Music Theory Basic notaion

Page 1



Introduction บทนำ�

1 ในเทคโนโลยีที่เมื่อก่อนหน้านี้ อาจจะถูกนำ�เอามาใช่เป็นลูกเล่น เสริมการนำ�เสนอของสื่อมัลติมีเดีย ให้เกิดความหน้าสนใจและเป็น ที่จับตามองมาตลอดหลายปี คือเทคโนโลยี ความจริงเสมือน หรือ เออาร์ (AR : Augmented Reality Technology) ที่สามารถผนวก โลกแห่งความจริงและโลกดิจิตอลเข้าด้วยกันบนเทคโนโลยีเสมือน จริงที่แสดงภาพดิจิตอลซ้อนทับบนสภาพแวดล้อมของจริงได้ เพื่อ การอ่านโน้ต ถือว่าเป็นพื้นฐานสำ�คัญในการปฏิบัติดนตรี เพราะ สร้างความดึงดูด น่าสนใจ และมุมมองเพิ่มเติมแก่สินค้าและบริการ การสื่อสารทางดนตรีและการเรียนดนตรีปฏิบัตินั้นสามารถทำ�ได้ ต่างๆ เพียง 2 ลักษณะเท่านั้น คือลักษณะที่เรียกว่า การเรียนตัวต่อตัว จากที่มาและปัญหาดังกล่าว ผู้เริ่มต้นที่จะเรียนดนตรี คือการใช้การถ่ายทอดด้วยความจำ� ผู้สอนจะปฏิบัติให้ดูก่อน แล้ว ให้ผู้เรียนสังเกต จดจำ�แล้วปฏิบัติตาม ซึ่งวิธีนั้นค่อนข้างจะเรียนรู้ นั้น จะสามารถจดจำ�การวิธีการอ่านโน้ตดนตรี พื้นฐาน ได้อย่าง ช้า เพราะหากวันไหนผู้เรียนและผู้สอนไม่มีเวลาหรือโอกาสที่ตรง คล่องแคล่วรวมถึงการนำ�ไปใช้ในการปฏิบัติดนตรี ด้วยการนำ�เอา กัน การเรียนก็อาจจะเกิดขึ้นไม่ได้ อีกทั้งหากผู้เรียนเกิดการหลงลืม เนื้อหาสื่อการเรียนการสอนการอ่านโน้ตดนตรีสากลพื้นฐาน มาผนวกกับเทคโนโลยี ความจริงเสมือน (AR : Augmented ก็ไม่สามารถที่จะปฏิบัติดนตรีนั้นๆ ได้อีกเช่นกัน Reality Technology) เพื่อสร้างความดึงดูด น่าสนใจ และมุมมอง ส่วนอีกวิธีหนึ่งนั้น คือการเรียน การสอน สื่อสารโดยผ่าน เพิ่มเติมของสื่อการเรียนการสอนการอ่านโน้ตดนตรีสากลพื้นฐาน ทางภาษาเขียนของดนตรี ที่เรียกว่า โน้ตดนตรี วิธีนี้ค่อนข้างได้ผลดี และผู้เริ่มต้นศึกษาการอ่านโน้ตดนตรี สามารถที่จะศึกษาทบทวน กว่าเพราะตัดปัญหาที่ว่าเวลาของผู้สอนกับผู้เรียนไม่ตรงกัน ผู้เรียน ได้ด้วยตนเอง โดยไม่จำ�เป็นต้องมีผู้สอน พร้อมกับเทคโนโลยีความ ยังสามารนำ�โน้ตออกมาทบทวนได้อีกด้วย แต่อย่างไรก็ตาม การ จริงสเมือน ที่ช่วยสร้างความเข้าใจให้มากขึ้นจากการแสดงภาพ สื่อสารโดยผ่านทางภาษาเขียนของดนตรี ที่เรียกว่า โน้ตดนตรี ก็ ดิจิตอลที่จะปรากฎให้เห็น ทั้งเสียงและเนื้อหา ซึ่งผู้ที่ศึกษาการอ่าน ยังต้องใช้วิธีการจดจำ�ควบคู่กับการอ่านโน้ตไปในตัว ซึ่งผู้เรียนก็มัก โน้ตดนตรีสากลพื้นฐานด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือน จะสามารถ จะหลงลืมวิธีการอ่านได้เช่นกัน เนื่องจากโน้ตดนตรีนั้นมีความยาก ศึกษาในระดับที่สูงขึ้นเป็นไปได้ด้วยดี เนื่องจากมีพื้นฐานที่ดี และซับซ้อนพอสมควร อีกทั้งยังมีหลักการ และ วิธีการที่มาก ซึ่ง ยากต่อการจดจำ�เพื่อจะนำ�ไปใช้ในการปฏิบัติดนตรีต่อไป ในยุคที่เทคโนโลยีและนวัตกรรม คือตัวชี้ชะตาให้กับ ธุรกิจต่างๆ ท่ามกลางพฤติกรรมของผู้บริโภคในยุคดิจิตอล ที่มีสมา ร์ทโฟน หรือ แท็บเล็ตเพื่อเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต อันถือเป็นปัจจัยที่ 5 ของการใช้ชีวิตของคนยุคนี้ที่ขาดไปเสียมิได้ ส่งผลให้ธุรกิจและ บริการต่างๆ ต้องปรับตัวรุกเข้าสู่ธุรกิจออนไลน์ กระโจนเข้าสู่อิน เทอร์ และช่องทางด้านโซเชียลมีเดียกันแบบกระบวนทัพใหญ่ ทั้ง ธุรกิจความบันเทิง อุตสาหกรรม ค้าปลีก การศึกษา หรือแม้แต่ ธุรกิจสื่อ ก็ต้องปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคออนไลน์เต็มรูป แบบเช่นกัน


บทที่ 1 เสียง และ พื้นฐานโน้ตดนตรี SOUND AND BASIC NOTATION

บทที่ 2

ระดับเสียง

เสียง

1

PITCH

ดนตรี

2

ตัวโน้ต และ ตัวหยุด

8

ความเป็นมา

3

9

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโน้ตดนตรี

5

แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ ค่าของตัวโน้ต แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ ค่าของตัวหยุด เส้นกั้นห้อง เครื่องหมายกำ�หนดจังหวะ

10

การนับจังหวะ

11

โน้ตลักษณะอื่นๆ

16

บรรทัด 5 เส้น กุญแจประจำ�หลัก กุญแจซอล กุญแจฟา

23

เครื่องหมายแปลงเสียง

24


บทที่ 3

บันไดเสียง

SCALE

ความหมายของบันไดเสียง ครึ่งเสียง เต็มเสียง

27

บันไดเสียงไดอาโทนิค

28

บันไดเสียงไดอาโทนิคเมเจอร์ บันไดเสียงไดอาโทนิคไมเนอร์

29

เครื่องหมายตั้งบันไดเสียง

30

เครื่องหมายตั้งบันไดเสียงทางแฟลต

31

เครื่องหมายตั้งบันไดเสียงทางชาร์ป

32

การสร้างบันไดเสียงเมเจอร์

33

การสร้างบันไดเสียงไมเนอร์

35

คำ�ศัพท์เกี่ยวกับความดัง - เบา

37

คำ�ศัพท์เกี่ยวกับความช้า - เร็ว

38


M U S I C

T H E O R Y

บทที่1

เสียง และพื้นฐานโน้ตดนตรี

เสียง ( Sound ) เสียง คือความรู้สกึ ของประสาทที่เกิดขึ ้นจากการสันของวั ้ ตถุในอากาศ เราจะสังเกตได้ จากการสันของเส้ ้ นลวดเมื่อถูกเคาะ หรื อดีดสี มีผลท�ำให้ อากาศรอบๆ เกิดการสัน่ สะเทือนท�ำให้ เกิดเป็ นคลื่นเสียง และคลื่นเสียงที่สนั่ เป็ นระเบียบ มีสดั ส่วน ก็จะ เกิดเป็ นเสียง ซึง่ เรี ยกว่า ”เสียงดนตรี ”


B A S I C

N O T A T I O N

ความถี่ของเสียง (Ferquency)

ความถี่ของเสียง (Ferquency)

ดนตรี หมายถึง ศิลป์ และศาสตร์ ของการร้อยกรองเสียงร้อง หรือเสียงดนตรีเข้าเป็นท�ำนอง จังหวะ ลีลากระแสเสียง และเสียงประสาน เพื่อให้เป็นเพลงที่มีโครงสร้างเข้าเป็นท�ำนอง และก่อให้เกิด ความรู้สึกต่างๆ ดนตรีเกิดขึ้นมาในโลกพร้อมๆกับมนุษย์ ยุคแรกที่มนุษย์ยังอาศัยตามป่าตามถ�้ำ มนุษย์รู้จัก การร้องร�ำโดยธรรมชาติ เช่น รู้จักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม้ เป่าเขาสัตว์ ผิวปาก และการ เปล่งเสียงจากปากออกมา เสียงเพลงร้องของมนุษย์เพื่ออ้อนวอนพระเจ้าหรือสิ่งที่ตนนับถือ ให้ช่วยขจัดภัยต่างๆและบันดาลความเป็นอยู่ให้มีความสุขความสมบูรณ์ หรือเพื่อแสดงความ ขอบคุณที่ได้บันดาลให้ตนมีความสบายกายสบายใจ ตามหลักการเดิมของชาวยุโรปถือว่า การดนตรีเริ่มต้นเมื่อมีการก�ำหนดระยะขั้นคู่เสียงได้อย่างแน่นอนแล้ว ทั้งนี้ เพราะเพลงต่างๆ นั้น ประกอบด้วยการน�ำระยะขั้นคู่มาเรียบเรียงให้ต่อเนื่องกัน ซึ่งท�ำให้เกิดเป็นท�ำนองขึ้น ดนตรีในระยะ แรกๆ จึงมีเพียงแนวท�ำนองอย่างเดียวเท่านั้นที่เรียกว่า Melody ยังไม่มีการประสานเสียง จนกระทั้งถึงศตวรรษที่ 12 จึงเริ่ม รู้จักใช้เสียงดนตรี เพลงที่เคยร้องอ้อนวอนพระเจ้ากลายมาเป็นบทสวดทางศาสนาและเพลงร้องโดยทั่วๆไป

ดนตรี

MUSIC

เสียงและพื้นฐานโน้ตดนตรี Sound and basic notation

2


ความเป็นมาของโน้ตดนตรี การบันทึกดนตรีด้วยระบบโน้ตตะวันตกอย่างที่ใช่ในปัจจุบัน เริ่ม มีมาตั้งแต่ต้นศตวรรษ ที่ 17 ก่อนหน้านี้ (คือตั้งแต่ยุคโบราณมา ถึงปลายยุคฟื้นฟู ใน ค.ศ. 1600) มีใช้หลายระบบ ซึ่งแตกต่างกัน ไปตามภูมิลำ�เนา ที่สำ�คัญมากและน่าศึกษามี 3 ระบบ คือ ระบบ มาติด ( Neumatic Notation ) ระบบโมดัล (Modal Notation) และระบบเมนเซอรัล (Mensural Notation) 1. ระบบนูมาติค (Neumatic Notation) ตั้งแต่ก่อน ค.ศ. จนถึงศตวรรษที่ 10 มีผู้พยายามคิดระบบ การบันทึกดนตรีมาใช้หลายระบบ แต่ส่วนมากล้มเหลว จนกระ ทั้งปลายศตวรรษที่ 9 จึงใช้งานได้ดี และถือว่าการบันทึกดนตรี สากลได้เริ่มต้นอย่างจริงจัง พัฒนาการและองค์ประกอบของ ระบบนูมาติค มีดังนี้ 1.1 นูมส์ (Neumes) คือเครื่องหมายที่ใช้บันทึกกับเพลง สวด (plainsong)มี 3 ลักษณะคือ / \ และ /\ ใช้กำ�กับเหนือ คำ�ร้องเพื่อบอกทิศทางของทำ�นอง ไม่สามารถบอกระดับเสียงที่ แน่นอนได้ นูมส์เหล่านี้ต่อมาได้เพิ่มรูปแบบใหม่ เข้ามาจนมีถึง 12 ลักษณะ 1.2 ไดอะส์เตมาติค โนเตชั่น (Diastematic Notation) เป็นพัฒนาการขั้นต่อจากการใช้นูมส์ ในขั้นนี้ทำ�ให้เห็นรูปเค้า ของแนวการดำ�เนินทำ�นองแต่ยังไม่ชัดเจนในเรื่อง ระดับเสียง ขั้น คู่ และอัตราจังหวะ 1.3 การใช้สตาฟฟ์ (Staff Notation) พัฒนาการขั้นนี้เริ่ม ในศตวรรษที่10 และเป็นขั้นเริ่มแรกที่สามารถกำ�หนดระดับเสียง ให้แน่นอนได้ ในตอนเริ่มแรกมีเพียงเส้นเดียว ใช้แสดงว่า นูมส์ บนเส้นนี้มีระดับเสียง F นูมส์ที่อยู่เหนือหรือใต้เส้นนี้จะสูงกว่า หรือต่ำ�กว่า F มากน้อยขึ้นอยู่กับระยะห่างจากเส้น ต่อมาไม่นาน นัก จำ�นวนเส้นเพิ่มขึ้นเป็น 2 เส้น ใช้สีต่างกัน เส้นบนเป็นเส้นสี แดง คือตำ�แหน่งของ ในศตวรรษที่ 11 กิโด เดอ อเรซ์โซ (Guido d’ Arezzo) เพิ่มเส้นในสตาฟฟ์ขึ้น 4 เส้น และใช้บันทึกเพลง สวดเกรกอเรียนชานท์อย่างแพร่หลาย ดังภาพ

3

เสียงและพื้นฐานโน้ตดนตรี Sound and basic notation

ต่อมาจ�ำนวนเส้นถูกเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนถึง 11 เส้น แล้ว แบ่งออกเป็น 2 ชุด โดยใช้เส้นกลาง (เส้นที่ 6) เป็นเกณฑ์แบ่ง พัฒนาการชั้นนี้เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 13 จากนั้นสตาฟฟ์ที่มี 5 เส้น จึงเป็นมาตรฐานมาโดยตลอด 1.4 กุญแจหลักเสียง (Clef sings) ในยุคกลางจะใช้อักษร C หรือ F หรือ G ตัวใดตัวหนึ่ง เพื่อก�ำหนดชื่อของระดับเสียงบน เส้นนั้น 1.5 ก�ำหนดชื่อโน้ต (Guido d’ Arezzo) (ประมาณ ค.ศ. 997 1050) ซึ่งเพิ่มสตาฟฟ์ขึ้นเป็น 4 เส้น (ตามข้อ 1.3 ) นั้น ได้แต่งเพลงสวดสรรเสริญ St.john ขึ้นโดย เนื้อร้องแต่ละบรรทัดขึ้นต้นพยางค์แรกด้วยเสียงต่างกันตาม ล�ำดับ จากต�่ำไปหาสูง 6 ระดับ คือ ขั้นที่ 1 ถึงขั้นที่ 6 ในบันได เสียง (mode) ดังนี้ Ut Queant laxis Resonare fibris Mira gestorum Famuli tuorum Solve polluti Labia reatum พยางค์แรกทั้ง 6 นี้เอง ได้กลายเป็นชื่อประจ�ำระดับเสียง ทั้ง 6 ซึ่งในภายหลังมีผู้เพิ่ม “Si” เข้าไป และเปลี่ยนชื่อโน้ตตัว ต้น จาก Ut เป็น Do (ยกเว้นชาวฝรั่งเศสที่ยังคงใช้ Ut อยู่จนถึง ปัจจุบัน) นอกจากนี้ยังมีการผสมผสานการใช้ชื่อโน้ตกับอักษรโรมัน ที่ทีมาแต่เิมส่วนมากนิยมใช้ Ut ตรงกับระดับเสียง C และมีการ ย้าย Ut ไปตรงกับ F และ G บ่อยๆด้วย การท�ำเช่นนี้มีผล ให้การจัดล�ำดับความถี่ห่างระหว่างขั้นเสียงภายในคู่แปดเปลี่ยน ระดับเสียงใหม่ เกิด b และ # ขึ้น คือ b ใช้เมื่อ Ut ตรงกับ F ส่วน # ใช้เมื่อ Ut ตรงกับ C และ G แต่เมื่อ Ut ตรงกับ G มีตัว ที่ต้องถูกเปลี่ยนระดับเสียงใหม่อีกตัวหนึ่งคือ f เดิม จะต้องสูงขึ้นจึงบันทึกเป็น ff เพื่อ จ�ำแนกให้ชัดเจน ในยุคหลัง ต่อๆมา มีการเปลี่ยนเสียง มากขึ้น ย้ายหลักเสียงมาก ขึ้น b,..... และ ff จึงกลาย เป็นเครื่องหมายแปลง เสียง (accidentals) และ 2 ชนิดหลังเปลี่ยนแปลง รูปร่างไปบ้าง คือ b และ # ดังที่ใช้มาจนถึงทุกวันนี้


2. ระบบโมดัล (Modal Notation) ระบบนี้เกิดขึ้นในยุคกลาง ในช่วงที่เรียกว่า อันติควา เป็น ระบบที่เน้นด้านจังหวะโดยเฉพาะอย่างยิ่ง Rhythmic Modes องค์ประกอบส�ำคัญระบบนี้ ได้แก่ 2.1 โน้ต (Note) มีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยม (ซึ่งท�ำให้บางต�ำรา เรียกว่า Square Notation) มีด้วยกัน 3 แบบ คือ เรียกว่า ลอง หรือ ลองกา (long, longa) เรียกว่า เบรเว หรือ เบรวิส (breve, brevis) เรียกว่า เซมิเบรเว หรือ เซเบรวิส (semibreve, semibrevis) 2.2 เปอร์ เฟคชัน่ (Perfection) คือการเปรี ยบเทียบ อัตราส่วนระหว่างโน้ ตทัง้ 3 ลักษณะข้ างต้ นว่า โน้ ตลักษณะใด มีอตั ราส่วนเป็ นเท่าใดกับโน้ ตลักษณะอื่น อัตราส่วนที่เรี ยกว่า เปอร์ เฟคชัน่ เป็ นดังนี ้ = = ระบบโมดัลนี ้ นิยมใช้ กบั เพลงของพวก ตรูบาดูร์ และตรู แวร์ กับออร์ กานุม,คอนดุคตุส และโมเต็ทรุ่นแรก ในขณะที่ เพลงสวด (plainsong) ยังคงนิยมใช้ ระบบนูมาติคอยูอ่ ย่างเดิม 3. ระบบเมนเซอรัล (Mensural Notation หรื อ Measured Notation) ระบบนี ้เริ่ มใช่ตงแต่ ั ้ ครึ่งหลังศตวรรษที่ 13 มา จนถึงปลายยุคฟื น้ ฟูโดยพัฒนาการในตอนแรก ๆ ค่อนข้ าง รวดเร็ วและซับซ้ อน จนมีปัญหาเรื่ องความแน่นอนอยูม่ าก ส�ำหรับนักประวัตศิ าสตร์ แต่พอจะแบ่งออกได้ เป็ น 3 ช่วง คือ 3.1 ระบบฟรังโกเนียน (Franconian Notation) คิดขึ ้น โดย Franco แห่งโคโลญ ในครึ่งหลังของศตวรรษที่13 ระบบนี ้ ใช้ โน้ ตลักษณะเดียวกันกับระบบโมดัล แต่ใช้ เบรเวเป็ น มาตรฐานในการก�ำหนดจังหวะ 3.2 ระบบอาร์ โนเว (Ars Nova Notation) ฟิ ลปิ ป์ เดอ วิตรี เป็ นผู้พฒ ั นาระบบนี ้ขึ ้นโดยการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง และอัตราของตัวโน้ ตที่เคยใช้ กบั เพิ่มโน้ ตชนิดใหม่เข้ ามาอีกนัน้ คือ ถูกใช่น้อยลง และตัวที่เพิ่มใหม่ได้ แก่ เรี ยกว่า “มิ นิม” (minim) กับ เรี ยกว่า ”เซมิมินิม” (semiminim) นอกจากนี ้ เดอ วิตรี ยงั ให้ ความส�ำคัญแก่อตั รา 2 จังหวะ เท่า เทียบกับอัตรา 3 จังหวะด้ วย

อัตราจังหวะทังสองนี ้ ้ เมื่อมีการเทียบอัตราของโน้ ตลักษ ระต่างๆ กัน จะมีชื่อเรี ยกการเปรี ยบเทียบ ดังนี ้ การเปรี ยบเทียบ ลอง ( ) กับ เบรเว ( ) เรี ยกว่า โหมด (mode) การเปรี ยบเทียบ เบรเว ( ) กับ เซมิเบรเว ( ) เรี ยกว่า ไทม์ (time) การเปรี ยบเทียบ เซมิเบรเว ( ) กับ มินิม ( ) เรี ยกว่า โปรเลชัน่ (Prolation) หลังจากนี ้สามารถน�ำ Time กับProlation มาใช้ รวมกัน ได้ อีกด้ วย และ มีสญ ั ลักษณ์ใช้ แทนทุกวิธี ต่อมาเมื่อต้ องการ ให้ ลดค่าอัตราของโน้ ต Impaerfecct Time (C) ลงครึ่งหนึง่ ก็ จะใช้ เครื่ องหมาย C เรี ยกว่า 4/4 และ C หมายถึง 2/2 ตามล�ำดับ ในช่วงเวลาของอาร์ โนวา นอกจากที่กล่าวมาแล้ ว ยังเริ่ ม มีการใช้ จดุ ( . )ข้ างหลังตัวโน้ ตเป็ นครัง้ แรกอีกด้ วย 3.3 ระบบยุคฟื น้ ฟู (Renaissance Notation) ช่วงเวลา ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 16 มีการเปลี่ยนแปลง ลด-เพิ่มโน้ ตกับ เครื่ องหมายต่างๆ ที่ส�ำคัญ ดังนี ้ 3.3.1 เบรเว, เซมิเบรเว และมินิม เปลี่ยนจากโน้ ตสีด�ำ ทึบ เป็ นโน้ ตหัวโปร่ง คือ และ ตามล�ำดับ ตัว”ลองกา” ( ) เลิกใช้ ส่วน กลายเป็ นเซมิมินิม และ เป็ นฟูซา (fusa) 3.3.2 จุดที่ใช้ ในโปรเลชัน่ ถูกลดลง 2 จุด ท�ำให้ Minor Prolation ไม่มีจดุ อีกต่อไป และ Major Prolation มีจดุ เหลือ 1 จุด ยุคนี ้นิยมบันทึกโน้ ตแยกเล่มๆ ละแนว ซึง่ ท�ำให้ ไม่คอ่ ย สะดวกนัก ในศตวรรษที่17 นักดนตรี จงึ หันกลับไปบันทึกเป็ น สกอร์ รวม ซึง่ ในยุคอาร์ สอันติควาเคยใช้ มาก่อน 4.การบันทึกโน้ ตส�ำหรับคีย์บอร์ ดและลิวท์ การบันทึกดนตรี ทงั ้ 3 ระบบที่กล่าวมานัน้ หลังจากนันก็ ้ ไม่มีอีกเลย จนกระทังศตวรรษที ้ ่ 14 จึงเริ่ มมีอีกครัง้ หนึง่ 4.1 โน้ ตออร์ แกน (Organ Tablature) ใช้ สตาฟฟ์ บันทึก โน้ ตส�ำหรับแนวบน ใช้ อกั ษรส�ำหรับแนวล่าง ปรากฏเป็ นครัง้ แรกในต�ำราออร์ แกนของเยอรมัน และใช้ กนั จนสิ ้น ศตวรรษที่ 16 4.2 โน้ ตฮาร์ พลิคอร์ ด (Harpsichord Notation) ใช้ สตาฟฟ์ 2 ชุด เหมือนสกอร์ ส�ำหรับคีย์บอร์ ดในปั จจุบนั 4.3 โน้ ตลิวท์ (Lute Tablature) ใช้ เส้ นขนานแนวนอน 6 เส้ นแทนสายลิวท์ทงั ้ 6 สาย ตัวเลขบนเส้ นแทนขีด (fret) ที่ต้อง กด (เลขศูนย์แทนสายเปล่า) และบันทึกอัตราจังหวะเหนือทัง้ 6 อีกหนึง่ ระบบนี ้นิยมใช้ ในสเปนและอิตาลี และใช้ กบั วิโอล่า ได้ ด้วย ในอังกฤษ ฝรั่งเศษ และเยอรมัน นิยมใช้ อกั ษร a,b,c,d แทนสายเปล่า,ขีด 1 ขีด 2, ขีด 3 ตามล�ำดับ

เสียงและพื้นฐานโน้ตดนตรี Sound and basic notation

4


ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโน้ตดนตรีสากล โน้ตดนตรีสากลนั้น ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่

1 สัญลักษณ์ที่ใช้แทนความยาว เสียง หรือความเงียบ คือ ตัวโน้ตและตัวหยุด เช่น w Whole Note ( โน้ตตัวกลม ) , h Half Note ( โน้ตตัวขาว ) เป็นต้น

2 บรรทัด 5 เส้น

ใช้ส�ำหรับ บันทึกตัวโน้ตเพื่อบอกระดับเสียง เช่น โน้ตที่บันทึกหมายถึง ระดับเสียง ที (B) หรือโน้ตที เป็นต้น

3 สัญลักษณ์ที่ใช้ก�ำกับ

เพื่ อ ก�ำหนดความดังเบาหรือเทคนิคการบรรเลง ต่าง ๆ เช่น Crescendo (cres.) หมายถึง เพิ่มเสียงจากเบาไปหาดัง p Piano หมายถึง ให้เล่นเบา เป็นต้น

5

เสียงและพื้นฐานโน้ตดนตรี Sound and basic notation

ในการจะศึกษาหรืออ่านโน้ตดนตรีสากลได้ นั้นผู้ที่สนใจจ�ำเป็นที่จะต้องมีความเข้าใจพื้นฐาน ในเรื่องจังหวะ ดังต่อไปนี้ จั ง หวะในดนตรี ส ากลนั้ น ประกอบด้ อ ง 2 ส่วน ที่ควบคู่ไปด้วยกัน คือ 1. เวลา (Times) ซึ่งถือเป็นหัวใจหลักของดนตรี เลยก็ว่าได้ เวลาในดนตรีนั้น หมายถึงการนับหรือ การเคาะที่สม�่ำเสมอ ส่งผลให้เกิดความเร็วช้าของ เพลง (Tempo) มีค�ำศัพท์ทางดนตรีที่ใช้เรียกการ นับหรือการเคาะที่สม�่ำเสมอนี้ว่า บีท (Beat) มีค่า เป็นจ�ำนวนครั้งต่อนาที (Beat Per Minute หรือ ใช้อักษรย่อว่า BPM) เช่น เพลงนี้มีความเร็ว (Tempo) เท่ากับ 60 หมายความว่า ถ้าเราตบมือ ตามความเร็วของเพลง ในเวลา 1 นาที เราจะ ตบมือได้ 60 ครั้ง 2. รูปแบบของจังหวะ (Rhythm) ซึ่งเป็นการ คิดรูปแบบขึ้นต่างกันไปตาม ความคิดสร้างสรรค์ ของผู้ประพันธ์ ในที่นี้จะขออธิบายและแนะน�ำวิธี การอ่ า นโน้ ต ดนตรี ส ากลเมื่ อ เที ย บกั บ การนั บ 1 Beat ของโน้ตที่นิยมใช้เป็นเกณฑ์ในการนับ 1 จังหวะ คือโน้ตตัวด�ำ หรือ ควาเตอร์โน้ต (Quarter Note) ดังต่อไปนี้


เสียงและพื้นฐานโน้ตดนตรี Sound and basic notation

6


ตัวโน้ตและตัวหยุด (Notes and Rests)

ตัวโน้ต เป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ถูกกำ�หนดขึ้น เพื่อใช้บันทึกแทนเสียงดนตรีหรือเสียงร้อง ตัวหยุด เครื่องหมายที่ใช้บันทึกร่วมกับตัวโน้ต เพื่อให้เสียงเงียบชั่วระยะ เวลาหนึ่ง นานเพียงได ขึ้นอยู่กับเครื่องหมายหยุดนั้น


ลักษณะของตัวโน้ตและตัวหยุด

Notes and Rests

สัญลักษณ์ (Symbol) Whole Note ( โน้ตตัวกลม ) Half Note ( โน้ตตัวขาว ) Quarter Note ( โน้ตตัวดำ� ) Eighth Note ( โน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น ) Sixteenth Note ( โน้ตตัวเขบ็ต 2 ชั้น )

ตัวหยุด (Rest)

w h q

e

x

Whole Rest ( ตัวหยุดโน้ตตัวกลม ) Half Rest ( ตัวหยุดโน้ตตัวขาว ) Quarter Rest ( ตัวหยุดโน้ตตัวดำ� ) Eighth Rest ( ตัวหยุดโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น ) Sixteenth Rest ( ตัวหยุดโน้ตตัวเขบ็ต 2 ชั้น )

สัญลักษณ์ (Symbol)

ๅๅ=

ๅๅ=

ๅๅ= ä ๅๅ= ää ๅๅ= Î

ระดับเสียง Pitch

8


แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ค่าของตัวโน้ต

(Note Duration)

แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ค่าของตัวหยุด

9

ระดับเสียง Pitch

(Rest Duration)


เส้นกั้นห้อง (Bar Line)

เส้นกั้นห้อง คือ เส้นตรงที่ขีดขวางเพื่อแบ่งบรรทัด 5 เส้น ออกเป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนเรียกว่าห้องเพลง เส้นกั้นห้องคู่ คือ เส้นตรง 2 เส้นที่ขีดขนานกันตอนท้ายของบรรทัด 5 เส้น ซึ่งหมายความว่าเพลงได้จบลงตอนหนึ่ง ท่อนหนึ่ง หรือเพลงหนึ่งแล้ว เส้นกั้นห้อง (Bar Line)

Measure (ห้องเพลง)

Measure (ห้องเพลง)

Measure (ห้องเพลง)

เส้นกั้นห้องคู่ (Double Bar Line)

เครื่องหมายก�ำหนดจังหวะ (Time Signature) ในทุกบทเพลงจะมีเครื่องหมายก�ำหนดจังหวะ ซึ่งจะก�ำหนดเป็นตัวเลข โดยทีjเลขตัวบน หมายถึง จ�ำนวนจังหวะใน 1 ห้องเพลง เลขตัวล่าง หมายถึง ตัวโน้ตที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการนับ 1 จังหวะ ซึ่งเป็นสัดส่วนกับโน้ตตัวกลม หรือ (Whole Note) 44 หมายถึง ในหนึ่งห้องเพลงมี 4 จังหวะ เช่น โดยโน้ตตัวดำ� (Quarter Note) มีค่าเท่ากับ 1 จังหวะ 34 หมายถึง ในหนึ่งห้องเพลงมี 3 จังหวะ โดยโน้ตตัวดำ� (Quarter Note) มีค่าเท่ากับ 1 จังหวะ

ตัวอย่าง : การบันทึกโน้ตที่กำ�กับด้วยเครื่องหมายกำ�หนดจังหวะ 44 ระดับเสียง Pitch 10


การนับจังหวะ Rh yth m c o u nt

ในการนับจังหวะของตัวโน้ตนั้น อาจจะมีวิธีที่แตกต่างกันไป แล้วแต่จะมีผู้คิดค้นขึ้น ในที่นี้เป็นวิธีที่ผู้เขียนได้คิดค้นขึ้นมา และเลือกใช้วิธีจากที่อาจารย์สอนมาเพื่อให้ เกิดผลง่ายต่อการอ่านโน้ตดนตรีของผู้เรียน และเป็นวิธีที่ตรงกันมากที่สุด หมายเหตุ : วิธีนี้ใช้ได้กับการอ่านโน้ตที่กำ�กับด้วยเครื่องหมายกำ�หนดจังหวะแบบ หรือ 44 และ 43 เท่านั้น

>>

ให้อ่านว่าโน้ตพร้อมกับการท�ำจังหวะที่สม�่ำเสมอ 1-2-3-4 แล้วหยุดเสียงหรือออกเสียงโน้ต ใหม่พร้อมกับการท�ำจังหวะครั้งใหม่ หลังจากจังหวะที่ 4

11 ระดับเสียง Pitch


>>

ให้อ่านว่าโน้ตพร้อมกับการท�ำจังหวะที่สม�่ำเสมอ 1 - 2 แล้วหยุดเสียงหรือออกเสียง โน้ตใหม่พร้อมกับการท�ำจังหวะครั้งใหม่หลังจากจังหวะที่ 2

ระดับเสียง Pitch 12


>> 13

ระดับเสียง Pitch

โน้ตตัวเขบ็ด 1 ชั้น 2 ตัว มีค่าเท่ากับโน้ตตัวดำ� 1 ตัว ในการนับจังหวะ ตกจะอยู่ตรงจังหวะที่ 1 2 3 และ 4 ส่วน และ นั้นหมายถึงจังหวะยก


>>

ให้อ่านโน้ตแล้วหยุดเสียง หรือ ออกเสียงโน้ตตัวใหม่พร้อมกับการทำ�จังหวะครั้งใหม่

ระดับเสียง Pitch

14


>>

ในหนึ่งจังหวะนั้นจะสามารถบันทึกด้วยโน้ตตัวเขบ็ต 2 ชั้น ได้ 4 ตัว ให้นับดังตัวอย่างข้างต้น

15 ระดั ระดับบเสีเสียยงงPitch Pitch


ลักษณะโน้ตอื่นๆ สัญลักษณ์

w. h. q.

ค่าการนับ 4 + 2 = 6 จังหวะ 2 + 1 = 3 จังหวะ 1 + 1/2 = 1.5 จังหวะ

โน้ตประจุด Dotted Note จุดที่ใส่หลังตัวโน้ต จะท�ำให้โน้ตตัวนั้นมีอัตราจังหวะเพิ่มขึ้นอีกครึ่งหนึ่งของอัตราจังหวะเดิม เช่นโน้ต h มีค่า 2 จังหวะ เมื่อมี (.) ตามหลังจะมีค่าเท่ากับ 2+1 = 3 จังหวะ

ระดับเสียง Pitch

16


โน้ตสามพยางค์ (Triplet Note) หมายถึง กลุ่มโน้ต 3 ตัว ที่ต้องปฏิบัติ ในกรอบของ โน้ต 2 ตัว ตัวอย่างเช่น

3

hhh=hh 3

qqq 3

=

qq

eee = ee ในกรณีนี้ให้อ่านดังตัวอย่างต่อไปนี้

17 ระดับเสียง Pitch


นอกจากนี้ยังมีโน้ตลักษณะอื่นๆ ที่เกิดจากการประสมกันของโน้ตลักษณะดังกล่าวข้างต้นทั้งหมด ดังต่อไปนี้

ระดับเสียง Pitch

18


19 ระดับเสียง Pitch


20 ระดับเสียง Pitch

ระดับเสียง Pitch

20


21

ระดับเสียง Pitch


ระดับเสียง Pitch 22


บรรทัด 5 เส้น

Staff บรรทัด 5 เส้นเป็นบรรทัด ส�ำหรับบันทึกตัวโน้ตและเครื่องหมายหยุด และก�ำหนดระดับเสียงสูงต�่ำของตัวโน้ต ที่บันทึกบรรทัด 5 เส้นมีลักษณะเป็นเส้นตรง 5 เส้น ขีดขนานกันในแนวนอน โดยทั่วไปนิยมนับเส้นล่างสุดเป็นเส้นที่ 1 แล้วนับ ขึ้นไปตามล�ำดับจนถึงเส้นที่ 5 การบันทึกสามารถบันทึกได้ทั้งโน้ตคาบเส้น และโน้ตระหว่างช่อง หากบางเพลงมีระดับเสียงสูง หรือต�่ำไปกว่าขอบเขตของบรรทัด 5 เส้น จะต้องใช้เส้นน้อย (Lager line) ช่วย

กุญแจซอล

G clef Treble Clef)

เป็นกุญแจที่ใช้กันมากใช้บันทึกเสียงดนตรี หรือเสียงร้องที่ มีระดับเสียงสูงๆ การบันทึกจะเขียนหัวกุญแจทับเส้นที่ 2 ของบรรทัด 5 เส้นโดยจะท�ำให้โน้ตที่บันทึกคาบเส้นที่ 2 ของบรรทัด 5 เส้นมีชื่อว่า ซอล หรือ G Note ที่มีระดับ เสียงเหนือกว่า โดกลาง (Middle C)

23 ระดับเสียง Pitch

กุญแจฟา F clef หรืBass Clef)

เป็นกุญแจที่ใช้ใช้บันทึกเสียงดนตรี หรือเสียงร้องที่มีระดับ เสียงต�่ำๆ การบันทึกจะเขียนหัวกุญแจทับเส้นที่ 4 ของ บรรทัด 5 เส้นโดยจะท�ำให้โน้ตที่บันทึกคาบเส้นที่ 4 ของ บรรทัด 5 เส้นมีชื่อว่า ฟา หรือ F Note ที่มีระดับเสียง ต�่ำกว่า โดกลาง (Middle C)


เครื่องหมายแปลงเสียง (Accidental)

สัญลักษณ์

ชื่อเรียก

ความหมาย

#

เครื่องหมายชาร์ป (Sharp)

ใช้เติมหน้าตัวโน้ตเมื่อต้องการให้ ตัวโน้ตนั้นมีเสียงสูงขึ้นจากเดิมครึ่งเสียง

Ü

เครื่องหมายดับเบิ้ลชาร์ป (Double Sharp)

ใช้เติมหน้าตัวโน้ตเมื่อต้องการให้ ตัวโน้ตนั้นมีเสียงสูงขึ้นจากเดิมหนึ่งเสียง

b

เครื่องหมายแฟลต (Flat)

ใช้เติมหน้าตัวโน้ตเมื่อต้องการให้ ตัวโน้ตนั้นมีเสียงต�่ำลงจากเดิมครึ่งเสียง

º

เครื่องหมายดับเบิ้ลแฟลต (Double Flat)

ใช้เติมหน้าตัวโน้ตเมื่อต้องการให้ ตัวโน้ตนั้นมีเสียงต�่ำลงจากเดิมหนึ่งเสียง

n

เครื่องหมายปกติ (Natural)

ใช้เติมหน้าตัวโน้ตเมื่อต้องการให้เสียง ที่เคยถูกแปลงเสียงกลับมาเป็นเสียงปกติ

ตัวอย่างการบันทึกเครื่องหมายแปลงเสียง

ระดับเสียง Pitch

24


M U S I C

T H E O R Y

การอ่านชื่อโน้ตที่ถูกก�ำกับด้วยเครื่องหมายแปลงเสียง

โน้ตดนตรีในดนตรีสากลนั้น 1 ช่วงเสียง (Octave) ถูกก�ำหนดให้มีโน้ตทั้งหมด 12 เสียง ซึ่งแตกต่างจากดนตรีไทย 1 ช่วงเสียง มีโน้ตเพียง 7 เสียง คือ

โด 1

เร 2

1 ช่วงเสียง

มี 3

ฟา 4

โซ(ซอล) 5

ลา ที 6

โด 7

แต่ในโน้ตดนตรีสากลนั้นมีเสียงดังนี้ 1 ช่วงเสียง # # # # # C D F G A C D E F G A b

b

b

b

B

C

b

D E G A B 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ( # ) เครื่องหมายชาร์ป (Sharp) ใช้บังคับให้โน้ตตัวนั้นมีเสียงสูงขึ้นจากเดิมครึ่งเสียง ( b ) เครื่องหมายแฟลต (Flat) ใช้บังคับให้โน้ตตัวนั้นมีเสียงต�่ำลงจากเดิมครึ่งเสียง

หมายเหตุ

โน้ตดนตรีสากลนั้นใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษแทนชื่อตัวโน้ตนั้น ซึ่งแตกต่างจากโน้ตดนตรีไทย ใช้อักษร (ด ร ม ฟ ซ ล ท ดํ) แทนโน้ต โด เร มี ฟา โซ(ซอล) ลา ที โด ตามล�ำดับ เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วจึงมีความจ�ำเป็นต้องมีการก�ำหนดชื่อโน้ตที่ถูกก�ำกับด้วยเครื่องหมายแปลงเสียงเพื่อให้อ่านได้ และเข้าใจตรง กัน วิลเลี่ยม ดักเวอร์ค (William Duckwork) คีตกวีชาวอเมริกันได้คิดค้นการเรียกชื่อโน้ตตามการไล่โน้ตขาขึ้นและขาลงใน บันไดเสียงโครมาติค(Chromatic Scale) : บันไดเสียงที่มีความห่างของโน้ตแต่ละตัวทีละครึ่งเสียง ไว้ดังนี้

บันไดเสี# ยงโครมาติค# (ขาขึ้น) : เติมตัว (i) #หรือเติมสะระ# (อี) ในภาษาไทย # C C Do Di โด ดี

D Re เร

D Ri รี

E Mi มี

F Fa ฟา

F Fi ฟี

G Sol โซ

G Si ซี

A La ลา

A Li ลี

บันไดเสียงโครมาติค (ขาลง)# : เติมตัว (e) # หรือเติมสะระ (เอ) ในภาษาไทย # C B Do Ti โด ที

A Te เท

25 ระดับเสียง Pitch

A La ลา

G Le เล

G Sol โซ

F Se เซ

F Fa ฟา

E Mi มี

D Me เม

D Re เร

B Ti ที #

C Ra รา

C Do โด C Do โด


B A S I C

N O T A T I O N

จากการก�ำหนดข้างต้นจะเห็นว่ามีชื่อโน้ตซ�้ำกันหลายคู่ ท�ำให้ยากต่อการเข้าใจ และจดจ�ำ และให้เป็นไปในทางเดียวกัน ผู้จัด ท�ำขอก�ำหนดชื่อโน้ตทั้งหมดใหม่โดยการตัดชื่อโน้ตที่ซ�้ำกันตัวใดตัวหนึ่งออก เพื่อให้เรียกชื่อเป็นชื่อเดียวและเข้าใจตรงกันดังนี้

การอ่านชื่อโน้ตที่ถูกก�ำกับด้วยเครื่องหมายแปลงเสียง

1 ช่วงเสียง # # # # # C D F G A C D E F G A Do โด

b D Di Re ดี เร

b

E Me Mi Fa เม มี ฟา

b

G Fi Sol ฟี โซ

b

b

A Si La ซี ลา #

B Te เท

B

C

Ti ที

Do โด

b

หมายเหตุ : โน้ตที่เสียงเดียวกันแต่มีชื่อเรียกต่างกัน(Enharmonic Tone) เช่น (C ) และ (D ) และคู่อื่นๆ ก�ำหนดให้เรียก เป็นชื่อเดียวตามที่แสดงข้างต้น

ระดับเสียง Pitch

26


ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง บั น ไ ด เ สี ย ง ( S c a l e ) บันไดเสียง คือ การเรียงล�ำดับเสียงดนตรี จากต�่ำไปหาสูง (Ascending) หรือจากสูงไปหาต�่ำ (Descending) ครบ 8 เสียงโดยไม่มีการข้ามขั้น และความ ครอบคลุมโน้ต ทั้งหมดในหนึ่งคู่แปด (Octave)

ค รึ่ ง เ สี ย ง เ ต็ ม เ สี ย ง ( S e m i t o n e , T o n e ) การที่จะศึกษาเรื่องบันไดเสียงให้เข้าใจได้ดีนั้นต้องศึกษาจากรูปลักษณะของลิ่มเปียโนหรือลิ่มคีย์ บอร์ดอื่นๆ ซึ่งจะท�ำให้เข้าใจเรื่องความห่างของเสียงที่เป็นครึ่งเสียง เต็มเสียง รวมทั้งเสียงที่เป็นเฟลตหรือ ชาร์ปได้เป็นอย่างดี ลิ่มเปียโนจะมีอยู่ 2 ชนิดคือ ลิ่มนิ้วสีด�ำและลิ่มนิ้วสีขาวลิ่มนิ้วสีด�ำจะมีความห่างของเสียงเป็นครึ่ง เสียงทั้งหมด ส่วนลิ่มสีขาวที่มีความห่างของเสียงทั้งครึ่งเสียงและเต็มเสียง ลิ่มนิ้วสีขาวที่มีความห่างเป็นครึ่ง เสียงนั้น สังเกตได้ง่ายคือ จะไม่มีลิ่มนิ้วสีด�ำแทรกไว้


จากภาพจะเห็ น ว่ า ลิ่ ม นิ้ ว สี ข าวที่ ไ ม่ มี ลิ่ ม นิ้ ว สี ดำ � แทรกไว้ คื อ ลิ้ ม นิ้ ว ของเสี ย ง“มี ” กั บ ”ฟา”และ ลิ่มของเสียง “ที” กับ “โด” ซึ่งเป็นลิ่มที่มีระยะห่างของเสียงเป็นครึ่งเสียง

บันไดเสียงไดอาโทนิค (Diatonic Scale) บันไดเสียงไดอาโทนิคประกอบด้วยโน้ต 8 ขั้น แต่ละขั้นมีระยะห่างเป็นหนึ่งเสียงและ ครึ่งเสียงคละกันไป มี 2 ชนิด คือ บันไดเสียงไดอาโทนิคเมเจอร์ (Diatonic Major Scale) และบันไดเสียงไดอาโทนิคไมเนอร์ (Diatonic Minoe Scale)

บันไดเสียง Scale

28


1. บันไดเสียงไดอาโทนิคเมเจอร์ D i at o n i c M a j o r S c a l e

บันเสียงไดอาโทนิคเมเจอร์ หรือเรียกสั้นๆว่า “บันไดเสียงเมเจอร์”ในหนึ่งคู่แปด ประกอบด้วยโน้ต 8 ล�ำดับขั้น แต่ละขั้นมีระยะห่างกันหนึ่งเสียง และครึ่งเสียงคละกันไป

บันไดเสียงไดอาโทนิคทุกบันไดเสียงจะมีโครงการสร้างเหมือนกัน ดังนี้

ขั้นที่ 1-2 ขั้นที่ 2-3 ขั้นที่ 3-4 ขั้นที่ 4-5 ขั้นที่ 5-6 ขั้นที่ 6-7 ขั้นที่ 7-8

29

บันไดเสียง Scale

ระยะห่าง ระยะห่าง ระยะห่าง ระยะห่าง ระยะห่าง ระยะห่าง ระยะห่าง

หนึ่งเสียง ( 2 Semitone ) หนึ่งเสียง ( 2 Semitone ) ครึ่งเสียง ( 1 Semitone ) หนึ่งเสียง ( 2 Semitone ) หนึ่งเสียง ( 2 Semitone ) หนึ่งเสียง ( 2 Semitone ) หนึ่งเสียง ( 1 Semitone )


2.บันไดเสียงไดอาโทนิคไมเนอร์

d i ato n i c M i n o r S c a l e

เมื่อนำ�โน้ตขั้นที่ 6 หรือ ซับมีเดียน (Submediant) ในบันไดเสียงเมเจอร์มาตั้งเป็นโน้ต แล้ว ไล่โน้ตเรียงขึ้นไปจนครบ 8 โน้ต โดยที่ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงระยะห่างของเสียง จะได้บันไดเสียงไดอาโทนิค ไมเนอร์ หรือเรียกสั้นๆว่า”บันไดเสียงไมเนอร์” (Minor Scale)

โครงสร้างของบันไดเสียงไมเนอร์ จะมีระยะครึ่งเสียงในขั้นที่ 2-3, 5-6 นอกนั้น ทุกขั้นจะห่างกันหนึ่งเสียงเต็ม ซึ่งเป็นตัวกำ�หนดความแตกต่างระหว่างบันไดเสียงเมเจอร์ และบันไดเสียงไมเนอร์

ขั้นที่ 1-2 ขั้นที่ 2-3 ขั้นที่ 3-4 ขั้นที่ 4-5 ขั้นที่ 5-6 ขั้นที่ 6-7 ขั้นที่ 7-8

ระยะห่าง ระยะห่าง ระยะห่าง ระยะห่าง ระยะห่าง ระยะห่าง ระยะห่าง

หนึ่งเสียง ( 2 Semitone ) ครึ่งเสียง ( 1 Semitone ) หนึ่งเสียง ( 2 Semitone ) หนึ่งเสียง ( 2 Semitone ) ครึ่งเสียง ( 1 Semitone ) หนึ่งเสียง ( 2 Semitone ) หนึ่งเสียง ( 2 Semitone )

เครื่องหมายตั้งบันไดเสียง Key Signature

เครื่องหมายตั้งบันไดเสียง หรือเรียกอย่างย่อว่า คีย์ดนตรี หรือ คีย์ จะบันทึกถัดจากกุญแจประจ�ำหลัก ในต�ำแหน่ง เริ่มบรรทัดใหม่ หรือปรากฏที่ส่วนอื่นบนบรรทัดหลังจาก เส้นกั้นห้องคู่ (Double Bar) คือกลุ่มของชาร์ปหรือแฟรต (หรือเนเชอรัลในบางกรณี) ที่ก�ำกับบนบรรทัดห้าเส้น เป็นตัวบ่งบอกให้เล่นตัวโน้ตสูงขึ้นหรือต�่ำลงครึ่งเสียง (semitone) ตามต�ำแหน่งที่ก�ำหนด การก�ำหนดเครื่องหมายตั้งบันไดเสียงเช่นนี้ จะมีผลทั้งบรรทัดจนกว่าจะมีการเปลี่ยนคีย์ใหม่ บันไดเสียง Scale 30


เครื่องหมายตั้งบันไดเสียง


(Key Signature)


บันไดเสียงเมเจอร์

33

บันไดเสียง Scale

( Major Scale )


ห ม า ย เ ห ตุ เ ค รื่ อ ง ห ม า ย

คื อ ร ะ ย ะ เ สี ย ง ที่ ห ่ า ง กั น ค รึ่ ง เ สี ย ง 3 - 4 , 7 - 8 บันไดเสียง Scale

34


บันไดเสียงไมเนอร์

35

บันไดเสียง Scale

( Minor Scale )


ห ม า ย เ ห ตุ เ ค รื่ อ ง ห ม า ย

คื อ ร ะ ย ะ เ สี ย ง ที่ ห ่ า ง กั น ค รึ่ ง เ สี ย ง 2 - 3 , 5 - 6 บันไดเสียง Scale

36


ศัพท์ดนตรีที่นิยมใช้




ศัพท์ดนตรีที่บอกความ ช้า – เร็ว ของเพลง



บรรณนานุกรม ดร.ก้องเกียรติ หิรัญเกิด เขียน นรินธน์ นนทมาลย์ เรียบเรียง. คู่มือเรียน เบื้องต้น ถึงประยุกต์การใช้งาน Augmented Reality(AR.) Open Source for Project เล่ม 1. สำ�นักพิมพ์ บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำ�กัด. พ.ศ.2557 ดร.ก้องเกียรติ หิรัญเกิด เขียน นรินธน์ นนทมาลย์ เรียบเรียง. คู่มือเรียน เบื้องต้น ถึงประยุกต์การใช้งาน Augmented Reality(AR.) Open Source for Project เล่ม 2. สำ�นักพิมพ์ บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำ�กัด. พ.ศ.2557 ศาสตราจารย์ ดร. ณัชชา พันธุ์เจริญ. ตำ�ราหมวดทฤษฏีดนตรี เล่มที่ 1. สำ�นักพิมพ์เกศกะรัต KateCarat Press บริษัท ธนาเพรส จำ�กัด 9 ซ.ลาดพร้าว 64 แยก 14 แขวง/เขตวังทองหลวง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 0-2530-4114 โทรสาร 0-2108-8951. พ.ศ. 2551



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.