หายใจ

Page 1

การฝึ กหัดออกกำาลังกายอย่างง่าย ๆ ต่อไปนี้ จะให้ความคิดเห็นสว่างแจ่มแจ้งแก่ท่านได้วา่ การหายใจ สมบูรณ์แบบนั้นเป็ นอย่างไร ำ 1. ยืนหรื อนัง่ ตั้งตัวตรง หายใจเข้าทางรู จมูก หายใจเข้าสม่าเสมอเบื ้องต้นบรรจุลมหายใจสูดเข้าไป เต็มส่ วนเบื้องล่างของปอด ซึ่งประกอบพร้อมด้วยโดยนำากระบังลมให้แสดงบทบาททำาหน้าที่ซ่ ึ งใช้กาำ ลัง กดดันลงน้อย ๆ บนอวัยะภายในช่องท้อง ดันผนังช่องท้องด้านหน้าออกไปข้างหน้าแล้วจึงสูดดมเข้าไปเต็ม ภาคกลางของปอด กดดันซี่โครงเบื้องล่าง กระดูกอก และทรวงอกออกมาแล้ว สูดลมเข้าไปเต็มส่ วนเบื้องสู ง ของปอด ยืน่ ทรวงอกเบื้องบนในท่านี้ ยกทรวงอกขึ้นรวมทั้งซี่ โครงเบื้องบน 6 หรื อ 7 คู่ ในที่สุดการ ำ นแก่ปอดและช่วยให้ เคลื่อนไหวส่ วนล่างของช่องท้องจะแขม่วเข้าเล็กน้อย ซึ่ งการเคลื่อนไหวให้ความค้าจุ สูดลมเข้าไปเต็มภาคสูงที่สุดของปอด เมื่ออ่านทีแรก อ่านเห็นปรากฎไปว่า การหายใจแบบนี้ แบ่งแยกแตกต่างกันเป็ นการเคลื่อนไหวถึง 3 ตอนอย่างชัดแจ้ง ถึงอย่างไรก็ดี ความคิดเห็นนี้ ไม่ถูกการหายใจเข้าติดต่อสื บเนื่องกันไป ที่วา่ โค้งเว้าทรวงอก ทัว่ ไปทั้งหมดจากส่วนล่างของกระบังลมถึงยอดที่สูงสุ ดของทรวงอกในบริ เวณกระดูกปลอกคอ (คือหัว ไหล่) ถูกยืดขยายออกไปด้วยการเคลื่อนไหวเป็ นระเบียบพร้อมเพรี ยงเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน จงหลีกเลี่ยง ำ อย่าหายใจเข้าให้กระตุกขาดชุดกัน และจงพยายามให้ได้รับการกระทำาติดต่อกันไปสม่ าเสมอ การฝึ กหัด ปฏิบตั ิไม่ชา้ ก็จะได้รับชัยชนะการที่เคยแบ่งแยกการหายใจเข้าเป็ นการเคลื่อนไหวถึง 3 ตอน และจะได้รับผล การหายใจติดต่อสื บเนื่องเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน ท่านจะสามารถได้รับความสำาเร็ จอย่างสมบูรณ์ในการ หายใจเข้าในเวลา 2 วินาที ภายหลังการฝึ กหัดปฏิบตั ิเล็กน้อย 2. กลั้นหายใจเข้าไว้สกั 2-3 วินาที (หรื ออึดใจ เพื่อให้ปอดดูดเอาอ๊อกซิเจนไว้ฟอกโลหิ ต และเพิ่ม กำาลังปราณพลานุภาพพลังงานแห่งชีวิต) 3. หายใจออกช้า ๆ ตั้งทรวงอกไว้ให้มนั่ และแขม่วช่องท้องเข้าไปเล็กน้อย และยกทรวงอกขึ้นไป ข้างบนช้า ๆ ในขณะที่ลมหายใจออกจากปอด เมื่ออากาศถูกหายใจออกไปทัว่ ทั้งหมดหย่อนทรวงอกและ ช่องท้อง การฝึ กหัดปฏิบตั ิเล็กน้อยจะทำาให้ได้รับส่ วนนี้ ของการฝึ กหัดง่ายขึ้น และเมื่อการเคลื่อนไหวทำาได้ ครั้งหนึ่งแล้ว ภายหลังต่อไปก็จะทำาได้เองเกือบเป็ นอัตโนมัติ จะเห็นได้วา่ โดยแบบการหายใจวิธีน้ี ทุกส่ วนของเครื่ องมือที่ทาำ หน้าที่หายใจ ถูกนำาเข้าทำาหน้าที่ และทุกภาคของปอดรวมทั้งเซลจุลินทรี ยอ์ ากาศที่ห่างไกลถูกทำาหน้าที่ออกแรงที่วา่ งเว้าทรวงอกยืด ขยายออกไปทัว่ ทุกด้าน ท่านจะสังเกตุได้ดว้ ยว่า การหายใจสมบูรณ์แบบประกอบพร้อมอย่าง แท้จริ งด้วยการหายใจลงสู่เบื้องต่าำ ท่ามกลาง และขึ้นสู่เบื้องสูง ติดต่อสื บเนื่องกันและกันในทันที ตามระเบียบที่ให้ไว้ในอากาศเช่นนี้ ทำาให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อยพร้อมเพรี ยง เป็ นอันหนึ่งอัน เดียวกัน ติดต่อเป็ นการหายใจสมบูรณ์แบบ ท่านจะประสบพบการหายใจแบบนี้ ช่วยท่านได้มาก ถ้าท่านฝึ กหัดปฏิบตั ิทาำ ท่านี้ ที่หน้า กระจกบานใหญ่ วางมือของท่านไว้เบา ๆ แผ่ว ๆ บนช่องท้อง ดังนั้น ท่านสามารถรู ้สึกความ


เคลื่อนไหว ในที่สุดของการหายใจเข้าในโอกาสนั้นเป็ นการดี ยกหัวไหล่ข้ ึนเล็กน้อย เช่นนี้ กระดูก ปลอกคอก็ยกขึ้น และปล่อยให้อากาศผ่านอย่างอิสระเสรี เข้าไปในห้องบนของปอดเบื้องขวา ซึ่ ง ตรงนี้บางทีเป็ นที่เพาะพันธุ์ของวัณโรค ในขณะที่ต้ งั ต้นฝึ กหัดปฏิบตั ิ ท่านอาจรู ้สึกยุง่ ยากลำาบากมากหรื อน้อย ในการที่จะให้ได้มา ซึ่งการหายใจสมบูรณ์แบบ แต่การฝึ กหัดปฏิบตั ิเล็กน้อยจะทำาให้ถูกต้องสมบูรณ์ และเมื่อท่านทำาได้ ครั้งหนึ่งแล้ว ท่านจะไม่คิดตั้งใจจะหวนกลับหลังไปแบบเดิม กายหายใจทำาความสะอาด (ให้แก่ปอด) ของโยคี พวกโยคีมีแบบแผนวิธีที่นิยมชมชอบของการหายใจ ซึ่งพวกโยคีฝึกหัดปฏิบตั ิกนั เมื่อมีความรู ้สึก จำาเป็ นที่จะต้องเปิ ดให้อากาศเข้าไปและทำาความสะอาดให้แก่ปอด พวกโยคีจบการฝึ กหัดออกกำาลังบริ หาร ร่ างกายท่าอื่น ๆ จำานวนมากเสร็ จแล้วด้วยการหายใจทำาความสะอาดให้แก่ปอดนี้ ในตอนจบสุ ดท้ายการออก กำาลังบริ หารร่ างกาย และเราได้ทาำ ตามตัวอย่างนี้ ไว้ในหนังสื อเล่มนี้ แล้ว การหายใจทำาความสะอาดให้แก่ ปอดนี้ เปิ ดให้อากาศเข้าไปในปอดและทำาความสะอาดให้แก่ปอด กระตุน้ เตือนให้เซลจุลินทรี ยท์ าำ งานตาม หน้าที่และเพิ่มกำาลังทัว่ ไปแก่อวัยวะการหายใจ และนำาเอาความผาสุ กทัว่ ไปมาให้แก่เขาเหล่านั้นอีกอย่าง หนึ่ง ผลนี้จะได้รับประสบความสดชื่นแก่ร่างกายทัว่ ไปทั้งหมด นักพูด นักร้อง ฯลฯ จะได้ประสบพบเห็น การหายใจนี้ ทำาให้พกั ผ่อนสงบระงับอย่างสมบูรณ์เต็มที่เป็ นพิเศษ ภายหลังที่อวัยวะการหายใจได้รับความ เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้ามาแล้ว 1. จงสุดลมหายใจเข้าตามวิธีสมบูรณ์แบบ 2. เก็บกลั้นอากาศไว้ชวั่ 2-3 วินาที (หรื อชัว่ ขณะอึดใจ เพื่อให้ปอดดูดเอาอากาศอ๊อกซิเจนไว้ฟอก โลหิต และเพิ่มกำาลังปราณ คือ พลานุภาพพลังงานของชีวิต) 3. จีบริ มฝี ปากจู๋ข้ ึนมา เหมือนกับท่าผิวปาก (แต่อย่าพองแก้มออกมา) แล้วระบายอากาศหายใจ ออกทางช่องปากที่จีบจู๋ ด้วยกำาลังแรงพอสมควร แล้วหยุดชัว่ ขณะหนึ่ง เก็บอัดเอาอากาศไว้ แล้วก็ระบายลมหายใจออกอีกเล็กน้อย หายใจอย่างนี้ ซา้ ำ ๆ กันไปจนกว่าอากาศออกจากปอดจน หมด จงจำาไว้วา่ จงใช้กาำ ลังแรงพอสมควรในการระบายลมหายใจออกทางช่องปากจีบจู๋ การหายใจแบบนี้ จะทำาให้ได้รับประสบความสดชื่นมากทีเดียว เมื่อใคร ๆ ผูใ้ ดก็ตามรู ้สึก เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า และใช้กาำ ลังมากหมดไปเหน็ดเหนื่อยมาก การสอบสวนทดลองจะทำาให้ชดั เจนแจ่ม แจ้งประจักษ์คุณค่าแน่แก่ใจนักศึกษานั้น ๆ การฝึ กหัดปฏิบตั ิออกกำาลังนี้ ควรกระทำาจนกว่าจะสามารถทำาได้ ตามปกติธรรมชาติและง่าย ๆ และสำาหรับใช้ส่งท้ายตอนจบการออกกำาลังแบบอื่น ๆ ที่ให้ไว้ในหนังสื อเล่มนี้ และควรจะเข้าใจให้ครบถ้วนรอบคอบ การหายใจโยคีเพิ่มกำาลังประสาท


นี้เป็ นการออกกำาลังที่มีชื่อเสี ยงแก่พวกโยคี ซึ่ งพิจารณาเห็นว่าเป็ นท่าหนึ่งที่กระตุน้ เตือนเร่ งเร้าเส้น ประสาทให้แข็งแรงที่สุดที่คนควรทราบ ความประสงค์ของการหายใจแบบนี้ เพื่อกระตุน้ เตือนเร่ งเร้าระบบ ประสาท เจริ ญพัฒนากำาลังประสาทพลังงานและพลังพลานุภาพแห่ งชีวิต การฝึ กหัดออกกำาลังแบบนี้ นาำ ความกดกระตุน้ เตือนเร่ งเร้ากดลงบนที่ประชุมกลุ่มศูนย์กลางประสาทสำาคัญ ซึ่งได้รับความกระตุน้ เตือน เร่ งเร้าเพิ่มกำาลังพลังงานระบบประสาททัว่ ไปทั้งหมด และส่ งเสริ มเพิ่มพูนทวีคูณกำาลังประสาทให้ไหลไป ทัว่ ร่ างกายทั้งหมด 1. ยืนตั้งตัวตรง 2. หายใจเข้าตามสมบูรณ์แบบ และเก็บกลั้นลมหายใจเข้าไว้ชวั่ ขณะอึดใจหนึ่ง 3. เหยียดยืดยืน่ แขนทั้ง 2 ออกข้างหน้า ปล่อยให้แขนอ่อน ๆ อย่าแข็งเกร็ งและให้หย่อน ๆ 4. ดึงมือทั้ง 2 กลับเข้ามาช้า ๆ ทางหัวไหล่ ค่อย ๆ หดกล้ามเนื้ อและอัดกำาลังเข้าไปในกล้ามเนื้ อ เหล่านั้น ดังนั้น เมื่อมือทั้ง 2 จดถึงหัวไหล่ กำาหมัดจะกำาแน่นมากนรู ้สึกสัน่ สะเทือนเคลื่อนไหว 5. แล้วจึงเกร็ งกล้ามเนื้ อให้ตึง พุง่ กำาหมัดทั้ง 2 ออกไปช้า ๆ แล้วดึงกลับเข้าไปเร็ ว ๆ (คงให้เกร็ ง อยู่) ทำาหลาย ๆ ครั้ง 6. หายใจออกแรง ๆ ทางปาก 7. แล้วปฏิบตั ิท่าหายใจทำาความสะอาดปอด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.