แต่ใน ระยะแรกยังไม่ได้รับการสนับสนุนทางด้านงบประมาณเท่าที่ควร ตลอดระยะเวลา 20 ปี ที่ผา่ นมาการท่องเที่ยวได้มีการขยายตัว โดยภาคเอกชน ภาครัฐจะสนับสนุนในการทําประชาสัมพันธ์เท่านั้น เพราะรัฐยังให้ความสําคัญในการพัฒนาการเกษตร และ การ พัฒนาภาคอุตสาหกรรม มากกว่า ด้วยการขยายตัวของจํานวนนักท่องเที่ยว รัฐบาลเริ่ มพบเห็นความสําคัญของการท่องเที่ยว และ เริ่ มบรรจุการท่องเที่ยวไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 – 2514) ซึ่ งระบุไว้เพียงว่า “ ขยายงาน โฆษณาและงานเผยแพร่ ในต่างประเทศให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น และ ปรับปรุ งระเบียบการและพิธีการต่างๆ เพื่อจะอํานวยบริ การและ ให้ความสะดวกทุกด้านแก่นกั ทัศนาจร ในการเดินทางเข้าออกทั้งภายในและต่างประเทศ” และ เริ่ มมีรายละเอียดมากขึ้น ใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 – 2519) แต่ก็ยงั อยูใ่ นแนวทางการพัฒนาเช่นเดียวกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 เพียงเพิ่มเติมเรื่ องการตกแต่งพื้นที่สาธารณะ ให้สวยงามและการรักษาความ สะอาด กับการฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่ผใู ้ ห้บริ การของสถานประกอบการ จนเข้าสู่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (ระหว่างปี พ.ศ. 2520-2524) มีปัญหาต่างๆเกิดขึ้นมากมายหลายๆด้านที่ตอ้ งเร่ งแก้ไข ที่ระบุไว้ในแผนพัฒนาฉบับนี้ คือ 5


6

-

ปั ญหาการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว - ปั ญหาการก่อสร้างโรงแรม และ ทีพ ่ กั อาศัย ทีท่ าํ ลายสภาพแวดล้อม และปล่อยของเสียลงสูท่ ส่ี าธารณะ - ปั ญหาการควบคุมมาตรฐาน และจัดระเบียบธุรกิจท่องเทีย่ ว - ปั ญหาการยกระดับมาตรฐานกําลังคนในธุรกิจโรงแรม - ปั ญหาเรื่องความปลอดภัย เกีย่ วกับชีวติ และทรัพย์สนิ ของนักท่องเทีย่ ว - ปั ญหาหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของหน่ วยงานทีจ่ ะพัฒนาการท่องเทีย่ วของรัฐ ขาดความเอาใจใส่ ละเว้นการปฏิบตั ิ หน้าที่ และ ขาดความรับผิดชอบ โดยวางแนวทางในการแก้ไขปั ญหา ข้างต้น ด้วยแผนงานดังต่อไปนี้ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว พัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว จัดรูปธุรกิจต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการท่องเทีย่ ว ยกมาตรฐานกําลังคนในธุรกิจท่องเทีย่ ว โดยตั้งเป้ าหมาย “ให้เพิม่ นักท่องเที่ยว จาก 1.4 ล้านคนในปี พ.ศ. 2520 เป็ น 2.2 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2524 หรื อ เพิม่ ขึ้น ร้อยละ 11 เพิม่ จาก 4.9 วัน เป็ น 5.5 วัน ค่าใช้จ่ายของนักท่องเทีย่ วแต่ละคนในหนึ่งวันเพิม่ ขึน้ โดยเฉลีย่ ร้อยละ 5 หรือ เพิม่ ขึน้ จาก 800 บาท เป็ น 966 บาท ทําให้มรี ายได้จากการท่องเทีย่ วซึง่ จะกระจายไปยังธุรกิจต่างๆ เพิม่ ขึน้ โดยเฉลีย่ ร้อย ละ 19 หรือเพิม่ ขึน้ จาก 5,500 ล้านบาท เป็ น 11,700 ล้านบาท” ข้อมูลอ้างอิง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 บทที่ 4 การส่งออก การนําเข้า และการส่งเสริ มการท่องเที่ยว หน้า 240 ถึง 245 ข้อ 5 การส่งเสริ มการท่องเที่ยว จากที่คาดไว้วา่ นักท่องเที่ยวจะเพิ่มขึ้นตามที่ระบุไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 แต่ ปรากฏว่าได้เกิดความขัดแย้งในตะวันออกกลางขึ้น จนในที่สุดสงครามระหว่าง อิรัก และ อิหร่ าน อุบตั ิข้ นึ เป็ นเหตุให้ราคานํ้ามัน ในตลาดโลกสูงขึ้น จากเดิม 14-15 เหรี ยญต่อบาร์เรลในปี พ.ศ. 2515 พุง่ ขึ้นเป็ น 40 เหรี ยญ ต่อบาร์เรลในปี พ.ศ. 2516 จนกระทัง่ ราคานํ้ามันได้พงุ่ ขึ้นสูงสุดเป็ นประวัติการณ์ที่ราคา 68 – 69 เหรี ยญ ต่อบาร์เรล ในระหว่างปี พ.ศ. 2522 – 2524 การขึ้นราคานํ้ามันทําให้ประเทศไทยซึ่งเป็ นประเทศกําลังพัฒนาซึ่งต้องอาศัยการนําเข้านํ้ามันเพื่อการผลิตและพัฒนาประเทศ ทํา ให้ดุลการค้าขาดดุลมากยิง่ ขึ้น ประเทศประสบปั ญหาทางเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว การเติบโตทางการท่องเที่ยว ขยายตัวเพียงร้อยละ 8 ไม่ได้เป็ นไปในอัตราร้อยละ 11 ตามที่คาดหมาย ธุรกิจโรงแรมประสบภาวะขาดทุนกันเป็ นส่วนมาก

6


7

(ดูรายละเอียดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่ฉบับที่ ๑ ถึง ฉบับที่ ๑๐ ด้านท่องเที่ยวได้ในภาคผนวกท้ายเล่ม)

พ.ศ. 2524 ความขัดแย้งในการทําเหมืองแร่ กับ ธุรกิจการท่องเที่ยว

ในระหว่างที่รัฐบาลสนับสนุนส่งเสริ มการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวกําลังเติบโต นักท่องเที่ยวเพิ่มจํานวนมากขึ้น มีคนสนใจในการลงทุนด้านโรงแรมมากขึ้น ในช่วงเวลาดังกล่าวรัฐบาลที่มีพลเอกเปรม ติณณสูลานนท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี โดย มี พล ต.ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็ นรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม อนุมตั ิให้ ฟูคุนหลอง นักธุรกิจชาวมาเลเซีย ได้ รับประทานบัตร ในการทําเหมืองเร่ ในทะเล ณ บริ เวณหาดป่ าตอง แต่ผปู ้ ระกอบการท่องเที่ยวรวมตัวกันคัดค้าน เพราะเกรงว่า การทําเหมืองแร่ ในทะเลจะส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและความงดงามของท้องทะเลที่หาดป่ าตอง ข่าวการคัดค้านการทํา เหมืองในทะเล เป็ นที่สนใจแก่ประชาชนทัว่ ไป การคัดค้านต่อต้านปรากฏในสื่ อต่างๆ ทําให้รัฐบาลต้องทบทวนนโยบาย พรรค ประชาธิปัตย์โดยนายชวน หลีกภัย เดินทางไปยังหาดป่ าตองเพือ่ รับทราบข้อมูล ได้รวบรวมความคิดเห็นของผูป้ ระกอบการ ท่องเที่ยว มีการสรุ ปความคิดเห็นว่าสมควรส่งเสริ มการท่องเที่ยวเพราะมีการกระจายรายได้มากกว่า ในที่สุด รัฐบาลโดย นายกรัฐมนตรี พลเอก เปรม ติณณสูลานนท์ มีมติส่งเสริ มการท่องเที่ยว และยกเลิกสัมปทานเหมืองแร่ ของบริ ษทั ฟูคุนหลองใน เวลาต่อมา

พ.ศ. 2524 - 2526 วิกฤติเศรษฐกิจ กับ การวางแผนพัฒนาท่องเที่ยวภูเก็ต

เพื่อแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจ ในเดือนมิถุนายน 2524 รัฐบาลทําการกูเ้ งินจาก IMF (International Monetary Fund) จํานวน 814.5 ล้าน SDR (Special Drawing Rights) แต่เบิกถอนจริ งจํานวน 345 ล้าน SDR https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/RolesAndHistory/Pages/IMF.aspx ข้อ 4 ความสัมพันธ์กบั ประเทศ ไทย ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน 2525 รัฐบาลทําการกูเ้ งินจาก IMF เพิ่มอีกจํานวน 271.5 ล้าน SDR (1SDR เท่ากับประมาณ 1.3 USD และ 1USD เท่ากับ 23 บาท)

7


8

จากวิกฤตเศรษฐกิจที่ตอ้ งกูย้ มื เงินจาก IMF เพื่อการแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจในมิติตา่ งๆ รัฐบาลจึงมีนโยบายใน การส่งเสริ มการท่องเที่ยว รัฐบาลได้มอบให้ อ.ส.ท. (องค์การส่งเสริ มการท่องเที่ยว) ติดต่อกูเ้ งินจาก OECF (The Overseas Economic Cooperation Fund) เพื่อนํามาใช้ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยว ซึ่ งเป็ นโครงการ ช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น และในการให้กยู้ มื เงินครั้งนี้ทาง OECF ได้มอบให้ JICA (Japan International Cooperation Agency) มาทําการศึกษาจัดทําแผนพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต ผลการศึกษาสามารถสรุ ปเป็ น แผนพัฒนาขึ้น 3 เล่ม และได้นาํ แผนพัฒนาดังกล่าวนําเสนอชักชวนให้ผลู ้ งทุนชาวต่างประเทศเข้ามาลงทุนก่อสร้างโรงแรมใน จังหวัดภูเก็ต แผนพัฒนาทั้ง 3 เล่ม ได้แก่ 1. Greater Phuket 2. Phuket - Phang Nga - Krabi 3. Southern Thailand

ผลจากการศึกษา ได้เป็ นแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวของ จังหวัดภูเก็ตในระยะแรก ชักนําให้ ผูล้ งทุนจากต่างประเทศสนใจเข้ามาลงทุนเป็ นจํานวนมากในระยะเวลาต่อมา

พ.ศ. 2526

เที่ยวบินระหว่างประเทศเริ่ มบินตรงเข้าภูเก็ต

บริ ษทั การบินไทย จํากัด ทําการศึกษาหาข้อมูล และ พิจารณาจัดทําแผนการบิน ที่ จังหวัดภูเก็ต สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต เสนอและผลักดันให้ บริ ษทั การบินไทย จํากัด เปิ ดเส้นทางการบินระหว่างประเทศ ในเวลาต่อมา บริ ษทั การบินไทย จํากัดได้เริ่ มเส้นทาง การบิน สิ งคโปร์ - ภูเก็ต เป็ นครั้งแรก เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2526 โดยเริ่ มสัปดาห์ละ 2 เที่ยวบิน ได้ผลตอบรับเป็ นอย่างดี จึงได้เพิม่ เที่ยวบินเป็ นสัปดาห์ละ 3 และ 4 เที่ยวในเวลาต่อมา นับเป็ น เส้นทางการบินระหว่างประเทศ ที่ทาํ การบินโดยตรงเข้าสู่ภูมิภาคโดยไม่ผา่ นกรุ งเทพเช่นในอดีตที่ผา่ นๆมา

พ.ศ. 2526 - 2532 การลงทุนจากต่างชาติสร้างโรงแรม และสนามกอล์ฟ

ผลการศึกษาของ JICA พบว่าภูเก็ตมีศกั ยภาพสูงทางการท่องเที่ยว บริ ษทั ต่างชาติจึงได้มี การลงทุนสร้างโรงแรมขึ้นอย่างมากมาย อาทิเช่น Club Mediterranean จากประเทศฝรั่งเศส, Amanpuri โดยการร่ วมทุนจากนักธุรกิจประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น และ อินโดนิเซีย, Le Meridien จากนักธุรกิจประเทศสิ งคโปร์, Holiday Inn โดยบริ ษทั Lam Chang ประเทศ สิ งคโปร์, Phuket Yacht Club จากประเทศสิ งคโปร์, Dusit Laguna, Laguna Beach Club, Sheraton Grand Laguna Beach, Banyan Tree และ Allamanda โดยบริ ษทั ไทยวา ภายใต้การลงทุนของบริ ษทั Wah Chang ประเทศ สิ งคโปร์ เป็ นต้น

8


9

ส่วนผูป้ ระกอบการท้องถิ่นได้มีการสร้างโรงแรม Patong Merlin (2528), โรงแรม Coral Beach โดยบริ ษทั อิตาเลี่ยนไทย (2528 ปั จจุบนั ชื่อ Amari Coral Beach), โรงแรมบ้านไทย (2529), โรงแรม Club Andaman (2531) โรงแรม Patong Resort (2531) สนามกอล์ฟ Phuket Country Club (2531), Blue Canyon (2533) และ Century Country Club (2533 ปั จจุบน ั Loch Palm Golf Club)

พ.ศ. 2527

รัฐบาลประกาศลดค่าเงินบาท

จากภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 - 2526 ในเดือนพฤศจิกายน 2527 รัฐบาล โดยนายสมหมาย ฮุนตระกูล รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง และ นายนุกลู ป ประจวย เหมาะ เป็ นผูว้ า่ ธนาคารแห่งประเทศในขณะนั้น ประกาศลดค่าเงินบาท จากอัตราแลกเปลี่ยน 1 USD = 23 บาท เป็ น 1 USD = 27 บาท และ ต่อมารัฐบาลของพลเอก เปรม ติณณสู ลานนท์ พบว่า ประเทศมีดุลการค้า(Balance of Trade) ขาดดุลมาโดยตลอด เนื่องจากประเทศไทย เป็ นประเทศกําลังพัฒนา ยังไม่สามารถผลิดสิ นค้าเองได้ จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ นับตั้งแต่ พ.ศ. 2504 ได้กาํ หนดเป้ าหมายที่จะพัฒนาประเทศให้ เป็ นประเทศอุตสาหกรรม ดังนั้นจึงต้องนําเข้าสิ นค้าประเภทเครื่ องจักร วัตถุดิบ นํ้ามัน และ อื่นๆเพิม่ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปรากฏว่าสิ นค้าและเครื่ องจักรที่นาํ เข้ามีมูลค่ามากกว่า มูลค่าของสิ นค้าที่ส่งออก ส่งผลให้ดุลการค้าของประเทศขาดดุลมาโดยตลอด จากความพยายามในการหา แนวทางในการแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจ ได้พบว่าแม้วา่ ดุลการค้าจะขาดดุลมาโดยตลอด แต่ปรากฏว่า ดุลการชําระเงิน (Balance of Payment) กลับเกินดุลมาโดยตลอดเช่นกัน และยังพบอีกว่า เหตุที่ดุลการชําระเงินที่เกินดุลนั้น เนื่องมาจากรายได้ที่เกิดขึ้น จากภาคบริ การ คือ การขนส่ง และการท่องเที่ยว รัฐบาลจึงมีนโยบายส่งเสริ มการท่องเที่ยว และเพิ่มงบประมาณในการส่งเสริ ม และพัฒนาการท่องเที่ยวไปยังหน่วยงานต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เพิ่มงบประมาณทางการตลาดให้กบั องค์การส่งเสริ มการ ท่องเที่ยว (อ.ส.ท.) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็ นการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ท.ท.ท) การเพิ่มงบประมาณเป็ นไปอย่างก้าว กระโดด ปี งบประมาณ 2527 2528 2529 2530 ………. 2552 งบประมาณ ท.ท.ท. หน่วย : ล้านบาท 30 70 100 300 ………. 4,481.6 https://www.bot.or.th/Thai/Phrasiam/Documents/Special_2556/Special_No15.pdf page47

พ.ศ. 2527 - 2529 การส่ งเสริ มการท่องเที่ยวแบบพหุ ภาคีอย่างต่อเนื่อง

เศรษฐกิจของประเทศยังไม่ดีข้ ึนเท่าใดนัก ในเดือนมิถุนายน 2528 รัฐบาลยังต้องกูเ้ งินจาก IMF อีกจํานวน 400 ล้าน SDR (แต่เบิกถอนจริ งจํานวน 260 ล้าน SDR)

9


10 https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/RolesAndHistory/Pages/IMF.aspx ข้อ 4 ความสัมพันธ์กบั

ประเทศไทย ด้วยนโยบายส่งเสริ มการท่องเที่ยว บริ ษทั การบินไทย จํากัดได้เปิ ดเส้นทางบินระหว่างประเทศตรงเข้าจังหวัดภูเก็ต ภายหลังการ เปิ ดน่านฟ้าทําการบินตรงเข้าสู่ต่างจังหวัด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ร่ วมกับ บริ ษทั การบินไทย จํากัด และภาคเอกชนใน จังหวัดภูเก็ต ทําการส่งเสริ มการท่องเที่ยวโดยร่ วมกันเป็ นเจ้าภาพในการเชิญ บรรดานักเขียน เจ้าหน้าที่บริ ษทั นําเที่ยวในทุกระดับ สื่ อมวลชน จากประเทศต่างๆทัว่ โลก เดินทางมาประเทศไทย โดยเฉพาะที่จงั หวัดภูเก็ต มีการเดินทางเข้ามาเป็ นจํานวนมาก เนื่องจากเป็ นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ การเดินทางเข้ามาโดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น โดย ค่าโดยสาร ได้รับการอนุเคราะห์จาก บริ ษทั การบินไทย จํากัด บริ ษทั เดินอากาศไทย จํากัด(บ.ด.ท) และ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส่วน ค่าที่พกั ค่าขนส่ง และ ค่าอาหาร อนุเคราะห์โดย ผูป้ ระกอบการในท้องถิ่น ได้แก่ โรงแรมเพิร์ล โรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน โรงแรมภูเก็ตไอแลนด์รีสอร์ท โรงแรมป่ าตองบีช โรงแรมภูเก็ตคาบาน่า โรงแรมพันทรี บริ ษทั ภูเก็ตทราเวลแอนด์ทวั ร์จาํ กัด ร้านอาหารทุ่งคากาแฟ ตลอด ระยะเวลา 4 ปี (พ.ศ. 2527 – 2529) ได้มีการต้อนรับและให้การอนุเคราะห์ไปไม่ต่าํ กว่า 1,000 คน แม้ไม่ได้ประเมินตัวเลข อย่างเป็ นทางการ แต่พอจะประมาณการได้วา่ มีมูลค่าไม่ต่าํ กว่า 50 ล้านบาท

พ.ศ. 2529 ประชามติของชาวภูเก็ตเรื่ อง การท่องเที่ยว กับ โรงงานแทนทาลัม่

ในวันที่ 23 เดือนมิถุนายน 2529 เกิดกรณี เผาโรงงานแทนทาลัม่ เนื่องจากชาวภูเก็ตเห็นว่าเป็ นอันตรายต่อ สภาพแวดล้อม มีการต่อต้าน คัดค้านการเปิ ดโรงงานแทนทาลัม่ ด้วยนักวิชาการได้จดั นิทรรศการ ณ บริ เวณสะพานหิ น เพื่อ เผยแพร่ ช้ ีแจงให้เห็นภัยจากโรงแรมแทนทาลัม่ โดยแสดงให้เห็นว่าโรงงานดังกล่าวใช้กรดซัลฟูริค (กรดกัดแก้ว) ในการผลิตแร่ แทนทาลัม่ หลังการผลิตจะปล่อยนํ้าเสี ยจากโรงงานทิ้งลงสู่ใต้ดิน การเผยแพร่ ขอ้ มูลดังกล่าว ทําให้ประชาชนมีความหวาดกลัว ในเรื่ องผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม และพิษภัยของกรดซัลฟูริคที่ผา่ นขบวนการผลิตแร่ ดงั กล่าวที่ปล่อยลงสู่ใต้ดิน ซึ่งในระยะเวลา นั้นประชาชนโดยทัว่ ไปอาศัยนํ้าจากใต้ดินใช้ในการบริ โภค อุปโภค ต่างเกรงว่าจะกระทบถึงสุขภาพ อนามัย ตลอดจนชีวติ ความ เป็ นอยูข่ องชาวภูเก็ตในอนาคต ความหวาดกลัวได้แพร่ กระจายไปทัว่ ทั้งจังหวัดภูเก็ต ประชาชนนับหมื่นคนรวมตัวกันคัดค้าน การเปิ ดโรงงานดังกล่าว นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม เดินทางมายัง จังหวัดภูเก็ต เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชน แต่เกิดเหตุการณ์ประท้วงและเดินขบวน ณ บริ เวณ สนามบิน และ บริ เวณอนุสาวรี ยท์ า้ วเทพกระษัตรี ท้าวศรี สุนทร ทําให้นายสนอง รอดโพธิ์ทอง ผูว้ า่ ราชการจังหวัดภูเก็ต เกรงว่ารัฐมนตรี ไม่ได้รับความปลอดภัย จึงเปลี่ยนกําหนดการจากการที่จะไปรับ ฟังความคิดเห็นที่บริ เวณชุมนุม ณ ศาลากลางจังหวัด แต่จะให้เชิญผูน้ าํ ชุมนุมทั้ง 8 คนไปพบที่โรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน เพื่อรับฟัง ความคิดเห็นและเจรจาหาข้อยุติในการชุมนุมคัดค้านกับรัฐมนตรี ครั้นต่อมารัฐมนตรี เกรงว่า หากผูช้ ุมนุมทราบว่ามีการพบปะ หารื อ ณ โรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน ผูช้ ุมนุมจะย้ายการชุมนุมมาที่โรงแรม เนื่องจากสถานที่ที่ชุมนุมอยูห่ ่างจากโรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน เพียง 2-3 กิโลเมตรเท่านั้น จึงมีดาํ ริ ให้ยา้ ยสถานที่พบปะกับผูน้ าํ การชุมนุมทั้ง 8 ไปยังจังหวัดพังงาแทน ดังนั้นเมื่อผูน้ าํ กลุ่ม ชุมนุมเดินทางมาถึง รับแจ้งว่าให้ติดตามไปยังจังหวัดพังงาด้วย อย่างไรก็ตามการย้ายสถานที่ประชุม ตามที่รัฐมนตรี หวัน่ เกรงจะ เกิดสถานะการณ์วนุ่ วายขึ้นนั้นหาได้คลี่คลายไปได้ ด้วยมีการประกาศผ่านเครื่ องขยายเสี ยงให้ผชู ้ ุมนุมทราบว่ามีการพบปะหารื อ กันระหว่างผูน้ าํ กลุ่มชุมนุม กับ รัฐมนตรี จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา อยูข่ ณะนี้ที่โรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน ผูช้ ุมนุมจึงย้ายการชุมนุม โดยเดินขบวนไปยังโรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน จากที่ได้รับฟังมาว่าเป็ นสถานที่ที่มีการประชุมของรัฐมนตรี กบั ผูน้ าํ การชุมนุมทั้ง 8 10


11

แต่เมื่อไปถึงกลับไม่พบผูใ้ ด ทําให้กลุ่มผูช้ ุมนุมเกิดความไม่พอใจ ขยายผลไปสู่การเผาโรงงานแทนทาลัม่ และโรงแรมภูเก็ตเมอร์ ลินในเวลาต่อมา ในขณะที่จงั หวัดภูเก็ต ยังคงมีความขัดแย้งในการพัฒนาทางการท่องเที่ยว กับ การทําอุตสาหกรรมเหมือง แร่ เหตุการณ์เผาโรงงานแทนทาลัม่ จึงเสมือนเป็ นการประกาศเจตนารมณ์ของชาวภูเก็ตต่อเรื่ องสิ่ งแวดล้อม กับ ธุรกิจเหมืองแร่ ดีบุก ประจวบกับ ณ เวลานั้นอนาคตของอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ไม่มีความสดใสเท่าใดนัก ด้วย ราคาแร่ ดีบุกมีราคาที่ตกตํ่าลง อย่างมากไม่คุม้ ค่าต่อการประกอบการ จากเหตุการณ์เผาโรงงานแทนทาลัม่ จึงขยายผลบ่งชี้ให้มีทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ภูเก็ตให้เป็ นเมืองท่องเที่ยวอย่างชัดเจนขึ้น ภายหลังเหตุการณ์สงบรัฐบาลจึงมีนโยบายส่งเสริ ม และสนับสนุนงบประมาณทุก ด้านให้กบั จังหวัดภูเก็ตให้เป็ นเมืองท่องเที่ยวนานาชาติ อุตสาหกรรมเหมืองแร่ ได้สิ้นสุดลง 2-3 ปี ต่อมา จังหวัดภูเก็ตเริ่ มเดิน ทางเข้าสู่เส้นทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยว

พ.ศ. 2530 เฉลิมฉลองปี ท่องเที่ยวไทย Visit Thailand Year กับ เหตุการณ์ เครื่ องบินของบริ ษทั เดินอากาศไทย จํากัด ตกที่อ่าวปอ การแก้ไขเศรษฐกิจโดยใช้ยทุ ธศาสตร์การท่องเที่ยว เริ่ มประสบผลให้เห็นเป็ นรู ปธรรม ความตื่นตัวของ ภาคเอกชนในทุกจังหวัด และ ส่วนราชการทุกจังหวัด ด้วยการค้นหาศักยภาพทางการท่องเที่ยวของจังหวัดของตนเอง ประจวบ กับในปี 2530 ซึ่งเป็ นปี ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระชนม์มายุครบรอบ 60 พรรษา รัฐบาลได้จดั สรรงบประมาณ ทางการตลาด เพิ่มขึ้น 3 เท่าตัว จาก 100 ล้านบาทเป็ น 300ล้านบาท และทําการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสดังกล่าวด้วย โครงการ ปี ท่องเที่ยวไทย (Visit Thailand Year) ในปี นี้เป็ นครั้งแรกที่ประชาชนชาวไทย ได้มีโอกาสพบเห็นว่าทัว่ ประเทศ ไทยในแต่ละภาค แต่ละจังหวัด มีประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต สิ นค้าหัตถกรรม การประกอบอาชีพ ที่แตกต่าง มากมาย หลากหลาย แบบไม่เคยประสบพบเห็นมาก่อน เป็ นที่ตื่นตาตื่นใจต่อผูพ้ บเห็น นับเป็ นการค้นพบทรัพยากรทางการท่องเที่ยวของ ไทยที่มีคุณค่าเป็ นอย่างมาก การค้นพบและนําเสนอทรัพยากรที่มีคุณค่าเหล่านี้ ดําเนินการโดยกระทรวงมหาดไทย และการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้ขยายผลให้การตลาดของการท่องเที่ยวไทยขยายตัวไปสู่ระดับภูมิภาค สามารถพัฒนาให้ประเทศ ไทยเป็ นศูนย์กลางทางการท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉี ยงใต้ แข่งขันกับสิ งคโปร์ และ ฮ่องกง ซึ่งได้มีการพัฒนาการ ท่องเที่ยวและเติบโตและเป็ นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของเอเซียมาก่อน ในเดือนสิ งหาคม 2530 เครื่ องบินของบริ ษทั เดินอากาศไทย จํากัด (บ.ด.ท.) เดินทางจาก หาดใหญ่มุ่งหน้า ไปยังจังหวัดภูเก็ต จากความสับสนในการให้ขอ้ มูลของเจ้าหน้าที่วทิ ยุการบิน ระหว่างนักบินของสายการบินดรากอนแอร์ และ นักบินของบริ ษทั เดินอากาศไทย จํากัด ที่ลงจอดในเวลาใกล้เคียงกัน ไม่ชดั เจนว่าจะให้เครื่ องบิน ลําใดนําเครื่ องบินลงก่อน ทําให้เครื่ องบินของบริ ษทั เดินอากาศไทย จํากัด ตกลงในท้องทะเล บริ เวณอ่าวปอขณะกําลังร่ อนลงสนามบินภูเก็ต มีผเู ้ สี ยชีวติ ทั้งลํา รวมจํานวนทั้งสิ้น 83 คน เป็ น ครั้งแรกในประวัติศาสตร์การบินของประเทศที่มีผเู ้ สี ยชีวติ เป็ นจํานวนมาก รัฐบาลจึงมีนโยบาย ปรับปรุ ง และ เพิ่มประสิ ทธิภาพของเครื่ องมือเครื่ องใช้ของสนามบินภูเก็ตให้มีความทันสมัย โดย

11


12

มีการติดตั้งเครื่ องมือช่วยเดินอากาศนําเครื่ องร่ อนลงสู่พ้นื ดิน (ILS – Instrumental Landing Systems) ที่ทนั สมัยใน เวลาต่อมา

พ.ศ. 2531-2533 นโยบายเปิ ดน่ านฟ้ าให้สายการบินต่างชาติบินตรงเข้าภูเก็ต กับ การขยายท่าอากาศยานจ.ภูเก็ต

ด้วยนโยบายเปิ ดน่านฟ้า (Open Sky Policy) มีสายการบินจากประเทศใกล้เคียง ทําการบินเข้าจังหวัดภูเก็ต โดย สายการบิน Dragon Air เริ่ มบินตรงฮ่องกง - ภูเก็ต เมื่อ พ.ศ. 2530 สายการบิน Malaysia Airlines เริ่ มบินตรง กัวลาลัมเปอร์ - ภูเก็ต เมื่อ พ.ศ. 2531 สายการบิน Silk Air เริ่ มบินตรง สิ งคโปร์ - ภูเก็ต เมื่อ พ.ศ. 2532 และติดตามด้วยสายการบินอื่นๆอีกเป็ นจํานวนมาก เช่น China Airlines บินตรงจากไต้หวัน, Asiana บินตรง จากเกาหลี, และ สายการบิน Charter flights บินตรงจากยุโรปอีกจํานวนมาก เช่น LTUจากประเทศเยอรมันนี , Martin Air จากประเทศเนเทอร์ แลนด์, Condor จากประเทศเยอรมันนี , ฯลฯ เป็ นต้น ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2532 รัฐบาลได้โอนท่าอากาศยานภูเก็ตซึ่งเดิมอยูใ่ นความดูแลของกรมการบินพาณิ ชย์ให้การท่า อากาศยานแห่งประเทศไทยบริ หารจัดการ และทําการขยายท่าอากาศยานให้สามารถรองรับเครื่ องบินขนาดใหญ่ข้ ึน-ลงได้ พร้อม ปรับปรุ งขยายอาคารผูโ้ ดยสาร สามารถรองรับผูโ้ ดยสารได้ถึง 2.5 ล้านคนต่อปี และ 5 ล้านคนในปี พ.ศ. 2539

พ.ศ. 2531-2535 ปั ญหาโครงสร้างพื้นฐานและบุคลากร

จากการส่งเสริ มการท่องเที่ยว โดยภาครัฐ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บริ ษทั การบินไทยจํากัด สมาคมธุรกิจการ ท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต โดยผูป้ ระกอบการโรงแรม และบริ ษทั นําเที่ยว (ในระหว่างปี พ.ศ. 2526 - พ.ศ. 2529) ทําให้จงั หวัด ภูเก็ตกลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ที่ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ ว และ ขยายตัวเป็ นอย่างมาก จากจํานวนห้องพัก ในปี พ.ศ. 2526 ซึ่ งแต่เดิมมีอยูเ่ พียง 3,000 ห้อง แต่ในระหว่างปี พ.ศ. 2526 -2532ได้มีการลงทุนก่อสร้างโรงแรมมีโรงแรมเกิดขึ้น อย่างมากมาย จนถึงปี พ.ศ. 2534 มีจาํ นวนห้องพักรวมทั้งสิ้นประมาณ 15,000 ห้องโดยเฉลี่ยจํานวนห้องพักเพิม่ ขึ้นปี ละ 2,000 ห้อง หรื อ 10,000 ห้องในเวลาเพียง 5-6 ปี จึงเกิดปั ญหาเรื่ องโครงสร้างพื้นฐาน ปั ญหาการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ไม่มี ถนนเข้าสู่ชายหาดต่างๆ(Accessibility) ดังนั้น โดยองค์กรเอกชนสมาคมธุรกิจท่องเที่ยว หอการค้าจังหวัดภูเก็ต และ ผูป้ ระกอบการภาคเอกชน ได้ร่วมคิด ร่ วมกันเสนอ และผลักดันให้มีการพัฒนาปรับปรุ งแก้ไขโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ได้แก่การ สร้าง ถนน นํ้า ไฟฟ้า เข้าสู่ชายหาด รวมถึง การเตรี ยมการป้ องกันสภาพแวดล้อมเสี ยหาย ดังนั้น ระบบบําบัดนํ้าเสี ยที่หาดป่ าตอง จึงได้มีข้ ึนในปี พ.ศ. 2532 จากการสร้างโรงแรมตามชายหาดต่างๆ แม้วา่ มีการแก้ไขปั ญหาในเรื่ องโครงสร้างพื้นฐาน ด้วยการ พัฒนาการเข้าถึงชายหาดและแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งอาศัยงบประมาณจากภาครัฐ แต่ยงั มีปัญหาที่ติดตามมาแม้จะไม่ตอ้ งอาศัย งบประมาณที่สูงมากนักแต่ตอ้ งใช้เวลา ความรู ้ความเข้าใจ และความอุตสาหะเป็ นอย่างมากในการ พัฒนาแก้ไข นัน่ คือ ปั ญหาบุคลากรที่ขาดแคลนอย่างรุ นแรง สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต หอการค้าจังหวัดภูเก็ต ผูป้ ระกอบการโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต จึงได้ร่วมมือกับสถาบันการศึกษา อาทิ เช่น วิทยาลัยอาชีวะภูเก็ต วิทยาลัยครู ภูเก็ต (ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต) วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต 12


13

(ปั จจุบนั มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ คณะการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว) ในการผลิตนักศึกษาให้เพียงพอเพื่อสนองตอบต่อ ความต้องการของตลาด โดยพัฒนาหลักสูตรในชั้นเรี ยนควบคู่ไปกับการส่งนักศึกษาไปฝึ กงานในสถานประกอบการ เป็ นการ เริ่ มต้นไปสู่การศึกษาในระบบทวิภาคี (Dual Vocational Training) นอกจากการพัฒนาบุคลากรในสถาบันการศึกษา ได้มีการพัฒนาบุคลากรที่อยูน่ อกสถาบันการศึกษา ได้แก่พนักงานที่ทาํ งานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวได้รับการพัฒนาความรู ้ความสามารถให้มากขึ้น โดย สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต ส่งเสริ มและสนับสนุนให้ชมรมอาหารและครื่ องดื่ม ชมรมพ่อ ครัว จัดให้มีกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็ นการพัฒนาฝี มือ และ อาชีพ ได้แก่ การจัดงานเทศกาลอาหารทะเล การแข่งขันการผสมเครื่ องดื่ม การแข่งขันการจัดดอกไม้ การแข่งขันการจัดโต๊ะอาหาร การแข่งขันการจัดปูที่นอน เป็ นต้น

พ.ศ. 2530 - 2538 บทบาทขององค์กรภาคเอกชนในการส่ งเสริ มการท่องเที่ยว

ในระหว่างปี 2530 ต่อเนื่อง ถึงปี 2538องค์กรภาคเอกชนได้มีบทบาทในการ ขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ตเป็ นอย่างมาก องค์กรดังกล่าวได้แก่ หอการค้า จังหวัดภูเก็ต สมาคมท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต ชมรมอาหารและเครื่ องดื่ม ชมรมพ่อครัว จัดกิจกรรมเพือ่ การประชาสัมพันธ์ อันเป็ นการส่งเสริ มการท่องเที่ยวเช่น เทศกาลอาหารทะเล การประกวดมิสภูเก็ต กิจกรรมส่งเสริ มให้ภูเก็ตเป็ นสถานที่เก็บตัวผูเ้ ข้าร่ วมประกวดนางสาวไทย มิสไทยแลนด์เวิลด์ บุฟเฟต์ชายหาดยาวที่สุดในโลก การจัดทํากิจกรรมเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็ นการประชาสัมพันธ์ แสดงถึงศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว และ ความมุ่งมัน่ ในการ พัฒนาให้เป็ นเมืองท่องเที่ยว ชั้นนําของโลก ด้านกีฬา สมาคมเรื อใบแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บริ ษทั Johnnie Walker บริ ษทั การบินไทย จํากัด บริ ษทั ลากูน่าดีเวลลอปเม้นท์ จํากัดร่ วมกันจัดการแข่งขันกีฬาต่างๆ อาทิเช่น การแข่งขันเรื อใบ King Cup Regatta ณ โรงแรมภูเก็ตยอช์ทคลับ การแข่งขันกอล์ฟ Johny Walker Classic ณ สนามกอล์ฟ Blue Canyon Country Club การแข่งขันไตรกีฬา ณ Laguna Phuket เป็ นต้น การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ที่นบั ว่ามีผลในระดับนานาชาติ เป็ นอย่างมาก เมื่อมีการนําผูส้ ร้างภาพยนตร์จากต่างประเทศ เข้ามาเลือกใช้ภูเก็ตเป็ นสถานที่ในการถ่ายทํา ภาพยนตร์ออกฉายในโรงภาพยนตร์ในระดับนานาประเทศ อาทิเช่น ภาพยนตร์เรื่ อง Killing Field, Good Morning Vietnam, Casualties of War เป็ นต้น ปี 2536 มูลนิธิทา้ วเทพกระษัตรี ท้าวศรี สุนทร ร่ วมกับกลุ่มผูส้ นใจ ประวัติศาสตร์ภูเก็ต ทําการรื้ อฟื้ นสถานที่ประวัติศาสตร์ เพื่อเป็ นอนุสรณ์เตือนใจให้ ชาวภูเก็ต และบุคคลทัว่ ไปให้ตระหนักถึงประวัติความเป็ นมาของจังหวัดภูเก็ต และพัฒนาขึ้นเป็ นอนุสรณ์ สถานเพื่อเป็ นการแสดงให้เห็นเป็ นรู ปธรรมต่ออนุชนรุ่ นต่อไป ในขณะเดียวกันเพื่อเป็ นผลิตภัณฑ์ทางการ ท่องเที่ยวทางด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เป็ นการรองรับนักท่องเที่ยวอีกกลุ่มหนึ่งที่สนใจในเรื่ อง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม จึงได้มีการหยิบยกสถานที่ประวัติศาสตร์ ขึ้นมาพิจารณาบูรณะ รื้ อฟื้ นหลาย โครงการ อาทิเช่น วัดม่วง(บูรณะปรับปรุ งแล้วใช้ชื่อว่า สวนพระพุทธศาสนาวัดม่วงโกมารภัจจ์) โคกชนะ 13


14

พม่า(ปรับปรุ งพื้นที่ ในชื่อโครงการ อนุสรณ์สถานถลางชนะศึก) และ ยังมีอีกกว่า 10 โครงการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรับ ไปดําเนินการให้มีความสมบูรณ์

พ.ศ. 2530 – 2539 โครงการช่ วยเหลือภูเก็ตจากองค์ กรระหว่างประเทศ ระหว่างปี 2530 - 2534 ประเทศสหรัฐอเมริ กา โดยองค์กร United States Agency for International Development (USAID) ได้เสนอให้ความช่วยเหลือประเทศไทยผ่านสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ และได้เลือก จังหวัดภูเก็ตเป็ นตัวอย่างในการศึกษาในเรื่ องผลกระทบสิ่ งแวดล้อม เนื่องจากมีการเจริ ญเติบโตทางการท่องเที่ยวอย่างรวดเร็ ว ได้ มีการก่อสร้างโรงแรมเกิดขึ้นเป็ นจํานวนมาก และกําลังเริ่ มส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผลกระทบต่อทรัพยากรชายฝั่งทะเล เนื่องจากตะกอนดินจากการ ก่อสร้างตามแนวชายฝั่งทะเลได้ไหลลงสู่ทะเล ทําลายแนวปะการัง หากปล่อยให้มีการ ก่อสร้างโดยไม่มีมาตรการที่ป้องกันที่ดี จะส่งผลให้ปะการังตายหมด ความใสสะอาดของทะเลรอบเกาะภูเก็ตจะสูญหายไป ศักยภาพทางการท่องเที่ยวที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มายังภูมิภาคนี้ก็จะหมดไป โครงการช่วยเหลือจาก USAID นี้ภายใต้ชื่อโครงการว่า Coastal Resource Management Project (CRMP) ผลจากการศึกษาพบว่า การจัดการในเรื่ องสิ่ งแวดล้อม มีอยู่ 4 เรื่ องที่ตอ้ งเร่ งดําเนินการให้เกิดขึ้น ได้แก่ 1. การสร้างจิตสํานึกของประชาชน ของผูม้ ีส่วนได้ ส่วนเสี ย ช่วยกันอนุรักษ์รักษาสิ่ งแวดล้อม 2. การมีกฎหมายเพื่อปกปั กษ์รักษาทรัพยากร และคุม้ ครองสิ่ งแวดล้อม 3. การจัดสรรงบประมาณ เพื่อจัดการรักษาคุม้ ครองสิ่ งแวดล้อมอย่างมีประสิ ทธิภาพ และ 4. การบังคับใช้กฎหมาย เพื่อให้การคุม้ ครองรักษาสิ่ งแวดล้อม สัมฤทธิ์ผล ระหว่างปี 2535 - 2538 GTZ (Deutsche Gesellschaft für Technische Zusammenarbeit) จากประเทศเยอรมันนี ให้ความช่วยเหลือในการศึกษาเรื่ อง การพัฒนาเมือง (Urban Development) เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาเมืองในเขตเทศบาลเมืองภูเก็ต ระหว่างปี 2536 - 2539 ICSC (International Center for Sustainable City) จากประเทศคานา ดา ให้ความช่วยเหลือในการศึกษา เรื่ อง การบริ หารจัดการขยะและนํ้าเสี ย (Solid Waste and Waste Water Management) และได้จดั ตั้ง กลุ่มไข่มุกขาว (White Pearl Group) ขึ้น เพื่อรณรงค์ให้ประชาชน องค์กรรัฐ และเอกชน รู ้จกั การจัดการขยะในเรื่ อง 3 R ได้แก่ Reduce, Reuse, Recycle ส่งเสริ มให้มีธุรกิจรับซื้อขยะและของเก่า เกิดกระบวนการ ระบายของเสี ยที่เกิดจากธุรกิจโรงแรมเข้าสู่กระบวนการ 3R ธุรกิจรับซื้อขยะและของเก่าขยายตัวมากขึ้นเพื่อรองรับการจัดการ ขยะ ภายหลังเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2540 เรื่ องสิ่ งแวดล้อม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนขาดความเอาใจใส่ หรื อ ไม่ได้ให้ความสําคัญมากนัก

พ.ศ. 2531 การอนุญาตเที่ยวบินจากประเทศต่างๆในลักษณะเช่าเหมาลํา (Chartered Flights)

14


15

ภายหลังจากการปรับปรุ งท่าอากาศยานภูเก็ต และ รัฐบาลโดยกรมการบินพาณิ ชย์ มีนโยบาย เปิ ดน่านฟ้า (Open Sky Policy) มีสายการบินต่างชาติในรู ปแบบเช่าเหมาลํา (Chartered Flights) เกิดขึ้นมากมายอย่างต่อเนื่ อง บินตรงเข้าจังหวัดภูเก็ต อาทิเช่น พ.ศ. 2531 สายการบิน LTU จาก ดุสเซลดอล์ฟบินตรงเข้าภูเก็ต พ.ศ. 2532 สายการบิน Condor จากแฟรงเฟริ ต บินตรงเข้าภุเก็ต พ.ศ. 2534 สายการบิน Martin Air จากเนเทอร์แลนด์ บินตรงเข้าภูเก็ต และ สายการบินอื่นๆ อีกเป็ นจํานวนมากเพิ่มขึ้นในแต่ละปี

พ.ศ. 2533 เศรษฐกิจเฟื่ องฟูดว้ ยนโยบายเสรี ทางการเงิน BIBF (Bangkok

International Banking Facilities)

นับตั้งแต่เศรษฐกิจของประเทศตกตํ่าในระหว่างปี พ.ศ. 2524 – 2526 รัฐบาลโดย พลเอกเปรม ติณณสูลานนท์ ได้แก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจ โดยอาศัยรายได้จากการท่องเที่ยว และ ส่งเสริ มการส่งออก จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. 2531รัฐบาลโดย พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ ได้รับการ เลือกตั้ง เป็ นนายกรัฐมนตรี ด้วยเศรษฐกิจของประเทศมีความเติบโตอย่างต่อเนื่องและมีฐานะทาง เศรษฐกิจมัน่ คงมากขึ้นในระยะเวลา 3-4 ปี ที่ผา่ นมา ได้มีนโยบายเปลี่ยนสนามรบ เป็ นสนาม การค้า และมีความมัน่ ใจว่าประเทศไทยมีศกั ยภาพสูงเพียงพอที่จะสามารถแข่งขันกันนานาประเทศได้ มีเป้ าหมายพัฒนาให้ ประเทศไทย เข้าอยูใ่ นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NICs – Newly Industrialized Countries) โดยคาดหวังที่จะ เป็ นเสื อตัวที่ 5 แห่งเอเซีย (ในขณะนั้นมีเสื อทางเศรษฐกิจแล้ว 4 ตัวได้แก่ เกาหลีใต้ ไต้หวัน สิ งคโปร์ ฮ่องกง) ประจวบกับเศรษฐกิจของโลกดีข้ ึนภายหลังจากวิกฤตการณ์น้ าํ มันผ่านพ้นไป การค้าระหว่างประเทศมีความ เจริ ญเติบโตมากขึ้น ทําให้การเจรจาของแกตต์ (GATT – General Agreement on Tariffs & Trade) ซึ่งองค์การ การค้าโลก (WTO – World Trade Organization) ได้จดั ตั้งขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อทําการเจรจาระหว่าง ประเทศในเรื่ องการลดอัตราภาษีระหว่างกันในการส่งเสริ มการค้าเสรี ระหว่างกัน ได้มีความพยายามที่จะบรรลุขอ้ ตกลงมาตั้งแต่ สงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ไม่ประสบผล เพราะยังมีความแตกต่างกันระหว่างประเทศพัฒนา และ กําลังพัฒนาเป็ นอย่างมาก แต่เมื่อ การค้า อุตสาหกรรม ของแต่ละประเทศได้พฒั นาก้าวหน้ามากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเทศที่ดอ้ ยพัฒนา และ กําลังพัฒนา มีการ เปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน ดังนั้นการเจรจาของแกตต์ในรอบอุรุกวัยจึงบรรลุถึงข้อตกลง เพราะมีจาํ นวนประเทศเข้าร่ วมลงนามใน ข้อตกลงถึง 123 ประเทศ ซึ่งเป็ นข้อตกลงที่จะสนับสนุนส่งเสริ มในความเป็ นเสรี ในรู ปแบบต่างๆ เช่น การค้าเสรี (Free Trade กําหนดให้บรรลุเป้ าหมายภายในปี ค.ศ. 2010 หรื อ พ.ศ. 2553) การลงทุนเสรี (Free Investment กําหนดให้บรรลุ เป้ าหมายภายในปี ค.ศ. 2020 หรื อ พ.ศ. 2563) การที่รัฐบาลได้เข้าร่ วมลงนามในข้อตกลงนโยบายเสรี ทางการค้าของ แกตต์ (GATT) รัฐบาลโดย ธนาคารแห่ งประเทศไทย ได้ประกาศใช้นโยบายการเงินเสรี (Free Finance) เป็ นอันดับแรก โดยให้มีความเป็ นเสรี ในการนําเงินเข้า และ ส่ งเงินออกจากประเทศ ซึ่ ง แต่เดิมการนําเงินเข้าประเทศ หรื อ ส่งออกจากประเทศนั้นจะต้องส่งเรื่ องให้ธนาคารแห่งประเทศ ไทยพิจารณาอนุญาตก่อน ดังนั้นเมื่อการนําเงินเข้าและส่งเงินออกเป็ นไปอย่างเสรี สามารถส่งเสริ ม 15


16

การค้าให้มีความคล่องตัวมากขึ้น เป็ นโยบายที่จะให้กรุ งเทพฯเป็ นศูนย์กลางตลาดการเงินของโลก BIBF (Bangkok International Banking Facilities) เฉกเช่น ฮ่องกง และ สิ งคโปร์ ซึ่งประสบความสําเร็ จในการเป็ นศูนย์การเงินแห่ ง ภูมิภาคเอเชีย นโยบายนี้ได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมไทยที่รุนแรงอย่างใหญ่หลวงในเวลาต่อมา เป็ นเหตุให้ เกิดปั ญหาทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดปั ญหาความวุน่ วายทางการเมือง สังคมขัดแย้งและแตกแยกต่อเนื่องจนถึง ปัจจุบนั

พ.ศ. 2534 พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม และ พ.ร.บ. ธุรกิจนําเที่ยว และมัคคุเทศก์ คลอดในยุค รสช.

ด้วยรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ซึ่งสื่ อมวลชนให้ฉายาว่า “บุฟเฟต์คาบิเนต” ใช้เปรี ยบเปรยกับการกระทํา ของบรรดารัฐมนตรี ท้ งั หลายในรัฐบาลชุดนี้ ที่สามารถร่ วมไม้ร่วมมือกันทําการทุจริ ตกันอย่างเต็มที่ เหมือนกับการรับประทาน อาหารบุฟเฟ่ ต์ ที่จะตักอาหารขึ้นมารับประทานได้สะดวกในปริ มาณเท่าใดก็ได้ ด้วยปรากฏมีข่าวเกี่ยวกับการทุจริ ตเกิดขึ้น มากมายในคณะรัฐมนตรี ชุดนี้ รัฐมนตรี หลายท่านเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในการทุจริ ตและประพฤติมิชอบ สร้างความเคลือบ แคลงใจให้กบั ประชาชนและสื่ อมวลชนเป็ นอย่างมาก ดังนั้นในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ คณะรักษาความสงบเรี ยบร้อยแห่งชาติ (รสช.) โดย พลเอกสุจินดา คราประยูร ผูบ้ ญั ชาการทหารบก, พลเอกอิสระพงษ์ หนุนภักดี และพลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ผู ้ บัญชาการทหารอากาศได้ยดึ อํานาจจากรัฐบาล โดยให้เหตุผลในการปฏิวตั ิยดึ อํานาจว่า ด้วยมีการฉ้อราษฎร์บงั หลวงอย่างหนัก ในรัฐบาล และรัฐบาลพยายามทําลายสถาบันทหาร โดยหลังจากยึดอํานาจ คณะ รสช. ได้เลือก นายอานันท์ ปั นยารชุน เป็ น นายกรัฐมนตรี รักษาการ มีการแต่งตั้งสภานิติบญั ญัติแห่งชาติข้ นึ รวมทั้งการแต่งตั้งคณะกรรมการร่ างรัฐธรรมนูญ 20 คน เพื่อร่ าง รัฐธรรมนูญใหม่

จากผลของการศึกษาตามโครงการ CRMP ตามที่ได้รับการสนับสนุนจากยูเสด (USAID) ได้มีผลสรุ ปและ เสนอให้ตราขึ้นเป็ นกฎหมาย ชื่อ “พระราชบัญญัติส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ พุทธศักราช 2535” จึงอาศัย โอกาสที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล จึงนําร่ างพระราชบัญญัติดงั กล่าวเข้าสู่สภานิติบญั ญัติแห่งชาติ ในยุคสมัย รสช. ซึ่งมี นาย อานันท์ ปั นยารชุน เป็ นนายกรัฐมนตรี ย่อมมีความสะดวกในการผ่านกฎหมายมากกว่าสภาผูแ้ ทนราษฎรที่มีสมาชิกสภาผูแ้ ทน ราษฎรมาจากการเลือกตั้ง เนื่องจากกฎหมายที่จะผ่านสภาผูแ้ ทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งนั้นมีนอ้ ยมาก หรื อ แทบจะไม่มีเอา เสี ยเลย ด้วยจังหวัดภูเก็ตกําลังมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยว และเติบโตอย่างรวดเร็ ว ประกอบกับประเทศมีเศรษฐกิจที่ ดีดว้ ยนโยบายการเงินเสรี จากโครงการ BIBF ทําให้การเงินโดยทัว่ ไปมีสภาพคล่องสูงมาก มีการซื้อขายที่ดิน และมีโครงการ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เกิดขึ้นโดยทัว่ ไปอย่างมากมาย และมีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ดังนั้นกฎหมายฉบับนี้จึงได้นาํ ไปใช้ บังคับที่จงั หวัดภูเก็ตทันที การท่องเที่ยวได้เติบโตเป็ นอย่างมาก ด้วยอัตราเร่ งที่รัฐบาลได้พยายามส่งเสริ ม ตลอดระยะเวลา 10 ปี ที่ผา่ นมา ธุรกิจโรงแรมที่รองรับนักท่องเที่ยวเติบโตเพิ่มจํานวนห้องพักเป็ นอย่างมากในทุกพื้นที่ โดยเฉพาะที่จงั หวัดภูเก็ต ใน ขณะเดียวกันกับที่จาํ นวนโรงแรมเพิ่มมากขึ้น แต่ยงั มีธุรกิจอื่นเพิ่มขึ้นเป็ นอย่างมากด้วย แต่ยงั ไม่ได้ให้ความสําคัญเท่าที่ควร นัน่ คือ ธุรกิจนําเที่ยว และ อาชีพมัคคุเทศก์ เนื่องจากไม่สามารถเห็นภาพได้ชดั เจน ในเรื่ องการลงทุนหรื อการจ้างแรงงาน แต่เป็ นกลุ่ม ธุรกิจและบุคลากรที่มีความใกล้ชิดนักท่องเที่ยวมาก แต่ไม่ได้รับการส่งเสริ มและพัฒนาเท่าที่ควร บุคลากรจึงขาดความรู ้ความ 16


17

เข้าใจ การดําเนินธุรกิจจึงไม่มีมาตรฐานที่ดีเพียงพอกับการเติบโตทางการท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิดภาพพจน์ในทางลบในหลายๆ ด้านอาทิเช่น ความไม่เป็ นมาตรฐาน การให้ขอ้ มูลที่ไม่ถูกต้อง การหาผลประโยชน์ที่เกินควรเข้าลักษณะเป็ นการหลอกลวง ด้วย ผลที่เกิดขึ้นจึงมีการออกกฎหมายเพื่อการกําหนดมาตรฐานและจัดระเบียบ ดังนั้นรัฐบาลในยุคสมัย รสช. โดยนายอานันท์ ปั นยา รชุน เป็ นนายกรัฐมนตรี ได้ตรา “พระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2535” ขึ้น ด้วยเหตุผลที่วา่ การประกอบ ธุรกิจนําเที่ยวและอาชีพมัคคุเทศก์ได้มีการขยายตัวเป็ นอันมาก จึงกําหนดให้การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยทําหน้าที่เพิ่มขึ้น นอกจากส่งเสริ ม ให้ควบคุมการประกอบธุรกิจนําเที่ยว และ อาชีพมัคคุเทศก์ ให้เป็ นระเบียบตามที่กฎหมายกําหนดอีกด้วย อย่างไรก็ตามแม้จะมีพ.ร.บ.ธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก์ฯเกิดขึ้นแล้วก็ตาม แต่ เป็ นกฎหมายที่ขาดการมีส่วนร่ วมของผู้มี

ส่ วนได้ ส่วนเสี ย เนื่องจากกฎหมายให้ความสําคัญในเรื่ องการจดทะเบียนและการวางหลักประกันเป็ นสําคัญ โดยใช้บงั คับให้

ธุรกิจนําเที่ยวไปจดทะเบียนไว้กบั นายทะเบียนธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก์ และกําหนดให้ธุรกิจนําเที่ยวมีหลักประกันวางไว้กบั การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยเพือ่ คุม้ ครองนักท่องเที่ยว และเป็ นหลักประกันในการชดใช้ค่าเสี ยหายให้กบั ผูป้ ระกอบการ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเท่านั้น แต่ไม่ครอบคลุมขยายผลไปถึง การวางมาตรฐาน วิธีการปฏิบตั ิงาน การกําหนดคุณสมบัติที่ เหมาะสม ส่วนการฝึ กอบรมมัคคุเทศก์ดาํ เนินการเพียงระยะสั้นๆ เพื่อให้ได้รับใบอนุญาตในการประกอบอาชีพเท่านั้น ซึ่ง แตกต่างกับต่างประเทศแม้แต่ในประเทศใกล้เคียง หรื อ ประเทศที่ไม่ได้มีการส่งเสริ มการท่องเที่ยวมากเทียบเท่าประเทศไทย ซึ่ง มีการฝึ กอบรมวิชาชีพก่อนได้รับใบอนุญาติเป็ นระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า 6 เดือน บางประเทศมีระยะเวลาถึง 3 ปี ดังนั้นปั ญหาการ ควบคุมมาตรฐาน และจัดระเบียบธุรกิจท่องเทีย่ ว จึงยังไม่สามารถบรรลุเป้ าหมายตามเจตนารมณ์

พ.ศ. 2535 เศร้าสลดไปกับการพัฒนาประชาธิ ปไตยของไทยกับเหตุการณ์ “พฤษภา ทมิฬ” ในขณะที่จงั หวัดภูเก็ตถูกประกาศให้เป็ นเขตควบคุมมลพิษ

ในเดือนพฤษภาคม ระหว่างวันที่ 17-20 พฤษภาคม เกิดเหตุการณ์ที่เรี ยกว่า “พฤษภาทมิฬ” เนื่องจากได้มีการเสนอ ชื่อ พลเอก สุจินดา คราประยูร ขึ้นเป็ นนายกรัฐมนตรี เกิดความไม่พอใจของประชาชนในวงกว้าง เนื่องจากก่อนหน้านี้ พลเอกสุ จินดา คราประยูร ได้ให้สมั ภาษณ์วา่ ตนและสมาชิกในคณะรักษาความสงบเรี ยบร้อยแห่งชาติ (รสช.) จะไม่รับตําแหน่งทาง การเมือง ใด ๆ แต่กลับรับตําแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยให้เหตุผลในการรับตําแหน่งครั้งนี้ดว้ ยประโยคที่วา่ "เสียสัตย์ เพือ่ ชาติ” ด้วยประโยคดังกล่าวจึงนําไปสู่การเคลื่อนไหวคัดค้านต่าง ๆ ของประชาชน โดยพลตรี จาํ ลอง ศรี เมือง หัวหน้าพรรคพลังธรรม สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย พรรคการเมืองฝ่ ายค้าน ได้แก่ พรรคประชาธิปัตย์ พรรคความหวังใหม่ และ พรรค เอกภาพ โดยมีขอ้ เรี ยกร้องให้นายกรัฐมนตรี ลาออกจากตําแหน่ง และเสนอว่าผูด้ าํ รงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี ตอ้ งมาจากการ เลือกตั้ง จนกระทัง่ เหตุการณ์ได้บานปลาย รัฐบาลประกาศภาวะฉุกเฉิ นในเขตกรุ งเทพมหานคร ทหารเข้าสลายการชุมนุม มี ผูเ้ สี ยชีวติ หลายสิ บคน ด้วยมาตรการที่ใช้ความรุ นแรงกับกลุ่มผูช้ ุมนุมซึ่งส่วนใหญ่เป็ นชนชั้นกลาง นักธุรกิจ หรื อ บุคคลวัย ทํางาน และ พกพาโทรศัพท์มือถือกันเป็ นส่วนมาก เนื่องจากเป็ นอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีใหม่ที่เพิ่งนําเข้ามาใช้ในประเทศไทย และได้มีการใช้ในการติดต่อสื่ อสารในการชุมนุม จึงเรี ยกว่ากลุ่มผูช้ ุมนุมเหล่านี้วา่ “ม็อบมือถือ” จากเหตุโศกนาฏกรรมในการสลายการชุมนุมด้วยความรุ นแรง ในวันที่ 20 พฤษภาคม พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั จึงมีพระราชกระแสรับสัง่ ให้พลเอก สุจินดา คราประยูรและ พลตรี จําลอง ศรี เมือง เข้าเฝ้า และได้มีกระแสพระราช ดํารัส พระราชทานแก่พลเอกสุจินดา คราประยูร และ พลตรี จาํ ลอง ศรี เมือง ต่อมาในวันที่ 24 พฤษภาคม พลเอกสุจินดาได้ 17


18

ประกาศลาออกจากตําแหน่งนายกรัฐมนตรี และให้นายมีชยั ฤชุพนั ธุ์ รองนายกรัฐมนตรี รักษาการตําแหน่งนายกรัฐมนตรี ไป พลางก่อน เหตุการณ์ครั้งนี้ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวที่กรุ งเทพเป็ นอย่างมาก แต่เพียงระยะ 2 เดือนก็กลับคืนสู่ปกติเพราะ เหตุการณ์สงบลงอย่างรวดเร็ ว ส่วนที่จงั หวัดภูเก็ตนับว่าไม่กระทบกระเทือนเท่าใดนัก เพราะเป็ นช่วง low season ของจังหวัด ภูเก็ต จากนโยบายการเงินเสรี ดว้ ย BIBF ธนาคารต่างๆเล็งเห็นผลประโยชน์จากอัตราดอกเบี้ยภายนอกประเทศมีอตั ราที่ ตํ่ากว่าอัตราดอกเบี้ยในประเทศมาก ดังนั้นในระหว่างปี พ.ศ. 2534 – 2539 บรรดาธนาคารจึงได้นาํ เงินเข้าประเทศเป็ นจํานวน มหาศาลในรู ปแบบของเงินกู้ เพื่อนํามาปล่อยกูใ้ ห้กบั ธุรกิจและประชาชนในประเทศ โดยหากําไรจากส่วนต่างของดอกเบี้ย ปริ มาณเงินกูท้ ี่นาํ เข้ามากมายมหาศาลจึงเกิดสภาพเงินล้นตลาด ธนาคารและบริ ษทั การเงินต่างแข่งขันในการปล่อยเงินกู้ มีการกู้ เงินอย่างมากมายโดยไม่มีการตรวจสอบหลักประกัน ไม่มีสนใจในเรื่ องความสามารถในการชําระคืน การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการทําขึ้นโดยปราศจากข้อเท็จจริ ง รวมไปถึงการหาผลประโยชน์อนั ไม่ชอบธรรมในการปล่อยเงินกูร้ ะหว่างเจ้าหน้าที่ ของผูใ้ ห้กกู้ บั ผูก้ ู้ มีการกูย้ มื เพื่อซื้อขายที่ดินและก่อสร้างอาคารมากมาย สําหรับจังหวัดภูเก็ตด้วยการกูเ้ งินที่ง่าย การเงินมีสภาพ คล่องสูง อาคารบ้านจัดสรร การก่อสร้างโรงแรมที่พกั เกิดขึ้นอย่างทัว่ ไป เกิดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมเป็ นอย่างมาก การขุดตัก ดิน ตัดต้นไม้ตามไหล่เขา เกิดตะกอนดินชะไหลลงทะเล ทําให้ปะการังตายส่งผลให้น้ าํ ทะเลขุน่ มัวไม่ใสสะอาดดังที่เคยมีมาใน อดีต ในวันที่ 7 สิ งหาคม นายอนันท์ ปั นยารชุน นายกรัฐมนตรี ในฐานะ ประธานคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อม แห่งชาติ อาศัยอํานาจตาม พ.ร.บ. สิ่ งแวดล้อม ประกาศให้จงั หวัดภูเก็ตเป็ นเขตควบคุมมลพิษ และ ออกประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่ งแวดล้อม ควบคุมการก่อสร้างทั้งเกาะ โดย การก่อสร้างอาคารต้องมีความสูงไม่เกิน 12 เมตร ตลอดแนวชายฝั่งทะเลและพื้นที่ท้ งั หมดของ เกาะภูเก็ต การออกประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เพื่อควบคุมการก่อสร้างไม่ให้มีความสูงเกิน 12 เมตรทัว่ ทั้งเกาะภูเก็ต ได้สร้างความไม่พอใจต่อผูป้ ระกอบการในธุรกิจการซื้ อขายที่ดิน ธุรกิจ ก่อสร้าง หรื อ ผูถ้ ือครองที่ดินเพราะเกรงว่าที่ดินของตนจะไม่สามารถขายได้ราคา เนื่องจํากัด ความสูงไปในทุกพื้นที่ของเกาะภูเก็ต หอการค้าจังหวัดภูเก็ตและภาคเอกชนได้ทาํ การคัดค้านประกาศฉบับดังกล่าว โดยโต้แย้ง ว่าประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯที่กาํ หนดความสูง 12 เมตรทัว่ ทุกพื้นที่ สมควรพิจารณากําหนดความสูงของสิ่ งปลูกสร้างใน แต่ละพื้นที่ที่แตกต่างกัน ด้วยมีการใช้ที่ดินที่มีวตั ถุประสงค์ที่แตกต่างกัน หลักเกณฑ์จึงควรแตกต่างด้วยเช่นกันไม่ใช่ใช้ ครอบคลุมไปทุกพื้นที่ เช่น บริ เวณใกล้ชายหาดสมควรกําหนดความสูง เพื่อเป็ นการรักษาสภาพแวดล้อม ส่วนในเขตพื้นที่เมือง หรื อบริ เวณชั้นในที่ไม่กระทบกับทัศนียภาพและสิ่ งแวดล้อม ความสูงของอาคารควรพิจารณากําหนดความสูงได้มากกว่า 12 เมตร ส่วนความสูงเท่าใดกําหนดขึ้นในแต่ละพื้นที่ๆไป ในที่สุดได้มีการรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ในระยะเวลาต่อมา จึงมีการปรับแก้ไขประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯโดยมีการพิจารณาผ่อนปรนในบางพื้นที่ เพื่อคงไว้ซ่ ึงการเคารพกฎหมายและ เกิดผลในทางปฏิบตั ิ อย่างไรก็ตามในระหว่างการคัดค้าน และ การผ่อนปรนข้อจํากัด ธุรกิจการซื้อขายที่ดิน และการลงทุน ก่อสร้างโรงแรม อาคาร และ บ้านจัดสรร โดยหลีกเลี่ยงข้อกฎหมายยังคงดําเนินอยูเ่ ป็ นปรกติ พบเห็นได้จากคดีความ และคําสัง่ รื้ อถอนการก่อสร้างในหลายๆโครงการ ความขัดแย้งในการใช้ที่ดิน และ ปั ญหาการครอบครองที่ดินขยายตัวไปอย่างกว้างขวาง มีคดีความเข้าสู่ศาลเป็ นจํานวนมาก 18


19

พ.ศ. 2536 – 2539 เศรษฐกิจเฟื่ องฟู สดใส ธุรกิจท่าเรื อมารี น่าเกิดขึ้นเป็ นรู ปธรรม

ด้วยนโยบายการเงินเสรี ธนาคารพาณิ ชย์ได้กเู้ งินจากต่างประเทศ เพื่อนําเงินเข้ามาปล่อยกูใ้ นประเทศยังคง เป็ นไปอย่างต่อเนื่องและมากขึ้นตามลําดับตามความต้องการ เนื่องจากมีส่วนต่างของดอกเบี้ยที่สูงสามารถทํากําไรได้ดี การ ปล่อยเงินให้กงู้ ่ายไม่มีความระมัดระวัง หรื อให้ความสําคัญในการพิจารณาความเสี่ ยง เพียงจัดทําโครงการเพื่อขอกู้ แม้เอกสารจะ ถูกต้องหรื อไม่ หรื อ มีหลักทรัพย์ค้ าํ ประกันเพียงพอหรื อไม่ก็ตาม ไม่ได้เป็ นอุปสรรคในการกูเ้ งินแต่อย่างใด บางรายของการซื้อ ขายที่ดินผูซ้ ้ือยังไม่ทราบว่าที่ดินอยูต่ รงบริ เวณไหน หรื อ ถูกต้องตามเอกสารหรื อไม่ก็ตาม ไม่ได้เป็ นสาระที่ตอ้ งสนใจ ถึงขั้นที่วา่ สถาบันการเงินบางสถาบันจะพิจารณาให้กเู้ งินที่มีจาํ นวนมากๆเท่านั้น เช่นการกูเ้ งินต้องไม่ต่าํ กว่า 5 ล้านบาทเป็ นต้น กูน้ อ้ ยกว่า นี้ไม่คุม้ กับค่าใช้จ่ายในการปล่อยกู้ หรื อ หากเป็ นโครงการขนาดใหญ่ยอดเงินกูส้ ูงๆจะได้รับการพิจารณาสนับสนุนเป็ นพิเศษ การทําการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการเป็ นที่นิยมและจัดทําขึ้นอย่างแพร่ หลาย ทําให้สภาพเศรษฐกิจเติบโตเฟื่ องฟูเป็ น อย่างมาก การซื้อขายที่ดินมีข้ ึนทัว่ ทุกพื้นที่ของประเทศ ธุรกิจเก็งกําไรแพร่ กระจายขยายตัวไปทัว่ ประเทศ แม้แต่ ที่นาสําหรับ ปลูกข้าว ที่รกร้างว่างเปล่า ที่ดินบนภูเขา การซื้อขายเป็ นไปอย่างสะดวก รวดเร็ ว ที่ดินทัว่ ไปมีการซื้อขายเปลี่ยนมืออย่างมากมาย ถึงขั้นที่มีกล่าวกันว่า “ซื้อทีด่ นิ กันตอนเช้ า ขายต่ อกันในตอนเย็น” สําหรับจังหวัดภูเก็ตผลของนโยบายของการเงินเสรี ธุรกิจบ้านจัดสรรขยายตัวเป็ นอย่างมาก ธุรกิจเก็งกําไร ในการซื้อขายที่ดินเป็ นไปทัว่ ทุกพื้นที่ ไม่เว้นแต่พ้นื ที่นาข้าวซึ่งเป็ นพื้นที่เพียงเล็กน้อยในจังหวัดภูเก็ต เนื่องจากมีการอพยพย้าย ถิ่นของคนต่างพื้นที่เข้ามาทํางาน และ ทํามาหากินในจังหวัดภูเก็ต การปล่อยเงินกูใ้ ห้กบั คนท้องถิ่น คนต่างถิ่น เพื่อซื้อบ้าน ค่อนข้างง่าย ส่วนชาวต่างชาติเห็นโอกาสทางธุรกิจ ได้ยา้ ยถิ่นฐานเข้ามาอยูอ่ าศัยเป็ นอย่างมาก มีการทําเอกสารเพื่อการลงทุน การ ทํางาน ทําเรื่ องขอใบอนุญาตทํางาน (Work Permit) เพื่อให้อาศัยอยูใ่ นประเทศได้อย่างถูกกฎหมาย ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ ชาวต่างชาติ ในเรื่ อง การจดทะเบียน และ หาช่องว่างทางกฎหมาย เช่น การกระทําการแบบตัวแทน (Nominee) เป็ นที่นิยมและ ใช้บริ การกันอย่างกว้างขวาง ที่ดินยังคงมีการซื้อขาย เปลี่ยนมือกันไปมาแทบทุกพื้นที่ ทุกแปลง ทําให้การเงินสะพัดทัว่ ไป การ พัฒนาพื้นที่ได้แก่การก่อสร้างโรงแรมอาคารที่อยูอ่ าศัย เกิดขึ้นอย่างมากมาย โดยไม่ได้พิจารณาศึกษาว่าจะมีตลาดรองรับหรื อมี ลูกค้าเพียงพอหรื อไม่ก็ตาม นับว่าเป็ นช่วงเวลาที่มีการจับจ่ายใช้เงินอย่างคล่องตัวเป็ นประวัติการณ์ของประเทศ เป็ นที่พึงพอใจ ก่อให้เกิดความสุขแก่นกั ธุรกิจ และประชาชนไปทัว่ ทั้งประเทศ ต่างมีความสุขในการจับจ่ายใช้สอยด้วยมีกาํ ลังซื้อกันอย่างทัว่ หน้า กําลังซื้อที่เกิดจากการกูเ้ งินได้สะดวก ก่อให้เกิดอุปสงค์ จึงมีโครงการต่างๆขึ้นรองรับอุปสงค์ดงั กล่าว การก่อสร้าง การขุด ตักที่ดิน การไม่เคารพกฎหมาย โดยไม่ปฏิบตั ิตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯจึงมีมากขึ้น โครงการเหล่านี้เริ่ มส่งผลกระทบ ต่อสิ่ งแวดล้อม และ เป็ นแบบอย่างให้ปฏิบตั ิตามๆกันมากขึ้น การหยิบยกเรื่ องอนุรักษ์มาเป็ นประเด็นจะถูกกล่าวหากันอย่าง กว้างขวางว่า การอนุรักษ์ เป็ นอุปสรรคของการพัฒนา (ซึ่ งขัดกับหลักการที่วา่ “การอนุ รักษ์สนับสนุนการพัฒนาที่

ยัง่ ยืน” หรื อ “การพัฒนาที่ยงั่ ยืนจําต้องมีการอนุรักษ์เป็ นปั จจัย” )

การพัฒนาที่ดินบริ เวณชายฝั่งได้เกิดขึ้น จากเดิมทีท่าเรื ออ่าวฉลองได้ รองรับเรื อที่เดินทางไปยังเกาะต่างๆรอบๆเกาะภูเก็ต และบรรดาเรื อยอช์ทได้อาศัยจอดกัน ด้วย อาศัยเกาะโหลนบดบังลมมรสุม จึงเปรี ยบเสมือนเป็ นท่าเรื อมารี น่า เพียงแต่ไม่มีสิ่งอํานวยความ สะดวก เช่น การเติมนํ้ามัน การนําเรื อขึ้นบกเพื่อซ่อมแซม การทําความสะอาด การดูแลรักษาเรื อ 19


20

ที่เป็ นระบบมาตรฐานสากลฯลฯ ปริ มาณเรื อเพิ่มจํานวนเข้าจอดเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ ในที่สุดการพัฒนาท่าเรื อเรื อยอช์ท (Marina) ได้ พัฒนาให้เห็นเป็ นรู ปธรรมเป็ นแห่งแรก ที่ตาํ บลเกาะแก้ว ชื่อโครงการว่า Boat Lagoon ท่าเรื อมารี น่า ทําให้ภูเก็ตมี นักท่องเที่ยวอีกรู ปแบบหนึ่งขยายตัวเพิ่มมากขึ้น

พ.ศ. 2538 เข้าสู่ยคุ ที่เรี ยกว่าโลกาภิวตั น์ (Globalization)

ในปี นี้ เป็ นปี ที่โลกมีความเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง ด้วยวิวฒั นาการทางเทคโนโลยีครั้งยิง่ ใหญ่ของโลก บริ ษทั ไมโครซอฟท์ (Microsoft) โดยนายบิล เกตต์ (Bill Gate) ได้สามารถพัฒนา ซอฟท์แวร์(Software) ระบบปฏิบตั ิการที่ชื่อ ว่าวินโดวส์ 95 (Windows 95) ได้รับการต้อนรับจากประชาคมโลกอย่างรวดเร็ วเพราะมีความง่ายและสะดวกต่อผูใ้ ช้เครื่ อง คอมพิวเตอร์ (Friendly User) คอมพิวเตอร์จึงเป็ นเครื่ องมือที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไปในสํานักงานไม่วา่ ขนาดใดๆก็ตาม ธุรกิจทุก ประเภทได้นาํ คอมพิวเตอร์ที่มีระบบปฏิบตั ิการ Windows 95 มาใช้งาน ภายหลังที่ Window 95 ได้รับการตอบรับอย่าง แพร่ หลายไปทัว่ โลก จึงมีการพัฒนาซอฟท์แวร์(Software)ต่างๆขึ้นมากมาย เพื่อมาใช้กบั ระบบปฏิบตั ิการของ Windows 95 ทําให้เทคโนลียส ี ารสนเทศได้เข้ามามีผลต่อวิถีชีวติ ของคนในชีวติ ประจําวันอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ในขณะที่คอมพิวเตอร์เริ่ มใช้กนั แพร่ หลายในต่างประเทศ แต่ในประเทศไทยยังมีใช้อยู่ ในวงจํากัด เพราะเป็ นเทคโนโลยีใหม่ยงั ไม่มีการสอนในสถานศึกษา สําหรับประเทศที่พฒั นาแล้วมี การใช้กนั อย่างแพร่ หลาย และมีการบริ หารการจัดการข้อมูลอย่างเป็ นระบบ ด้วยความสะดวกและ รวดเร็ ว นอกเหนือจากระบบปฏิบตั ิการ Windows กับการพัฒนาซอฟท์แวร์รูปแบบต่าๆ ได้มีการ พัฒนา เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่ อสารเชื่อมต่อข้อมูล นัน่ คือ อินเตอร์เน็ต (Internet) ซึ่งเป็ น เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่ อสาร ความจริ งอินเตอร์เน็ตพัฒนามาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2495 ในประเทศสหรัฐอเมริ กา เริ่ มต้นพัฒนาใช้สื่อสารภายในมหาวิทยาลัย และ ขยายผลใช้ในหน่วยงานของรัฐราชการทหารเท่านั้น ในปี นี้เองได้นาํ มาพัฒนา ใช้กบั ติดต่อสื่ อสารในกิจการภาคเอกชน และประชาชนทัว่ ไป ในขณะเดียวกันคอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนาให้มีขนาดเล็กลงและราคาไม่สูง จนครัวเรื อนหรื อสํานักงานทัว่ ไป สามารถมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ไว้ใช้งานได้ ดังนั้นเมื่ออินเตอร์เน็ตได้พฒั นาเข้าเชื่อมต่อเข้ากับเครื่ องคอมพิวเตอร์ในครัวเรื อน และ สํานักงานได้ ทําให้การใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตเป็ นที่นิยมแพร่ หลายอย่างรวดเร็ ว พรัอมๆกับระบบปฏิบตั ิการ Windows 95 ได้เกิดขึ้นนั้น รู ปแบบของคอมพิวเตอร์ รู ปแบบใหม่ที่เรี ยกว่า Notebook หรื อ Laptop ได้ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้น และกลายเป็ นที่นิยม ใช้อย่างแพร่ หลายแทน Desk Top เพราะสามารถพกพาไปในที่ต่างๆได้ง่าย การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นไปอย่างไร้ขีดจํากัด มีการพัฒนาซอฟท์แวร์เกิด ขึ้นมาอย่างมากมาย อาทิเช่น E-mail, Website, Internet Explorer, Microsoft office, ฯลฯ นับเป็ นนวัตกรรมที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบการทํางานรู ปแบบใหม่อย่างสิ้นเชิงในยุค แห่งโลกาภิวตั น์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในธุรกิจท่องเที่ยวเป็ นอย่างมาก เพราะการท่ องเทีย่ วจะ

เติบโตสั มพันธ์ ไปกับเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลง

ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศแบบใหม่ได้ก่อให้เกิดการสํารองห้องพักในรู ปแบบใหม่ผา่ นเครื อข่าย เว็บไซต์แรกที่ เกิดขึ้นในจังหวัดภูเก็ต และ ของประเทศชื่อว่า www.phuket.com ซึ่งเป็ นธุรกิจที่ดาํ เนินงานโดยชาวต่างประเทศ ด้วยใน 20


21

ระยะแรกในประเทศไทย ยังไม่มีผใู ้ ห้บริ การอินเตอร์เน็ต (ISP - Internet Service Provider) ดังนั้นในระยะแรก www.phuket.com จึงต้องใช้วธิ ี ออนไลน์โดยตรงกับประเทศสหรัฐอเมริ กา

พ.ศ. 2539 Website ของบริ ษทั ทัวร์แห่ งแรกของคนไทย กับ การคืบคลานเข้ามาของ วิกฤติเศรษฐกิจ

ครั้นเมื่อประเทศไทยเริ่ มมี ผูใ้ ห้บริ การอินเตอร์เน็ต ISP ในประเทศ ในวันที่ 27 มกราคม 2539 ปรากฏ เว็บไซต์ (Website) ของบริ ษทั นําเที่ยวซึ่ งดําเนิ นงานโดยคนไทยเป็ นครั้งแรกในจังหวัดภูเก็ต ชื่อว่า www.phuketjettour.com เพื่อเป็ นการนําเสนอผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว ให้คนทัว่ ๆไปสามารถได้รับข้อมูลได้สะดวก เดิมทีการเผยแพร่ ขอ้ มูลทางการ ท่องเที่ยว คือสิ่ งพิมพ์ ซึ่งมีขอ้ จํากัดทั้งในเรื่ อง ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิต ระยะเวลาในการผลิต รวมถึงการจัดส่งสิ่ งพิมพ์ ข้อจํากัดเหล่านี้ ทําให้การเผยแพร่ ขอ้ มูลไม่สามารถทําได้รวดเร็ ว และ สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายที่สูงมาก ด้วยเทคโนโลยีการสื่ อสาร ด้วยอินเตอร์เน็ต และ เว็บไซต์ ได้สลายข้อจํากัดข้างต้นลงไปอย่างสิ้นเชิง เว็บไซต์และเทคโนโลยีการสื่ อสารจึงเข้ามามีบทบาท ต่อธุรกิจท่องเที่ยวเป็ นอย่างมาก และใช้กนั อย่างแพร่ หลาย ในระยะเวลาต่อมาเริ่ มส่งผลกระทบต่อธุรกิจท่องเที่ยวที่ดาํ เนินงานที่ ปราศจากเทคโนโลยี (Manual) และทําให้ธุรกิจท่องเที่ยวเริ่ มเปลี่ยนไปสู่ธุรกิจนําเที่ยวที่ดาํ เนินงานโดยชาวต่างชาติมากขึ้น กระทบต่อธุรกิจท่องเที่ยวที่ดาํ เนินการโดยคนไทย (ด้วยข้อได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบในเรื่ องภาษา และ ความรู ้ความสามารถทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทําให้ตน้ ทุนในการประกอบการตํ่าลง จึงสามารถขายในราคาที่ต่าํ ดึงตลาดเข้าไปอยูม่ ือของ ชาวต่างชาติหมด) ในราวกลางปี 2539 ความสุขของคนไทยในรอบ 5 ปี ที่ผา่ นมาเริ่ มเปลี่ยนไป การชําระหนี้เงินกูต้ ่างๆของภาครัฐ(รัฐวิสาหกิจ) ภาคเอกชน และประชาชนเริ่ มประสบปัญหา โครงการต่างๆประสบปั ญหาเงินทุนหมุนเวียนขาดผูซ้ ้ือ หนี้ที่ไม่สามารถชําระคืนได้ตรงตาม เวลาเป็ นจํานวนมากขึ้น (NPL – Non Performing Loan) เพราะยุคของการเก็งกําไรจาก ความต้องการเทียม (Fake Demand) ได้สิ้นสุดลง ความต้องการจริ งและกําลังซื้อจริ งของ ตลาด (Real Demand) เริ่ มปรากฏให้เห็นชัดขึ้น ส่งผลต่อภาคการผลิตเพราะมีจาํ นวนการผลิตขึ้นมามากเกินความต้องการจน ล้นตลาด ธนาคารพาณิ ชย์เริ่ มประสบปั ญหาในการชําระเงินคืนให้กบั สถาบันการเงินในต่างประเทศ เศรษฐกิจที่เติบโตที่ไม่ แท้จริ งดุจคําเปรี ยบเปรยที่วา่ “ฟองสบู่เศรษฐกิจ” (Bubble Economy) เริ่ มปรากฏลอยขึ้นให้เห็นอย่างชัดเจน

พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ “ต้มยํากุง้ ”

ในที่สุดฟองสบู่เศรษฐกิจถึงจุดที่ตอ้ งแตก ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2540 รัฐบาล โดย พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็ นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศลอยตัวค่าเงินบาท เนื่องจากโดนการเก็งกําไรค่าเงิน บาทจากตลาดการเงินในต่างประเทศ เพราะเห็นว่าเงินบาทมีค่าแข็งเกิน ความเป็ นจริ ง รัฐบาลต้องประกาศลอยตัวค่าเงินบาท พบว่าค่าเงินบาท นั้น อ่อนตัวลงมากกว่าเท่าตัว มีผลให้สถาบันการเงินมีหนี้สินเพิ่มขึ้นมากกว่าเท่าตัว (อัตราแลกเปลี่ยนจาก 1 USD@25.00บาท เป็ น 1USD@56.00บาท) เมื่อปริ มาณหนี้ที่เพิ่มสูงขึ้นมาก และส่ วนใหญ่ เป็ นหนี้ระยะสั้น ในที่สุดรัฐบาลต้องเข้าพึ่ง กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรื อ IMF 21


22 (International Monetary Fund) ในวันที่ 20 สิ งหาคม 2540 รัฐบาลได้กเู้ งินจํานวน 2,900 ล้าน SDR(Special

Drawing Rights) หรื อ เท่ากับ 4,000 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ (1SDR = 1.4 US Dollars)ในลักษณะ Standby

Arrangementซึ่งกําหนดให้เบิกถอน 2 ปี 10 เดือน แต่มีเงื่อนไขให้รัฐบาลไทยออกกฎหมาย 11 ฉบับ *

(หมายเหตุ การกู้เงินในรูปแบบ Standby Arrangement เป็ นการเบิกถอนเงินกู้แต่ละเดือน การกู้เงินจาก IMF ครัง้ นี ้ มีจํานวน 2,900 ล้ าน SDR ใช้ เวลาเบิกถอนเป็ นระยะเวลา 2 ปี 10 เดือน แต่รัฐบาลโดยนายชวน หลีกภัยเป็ นนายกรัฐมนตรี ได้ เบิกถอนเพียง 1 ปี 10 เดือน ไม่เบิกถอนทังหมด ้ เบิกถอนเพียง 2,500 ล้ าน SDR เพราะเห็นว่าดุลการค้ า และดุลการชําระเงินของประเทศดีขึ ้นมากแล้ ว จึง ไม่เบิกถอนเพิ่มเพราะสามารถจ่ายคืนเงินกู้ได้ แล้ ว และด้ วยดุลการชําระเงินดีขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ต่อมารัฐบาลโดยพ.ต.ท.ทักษิณ ชิน วัตร เป็ นนายกรัฐมนตรี จึงขอชําระคืนเงินกู้ให้ IMF ก่อนกําหนด 2 ปี https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/RolesAndHistory/Pages/IMF.aspx * กฎหมาย 11 ฉบับได้ แก่

กลุ่ม 1 มี 5 ฉบับ คือ กฎหมายล้ มละลาย กฎหมายจัดตังศาลล้ ้ มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย กฎหมายแก้ ไขวิธีพิจารณา ความแพ่งในคดีมโนสาเร่ กฎหมายแก้ ไขวิธีพิจารณาความแพ่งในกรณีขาดนัด และกฎหมายแก้ ไขวิธีพิจารณาความแพ่งในการ บังคับคดี กลุ่มที่ 2 มี 3 ฉบับ คือ กฎหมายที่ดิน กฎหมายการเช่าอสังหาริมทรัพย์ที่กําหนดให้ เป็ นทรัพย์สิทธิ์ และกฎหมายอาคารชุด กลุ่ม 3 มี 1 ฉบับ คือ กฎหมายประกอบธุรกิจคนต่างด้ าว กลุ่ม 4 มี 1 ฉบับ คือ กฎหมายทุนรัฐวิสาหกิจ กลุ่ม 5 มี 1 ฉบับ คือ กฎหมายประกันสังคม กฎหมายแต่ละกลุ่ม เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ชาวต่างชาติสามารถลงทุน หรือ ประกอบธุรกิจในประเทศได้ สดวกขึ ้น นับว่ามีผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจ และ สังคมไทย ต่อวิถีชีวิตคนไทยในเวลาต่อมา) ในเดือนตุลาคมรัฐบาลสัง่ ปิ ด 56 สถาบันการเงินเป็ นการชัว่ คราวเพื่อตรวจสอบหนี้สินต่างๆ เศรษฐกิจของประเทศ เผชิญหน้ากับวิกฤตอย่างรุ นแรงที่สุดอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ มีการปิ ดกิจการ การเลิกจ้างงานขยายวงกระทบ ออกไปอย่างกว้างขวาง ในที่สุดพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ประกาศลาออกจากตําแหน่งนายกรัฐมนตรี ในเดือนพฤศจิกายน รัฐบาลโดยนายชวน หลีกภัย ขึ้นดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยมีนายธาริ นทร์ นิมมานเหมินทร์ เป็ นรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง ในวันที่ 8 ธันวาคม 2540 มีคาํ สัง่ ปิ ด 56 สถาบัน การเงิน เป็ นการถาวร จาก 58 สถาบันการเงินที่มีปัญหาหนี้เสี ย และรัฐบาลได้จดั ตั้ง องค์การเพื่อการปฏิรูป ระบบสถาบันการเงิน (ปรส.) เพือ่ แก้ไขปั ญหาหนี้เสี ยที่เกิดขึ้น แต่ไม่สามารถแก้ไขปั ญหาได้มากนัก จะด้วย องค์กรดังกล่าวขาดซึ่งประสบการณ์ หรื อ อาจเพราะไร้ความสามารถ หรื อ ด้วยมี กระบวนการที่ไร้จริ ยธรรมประพฤติมิชอบเข้าแทรกซึม หรื อ ด้วยมีบริ ษทั ต่างชาติที่มีประสบการณ์ที่ เชี่ยวชาญเข้ามาฉกฉวยโอกาส ยากที่จะสรุ ปเป็ นสาเหตุที่ชดั เจนได้ แต่เป็ นเหตุให้มีการซื้อขายหนี้เสี ยใน ราคาที่ต่าํ มาก รัฐต้องสูญเสี ยงบประมาณเป็ นอย่างมาก ผลจากการปิ ดสถาบันการเงินส่งผลกระทบทาง เศรษฐกิจต่อเนื่องไปอีกทัว่ ประเทศ ธุรกิจด้านอสังหาริ มทรัพย์ได้รับผลกระทบอย่างรุ นแรง ขยายผลกระทบ ไปยังธุรกิจประเภทอื่นๆอย่างต่อเนื่องและกว้างขวาง ธุรกิจเป็ นจํานวนมากต้องปิ ดตัวลง เกิดภาวะว่างงานไปทัว่ ทุกครัวเรื อน ประสบปั ญหาทางการเงินในทุกระดับ 22


23

อย่างไรก็ตาม ด้วยค่าเงินบาทที่อ่อนตัวลงอย่างมาก แม้ทาํ ให้ประเทศมีมูลค่าหนี้เพิ่มขึ้นเป็ นเท่าตัว แต่ในทางกลับกัน

ค่ าเงินบาทกลับช่ วยให้ การท่ องเทีย่ วและธุรกิจส่ งออกดีขึน้ เป็ นอย่างมากเช่นกัน เนื่องจากค่าของเงินบาทที่ถูกลงอย่าง มากเมื่อเทียบกับเงินตราต่างประเทศ การสัง่ ซื้อสิ นค้าจากประเทศไทย และการมาเที่ยวประเทศไทยนั้นกลับมีค่าใช้จ่ายที่ต่าํ กว่า ปกติมาก ส่งผลดีต่อนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ การท่องเที่ยวโดยรวมทั้งในระดับประเทศ และการท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ตจึง เติบโตและขยายตัวอย่างมากและต่อเนื่อง หาได้สะดุดหยุดชะงักเช่นธุรกิจอื่นๆ

พ.ศ. 2541 อัตราค่าห้องพักของโรงแรมปรับราคาสูงขึ้นตามค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลง ซื้อ ขายกันในสกุลดอลลาร์

จากค่าเงินบาทที่อ่อนตัวลงถึงเท่าตัว เมื่อเทียบกับเงินสกุลต่างประเทศทํา ให้นกั ท่องเที่ยวหลัง่ ไหลมาท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ตมากขึ้น อย่างไรก็ตามผูล้ งทุนโรงแรม ชาวต่างชาติเห็นว่ากําไรที่ได้รับมีมูลค่าที่ต่าํ ลง เนื่องจากเมื่อนํากําไรที่เป็ นเงินบาทนั้นไปแลก กลับเป็ นสกุลเงินดอลลาร์แล้วมีมูลค่าที่ต่าํ ลง จึงเป็ นครั้งแรกที่มีการใช้ราคาขายในสกุลดอลลาร์แทนการใช้ราคาขายด้วยสกุลเงิน บาท โดยเฉพาะกลุ่มโรงแรมที่เรี ยกว่า Chain Hotel ส่ วนโรงแรมอื่นๆที่เจ้าของเป็ นคนไทย หรื อบริ หารงานโดยคนไทย พยายามรักษาค่าเงินบาท จึงยังคงซื้อขายในราคาเงินบาท แต่ได้ปรับราคาขายเพิ่มขึ้นอีก 20 - 40% ผลจากการปรับราคาสูงขึ้น อย่างมากได้ขยายผลไปยังบรรดาร้านค้าร้านอาหารที่ติดต่อค้าขายกับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ปรับราคาอาหาร และค่าบริ การขึ้นอีก 20-25% จากราคาขายที่สูงขึ้นทําให้ผลตอบแทนจากการลงทุนมากขึ้นและสามารถคืนทุนได้ในระยะเวลาอันสั้น จึงเป็ นที่ สนใจต่อนักลงทุนในธุรกิจโรงแรม ร้านอาหาร หรื อ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับนักท่องเที่ยวมากขึ้น เพราะต่างเห็นว่า ธุรกิจโรงแรมมี ความสดใส โดยเฉพาะที่ภูเก็ตเป็ นจังหวัดเดียวที่ธุรกิจยังสามารถดําเนินการและยังมีอนาคตที่สดใสเติบโตได้อีก เป็ นการลงทุนที่ สามารถคืนทุนได้ในระยะเวลาอันสั้นด้วยมีราคาขายที่สูง สวนทางกับเศรษฐกิจในภาคอื่นๆ หรื อจังหวัดอื่นๆ ดังนั้นทั้งผูล้ งทุน ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยเฉพาะที่จงั หวัดภูเก็ต ต่างเข้ามาแสวงหาที่ดินเพื่อลงทุนด้านโรงแรม ธุรกิจบ้านจัดสรร ธุรกิจ ก่อสร้างจึงเติบโตเป็ นอย่างมาก สภาพการใช้พ้ืนที่ดินเริ่ มเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากอีกวาระหนึ่ง มีการเข้าไปพัฒนาในที่ดินในที่ ต่างๆทัว่ ทุกบริ เวณ ไม่วา่ จะเป็ นชายหาดใด บนภูเขาลูกใด หรื อ เกาะใดๆในทะเล เริ่ มมีความหนาแน่นของประชากรในแต่ละ

พื้นที่ สังคมเริ่ มเปลี่ยนแปลงจาก สั งคมทีเ่ คยสงบสุ ขอย่ างเรียบง่ าย ผันตัวไปสู่ เมืองเศรษฐกิจ ในขณะที่จงั หวัดอื่นๆ ได้รับผลกระทบจากปั ญหาทางเศรษฐกิจ อันเนื่องจากหนี้เสี ยที่เกิดจากการปล่อย เงินกูข้ องสถาบันการเงิน และรัฐบาลสัง่ ปิ ดสถาบันการเงินทั้งหมด 56 แห่ง ได้เกิดผลกระทบอย่างกว้างขวาง ธุรกิจปิ ดกิจการ เป็ นจํานวนมาก เกิดภาวะว่างงานไปทัว่ แต่ที่จงั หวัดภูเก็ตกลับมีความเจริ ญเติบโต จึงมีการย้ายถิ่นฐานเข้ามาประกอบอาชีพเพื่อ ความอยูร่ อด บ้างเปลี่ยนอาชีพเข้าสู่ภาคการท่องเที่ยว ธุรกิจท่องเที่ยวเฟื่ องฟู มีการก่อสร้างบ้านจัดสรรทัว่ ไปรองรับการย้ายถิ่น เข้าจังหวัดภูเก็ต

พ.ศ.2542 การขยายตัวของการก่อสร้างกับปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น ปี นี้ มีแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างอุบตั ิข้ ึน (Man Made Attraction) 23


24

ประหนึ่งว่าจังหวัดภูเก็ตเป็ นจังหวัดเดียวที่ไม่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจ และ กลับมีสภาพ เศรษฐกิจที่ดีเนื่องจากค่าเงินบาทที่อ่อนค่า เพราะมีรายได้จากการท่องเที่ยวเป็ นหลัก โรงแรมต่างมีอตั ราการเข้าพักและค่า ห้องพักอยูใ่ นเกณฑ์ที่สูง จึงมีท้ งั ผูล้ งทุนเดิมขยายกิจการ และมีผลู ้ งทุนชาวต่างชาติเข้ามาแสวงหาที่ดิน เพื่อสร้างบ้านขาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตามไหล่เขา มีการก่อสร้างโรงแรม และบ้านอยูอ่ าศัย โดยทัว่ ไปอย่างมากมาย ทําให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน แรงงานต่างชาติจึงหลัง่ ไหลเข้ามาอยูใ่ นจังหวัดภูเก็ตเป็ นจํานวนมาก เกิดปั ญหาด้านสาธารณสุข และผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อม ในเรื่ อง ตะกอนดินที่ชะล้างไหลลงทะเล ทําให้เกิดตะกอนขุ่น การใช้ที่ดินและพัฒนาไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ปั ญหาขยะ ปั ญหา นํ้าเสี ย ปั ญหาการจราจร ปัญหาสาธารณสุข และ ปั ญหาความไม่ปลอดภัยในทรัพย์สิน เพิ่มมากขึ้น แต่ดูเสมือนว่าสังคม โดยทัว่ ไปไม่ได้รู้สึกว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวกําลังกระทบต่อวิถีชีวติ และ ความเป็ นอยูข่ องตนเองในระยะยาว ด้วยสภาพ เศรษฐกิจที่ดี การเงินสะพัด ทุกคนต่างได้รับประโยชน์อย่างถ้วนหน้า ปั ญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตจึงหาใช่เรื่ องที่ตอ้ ง คํานึงถึงไม่ ด้วยมีความคิดว่า ภาครัฐมีหน้าที่ในการแก้ไข ภาษีตา่ งก็ชาํ ระให้แล้ว จึงควรนําภาษีเหล่านั้นไปดําเนินการ ไม่ใช่ ปั ญหาของผูป้ ระกอบการและของประชาชนที่ตอ้ งมีส่วนร่ วมในการดําเนินแก้ไข ผลกระทบต่อการดํารงอยูข่ องผูป้ ระกอบการ และความเป็ นอยูข่ องประชาชน ภาครัฐต้องรับผิดชอบดูแลแก้ไข ในราวปลายปี โครงการภูเก็ตแฟนตาซี (Phuket Fantasea) ได้ผา่ นพ้นวิกฤตเศรษฐกิจ สามารถหา เงินทุนจากนักลงทุนชาวไต้หวันมาดําเนินการก่อสร้างต่อ จนสามารถเปิ ดดําเนินการได้ นับเป็ น Tourist Attraction ที่มนุษย์ สร้างขึ้น เพราะโดยปกติแหล่งท่องเที่ยว (Tourist Attraction) ของภูเก็ต และของประเทศไทย ส่วนมากจะเป็ นสิ่ งที่มีอยูแ่ ต่ เดิมตามธรรมชาติ แล้วนําเสนอให้นกั ท่องเที่ยวเข้าเยีย่ มชม และ ให้มีคมนาคมขนส่งเข้าถึง

พ.ศ.2543 การลงทุนจากชาวต่างชาติหลัง่ ไหลเข้าภูเก็ต อสังหาริ มทรัพย์ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง

การลงทุนภาคธุรกิจ

เศรษฐกิจโดยรวมของภูเก็ตยังคงดีอยูแ่ ละมีท่าทีสดใสมากขึ้น นักท่องเที่ยว ยังคงเพิม่ ขึ้น ชาวต่างชาติสนใจที่จะมาลงทุนเป็ นจํานวนมาก โดยเฉพาะการลงทุนก่อสร้างบ้าน ใกล้ชายทะเลมีการเปิ ดพื้นที่ที่เคยเป็ นที่หวงแหนเพื่อการก่อสร้างโรงแรมและบ้านพักอาศัย เช่น การก่อสร้างบนไหล่เขาริ มทะเล เกิดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมในเรื่ องตะกอนดิน นํ้าเสี ย และ เกิด นํ้าท่วมในบางแห่ง เช่นหาดป่ าตอง จาการตักดินเพื่อขาย การถมที่เพื่อสร้างอาคาร การตัดต้นไม้บนภูเขา เพื่อการตัดถนนขึ้นภูเขา เพื่อสร้างโรงแรมและบ้านพักอาศัย การสร้างปางช้าง บนไหล่เขา เป็ นต้น ค่าแรงงานถีบตัวสูงขึ้น ค่าครองชีพเริ่ มสูงขึ้น การ อพยพย้ายถิ่นจากคนไทยภาคต่างๆ และ แรงงานต่างชาติยงั คงเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง และ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพื่อเข้ามาทําการค้า และรับจ้างขายแรงงาน ในปี นี้ชาวภูเก็ตบางคนเริ่ มรู ้สึกถึงความเป็ นอยูท่ ี่เคยสงบสุขเช่นในอดีตลดน้อยลง ชาวต่างชาติยา้ ยถิ่น ฐานเข้ามามากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อการลงทุนและแสวงโชค ความเป็ นอยูอ่ ย่างแปลกหน้าต่อกันเริ่ มปรากฏมากขึ้น

24


25

การเติบโตทางการท่องเที่ยวไม่มีทีท่าว่าจะหยุดเพียงเท่านั้น ปรากฏว่ายังมีปัจจัยที่จะส่งเสริ มการ ท่องเที่ยวให้กบั ภูเก็ต และ ภูมิภาคนี้เติบโตเพิ่มขึ้นอีกอย่างต่อเนื่อง เมื่อ เกาะพีพี ซึ่งมีรูปลักษณ์ ของเกาะที่แปลกและสวยงาม มีชื่อเสี ยงสําหรับนักดํานํ้า และ นักท่องเที่ยว เป็ นอย่างดี ได้เป็ นที่ รู ้จกั ไปทัว่ โลกเมื่อมีการถ่ายทําภาพยนตร์ เรื่ อง The Beach ซึ่งแสดงนําโดย ลีโอนาโด ดิคาปริ โอ (Leonardo Dicaprio) ถึงแม้ในระยะแรกการถ่ายทําถูกกระแสคัดค้าน ด้วยเกรงว่าการปรับแต่งภูมิ ทัศน์เพื่อการถ่ายทําภาพยนตร์จะทําให้มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม อย่างไรก็ตามการถ่ายทํา ภาพยนตร์สามารถดําเนินไปด้วยดีจนนําออกฉายทัว่ โลก ทําให้เกาะพีพีเป็ นที่รู้จกั และสร้างความ นิยมอย่างแพร่ หลายมากยิง่ ขึ้น จังหวัดกระบี่ และ จังหวัดภูเก็ตจึงมีนกั ท่องเที่ยวเพิ่มจํานวนมากขึ้นทั้งสองจัดหวัด เพราะสามารถ เดินทางไปยังเกาะพีพี ได้ท้ งั 2 เส้นทาง ปริ มาณที่เดินทางเข้าเกาะพีพี จึงเพิ่มจํานวนเป็ นอย่างมากและต่อเนื่อง (ด้วยไม่มีการ

กําหนดจํานวนนักท่ องเทีย่ วสู งสุ ดทีเ่ กาะพีพสี ามารถรองรั บได้ Carrying Capacity หรื อ มาตรการรองรับกับจํานวน นักท่องเที่ยวที่มากขึ้น เพื่อเป็ นการป้ องกันผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อม ทําให้เกาะพีพีในปัจจุบนั มีความหนาแน่นเป็ นอย่างยิง่ ชายหาดที่สวยงามของ 2 หาดที่โค้งเว้าเข้าหากันกําลังเปลี่ยนแปลงสภาพไปอย่างมากด้วยท่าเรื อและชุมชนที่หนาแน่น)

พ.ศ. 2544 ผลกระทบจากผูก้ ่อการร้ายนําเครื่ องบินชนตึก World Trade Center วันที่ 11 กันยายน 2544 ผูก้ ่อการร้ายได้นาํ เครื่ องบินพุง่ ชนตึก World Trade Center ทําให้ตึกแฝดพังทลายลง มีคนตายกว่า 3,000 คน บาดเจ็บกว่า 6,000 คน เหตุการณ์ครั้งนี้

เรี ยกขานตามวันและเดือนว่า “911” ได้ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวทัว่ โลก จํานวนนักท่องเที่ยว เดินทางน้อยลงโดยเฉพาะในกลุ่มให้รางวัล (Incentive) กลุ่มประชุมสัมมนา (Meeting) มีการ ยกเลิกเป็ นจํานวนมาก แต่อย่างไรก็ตาม สําหรับจังหวัดภูเก็ต ผลกระทบต่อการท่องเที่ยวภูเก็ตนั้นมีบา้ ง แต่ยงั อยูใ่ นอัตราที่ยงั ตํ่า เพราะนักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังภูเก็ตเป็ นชาวยุโรป ที่เป็ นกลุ่ม ครอบครัว และ การพักผ่อน เป็ นส่วนใหญ่ กลุ่มประชุมสัมมนายังมีไม่มากนัก และภูมิภาคเอเชียเป็ นภูมิภาคที่มีความสงบ ปราศจากความ รุ นแรง แต่อย่างไรก็ตามได้เริ่ มส่งผลกระทบในเรื่ องความสะดวกสบายในการเดินทาง มีการตรวจค้นอาวุธด้วยวิธีการต่างๆมาก ขึ้นเรื่ อยๆ โดยเฉพาะในสถานที่ที่เป็ นสาธารณะ เช่น สนามบิน โรงแรม เป็ นต้น

พ.ศ. 2545 เหตุระเบิดที่บาหลี อัตราการเข้าพักโรงแรมในภูเก็ตเริ่ มลดลง

ผลกระทบจากเครื่ องบินพุง่ ชนตึก World Trade Center ที่นิวยอร์ค ประเทศ สหรัฐอเมริ กา ทําให้ เป็ นที่หวาดประหวัน่ ไปทัว่ โลก เพราะเป็ นความรุ นแรงและเสี ยหายอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นทําให้โลกตื่นตะลึง และยกเลิกการเดินทางไประยะหนึ่ง อย่างไรก็ตามแม้จงั หวัดภูเก็ตจะไม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ 911 (Nine-One-One)เท่าใดนัก นักท่องเที่ยวยังคงเดินทางเข้าภูเก็ตเพียงแต่ส่วนหนึ่ งเริ่ มเปลี่ยนเส้นทางไปยังจังหวัด ใกล้เคียงคือพังงา และกระบี่ เนื่องจากภูเก็ตเริ่ มมีความหนาแน่นและภูมิทศั น์ที่สวยงามเริ่ มเปลี่ยนแปลงไป ด้วยมีสิ่งปลูกสร้างบด บังภูมิทศั น์มากขึ้น ทําให้อตั ราเข้าพักของโรงแรมในจังหวัดภูเก็ตลดลง ในขณะที่เขาหลัก จังหวัดพังงา และ อ่าวนาง จังหวัด กระบี่ เริ่ มเป็ นที่นิยมมากขึ้น

25


26

ในวันที่ 12 ตุลาคม 2545 เกิดระเบิดในไนต์คลับ บนหาดกุตะ เกาะบาหลี ประเทศอินโด นิเซีย ทําให้นกั ท่องเที่ยวตาย 202 คน และบาดเจ็บ 209 คน สามวันต่อมาเกิดระเบิดในห้างสรรพสิ นค้าบนเกาะแห่งหนึ่งในฟิ ลิปปิ นส์ รัฐบาลใน ประเทศตะวันตก รวมถึงออสเตรเลีย เข้าใจว่าการก่อร้ายได้ขยายผลมายังภูมิภาคนี้ ประกาศ เตือนประชาชนให้ระมัดระวังในการเดินทางมายังภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉี ยงใต้ ส่งผลกระทบ ทําให้นกั ท่องเที่ยวลดลงอย่างมากระยะหนึ่ง ในปี นี้ได้มีการปรับปรุ งแก้ไขพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2535 โดยตรา พระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2545 ขึ้น เพื่อแก้ไของค์ประกอบของคณะกรรมการธุรกิจนําเที่ยวและ มัคคุเทศก์ โดยให้เพิ่มจํานวนและมีผทู ้ รงคุณวุฒิที่มีความรู ้และประสบการณ์ทางธุรกิจนําเที่ยว และมัคคุเทศก์รวมอยูด่ ว้ ย อย่างไร ก็ตามหาได้มีผลในการบังคับใช้แต่อย่างใด

พ.ศ. 2546 โรคระบาดไข้หวัดมรณะซาร์ส (SARS) ไปทัว่ เอเซี ย กระทบการท่องเที่ยว

ในราวกลางปี เกิดโรคหวัด SARS ขึ้นในประเทศจีน ฮ่องกง และสิ งคโปร์ ทําให้นกั ท่องเที่ยวชาวยุโรป หวาดเกรงในการท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเซีย แม้แต่ประเทศไทยยังเกิดโรคระบาดในบางจังหวัด แต่กระทรวงสาธารณสุขได้ทาํ การแก้ไขป้ องกันอย่างทันท่วงที สามารถสกัดกั้นการแพร่ กระจายของโรคได้ สร้างความมัน่ ใจแก่นกั ท่องเที่ยว จึงทําให้การ ท่องเที่ยวชะลอตัวลงเล็กน้อยเพียงระยะเวลา 2-3 เดือน จึงกลับเป็ นปกติ นักท่องเที่ยวเดินทางเข้าจังหวัดภูเก็ตอย่างต่อเนื่อง อัตรา การเข้าพักอยูใ่ นอัตราที่สูง เฉลี่ยทั้งปี อัตราการเข้าพัก ประมาณ ร้อยละ 70 ทําให้มีการลงทุนก่อสร้างโรงแรมเพิม่ ขึ้น และ ขยาย พื้นที่ทางการท่องเที่ยวไปยังจังหวัดพังงา โดยเฉพาะบริ เวณ เขาหลัก ได้มีการก่อสร้างโรงแรมระดับ 4-5 ดาวเกิดขึ้นเป็ นจํานวน มาก ซึ่งส่วนใหญ่จะเปิ ดดําเนินการในราวปลายปี 2547 ในปลายปี 2546 ไม่มีเหตุการณ์รุนแรงใดๆ เกิดขึ้น แม้จะได้รับผลกระทบบ้างแต่ก็เป็ นไปในระยะสั้น นักท่องเที่ยวไปท่องเที่ยวที่บาหลีนอ้ ยลงเป็ นอย่างมาก เพราะนักท่องเที่ยวเปลี่ยนเส้นทางมาเที่ยวจังหวัดภูเก็ตแทน โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวชาวออสเตรเลีย ทําให้บรรยากาศการท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ตมีความสดใสมาก

เข้าสู่ ยคุ การท่องเที่ยวระดับ World Class พ.ศ. 2547 การท่องเที่ยว ชะงักงัน ด้วยโรคไข้หวัดนก (Bird Flu) จังหวัดภูเก็ตประกาศพัฒนาเมืองสู่ระดับเวิลด์คลาส (World Class) แต่ส่งท้ายปี เก่าด้วยธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิ (Tsunami) 26


27

ในเดือนมกราคมเกิดโรคไข้หวัดนกระบาด (Bird Flu) ทําให้กระทบต่อการท่องเที่ยว อยูร่ ะยะหนึ่ง แต่เมื่อได้มีมาตราการสกัดกั้นอย่างเต็มที่ โดยเผาทําลายสัตว์ปีกทั้งหมดในจังหวัดต่างๆ ที่มีการพบว่ามีไข้หวัดนกระบาด ทําให้สามารถสกัดกั้นการแพร่ ระบาดของโรคได้ การท่องเที่ยวกลับ ฟื้ นสู่สภาพปกติ หลังจากนั้นไม่มีเหตุการณ์ใดๆที่กระทบต่อการท่องเที่ยว ทําให้มีบรรยากาศที่สดใสอย่าง ต่อเนื่อง แม้จะล่วงเข้านอกฤดูกาลท่องเที่ยว (พฤษภาคม – ตุลาคม) แต่อตั ราการเข้าพักก็ไม่ได้ต่าํ กว่าในช่วงฤดูกาลเท่าใดนัก เมื่อ ไม่ได้มีเหตุการณ์ใดๆที่มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยวอีก ทําให้การท่องเที่ยวมีความสดใสเป็ นอย่างมาก ในปี นี้จงั หวัดภูเก็ตจึง ประกาศ ที่จะพัฒนาตนเองให้เป็ นเมืองท่องเที่ยวระดับ World Class เพื่อให้เป็ นที่ยอมรับในระดับโลกว่าเป็ นเมืองที่มาตรฐาน สูงทั้งในด้านสาธารณูปโภค สิ่ งอํานวยความสะดวก พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวรวมถึงสถานประกอบการต่างๆ และ พัฒนา ความสามารถของบุคคลากรให้มีมาตรฐานที่ดีเทียบเท่ากับเมืองท่องเที่ยวชั้นนําเป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไปในนานาประเทศ แต่ยงั ไม่ทนั ที่จะมีแผนปฏิบตั ิใดๆที่จะพัฒนาให้เป็ นเมืองท่องเที่ยวระดับเวิลด์คลาส (World Class) ในวันที่ 26 ธันวาคม เกิดธรณี พิบตั ิภยั คลื่นยักษ์สึนามิ เข้าถล่มชายฝั่งอันดา มัน เนื่องจากเกิดแผ่นดินไหวใต้ทะเลที่ระดับความสัน่ สะเทือน 8.9 ริ คเตอร์ บริ เวณเหนือเกาะสุ มาตรา ทําให้เกิดคลื่นใต้น้ าํ ไปทัว่ มหาสมุทรอินเดีย ความรุ นแรงของคลื่นยักษ์ที่เรี ยกว่า “สึนามิ (Tsunami)” มีอานุภาพรุ นแรง มีแรงกระเพื่อมของคลื่นเดินทางไปจนถึงชายฝั่งทวีปอัฟริ กา คลื่นยักษ์สึนามิน้ ีสร้างความเสี ยหายเป็ นอย่างมากที่จงั หวัดพังงา บริ เวณ เขาหลัก มีผเู ้ สี ยชีวติ และสูญหายกว่า 6,000 คน โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวเสี ยชีวติ เป็ นจํานวนมาก ส่วนจังหวัดภูเก็ตที่หาดกมลา และ ป่ าตอง มีผเู ้ สี ยชีวติ และสูญหาย กว่า 600 คน ส่วนจังหวัดอื่นๆในทะเลอันดามันเสี ยหายมากเช่นกัน แต่มีผเู ้ สี ยชีวติ ไม่มากนัก กรณี ธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิครั้งนี้นบั ว่าเป็ นครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัตศิ าสตร์ของโลก เพราะประมาณว่ามี ผูเ้ สี ยชีวติ กว่า 220,000 คน เพียงเกาะสุมาตราแห่งเดียวมีผเู ้ สี ยชีวติ กว่า 173,000 คน

พ.ศ. 2548 วิกฤตทางการท่องเที่ยวของภูเก็ตภายหลังธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิ กับ พลังของ ความร่ วมมือของทุกภาคส่ วน

ธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว อย่างรุ นแรงอย่างที่ไม่เคยประสบมาก่อนในประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ต ความเสี ยหายทั้งชีวติ และทรัพย์สิน เป็ นข่าวโศกนาฏกรรมที่แพร่ ขยายกระจายไปทัว่ โลก เป็ นที่ตก ตลึงและเสี ยขวัญต่อชาวโลก ความเสี ยหาย สูญหาย ทั้งชีวติ และ ทรัพย์สิน มีรายงานเพิ่มขึ้นจากทุกพื้นที่ที่คลื่นสึ นามิพดั พาไปถึง โดยเฉพาะอย่างยิง่ จังหวัดภูเก็ตมีข่าวลงอย่างต่อเนื่อง ไม่วา่ จะคณะค้นหา หรื อ เจ้าหน้าที่ของรัฐ เดินทางย่อมต้องเดินทางมาที่ จังหวัดภูเก็ต เพราะเป็ นศูนย์ปฎิบตั ิการในหลายๆด้าน แม้ความเสี ยหายจะไม่มากนัก เพราะความรุ นแรงเกิดขึ้นที่บริ เวณเขาหลักก็ ตาม แต่เนื่องจากภูเก็ตเป็ นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสี ยง และข่าวกิจกรรมที่จงั หวัดภูเก็ตอย่างต่อเนื่อง จึงเป็ นข่าวแพร่ สพัดไปทัว่ โลก ว่านักท่องเที่ยวเสี ยชีวติ และ หายสาบสูญ ไปเป็ นจํานวนมากที่จงั หวัดภูเก็ต ภายหลังเหตุการณ์ผา่ นไปได้ 3 เดือนนับแต่คลื่นยักษ์สึนามิเข้าทําลายชีวติ และทรัพย์สิน การช่วยเหลือ การ ค้นหาผูส้ ูญหายยังคงดําเนินอยู่ ในขณะที่นกั ท่องเที่ยวได้ลดลงเป็ นจํานวนมาก รัฐบาลใช้งบประมาณเป็ นอย่างมาก ในการฟื้ นฟู ปรับปรุ งภูมิทศั น์ ส่วนการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้พยายามส่งเสริ ม และ จัดให้ 27


28

มีกิจกรรมต่างๆ อาทิเช่น การแสดงดนตรี การมาเยีย่ มชมของคณะต่างๆ โดยนําบริ ษทั นําเที่ยว สื่ อมวลชนจากต่างประเทศมายัง ภูเก็ต เพื่อทําการประชาสัมพันธ์วา่ ได้มีการพัฒนาปรับปรุ งภูมิทศั น์ และ แหล่งท่องเที่ยวกลับคืนสู่สภาพเดิมแล้ว อย่างไรก็ตาม ปรากฏว่าจํานวนผูเ้ ดินทางเข้าจังหวัดภูเก็ตยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง 6 เดือนนับจากคลื่นยักษ์สึนามิซดั กระหนํ่าชายฝั่งทะเลอันดามัน นักท่องเที่ยวได้ลดลงจนกระทัง่ โรงแรมมี อัตราการเข้าพักเฉลี่ยเหลือเพียงร้อยละ 10 ไม่เว้นแม้แต่ร้านค้าทัว่ ไปที่ไม่ได้ติดต่อค้าขายกับนักท่องเที่ยวก็ตาม ขายสิ นค้าไม่ได้ การขายลดลงกว่า 80% ถึงขนาด ร้านข้าวมันไก่ เดิมขายไก่ได้วนั ละ 13-14 ตัว ภายหลังเหตุการณ์ธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิขายไก่ได้ เพียง 2 ตัว จากการวิเคราะห์พบความเป็ นจริ งว่าตลอดระยะเวลา 4 – 5 เดือนแรกภายหลังเกิดธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิน้ นั ผูเ้ ดินทาง เข้ามาอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ของรัฐบาล ข้าราชการ ญาติของผูเ้ สี ยชีวติ หรื อผูส้ ูญหาย ผูเ้ ดินทางมาทํากิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมกระตุน้ การท่องเที่ยว กิจกรรมปรับปรุ งภูมิทศั น์ การสํารวจค้นหา การจัดการศพของผูเ้ สี ยชีวติ คณะผูช้ ่วยเหลือผู ้ เดือดร้อนต่างๆ ซึ่งบุคคลเหล่านี้ได้พาํ นักตามโรงแรมต่างๆ อัตราการเข้าพักถึงลดลงแต่ก็ยงั การเข้าพัก ครั้นเมื่อบุคคลเหล่านี้ได้ เสร็ จสิ้นภารกิจและทะยอยกลับไปแล้ว ความจริ งจึงปรากฏให้เห็นชัดเจนว่า นับตั้งแต่เกิดธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิ ไม่ มนี ักท่ องเทีย่ ว เข้ ามาในบริเวณพื้นทีภ่ ูเก็ต และชายฝั่งทะเลอันดามันอีกเลย ผลกระทบแสดงให้เห็นชัดเจนในหลายรู ปแบบ นับตั้งแต่มีการปิ ด กิจการ การเลิกจ้าง การลดค่าแรง การย้ายถิ่นทํามาหากิน โดยเฉพาะการโยกย้ายด้านแรงงานของโรงแรม บริ ษทั นําเที่ยว ร้านอาหาร ร้านขายสิ นค้า และ อื่นๆ อย่างมากมาย เนื่องจากไม่มนี กั ท่องเที่ยวชาติใดสนใจที่จะมาท่องเที่ยวในภูมิภาคนี้อีก ด้วย เข้าใจว่าเสี ยหายไปหมดแล้ว บ้างเกรงว่าจะพบภาพที่ไม่พึงประสงค์ หรื อ บ้างเชื่อในเรื่ องภูติผีปีศาจ บริ ษทั นําเที่ยวใน ต่างประเทศหยุดการขาย และ เปลี่ยนเส้นทางในการขาย ไปยังภูมิภาคอื่นแทน ทําให้ภูมิภาคอื่นๆ กลับมีนกั ท่องเที่ยวเป็ นจํานวน มาก อาทิเช่น เกาะสมุย เกาะช้าง พัทยา ชะอํา หัวหิ น และ ประเทศข้างเคียง เป็ นต้น ในเดือนมิถุนายนพบว่าสายการบินต่างๆที่บินเข้าภูเก็ตลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเที่ยวบินระหว่าง ประเทศได้มีการยกเลิก ไปกว่าร้อยละ 90 ของเที่ยวบินที่เคยทําการบินอยู่ คงเหลือเพียงสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ และ ซิลค์ แอร์ เท่านั้น แต่ได้ลดเที่ยวบินลงเรื่ อยๆ จากเดิมวันละ 2-3 เที่ยวบิน จนเหลือเพียงวันละหนึ่งเที่ยวบิน และกําลังพิจารณาลด เที่ยวบินให้เหลือเพียงสัปดาห์ละ 3 เที่ยวบิน หรื อ ยกเลิกเที่ยวบิน ชมรมไทยบริ การท่องเที่ยวภาคใต้ตอนบน TTAA Upper South Chapter พบ ความเคลื่อนไหวของเที่ยวบินต่างๆมีการยกเลิกเที่ยวบินที่ละสายการบิน โดยเฉพาะสายการบินต่างประเทศ ซึ่งหากมีการยกเลิกการที่จะกลับมาบินใหม่คงจะเป็ นไปได้ยาก ดังนั้นหากไม่มีสายการบินเข้าจังหวัดภูเก็ต (Accessibility) จะกระทบต่อตลาดและจํานวนนักท่องเที่ยวเป็ นอย่างมาก จึงปรึ กษาร่ วมกับนางสุวลัย ปิ่ นประดับ ผูอ้ าํ นวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยภาคใต้เขต 4 จัดให้มีการระดมสมอง (Brain Storming) หัวข้อ “ระดมความคิด ฝ่ าวิกฤตอันดามัน” โดยนายชาญ วงศ์สตั ยนนท์ ประธานชมรม TTAA Upper South Chapter นําเสนอ ข้อมูลจํานวนนักท่องเที่ยวและเที่ยวบินที่ลดลงอย่างต่อเนื่องให้ทุกคนทราบถึงสถานะการณ์วกิ ฤตที่กาํ ลังเกิดขึ้น และรวบรวม ความคิดเห็น จ้อเสนอแนะในการแก้ไขวิกฤต จากทุกภาคส่วนของธุรกิจการท่องเที่ยว ได้แก่ สายการบินต่างๆที่เคยบินเข้าภูเก็ต และยกเลิก (Airlines) บริ ษทั นําเที่ยวที่ทาํ ตลาดกับต่างประเทศโดยตรง (Inbound Tour Operator) ฝ่ ายการตลาดของ โรงแรม (Hotel Marketing) และ ผูอ้ าํ นวยการของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยในภาคพื้นต่างๆ (TAT Directors) เพื่อ ค้นหาสาเหตุที่นกั ท่องเที่ยวไม่เดินทางเข้ามาภูเก็ตอีกเลย เพราะสาเหตุใดบ้าง การที่ไม่มีผโู ้ ดยสารเดินทางจนทําให้สายบินต้อง ลดเที่ยวบินจนกระทัง่ ยกเลิกเที่ยวบินไปในที่สุด เพราะเหตุใด ผลจากการระดมความคิด ได้ขอ้ มูลและข้อคิดเห็นเป็ นอย่างมาก ที่ ผูเ้ กี่ยวข้องทุกภาคส่วนนําไปพิจารณาดําเนินการ 28


29

ระหว่างเดือนสิ งหาคม – ตุลาคม ผูป้ ระกอบการท่องเที่ยวใน 3 จังหวัดชายฝั่งอันดามัน เริ่ มดําเนินโครงการ “สนุกทั้งเกาะ ลดทั้งเมือง” เป็ นโครงการแรก เพื่อแสดงพลังของความร่ วมมือในการแก้ปัญหาร่ วมกัน รวมพลังในการขับเคลื่อน ฟื้ นฟูการท่องเที่ยว โดยได้รับความร่ วมมือจากสายการบินภายในประเทศ (การบินไทย บางกอกแอร์เวย์ โอเรี ยนไทย แอร์เอเซีย) โรงแรมนับร้อยโรงแรมจาก 3 จังหวัด บริ ษทั นําเที่ยวต่างๆ องค์กรการท่องเที่ยวทั้งส่วนกลาง (ได้แก่ TTAA สมาคมไทย บริ การท่องเที่ยว, ATTA สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว, ITA สมาคมผูจ้ าํ หน่ายบัตรโดยสาร, TDA สมาคมธุรกิจท่องเที่ยว ภายในประเทศ) สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวส่วนท้องถิ่น ( เช่น TTAA Upper South Chapter ชมรมไทยบริ การท่องเที่ยว ภาคใต้ตอนบน, PTA Phuket Tourist Association สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภูเก็ต, PNTA สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวพังงา, KTA สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวกระบี่) และการท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย ต่อมาภายหลังโรงแรมแต่ละโรงแรมได้คิดทําโครงการโดยร่ วมมือกับเอเย่นต์ที่ต่างมีสายสัมพันธ์กนั อยูใ่ น แต่ละประเทศในแต่ละตลาด ร่ วมมือกันในการส่งเสริ มการท่องเที่ยว มีการร่ วมมือระหว่างสายการบินกับบริ ษทั นําเที่ยวใน ต่างประเทศในการลดราคาเพื่อกระตุน้ ตลาด การบินไทยเริ่ มทําการบินในบางตลาดที่สายการบินอื่นได้ยกเลิกและยังไม่เริ่ มต้นทํา การบินใหม่ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงผูซ้ ้ือโดยตรงโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และยังได้ให้การสนับสนุน งบประมาณกับสายการบินต่างๆให้กลับมาบินเช่นเดิม โดยร่ วมกับผูป้ ระกอบการท่องเที่ยวของประเทศนั้นๆในการกระตุน้ การ ท่องเที่ยวให้กลับคืนมา สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวจ.ภูเก็ตออกเดินทางไปทําตลาดในต่างประเทศในลักษณะ Road Show การ ผนึกกําลังความสามารถร่ วมกันเคลื่อนไหวของทุกๆฝ่ ายได้ก่อให้เกิดพลังในการกระตุน้ ตลาด ตลาดมีความตื่นตัว และเริ่ ม เคลื่อนไหว ปลายปี นั้นการท่องเที่ยวกระเตื้องขึ้นเล็กน้อย

พ.ศ. 2549 การท่องเที่ยวเริ่ มฟื้ นตัวแต่ไม่เทียบเท่ากับการเติบโตของธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์

องค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ และ เอกชน ยังคงทําการตลาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ขอ้ มูลเข้าถึง นักท่องเที่ยวให้มากที่สุด มี การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ เชิญบริ ษทั นําเที่ยวเดินทางเข้ามายังประเทศ และ ผูป้ ระกอบการโรงแรม และบริ ษทั นําเที่ยวเดินทาง ออกไปยังต่างประเทศ มีการทําการตลาดกันอย่างกว้างขวาง ในทุกๆประเทศ ตลาดบางประเทศกลับคืนเป็ นปกติ ได้แก่กลุ่ม ประเทศในทวีปยุโรป ออสเตรเลีย แต่ยงั มีบางประเทศยังไม่กลับคืนเช่นปกติ ได้แก่ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน แม้จงั หวัดภูเก็ตจะประสบภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิ ได้ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ตเป็ น อย่างมาก แต่กลุ่มธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ ซึ่งส่วนมาก เป็ นชาวต่างชาติกลับเล็งเห็นว่า เป็ นโอกาสอันดี สําหรับธุรกิจบ้านที่อยูอ่ าศัย โดยเฉพาะพื้นที่ที่อยูบ่ น ภูเขา และชายทะเลทัว่ ไป สามารถซื้อหาที่ดินได้ใน ราคาที่ถูก นํามาพัฒนาและขายได้ในราคาที่สูง ดังนั้นนับตั้งแต่เกิดคลื่นยักษ์สึนามิเรื่ อยมาจนถึงปี นี้ ธุรกิจซื้อขายที่ดินกลับเติบโต อย่างกว้างขวาง มีอาชีพนายหน้าขายที่ดินเกิดขึ้นอย่างมากมาย ทําการติดต่อซื้อขายทั้งที่เป็ นที่ดินที่มีเอกสารถูกต้องตามกฎหมาย และอาจไม่ถูกต้อง ในบางพื้นที่อาจขัดกับ พ.ร.บ. สิ่ งแวดล้อมฯ หรื อ ทําลายสภาพแวดล้อม นอกจากนี้ดว้ ยช่องว่างทางกฎหมายที่ สามารถมีกรรมสิ ทธิ์ในที่ดินในรู ปของบริ ษทั ดังนั้นการถือหุน้ ด้วยคนไทยในลักษณะตัวแทน (Nominee) มีข้ ึนอย่าง แพร่ หลาย ด้วยยังเข้าใจว่าเศรษฐกิจจะดีได้น้ นั ต้องอาศัยเงินลงทุนจากต่างชาติและยึดถือเป็ นปัจจัยหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศมาโดยตลอดระยะเวลา 30-40 ปี ที่ผา่ นมา ทําให้ต่างพยายามส่งเสริ มให้มีการนําเงินทุนจากต่างประเทศเข้าประเทศ 29


30

แม้เงินทุนนั้นจะมีที่มาอย่างไรก็ไม่ได้มีการตรวจสอบกันเท่าใดนัก ในขณะที่ประชาชนทัว่ ไปไม่ได้แสดงความวิตกต่อความ เสี ยหายทางสังคม และสิ่ งแวดล้อมที่กาํ ลังจะเกิดขึ้น เพราะต่างประกอบอาชีพเพื่อความอยูร่ อดจากความเสี ยหายที่ได้รับ ผลกระทบจากคลื่นยักษ์สึนามิ จึงสนใจเพียงการกระตุน้ เศรษฐกิจของ ตนเอง จึงมองไม่เห็นถึงปั ญหาที่กาํ ลังคืบคลานเข้ามา อัน จะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวติ ของตนเองในระยะยาว ย้อนหลังถึงเหตุการณ์วกิ ฤตเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2540 ประชาชน นักธุรกิจ ต่างคาดหวังให้รัฐบาลแก้ไขปั ญหา เศรษฐกิจด้วยความรวดเร็ ว แต่ภายหลังวิกฤตเศรษฐกิจรัฐบาลโดยพรรคประชาธิปัตย์ไม่สามารถแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจได้รวดเร็ ว ทันใจ ดังนั้นจึงส่งผลให้มีการเปลี่ยนรัฐบาลที่มีนโยบายในรู ปแบบของโครงการต่างๆ ไม่ใช่นโยบายกว้างๆเช่นในอดีตที่ผา่ นๆ โครงการต่างๆถูกนําเสนอต่อสังคมและประชาชน ปรากฏว่าได้รับการตอบรับจากประชาชนทัว่ ประเทศเป็ นอย่างดี เพราะต่าง เห็นว่ารัฐบาลที่มีความซื่อสัตย์แต่แก้ไขปั ญหาไม่รวดเร็ วทันใจ ไม่เห็นผลงานที่เป็ นรู ปธรรม จึงอยากได้รัฐบาลที่มีความสามารถ แก้ไขปั ญหาให้เห็นเป็ นรู ปธรรม แม้จะโกงกินบ้างก็ไม่เป็ นไร จึงมีนิยามให้กบั รัฐบาลนายชวน หลีกภัย ว่า “ชวนเชื่ องช้ า”

พร้อมๆกับการเกิดกระแสยอมรับความคิดเห็นที่ขยายตัวไปอย่างรวดเร็ วว่า “โกงบ้ างไม่ เป็ นไร ขอให้ มีผลงานเป็ นใช้ ได้ ” ดังนั้น ตลอดระยะเวลา 3-4 ปี ที่ผา่ นมาจึงมีโครงการต่างๆเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งหนึ่งในโครงการนั้นมีโครงการขนาดใหญ่มากด้วย มีเป้ าหมายของรัฐบาลที่จะให้มีจาํ นวนนักท่องเที่ยวเพิ่มเป็ น 20 ล้านในอีก 5 ปี ข้างหน้า (ปี พ.ศ. 2552) โครงการนั้นคือการ ก่อสร้าง “สนามบินสุวรรณภูมิ” ซึ่งมีการเร่ งดําเนินการก่อสร้างเพื่อสามารถเปิ ดใช้บริ การในปลายปี นี้ แต่โครงการสนามบิน สุวรรณภูมิกลับมีข่าวคราวเรื่ องการทุจริ ตคอรัปชัน่ เป็ นอย่างมาก จากการจัดซื้อ ว่าจ้าง หลายๆอย่างในโครงการ ต่อมามีการ วิพากษ์วจิ ารณ์จากผูป้ ระกอบการในเรื่ องการกระทําอันทุจริ ตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐทั้งภาคการเมืองและราชการที่ เพิ่มมากขึ้นอย่างกว้างขวางทัว่ ไปทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับประเทศ แต่ยงั หามีข่าวคราวในแง่ลบของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตรไม่ ประชาชนทัว่ ไปเริ่ มจับตามองพฤติกรรมของรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร และ นักการเมืองฝ่ ายรัฐบาล ในราวปลายปี 2548 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้ขายธุรกิจของตนเอง ให้กบั กองทุนทามาเซคประเทศสิงคโปร์ โดยทําการซื้อขายผ่านตลาดหลักทรัพย์ มีการซื้อการขายที่ เป็ นไปอย่างซับซ้อน ด้วยการโอนหุน้ ไปมาระหว่างคนในครอบครัว คนใกล้ชิด และ เครื อญาติ โอน จากบริ ษทั นั้นไปยังบริ ษทั นี้ บางบริ ษทั มีที่ต้งั อยูใ่ นเกาะบริ ติชเวอร์จินส์ ไอส์แลนด์ (British Virgin Islands) ซึ่งเป็ นหมู่เกาะที่กล่าวขานว่า เป็ นแหล่งฟอกเงินที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เป็ นพฤติกรรมที่ส่อให้ เห็นว่าการซื้อขายบริ ษทั ครั้งนี้เป็ นไปอย่างมีเงื่อนงํา และเป็ นที่เคลือบแคลงสงสัยว่าการซื้อขายครั้งนี้มี การจงใจที่จะหลีกเลี่ยงการเสี ยภาษี ทําให้การเมืองเข้าสู่ภาวะวิกฤต ประชาชนไม่พอใจกับจริ ยธรรม ของผูน้ าํ ประเทศ เรี ยกร้องให้นายกรัฐมนตรี ลาออก มีการชุมนุมขับไล่พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในที่สุด นายกรัฐมนตรี แก้ปัญหาด้วยการยุบสภาเพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่ ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2549 เพื่อจัดให้มีการเลือกตั้ง ผูแ้ ทนราษฎรใหม่ในวันที่ 2 เมษายน 2549 อย่างไรก็ตามแม้จดั ให้มีการเลือกตั้งใหม่ แต่ผลการ เลือกตั้งมีปัญหาอีกมากมาย จนในที่สุดมีกาํ หนดการให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 15 ตุลาคม 2549 การชุมนุมคัดค้านและขับไล่นายกรัฐมนตรี และ รัฐบาลยังคงดําเนินต่อไป และส่อเค้าความรุ นแรงไปสู่ การเผชิญหน้าของประชาชน 2 ฝ่ ายที่ สนับสนุน และ ต่อต้าน พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในที่สุดพลเอก สนธิ บุณยรัตกลินทําการรัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน 2549 แต่ไม่มีเหตุการณ์รุนแรงเหมือนเช่น 30


31

ในอดีต เช่น 14 ตุลาคม 2516 หรื อ 6 ตุลาคม 2519 หรื อ 22 พฤษภาคม 2535 กลับเป็ นบรรยากาศที่ประชาชนให้การ สนับสนุน ด้วยการมอบดอกไม้แสดงความยินดีให้กบั เหล่าทหารที่ยนื ประจําการในที่ต่างๆ เสมือนประชาชนมีความรู ้สึกพอใจที่ ทหารได้เข้ามาคลี่คลายสถานการณ์ สามารถลดความตึงเครี ยดได้ ภาพพจน์ที่เกิดขึ้นจึงไม่มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยวแต่อย่าง ใด ในวันที่ 28 กันยายน สนามบินสุวรรณภูมิเปิ ดให้บริ การ พร้อมๆกับปั ญหาความไม่เรี ยบร้อยในหลายๆเรื่ อง แต่ การท่องเที่ยวดีข้ ึนมาก โดยเฉพาะที่จงั หวัดภูเก็ตด้วยมีบางตลาดที่นกั ท่องเที่ยวเพิม่ ขึ้นอย่างมาก ได้แก่ สแกนดิเนเวีย รัสเซีย และ ออสเตรเลีย เพราะมีการเพิ่มเที่ยวบินเช่าเหมาลําเป็ นจํานวนมาก เช่นรัสเซีย ในอดีตหลายปี ที่ผา่ นมามีเที่ยวบินเช่าเหมาลําเพียง 34 เที่ยวบินเท่านั้น แต่ในปี นี้ มีเที่ยวบินเหมาลําสัปดาห์ละ 1 เที่ยวบิน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2549 ถึง เดือนมีนาคม 2550 และบางช่วงเสริ มด้วยเที่ยวบิน 747 รวมอีก 4-5 เที่ยวบิน อัตรา การเข้าพักจึงสูงมากผิดความคาดหมาย ก่อให้เกิดปั ญหากับนักท่องเที่ยวที่เข้าพักของโรงแรมต่างๆ เกินจํานวนห้องพักที่มีอยูต่ อ้ งย้ายจัดหาที่พกั กันอย่างวุน่ วาย

พ.ศ. 2550 อัตราการเข้าพัก ดีกว่า ก่อนเกิดเหตุการณ์สึนามิ

นับจากปลายปี 2549 ต่อเนื่องต้นปี 2550 อัตราการเข้าพักสูงเกินความคาดหมาย มีปัญหาในการรับจอง เข้าพักของโรงแรมต่างๆ เกินจํานวนห้องพักที่มีอยู่ ด้วยการท่องเที่ยวกลับคืนสู่จงั หวัดภูเก็ตอย่างรวดเร็ ว และมากกว่าที่ประมาณ การไว้ ทําให้เกิดปั ญหาห้องพักไม่เพียงพอ โรงแรมต่างๆต้องบริ หารจัดการเรื่ องห้องพักในการย้ายที่พกั กันตลอดเวลาเกือบตลอด ช่วงของฤดูกาลท่องเที่ยว นอกจากนี้ยงั เกิดปัญหาความขาดแคลนแรงงานทีมีฝีมือเป็ นจํานวนมาก เพราะในช่วงปี 2548 ภายหลัง ธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิ แรงงานที่มีฝีมือมีความสามารถได้อพยพย้ายถิ่นไปทํามาหากินในแหล่งท่องเที่ยวอื่นเป็ นจํานวนมาก ขณะที่การท่องเที่ยวที่กลับสู่สภาวะที่ดีข้ ึนอย่างมาก เช่นเดียวกันธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ได้เติบโตอย่างมาก เช่นกัน ประกอบกับจ.ภูเก็ตเพิ่งผ่านพ้นเหตุการณ์ธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิ จึงไม่มีผใู ้ ด หรื อ มีขอ้ จํากัดใดๆที่จะเป็ นการสกัดกั้นเงินทุน ไหลเข้าจังหวัด การเปิ ดพื้นที่เพื่อโครงการต่างๆเป็ นไปอย่างไร้ขอ้ จํากัด การพัฒนาเป็ นไปอย่างไม่คาํ นึงถึงผลกระทบทาง สิ่ งแวดล้อม หรื อ ปั ญหาสังคมที่จะติดตามมา หรื อ แม้กระทัง่ การเตรี ยมการในเรื่ องโครงสร้างพื้นฐาน ไม่วา่ จะเป็ น ถนน ไฟฟ้า นํ้าประปา รวมถึงการบริ หารการจัดการขององค์กรท้องถิ่นที่จะรองรับกับความเปลี่ยนแปลงที่จะติดตามมาในอนาคต ธุรกิจส่วน ใหญ่ลงทุนในด้านอสังหาริ มทรัพย์ ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจท่องเที่ยว ร้านอาหาร และอื่นๆ และเป็ นชาวต่างชาติเป็ นส่วนมาก ทําให้ สัดส่วนของผูป้ ระกอบการ ที่เป็ นชาวต่างชาติ และ ต่างถิ่นมากขึ้น มีการหลัง่ ไหลแรงงานต่างถิน่ และชาวต่างชาติยา้ ยถิ่นเข้ามา มากนับเป็ นเท่าตัว จากที่เคยได้เคยอพยพหลัง่ ไหลเข้าอย่างต่อเนื่องในรอบ 10 ปี ที่ผา่ น มีการลงทุนโดยชาวต่างชาติเพิ่มขึ้น มีการ ซื้อขายที่ดินกันในทุกพื้นที่ ที่ดินได้เปลี่ยนมือเป็ นของชาวต่างชาติ และ ต่างถิ่นอย่างมากมาย การสร้างอาคารที่พกั บนภูเขา สามารถพบเห็นได้โดยทัว่ ไป แม้ไม่ได้มีการสํารวจตัวเลขกันอย่างชัดเจน แต่ประมาณการว่าผูป้ ระกอบการอสังหาริ มทรัพย์ใน จังหวัดภูเก็ตกว่าครึ่ งเป็ นของชาวต่างชาติ และ คนต่างถิ่น

31


32

ในวันที่ 16 กันยายน สายการบิน One Two Go จากกรุ งเทพ มุ่งหน้า ไปยังจังหวัดภูเก็ต ระหว่างที่ลงจอดบริ เวณท่าอากาศยานภูเก็ต ทันที่ที่แตะพื้นรันเวย์ เกิดกระแส ลมเปลี่ยนทิศทางกระทันหัน (Wind Shear)เครื่ องบินเสี ยการทรงตัว ลื่นไถลออกนอกรันเวย์ไป ชนกับกําแพงดินซึ่งเป็ นคันดินลาดเชิงเขา พร้อมเกิดระเบิดติดตามมา 2 ครั้ง ทําให้เครื่ องบินหัก เป็ น 2 ท่อน และมีไฟลุกไหม้ มีผบู ้ าดเจ็บ 42 คน และ มีผเู ้ สี ยชีวติ 89 คน นับเป็ นอุบตั ิเหตุที่ร้ายแรงที่เกิดขึ้นเป็ นครั้งที่ 2 ที่ สนามบินนานาชาติ ภูเก็ต แต่ดว้ ยความพร้อมจากการฝึ กซ้อม ทําให้สนามบินภูเก็ตสามารถเปิ ดทําการได้ภายในเวลาไม่กี่ชว่ั โมง จึงไม่ทาํ ให้กระทบต่อการท่องเที่ยวแต่อย่างใด จากการปฏิรูประบบราชการ กระทรวงทบวงกรมต่างๆ ในการจัดตั้งกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาขึ้น ตามพระราชบัญญัติปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 จึงได้มี ปรับปรุ งแก้ไขพ.ร.บ.ธุรกิจนําเที่ยว พ.ศ. 2535 และ พ.ศ.2545 ในโอกาสที่รัฐบาลที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งชาติ (ค.ม.ช.) กําลังจะสิ้นสุดลงจึงได้เร่ งนําร่ าง พ.ร.บ.ธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 เข้าสภาเพื่อผ่านมติของสภา กําหนดให้สาํ นักพัฒนาท่องเที่ยวรับผิดชอบ ดําเนินการแทนการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย แต่ดูเหมือนว่ามีการแก้ไขกฏหมายถึง 2 ครั้ง ปั ญหาเรื่ องมาตรฐานและ การจัด ระเบียบตามเจตนารมณ์ของกฏหมาย ยังไม่ได้รับการดูแลแก้ไขอยูน่ นั่ เอง ในปี นี้ อตั ราค่าห้องพักสูงขึ้นกว่า 30% เนื่องจากได้มีการปรับค่าห้องพักเพิ่มขึ้น และ ในขณะเดียวกัน ค่าเงินบาทมีค่าแข็งขึ้นกว่า 20% เมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์ พร้อมๆกันไปกับสังคมและสิ่ งแวดล้อมซึ่งเป็ นจุดขายทางการ ท่องเที่ยวของภูเก็ตได้มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็ นอย่างมาก ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทรมมีมากขึ้นและกําลังเข้าสู่ระดับวิกฤต ได้แก่ ปั ญหาขยะ นํ้าเสี ย สาธารณสุข การก่อสร้างที่ทาํ ให้ภูมิทศั น์ที่สวยงามทางธรรมชาติเปลี่ยนไป ปั ญหาด้านสังคม ความไม่ ปลอดภัย ปั ญหาคุณภาพของบุคลากร ดูเสมือนว่าปั จจุบนั สังคมขาดภูมิคุม้ กัน การพัฒนาเป็ นไปอย่างไร้ทิศทาง

พ.ศ. 2551 วิกฤตการณ์ราคานํ้ามัน ตามติดด้วยวิกฤตการณ์ทางการเงินโลก ปัญหาการเมืองไทยที่เข้าสู่ ข้ นั วิกฤต ส่ งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวทัว่ ประเทศ

ถูกซํ้าเติมด้วย

จากอัตราค่าห้องที่โรงแรมได้ปรับตัวสูงขึ้นเพราะอัตราการเข้าพักในปี 2549 ที่สูงเกินความคาดหมาย ผนวกกับ ค่าเงินบาทที่แข็งขึ้น ทําให้ค่าห้องพักเพิ่มขึ้นกว่า 30% เริ่ มส่งผลให้การท่องเที่ยวไม่หนาแน่นเท่าปลายปี 2549 และ ต้นปี 2550 ในขณะที่ต้ งั แต่เดือนมีนาคม ต่อเนื่องถึงเดือนมิถุนายน ราคานํ้ามันในตลาดโลกสูงขึ้นกว่า 60% ทําให้ สายการบินมีการบวกราคานํ้ามันเข้าไปค่าตัว๋ เครื่ องบินที่สูงมากขึ้น ดังนั้นค่าเดินทางจึงสูงขึ้นมาก ผนวกกับค่าห้องพักที่มีราคา เพิ่มขึ้น เริ่ มมีสญ ั ญาณส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว ด้วยมีอตั รานักท่องเที่ยวที่ลดลงตามลําดับ วันที่ 26 สิ งหาคม เกิดปรากฏการณ์ทางการเมือง อย่างไม่คาดคิดมาก่อน ด้วยกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยเข้ายึดตึกไทยคู่ฟ้าทําเนียบรัฐบาล ในวันที่ 29-31 สิ งหาคม กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย จังหวัดภูเก็ตเข้าปิ ดล้อมสนามบินนานาชาติภูเก็ต การปิ ดล้อมเป็ นระยะเวลา 2 วัน ทําให้ เที่ยวบินที่ข้ ึนและลงในแต่ละวันที่มีจาํ นวน 118 เที่ยวบิน ไม่สามารถเดินทางเข้าภูเก็ต และ ออกจากภูเก็ตได้ ข่าวการปิ ดล้อม สนามบินที่ภูเก็ตทําให้มีการยกเลิกการเดินทางของนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้าภูเก็ตเป็ นจํานวนมาก 32


33

ในเดือนกันยายนผลของหนี้เสี ยที่เกิดขึ้นกับเงินกูท้ ี่ปล่อยให้กบั ลูกหนี้ที่ดอ้ ยคุณภาพ (Sub-Prime Loan) ในสหรัฐอเมริ กา เริ่ มปรากฏผลของภาวะเศรษฐกิจที่ตกตํ่าของสหรัฐอเมริ กา และขยายผลต่อเนื่ องไปยังประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป เช่น อังกฤษ ไอซ์แลนด์ เยอรมัน บริ ษทั ใหญ่ๆมีนโยบายในการลดการว่าจ้างแรงงานลง 20-30% ในวันที่ 7 ตุลาคม นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ภายหลังขึ้นดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี ต้องแถลงนโยบายต่อ รัฐสภา กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพือ่ ประชาธิปไตยได้เคลื่อนขบวนเข้าปิ ดล้อมรัฐสภา เพื่อไม่ให้สามารถเปิ ดประชุมสภา ผูแ้ ทนราษฎรได้ แต่นายชัย ชิดชอบ ประธานรัฐสภายังคงยืนยันที่จะให้มีการประชุม ดังนั้นในเช้าวันนั้นจึงมีการสลายการชุมนุม ในที่สุดโศกนาฏกรรมของการเมืองไทยได้เกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เช่นเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516, 6 ตุลาคม 2519 และ พฤษภา ทมิฬ 2535 มีผคู ้ นล้มตายและ บาดเจ็บ เป็ นจํานวนมาก วันที่ 25 พฤศจิกายน กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เข้าปิ ดล้อมสนามบินนานาชาติสุวรรณ ภูมิ เพื่อรอรับการกลับมาของนายกรัฐมนตรี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ที่เดินทางกลับจากการประชุม ASEM (The Asia-Europe Meeting) ที่ประเทศเปรู ทําให้การท่าอากาศยานแห่ งประเทศ ไทยประกาศปิ ดสนามบิน นักท่องเที่ยวตกค้างอยูท่ ี่สนามบินนับหมื่นคน และอีก 2 วันต่อมาในเช้า วันที่ 27 พฤศจิกายน กลุ่มพันธมิตรฯได้ปิดล้อมสนามบินดอนเมืองเพิ่มอีกแห่งหนึ่ง เพื่อป้ องกัน ไม่ให้คณะรัฐมนตรี เดินทางไปประชุมกับนายกรัฐมนตรี ที่จงั หวัดเชียงใหม่ ซึ่งการปิ ดล้อมสนามบินทั้งสองสนามบิน ได้ส่งผล กระทบต่อการท่องเที่ยวอย่างรุ นแรง ทําให้นกั ท่องเที่ยวลดจํานวนลงกว่า 60% มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างรุ นแรงชนิดที่ไม่ เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์การท่องเที่ยวไทย รัฐบาลได้มีมติประกาศใช้พ.ร.ก. สถานการณ์ฉุกเฉิ น ใน 2 พื้นที่คือ สนามบินดอนเมือง และ สนามบิน สุวรรณภูมิ เพื่อเข้าเคลียร์พ้ืนที่ วันที่ 2 ธันวาคม ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีมติยบุ พรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรค มัชฌิมาธิปไตย ตัดสิ ทธิ์ทางการเมืองของกรรมการบริ หารพรรคเป็ นเวลา 5 ปี ทําให้นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์พน้ จากตําแหน่ง นายกรัฐมนตรี วันต่อมากลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย สลายการชุมนุมที่สนามบินสุวรรณภูมิ สนามบินดอนเมือง และ ทําเนียบรัฐบาล ทําให้บรรยากาศความตึงเครี ยดทางการเมืองคลี่คลายลง สายการบินต่างๆเริ่ มดําเนินการบินกลับมาเช่นเดิม ในเดือนธันวาคมปั ญหาลูกหนี้ดอ้ ยคุณภาพ (Sub-Prime Loan) ที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริ กา ได้ขยาย ผลไปสู่ประเทศในยุโรป อังกฤษ ไอซ์แลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมันนี ญี่ปุ่น เกาหลี เกิดวิกฤตการณ์ทางการเงินไปทัว่ โลก เนื่องจาก ความเกี่ยวโยง การค้าขายซึ่งกันและกันในยุคของโลกาภิวตั น์ เกิดภาวะว่างงานเพิ่มมากขึ้นเรื่ อยๆ ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวเป็ นอย่างมาก เพราะนักท่องเที่ยวชาวยุโรปเป็ นนักท่องเที่ยวหลัก ที่ เดินทางมาท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต ทําให้มีนกั ท่องเที่ยวในเดือนพฤศจิกายนลดลงร้อยละ 30 เมื่อเทียบ กับปี ที่ผา่ นมา รวมกับผลกระทบจากการปิ ดสนามบินสุวรรณภูมิ ทําให้การท่องเที่ยวในฤดูกาล ท่องเที่ยว (High Season) ซึ่งในอดีตเดือนธันวาคมตามเหตุการณ์ปกติที่ผา่ นมาอัตราการเข้าพัก เฉลี่ยในแต่ละปี อยูใ่ นระดับ 80-90% แต่ผลจากการปิ ดสนามบิน และ เศรษฐกิจที่ตกตํ่า ทําให้ในพื้นที่กรุ งเทพ อัตราการเข้าพัก ของโรงแรมเฉลี่ยเหลือเพียง 40 - 50% เท่านั้น ส่วนภูเก็ตเนื่องจากมีเที่ยวบินเช่าเหมาลํา ทําให้อตั ราการเข้าพักเฉลี่ยอยูท่ ี่ 60 70%

33


34

พ.ศ. 2552 การเมืองที่ยงุ่ เหยิง การเรี ยกร้องที่ทาํ เกินขอบเขตของเสรี ภาพ และผิด กฎหมาย ประเทศไทยเสี ยภาพลักษณ์ เศรษฐกิจ การค้า และ การท่องเที่ยวเสี ยหายอย่าง ใหญ่หลวง นับตั้งแต่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะขึ้นดํารงตําแหน่ง เป็ นนายกรัฐมตรี ในวันที่ 17 ธันวาคม 2551 ในขณะที่ มีพรรคใหม่เกิดขึ้น คือ พรรคเพื่อไทย เพื่อรองรับสมาชิกพรรคการเมืองที่ถูกยุบ พร้อมๆกันไปกับผูจ้ ดั รายการ “ความจริ งวันนี้” ได้จดั ตั้งกลุ่มเสื้ อแดง เพื่อชุมนุมขับไล่นายอภิสิทธ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี และ นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศ โดยเรี ยกร้องให้ลาออก และยุบสภา การชุมนุมเริ่ มขยายตัวไปยังจังหวัดต่างๆ โดยที่อดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ได้โทรศัพท์ จากต่างประเทศ เข้ามาในที่ชุมนุมต่างๆ โจมตีรัฐบาลในเรื่ องการแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจ และ โจมตีวา่ พลเอก เปรม ติณณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี และพลเอก สุรยุทธ จุลานนท์ องคมนตรี เป็ นผูอ้ ยูเ่ บื้องหลังการปฏิวตั ิ รัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน 2549 ในเดือนเมษายน ด้วยการชุมนุมที่ไม่สามารถทําให้เกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้ ในที่สุดกลุ่มเสื้ อ แดง จึงเคลื่อนไหวให้มีผลกระทบต่อประชาชนให้มีความเดือดร้อน เพื่อเป็ นการกดดันรัฐบาล หากรัฐบาลแก้ไขด้วยการสลาย การชุมนุม สามารถขยายผลไปสู่ความรุ นแรงได้ ย่อมเป็ นการแสดงให้เห็นว่ารัฐบาลไม่มีความชอบธรรมในการบริ หาร การ กดดันจึงเริ่ มตั้งแต่การเข้าปิ ดล้อมทําเนียบรัฐบาล จากนั้นเข้าปิ ดถนนบริ เวณอนุสาวรี ยช์ ยั สมรภูมิ เพื่อก่อให้เกิดการจราจรติดขัด ทําให้ประชาชนไม่พอใจที่กลุ่มเสื้ อแดงก่อความเดือดร้อน กลุ่มผูช้ ุมนุมจึงต้องยกเลิกการปิ ดถนน ในขณะเดียวกันรัฐบาลแก้ไข ปั ญหาโดยประกาศให้มีวนั หยุดเพิ่มขึ้น เนื่องจากใกล้เทศกาลวันสงกรานต์ เมื่อกลุ่มผูช้ ุมนุมไม่สามารถทําให้ประชาชนเดือดร้อน ได้ พ.ต.อ. ทักษิณ ชินวัตร ได้โทรศัพท์เข้ามาในที่ชุมนุมให้ขดั ขวางการประชุม ASEAN Summit ดังนั้นกลุ่มคนเสื้ อแดงส่วน หนึ่งจึงได้มุ่งหน้าไปยังเมืองพัทยาเพื่อทําการขัดขวางการประชุม ASEAN Summit ณ โรงแรมรอยัลคลิพบีชรี สอร์ท ในที่สุด กลุ่มคนเสื้ อแดงได้ บุกทะลวงเข้าไปยังในสถานที่ประชุม ทําให้รัฐบาลต้องยกเลิกการประชุม และ ประกาศใช้พระราช กําหนดการบริ หารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิ นในเขตพื้นที่พทั ยา และต้องอพยพผูน้ าํ ประเทศที่เข้าร่ วมประชุมออกจาก โรงแรม เพื่อเดินทางกลับประเทศของผูน้ าํ แต่ละประเทศ นําความเสื่ อมเสี ยต่อภาพลักษณ์ในเรื่ องการรักษาความปลอดภัยของ ประเทศเป็ นอย่างมาก หลังจากเหตุการณ์ ที่โรงแรม รอยัลคลิฟ บีช รี สอร์ท พัทยา นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายรัฐมนตรี ได้ออก จากห้องประชุมเดินทางกลับ รถยนตร์ของนายกรัฐมนตรี ถูกกลุ่มคนเสื้ อแดงเข้าห้อมล้อมและทุบตี แต่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สามารถหลุดรอดจากวงล้อมไปได้ นับว่าเป็ นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การเมืองไทยต่อชาวโลก ที่แสดงให้เห็นถึงความไม่มี ศักยภาพของรัฐในเรื่ องความปลอดภัย ไม่สามารถให้ความคุม้ ครองป้ องกันผูน้ าํ ประเทศของตนเอง และ ไม่สามารถดําเนินการ ให้การประชุมระดับชาติเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อยได้ เป็ นภาพลักษณ์ที่กระทบต่อศักยภาพการท่องเที่ยวในระดับพื้นฐาน คือ ความปลอดภัย (Safety) ในวันที่ 12 เมษายน นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศให้เขตพื้นที่กรุ งเทพมหานคร และ ปริ มณฑลเป็ นเขตพื้นที่ในการบริ หารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิ น โดยทําการประกาศ ณ กระทรวงมหาดไทย ภายหลัง การประกาศในขณะที่นายกรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะจะเดินทางกลับออกจากกระทรวงมหาดไทย กลุ่มคนเสื้ อแดงได้เข้า 34


35

บุกกระทรวงมหาดไทยห้อมล้อมรถยนตร์นายกรัฐมนตรี และ ทุบตีรถเสี ยหายทั้งคัน แต่นายกรัฐมนตรี สามารถหลุดรอดไปได้ แต่นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ได้รับบาดเจ็บ และ ถูกพาตัวไปเข้ารักษาที่โรงพยาบาล เป็ นการตอกยํ้าให้เห็น ถึงมาตรการรักษาความปลอดภัยที่ไร้คุณภาพอย่างสิ้นเชิง เนื่องจากไม่สามารถป้ องกันเหตุร้ายได้แม้แต่ในสถานที่ราชการ เช้าวันที่ 13 เมษายน รัฐบาลมีมาตรการในการสลายการชุมนุม เริ่ มตั้งแต่บริ เวณ สามเหลี่ยมดินแดง กลุ่มผูช้ ุมนุมได้นาํ รถแก๊สมาขวางถนน ในที่สุดทหารสามารถเข้ายึดพื้นที่ได้ ในเวลาต่อมาที่บริ เวณนางเลิ้ง ชุมชนผูอ้ ยูอ่ าศัยใน บริ เวณนั้นได้รวมตัวกันขัดขวางกลุ่มคนเสื้ อแดง ด้วยเกรงว่าจะมาเผาบ้านเรื อนของตนเอง และ ติดตามด้วยบริ เวณถนนเพชรบุรี ซอย 5 และซอย 7ชุมชนออกมาต่อต้านกลุ่มคนเสื้ อแดงเช่นกัน ในบ่ายวันเดียวกันนายวีระ มุสิกพงศ์ นายณัฐวุฒิ ใสเกื้อ และ นายแพทย์ เหวง โตจิราการ แกนนํากลุ่มคนเสื้ อแดงเข้ามอบตัว การชุมนุมสลายตัว ต่างแยกย้ายกันกลับต่างจังหวัดของตน ภายหลังเหตุการณ์ผา่ นพ้นไป วันรุ่ งขึ้นประชาชนออกมาเล่นนํ้าในเทศกาลสงกรานต์ กันอย่าง สนุกสนานในทุกพื้นที่ นับเป็ นภาพที่สร้างความประหลาดใจแก่ชาวโลกเป็ นอย่างมาก ด้วยเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงด้วย บรรยากาศที่ตรงกันข้ามแบบวันต่อวันที่เกิดขึ้น แม้วา่ เหตุการณ์จะสงบลง แต่ทว่าได้ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวอย่างใหญ่หลวง การท่องเที่ยวซบเซา ไปทัว่ ประเทศ นักท่องเที่ยวได้เปลี่ยนจุดหมายไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซีย เวียตนาม สิ งคโปร์ แทน และคาดว่าจะมีผล ต่อไปอย่างยาวนาน เนื่องจากการเมืองยังไม่ได้มีท่าทีวา่ จะสงบลง วิกฤตการณ์ทางการเมืองเป็ นภาพลักษณ์ที่แสดงออกไปยังสื่ อ ต่างๆ สงกรานต์วปิ โยคผ่านพ้นไปเพียง 3 – 4 วัน มีปรากฏการณ์ไข้หวัดหมู แต่ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อใหม่ เรี ยกว่าไข้หวัด 2009 ซึ่งเป็ นไข้หวัดสายพันธุใ์ หม่เกิดขึ้นในประเทศเม็กซิโก และ ระบาดไปยังประเทศต่างๆ เพียง ไม่เกิน 2 สัปดาห์ระบาดไปถึง 4 ทวีป ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา ยุโรป อาฟริ กา ออสเตรเลีย และ ราวปลายเดือนได้ระบาดถึงเอเซีย ในระยะเวลา เพียง 2 เดือนเศษ ระบาดไปถึง 130 ประเทศ สําหรับทวีปเอเซียการระบาดเริ่ มที่ ฮ่องกง และเกาหลี ที่ฮ่องกงมีมาตรการที่รวดเร็ ว โดยกักบริ เวณแขกที่พกั โรงแรมดังกล่าวเป็ นระยะเวลา 1 สัปดาห์ เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีการแพร่ เชื้อโรค ภายหลังจากนั้นไม่นาน ได้ระบาดถึงประเทศไทย การระบาดของไข้หวัด 2009 สายพันธุ์ใหม่ ได้เป็ นไปอย่างรวดเร็ ว มีผปู ้ ่ วยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว ทําให้ มีการยกเลิกการเดินทางอย่างต่อเนื่อง เมื่อข่าวการติดเชื้อ และมีจาํ นวนผูต้ ายด้วยโรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้อตั รา การเข้าพักโรงแรมลดลงอย่างน่าวิตก บางโรงแรมในกรุ งเทพมหานครมีอตั ราการเข้าพักไม่ถึง 10% ส่วนจังหวัดภูเก็ตมีอตั รา การเข้าพัก 20-30% รัฐบาลพยายามแก้ไขภาพลักษณ์ในเรื่ องมาตรการรักษาความปลอดภัยโดยจัดให้มีการประชุมรัฐมนตรี อาเซียน และ ประเทศคูค่ า้ รวมทั้งสิ้น 26 ประเทศที่จงั หวัดในระหว่างวันที่ 18 – 24 กรกฎาคม โดยมีมาตรการ และ อัตรากําลัง เจ้าหน้าที่เป็ นจํานวนมาก ปรากฏว่าการประชุมได้ผา่ นพ้นไปด้วยดี ในระหว่างการประชุม พื้นที่และโรงแรมที่มีการประชุมมี ความคึกคัก แต่บริ เวณอื่นที่ไม่ได้รองรับการประชุม ยังคงมีบรรยากาศที่ซบเซา ด้วยเหตุการณ์หลายๆเหตุการณ์ได้ส่งผลกระทบทําให้การท่องเที่ยวซบเซาเป็ นอย่างมากอัตราการเข้า พักในบางพื้นที่มีตวั เลขเพียงหลักเดียว พื้นที่ที่มีอตั ราการเข้าพักดีที่สุดอยูใ่ นอัตราเฉลี่ย 40% และยังไม่มีท่าทีวา่ กลับคืนสภาพ ได้ดง่ั เดิมเมื่อใด หรื อจะแก้ไขให้ดีข้ ึนได้อย่างไร ประหนึ่งว่าการท่องเที่ยวของประเทศไทย ต้องเริ่ มต้นนับหนึ่งใหม่ กับ การ ประกาศของรัฐบาลให้ “การท่ องเทีย่ วเป็ นวาระแห่ งชาติ” 35


36

บทสรุ ป วิวฒั นาการการท่องเที่ยวของภูเก็ตตลอดระยะ 40 ปี (พ.ศ. 2510 – 2550) ที่ผา่ นมาเป็ นไปด้วยความรวดเร็ วนั้น ในระยะแรกด้วย ศักยภาพของจังหวัดภูเก็ตเองเป็ นพื้นฐาน และ มีปัจจัยส่งเสริ มสนับสนุนให้การท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ตเติบโตอย่างรวดเร็ ว โดยส่งเสริ มและสนับสนุนตามนโยบายของรัฐ โดยการเปิ ดน่านฟ้าเสรี ส่งเสริ มให้มีสายการบินตรงเข้าภูเก็ต อีกทั้งสอดประสาน กับความต้องการของท้องถิ่น มีความร่ วมมือระหว่าง ภาครัฐ และภาคเอกชนที่เป็ นไปอย่างมีเอกภาพ นอกจากนี้ยงั มีเหตุการณ์ สําคัญหลายๆเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เป็ นอีกปัจจัยหนึ่งที่เสริ มส่ง ผลักดัน ขยายผลให้การท่องเที่ยวของภูเก็ตเติบโตเป็ นอย่างมาก โดย แบ่งระยะเวลาแห่งการพัฒนาการท่องเที่ยวเป็ น 4 ระยะ ดังนี้ ระยะรุ่ งอรุ ณของการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต ระยะ 10 ปี แรก (พ.ศ. 2511 – พ.ศ. 2520) ความงดงามทางธรรมชาติที่มีมาแต่ ดั้งเดิม และยังมีนอ้ ยคนนักที่จะเข้าถึงสัมผัสชื่นชม เมื่อได้นาํ ไปปรากฏแพร่ ภาพให้ชาวโลกได้เห็นในภาพยนตร์ กระตุน้ ให้ผู ้ แสวงหา โดยเฉพาะผูบ้ ุกเบิกการท่องเที่ยว (Backpacker) ทยอยเดินทางมายังภูเก็ต การสร้างที่พกั โรงแรมเพื่อเป็ นการรองรับ จึงเกิดขึ้นอย่างช้าๆ และต่อเนื่อง ระยะ 10 ปี ที่สอง (พ.ศ. 2520 – พ.ศ. 2530) เป็ นระยะเวลาแห่งการเริ่ มต้นพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว กับเปลี่ยนผ่านจาก อุตสาหกรรมเหมืองแร่ ดีบุก เข้าสู่อุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยอาศัยศักยภาพทางการท่องเที่ยว(Potential) ที่มีความสมบูรณ์ กล่าวคือ ความสวยงามทางธรรมชาติที่มีอยู่ ด้วยนํ้าทะเลที่อนุ่ มีสีที่สวยสดใสงดงาม หาดทรายที่ขาวสะอาด วัฒนธรรมที่มี เอกลักษณ์ สังคมมีวถิ ีชีวติ ที่เรี ยบง่าย ประชาชนมีไมตรี จิต แล้วดําเนินการให้มีการส่งเสริ ม (Promotion) กับ พัฒนาการในการ เข้าถึง (Accessibility) ผนวกกับนโยบายส่งเสริ มการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ (Policy) ด้วยการทําการ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ การตลาด (Marketing) ทําให้ภูเก็ตเป็ นที่รู้จกั แพร่ หลาย ภูเก็ตจึงกลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับ ความนิยมอย่างรวดเร็ ว(Popular Destination) พร้อมๆกันไปกับการสลายข้อจํากัดหรื ออุปสรรคที่มีอยู่ (Threats) ด้วยการ พัฒนาการเข้าถึง (Accessibility) และอํานวยความสะดวก (Facilities) อันได้แก่ การคมนาคมขนส่ง สนามบิน ท่าเรื อ ถนน ไฟฟ้า โทรศัพท์ โรงแรมที่พกั ร้านอาหาร การบริ การ ทําให้การท่องเที่ยวเติบโตอย่างรวดเร็ วด้วยศักยภาพที่ดีจากธรรมชาติ และ สังคม ที่อยูแ่ ต่เดิม และแต่งเติมเสริ มแต่งให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นทางการท่องเที่ยว ระยะ 10 ปี ที่สาม (พ.ศ. 2531 – พ.ศ. 2540) เป็ นช่วงเวลาที่การท่องเที่ยวจ.ภูเก็ตเติบโตอย่างรวดเร็ ว ประสบกับอุปสรรค และปั ญหาต่างๆ ผลจากการส่งเสริ มการตลาดอย่างจริ งจังในราวปลายทศวรรษแรกระหว่างปี พ.ศ. 2527 - 2530 ควบคู่กนั ไป กับ การพัฒนาศักยภาพทางการท่องเที่ยวรองรับ ได้แก่โรงแรมที่พกั บริ ษทั นําเที่ยว การคมนาคมขนส่งไปยังแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ส่งผลให้การท่องเที่ยวมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ ว ทําให้ตอ้ งประสบกับปั ญหาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆเป็ นอย่างมาก (Infra Structure) จึงต้องเร่ งแก้ไขปรับปรุ งระบบสาธารณูปโภคให้สามารถรองรับการท่องเที่ยว เพื่อเป็ นการอํานวยความ สะดวกสบายให้กบั นักท่องเที่ยว อันได้แก่ ท่าเรื อ ถนน นํ้า ไฟฟ้า โทรศัพท์ และ การบริ การ รวมถึงการพัฒนาบุคลากรใน อุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีความรู ้ความสามารถในการให้บริ การ (Education & Training) ในขณะที่การแก้ไขอุปสรรค และปั ญหายังคงดําเนินไป และการทําการตลาดกับประเทศใหม่ๆยังคงดําเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่อง พร้อมๆกันไปกับการจัดทํา กิจกรรมต่างๆ (Events) เพื่อเป็ นการประชาสัมพันธ์(Public Relations) ให้เห็นถึงศักยภาพ ได้แก่ การจัดเทศกาลอาหาร ทะเล (Seafood Festival) การแข่งขันการผสมเครื่ องดื่ม (Bartender Contest) การแข่งขันกีฬาต่างๆอาทิเช่น การแข่งขัน เรื อใบ (King Cup Regatta) การแข่งขันกอล์ฟระดับโลก(Johnnie Walker Classic) การแข่งขันไตรกีฬา (Laguna 36


37 Triathlon) การเก็บตัวผูร้ ่ วมประกวดนางสาวไทย (Miss Thailand) มิสไทยแลนด์เวิลด์ (Miss Thailand World) การ

จัดบุฟเฟต์ชายหาดยาวที่สุดในโลก (World Longest Beach Buffet) เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั มีกิจกรรมที่แสดงถึงศักยภาพ และสิ่ งอํานวยความสะดวกในการรองรับตลาด MICE (Meeting, Incentive, Convention & Exhibition) ได้แก่ การประชุมสัมมนาในระดับภูมิภาค และ ระดับประเทศ เช่น การประชุมหอการค้าทัว่ ประเทศ นอกจากนี้ การถ่าย ทําภาพยนตร์จากประเทศผูผ้ ลิตภาพยนตร์ช้ นั นําในภาคพื้นเอเชีย เช่น ฮ่องกง เกาหลี ไต้หวัน เป็ นต้น ไปจนถึง ระดับฮอลลีวดู ้ (Hollywood) เป็ นการเผยแพร่ ที่สร้างความนิยมให้เกิดขึ้นในแต่ละประเทศได้เป็ นอย่างดี นอกเหนือไปจากนั้นภูเก็ตได้ถูก กําหนดให้เป็ นห้องรับแขกของประเทศ มีผนู ้ าํ ประเทศมหาอํานาจหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริ กา จีน รัสเซีย ฯลฯได้เดินทางมา เยีย่ มเยือนและพักผ่อน เป็ นปัจจัยเสริ มส่งให้มีการพัฒนาขีดความสามารถในการรองรับตลาดนักท่องเที่ยวระดับสูงอีกด้วย ระยะ 10 ปี ที่สี่ (พ.ศ. 2541 – 2550) เป็ นช่วงเวลาที่การพัฒนาท่องเที่ยวเป็ นไปอย่างไร้ทิศทาง ด้วยในระยะปลายของระยะ 10 ปี ที่สาม การพัฒนาการการท่องเที่ยวเริ่ มเป็ นไปตามแผน และมีทิศทางในการพัฒนา ที่ดูเหมือนว่าสามารถบริ หารและจัดการ ได้ แต่ดว้ ยผลกระทบจากโลกาภิวตั น์ (Globalization) อีกทั้งการประเมินศักยภาพของประเทศของตนเองที่ไม่ดีเพียงพอ จึง ไม่สามารถรองรับกับกระแสของโลกาภิวฒน์ได้ ส่งผลให้ปลายทศวรรษที่ผา่ นมา ในปี พ.ศ. 2540 เกิดสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ (Economy Crisis) รัฐบาลแก้ไขปั ญหาทางเศรษฐกิจ ด้วยการกระตุน้ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเพื่อนําเงินตราต่างประเทศเข้า ประเทศให้มากที่สุด ด้วยวิกฤตเศรษฐกิจทําให้ค่าเงินบาทที่อ่อนค่าเป็ นอย่างมาก นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเป็ นจํานวนมากเพราะเที่ยว ประเทศไทยได้ในราคาที่ถูกลง ผลของการเร่ งให้มีปริ มาณนักท่องเที่ยวให้เพิ่มมากขึ้นเพื่อการแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจ โดยไม่ได้มี มาตรการรองรับที่ดี หรื อ ตระหนักถึงปริ มาณนักท่องเที่ยวที่มากเกินไป จึงส่งผลกระทบในระยะยาว ได้แก่ ปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ปั ญหาความสามารถในการรองรับของแต่ละพื้นที่ในเรื่ องการบริ หารการจัดการ(Carrying Capacity) ปั ญหาคุณภาพ บุคคลากร (Human Resource) ปั ญหาความไม่มีระเบียบขาดกติกา (Rules and Regulations) ที่จะสนับสนุนการ ท่องเที่ยวให้มีคุณภาพ นอกจากนี้การเปิ ดรับการลงทุนจากต่างชาติอย่างไร้ขอ้ จํากัด ด้วยทุกรัฐบาลไม่เคยเปลี่ยนแปลงนโยบาย การแก้ปัญหาเศรษฐกิจด้วยการส่งเสริ มให้มีการลงทุนจากต่างชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภายหลังปี พ.ศ.2540 ผูป้ ระกอบการคน ไทยมีความอ่อนแอเป็ นอย่างมาก ทําให้มีนกั ลงทุนจากต่างชาติเป็ นจํานวนมากในทุกพื้นที่ที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยว นอกจากนี้การ ลงทุนที่เพิ่มขึ้นทําให้มีการไหลบ่าของแรงงานต่างชาติในระดับต่างๆ ย้ายถิ่นเข้ามาเป็ นจํานวนมาก โดยปราศจากการควบคุมและ จัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่กระแสของโลกาภิวฒั น์ที่รุกขยายไปทัว่ โลก ธุรกิจการท่องเที่ยวที่มีการบริ หาร การจัดการ การตลาด ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มีบทบาทมากขึ้น เป็ นตัวเร่ งให้การท่องเที่ยวเติบโต เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ วมากขึ้น ซํ้าร้ายยังเกิดเหตุการณ์ธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิที่รุนแรง (Disaster) ก่อให้เกิดปั ญหาเศรษฐกิจคุกคาม วิถีชีวติ ความเป็ นอยู่ จําต้องแก้ไขปั ญหาที่เผชิญหน้าก่อน จากปัญหาหลายประการที่ได้สะสมมากขึ้น ที่รุนแรงไปกว่านั้นเมื่อ ศักยภาพในการแก้ไขปั ญหาตํ่าลง เมื่อมีปัญหาการทุจริ ต คอรัปชัน่ เป็ นที่ยอมรับอย่างไม่ละอายขยายตัวออกไปอย่างกว้างขวาง ก่อให้เกิดปั ญหาทางการเมืองที่ยงุ่ เหยิง (Politic Turmoil) ทั้งในระดับประเทศ และระดับท้องถิน่ ทั้งในองค์กรการท่องเที่ยว ของภาครัฐ และองค์กรภาคเอกชน กระจายออกไปในทุกระดับ ความขัดแย้งเหล่านี้ทาํ ให้สงั คมขาดความเป็ นเอกภาพ (Unity) เกิดความเสี ยหายที่รุนแรงมากขึ้น คือ สังคมขาดภูมิคุม้ กัน (Immunity) สังคมไม่มีเอกภาพเพียงพอที่จะก่อให้เกิด วิสยั ทัศน์(Vision)ที่ชดั เจนในการพัฒนาเมือง มีลกั ษณะต่างคนต่างอยู่ ต่างแสวงหาประโยชน์ของตน วัฒนธรรมในการ เสี ยสละเพื่อส่วนรวม (Culture of Sacrifice) ซึ่งนับเป็ นทรัพยากรอันมีค่าสูญหายไป สังคมมีความเปลี่ยนแปลง ซึ่งกําลัง ส่งผลกระทบต่อศักยภาพของจังหวัดภูเก็ต และ ของประเทศในทุกด้าน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และกระทบต่อวิถีชีวติ ให้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิงในระยะยาว 37


38

ในทศวรรษนี้นบั เป็ นยุคของการสัง่ สมปั ญหาในเชิงลบ สื บเนื่องมาจากปั ญหาวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศในปี 2540 ผนวก ด้วยปั ญหาต่างๆ นับตั้งแต่ การก่อการร้าย โรคภัยต่างๆ และภัยพิบตั ิ แต่สิ่งที่ทาํ ให้ประเทศชาติและสังคมมีความอ่อนแอมาก ยิง่ ขึ้นไปอีก คือ ความขัดแย้งทางการเมือง ด้วยการเมืองที่มีมาตรฐานตํ่า ทําให้ปัญหาที่มีอยูป่ ระสบความยุง่ ยากในการแก้ไขมาก ยิง่ ขึ้น เป็ นเหตุให้สงั คมขาดความเป็ นเอกภาพ ในการที่จะกําหนดวิสยั ทัศน์ในการแก้ไขปั ญหา นอกจากนี้สงั คมมีความแตกแยก ในทุกระดับ ส่งผลให้คนไทยโดยทัว่ ไปมีความระแวงต่อกัน ทําให้รอยยิม้ ที่เป็ นเอกลักษณ์ของคนไทยที่ทาํ ความประทับใจแก่ นักท่องเที่ยวซึ่งเป็ นปัจจัยอันสําคัญยิง่ ของการท่องเที่ยวหายไป ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ของความไม่ปลอดภัยของประเทศ และ ภาพลักษณ์ของความโอบอ้อมอารี ยม์ ีน้ าํ ใจของคนไทยที่มีมาแต่กาลก่อน เปลี่ยนแปลงเป็ นภาพลักษณ์ที่มีความก้าวร้าวรุ นแรง ประจวบกับวิกฤตเศรษฐกิจโลกส่งแรงกระเพื่อมมา พร้อมกับโรคระบาดไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ ส่งผลให้การท่องเที่ยวเสี ยหาย และตกตํ่าไปทัว่ ประเทศ

การที่รัฐบาลได้ประกาศให้ การท่ องเที่ยวเป็ นวาระแห่ งชาติ นั้น จึงนับว่าเป็ นโอกาสอันดีที่การท่องเที่ยวในทุกภาค ส่วนได้ใช้โอกาสนี้ ร่ วมกันทําความเข้าใจถึงต้นเหตุของปั ญหา และทําการแก้ไขปั ญหาที่ได้สงั่ สมมาอย่างยาวนาน เพื่อทําให้การ ท่องเที่ยวมีการพัฒนาการอย่างมีมาตรฐานที่ยง่ั ยืน แต่หากเป็ นเพียงเพื่อการประชาสัมพันธ์ เพื่อการแก้ไขให้ผา่ นพ้นวิกฤตการณ์ เศรษฐกิจในระยะสั้น นับเป็ นที่น่าเสี ยดายเป็ นอย่างยิง่ กับโอกาสที่จะเป็ นวาระอันจะทําให้การท่องเที่ยวมีการพัฒนาอย่างมี คุณภาพ สู่ระดับมาตรฐานสากล และ มีความยัง่ ยืน สามารถเป็ นเครื่ องมือที่ดีในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศใน ระยะยาวตลอดไป

บทวิเคราะห์ การเติบโตทางการท่องเที่ยวของภูเก็ตนั้น อาจกล่าวได้วา่ ในระยะแรกของการท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ต เป็ นไปด้วย ศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวของท้องถิ่นเอง ได้เผยแพร่ ใน หลากหลายรู ปแบบให้เป็ นที่รู้จกั แพร่ หลายออกไปยังนานาประเทศ สร้างความนิยมในการท่องเที่ยวให้กบั จังหวัดภูเก็ตและแถบ ท้องทะเลอันดามัน ประกอบกับ การวางแผนในการพัฒนาของภาครัฐ ร่ วมกับภาคเอกชนในท้องถิ่น ทําให้การพัฒนาการ ท่องเที่ยวมีความเจริ ญเติบโต เป็ นอย่างมาก กล่าวคือ จุดแข็ง (Strength) และ โอกาส (Opportunity) ได้แก่ 1. มีภูมิทศั น์อนั สวยงามตามธรรมชาติ นํ้าทะเลอุ่นใสสะอาด หาดทราย เกาะแก่ง ท้องทะเลสวยงามเป็ นที่ประทับใจต่อผูท้ ี่ พบเห็น และ สัมผัส (Products) 2. รัฐใช้การท่องเที่ยวเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจ จึงมีนโยบายส่ งเสริ มและงบประมาณสนับสนุนเป็ นอย่างมาก (Policies)

3. ประชาชนในท้องถิ่นมีไมตรี จิต มีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องการท่องเที่ยว และ มีความเป็ นเอกภาพที่ผลักดันให้การ

พัฒนาเป็ นไปอย่างมีทิศทาง (Local People & Unity) 4. ต่างชาติให้ความสําคัญ และ ให้การสนับสนุน เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็ นไปในทิศทางที่ยง่ั ยืน (Sustainable Development) 5. มีเหตุการณ์สาํ คัญ (Movies & Events) หลายๆเหตุการณ์ที่เป็ นปั จจัยส่ งเสริ มให้จงั หวัดเป็ นที่รู้จกั และ สร้างความ

นิยมให้กบั นักท่องเที่ยว ได้แก่ การถ่ายทําภาพยนตร์ เหตุการณ์สาํ คัญๆ เช่น การต่อสูเ้ พื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การ เยีย่ มเยือนของผูน้ าํ ประเทศ หรื อ ผูม้ ีชื่อเสี ยง การแข่งขันกีฬาในระดับนานาชาติ เป็ นต้น 38


39

หลังจาก 2 ทศวรรษ ของการพัฒนาทางการท่องเที่ยว (พ.ศ. 2520 – 2540) ผ่านไป จังหวัดภูเก็ตกลายเป็ นเป้ าหมายทาง เศรษฐกิจของทุกๆคน ไม่วา่ รัฐบาล คนท้องถิ่น คนต่างถิ่น คนต่างชาติ ที่หลัง่ ไหลเข้าจังหวัดภูเก็ตอย่างไม่มีขอ้ จํากัด ทําให้มี จํานวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว ประชากรที่เพิ่มขึ้นมีความแตกต่างกันในหลายๆด้าน ในด้าน เชื้อชาติ วัฒนธรรม ปรัชญา ความคิด วิธีการคิดที่แตกต่าง มีท้ งั ที่มีความรู ้และไม่มีความรู ้ความเข้าใจ ทางการท่องเที่ยว จุดประสงค์ในแต่ละกิจกรรมที่ แตกต่างกัน เพื่อแสวงโชคอย่างถูกต้องตามกฏหมาย และ ผิดกฏหมาย ส่งผลให้สงั คมเริ่ มมีความขัดแย้งที่รุนแรงมากขึ้น กระทบ ต่อการพัฒนาที่ไม่สามารถกําหนดทิศทางได้ เมื่อเข้าสู่ทศวรรษที่ 3 (พ.ศ. 2541 – 2550) วิกฤตเศรษฐกิจของปี 2540 การก่อการร้าย การแพร่ ของโรคระบาด และ ธรณี พิบตั ิภยั การเมืองที่ลม้ เหลวในระดับท้องถิ่น และระดับชาติ ขยายผลเข้าไปในองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ก่อให้เกิดความ แตกแยก ส่งผลให้มีจุดอ่อน (Weakness) และ อุปสรรค (Threats) ในการกําหนดทิศทางการพัฒนา เสมือนหนึ่ง “เรื อทีไ่ ม่

มีหางเสื อ”

จุดอ่ อน (Weakness) 1. สังคมไม่มีเอกภาพ (Unity) ประชาชนไม่สนใจที่จะมีส่วนร่ วมในการพัฒนาเมือง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่ สามารถกําหนดทิศทางที่ชดั เจนในการพัฒนา สื บเนื่องจากวิกฤติเศรษฐกิจครั้งรุ นแรงเมื่อปี พ.ศ. 2540 ภาคการเมือง นําเรื่ องปั ญหาวิกฤตเศรษฐกิจเป็ นประเด็นในการหาเสี ยง เพื่อต้องการมีเสี ยงข้างมาก เกิดการแบ่งแยกฝ่ าย ด้วยความ คิดเห็นที่แตกต่าง ประกอบด้วยวัฒนธรรมและปรัชญาทางความคิดของแต่ละชุมชนที่แตกต่างกัน ขยายผลไปสู่ความ แตกแยกในสังคม นักการเมืองที่ขาดคุณธรรม ขาดจริ ยธรรม หวังเพียงเพื่อผลประโยชน์ของกลุม่ การกระทําการ ทุจริ ต คอรัปชัน่ ขยายผลไปยังหน่วยงานราชการทุกหน่วยฉ้อราษฎร์บงั หลวงอย่างกว้างขวางในทุกภาคส่วน ทําให้ สังคมไม่เชื่อถือ เคียดแค้นชิงชัง ขัดแย้งกันอย่างรุ นแรง ประชาชนไม่สนใจที่จะมีส่วนร่ วม ส่งผลให้สงั คมมีความ อ่อนแอ และ ขาดภูมิคุม้ กัน 2. ภาครัฐยังไม่ได้ให้ความสําคัญในการพัฒนาการท่องเที่ยวในระยะยาว เพียงมุ่งเน้นใช้งบประมาณสําหรับแผนงาน ระยะสั้น ในการจัดกิจกรรมเพื่อเป็ นการส่งเสริ มให้เพิ่มปริ มาณนักท่องเที่ยวเพียงด้านเดียวเท่านั้น ไม่ได้ให้ ความสําคัญในการพัฒนาศักยภาพของการท่องเที่ยวของภูเก็ตให้ดี มีคุณภาพมากขึ้น ในหลักการที่วา่ ให้สินค้า สามารถขายได้ดว้ ยตัวของมันเอง (Products sell itself) ทําให้ตอ้ งจัดสรรงบประมาณเพื่อทําการกระตุน้ ตลาด อย่างมาก และ ต้องทําอย่างสมํ่าเสมอ หากสิ นค้ามีคุณภาพและขายได้ดว้ ยตัวของมันเองแล้ว การกระตุน้ ตลาด สามารถกระทําเพียงครั้งคราวที่สาํ คัญๆเท่านั้น 3. ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว หรื อ ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย (Travel Industry / Stakeholder) ไม่ได้ ให้ความสนใจ หรื อ มีส่วนร่ วมต่อการแก้ไขปั ญหาสาธารณะ ซึ่งเป็ นสิ นค้าของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวโดยส่วนรวม เพียงมีส่วนร่ วมในการรับผลประโยชน์เท่านั้น และนําเสนอปั ญหาเท่านั้น แต่ไม่มีส่วนร่ วมในการพิทกั ษ์ รักษา พัฒนา ให้สินค้าทางอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและมีความยัง่ ยืน 4. แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจแบบยัง่ ยืน บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficient Economy) และ ความสุขแบบมวลรวม (Gross National Happiness) ซึ่งเป็ นแนวคิดสําคัญในการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ยังไม่อยูใ่ น จิตสํานึกของคนที่อยูใ่ นจังหวัดภูเก็ต

39


40

หากพิจารณาถึง ศักยภาพและแผนงาน ของผูป้ ระกอบการ องค์กรเอกชน และภาครัฐในอดีตแล้ว อีกทั้งงบประมาณใน การสนับสนุนในรู ปแบบต่างๆจากภาครัฐ จังหวัดภูเก็ตสมควรที่จะได้รับการพัฒนาไปสู่เมืองที่สามารถเป็ นตัวอย่างที่ดีในการ พัฒนาได้ แต่ในทศวรรษล่าสุด รู ปแบบการพัฒนาเป็ นไปในลักษณะที่เรี ยกว่าเป็ นการแก้ปัญหาตามหลัง หาใช่การพัฒนาเพื่อ รองรับกับปั ญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในระยะยาว ซึ่งปั ญหาเหล่านี้จะส่งผลให้การท่องเที่ยวของภูเก็ตไม่อาจเป็ นไปอย่างยัง่ ยืนได้ หรื อ ไม่สามารถพัฒนาให้เป็ นเมืองท่องเที่ยวที่มีคุณภาพในระดับ World Class ได้ตามที่มีเจตนารมณ์ท้ งั ภาครัฐ และ ท้องถิ่น ปั ญหาหรื อปัจจัยเสี่ ยงที่คาดว่าจะมีผลกระทบในระยะยาว เป็ นปั ญหาหรื ออุปสรรค (Threats) ในการพัฒนาใน ระดับต่อไป อุปสรรค (Threats)

ปัญหาทางการเมือง นักการเมืองที่ขาดจริ ยธรรม เพื่อประโยชน์ของกลุ่มเป็ นที่ต้งั ก่อให้ความขัดแย้ง ขยายผลลงลึก

-

ไปถึงสังคม ทําให้ประชาชนแตกแยกแบ่งกลุ่ม ไปถึงระดับท้องถิน่ นักการเมืองท้องถิน่ เพียงเพือ่ เอาชนะในคะแนนเสี ยง เพื่อให้ ตนเองมีชื่อเสี ยง และ เพื่อผลประโยชน์ของตนเอง หรื อ ปกป้ องผลประโยชน์ของกลุ่ม การฉวยโอกาสเพื่อการช่วงชิงคะแนน เสี ยงด้วยวิธีการที่ขาดจริ ยธรรม ทําให้สงั คมแตกแยก ขาดความเป็ นเอกภาพทางความคิดในการพัฒนาเมือง หาใช่นกั การเมืองที่ แท้จริ งที่ควรเสี ยสละเพื่อสังคม การต่อสูข้ องนักการเมืองดังกล่าวก่อให้เกิดความสับสนแก่ประชาชน และ เกิดความเบื่อหน่าย ประชาชนไม่สนใจต่อความเป็ นไปของเมือง การพัฒนาเมืองประสบอุปสรรคในการพัฒนาอย่างใหญ่หลวง

- ปัญหาการบริ หารการจัดการ

ทั้งในระดับภูมิภาค ระดับท้องถิ่น และการมีส่วนร่ วม ของ ประชาชนในท้องถิ่น ยัง ขาดความเป็ นเอกภาพในการร่ วมกันพัฒนา เพื่อทิศทางที่ชดั เจนในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง การบริ หารราชการยังคงเป็ น การรองรับนโยบายจากส่วนกลาง ในการวางแผนในการพัฒนา และการจัดการ ซึ่งไม่ทนั กับการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังขาดบุคลากรที่มีความรู ้ความสามารถในระดับสากล ในการวิเคราะห์ วางแผน การบริ หาร และ การจัดการ การบริ หารการจัดการเพียงเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อคะแนนเสี ยง การที่ไม่สามารถบังคับใช้กฎหมายได้ เป็ นที่ครหา ในเรื่ องของการทุจริ ตประพฤติมิชอบ ความไม่เป็ นระเบียบจึงขยายตัวมากขึ้นและส่งผลให้การจัดระเบียบในอนาคตจะมีความ ยากลําบากมากยิง่ ขึ้น -

ปัญหาสภาพแวดล้อมเสื่ อมโทรมจากการใช้ที่ดินอย่างไม่ถูกต้อง

การเปิ ดพื้นที่ดินเพื่อการพัฒนาอย่างไม่จาํ กัด เพื่อผลประโยชน์ของบุคคลหรื อกลุม่ เป็ นหลัก ไม่ได้คาํ นึงถึงว่าพื้นที่ใดควรมี ความเหมาะสมในการพัฒนาอย่างไร การพัฒนาแต่ละโครงการมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมข้างเคียงหรื อไม่ โดยไม่ตระหนัก ว่าอาจจะเกิดความเสี ยหายจากภัยพิบตั ิดินถล่ม หรื อ ผลกระทบต่อภูมิทศั น์ อันจะกระทบต่อศักยภาพทางการท่องเที่ยวในที่สุด ภาครัฐควรใช้ความสามารถในการบังคับใช้กฎหมาย การละเลย ละเว้นการปฏิบตั ิ หรื อ แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ เป็ น การทําลายสังคมในระยะยาวที่แก้ไขกลับคืนได้ยาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภูเก็ตเป็ นเมืองที่อาศัยการท่องเที่ยวเป็ นเศรษฐกิจหลักของ จังหวัดนับว่ามีความเสี่ ยงต่ออนาคตที่ไม่สดใสเป็ นอย่างมาก

- ปัญหาจราจรและอุบตั ิเหตุ

ด้วยจํานวนประชากรทั้งจากคนท้องถิ่น คนต่างถิ่น คนต่างชาติ และนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ ว การเพิ่มขึ้นเป็ นไป อย่างไร้ขีดจํากัด การพัฒนาที่มีเป้าหมายเพียงการเพิ่มปริ มาณนักท่องเที่ยว และ เศรษฐกิจที่เติบโต โดยไม่ได้พิจารณาถึงภาพรวม อันได้แก่ ความสามารถในการรองรับของพื้นที่ (Carrying Capacity) ความสามารถของบุคลากรในการรองรับและพัฒนา 40


41

หรื อ คํานึงถึงการพัฒนาที่ดีเพื่อก่อให้เกิดเศรษฐกิจที่ดีมีความสงบสุขในทุกด้านของสังคม (Sustainable Development) จํานวนนักท่องเที่ยวและประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างไร้ขีดจํากัดและปราศจากการวางแผน ทํา ให้มีการใช้ยานพาหนะเพิ่มขึ้นเป็ นอย่างมากและรวดเร็ วเกินความสามารถที่จะรองรับได้ หากคํานวณพื้นผิวจราจรที่มีอยูอ่ ย่าง จํากัดกับปริ มาณยานพาหนะที่เพิม่ ขึ้น ย่อมก่อให้เกิดการจราจรที่แออัด และพร้อมที่จะเกิดอุบตั ิเหตุ ด้วยปริ มาณจราจรและ อุบตั ิเหตุที่เพิ่มขึ้น สังคมที่ดีมีสงบสุขหายไป ในที่สุดศักยภาพของความเป็ นเมืองท่องเที่ยว ที่มีความสงบเหมาะสมกับการ พักผ่อนจะขาดหายไป (Human

Resource)

- ปัญหานํ้าไม่เพียงพอ

ภูเก็ตมีสภาพเป็ นเกาะ ปั จจุบนั แหล่งนํ้ามีอยูอ่ ย่างจํากัด ด้วยจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นอยูต่ ลอดเวลา การบริ โภคจะเพิ่ม ปริ มาณมากขึ้นอย่างรวดเร็ ว ในขณะที่ขาดการวางแผนปฏิบตั ิการที่ดีในการควบคุมการเพิ่มจํานวนประชากร และไม่มีการ เตรี ยมการในเรื่ องทรัพยากรนํ้าให้เพียงพอต่อการใช้สอย ปั ญหานํ้าขาดแคลนกําลังจะเข้ามาเผชิญหน้าอย่างรุ นแรงในอนาคตอัน ใกล้

-

ปัญหาสาธารณสุข การบริ หารจัดการขยะและนํ้าเสี ย

นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นตามปริ มาณของห้องพัก ปริ มาณขยะที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากปริ มาณของประชากรที่ยา้ ยถิ่นฐานเพิ่มขึ้น ตลอดเวลา นับตั้งแต่ผยู ้ า้ ยถิ่นฐานจากจังหวัดต่างๆ ชาวต่างชาติที่เข้ามาลงทุน ทํางาน หรื อ เข้ามาอยูอ่ าศัย แรงงานต่างชาติที่ เปลี่ยนสถานะแรงงานชัว่ คราวเป็ นการอยูถ่ าวรมากขึ้น ซึ่งขาดการมีส่วนร่ วมในความรับผิดชอบในการแก้ปัญหาขยะ นํ้าเสี ย ประมาณว่ามีประชากรที่อาศัยอยูใ่ นจ.ภูเก็ตรวมนักท่องเที่ยว ในแต่ละวัน มีจาํ นวน 650,000 คน ที่ก่อให้เกิดขยะ (ขยะที่เกิดขึ้น ในปัจจุบนั 650 ตันต่อวัน โดยเฉลี่ยประชากร 1คน ก่อให้เกิดขยะประมาณ 1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน) ในจํานวนนี้มีนกั ท่องเที่ยว ประมาณ 50,000 คนต่อวัน (โดยคํานวณจากอัตราเฉลี่ยการเข้าพักประมาณ 65% ของจํานวนห้องพัก 40,000 ห้อง และมี อัตราการพักแบบห้องคู่ประมาณ 90%) แต่สาํ มะโนประชากรมีเพียง 320,000 คน เท่านั้น และจํานวนประชากรยังคงเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ วและต่อเนื่อง โดยที่ยงั ไม่มีมาตรการใดๆที่จะควบคุมให้จาํ นวนประชากรเพิ่มขึ้นในระดับที่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นสามารถบริ หารจัดการขยะและนํ้าเสี ย เพราะปัญหาความสะอาดและสาธารณสุขจะมีผลต่อศักยภาพทางการท่องเที่ยว ของภูเก็ตในอนาคต

- ปัญหาวัฒนธรรมท้องถิ่นสูญสลาย

ปรัชญาความคิดที่คาํ นึงเพียงมิติทางเศรษฐกิจด้านเดียว ก่อให้เกิดค่านิยมทางวัตถุมากขึ้น ย่อมทําให้วถิ ีชีวติ และวัฒนธรรมที่ ดีในการอยูร่ ่ วมกันสูญสลายหายไป การเคารพนับถือผูม้ ีฐานะแม้จะไม่ทราบว่าได้ทรัพย์สินมาอย่างไรได้รับการยอมรับมากกว่า ผูป้ ระพฤติดีมีคุณธรรมมีมากขึ้นเป็ นลําดับ ซึ่งเป็ นผลมาจากวิถีชีวติ ที่เป็ นไปในลักษณะต่างคนต่างอยู่ วัฒนธรรมเป็ นเพียง รู ปแบบของประเพณี และจัดแสดงให้มีข้ ึนเป็ นครั้งคราว เพื่อแสดงให้ปรากฏว่าวัฒนธรรมที่มีอตั ตลักษณ์น้ นั ยังคงหลงเหลืออยู่ การเมืองแบบฉาบฉวย(สร้างภาพประชาสัมพันธ์) และฉกฉวยประโยชน์กาํ ลังขยายตัวมากขึ้น ในขณะที่วฒั นธรรมในการมีส่วน ร่ วม เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลย์กบั การเมืองในรู ปแบบการฉกฉวยผลประโยชน์เฉพาะตนหรื อเฉพาะกลุ่ม ไม่ได้รับการส่งเสริ ม

- ปัญหาการประกอบการแข่งขันกับชาวต่างชาติ

ศักยภาพของบุคลากรในท้องถิ่นที่ไม่สามารถแข่งขันกับชาวต่างชาติ ในหลายๆด้าน ได้แก่การลงทุน ความรู ้ความสามารถ ทางด้านเทคโนโลยี การประกอบการที่มีความเป็ นสากลในด้านกติกาทางการค้า และ จริ ยธรรมในการประกอบการ ภาคธุรกิจ 41


42

เอกชนขาดวิสยั ทัศน์ในการพัฒนาร่ วมกับภาครัฐ ในการกําหนดทิศทางการพัฒนาของท้องถิ่นในพัฒนาศักยภาพของทรัพยกร มนุษย์ ในการจัดระเบียบและกําหนดกติกาทางการค้า และ จริ ยธรรมในการประกอบการ เพื่อให้การประกอบการมีแนวทาง ปฏิบตั ิที่เป็ นมาตราฐานที่ดีในระดับสากล ในขณะที่ชาวต่างชาติเพิ่มจํานวนมากขึ้น มีการรวมตัวกันมากขึ้น ดังนั้นด้วย ประกอบการที่มีความเป็ นสากล มีเงินทุนที่มากกว่า มีความรู ้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีต่างๆมากกว่าผูป้ ระกอบการ ท้องถิ่น ย่อมส่งผลให้ในอนาคตการประกอบการของผูป้ ระกอบการท้องถิ่นไม่สามารถดํารงอยูไ่ ด้ในที่สุด และในระยะยาวจะ ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวโดยภาพรวม ด้วยขาดผูป้ ระกอบการที่มีดีมีคุณภาพที่จะสร้างความประทับใจให้กบั นักท่องเที่ยว การมาท่องเที่ยวประเทศไทยจะไม่น่าสนใจอีกต่อไป

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

จุดอ่อนและปั ญหาที่เผชิญอยู่ ได้เกิดขึ้นพร้อมๆกับการประกาศให้จงั หวัดภูเก็ตเป็ นเมืองท่องเที่ยวระดับ World Class ดังนั้นหากยังปล่อยให้ปัญหา และ การเติบโตเป็ นไปอย่างไร้ทิศทาง อาจส่งผลให้ไม่สามารถแก้ไขปั ญหาที่สะสมเหล่านี้ได้ การ เป็ นเมืองท่องเที่ยวในระดับ World Class ย่อมไม่สามารถเป็ นไปได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ จังหวัดภูเก็ตได้เลือกทิศทางของเมือง เป็ นเมืองเศรษฐกิจการท่องเที่ยว และได้มีการพัฒนาเกือบทุกพื้นที่เป็ นกิจกรรมทางการท่องเที่ยว ดังนั้นหากปัญหาที่สะสมมาก ขึ้นทุกวันและไม่ได้รับการแก้ไข หรื อ วางแผนการพัฒนา และสามารถปฏิบตั ิให้ดีข้ ึนได้แล้ว นับว่าเป็ นความเสี่ ยงต่อการ ท่องเที่ยวที่ยง่ั ยืนของจังหวัดภูเก็ตเป็ นอย่างยิง่ จึงสมควรพิจารณาดําเนินการในเรื่ องดังต่อไปนี้ 1. ความเสี ยสละของนักการเมือง (Politicians’ sacrifice) นักการเมืองเป็ นผูป้ ระกาศเจตนารมณ์วา่ เป็ นผูเ้ สี ยสละจึงก้าวเข้าสู่ภาคการเมือง ดังนั้น ในสภาวะการณ์ที่ประเทศ เสี ยหายเป็ นอย่างมากเพราะภาคการเมืองเป็ นเหตุ พรรคการเมือง นักการเมือง นักเคลื่อนไหวทางการเมือง ทั้งในระดับชาติและ ระดับท้องถิ่นจึงควรเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการเริ่ มต้น ที่จะเสี ยสละตนเอง ยึดถือการช่วยเหลือประเทศและสังคมเป็ นที่ต้ งั ไม่ใช่ ผลประโยชน์ของตนเองเป็ นที่ต้งั หรื อ ผลประโยชน์ของกลุ่มของตน หรื อ ของพรรคการเมืองที่ตนสังกัด พฤติกรรมดังกล่าวย่อม ก่อให้เกิดสังคมมีการเปลี่ยนแปลงที่ดีและเป็ นไปอย่างคุม้ ค่ากับความเสี ยหายในรอบหลายปี ที่ผา่ นมา เพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี ต่อนานาชาติวา่ ภายหลังจากความขัดแย้งอย่างยาวนาน และ เกิดความรุ นแรงสร้างความเสี ยหายแก่ประเทศเป็ นอย่างมากนั้น ได้มี การเปลี่ยนแปลงให้เกิดภาพลักษณ์ในทางที่เป็ นบวก มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ไปในทิศทางที่ดีงามและสร้างสรร ได้แก่ เรื่ อง สมานฉันท์ในประโยชน์ของประเทศเป็ นที่ต้งั ลดความขัดแย้งแต่ใช้การตรวจสอบการทํางานอย่างเป็ นเหตุและผลมากกว่าการ กล่าวหาซึ่งกันและกัน เป็ นนักการเมืองที่มีคุณภาพในการปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความเข้มแข็ง ซื่อสัตย์สุจริ ต มีเมตตาธรรม มีวสิ ยั ทัศน์ ที่ดี มีสมั มาวาจา (เพื่อลดความขัดแย้ง จากถ้อยคําที่เสี ยดสี รุ นแรงว่ากล่าวต่อกัน) ยึดหลักในการพัฒนาประเทศและท้องถิ่นเพื่อ ประชาชนเป็ นที่ต้งั เป็ นแบบอย่างที่ดีสาํ หรับคนรุ่ นต่อๆไป วิสยั ทัศน์ในการพัฒนาเมืองจะมีความเป็ นเอกภาพและเดินหน้าใน การดําเนินงานได้รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น หากยังคงมีมิจฉาทิฏฐิที่จะยังประพฤติปฏิบตั ิตนแบบเดิมๆเช่นอดีตที่ผา่ น มา ย่อมเป็ นนักการเมืองที่ทาํ ลายเมืองอย่างแท้จริ ง ลําดับต่อไปขยายผลให้ประชาชนแต่ละกลุ่มแต่ละเหล่าวิชาชีพ อาทิเช่น ข้าราชการ นักวิชาการ สื่ อมวลชน องค์กร ภาคเอกชนด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านวิชาชีพ ฯลฯ ยึดถือแนวทางดังกล่าว เพื่อขยายผลต่อไปยังชุมชน และประชาชน ก่อให้เกิดความสมานฉันท์ มีวสิ ยั ทัศน์ร่วมกันในการพัฒนาเมือง เพื่อให้รอยยิม้ ของคนไทยกลับคืนมาเช่นดังเดิม 2. การบริหารการจัดการ (Administrative and Management)

42


43

ในลักษณะบูรณาการความคิดเห็นของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียในสังคม สร้างเสริ มให้ทุกภาคีมีส่วนร่ วมในการพัฒนาเมือง เพื่อกําหนดทิศทางในการพัฒนาเมือง วิวฒั นาการไปสู่การบริ หารและการจัดการเมืองด้วยตนเองในรู ปแบบของ “คณะกรรมการ เมือง” โดยมีโครงสร้าง และ องค์ประกอบ ที่ประกอบขึ้นจากภาคส่วนต่างๆให้มากที่สุด ได้แก่ ภาคีการเมืองทั้งส่วนกลาง และ ส่วนท้องถิ่น ภาคีราชการส่วนภูมิภาค ภาคีราชการส่วนท้องถิ่น ภาคีเอกชนทางเศรษฐกิจจากสาขาธุรกิจ หรื อ อาชีพ ภาคีเอกชน ทางด้านสังคม ภาคีวชิ าการ ภาคีสื่อสารมวลชน โดยมีสดั ส่วนของภาคการเมืองและราชการในอัตราส่วนที่นอ้ ยกว่าภาคอื่นๆ รวมกัน (เช่นมีอตั ราของส่วนราชการเพียง 4:10 เพื่อให้ได้รับข้อมูล ข่าวสาร ความคิดเห็นจากภาคประชาชนให้มากที่สุด) และมี จํานวนองค์คณะที่เหมาะสม สําหรับวิธีการพิจารณาสรรหา หรื อ คัดเลือกกรรมการจากแต่ละภาคี ให้ได้ผทู ้ ี่มีศกั ยภาพความรู ้ ความสามารถและมีอุดมการณ์ ซึ่ ง “กรมการจังหวัด” ในปัจจุบนั ซึ่งประกอบด้วยภาคราชการนั้นอาจจะเป็ นผูก้ าํ หนด หรื อ อาจจะ มีคณะกรรมการอีกชุดหนึ่งเพื่อพิจารณาเรื่ องนี้โดยเฉพาะก็ยอ่ มได้ ทั้งนี้อาจกําหนดให้คณะกรรมการเมืองในระยะแรก ให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดเป็ นหัวหน้าคณะ เพื่อให้มีผลในการมอบหมายและการสัง่ การ ให้คณะกรรมการมีอาํ นาจหน้าที่ ในการสํารวจ รวบรวม และ ตรวจสอบข้อมูล วิเคราะห์ ประเมินผล (Research) และ สรุ ปประเด็นปั ญหา กําหนดวิสยั ทัศน์ เสนอแนวทางการ พัฒนา (Development) ในแต่ละช่วงเวลา โดยข้อมูล ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะที่แต่ละภาคีนาํ เข้าเสนอต่อคณะกรรมการเมือง นั้นให้มีที่มาอย่างเป็ นระบบ อาทิเช่น จากการประชุมของสมาชิกในแต่ละภาคีน้ นั ๆที่สมํ่าเสมอ เป็ นข้อคิดเห็นที่ได้ผา่ น กระบวนการวิพากษ์วจิ ารณ์และหาข้อสรุ ปของภาคีน้ นั ๆแล้ว เป็ นต้น เพื่อกลัน่ กรองให้ขอ้ คิดเห็นข้อเสนอแนะนั้นสามารถ พิจารณามอบหมายให้แต่ละหน่วยงานนําไปปฏิบตั ิได้ และประชาสัมพันธ์ให้สงั คมได้รับทราบ สร้างการมีส่วนร่ วมในการรับรู ้ และติดตามการปฏิบตั ิ การตรวจสอบ และสะท้อนผล นําเข้าพิจารณาใน “คณะกรรมการเมือง” ต่อไป ย่อมเป็ นการส่งเสริ มการ พัฒนาการเมืองภาคประชาชนให้มีมากขึ้นอย่างเป็ นระบบ อีกทั้งเป็ นการถ่วงดุลย์กบั ภาคีการเมืองที่ไม่สร้างสรรค์ ตรวจสอบการ ปฏิบตั ิงานของข้าราชการที่ทุจริ ตประพฤติมิชอบ และปฏิบตั ิงานอย่างไม่มีประสิ ทธิภาพ ทําให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการ รับผิดชอบในการพัฒนาเมือง เหมาะสมกับการเป็ นประชากรที่ดีของเมือง ทั้งนี้การบริ หารการจัดการที่ดีควรให้มีการประเมินผล แผนปฏิบตั ิการร่ วมกับภาคีต่างๆ ว่าได้ปฏิบตั ิและดําเนินการตามแผนเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ เป็ นประจําทุกระยะ เพื่อการ รับรู ้ถึงผลสัมฤทธิ์ ในความโปร่ งใส และ รับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนาปรับปรุ งแผนปฏิบตั ิการในปี ต่อๆไป และ พัฒนาการไปสู่การบริ หารการจัดการด้วยตนเองในอนาคตในรู ปแบบที่เหมาะสมต่อไป ข้าราชการที่ดี มีคุณธรรม จริ ยธรรม นับเป็ นกลุ่มบุคคลที่สาํ คัญที่สุดในช่วงเวลาที่สงั คมยังมีความแตกแยก และ การเมืองที่ลม้ เหลว ในอันที่จะประพฤติปฎิบตั ิ ในหลักการของ "ความเท่าเทียมในการบังคับใช้กฎหมาย" และ "ส่งเสริ มคุณธรรม ยับยั้งการทุจริ ต" เพื่อขจัดข้าราชการที่ประพฤติผดิ คิดมิชอบที่แทรกซึมอยูใ่ นทุกหน่วยงาน โดยนําข้อมูลเผยแพร่ ผา่ นสื่ อมวลชน ให้เป็ นที่รู้กนั อย่างแพร่ หลาย เพื่อให้ได้รับการเหยียดหยาม การประนามจากสังคม 3. ระดมความคิดจาก “การท่ องเทีย่ วเป็ นวาระแห่ งชาติ” เพื่อกําหนดยุทธศาสตร์ และ จัดทําแผนปฏิบัตกิ าร “ภูเก็ต เมืองท่ องเทีย่ วระดับโลก” (Phuket’s World Class Destination) จากปั ญหาทางการท่องเที่ยวที่ได้สะสมปั ญหาต่างๆมาอย่างยาวนาน ประกอบกับ ปั ญหาทางการเมือง ที่ทาํ ให้ประเทศถึงจุด ตกตํ่าที่สุดของการท่องเที่ยวไทย รัฐบาลได้ประกาศให้ การท่องเที่ยวเป็ นวาระแห่งชาติ นั้นจึงสมควรที่จะดําเนินการอย่างจริ งจัง ไม่ใช่เป็ นเพียง วลีที่ฟังไพเราะ หรื อ เพียงเพื่อเป็ นกลยุทธ์ทางการเมือง หรื อ เพียงเพื่อให้ได้งบประมาณเพื่อกระตุน้ การตลาดให้ ฟื้ นคืนกลับมาดังเดิมเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ที่จงั หวัดภูเก็ตในขณะนี้ได้กลายสภาพเป็ นเมืองที่พ่ งึ พาเศรษฐกิจการท่องเที่ยว เพียงด้านเดียว ดังนั้น การคงอยูใ่ นการเป็ นเมืองท่องเที่ยวนั้นจึงมีความสําคัญเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องขับเคลื่อนในการยกระดับให้ เป็ นเมืองท่องเที่ยวที่มีคุณภาพสามารถขายได้อย่างยัง่ ยืนในระดับโลก (World Class Destination) แต่การยกระดับให้เป็ น 43


44

เมืองท่องเที่ยวระดับโลก (World Class Destiantion) นั้น ต้องมีองค์ประกอบหรื อปัจจัยใดบ้าง และมีแผนปฏิบกั ารที่จะมี องค์ประกอบเหล่านั้นให้ครบถ้วนได้อย่างไร การจัดทําแผนนั้นให้อยูใ่ นทิศทางของ "การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน" (Sustainable Development) โดยมีดรรชนีช้ ีวดั “ความสุ ขมวลรวม” (Gross National Happiness) ภายใต้กรอบของ “ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” (Sufficiency Economy Philosophy) ในการจัดทําแผนปฏิบตั ิเพื่อพัฒนาเมือง เพื่อให้สงั คม และ เศรษฐกิจ ของจังหวัดภูเก็ตมีความเจริ ญ มัน่ คง และ ยัง่ ยืนที่สุดเท่าที่จะทําได้ และบังเกิดผลในทางปฏิบตั ิให้มากที่สุดจึงควรทํา การระดมความคิด จัดสัมนาอย่างเป็ นระบบกับสังคมในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในทุกประเภท ทุกระดับ ทุกองค์กร และ ครอบคลุมถึงภาคประชาสังคม เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่ วมในการรับฟังปั ญหา แนวความคิด วิธีการแก้ไข และ พัฒนาขับเคลื่อน ไปสู่เมืองท่องเที่ยวที่มีคุณภาพอย่างยัง่ ยืน 4. การจัดการระบบการจราจรขนส่ ง (Mass Transit or Public Transport) ด้วยพื้นที่ของจังหวัดภูเก็ต มี พื้นที่ค่อนข้างจํากัด เพราะเป็ นพื้นที่ภูเขาประมาณ 70% พื้นที่ราบเพียง 30% ดังนั้นโอกาสที่เกิดความหนาแน่นในการจราจร ค่อนข้างสูง พื้นที่สาธารณะเพื่อการสร้างถนนใหม่ค่อนข้างจํากัด แต่ปริ มาณของประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างไร้ขอ้ จํากัดยังคงดําเนิน อยู่ ทําให้ยานพาหนะเพิ่มขึ้นอยูท่ ุกวัน ดังนั้นการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนที่มีประสิ ทธิภาพ เชื่อมโยงการคมนาคมขนส่ง อย่าง ทัว่ ถึง ในจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดใกล้เคียง (รวมถึงการเชื่อมโยงกับโครงการศูนย์การประชุมและแสดงสิ นค้านานาชาติที่คาดว่า จะมีข้ ึนในอนาคต) จึงเป็ นสิ่ งที่จาํ เป็ นอย่างยิง่ โดยเฉพาะการใช้ระบบขนส่งประเภทราง หรื อ รถไฟฟ้า เพื่อลดปริ มาณ ยานพาหนะ และคงไว้ซ่ ึงสิ่ งแวดล้อมที่ดี มีความสดวกสบาย ความปลอดภัย ทําให้คงสภาพความเป็ นเมืองที่น่าท่องเที่ยวต่อไป นอกจากนี้ระบบขนส่งมวลชนที่ดีสามารถช่วยเหลือแบ่งเบาภาระทางเศรษฐกิจ ความสะดวก ความปลอดภัย ของประชาชนใน พื้นที่ต่างๆที่ห่างไกลจากตัวเมืองได้ดว้ ย ในขณะเดียวกันอํานวยความสะดวกให้กบั นักท่องเที่ยวอีกโสตหนึ่งด้วย 5. การจัดการทรัพยากรนํา้ และสาธารณูปโภค (Water Resource & Infra Structure) การพัฒนาเมืองย่อมดําเนินไปอย่างต่อเนื่องไม่หยุดนิ่ง การใช้ทรัพยากรย่อมเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง ทรัพยากรนํ้าจึงเป็ นปัจจัยสําคัญ ที่จะกระทบต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว ความขาดแคลนจะส่งผลกระทบโดยรวมต่อการค้าและสังคม การวางแผนการจัดการ ทรัพยากรนํ้า และปฏิบตั ิการให้สมั ฤทธิ์ผลอย่างมีระบบและแบบแผนที่ชดั เจนไม่อาจที่จะหลีกเลี่ยงได้ การนํานํ้าจากขุมเหมือง เก่าก็ดี หรื อ ที่มีโดยธรรมชาติก็ดี เพื่อนํามาบริ หารจัดการนั้นนับว่าเป็ นก้าวแรกที่สาํ คัญ ของความร่ วมมือที่ดีของผูเ้ ป็ นเจ้าของ สถานที่ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่จะร่ วมกันแก้ไขปั ญหาการจัดการทรัพยากรนํ้าในระยะแรก อย่างไรก็ตามหากการ เจริ ญเติบโตเป็ นไปในอัตราความเจริ ญเช่นปัจจุบนั การลงทุนขนาดใหญ่สมควรที่จะได้มีการวางแผนเพื่อการนี้ดว้ ยเช่นกัน 6 เทศบัญญัติ และการบังคับใช้ (Law and Enforcement) นโยบายพัฒนาเมืองที่สามารถควบคุมอัตราการเติบโต และ มีความสามารถในการรองรับ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ควรมีการพิจารณา กําหนดนโยบาย ปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลง หรื อ ออกเทศบัญญัติใหม่ๆ เพื่อให้มีผลบังคับใช้ให้การเติบโต หรื อ การขยายตัวของพื้นที่ในการพัฒนา สัมพันธ์และสอดคล้องไปกับความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) โดยพิจารณาในเงื่อนไขของปริ มาณควบคู่ไปกับพื้นที่ และคุณภาพขององค์กรหรื อบุคคลากรที่รองรับในแต่ละพื้นที่น้ นั ๆ ย่อม ทําให้การท่องเที่ยว และการพัฒนาของเมืองและสังคม เป็ นไปอย่างมีคุณภาพ เหมาะสมกับ World Class Destination ที่ได้ ประกาศเจตนารมณ์ไว้ หรื อ เป็ นไปตามที่ประชาชนโดยทัว่ ไปทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศคาดหวัง โดยสมควร ดําเนินการ 6.1 ศึกษาและคํานวณ ความสามารถในการรองรับเพื่อกําหนด การใช้ที่ดิน การพัฒนา และ กิจกรรมที่พึงมีใน แต่ละพื้นที่ ผังเมืองเฉพาะ(Zoning) อย่างเร่ งด่วนโดยผูเ้ ชี่ยวชาญในการวางผัง และมีผลในการบังคับใช้ เพื่อการพัฒนาเมือง 44


45

อย่างมีคุณภาพ แม้วา่ การจัดทําผังเมืองเฉพาะ และการบังคับใช้จะเป็ นเรื่ องยากในทางปฏิบตั ิ เพราะจะกระทบกับการมีส่วนได้ ส่วนเสี ยของผูค้ รอบครองสิ ทธิในที่ดิน แต่อย่างไรก็ตามผังเมืองย่อมเป็ นแนวทางที่สาํ คัญที่ใช้ยดึ ถือในการพัฒนาเมืองให้มี คุณภาพ ศิลปะและความสามารถในการบริ หารจัดการของหน่วยงานที่รับผิดชอบในการบังคับใช้ จึงเป็ นสิ่ งที่สาํ คัญที่ทุก หน่วยงาน ซึ่งสังคมต้องให้การส่งเสริ ม และสนับสนุน เพื่อความเป็ นอยูท่ ี่ดีของตนเองและสังคมของตนเองในระยะยาว 6.2 องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ออกเทศบัญญัติ เพื่อควบคุมให้การเติบโต เป็ นตามผังเมือง และ สอดคล้องกับความสามารถในการรองรับ เช่น งบประมาณ อัตรากําลังเจ้าหน้าที่ ข้อบัญญัติต่างๆ เป็ นต้น พัฒนาขีด ความสามารถในการบริ หารการจัดการ และ ส่งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ในทุกระดับในองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นทุกองค์กรอย่างเร่ งด่วน เพื่อให้งานบริ การสาธารณะเป็ นไปด้วยความซื่อสัตย์และมีประสิ ทธิภาพ สําหรับงบประมาณนั้น ควรปฏิบตั ิหน้าที่ให้สมบูรณ์ในการจัดเก็บภาษีบาํ รุ งท้องถิ่น ผูท้ ี่ยงั ละเมิดในการชําระภาษีสมควรได้รับการลงโทษ เพื่อ ความชอบธรรมในสังคม ภาษีที่จดั เก็บได้นาํ มาใช้ในการพัฒนาอย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิภาพ ปราศจากการทุจริ ตประพฤติมิ ชอบ ปราศจากการกระทําที่ทุจริ ตประพฤติมิชอบ 6.3 ขยายผลให้ประชาชนมีความรู ้เข้าใจ และคาดหวังการพัฒนาในลักษณะที่นาํ มาซึ่ งความสุ ข ของคนส่วนใหญ่ในระยะยาว คํานึงถึงความสุขมวลรวม (Gross National Happiness) เป็ นภูมิคุม้ กันโดยใช้ดชั นีช้ ีวดั ความสุขมวลรวมเป็ นแนวทางในการพัฒนาเมือง ไม่ให้เป็ นไปตามกระแสของการพัฒนาทางเศรษฐกิจเพียงมิติเดียว และทํา ความเข้าใจกับปรัชญาความคิดที่วา่ หากเศรษฐกิจดียอ่ มทําให้ทุกอย่างดีข้ ึนนั้นเป็ นปรัชญาความคิดที่ถูกต้องจริ งหรื อไม่ โดย พิจาณาผลของการพัฒนาในแนวทางดังกล่าวที่เป็ นอยู่ และสิ่ งที่ได้ประสบพบเห็นอยูใ่ นปั จจุบนั ว่าเหมาะสมอย่างไร เพื่อทําความ เข้าใจให้ขยายผลต่อไปว่าการทําให้สงั คมมีคุณภาพที่ดีในด้านต่างๆได้น้ นั หรื อ กล่าวในอีกนัยหนึ่งว่า การทําให้สงั คมมีจิต วิญญาณของความสงบสุขนั้น นอกเหนือจากเรื่ องเศรษฐกิจ แล้วมีเรื่ องใดๆอีกบ้าง 6.4 ควบคุม และ กํากับให้การเติบโต มีอตั ราการเติบโตอยูใ่ นระดับที่สามารถรองรับ และ บริ หารจัดการได้ โดยการบังคับใช้กฎหมายของทุกหน่วยงาน ให้มีประสิ ทธิภาพและคงไว้ซ่ ึงความศักดิสิทธิ์ของกฏหมาย อันจะ นํามาซึ่งการเติบโตของเมืองอย่างมีคุณภาพ ก. พัฒนาคุณภาพของบุคคลากร เพือ่ สามารถรองรับกับการพัฒนาในทิศทางที่ได้กาํ หนดไว้ ในแผน หรื อ ยุทธศาสตร์ที่ได้วางไว้ โดยให้ภาคประชาสังคม และนักท่องเที่ยวเป็ นผูป้ ระเมินผลการปฏิบตั ิงานของภาครัฐ และ การประกอบการของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุ ง นําไปสู่การฝึ กอบรม ให้มีความรู ้ความสามารถทางการท่องเที่ยว การดูงานมีวธิ ีการที่ดีมีมาตราฐานสามารถนํากลับมาใช้ในการพัฒนาได้ มิใช่เป็ น เพียงเพื่อสําหรับการท่องเที่ยวหาความสําราญดุจดัง่ เป็ นรางวัลเช่นในอดีตที่ผา่ นมา ข. สังคมมีส่วนร่ วม และสนับสนุนในการบังคับใช้เทศบัญญัติให้มีประสิ ทธิภาพ 7. สังคมต้ องมีจติ สํานึกสาธารณะทีด่ ี (Public Consciousness) เมืองที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ วประกอบด้วย คนหลากหลายเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ การอยูร่ ่ วมกันในมิติทางเศรษฐกิจเพียงด้านเดียว เป็ นการอยูร่ ่ วมกันที่เป็ นไปในลักษณะที่ เปราะบาง มีโอกาสที่จะเกิดความขัดแย้ง การแบ่งแยกกลุ่มและชนชั้น เพราะทัศนคติโดยยึดถือวัตถุนิยมในการครองชีวติ มีมาก ขึ้น สังคมจะขาดจริ ยธรรมที่ดีในการอยูร่ ่ วมกันกับผูอ้ ื่น การส่งเสริ มสร้างสรรค์ให้สงั คมมีบรรทัดฐานที่ดีในเรื่ องวิธีคิด วิธีปฏิบตั ิ ไปสู่วฒั นธรรมทางความคิด ปฏิบตั ิลงลึกสู่วถิ ีชีวติ การสนับสนุนงานประเพณี วัฒนธรรม งานท้องถิ่น กิจกรรมที่ตอ้ งมีส่วนร่ วม ในลักษณะถ้อยทีถอ้ ยอาศัยอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้คนในสังคมมีจิตสํานึกสาธารณะในการมีส่วนร่ วมต่อสังคม ห่วงใย และ 45


46

ประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดี เพื่อให้สงั คมมีบนั ทัดฐานที่ดีในการครองตน ย่อมเป็ นภูมิคุม้ กันมิให้วฒั นธรรมท้องถิ่นที่ดี งามสูญสลายหายไป และ พยายามส่งเสริ มเพื่อผดุงรักษาไว้ซ่ ึงบันทัดฐานที่ดีของสังคม อันจะเป็ นวัฒนธรรมที่ดีของการอยู่ ร่ วมกันนี้ขยายผลถึงประชากรที่อพยพย้ายถิ่นเข้ามาอยูอ่ าศัยได้มีส่วนร่ วม และประพฤติปฏิบตั ิเช่นกัน ย่อมสามารถดํารงไว้ซ่ ึง สังคมโดยรวมมีคุณภาพที่ดีต่อไปได้อย่างยัง่ ยืนถาวร ซึ่งทุกภาคีสมควรมีส่วนเรื่ องในการรณรงค์ และ มีส่วนร่ วมในเรื่ องนี้ 8. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource) เพื่อพัฒนาบุคคลากรให้มีความรู ้ความสามารถที่จะรองรับ และสอดคล้องไปกับทิศทางของการพัฒนา ในระยะสั้นและระยะปานกลาง การพัฒนาความรู ้ความสามารถในการรองรับกับ โครงการต่างๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เช่น การบริ หารการปฏิบตั ิงานด้านการขนส่งในรู ปแบบต่างๆ การบริ หารการจัดการการ ปฏิบตั ิงานในศูนย์ประชุมและนิทรรศการนานาชาติ การพัฒนาเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู ้ความสามารถใน ภาษาต่างประเทศ เพื่อแข่งขันกับกับการประกอบการของชาวต่างชาติได้ เป็ นต้น โดยเฉพาะการศึกษาในสถาบันการศึกษาให้มีมาตรฐานเท่าเทียมกับมาตรฐานการศึกษาในระดับนานาชาติ วิธีการ เรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาการศึกษาและวิธีคิดที่มีจริ ยธรรมอย่างเป็ นระบบ แสวงหาหลักสูตรที่เป็ นมาตรฐานสามารถพัฒนา ความรู ้ความสามารถนําไปปฏิบตั ิได้ดี ให้มีแหล่งเรี ยนรู ้ที่สามารถอํานวยให้นกั เรี ยนนักศึกษาได้เรี ยนรู ้ มีทกั ษะมากขึ้นด้วยการ ค้นหาความรู ้และปฏิบตั ิดว้ ยตนเองมากขึ้น โดยทุกองค์กรทั้งภาครัฐ เอกชน ผูป้ ระกอบการ ต้องมีส่วนร่ วม ให้ความเอาใจใส่ และ เร่ งรัดการพัฒนาการศึกษา ให้มีประสิ ทธิภาพ ไม่ใช่เป็ นภาระของสถานศึกษาแต่เพียงฝ่ ายเดียว

สรุ ปโดยรวม การสร้ างคนคือการสร้ างชาติ หาใช่การสร้างอาคารสิ่ งปลูกสร้าง หรื อสาธารณูปโภคแต่ เพียงอย่างเดียว เพราะว่าหากคนไม่มีคุณภาพ ประเทศชาติยอ่ มอ่อนแอ เป็ นอุปสรรคในการพัฒนาในระยะยาว หากพัฒนา เศรษฐกิจโดยอาศัยเม็ดเงินจากต่างชาติในการลงทุนอย่างตลอดเวลา ย่อมไม่มีความยัง่ ยืน ไม่สามารถยืนอยูบ่ นขาตัวเองได้ การ ลงทุนจากต่างชาติ ย่อมจะถอนทุนหรื อย้ายฐานการลงทุนเมื่อไรก็ได้เช่นกัน เพราะเมื่อเห็นว่าความสามารถในการทํากําไรไม่ดี เพียงพอ ดังนั้น การลงทุนจากต่างชาติเพื่อแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจเพื่อการสร้างงานนั้น ให้ควรยึดถืออยูใ่ นแผนระยะสั้นและระยะ กลาง ส่วนในแผนระยะยาวควรให้คนในชาติสามารถยืนอยูด่ ว้ ยลําแข้งของตนเอง ทั้งด้านการลงทุน และ แรงงาน หากยังยึดถือ นโยบายแก้ปัญหาเศรษฐกิจด้วยการลงทุนจากต่างชาติเช่น 40-50 ปี ที่ผา่ นมาโดยไม่เปลี่ยนแปลง ทําให้คนในชาติอ่อนแอ ความสามารถตํ่า ย่อมก่อให้เกิดการนําเข้าแรงงานในระดับบริ หารจนถึงแรงงานไร้ฝีมือเพื่อทดแทนแรงงานในประเทศอย่าง ต่อเนื่อง ในที่สุดผลประโยชน์ของประเทศอาจเป็ นเพียงภาพมายาเท่านั้น เพราะในความเป็ นจริ งอาจไม่ได้รับประโยชน์ใดๆทั้ง ในส่วนของการลงทุน หรื อ การจ้างงานของคนในท้องถิ่น หรื อ คนในประเทศก็เป็ นได้ 9. ภาคเอกชน (Private Organization) องค์กรภาคเอกชนพัฒนาบทบาทของตนเองในการพัฒนาความรู ้ ความสามารถของผูป้ ระกอบการ พัฒนาคุณภาพของแรงงาน การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การปกป้ องคุม้ ครองของแต่ละกลุ่ม อาชีพในการแข่งขันกับผูป้ ระกอบการต่างชาติหรื อแรงงานต่างชาติ ในการเผชิญกับสภาวะการค้าเสรี ซ่ ึงเริ่ มมีผลตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 และ การลงทุนเสรี ในปี ค.ศ. 2020 ในการกําหนดกติกาการค้า จริ ยธรรมทางการค้า และมาตรฐานการปฏิบตั ิระหว่างกัน ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เพื่อใช้ระหว่างกันในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว มิใช่เพียงเป็ นองค์กรเพือ่ เสนอปั ญหาให้ภาครัฐแก้ไข หรื อ เป็ นหน่วยงานประชาสัมพันธ์เท่านั้น สมควรที่กาํ หนดภาระกิจ หรื อ บทบาทของตนเองให้ชดั เจนว่า เรื่ องใดเป็ นภาระ รับผิดชอบของภาครัฐที่ควรรวบรวมนําเสนอพร้อมข้อคิดเห็น เรื่ องใดเป็ นความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการที่ควรประสานงาน และบริ หารจัดการกันเองในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เช่น การกําหนดกติกาทางการค้า (Rules & Regulations of Trade) การพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ (Products Development) การพัฒนาและฝึ กอบรมบุคลากร(Human Resource 46


47 Development) การกําหนดวิธีปฏิบตั ิงานของตนเองและระหว่างกันเพื่อมาตรฐานที่ดี (Procedures & Standards) มี

ความรู ้ความสามารถในเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) นอกจากนี้ในส่วนที่สาํ คัญที่สุด องค์กร ภาคเอกชน และธุรกิจเอกชนในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวควรมีความเข้มแข็ง ในการปกป้ องพิทกั ษ์รักษาสิ นค้าทางการท่องเที่ยวซึ่ง เป็ นสิ นค้าของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวโดยส่วนรวม และ ตระหนักถึงผลกระทบในเชิงลบที่จะเกิดขึ้นในชุมชนที่อตุ สาหกรรม ท่องเที่ยวเข้าไปมีบทบาท การบริ หารจัดการและบทบาทดังกล่าวย่อมทําให้ภาคธุรกิจเอกชนมีความเข้มแข็งที่จะพัฒนา อุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีคุณภาพ มีจริ ยธรรม มีมาตรฐาน เพื่อเป็ นภูมิคุม้ กัน ที่จะทําให้อตุ สาหกรรมท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ต มีคุณภาพสูง และเป็ นไปได้อย่างยัง่ ยืน 10. ภาควิชาการ (Academic) ในช่วงเวลาแห่ งสังคมที่ขาดความเป็ นเอกภาพทางความคิด และปฏิบตั ิ ภาควิชาการ เป็ นภาคส่วนที่มีความสําคัญในการนําเสนอ ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งหมด ในฐานะภาคีภาควิชาการที่ไม่ยดึ ติดในผลประโยชน์ สมควรที่จะร่ วมมือระหว่างกันที่จะร่ วมกัน รวบรวมข้อมูล ความคิดเห็น วิเคราะห์ สรุ ปผล เพื่อเสนอแนะ วิสยั ทัศน์ ทางเลือก แนวทางปฏิบตั ิ วิธีการ ตามหลักวิชาการ เป็ นการกระตุน้ เตือนผูม้ ีหน้าที่เกี่ยวข้อง ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนได้ความรู ้ความคิด กระตุน้ จิตสํานึกในการมีส่วนร่ วมของสังคม ด้วยประเด็นสาธารณะต่างๆ ไปสู่ความเคลื่อนไหวของสังคม ก่อให้เกิดความ ตระหนักถึงความรับผิดชอบของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย การปฏิบตั ิหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆ การพัฒนาจะมีทิศทางที่ชดั เจนมากขึ้น สังคมรับรู ้และมีส่วนร่ วมคิดพิจารณาในการพัฒนาไปสู่เป้ าหมาย

บทส่ งท้ายของผู้เขียน

ข้อคิดเห็นที่ได้นาํ เสนอข้างต้น ผูเ้ ขียนทราบดีวา่ ทุกสิ่ งย่อมมีความเจริ ญและความเสื่ อมเป็ นธรรมดา หากแต่การ ท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ตเป็ นเศรษฐกิจหลักเพียงหนึ่งเดียวซึ่งปั จจุบนั ด้วยการพัฒนาอย่างไร้ทิศทางและขาดการบริ หารการ จัดการอย่างมีวสิ ยั ทัศน์ ก่อให้เกิดความเสื่ อมที่เพิ่มจํานวนมากขึ้นในอัตราที่รวดเร็ ว ย่อมมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ วิถีชีวติ ความ เป็ นอยูข่ องสังคมและประชาชนในจังหวัดภูเก็ต จึงนับว่าเป็ นที่น่าเสี ยดายเป็ นอย่างยิง่ สําหรับทรัพยากรอันมีค่าที่มีมาแต่เดิม แต่ ไม่มีความสามารถในการบริ หารจัดการให้มีประโยชน์ต่อสังคมได้ในระยะยาว ผูเ้ ขียนจึงเพียงคาดหวังในการจุดประกายทาง ความคิด ให้กบั ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในสังคมได้พิจารณา แตกหน่อต่อยอดทางความคิด ลงลึกไปสู่แผนปฏิบตั ิ ขับเคลื่อนให้เป็ น รู ปธรรมอย่างมีกระบวนการ เพื่อให้การท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ตมีความยัง่ ยืนให้มากที่สุดเท่าที่กระทําได้ ดังนั้นเนื่องในโอกาส ที่การท่องเที่ยวของประเทศไทย ได้เดินทางมาเป็ นระยะเวลาครึ่ งศตวรรษ จึงสมควรที่จะทําการทบทวน ประเมินผลของการ พัฒนาการท่องเที่ยวในอดีตที่ผา่ นมา ว่าการพัฒนาที่ผา่ นมานั้นมีจุดอ่อน หรื อ ขาดความรู ้ความเข้าใจ หรื อ ละเลยในเรื่ องใดๆบ้าง เพื่อสามารถวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็ นไปอย่างมีคุณภาพที่ยง่ั ยืน มีความเข้มแข็ง เดินทางไปสู่การก้าวพ้นสภาวะของ การเรี ยนผิดเรี ยนถูก เติบใหญ่อย่างมีคุณภาพ เพราะการเรี ยนผิดในบางครั้งอาจก่อความเสี ยหายอย่างมาก และยากลําบากในการ แก้ไขให้กลับคืนได้ เช่น สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม และวิถีชีวติ ในสังคม ดังนั้นหวังว่าการบันทึก การเรี ยบเรี ยง ปูมการท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต เล่มนี้ คงจะมีประโยชน์บา้ งไม่มากก็นอ้ ย กับ “การท่องเทีย่ วทีจ่ ะเป็ นวาระแห่ งชาติ” ชาญ วงศ์ สัตยนนท์ 11 มิถุนายน 2553

47


48

ภาคผนวก

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (การท่องเที่ยว)

ตั้งแต่ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๗ – ๒๕๐๙) จนถึง ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔)

48


49

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ ๑ (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๐๗ – ๒๕๐๙

บทที่ ๑๓ รัฐวิสาหกิจและพัฒนาการเศรษฐกิจ งบลงทุนเพื่อการพัฒนาของรัฐวิสาหกิจ การส่ งเสริมกิจการท่ องเทีย่ ว เพื่อที่จะส่งเสริ มกิจการท่องเที่ยวให้กา้ วหน้ายิง่ ขึ้น ในระยะเวลาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ รัฐดําริ จะ จัดสรรเงินให้องค์การส่งเสริ มการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยเป็ นจํานวนเงินประมาณ 21.5 ล้านบาท ซึ่งเป็ นจํานวนเงินที่เพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ 50 ของระยะแรกของแผนพัฒนา (2504-2506) ในอดีตการส่งเสริ มการท่องเที่ยวมิได้เป็ นที่สนใจมากนักที่จะส่งเสริ มให้เป็ นแหล่งเพิ่มพูนเงินตรา ต่างประเทศหรื อในด้านคุณประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ การค้า การอุตสาหกรรมภายในประเทศ แต่ในระยะเวลาสามปี ที่แล้วมา ได้เพิ่มความสนใจในด้านการท่องเที่ยวมากขึ้น จะเห็นได้วา่ มีการก่อตั้งองค์การส่งเสริ มการท่องเที่ยว บริ ษทั การบิน และบริ ษทั การเดินทางท่องเที่ยวขึ้น และเป็ นผลทําให้กรุ งเทพฯ เป็ นศูนย์กลางสําคัญของการท่องเที่ยวแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกไกล จํานวนชาวต่างประเทศที่มาท่องเที่ยวในประเทศไทยได้เพิ่มขึ้นจากประมาณ 62,000 คน ในปี 2502 เป็ นประมาณ 150,000 คน ใน ปี 2506 ในระยะเวลาเดียวกันนี้ โรงแรมชั้นหนึ่งได้เพิ่มจํานวนขึ้นจาก 858 ห้อง เป็ น 1,687 ห้อง และคณะกรรมการส่งเสริ มการ ลงทุนเพื่อกิจการอุตสาหกรรมได้อนุญาตให้สร้างโรงแรมชั้นหนึ่งอีกประมาณ 1,500 ห้อง เพื่อสนองความต้องการของกิจการ ท่องเที่ยวซึ่งลังขยายตัวอย่างรวดเร็ ว รายได้เป็ นเงินตราต่างประเทศจากการท่องเที่ยวได้เพิ่มขึ้นจากจํานวน 155 ล้านบาท ในปี 2502 เป็ นประมาณ 420 ล้านบาทในปี 2506 อย่างไรก็ตาม อาจกล่าวได้วา่ การท่องเที่ยวยังเป็ นกิจการที่เพิ่งจะได้เริ่ มพัฒนาในประเทศไทยและอาจขยาย ได้อีกมาก นอกจากจะส่งเสริ มกิจการโรงแรมและบริ การเกี่ยวกับกิจการท่องเที่ยวต่างๆ ให้มีปริ มาณและระดับมาตรฐานสูงขึ้น เหมาะแก่นกั ท่องเที่ยวชาวต่างประเทศแล้ว ยังสมควรที่จะส่งเสริ มให้ประชาชนในประเทศให้ทาํ การท่องเที่ยวไปชมท้องที่และ สถานที่งดงามตามธรรมชาติและในด้านศิลป์ โดยส่งเสริ มการจัดตั้งโรงแรมที่พกั อาศัยและบริ การอื่นๆ ในราคาตํ่าให้มีข้ ึนทัว่ ไป ในท้องที่ที่เหมาะสม ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ในการเพิ่มความรู ้และความสัมพันธ์อนั ดีงามของประชาชนในท้องถิ่นต่างๆ ของ ประเทศอีกด้วย กิจการท่องเที่ยวที่ได้รับการส่งเสริ มและพัฒนาตามแนวทางนี้ยอ่ มหมายถึงการฝึ กฝนและการศึกษาในวิชาชีพ ต่างๆ ในกิจการท่องเที่ยว อาทิเช่น การโรงแรม การบริ การเดินทางและการท่องเที่ยว เป็ นต้น

49


50

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๕๑๔) บทที่ ๑๓ การพาณิ ชย์และบริ การ นโยบาย ส่งเสริ มอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในประเทศให้กว้างขวางและเป็ นปึ กแผ่นยิง่ ขึ้น

เป้ าหมาย

การส่งเสริ มการท่องเที่ยวของประเทศไทยเป็ นบริ การอย่างหนึ่งที่นบั วันจะมีความสําคัญต่อกิจกรรมของเศรษฐกิจของ ประเทศมากขึ้นเป็ นลําดับ ในปัจจุบนั นี้การท่องเที่ยวได้นาํ รายได้เข้าสู่ประเทศเป็ นอันดับที่เจ็ดของการค้าขาออก กล่าวคือ ใน พ.ศ. 2507 มีจาํ นวนประมาณ 400 ล้านบาท และมีอตั ราเพิ่มขึ้นร้อยละ 10–15 ต่อปี ตารางที่ 3 จํานวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยว จํานวนนักท่องเที่ยว รายได้จากนักท่องเที่ยว (ล้านบาท) จากประเทศ จากประเทศ ปี รวม จากโพ้นทะเล รวม จากโพ้นทะเล เพื่อนบ้าน เพื่อนบ้าน 2504 107,754 107,754 250 250 2505 103,809 130,809 310 310 2506 195,076 134,271 60,805 506 282 112 2507 211,924 158,588 53,336 430 332 98 2508 244,000 175,192 68,808 522 384 138 2509 281,000 201,000 79,242 640 470 170 2510 322,000 241,000 81,000 654 506 138 2511 371,000 278,000 93,000 752 582 170 2512 426,000 319,000 107,000 866 670 196 2513 490,000 367,000 123,000 996 770 226 2514 564,000 422,000 142.000 1,148 886 262 ที่มา : สถิติ พ.ศ. 2504–2509 ได้จากกองตรวจคนเข้าเมือง กรมตํารวจ และสํานักงานสถิติแห่งชาติ แนวทางการส่งเสริ มอุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีดงั นี้

50


51

1 ขยายงานโฆษณาและงานเผยแพร่ ในต่างประเทศให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น โดยร่ วมมือและประสานงานกับ บริ การเอกชนในด้านนี้และบริ ษทั การบินต่างประเทศ 2 ปรับปรุ งระเบียบการและพิธีการต่างๆ เพื่อจะอํานวยบริ การและให้ความสะดวกทุกด้านแก่นกั ทัศนาจร โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเดินทางเข้าออกทั้งภายในและต่างประเทศ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๑๕ – ๒๕๑๙) ส่ วนที่ ๒ บทที่ ๑๐ การพาณิ ชย์และบริ การ

นโยบาย รัฐจะส่งเสริ มกิจการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยเฉพาะนักธุรกิจที่เกี่ยวข้องของเอกชน โดยรัฐจะเป็ นผูจ้ ดั สรรสภาพการ สิ่ งแวดล้อมภายในประเทศเพื่อจูงใจนักท่องเที่ยวมากขึ้น และจะทําให้นกั ท่องเที่ยวได้เกิดความพอใจและปลอดภัย พร้อมกันนั้น ก็จะได้บาํ รุ งรักษาและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้มีมากขึ้น เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เพิ่มมากขึ้น ตามลําดับ แนวทางในการพัฒนา การส่ งเสริมการท่ องเทีย่ ว การท่องเที่ยวได้เจริ ญก้าวหน้าจนกลายเป็ นธุรกิจที่สาํ คัญในระยะ 10 ปี ที่ ผ่านมา กล่าวคือ ก่อให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งในส่วนของรัฐและของเอกชน ซึ่งเป็ นแหล่งที่มาของรายได้ของชาติ และเป็ น การเผยแพร่ กิติคุณของประเทศไปพร้อมๆ กัน เมื่อปี 2513 มีนกั ท่องเที่ยวในประเทศไทยมีจาํ นวน 628,670 คน นักท่องเที่ยวพัก อยูใ่ นประเทศไทยประมาณ 4.8 วันต่อคน และการมีการใช้จ่ายโดยเฉลี่ยต่อคนประมาณวันละ 28 เหรี ยญสหรัฐ วัตถุประสงค์ใน การส่งเสริ มการท่องเที่ยวเท่าที่ผา่ นมาแล้ว ได้แก่ เป็ นความพยายามที่จะให้ประเทศไทยเป็ นจุดท่องเที่ยวที่สาํ คัญสําหรับ นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่เดินทางระยะไกล เพราะนักท่องเที่ยวทั้งหลายมักจะวางแผนในการท่องเที่ยวที่สาํ คัญสําหรับนัก ท่องที่ยวของตนโดยผ่านหลายๆ ประเทศ สําหรับปั ญหาในปัจจุบนั นั้น ส่วนใหญ่เกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมต่างๆ เพื่อให้ความอบอุน่ ใจและความสะดวกสบายแก่นกั ท่องเที่ยวในฐานะเจ้าของบ้านยังไม่ดีเท่าที่ควร และมีแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ยังไม่ได้พฒั นาใน ด้านนี้ส่วนการดําเนินการส่งเสริ มการท่องเที่ยวของรัฐ ในด้านการโฆษณาและเผยแพร่ เพื่อจูงใจให้มีผมู ้ าท่องเที่ยวให้มากขึ้นนั้น เป็ นมาตรการประการหนึ่ง ซึ่งจะต้องดําเนินการให้ถูกจุด ในระยะของแผนฯ ฉบับที่ 3 คาดว่าจะมีนกั ท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยมากขึ้น คือ ประมาณ 660,000 คน ในปี 2515 จะเพิม่ ขึ้นเป็ นประมาณ 1 ล้านคน ในปี 2519 เพื่อส่งเสริ มให้นกั ท่องเที่ยวพักอยูใ่ นเมืองไทยเป็ น เวลานานและใช้จ่ายเพิ่มขึ้น รัฐบาลจึงจําเป็ นจะต้องจัดหาบริ การต่างๆ ให้เพียงพอ โดยรัฐบาลจะได้ส่งเสริ มส่วนราชการและ เอกชนให้ทาํ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้มีมากขึ้นทั้งในด้านคุณค่าและปริ มาณ พร้อมกับร่ วมสร้างบรรยากาศอันอบอุน่ ใน ฐานะเจ้าของบ้านให้แก่นกั ท่องเที่ยว เช่น การหาที่พกั การแนะนํารายการนําเที่ยวน่าสนใจ ความสะดวกในการเดินทางการจอง ตัว๋ และที่พกั ความสะอาด อนามัย อาหาร การดูแลความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวและบริ การอื่นๆ ที่เป็ นการช่วยเหลือ และเอาใจ ใส่นกั ท่องเที่ยวให้ได้รับความสุขสบายและพอใจมากที่สุด ส่วนการโฆษณาเผยแพร่ เพื่อจูงใจให้ชาวต่างประเทศมาเที่ยวมากขึ้น นั้น ควรให้ความสนับสนุนโดยร่ วมมือกับเอกชนให้มากที่สุดที่จะกระทําได้ 51


52

หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบโดยตรง

ที่จะให้การส่งเสริ มเพื่อให้เป็ นไปตามแผนการของรัฐ

ดังกล่าวนี้ ได้แก่ องค์การส่งเสริ มการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ซึ่งได้จดั ตั้งขึ้นเพื่อดําเนินการในการให้การส่งเสริ มการ ท่องเที่ยวในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2503 ปั จจุบนั มีสาํ นักงานตั้งอยูภ่ ายในประเทศ 5 แห่ง และในต่างประเทศ 2 แห่ง คือ ที่นิวยอร์ค และที่ลอสแอนเจลิสสหรัฐอเมริ กา การดําเนินการส่งเสริ มการท่องเที่ยวในระยะของแผนฯ ฉบับที่ 2 มุ่งลงทุนส่งเสริ มการขาย โดยการโฆษณาประชาสัมพันธ์ในตลาดท่องเที่ยวเพื่อจูงใจให้ชาวต่างประเทศมาเที่ยวมากขึ้นเป็ นส่วนใหญ่ในระยะของแผนนี้ จะต้องคํานึงถึงมาตรการอื่นๆ เข้าประกอบด้วย ในระยะของแผนฯ ฉบับที่ 3 นี้ รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริ มการท่องเที่ยว ดังนี้ 1. สํารวจและจัดทําแผนหลักการพัฒนาการส่งเสริ มการท่องเที่ยวของประเทศไทยขึ้น เพื่อให้ แล้วเสร็ จโดยด่วน 2. ประสานงานและส่งเสริ มส่วนราชการและเอกชน เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวภายในประเทศ ให้เป็ นที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มากขึ้น ทั้งนี้ จะได้ทาํ การสํารวจและกําหนดที่ให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยว พร้อมกับศึกษารายละเอียด ของแต่ละแห่ง แล้วทําโครงการตลอดวิธีการส่งเสริ มการพัฒนาสถานที่กาํ หนดโดยดําเนินการตามแผนเป็ นปี ๆ ไป 3. ประสานงานและแก้ไขข้อบกร่ องและข้อบังคับที่ลา้ สมัยต่างๆ ที่มีอยูเ่ กี่ยวกับการบริ การ ท่องเที่ยวโดยรี บด่วน โดยเฉพาะระเบียบการที่ทาํ ความระอาใจ 4. ให้ความปลอดภัยแก่นกั ท่องเที่ยวอย่างเพียงพอ 5. ส่งเสริ มและริ เริ่ มในการตบแต่งบริ เวณให้งดงาม การรักษาความสะอาด ส่งเสริ มการจัด สถานที่พกั ผ่อน เช่น สวนดอกไม้ สวนสาธารณะ สถานที่เดินเล่น (Promenade) 6. สนับสนุนและให้ความร่ วมมือแก่วสิ าหกิจบริ การของเอกชน ตลอดทั้งคําแนะนําในด้านนี้แก่ นักท่องเที่ยว เช่น สมาคมโรงแรม และสมาคมบริ การนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการโฆษณาเผยแพร่ เพื่อจูงใจให้มีผมู ้ า ท่องเที่ยวมากขึ้น ทั้งนี้ รวมถึงการฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่มคั คุเทศก์และบริ การของบริ การเกี่ยวกับการท่องเที่ยวต่างๆ ด้วย

52


53

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๒๐ – ๒๕๒๔) ส่ วนที่ ๓ บทที่ ๔ การส่ งเสริ มการท่องเที่ยว การส่ งเสริมการท่ องเทีย่ ว ในช่วงระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 จํานวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาประเทศไทยยังคงเพิ่มสูงขึ้นในอัตรา ร้อยละ 17 ต่อปี แต่ต่าํ กว่าอัตราเฉลี่ยร้อยละ 22 ในระยะของแผน-พัฒนาฯ ฉบับที่ 2 เนื่องจากผลกระทบจากภาวะ เศรษฐกิจตกตํ่าทัว่ โลก และความไม่สงบภายในประเทศเอง อย่างไรก็ตามนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาประเทศ ไทยในช่วงระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 ก็ยงั มีจาํ นวนโดยเฉลี่ยปี ละประมาณ 1 ล้านคน และสูงเป็ นอันดับที่ 3 ของประเทศในภูมิภาคนี้ การท่องเที่ยวเป็ นแหล่งที่มาของรายได้เข้าประเทศถึงประมาณปี ละ 4 พันล้านบาท ซึ่งสูง เป็ นอันดับ 4 เมื่อเทียบกับรายได้จากการส่งออกอื่นๆ 1 นโยบาย นโยบายในการเร่ งรัดการพัฒนาบริ การท่องเที่ยวในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 รัฐจะให้ความสําคัญในด้าน การเพิ่มรายได้ในรู ปเงินตราต่างประเทศจากการท่องเที่ยวให้สูงขึ้นเพื่อช่วยลดภาระการขาดดุลการค้าและ ดุลการชําระเงินระหว่างประเทศ 2 ปัญหา ในระยะเวลาที่ผา่ นมามีปัญหาสําคัญๆ ซึ่งเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวและสมควรต้องได้รับการแก้ไข ดังต่อไปนี้ 2.1 ปัญหาการพัฒนาแหล่ งท่ องเทีย่ ว (1) สถานที่ท่องเที่ยวซึ่งมีอยูเ่ ดิม เช่น พัทยา ตลาดนํ้าวัดไทร ได้เสื่ อมโทรมลงไปอย่างรวดเร็ วโดยมิได้รับการพัฒนาอย่างจริ งจัง มีบริ การและสิ่ งอํานวยความ สะดวกต่างๆ จํากัด และขาดการอนุรักษ์วฒั นธรรม ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับ การท่องเที่ยวอย่างแท้จริ ง (2) ขาดการวางแผนพัฒนาโดยมีเป้ าหมายที่แน่นอนเพื่อเป็ นแนวทาง ในการปฏิบตั ิท้ งั ภาครัฐบาลและเอกชนในส่วนที่เกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวแหล่งใหม่ ซึ่งอยูใ่ น ความสนใจของนักลงทุน เช่น ภูเก็ต เพื่อป้ องกันปั ญหาความเสื่ อมโทรมและแออัดที่จะเกิดขึ้น เหมือนสถานที่ท่องเที่ยวที่มีอยูเ่ ดิม 53


54

(3) นักท่องเที่ยวไม่ได้รับความสะดวกในการเดินทางท่องเที่ยวไปยังแหล่งต่างๆ แหล่ง ท่องเที่ยวไม่มีสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานรองรับอย่างเพียงพอ เช่น หาดใหญ่มีสนามบินซึ่ง สายการบินนานาชาติไปลงแห่งละเพียงสายเดียว คือ มาเลเซียแอร์ไลน์ เพราะสนามบินเล็ก เครื่ องบินขนาดใหญ่ไม่สามารถลงจอดได้ หรื อ เช่น ที่พทั ยายังไม่มีระบบประปาใช้ ระบบระบายนํ้า เสี ยและการวางผังเมือง เป็ นต้น 2.2 ปัญหาการควบคุมมาตรฐาน และจัดระเบียบธุรกิจท่ องเทีย่ ว ถึงแม้ประเทศไทยจะเป็ นที่ยอมรับกันว่ามีบริ การของโรงแรมในกกลุ่มที่เป็ นอันดับหนึ่งของโลกก็ตาม แต่ยงั มี ปั ญหาในด้านมาตรฐานและจัดระเบียบของธุรกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวต่างๆ ทั้งธุรกิจโรงแรม บริ ษทั นําเที่ยว ร้านค้าของที่ระลึก มัคคุเทศก์ เป็ นต้น ตลอดจนขาดแผนพัฒนาธุรกิจต่างๆ อย่างแน่ชดั ทําให้เกิดการแข่งขันอย่าง รุ นแรง และมีบริ การที่หลอกลวงนักท่องเที่ยวเกิดขึ้นมาก เพราะไม่มีหน่วยราชการใดที่รับผิดชอบและติดตาม ผลงานโดยตรง อํานาจหน้าที่ขององค์การส่งเสริ มการท่องเที่ยวมีอยูใ่ นขอบเขตที่จาํ กัด ไม่สามารถควบคุมการเปิ ด กิจการต่างๆ ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวได้ ตลอดจนปั จจุบนั ยังขาดกฎหมายควบคุมระเบียบธุรกิจท่องเที่ยวที่จาํ เป็ น เพื่อให้การดําเนินงานเป็ นไปในลักษณะอํานวยความสะดวก สร้างความพึงใจ ให้ความยุติธรรมและปลอดภัยใน การใช้บริ การต่างๆ แก่นกั ท่องเที่ยวได้ a. ปัญหาการยกระดับมาตรฐานกําลังคนในธุรกิจโรงแรม การขยายตัวหรื อการผลิตแรงงาน ของผูป้ ฏิบตั ิงานธุรกิจโรงแรมไม่ได้สดั ส่วนกับการขยายตัวของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว กําลังคนในธุรกิจโรงแรม ส่วนใหญ่เกิดจากความชํานาญ และการฝึ กงานภายในโรงแรมเอง จากผูท้ ี่สาํ เร็จการศึกษาสาขาต่างๆกัน ถึงแม้จะมี สถาบันการศึกษาบางแห่งเปิ ดหลักสูตรวิชาการเกี่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวและโรงแรมก็ตาม แต่อยูใ่ นระดับที่จะ เป็ นพนักงานบริ การในโรงแรมเท่านั้นมิได้มีสถาบันใดที่มีการฝึ ก และให้ความรู ้ถึงขนาดที่จะเป็ นเจ้าหน้าที่ ระดับสูงได้ จึงทําให้กาํ ลังคนที่เป็ นคนไทยอยูใ่ นขอบเขตที่จาํ กัด เมื่อธุรกิจโรงแรมขยายตัวขึ้นย่อมเกิดความ ต้องการเจ้าหน้าที่ระดับสูงและเกิดปั ญหาการซื้อตัวเจ้าหน้าที่กนั อยูเ่ สมอ 2.4ปัญหาเรื่ องความปลอดภัยเกีย่ วกับชีวติ และทรัพย์ สินของนักท่ องเทีย่ ว (1) นักท่องเที่ยวจะให้ความสําคัญเรื่ องความปลอดภัยเป็ นอันดับแรก ที่ตดั สิ นใจในการที่จะมาท่องเที่ยว เหตุการณ์ที่วนุ่ วายที่เกิดขึ้นกับประเทศรอบๆ บ้าน เป็ นเรื่ อง ที่ไม่อยูใ่ นขอบเขตที่จะแก้ไขได้ แต่ความไม่ปลอดภัยที่เกิดขึ้นภายในประเทศ ซึ่งนักท่องเที่ยว ประสบอยูเ่ สมอจากการถูกชิงทรัพย์ ถูกทําร้ายร่ างการเพื่อชิงทรัพย์ในย่านชุมชน ถูกล่อลวงโดย ไกด์ผี การซื้อของปลอมจากร้านขายของที่ระลึก การถูกล่อลวงในการท่องเที่ยวทางนํ้า ตลอดจน ทรัพย์สินที่หายไปจากกระเป๋ าเดินทางในช่วงขนขึ้นลงเครื่ องที่สนามบิน เป็ นเรื่ องที่ถูกร้องเรี ยนอยู่ เสมอ ประกอบกับประเทศผูแ้ ข่งขันมักจะออกข่าวเกินความเป็ นจริ งถึงความไม่ปลอดภัยที่จะ เกิดขึ้นถ้ามาท่องเที่ยวเมืองไทย และการแถลงข่าวของนักท่องเที่ยวที่มีประสบการณ์เอง ทําให้ นักท่องเที่ยวเกิดความรู ้สึกไม่ปลอดภัยและเปลี่ยนเส้นทางไม่แวะลงท่องเที่ยวทั้งๆ ที่เหตุการณ์ ต่างๆ เมื่อเทียบกันกับประเทศอื่นแล้ว ประเทศไทยนับว่ายังอยูใ่ นสภาวะที่ดีและปลอดภัยกว่า (2) ระเบียบพิธีการในการแจ้งความและดําเนินคดีตอ้ งใช้เวลา นักท่องเที่ยวไม่สามารถอยูช่ ้ ีตวั ผูต้ อ้ งหาได้ เนื่องจากมีจาํ นวนวันพักจํากัด ตามเวลาที่ได้จดั ไว้แล้ว 54


55

ทําให้ไม่สามารถลงโทษผูต้ อ้ งหาได้ เพราะไม่มีเจ้าทุกข์ ก่อให้เกิดความได้ใจในการชิงทรัพย์จาก นักท่องเที่ยวเป็ นการเฉพาะ 2.5ปัญหาหน้ าทีค่ วามรับผิดชอบของหน่ วยงานทีจ่ ะพัฒนาการท่ องเทีย่ วของรัฐ องค์การส่งเสริ มการท่องเที่ยวเป็ นรัฐวิสาหกิจประเภทที่ไม่มีรายได้จากการดําเนินงานของตนเอง งบประมาณใน การบริ หารและดําเนินงานขึ้นอยูก่ บั งบประมาณที่ได้รับ และเป็ นรัฐวิสาหกิจขนาดเล็กเมื่อเทียบกับภาระงานด้าน การท่องเที่ยวที่กว้างขวาง และการที่จะพัฒนาการท่องเที่ยวในอนาคต ปัจจุบนั ทําหน้าที่แต่เพียงส่งเสริ มและ โฆษณานักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเป็ นหลัก ไม่มีอาํ นาจในการควบคุมธุรกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว เมื่อเกิด ปั ญหาขึ้นก็ไม่มีอาํ นาจตามกฎหมายที่จะเข้าไปจัดการได้ เพราะมิได้เป็ นส่วนราชการโดยตรง จึงปรากฏว่ายัง ไม่ได้รับความร่ วมมือและการประสานงานจากส่วนราชการต่างๆ และธุรกิจเอกชนเท่าที่ควร 3 เป้าหมาย เมื่อคํานึงถึงนโยบายดังกล่าวข้างต้นเห็นสมควรกําหนดเป้ าหมายให้มีนกั ท่องเที่ยวจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นโดย เฉลี่ยร้อยละ 11 หรื อเพิ่มจาก 1.4 ล้านคนในปี 2520 เป็ น 2.2 ล้านคน ในปี 2524 มีจาํ นวนวันพักเฉลี่ยเพิ่มจาก 4.9 วัน เป็ น 5.5 วัน ค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวแต่ละคนในหนึ่งวันเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยร้อยละ 5 หรื อเพิ่มขึ้นจาก 800 บาท เป็ น 966 บาท ทําให้มีรายได้จากการท่องเที่ยวซึ่งจะกระจายไปยังธุรกิจต่างๆ เพิม่ ขึ้น โดยเฉลี่ยร้อยละ 19 หรื อเพิ่มขึ้นจาก 5,500 ล้านบาท เป็ น 11,700 ล้านบาท 4 แนวทางและมาตรการในการดําเนินงาน 4.1 ในการส่ งเสริมการท่ องเทีย่ ว (1) เผยแพร่ และโฆษณาในตลาดการท่องเที่ยวที่มีอยูเ่ ดิม และในตลาดใหม่ที่มีแนวโน้มที่จะ เป็ นตลาดการท่องเที่ยวที่สาํ คัญ เช่น ฮ่องกง สิ งคโปร์ และฝรั่งเศส (2) โฆษณาและชักจูงให้มีการจัดประชุมนานาชาติในประเทศไทย ในสาขาต่างๆ จากต่างประเทศให้มากขึ้น ตลอดจนจัดให้มีส่ิ งอํานวยความสะดวกและสถานที่ใน การจัดประชุมให้สมั พันธ์กบั ขนาดของการประชุมที่จะมีข้ ึน (3) สนับสนุนให้คนไทยนิยมท่องเที่ยวภายในประเทศมากขึ้น (4) พัฒนาระบบการขนส่งเพื่อเพิ่มการทัศนาจรทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ (5) ให้ความสําคัญในการส่งเสริ มการท่องเที่ยวทางบกระหว่างประเทศในกลุ่มเอเซียอาคเนย์ เช่น ไทย มาเลเซีย และสิ งคโปร์ 4.2 ในการพัฒนาแหล่ งท่ องเทีย่ ว (1) จัดลําดับความสําคัญและความเหมาะสมในการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวที่มีอยูเ่ ดิมและที่จะพัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ โดยแบ่งเขตของการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวให้มีศูนย์การท่องเที่ยวและมีเมืองท่องเที่ยวที่เป็ นบริ วาร เพื่อให้สามารถเดินทางท่องเที่ยว เป็ นวงรอบในแต่ละภาค (2) กําหนดให้มีการวางแผนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเฉพาะแห่ง ที่มีอยูเ่ ดิมและมีลาํ ดับ ความสําคัญสูง ทั้งในแง่ความสําคัญของแหล่งท่องเที่ยวและความเร่ งด่วนของปั ญหา โดยให้ แผนพัฒนาดังกล่าวครอบคลุมถึงการจัดทํารายละเอียดของแผนงานด้านการใช้ที่ดิน การรักษาและ 55


56

อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การควบคุมแผนการก่อสร้างอาคาร การวางผังเมือง การลงทุนของเอกชนและ รัฐบาลในด้านปั จจัยขั้นพื้นฐาน โดยให้การดําเนินงานอยูใ่ นขอบเขตที่จาํ กัด และสอดคล้องกับการ พัฒนาภาคและเมืองโดยเฉพาะที่พทั ยา ภูเก็ต และสงขลา-หาดใหญ่ ซึ่งจะต้องเริ่ มดําเนินการอย่าง เร่ งด่วน ส่วนแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ ที่อยูต่ ามเขตต่างๆ จะมีการสํารวจทางกายภาพเบื้องต้นเพือ่ พิจารณาจัดลําดับความสําคัญในการจัดทําแผนขั้นรายละเอียดที่จะทําการพัฒนาต่อไป (3) กําหนดหลักการในการปฏิบตั ิงานตามแผนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเฉพาะแหล่งขึ้นให้ สอดคล้องกับการพัฒนาในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยจัดให้มีหน่วยงานขึ้นโดย-เฉพาะเพื่อรับผิดชอบ ในการดําเนินงานพัฒนาตามแผน และให้การปฏิบตั ิงานสอดคล้องสัมพันธ์กบั การดําเนินงานของ องค์การบริ หารส่วนจังหวัด ซึ่งจะได้มีการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดของแต่ละจังหวัดขึ้นด้วย (4) ให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่ วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวทั้งในด้านการลงทุน เพื่อ จัดสร้างสิ่ งอํานวยความสะดวกต่างๆ การฟื้ นฟูศิลปวัฒนธรรม และประเพณีของท้องถิ่นตลอดจน ผลิตผลที่เป็ นสิ นค้าพื้นเมืองในท้องถิ่นนั้นๆ เพื่อให้ได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาการท่องเที่ยว ได้อย่างทัว่ ถึง โดยสนับสนุนให้มีสถาบันหรื อสมาคมส่งเสริ มการท่องเที่ยวขึ้นในแต่ละภูมิภาคหรื อ ท้องถิ่นเพื่อให้การดําเนินงานสอดคล้องและประสานงานกับการดําเนินงานในส่วนของรัฐ 5 ในการจัดรู ปธุรกิจต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการท่ องเทีย่ ว 5.5.1 ปรับปรุ งหน่วยงานส่งเสริ มการท่องเที่ยวให้สามารถควบคุมธุรกิจ ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวต่างๆ ได้ และสามารถปฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตามแผนที่วางไว้ เพื่อการนี้ จําเป็ นต้องปรับปรุ งอํานาจหน้าที่ของ อ.ส.ท. ให้สามารถดําเนินงานตามวัตถุประสงค์ที่ เปลี่ยนแปลงได้ดว้ ยการเปลี่ยนฐานะ อ.ส.ท. จากรัฐวิสาหกิจเป็ นส่วนราชการ และจัดตั้งบรรษัท พัฒนาการท่องเที่ยวขึ้น เพื่อจัดวางโครงการและลงทุนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โดยมุ่งเน้นในด้าน การพัฒนาปั จจัยพื้นฐานต่างๆ เป็ นสําคัญ 5.5.2 เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการจัดระเบียบประกอบธุรกิจที่เกี่ยวกับ การท่องเที่ยวต่างๆ ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ จะจัดให้มีกฎหมายแม่บทของการท่องเที่ยวขึ้น โดยเฉพาะ เช่น กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมการลงทุนและการดําเนินงานของโรงแรม บริ ษทั นํา เที่ยว มัคคุเทศก์ ธุรกิจการขนส่ง ตลอดจนร้านค้าของที่ระลึก 5.5.3 ส่งเสริ มการรวมตัวของเอกชนเพือ่ ความคล่องตัวในการประสาน-งานกับหน่วยงานของ รัฐ และให้การดําเนินงานสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาการท่องเที่ยวที่กาํ หนดขึ้นเพื่อพัฒนาการ ท่องเที่ยวโดยส่วนรวม 6 ในการยกมาตรฐานกําลังคนในธุรกิจท่ องเทีย่ ว กําลังคนในธุรกิจการท่องเที่ยวต่างๆประกอบด้วยผูท้ ี่ทาํ งานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวโดยตรงและผูท้ ี่ทาํ งานเกี่ยวกับ การท่องเที่ยวทางอ้อมที่สาํ คัญและให้บริ การแก่นกั ท่องเที่ยวโดยตรงที่สุด คือ กําลังคนในธุรกิจโรงแรมและ มัคคุเทศก์ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะขยายตัวเพื่อรับนักท่องเที่ยวในอนาคต สําหรับกําลังคนในธุรกิจโรงแรมปั จจุบนั มีอยู่ ประมาณ 22,200 คน และประมาณว่าในช่วงระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 จะเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 11,000 คน ทั้งในกรุ งเทพฯ และต่างจังหวัด จึงจะมีการวางแผนเพื่อพัฒนากําลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการ 56


57

นอกเหนือจากการฝึ กอบรมของสถาบันต่างๆ ซึ่งเน้นหนักทางภาคทฤษฎีแล้วจะวางโครงการเพื่อจัดให้มีโรงเรี ยน ธุรกิจโรงแรมขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อเปิ ดบริ การด้วยการใช้นกั ศึกษาเป็ นเจ้าพนักงานทั้งสิ้น โดยรับนักศึกษาจาก สถาบันต่างๆ เข้าฝึ กภาคปฏิบตั ิท้ งั งานระดับบริ หารและระดับเจ้าพนักงาน เพื่อผลิตกําลังคนให้ได้มาตรฐานและ ให้สอดคล้องกับความต้องการทั้งในกรุ งเทพฯ และต่างจังหวัด แผนงาน ลักษณะและสาระสําคัญ วงเงิน (ล้ านบาท) งบประมาณ เงินกู้ต่าง เงินช่ วยเหลือ รวมทั้งสิ้น แผ่นดิน ประเทศ ต่ างประเทศ การพัฒนาท่องเที่ยว เพื่อศึกษาวิจยั ตลาดท่องเที่ยวต่างประเทศ และตลาดในประเทศ 375 250 20 645 การขยายตลาดและบุกเบิกตลาดการท่องเที่ยวใหม่ให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น ด้วยการเผยแพร่ บริ การข่าวสาร การยกมาตรฐานธุรกิจและกําลังคนที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว นอกจากนี้ได้เน้นหนักในการอนุรักษ์การจัดให้มีแหล่งท่องเที่ยวขึ้นใหม่ และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเดิมในส่วนภูมิภาคทั้งระบบภาค จังหวัด และเมืองบริ วาร

57


58

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๒๙) ส่ วนที่ ๓ บทที่ ๕ แผนการปรับโครงสร้างการค้าต่างประเทศและบริ การ

การพัฒนาการท่ องเทีย่ ว 1 สรุ ปผลการพัฒนาการท่ องเทีย่ วทีผ่ ่านมา ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 การขยายตัวของการท่องเที่ยวอยูใ่ นอัตราที่สูงกว่าการ ขยายตัวของเศรษฐกิจส่วนรวม จํานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศสูงถึง 1.85 ล้านคน ในปี 2523 และมีรายได้จากนักท่องเที่ยว ต่างประเทศประมาณ 17,800 ล้านบาทในปี เดียวกันซึ่งสูงกว่าเป้ าหมายเฉลี่ย 11,700 ล้านบาทที่กาํ หนดไว้ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ 4 ลักษณะการเติบโตของการท่องเที่ยวที่ผา่ นมาได้กระจายออกไปสู่แหล่งท่องเที่ยวในส่วนภูมิภาคมากขึ้น ได้มีการลงทุนใน กิจการโรงแรมในส่วนภูมิภาคที่สาํ คัญๆ ไม่นอ้ ยกว่า 2,500 ล้านบาท นอกจากนั้นรัฐได้ส่งเสริ มสิ่ งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐาน ในแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้ดว้ ย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการลงทุนของภาคเอกชนแหล่งท่องเที่ยวใหม่ๆ ได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จึง ทําให้การควบคุมการลงทุนมีปัญหาอีกทั้ง กฎหมายของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยที่มีอยูย่ งั ไม่มีอาํ นาจในการควบคุมรักษา พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างจริ งจัง ต้องอาศัยกฎหมายของหน่วยงานอื่น ซึ่งไม่ทนั กับการขยายตัวในด้านการท่องเที่ยว และได้ผล เสี ยให้แก่สภาพแวดล้อมทัว่ ไปของแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ถึงแม้วา่ การขยายกิจการบริ การท่องเที่ยวทําให้ความต้องการกําลัง-คนที่ มีมาตรฐานเพิ่มขึ้น แต่การฝึ กอบรมยังมีอยูน่ อ้ ยและถึงแม้รัฐจะได้ต้ งั สถาบันฝึ กอบรมวิชาการโรงแรมและท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นก็ยงั ไม่ทนั ความต้องการของตลาด 2 ประเด็นปัญหาการท่ องเทีย่ ว มีดงั ต่อไปนี้ (1) ปั ญหาการบํารุ งรักษาและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทางการไม่สามารถควบคุมการใช้ที่ดินและ การก่อสร้างในแหล่งท่องเที่ยวที่กาํ หนดไว้ได้ นอกจากนั้นยังขาดการลงทุนปัจจัยพื้นฐานในแหล่งท่องเที่ยวหลาย แห่ง (2) ปั ญหาการพัฒนาด้านการบริ การท่องเที่ยว โดยเฉพาะด้านความปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว และขาดการจัดระเบียบธุรกิจการท่องเที่ยว ตลอดจนปั ญหาขาดกําลังคนด้านบริ การที่มีมาตรฐานเพียงพอ 3 เป้าหมายการพัฒนาการท่ องเทีย่ ว ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 มีดงั นี้ (1) ขยายจํานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศให้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 8.5 ต่อปี (2) ขยายวันพักของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเฉลี่ยคนละ 5.1 วันในปี 2525 เป็ น 5.5 วันในปี 2529 (3) กําหนดให้รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 21.5 ต่อปี คิดเป็ น รายได้ประมาณ 50,000 ล้านบาท ในปี 2529 4 นโยบาย เพื่อสนองตอบเป้ าหมายการขยายตัวด้านการท่องเที่ยวในอนาคต รัฐมีนโยบายทางการท่องเที่ยว ดังต่อไปนี้

58


59 (1) ส่ งเสริ มและชักจูงให้นกั ท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเดินทางสู่ ประเทศไทยมากขึ้น

และให้มีการเดินทางท่องเที่ยว นานวันและใช้จ่ายมากขึ้น ส่วนนักท่องเที่ยวชาวไทยจะดําเนินมาตรการชะลอการเดินทางไปท่องเที่ยว ต่างประเทศให้นอ้ ยลง เพื่อเป็ นการสงวนเงินตราต่างประเทศ (2) และจะเร่ งส่ งเสริ มให้คนไทยหันมาท่องเที่ยวภายในประเทศแทน (3) ส่ งเสริ มการลงทุนทั้งภาครัฐบาลและเอกชน เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทั้งที่มีอยูแ่ ล้ว และพัฒนาใหม่ให้สอดคล้อง กัน (4) สนับสนุนภาคเอกชนลงทุนด้านบริ การท่องเที่ยวให้มีตน้ ทุนไม่สูงและสามารถแข่งขันในตลาดต่างประเทศได้ รวมทั้งการสร้างความมัน่ ใจและความปลอดัยต่อชีวติ และทรัยพ์สินของนักท่องเที่ยว 5 มาตรการ เพื่อให้เป็ นไปตามเป้าหมายและนโยบายที่กาํ หนดไว้ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 มีมาตรการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ สําคัญ ดังนี้ 5.1 การบํารุ งรักษาและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมและปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวให้เป็ นที่ดึงดูดแก่ นักท่องเที่ยวมากขึ้น จะดําเนินการ (1) ปรับปรุ งพระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2522 ให้มีขอบเขตอํานาจในการควบคุม การใช้ที่ดินและการก่อสร้างในแหล่งท่องเที่ยวที่ได้ประกาศเอาไว้ แต่ในระหว่างการแก้ไขก็ให้ใช้ อํานาจกฎหมายอื่นไปพลางก่อน นอกจากนั้นต้องพิจาณาแหล่งเงินทุนและเร่ งรัดให้มีการลงทุนใน กิจการพื้นฐานที่จาํ เป็ นตามที่กาํ หนดไว้ในแผนแม่บทของแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ (2) จัดทําแผนและลําดับความสําคัญของแหล่งท่องเที่ยวทุกๆ ภาคอย่างเป็ น ขั้นตอน และมีรายละเอียดปฏิบตั ิอย่างชัดเจนตลอดจนกําหนดให้มีการติดตามและประเมินผลการ ดําเนินงานที่ทาํ ไปแล้ว 5.2 พัฒนาบริ การท่องเที่ยวเพื่อทําให้การแข่งขันของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทยดีข้ ึนโดยจะ ดําเนินการ (1) ให้ความคุ่มครองป้ องกันและปราบปรามเป็ นพิเศษ เพื่อสร้างความมัน่ ใจในความปลอดภัยของ นักท่องเที่ยว โดยการส่งเสริ มงานตํารวจเฉพาะกิจเพื่อ ปราบปรามป้ องกันและดําเนินการให้ความสะดวกในเรื่ องคดีแก่นกั ท่องเที่ยวให้รวดเร็ วยิง่ ขึ้น (2) ปรับปรุ งพระราชบัญญัติการท่องเที่ยวให้มีอาํ นาจควบคุมและจัดระเบียบธุรกิจ เพื่อป้ องกันการแข่งขันที่ ไม่เป็ นธรรม ทําลายอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และให้มีการประสานงานระหว่างภาครัฐบาลและ เอกชนในการปรับปรุ งงานบริ การ และอํานวยความสะดวกแก่การท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานและเพียงพอ (3) เร่ งรัดให้มีการพัฒนากําลังคนในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวทุกระดับอย่างมี มาตรฐานและพอเพียง เพื่อลดแรงงานจากต่างประเทศโดยเฉพาะในระดับบริ การ 5.3 การส่งเสริ มการท่องเที่ยวเพื่อชักจูงใจให้นกั ท่องเที่ยวทั้งต่างประเทศและในประเทศเที่ยวใน เมืองไทยมากขึ้น จะดําเนินการ (1) ปรับปรุ งเทคนิ คและวิธีการด้านการส่ งเสริ มการตลาดให้ทน ั สมัย ตลอดจนการวางกกลไกการบริ หารให้ ภาคเอกชนมีส่วนร่ วมรับผิดชอบมากขึ้นและทุกขั้นตอน ตั้งแต่การหาความรู ้ ความเข้าใจ การวางแผน และขั้นปฏิบตั ิดาํ เนินงานด้านการตลาด 59


60 (2) จัดการเผยแพร่ ให้ความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

และศิลปวัฒนธรรมของชาติ

เพื่อให้เกิดความรักและหวงแหนในทรัพยากรที่มี คุณค่าต่อการท่องเที่ยว (3) จัดให้มีศูนย์ประสานและติดตามข่าวที่จะมีผลกระทบกระเทือนต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวอย่างใกล้ชิด โดยให้เอกชนและสถาบันสื่ อมวลชนมีส่วนร่ วมอย่าง ใกล้ชิด (4) ใช้มาตรการชะลอการเดินทางไปเที่ยวต่างประเทศของคนไทย เพื่อป้ องกันการสูญเสี ยเงินตรา ต่างประเทศ และชักชวนให้คนไทยเที่ยวในประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ต้องปรับปรุ งกิจการ สาธารณะ เช่น รถไฟ รถโดยสาร ให้สะดวกเพื่อให้นกั ท่องเที่ยวมาใช้บริ การดังกล่าว เป็ นการสนับสนุน การประหยัดพลังงาน

60


61

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๔) บทที่ ๔ การกระจายการผลิตและบริ การ แนวทางการพัฒนา แนวทางการพัฒนาการบริ การในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 จะเน้นการบริ การเฉพาะด้าน ดังนี้คือ การท่องเที่ยว (1) การบริ การประเภทนี้ ยังคงมีบทบาทสําคัญในระยะของแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 6 ทั้งในแง่ของการนํามาซึ่งรายได้เงินตราต่างประเทศ และการสร้างงาน จากการประมาณการของการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย ในปี 2534 ซึ่งเป็ นปี สุดท้ายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 นั้น นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศจะเพิ่มขึ้นเป็ นจํานวน กว่า 3.7 ล้านคน และประมาณว่าการขยายตัวของนักท่องเที่ยวต่างประเทศและในประเทศจะสามารถสร้างงานได้เพิม่ ขึ้นอีกไม่ น้อยกว่า 150,000 คน (2)

แนวทางการพัฒนาการบริ การท่องเที่ยวที่สาํ คัญ คือ (2.1)

กิจกรรมด้านการตลาด

กิจกรรมการตลาดการท่องเที่ยวนั้น จะให้ความสําคัญในเรื่ องการเพิ่มค่าใช้จ่ายด้านการตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การ ศึกษาวิจยั ตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่ แหล่งท่องเที่ยวภายในประเทศ โดยมีเป้ าหมายเพื่อขยายเวลาพํานักของ นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ โดยเฉพาะตลาดนักท่องเที่ยวประเภทที่มีคุณภาพ คือ นําเงินมาใช้จ่ายในประเทศไทยสูง (2.2)

กิจกรรมกระจายการผลิตและการบริ การท่องเที่ยว

เน้นการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว ปรับปรุ งสิ่ งอํานวยความสะดวกที่จาํ เป็ นสําหรับการท่องเที่ยวของแหล่ง ท่องเที่ยวในภูมิภาค สนับสนุนให้มีแผนพัฒนาและส่งเสริ มการท่องเที่ยวในภูมิภาคและระดับจังหวัด ปรับปรุ งรู ปแบบและ คุณภาพของสิ นค้าหัตถกรรมพื้นบ้านและของที่ระลึกในแหล่งท่องเที่ยว รวมทั้งสนับสนุนการจัดให้มีสถานีบริ การผูโ้ ดยสารขา ออกทางอากาศในเมือง (City Air Terminal) เพื่อรองรับการขยายตัวของนักท่องเที่ยวในระยะต่อไป

61


62

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๕ – ๒๕๓๙) บทที่ ๓ การพัฒนาอุตสาหกรรมการค้าและบริ การ การท่ องเทีย่ ว (1) ดําเนินการให้ไทยเป็ นศูนย์กลางการท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (1.1)

ร่ วมมือกับประเทศในอาเซียนเพื่อพัฒนาวงจรท่องเที่ยวในภูมิภาค อาเซียนมากขึ้น โดยเน้นการร่ วมมือทางการตลาดแทนการแข่งขันระหว่างประเทศใน ภูมิภาคนี้

(1.2)

กําหนดแนวทางสนับสนุนให้ไทยเป็ นประตูทางออกสู่การพัฒนา วงจรท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอินโดจีนและประเทศเพื่อนบ้าน

(1.3)

สนับสนุนการลงทุนของภาคเอกชนในการพัฒนากิจกรรมการ ท่องเที่ยวประเภทใหม่ๆ เพื่อเพิม่ จุดดึงดูดความสนใจนอกจากอาศัยแหล่งธรรมชาติและ แหล่งศิลปวัฒนธรรม เช่น การท่องเที่ยวทางทะเลและแม่น้ าํ การท่องเที่ยวเพื่อการกีฬา และสุขภาพ การประชุมและการแสดงสิ นค้านานาชาติ

(2) อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรและปั จจัยที่เกี่ยวข้องในแหล่งท่องเที่ยว (2.1)

ให้มีแผนแม่บทเพื่อพัฒนาฟื้ นฟูสภาพแหล่งท่องเที่ยวและระบบสาธารณูปโภคบริ การ พื้นฐานต่างๆ ทั้งในแหล่งท่องเที่ยวหลักและแหล่งท่องเที่ยวใหม่ที่มีศกั ยภาพในระบบ เดียวกับการพัฒนาเมืองหลัก ได้แก่ เมืองพัทยา ภูเก็ต เชียงใหม่ หาดใหญ่ ชะอํา-หัวหิน เชียงราย เกาะสมุย/สุราษฎร์ธานี กาญจนบุรี พระนครศรี อยุธยา และพื้นที่อีสานตอนล่าง

(2.2)

นํามาตรการทางกฎหมายควบคุมอาคารผังเมือง อุทยานแห่งชาติและโบราณสถานมาใช้ กํากับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจกรรมต่างๆ ของธุรกิจเอกชนในบริ เวณรอบๆ แหล่ง ท่องเที่ยว เพื่อ ป้ องกันผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อมจากการลงทุนประกอบการของธุรกิจต่างๆ 62


63

(2.3)

สนับสนุนองค์กรของรัฐ ภาคเอกชนและประชาชนในระดับท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่ วมใน การบริ หาร บูรณะจัดการทรัพยากรธรรมชาติและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ เช่น นํ้าตก เกาะและหาดทราย ตลอดจนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศิลปกรรม เช่น โบราณสถาน แหล่งประวัติศาสตร์ เป็ นต้น

(2.4)

สนับสนุนบทบาทของภาคเอกชนให้เข้ามามาส่วนร่ วมในการพัฒนาพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว ต่างๆ มากขึ้น พร้อมกับการปรับปรุ งกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการลงทุนของ ภาคเอกชน โดยเฉพาะการลงทุนเพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่เพือ่ สนับสนุนการพัฒนา วงจรท่องเที่ยวในภูมิภาค

(2.5)

เพิ่มประสิ ทธิภาพการบริ การด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โดยมุง่ การใช้ประโยชน์ ในระยะยาวและความปลอดภัยของนัก ท่องเที่ยว รวมทั้งการปรับปรุ งกฎหมายต่างๆ เพื่อคุม้ ครองนักท่องเที่ยวและผูป้ ระกอบ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องให้ดาํ เนินการอยูใ่ นกรอบไม่เอาเปรี ยบนักท่องเที่ยว จนเกิดภาพพจน์ทาง ลบต่อประเทศโดยส่วนรวม

(3) พัฒนาและยกระดับคุณภาพกําลังคนด้านการท่องเที่ยว (3.1)

ขยายการผลิตกําลังคนทั้งในระดับอุดมศึกษาและวิชาชีพให้ได้ปริ มาณ และมีคุณภาพที่ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดของธุรกิจท่องเที่ยวทั้งในส่วนกลางและในส่วน ภูมิภาค

(3.2)

สนับสนุนภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทในการลงทุนผลิตและฝึ ก อบรมกําลังคนด้านต่างๆ ให้มีคุณภาพมาตรฐานการบริ การในระดับสูง พร้อมทั้ง ปรับปรุ งกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การพัฒนากําลังคนเป็ นไปอย่างมี ประสิ ทธิภาพ โดยเฉพาะแก้ไข พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2478 เพื่อเปิ ดโอกาสให้ใช้โรงแรมที่มีมาตรฐานสูงเป็ น สถานที่ผลิตและฝึ กอบรมได้มากขึ้น

63


64

แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่ งชาติ ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๔) ส่วนที่ ๕ พัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ บทที่ ๓

การเพิ่มขีดความสามารถในสาขาบริ การ (1) พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว โดยการร่ วมมือกันระหว่างภาครัฐ เอกชน และชุมชน ให้คงไว้ซ่ ึงความมีเอกลักษณ์ทาง ประวัติศาสตร์ ความเป็ นธรรมชาติ ความสะอาด ความปลอดภัย ตลอดจนพัฒนาสิ่ งอํานวยความสะดวกต่างๆ ทางด้านการ ท่องเที่ยวให้มีเพียงพอ (2) ส่งเสริ มการท่องเที่ยวสําหรับนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพจากต่างประเทศให้มีช่วงพํานักในประเทศไทยนานขึ้น และให้มี บริ การด้านแหล่งจับจ่ายใช้สอยสําหรับนักท่องเที่ยว รวมทั้งส่งเสริ มการท่องเที่ยวในประเทศและปลูกฝังจิตสํานึกในการเป็ น นักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ มีความรักและหวงแหนในทรัพยากรแหล่งท่องเที่ยวให้กบั คนไทย (3) ร่ วมมือกับกลุ่มประเทศอาเซียนและอินโดจีนเพื่อพัฒนาวงจรการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและอินโดจีน โดยใช้กลยุทธ์ ด้านการตลาดร่ วมกัน (4) พัฒนาโครงข่ายการคมนาคมและโครงข่ายโครงสร้างพื้นฐานระหว่างเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวในแต่ละภูมิภาคให้ เชื่อมโยงกับเมืองอื่นๆ ในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน (5) พัฒนาธุรกิจประกันภัยให้พร้อมรับการเปิ ดเสรี ดา้ นบริ การประกันภัย สามารถเป็ นแหล่งระดมเงินออมของประชาชนและ สนับสนุนการขยายตัวด้านการค้าและการลงทุน โดย พัฒนาการขนส่ งทางอากาศ ให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางการขนส่งในภูมิภาค (1) ก่อสร้างท่าอากาศยานสากลกรุ งเทพแห่งที่สองให้เปิ ดบริ การได้ภายในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 ตลอดจนพัฒนา ระบบเชื่อมโยงการขนส่งต่างๆ ระหว่างเมืองกับสนามบินให้มีความสะดวกเพื่อให้สนามบินแห่งใหม่เป็ นศูนย์กลางการขนส่ง ทางอากาศของภูมิภาคที่สมบูรณ์ (2) ประสานความร่ วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาการใช้ประโยชน์เชิงพาณิ ชย์ของสนามบินอู่ตะเภา (3) ส่งเสริ มให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทในการจัดตั้งสายการบินแห่งชาติเพิม่ ขึ้นเพื่อเพิม่ ประสิ ทธิภาพการให้บริ การแก่ ประชาชน ตลอดจนวางแผนและส่งเสริ มการเปิ ดเส้นทางการบินใหม่ท้ งั ของภาครัฐและเอกชนที่มีความเป็ นไปได้ให้เชื่อมเมือง สําคัญของไทยกับประเทศเพือ่ นบ้าน (4) พัฒนาสนามบินภายในประเทศแห่งใหม่เพิ่มขึ้นตามความจําเป็ นและเหมาะสม พร้อมไปกับการพัฒนาระบบโครงข่าย ขนส่งทางบกเชื่อมโยงสนามบินใหม่กบั ชุมชนขนาดใหญ่โดยรอบเพื่อให้สนามบินสามารถบริ การประชาชนได้เป็ นกลุ่มจังหวัด (5) เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริ การต่างๆ แก่ผโู ้ ดยสารในการเดินทางเข้าออกจากท่าอากาศยาน ให้เกิดความสะดวกต่อ ประชาชนและได้มาตรฐานสากล (6) ประสานความร่ วมมือระหว่างรัฐและเอกชนในการพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการให้ประเทศไทย 64


65

เป็ นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศในภูมิภาค ได้แก่ กิจกรรมการท่องเที่ยว การจัดประชุมนานาชาติ และกิจกรรมการกีฬา ระหว่างประเทศ ปรับบทบาทของการท่ องเทีย่ วแห่ งประเทศไทยไปสู่ การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่ องเทีย่ วในประเทศ ตลอดจนเป็ นแกนกลาง ในการแก้ไขปั ญหาของธุรกิจการท่องเที่ยวอย่างเป็ นระบบ และให้หน่วยงานในท้องถิ่นสร้างกลไกการพัฒนาและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสถานที่ท่องเที่ยวในระดับพื้นที่เพื่อระดมความร่ วมมือจากประชาชนและชุมชนในท้องถิ่นในการพัฒนา คุณภาพของแหล่งท่องเที่ยว

65


66

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๔๙) ส่ วนที่ ๔ บ ท ที่ ๗ ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในด้านบริ การ แม้วา่ การท่องเที่ยวจะเป็ นแหล่งทํารายได้และการจ้างงานที่สาํ คัญ แต่ก็ได้ส่งผลกระทบในเชิงลบทาง สังคมและสิ่ งแวดล้อมหลายประการ อาทิ ความเสื่ อมโทรมของแหล่งท่องเที่ ยวทางธรรมชาติ รวมทั้งวิถีชีวิตและความเป็ นอยู่ ของชุมชนท้องถิ่นที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ตาม ธุรกิจบริ การที่ต่อเนื่ องกับการท่องเที่ยว ยังไม่ได้รับการพัฒนาให้เต็ม ศักยภาพ นอกจากนี้ ยังต้องเผชิญกับข้อจํากัดด้านบริ การการท่องเที่ยวที่ไม่เพียงพอและขาดคุณภาพ การเอารัดเอาเปรี ยบ นักท่องเที่ยว ความไม่ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน ตลอดจนภาพพจน์ดา้ นลบของประเทศด้านยาเสพติดและโสเภณี เด็ก การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและความมัน่ คงทางสังคมอย่างยัง่ ยืน ในส่วนการเพิม่ สมรรถนะและขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ จําเป็ นต้องให้ความสําคัญกับการปรับโครงสร้างการผลิตและการค้าของ ประเทศให้ดาํ เนินไปในทิศทางเดียวกันในการที่จะใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้เกิดมูลค่าเพิ่มในทุกขั้นตอนของการผลิตและการตลาด ในขณะเดียวกันต้องคํานึงถึงการผสมผสานและความสอดคล้องกับหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยการสนับสนุนและ ผลักดันให้เกิดการเพิ่มผลผลิตอย่างเป็ นขบวนการในระดับชาติ การมีส่วนร่ วมของทุกฝ่ ายในกระบวนการทํางาน การแบ่งปัน ประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่ ายในสังคม สนับสนุนธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้สามารถพึ่งพาตนเอง รวมถึงการรับถ่ายทอด เทคโนโลยีที่ทนั สมัยจากธุรกิจขนาดใหญ่ โดยผสมผสานภูมิปัญญาไทยกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ การพัฒนา นวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง และการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพ คุณภาพและความรวดเร็ วของบริ การโครงสร้างพื้นฐาน ควบคู่ไปกับการ พัฒนาความเชื่อมโยงด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อบรรลุผลประโยชน์ร่วมกันกับประเทศเพื่อนบ้าน ๑. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประเทศมีรากฐานการผลิตที่แข็งแกร่ ง มีความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก และ กระจายผลสู่ประชาชนทั้งในเมืองและชนบทอย่างทัว่ ถึง สามารถวางรากฐานให้คนไทยมีความพร้อมด้านทุนทาง ปั ญญาในการก้าวเข้าสู่เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไปของโลกและประเทศได้อย่างเชื่อมัน่ เห็นควรกําหนวัตถุประสงค์ การพัฒนา ดังนี้ 66


67

๑.๑ พัฒนาสมรรถนะและขีดความสามารถการแข่งขันในระดับประเทศ ระดับวิสาหกิจและหน่วยผลิตพื้นฐาน โดย การปรับโครงสร้างของภาคการผลิต ทั้งภาคเกษตร อุตสาหกรรม และการบริ การ บนพื้นฐานการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี ประสิ ทธิภาพและยัง่ ยืน ให้ความสําคัญกับการเพิ่มผลผลิต และการสร้างมูลค่าเพิ่มของสิ นค้า ที่มุ่งเน้นการพัฒนาในเชิงคุณภาพ ควบคู่ไปกับการกระจายผลประโยชน์อย่างทัว่ ถึง ๑.๒ สร้างความเชื่อมโยงและความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจภายในประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ โดยการ วางรากฐานและสร้างภูมิคุม้ กันเพื่อรองรับระบบเศรษฐกิจเสรี นําไปสู่การยกระดับรายได้และคุณภาพชีวติ ของคนส่วนใหญ่ของ ประเทศ ๒ เป้าหมาย รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างประเทศเพิม่ ขึ้น โดยเฉลี่ยร้อยละ ๗-๘ ต่อปี และให้คนไทยท่องเที่ยวในประเทศ เพิ่มขึ้นไม่ต่าํ กว่าร้อยละ ๓ ต่อปี ๓ แนวทางในการพัฒนา ส่งเสริ มการค้าบริ การที่มีศกั ยภาพเพื่อสร้างงาน กระจายรายได้ และหารายได้จากเงินตราต่างประเทศ (๑)

พัฒนาการท่ องเทีย่ วทีย่ งั่ ยืนเพือ่ เพิม่ การจ้ างงาน และกระจายรายได้ สู่ ชุมชน โดย

(๑.๑) พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวให้สามารถรองรับการขยายตัวของนักท่องเที่ยวไทยและ ต่างประเทศ โดยการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงกลุ่มพื้นที่ พร้อมทั้งสนับสนุนการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวรู ปแบบใหม่ที่ สอดคล้องกับศักยภาพเชิงวัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูใ่ นพื้นที่และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม โดยคํานึงถึงขีด ความสามารถของพื้นที่ในการรองรับนักท่องเที่ยว เช่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อย่างถูกวิธี การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและ ประเพณี การท่องเที่ยวเชิงเกษตร กิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อการกีฬา สวนสุขภาพ และสวนสนุก (๑.๒) ปรับปรุ งคุณภาพด้านการบริ การและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวทั้งทางตรงและ ทางอ้อมให้ได้มาตรฐานและเพียงพอ โดยให้ความสําคัญต่อการเพิ่มและกวดขันมาตรฐานด้านความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว การ แก้ไขปั ญหาการหลอกลวงเอารัดเอาเปรี ยบนักท่องเที่ยว การพัฒนาสิ่ งอํานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว โดยเฉพาะด้านการ เข้าออกประเทศ การเดินทางในประเทศ การให้บริ การข้อมูลข่าวสารที่ทนั สมัย รวมทั้งพัฒนาบุคลากรทางการท่องเที่ยวให้มี คุณภาพและปริ มาณสอดคล้องกับกิจกรรมการท่องเที่ยวแต่ละประเภท (๑.๓) ส่งเสริ มบทบาทชุมชนและองค์กรชุมชนในท้องถิ่น มีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวอย่างครบวงจร ทั้งการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การบํารุ งรักษา และการพัฒนาสิ่ งอํานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว โดยรณรงค์สร้างจิตสํานึกและเสริ มสร้างความรู ้ ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ชุมชนและท้องถิ่นในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน รวมทั้งสนับสนุนให้มีการพัฒนาสิ นค้าหัตถกรรมพื้นบ้านและบริ การในท้องถิ่น ที่เชื่อมโยงกับธุรกิจการท่องเที่ยว (๑.๔) ให้ความสําคัญกับกลุ่มเป้ าหมายนักท่องเที่ยวที่มีระยะพักนาน และนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ จากต่างประเทศ โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวกลุ่มการประชุม การจัดนิทรรศการนานาชาติ การท่องเที่ยวเพื่อเป็ นรางวัล เพื่อเพิ่ม 67


68

สัดส่วนของรายได้ต่อนักท่องเที่ยวและเพิ่มประสิ ทธิภาพในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรการท่องเที่ยว โดยให้มีระบบบริ หาร จัดการเฉพาะขึ้นมารับผิดชอบ รวมทั้งให้มีศูนย์ประชุม และศูนย์แสดงสิ นค้านานาชาติในเมืองหลักที่มีศกั ยภาพขึ้นมารองรับ (๑.๕) ประชาสัมพันธ์และสร้างจิตสํานึกการท่องเที่ยวอย่างมีคุณภาพ เพื่อส่งเสริ มให้คนไทยเที่ยว เมืองไทยมากขึ้น และเร่ งรัดการกระจายตัวของนักท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ที่ได้รับการพัฒนาให้เชื่อมโยงกับแหล่ง ท่องเที่ยวหลักในพื้นที่ เพื่อการสร้างงานและกระจายรายได้ไปสู่ชุมชนและท้องถิ่น (๒) พัฒนาธุรกิจบริ การที่มีศักยภาพ เพื่อเป็ นแหล่ งสร้ างและกระจายรายได้ ใหม่ ที่สําคัญ โดย (๒.๑) สนับสนุนบริ การรักษาพยาบาลและส่งเสริ มสุขภาพสําหรับชาวต่างประเทศ โดยจัดให้มีองค์กร ทําหน้าที่ควบคุมดูแล กําหนดมาตรฐานรองรับคุณภาพบริ การของโรงพยาบาลและสถานพยาบาลของเอกชน รวมทั้งส่งเสริ ม การศึกษา วิจยั และพัฒนาคุณภาพบริ การด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริ มสุขภาพของไทยให้ทนั สมัย โดยเฉพาะแพทย์แผนไทย และยาสมุนไพร โดยปรับปรุ งกฎ ระเบียบ ให้สามารถรับรองมาตรฐานการขึ้นทะเบียนยาได้ (๒.๒) สนับสนุนธุรกิจด้านภัตตาคารและร้านอาหาร โดยให้มีมาตรการจูงใจเพื่อกระตุน้ ให้ ผูป้ ระกอบการภัตตาคารและร้านอาหารทั้งในประเทศและต่างประเทศ หันมาควบคุมดูแลมาตรฐานและสุขอนามัยของตนเองให้ มากขึ้นเพื่อคุณภาพชีวติ ที่ดีของผูบ้ ริ โภคทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ พร้อมทั้งส่งเสริ มและประชาสัมพันธ์การจัดงาน เทศกาลอาหารไทยให้เป็ นที่รู้จกั อย่างแพร่ หลาย อย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง (๒.๓) ส่งเสริ มบริ การด้านการศึกษาของประเทศให้มีมาตรฐานเป็ นที่ยอมรับ รวมทั้งสนับสนุน การศึกษานานาชาติและฝึ กอบรมวิชาชีพเฉพาะด้านสําหรับชาวต่างประเทศ โดยปรับปรุ งกฎระเบียบให้เอื้ออํานวยต่อการเดิน ทางเข้ามาศึกษาและฝึ กอบรมในประเทศ โดยเฉพาะหลักสูตรระยะสั้น และจัดระบบการศึกษาและฝึ กอบรม ให้เป็ น มาตรฐานสากลที่สามารถเชื่อมโยงและประสานกับสถาบันการศึกษาระหว่างประเทศ สําหรับเป็ นทางเลือกสําหรับผูต้ อ้ งการ ศึกษาต่อต่างประเทศ (๒.๔) ส่งเสริ มการออกแบบทางสถาปั ตยกรรม วิศวกรรม และงาน ออกแบบอื่นๆ รวมทั้งสนับสนุนการออกไปรับงานธุรกิจก่อสร้างในต่างประเทศ เพื่อเป็ นการส่งออกด้านบริ การ โดยให้เป็ นไป ตามระเบียบของทางราชการ

68


69

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) บทที่ ๔ การปรับโครงสร้างภาคบริ การ ให้เป็ นแหล่งสร้างรายได้หลักของประเทศ โดยพัฒนาการท่องเที่ยวไทย

ให้เป็ น

ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของภูมิภาค บนฐานความโดดเด่นและหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม และ ความเป็ นไทย และพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริ การที่มีศกั ยภาพ เพื่อขยายฐานการผลิต และการตลาดธุรกิจบริ การครอบคลุมระดับภูมิภาค บนฐานความแตกต่างและความชํานาญเฉพาะด้านของบริ การที่สาํ คัญ ได้แก่ ธุรกิจบริ การด้านการศึกษา บริ การสุขภาพและสปา ธุรกิจค้าส่งและปลีก ธุรกิจบริ การทางการเงิน ธุรกิจบริ การด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ธุรกิจการก่อสร้าง และ ธุรกิจภาพยนตร์ไทย เป็ นต้น ๑. ฟื้ นฟู พัฒนา แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ โบราณสถานในเชิงกลุ่มพื้นที่ และเสริ มสร้างเอกลักษณ์ ความเป็ นไทย ทั้งการอนุรักษ์วฒั นธรรมท้องถิ่น วิถีชีวติ ชุมชน และ ภูมิปัญญาชาวบ้าน เพื่อสร้างสิ นค้าท่องเที่ยวให ม่าๆแก่ธุรกิจการท่องเที่ยวไทย และ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวของตลาดท่องเที่ยวโลก ๒. ส่งเสริ มการลงทุน พัฒนาธุรกิจบริ การที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว เพื่อรองรับตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีความสนใจ เฉพาะด้าน และ สร้างมูลค่าเพิ่มแก่ธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจบริ การสุขภาพ ธุรกิจศูนย์ประชุมและแสดงสิ นค้า การพํานักระยะ ยาว การจับจ่ายซื้อสิ นค้า สิ นค้าโอท๊อป และ แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น เป็ นต้น ๓. พัฒนาคุณภาพและมาตราฐานขอธุรกิจและบริ การที่มีศกั ยภาพให้เป็ นที่ยอมรับ น่าเชื่อถือ และตอบสนองความต้องการ ของตลาดโลก รวมทั้งเพื่อรองรับนโยบายการเปิ ดเสรี ภาคบริ การ บนฐานความโดดเด่นทางวัฒนธรรมและความเป็ น ไทย โดยเฉพาะธุรกิจบริ การที่มีศกั ยภาพในการดึงกลุ่มลูกค้ามาใช้บริ การในประเทศ เช่น ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจ บริ การด้านการศึกษา บริ การด้านสุขภาพ และ ธุรกิจภาพยนตร์ไทย เป็ นต้น ๔. ส่งเสริ มตลาดการท่องเที่ยวและกลุ่มลูกค้าธุรกิจบริ การอย่างต่อเนื่อง เพื่อรักษา,นตลาดเดิมและขยายตลาดใหม่ๆที่มี คุณภาพ เช่นตลาดรัสเซีย และ กลุ่มประเทศที่เคยเป็ นอาณานิคมของรัสเซีย ตลาดตะวันออกกลาง และตลาด นักท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม โดยอาศัยเครื อข่ายความร่ วมมือทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อดําเนินกลยุทธ์ทางการตลาด ร่ วมกัน ๕. พัฒนาปั จจัยสนับสนุนให้เอื้อต่อการดําเนินธุรกิจการท่องเที่ยว ทั้งการพัฒนาโครงข่ายการคมนาคมเพื่อการเข้าถึง และ เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว มาตรฐานความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน สิ่ งอํานวยความสะดวกพื้นฐาน และการ ปรับปรุ งกฏระเบียบข้อกฏหมาย การพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการของธุรกิจ และการเสริ มสร้างขีด ความสามารถในการดําเนินธุรกิจของผูป้ ระกอบการ และขีดความสามารถการบริ หารการจัดการขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ๖. สร้างเครื อข่ายความร่ วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และ องค์กรชุมชนในท้องถิ่น เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรม รวมทั้งการสนับสนุนการรวมกลุ่มของชุมชนในรู ปแบบต่างๆ เพื่อ

69


70

เชื่อมโยงการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่นกับกิจกรรรมการท่องเที่ยวองเที่ยว เพื่อช่วยสร้างงาน สร้างรายได้แก่ ชุมชน

70


71

จริ ยธรรมการท่องเที่ยว (Global Code of Ethics) โดย

องค์กรการท่องเที่ยวโลก WTO (World Tourism Organization)

71


72

จริ ยธรรมการท่องเที่ยวโลก

หลักการที่ 1 การท่ องเทีย่ วสร้ างความเข้ าใจ และ ทําให้ มคี วามเคารพนับถือซึ่งกันและกัน ระหว่ างคนกับสังคมต่ างๆ Tourism's contribution to mutual understanding and respect between peoples and societies 1.การท่องเที่ยวที่ดียอ่ มทําให้เกิดความเข้าใจและส่งเสริ มค่านิยมทางจริ ยธรรม ทําให้มนุษยชาติ มีความใจกว้างและยอมรับนับถือ ต่อความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และปรัชญาทางความคิด ดังนั้นผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการ พัฒนาการท่องเที่ยว รวมถึง นักท่องเที่ยวเองควรจะปฏิบตั ิตามประเพณี ทางสังคมและวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ การปฏิบตั ิ ดังกล่าวเป็ นการให้เกียรติและยอมรับในคุณค่าของคนรวมทั้งคนกลุ่มน้อยและคนพื้นเมืองในชุมชนที่ได้เยีย่ มเยือนนั้น 2. กิจกรรมทางการท่องเที่ยวควรจะดําเนินไปในลักษณะที่กลมกลืนไปกับวัฒนธรรมและประเพณี ของท้องถิ่นนั้นๆ นักท่องเที่ยว ควรให้ความเคารพต่อกฎหมาย และธรรมเนียมปฏิบตั ิในพื้นที่ต่างๆของประเทศที่ได้ไปเยีย่ มเยือน 3. ชุมชนที่ถูกเยีย่ มเยือน และ ผูป้ ระกอบวิชาชีพในท้องถิ่น สมควรที่จะให้เกียรติต่อนักท่องเที่ยวผูม้ าเยือน ด้วยการเรี ยนรู ้ทาํ ความ เข้าใจ ในวิถีชีวติ วิธีคิด รสนิยม ความคาดหวัง การศึกษา ของนักท่องเที่ยว โดยมีวธิ ีการต้อนรับที่ดีแก่นกั ท่องเที่ยวในแบบอย่าง เจ้าของบ้านที่ดี 4. เป็ นภาระของหน่วยงานของรัฐที่จะต้องให้ความคุม้ ครองต่อนักท่องเที่ยวและผูม้ าเยือน ในชีวติ และทรัพย์สิน รัฐต้องให้ความ สนใจเป็ นพิเศษต่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ เนื่องจากเขาเหล่านั้นอาจมีขอ้ จํากัดในข้อมูล เขาควรจะ ได้รับการแนะนําในเบื้องต้น ถึงวิธีการที่จะได้รับข่าวสารในการป้ องกันภัย การประกันภัย ความปลอดภัยและความช่วยเหลือที่ ตรงกับความต้องการของเขา การถูกโจมตี การถูกทําร้าย การลักพาตัว หรื อ ภัยคุกคามอย่างอื่นที่มีต่อนักท่องเที่ยว หรื อคนทํางาน ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ให้รวมถึงการทําลาย สิ่ งอํานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว องค์ประกอบทางวัฒนธรรม หรื อ มรดกทางธรรมชาติอย่างจงใจ ควรจะต้องได้รับการประณาม และถูกลงโทษอย่างรุ นแรงตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องของประเทศ นั้นๆ 5. นักท่องเที่ยวไม่ควรกระทําอาชญากรรมใด ๆ หรื อการกระทําอื่นใดที่จดั ได้วา่ เป็ นอาชญากรรมตามกฎหมายของประเทศที่ตน ไปเยือน และให้หลีกเหลี่ยงการกระทําใด ๆ ที่เป็ นการฝื นความรู ้สึก หรื อ เป็ นความเสี ยหายต่อประชากรในท้องถิ่นนั้นๆ หรื อ เป็ นการทําความเสี ยหายให้กบั สิ่ งแวดล้อมของท้องถิ่นนั้นๆ 6. นักท่องเที่ยว หรื อ ผูเ้ ยีย่ มเยือน เป็ นความรับผิดชอบของตนเองที่จะต้องทําการศึกษา และทําความคุน้ เคย กับคุณลักษณะ ภูมิ ประเทศ ภูมิอากาศของประเทศที่ไปเยีย่ มเยือน ต้องตระหนักถึงความเสี่ ยงต่อสุขภาพ และความปลอดภัยในขณะเดินทาง ท่องเที่ยวในท้องที่น้ นั ๆ ที่แตกต่างไปจากสิ่ งแวดล้อมเดิมของตน และจะต้องประพฤติตนในหนทางที่จะลดความเสี่ ยงเหล่านั้น ให้นอ้ ยที่สุด 72


73

หลักการที่ 2 การท่ องเทีย่ วเป็ นเครื่ องมือของปัจเจกบุคคลและกลุ่มคนในการบรรลุเป้าหมายของการเรียนรู้ Tourism as a vehicle for individual and collective fulfillment 1. การท่องที่ยวซึ่งเป็ นกิจกรรมที่สมั พันธ์กบั การพักผ่อน การหย่อนใจ การกีฬา รวมถึงการศึกษาวัฒนธรรม ธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม หากได้รับการวางแผนและการปฏิบตั ิ ด้วยจิตใจที่เปิ ดกว้างตามควรแล้ว จะเป็ นปัจจัยสําคัญสําหรับการเรี ยนรู เ้ ขารู ้ เรา เรี ยนรู ้การอยูร่ ่ วมกัน และ เรี ยนรู ้ถึงความชอบธรรมในความแตกต่างและความหลากหลายของคนกับวัฒนธรรม 2. กิจกรรมการท่องเที่ยวควรเคารพในความเท่าเทียมกันของผูช้ ายและผูห้ ญิง ส่งเสริ มสิ ทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ สิ ทธิส่วน บุคคลของกลุ่มคนที่มีความอ่อนแอ ได้แก่ เด็ก ผูส้ ูงอายุ ผูพ้ ิการ คนกลุ่มน้อยและคนพื้นเมือง 3. การใช้ประโยชน์จากความเป็ นมนุษย์ไม่วา่ ในรู ปแบบใด โดยเฉพาะการกระทําทางเพศต่อเด็ก นับเป็ นการสวนทางกับ จุดมุ่งหมายขั้นพื้นฐานของการท่องเที่ยว ควรร่ วมมือต่อต้านกันอย่างจริ งจัง ให้มีการออกกฎหมายทั้งของประเทศที่ได้รับการ เยือนและประเทศของผูท้ ่องเที่ยว หรื อ ผูเ้ ยีย่ มเยือน ในการกําหนดความผิด และบทลงโทษ พร้อมทั้งดําเนินการตามกฎหมาย เหล่านั้นอย่างจริ งจัง แม้วา่ การกระทําความผิดนั้นจะเกิดขึ้นในต่างประเทศที่ไปเยือนก็ตาม โดยไม่มีการลดหย่อนผ่อนโทษ 4. การเดินทางเพื่อจุดมุ่งหมายในการเรี ยนรู ้ ทางศาสนา สุขภาพ การศึกษา และวัฒนธรรม หรื อ การแลกเปลี่ยนการเรี ยนรู ้ภาษา เป็ นรู ปแบบการท่องเที่ยวที่เป็ นประโยชน์สมควรได้รับการสนับสนุนและส่งเสริ ม 5. การแลกเปลี่ยนนักท่องเที่ยว เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม เพื่อป้ องกันความเสี่ยงที่จะเกิดความเสี ยหาย ควรที่ จะส่งเสริ มให้มีการบรรจุเข้าไปไว้ในหลักสูตรทางการศึกษา อบรม ต่อผูเ้ กี่ยวข้อง หลักการที่ 3 การท่ องเทีย่ ว เป็ นปัจจัยในการพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน Tourism, a factor of sustainable development 1. ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทั้งหมดในการพัฒนาการท่องเที่ยวควรจะคุม้ ครองสิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติ เพื่อให้ประโยชน์ทาง เศรษฐกิจที่ได้รับจากการท่องเที่ยวนั้นเป็ นไปอย่างต่อเนื่องและยัง่ ยืน เป็ นไปความคาดหวังของคนรุ่ นนี้และรุ่ นต่อๆไปในอนาคต 2. การพัฒนาการท่องเที่ยวทุกรู ปแบบ ควรนําไปสู่การประหยัดทรัพยากรที่มีค่าและหายาก โดยเฉพาะนํ้าและพลังงาน รวมทั้ง ควรหลีกเลี่ยงการผลิตของเสี ยเท่าที่จะเป็ นไปได้ ดังนั้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเหล่านี้ควรได้รับสิทธิพิเศษ และควรได้รับการ ส่งเสริ มจากในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 73


74

3. ควรกระจายการท่องเที่ยวให้มีความแตกต่างในเรื่ องของเวลาและสถานที่ในการเดินทางของนักท่องเที่ยวและผูเ้ ยีย่ มเยือน ในช่วงวันลาพักผ่อนและวันหยุดของโรงเรี ยน ให้มีการกระจายออกไป การพักผ่อนสามารถมีข้ ึนได้ตลอดปี ทั้งนี้เพื่อกระจายการ ใช้ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม และยังเป็ นการกระจายผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจ ท้องถิ่นอีกด้วย 4. การออกแบบวางผัง โครงสร้างพื้นฐานทางการท่องเที่ยวและการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวควรจัดในแนวทางที่จะรักษามรดก ทางธรรมชาติ ให้คาํ นึงถึง ระบบนิเวศวิทยาและความหลากหลายทางชีววิทยา และ เพื่อรักษาชีวติ สัตว์ป่าที่หายากและกําลังตกอยู่ ในภาวะเสี่ ยงต่อการสูญพันธุ์ ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยเฉพาะผูป้ ระกอบอาชีพต่างๆในอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรจะมีขอ้ ตกลงที่จะกําหนด หรื อ จํากัดกิจกรรมของตนในพื้นที่ที่มีความเปราะบาง เช่น ทะเลทราย ขั้วโลก หรื อ พื้นที่ภูเขา พื้นที่ชายฝั่งทะเล ป่ าเมืองร้อน หรื อ พื้นที่ชุ่มนํ้า โดยการกําหนดเป็ นพื้นที่สงวน หรื อ อนุรักษ์ ธรรมชาติ หรื อ เป็ นเขตคุม้ ครอง 5. การท่องเที่ยวธรรมชาติและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เป็ นที่ยอมรับว่าเป็ นหนทางไปสู่การส่งเสริ มและทําให้การท่องเที่ยวมีความ งดงาม ทั้งนี้ตอ้ งสํานึกด้วยการดูแลเอาใจใส่ต่อมรดกทางธรรมชาติที่ได้สร้างสรรค์ไว้ ให้รวมถึงประชากรพื้นเมืองในท้องถิ่น นั้นๆ โดยให้คาํ นึงถึงขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ ว่ามีสามารถจะรองรับปริ มาณนักท่องเที่ยวในเรื่ อง ของ จํานวนในช่วงเวลาต่างๆ

หลักการที่ 4 การท่ องเทีย่ วเป็ นทั้งผู้ใช้ และผู้ผดุงรักษามรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ Tourism, a user of the cultural heritage of mankind and a contributor to its enhancement 1. ทรัพยากรทางการท่องเที่ยวนับเป็ นมรดกของมนุษยชาติ ชุมชนที่ต้ งั อยูใ่ นเขตพื้นที่น้ นั ย่อมจะมีสิทธิ และมีพนั ธะเป็ นพิเศษต่อ การผดุงรักษาทรัพยากรการท่องเที่ยวนั้นๆ 2. กิจกรรมและนโยบายการท่องเที่ยวควรจัดให้มีข้ ึนในลักษณะที่ให้ความคุม้ ครองต่อมรดกทางศิลปกรรม โบราณคดี และ วัฒนธรรม เพื่อให้ดาํ รงคงอยูส่ าํ หรับคนรุ่ นต่อๆไป โดยเฉพาะควรมุ่งมัน่ ให้กบั การอนุรักษ์รักษาและปรับปรุ งอนุสาวรี ย ์ ศาลเจ้า พิพิธภัณฑ์ แหล่งประวัติศาสตร์ และโบราณคดีต่าง ๆ อีกทั้งควรที่จะส่งเสริ มเปิ ดให้นกั ท่องเที่ยวได้เข้าเยีย่ มชม นอกจากนี้ควร สนับสนุน และส่งเสริ มให้อนุสาวรี ย ์ และทรัพย์สมบัติทางวัฒนธรรมที่เป็ นของเอกชน ควรสนับสนุนให้มีการเปิ ดให้ นักท่องเที่ยวเข้าเยีย่ มชมด้วย แต่ตอ้ งเคารพในสิ ทธิของผูเ้ ป็ นเจ้าของ สําหรับอาคารสถานที่ทางศาสนาควรเปิ ดให้เข้าชม แต่ตอ้ ง ไม่รบกวนการแสดงความเคารพบูชาของผูท้ ี่นบั ถือศาสนานั้น ๆ 3. บางส่วนของรายได้ที่ได้มาจากการเยีย่ มชมแหล่งวัฒนธรรมและอนุสาวรี ย ์ ควรนํากลับไปใช้ในการดูแล พิทกั ษ์ รักษา พัฒนา และปรับปรุ งมรดกทางศิลปกรรม โบราณคดี และวัฒนธรรมที่มีคา่ เหล่านี้ 74


75

4. กิจกรรมการท่องเที่ยวที่นาํ ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมประเพณี งานฝี มือ และการละเล่นพื้นบ้าน มาใช้เพื่อการท่องเที่ยว ควรที่จะ ได้มีการวางแผนให้มีวธิ ีการปฏิบตั ิที่ทาํ ให้ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวนี้อยูร่ อดและเติบโต โดยไม่ปล่อยให้ของเหล่านี้เสื่ อมลงและ กลายเป็ นผลิตภัณฑ์ปกติธรรมดาที่พบเห็นได้ทว่ั ไป หลักการที่ 5 การท่ องเทีย่ ว เป็ น กิจกรรมทีเ่ ป็ นประโยชน์ ต่อประเทศและชุมชนเจ้ าของบ้ าน Tourism, a beneficial activity for host countries and communities 1. ประชาชนท้องถิ่นควรจะได้รับผลประโยชน์อย่างเป็ นธรรม จากกิจกรรมการท่องเที่ยว ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม อันเกิดขึ้นจากแรงงานของเขาไม่วา่ จะเป็ นทางตรงและทางอ้อม 2. ควรใช้นโยบายการท่องเที่ยวในลักษณะที่ช่วยยกมาตรฐานการครองชีพของประชากรในภูมิภาค และชุมชนท้องถิ่น การ วางแผน และการออกแบบทางสถาปั ตยกรรม ของโรงแรมที่พกั และสถานที่พกั ผ่อนเพื่อการท่องเที่ยวควรมีความมุ่งหมายที่จะ ผสมผสานให้เข้ากับสังคมและเศรษฐกิจของท้องถิ่นให้มากที่สุดเท่าที่ทาํ ได้ และควรให้โอกาสแก่แรงงานท้องถิ่นก่อนหาก แรงงานมีทกั ษะเท่าเทียมกัน 3. ควรให้ความสนใจเป็ นพิเศษต่อปั ญหา ในเขตพื้นที่ชายฝั่ง พื้นที่เกาะ และชนบทที่อ่อนแอ หรื อ เขตพื้นที่ภูเขา พื้นที่เหล่านี้ กําลังเผชิญปั ญหาในการทํามาหากินแบบดั้งเดิมจากการท่องเที่ยว และพื้นที่เหล่านี้มีโอกาสน้อยกว่าพื้นที่อื่นๆในการพัฒนา 4. ผูป้ ระกอบอาชีพทางการท่องเที่ยว โดยเฉพาะผูล้ งทุน ซึ่งจะต้องอยูภ่ ายใต้กฏหมาย และข้อบังคับที่ออกโดยองค์กรของรัฐ สมควรที่จะต้องศึกษาผลกระทบของโครงการที่มีต่อสิ่ งแวดล้อมและธรรมชาติ และจะต้องชี้แจงแผนงานและผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นอย่างมีหลักมีเกณฑ์และมีความโปร่ งใสมากที่สุด

หลักการที่ 6 ภาระหน้ าทีข่ องผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสียในการพัฒนาการท่ องเทีย่ ว Obligations of stakeholders in tourism development 1. ผูป้ ระกอบอาชีพทางการท่องเที่ยวมีภาระหน้าที่ ที่จะต้องให้ข่าวสารข้อมูลแก่นกั ท่องเที่ยวอย่างมีหลักฐานและซื่อสัตย์ในเรื่ อง ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว และเงื่อนไขการเดินทาง การต้อนรับ และการกินอยู่ ต้องให้ความมัน่ ใจว่าเงื่อนไขของข้อสัญญาที่เสนอต่อ ลูกค้าในรู ปแบบ ราคาและคุณภาพของบริ การที่สญ ั ญาไว้ ตลอดจนเงินค่าชดใช้ความเสี ยหายในกรณี ที่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งผิดสัญญา ต้องได้รับการปฏิบตั ิตามสัญญา 75


76

2. ผูป้ ระกอบอาชีพทางการท่องเที่ยว และผูม้ ีอาํ นาจรัฐ ควรให้ความเอาใจใส่ต่อความมัน่ คงปลอดภัย การป้ องกันอุบตั ิภยั ความ ปลอดภัยในเรื่ องอาหาร และการป้ องกันสุขภาพ แก่ผทู ้ ี่ทาํ งานในสถานประกอบการ ในทํานองเดียวกัน ควรให้ความมัน่ ใจใน ระบบการประกันภัยและระบบความช่วยเหลือที่มีอยู่ และยอมรับพันธกรณี ที่อาจมีข้ ึนโดยกฎข้อบังคับของประเทศ และจะต้อง จ่ายค่าชดเชยอย่างยุติธรรมในเหตุการณ์ที่ผปู ้ ระกอบการได้ละเลยต่อพันธกรณี ตามสัญญา 3. ผูป้ ระกอบอาชีพทางการท่องเที่ยว ควรมีส่วนร่ วมที่จะช่วยให้นกั ท่องเที่ยวได้พบเห็นวัฒนธรรมและคุณค่าทางจิตใจดังที่ นักท่องเที่ยวคาดหวังไว้ ตลอดจนยินยอมให้นกั ท่องเที่ยวได้ปฏิบตั ิกิจทางศาสนาระหว่างการเดินทาง 4. ผูม้ ีอาํ นาจรัฐทั้งประเทศของนักท่องเที่ยวเอง และประเทศที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยว ร่ วมมือกับผูป้ ระกอบการ และสมาคมต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ให้ความมัน่ ใจกับนักท่องเที่ยวในกรณี ที่บริ ษทั จัดการท่องเที่ยวมีปัญหาทางการเงิน ในการจัดส่ง นักท่องเที่ยวกลับประเทศ 5. รัฐบาลมีสิทธิและหน้าที่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในยามวิกฤต ที่จะแจ้งให้คนในชาติของตนทราบถึงสถานการณ์ที่ยากลําบาก หรื อ อันตรายที่เขาอาจจะได้รับระหว่างเดินทางไปต่างประเทศ อย่างไรก็ตามการออกข่าวดังกล่าวจะต้องมีความรับผิดชอบ ที่จะไม่ให้ เป็ นข่าวที่ลาํ เอียง ไม่เป็ นธรรม หรื อ เป็ นข่าวที่เกินความเป็ นจริ งต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศที่ไปเยือน และเป็ น ประโยชน์ต่อผูป้ ระกอบการท่องเที่ยวของตน เนื้อหาคําแนะนําในการเดินทางควรจะได้มีการปรึ กษาหารื อกันก่อนกับประเทศที่ ไปเยือน และผูป้ ระกอบอาชีพทางการท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้อง การให้ขอ้ เสนอแนะควรจะมีน้ าํ หนักที่สอดคล้องกับความเป็ นจริ ง ของสถานการณ์ และอยูใ่ นขอบเขตของสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยที่ได้เกิดขึ้นจริ ง คําแนะนําดังกล่าวควรจะมีการยืนยันหรื อ ยกเลิกโดยเร็ วที่สุดเท่าที่ทาํ ได้ เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่ภาวะปกติ 6. ข่าวสารและโดยเฉพาะข่าวสารการเดินทางและสื่ อสารอย่างอื่น รวมทั้งวิธีการติดต่อสื่ อสารทางอิเลคโทรนิค ควรกระทําด้วย ความซื่อสัตย์ และเป็ นข่าวที่มีความสมดุลของเหตุการณ์ และสถานการณ์ซ่ ึงอาจมีผลต่อการเดินทางของนักท่องเที่ยว ควรจะให้ ข่าวสารที่มีความแม่นยําและเชื่อถือได้ต่อลูกค้าของบริ ษทั ที่ให้บริ การทางการท่องเที่ยว การติดต่อสื่ อสารสมัยใหม่และ เทคโนโลยีทางด้านพาณิ ชย์อิเล็คโทรนิคควรจะได้รับการพัฒนาและนํามาใช้เพื่อความมุ่งหมายนี้ ในกรณี ที่เกี่ยวกับสื่ อด้านนี้ไม่ สมควรที่จะทําการส่งเสริ มการท่องเที่ยวทางเพศไม่วา่ ในกรณี ใด

หลักการที่ 7 สิทธิในการท่ องเทียว Right to tourism 1. ความคาดหวังของบุคคลในการเข้าถึงเพื่อค้นหาและหาความรื่ นรมย์จากทรัพยากรที่มีอยูใ่ นโลกนี้ เป็ นสิ ทธิอนั เท่าเทียมกัน ของผูท้ ี่อยูอ่ าศัยในโลกนี้ท้ งั หมด การมีส่วนร่ วมของการท่องเที่ยวของชนชาติ และนานาชาติที่เพิ่มขึ้นอย่างกว้างขวาง ควรถือได้ 76


77

ว่าเป็ นหนทางที่ดีที่สุดหนทางหนึ่ง ที่จะช่วยยังประโยชน์ในการใช้เวลาว่างของผูค้ น และไม่ควรมีอปุ สรรคใด ๆ ที่จะกีดกันความ คาดหวังดังกล่าว 2. สิ ทธิของการท่องเที่ยวนับเป็ นสิ ทธิที่สากล พร้อมทั้งถือได้วา่ เป็ นของคู่กนั กับสิ ทธิในการใช้เวลาว่าง และการพักผ่อน รวมถึง การจํากัดชัว่ โมงการทํางาน และระยะเวลาของการลาพักผ่อนที่มีสิทธิได้รับค่าจ้าง ย่อมได้รับการคํ้าประกันจาก มาตรา 24 ของ คําประกาศสากลว่าด้วยสิ ทธิมนุษยชน และ มาตรา 7ค. ของอนุสญ ั ญานานาชาติวา่ ด้วยสิ ทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 3. การท่องเที่ยวนับได้วา่ เป็ นการพัฒนาสังคมด้วย เพราะช่วยให้มีการใช้เวลาว่าง การเดินทาง และการพักผ่อนที่เป็ นประโยชน์ ต่อตนเอง และสังคม ควรได้รับการพัฒนา และการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ 4. นักท่องเที่ยวที่เป็ นครอบครัว เยาวชน นักเรี ยน ผูส้ ูงอายุ และผูพ้ ิการ ควรได้รับการส่งเสริ มและอํานวยความสะดวก

หลักการที่ 8 เสรีภาพการเดินทางของนักท่ องเทีย่ ว Liberty of tourist movements 1. นักท่องเที่ยว หรื อ ผูเ้ ยีย่ มเยือนควรจะได้รับประโยชน์ ภายใต้กบั กฎหมายนานาชาติและข้อบังคับของประเทศ ด้วยเสรี ภาพการ เดินทางภายในประเทศ และจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง ที่สอดคล้องกับข้อที่ 13 ของคําประกาศสากลว่าด้วยสิ ทธิ มนุษยชน เขาควรมีสิทธิที่จะเข้าถึงสถานที่พกั ระหว่างการเดินทาง และการพักแรม และเดินทางต่อไปยังพื้นที่ท่องเที่ยวอื่นที่มี ความแตกต่าง โดยไม่ถูกกีดขวางจากระเบียบที่เป็ นพิธีการมากเกินไป หรื อ การถือปฏิบตั ิที่ไม่เท่าเทียมกัน 2. จะต้องอํานวยความสะดวกให้แก่นกั ท่องเที่ยว และผูเ้ ยีย่ มเยือนในการใช้บริ การการสื่ อสารทุกรู ปแบบในการติดต่อบุคคล ต่างๆ เช่นผูบ้ ริ หารท้องถิ่น การให้บริ การทางกฎหมาย สุขภาพ และกงสุลของประเทศของตน ทั้งนี้เพื่อให้เป็ นไปตามพันธะ สัญญาระหว่างประเทศ 3. นักท่องเที่ยว และผูเ้ ยีย่ มเยือนควรจะได้รับสิ ทธิประโยชน์เช่นเดียวกับประชากรท้องถิ่นของประเทศที่ได้รับการเยีย่ มเยือนนั้น ในเรื่ องที่เกี่ยวกับข้อมูลปกปิ ด และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับนักท่องเที่ยวเอง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อมูลที่เก็บรักษาไว้ในสื่ ออิเลคโทร นิก 4. วิธีการบริ หารที่สมั พันธ์กบั การข้ามชายแดนไม่วา่ จะอยูภ่ ายในขอบเขตความสามารถของรัฐ หรื อ เป็ นผลจากข้อตกลง นานาชาติ เช่นธรรมเนียมปฏิบตั ิในการขอวีซ่าหรื อ ข้อกําหนดทางสุขภาพ และพิธีการศุลกากร ควรจะมีการปรับเปลี่ยน เพื่อทํา ให้การเดินทางมีความเป็ นอิสระสูงสุดเท่าที่เป็ นไปได้ ทั้งนี้เพื่อให้นกั ท่องเที่ยวนานาชาติมีโอกาสเดินทางอย่างอิสระ เสรี ควร ส่งเสริ มให้มีขอ้ ตกลงระหว่างกลุ่มประเทศในอันที่จะประสานและลดขั้นตอนพิธีการต่าง ๆให้ง่ายขึ้น การเก็บภาษีเฉพาะและการ 77


78

เรี ยกเก็บค่าปรับที่ทาํ ความเสี ยหายต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว และการทําลายความสามารถในการแข่งขัน ควรค่อย ๆ ขจัดออกไป หรื อมีการปรับปรุ งแก้ไข 5. หากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศของผูเ้ ดินทางอํานวย ผูเ้ ดินทางสมควรจะได้รับอนุญาตให้แลกเปลี่ยนเงินที่จาํ เป็ น สําหรับการเดินทางของเขาได้ หลักการที่ 9 สิทธิของคนงานและผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่ องเทีย่ ว Right of the workers and entrepreneurs in the tourism industry 1. สิ ทธิข้ นั พื้นฐานของคนทํางานที่ได้รับค่าจ้าง และทํางานโดยอิสระในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว และในองค์กรที่เกี่ยวข้อง ควร ได้รับการประกัน โดยได้รับการดูแลเป็ นพิเศษจากผูบ้ ริ หารระดับชาติและระดับท้องถิ่น ทั้งประเทศแหล่งที่มาของนักท่องเที่ยว และประเทศที่ไปเยีย่ มเยือน 2. คนทํางานที่ได้รับค่าจ้าง และทํางานโดยอิสระในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ควรได้มีสิทธิและมีหน้าที่ที่ในเรื่ องการฝึ กอบรม ใน ระดับเบื้องต้นอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม เขาควรได้รับความคุม้ ครองทางสังคมอย่างเพียงพอ ความไม่มนั่ คงของงานควรมี ขีดจํากัดน้อยที่สุด ควรจะให้การประกันทางสังคมพร้อมฐานะบางประการแก่คนทํางานตามฤดูกาลในภาคอุตสาหกรรมนี้ 3. คนท้องถิ่น หรื อ เจ้าหน้าที่ของรัฐ จําเป็ นที่จะต้องได้รับการเรี ยนรู ้ ให้มีทกั ษะ เพื่อสามารถพัฒนากิจกรรมวิชาชีพทางการ ท่องเที่ยว ตามกฎหมายของประเทศนั้นๆ สําหรับผูป้ ระกอบการ และนักลงทุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ควรมีสิทธิที่จะ เข้าไปในภาคการท่องเที่ยวด้วยข้อจํากัดทางกฎหมาย และการบริ หารที่นอ้ ยที่สุด 4. ควรมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผูบ้ ริ หารและคนงาน ไม่วา่ จะเป็ นคนมีเงินเดือนหรื อไม่ก็ตาม กับประเทศต่างๆที่มี ส่วนร่ วมในการท่องเที่ยว ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวโลก กิจกรรมนี้ควรได้รับการส่งเสริ มให้ สอดคล้องการใช้กฎหมายของประเทศและอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศให้มากที่สุดเท่าที่ทาํ ได้ 5. ในสถานการณ์ซ่ ึงโลกมีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันมากขึ้น อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง มีการไปมาหาสู่กนั มากขึ้น และมีการจัดตั้งวิสาหกิจข้ามชาติในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่มีเครื อข่ายครอบคลุมอย่างกว้างขวาง ไม่ควรใช้วสิ าหกิจ ข้ามชาติเหล่านี้เป็ นหนทางที่จะครอบงําประเทศที่ตอ้ นรับนักท่องเที่ยวให้เปลี่ยนแปลงรู ปแบบทางวัฒนธรรมและสังคมให้ กลายเป็ นรู ปแบบแปลกปลอมไม่เป็ นธรรมชาติ ไม่ควรนําวิสาหกิจข้ามชาติเป็ นข้อต่อรองเพื่อแลกเปลี่ยนกับอิสระเสรี ทางการ ลงทุนและการค้า ควรนําวิสาหกิจข้ามชาติมาใช้ในแง่ที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาท้องถิ่นของประเทศที่เปิ ดรับนักท่องเที่ยว ไม่ควรใช้วสิ าหกิจข้ามชาติน้ ีเอื้อประโยชน์ในการส่งผลกําไรคืนกลับไปยังบริ ษทั แม่ ในทํานองเดียวกันไม่ควรใช้วสิ าหกิจข้าม

78


79

ชาติเหล่านี้เป็ นหนทางในการนําเข้าสิ นค้าและบริ การที่เกินขีดความพอดี หรื อจํากัดการมีส่วนร่ วมทางเศรษฐกิจในประเทศที่เปิ ด ตนเองเป็ นแหล่งท่องเที่ยว 6. ความเป็ นหุน้ ส่วน และการสร้างความสัมพันธ์ที่สมดุลระหว่างประเทศของวิสาหกิจที่ส่งนักท่องเที่ยวกับประเทศที่รองรับ นักท่องเที่ยว ต้องมีส่วนในความรับผิดชอบต่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนของการท่องเที่ยว และ การแบ่งปั นผลประโยชน์ที่เป็ นธรรมจาก ความเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว หลักการที่ 10 การนําหลักจริยธรรมการท่ องเทีย่ วโลกออกใช้ งาน Implementation of the principles of the Global Code of Ethics for Tourism 1. ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวควรร่ วมมือกันในการนําหลักจริ ยธรรมข้างต้นมาใช้ปฏิบตั ิ และทําการตรวจสอบประสิ ทธิผลของการใช้ปฏิบตั ิน้ นั ๆด้วย 2. ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการพัฒนาการท่องเที่ยวควรยอมรับบทบาทของสถาบันนานาชาติ คือ องค์การการท่องเที่ยวโลก รวมทั้ง องค์กรเอกชนที่มีความสามารถในด้านการพัฒนาและส่งเสริ มการท่องเที่ยว องค์กรปกป้ องสิ ทธิมนุษยชน สิ่ งแวดล้อม หรื อ สุขภาพ ซึ่งมีหลักการของกฎหมายนานาชาติเป็ นที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไป 3. ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยกลุ่มเดียวกับข้างต้น ควรแสดงออกถึงความตั้งใจในการใช้ปฏิบตั ิจริ ยธรรมการท่องเที่ยวโลก หากพบข้อ ขัดแย้งใด ๆ ที่เกี่ยวกับการใช้ ควรนําเสนอข้อขัดแย้งนั้นถึงบุคคลที่สาม ที่เรี ยกว่า คณะกรรมการจริ ยธรรมการท่องเที่ยวโลก เพื่อ การพิจารณา (แปลโดยนายชาญ วงศ์สตั ยนนท์)

79


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.