คู่มือการฝึกพลังจิต เพื่อพัฒนาศักยภาพชีวิตสู่ความส�าเร็จ โดย ท่านอาจารย์วิเชียร อยู่เกตุ อโรคยา เมดิเตชั่น เฮลท์แคร์ พระราม 5 เรียบเรียงโดย บุญญวรรณา บุญประยูร
“ผู้มีบุญวาสนาน้อย จะไม่ได้อ่านหนังสือเล่มนี้จนครบทุกตัวอักษร... หรือแม้จะได้อ่านจนครบถ้วนแล้ว ก็ยังไม่สามารถเข้าใจได้”
����������2.indd 1
3/6/14 11:10 AM
สารบัญ วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมจิต ความเชื่อของมนุษย์ที่มีต่อศาสนา กายและจิตเป็นของคู่กัน เจตสิกตามหลักพระอภิธัมมัตถะสังคหะ ปฏิจสมุปบาท-อริยสัจ 4-ไตรลักษณ์ เริ่มต้นฝึกจิตอบรมจิตด้วยการไหว้พระ สวดมนต์ แผ่เมตตา ไหว้พระสวดมนต์ ช�าระล้างจิตให้สะอาดก่อนการปฏิบัติ สมาทานศีล 5 ศีล 8 สมาทานพระกัมมัฏฐานก่อนเริ่มฝึกจิต แผ่เมตตาในภาวนา , แผ่เมตตาในสมาธิ , แผ่เมตตาในฌาน โยนิโสมนสิการในการฝึกจิต หลักธรรมที่ประกอบการฝึกอบรมจิตเพื่อให้เกิดความส�าเร็จ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นบ่อเกิดแห่งความสุข บุรพกิจของจิต 5 ประการ ศีลที่ต้องปฏิบัติ ตัดปลิโพธ แสวงหากัลยาณมิตร 7 สถานที่สัปปายะเพื่อการเจริญภาวนา จริต 6 กายคตาสติที่ต้องเรียนรู้ นิวรณ์ 5
����������2.indd 1
3/6/14 11:10 AM
ขันธ์ 5 ที่ต้องเรียนรู้ก่อนการปฏิบัติ อายตนะ 12 ทีปนีกรรม 12 การสร้างบุญ 10 ประการ สังคหวัตถุ 10 ประการ อิทธิบาท 4 ฆารวาสธรรม 4 ที่ควรรู้จัก สัปปุริสธรรม 7 ประการ แนวทางแห่งโพชฌงค์ 7 ประการ อุปกิเลส 16 ฝึกอภิญญา 6 เพื่อชีวิตประจ�าวัน นิมิต 3 วสี ฌาน 4 บาทแห่งฤทธิ์ สมาบัติ 8 อรูปกัมมัฏฐาน 4 มรรค 8 คือ แนวทางแห่งชีวิตที่แท้จริง
����������2.indd 2
3/6/14 11:11 AM
คู่มือภาคปฏิบัติ “การฝึกพลังจิต เพื่อพัฒนาศักยภาพชีวิตสู่ความส�าเร็จ” เริ่มปฏิบัติด้วยการไหว้พระ สวดมนต์ วิธีการไหว้ครูและการอธิษฐานจิต การเป็นลูกหนี้ชั้นดีด้วยการใช้หนี้กรรมเจ้ากรรมและนายเวร 26 ข้อ ปริศนาธรรมกุญแจ 3 ดอก สรุปหลักการทั่วไปในการฝีกสมาธิ 16 ข้อ ภาคผนวก
3
����������2.indd 3
3/6/14 11:11 AM
ค�าน�าผู้เรียบเรียง “พลังจิต คือ ขุมทรัพย์อันยิ่งใหญ่ที่มีอยู่ภายในตัวเราทุกคน” ตั้งแต่วัยเด็ก ท่านอาจารย์วิเชียร อยู่เกตุ มีชีวิตที่ยากล�าบาก ซึ่งพวกเรา ครอบครัวอโรคยาได้ฟังเกร็ดชีวิตของท่านอาจารย์ก่อนที่จะมาเป็นหมอพญายม จากตัวท่านอาจารย์เอง และผ่านสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอินเตอร์เนต คลิปรายการ ต่างๆ ที่เชิญท่านอาจารย์ไปเป็นวิทยากร หรือ จากหนังสือหมอพญายม ที่แพร่หลาย มาตั้งแต่ปี 2552 แล้ว ไม่ว่าจะเป็นช่วงใดของชีวิตที่ลิขิตให้ท่านอาจารย์ วิเชียร อยู่ เกตุ ต้องสวมบทบาทนักต่อสู้ในบทต่างๆ กันไป สิ่งหนึ่งที่ไม่เคยขาดไปจากชีวิต ประจ�าวันของท่านอานจารย์เลยเลย คือ การไหว้พระ สวดมนต์ แผ่เมตตา และ การนั่งสมาธิ นั่นอาจจะเป็นแรงผลักดันที่เกิดจากสัญชาติญาณที่ต้องดิ้นรนเอาตัว รอด สิ่งแวดล้อมในอ�าเภอสามโคกที่ญาติที่เลี้ยงดูท่านในวัยเด็กได้อบรมไว้ คือ การ ไหว้พระสวดมนต์ และหรือคือผลการสั่งสมบุญข้ามภพข้ามภูมิตามความเชื่อทาง ศาสนา แต่นี่คือจุดเริ่มต้นของการเดินตามรอยพระศาสดา . . . จนในที่สุด ท่าน อาจารย์ก็ได้ค้นพบกับพลังอันยิ่งใหญ่ที่ซ่อนเร้นอยู่ในตัวเราทุกคน นั่นคือ “พลังจิต” พลังจิตที่ท่านอาจารย์ได้สัมผัสและน�ามาช่วยเหลือผู้อื่นนั้น เกิดจากแรง ศรัทธาอันบริสุทธิ์ ต่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ปฏิปทา หรือ การปฏิบัติ ดีปฏิบัติชอบของเกจิอาจารย์ในยุคนั้นที่ท่านอาจารย์ได้มีโอกาสไปรับใช้ สนทนา ธรรม และเรียนรู้วิชา (พระพุทธศาสนา) นี่เอง ความมุ่งมั่น และ ความมั่นคงใน พระธรรมค�าสอนนี้ทา� ให้ท่านอาจารย์ปฏิบัติธรรมและศึกษาสมถะ กัมมัฏฐาน และ วิปัสสนา มาเป็นเวลากว่า 48 ปี จวบจนปัจจุบันนี้ 4
����������2.indd 4
3/6/14 11:11 AM
กเรา ายม ยการ หลาย ร อยู่ กชีวิต และ อาตัว การ อทาง ท่าน งจิต” กแรง ฏิบัติ ทนา คงใน และ
ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือคู่มือฝึกพลังจิต เพื่อพัฒนาศักยภาพ ชีวิตสู่ความส�าเร็จ เล่มนี้ จะเป็นกุญแจส�าคัญส�าหรับทุกท่านที่ค้นหาหนทางแห่ง การบรรเทาทุกข์ และสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับชีวิต ตามหลักธรรมค�าสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เป็นอย่างดี เมื่อท่านศึกษาคู่มือนี้แล้วและ ได้น�าแนวทางไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ท่านจะพบกับความมหัศจรรย์ของพลังจิตได้ ด้วยตัวท่านเอง บุญญวรรณา บุญประยูร ผู้เรียบเรียง อโรคยา เมดิเตชั่น เฮลท์ แคร์ พระราม 5
5
����������2.indd 5
3/6/14 11:11 AM
ค�าน�า พลังใดใด ในโลกนี้ไม่ยิ่งใหญ่กว่าพลังที่เกิดจากจิต ค�ากล่าวนี้คือ ข้อความที่มีความหมายและส�าคัญยิ่ง ทรงพลังและมีพลานุ ภาพ ซึ่งความจริงมันก็เป็นเช่นนั้น เนื่องจากพลังจิต คือ พลังงานที่ขับเคลื่อนจากภายในสู่ภายนอก เป็น พลังงานที่เกิดจากมนุษย์ และมนุษย์เองก็คือ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวในโลกที่มีความ สามารถในการเปลี่ยนแปลงพลังงานอันยิ่งใหญ่ที่เรียกว่า พลังจิตให้เกิดขึ้น เป็นไป ได้ทั้งมุมบวกและมุมลบรวมถึงการสร้างสรรค์และท�าลาย ด้วยอารมณ์ ด้วยความ รู้สึก รวมถึงการแสดงออก ดังจะเห็นได้จากผลของการกระท�า ที่เรียกว่า “กรรม” ดังเช่นผลของการกระท�าที่ปรากฏในข่าวและสื่อประเภทต่างๆ ที่น�าเสนอทุกวัน สร้างแรงกดดันในสังคม ให้ทั้งผลดีและไม่ดีอย่างต่อเนื่อง ผลของการกระท�านี้เรา เรียกว่า ผลแห่งกรรม หรือ “วิบากกรรม” ความส�าเร็จทั้งหลายที่เกิดขึ้นมาทุกวันนี้ ล้วนเป็นผลของการการท�าที่ก่อ เกิดจากการเริ่มต้นที่จิต ถ้าจิตปรารถนสิ่งที่ดี ผลของกรรมก็ก่อให้เกิดแต่สิ่งดีงาม ถ้าผลของการริเริ่มที่จิตไม่ดี เช่นเดียวกัน ผลของกรรมที่กระท�าไว้ก็คงด�าเนินไปใน ทางที่ไม่ดี สุดแล้วแต่ใครจะสรรค์สร้างแนวทางความคิดที่ก่อให้เกิดพลังจิตทั้งทาง บวกและทางลบ แต่ในปัจจุบันโลกใบนี้ คนจ�านวนมากก�าลังแสวงหาความยิ่ง ใหญ่โดยการย่อโลกให้เล็กลง ด้วยการน�าเทคโนโลยีต่างๆ นานาสารพันมาใช้กับคน และสัตว์ และแม้ว่าในสังคมปัจจุบันกระแสความสนใจในเรื่องของพลังจิตใต้ส�านึก ก�าลังได้รับความนิยมและมีการฝึกหัดกันอย่างแพร่หลาย แต่จะมีสักกี่คนที่เล็งเห็น 6
����������2.indd 6
3/6/14 11:11 AM
ลานุ
เป็น ความ ป็นไป ความ รรม” กวัน นี้เรา
ที่ก่อ ดีงาม ไปใน งทาง ามยิ่ง บคน านึก งเห็น
ความส�าคัญของการใช้จิตส�านึก หรือจิตใต้ส�านึก ที่มีอยู่ในตัวตนของเราน�าออกมา เพื่อใช้แก้ปัญหาสังคม ความเป็นอยู่ สภาพแวดล้อม และความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิด ขึ้นในประเทศของเรา รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับโลกของเรา การศึกษาเรื่องพลังจิตเพื่อให้เข้าสู่ขบวนการของจิตและเหตุแห่งการกระท�า ของมนุษย์นั้น ทั้งชาวตะวันออกและชาวตะวันตก มีแนวคิดและจุดเน้นที่แตก ต่างกัน จิตวิทยาแบบตะวันตกเน้นการศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้อง กับสิ่งแวดล้อมในระดับจิตส�านึก จิตไร้สา� นึกของมนุษย์ที่แฝงอยู่ในความเชื่อทาง ศาสนาไม่เน้นวิธีปฏิบัติ เพื่อให้รู้เท่าทันจิต เหมือนอย่างแนวความคิดทางตะวัน ออก ซึ่งสอนให้บุคคลรู้จักแบ่งแยกความรู้ต่างๆ ระหว่างความจริงของตนเองกับ ความลวงทางอารมณ์และความรู้สึก ท�าลายกรอบแห่งความคิดปรุงแต่ง ด้วยการ บ�าเพ็ญเพียรทางจิต ด้วยสมาธิและวิปัสสนาตามหลักอภิธรรม เพื่อให้เห็นแจ้ง เห็น จริงตามอนัตตา คือความเป็นจริงที่ปรากฏขึ้นแล้วดับไป ความจริงในโลกนี้มี 2 ระดับ คือ ความจริงระดับสมมติ และระดับปรมัตถ์ ความจริงระดับสมมตินั้น บัญญัติโดยอาศัยเนื้อความ รูปร่าง และภาษาเรียก เป็นความจริงที่ต้องขึ้นกับ การอ้างอิงและเปรียบเทียบ ซึ่งเข้าใจกันเฉพาะกลุ่มชนที่ใช้ภาษาและวัฒนธรรม เดียวกันเท่านั้น ส่วนความจริงปรมัตถ์จะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามกลุ่มชน สถานที่ หรือยุคสมัย ความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบัญญัติธรรมกับปรมัตถ์ธรรมท�าให้ สามารถวิเคราะห์ถึงความเป็นจริงของตนเองและของโลกได้เป็นอย่างดีและถูกต้อง ไม่ตกเป็นทาสของสิ่งที่มนุษย์สมมติขึ้นมา ไม่ยึดติดบัญญัติธรรมที่เป็นรูปลักษณ์ แล้วเลือกหันมาศึกษาและเรียนรู้ทางด้านปรมัตถ์เพื่อให้เห็นความจริง เมื่อนั้นเรา 7
����������2.indd 7
3/6/14 11:11 AM
ท่านทั้งหลายก็จะพบแต่ความสุขความส�าเร็จ แก่นพุทธรรมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตนั้น จ�าเป็นที่จะต้องศึกษาถึงหลักการอ้างอิง ที่อาศัยกันและกัน ทุกอย่างเกิดขึ้นมาล้วนมีเงื่อนไขของรูปธรรมและนามธรรมว่ามี เหตุท�าให้เกิดขึ้น และมีปัจจัยสนับสนุนเหตุนั้นให้เจริญและตั้งมั่นอยู่ตามแบบแผน ที่ตั้งใจให้เห็น และมีผลต่อขบวนการชีวิตและความเป็นอยู่ ให้เป็นไปตามวัฏฏะ สงสาร ที่มีธรรมชาติของการอ้างอิงอาศัยกันและกัน เพื่อก่อให้เกิดการริเริ่มต้นและ ดับไป โดยมีกิเลสเป็นตัวสนับสนุน และมีตัณหาคือความทยานอยาก เป็นตัวส่ง ก�าลังความคิดความต้องการในสิ่งต่างๆ ที่จิตต้องการ รวมถึงอวิชชา คือความไม่รู้ แจ้งเห็นจริง เป็นตัวปลุกระดมความคิด และเมื่อกระท�าแล้วก็ย่อมต้องมีกรรมตาม มาเป็นวิบาก คือ สิ่งที่ต้องน้อมรับจากการกระท�า แล้ววิบากก็ก่อให้เกิดเหตุต่อ เนื่องอีก จึงท�าให้อารมณ์ต่างๆ เช่น โทสะ คือความผูกโกรธ โมหะ คือความหลงไป ในสิ่งต่างๆ และโลภะ คือความอยากได้อยากมี เป็นสภาวะหมุนเวียอยู่อย่างนั้นไม่ จบสิ้น จึงเป็นเหตุให้มีการสร้างเหตุและก่อให้เกิดผลแก่กันและกัน เป็นไปตามกฎ แห่งกรรมอย่างไม่มีวันสิ้นสุด ความหมุนเวียนของชีวิต คือ ความวนเวียนไปกับสิ่งที่เห็น ที่รู้ในการได้ยิน และรู้สึกนึกคิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างจ�าเจและซ�้าซาก ตั้งแต่ชีวิตเริ่มต้นจนกระทั่ง จบลง คือ ความตายมาเยือน พฤติกรรมด้านร่างกายก็มีความซ�้าซาก เช่น การกิน การนั่ง การยืน การเดิน การนอน สลับสับเปลี่ยนเช่นเดิมทุกอย่าง พฤติกรรมดัง กล่าวนี้ จึงเป็นความหมุนเวียนสลับกันไปในเรื่องที่ต้องรับรู้ทางทวารทั้งหก และ อิริยาบทต่างๆ ซึ่งอาการดังกล่าวเรียกว่า วัฏฏะ ซึ่งแปลว่าหมุนไป การกระท�าต่างๆ ที่มนุษย์แสดงออก เป็นผลมาจากการกระท�างานร่วมกันของร่างกายและจิตใจ มี 8
����������2.indd 8
3/6/14 11:11 AM
างอิง มว่ามี แผน ฏฏะ และ ตัวส่ง มไม่รู้ ตาม ตุต่อ ลงไป นั้นไม่ มกฎ
ด้ยิน ระทั่ง ารกิน รมดัง และ ต่างๆ จ มี
ผลทางอารมณ์ให้ได้รับรู้ และตัดสินอารมณ์เหล่านั้นไปตามใจของตน มีทั้งความ พอใจในอารมณ์และไม่พอใจในอารมณ์ การสั่งสมมาช้านานเช่นนี้ เป็นกระบวน การสืบต่อเนื่องกันไปอย่างไม่มีสิ้นสุดเรียกว่า วัฏฏะสงสาร ภาวการณ์สั่งสมนี้ทา� ให้จิตและกายมีกรรมครั้งแล้วครั้งเล่า จนอ�านาจเหล่า นั้นท�าให้จิตมีบทบาทในการสร้างกรรมของมนุษย์มากที่สุดและยิ่งเป็นใหญ่ กาย เป็นบ่าวก็ต้องค่อยรับใช้จากนาย ที่คอยบัญชาการอยู่ภายใน ก่อให้เกิดผลดีและ ร้ายต่อชีวิต ฉะนั้น การวิเคราะห์เจาะลึกถึงการปรับปรุง แก้ไขในชีวิต ควรต้องเจาะ ลึกลงไปในขบวนการของจิต จะท�าให้ทราบพฤติกรรมของการเกิดเหตุของมนุษย์ ได้ดีมาก การน�าความรู้ที่เกิดขึ้นจากทางปัญญาน�ามาแก้ไขและอบรมจิต รวมถึง การพัฒนาจิตจะได้ผลมากกว่าการน�ากายมาวิเคราะห์ หรือมารวมถึงการรักษาและ เยียวยา เพราะเหตุว่ากายเป็นเพียงผู้ตาม และเป็นทาสที่ซื่อสัตย์คอยรับใช้หน้าที่ เรียกว่าจิตจนตัวตาย การน�าองค์ความรู้ที่เรียกว่า ปัญญารู้ คือ วิชชา น�ามาแก้ไข และอบรบจิตจึงถือว่าเป็นการแก้ที่ถูกทางและถูกต้อง ในเมื่อมนุษย์ที่เกิดมาจะต้องอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรมและวัฏฏะสงสาร คือ ความหมุนเวียนของกิเลส กรรม วิบากกรรม ไปตามกาลเวลาอันยาวนาน อย่าง น้อยก็หนึ่งชั่วชีวิต ท�าไมไม่จัดการแก้ไขและอบรมจิตเพื่อส�าเร็จกิจทางโลกและ ทางธรรมให้เป็นผลส�าเร็จแบบถาวร จะได้ไม่ต้องเวียนว่ายในวัฏฏะสงสาร และจะได้ไม่ต้องทรมานกับเหตุและผลที่กระท�าลงไป เมื่อน�าจิตของเรามาฝึกให้ รู้ในวิชชา คือ ความเห็นแจ้ง เห็นจริงตามหลักธรรมะที่เป็นหลักของธรรมชาติ ที่มี ความจริงเป็นอนัตตา เมื่อจิตได้รับการฝึกอบรมและแก้ไขในสิ่งที่ถูกต้องแล้วน�า กลับไปใส่ในการใหม่ เมื่อนั้น ท่านจะพบแต่ความสุข ความสบาย อย่างที่ท่านไม่ 9
����������2.indd 9
3/6/14 11:11 AM
เคยประสบมาก่อน จะมีความเป็นไปได้หรือไม่ ที่จะปรับปรุงอะไรก็ตามในโลกใบนี้ให้เกิดขึ้น มาตามที่เราต้องการโดยไม่ใช้จิตหรือพลังความคิด แน่นอนที่สุด ค�าตอบคงจะ เป็นเรื่องยากมากที่จะส�าเร็จ และไม่มีความสำเร็จถ้ากายไม่ให้ความร่วมมือหรือ มีความเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับกาย รวมถึงความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นจากจิตใจด้วย เมื่อ ท่านรู้ตัวว่าป่วยเป็นโรคร้ายต่างๆ เช่น มะเร็งหรือโรคไต และโรคร้ายอื่นๆ ที่เกิดขึ้น กับร่างกาย ระดับความมั่นคงของท่านจะลดลงทันที นอกจากทางกายแล้ว จิตใจ ของท่านก็จะท้อและอับเฉา เบื่อหน่าย บางครั้งก็รู้สึกอยากตายก่อนเวลา แต่ใน ความเป็นจริงแล้วท่านไม่สามารถกระท�าได้เลย เพราะว่าอ�านาจแห่งกรรม คือ การก ระท�านั้นไม่มีที่สิ้นสุด ฉะนั้น การฝึกจิตจึงมีประโยชน์มากมายมหาศาล เพราะว่า มีการควบคุมความคิด ควบคุมอารมณ์ รวมไปถึงการรู้ดูเห็นสิ่งที่มากระทบกับ อายตนะ ทั้งภายในและภายนอก และเฝ้าระวังมิให้ก่อเกิดกรรมใหม่ที่ไม่ดี เมื่อ จิตใจมีอา� นาจ มีการจัดระเบียบและมีแนวทางของจิตที่ตั้งมั่น มีพลัง และพลานุ ภาพอย่างเปี่ยมล้นแล้ว เมื่อนั้น ความส�าเร็จและความสุขทั้งหลาย ก็จะมาหาท่าน และอยู่กับท่านตลอดไปทั้งชาตินี้และชาติหน้า หากเราท่านทั้งหลายได้ปล่อยให้สมองได้พักผ่อนลงบ้าง และปล่อยหน้าที่ ให้กับอุปกรณ์ชิ้นใหม่ที่เรียกว่า “พลังจิต” เข้ามาท�าหน้าที่ดูแลกายและบริหาร สภาวะจิตจะดีกว่า เพราะพลังจิตเป็นพลังงานธรรมชาติที่ติดตัวท่านมาตั้งแต่ยังไม่ เกิดจนไปถึงเกิดใหม่ในภูมิภพหน้า ท�าหน้าที่ดูแลท่านและเป็นเพื่อนใหม่ที่ซื่อสัตย์ มีประสิทธิภาพหลายร้อยหลายพันเท่า ท�าไมจึงกล่าวเช่นนั้น ? เพราะพลังจิตเป็นเรื่องที่แตกต่างออกไปจากจิตใจ 10
����������2.indd 10
3/6/14 11:11 AM
ดขึ้น คงจะ อหรือ เมื่อ ดขึ้น จิตใจ แต่ใน การก าะว่า บกับ เมื่อ ลานุ ท่าน
น้าที่ ริหาร ยังไม่ สัตย์
จิตใจ
และสมอง ทั้งสองสิ่งนี้มีหน้าที่แตกต่างกันและเป็นคนละเรื่องอย่างแท้จริง สมอง เป็นเพียงกลไกทางร่างกายที่ท�างานผ่านส่วนของจิตใจ ซึ่งมีอารมณ์ ความมุ่งมั่น ปรารถนานานาประการ และถ่ายทอดความต้องการเหล่านี้ ไปยังส่วนต่างๆ ของ ร่างกาย รวมถึงการกระท�าต่างๆ ที่แสดงออกมาให้รู้หรือเก็บเงียบไว้ภายใน ไม่มี เวลาว่างและไม่มีเวลาหยุดคิด บางครั้งก็มีการพูดชักน�าให้เกิดพลังแห่งความคิด เมื่อผนวกทั้งสองเข้าด้วยกันจึงมีการกระท�าทั้งดีและไม่ดีตามมา ความคิดนั้นเดินทางได้ไวกว่าเสียงและแสง เร็วกว่าลูกปืนที่ความเร็วสูง สามารถเดินทางรอบโลกได้เพียงกระพริบตาเดียว สามารถสร้างโลกใบนี้ให้เป็น อะไรตามที่ใจนึกคิดและฝันไว้ ตามจินตนาการ และเมื่อความคิดได้พัฒนาจนข้าม ขีดจ�ากัดสูงสุด เมื่อนั้นพลังความสามารถต่างๆ จะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยเท่าพันทวี แต่ ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เป็นเพียงเรื่องของความคิดและจิตใจ ท่านลองคิดดูว่าถ้าท่าน น�าจิตของท่านมาฝึกให้เกิดพลังจิต แล้วน�ามาใช้งานได้เป็นอย่างดีรวมกับกาย จะเกิดอะไรขึ้น ? ค�าตอบ คือ ความวิเศษที่สุดที่สามารถท�าได้เช่นนั้น ข้าพเจ้าที่เล็งเห็นความส�าคัญของการฝึกจิตเพื่อให้อยู่คู่กับกายได้อย่าง สันติสุข และมีการสนับสนุนซึ่งกันและกันเป็นอย่างดี มีการเอื้ออาทรในการน�าพา ชีวิตสู่ความส�าเร็จทั้งทางโลกและทางธรรม รวมถึงการสร้างสรรค์สังคมให้สงบ สุข ตลอดเวลากว่า 40 ปี ข้าพเจ้าได้สร้างความส�าเร็จในการใช้พลังจิตศาสตร์ รวมถึงการได้กลั่นกรองเทคนิคต่างๆ มากมายในการน�าพลังจิตมาใช้รักษาโรค และ ทางด้านโชติยศาสตร์ (วิชาโหราศาสตร์) โดยใช้พลังจิตเป็นแกนน�าในการพยากรณ์ โชคชะตา และการตี่ลี่ฮวงจุ้ยที่แม่นย�า และสามารถท�าให้เกิดความสุขทั้งทางกาย 11
����������2.indd 11
3/6/14 11:11 AM
และทางใจ รวงถึงการบ�าบัดรักษาอาการทางจิตให้กับบุคคลทั่วไปมาแล้วกว่า 146 ประเทศ ส�าหรับผลงานด้านการน�าเสนอการพัฒนาจิต เขียนหนังสือไว้มากมาย หลายเล่ม อาทิเช่น Energy Power of Mind , Meditation in Thailand , หนังสือ คู่มือการฝึกอบรมจิตเพื่อปรับศักยภาพชีวิตสู่ความส�าเร็จ , ตามรอยพระศาสดา , เจ้าหนี้ที่ไม่มีตัวตนแต่คนกลัว เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีผลงานด้านการสอนและการ บรรยายตามมหาวิทยาลัยชั้นน�าทั้งในประเทศและต่างประเทศ อันที่จริงแล้ว การศึกษาพลังจิตไม่ใช่เรื่องยากและไม่เป็นเรื่องซับซ้อน การ เรียนรู้การใช้เทคนิคและการเพิ่มพูนพลังจิต กระท�าได้งายและได้ผลดี สามารถน�า มาใช้กับชีวิตประจ�าวันได้เป็นอย่างดี มีประโยชน์มหาศาลทั้งชาตินี้และชาติหน้า และการตรวจสอบโชติยศาสตร์ (วิชาพยากรณ์ชีวิตด้วยพลังจิตโบราณ) ผู้ที่มารับ การบ�าบัด การดูแลทางจิต และอาการเจ็บป่วยที่เกิดขี้นทางากร รวมถึงจิตวิญญาณ จนถึงปัจจุบันนี้มีจา� นวนนับแสนรายที่หายจากการเจ็บป่วย และมีหน้าที่การงานที่ ดีขึ้น การใช้ชีวิตในสังคมมีประสิทธิภาพกว่าแต่ก่อน ผู้คนจ�านวนมากยังคงเดิน ทางมาจากทั่วโลกเพื่อใหข้าพเจ้าได้ดูอาการ บ�าบัดรักษาและชี้แนะปัญหานานา ประการที่เกิดขึ้นในสังคมยุคปัจจุบัน การแนะน�าพลังจิตเป็นเรื่องที่ไม่ง่ายในการน�าเสนอหรือชี้แจงได้ในเวลาอัน สั้น แต่การศึกษาพลังจิตจะส�าเร็จได้ทุกท่านถ้าตั้งมั่นในการเรียนรู้ การท�างานของ ข้าพเจ้าด้วยการใช้พลังจิตถูกพิสูจน์ครั้งแล้วครั้งเล่าจากบุคคลทั่วโลก ที่จริงแล้ว พลังจิตเป็นแหล่งพลังงานใหญ่ที่สุดด้วยการมีความคิดที่ดีและมีการควบคุมที่ดี และถูกต้อง พลังงานทางจิตจึงจะสามารถท�าให้ร่างการมีสุขภาพที่สมบูรณ์ ความ เจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน ความสุข และความสามารถทั้งหลายในโลกใบนี้ ทุก 12
����������2.indd 12
3/6/14 11:11 AM
146 มาย นังสือ ดา , ะการ
การ ถน�า หน้า มารับ ญาณ านที่ งเดิน นานา
าอัน นของ แล้ว มที่ดี ความ นี้ ทุก
สิ่งที่เราต้องการ และอยากให้เป็นไปในทางที่ดี รวบถึงสิ่งเราครอบครองเป็นผล โดยตรงจากการศึกษาและฝึกอบรบจิตทั้งสิ้น และเพื่อให้การฝึกพลังจิตได้เกิดประโยชน์ต่อผู้ที่เดินทางมาขอความช่วย เหลือและค�าชี้แนะจากข้าพเจ้าทั้งในเรื่องสุขภาพกายและจิต จึงได้เขียนหนังสือเล่ม นี้ขึ้นเมื่อปี 2549 และในปัจจุบันปี 2557 คุณปรีชา หรือบ่าวนนท์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการ ผลิตและบันทึกเทปได้จัดท�าซีดีประกอบการฝึกพลังจิต เพื่อให้ท่านทั้งหลายได้ใช้ เป็นแนวทางในการปรับศักยภาพชีวิตสู่ความส�าเร็จ การปฏิบัติและฝึกพลังจิตรวมถึงเทคนิคต่างๆ ล้วนเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ในการน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวัน ท่านที่สนใจสามารถเข้ารับการฝึกอบรมสมาธิ เพิ่มบุญ ลดบาป และฝึกพลังจิตได้ทุกวันศุกร์และวันเสาร์ เวลา 19:30 น. เป็นต้นไป การฝึกพลังจิตนั้นไม่มีข้อจ�ากัด แม้กระทั่งผู้ที่มีสมาธิสั้นก็สามารถฝึกพลังจิตได้เช่น เดียวกัน จากประสพการณ์ที่ข้าพเจ้าเองได้ใช้พลังจิตทุกวันและเห็นผลเลิศมาเป็น อย่างดี หวังว่าท่านที่สนใจในพลังงานทางจิต จะเข้ารับการอบรมฝึกพลังจิต หรือน�า คู่มืออบรมพลังจิตเพื่อปรับศักยภาพชีวิต สู่ความส�าเร็จ ฉบับนี้ไปฝึกฝนจนสามารถ ใช้พลังจิต และค้นพบความมหัศจรรย์ ในตัวท่านเอง แล้วน�ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดสืบต่อไป ข้าพเจ้า อาจารย์จิรัฏฐ์กร (วิเชียร) อยู่เกตุ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ท่านที่มุ่งมั่น และลงมือปฏิบัติตามค�าสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะได้พบกับ ความมหัศจรรย์แห่งพลังจิต ซึ่งเป็นขุมทรัพย์อันยิ่งใหญ่ ที่อยู่ในตัวเราทุกคน ด้วยตัว ท่านเอง และจะได้พัฒนาปรับดุลยภาพชีวิตของท่านให้มีความสุข ความสมหวัง มี 13
����������2.indd 13
3/6/14 11:11 AM
สุขภาพร่างกายและจิตใจที่แข็งแรง สมบูรณ์ และเดินตามรอยพระศาสดา ไปสู่การ ค้นพบความจริงอันยิ่งใหญ่ตามที่องค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสสอนไว้ด้วยตัว ท่านเอง ขอยินดีในบุญกับทุกท่านที่มีส่วนในการท�าให้หนังสือเล่มนี้กลับคืนมามีชีวิต อีกครั้ง และได้เผยแพร่ให้กับมนุษย์ผู้ประเสริฐที่จะได้สืบสานพระพุทธศาสนาสืบ ต่อไป อาจารย์จิรัฏฐ์กร (วิเชียร) อยู่เกตุ หมอพญายม , แพทย์หมดทางเลือก อโรคยา เมดิเตชั่น เฮลท์ แคร์ พระราม 5 3 มีนาคม 2557
14
����������2.indd 14
3/6/14 11:11 AM
สู่การ ยตัว
ชีวิต าสืบ
ก ม5
ความเชื่อของมนุษย์ในโลกใบนี้ที่มีต่อศาสนา ความเชื่อของมนุษย์ที่เกิดขึ้นมาบนโลกใบนี้ ความต้องการขั้นมูลฐาน อยู่ 4 ประการคือ ความต้องการทางร่างกายเพื่อให้ตนเองอยู่รอด ความต้องการ ทางสังคม เพื่อให้ตนเองมีศักดิ์ศรีและเป็นที่ยอมรับของสังคม ความต้องการทาง ปัญญาเพื่อการเรียนรู้ และความต้องการทางจิตวิญญาณเพื่อขจัดทุกข์ทางใจ ความต้องการทางร่ายกายมนุษย์ สามารถค้นหาค�าตอบได้จาก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีอยู่บนโลกใบนี้ ซึ่งมีวิธีการมากมายให้เลือกศึกษา และหาความรู้ใส่ตน แล้วน�าไปปฎิบัติให้ตนเองสู่ความส�าเร็จ ความต้องการ ของมนุษย์ทางสังคม สามารถแสวงหาได้จากทางคุณค่าสังคมทางวัตถุ โดยการ ขวนขวายและเสาะหา รวมถึงการสะสมให้เกิดทรัพย์และสมบัติ หรือคุณค่าทาง จริยธรรมที่สังคมนั้นๆ ก�าหนดให้เป็นไป ความต้องการทางปัญญา มนุษย์แสวงหา ค�าตอบได้จากปรัชญาและวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ส่วนความต้องการทางวิญญาณ และจิต ซึ่งเป็นธาตุรู้ ศาสนาเท่านั้นที่สามารถให้ค�าตอบและตอบสนองความ ต้องการได้ แล้วน�าไปปฎิบัติตามแนวทางแห่งศาสนา ก็จะได้ค�าตอบที่ต้องการ ปัญญาในที่นี้ หมายถึง ศักยภาพทางความคิดต่อการรู้จักตนเอง รู้จัก โลก รู้จักจักรวาล รู้จักการคิดและตอบค�าถามได้ ตนเองเกิดมาเพื่ออะไร เป้า หมายของชีวิตคืออะไร และจะบรรลุเป้าหมายของ ชีวิตนั้นๆ ได้อย่างไร แต่ทั้งหมดอาศัยความเชื่อเป็นต้นเหตุผนวกกับความศรัทธาจึงเป็นทั้งเหตุ และผลในตัวเอง ความเชื่อ เป็นปรา กฎการณ์ทางจิตของมนุษย์ ที่เกิดจากการสนองความ 15
����������2.indd 15
3/6/14 11:11 AM
ต้องการ อยากรู้อยากเห็น จัดว่าเป็นสัญชาติญาณดั้งเดิม เริ่มต้นตั้งแต่มนุษย์เกิด มาเป็นทารก และมีการพัฒนาการ กลายมาเป็นความใคร่รู้ในวัยเด็ก จนเจริญ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ ในวัยเด็กมนุษย์แสวงหาความเชื่อและอยากรู้จากประสบการณ์ ด้วยประสาทสัมผัส เช่น การใช้นิ้วมือแตะสิ่งที่ต้องสงสัย การใช้ลิ้นลองชิมหรืออม เพื่อการเรียนรู้รส ทารกทั่วไปจะให้ความสนใจสิ่งของแปลกใหม่เสมอ เด็กๆจะตั้ง ค�าถามเพื่อหาค�าตอบที่ง่ายๆที่มีอยู่รอบตัวเมื่อมีการพัฒนาเจริญตามวัย มนุษย์จะ แสวงหาด้วยประสาทสัมผัสส่วนอื่น เพื่อน�ามาเป็นข้อมูลในการช่วยคิดและตัดสิน ใจ การศึกษาเล่าเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มนุษย์ได้เรียนรู้ ได้เห็นได้สัมผัส และได้ทดลองปฎิบัติเพื่อที่จะโยงประสบการณ์จากการเรียนรู้ ไปสู้ขบวนการคิด อย่างมีเหตุมีผล รู้จักใช้ความคิดและการใช้ปัญญา ที่จะน�าไปสู่การพัฒนาองค์ ความรู้ความเชื่ออย่างมีเหตุมีผล ไม่เชื่อด้วยความงมงาย ไม่เชื่อด้วยอารมณ์และ ความรู้สึก และไม่เชื่อด้วยศรัทธาที่หยุดนิ่ง คือ ศรัทธาที่ไม่ก่อให้เกิดปัญญา โดยทั่วไป มนุษย์จะมีความเชื่ออยู่ 3 แบบ คือ 1. ความเชื่อแบบศรัทธาปสาทะ เช่น ความเชื่อและศรัทธาในศาสนาในลัทธิ ความเชื่อในพระเจ้า ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือความเชื่อในอาจารย์ คือ เชื่อในบุคคล เชื่อ ในการพยากรณ์ รวมถึงการเชื่อในวีรบุรุษ นักการเมืองที่เขาชื่นชอบ บางครั้งความ เชื่อก็ไม่มีเหตุผลมาอ้างอิงได้ เป็นความเชื่อเพราะว่าอยากเชื่อเป็นความเชื่อแบบ อัตวิสัย ที่เชื่อจากการจงรักภักดี ความไว้ใจ ความเชื่อที่เกิดจากความรักความ หลงใหล บางครั้งก็เชื่อเพราะช่วยเราได้ ความเชื่อที่เกิดจากการเชื่อแบบศรัทธา ปสาทะเช่นนี้ ถือว่าเป็น สภาพจิตที่ไม่ต้องการเหตุผล 16
����������2.indd 16
3/6/14 11:11 AM
ย์เกิด จริญ ารณ์ ออม จะตั้ง ษย์จะ ดสิน
มผัส ารคิด าองค์ และ
ลัทธิ เชื่อ ความ แบบ ความ รัทธา
2. ความเชื่อที่เกิดจากการยอมรับว่าสิ่งหนึ่งมีอยู่หรือเป็นอยู่จริง โดยอาศัย พยานหลักฐานและข้อมูลสนับสนุน เป็นความเชื่อที่อาศัยเหตุและผล แต่เป็นเหตุ และผลที่ยังแฝงด้วยอารมณ์ เป็นความเชื่อแบบ อัตวิสัย ร่วมกับความเชื่อในการ ยอมรับความจริงตามสภาวะ ที่เรียกว่า ภววิสัย ผู้ที่มีความเชื่อแบบนี้ส่วนใหญ่จะ ลดอคติลงได้เป็นบางส่วนและเพิ่มความมีเหตุมีผลมากขึ้นกว่าเดิม 3. ความเชื่อที่เกิดจากองค์ความรู้เป็นความเชื่อ โดยอาศัยการมีพยานหลัก ฐาน ที่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยประสาทสัมผัส เป็นความเชื่อที่เกิดจากการยอมรับ ในสิ่งหนึ่งสิ่งใดว่ามีจริงสามารถพิสูจน์ ได้ด้วยประสบการณ์จากพยานที่เชื่อถือได้ หรือเป็นองค์ความรู้ที่สามารถพิสูจน์ได้ และเป็นที่ยอมรับว่ามีจริงเป็นจริง ความ เชื่อแบบนี้ ได้แก่ ความรู้ที่มีการพิสูจน์แล้วว่าเป็นความจริงจากการสัมผัส เช่น ทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความรู้แบบสากล เป็นความรู้แบบ เอกภาพที่คนทั่วโลกยอมรับและเห็นเหมือนกันในสิ่งเดียวกัน โดยเหตุนี้ ความเชื่อ ทางศาสนาจึงมีหลายลัทธิหลายศาสนา ความเชื่อทางศาสนา เป็นความเชื่อที่ไม่ ต้องการค�าวิพากษ์วิจารณ์ว่าศาสนาใดผิดหรือถูก ควรค่าแก่การเคารพมากน้อย กว่ากัน ความเชื่อทางวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์แขนงนั้นๆ สามารถถกเถียงกัน ด้วยเหตุและผล และสามารถปรับปรุงแก้ไขได้ตลอดเวลา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จึงเป็นความรู้ที่ไม่หยุดนิ่ง แม้จะพิสูจน์ความจริงไปแล้วในวันนี้ แต่อาจจะมีการ แก้ไขได้ในวันหน้า ต่างกับความเชื่อในศาสนา ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากความศรัทธา ปสาทะ อันเป็นทั้งค�าสั่งและค�าสอนขององค์ศาสดา ที่สั่งให้มนุษย์กระท�าหรือปฎิบัติ ตามบัญญัติของพระเจ้า หรือเทวบัญชา ยกเว้นบางศาสนา เช่น ศาสนาพุทธที่สอน ให้มนุษย์ใช้ปัญญาวิเคราะห์ตามความเป็นจริงตามความเป็นจริงตามสัจธรรม เป็น 17
����������2.indd 17
3/6/14 11:11 AM
ค�าสอนที่ไม่มีคา� ผู้ใดเห็นแจ้งและลงมือปฎิบัติตามย่อมก่อให้เกิดประโยชน์กับ ตนเอง ไม่มีเทวบัญชา ไม่มีการลงโทษและไม่มีการให้รางวัลแก่ผู้ใด ทุกคนอยู่ ภายในกฎอันเดียวกัน คืออยู่ภายใต้กฎธรรมชาติที่เท่าเทียมกัน ไม่มีความพิเศษ กว่ากัน ที่น�าเรื่องความเชื่อและความศรัทธามากล่าวไว้ในหนังสือคู่มือการอบรมจิต เพื่อปรับศักยภาพชีวิตในตอนต้นเช่นนี้ เพื่อจะได้มีการเข้าใจในเรื่องความเชื่อความ ศรัทธาที่ถูกต้อง อันจะน�าไปเป็นเหตุแห่งการพัฒนาชีวิตที่มีเหตุมีผล ไม่งมงาย และไม่เชื่อโดยปราศจากเหตุและผล อันจะเป็นแนวทางน�าพาชีวิตสู่ความส�าเร็จได้ ง่ายขึ้น และประหยัดเวลา ไม่ต้องเสียเวลาในการลองผิดลองถูกเพราะเมื่อมีความ เชื่อที่ดี และถูกต้องแล้วย่อมน�ามาซึ่งความมีประโยชน์และความสุขที่แท้จริง
กาย และ จิต เป็นของคู่กัน การศึกษาและค้นคว้าเรื่องกายกับจิต ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของชีวิต มนุษย์ ตามหลักจิตวิทยาและปรัชญาแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ไว้ 2 กลุ่ม ด้วยกัน คือ กลุ่ม เอกนิยมและกลุ่มทวินิยม ดังนี้ กลุ่มเอกนิยม อธิบายว่า จิตกับกายเป็นลักษณะสองอย่างที่รวมกันชีวิตของ มนุษย์จึงแบ่งและแสดงออกได้ 2 อาการ คือ อาการทางจิตแบบหนึ่ง และลักษณะ ทางร่างกายอีกแบบหนึ่ง ทั้งสองลักษณะเป็นแก่นแท้ของชีวิตๆ หนึ่งแต่กลุ่มเอก นิยมชี้ไม่ชัดเจนว่าอะไรคือแก่นแท้ของชีวิต กลุ่มทวินิยม เชื่อว่าจิตกับกายเป็นเนื้อแท้สองอย่างแยกจากกัน มีแนวคิด เป็น 3 แนว ดังนี้ 18
����������2.indd 18
3/6/14 11:11 AM
น์กับ นอยู่ พิเศษ
มจิต ความ มงาย ร็จได้ ความ
งชีวิต กลุ่ม
ตของ ษณะ มเอก
วคิด
แนวที่ 1 เรอเน่ เดซการ์ตส์ อธิบายว่า จิตกับกายเป็นสองสิ่งที่มีหน้าที่ กิจกรรมแตกต่างกันไป แต่ทั้งสองสิ่งต่างมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน จิตมีอิทธิพลต่อกาย เช่น เมื่อจิตมีความคิดหรือเจตนาอย่างใด ก็จะมีผลต่อกาย ร่างกายขาดน�า้ จิตใจ ก็รู้สึกอยากน�า้ด้วยเช่นกัน จนกว่าร่างกายและจิตใจได้รับการตอบสนองแล้ว จึง จะรู้สึกบรรเทาอาการที่เกิดขึ้น แต่ไม่สามารถแสดงได้ว่า ณ ที่ใดของร่างกายเป็น จุดศูนย์กลางและประสานงานอย่างไรกับกาย แนวที่ 2 ไลบ์นิตส์ อธิบายว่า จิตกับกายเป็นสองสิ่งที่แตกต่างกัน และไม่มี ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน กิจกรรมของจิตและกายมีลักษณะขนานกัน ต่างฝ่ายต่างด�าเนิน ไปตามหน้าที่และกลไก กายไม่มีอิทธิพลต่อจิตและจิตไม่มีอิทธิพลต่อกาย ซึ่งจริง แล้วมีผลอย่างมากทั้งกายและจิต แนวที่ 3 ฮักเลย์ อธิบายว่า จิตกับกายเป็นของสองสิ่งที่มีความแตกต่างกัน ไป แม้ว่าจิตจะไม่สัมพันธ์ต่อกาย แต่กายก็มีสัมพันธ์กับจิต เปรียบเหมือนกายเป็น ตัวตน ส่วนจิตเหมือนเงา เมื่อตัวตนเคลื่อนไหว จิตคือเงาก็เคลื่อนไหวด้วยเช่นกัน สภาพทางจิตจึงเป็นผลพลอยได้ของกาย แต่ไม่ได้อธิบายให้ชัดเจนว่า มีผลหรือ กระบวนการระหว่างจิตกับกายอย่างไร ทางกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา ศึกษาถึงส่วนประกอบระบบต่างๆ ของ ร่างกายไม่ว่าจะเป็นเนื้อเยื่อ ระบบผิวหนัง ระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาท โดย ศึกษาส่วนต่างๆ ว่ามีหน้าที่อย่างไร อยู่แบบไหน มีหน้าที่พิเศษอย่างไร ในการ รักษาสมดุลภาพของร่างกายให้สมดุล ทางพระพุทธศาสนาก็มีการศึกษาส่วนต่างๆ หน้าที่ต่างๆ รวมถึงการท�างาน และความสัมพันธ์ของแต่ละส่วนเช่นกัน โดยวิเคราะห์ถึงเหตุปัจจัยที่ท�าหน้าที่แต่ละ 19
����������2.indd 19
3/6/14 11:11 AM
ส่วน แต่ศึกษาในลักษณะที่เป็นสภาวะของรูปปรมัตถ์ที่มีความละเอียดมาก ในเบื้อง ต้น เป็นการศึกษาถึงความหมายหรือค�าจ�ากัดความของปรมัตถ์ การแบ่งหมวดของ รูปตามสมุฏฐานที่ทา� ให้เกิดรูปได้องค์ประกอบ คือฐานที่จ�าเป็นและการรวมกลุ่มกัน เพื่อท�าหน้าที่หรือแสดงลักษณะของตนออกมา ความหมายของค�าว่ารูป รูป หมายถึง ธรรมชาติที่แตกดับย่อยยับผันแปรไปด้วยอ�านาจของความ เย็น ความร้อน ชีวิตที่มีทั้งกายและจิต กายเป็นสภาพที่มองเห็นได้สัมผัสได้ มีความ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทั้งแบบค่อยเป็นค่อยไปและแบบฉับพลัน เช่น จากเด็กที่ เต่งตึง แปรสภาพไปสู่ความเหี่ยวย่น เมื่อวัยชราเป็นความเปลี่ยนไปแบบที่ไม่รู้ตัว ค่อยๆเปลี่ยนไป แต่ถ้าถูกน�า้ ร้อนถูกไฟไหม้ หรือถูกแสงแดดมากเกินไป ก็จะเห็น ความเปลี่ยนแปลงได้ทันที ถ้ามีแต่กายอย่างเดียวไม่สามารถรู้ดี รู้ชั่วได้ แม้กระทั่ง ความสุข ความทุกข์ก็ไม่สามารถรับรู้ได้ รวมถึงความเจ็บปวดหรือทรมานกายไม่ สามารถรับรู้ได้ทั้งนั้น เช่น คนที่ตายแล้ว กายไม่มีความเคลื่อนไหว ปราศจากลม หายใจ ปราศจากความร้อนหนาว ไม่รับรู้อาการใดๆ ทั้งสิ้น ถึงจะน�าไปเผาไฟ ก็ ไม่สามารถตอบสนองใดๆ ทั้งสิ้น กายในภาษาธรรมะ เรียกว่า รูป ส่วน อาการของ กาย เรียกว่า อาการรูป ลักษณะของรูปแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ 1. ลักษณะของรูป คือ การแตกสลายไปแปรเปลี่ยนไปตลอดเวลาไม่คงที่ 2. งานและกิจกรรม คือ การแยกออกจากกันได้ระหว่างจิตกับกาย เช่น ตอน ตายกายกับจิตจะแยกออกจากกันโดยสิ้นเชิงไม่อาศัยกันและกัน 20
����������2.indd 20
3/6/14 11:11 AM
เบื้อง ดของ มกัน
ความ ความ ด็กที่ ม่รู้ตัว ะเห็น ระทั่ง ายไม่ กลม ฟ ก็ รของ
ที่ ตอน
3. ผลงานของรูป คือ รูปเป็นธรรมที่ไม่กุศลและอกุศล 4.เหตุที่ทา� ให้เกิดรูป คือ จิตและอวิชชา กายและจิตเป็นของคู่กัน เมื่อเราท่านทั้งหลายทราบถึงกายและจิตมาพอ ประมาณแล้ว ว่ากาย ประกอบด้วยอะไร และจิตประกอบด้วยอะไรมีหน้าที่อย่างไร ชีวิตของเราทุกท่านประกอบด้วยกายและจิต แยกออกจากกันได้ยากเปรียบเหมือน สามีและภรรยาที่เป็นครอบครัวเดียวกัน มีความสมบูรณ์ร่วมกัน ต่างฝ่ายต่าง มีหน้าที่ซึ่งกันและกัน จะเปรียบว่าสิ่งไหนส�าคัญนั้นไม่ได้ เพราะต่างก็เป็นส่วนหนึ่ง ของชีวิต กายมีหน้าที่อย่างกาย คือ แสวงหาวัตถุอยู่รอดแบบกาย มีจุดมุ่งหมายคือ ความสบาย จิตมีหน้าที่อย่างจิต คือ แสวงหาความไม่ทุกข์ มีความสงบ มีนิพพานเป็น ที่สุดท้ายของจิต ทั้งกายและจิตถึงแม้มีหน้าที่ต่างกัน แต่มีความสัมพันธ์และใกล้ชิดกันมี ระบบควบคุมซึ่งกันและกัน แต่จิตนั้นดูนะเป็นนาย ส่วนกายนั้นเป็นบ่าว ถึงจิตจะ เป็นนาย กายเป็นบ่าว ทางพระพุทธศาสนาได้อธิบายเพิ่มเติมว่า ก่อนที่สมองจะ สั่งงานกายนั้น ยังมีอีกขั้นตอนหนึ่งคือใจ วิ่งอยู่ในส่วนลึกของทรวงอกตรงต�าแหน่ง หัวใจจะเป็นผู้บัญชาการและสั่งให้สมองสั่งงานไปยังอาการกายอีกทีหนึ่ง ทั้งจิตและกาย มีเกิด ดับ และสามารถปรับได้ทั้งกายและใจ ทางกาย เช่น กายก็มีการออกก�าลัง ทานอาหาร ที่มีประโยชน์งดเว้นสิ่งที่มีโทษและหมั่นบ�ารุง รักษาร่างกายให้อบอุ่นและแข็งแรง ส่วนทางจิตก็มีการพัฒนาจิต ไม่โกรธ ไม่โลภ 21
����������2.indd 21
3/6/14 11:11 AM
ไม่หลง ไปในอ�านาจของกิเลส ลดความฟุ้งซ่าน ลดความหงุดหงิด ร�าคาญใจ ลด ความเคร่งเครียด และวู่วามหุนหันพลันแล่น หมั่นฝึกสมาธิ ฝึกจิตและวิปัสสนา กัมมัฏฐาน เจริญภาวนาในแบบต่างๆ เพื่อความบรรลุทางจิตที่ดี เมื่อนั้น ทั้งกาย และจิตก็จะมีความสุขและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและมีอายุยืนยาวนาน ชีวิตที่มีลักษณะที่มีการแก้ไขปรับปรุงศักยภาพแล้ว ชีวิตจะมีความสมดุล มีความอบอุ่นเอิบอิ่ม มีความสุข ไม่มีความทุกข์ มีพลังและมีความมั่นคง ทั้งทาง โลกและทางธรรม ปราศจากกิเลส และเครื่องเศร้าหมองต่างๆ มีปัญญา สมองดี เลิศ มีความรอบรู้ทันทั้งสังขารและจิตใจ รวมถึงกิจการงานทางโลกก็ประสบแต่ ความส�าเร็จรุ่งเรือง ชีวิตที่ยังไม่มีการปรับแก้ศักยภาพชีวิต ชีวิตมีแต่ความวุ่นวาย ซัดส่ายขุ่น ข้อง ทั้งทางกายและทางจิต ขัดเคืองในอารมณ์ เคร่งเครียด เบื่อหน่าย เอือมระอา เศร้าหมอง หาความสุขไม่ได้ มีแต่ความทุกข์ เจ็บป่วย อิจฉา ริษยา อาฆาต พยาบาท หาความสุขให้หายและใจไม่ได้เลย เราท่านทั้งหลายที่เป็นปัญญาชน ลองเปรียบเทียบความที่กล่าวมานี้ และ ถ้าเห็นเป็นจริงอย่างที่ว่ามานี้แล้ว ท่านทั้งหลายจะรออะไรอยู่เล่า ท�าไมไม่หันมา ฝึกจิตและกายให้มีศักยภาพที่ดี และน�าความส�าเร็จที่เกิดขึ้นจากการฝึกจิตและ กายนี้ ไปใช้ในชีวิจประจ�าวัน เมื่อนั้นชีวิตก็จะมีแต่ความสุขและความส�าเร็จ
22
����������2.indd 22
3/6/14 11:11 AM
ลด สนา งกาย
มดุล งทาง มองดี บแต่
ยขุ่น ระอา บาท
และ นมา และ
ฝึกจิตเจตสิกเพื่อการพัฒนาชีวิต ธรรมชาติของจิตตามหลักของพระพุทธธรรม จิตเป็นนามธรรม ไม่มีรูปร่างลักษณะของจิตสังเกตได้จากขณะที่รู้อารมณ์ จิตเกิดขึ้นแล้วมีอาการ 3 ขณะ คือ ขณะเกิดขึ้น ขณะตั้งอยู่ และขณะดับไป การ ดับไปของจิตดวงหนึ่ง เป็นปัจจัยให้อีกดวงหนึ่งเกิดขึ้นเสมอไป มีลักษณะคล้ายกัน จิตไม่มีการล่องลอยไปมาเหมือนลมในธรรมชาติ แต่จิตมีความดิ้นรนไปมาในการ รับรู้อารมณ์ต่างๆ กวัดแกว่งตามสิ่งที่มาเร้าอารมณ์ ไม่มีความมั่นคง ห้ามได้ยาก กล่าวคือ ยากที่จะบังคับให้หยุดและรักษาได้คงที่ คือ ท�าความนิ่งให้ปรากฏได้ยาก นั่นคือจิต จิตและเจตสิกเป็นนามคนละประเภทกัน ต่างเกิดขึ้นเองตามล�าพังไม่ได้ มีความสัมพันธ์กันในลักษณะของการเกิดพร้อมกัน ดับพร้อมกัน รับรู้อารมณ์ เดียวกัน และมีที่อาศัยที่เดียวกัน กล่าวคือ มีกายเป็นที่อาศัยเหมือนกัน แม้จะอยู่ ในที่เดียวกันแต่มีหน้าที่ต่างกัน ซึ่งแต่ละส่วนของจิตและเจตสิก มีหน้าที่เฉพาะ ส่วนของตนไม่ปะปนกัน ไม่ก้าวก่ายซึ่งกันและกัน คือ จิตมีหน้าที่รับรู้ อารมณ์ ส่วน เจตสิก ท�าหน้าที่ปรุงแต่งการรู้ของอารมณ์ ทั้งจิตและเจตสิกเกิดขึ้น เพื่อสื่อสาร สัมพันธ์และตอบสนองอารมณ์ได้ทั้งสองอย่าง การรับรู้อารมณ์ในแต่ละครั้งเป็นไปอย่างรวดเร็วมาก จิตมีเกิดดับเป็นแสน เป็นล้านครั้ง ส่วนประกอบเกิดขึน้ พร้อมกัน แต่ละส่วนก็ทา� หน้าทีข่ องตนและท�า พร้อมกัน ไม่กา้ วก่ายสับสนกัน เช่น ผัสสะ สิ่งที่มากระทบอารมณ์ เวทนา คือ เสวยอารมณ์ที่มากระทบจิต สัญญา คือ จดจ�าอารมณ์นั้นไว้ เจตนา คือ การกระ 23
����������2.indd 23
3/6/14 11:11 AM
ตุน้ เตือน ผัสสะ เวทนา สัญญาที่เกิดขึ้นให้กิจของจิต ก่อเกิดการกระท�าที่มีผล ทั้งทางดี และไม่ดี แล้วแต่สิ่งที่มากระทบอารมณ์ในขณะนั้น จึงก่อให้เกิดเอกัคค ตา คือ เครื่องท�าให้เจตสิกที่เกิดขึ้นแล้วตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียวได้นั้น ไม่ให้จิตไป รับอารมณ์อื่นๆ ชีวิตอินทรีย์ที่เชื่อมโยงเจตสิกต่างเข้าด้วยกันถึง 52 ดวงก็ก่อให้เกิด กรรม ทั้งกรรมดีและกรรมชั่ว ที่เราเรียกว่ากุศลกรรมและอกุศลกรรม เมื่อสิ่งที่มา กระทบอารมณ์ของตน โยโสมนสิการก็เก็บและน้อมเอาอารมณ์นั้นๆ มาเป็นเครื่อง ตัดสินใจในการกระท�าของกายสืบต่อไป ถ้ากายเปรียบเหมือนบ้านหลังหนึ่ง การ สร้างบ้านย่อมมีส่วนต่างๆ ของบ้านและต้องมีนายช่างที่เกี่ยวข้องหลายช่างด้วยกัน รวมถึงวัสดุต่างชนิดกันมารวมกันเป็นบ้านหนึ่งหลัง เช่นเดียวกันกับจิตและกายรวม ถึงเจตสิก หมายถึง นายช่างแต่ละคนมีหน้าที่ต่างกัน ก็เปรียบเหมือนเจตสิกหลาย ดวงมีหน้าที่ต่างกันไป มารวมกันสร้างบ้านให้แล้วเสร็จ เป็นบ้านให้อยู่อาศัย ซึ่ง บ้านแต่ละหลังก็มีเอกลักษณ์เฉพาะของตัวตนไม่เหมือนกัน เปรียบเทียบได้กับนิสัย ของมนุษย์และสัตว์โลก ก็มีนิสัยที่ไม่เหมือนกัน ใช้วัสดุที่ต่างกันไป กล่าวคือใช้ เจตสิกที่ต่างความคิด ต่างการกระท�ากันไป กรรมที่กระท�าไว้ย่อมต่างผลกรรมกัน ออกไปเจตสิก มีลักษณะ 4 อย่าง คือ 1. เกิดขึ้นพร้อมกับจิต 2. ดับไปพร้อมกับจิต 3. มีอารมณ์เดียวกันกับจิต 4. และมีที่อาศัยที่เดียวกับจิต คือมีกายเป็นที่อาศัยเช่น เดียวกัน แบ่งอาการและการกระท�าออกเป็น 3 ประการคือ 1. เจตสิกเป็นตัวร่วมได้ทั้งกุศลจิตและอกุศลจิต 2. เจตสิกทีป่ ระกอบกับจิตแล้วท�าให้จติ เศร้าหมองเสียศีลธรรมท�าบาปทุจริต 3. เจตสิกที่ประกอบกับจิตแล้วท�าให้จิตเบิกบาน ผ่องใส ตั้งอยู่ในศีลธรรม เว้นจากการท�าบาปทุจริต 24
����������2.indd 24
3/6/14 11:11 AM
มีผล กัคค จิตไป ห้เกิด ที่มา ครื่อง การ ยกัน ยรวม หลาย ย ซึ่ง นิสัย คือใช้ มกัน บจิต ยเช่น
ทุจริต ธรรม
ความส�าคัญของจิตเจตสิกก็คือ ถ้าจิตไม่มีเจตสิกการรับรู้อารมณ์ต่างๆ จะ เกิดขึ้นไม่ได้เลย แม้จะยอมรับว่าจิตมีหน้าที่รับรู้ในอารมณ์ แต่เจตสิกจะท�าหน้าที่ จดจ�าในกุศลกรรมต่างกัน ความหมายของค�าว่าจิต จิตเป็นนามธรรมประเภทหนึ่งที่มีธรรมชาติในการรู้อารมณ์ คือ รับรู้อารมณ์ อยู่ตลอดเวลาความหมายหลักใหญ่ของจิตมีลักษณะ 4 ประการคือ 1. ลักษณะของจิต คือ รับรู้อารมณ์ 2. หน้าที่การงานของจิต คือ เกิดก่อนกายและเป็นประธาน 3. ผลงานของจิต คือ การเห็น การรับรู้ การได้ยิน ที่ท�าหน้าที่สืบต่อไปไม่ขาด สายไม่มีวันหยุด 4. เหตุส่งเสริมให้เกิดจิต คือ เจตสิกและรูปธรรมร่วมกัน นอกจากจิตแล้ว ยังไม่มีธรรมชาติอื่นใดที่สามารถรับรู้อารมณ์ได้ การรับรู้อารมณ์แบ่งออกเป็น 3 แบบดังนี้ 1. การรู้แบบสัญญารู้ คือ รู้โดยก�าหนดจดจ�าไว้ เช่นการรู้ว่าเป็นพ่อแม่ สี เขียว สีแดง และอื่นๆ อีกมากมายที่จา� โดยใช้สัญญารู้ 2. การรู้แบบปัญญารู้ คือ การรู้ตามความเป็นจริงเช่น สิ่งไหนไม่ดี สิ่งไหน เป็นโทษ สิ่งไหนเป็นประโยชน์ สิ่งไหนผิด สิ่งไหนถูก รวมถึงการรู้แบบท�าลายความ เห็นผิด ก็เรียกว่าปัญญารู้ 3. การรู้แบบวิญญาณรู้ คือ รู้ว่าการรับอารมณ์ที่มากระทบตามทวารต่างๆ 25
����������2.indd 25
3/6/14 11:11 AM
ตามอายตนะทั้งภายในภายนอกเช่น การได้ยิน การได้กลิ่น การได้ลองชิมรส ความ ร้อน หนาวที่มากระทบและสัมผัสกับอาการ กาย เรียกว่า ธาตุรู้ วิญญาณรู้ จิตมีหน้าที่อยู่ 4 ประการคือ 1. มีหน้าทีจ่ า� คือ จ�าสิง่ ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ มาทัง้ ในอดีตและปัจจุบนั รวมถึง อนาคตด้วย 2. มีหน้าที่รู้ คือ รู้ทุกอย่างที่เกิดขึ้นมาทั้งเก่าและใหม่ ทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมถึงอนาคตด้วยเช่นกัน 3. มีหน้าที่คิด คือ การคิดถึงสิ่งต่างๆ ที่ด�าเนินไปแบะก�าลังคิดจะให้เป็นไป 4. มีหน้าที่ทา� คือ การกระท�างานของจิตตามขบวนการทางความคิด แล้วสั่ง ให้กายเป็นผู้กระท�า หรืออาจจะคิดแล้วไม่กระท�าเป็นแต่เป็นความคิดเท่านั้น ชื่อเรียกของจิต ตามอาการที่เกิดขึ้นกับส่วนต่างๆ จิตมีชื่อเรียกต่างกัน ถึง 10 ชื่อ แต่ชื่อแสดงให้รู้ถึงคุณลักษณะที่แตกต่างกัน ไปของจิต 1. ธรรมชาติใดที่ย่อมคิดได้ ธรรมชาตินั้นเรียกว่า จิต 2. ธรรมชาติใดที่น้อมไปหาอารมณ์ได้ ธรรมชาตินั้นเรียกว่า จิต 3. จิตนั่นแหละที่รวบรวมอารมณ์ไว้ภายในดังนั้นจึงเรียกว่า หทัย 4. ธรรมชาติคือ ฉันทะที่มีในใจนั่นเอง ชื่อว่า มนัส 5. จิตที่มีธรรมชาติที่ผ่องใส เรียกว่า ปัณฑระ 6. มนัสนัน่ เองเป็นอายตนะ เป็นเครือ่ งต่อเชือ่ มไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายที่ 26
����������2.indd 26
3/6/14 11:11 AM
ความ
วมถึง
จุบัน
ไป ล้วสั่ง
างกัน
กายที่
เรียกว่า มนายะตนะ 7. มนะนั่นแหละที่เป็นอินทรีย์ คือครองความเป็นใหญ่ จึงเรียกว่ามนินทรีย์ 8. ธรรมชาติใดที่รู้แจ้งทางอารมณ์แห่งทวารทั้งมวล เรียกว่า วิญญาณ 9. วิญญาณนั่นแหละที่เป็นขันธ์ จึงเรียกว่า วิญญาณขันธ์ 10. มนัสนั่นเองเป็นธาตุรู้ชนิดหนึ่งที่รู้แจ้งอารมณ์ จึงเรียกว่า มโนวิญญาณ ที่ บ รรยายหลั ก พื้ น ฐานของจิ ต มาพอประมาณเพื่ อ ให้ เ ห็ น ว่ า จิ ต มี ค วาม สัมพันธ์กับส่วนต่างๆ ที่มารวมกันเป็นจิต ที่จะต้องอบรมและแก้ไขเพื่อเป็นแนวทาง ในการปฎิบัติให้จิตของเราได้หลุดพ้นจากความทุกข์ เข้าถึงความส�าเร็จของการฝึก จิตในแนวทางปฎิบัติ จิตจะได้ยกระดับเข้าสู่ผลของการปฎิบัติและอบรมจิตน�ามา ซึ่งความส�าเร็จในกิจการต่างๆ ที่เราท่านต้องการให้มีผลของความส�าเร็จ วัตถุประสงค์โดยรวมมีอยู่ด้วยกัน 5 ประการ คือ 1. ท�าให้ได้รู้จักขบวนการของจิตที่อยู่รวมกับกาย 2. ท�าให้มีสมาธิมีความอดทนและอดกลั้นกับสิ่งที่มากระทบกับจิต เพื่อ ความพากเพียร มีปัญญาในการท�างาน สามารถน�าไปแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าใน ชีวิตประจ�าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. ท�าให้ดับทุกข์ทางใจได้เป็นอย่างดี ท�าให้ใจมีความอดทนอดกลั้น ในการ ด�าเนินชีวิตได้อย่างถูกครรลองครองธรรม 4. เป็นการสร้างสมบุญกุศลในระดับโลกิยะ เพื่อให้ผู้ที่ฝึกอบรมจิต รักษาไว้ ซึ่งสถานะของความเป็นมนุษย์ เพราะผู้ที่ฝึกจิตได้จะมีสมาธิและสติได้ดีกว่าผู้ที่ไม่ ได้ฝึกจิต 27
����������2.indd 27
3/6/14 11:11 AM
5. เพื่อให้ผู้ที่สนใจใครรู้ในการฝึกพลังจิตว่าฝึกแล้วได้อะไร มีผลอย่างไร และเป็นไปได้มากน้อยเพียงไร
สมาทานตนเองก่อนเข้ารับการฝึกอบรมจิต เจโตปริยญาณ พลังจิต เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่เราควรฝึกและเข้ารับการอบรมฝึกจิตเพื่อตนเอง ฝึกให้เกิดความเชื่อมั่นว่าเราท�าได้ และต้องฝึกอย่างสม�า่เสมอและต่อเนื่อง การฝึก พลังจิต เมื่อเริ่มฝึกย่อมมีการซัดส่ายออกนอกลู่นอกทางบ้าง แต่ก็สามารถแก้ไข และปรับปรุงได้ ถ้ามีโอกาสควรฝึกพลังจิตให้เกิดความแก่กล้า มองโลกในแง่ดี และ ไม่คิดอคติต่อโลก ชีวิตจะมีความสุขมากขึ้น ท�าอะไรก็ส�าเร็จ ผู้ที่ไม่ได้รับการฝึก จิต ต้องพยายามพัฒนาจิตให้เข้มแข็ง ไม่หวั่นไหวต่อสิ่งที่มากระทบอารมณ์ และ อายตนะทั้งภายในและภายนอก ต้องหมั่นเรียน หมั่นฝึกพัฒนาความสามารถของ จิตให้สูงขึ้น การฝึกจิตเป็นสิ่งที่จ�าเป็นส�าหรับทุกคน ทุกเพศ และทุกวัย หากไม่ฝึกจิต จิตจะมีก�าลังอ่อน เมื่อมีสิ่งเหล่านั้น ในไม่ช้าก็จะตกเป็นทาสของสิ่งเหล่านั้น เช่น ยาเสพติดหรืออบายมุขประเภทต่างๆ เมื่อต้องการฝึกจิตให้ได้ผลดีและรวดเร็ว ควร ต้องรู้จักการสมาทานจิตของตนเองต่อหน้าอาจารย์ อาจารย์ในที่นี้หมายถึง บรมครู ของเราท่านและทุกท่าน คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ทรงเป็นต้นแบบที่ดี แก่เราทุกท่าน ขั้นตอนแรกที่ต้องเริ่มคือ 1. ถวายการสักการะต่อหน้าพระพุทธรูปที่เป็นประธาน พร้อมกับการ 28
����������2.indd 28
3/6/14 11:11 AM
างไร
นเอง ารฝึก แก้ไข และ ารฝึก และ ถของ
กจิต เช่น ควร รมครู บที่ดี
บการ
แสดงความเคารพต่ออาจารย์ที่สอนวิชาให้กับเรา 2. จุดธูป เทียน บูชา พระรัตนตรัย และสวดมนต์ตามบทต่าง ที่ก�าหนด 3. จากนั้นสมาทานศีลต่อหน้าอาจารย์ผู้สอน หรือต่อหน้าองค์พระประธาน กล่าวค�าถวายตัวต่อหน้าพระประธานและพระรัตนตรัย อิมาหัง ภควา อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปริจจะชามิ อิมาหัง อาจาริยัง อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปริจจะชามิ นิพพานัสสะ เม ภันเต สัจฉิกะระณัตถายะ กัมมัฎฐานัง เทหิ อัทธุวัง เม ชีวิตัง ธุวัง มะระณัง เย เนวะ ยันติ นิพพานัง อิมายะ ธัมมานุ ธัมมะ ปฎิปัตติยา ระตะนัตตะยัง ปูเชมิ ค�าแปล อิมาหัง ภะคะวา ข้าแต่องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ข้าพระองค์ขอมอบ กาย ถวายชีวิตต่อ คุณพระรัตนตรัย ทั้ง 3 คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ อิมาหัง อาจาริยัง ข้าแต่พระอาจารย์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอมอบกายถวายตัวต่อ ครูบาอาจารย์ เพื่อการฝึกจิตและพระกัมมัฏฐาน และวิปัสสนาสืบต่อไป นิพพานัสสะ เม ภันเต ข้าแต่ผู้เจริญด้วยนิพพาน ขอท่านจงให้การฝึกจิตของ ข้าพเจ้าในโอกาสนี้ เพื่อกระท�าให้รู้แจ้ง เห็นจริงในหนทางแห่งจิต รวมถึงมรรคผล นิพพานในอนาคตอันใกล้นี้ด้วยเถิด 29
����������2.indd 29
3/6/14 11:11 AM
อิทธุวัง เม ชีวิตัง ธุวัง มะระณัง ชีวิตของเราไม่แน่นอน ความตายเป็นของ แน่นอน วันหนึ่งเราต้องตายเป็นแน่ โชคอันดี เป็นการอันประเสริฐที่ได้เกิดมาฝึกจิต เจริญพระกัมมัฎฐาน และวิปัสสนา ไม่เสียที ที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์ ได้พบพระพุทธ ศาสนา เย เนวะ ยันติ นิพพานัง พระพุทธเจ้า และเหล่าสาวกทั้งหลายได้น�าเนินไป สู่พระนิพพาน อันเป็นหนทางสิ้นทุกข์ ได้ประสบความสันติสุขด้วยหนทางเส้นนี้ อิมายะ ธัมมานุธัมมะ ปฏิปัตติยา ระตะนะตะยัง ปูเชมิ ข้าพเจ้าขอบูชา พระรัตนตรัยด้วยการฝึกจิต ปฏิบัติวิปัสสนาธรรม อันสมควรต่อมรรคผล นิพพาน นี้ด้วยสัจจะวาจาที่กล่าวมานี้ ขอเทพบุตร เทพธิดาทั้งหลาย จงอย่าเป็นอุปสรรค และขัดขวาง ในการปฏิบัติจิตของข้าพเจ้าที่อุทิศและบริจาคกุศลของข้าพเจ้า ที่พึง จะได้รับจากการปฏิบัติและฝึกพลังจิตในครั้งนี้ ข้าพเจ้าขออุทิศส่วนกุศลนี้ให้แก่ ท่านทั้งหลายข้าพเจ้าขออาราธนาพระธรรมวิเศษทั้งหลายทั้งหมดทั้งสิ้น พระขณิก สมาธิ พระอุปจาระสมาธิ พระอัปปนาสมาธิ พระธรรมนิติทั้งห้า พระวิปัสสนาญาณ ทั้งพระโสฬสทัสนาญาณ จงมาบังเกิดในขันธ์และสันดานของข้าพเจ้า ให้บรรลุ มรรคผลแห่งการปฏิบัติจิตและวิปัสสนา ด้วยสัจจะวาจาที่กล่าวมานี้ ข้าพเจ้าจะ ตั้งใจประพฤติปฏิบัติจริงๆ ต่อไป จนกว่าจะได้บรรลุมรรคผลนิพพาน ในอนาคตกาล อันใกล้นี้ด้วยเถิด สาธุ สาธุ สาธุ เมื่อสมาทานพระกัมมัฏฐานในการฝึกจิตแล้ว ควรมีจิตที่ตั้งมั่น ไม่วอกแวก หรือลังเล ในการปฏิบัติตน ที่จะน้อมน�าการฝึกจิตให้เกิดความส�าเร็จต่อตนเอง ครั้นเมื่อจะหยุดพักการฝึก ควรกล่าวค�าลาพระกัมมัฏฐานทุกครั้ง 30
����������2.indd 30
3/6/14 11:11 AM
นของ กจิต พุทธ
นินไป นี้ บูชา พาน สรรค ที่พึง ห้แก่ ขณิก ญาณ บรรลุ จ้าจะ ตกาล
ค�าลาพระกัมมัฏฐาน อาปุจฉามิ ภันเต วิปัสสนา กัมมัฏฐานัง เทหิ ข้าพเจ้าขอลาพระกัมมัฏฐาน และหยุดพักไว้แต่เพียงเท่านี้ก่อน ขอกุศลที่ข้าพเจ้าได้ฝึกจิตในครั้งนี้ จงแผ่ไปถึง (เอ่ยนามทุกท่านที่ต้องการให้ เขาได้รับบุญ กุศล ในการปฏิบัติจิตของท่านในครั้งนี้ ให้กับเขาเหล่านั้นเพื่อลดกรรมที่ได้กระท�าไว้ทั้งในชาตินี้และชาติที่แล้วมาด้วย) การฝึกจิตจะให้ได้ผลเร็วและสามารถเห็นผลแห่งความส�าเร็จได้นั้น ต้อง ไม่มีสิ่งมารถกวนสมาธิในขณะที่ปฎิบัติจิต สิ่งที่มารบกวน เช่น เสียงต่างๆ แมลง และบุคคลในครอบครัว รวมถึงสื่อประเภทต่างๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์ สื่อสารทั้งหลาย ทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นสิ่งที่ต้องห่างไกล เพราะเป็นอุปสรรคต่อ การฝึกจิตอย่างมาก แต่สิ่งหนึ่งที่เป็นอุปสรรคส�าคัญที่ท่านทั้งหลายคิดไม่ถึง คือ เจ้ากรรมและนายเวร เพราะสิ่งเหล่านีเป็นอุปสรรคที่ท่านทั้งหลายไม่คาดคิดว่าจะ เป็นปัญหาในการปฏิบัติ แต่จริงแล้วในทางปฏิบัติจิตมีความส�าคัญมาก เพราะว่า จะเป็นเครื่องกีดกั้นและขวากหนาม ที่จะเป็นปัญหาในการปฏิบัติจิต ไม่ราบรื่นและ เป็นสิ่งบั่นทอนความรุ่งเรืองของชีวิต ท่านทั้งหลายควรแผ่เมตตาให้เจ้ากรรมและ นายเวรทุกครั้งที่ฝึกจิต จะให้ชีวิตลดอุปสรรคและก้าวหน้าสู่ความส�าเร็จได้ง่ายขึ้น
แวก นเอง 31
����������2.indd 31
3/6/14 11:11 AM
โยนิโสมนสิการในการฝึกจิต โยนิโสมนสิการ หมายถึง มีความตั้งในจริง มีความเอาใจใส่อย่างแท้จริง เป็นมูลเหตุในการก�าหนดอารมณ์ของจิต และพระกัมมัฏฐาน ส่วนความตั้งใจในสิ่งที่ผิด คือ อโยนิโสมนสิการ ธรรมชาติของจิตจะต้อง นึกจะต้องคิดต้องก�าหนดรู้ตามความเป็นจริง ถ้าหากนักปฏิบัติจิตเห็นว่าการ หายใจช้าไม่ทันใจ เกิดความกลุ้มใจ วุ่นวายใจ ไม่พึงพอใจ เกิดโทมนัสเวทนา มีธรรมชาติเป็นเช่นนั้นเอง เกิดอารมณ์คิดเองและจบลงด้วยตนเอง เมื่อจิตคิดไปเองก็จะหยุดคิดไปเองเช่นเดียวกัน ผู้ปฎิบัติทางจิตอาจจะคิด หรือความคิดหายไปก็ได้ นักปฏิบัติทางจิตที่คิดหรือมีจิตฟุ้งซ่านอยู่กับอดีต อารมณ์ ที่ดับไปแล้ว อารมณ์ที่เกิดขึ้นแล้วดับไปแล้ว จิตที่ฟุ้งซ่านจะมีผลท�าให้ผู้ปฏิบัติเสีย สมาธิ เกิดความประมาทขาดสติ เมื่ออุทธัจจะนิวรณ์เข้าแทรกในจิต ต้องแก้ดว้ ย การคิดตามเหตุตามผล ก�าหนดไปเรือ่ ยๆ อุทธัจจะนิวรณ์จะค่อยๆ เบาลง และใน ที่สุดก็จะอ่อนก�าลังลงและหายไปในที่สุด ผู้ปฏิบัติทางจิตต้องก�าหนดรู้ อยู่หลาย ครั้งจนกว่าจะนิวรณ์จะดับไปจริงๆ ยกเว้นเมื่อสมาธิแก่กล้า ก็สามารถก�าหนดได้ เพียงครัง้ เดียวเท่านัน้ เมือ่ ผูป้ ฏิบตั เิ ห็นไตรลักษณ์ปรากฏขึน้ การตัง้ สติก�าหนดตาม เช่นนี้ ท�าให้อดีตอารมณ์หายไป และปัจจุบันอารมณ์เข้ามาแทนที่ เมื่อก�าหนด ได้ทันอารมณ์ปัจจุบันตามเช่นที่ว่ามานี้ เมื่อนั้นจิตก็จะสงบไม่นึกไม่คิด ไม่ฟุ้งซ่าน ความสงัดจะเกิดขึ้นในจิต จิตจะมีก�าลังแก่กล้าและสามารถที่จะต่อสู้กับกิเลสได้ เป็นอย่างดี และที่ส�าคัญความสงบของจิตที่เกิดขึ้นย่อมมีพลังที่จะขับเคลื่อนสิ่งที่ ร้ายๆ ในชีวิตให้ออกไปจากจิตและชีวิตได้เป็นอย่างดี 32
����������2.indd 32
3/6/14 11:11 AM
ท้จริง
ะต้อง าการ ทนา
ะคิด รมณ์ ติเสีย ก้ดว้ ย ละใน หลาย นดได้ ตาม หนด งซ่าน ลสได้ นสิ่งที่
ฉะนัน้ ผูท้ จี่ ะฝึกปฏิบตั ทิ างจิตจึงไม่ควรทีจ่ ะคิดเรือ่ งราวในอดีต เพราะ ธรรมชาติของจิตนั้นต้องคิด และจะท�าให้สมาธิเผลอ เกิดการขาดสติได้ตลอดเวลา การคิดทั้งในอดีตและปัจจุบัน ท�าให้จิตเสียสมาธิทั้งสิ้น ในขณะที่ฝึกจิต ควรมีความ ตั้งมั่นและไม่ต้องกลัวว่าความคิดจะเกิด เพียงแต่คอยตั้งสติก�าหนดรู้ความจริงของ จิต เมื่อนั้นจิตจะเกิด ในโลกใบนี้ไม่มีอะไรเดินทางได้เร็วกว่าจิต ยากที่จะหาสิ่งใด มาเปรียบเทียบได้ จึงจ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องน�าเอาสติมาเป็นเครื่องป้องกัน มิให้ เกิดการขาดช่วงของการท�าจิตให้สะอาด สว่าง และสงบ ผู้ที่เริ่มฝึกปฏิบัติจิตใหม่อาจจะไม่สามารถแยกได้ว่า จิตสามารถรับรู้เริ่มต้น ทีไ่ หนและเกิดขึน้ เมือ่ ไร และไม่รวู้ ธิ แี ก้อาการของจิตทีฟ่ งุ้ ไปตามอ�านาจของนิวรณ์ บ้าง หรืออ�านาจของกิเลส แต่ครั้นเมื่อเกิดความช�านาญในการฝึกจิต จะสามารถ หยุดความคิดและความฟุ้งซ่านได้เป็นอย่างดี เมื่อนั้น อ�านาจแห่งจิตจะมีก�าลังแก่ กล้าพร้อมที่จะน�ามาแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ทั้งแบบลืมตาเห็นและหลับตารู้ และ ที่ส�าคัญการโยนิโสมนสิการ คือ การน้อมไปในจิตเบื้องต้นแล้วค่อยตัดปลิโพธออก ไปในภายหลัง ซึ่งเป็นสิ่งที่จา� เป็นอย่างมาก ส�าหรับผูท้ สี่ นใจฝึกจิตใหม่ตอ้ งเรียน รู้ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นบ่อเกิดแห่งการถือศีลตั้งแต่เบื้องต้นจนถึงขั้นสูงสุดของ ประโยชน์ในการถือศีล ส�าหรับผู้ที่ต้องการฝึกจิตให้เกิดความส�าเร็จ และสามารถ น�าพลังจิตที่ฝึกดีแล้วไปใช้กับชีวิตประจ�าวัน ต้องตั้งมั่นในศีลอันบริสุทธิ์ในพระสูตร ที่ 13 สูตรแรกในทีฆนิกายได้พรรณนาหลักการฝึกจิตของพระสาวกทัง้ หลายไว้วา่ โดย กล่าวถึงหลัก 3 ประการคือ ประการที่ 1 คือ ศีล ประการที่ 2 คือ สมาธิ 33
����������2.indd 33
3/6/14 11:11 AM
ประการสุดท้าย คือ ปัญญา ซึ่งเป็นหนทางที่จะบรรลุพระนิพพานอันเป็นเป้าหมายสูงสุดและเป็นที่พึ่งใน บุรพกิจในการปฏิบัติฝึกอบรมจิตได้เป็นอย่างดี
ศีล สมาธิ ปัญญา ศีล น�ามาซึ่งการลดกรรมน�าสุขให้เกิดขึ้นกับชีวิต ศีล คือ ข้อที่พึงปฎิบัติ ได้แก่ ศีล 5 หรือเรียกว่า อาชีวัฎฐมกศีลเป็นศีลของ คฤหัสถ์ ศีล 8 เป็นศีลของอุบาสิกา ส่วนศีล 10 เป็นศีลของสามเณร ปาฏิโมกข์สังวรศีล คือ ศีล 227 เป็นศีลของพระภิกษุ และศีล 311 เป็นศีลของภิกษุณี พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสว่า ศีลนี้ย่อมช�าระกาย วาจา ใจ ให้สะอาด ปราศจากมลทินทั้งปวงได้ รวมถึงเป็นผู้หมดจดจากกิเลส และเป็นเหตุส�าเร็จกิจ ทั้งมวล โดยเฉพาะกิจที่เกิดในธรรมะทั้งชั้นต�า่และชั้นสูง คือ ญาณมรรคผลแห่ง นิพพานรวมถึงกุศลธรรมอื่นๆ จะบังเกิดขึ้นได้เมื่อได้ปฏิบัติและน้อมองค์ศีลเข้าสู่ สภาวะจิตและกาย อานิสงส์แห่งศีลอีกนัยหนึ่ง ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กล่าวไว้ว่า ที่พึ่ง ของกุลบุตรทั้งหลายในพระศาสนาเว้นเสียซึ่งศีลอันใดย่อมไม่มี ใครเล่าจะพึงพรรณ ก�าหนดอานิสงส์ของศีลอันนั้นได้ 34
����������2.indd 34
3/6/14 11:11 AM
พึ่งใน
ลของ
ะอาด ร็จกิจ ลแห่ง เข้าสู่ ที่พึ่ง รรณ
น�า้ คือ ศีลย่อมล้างมลทินอันใดของสัตว์โลกทั้งหลายได้ แม่น�า้คงคา ยมุนา สรภู สุรัสวดี นินนคา อิรวดี หาล้างมลทินของสัตว์โลกได้ดีเท่ากับศีลไม่มี ศีลที่รักษาดีแล้วย่อมห่างไกลจากกิเลส มีความเย็นเป็นที่ตั้ง ย่อมบันดาล ดับความร้อนรุ่มกลุ่มใจที่เกิดขึ้นในสัตว์โลกให้สงบลงได้เป็นอย่างดี กลิ่นอันใดที่ฟุ้งที่หอมทวนลมและตามลมได้กลิ่นนั้นก็ไม่สามารถหอมได้ เท่ากับความหอมของศีล บันไดส�าหรับขึน้ สูส่ วรรค์ยอ่ มเปิดรับผูท้ มี่ ศี ลี บริสทุ ธิ์ เช่นเดียวกันประตูสู่ นรกภูมยิ ่อมเปิดรับผู้ที่ทุศีลเสมอ พระราชาทั้งหลายทรงประดับแก้วมุกดาและแก้วมณีที่สวยงามก็ไม่งาม เท่ากับนักพรตที่ประดับจิตและใจด้วยศีล ศีลของผู้มีศีลย่อมก�าจัดภัยให้ห่างไกลจากเรื่องร้ายๆ ได้ทั้งปวง และย่อม บันดาลให้เกิดสุขได้ทั้งหลับและตื่น ฉะนั้น ผู้ที่ศึกษาวิชาพลังจิตเพื่อปรับศักยภาพชีวิตต้องไม่ปล่อยปละละเลย เรื่องศีล มุ่งอบรมให้กาย ใจ และสติมีศีลอยู่ตลอดเวลาทั้งยามหลับและตื่น ศีลจะ เป็นเครื่องช่วยลดผลกรรมที่กระท�าไว้ในอดีตชาติและปัจจุบันชาติ ให้ลดน้อยลง และเมื่อมีศีลบริสุทธิ์แล้ว เมื่อนั้น กรรมต่างๆ ที่ได้กระท�าไว้จะลดลงไปด้วยเช่นกัน จึงเป็นสาเหตุให้ตัวเราและครอบครัวได้พบแต่ความสุข ความเจริญ มั่นคงในหน้าที่ การงานสืบต่อไป
35
����������2.indd 35
3/6/14 11:11 AM
สมาธิ เพื่อการดับทุกข์ เพิ่มสุข สมาธินั้น มิใช่เป็นข้อปฏิบัติในทางพระพุทธศาสนาแต่เพียงอย่างเดียว แต่ เป็นข้อปฏิบัติของคนทั่วไป เพราะสมาธิเป็นข้อจ�ากัด จะต้องมีในการท�างานทุก อย่าง ไม่ว่าจะเป็นงานทางด้านการด�าเนินชีวิตทั่วไป หรือทางด้านปฏิบัติธรรม หรือ ฝึกพลังจิต ก็เป็นเรื่องจ�าเป็นทั้งสิ้น ที่ต้องน�าการฝึกสมาธิมาใช้เพื่อกิจการงานทุก อย่างในที่นี้ จะกล่าวถึงความหมายของสมาธิทั่วไปก่อน สมาธิ ได้แก่ ความตั้งใจมั่นอยู่ในเรื่องที่ต้องการจะตั้งใจเท่านั้น ความตั้งใจนี้ แหละ คือ ความหมายของสมาธิ และต้องมีในกิจการงานทุกอย่างทุกประเภท ก็จะ ก่อให้เกิดความส�าเร็จทุกเรื่อง ในการหัดฝึกสมาธินั้นมีอยู่ 2 อย่าง คือ หัดท�าสมาธิเพื่อแก้อารมณ์และ กิเลสที่เกิดขึ้นในปัจจุบันอย่างหนึ่ง การฝึกสมาธิก็เพื่อเกิดพลังสมาธิที่แก่กล้ามาก ขึ้น เพื่อให้เกิดพลังงานทางจิตมากไว้สา� หรับการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นให้บรรลุ ผลแห่งความส�าเร็จแห่งชีวิต การฝึกสมาธิเพื่อให้เกิดพลังใจที่ตั้งมั่นและมีพลังมากขึ้น ก็เหมือนกับการ ออกก�าลังกาย เพื่อให้ร่างกายมีพละก�าลังมาก มีเรี่ยวแรงมาก เมือ่ หัดออกก�าลัง กายบ่อยๆ สม�า่เสมอร่างกายก็จะมีกา� ลังมากพลังก็มีมากขึ้นด้วย พลังจิตก็เป็นเช่น นั้น เหมือนกัน เมื่อหัดท�าสมาธิหรือฝึก พลังก็มีมากขึ้นด้วย พลังจิตก็เป็นเช่นนั้น เหมือนกัน เมื่อหัดท�าสมาธิหรือฝึกพลังจิตบ่อยๆ ก็จะท�าให้พลังสมาธิดีขึ้นและมาก ขึ้นตามล�าดับ สมาธิมีวิธีใช้อยู่ 2 อย่างเหมือนกัน อย่างหนึ่งก็เพื่อระงับอารมณ์ ระงับ 36
����������2.indd 36
3/6/14 11:11 AM
แต่ นทุก หรือ นทุก
งใจนี้ ก็จะ
และ มาก บรรลุ
บการ ก�าลัง นเช่น นนั้น มาก
ระงับ
กิเลสที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ผู้ที่ได้รับการฝึกสมาธิมาเป็นอย่างดีจิตใจ ย่อมแข็งแกร่ง ต้านทานอารมณ์ที่มากระทบจิตได้ดีกว่าผู้ที่ไม่ได้รับการฝึกสมาธิ และสามารถระงับ ใจได้ดีกว่า จะไม่ลุอา� นาจของอารมณ์ ของกิเลสที่เกิดจากความโลภ ความโกรธ ความหลง ซึ่งเป็นเครื่องมัวเมา สามารถสงบใจตนเองได้ อารมณ์และกิเลสเหล่านั้น ก็จะไม่กระทบกับการเรียนการศึกษา หรือหน้าที่การงาน ต่อกฎหมายบ้านเมือง ต่อ ศีลธรรมอันดีงาม และสามารถน�ามาใช้ในชีวิตประจ�าวันได้เป็นอย่างดี เช่น การอ่าน การเขียน การฟัง เมื่อจิตเป็นสมาธิจะท�าได้ดีกว่าจิตที่ไม่มีสมาธิ ฉะนั้น คนที่น�าสมาธิมาใช้กับชีวิตประจ�าวัน จะประสบความส�าเร็จมากกว่าคนที่ไม่ได้น�า สมาธิมาใช้ นักปฏิบัติทางพลังจิตและมีสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ การเรียนย่อมท�าได้ ดีกว่า การท�างานก็ก้าวหน้ากว่า มีประสิทธิผลมากกว่า การช่วยเหลือสังคม ก็กระท�าได้ดีกว่า เพราะมีสุขภาพจิตสูง ย่อมมีความสุขและความส�าเร็จในชีวิต ได้มากกว่าผู้ที่มีจิตเสื่อมและอ่อนแอ เช่นเดียวกับผู้ที่มีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ย่อมมีความสุขและก้าวหน้ากว่าผู้ที่มีร่างกายเจ็บป่วยอ่อนแอและขี้โรค อันร่างกาย ที่สมบูรณ์แข็งแรง ย่อมมีความสุขและก้าวหน้ากว่าผู้ที่มีร่างกายเจ็บป่วยอ่อนแอ และขี้โรค อันร่างกายที่สมบูรณ์เพราะเจ้าของร่างกายมีการออกก�าลังกาย รู้จัก รักษาสุขภาพ เช่น รู้จักการบริโภคอาหารที่ดีถูกสุขลักษณะพักผ่อนเพียงพอ และให้ อากาศที่บริสุทธิ์กับร่างกาย ข้อนี้ฉันใด จิตใจของมนุษย์เราก็ต้องมีการฝึกจิต ฝึก สมาธิให้เข้มแข็ง ไม่มีจิตใจอ่อนไหว ขี้โกรธ ตกใจง่าย หรือเป็นโรคหวาดระแวง รวม ถึงโรคประสาทประเภทต่างๆ ด้วย สุดท้ายจิตของเราก็จะป่วยและตายไปในที่สุด ถึงไม่ตายก็พิการทางจิต สังคมไม่ยอมรับ ต้องแยกตัวออกไปจากสังคม ถ้าเป็น 37
����������2.indd 37
3/6/14 11:11 AM
เช่นนั้นท�าไมหัดฝึกจิต ฝึกสมาธิเสียแต่วันนี้ จะรอให้โรคทางจิตมาเยือนเราก่อน ท�าไม ในปัจจุบนั วิทยาการสมัยใหม่ได้เจริญก้าวหน้าไปมาก แต่ความเจริญดังกล่าว เป็นเพียงความเจริญทางด้านวัตถุเสียเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งต่างจากสมัยก่อน มีความ เจริญทางด้านจิตใจมากกว่าด้านวัตถุจิตใจของคนในปัจจุบันจึงเกิดพิการขึ้น เช่น เกิดโรคทางจิต โรคประสาทขึ้นมากมาย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ของโลก เกิด สังคมพิการทางจิตไปทั่ว และเกิดปัญหาสลับซับซ้อนมากกว่าแต่ก่อน เช่น ปัญหา อาชญากรรม ปัญหายาเสพติด ปัญหาทางเศรษฐกิจ รวมถึงปัญหาทางศาสนา ด้วย เพราะอะไรท�าไมจึงเป็นเช่นนั้น ก็เพราะว่ามนุษย์พัฒนาแต่ทางวัตถุ ไม่พัฒนา จิตใจ โดยเฉพาะนักจิตวิทยาทางซีกโลกตะวันตก ซึ่งมองปัญหาจากภายในสู่ ภายนอก แต่พระพุทธเจ้าสิทธัตถะสอนให้พุทธศาสนิกชนมองจากภายนอกเข้าสู่ ภาพใน กล่าวคือ มองจากกายเข้าสู่สภาวะจิตใจและลึกลงไปสู่เจตสิก การฝึกจิต ให้มีสุขภาพแข็งแรงและสมบูรณ์นั้นมีในศาสนาพุทธ และปัจจุบันทั่วโลกก�าลัง ให้ความสนใจเป็นพิเศษ คนต่างชาติหันมาศึกษาและปฏิบัติพลังจิตกันมากขึ้น แต่คนไทยยังให้ความสนใจไม่มากเท่าทีค่ วร ทีห่ นั มาสนใจเพราะกลัวบาป กลัวกรรม ที่ตนกระท�าไว้ จึงศึกษาเพื่องหาทางแก้กรรม แต่ไม่ได้ศึกษาเพราะว่าหนทางแห่ง การดับทุกข์อย่างแท้จริง แต่ก็มีคนจ�านวนมากที่ให้ความสนใจใคร่รู้อย่างจริงจัง และลงมือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ซึ่งก็เป็นผลดีแก่ตัวเขาเอง รวมไปถึงครอบครัวด้วย การท�าสมาธิถือว่าได้บุญกุศลมากกว่า เพราะว่าเป็นหนทางที่เรียกว่า เฉียดใกล้ หนทางสู่ความพ้นทุกข์ บุญอย่างอื่นที่กระท�าไว้ เป็นบุญที่ต้องเวียนว่ายและต้อง กระท�าอยู่อย่างนั้น จึงจะเกิดผลบุญและผลบุญนั้น ที่เราได้กระท�าไว้ก็จะก่อให้เกิด 38
����������2.indd 38
3/6/14 11:11 AM
ก่อน
กล่าว ความ เช่น เกิด ญหา สนา ฒนา ยในสู่ ข้าสู่ กจิต ก�าลัง กขึ้น กรรม งแห่ง ริงจัง วด้วย ดใกล้ ะต้อง ห้เกิด
ความสุขความสบายในชาตินี้และชาติหน้า ส่วนการท�าสมาธิภาวนาหรือการฝึก จิตให้เป็นสมาธิ เป็นบุญที่ทา� ลายกิเลส กดหรือข่มอ�านาจกิเลส ไม่ให้เกิดขึ้นใน อารมณ์และสันดานของจิต จึงท�าให้จิตมีอ�านาจที่จะหลุดพ้นจากกรรมต่างๆ ที่ได้ กระท�าไว้ จึงกล่าวได้ว่า การฝึกจิตเป็นหนทางที่ใกล้หนทางพระนิพพานมากที่สุดมี บุญมากที่สุดและมีกุศลมากที่สุดด้วยเช่นกัน ปัญญาเพื่อความเห็นจริงตามความเป็นจริง ปัญญาแปลได้หลายความหมาย แปลว่าแสงสว่างก็ได้ แปลว่าความรอบรูก้ ไ็ ด้ มีความเห็นรู้แจ้งแทงตลอดเนื้อความที่เป็นจริงตามความเป็นจริง เช่น รอบคอบ รู้ เหตุ รู้ผล รู้ชัดเจน รู้ประจักษ์ ทั้งภายในและภายนอก เป็นต้น ปัญญาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ โลกิยปัญญา ได้แก่ ปัญญาของโลกิยชน ที่มีความรู้ความสามารถทางโลก เช่น วิชาวิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ กฎหมาย บริหารธุรกิจ ล้วนแต่เป็นปัญญาในาการรู้ เมื่อรู้จริงแล้ว น�ามาใช้กับชีวิตประจ�าวัน ก็จะก่อให้เกิดผลเลิศทางการอยู่รอดและปลอดภัยจากความทุกข์ยาก ล�าบากและ อยู่ดีมีสุขตามทางแห่งโลกปัจจุบัน ส่วนปัญญาที่เป็นปัญญาแบบพระอริยบุคคล คือ โลกุตรปัญญานั้น มีไว้ ศึกษาไว้ เพื่อการปราบกิเลสอย่างละเอียด คือ อวิชชา (ความไม่รู้แจ้งแทงตลอด รวมถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ความเห็นผิดจากความเป็นจริง) ปัญญาทีก่ ล่าวมานี้ ถ้าหากเป็นปัญญาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราเรียกว่า พระสัพพัญญุตญาณ ย่อมสามารถรู้ได้ทุกอย่าง รู้ทุกหนทุกแห่ง รู้แม้ 39
����������2.indd 39
3/6/14 11:11 AM
กระทั่งทางสายนิพพาน ปัญญา ต่างกับธาตุรู้ที่เรียกว่า วิญญาณ คือ ธาตุรู้ที่เรียกว่าวิญญาณนั้น รู้แต่เพียงสิ่งที่มากระทบ จากอายตนะภายนอก เช่น ตาเห็นรูป เกิดจากวิญญาณ ธาตุรู้ (รู้ทางตา) เป็นหน้าที่รู้ทั้งหมด ทั้งรูปที่ชอบ รูปที่ไม่ชอบ จะแบ่งว่ารูปดี ฉันเห็น เป็นไปไม่ได้ ส่วนปัญญารู้ จะรู้ตามความเป็นจริงตามอนัตตา คือ รู้ สิ่งที่เป็นมาและรู้สิ่งที่เป็นอยู่ และรู้ว่าอนาคตจะเป็นเช่นไร และการรู้ต้องรู้ตาม ความเป็นจริงเท่านั้น จึงจะเรียกว่าปัญญารู้ อย่างเช่นรู้ใน ขันธ์ 5 ซึ่งเราเรียกว่า เบญจขันธ์ มีส่วนประกอบ 5 อย่าง คือ รูป เวทนา สังขาร สัญญา วิญญาณ สิ่ง ที่กล่าวมานี้เป็นทุกข์ เป็นของที่ไม่เที่ยงแท้ มีความเสื่อม และดับไปในที่สุด ซึ่ง ทั้งหมดนั้นเกิดจากความอยาก ซึ่งเป็นอุปทานตัวใหญ่ที่คอยบัญชาการให้กับ กิเลส ซึง่ ประกอบด้วย โจรสามตน คือ นายโมหะ นายโลภะ นายโทสะที่บัญชาการ ให้เกิดการความต้องการรูปแบบต่างๆ ตามแต่อา� นาจกิเลส เห็นทีว่าจะไม่เพียง พอ เพราะสมาธิสามารถระงับกิเลสได้เพียงชั่วคราว เฉพาะเวลาที่เกิดสมาธิ เรา ก็รู้ทันกิเลสได้ แต่อา� นาจกิเลสนั้นแรงกล้า เราก็รับมือไม่ไหว ถ้าจะเปรียบไป สมาธิก็เหมือนยาแก้ไข้แก้ปวดประเภทพารา คือ ระงับปวดได้ชั่วคราว แต่ไม่ถาวร ฉะนัน้ ทุกท่านทีศ่ กึ ษาหลักการพัฒนาจิตเพื่อความส�าเร็จของชีวิตอย่างถาวร ควรใช้ปญ ั ญาในการคิด การอ่าน การฟัง รวมถึงการเรียนรู้ แม้กระทัง่ วิชาการทางโลก และทางธรรมให้ถ่องแท้ และรู้ให้จริงตามปัญญารู้ แล้วน�ามาแก้ไขปรับปรุงสิ่งที่ยัง ไม่แจ้ง ไม่กระจ่าง และสิ่งที่อวิชชาครอบง�าอยู่ ให้รู้แจ้งทุกชั้นทุกตอน เมื่อนั้นชีวิต ก็จะพบแต่ความสุข ความสบาย ทั้งชาตินี้และชาติหน้า 40
����������2.indd 40
3/6/14 11:11 AM
ณนั้น ญาณ รูปดี คือ รู้ ตาม ยกว่า ณ สิ่ง ซึ่ง ห้กับ าการ พียง เรา บไป ถาวร ถาวร งโลก งที่ยัง นชีวิต
บุรพกิจ ของการปฏิบัติจิต 5 ประการ ล�าดับความส�าคัญแห่งการฝึกปฏิบัติจิตเพื่อความส�าเร็จของชีวิตนั้น ต้อง มีการศึกษาและหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกจิต ในที่นี้ จะกล่าวถึงบุรพกิจ 5 ประการที่ต้องรู้จัก คือ ศีลที่ต้องปฏิบัติ หมายถึง ข้อยึดถือและต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ตัดปลิโพธ หมายถึง ความกังวล หรือเครื่องห่วงใยต่างๆ แสวงหากัลยาณมิตร พระอาจารย์ที่เก่งและสามารถสอนงานของจิตได้ ถูกต้อง แม่นย�า แสงหาสัปปายะที่ดี คือ สถานที่ที่เหมาะสมและควรแก่จิต เลือกเจริญ หรือศึกษาพลังจิตที่ตนชอบ และเหมาะกับจริตของตน 1. ตั้งตนอยู่ในศีล ศีลที่พึงปฏิบัติ ได้แก่ ศีล 5 ข้อที่ต้องปฏิบัติ เราะศีลเป็น เครื่องช�าระล้างกาย วาจา ใจ ให้สะอาดได้หมดจด จากความเป็นมลทินชีวิต และ เป็นเหตุให้ส�าเร็จกิจของธรรมะต่างๆ จนถึงขั้นสูง อย่างเช่น ญาณ มรรคผล และ กุศลอื่นๆ ที่จะบังเกิดขึ้น อีกมายมายหลังจากที่เราได้ถือศีล 2. เมื่อช�าระล้างให้ศีลสะอาด ปราศจากกิเลสแล้ว พึงระลึกนึกถึงการตัด ปลิโพธ คือ เครื่องที่ทา� ให้เกิดความกังวลในสิ่งต่างๆ ที่มารบกวนจิตและใจ ปลิโพธ ที่ควรทราบ มีด้วยกัน 10 ประการ คือ 2.1 อาวาสปลิโพธ เครื่องกังวล คือ ที่อยู่ อาศัย 41
����������2.indd 41
3/6/14 11:11 AM
2.2 กุลปลิโพธ 2.3 ลาภปลิโพธ 2.4 คณปลิโพธ 2.5 กัมมปลิโพธ 2.6 อัทธานปลิโพธ 2.7 ญาติปลิโพธ 2.8 อาพาธปลิโพธ 2.9 คันถปลิโพธ 2.10 อิทธิปลิโพธ
เครื่องกังวล คือ ตระกูล เครื่องกังวล คือ ลาภสักการะ เครื่องกังวล คือ หมู่ คณะ เครื่องกังวล คือ กรรมที่กระท�าไว้ เครื่องกังวล คือ การเดินทางใกล้ไกล เครื่องกังวล คือ ญาติ เครื่องกังวล คือ โรคภัย ไข้เจ็บต่างๆ เครื่องกังวล คือ การเล่าเรียน เครื่องกังวล คือ การแสดงฤทธิ์
เมื่อตัดความกังวลต่างๆ ได้แล้ว พึงเข้าหากัลยาณมิตร แล้วฝากตัวเป็นศิษย์ เพื่อฝึกวิชาการทางด้านพลังจิตก็ดี พระกัมมัฏฐานก็ดี หรือจะเป็นวิปัสสนา ควร เลือกกัลยาณมิตร ที่ถ่องแท้และมีความเป็นครูทุกเวลา ทุกโอกาส ทั้งที่ลับและที่แจ้ง รวมถึงกลางวันและกลางคืน สรุปก็คือ ต้องดีทั้งนอกและใน 3. แสวงหากัลยาณมิตรในที่นี้ หมายถึง บุคคลที่ช่วยชี้แนะ และชักจูง ตลอด จนแนะน�าค�าสั่งสอนให้ผู้อื่นกระท�าความดี และตนเองก็ต้องกระท�าด้วยเช่นกัน แนะน�าสิ่งที่ดีงามให้เกิดผล แห่งความสุข ความเจริญ ความก้าวหน้าให้พัฒนาใน ธรรมะ เป็นอริยะบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยกัลยาณมิตรโดยเนื้อแท้ เช่น พระพุทธเจ้า เหล่าสาวก และบิดามารดา 42
����������2.indd 42
3/6/14 11:11 AM
ศิษย์ ควร ที่แจ้ง
ลอด นกัน นาใน ธเจ้า
ในคัมภีร์วิสทธิมรรค อธิบายว่า ผู้เป็นกัลยาณมิตรต้องมีความประพฤติที่ดี ดังต่อไปนี้ ปิโย มีคุณสมบัติเป็นที่รัก เข้าถึงจิตใจ เป็นกันเอง น่าปรึกษาไต่ถาม ครุ มีคุณสมบัติเป็นที่น่าเคารพ มีความประพฤติสมควรแก่ฐานะ ภาวนีโย มีคุณสมบัติเป็นที่น่าสรรเสริญ มีความรู้จริง ทรงภูมิปัญญาที่แท้ จริง ฝึกฝนตนเองอยู่เสมอ น่ายกย่อง น่าเอาอย่าง วตฺตา เป็นผู้ที่ว่ากล่าวตักเตือน คอยให้ค�าชี้แนะรู้จักสอน รู้จักชี้แจง และ รู้ว่าเมื่อไรควรพูด เมื่อไรควรฟัง และเมื่อไรควรถาม วจนกฺขโม เป็นผูม้ คี วามอดกลัน้ ต่อค�าสูงๆ ต�า่ ๆ ได้ พร้อมทีจ่ ะรับฟังค�าปรึกษา ซักถาม คมฺภีรญฺจ กถ� กตฺตา เป็นผู้ที่สามารถชี้แจงค�าที่ลุ่มลึกได้ดี และเข้าใจง่าย โน จฏฐาเน นิโยชเย ไม่แนะน�าสิ่งที่ไม่ดีให้แก่ศิษย์ ชักชวนแต่สิ่งที่ดีมี ประโยชน์ ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ ท่านที่ศึกษาพลังจิตเพื่อปรับศักยภาพชีวิต ควรเสาะ แสวงหากัลยาณมิตร ที่กล่าวมาเพื่อมาเป็นครูบาอาจารย์ไว้สอนสั่งตนสืบต่อไป 4. หาสัปปายะ ที่เหมาะแก่การภาวนา สถานที่ที่เหมาะแก่การฝึกจิต เหมาะแก่การภาวนานั้นต้องวัด วัดที่สมควร ภาวนา คือ กลางวันไม่พลุกพล่านด้วยผู้คน กลางคืนเงียบสงัด ไม่มีเสียงอึกกระทึก ครึกโครม วัดที่สมควรภาวนา คือ ต้องไม่มีเหลือบ ไร ยุง และสัตว์เลื้อยคลานขบกัด 43
����������2.indd 43
3/6/14 11:11 AM
ไม่มีสายลมและแสงแดด ผู้ที่อยู่ในเสนาสนะนั้นต้องไม่เป็นผู้ฝืดเคืองด้วย ปัจจัย 4 และไม่ตระหนี่ วัดที่สมควรแก่การภาวนา ย่อมต้องมีภิกษุชั้นเถระ ผู้พหูสูตรส�าเร็จ การศึกษาปริยัติธรรม ทรงธรรม ทรงวินัย และทรงมาติกา คือหัวข้อแห่งธรรมวินัย ซึ่ง ลูกศิษย์ลูกหา สามารถเข้าไปเรียนถามได้ตามกาลอันควร หมายเหตุ สถานที่ที่ไม่ควร สัปปายะ มีด้วยกัน 18 ประการ แต่มิได้น�ามากล่าวในที่ นี้ ซึ่งท่านที่สนใจใคร่รู้หาอ่านในหนังสือคู่มือปฏิบัติธรรมของ อาจารย์วิเชียร อยู่เกตุ มีแจกให้เพิ่มเติมที่อโรคยา เมดิเตชั่น เฮลท์ แคร์ พระราม 5 หรือ ที่ Line : Arokayanet , Facebook : Arokaya Meditation Health Care Praram 5
จริต 6 จริต 6 หรือจรรยาของบุคคล คือ การแสดงออกถึงอุปนิสัย ซึ่งจะทราบได้โดย 5 ประการ ดังนี้ 1.อิริยาบถ 2.การงาน 3.การเห็น 4.อาหาร 5.ความเกิดขึ้นอห่งธรรมะ สาเหตุที่ เกิดขึ้นจากกรรมที่ได้สั่งสมมาในอดีตชาติแต่ปางก่อน มีธาตุและโทษเป็นเหตุ จริต 6 อย่าง คือ ราคะจริต ความประพฤติเป็นไปด้วยอ�านาจราคะ กิเลส ประกอบด้วย ลักษณะ 5 ประการ 44
����������2.indd 44
3/6/14 11:11 AM
จัย 4 าเร็จ ย ซึ่ง
วในที่ ยู่เกตุ
อิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน เรียบร้อยทุกอย่าง มีนิสัยรักสวยรักงาม ท่าทาง เรียบร้อย การงานที่ทา� ความสะอาดเรียบร้อย ตรงเวลา อาหารชอบ หวาน มัน เป็นอาหารที่น่าดู น่าทาน กลิ่นหอม ชอบอารมณ์ที่อ่อนหวาน ติดใจเรื่องที่อ่อนไหว ชอบปริยาย มายาสาไถยมาก ชอบโกง มีโทสะพอประมาณ มีมานะมากกว่า คนอื่น
5
ด้โดย
หตุที่ จริต
ะ 5
โทสจริต ความประพฤติที่เป็นไปด้วยอ�านาจแห่งความโกรธ โทสะ ประกอบด้วย ลักษณะ 5 อย่าง คือ การใช้อิริยาบถทั้ง 4 เร็วเกินไป เดินเร็ว พูดเร็ว ไม่เรียบร้อย ท�าการงานทุก อย่างเร็ว ไม่เรียบร้อย ชอบอาหาร รสเปรี้ยว เค็ม เผ็ด ขมร้อนจัด กว่าคนอื่น เมื่ออะไรมากระทบ อนิฏฐารมณ์แล้ว เกิดโทสะทันที มีโทสะอิจฉา ริษยา อาฆาต ไม่ยอมให้ผู้อื่นดีกว่าตน โมหจริต ความประพฤติทเี่ ป็นไปด้วยอ�านาจแห่งโมหะ ประกอบด้วย ลักษณะ 5 ประการ คือ การด�าเนินในอิริยาบถ 4 ไม่รักสวย รักงาม ไม่ตรงเวลา 45
����������2.indd 45
3/6/14 11:11 AM
การท�างานก็กระท�าแบบโง่ๆ แบบชุ่ยๆ ไม่เรียบร้อยเท่าที่ควร ชอบอาหารไม่เลือก กินจุกจิก ชอบกินเสมอ กินได้ทุกอย่าง อาการกิริยาทุกอย่าง ไม่สามารถพูดรู้ได้ด้วยตนเอง ชอชตามคนอื่น หดหู่ ท้อแท้ เกียจคร้าน ฟุ้งซ่าน มีวิจิกิจฉา คือ ข้อสงสัยเสมอ สัทธาจริต ความประพฤติทเี่ ป็นไปด้วยอ�านาจแห่งศรัทธา ประกอบด้วย ลักษณะ 5 ประการ คือ ไม่มีมายาสาไถย หมายความว่า การท�าบุญ รักษาศีล ด้วยเจตนาดี มีนิสัยชอบท�าบุญเสมอ และชอบแสวงหาที่ปฏิบัติธรรม และท�าบุญ ชอบฟังธรรมเทศนาเสมอ ไม่มีมานะ คือ ไม่ชอบการคดโกงหรือเอาเปรียบคนและสัตว์ ชอบความสวยงามแต่ไม่ถึงขั้นราคะจริต วิตกจริต ความประพฤติที่เป็นไปด้วยอำนาจวิตก ประกอบด้วย ลักษณะ 5 ประการ คือ การเดินยกเท้าไปมา แกว่งเท้า เขย่าเท้า ไม่นิ่งสงบ การงานล่าช้า ทบทวนมากเกินไป จนท�าให้เสียเวลา อาหารชอบไม่เลือก อย่างไหนก็กินได้หมด ชอบเอาเปรียบ การงานไม่เรียบร้อยเท่าที่ควร พูดมาก ชอบพูดอวดๆ เมื่อผู้อื่นคิดไม่ตรง ความเห็นของตนก็ท�าลายเสีย เชื่อมั่นตนเอง 46
����������2.indd 46
3/6/14 11:11 AM
ะการ
พุทธิจริต ความประพฤติที่เป็นไปด้วยอ�านาจแห่งปัญญา ประกอบด้วย ลักษณะ 5 ประการ คือ อิริยาบถทั้ง 4 ถึงด�าเนินไปก็ตาม มีสติควบคุมอยู่เสมอ ชอบแสวงหาความรู้อยู่เสมอ ชอบอาหารที่ไม่มีโทษ ถ้าเห็นว่าไม่สมควร ก็จะไม่บริโภคเลย ชอบสมาคมกับผู้ที่มีความรู้สูงกว่า ผู้ใหญ่สั่งสอนง่าย ไม่ถือเป็นความผิด ทั้งหมดที่นา� กล่าวมานี้ เป็นจริตที่ต้องควรรู้จักและน�าไปประยุกต์ใช้กับชีวิต ประจ�าวัน รวมถึงการน�าไปแก้ไขปรับปรุงจิต ให้มีความสะอาด ปราศจากกิเลส และ ความขุ่นมัว ในไม่ช้าพลังงานทางจิตที่มีอยู่ในตัวก็จะก่อเกิดผลดี มีกุศล ผลบุญมาก ส่งเสริมให้ชีวิตพบแต่ความส�าเร็จ
ร คือ
ม่ตรง 47
����������2.indd 47
3/6/14 11:11 AM
กายคตาสติ ที่ต้องเรียนรู้ ก่อนการฝึกพลังจิต การศึกษาพลังจิต จ�าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องรู้จักกายคตาสติ เพราะถ้าเราไม่ ศึกษาเรื่อง กายคตาสติแล้ว การเจริญทางจิตจะมีครบสมบูรณ์ และจะไม่ทราบถึง แก่นแท้ แห่งความหมายของ กายคยาสติ คือ อะไร กายคตาสติ คือ สติทมี่ อี ยูใ่ นกาย คอยควบคุมดูแลอารมณ์ไม่ให้ซดั ส่ายไปมา เปรียบเหมือนกับเป็นนายท้ายเรือ ที่คอยบังคับเรือให้แล่นไปในทิศทางที่ต้องการ และเป็นเครื่องบั่นทอนกิเลสให้ลดน้อย หรือไม่เหลือเลย รวมถึงเป็นเครื่องก�าจัด สันดานที่ไม่ดี ให้ออกไปจากจิตด้วยเช่นกัน กายของเรานี้เท่าที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า เป็นที่ประชุมหรือรวมกันของสิ่งที่ เรียกว่า ปฏิกูล เปรียบง่ายๆ ก็คือศูนย์รวมขี้ทั้งมวล ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า รวม ไปด้วยขี้ เพราะฉะนั้น ต้องหมั่นระลึกเสมอว่า กายของเรานี้เป็นที่ศูนย์รวมปฏิกูล ที่ท�าให้เกิดอากูลอยู่ตลอดเวลา หาที่สิ้นสุดไม่ได้ ร่างกายเรานี้เป็นของไม่สวย ไม่ งาม และเป็นการรวมตัวกันเฉพาะกิจ ณ เวลาหนึ่งเท่านั้น หาแก่นสารอะไรไม่ได้เลย แก่นต้นไม้ยังมีแก่นสาร แต่แก่นมนุษย์ หาแก่นไม่ได้เลยแม้เพียงน้อยนิด เมื่อเอา ร่างกายของเรามาแยกออกเป็นชิ้นๆ ตั้งแต่ศีรษะ จรดปลายเท้า ประกอบด้วยผม ขน เล็บ ฟัน หลัง และมีอวัยวะอยู่ภายในครบ 32 ถ้ายังมีชีวิตอยู่ก็จะพอมองได้ แต่ถ้า ตายแล้วซัก 7 วัน เราท่านทั้งหลาย ลองหลับตาพิจารณาเอาเองเถิดว่า จะเป็นเช่นไร คนที่เราเคยรัก คนที่เราเคยหวง คนที่เราเคยกอดอยู่ทุกวัน เมื่อตายลงครบ 7 วัน เรา ท่านทั้งหลายจะท�าเช่นที่เคยท�าหรือไม่ ค�าตอบโดยไม่ต้องคิดเลยว่าไม่แน่นอน เมื่อเราพิจารณากายคตาสติอยู่เนืองนิตย์ และจับยกอาการ 32 มาเป็น 48
����������2.indd 48
3/6/14 11:11 AM
ราไม่ าบถึง
ปมา งการ ก�าจัด
งสิ่งที่ รวม ฏิกูล ไม่ ด้เลย อเอา ม ขน แต่ถ้า ช่นไร น เรา
เครื่องอบรมจิตของเราอยู่เนืองๆ เมื่อนั้นจิตของเราก็จะไม่เกิดความประมาท และไม่ มัวเมาในกิเลส เมื่อยกระดับจิตของเราให้พิจารณากายคตาสติแล้ว จะได้รับ ประโยชน์อย่างต�า่ คือ ย่อมไม่เป็นผู้ประมาทในกาลและเวลา ไม่มัวเมาในกิเลส ปราศจากทุกข์ ได้ฌาณ อนภิรตสัญญา คือ ความไม่ยินดีในภพนี้และภพหน้า ไม่ยินดี และไม่ตื่นเต้นในการได้ทั้งปวง จะละความยินดีในชีวิตนี้ เกิดความพอดีในจิต จะชอบติบาป และความชั่วทั้งปวง ไม่มากในการสะสมทรัพย์ จึงไม่เกิดทุกข์ในสมบัติ ไม่ละโมบ โลภในสิ่งทั้งปวง ปราศจากความตระหนี่ คือ จะไม่เห็นแก่ตัวฝ่ายเดียว อนิจจสัญญา จะมีความรู้สึกถึงว่าสังขารเป็นสิ่งไม่เที่ยง ทุกขสัญญา และอนัตตสัญญาจะปรากฏให้เห็น เวลาตายจะมีสติรู้ และไม่กลัวความตาย เวลาตาย จะไม่หลงและไม่ท�ากาลกิริยาต่างๆ เมื่อตายแล้ว จิตของเราจะไปสู่สุคติภูมิ อันมีทิพย์สมบัติเป็นอารมณ์ และ มีฌาณสมาบัติเป็นที่ยึดเหนี่ยว เมื่อเกิดใหม่ได้มนุษย์สมบัติที่ดี มีสมบัติและอาภรณ์ต่างๆมากมาย เมื่อยังเป็นมนุษย์อยู่ ก็จะได้รับความสุขจนถึงวันสิ้นอายุขัย
าเป็น 49
����������2.indd 49
3/6/14 11:11 AM
อานิสงส์ของการยืดหลักธธรมในเรื่อง กายคตาสติ ไว้เป็นสรณะ คือ 1. ย่อมเป็นผู้ข่มได้ทั้งยินดีและไม่ยินดี 2. เป็นผู้ข่มความกลัวได้เป็นอย่างดี 3. เป็นผู้ทนต่อความหนาว ร้อนได้เป็นอย่างดี 4. เป็นผู้ที่อดกลั้นต่อทุกข์เวทนาได้เป็นอย่างดี 5. จะได้อาศัยสีต่างๆ แห่งโกฏฐานทั้งหลาย จิตจะบรรลุญาณ 4 6. สามารถจะบรรลุอภิญญา 6 ได้ง่าย เมื่อเราทราบถึงองค์คุณแห่งการระลึกนึกถึงกายคตาสติเช่นนี้ ขอท่าน ทั้งหลายช่วยกันน�าเอาหลักธรรมนี้ ไปเผยแพร่และตัวท่านเองก็ควรน�าไปปฏิบัติ และอบรมจิตทุกวัน ทุกเวลา ในไม่ช้าจิตของท่านก็จะยกระดับและพัฒนาจิตของ ท่านเข้าสู่อภิญญาได้สมความตั้งใจ
นิวรณ์ 5 คือ เครื่องกีดกั้นความดี 5 ประการ สิ่งทั้งหลายที่เกิดมาย่อมมีเหตุและผลทั้งสิ้น แต่จะด้วยเหตุดีหรือร้ายนั้น ย่อมมีทั้งเหตุและผลแม้กระทั่วนิวรณ์ก็เช่นเดียวกัน นิวรณ์จึงเกิดจากเหตุภายใน คือ อาการของใจ ที่มีเชื้อ คืออารมณ์ทั้งหลายรวมตัวกันกับกิเลสทั้งปวงที่เกิดขึ้นใน เวลานั้น และเหตุภายนอกเป็นตัวกระตุ้นให้อารมณ์ที่อยู่ภายในแสดงออกมาทาง อายตนะ คือ ร่างกายถูกถ่ายเทอารมณ์นั้นที่มาจากจิตและกาย จึงท�าให้เกิดนิวรณ์ ขึ้นครั้นเมื่อเกิดนิวรณ์แล้ว ยังไม่หยุดคิดหรือหยุดกระท�า ให้กายได้รับความเดือน 50
����������2.indd 50
3/6/14 11:11 AM
ท่าน ฏิบัติ ตของ
ยนั้น ายใน ขึ้นใน าทาง วรณ์ ดือน
ร้อน เมื่อนั้นจิตเจตสิกก็จะรับรู้และถูกบันทึกเข้าสู่สภาวะจิตที่เป็นเรื่องลึกลงไปใน ภูมิ ในชาติ ในภพต่อไป ซึ่งจะมีขั้นตอนและรายละเอียดมากมายต้องศึกษาในวิชา วิปัสสนา จะถ่องแท้ถึงแก่นของนิวรณ์ แต่ในเหตุเบื้องต้นนั้นมีสาเหตุใหญ่ๆ พอสรุป ได้ 5 ข้อ คือ กามฉันท์ คือ ความพอใจ รักใคร่ในกามและยินดีในกามคุณและตัณหาเกิดจากจิตไป ก�าหนดเห็นรูปว่างาม ว่าสวย ว่าน่ารัก น่ายินดี และต้องการในรูปนั้นๆ เมื่อสติไม่ ยับยั้งและเกิดกายคตาสติ ก็ก�าหนดเงื่อนไขและสัญญาทางกรรม คือ การกระท�าให้ ได้มาซึ่งความเป็นเจ้าของและยินดีในรูปนั้นจึงเกิดการยึดติดในอุปทานแห่งกิเลส พยาบาท เกิดจากจิตที่ไปก�าหนดหมายเอารูปว่างาม ว่าน่ายินดี และไปก�าหนด ความเป็นเจ้าของหรือเงื่อนไขต่างๆ ไม่ได้ตามที่ตนประสงค์ก็เกิดความขัดข้องแห่ง จิต จึงเกิดความพยาบาทขึ้นทั้งในกายและจิต ถีนมิทธะ เกิดจากจิตขาดความยินดี ไม่ชอบในกิจนั้นๆ มีความเกียจคร้านเป็นทุนเดิม บิดเบือน จิตหดหู่ และเมาในอาหารที่บริโภคเข้าไปมากจนเกินไป และแต่ละอย่าง ที่ก่อให้เกิดถีนมิทธะทั้งนั้นในปัจจุบันนี้เรียกว่า โรคเซ็ง คือ มองโลกในแง่จืดชืด ไร้รสชาติและน่าเบื่อหน่าย แต่ไม่ตรงกับการเบื่อทางธรรมะ ที่ว่าในโลกนี้น่าเบื่อ 51
����������2.indd 51
3/6/14 11:11 AM
เพราะอันนั้นเกิดจากจิตพิจารณา อุทธัจจกุกกุจจะ เกิดจากการไม่ควบคุมความคิด ไม่ควบคุมค�าพูด ปล่อยให้เป็นไปตาม อ�านาจแห่งใจความท้อแท้แห่งจิตจึงเกิดขึ้นความฟุ้งซ่านความร�าคาญใจและท�าใจ ให้แยบยลกับสิ่งต่างๆ ได้ยาก วิจิกิจฉา เกิดจากการขาดเหตุผลในกานพิจรณาเรื่องทั้งหลายขาดสติไม่พิจารณาให้ ถ่องแท้ไม่มีเหตุ ไม่มีผล ไม่มีการศึกษาหาข้อมูลก่อน นิวรณ์ 5 จะสงบลงได้ด้วยธรรฒบทดังนี้ นิวรณ์ 5 คือ เครื่องปรปักษ์โดยตรงกับสมาธิ เป็นเครื่องกีดกั้นทางกุศลและ ธรรมะทุกประการ เช่น ฌาน มรรค ผล แม้กระทั้งนิพพาน โดยเฉพาะด้านสาย โลกิยะฌาน ถ้าเกิดนิวรณ์ขึ้นเมื่อไร โลกิยะฌานนั้นจะเสื่อมถอยทันที เว้นแต่เมื่อ ยกจิตเข้าสู่โลกุตระภูมิของจิตเจตสิกแล้วเท่านั้น การแก้ให้เอาสติก�าหนดรู้ ดู หมาย ว่า กามคุณเป็นของไม่งาม กายมนุษย์ทั้งหญิงและชายเมื่อตายแล้วมีความน่า รังเกียจขยะแขยงประกอบไปด้วยปฏิกูลและอากูล เมื่อจิตของเรามีพยาบาทเกิดขึ้นในจิตจงตั้งใจใหม่ว่าการพยาบาทไม่มี ประโยชน์หาคุณไม่เห็นมีแต่ความเดือดร้อน ทุกใจ เสียเวลา ทรมานกายและใจควร 52
����������2.indd 52
3/6/14 11:11 AM
ตาม ท�าใจ
ณาให้
และ นสาย ต่เมื่อ มาย มน่า
ไม่มี จควร
เจริญเมตตาธรรมหรือน�าเอาธรรมบท คือ พรหมวิหาร 4 มาใช้อบรมจิตเมื่อนั้นจิตก็ จะละความพยาบาทได้ เมื่อจิตของเราเกิดความหดหู่ ง่วงเหงาหาวนอน คอยใช้สติเตือนตนว่าอย่า บริโภคมากเกินไป พยายามผลัดเปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆ ท�าให้สว่าง มีสมาธิตลอด เวลาอยู่ในที่แจ้งแสงสว่างมากๆ ส�าหรับท่านที่มี อุทธัจจกุกกุจจะ กับ วิจิกิจฉาให้ศึกษาสดับรับฟังให้มาก เรียนรู้ให้มากจดจ�าให้มากอ่านเขียนให้มาก สอบถามผู้รู้คือกัลยาณมิตรแท้ให้มาก หมั่นสอบถามท่านผู้ใหญ่ที่เราเคารพนับถือว่าทรงความรู้จริง สร้างระเบียบวินัยการ ใช้ชีวิต มีกฎมีการจัดการที่ดี สมาคมกับคนที่มีความรู้จริง การบรรเทานิวรณ์ทุกข้อ จ�ากัดว่าต้องอาศัยการถามผู้รู้ที่แท้จริง และเรื่องการสร้างธรรมขึ้นในจิต โดยอาศัย ธรรมบทที่เป็นคู่ปรับกับนิวรณ์ คือ อสุภนิมิต ก�าหนดจิตให้เห็นความไม่งามของร่างกายที่ตายแล้ว เมตตา ก�าหนดจิตให้มีความเอื้ออาทรและสงสาร เพิ่มความรัก อารัมภธาตุ ก�าหนดในความเพียร มีความพยายาม บากบั่น วิริยะ อุตสาหะ เช่น เดินจงกลม นั่งวิปัสสนากัมมัฏฐาน เจริญสติสัมปัฏฐาน นั่ง ยืน เดิน นอน รู้ อารมณ์สติตลอดเวลา เจตโสวูปสมะ ก�าหนดสมาธิจิตให้ก้าวล่วงเข้าสู่อภิญญา ทั้ง 6 โยนิโสมนสิการ ก�าหนดท�าใจให้แนบไปกับพระพุทธศาสนา แนบไป กับสิ่งที่มากระทบกับอายตนะทั้งภายในและภายนอก มีเหตุมีผล ไตร่ตรองเรื่องราว ทั้งหมดด้วยสติ 53
����������2.indd 53
3/6/14 11:11 AM
การสงบนิวรณ์ ด้วยการบ�าเพ็ญฌาน ทั้ง 4 คือ ลดสิ่งต่าง ๆ ที่มากระทบจิต ด้วยการปฏิบัติฌาน 4 กระท�าโดย วิตก ความตรึกเป็นกุศล ท�าหน้าที่สงบถีนมิทธะ ความง่วงเหงาหาวนอน วิจาร ความตริตรองกุศลธรรมท�าหน้าที่สงบวิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ปิติ ความสบายกายและใจ ท�าหน้าที่สงบอุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่าน ร�าคาญ เอกัคคตาหรือสมาธิจิต ท�าหน้าที่สงบกามฉันทะ ความพอใจ รักใคร่ใน กามคุณ การเจริญสติให้เข้าไปสู่ฌาน 4 กระท�าได้โดยการฝึกการเพ่งกสิณทั้ง 10 ประการ ซึ่งจะกล่าวต่อไปในบทการฝึกอภิญญาณ 6
ขันธ์ 5 คืออะไร “ขันธ์ 5” คือธรรมชาติ 5 ส่วน ซึ่งรวมอยู่ในคนๆหนึ่งหรือ ก็คือ กายกับใจ นั่นเอง ธรรมชาติในส่วนของร่างกาย ท่านเรียกว่า รูปขันธ์ธรรมชาติในส่วนของจิตใจ นั้นท่านเรียกว่า นามขันธ์ แยกออกเป็น 4 อย่าง 1.ธรรมชาติในส่วนของการรับรู้อารมณ์ ทางตา ทางหู หรือที่เรียกกันว่า การ เห็น การได้ยิน เรียกว่า วิญญาณขันธ์ 2.ธรรมชาติในส่วนการเสวยอารมณ์ เป็นสุข เป็นทุกข์ เรียกว่า เวทนาขันธ์ 3.ธรรมชาติในส่วนของการจดจ�าเรื่องอดีติ เรียกว่า สัญญาขันธ์ 54
����������2.indd 54
3/6/14 11:11 AM
บจิต
อน
งซ่าน
คร่ใน 10
กับใจ จิตใจ การ
นธ์
4.ธรรมชาติในส่วนของการนึกคิดปรุงแต่ง เป็นความคิดดีบ้าง ไม่ดีบ้าง เรียก ว่า สังขารขันธ์ นามขันธ์ทั้ง 4 อย่างเมื่อไปรวมกับส่วนของรูปขันธ์อีก 1 กลายเป็นขันธ์ 5 หรือ ธรรมชาติทั้ง 5 ส่วน คือแม่บทที่เราต้องน้อมน�าเอามาเป็นเครื่องเพ่งพิจารณาให้เกิด ปัญญา เห็นความจริงในธรรมชาติทั้ง 5 อย่างนี้ให้ได้ เพื่อจะได้ละคลายความยึดติด ในขันธ์ทั้ง 5 ให้เบาบางลง เพราะบ่อเกิดของความทุกข์ทั้งหลายแหล่มาจากความ ยึดติดในขันธ์ทั้ง 5 ทั้งสิ้น ขันธ์ 5 มีอะไรบ้าง ได้ทราบแล้ว ขันธ์ 5 ถ้าเรายึดมั่นจะท�าให้เกิดทุกข์อย่างไร 1. รูปขันธ์ คือส่วนที่เป็นร่างกาย ถ้าใจเข้าไปยึดถือว่า เป็นกายของเรา พอ กายมีการเปลี่ยนแปลงหรือทรุดโทรมลงไป ใจก็จะรับไม่ได้ และท�าให้เกิดทุกข์ขึ้นมา 2. วิญญาณขันธ์ คือการรับรู้อารมณ์ทางทวารต่างๆ มีตา มีหู เป็นต้น ตัวนี้ก็ไม่เบา ถ้าเข้าไปยึดมั่นเวลากระทบอารมณ์ คือเวลาเห็นรูป เวลาได้ยินเสียง แล้วเกิดความส�าคัญมั่นหมายว่า ตัวเราเห็น ตัวเราได้ยิน ถ้าได้เห็น ได้ยิน สิ่งที่ดี ก็ เพลิดเพลินพอใจ แต่ถ้าได้เห็น ได้ยินสิ่งที่ไม่ดี ก็จะเกิดอารมณ์ขัดเคืองไม่พอใจ 3. เวทนาขันธ์ เป็นธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นต่อเนื่องจากวิญญาณขันธ์ คือพอก ระทบกับอารมณ์ทางตา ทางหู ก็จะเกิดความรู้สึก (ผัสสะ อยู่ 2 ทาง คือชอบ กับไม่ ชอบ ถ้าชอบก็เกิดสุขเวทนา ถ้าไม่ชอบก็เกิดทุกขเวทนา เวลาเกิดเวทนา ทั้งสุข ทั้ง ทุกข์ เป็นผลมาจากการกระทบกับอารมณ์ภายนอก ถ้าเข้าไปยึดมั่น ว่าความสุขเป็น ของเรา ความทุกข์เป็นของเรา เวลาสุขหายไปก็ไม่สบายใจ เวลาทุกข์เกิดขึ้นก็รู้สึก อึดอัดอยู่ภายใน 55
����������2.indd 55
3/6/14 11:11 AM
4.สัญญาขันธ์ คือความจ�าในเรื่องอดีต ที่เคยเห็น เคยได้ยิน ตัวนี้ส�าคัญมาก ถ้ารู้ไม่เท่าทันก็จะเข้าไปยึด และจมปลักอยู่กับอารมณ์อดีต 5. สังขารขันธ์ คือความคิดต่างๆ ดีบ้างชั่วบ้างซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจาก ความจ�า (สัญญาขันธ์ข้อ 4 เห็นได้ชัดมาก เพราะคนส่วนใหญ่ที่ทุกข์เรื่องความคิด มีไม่น้อย สังขารขันธ์นอกจากเป็นตัวทุกข์อย่างส�าคัญแล้ว ยังเป็นบ่อเกิดของกิเลส อารมณ์เศร้าหมองนานาประการอีกด้วย) อายตนะ 12 หลักอายตนะของพระพุทธเจ้า มี 2 อย่าง คือ ภายนอก ภายใน และอยู่คู่ กันดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก 1. จักขุ ตา คู่กับ 1. รูปะ รูป 2. โสตะ หู ” 2. สัททะ เสียง 3. ฆานะ จมูก ” 3. คันธะ กลิ่น 4. ชิวหา ลิ้น ” 4. รสะ รส 5. กายะ กาย ” 5. โผฏฐัพพะ 6. มโน ใจ ” 6. ธรรมารมณ์ อารมณ์ เมื่ออายตนะภายในภายนอก กระทบกันเข้าตามคู่ก็เกิดเป็น สัมผัส ท�าให้ เกิดเวทนา และไปเกิดเป็น วิญญาณ 56
����������2.indd 56
3/6/14 11:11 AM
มาก
ทีปนีกรรม 12
าจาก มคิด กิเลส
พระพุทธศาสนายังจ�าแนกกรรมออกเป็น 12 ประเภท (จากหนังสือวิสุทธิ มรรค โดย พระพุทธโฆษาจารย์ พระเถระชาวอินเดีย)
อยู่คู่
ท�าให้
กรรมให้ผลตามกาลเวลา 1. ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในชาตินี้ 2. อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในชาติหน้า 3. อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในชาติต่อ ๆ ไป 4. อโหสิกรรม กรรมที่เลิกให้ผล คือ ให้ผลเสร็จไปแล้ว หรือหมดโอกาสที่จะ ให้ผลต่อไป กรรมให้ผลตามหน้าที่ 5. ชนกกรรม กรรมที่แต่งมาดีหรือชั่ว 6. อุปตถัมภกกรรม กรรมที่สนับสนุน คือ ถ้ากรรมเดิมหรือชนกกรรมแต่งดี ส่งให้ดียิ่งขึ้น กรรมเดิมแต่งให้ชั่วก็ส่งให้ชั่วยิ่งขึ้น 7. อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้นหรือขัดขวาง กรรมเดินคอยเบียนชนกกรรม เช่นเดิมแต่งมาดีเบียน ให้ชั่ว เดิมแต่งมาชั่วเบียนให้ดี 8. อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน เป็นกรรมพลิกหน้ามือเป็นหลังมือ เช่นเดิม ชนกกรรม แต่งไว้ดี 57
����������2.indd 57
3/6/14 11:11 AM
เลิศ กลับทีเดียวลงเป็นขอทานหรือตายไปเลย หรือเดิม ชนกกรรมแต่งไว้เลว มากกลับทีเดียวเป็น พระราชาหรือมหาเศรษฐี กรรมให้ผลตามความหนักเบา 9. ครุกรรม กรรมหนัก กรรมฝ่ายดี เช่น ท�าสมาธิจนได้ฌาณ กรรมฝ่ายชั่ว เช่น ท�าอนันตริยกรรม มีฆ่าบิดา มารดา เป็นต้น เป็นกรรมที่จะให้ผลโดยไม่มีกรรม อื่นมาขวางหรือกั้นได้ 10. พหุลกรรม/ อาจิณณกรรม กรรมที่ท�าจนชิน 11. อาสันนกรรม กรรมที่ท�าเมื่อใกล้ตาย หรือที่เอาจิตใจในเวลาใกล้ตาย อา สันนกรรมย่อมส่ง ผลให้ไปสู๋ที่ดีหรือชั่วได้ เปรียบเหมือนโคแก่ที่อยู่ปากคอก แม้แรงจะน้อย แต่ เมื่อเปิดคอกก็ออก ได้ก่อน 12. กตัตตากรรม กรรมสักแต่ว่าท�า คือ เจตนาไม่สมบูรณ์อาจจะท�าด้วย ความประมาท หรือรู้ เท่าไม่ถึงการณ์ แต่ก็อาจส่งผลดีร้ายให้ได้เหมือนกันในเมื่อไม่มีกรรมอื่นจะ ให้ผลแล้ว
58
����������2.indd 58
3/6/14 11:11 AM
ว้เลว
ายชั่ว กรรม
ย อา
ย แต่
าด้วย
นจะ
หาบุญได้ ใช้บุญเป็น การสั่งสมบุญ เพื่อเป็นต้นทุนชีวิตถือเป็นเรื่องส�าคัญ บุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ในโลกหน้า การท�าบุญย่อมน�าสุขมาให้กับชีวิต บุญที่กระท�าขึ้นมาด้วยตนนั้น โจรย่อมไม่สามารถปล้นได้ ไม่ควร ดูหมิ่นต่อว่าบุญ ว่ามีน้อย จักไม่มาถึงในชาตินี้ แม้หม้อน�้าที่รองรับน�้าทีละหยดที่ ตกลงมา ในไม่ช้าหม้อน�า้ นั้นย่อมเต็มไปด้วยน�้า ฉันใด ผู้มีปัญญาในการสั่งสมบุญ แม้ทีละน้อยย่อมเต็มไปด้วยบุญ บุญทั้งหลายนั้นจะเป็นมิตรในสัมปรายภพ บุญที่ กระท�าไว้จะยินดีและส่งผลให้ทั้งโลกนี้และโลกหน้า กรรมทั้งหลายที่กระท�าไว้ย่อม ลดลงได้เมื่อผลบุญมีมากขึ้นโดยล�าดับ ควรหมั่นกระท�าบุญบ่อย ๆ และกระท�าแบบ ต่อเนื่อง เพราะการสั่งบุญย่อมน�าสุขมาให้ กาลที่ท่านทั้งหลายได้รวมตัวกันมาสนใจอบรมและพัฒนาจิตเพื่อก่อให้เกิด ความสุขทั้งทางกายและ จิตใจ ควรสนใจในการสร้างบุญ 10 ประการคือ 1. ทานมัย คือ บุญส�าเร็จด้วยการบริจาคทาน เมื่อมารวมตัวกันปฏิบัติและ อบรมจิตแล้วควรตั้งกองทาน ด้วยปัจจัยขึ้น 1 กองทานแล้วน�าปัจจัยที่ได้ไปท�าบุญ ตามความเหมาะสม เพราะว่าปัจจัยที่ตั้งกองทานในการปฏิบัติธรรมนั้นมีอานิสงส์ มากกว่าการท�าทานในขณะปกติ และจะก่อให้เกิดผลดีทางด้านโภคทรัพย์ทั้งชาตินี้ และชาติหน้า 2. ศีลมัย คือ บุญส�าเร็จด้วยการรักษาศีลโดยเฉพาะเบญจศีล คือศีล 5 เพราะศีลท�าให้งาม และศีลน�ามาซึ่งความสุขและโภคทรัพย์ทั้งปวง 59
����������2.indd 59
3/6/14 11:11 AM
3. ภาวนามัย คือ บุญส�าเร็จด้วยการฝึกเจริญภาวนาตั้งสติให้มั่นที่เรียก ว่า กายคตาสติ เมื่อฝึกจิตให้สงบจากเครื่องเศร้าหมองทั้งหลายแล้ว จิตจะมีก�าลัง มากและมีอานุภาพมาก เมื่อแผ่ให้กับผู้ที่ต้องการผลบุญอันเกิดจากภาวนา ย่อมมี อานิสงส์มาก บุญกุศลที่เกิดจากภาวนาย่อมมีผลทั้ง 3 โลก คือมนุษย์ภูมิ สรรค์ภูมิ และนรกภูมิ 4. พลานะมัย คือ บุญส�าเร็จด้วยการถวายอาหารบิณฑบาต แก่พระ ภิกษุสงฆ์ องค์สามเณร เพื่อเป็นก�าลังแก่พระนั้น ท�าให้พระพุทธศาสนายืนยงถาวร สืบต่อไป บุญนั้นมีอานุภาพมากให้ผลทั้งตัวท่านเองและผู้ล่วงลับจากโลกนี้ไปแล้ว ด้วย รวมถึงตัวท่านเองก็ได้รับผลบุญในพลานิสงส์ เมื่อท่านละโลกนี้ไปแล้ว ท�าให้ ร่างกายแข็งแรงพลานามัยสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยและไม่เจ็บป่วยจากโรคร้ายทั้ง หลาย และไม่อดอยากเมื่อละจากโลกนี้ไปแล้ว 5. ปัจจัยไทยทาน คือ บุญส�าเร็จด้วยการสร้างพระไตรปิฎกถวายในพระ พุทธศาสนานี้ ย่อมมีอานิสงส์เป็นอันมาก สุดนับจะประมาณได้เฉพาะอานิสงส์แห่ง การสร้างอักขระตัวเดียว ก็นับจะประมาณมิได้ พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงตรัสว่า “สารีบุตร อันบุคคลใดสร้างพระไตรปิฎกถวายในพระพุทธศาสนา ย่อมมีอานิสงส์ มาก ยังผลให้เกิดสติ และปัญญามาก รวมถึงวิชามากด้วยสมบัติศฤงคารบริวาร จะ เป็นคนมีศีลมีสัตย์ ยินดีอยู่ในการบ�าเพ็ญกุศล จะเป็นคนมีรูปโฉมงดงาม สินทรัพย์ ทั้งหลายจะเพิ่มพูน เมื่อสิ้นชาติครั้นตายดับลงไปแล้ว บุญกุศลที่ได้สร้างพระ ไตรปิฎกก็จะส่งผลให้ไปเกิดในภูมิภพที่ดี คือได้เสวยทิพย์สมบัติในสวรรค์ ชั้นจตุ มหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวดี ชั้นละ 9 อสงไขย 6. อสามิกทานมัย คือ บุญส�าเร็จด้วยการถวายผ้าบังสุกุล หรือที่เรียกว่า 60
����������2.indd 60
3/6/14 11:11 AM
เรียก ก�าลัง อมมี ค์ภูมิ
ก่พระ ถาวร ปแล้ว ท�าให้ ายทั้ง
นพระ ส์แห่ง รัสว่า นิสงส์ ร จะ ทรัพย์ งพระ นจตุ
ยกว่า
ผ้าป่า ตามพระพุทธพจน์ขององค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงตรัสไว้ว่า ท่านที่ ตั้งใจถวายผ้าบังสุกุลด้วยจิตที่บริสุทธ์ให้กับสงฆ์ย่อมมีอา� นาจบุญมาก มีอานิสงส์ มาก ผลที่ได้จะท�าให้อายุยืนไม่ตายตอนเด็ก ไม่ตายตอนวัยกลางคน มีผิวพรรณ วรรณะผ่องใส เป็นที่ต้องตาต้องใจแก่ผู้พบเห็น มีสุขกายไร้โรคา พยาธิ มีความ สุขใจ มั่นคงไม่หวั่นไหวเพราะโลกธรรม 8 ประการ ท่านที่สละทรัพย์ที่หามาได้จาก หยาดเหงื่อของตน และบริจาคตามก�าลังศรัทธา ร่วมกันทอดผ้าป่าและผ้าบังสุกุล ไว้เป็นสมบัติของสงฆ์ย่อมมีอานิสงส์มาก 7. โภคสมปฺปิโตทานมัย คือ บุญส�าเร็จด้วยการถวายสลากภัตต์ หรือเรียก ว่า ถวายวัตถุทานแก่พระภิกษุสงฆ์ของคนหมู่มาก ย่อมปรากฏอานิสงส์มากโดย ล�าดับ ในครั้งพระพุทธกาล พระนางมหาปชาบดีโคตรมี พระนางก็เคยถวายสลาก ภัตต์ให้กับพระพุทธองค์ แต่พระองค์ไม่รับ และทรงตรัสแนะน�าให้ถวายแก่หมู่ สงฆ์ เพื่อจะได้ก่อเกิดอานิสงส์มาก และสงฆ์ที่จะรับสลากภัตต์ได้ต้องไม่ตา�่ กว่า 4 รูป ขึ้นไป พระภิกษุสงฆ์หรือสามเณรรูปเดียวไม่สามารถรักษาพระพุทธศาสนา ไว้ได้ ฉะนั้น เมื่อท่านถวายสลากภัตต์ทานแล้ว ต้องตั้งใจให้ดี และต้องมีศรัทธา ที่ดี อานิสงส์ที่ได้ถวายสลากภัตต์ทานนี้ ไม่ว่าจะเกิดชาติใดๆ จะมีศีลธรรมอัน ดี ไม่ยากจนเข็ญใจและไร้ทรัพย์ ท่านที่ได้ถวายสลากภัตต์ทุกๆ เดือนจัดว่า ท่านมี บุญมาก บุญที่ท่านท�าไว้จะเป็นพลวปัจจัยให้ได้โภคทรัพย์ และเป็นมูลฐานในการ บ�าเพ็ญเพียรภาวนาให้เกิดผลแห่งการปฏิบัติธรรมลุล่วงข้ามพ้นบ่วงมารทั้งหลาย และท�าให้กิเลสทั้งหลายสิ้นไปด้วย 8. สังฆทานมัย คือ บุญส�าเร็จด้วยการถวายสังฆทาน อนุโมทนาทาน บริจาค เพื่อให้บุญนั้นส่งผลให้ตนได้รับกุศลทั้งชาตินี้และชาติหน้า ทาน แปลว่า 61
����������2.indd 61
3/6/14 11:11 AM
ให้ แบ่งออกตามลักษณะการให้เป็น 2 ประการคือ ปาฏิปุคคลิกทาน สังฆทาน ปาฏิปุคลิกทาน ให้ทานโดยเจาะจงผู้รับ เช่นเจาะจงพระเพียงรูปเดียว หรือ สามเณรเพียงรูปเดียว มีผลอานิสงส์น้อยกว่าสังฆทาน สังฆทาน มีผลอานิสงส์มากกว่า เพราะต้องให้กับพระภิกษุอย่างน้อย 4 รูป ขึ้นไป ถึงร้อยรูป พันรูป ยิ่งถวายมากได้บุญมาก เมื่อบุญส�าเร็จด้วยการถวายสังฆทาน เมื่อผลบุญปรากฏ จะท�าให้ท่านมี ก�าลังทรัพย์มาก มีบริวารมาก และมีผู้คนเลื่อมใสศรัทธามาก และเมื่อละโลกนี้ไป แล้ว ผลบุญที่ได้ถวายสังฆทานไว้ ก็จะส่งผลให้ไปเกิดในชั้นปรนิมมิตวสวดี ซึ่งเป็น สวรรค์ชั้นที่ 6 ซึ่งสูงสุดกว่าสวรรค์ทุกชั้นใน 6 ชั้น 9. อาสนะทานมัย บุญส�าเร็จด้วยการถวายอาสนะรองนั่ง หรือกลดที่ไว้ ส�าหรับธุดงค์ ค�าว่า อาสนะ หมายถึงที่รองนั่ง เก้าอี้ ม้ารองนั่ง พรมผืนเล็ก ๆ หรือ ใหญ่ก็ได้ ตามพระวินยั ทรงอนุญาตให้พระนัง่ ได้รวมถึงกลดทีไ่ ว้สา� หรบปลีกวิเวกด้วย ซึ่งบุญกุศลที่สร้างไว้จะปรากฏให้ได้รับผลบุญทั้งชาตินี้และชาติหน้า คือ จะมีความ ร่มเย็นเป็นสุข มีที่ท�ามาหากินที่เป็นปึกแผ่นแก่นสาร และมีอาศัยที่มั่นคง บริบูรณ์ ด้วยโภคทรัพย์สมบัติและบริวาร มีพงศ์เผ่าพี่น้องที่ดีข้าทาสบริวารจงรักภักดี ส�าหรับท่านที่ตั้งใจ ถวายสิ่งของที่เรียกว่า อาสนะให้กับพระสงฆ์ ก็ดี ครูบาอาจารย์ ก็ดีย่อมมีอานิสงส์มาก 10. อุทิศทานแด่สัตว์ในอบายภูมิผู้ล่วงลับไปแล้ว รวมถึงผู้หมดโอกาสสร้าง บุญ กุศล หรือเรียกว่า เปรตยะมัย บุญส�าเร็จด้วยการอุทศิ ส่วนกุศลผลบุญ ให้กบั 62
����������2.indd 62
3/6/14 11:11 AM
หรือ
4 รูป
านมี กนี้ไป งเป็น
ดที่ไว้ หรือ กด้วย ความ บูรณ์
ผูล้ ่วงลับไปแล้ว และไปเกิดยังภูมิต่าง ๆ ที่ไม่ดี และไม่มีโอการสร้างบุญ เช่น อสัมภเวสี โอปาติกะชัน้ ต�า่ เดรัจฉาน เปรต อสูรกาย ภูติ อภูติ หรือวิญญาณที่ต้อง ตายก่อนก�าหนดขัยอายุ เพราะว่าพวกเขาเหล่านี้ ต้องไปรับกรรมในอบายภูมิที่ต�า่ และล�าบากบางครั้ง ผู้ที่อยู่ไม่ได้ท�าบุญ อุทิศส่วนกุศลไปให้ หรือท�าบุญแล้ว มิได้ กรวดน�้าอุทิศผลบุญ จึงได้รับความล�าบากและอดยาก ได้รับทุกข์เวทนาอย่างแสน สาหัสในการกระท�าของตนเมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ ฉะนัน้ เราท่านทัง้ หลายทีต่ งั้ ใจจะอบรมจิตและคิดจะปฏิบตั ธิ รรมในความดี ควรมีจิตเมตตาแผ่ส่วนกุศลไปให้ยังพวกเขาเหล่านั้น เมื่อเขาได้รับผลบุญที่เราอุทิศ ให้ไปเขาก็สรรเสริญและมีจิตที่ดี วันนี้ท่านได้ท�าบุญอุทิศส่วนบุญไปให้ จะท�าให้ ท่านที่ความสุขกาย สบายใจ ปิยชนทั้งหลายก็จะพากันสรรเสริญท่าน และเมื่อชีวิต วายชนม์แล้วก็ไปเกิดในภูมิที่ดี ครัน้ มาบังเกิดใหม่ ก็เกิดในตระกูลอันดี มัง่ คัง่ มียศ และบริวารแวดล้อม เทวดา และมนุษย์พากันแซ่ซ้องสรรเสริญ มีฤทธาอานุภาพ มาก มีรูปสวยงดงาม มีปัญญาที่เฉียวฉลาด ไม่หลงเวลาใกล้ตาย ครั้นตายแล้วก็จัก บังเกิดในสวรรค์ภูมิ ที่นา� เรื่องราวและอานิสงส์ต่าง ๆ มาพรรณนาไว้ ณ. ที่นี้เพื่อเป็นการชี้น�า ให้ท่านทั้งหลายหันมา กระท�าความดีสร้างบุญกุศลทั้งทางตรงและทางอ้อม โดย กระท�าแบบต่อเนื่องและตลอดไป
จารย์
สร้าง ห้กบั 63
����������2.indd 63
3/6/14 11:11 AM
สังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุ 4 หมายถึง หลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน�้าใจของผู้อื่น ผูก ไมตรี เอื้อเฟื้อ เกื้อกูล หรือเป็นหลักการสงเคราะห์ซึ่งกันและกัน มีอยู่ 4 ประการ ได้แก่ 1. ทานคือ การให้ การเสียสละ หรือการเอื้อเฟื้อแบ่งปันของๆตน เพื่อ ประโยชน์แก่บุคคลอื่น ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว ไม่เป็นคนเห็นแก่ได้ฝ่ายเดียว คุณธรรม ข้อนี้จะช่วยให้ไม่เป็นคนละโมบ ไม่เห็นแก่ตัว เราควรค�านึงอยู่เสมอว่า ทรัพย์สิ่งของ ทีเ่ ราหามาได้ มิใช่สง่ิ จีรงั ยัง่ ยืน เมือ่ เราสิน้ ชีวติ ไปแล้วก็ไม่สามารถจะน�าติดตัวเอาไปได้ 2. ปิยวาจา คือ การพูดจาด้วยถ้อยค�าที่ไพเราะอ่อนหวาน พูดด้วยความ จริงใจ ไม่พูดหยาบคายก้าวร้าว พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์เหมาะส�าหรับกาลเทศะ พระพุทธเจ้าทรงให้ความส�าคัญกับการพูดเป็นอย่างยิ่ง เพราะการพูดเป็นบันไดขั้น แรกที่จะสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้น วิธีการที่จะพูดให้เป็นปิยวาจานั้นจะต้อง พูดโดยยึดถือหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ เว้นจากการพูดเท็จ เว้นจากการพูดส่อเสียด เว้นจากการพูดค�าหยาบ เว้น จากการพูดเพ้อเจ้อ 3. อัตถจริยา คือ การสงเคราะห์ทุกชนิดหรือการประพฤติในสิ่งที่เป็น ประโยชน์แก่ผู้อื่น 4. สมานัตตา คือ การเป็นผู้มีความสม�า่ เสมอ หรือมีความประพฤติเสมอต้น เสมอปลาย คุณธรรมข้อนี้จะช่วยให้เราเป็นคนมีจิตใจหนักแน่นไม่โลเล รวมทั้งยัง เป็นการสร้างความนิยม และไว้วางใจให้แก่ผู้อื่นอีกด้วย 64
����������2.indd 64
3/6/14 11:11 AM
อิทธิบาท 4
ผูก ะการ
เพื่อ ธรรม งของ ด้ ความ ทศะ ดขั้น ะต้อง เว้น
ที่เป็น
อต้น ทั้งยัง
อิทธิบาท 4 หมายถึง คุณลักษณะหรือต้นเหตุที่สามารถใช้ท�าให้ประสบ ความส�าเร็จได้ในทุกๆกิจการหรือในการกระท�าทุกอย่าง เป็นข้อปฏิบัติเพื่อความ เจริญให้บรรลุเป้าหมายต้องอาศัยความตั้งใจแห่งอิทธิบาท 4 ฉันทะ คือ ความพอใจในสิ่งที่ต้องการกระท�า อันท�าให้เกิดความมุ่งมั่นให้ เกิดผลงาน เช่น การท�างานในภารกิจ หรือการปฏิบัติธรรม เพื่อค้นหาความจริงของ ชีวิต วิริยะ ความเพียร ความบากบั่น ความขยัน ความไม่ท้อถอย ความเป็นผู้ เอาการเอางาน คือความขยันอย่างสม�า่ เสมอจนกว่าจะส�าเร็จ ไม่ต้องรอคนมาช่วย ต้องปรับตนให้เป็นที่พึ่งของตนเอง จิตตะ คือการเอาใจใส่จดจ่อ การคิดตรึกตรอง จิตที่จดจ่อจนเป็นสติอยู่ ตลอดเวลา มีความส�าคัญในการพัฒนาจิตให้เป็นสมาธิแล้ว ต้องด�าเนินการ ต่อเนื่องในการพัฒนาความคิด จนสามารถรู้แจ้งในธรรมชาติของชีวิต เป็นปัญญา และสัมปชัญญะ วิมังสา คือการพิจารณา ไตร่ตรอง ทบทวนจนรู้ชัด อยู่ตลอดเวลา ท�าให้จิต เข้าใจในความเป็นจริง และความเป็นไปของธรรมชาติได้อย่างถูกต้องจนพิจารณา เห็นว่าทุกสิ่งที่จิตรับรู้นั้นไม่ว่าเป็นรูปหรือนาม หรืออาการและอารมณ์ของจิตต่างๆ ล้วนเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาทั้งสิ้น
65
����������2.indd 65
3/6/14 11:11 AM
ธรรมของฆราวาส 4 ส�าหรับท่านที่สนใจในธรรมบทที่เกี่ยวข้องกับฆราวาสธรรม ที่สามารถน�ามา ปฏิบัติได้ โดยเราท่านทั้งหลายนั้น ควรที่จะมีความรู้จะน�าธรรมบทที่บรมศาสดา เจ้าท่านได้ทรงชี้แนะไว้ เพื่อเป็นแนวทางแห่งการปฏิบัติ เพื่อความผาสุกที่จะเกิด ขึ้นกับผู้ที่น�าธรรมบทนี้ไปใช้ปฏิบัติ รวมถึงการน�าข้อเขียนนี้ ไปเป็นเครื่องปกป้อง และคุ้มครองกายและจิต มิให้ตกไปสู่อบายทางทุกข์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนกลัวว่าจะมี ความทุกข์ การน�าธรรมแบบฆราวาสธรรมนี้มาชี้แจง เพื่อท่านที่สนใจใคร่ปฏิบัติ ได้น�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวัน เพราะว่าสังคมปัจจุบันมีแต่ความวุ่นวาย และเป็น สังคมที่มีแต่ความสับสน เหตุนี้จึงควรมีธรรมที่เป็นเครื่องคุ้มครองความประพฤติ อันเกิดจากสิ่งแวดล้อมในสังคมปัจจุบันนี้ เพราะคนเราจะอยู่ผู้เดี่ยวไม่ได้ต้องมีพวก มีหมู่ มีบิดามารดา สามีภรรยา ลูกหลาน ญาติมิตร ทรัพย์สินเงินทองนับไม่ถ้วน ตัวของเราเป็นวัตถุกามภายใน สิ่งแวดล้อมเหล่านั้น เป็นวัตถุกามภายนอก ตัวของเราพอใจในกามสุข ตัวของเราอาศัยสิ่งแวดล้อม เป็นผู้น�าความสุขมาให้เรา คือเราได้เห็น ได้ยิน ได้ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รับธรรมารมณ์ แล้วเกิดสุขกาย สุขใน กามสุข ท่านว่าเป็นสามิสสุข เป็นสุขที่เปลี่ยนแปลงเป็นสุขแรกได้แรกเสีย คือ มีทุกข์ เจืออยู่ด้วย จึงควรระวังสิ่งที่นา� สุขมาให้นั่นแหละจะน�าทุกข์มาให้แก่เรา คือสิ่งทั้ง ปวง ทั้งวัตถุภายใน คือในตัวเราและวัตถุภายนอก คือสิ่งแวดล้อมเหล่านั้น มันเป็น ของไม่เที่ยง ถ้าเราเข้าไปยึดเอาโดยความเป็นเจ้าของ ตัวของเราจึงเต็มไปด้วย 66
����������2.indd 66
3/6/14 11:11 AM
น�ามา สดา ะเกิด กป้อง จะมี
ฏิบัติ ะเป็น พฤติ พวก ถ้วน
มสุข ด้ยิน มสุข ทุกข์ สิ่งทั้ง นเป็น ด้วย
ทุกข์ จึงไม่ควรยึดมั่นในสิ่งเหล่านั้น ให้ถือว่าเป็น ธรรมดา ถ้าสิ่งเหล่านั้นยังตั้งอยู่ ในตัวของเราก็ยังตั้งอยู่ สิ่งที่แวดล้อมเหล่านั้นแหละจะท�าให้เราชอบใจบ้าง ไม่ชอบใจบ้าง จึงให้มีธรรมข้อปฏิบัติ อันเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสังคมทั่วไปที่ต้อง ประสบและมีอยู่ประจ�าวัน เมื่อประสบความชอบ หรือ ไม่ชอบ เข้าแล้วให้เราอาศัย คุณธรรม 4 ประการ คือ 1. ทมะ ความข่มใจ ให้ข่มไว้ให้ดี ถ้ามันชอบมากเกินไป ก็ต้องอยากได้สิ่ง นั้นเกินควร จนเป็นเหตุให้เสียศีลธรรม ถ้าขาดจากธรรมของมนุษย์และธรรมของ เทวดา ตัวของเราก็ตกจากสุคติไปสู่ทุคติ ถ้าไม่ชอบทางทุคติให้ระวังโทษที่จะเกิด ทางกาย ทางวาจา โทษทางกาย คือ เกิดทุบตี หรือฆ่าลักขโมย ผิดในภรรยาเขา โทษทางวาจา คือ พูดปด พูดส่อเสียด พูดค�าหยาบ ไม่มีเมตตา กรุณาแก่สัตว์อื่น ตัวของเราจึง ขาดจากมนุษยธรรมและเทวธรรม จึงตกจากสุคติไปสู่ทุคติ ให้รักษาแต่โทษทาง กายทางวาจาเท่านั้น ก็คงอยู่ในมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ ส่วนโทษทางใจ คือ ความรัก ความชัง โลภ โกรธ หลง อันเกิดขึ้นทางใจ เป็นหน้าที่แห่งโลกุตตระภูมิจึง จะฆ่าให้ตายได้ภูมิจิตของเรายังตกอยู่ในขั้นโลกีย์ ก็ต้องใช้ความข่มใจ คือ ให้นึก ในใจไว้บริกรรมว่า ข่มๆ ข่มๆ ข่มมันไว้ร้อยครั้งพันครั้ง เปรียบเหมือนคนที่มีก�าลัง มากข่มศีรษะ คนมีกา� ลังน้อย ไม่ให้มันกระดิกตัวขึ้นมาได้ ถ้าข่มไว้ไม่ฟังให้อาศัยใช้ คุณธรรมข้อ 2 คือ 2. ขันติ ความอดทน ให้ใช้บริกรรมไว้ในใจว่าอดๆ อดๆ ร้อยครั้งพันครั้ง ความข่มใจ และความอดทนเป็นคุณธรรมที่ใช้ได้หลายอย่างเป็นของที่มีคุณค่ามาก เหมือนยาที่มีคุณแก้โรคได้หลายอย่าง คือ การข่มใจ ในคราวที่ถูกหนาวและร้อน 67
����������2.indd 67
3/6/14 11:11 AM
แดดและลม เหลือบและยุง หิวกระหาย ทนอย่างนี้เรียกว่า ทนต่อทุกขเวทนา อันเกิด แต่ความเจ็บไข้ได้ทุกข์ต่างๆ ไม่แสดง อาการทุรนทุรายอย่างนี้เรียกว่า ทนต่อทุกขเวทนา ความอดทนต่อผู้อื่น ด่าว่าเสียดสีมีประการต่างๆ ไม่แสดงอาการโต้ตอบ ทนอย่างนี้เรียกว่า ทนเจ็บใจ ขันติจะห้ามไว้ได้ซึ่งความหุนหัน ขันติจะน�ามาซึ่งประโยชน์สุข กุศลธรรมจะ งอกงามได้เพราะขันติ ขันติเป็นก�าลังของผู้บ�าเพ็ญเพียร 3. สัจจะ ความซื่อสัตย์ต่อกันในสังคมอันตนอาศัยอยู่ ไม่ต้องการให้แตก จากสังคม เช่น สามีกับภรรยา ญาติมิตร หมู่คณะ ตลอดถึงประเทศชาติ จะแตก จากสังคมกันเพราะไม่ซื่อสัตย์ต่อกัน ถ้าต่างคนต่างซื่อสัตย์ต่อกัน ตรงต่อหน้าที่ การงานของตน ผู้ที่เป็นพ่อแม่ ก็ให้ตรงต่อหน้าที่ของพ่อแม่ ผู้เป็นสามีภรรยา ผู้ที่ เป็นลูกหลานก็ให้ตรงต่อหน้าที่ของลูกหลาน ผู้ที่เป็นราษฎร์ก็ให้ตรงต่อหน้าที่ของ ราษฎร์ ผู้ที่เป็นเจ้านายก็ให้ตรงต่อหน้าที่ของเจ้านาย ผู้ที่รักษาประเทศชาติก็ให้ตรง ต่อประเทศชาติของตน 4. จาคะ การสละให้ปันในของที่ควรให้ปัน คือ ถ้าเขาอยากได้ เราก็ให้เขา ถ้าเราอยากได้เขาก็ให้เรา ต่างฝ่ายต่างสละให้กันและกันแล้ว ก็เป็นอันว่าหมดเรื่อง สิ่งที่เขาต้องการกับเรา หรือเราต้องการกับเขา ก็ไม่ใช่อื่นไกลนอกจาก รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เพราะในกามโลกนี้ ต้องการกามสุขแต่เพียงอย่างเดียวเท่านี้ กามสุขเป็นของกลาง ผู้ก่อสร้างเอาไปไม่ได้ เป็นของใช้สา� หรับกับแผ่นดิน ใครเกิด มาก็ใช้กันไป ตายแล้วเอาไปไม่ได้ จึงควรแจกจ่ายให้กันและกัน ยังจะเป็นขุมทอง กองบุญ เป็นเครื่องสนับสนุนติดตามเราทั้งในโลกนี้และโลกหน้า คุณธรรม 4 ประการนี้จึงให้ชื่อว่า ฆราวาสธรรม เป็นธรรมอันเกี่ยวกับสังคม 68
����������2.indd 68
3/6/14 11:11 AM
นเกิด
ผู้อื่น จ็บใจ มจะ
แตก แตก น้าที่ า ผู้ที่ ที่ของ ห้ตรง
ห้เขา เรื่อง เสียง ท่านี้ รเกิด มทอง
สังคม
เป็นทางให้เกิดสุข ให้ตั้งอยู่ในมนุษย์สมบัติและสวรรค์สมบัติ ผู้เป็นคฤหัสถ์จะ ละเสียมิได้ ถึงผู้เป็นบรรพชิตก็ยังต้องมีคุณธรรมเหล่านี้ เป็นรากฐานไว้ให้เต็ม บริบูรณ์ จึงจะประพฤติธรรมข้ออื่นๆ ได้ ผู้ที่ประพฤติธรรมทุกๆ จ�าพวก ถ้าขาดจาก คุณธรรม 4 ข้อนี้ ชุมนุมชนจะตั้งอยู่เป็นปึกแผ่นแน่นหนาไม่ได้เลย เพราะชุมนุมชน ทุกหมู่เหล่าที่อยู่เป็นพวกเป็นหมู่จะต้องประสบสิ่งที่ชอบและสิ่งที่ไม่ชอบ ถ้า ไม่อาศัยความข่มใจ ความอดทน และซื่อสัตย์ต่อกัน และสละแบ่งปันแล้วปล่อย ไปตามอ�านาจแห่งกิเลสคือ ราคะ โทสะ โมหะ มันจะไหลออกมาทางใจ ใจไม่มี เครื่องบังคับดังเครื่องยนต์ไม่มีห้ามล้อ มันจะหมุนไปทับสัตว์และคน ตลอดสิ่งของ ให้พินาศฉิบหายป่นปี้ ใจไม่มีเครื่องบังคับ ใจก็ต้องระเบิดเรียกกันว่าใจแตก เมื่อใจแตกห้ามไม่อยู่แล้ว ใจจึงไหลออกมาทางกาย ทางวาจา ท�าให้กาย แตก วาจาแตก เป็นกายทุจริต วจีทุจริต ผิดศีลธรรมน�าให้ตกจากมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ เข้าถึงอบายภูมิ นรชนที่ไม่รู้จักใจ และไม่รักษาใจ ใจจึงไม่เที่ยง จึงต้องตกนรก ขึ้นสวรรค์กันยาก สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของคนดี ธรรมของสัตบุรุษ 1. ธัมมัญญุตา = รู้จักเหตุ 2. อัตถัญญุตา = รู้จักผล 3. อัตตัญญุตา = รู้จักตน 4. มัตตัญญุตา = รู้จักประมาณ 5. กาลัญญุตา = รู้จักกาล 69
����������2.indd 69
3/6/14 11:11 AM
6. ปริสัญญุตา = รู้จักชุมชน 7. ปุคคลปโรปรัญญุตา = รู้จักบุคคล แนวทางโพชฌงค์ 7 ประการ การพิจารณาธรรมในโพชฌงค์นี้ ตามแนวทางปฏิบัติต้องพิจารณาให้รู้ สภาวะก่อนเกิด ขณะเกิด และการเจริญของสภาวธรรมทั้ง 7 ผู้ที่จะก�าหนดรู้และ พิจารณาได้ต้องมีความพากเพียรมาก เป็นความพากเพียรในการละอกุศลและ เจริญธรรม ชื่อว่าการเจริญสัมมัปธาน เป็นวิธีก�าจัดอาสวะกิเลสด้วยการอบรม หรือ ภาวนาเป็นกรรมหรือการกระท�าเพื่อความเจริญถ่ายเดียวไม่มีเสื่อมเลย ค�าว่าโพชฌงค์ หมายถึง องค์แห่งปัญญาเป็นทางตรัสรู้ โยคีจะรู้พระนิพพาน ได้โดยทางสายนี้ ประกอบกันทั้งหมด 7 ประการ คือ 1. สติสัมโพชฌงค์ สติหมายถึงความระลึกได้ส�านึกพร้อม มีอาการปรากฏในขณะปัจจุบัน เป็น สภาวธรรมที่ดึงใจออกจากความหลง ให้มาอยู่กับอารมณ์ ที่มีการพิจารณาสติใน โพชฌงค์นี้ ได้แก่ สติในการเจริญสติปัฏฐาน เมื่อเจริญสติปัฏฐาน มีสติไม่เผลอ ขณะนั้นชื่อว่า ปรารภสติโพชฌงค์ เจริญสติสัมโพชฌงค์เพื่อให้ถึงความบริบูรณ์เมื่อ มีสติ เช่นนี้ ย่อมค้นคว้าไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา 70
����������2.indd 70
3/6/14 11:11 AM
าให้รู้ และ และ หรือ
พาน
เป็น สติใน ผลอ ณ์เมื่อ
2. ธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์ หมายถึง ความเฟ้นธรรม ความสอดส่องสืบค้นธรรมพิจารณาธรรม เพื่อให้ ประจักษ์สภาวะของอารมณ์ที่กา� ลังพิจารณาอยู่ให้เห็นตามความเป็นจริง ธัมมวิจัย สัมโพชฌงค์เกิดขณะมีสติสัมโพชฌงค์ และก�าลังค้นคว้าไตร่ตรองธรรมนั้นด้วย ปัญญา เป็นการเจริญธัมวิจัยสัมโพชฌงค์ เพื่อให้ถึงความสมบูรณ์ ขณะนั้นชื่อว่า ปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน 3. วิริยสัมโพชฌงค์ หมายถึง ความเพียรเป็นความสืบเนื่องไม่ขาดถอย ในขณะที่ก�าลังกระท�าอยู่ นั้นมีลักษณะการ ประคองการกระท�านั้นเพื่อให้ส�าเร็จผล ขณะก�าลังค้นคว้า ไตร่ตรองพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา มีความเพียร ไม่ย่อหย่อนดี ชื่อว่า ปรารภ และเจริญวิริยสัมโพชฌงค์ เพื่อให้ถึงความสมบูรณ์ปราศจากอามิสความ เพียรนั้นย่อมปรากฏขึ้น 4. ปิติสัมโพชฌงค์ หมายถึง ความอิ่มใจ เบิกบานใจ ซาบซ่านแช่มชื่นซาบซึ่ง สภาวธรรมใน ขณะนั้นเรียกว่า ปิติ ถ้าปิตินี้เกิดในขณะที่มีสติ มีความเพียรพิจารณาธรรมอยู่ขณะ นั้น ชื่อว่า ปิติสัมโพชฌงค์ 5. ปัสสัทธิสัทธิสัมโพชฌงค์ หมายถึง ความสงบกาย ความสงบใจ ผ่อนคลายไม่เครียด ไม่กรสับกระส่าย 71
����������2.indd 71
3/6/14 11:11 AM
เบาสบายทั้งกายและจิตของผู้ปฏิบัติมีความปิติ และเป็นผู้ระงับได้ในทุกเรื่องที่มา กระทบทั้งจิตและกาย 6. สมาธิสัมโพชฌงค์ หมายถึง ความมีความตั้งใจมั่น มีอารมณ์เดียว แน่วแน่ไม่วอกแวก และ แน่นิ่งในอารมณ์ที่กา� ลังพิจารณา ไม่วอกแวกไม่ฟุ้งซ่านขณะใด กายและจิต ของ ผู้ปฏิบัติในขณะนั้น สงบและระงับได้ทุกเรื่อง มีความสุขขณะนั้นจิตก็ตั้งมั่นแล้ว ย่อมไม่ฟุ้งซ่าน 7. อุเบกขาสัมโพชฌงค์ หมายถึง ความมีใจเป็นกลาง เพราะว่าเห็นเหตุตามความเป็นจริง นิ่ง ดู ไม่สอดส่าย ไม่แทรกแซงสภาวะ วางเฉย ไม่ยินดีกับสิ่งมากระทบ ไม่ฟูมฟาย จิตตั้งมั่นแล้วกระท�าได้ต่อเนื่องในทุกขณะจิต และรักษาอารมณ์นั้นไว้อย่างต่อ เนื่องและตลอดไป จะท�าให้ไม่เกิดทุกข์ทั้งปวง ความสุขย่อมปรากฏในความวาง เฉยในอุเบกขา อุปกิเลส 16 ที่ผู้ปฏิบัติควรห่างไกล อุปกิเลส 16 คือ เครื่องกีดกั้นความดี 16 ประการ การพิจารณาความตั้งอยู่และดับไปของความจริงที่เรียกว่า กิเลส ควรห่างไกลจากกิเลส เพราะจะท�าให้เสียมากกว่าได้ 72
����������2.indd 72
3/6/14 11:11 AM
ที่มา
ฝึกการกระท�าใหม่ให้ห่างไกล อุปกิเลส 16 อุปกิเลส 16 คือ สิ่งที่ผู้ปฏิบัติควรกระท�าการฝึกจิตใจ ในทุกอิริยาบท และ ต้องกระท�าอย่างต่อเนือ่ ง เมือ่ เห็นผลปรากฏแล้วต้องแนะน�าให้ผรู้ ว่ มงานกระท�าตาม
และ ของ แล้ว
1. อภิชฌมวิสมโลภะ คือ ความโลภมาก อยากได้ อยากมีเกินกว่าปกติ เห็นแก่ตัว ไม่ห่วงบุคคลอื่นว่าคิดอย่างไร เป็นแบบไหน อยู่อย่างไร คิดอย่างไร 2. พยาบาท คือการคิดร้าย ปองร้าย อาฆาต มุ่งแต่จะท�าร้าย ท�าลาย ใคร พูดไม่ถูกใจก็คิดแต่จะต�าหนิเขา คิดแต่จะท�าร้าย บางคนต�าหนิคนอื่นไม่พอยัง ต�าหนิตนเองเพิ่มเข้าไปอีก ท�าร้ายคนอื่นไม่พอ ท�าร้ายตนเอง ฆ่าตัวตายก็มี เพราะ อ�านาจแห่งความพยาบาท 3. โกธะ คือความโกรธ มีอะไรมากระทบก็โกรธ ง่าย เมื่อเกิดขึ้นแล้วหายง่าย เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น ไม่ถึงกับผูกใจเจ็บ เป็นอาการของโทสะ 4. อุปนาหะ คือ ความผูกโกรธ อาฆาต ผูกใจเจ็บ ต้องการแก้แค้น เอาชนะ แบบไร้เหตุผล ไม่ทบทวนความดีความชอบแต่หนหลัง 5. มักขะ คือ การลบหลู่คุณท่าน ไม่ส�านึกในบุญคุณ ลบหลู่ความดีของผู้อื่น ไม่มีน�้าใจตอบแทนในความดี ความเอื้ออาทร ปฏิเสธความดีของผู้อื่น 6. ปลาสะ คือ การตีตนเสมอท่าน ยกตนเหนือท่าน ยกตนว่าเลิศกว่าคนอื่น มักโอ้อวด อวดเบ่ง อ�านาจ วาสนา 7. อิสสา คือ ความริษยา เห็นบุคคลอื่นได้ดีก็ริษยา ทนไม่ได้ จิตใจขุ่นมัว เมื่อเห็นบุคคลอื่นได้รับการเอาอกเอาใจมากกว่าก็น้อยใจ แสดงกิริยามารยาทที่ไม่ดี ออกมาให้สังคมเห็น
นิ่ง ฟาย างต่อ มวาง
73
����������2.indd 73
3/6/14 11:11 AM
8. มัจฉริยะ คือ ความตระหนี่ ขี้เหนียว เสียดายของ ยึดติดในวัตถุ สิ่งของ ไม่ยอมท�าทานและแบ่งปัน เกิดความเสียดาย หวงแหนอ�านาจ 9. มายา คือ เจ้าเล่ห์ หลอกลวง ไม่จริงใจ พยายามแสดงบทที่ดูจริงใจ เสแสร้ง แกล้งกระท�า รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว รวมถึงการพูดชมคนอื่นด้วย ความไม่จริงใจ รวมถึงการไม่มีความรู้สึกที่ดีแต่แกล้งกระท�าดี 10. สาเถยยะ คือ การโอ้อวด หลอกลวงเขา ชอบอวดว่าตนดีกว่าคนอื่น เก่ง กว่าคนอื่น พูดจาให้บุคคลอื่นเชื่อในสิ่งที่ผิด 11. ถัมภะ คือ ความเป็นคนหัวดื้อ รั้น เอาแต่ใจ ยึดมั่นในตัวตนมากเกินไป ใครแนะน�าอะไรไม่ฟัง ถึงฟังก็ไม่กระท�าตาม ชอบดันทุรัง 12. สารัมภะ คือ การแข่งดีแข่งเด่นในเรื่องที่ไม่ดีและดีมากเกินไป มีเหตุผล มากมายเกินความจ�าเป็น ยกเหตุผลประกอบค�าพูดมากจนน่าเบื่อ เพื่อจะให้ตนพ้น ผิด หรือต้องการให้ดูว่าตนดี 13. มานะ คือ การถือตน ถือตัว เข้าพบยากมีปัญหาขั้นตอนมากมาย ทะนง ตนเกินเหตุ ทระนงมากเกินไป 14. อติมานะ คือ การดูหมิ่นท่าน ความที่เราถือตัวว่าเราดีกว่าคนอื่น จึง ท�าให้เกิดการดูหมิ่นบุคคลอื่น 15. มทะ คือ ความมัวเมา หลงใหล นึกว่าตนยังไม่แก่ ไม่เฒ่า ยังสาว ยัง หนุ่ม ความหลงไปในอ�านาจหน้าที่ ยศฐาบรรดาศักดิ์ 16. ปมาทะ คือ ความประมาท เลินเล่อ ไม่คิดรอบคอบ ขาดสติ มัวเมาใน การครองชีวิต คิดไม่รอบคอบ ขาดการยับยั้งชั่งใจ และไตร่ตรอง 74
����������2.indd 74
3/6/14 11:11 AM
งของ
ฝึกอภิญญาญาณ 6 เพื่อชีวิตประจ�าวัน
ริงใจ ด้วย
ส�าหรับท่านที่จะศึกษาเรื่องอภิญญา 6 ต้องเข้าใจและท�าใจให้แน่ชัดก่อน รวมถึงส�ารวจตนเองก่อนว่าท่านได้ศึกษาพื้นฐานขั้นตอนอื่นมาแล้วหรือยัง ในที่นี้จะ ล�าดับขั้นตอนให้เห็นเป็นรูปธรรมไว้ก่อน ส่วนท่านที่มีหนังสือคู่มือศีลธรรมค�้าจุนโลก เล่มที่ 3 ก็สามารถหาอ่านและศึกษาจากต�าราเล่มดังกล่าวได้เช่นเดียวกัน การจะฝึกอภิญญาให้ส�าเร็จผลท่านทั้งหลายต้องศึกษาสมถะพื้นฐานของ การอบรมจิตในแง่มุมต่าง ๆ แล้วน�ามาปฏิบัติอบรมจิตทีละขั้นตอน โดยการเรียน แบบวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยอาการ 10 ประการ คือ 1. โดยแสดงจ�านวนกัมมัฏฐาน 2. โดยการน�ามาซึ่งอุปจารฌาน และอัปปนาฌาน 3. โดยการแตกกันแห่งฌาน 4. โดยผ่านองค์ฌานและอารมณ์ 5. โดยควรขยายและไม่ขยาย 6. โดยอารมณ์ของฌาน 7. โดยภูมิเป็นที่บังเกิด 8. โดยการถือเอา 9. โดยเป็นปัจจัยเกื้อหนุน 10. โดยความเหมาะสมแก่จริต
น เก่ง
กินไป
ตุผล นพ้น
ทะนง
น จึง
ว ยัง
มาใน
75
����������2.indd 75
3/6/14 11:11 AM
การแยกกัมมัฎฐานไว้ทั้งหมด 7 หมวด รวมกันได้ 40 อย่าง คือ 1. กสิณกัมมัฏฐาน 10 อย่าง 2. อสุภกัมมัฏฐาน 10 อย่าง 3. อนุสติกัมมัฏฐาน 10 อย่าง 4. พรหมวิหารกัมมัฎฐาน 4 อย่าง 5. อรูปกัมมัฏฐาน 4 อย่าง 6. อาหาเร ปฏิกูลสัญญากัมมัฎฐาน 1 อย่าง 7. จตุธาตุวัฏฐานกัมมัฏฐาน 1 อย่าง รวมกันเรียกว่ากัมมัฏฐาน 40 ที่เราท่านพอจะทราบมาแล้ว ส่วนวิธีการ เจริญนั้นก็แตกต่างกันออกไป รวมถึงวิธีต่าง ๆ ก็ต่างกันไปเช่นเดียวกัน ส�าหรับ รายละเอียดได้กล่าวไว้ในหนังสือคู่มือปฏิบัติธรรม หนังสือศีลธรรมค�า้จุนโลกของ อาจารย์วิเชียร อยู่เกตุ เขียนเมื่อปี พ.ศ.2519 ในที่นี้จะขยายความเพียงอรูปกัมมัฏ ฐาน 4 อย่าง คือ 1.อากาสานัญจายตนะ อากาศไม่มีสิ้นสุด 2.วิญญานัญจายตนะ วิญญาณไม่มีสิ้นสุด 3.อากิญจัญญายตนะ ความว่างเปล่าย่อมไม่มีที่สิ้นสุด 4.เนวสัญญานาสัญญายตนะ สัญญาต่าง ๆ ว่าจะมีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มี สัญญาก็ไม่ใช่ สัญญากัมมัฏฐานอีกข้อหนึ่ง คือ อาหาเรปฏิกูลสัญญา หมายถึง การ พิจารณาอาหารที่เรากินเข้าไปเป็นปฏิกูล ท�าให้เกิดอากูลกับร่างกาย สัญญากัมมัฏ 76
����������2.indd 76
3/6/14 11:11 AM
ธีการ หรับ กของ มมัฏ
ไม่มี การ มมัฏ
ฐานอีกข้อหนึ่ง คือ จตุธาตุวัฏฐาน คือการก�าหนดแยกคนออกจากธาตุ 4 ได้เป็น อย่างดีว่าส่วนใหญ่เป็นธาตุอะไร เช่น ธาตุไฟ คือ เตโชธาตุ ธาตุน�้า คือ อาโปธาตุ ธาตุลม คือ วาโยธาตุ ธาตุดิน คือ ปฐวีธาตุ เมื่อผู้ที่จะศึกษาอภิญญา 6 จะต้องรู้ว่าท่านต้องผ่านขั้นตอนของจิต คือ ต้อง ผ่านขั้นตอนของสมาธิ 3 ให้จนเกิดความช�านาญในการใช้สมาธิ 3 ขั้นตอน กล่าวคือ การบ�าเพ็ญสมาธิ 3 ขั้นเปรียบเหมือนบันได 3 ขั้นที่เราต้องเดินผ่าน ถ้าไม่ เดินผ่านบันได 3 ขั้นนี้เสียแล้ว ถือว่ายังไม่ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ความสงบแห่งจิตจะเกิดขึ้นตามล�าดับของการฝึกสมาธิ เมื่อบุคคลใดได้ เจริญสติ เจริญพระกัมมัฏฐาน ที่กล่าวมาทั้งหมดในตอนต้น ใช่ว่าจะเอาอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่งที่ฝึกมาตั้งแต่ต้น จะมาระลึกในสมาธิก็หาไม่ เพราะว่าความสงบแห่ง จิตจะเกิดตามล�าดับขั้นตอนดังนี้ คือ ขณิกสมาธิ เป็นเพียงความสงบชั่วครั้งชั่วคราวในการฝึกสมาธิจิต อาจจะใช้ เวลาเพียง 1 นาที ถึง 2-3 นาที อุปจารสมาธิ เป็นความสงบทีเพิ่มนานขึ้น จิตใกล้จะแน่วแน่ในองค์ฌาน อนุสสติ ทั้ง 8 บังเกิดในสมาธิ คือ 1. พุทธานุสสติ 2. ธัมมานุสสติ 3. สังฆานุสสติ 4. สีลานุสสติ 5. จาคะนุสสติ 6. เทวตานุสสติ 7. อุปสมนุสสติ 8.มรณัสสติ 77
����������2.indd 77
3/6/14 11:11 AM
กับอาหาเรปฏิกูลสัญญาและจตุธาตุววัตฐาน ก่อให้เกิดความสงบในลักษณะจิต เบื้องต้น เมื่อนั้นจิตและสมาธิในขั้นนี้มีความประณีตละเอียดอ่อน จิตจะไม่แนบ กับอารมณ์เหล่านี้ได้นาน และจิตยังไม่นิ่งพอ อัปปะนาสมาธิ คือ สมาธิตงั้ มัน่ แน่วแน่ไม่หวัน่ ไหว โดยการน�าพระกัมมัฏ ฐานอีก 32 มาเจริญอย่างต่อเนื่องทุกเวลา เมื่อนั้นสมาธิก็จะเกิดการแก่กล้าในสมาธิ เมื่อท่านทั้งหลายได้ฝึกจิตให้เป็นสมาธิในระดับหนึ่งแล้ว และสามารถใช้ขั้น ตอนของสมาธิได้ถูกต้องและแม่นย�า จดจ�าอารมณ์พระกัมมัฏฐานได้ทั้ง 40 อารมณ์ ดีแล้ว ท่านต้องเจริญจิตในสภาวธรรมของท่านทั้งหลายให้เข้าสู่นิมิต 3 ตามล�าดับ นิมิต 3 นิมิต คือ อะไร นิมิต คือ จดจ�า ส�าคัญหมายว่าเป็นเครื่องเตือน ทางพุทธ ศาสนากล่าวถึงนิมิต 3 ไว้ว่า 1. อุคนิมิต คือ นิมิตที่เทียบเคียง เช่น เวลาเพ่งกสิณตาเห็นรูป แต่พอเวลา หลับตาจะบังเกิดรูปในนิมิต คือ นิมิตที่ติดกับอารมณ์ แต่ไม่คงที่เกิดขึ้นแล้วดับไป ตลอดเวลา 2. บริกรรมนิมิต คือ นิมิตที่เกิดจากการบริกรรมอยู่เนืองนิตย์ไม่ขาดสาย หรือระลึกถึงตลอดเวลา อาการของบริกรรมนิมิตจะเป็นเสมือนของจริงที่เกิดขึ้น เหมือนเป็นเครื่องถ่ายเอกสารที่ถ่ายเอกสารมาจากต้นฉบับแต่มิใช่ของจริง เมื่อเกิด ขึ้นมาแล้วก็ดับไปเช่นกัน แต่ความส�าคัญคือต้องภาวนาตลอดไปจึงจะเห็นนิมิต ประเภทนี้ 78
����������2.indd 78
3/6/14 11:11 AM
ณะจิต แนบ
มมัฏ สมาธิ ช้ขั้น รมณ์ ดับ
พุทธ
เวลา บไป
ดสาย ดขึ้น อเกิด นิมิต
3. ปฏิภาคนิมิต เกิดเพราะว่าอุคนิมิตกระท�าซ�้าแล้วซ�้าเล่า จนเกิดวสี คือ ความช�านาญ ปฏิภาคนิมิตทั้งหลายจะเกิดขึ้นกับจิตเจตสิกและจิตเจโตเสมอ ซึ่ง ไม่จา� เป็นต้องได้สมาธิ เพราะว่าการพิจารณาดวงกสิณ แต่บุคคลก็สามารถเห็น ปฏิภาคนิมิตได้ด้วยการที่หลับ หรือจะลืมตาดูก็สามารถเห็นปฏิภาคนิมิตได้ จะ ปรากฏเป็นภาพแห่งความจริงทั้งสองนัย เมื่อปฏิภาคนิมิตเกิดขึ้นแล้ว สามารถ ก�าหนดให้เป็นตามที่ต้องการได้ รวมถึงกาลและเวลาด้วย แม้กระทั่งสามารถให้ผู้ อื่นเห็นด้วยอ�านาจแห่งปฏิภาคนิมิต เมื่อท่านทั้งหลายฝึกจิตมาถึงขั้นตอนนี้ท่าน ต้องทราบอีกเรื่องหนึ่ง คือ วสี วสี มีด้วยกัน 5 ประการ คือ 1. อาวัชชนวสี คือ ความช�านาญในการพิจารณา ถ้าปรารถนาจะพิจารณา องค์ฌานที่ตนได้ ก็สามารถพิจารณาได้ด้วยความรวดเร็วฉับพลันมิได้เนิ่นช้าเสีย เวลา ทั้งใช้ข้างหน้าและข้างหลัง แต่ ชวน 4 ชวน 5 ภวังค์ 2 และ 3 อาจจะยังไม่ได้ อาจจะพิจารณา ชวน 4 และ 5 เท่านั้น 2. สมาปัชชนวี คือ ช�านาญในการเข้าสู่สมาสมาบัติในล�าดับแห่งอาวัชชนะ จิตอันเป็นอารมณ์ คือ สามารถรักษาสมาบัติไว้ได้ไม่เนิ่นนานเพราะว่าปฏิภาคนิมิต ยังไม่แก่กล้า 3. อธิฏฐานวสี คือ ความช�านาญในการรักษาฌานไว้ มิให้จิตนั้นตกเข้าสู่ ภวังค์ 3 ตั้งฌานจิตไว้โดยอันควรก�าหนดปรารถนาที่ต้องการ 4. วุฏฐานวสี คือ ความช�านาญในการออกฌาน ก�าหนดไว้ว่าเพียงเวลา เท่าไรจึงจะออกจากฌาน ตามที่กา� หนดไว้ได้อย่างแม่นย�า 79
����������2.indd 79
3/6/14 11:11 AM
5. ปัจจเวกขณวสี คือ ความช�านาญในการพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ได้ดี เห็นเหตุ ตามอาวัชชนวสีที่ท่านก�าหนดไว้ เมื่อก�าหนดและช�านาญในการเข้าและออกวสีดีแล้ว เมื่อนั้น ฌานลาภี ซึ่งมีในบุคคลธรรมดาก็จะปรากฏให้เห็น และสามารถน�ามาใช้ได้ทุกเวลา และทุก สถานที่ รวมถึงการละสังขารก่อนตายก็สามารถใช้ได้ เมื่อละโลกนี้ไปแล้วก็สามารถ น�าไปใช้ในโลกหน้าสืบต่อไป เมื่อท่านทั้งหลายพัฒนาจิตของท่านมาถึงขั้นนี้แล้ว ท่านก็สามารถผ่านฌาน 4 ซึง่ ได้อธิบายแล้ว เมือ่ ท่านเจริญทางจิตของท่านมาถึงจุดนี้ ท่านก็แสวงหาโมกข์ธรรมที่เป็นอภิญญาสืบต่อไป อภิญญา 6 ที่ควรปรึกษา ในบรรดากัมมัฏฐานทั้งหลายการเจริญกสิณ 10 เท่านั้นที่จะได้อภิญญา ทั้งนี้เนื่องมาจากเหตุ 2 เหตุ คือ 1. สมาธิในรูปปัญจมฌานที่เกิดจากการเจริญกสิณ 10 มีก�าลังแรงกล้ายิ่ง กว่ากัมมัฏฐาน 16 อย่างที่เหลือ 2. ตามธรรมดาผู้ที่จะได้อภิญญานั้นต้องได้สมาบัติ 9 คือ รูปฌานและอรูป ฌาน เว้นแต่ผู้มีบารมีเป็นพิเศษเท่านั้น ฉะนั้น รูปปัญจมฌานลาภีบุคคลที่จะเจริญ อรูปฌาน ต้องท�าการเพ่งปฏิภาคนิมิตที่ได้จาก กสิณ 9 (ยกเว้นอากาศกสิณ) โดย บริกรรมว่า อากาโส ๆ อากาโส ๆ อรูปฌานขั้นที่ 1 จึงจะเกิดขึ้นไม่ได้ ด้วยเหตุ 2 ประการนี้แหละ การเจริญกสิณ 10 เท่านั้น จึงจะได้อภิญญา 80
����������2.indd 80
3/6/14 11:11 AM
นเหตุ
ลาภี ะทุก มารถ นี้แล้ว งจุดนี้
ญญา
ล้ายิ่ง
ะอรูป จริญ โดย หตุ 2
ผู้ที่ได้สมาบัติ 9 แต่อภิญญามี 2 พวกคือ 1.ปุถุชนลาภี 2.อริยบุคคล ในสองจ�าพวกนี้ผู้เคยได้อภิญญาในชาติก่อนที่ใกล้กับภพนี้ เมื่อเจริญกสิณ อย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ไม่ต้องได้อรูปฌาน 4 ได้แต่เพียงรูปฌาน 5 อภิญญาก็เกิด ได้ เช่น ดาบส 24,000 รูป ศิษย์ของพระสุรุจดาบส สุดท้ายได้เป็น พระสารีบุตร เมื่อ ท่านเหล่านั้นเจริญกสิณส�าเร็จรูปฌาน 5 ก็ส�าเร็จด้วยอภิญญาด้วย เพราะเคยได้ อภิญญาในภพก่อนที่ใกล้กับภพนี้ อภิญญาแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. มัคคสิทธิอภิญญา หมายถึง อภิญญาที่สา� เร็จพร้อมด้วยมรรคเป็น ลักษณะของพระอริยะบุคคลที่บรรลุมรรคผลแต่ไม่มีอภิญญา แต่ปัญญาที่ประกอบ กับมรรคจิตนั้นมีอา� นาจเพียงพอ เกี่ยวกับอภิญญาเวลาใดเวลานั้นก็สามารถใช้ได้ รูปปัญจมฌานที่มีอภิญญาก็เกิดตามกันไป ความประสงค์ที่อธิษฐานจิตไว้ส�าเร็จ พร้อมกันไปมี 2 อย่าง คือ เหฏฐิมมัคคสิทธิอภิญญา อภิญญาที่ส�าเร็จพร้อมด้วยมรรคเบื้องต�า่ 3 อรหัตตมัคคสิทธิอภิญญา อภิญญาที่ส�าเร็จพร้อมด้วยอรหัตตมรรค 2.อภิญญา 5 คือ อภิญญาที่เกิดจากการเจริญกสิณนี้ หากเจริญเพียงกสิณ เดียวจนได้รูปฌาน 5 เป็นอย่างน้อย ย่อมได้อภิญญา 5 ประการดังนี้ คือ 81
����������2.indd 81
3/6/14 11:11 AM
1. อิทธิวิธีอภิญญา คือ ท�าฤทธิ์ได้ต่างนานาประการ 2. ทิพยโสตอภิญญา คือ หูทิพย์ 3. ปรจิตตวิชานนอภิญญา คือ รู้วาระจิต 4. ปุพเพนิวาสานุสสติอภิญญา คือ ระลึกชาติได้ 5. ทิพพจักขุอภิญญา คือ ตาทิพย์ บางทีจ�าแนกแตกเติมออกเป็นอภิญญา 7 ประการคือเพิ่ม 6.ยถากัมมูปคอภิญญา คือ รู้การเกิดของสัตว์ในภูมิต่างๆ 7.อนาคตังสอภิญญา คือ รู้อนาคตกาล กล่าวคือ ทิพจักขุอภิญญานี้ เมื่อสามารถเห็นสัตว์ทั้งหลายในเวไนยสัตว์แล้ว ตามอ�านาจแห่งการกระท�าของตนก็เรียกว่า ยถากัมมูปคอภิญญา และเมื่อสามารถ รู้เห็นเรื่องราวต่าง ๆ ในอนาคตข้างหน้าได้ก็เรียกว่า อนาคตังสอภิญญา โลกิยะ อภิญญา 5 หรือ 7 นี้ องค์รวมได้แก่ ปัญญเจตสิก ในรูปาวจร ปัญญเจตสิก ในรูปาวจร ปัญจมฌานกุศล และกิริยา หรือกุลบุตร (โยคี) บุคคลนั้น เมื่อจิตนุ่มนวลควรแก่งานของจิต ตั้งมั่น บริสุทธิ์ผุดผ่องและไม่เกี่ยวข้อง กับอินทรีย์พละ 5 แล้ว จิตไม่มกี เิ ลสและเครือ่ งเย้ายวนปราศจากอุปกิเลส ไม่หวัน่ ไหว เมือ่ เป็นเช่นนีแ้ ล้วย่อมน้อมน�าจิตเข้าสูอ่ ารมณ์ของกสิณ 10 เมื่อนั้น จิตก็จะปรากฏ ฤทธิ์ต่างๆ ตามที่ต้องการทุกประการ การฝึกจิตเมื่อเจริญมาถึงในระดับหนึ่ง จิตจะ เป็นใหญ่ จิตจะเป็นประธาน ฤทธิ์ย่อมมากเป็นธรรมดา หากไม่ยึดติดโลกิยะฌานเหล่านี้ ก็สามารถเจริญวิปัสสนาขั้นต่อไปได้ 82
����������2.indd 82
3/6/14 11:11 AM
ว์แล้ว มารถ ลกิยะ
โยคี) วข้อง นไหว ากฏ จิตจะ
ปได้
จะได้อภิญญาอีกประการหนึ่ง คือ อาสวักขยญาณอภิญญา เป็นอภิญญาที่สามารถ ท�าลายกิเลสแบบราบคาบที่สุดไม่เหลือแม้แต่น้อย รวมอภิญญาทั้ง 7 ก็มีเท่านี้ ส่วนรายละเอียดการฝึกเจริญกสินเพื่อให้ส�าเร็จอภิญญาหาอ่านและศึกษา ได้จากคู่มือการฝึกจิตเจโต เขียนเมื่อปี 2518 ปัจจุบันคงมีเหลือต้นฉบับอยู่บ้างแต่ คงเป็นส่วนน้อยมาก ในที่นี้จะน�าเรื่องฤทธิ์มากล่าวเสริมภูมิปัญญาของจิตให้ท่าน ได้ลองสัมผัสและน�าไปฝึกจนเกิดความช�านาญในการใช้อภิญญาสืบต่อไป การเข้าฌานเพื่อให้เกิดความส�าเร็จทางจิต การใช้พลังจิตเพื่อกิจที่มุ่งหวังนั้นย่อมไม่ปรากฏกับบุคคลที่มากไปด้วยกิเลส และอุปกิเลสทั้งปวงฉะนั้น ผู้ที่สามารถใช้จิตได้ ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ที่คงแก่กรรมบถ ที่ดี มีศีล มีธรรมอยู่ตลอดเวลาและที่ส�าคัญต้องเป็นผู้ที่ได้รับการฝึกจิตมาเป็นอย่าง ดี และสามารถเข้าฌานได้ด้วย เพราะการใช้จิตเพื่อการแสดงฤทธ์นั้นต้องเข้าฌาน ก่อนทุกครั้งจึงจะใช้จิตได้ผล วิธีและขั้นตอนในการเข้าฌานเพื่อแสดงฤทธิ์ก็ดีหรือจะใช้จิตก็ดีได้อธิบายไว้ดังนี้ เบื้องต้นต้องเจริญสมถะจนได้ ฌาน 4 แล้วให้เจริญต่อไปอีกจนได้สมาบัติ 8 แต่จ�ากัดว่าต้องเป็นสมาบัติที่ได้ในกสิณ 8 (ยกเว้น) อาโลกกสิณและอากาสกสิณ เท่านั้น ครั้นแล้วฝึกสมาบัติทั้ง 8 นั้นให้คล่องแคล่วโดยท�านองต่างๆ เป็นการเตรียม จิตให้พร้อมพอถึงเวลาใช้งานจริง คือ จะท�าให้อภิญญาเกิดขึ้น จะใช้อภิญญาแต่ละ ครั้งก็ได้หรือจะใช้รวมกันก็ได้ ก็เข้าฌานเพียงแต่จตุตถฌาน แล้วน้อมจิตนั้นใช้เพื่อ 83
����������2.indd 83
3/6/14 11:11 AM
อภิญญาตามความต้องการ ย�า้ข้อสรุปว่า ในการฝึกเตรียมจิตไว้ต้องใช้สมาบัติ 8 ใน เวลาท�าอภิญญาก็เพียงจตุตถฌาน ก็จะมีความประณีตเป็นพิเศษยิ่งกว่าจิตของผู้ที่ ได้ลา� พังจตุตถฌานล้วนๆ อย่างไรก็ดีมีข้อยกเว้นว่า ส�าหรับท่านผู้มีบุพโยคะ คือ มีความเพียรที่เคยท�า มาก่อนแล้วแต่ปางก่อนเป็นพื้นนิสัยอย่างแรงกล้า เช่น พระพุทธเจ้า พระอัครสาวก และเหล่าสาวกทั้งหลาย สามารถใช้ฤทธิ์ได้ทันทีไม่ต้องเข้าฌาน หรือสมาบัติใด ๆ ทั้งสิ้นก็สามารถใช้ฤทธิ์ได้ทุกเวลาและทุกหนทุกแห่ง วิธีการอธิษฐานจิต ส�าหรับท่านที่ต้องการใช้จิตเพื่อการที่ต้องการ ให้เป็นไปตามความต้องการ ของตนนั้น เมื่ออบรมจิตมาได้ระดับหนึ่งแล้ว ท่านต้องท�าบาทฐานแห่งฤทธิ์ให้พร้อม แล้วย่อมอธิษฐานแสดงฤทธิ์ด้วยฌาน นั้น ๆ มีขั้นตอน 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ท�าบาทแห่งฤทธิ์ให้พร้อม 2. เข้าฌานอันเป็นบาทแห่งอภิญญา 3. ออกจากฌานนั้น 4. อธิษฐานด้วยการบริกรรมว่าขอให้....จิตอธิษฐานไปเนือง ๆ 5. เข้าฌาน อันเป็นบาทแห่งอภิญญาอีกครั้ง 6. ออกจากฌานนั้นแล้วอธิษฐานอีกครั้ง 7. พร้อมกับตั้งจิตอธิษฐานนั้นใหม่ ฤทธิ์ที่อธิษฐานนั้นจะปรากฏขึ้น 84
����������2.indd 84
3/6/14 11:11 AM
8 ใน องผู้ที่
ยท�า สาวก ดๆ
งการ พร้อม
การท�าบาทแห่งฤทธิ์ หมายถึง ธรรมที่พร้อมจะให้แสดงฤทธิ์ได้ ถ้ามีก็แสดงไม่ได้ธรรมเหล่านี้ คือ ภูมิ บาท บท และมูลแห่งองค์ประกอบพื้นฐานที่จะท�าให้แสดงฤทธิ์ได้ ในการแสดง ฤทธิ์แต่ละครั้ง ผู้แสดงจะต้องท�าตามขบวนการทั้ง 7 ประการที่กล่าวมาแล้ว การ แสดงฤทธิ์จึงจะส�าเร็จผลตามที่ต้องการได้ การแสดงฤทธิ์นั้นไม่ใช่สิ่งที่จะท�าให้เกิด ขึ้นได้ง่าย ๆ ผู้ฝากจิตต้องมีพื้นฐานที่มั่นคงเรียกว่า ภูมิ เสียก่อนแล้วจึงน�าเอาภูมินั้น มาเป็นพื้นฐานในการแสดงฤทธิ์ ภูมิของฤทธิ์นั้นมี 4 อย่าง ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้แสดงไว้ว่า ภูมิที่จะน�ามา เป็นพื้นฐานในการแสดงฤทธิ์ ได้แก่ ภูมิ 4 หรือฌาน 4 นั่นเองโดยท่านเรียกว่า ภูมิ ตามลักษณะของฌานนั้นๆ คือ ปฐมฌาน เป็นวิเวกภูมิ ภูมิที่เกิดจากความวิเวก ทุติฌาน เป็นปิติสุขภูมิ ภูมิที่เกิดจากความปิติ ตติยฌาน เป็นอุเบกขาสุขภูมิ ภูมิที่เกิดจากอุเบกขาและสุข จตุตฌาน เป็นอทุกขมสุขภูมิ ภูมิที่เกิดจากอทุกขมสุข ภูมิ 4 แห่งฤทธิ์นี้เป็นไปเพื่อความได้ฤทธิ์เพื่อความบรรลุฤทธิ์เพื่อการแสดง ฤทธิ์ต่างๆ เพื่อการรับอานิสงส์แห่งฤทธิ์ เพื่อความเชี่ยวชาญแห่งฤทธิ์เพื่อความกล้า แกร่งแห่งฤทธิ์
85
����������2.indd 85
3/6/14 11:11 AM
บาทแห่งฤทธิ์ นอกจากภูมิที่เป็นพื้นฐานแล้วผู้ที่จะใช้ฤทธิ์ได้ต้องมีบาทแห่งฤทธิ์เป็นพื้น รองรับซึ่งบาทในที่นี้ได้แก่ อิทธิบาท 4 นั่นเอง อิทธิ แปลว่า ฤทธิ์ คือ ความส�าเร็จ ส่วน บาท แปลว่า พื้นฐานรองหรือแปลว่าเป็นที่ตั้ง เมื่อรวมค�าสองค�าเข้า ด้วยกัน เป็นอิทธิบาทแปลว่า พื้นฐานของอิทธิฤทธิ์ฐานรองที่จะใช้แสดงฤทธิ์ได้ เป็นที่ตั้งของฤทธิ์ หรือถอดรูปเป็นไทยแท้ๆ ว่าเป็นพื้นฐานรองรับความส�าเร็จ คือ องค์ธรรมพื้นฐานแห่งความส�าเร็จทุกอย่าง ต้องมีอิทธิบาท 4 ประการ คือ บาทแห่ง ฤทธิ์ 4 หรือ อิทธิบาท 4 คือ 1. รักหรือพอใจในการใช้ฤทธิ์ (ฉันทสมาธิ และ ปธานสังขาร) 2. หมั่นขยันฝึกเพื่อให้เกิดฤทธิ์ (วิริยสมาธิ และ ปธานสังขาร) 3. เอาใจใส่อย่างแท้จริง (จิตตสมาธิ และ ปธานสังขาร) 4. เฝ้าสังเกตทดสอบ ทดลองในการฝึกฤทธิอ์ ย่างจริงจัง (วิมงั สา และ ปธาน สังขาร) ในหมวดนี้เมื่อผู้ฝึกฝนจิตมาเป็นอย่างดี สมาธิประกอบด้วย ฉันทะ แล้วเรียก ว่า ฉันทะสมาธิ คือ สมาธิที่นิ่งด้วยความใคร่จะท�าให้จิตเป็นใหญ่จึงจะบรรลุผลของ ข้อนี้ ค�าว่า ปธานสังขารทุกค�านัน้ หมายถึง เวลามีสมาธิอยูก่ บั อะไรก็ ปธานสังขาร คือความเพียรระวังต่างๆ ประกอบอยู่ด้วยโดยแบ่งออกเป็น 4 ความเพียร คือ 86
����������2.indd 86
3/6/14 11:11 AM
นพื้น
าเข้า ทธิ์ได้ คือ ทแห่ง
ปธาน
เรียก ลของ
งขาร
1. เพียรระวังมิให้อกุศลเกิดขึ้น 2. เพียรพยายามละอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว 3. เพียรระวังท�ากุศลให้เกิดขึ้น 4. เพียรพยายามรักษากุศลที่เกิดแล้วไม่ให้เสื่อมไป เมื่อผู้ปฏิบัติทางพลังจิตด�าเนินจิตของตนมาถึงขั้นนี้แล้วก็สามารถน�าจิตที่ ฝึกดีแล้วและเห็นองค์คุณแห่งความส�าเร็จแล้วน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ทุกหน ทุกแห่งแล้วแต่ใครจะไปใช้อย่างไรแบบไหนและเมื่อไรก็สามารถน�าไปใช้ได้ มรรค 8 คือแนวทางแห่งชีวิตที่แท้จริง ธรรมอันใดเล่าทีจ่ ะถึงพระนิพพาน ธรรมอันใดเล่าทีม่ คี วามหลุดพ้นความทุกข์ และมีความที่สุดที่นิพพาน ธรรมสายใดเล่าที่มีความพร้อมเป็นที่สุดที่พระนิพพาน ธรรมนั้นเรียกว่า มรรค 8 มรรค 8 เป็นทางสายเดียวที่มุ่งตรงสู่พระนิพพาน คือ ความหลุดพ้นจากวัฏฏะ สงสารทั้งมวล เมื่อผู้ใดเจริญจิตมาถึงทางสายนี้ แม้ไม่ได้เดินเพียงแต่ศึกษาทางสาย ธรรมเส้นนี้ ก็ถือได้ว่า ท่านเฉียดพระนิพพาน ท�าไมจึงกล่าวเช่นนั้น เพราะว่าทาง สายนี้มีแต่ความสุขที่นิรันตรัง คือ ความเที่ยงแท้แน่นอนและถึงพร้อมด้วยความพ้น ทุกข์อันชอบธรรมมรรคมี องค์ 8 ดังนี้ คือ 1. สัมมาทิฏฐิ หมายถึง ความเห็นชอบ ความเห็นชอบในที่นี้ หมายถึง เป็นตามความเป็นจริงเห็นว่าทุกสิ่งที่เกิด 87
����������2.indd 87
3/6/14 11:11 AM
ขึ้นมาเป็นทุกข์ ไม่มีตัวตนจริง ไม่จีรังยั่งยืน มีความเสื่อม มีความวิบัติ และมีความ พลัดพราก มีความจากกันในเวลาหนึ่ง หาแก่นสารมิได้เลย ทุกอย่างที่เกิดขึ้น เป็นมายาคือความลวงตา เมื่อพิจารณาตามความเป็นจริงเช่นนี้แล้ว น้อมรับเข้าไป ในจิตของตน และยินดีในตัวตนที่ปราศจากทุกข์ เมื่อนั้น ท่านเองนั่นแหละที่จะได้ ชื่อว่ามี สัมมาทิฏฐิ 2. สัมมาสังกัปปะ คือ การด�าริชอบ คือ ด�าริในการออกจากกามคุณ ออกจากความพยาบาท ออกจากความ เบียดเบียน ออกจากความตระหนี่เกินเหตุ เพราะว่าสิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องยึดติดและ เหนี่ยวรั้ง ให้ตกไปสู่อบาย คือ หนทางแห่งความหายนะ จนถึงตกไปสู่อบายภูมิ คือ นรก 3. สัมมาวาจา คือ เจรจาชอบ หมายถึง การงดเว้นค�าพูดปด โกหก หาความจริงไม่ได้ พูดส่อเสียด พูดไม่ ตรงกับความเป็นจริง พูดค�าหยาบคาย เพราะเป็นเหตุให้ยึดติดและสร้างศัตรู และ หามูลความจริงไม่มี 4. สัมมากัมมันตะ คือ การประพฤติชอบ หมายถึง การประพฤติปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ทั้งทางกาย และทางใจ เว้นการ ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต รังแก ลักขโมย ทรมาน หรือเป็นคนใจร้าย ชอบวางแผน ชอบอาฆาต จิตก็จะตกไปในความมืดมิด หาทางสว่างให้กับชีวิตไม่ได้ 88
����������2.indd 88
3/6/14 11:11 AM
ความ ดขึ้น ข้าไป จะได้
ความ และ มิ คือ
5. สัมมาอาชีวะ คือ การประกอบชีพชอบ หมายถึง เลี้ยงชีพด้วยการงานที่สุจริต ไม่ค้าขายสิ่งมอมเมา ไม่ผิดศีล และ ผิดธรรม มีความซื่อตรงในการท�าอาชีพ และชี้น�าผู้อื่นให้ประกอบอาชีพที่สุจริต ยินดี เป็นคนดีของสังคม ทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ย่อท้อต่ออาชีพการงานที่ตนกระท�า อยู่ จนประสบความส�าเร็จแห่งชีวิต 6.สัมมาวายามะ หมายถึง ความเพียรชอบ 4 ประการ - เพียรระงับ บาป อกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด มิให้เกิดขึ้น -เพียรละบาป และอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้หมดไป -เพียรท�ากุศลธรรมที่ยังไม่เกิดให้ปรากฏ -เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้ตั้งมั่นและมั่นคงต่อไป
พูดไม่ และ
7. สัมมาสติ หมายถึง การระลึกดี ระลึกชอบ รู้จักตัวตนแห่งความเป็นจริง เช่น ระลึกถึง สติปัฏฐาน 4 ขันธ์ 5 เวทนา 3 อนุสสติ 10 เมื่อเราเพียรระลึกอยู่เช่นนี้และตลอดไป เมื่อนั้นจิตของเราก็จะสะอาด สว่าง สบาย และพ้นทุกข์ในที่สุด
นการ ฆาต
8. สัมมาสมาธิ หมายถึง การตั้งใจมั่น ตั้งใจชอบ มีการพัฒนาจิตไปตามทางสายธรรม อย่าง แท้จริงจนจิตมีความสงบจริง มีความประณีตจริง ตามล�าดับของจิต ท�าให้ผู้ปฏิบัติ ได้บรรลุฌาน มรรคผล นิพพานจริง ปรับปรุงจิตให้มีความสุขจริงและระงับนิวรณ์ 5 89
����������2.indd 89
3/6/14 11:11 AM
ได้ รวมถึงการศึกษาพระกัมมัฏฐานและวิปสั สนาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อท่านทั้งหลายปฏิบัติจิต ฝึกอบรมจิตของท่านมาถึงจุดนี้ ความเดือดเนื้อ ร้อนใจก็จะเบาบางลงจนถึงไม่มีในที่สุด เพราะว่ากิเลสและนิวรณ์ต่างๆ ได้ลดน้อย ถอยลง อ�านาจแห่งการปฏิบัติประพฤติไม่ดีย่อมไม่ปรากฏขึ้นอีก การด�ารงชีวิตก็ ราบเรียบ การใช้ชีวิตก็เป็นสุข ไม่สร้างความเดือดร้อนให้กับจิตใจและกายตนเอง รวมถึงผู้อื่นอีกด้วย ตั้งตนอยู่ในศีลในธรรมไม่ประมาททั้งทางโลกและทางธรรม เมื่อเราท่านทั้งหลายเห็นคุณวิเศษอันเกิดจากการศึกษาและปฏิบัติธรรม แล้วน�าไปใช้กับชีวิตประจ�าวัน เมื่อนั้นท่านทั้งหลายจะพบแต่ความสุขความเจริญ หลักวิถีธรรม 10 ประการ ที่ผู้ปฏิบัติธรรมและศึกษาควรน�าไปใช้ต่อในชีวิต 1. รักส่วนรวมและการงานทั้งปวงที่ได้รับมอบหมาย ให้ท�าและท�าด้วยความ ตั้งใจจริง มีความเมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ให้อภัย 2. คิดสร้างแต่สิ่งที่ดีงาม ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนจนเกินไป มุ่งเน้นที่ คุณธรรมเพื่อส่วนรวมโดยแท้จริง 3. ต้องพึ่งตนเอง ไม่อาศัยคนอื่น ไม่เป็นภาระคนอื่น ไม่ประจบประแจง รวม ถึงเชือ่ โชคลางน�าพาชีวติ ตนเองไปสูค่ วามส�าเร็จด้วยตนเอง และไม่ทา� ความเดือดร้อน ให้กบั บุคคลอืน่ 4. ต้องด�าเนินชีวิตให้สอดคล้องกับธรรมชาติ อยู่กินแบบพอเพียงตามหลัก ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของเราที่ได้ทรงตรัสไว้ให้เราท่านทั้งหลายอยู่แบบ พอเพียง 90
����������2.indd 90
3/6/14 11:11 AM
ธเจ้า ดเนื้อ น้อย ชีวิตก็ นเอง ม ธรรม ญ
ชีวิต ความ
น้นที่
รวม ดร้อน
หลัก แบบ
5. ต้องไม่โกรธและไม่โทษอย่างอื่นเมื่อไม่พอใจ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิด ขึ้นมา ตัวเราเป็นผู้คิดเป็นผู้กระท�าทั้งสิ้นต้องน้อมกรรมที่ตนกระท�าไว้ 6. เราต้องไม่ยื้อแย่งต�าแหน่ง หน้าที่การงาน ซึ่งได้มาโดยไม่ชอบธรรม หรือ ไม่ถูกต้องตามครรลองครองธรรม และต้องรู้บทบาทของตนเอง รู้หน้าที่ของตนเอง พยายามท�าให้ดีที่สุดในหน้าที่ของตน 7. เราต้องท�าหน้าที่การงานโดยไม่หวังค�าติชม กล่าวคือ ต้องไม่ทวงเอาบุญ คุณความด ีความชอบ จากงานทีก่ ระท�าไปแล้วและต้องยืดหลักดังนี้ คนดี ไม่มเี บ่ง คนเก่งไม่โม้ คนโตต้องไม่อวด นัน่ แหละดี 8. เราต้องไม่แก้ตัว เมื่อกระท�าความผิดหรือซัดทอดผู้อื่น คนที่ชอบแก้ตัว เป็นคนที่ขี้ขลาด ไม่มีความกล้าหาญที่จะรับชอบในความผิดนั้น ทางที่ดี ควรมีขันติ ความอดทน และโสรัจจะ ความถ่อมตน แล้วน้อมน�าและพาชีวิตเข้าสู่ทางสายธรรม แบบจริงๆ เมื่อนั้นชีวิตของตนก็จะพบความสุขที่แท้จริง 9. เราต้องไม่มีทิฏฐิมานะ เห็นว่าตัวเองเก่ง เลิศ ประเสริฐกว่าคนทั้งปวง ต้อง กระท�าตนให้อ่อนน้อมถ่อมตน ถึงคราวแพ้ต้องยอม และยอมรับความพ่ายแพ้อย่าง ยินดี และที่ส�าคัญต้องกระท�าตนให้มีคุณธรรมเสมอต้นเสมอปลาย 10. เราต้องกล้าท�าละกล้าแก้ไข เพื่อประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม โดยมี สติรู้ชัดตลอดเวลาและขจัดปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยเหตุและผล มีความรอบคอบ มีสติ รู้ตลอดเวลา มีปัญญาในการแก้ไขกิจการงานต่างๆ ที่เพื่อตนเองและผู้อื่น กล้าที่จะ เสียสละทั้งก�าลังทรัพย์ ก�าลังศรัทธา ก�าลังปัญญาเพื่อส่วนตนและส่วนรวม หนังสือคู่มือฝึกพลังจิตเพื่อปรับศักยภาพชีวิตสู่ความส�าเร็จเล่มนี้เขียนขึ้น 91
����������2.indd 91
3/6/14 11:11 AM
เพื่อเตือนตนเองเท่านั้น มิได้ต้องการว่าใครหรือต�าหนิใครทั้งสิ้น ผู้เขียนเห็นว่ามี ประโยชน์จึงเขียนขึ้นเพื่อเตือนตนเองถ้าใครเห็นหรือพบอะไรที่ไม่ดี ไม่เหมาะสม หรือไม่เห็นประโยชน์ในหนังสือเล่มนี้ก็ติชมแก้ไขได้โดยไม่ต้องขออนุญาต ชื่อผู้เขียน นายจิรัฏฐ์กร (วิเชียร) อยู่เกตุ เขียนเมื่อวันที่ 8 เดือนกันยายน พ.ศ.2549
92
����������2.indd 92
3/6/14 11:11 AM
นว่ามี ะสม
การฝึกพลังจิต (ภาคปฏิบัติ)
93
����������2.indd 93
3/6/14 11:11 AM
หลังจากทีท่ า่ นได้ศกึ ษาหลักธรรมค�าสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยเฉพาะหลักธรรมที่เป็นส่วนเกื้อหนุนให้การฝึกพลังจิตประสบความส�าเร็จได้ ท่านพร้อมที่จะเริ่มต้นการปฏิบัติ โดยตามหลักที่ท่านอาจารย์จิรัฏฐ์กร (วิเชียร) อยู่เกตุ ได้ยึดเป็นแนวทางในการปฏิบัติมาตลอดนั้นคือ เริ่มต้นด้วยการไหว้พระ สวดมนต์ก่อน เพราะเป็นการส�ารวมจิตให้เป็นสมาธิ อีกทั้งเป็นการแสดงความ นอบน้อมสักการะ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทพ พรหม ยม รักษ์ ท่านทั้งหลายให้มายินดีใน บุญกับการปฏิบัติธรรมของเรา จากนั้น เมื่อสวดมนต์เรียบร้อยแล้วให้แผ่เมตตา เพื่อเป็นการสร้างทานอย่างหนึ่ง แล้วจึงเริ่มนั่งสมาธิ 1.สวดมนต์ ก่อนทีจ่ ะสวดมนต์ภาวนาควรทีจ่ ะมีการขอขมาต่อองค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า ทุกๆ พระองค์ที่เคยอุบัติมาในโลกใบนี้ ก่อนอื่นต้องตั้งจิตให้แน่วแน่พร้อมด้วยการ ส�ารวม กาย ใจให้มั่นคงแล้วอธิษฐานจิต แล้วจึงกล่าวค�าขอขมาดังนี้ ค�าขอขมาพระรัตนตรัย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ทุกท่านตั้งใจขอขมาพระรัตนตรัย สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง 94
����������2.indd 94
3/6/14 11:11 AM
ธเจ้า ร็จได้ ชียร) ว้พระ ความ นดีใน ตตา
ธเจ้า ยการ
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ สวดค�าแปลบทขอขมาพระรัตนตรัย หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อัน มีพระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระธรรมและพระ อริยสงฆ์ทั้งหลาย ในชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ด้วยกายก็ดี วาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ด้วย เจตนาก็ดี ไม่เจตนาก็ดี ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดีขอองค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระธรรม พระอริย สงฆ์ทั้งหลาย และผู้มีพระคุณทุกท่าน คุณบิดามารดา คุณครูบาอาจารย์ และ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ได้โปรดอดโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ อนึ่ง ข้าพระพุทธเจ้าขออนุโมทนาผลบุญผลกุศล ผลคุณความดีของ พระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระธรรม และพระ อริยสงฆ์ทั้งหลาย ตลอดจนคุณบิดามารดา คุณครูบาอาจารย์ และผู้มีพระคุณ ทั้งหลายในทุกภพทุกชาติ ด้วยผลบุญผลกุศลที่ข้าพระพุทธเจ้าได้กราบขอขมาพระรัตนตรัยนี้ ขอให้ เจ้ากรรมนายเวรได้โปรดอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าโดยเร็วด้วยเถิด และขอให้ผลบุญ นี้เป็นปัจจัยให้แก่ข้าพเจ้า ได้เกิดปัญญาญาณ ได้มรรคผลนิพพาน ในกาลอันควร ด้วยเทอญ
95
����������2.indd 95
3/6/14 11:11 AM
ค�าขอขมาพระภิกษุสงฆ์ อุกาสะ อุกาสะ โยโทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัสสมิง ธัมมัสสมิง สังฆัสสมิง ปาปัคกะโตมะยา กะตัง โทสัง สัพพะปะปัง วินัสสันตุ อุกาสะ อุกาสะ อะตีตัง เมโทสัง ปัจจุปันนัง เมโทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง สัพพะปะปัง วินัสสันตุ ขะมามิภันเต ภิกขุสังฆัสสะ โอโนชะยามะ สาธุโนภันเต ภิกขุสังโฆ พุทธังขะมามิ ธัมมังขะมามิ สังฆังขะมามิ เอหิปิมังภาเรหิ นะตัสสะ ฯ ค�าแปล ข้าพเจ้าทั้งหลายได้เคยประมาทพลาดพลั้ง ล่วงเกินต่อภิกษุสงฆ์อันมี พระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม และ พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย มนุษย์ทั้งหลาย ทั้งในชาติก่อนก็ดี ในปัจจุบันชาตินี้ก็ดี ด้วยกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี ขอองค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระ อริยสงฆ์ทั้งหลาย และผู้มีพระคุณทั้งหลาย ได้โปรดงดโทษให้แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ ฯ
96
����������2.indd 96
3/6/14 11:11 AM
ง
สัง
อันมี และ นี้ก็ดี มมา พระ หลาย
ค�าบูชาคุณบิดา มารดา พรัหมาติ มาตาปิตะโร ปุพพา จะริยาติ วุจจะเร อาหุเนยยา จะปุตตานัง ปะชายะ อนุกัมปะภา อะนันตะ คุณะสัมปันนา ชะเนตติ ชะนะกา อุโภมัยหัง มาตาปิตุนังวะ ปาเท วันทามิ สาทะรัง ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอกราบไหว้บูชา คุณบิดาและมารดา ด้วยใจเสน่หา พระคุณท่านนั้นมากกว่าแผ่นฟ้า พระคุณของท่านทั้งสอง ข้าขอยกย่องบูชา บทบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ (กราบ ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ ( กราบ ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ ) ล�าดับต่อไปสวดอัญเชิญเทวดา ว่าดังนี้
97
����������2.indd 97
3/6/14 11:11 AM
บทชุมนุมเทวดา บทสัตตะปะริตตัง (ชุมนุมเทวดา) สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ ผะริต์วานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตังภะณันตุ สัคเค กาเม จะรูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิเข วิมาเน ทีเป รัฎเฐ จะคาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุม์หิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะ ละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา ติฎฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ ฯ ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ บูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ พุทธะบูชา มะหาเตชะวันโต อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ธัมมะบูชา มะหาปัญญะวันโต อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิ สังฆะบูชา มะหาโภคะวะโห 98
����������2.indd 98
3/6/14 11:11 AM
ณันตุ
บทไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ สวดเพื่อให้เป็นมงคลชีวิต พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ 99
����������2.indd 99
3/6/14 11:11 AM
ค�านมัสการพระพุทธเจ้า นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ค�านมัสการพระพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ อิตปิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ ส์วากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะ นะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติฯ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะ สังโฆ ญายะปะติปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สา วะกะสังโฆ ยาทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
100
����������2.indd 100
3/6/14 11:11 AM
คะโต าติฯ
อปะ
วะกะ ต สา วะโต ตะรัง
บทพุทธชัยมงคล (พาหุง) พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท มาราติเร กะมะภิยุช ฌิตะสัพพะรัตติง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิต์วา มุนินโท นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิต์วา มุนินโท อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิต์วา มุนินโท กัต์วานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา สันเตนะ โสมะวิธินา ชิต์วา มุนินโท สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิต์วา มุนินโท นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง อิทธูปะ เทสะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฎฐะหัตถัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิต์วา มุนินโท เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา หิต์วานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิโมกขัง
ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิฯ โฆรัม ปะนา ฬะวะกะ มักขะ มะถัท ธะยักขัง ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิฯ ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิฯ ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิฯ จิญจายะ ทุฎฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิฯ วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิฯ ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิฯ พ์รัมหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ โยวาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโรสะ ปัญโญฯ
หมายเหตุ * ถ้าสวดให้ตนเองเปลี่ยน เต เป็น เม 101
����������2.indd 101
3/6/14 11:11 AM
บทชัยมงคลคาถา ( มหาการุณิโก ) มหาการุ ณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะ ปาณินัง ปูเรต์วา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต* ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สัก์ยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ต์วัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พ์รัหมะจาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต* ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัต์วานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ หมายเหตุ * ถ้าสวดให้ตนเองเปลี่ยน เต เป็น เม ** ถ้าสวดให้ตนเองเปลี่ยนค�าที่ขีดเส้นใต้เป็น อะหัง วิชะโย โหมิ ชะยามิ
102
����������2.indd 102
3/6/14 11:11 AM
บทมงคลจักรวาลน้อย สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนัง ติณณัง ระตะนานัง อานุภาเวนะ จะตุราสีตสิ ะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ ปิฏะกัตตะยานุภาเวนะ ชินะสาวะกา นุภาเวนะ สัพเพ เต โรคา สัพเพ เต ภะยา สัพเพ เต อันตะรายา สัพเพ เต อุปทั ทะวา สัพเพ เต ทุนนิมติ ตา สัพเพ เต อะวะมังคะลา วินสั สันตุ อายุวฑั ฒะโก ธะนะวัฑฒะโก สิรวิ ฑั ฒะโก ยะสะวัฑฒะโก พะละวัฑฒะโก วัณณะวัฑฒะโก สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะทาฯ ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปัททะวา อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ จะ เตชะสา ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถิ ภาคะยัง สุขัง พะลัง สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต
ยามิ บทอัคคัปปะสาทะสุตตะคาถา อัคคะโต เว ปะสันนานัง อัคเค พุทเธ ปะสันนานัง อัคเค ธัมเม ปะสันนานัง
อัคคัง ธัมมัง วิชานะตัง ทักขิเณยเย อะนุตตะเร วิราคูปะสะเม สุเข 103
����������2.indd 103
3/6/14 11:11 AM
อัคเค สังเฆ ปะสันนานัง อัคคัส์มิง ทานัง ทะทะตัง อัคคัง อายุ จะ วัณโณ จะ อัคคัสสะ ทาตา เมธาวี เทวะภูโต มะนุสโส วา
ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร อัคคัง ปุญญัง ปะวัฑฒะติ ยะโส กิตติ สุขัง พะลัง อัคคะธัมมะสะมาหิโต อัคคัปปัตโต ปะโมทะตีติ
บทเอกาทะสะมัง อะภะยะปะริตตัง ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ ค�าไหว้ปารมี ๓๐ ทัศ ทานะ ปาระมี สัมปันโน , ทานะ อุปะปารมี สัมปันโน , ทานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทติ า อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิตปิ โิ ส ภะคะวา สีละ ปาระมี สัมปันโน , สีละ อุปะปารมี สัมปันโน , สีละ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิโส ภะคะวา เนกขัมมะ ปาระมี สัมปันโน , เนกขัมมะ อุปะปารมี สัมปันโน , เนกขัมมะ ปะ ระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติ 104
����������2.indd 104
3/6/14 11:11 AM
ปารมี วา ปารมี คะวา ะ ปะ , อิติ
ปิโส ภะคะวา ปัญญา ปาระมี สัมปันโน , ปัญญา อุปะปารมี สัมปันโน , ปัญญา ปะระมัต ถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิโส ภะคะวา วิริยะ ปาระมี สัมปันโน , วิริยะ อุปะปารมี สัมปันโน , วิริยะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิโส ภะคะวา ขันตี ปาระมี สัมปันโน , ขันตี อุปะปารมี สัมปันโน , ขันตี ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิโส ภะคะวา สัจจะ ปาระมี สัมปันโน , สัจจะ อุปะปารมี สัมปันโน , สัจจะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทติ า อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิตปิ โิ ส ภะคะวา อะธิฏฐานะ ปาระมี สัมปันโน , อะธิฏฐานะ อุปะปารมี สัมปันโน , อะธิฏ ฐานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัม ปันโน , อิติปิโส ภะคะวา เมตตา ปาระมี สัมปันโน , เมตตา อุปะปารมี สัมปันโน , เมตตา ปะระมัตถะ ปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปันโน , อิติปิโส ภะคะวา อุเปกขา ปาระมี สัมปันโน , อุเปกขา อุปะปารมี สัมปันโน , อุเปกขา ปะระมัต ถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิโส ภะคะวา ทะสะ ปาระมี สัมปันโน, ทะสะ อุปะปารมี สัมปันโน, ทะสะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิโส ภะคะวา 105
����������2.indd 105
3/6/14 11:11 AM
พระคาถาป้องกันภัย ๑๐ ทิศ บูระพารัสมิง พระพุทธะคุณัง บูระพารัสมิง พระธัมเมตัง บูระพารัสมิง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะ วันตุ เม รักขันตุ สุรักขันตุฯ อาคะเนยรัสมิง พระพุทธะคุณัง อาคะเนยรัสมิง พระธัมเมตัง อาคะเนย รัสมิง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะ โรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรักขันตุฯ ทักษิณรัสมิง พระพุทธะคุณัง ทักษิณรัสมิง พระธัมเมตัง ทักษิณรัสมิง พระ สังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรักขันตุฯ หรดีรสั มิง พระพุทธะคุณงั หรดีรสั มิง พระธัมเมตัง หรดีรสั มิง พระสัง ฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ ั ชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรกั ขันตุฯ ปัจจิมรัสมิง พระพุทธะคุณงั ปัจจิมรัสมิง พระธัมเมตัง ปัจจิมรัสมิง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ ั ชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรกั ขันตุฯ พายัพรัสมิง พระพุทธะคุณัง พายัพรัสมิง พระธัมเมตัง พายัพรัสมิง พระ สังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะ 106
����������2.indd 106
3/6/14 11:11 AM
สมิง ะโรค ง ภะ
ะเนย พพะ ลาภัง
พระ ะภัย ขันตุ
ฆานัง ราะห์ ฯ ฆานัง ราะห์
ภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรักขันตุฯ อุดรรัสมิง พระพุทธะคุณัง อุดรรัสมิง พระธัมเมตัง อุดรรัสมิง พระสัง ฆานั ง ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะ เคราะห์ เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรักขันตุฯ อิสานรัสมิง พระพุทธะคุณงั อิสานรัสมิง พระธัมเมตัง อิสานรัสมิง พระสังฆ านัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ ั ชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะ เคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญ ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรกั ขันตุฯ อากาศรัสมิง พระพุทธะคุณัง อากาศรัสมิง พระธัมเมตัง อากาศรัสมิง พระ สังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรักขันตุฯ ปฐวีรัสมิง พระพุทธะคุณัง ปฐวีรัสมิง พระธัมเมตัง ปฐวีรัสมิง พระสังฆ านัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม รัก ขันตุ สุรักขันตุฯ
พระ พพะ 107
����������2.indd 107
3/6/14 11:11 AM
2. แผ่เมตตา อิมินา บทแปล ค�ากรวดน�า้อิมินา การกรวดน�า้ คือ การตั้งใจอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลที่เราได้ท�าไว้แล้วไปให้แก่ผู้ ที่ล่วงลับไปแล้ว หรือผู้หนึ่งผู้ใด ตลอดจนเจ้ากรรมและนายเวร ด้วยจิตใจที่สะอาด ปราศจากการหวังได้รับผลตอบแทนใดๆ อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปปัชฌายา คุณุตตะรา อาจะริยูปะการะ จะ มาตาปิตา จะ ญาตะกา (ปิยา มะมัง) สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ พรัหมะมารา จะ อินทา จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตังฯ อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุทิเสนะ จะ ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว อุชุจิตตัง สะติปัญญา สัลเลโข วิริยัมหินา มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วิริเยสุ เม พุทธาทิปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม 108
����������2.indd 108
3/6/14 11:11 AM
นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ โน ( เม ) ( ถ้าสวดหลายคนใช้ลงท้ายว่า โน ถ้าสวดคนเดียวใช้ค�าลงท้ายว่า เม ) กรวดน�้าอิมินาแปล อิมินาปุญญะ กัมเมนะ ผลบุญที่ข้าพเจ้าได้กระท�าในวันนี้ ขอกุศล อันนี้ จงมาเป็นประดิษฐ์ดิสัย ขจัดโพยภัยในกาลนี้ ข้าพเจ้าขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้กับ บิดามารดา ครูบาอาจารย์ ปู่ย่า ตายาย ลุงป้า น้าอา พี่น้อง ลูกหลาน สามีและ ภรรยา ญาติกา ทั้งหลาย พระอาทิตย์ พระจันทร์ และพระราชา สัตว์ทั้งหลายทั้ง ปวง ทั่วทั้งจักรวาล อนันตจักรวาล หมื่นจักรวาล สวรรค์หกชั้น มีพระอินทร์เป็นต้น รูปพรหม มีท้าวมหาพรหม เป็นใหญ่ อรูปพรหมมีสี่ชั้น มี ท้าวเวสสุวรรณ ท้าว วิรุฬหก ท้าววิรุณปักษ์ ท้าวทศรถ มนุษย์ อมนุษย์ เปรต อสูรกาย สัตว์เดรัจฉาน ทั้งหลาย นรกภูมิ มีท่านวัสสะวัตดีมารเป็นพญายมบาล พระกาฬ พระภูมิเจ้าที่ แม่พระธรณี แม่พระคงคา นางแม่โพสพ ผู้ให้กา� เนิด เกิดมา อีกทั้งเจ้ากรรม และ นายเวร ขอจงได้รับส่วนบุญ กุศลนี้ ด้วยเถิด ทั้งที่กล่าวนามก็ดี ไม่ได้กล่าวนาม ก็ดี เมื่อได้รับส่วนบุญกุศลนี้แล้ว ที่มีทุกข์ขอให้พ้นจากความทุกข์ ที่มีสุขอยู่ แล้ว ขอให้ยิ่งยิ่งสุขขึ้นไป สวดแผ่เมตตาต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มบุญบารมีให้ยิ่งใหญ่ไพศาล บทสวด นี้ได้มาจากวัดสุทัศน์เทพวรารามราชวรวิหาร โดยท่านเจ้าคุณพระราชวิจิตร ปฏิภาณ ( พระพิพิธธรรมสุนทร ) ด้วยบุญกรรม ที่ข้าพเจ้าได้กระท�า ทั้งกายวาจา อีกทั้งน�้าใจ เลื่อมใส 109
����������2.indd 109
3/6/14 11:11 AM
ศรัทธา วันนี้จงมา อวยผลบันดาล ให้อุปัชฌาย์ และอาจารย์แห่ง ข้า ฯ บิดา มารดา ญาติกา และวงศ์วาน จงเกษมส�าราญ ทั่วหน้ากันไป สุริยัน จันทรา องค์พระราชา ผู้ผ่านภพไกร ผู้มีพระคุณ ทุกรุ่นทุกวัย เชิญรับเอาไป แต่ล้วนส่วน บุญ อินทร์พรหม ยมยักษ์ เสื้อเมืองเรืองศักดิ์ ทรงเมืองการุญ เพื่อนฝูงทั่วไป ที่ ได้อุดหนุน เทพผู้ทรงคุณ จตุโลกบาล มนุษย์ และสัตว์ คู่แค้นเคืองขัด จองเวร ล้างผลาญ ตีด่ากันไว้ ด้วยใจเป็นพาล จงเกษมส�าราญ เบิกบานกายใจ จนกว่า จะได้ บรรลุถึงนฤพาน (พระนิพพาน) ด้วยบุญกรรม พร้อมค�าอธิษฐาน ที่ว่ามานี้ เป็นที่ชื่นบาน ขอจงดลบันดาล ฉับพลันทันใด ให้ข้าบรรลุ ธรรมะจักษุ โภคาพิสมัย ตัดอุปาทาน ตัณหาขาดไป สันดานผ่องใส ปราศจากเลวทราม สติปัญญา ความเยรแก่กล้า ความคิดดีงาม ทุกชาติทุกภพ ประสบแต่ความสุขสวยงาม ตราบเข้านฤพาน มาราธิราช อย่าได้ โอกาส ตามผจญล้างผลาญ มุ่งท�าสิ่งใดๆ ขอให้ได้การงาน ส�าเร็จส�าราญ ตลอด ปลอดภัย เดชะพระพุทธ พระธรรมบริสุทธิ์ พระสงฆ์เป็นใหญ่ จงเป็นที่พึ่ง ก�าจัด เวรภัย อันตรายใดใด จงนิราศปราศเทอญฯ นิพพนะ ปัจจะโย โหตุ อะนาคะเจ กาเลฯ บทแผ่เมตตาให้ตัวเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิทุกโข โหมิ
ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุข ขอให้ข้าพเจ้า จงปราศจากความทุกข์
110
����������2.indd 110
3/6/14 11:11 AM
อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพ์ยาปัชโฌ โหมิ เบียดเบียนทั้งปวง อะหัง อะนีโฆ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ กาลนาน เทอญ
ขอให้ข้าพเจ้า จงปราศจากเวรกรรม ขอให้ข้าพเจ้า ปราศจากความล�าบากความ ขอให้ข้าพเจ้า ปราศจากอุปสรรค ขอให้ข้าพเจ้ารักษาตนให้มีความสุขตลอด
บทแผ่เมตตาให้เพื่อนมนุษย์และสรรพสัตว์ สัพเพ สัตตา อะเวราโหนตุ สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ สัพเพ สัตตา อัพ์ยาปัชฌา โหนตุ สัพเพ สัตตา อะนีฆา โหนตุ อิทังเม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโยฯ ค�าอุทิศบุญกุศล อิทังเม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุมาตา ปิตะโร ขอส่วนบุญนี้ จงส�าเร็จแก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้ามีความสุข อิทังเม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอส่วนบุญนี้ จงส�าเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้ามีความสุข 111
����������2.indd 111
3/6/14 11:11 AM
อิทังเม คุรูปัชฌายาจะริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา ขอส่วนบุญนี้ จงส�าเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์และอาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์และอาจารย์ของข้าพเจ้ามีความสุข อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุสัพเพเทวา ขอส่วนบุญนี้ จงส�าเร็จแก่เทวดาทั้งหลาย ขอให้เทวดาทั้งหลายมีความสุข อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุสัพเพ เปตา ขอส่วนบุญนี้ จงส�าเร็จแก่เปรตทั้งหลาย ขอให้เปรตทั้งหลายมีความสุข อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุสัพเพ เวรี ขอส่วนบุญนี้ จงส�าเร็จแก่เจ้ากรรมนาย เวรทั้งหลาย ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายมีความสุข อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุสัพเพ สัตตา ขอส่วนบุญนี้ จงส�าเร็จแก่สัตว์ทั้งหลาย ขอให้สัตว์ทั้งหลายมีความสุขทั่วหน้ากันเทอญ ค�าอาราธนาศีล 5 มะยังภันเต วิสงุ วิสงุ รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะสีลานิ ยาจามะ ทุติยัมปิมะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะสี 112
����������2.indd 112
3/6/14 11:11 AM
ลานิ ยาจามะ ตะติยัมปิมะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะสี ลานิ ยาจามะ ค�าสมาทานศีล 5 ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยาม ค�ากล่าวสรุปศีล อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ สมาทิยามิ สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา สิีเลนะ นิพพุติ ยันติ ตัส์มา สีลังวิโส ธะเย จากนั้นให้สมาทานพระกัมมัฏฐาน (บทสมาทานในหน้า 22) แล้วแผ่เมตตา อิทังโน ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอสรรพสัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรและกรรม ซี่งกันและกันเลย สัพเพ สัตตา 113
����������2.indd 113
3/6/14 11:11 AM
เริ่มต้นด้วยการไหว้ครู การไหว้ครูนั้นเป็นการส�ารวมจิต และอัญเชิญครูบา อาจารย์ทั้งหลายเข้าสู่กายสู่จิต เพื่อเตรียมพร้อมส�าหรับการเจริญกัมมัฏฐานเพื่อฝึก อภิญญา โดยปฏิบัติตามดังนี้ วิธีการไหว้ครู ไหว้ครูชุดที่ 1 1. ล�าดับจิต
เตรียมพร้อมในท่านั่งขัดสมาธิ ขาขวาทับขาซ้าย วางมือไว้บนเข่าทั้งสอง ข้าง ให้นิ้วติดชิดกัน ส�ารวมจิต และพิจารณาสภาวะที่ปรากฏขึ้นในจิต ในภาษา ธรรมเราเรียกว่า “การล�าดับจิต” เช่น เหนื่อย อากาศเย็น ร้อน ความกังวลต่างๆ ความเจ็บทรมานร่างกายต่างๆ นานา พิจารณาไปเรื่อยๆ ให้เบาลง หลังจากล�าดับ จิตแล้ว ให้อารธนา ครูบาอาจารย์ น้อมน�าเข้าสู่จิตใจ ให้ระลึกถึงพระที่เรามีไว้ 114
����������2.indd 114
3/6/14 11:11 AM
ประจ�าใจ เช่น พระพุทธชินราช พระพุทธสิหิงส์ สมเด็จพุทธาจารย์โต หลวงปู่ทวด หลวงปู่แหวน พระอาจารย์มั่น หลวงปู่ขาว เป็นต้น เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ 2. ตัดปลิโพธ 10 ประการ ตัดเครื่องผูกพัน หน่วงเหนี่ยว เหตุกังวลต่างๆ เช่น บิดา มารดา ญาติ พี่น้อง พวกพ้องบริวาร เพราะเป็นสิ่งสมมุติทั้งนั้น หรือ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ณ วัน นั้นๆ ต้องตัดให้หมด เพื่อจะได้ไม่กังวลกับสิ่งต่างๆ 3. ส�าเนียกในกรรมที่ได้กระท�ามา ระลึกถึงการกระท�าที่ไม่ดีที่ผ่านมา เช่น การฆ่าสัตว์ ผิดเมียคนอื่น ท�าแท้ง ลักทรัพย์ เป็นต้น เมื่อระลึกได้ ให้ตัดสัญญากรรมต่างๆ โดยกล่าวค�าว่า “เนวะ สัญญา นา สัญญา ยะตะนะ” เช่น ระลึกได้ว่า เคยตีสุนัขจนขาเจ็บ ให้ภาวนาใน ใจ ข้าพเจ้า ชื่อ ............... นามสกุล ............. ขอตัดสัญญากรรมกับสุนัขตัวนี้ ด้วย “เนวะสัญญา นา สัญญา ยะตะนะ” โดยใช้อ�านาจในวิปัสสนา ใครก็ตามที่เคยมี สัญญากรรม ไม่ว่าจะเป็นบิดา มารดา ญาติ พี่น้อง ตลอดจนถึง ภรรยา หรือคนที่ เกี่ยวข้อง ตัดสัญญากรรมด้วยอรูปกัมมัฎฐาน “เนวะสัญญา นา สัญญา ยะตะนะ” เมื่อนึกได้ ให้ตัดสัญญากรรมทันทีทุกครั้ง ตัดให้มากๆ เมื่อระลึกถึงจนหมดแล้วจะ เกิดสภาวะเงียบ และให้พิจารณาต่อไปเรื่อยๆ โดยไม่ซ�า้เรื่องเดิม จนกว่าจะมีกรรม ใดกรรมหนึ่งผ่านเข้ามาอีก ปฏิบัติต่อจนเกิดความสงบในจิต ให้ระลึกนึกกรรม ต่างๆ ที่ตนได้กระท�าไว้จนระลึกไม่ได้อีกแล้วนั้น จึงปฏิบัติขั้นตอนต่อไป การใช้เวลาในการส�าเนียกกรรมนี้ จะมากหรือน้อย สุดแล้วแต่เวรกรรมของ 115
����������2.indd 115
3/6/14 11:11 AM
ใครที่ได้กระท�าไว้แต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน รวมถึงความอาฆาตของเจ้ากรรมและ นายเวรว่า มีมากน้อยเพียงไร การตัดสัญญากรรมควรปฏิบัติมากๆ บ่อยๆ เพราะ เมื่อปฏิบัติในขั้นสูงขึ้นไปจะได้ไม่มีวิบากกรรมมาริดรอน และไม่ต้องชดใช้เวรและ กรรมที่กระท�าไว้มานัก วิบากกรรมต่างๆ จะค่อยๆ ลดน้อยถอยลงไป 4. ตัดหรือละขันธ์ทั้ง 5 ปล่อยให้ว่าง วางให้เป็น เย็นให้พอ เพื่อจะได้ไม่กังวลในเรื่องขันธ์ทั้ง 5 เป็นสิ่งจ�าเป็นที่ผู้ปฏิบัติท�าความเข้าใจในความหมายว่า ขันธ์ 5 นั้น (รูปขันธ์ เวทนา ขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์) เป็นสภาพธรรมของรูปธรรมและ นามธรรม 5 หมวดที่มาประชุมรวมกัน เป็น บุคคล ตัวตน เรา เขา เป็นต้น 1. รูป ได้แก่ ส่วนประกอบที่เป็นรูปธรรมทั้งหมด ร่างกาย พฤติกรรม และ คุณสมบัติต่างๆ ของส่วนที่เป็นร่างกาย 2. เวทนา ได้แก่ ความรู้สึกสุข ทุกข์ หรือเฉยๆ ซึ่งเกิดจากอายตนะ 6 หรือ สัมผัสทางประสาททั้ง 5 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) และทางใจ 3. สัญญา ได้แก่ ความก�าหนดหมายรู้ในอารมณ์ หมายถึง การรู้ รูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ หรือ ความนึกคิดต่างๆ เป็นต้น 4. สังขาร ได้แก่ องค์ประกอบหรือส่วนที่เป็นความปรุงแต่ง, สภาพที่ปรุงแต่ง จิตให้ดีหรือชั่วหรือเป็นกลางๆ, คุณสมบัติต่างๆ ของจิต มีเจตนาเป็นตัวน�า ซึ่งแต่ง จิตให้ดีหรือชั่ว หรือเป็นกลางๆ ปรุงแต่งการนึกคิดในใจ และการแสดงออกทางกาย วาจา ให้เป็นกุศล อกุศล รวมเรียกง่ายๆ ว่า เครื่องปรุงแต่งจิต 5. วิญญาณ ได้แก่ ความรู้ในู้แจ้งอารมณ์ทางอายตนะทั้ง 6 มีการเห็น การ 116
����������2.indd 116
3/6/14 11:11 AM
ได้ยิน เป็นต้น ขั้นธ์ทั้ง 5 นี้เป็นสภาพธรรมที่เกิดดับ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ไม่ เที่ยง เมื่อไม่เที่ยงจึงเป็นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ผู้ปฏิบัติจึงไม่ควร ที่จะตามเห็นขันธ์ 5 ว่า เป็นตัวตน สัตว์ บุคคล เพราะความเป็นไปของขันธ์ 5 จะ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวเกาะรั้ง ไม่ให้เกิดความเจริญทางจิตได้ จึงควรละขันธ์ 5 ให้มาก ที่สุด 5. พิจารณากายในท่านั่ง โดยเปลี่ยนอิริยาบทจากการคว�า่มือ ให้หงายมือขึ้น เพื่อรับสิริและมงคล วางมือไว้เหนือเข่าตามรูป นิ้วทั้งสิบต้องแนบชิดสนิทกัน ไม่ให้มีแสงลอดผ่านได้ แล้วเริ่มบริกรรมเพื่อล�าดับสติ เป็นการฝึกกายคตาสติ ตามค�าบริกรรมต่อไปนี้
117
����������2.indd 117
3/6/14 11:11 AM
ไหว้ครูชุดที่ 1 รอบที่ 1 บริกรรมภาวนา 1. ขอเทพ พรหม ยม รักษ์ จงมาสถิตย์ ที่หน้าผากของข้าพเจ้า (เหนือหว่าง คิ้ว) เพื่อให้เป็น สิริและมงคล แก่ข้าพเจ้า 2. ขอคุณบิดา มารดา จงมาสถิตย์ที่อุ้งมือซ้ายของข้าพเจ้า เพื่อเป็นมิ่งขวัญ ของชีวิตข้าพเจ้า 3. ขอคุณครูบาอาจารย์ จงมาสถิตย์ที่อุ้งมือขวยของข้าพเจ้า เพื่อให้เป็นที่ ยึดเหนี่ยวของชีวิตข้าพเจ้า บริกรรมอย่างน้องไม่ตา� ่กว่า 20 รอบ ตามอินทรีย์ 5 พละ 5 หรือก�าลังร่างกาย ที่พึงมี ในขั้นตอนที่1 - 3 นี้เมื่อบริกรรมได้รอบหนึ่งแล้วให้หยุดนิ่งสักครู่และเริ่ม บริกรรมใหม่จนครบ 20 รอบ ชุดแรก 20 รอบนี้ ถือเป็นการบริกรรมด้วยการภาวนา ไหว้ครูชุดที่ 1 รอบที่ 2 ใช้อัญชัญวสี เริ่มไหว้ครูชุดที่ 1 ในรอบที่ 2ด้วย อัญชัญวสี หมายถึง ด้วยความช�านาญใน การนึก ไม่ต้องกล่าวค�าบริกรรม แต่ให้อาศัยการนึกแทน จนครบ 20 รอบ ไหว้ครูชุดที่ 1 รอบที่ 3 ใช้ปัสสัทธิ เริ่มไหว้ครูชุดที่ 1 ในรอบที่ 3 ด้วย ปัสสัทธิ หรือ ความสงบ โดยการส�ารวม จิตตามจุดต่างๆ นี้จนครบ 20 รอบ จิตจะชวนไปตามจุดต่างๆ เองโดยอัตโนมัติ
118
����������2.indd 118
3/6/14 11:11 AM
6. ไหว้ครูชุดที่ 2
พิจารณากายในท่านั่ง เริ่มการไหว้ครูชุดที่ 2 มี 3 รอบเช่นกัน ส�ารวมจิตให้มั่นคง ในขั้นตอนนี้ให้ ปฏิบัติโดยบริกรรมตามจุดดังรูปข้างต้น ไหว้ครูชุดที่ 2 รอบที่ 1 บริกรรมภาวนา 1. ขอพระสุปฏิปัณโณ พระขีณาสพ พระปัจเจกบุคค พระโสดาปฏิมรรค พระสกิทาคามิมรรค พระอนาคามีมรรค พระอรหันต์ และพระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ จงมาสถิตย์ที่เชิงเกศาของข้าพเจ้า เพื่อให้เกิดปัญญา ญาณ ฌาน บารมี แก่ตัวและชีวิตของข้าพเจ้า 119
����������2.indd 119
3/6/14 11:11 AM
2. ขอคุณบิดา มารดา จงมาสถิตย์ทเบื้องบ่าขวาของข้าพเจ้า เพื่อคุ้มครอง ชีวิตข้าพเจ้า ให้ ตลอดปลอดภัย 3. ขอผู้มีพระคุณทั้งหลาย จงมาสถิตย์ที่เบื้องบ่าซ้ายของข้าพเจ้า เพื่ออุป ถัภม์ค�า้ชูชีวิตของข้าพเจ้า ให้ประสพความส�าเร็จ บริกรรมอย่างน้องไม่ตา� ่กว่า 20 รอบ ตามอินทรีย์ 5 พละ 5 หรือก�าลังร่างกาย ที่พึงมี ในขั้นตอนที่1 - 3 นี้เมื่อบริกรรมได้รอบหนึ่งแล้วให้หยุดนิ่งสักครู่และเริ่ม บริกรรมใหม่จนครบ 20 รอบ ชุดแรก 20 รอบนี้ ถือเป็นการบริกรรมด้วยการภาวนา ไหว้ครูชุดที่ 2 รอบที่ 2 ใช้อัญชัญวสี เริ่มไหว้ครูชุดที่ 2 ในรอบที่ 2ด้วย อัญชัญวสี หมายถึง ด้วยความช�านาญใน การนึก ไม่ต้องกล่าวค�าบริกรรม แต่ให้อาศัยการนึกแทน จนครบ 20 รอบ ไหว้ครูชุดที่ 2 รอบที่ 3 ใช้ปัสสัทธิ เริ่มไหว้ครูชุดที่ 2 ในรอบที่ 3 ด้วย ปัสสัทธิ หรือ ความสงบ โดยการส�ารวม จิตตามจุดต่างๆ นี้จนครบ 20 รอบ จิตจะชวนไปตามจุดต่างๆ เองโดยอัตโนมัติ 7. ไหว้ครูชุดที่ 3 ก�าหนดพระกัมมัฏฐาน ไว้ตามจุดต่างๆ 10 จุด
120
����������2.indd 120
3/6/14 11:11 AM
ก�าหนดพระกัมมัฏฐาน จุดที่ 1 - 10 นับเป็น 1 รอบ ปฏิบัติ 20 รอบ นับเป็นบริกรรมภาวนา
ไหว้ครูชุดที่ 3 รอบที่ 1 บริกรรมภาวนา 1. ขอพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 1 จงมาสถิตย์ทกี่ ลางกระหม่อมของข้าพเจ้า เพือ่ ให้ เป็นสรรพปัญญาทัง้ หลาย 2. ขอพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 2 จงมาสถิตย์ที่หน้าผากของข้าพเจ้า เพื่อเป็นสิริ และมงคลต่อตัวข้าพเจ้า 3. ขอพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 3 จงมาสถิตย์ที่หว่างคิ้วของข้าพเจ้า เพื่อเมื่อ ข้าพเจ้ามองสิ่งใด ขอให้เกิดทิพยจักขุ 4. ขอพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 4 จงมาสถิตย์ที่ปลายนาสิกของข้าพเจ้า ขอ เพื่อให้ร่างกายของข้าพเจ้าปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เมื่อข้าพเจ้าหายใจเข้าและออก 5. ขอพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 5 จงมาสถิตย์ที่ปลายคางของข้าพเจ้า เพื่อให้การ เจรจาเป็นที่ล�า้เลิศ กว่าคนทั้งหลาย ทั้งหมดทั้งมวล 121
����������2.indd 121
3/6/14 11:11 AM
6. ขอพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 6 จงมาสถิตย์ที่หว่างไหปลาร้าของข้าพเจ้า เพื่อ ให้กระดูกทุกข้อทั้ง 209 ข้อ และเอ็นทุกเส้น 76,000 เส้น และกล้ามเนื้อ 792 มัด จง มีแต่ความสมบูรณ์ 7. ขอพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 7 จงมาสถิตย์ที่เหนือเนินอกของข้าพเจ้า เพื่อให้ ปอดของข้าพเจ้าทั้งสองฝั่งได้มีอากาศบริสุทธิ์ ไม่มีความเจ็บป่วย 8. ขอพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 8 จงมาสถิตย์ที่ลิ้นปี่ของข้าพเจ้า เพื่อเป็น จุดศูนย์กลางของร่างกาย ด้านบนจรดเส้นผมที่ยาวที่สุด ด้านล่างจรดปลายเท้าที่ ยาวที่สุด ขอให้ความทุกข์โศก โรคภัยและอวมงคลทั้งหลายจงสิ้นสูญ 9. ขอพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 9 จงมาสถิตย์ที่เหนือนาภีของข้าพเจ้า เพื่อให้ ร่างกายส่วนช่องท้อง ตับ ไต ไส้ ม้าม พยาธิ และเชื้อโรค อย่าได้เป็นพิษเป็นภัย 10. ขอพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 10 จงมาสถิตย์ที่ขอบนาภีของข้าพเจ้า เพื่อให้ ร่างกายส่วนต�า่กว่า นาภีลงไป อย่าได้ทุพพลภาพ แล้วบริกรรมย้อนกลับจากจุดพระกัมมัฏฐานองค์ที่ 10 กลับไปจนถึงจุดพระ กัมมัฏฐานองค์ที่ 1 นับเป็น 1 รอบ บริกรรมอย่างน้องไม่ตา� ่กว่า 20 รอบ ตาม อินทรีย์ 5 พละ 5 หรือก�าลังร่างกายที่พึงมี ในขั้นตอนที่ 1 - 10 นี้ เมื่อบริกรรมได้รอบ หนึ่งแล้วให้หยุดนิ่งสักครู่และเริ่มบริกรรมใหม่จนครบ 20 รอบ ชุดแรก 20 รอบนี้ ถือ เป็นการบริกรรมด้วยการภาวนา ไหว้ครูชุดที่ 3 รอบที่ 2 ใช้อัญชัญวสี เริ่มไหว้ครูชุดที่ 3 ในรอบที่ 2 ด้วย อัญชัญวสี หมายถึง ด้วยความช�านาญใน การนึก ไม่ต้องกล่าวค�าบริกรรม แต่ให้อาศัยการนึกแทน จนครบ 20 รอบ 122
����������2.indd 122
3/6/14 11:11 AM
ไหว้ครูชุดที่ 3 รอบที่ 3 ใช้ปัสสัทธิ เริ่มไหว้ครูชุดที่ 3 ในรอบที่ 3 ด้วย ปัสสัทธิ หรือ ความสงบ โดยการส�ารวม จิตตามจุดต่างๆ นี้จนครบ 20 รอบ จิตจะชวนไปตามจุดต่างๆ เองโดยอัตโนมัติ เมื่อจบรอบที่ 3 แล้ว ถือเป็นการคบการไหว้ครูทั้งสามชุด พิจารณาดูสภาวะ จิต เมื่อจิตสงบให้ยกมือประนมขึ้นระดับหน้าอก และไหว้ 3 ระดับ คือ 1. อัญชลี ยกมือประนมไหว้ ให้นิ้วโป้งจรดหว่างคิ้ว และโน้มศีรษะมาข้าง หน้าเล็กน้อย 2. วันทา ลดมือที่ประนมไว้ ลงมาที่ปลายนาสิก โดยยังคงโน้มศีรษะอยู่ 3. อภิวาท ลดมือที่ประนมไว้ ลงมาที่หว่างกลางทรวงอก (หว่างหทัย) ตั้งตัว ตรง แล้วหมุนมือประสานนิ้ววางบนหน้าตัก มือขวาทับมือซ้าย นิ้วโป้งมือซ้ายและ นิ้วชี้มือขวายังไม่จรดกัน จนกว่าจิตจะนิ่งจึงเคลื่อนนิ้วโป้งมาจรดกันแล้วกล่าวค�า บริกรรม . . .
123
����������2.indd 123
3/6/14 11:11 AM
อิติสุขขะโต อะระหัง พุทโธ นะโม พุทธายะ... อิติสุขขะโต อะระหัง พุทโธ นะโม พุทธายะ... อิติสุขขะโต อะระหัง พุทโธ นะโม พุทธายะ... อิติสุขขะโต อะระหัง พุทโธ นะโม พุทธายะ... อิติสุขขะโต อะระหัง พุทโธ นะโม พุทธายะุ... การบริ ก รรมในใจให้ เ ริ่ ม บริ ก รรมตามปกติ แ ล้ ว ลดองค์ ภ าวนาลงเรื่ อ ยๆ ค่อยๆ แผ่วลงตามล�าดับ จนถึงอาการที่จิตสงบนิ่ง 8. ส�ารวจสมาธิ เพื่อให้จิตด�าเนินเข้าสู่สมาธิ 3 คือ ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ จิตจะด�าเนินเข้าสู่สภาวะฌานตามล�าดับ ตั้งแต่ ฌาน 1 ปฐมฌาน ฌาน 2 ทุติย ฌาน ฌาน3 ตติยฌาน และ ฌาน4 จตุตถฌาน อีกครั้งโ ดยล�าดับ เพื่อให้จิต ปราศจากกิเลส เครื่องเศร้าหมองต่างๆ รวมถึงนิวรณ์ 5 ด้วย 9. อธิษฐานจิต เมื่อจิตสงบแล้ว ปราศจากสิ่งที่มาเป็นอุปสรรคแล้ว ให้เริ่มอธิษฐานจิตตามที่ ตนเองปรารถนา อาทิเช่น อย่าให้จิตชวนไปเรื่องอื่นโดยเด็ดขาด ข้าพเจ้า (นาย นาง นางสาว) ....... ขอความส�าเร็จในเรื่อง ....... จงเกิด แก่ข้าพเจ้าด้วยเทอญ ..... ให้ปรารถนาทีละเรื่องเท่านั้น จนกว่าจะส�าเร็จจึงจะ ปรารถนา เรื่องอื่นๆ ต่อได้ หลังจากนั้นสูดลมหายใจเข้าปอดลึกๆ 124
����������2.indd 124
3/6/14 11:11 AM
10. แผ่เมตตาในฌาน เมื่ออธิษฐานจิตแล้วให้แผ่เมตตาในฌานว่า ขอสรรพสัตว์ทั้งหลาย ที่เป็น เพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มี เวรและกรรมซึ่งกันและกันเลย สัพเพ สัตตา เมื่อแผ่เมตตาแล้วให้ใช้สมาธิภาวนาตามล�าดับต่อไปนี้ 1. ก�าหนดลมปราณช้าๆ ถ้าป็นคนเฉื่อยแฉะให้ปรับลมปราณให้เร็ว ประมาณ 20 คู่ เข้า - ออก นับ 1 เข้า - ออก นับ 2 ถึง เข้า - ออก นับ 20 2. ก�าหนดอานาปานัสสติ (สติที่ระลึกถึงองค์ภาวนาหายใจเข้าพุทธ ออก โธ นับ 1 ท�า 20 คู่) 3. ปรับธาตุ 4 อย่างหยาบ โดยก�าหนดองค์ภาวนา 1. หายใจเข้า เต หายใจออก โช 2. หายใจเข้า วา หายใจออก โย 3. หายใจเข้า อา หายใจออก โป 125
����������2.indd 125
3/6/14 11:11 AM
4. หายใจเข้า ปัฐฐะ หายใจออก วี 5. หายใจเข้าเปล่า หายใจออกเปล่า นับ 1 (1) (2) (3) (4) (5) = 1 ชุด 4. ก�าหนดอานาปานัสสติ โดยการหายใจเข้า พุทธ ออก โธ นับ 1 20 คู่ จิตจับอยู่ปลายจมูก เหนือริมฝีปาก 5. ก�าหนดธาตุ 4 อย่างละเอียด 1. หายใจเข้า เตโช ออก 2. หายใจเข้า วาโย ออก 3. หายใจเข้า อาโป ออก 4. หายใจเข้า ปฐวี ออก
กสินณัง 4 คู่ กสินณัง 6 คู่ กสินณัง 12 คู่ กสินณัง 20 คู่
6. เมื่อครบแล้วก�าหนดอานาปานัสสติ โดยการหายใจเข้า พุทธ ออก โธ นับ 1 20 คู่ 7. ส�ารวจสมาธิ เมื่อจิตสงบนิ่งแล้ว จิตจะด�าเนินเข้าสู่สมาธิ 3 คือ ขณิกสมาธิ อุปจาร สมาธิ อัปปนาสมาธิ จิตจะด�าเนินเข้าสู่สภาวะฌานตามล�าดับ ตั้งแต่ ฌาน 1 ปฐมฌาน ฌาน 2 ทุติยฌาน ฌาน3 ตติยฌาน และ ฌาน 4 จตุตถฌาน อีกครั้งโดย 126
����������2.indd 126
3/6/14 11:11 AM
ล�าดับ เพื่อให้จิตปราศจากกิเลส เครื่องเศร้าหมองต่างๆ รวมถึงนิวรณ์ 5 ด้วย ตาม รายละเอียดต่อไปนี้ ลดสภาวะกายให้เหลือแต่จิตโดยการน�าจิตมาพิจารณาและระลึกถึงสติปัฏ ฐาน 4 กล่าวคือ นึกถึง กายานุปัสนา จิตตานุปัสนา ธรรมานุปัสนา 1. กาย เป็นที่ประชุมแห่งปฏิกูล พร้อมทั้งมีความเสื่อมดับอยู่ตลอดเวลา รวม ถึงเป็นที่ศูนย์รวมปฏิกูล 2. จิต น้อมระลึกถึงความเกิด ความตาย เป็นที่ตั้ง มีเกิด เป็นที่เริ่ม มีชรา เป็นที่รอง มีพยาธิ(เจ็บ) เป็นที่รับ มีตาย เป็นที่เบื้องสุดท้าย 3. เวทนา ให้นึกนึกความยินดี ไม่ยินดี ความพลัดพราก พิจารณาโลกธธรม 8 ประการ ได้ลาภ เสื่อมลาภ ได้ยศ เสื่อมยศ ได้สุข มีทุกข์ ได้สรรเสริญ มีนินทา เวทนา ให้นกึ ถึงทุกข์ – สุข นึกถึงความฟุง้ ซ่าน พิจารณาว่าทัง้ ความสุขและ ความทุกข์หาประโยชน์ไม่ได้ทงั้ สองอย่างกล่าวคือความสุขก็เป็นทุกข์กเ็ ช่นเดียวกัน ต้อง กระเสือกกระสนไปเพือ่ ความทุกข์ ฉะนัน้ ควรพิจารณาทัง้ สองอย่างว่าเป็นทุกข์ทงั้ สิน้ 127
����������2.indd 127
3/6/14 11:11 AM
4. ธรรมานุปัสนา กาย – จิต – ธรรม ธรรมะ ให้ใช้ปัญญาในสมาธิ พิจารณานิวรณ์ 5 (เครื่องกีดกั้น ความ ดี 5 ประการ) คือ กามฉันทะ (ความรักใคร่) พยาบาท (ความผูกใจโกรธและพยาบาท) ถีนะมิทธะ (ความง่วงเหงา หาวนอน) อุทธัจจกุกกุจจะ (ความฟุ้งซ่าน) วิจิกิจฉา (ความลังเล สงสัย รวมถึงความกังวลในเรือ่ งทีเ่ กิดมาและ ก�าลังจะเกิดขึน้ ด้วย) พิจารณาขันธ์ 5 กล่าวคือ รูป เวทนา สังขาร สัญญา วิญญาณ เป็นของไม่ เที่ยงแท้ มีการเกิด การดับ อยู่เนืองนิตย์ และหาความแน่นอน และเที่ยงแท้นั้นไม่มี มีความพลัดพราก ความจากกัน มีความตาย มีสุข มีทุกข์ มีรัก มีโกรธ มีหลง มีโลภ เกิดขึ้นกับตัวเราและสรรพสัตว์ อยู่ทุกเวลา เมื่อพิจารณาธรรมในเรื่องขันธ์ 5 เพื่อ ความไม่ประมาทในกาลและเวลา 5. พิจารณา อายะตะนะ ภายใน (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) 6. พิจารณา อายะตะนะ ภายนอก (รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่มากระทบใจ) เหตุที่ต้องยกเรื่องอายะตะนะ 12 มาพิจารณาให้ละเอียดในเวลาที่นั่งปฏิบัติ สมาธิ หรืออบรมจิต เพราะว่า อายะตะนะ 12 มีความส�าคัญมากกับมนุษย์เรา 128
����������2.indd 128
3/6/14 11:11 AM
เพราะเป็นเรื่องที่ต้องกระทบกระแทกกับตัวเราอยู่ตลอดเวลา ท�าให้จิตที่ฝึกมาดีแล้ว มีการรับอารมณ์มากและหวั่นไหวไปมาได้ตลอด ทั้งที่เราได้กระท�าด้วยตนเอง รวม ถึงบุคคลอื่นมากระท�าให้เราเกิดอารมณ์ กิเลส 3 คือ โมหะ(ความหลง) ความโลภ ะ (ความโลภ) ความโทสะ (คือความโกรธ) เพราะสิ่งเหล่านี่เป็นของใกล้ตัวและ แสดงออกง่าย ย่อมท�าให้จิตที่ฝึกมาดีแล้วเสื่อมง่าย และก่อให้เกิดความเดือดร้อน ทั้งตนเอง และผู้อื่นได้ง่ายเช่นเดียวกัน เมื่อฝึกจิตมาถึงตรงนี้ ให้ผู้ฝึกจิตก�าหนดให้จิตปล่อยวางจากสิ่งทั้งหลาย ทั้งหมดทั้งมวล เมื่อเวลาฝึกปฏิบัติ จึงไม่ควรละเลยควรพิจารณาทั้งคุณและโทษที่ เกิดขึ้นจากการกระท�าของตัวเรา รวมถึงผู้อื่นมากระท�าให้เกิดขึ้นกับตัวเราด้วย โดย การเตรียมตัวน�าเอาหลักธรรมะเรื่อง พรหมวิหาร 4 มาบริหารจิตด้วยจึงจะเป็นการดี ที่สุด เมื่อฝึกจิตมาถึงขั้นนี้จิตจะเดินทางเข้าสู่สภาวะภวังค์ ซึ่งมีทั้งหมด 3 ภวังค์ คืออ นาคะตังภวังค์ ปัจจุปันนังภวังค์ อตีตังภวังค์ จิตจะเคลื่อนไปตามที่อ�านาจแห่งกรรม ที่ได้กระท�าไว้ทั้งในอดีตภวังค์ จิตจะเคลื่อนไปตามที่อ�านาจแห่งกรรมที่ได้กระท�าไว้ ทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมถึงสิ่งที่ใจคิดจะกระท�าในอนาคตด้วย อุคนิมิต จะเกิดขึ้นหลังจากนั่งสมาธิ จิตจะด�าเนินเข้าสู่สภาวะขณิกสมาธิ ซึ่งเป็นความสงบที่เกิดขึ้นชั่วคราว กล่าวคือเกิดขึ้นแล้วดับไป รู้สติบ้างไม่รู้สติบ้าง อาการของตาจะรับแสงสีขาว สีเขียว สีแดง และแสงสว่าง รวมถึงตัวเบา ตัวโยก ตัว สั่น ไปมา อาจจะมีอาการตัวลอย ตัวพองใหญ่ขึ้น บริกรรมนิมิต จะเกิดขึ้นหลังจากที่นั่งสมาธิ จิตเข้าสู่สภาวะอุปจารสมาธิซึ่ง เป็นความสงบที่เพิ่มนานขึ้น จิตมีความตั้งมั่นมากขึ้นโดยล�าดับ และมีความแน่วแน่ มากขึ้น ช่วงนี้จะมีอาการหูดับ ตาดับ การไม่รับรู้อายะตนะทั้งภายในและภายนอก 129
����������2.indd 129
3/6/14 11:11 AM
องค์ภาวนาต่างๆ ที่กา� หนดมาแต่แรกจะขาดหายไปขององค์ความรู้บังเกิดขึ้นแทน อนุสติทั้ง 8 ข้อคือ พุทธานุสสติ ธัมมานุสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ เทว ตานุสติ อุปสมานุสสติ มรณัสสติ กับอาหารปฏิกูลสัญญา และจตุธาตุวัตตถาน ให้ เกิดความสงบขึ้นในจิตในช่วงนี้จิตจะประณีตมากละเอียดค่อนข้างมาก จิตจะไม่มี อะไรมากระทบได้เพราะว่าบังเกิดฌาน ในสมาธิจิต อาการของกายคล้ายนั่งหลับ แล้วขาดสติ ปฏิภาคนิมิต จะเกิดขึ้นในจิตหลังจากที่นั่งสมาธิ จิตตะเคลื่อนเข้าสู่สภาวะ จิตที่สูงขึ้น มีกา� ลังมาก ปราบกิเลสที่เกิดขึ้นในจิต และกายจนเกือบจะหมดไป ปัญญาจะเกิดขึ้น วิปัสสนาก็เกิดขึ้นในจิต และกายจนเกือบจะหมดไป ปัญญาจะ เกิดขึ้น วิปัสสนาก็เกิดขึ้น สมาธิขั้นสูง อย่างเช่น อัปปนาสมาธิก็เกิดขึ้น ปัญญามอง เห็นเหตุตามอนัตตา คือความเที่ยงแท้แห่งกองกิเลสและสังขาร ฌานรู้ ก็บังเกิดใน ช่วงนี้ ในขณะที่จิตด�าเนินมาถึงขั้นนี้จิตจะมีความสังขาร ฌานรู้ ก็บังเกิดในช่วงนี้ ใน ขณะที่จิตด�าเนินมาถึงขั้นนี้จิตจะมีความตั้งมั่นสูง ไม่หวั่นไหว อารมณ์ของกรรมฐาน ที่เหลืออยู่อีก 32 ดวงก็เกิดขึ้นตามล�าดับความสงบที่ได้จาการฝึกจิตในขณะนั้นจะ ถือว่าสูงที่สุดส�าหรับผู้ฝึกจิตในระดับนี้ จิตเดินทางเข้าสูฌาน 4 การฝึกจิตให้เกิดสมาธินั้นย่อมมีผลดี กับ กาย และ จิต เพราะว่าการท�าสมาธิให้เกิดขึ้นได้ย่อมน�าความสุขอันเกิดจากความสงบ และสว่างคือจิตเกิดปัญญาและความรอบรู้รวมถึงการรู้เท่าทันกิเลสที่เกิดขึ้นอีกทั้ง ยังเป็นการไม่ประมาทในการใช้ชีวิต อีกทั้งเป็นการใช้ชีวิตที่คุ้มค่าที่เกิดมาในแผ่น ดินธรรมได้เป็นลูกหลานตถาคต ได้นับถือพระพุทธศาสนา ได้ปฏิบัติพระกัมมัฏฐาน เจริญวิปัสสนา และได้ฝึกจิตจนบรรลุเข้าสู่ฌาน 4 ซึ่งมีองค์ประกอบโดยรวมดังนี้ รูป 130
����������2.indd 130
3/6/14 11:11 AM
ฌาน 4 ได้แก่ ฌานที่เกิดจากการพิจารณาธรรมบทตั้งแต่ต้นที่เริ่มปฏิบัติอบรมจิต 1. ปฐมฌาน มีองค์ 5 คือ วิตก (คือความตรึกตรอง) วิจาร (คือการใคร่ครวญ นึกถึงสิ่งที่ตรึกตรองแล้วไม่ปล่อยวาง) ปิติ (ความอิ่มเอิบใจที่เกิดจากความสงบสุข ความสบายกาย สบายใจ) เอกัคคตา (คือจิตที่ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว) 2. ทุติยฌาน มีองค์ 3 คือ จิตสงบจากวิตก และไม่วิจาร ยังคงเหลือปรากฏ อยู่แต่ ปีติสุขที่เกิดขึ้นในสมาธิและเอกัคคตา เมื่อจิตสงบแล้วธรรมทั้ง 3 นี้จะปรากฏ เด่นชัดกว่าในปฐมฌาน 3. ตติยฌาน มีองค์ 2 คือ ความสงบจากปิติลดลงจนเหลือแต่สุขกับเอกัคค ตาเท่านั้น เมื่อจิตด�าเนินมาถึงขั้นตอนนี้ฌานที่ปรากฏ จะมีความเด่นชัดกว่า จิตเริ่ม จะมีความแก่กล้าและสามารถเข้าฌานได้ง่ายขึ้น 4. จตุตถฌาน มีองค์ 2 เหมือนกัน แต่ความสุขสงบไปปรากฏเฉพาะเอกัคค ตา กับอุเบกขา คือการวางเฉยในอารมณ์ แต่เป็นการวางเฉยด้วยปัญญารู้ ปัญญาที่ เกิดขึ้น ในขณะที่จิตด�าเนินในฌาน 4 นี้ พร้อมที่จะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งทางโลก และทางธรรม เมื่อจิตของเรามีปัญหาเกิดขึ้น ฌานก็รับรู้และระงับการเกิดปัญหา ต่างๆ ได้เป็นอย่างดีองค์ฌานทั้ง 4 นี้มีประโยชน์มาก มีคุณมาก และมีฤทธิ์มาก เมื่อ ผู้ใดปฏิบัติจิตเข้ามาถึงอารมณ์นี้ได้จะเป็นสุขยิ่งนักยากที่จะหา ความสุขใดๆ ในโลก นี้เสมอเหมือนได้ เมื่อฌาน 4 บังเกิดขึ้นแล้วจะท�าหน้าที่คอยเป็นเครื่องป้องกันและ ระงับนิวรณ์ธรรมที่คอยบ่อนท�าลายอารมณ์ ความคิด จิตใจ และรวมถึงการท�าลาย สมาธิที่เกิดขึ้นอีกด้วย เมื่อนิวรณ์ธรรมไม่เกิดขึ้นกับจิต จิตจะผ่องใส ไม่ถูกท�าร้าย และท�าลาย ท�าให้จิตเกิดความสว่างและมีพลังงานของจิตมาก เมื่อเราจะท�าการ ก�าหนดจิตให้กระท�าอะไรก็ย่อมสัมฤทธิ์ผลได้อย่างง่ายดาย 131
����������2.indd 131
3/6/14 11:11 AM
ส�าหรับท่านที่ฝึกจิตมาถึงขั้นตอนนี้ จะมีอาการกาย คือ เกิดการเบื่อหน่าย โลก เบื่อหน่ายสังคม และจะรู้จักมนุษย์ทุกรูปแบบ อ่านจิตใจคนได้ รู้ว่าระกรรม ทั้งตนเองและผู้อื่นเช่นเดียวกัน มีอ�านาจจิตเจโต ปริยญาณ หยั่งรู้ฟ้าดิน บางท่าน เจริญมโนยิทธิ จนเกิดเป็นมนุษย์วาจาสิทธิ์ บางคนสามารถมีอิทธิฤทธิ์ สามารถ ส�าแดงฤทธิ์ให้ผู้อื่นเห็นได้บังเกิดมีฌาน อภิญญาฌาน 6 ก็เกิดขึ้น ขั้นตอนนี้ ยิ่งท่านที่มีกรรมเก่าน้อยมาก และกรรมใหม่ในปัจจุบันชาติไม่ได้ สร้างกรรมใหม่ ยิ่งจะมีมากมีฤทธิ์มาก ในบางท่านก็นา� จิตที่ได้นี้ไปประกอบอาชีพ เช่น หมอดู ตาทิพย์ หมอรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ บางรายก็น�าวิชาความรู้ไปเล่นแร่ แปรธาตุ (คือการน�าไปใช้ในวิชาทางโลกธรรม) เมื่อการฝึกจิตและพัฒนาศักยภาพของจิตมาถึงจุดนี้ ท่านจะได้รู้จักว่า เมื่อ เราฝึกจิตในรูป กสิณ 4 กับฌาน 4 ร่วมกัน และสามารถรักษากาจิตและวิญญาณ ธาตุขันธ์ทั้ง 5 ให้มั่นคงในความดีของการปฏิบัติ อบรมจิตไม่ประพฤติผิดในความ มัวเมาแห่งกิเลส รวมถึงการเฝ้าระวังมิให้ผิดศีล ผิดธรรม เมื่อนั้นจิตของท่านก็จะ เคลื่อนเข้าสู่ธรรมชั้นสูงต่อไป ธรรมที่ว่านี้ก็คือ สมาบัติ 8 ซึ่งเป็นสิ่งที่สูงกว่าธรรมบทที่กล่าวมาแล้ว แต่การน�าจิตของเรา เข้ามาสู่สภาวะสมาบัติ 8 เป็นเรื่องยาก เพราะต้องมีความวิริยะ อุสาหะ บากบั่น มั่นคง ในความดีทั้งในที่ลับและที่แจ้ง ทั้งในมืดและสว่าง ทั้งกลางวันและกลางคืน กล่าวคือต้องท�าความดีทั้งทุกชนิดทุกประเภท ทุกลมหายใจเข้าและหายใจออก เมื่อ ฝึกจิตมาถึงขั้นนี้แล้วต้องเฝ้าคอยระวังไม่ให้จิต ตกต�่าเข้าไปในอุบายของกิเลสและ ตัณหาทั้งหลาย เมื่อนั้นจิตของท่านจะเป็นสุข เมื่อเรามั่นใจว่าตัวเรามีความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ รวมถึงการศึกษา 132
����������2.indd 132
3/6/14 11:11 AM
ขั้นตอนการอบรมจิตจนเกิดความช�านาญดีแล้วจึงค่อยเริ่มอธิษฐานจิต ความ ช�านาญในพระพุทธศานานั้นองค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงตรัสเรียกว่า วสี วสี คือความช�านาญ ที่ต้องใช้ในการฝึกอบรมจิตทุกขั้นตอน การฝึ ก จิ ต ก็ เ หมื อ นกั บ การศึ ก ษาวิ ช าทางโลกกล่ า วคื อ ต้ อ งศึ ก ษาอย่ า ง ถ่องแท้ ละเอียดทุกขั้นตอน และต้องหมั่นหาความรู้ เพิ่มความสามารถและต้อง อดทนรอคอยความส�าเร็จ ซึ่งแต่ละขั้นตอนต้องกระท�าซ�้าๆ ซากๆ และต้องกระท�า แบบต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความช�านาญ จึงจะช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการเรียน รู้ทั้งงานทางโลก และงานทางธรรม (งานทางธรรมหมายถึงน�าจิตให้พ้นจากความ ทุกข์ทั้งมวลและไม่มัวเมาในสิ่งที่เป็นเครื่องลวงโลก แล้วหาทางหลุดพ้นเข้าสู่แดน นิพพานซึ่งเป็นแดนสุดท้าย ที่ไม่ต้องดิ้นรนไม่ต้องเกิด ไม่ต้องดับ ไม่ต้องทุกข์ ไม่ ต้องมีสุข ไม่มีกลางวัน ไม่มีกลางคืน ไม่ร้อน ไม่หนาว ไม่ยินดี และยินดี) เมื่อการฝึกจิตกระท�าซ�้าเดิมอยู่เป็นเนืองนิตย์ และสามารถพัฒนาจิต ให้ดีขึ้นโดยล�าดับ การเจริญกัมมัฏฐานหรือวิปัสสนา ก็เกิดความช�านาญในงาน ของจิตทุกประเภททุกแขนงท่านเรียกว่า วสี มีด้วยกันทั้งหมด 5 ประการคือ 1. อาวัชชนวสี คือ ค�านึงถึงสมาธิ และ ฌาน ที่ตนได้กระท�าไว้ โดยนึกถึง สถานที่ อารมณ์ และอาการของจิต ได้ทุกขณะจิตและระลึกได้ทันทีที่ต้องการ 2. สมาปัชชนวสี คือ ช�านาญในการเข้าสมาธิจิต และการเข้าฌานได้อย่าง รวดเร็ว และใช้เวลาไม่นาน 3. อธาฐานนวสี คือ ช�านาญในการอธิษฐานให้เป็นสมาธิฌานที่เกิดขึ้นกับ จิต ได้ตามที่ตนต้องการ เนื่องจากการฝึกจิตมาเป็นอย่างดี 4. วุฏฐานวสี คือ ช�านาญในการออกจากสมาธิจิต และสามารถถอนออก 133
����������2.indd 133
3/6/14 11:11 AM
จากฌานที่ตนปฏิบัติอยู่ได้อย่างคล่องแคล่ว ว่องไว และสามารถกระท�าได้ทุกที่ ทุกหนทุกแห่ง ตามที่ตนต้องการ 5. ปัจจเวกขณวสี คือ ช�านาญในการพิจารณาสมาธิจิตและฌานว่า สามารถน�าจิตที่เกิดฌานแล้วน�ามาใช้ได้จริง และสามารถกระท�าให้เกิดขึ้นได้อย่าง รวดเร็ว วสี เหล่านี้บางคราวท่านแปลว่า ชนะตน คือมีความหมายว่า เมื่อต้องการ จะเข้าฌานก็สามารถกระท�าได้ทันที ทุกหนทุกแห่ง ทุกเวลาและโอกาส โดยที่ไม่มี อุปสรรคมาขัดขวาง แม้จิตใจจะตั้งอยู่ในสภาวะจิตใดก็ตาม เมื่อนั้นจิตของท่าน ก็จะมีแต่ความสุข ปราศจากความทุกข์ทั้งมวล รวมถึงอ�านาจแห่งจิตก็จะมีความ สามารถมากกระท�าอะไรก็ประสบความส�าเร็จทุกเรื่อง และสามารถน�ามาใช้กับชีวิต ประจ�าได้เป็นอย่างดี การฝึกจิตเมื่อจิตของเรามีความช�านาญในวสีแล้ว เมื่อนั่งสมาธิมาถึงระดับ นี้ต้องถอนจิตของเรามาพิจารณาความต้องการที่แท้จริงของเราก่อน โดยพิจารณา ว่าควร หรือ ไม่ มากน้อยเพียงไร และสิ่งที่จะให้ฌานรู้จะด�าเนินไปใน ญาณ ผิด ถูก ชั่ว ดี ประการใด รวมถึงการสร้างกรรมให้เกิดขึ้นให้ละเอียดถ่องแท้ว่า เหมาะ สมหรือควรหรือไม่ควรกระท�า การถอดจิตในขณะที่นั่งสมาธิมาถึงขั้นนี้ นั้นกระท�า ได้ง่าย เพียงแต่ท่านแยกมือออกจากกัน แล้วน�ามาวางที่หัวเข่าทั้งสองข้าง แล้วเริ่ม นับลมปราณที่เข้าออก อย่างละเอียดประมาณสัก 10 คู่ลมหายใจ แล้วตั้งสติให้มั่น ไม่วอกแวก และท�าโดยแผ่วเบานุ่มนวล และระวังอย่าให้ดวงจิตกระเพื่อมและซัด ส่ายออกนอกอารมณ์ของฌาน แล้วเริ่มก�าหนดจิต รวมถึงการอธิษฐานจิต ในเรื่อง ที่ต้องการจะให้เกิดขึ้น หรือเป็นไปตามที่จิตต้องการ โดยการกล่าวในจิตว่า ข้าพเจ้า 134
����������2.indd 134
3/6/14 11:11 AM
ขอปรารถนาแห่งจิตให้กระท�าเรื่องที่ต้องการให้ส�าเร็จ ภายในระยะเวลา สถานที่ หรือเรื่องราว รวมถึงบุคคล และสิ่งของที่ต้องการจะ อธิษฐานจิตเมื่อก�าหนดจิตแล้ว ให้น�ามือทั้งสองเข้ามาประสานมือในท่านั่งสมาธิเหมือนเดิม แล้วก�าหนดลมปราณ เข้าออกอย่างละเอียด พร้อมกับการถอนอาการใจออกจากสมาธิ เปลี่ยนองค์ภาวนา ใหม่ เพื่อให้จิตเข้าสู่อารมณ์ของ อรูปกัมมัฏฐาน 4 คือ 1. อากาสานัญจายตนะ อากาศไม่มที สี่ นิ้ สุดฉันใดจิตย่อมไม่มที สี่ นิ้ สุดฉันนัน้ 2. วิญญาณัญจายตนะ วิญญาณไม่มสี นิ้ สุดฉันใด จิตย่อมไม่มที สี่ นิ้ สุดฉัน นัน้ 3. อากิญจัญญายตนะ ความว่างเปล่าย่อมไม่มีที่สิ้นสุดฉันใด จิตย่อม ปรารถนาได้ทุกที่ฉันนั้น 4. เนวสัญญานาสัญญายตนะ สัญญาต่างๆ ว่าจะมีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มี สัญญาก็ไม่ใช่ จิต ย่อมไม่มีสัญญากับอะไรทั้งนั้น องค์ภาวนาที่ใช้ในการฝึกสมาธิในขั้นนี้ ย่อมมีความอยาก ความล�าบาก และละเอียดมาก ต้องตั้งใจฝึกให้ดี การก�าหนดองค์ภาวนาให้เป็น อรูปกัมมัฏฐาน เพื่อปรับเปลี่ยนฌาน ให้เป็น ญาณ จิตของเราก็จะอ�านาจและมีสภาวะแก่กล้า สามารถก�าหนดให้เข้าสู่ภูมิ สู่ภพ และเข้าสู่ทุกสภาวะ ทุกหนทุกแห่ง รวมถึงทุกเรื่องที่เราใช้จิตก�าหนดไป เพราะอะไรจึงเป็นเช่นนั้น เพราะว่าอ�านาจแก่งจิตนั้นยิ่งใหญ่นัก มีอานุภาพ มากนัก เมื่อฌานบังเกิดในจิตแล้ว และสามารถด�าเนินไปด้วยญาณแล้ว เมื่อนั้น จะก่อให้เกิดพลังงานทางจิตอย่างมากมาย บางท่านสามารถกระท�าจิตให้ถึงญาณ โสรฬทัศนา ซึ่งถือว่าเป็นญาณที่ใหญ่และมีความส�าคัญมาก รอบรู้สิ่งที่เกิดขึ้นมา 135
����������2.indd 135
3/6/14 11:11 AM
บนโลกใบนี้ได้ละเอียดถี่ถ้วน แม่นย�า และไม่คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงทุก ประการ สามารถกระท�าหรือบันดาลให้เกิดอะไรก็ได้ทั้งนั้น และที่ส�าคัญสามารถ น�าฌาน และ ญาณ ที่เกิดขึ้นนี้ไปใช้เมื่อชีวิตดับสูญแล้ว จิตเดินทางเขาสู่ โลกหน้า แล้วก็สามารถบรรลุธรรมชั้นสูง อย่างอื่นได้อย่างไม่ยาก และยกจิตของตนให้เข้าสู่ โลกุตระธรรมได้อีกด้วย 8. อธิษฐานจิต เมื่อปฏิบัติและฝึกจิตมาถึงขั้นตอนนี้แล้วจิตจะมีอ�านาจมาก มีฤทธิ์มากและ แก่กล้ามาก จงอย่าน�าจิตไปใช้ในทางที่ผิดหรือเกี่ยวข้องกับอบายมุขทั้งหลาย มิ ฉะนั้นจิตจะเสื่อม เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น เพราะว่าจิตที่ได้มานี้เป็นเพียง ฌาน และญาณ ที่เกิดขึ้นแบบโลกิยะฌานเท่านั้น มีความเสื่อมถอยตามอ�านาจแห่งจิต และอกุศลธรรม ไม่มีความเที่ยงแท้ จึงต้องหมั่นฝึกฝนและอบรมจิตอยู่เสมอมิได้ ขาดและต้องเพิ่มความสามารถในการฝึกจิตให้คงไว้ มิให้เสื่อมถอย เมื่ออธิษฐาน จิตแล้วและสามารถกระท�าให้เกิดขึ้นตามความต้องการแล้ว ผู้ที่ฝึกปฏิบัติอบรมจิต แล้วและสามารถกระท�าให้เกิดขึ้นตามความต้องการแล้ว ผู้ที่ฝึกปฏิบัติอบรมจิต ควรจะต้องรู้จักการปล่อยวางบ้าง อย่ามัวเมาในกิเลส ลาภ ยศ สรรเสริญ เพราะ เหตุแห่งโลกธรรมโลกธรรม 8 ประการเป็นของคู่โลกกล่าวคือมีความเสื่อมเละไม่จิ รังยั่งยืนถาวรเช่นเดียวกัน เมื่อส�าเร็จกิจ ของจิตแล้ว ควรตั้งจิตให้สงบอีกครั้งก่อนที่ จะถอนออกจากฌาน หรือญาน ควรนั่งส�ารวมจิตแล้วแผ่เมตตาจิตให้กับสิ่งที่ตนได้ กระท�าในจิต เพราะเหตุว่าจะได้ไม่ต้องสร้างกรรมใหม่ให้เกิดขึ้นอีกในปัจจุบันชาติ และไม่ต้องมีเวรกรรมซึ่งกันและกัน อันจะน�ามาซึ่งความสุขที่แท้จริงอีกด้วย 136
����������2.indd 136
3/6/14 11:11 AM
ข้าพเจ้า (นาย นาง นางสาว) ...... ขอความส�าเร็จในเรื่อง ....... จงเกิดแก่ ข้าพเจ้า ด้วยเทอญ ..... ให้ปรารถนาทีละเรื่องเท่านั้น 9. แผ่เมตตาในสมาธิ วิธีการนั่งสมาธิเพื่อแผ่เมตตาจิต ควรตั้งจิตให้มั่นแล้วก�าหนดจิตให้ใส สะอาด ปราศจากเครื่องเศร้าหมองต่างๆ รวมถึงกิเลส และตัณหา อุปทานและ ความอยากได้อยากมีทั้งหลายให้ออกไปจากจิต แล้วก�าหนดแผ่เมตตาจิตให้กับสิ่ง ที่จิตได้กระท�าไป รวมถึงการขอขมา ต่อสิ่งต่างๆ ที่กระท�าไปแล้วจะยิ่งดีมาก ครั้นเมื่อกระท�าการฝึกจิตมาถึงล�าดับขั้นนี้แล้ว ให้ถอนจิตออกจากภวังค์ 3 แล้วตั้งใจ แผ่อุทิศส่วนกุศลที่เป็นผลบุญ กุศล ผลแห่งอานิสงส์ ผลแห่งผลานิสงส์ ไทยทาน ต่างๆ ที่เราได้กระท�าไว้ในชาตินี้ จงนั่งสมาทานบุญกุศลเหล่านั้นให้กับ พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสงฆ์เจ้า เทวดาที่รักษาจิตและกายเรา คุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ผู้มีพระคุณ ทั้งหลายเจ้ากรรมและนายเวร รวมถึงสรรพสัตว์ ทั้งหลาย ผู้ล่วงลับไปแล้ว อาจจะเจริญภาวนาใหม่อีกครั้งหนึ่งก็ได้ บทที่ใช้ภาวนา นิยมสวดบท อิมินาบทใหญ่ พร้อมค�าแปลหรือถ้ามีความรู้ความสามารถสวดบท ยังกิญญจิ ได้จะเป็นการดีที่สุด ส�าหรับท่านที่ฝึกปฏิบัติอบรมจิต ควรอ่านหนังสือ คู่มืออบรมจิตทั้ง 2 เล่มคือเรื่องอภิญญาญาณ 6 และหนังสือ ศีลธรรมค�า้ จุนโลกที่ อาจารย์วิเชียร ได้เขียนไว้ เมื่อประมาณ 30 ปีที่แล้วปัจจุบันยังมีเหลือต้นฉบับอยู่บ้าง เพียงเล็กน้อยเพราะว่าถ้าได้ศึกษาและอ่านหนังสือทั้ง 2 เล่มนี้แล้วจะมีความเข้าใจ ในหลักการปฏิบัติ จิต อีกมากและจะก่อให้เกิดทักษะในการปฏิบัติอย่างมากมาย ขั้นตอนสุดท้ายของการฝึกจิตเพื่อปรับศักยภาพชีวิต สู่ความส�าเร็จต้องนั่งเข้าสมาธิ 137
����������2.indd 137
3/6/14 11:11 AM
ใหม่ แล้วแผ่เมตตาในจิตอีกครั้งหนึ่ง บางท่านอาจจะเห็นว่าเป็นเรื่องยุ่งยาก สลับ ซับซ้อนมากมายในการปฏิบัติอบรมจิต แต่เหตุผลก็มีมากมายเช่นเดียวกัน คือไม่ ต้องการให้สร้างกรรมใหม่ทั้งที่มองเห็นตัว และไม่เห็นตนการนั่งสมาธิในช่วงนี้ไม่ ต้องท�าอะไรมากมายเพียงแต่ก�าหนดจิตเท่านั้นก็คงจะเป็นการเพียงพอ ถ้าเป็นไป ได้ควรกรวดน�า้ ให้ลงแม่ธรณีจะเป็นการดีที่สุด และเมื่อผลงานของจิตที่ได้อธิษฐาน ส�าเร็จลุล่วงด้วยดี และเป็นไปตามที่ตนต้องการ ช่วงเช้าของวันรุ่งขึ้นควรตักบาตร อุทิศส่วนกุศลให้กับเจ้ากรรมและนายเวรจะยิ่งดีเป็นเลิศ เป็นลูกหนี้ชั้นดี ด้วยการใช้หนี้กรรมเจ้ากรรมและนายเวร 26 ข้อ เมื่อท่านปฏิบัติธรรมแล้วควรแผ่เมตตาให้กับท่านเหล่านี้ โดยใช้เวลา ทั้งหมดประมาณ 26 วัน ในเวลา 1 วันท่านต้องแผ่ให้กับท่านเหล่านี้วันละครั้งจน ครบก�าหนดที่ได้ระบุไว้ โดยเริ่มตั้งแต่ หลังจากที่ท่านได้ปฏิบัติธรรมแล้ว ควรแผ่เมตตาให้กับเจ้ากรรมและนายเวร โดยใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 26 วัน โดยในเวลา 1 วัน ท่านต้องแผ่เมตตาให้กับท่าน เหล่านี้ตามล�าดับวันละครั้ง จนครบ 26 วัน ตามที่ได้ระบุไว้ วันที่ 1 แผ่เมตตาให้กับบิดา ร้อยภพ พันชาติ ขอให้ท่านทั้งหลายที่เคยเป็นบิดาของ ข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด 138
����������2.indd 138
3/6/14 11:11 AM
วันที่ 2 แผ่เมตตให้กับมารดา ร้อยภพ พันชาติ ขอให้ท่านทั้งหลายที่เคยเป็นมารดา ของข้าพเจ้า จงมารับผลบุญ ในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 3 ถ้าข้าพเจ้าคยเกิดเป็นหญิง ขอแผ่เมตตาให้อดีตสามีร้อยพบพันชาติ ขอให้ ท่านทั้งหลายที่เคยเป็นสามี ของข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 4 ถ้าข้าพเจ้าเคยเกิดเป็นชาย ขอแผ่เมตตา ให้อดีตภรรยาร้อยภพ พันชาติ ขอ ให้ท่านทั้งหลายที่เคยเป็น มารดาของข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 5 แผ่เมตตาให้กับบุตรชาย ร้อยภพ พันชาติ ขอให้ท่านทั้งหลายที่เคยเป็นบุตร ของข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 6 แผ่เมตตาให้กับบุตรสาว ร้อยภพ พันชาติ ขอให้ท่านทั้งหลายที่เคยเป็นบุตร สาวของข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 7 แผ่เมตตาให้กับ ญาติ หญิง ชาย ร้อยภพ พันชาติ ขอให้ท่านทั้งหลายที่เคย เป็นญาติ หญิง ชาย ของ ข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 8 แผ่เมตตาให้กับ พี่น้อง หญิง ชาย ร้อยภพ พันชาติ ขอให้ท่านทั้งหลายที่เคย เป็นพี่น้อง หญิง ชาย ของ ข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด 139
����������2.indd 139
3/6/14 11:11 AM
วันที่ 9 แผ่เมตตาให้กับครูบาอาจารย์ รวมถึง อุปัชฌา ร้อยภพ พันชาติ ขอให้ท่านทั้ง หลายที่เคยเป็นครูบาอาจารย์ รวมถึง อุปัชฌาของข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ ด้วยเถิด วันที่ 10 แผ่เมตตาให้กับ พระ เณร ชี ที่มีกรรมร่วมกัน ร้อยภพ พันชาติ ขอให้พระ เณร ชี ที่มีกรรมร่วมกันกับข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 11 แผ่เมตตาให้กับพระอรหันต์ พระปัจเจกพุทธเจ้า โสดาปฏิมรรคที่มีบุญคุณ กับข้าพเจ้า ร้อยภพ พันชาติ ขอให้พระอรหันต์ พระปัจเจกพุทธเจ้า โสดาปฏิมรรคที่ มีบุญคุณกับข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 12 แผ่เมตตาให้กับเทวดาอารักษ์ รวมถึงเจ้าที่เจ้าทางทั้งหลายที่ร่วมชะตาเกิด กับข้าพเจ้า ร้อยภพ พันชาติ ขอให้เทวดาอารักษ์ รวมถึงเจ้าที่เจ้าทางทั้งหลายที่ร่วม ชะตาเกิดกับข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 13 แผ่เมตตาให้กับท้าวมหาพรหม พรหมบุตร อรูปพรหม ที่อุบัติมาร้อยภพ พัน ชาติ ขอให้ท้าวมหาพรหม พรหมบุตร อรูปพรหม จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 14 แผ่เมตตาให้กับท่านชัยยะมงคล เจ้าที่ ที่คุ้มครองข้าพเจ้ามาร้อยภพ พัน ชาติ ขอให้ท่านชัยยะมงคล เจ้าที่ จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด 140
����������2.indd 140
3/6/14 11:11 AM
วันที่ 15 แผ่เมตตาให้กับสัตว์ในอบายภูมิ (นรกภูมิ) ร้อยภพ พันชาติ ขอให้สัตว์ใน อบายภูมิ (นรกภูมิ) จงมารับ ผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 16 แผ่เมตตาให้กับสัตว์นอกอบายภูมิ เช่น หมู เป็ด ไก่ กุ้งปลา ที่เข้าไปใน ร่างกายทั้งร้อยภพ พันชาติ ขอ ให้สัตว์นอกอบายภูมิ เช่น หมู เป็ด ไก่ กุ้งปลา ที่ เข้าไปในร่างกาย จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 17 แผ่เมตตาให้กับโอปาติกะชั้นต�่า เช่น อสัมภะเวสี ผีอดอยาก ผีตายโหง ทั้ง หลายที่ได้รับทุกข์ ร้อยภพ พันชาติ จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 18 แผ่เมตตาให้กับเจ้ากรรมและนายเวร ร้อยภพ พันชาติ ขอให้เจ้ากรรมและ นายเวรร้อยภพ พันชาติ จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 19 แผ่เมตตาให้กับนายขุม นายเวร นายนฤบาล นายนะริยะบาล จตุโลกบาล ทั้งสี่ ทั้งร้อยภพ พันชาติ ขอ ให้นายขุม นายเวร นายนฤบาล นายนะริยะบาล จตุ โลกบาลทั้งสี่ จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 20 แผ่เมตตาให้กับ ฤาษี ชีวอก พราหมณ์ ชฎิล ที่มีพระคุณกับตัวข้าพเจ้า ร้อย ภพ พันชาติ ขอให้ ฤาษี ชีวอก พราหมณ์ ชฎิล ที่มีพระคุณกับตัวข้าพเจ้า จงมารับผล บุญในครั้งนี้ด้วยเถิด 141
����������2.indd 141
3/6/14 11:11 AM
วันที่ 21 แผ่เมตตาให้กับมิตรสหาย ชาย หญิง ร้อยภพ พันชาติ ขอให้มิตรสหาย ชาย หญิง จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 22 แผ่เมตตาให้กับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ที่มีบุญคุญกับ แผ่นดินทั้งร้อยภพ พันชาติ ขอให้พระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ทมี่ บี ญ ุ คุญกับแผ่นดิน จงมารับผลบุญในครัง้ นีด้ ว้ ยเถิด วันที่ 23 แผ่เมตตาให้กับแม่ธรณี แม่คงคา นางแม่โพสพ ผู้มีประคุณทั้งหลายที่ให้ ประโยชน์กับข้าพเจ้ามา ร้อยภพ พันชาติ ขอให้แม่ธรณี แม่คงคา นางแม่โพสพ ผู้มี ประคุณทั้งหลายที่ให้ประโยชน์กับข้าพเจ้า จงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 24 แผ่เมตตาให้กับศัตรูของข้าพเจ้าที่เป็นศัตรูกันมาร้อยภพ พันชาติ ขอให้ศัตรู ของข้าพเจ้าที่เป็นศัตรูกัน มาจงมารับผลบุญในครั้งนี้ด้วยเถิด วันที่ 25 แผ่เมตตาให้กับผู้ที่เอ่ยนามก็ดี ไม่ได้เอ่ยนามก็ดี จงมารับผลบุญที่ข้าพเจ้า ได้กระท�าในวันและเวลานี้ และขอ อย่าได้มีเวรและกรรมกันทั้งร้อยภพ พันชาติ วันที่ 26 แผ่เมตตาให้กับตนเอง ขอให้ได้รับความสุข อย่าได้มีทุกข์ทั้งร้อยภพ พัน ชาติ ขอท่านทั้งหลาย ที่มาหัดฝึกอบรมจิตเจโต และการอบรมจิตเพื่อการปรับ ศักยภาพชีวิต สู่ความส�าเร็จจงเร่งกระท�าการแผ่เมตตาให้กับเขาเหล่านั้นเถิด ในไม่ 142
����������2.indd 142
3/6/14 11:11 AM
ช้าท่านก็จะสัมฤทธิ์ผลที่ท่านได้ตั้งใจไว้ทุกประการ การที่ตั้งจิตแล้วแผ่เมตตาให้กับทุกท่านที่กล่าวมมาแล้วนั้น เพื่อลดผลแห่ง การกระท�าที่เรียกกันว่า “บาป” ที่ได้กระท�าไว้ในอดีตชาติ ซึ่งตัวเราเองอาจจะก่อไว้ ในชาติปางก่อนและส่งผลของกรรม คือวิบากรรม ทไให้เราไม่ได้รับความสุข หรือก่อ ให้เกิดความไม่ส�าเร็จในกิจที่ตั้งใจไว้ อีกทั้งเป็นการเพิ่มบุญและบารมีให้กับตัวอีก ด้วย ยิ่งเราแผ่ผลบุญให้กับเขามากเพียงไร ตัวเราก็จะได้รับอานิสงส์มากขึ้นเท่านั้น จะกระท�ากิจอันใดก็จะมีแต่ความส�าเร็จสมความประสงค์ทุกประการ แผ่เมตตา ขอสรรพสัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้ง สิ้น จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรและกรรมซึ่งกันและกันเลย สัพเพ สัตตา หรือ ใช้บทกรวดน�า้อิมินา บทใหญ่ กรวดน�า้อิมินา อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อาจาริยูปะการา จะ สุริโย จันทิมา ราชา พรัหมะมารา จะ อินทา จะ ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ
อุปัชฌายา คุณุตะรา มาตาปิตา จะ ญาตะกา (ปิยามะมัง) คุณะวันตา นะราปิ จะ โลกะปาลาจะ เทวะตา มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ ขิปปัง ปาเปถะโว มะตังฯ 143
����������2.indd 143
3/6/14 11:11 AM
อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ เย สันตาเน หินา ธัมมา นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ อุชุจิตตัง สะติปัญญา มารา ละภันตุ โนกาสัง พุทธาทีปะวะโร นาโถ นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ เตโสตตะมานุภาเวนะ
อิมินา อุททิเสนะ จะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง ยาวะ นิพพานะโต มะมัง ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว สัลเลโข วิริยัมหินา กาตุญจะ วิริเยสุ เม ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม สังโฆ นาโถ วะรุตตะโม มาโรกาสัง ละภันตุ เมฯ
ถ้าสวดหลายคนให้ใช้ลงท้ายว่า โน ถ้าสวดคนเดียวใช้ค�าลงท้ายว่า เม บทแผ่เมตตาให้เจ้ากรรมนายเวรและสรรพสัตว์ อิมินา ปุญญะ กัมเมนะ ผลบุญที่ข้าพเจ้าได้กระท�าในวันนี้ ขอกุศลอันนี้จง มาประดิษฐ์ดิสัย ขจัดโพยภัย ในกาลนี้ ข้าพเต้าขออุทิศส่วนกุศลนี้ให้กับบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ปู่ย่าตายาย พี่ป้าน้าอา พี่น้อง ลูกหลาน สามีและภรรยา ญาติกาทั้ง หลายพระอาทิตย์ พระจันทร์ และพระราชา สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ทั่วทั้งจักรวาล อนันตจักรวาล หมื่นจักรวาล สวรรค์สิบหกชั้น มีพระอินทร์เป็นต้น รูปพรหมมีพระ พรหมเป็นใหญ่ อรูปพรหมสี่ชั้นมีท้าวเวสสุวรรณ ท้าววิรุฬหก ท้าววิรุฬปักษ์ ท้าวทศ 144
����������2.indd 144
3/6/14 11:11 AM
รถ มนุษย์ และอมนุษย์ เปรต อสูรกาย สัตว์เดรัจฉานทั้งหลาย นรกภูม มีพระยมและ พระกาฬ จตุโลกบาลทั้งสี่ พระภูมิเจ้าที่ แม่พระธรณี แม่พระคงคา นางแม่โพสพ ผู้ ให้ก�าเนิดเกิดมา อีกทั้งเจ้ากรรมและนายเวร ขอจงได้รับส่วนบุญนี้ด้วยเถิด ทั้งที่ กล่าวนามก็ดี ของจงได้รับส่วนบุญนี้ด้วยเถิด ทั้งที่กล่าวนามก็ดีไม่ได้กล่าวนามก็ดี ขอจงได้รับส่วนบุญนี้ด้วยเถิด ขอให้ได้รับความสุข ที่มีทุกข์ขอให้พ้นจากทุกข์ ที่มีสุข อยู่แล้วขอให้ยิ่ง ยิ่ง สุข ขึ้นไป สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ สัพเพ สัตตา อัพพะยาปัชฌา โหนตุ สัพเพ สัตตา อนีฆา โหนตุ อิทังเม ญาตีนัง โหนตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย หมายเหตุ ท�าการอธิษฐานจิตอย่างน้อยวันละครั้งและต่อเนื่องไปจนกว่าจะ ส�าเร็จจึงจะปรารถนา เรื่องอื่นๆ ต่อได้ ถ้ามีความเพียรมากๆ สามารถอธิษฐานจิตได้ มากกว่าหนึ่งครั้งต่อวัน เมื่อปฏิบัติครบตามนี้ครบแล้ว กัมมัฏฐานดังนี้
หรือเมื่อต้องการออกจากสมาธิให้ลาพระ
145
����������2.indd 145
3/6/14 11:11 AM
ค�าลาพระกัมมัฏฐาน อาปุจฉามิ ภันเต วิปัสสนา กรรมฐานัง เทหิ ข้าพเจ้าขอหยุดพักในการ ปฏิบัติกัมมัฏฐานไว้เพียงเท่านี้ ขอกุศลอันนี้จงแผ่ไปถึง .............................. (กล่าว นามผู้ที่ต้องการแผ่เมตตาไปให้) ปริศนาธรรมกุญแจ 3 ดอก ปริศนาธรรมกุญแจ 3 ดอกนี้ มีไว้เพื่อใช้หนี้กรรม โดยการตัดสัญญากรรมต่อ เจ้ากรรมและนายเวร ก่อนใช้กุญแจชุดนี้ ต้องรักษาศีล 5 ให้บริสุทธิ์ หมั่นไหว้พระ สวดมนต์ เพิ่มบุญ และตั้งกองบุญอย่างน้อย 24 กอง เมื่อเริ่มใช้กุญแจ 3 ดอกนี้ ให้ ไว้พระ สวดมนต์ นั่งสมาธิ แผ่เมตตา แล้วท�าจิตให้สงบว่าง แล้วกล่าวบทต่อไปนี้ กุญแจดอกที่ 1 ข้าพเจ้าชื่อ .............. นามสกุล ............... ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วง เกินกับ ชื่อ ............... นามสกุล ............... หรือ ท่านหนึ่งท่านใดก็ตาม ทั้งที่จา� ได้ ก็ดี จ�าไม่ได้ก็ดี ในปัจจุบัน ณ ชาติและอดีตก็ดี ได้เป็นเจ้ากรรมและนายเวรต่อกัน และกัน บัดนี้ ข้าพเจ้าได้รับวิบากกรรมมามากแล้ว และได้สา� นึกผิดแล้ว ข้าพเจ้า ขอขมากรรมต่อท่าน เจ้ากรรมและนายเวร ขอท่านเจ้ากรรมและนายเวรได้โปรดให้ อภัยข้าพเจ้าด้วยเถิด 146
����������2.indd 146
3/6/14 11:11 AM
กุญแจดอกที่ 2 ข้าพเจ้าชื่อ .............. นามสกุล ............... ได้สร้างเวรและกรรมกับ ชื่อ ............... นามสกุล ............... หรือ ท่านหนึ่งท่านใดก็ตาม ทั้งที่จ�าได้ก็ดี จ�าไม่ได้ก็ ดี ในปัจจุบัน ณ ชาติและอดีตก็ดี ขอท่านเจ้ากรรมและนายเวรถอดความพยาบาท ความอาฆาต และค�าสาปแช่งที่จะติดตามในทุกภพทุกชาติ ได้โปรดอโหสิกรรมให้ ข้าพเจ้าด้วย และหากยังมีผู้หนึ่งผู้ใดที่เคยมีเวรและรรมกับข้าพเจ้า ข้าพเจ้ายินดี อโหสิกรรมให้ ขอถอดถอนความพยาบาท ความอาฆาต และค�าสาปแช่ง ในทุกภพ ทุกชาติกับท่านฯ เช่นเดียวกัน เพื่อให้กรรมได้สิ้นสุดกันในชาตินี้ กุญแจดอกที่ 3 ข้าพเจ้าชื่อ .............. นามสกุล ............... เคยมีเวรและกรรมร่วมกับ ชื่อ ............... นามสกุล ............... หรือ ท่านเจ้ากรรมและนายเวร ขอสัญญากรรมใดๆ ที่เคยมีสัญญาต่อท่าน ข้าพเจ้าขอตัดสัญญากรรม เนวะสัญญา นา สัญญา ยะตะ นะ กับท่าน ถ้าท่านมีสัญญากรรมต่อข้าพเจ้า ข้าพเจ้าก็ขอเนวะสัญญา นา สัญญา ยะตะนะ ต่อท่านเช่นกัน เพื่อให้สัญญากรรมได้สิ้นสุดซึ่งกันและกัน ในภพนี้ ชาตินี้ แผ่เมตตาอีกครั้งว่า อิทังโน ญาตินังโหตุ สุขิตาโหนตุ ญาตะโย ขอสรรพ สัตว์ทั้งหลาย จงมีความสุข สัพเพสัตตา ... เนวะสัญญา นา สัญญา ยะตะนะ เนวะ สัญญา นา สัญญา ยะตะนะ .... สุดท้ายนี้อาจารย์ จิรัฏฐ์กร (วิเชียร) อยู่เกตุ ขอให้ท่านทั้งหลายตั้งใจศึกษา และหมั่นฝึกฝน อบรมจิตให้ประสพความส�าเร็จ แล้วน�าจิตที่ฝึกดีแล้วนี้ไปใช้กับ 147
����������2.indd 147
3/6/14 11:11 AM
ชีวิตประจ�าวัน อย่างถูกต้องและถูกวิธี เมื่อนั้นท่านทั้งหลายก็จะพบแต่ความสุข ความเจริญ และขอให้ทุกคนตั้งมั่นในความดีทุกลมหายใจเข้าและออก จนถึงวินาที สุดท้ายของชีวิตมาเยือน สรุป หลักการทั่วไปในการฝึกสมาธิ 16 ข้อ 1.หาความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการท�าสมาธิเท่าที่จะท�าได้ก่อนที่จะหัดท�าสมาธิ เพื่อจะได้ประหยัดเวลา ไม่ต้องลองผิด ลองถูก และไม่หลงทาง ป้องกันปัญหาที่เกิด ขึ้นเพราะความไม่รู้หรือเข้าใจแบบ ผิดๆ ถูกๆ นอกจากนี้ยังเป็นการป้องกันความ ฟุ้งซ่านที่อาจจะเกิดขึ้นรวมถึงความลังเลสงสัย ซึ่งทั้งหมดคือตัวนิวรณ์ธรรมทั้งสิ้น 2.เลือกวิธีที่คิดว่าเหมาะสมกับตนเองมากที่สุดแล้วลองท�าไปสักระยะหนึ่ง ก่อนถ้าท�าแล้วสมาธิเกิดได้ยากก็ลองวิธีอื่นๆ ดูบ้างเพราะจิตและลักษณะนิสัยของ แต่ละคนจึงต่างกันไปบางคนอาจจะเหมาะกับการตามดูลมหายใจ ซึ่งอาจจะใช้ ค�าบริกรรมว่าพุทธ – โธ หรือ เข้า – ออก ประกอบบางคนอาจจะเหมาะกับการแผ่ เมตตาบางคนถนัดการเพ่งกสิณ เช่นแพ่งวงกลมสีขาว ฯลฯ 3.อยู่ใกล้ผู้รู้ หรือรีบหาคนปรึกษาทันทีที่สงสัย เพื่อไม่ให้ความสงสัยมาท�าให้ จิตฟุ้งซ่าน 4.พยายามตัดความกังวลทุกอย่างที่อาจจะเกิดขึ้นออกไปให้มากที่สุดโดย การท�างานทุกอย่างที่คั่งค้างอยู่ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนทีจะท�าสมาธิ หรือถ้าท�าสมาธิ ไปแล้ว เกิดความกังวลถึงการใดขึ้นมา ก็ให้บอกกับตัวเองว่าตอนนี้เป็นเวลาท�า สมาธิยังไม่ถึงเวลาท�างานอย่างอื่น เอาไว้ทา� สมาธิเสร็จแล้วถึงไปท�างานเหล่านั้นก็ ไม่เห็นเสียหายอะไร ถ้าแก้ความกังวลไม่หายจริงๆ ก็หยุดท�าสมาธิแล้วรีบไปจัดการ 148
����������2.indd 148
3/6/14 11:11 AM
เรื่องนั้นๆ ให้เรียบร้อยก่อนก็ได้ ถ้าคิดว่าขืนนั่งต่อไปก็เสียเวลาเปล่า เมื่องานนั่น เสร็จแล้วก็รีบกลับมาท�าสมาธิใหม่ 5.ก่อนนั่งสมาธิถ้าอาบน�้าได้ก็ควรอาบน�้าให้สะอาดก่อน หรืออย่างน้อยก็ ควรล้างหน้า ล้างมือ ล้างเท้าก่อนจะท�าให้โล่งสบายแล้วเมื่อกายสงบระงับ จิตก็ สงบระงับได้ง่ายขึ้น 6.ควรท�าสมาธิในที่ที่เงียบสงบ อากาศเย็นสบาย ไม่พลุกพล่านจอแจ 7.ก่อนนั่งสมาธิควรเดินจงกรม (เดินกลับไปกลับมาช้าๆ โดยยึดจิตไว้ที่จุดใด จุดหนึ่งที่เท้า ข้างที่กา� ลังเคลื่อนไหว เช่น ปลายเท้า หรือส้นเท้า โดยควรมีค�าบริกรรม ประกอบเช่น ขวา ซ้าย ฯลฯ) หรือสวดมนต์ก่อน เพื่อให้จิตเป็นสมาธิในระดับหนึ่ง ก่อน จะท�าให้นั่งสมาธิง่ายขึ้น 8.การนั่งสมาธินั้นควรนั่งในท่าขัดสมาธิ หลังตรง (นั่งพิงได้แต่ต้องไม่ง่วง) หรือถ้าร่างกายไม่อา� นวย ก็อาจจะนั่งบนเก้าอี้ได้ นั่งบนพื้นที่อ่อนนุ่มตามสมควร ทอดตาลงต�่า ท�ากล้ามเนื้อให้ผ่อนคลาย อย่างเกร็ง (เพราะการเกร็งจะท�าให้ปวด เมื่อย และจะท�าให้จิตเกร็งตามไปด้วย) นั่งให้ร่างกายอยู่ในท่าที่สมดุล มั่นคงไม่โยก โคลงได้ง่าย มือทั้งสองข้างประสานกัน ปลายนิ้วหัวแม่มือแตะกันเบาๆ วางไว้บน หน้าตัก หลับตาลงช้าๆ หลังจากนั้นส่งจิตไปส�ารวจตามส่วนต่างๆของร่างกาย ให้ทั่ว ตัว เพื่อดูว่ามีกล้ามเนื้อส่วนใดที่เกร็งอยู่หรือไม่ ถ้าพบก็ให้ผ่อนคลายกล้ามเนื้อส่วน นั้นให้หายเกร็งโดยไล่จากปลายเท้าทีละข้าง ค่อยๆ ส�ารวจเลื่อนขึ้นมาเรื่อยๆ จนถึง สะโพก แล้วย้ายไปส�ารวจที่ปลายเท้าอีกข้างหนึ่ง ท�าเช่นเดียวกัน จากนั้นก็ส�ารวจ จากสะโพก ไล่ขึ้นไปจนถึงยอดอก แล้วส�ารวจจากปลายนิ้วมือทีละข้าง ไล่มาจนถึง ไหล่ เมือท�าครบสองข้างแล้ว ก็สา� รวจไล่จากยอดอกขึ้นไปจนถึงปลายเส้นผม ก็จะ 149
����������2.indd 149
3/6/14 11:11 AM
เป็นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อได้ทั่วร่างกาย จากนั้นหายใจเข้าออกลึกๆ สัก 3 รอบ โดยมีสติอยู่ที่ลมหายใจ ตรงจุดที่ลมกระทบปลายจมูก พร้อมกับท�าจิตใจให้รู้สึก ผ่อนคลายลงเรื่อยๆ หลังจากนั้นจึงเริ่มท�าสมาธิตามวิธีที่เลือกเอาไว้ 9. อย่าตั้งใจมากเกินไป อย่าไปก�าหนดกฏเกณฑ์ว่าวันนั้นวันนี้จะต้องได้ขั้น นั้นขั้นนี้ เพราะจะท�าให้เคร่งเครียด จิตจะหยาบกระด้าง และ จิตจะไม่อยู่กับปัจจุบัน เพราะมัวแต่ไปจดจ่ออยู่กับผลส�าเร็จซึ่งยังไม่เกิดขึ้น จิตจะพุ่งไปที่อนาคต เมื่อจิตไม่ อยู่ที่ปัจจุบันสมาธิก็ไม่เกิดขึ้น 10.ใหม่ๆ ควรนั่งแต่น้อยก่อนเช่น 5 – 15 นาที แล้วจึงค่อยๆ เพิ่มเป็น 20 – 30 – 40 นาทีตามล�าดับ เพื่อให้ร่างกายและจิตใจค่อยๆ ปรับตัว เมื่อนั่งไปแล้วหาก รู้สึกปวดขาหรือเป็นเหน็บ ก็ขอให้พยายามอดทนให้มากที่สุด ถ้าทนไม่ไหวจริงๆ จึง ขยับ เพราะทุกครั้งที่มีการขยับตัวจะท�าให้จิตกวัดแกว่ง ท�าให้สมาธิเคลื่อนได้และ โดยปกติแล้วถ้าท�าไปได้ถึงจุดหนึ่ง เมื่ออาการปวดหรือเป็นเหน็บนั้นเกิดขึ้นเต็มที่ แล้ว อาการปวดหรือเป็นเหน็บก็จะหายไปเอง และมักจะเกิดความรู้สึกสบายขึ้นมา แทนที่ ซึ่งเป็นอาการของปีติ ที่เกิดจากสมาธิ 11.การท�าสมาธินั้น เมื่อใช้สิ่งไหนเป็นเครื่องยึดจิต ก็ให้ท�าความรู้สึกเหมือน กับว่า ตัวเราทั้งหมดไปรวมกันเป็นก้อนกลมๆ เล็กๆ อยู่ที่จุดยึดจิตนั้น เช่น ถ้าลม หายใจ (อานาปานสติ) ก็ทา� ความรู้ว่าตัวเราทั้งหมดย่อส่วนเป็นตัวเล็กๆ ไปนั่งอยู่ ที่จะดูที่รู้สึกว่าลมกระทบอย่างชัดเจนที่สุด เช่นปลายรูจมูกข้างใดข้างหนึ่ง หรือริม ฝีปากบน เป็นต้น ให้ทา� ความรู้สึกที่จุดนั้นเพียงจุดเดียว ไม่ต้องเลื่อนตามลมหายใจ เหมือนเวลาเลื่อยไม้ เมื่อจิตอยู่ที่จุดลมกระทบเพียงจุดเดียว ก็จะรู้ทิศทางและ ลักษณะของลมได้เช่นกัน 150
����������2.indd 150
3/6/14 11:11 AM
12.ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นอย่าตกใจ อย่ากลัว อย่ากังวล เพราะทั้งหมดเป็น เพียงอาการของจิต พยายามตั้งสติเอาไว้ให้มั่นคง ตราบใดที่ไม่กลัว ไม่ตกใจ ไม่ ขาดสติ ก็จะไม่มีอันตรายใดๆ เกิดขึ้น ท�าใจให้เป็นปกติ แล้วคอยสังเกตสิ่งเหล่า นั้นเอาไว้ แล้วทุกอย่างจะดีขึ้นเอง ถ้าเห็นภาพที่น่ากลัวปรากฏขึ้นมาหรือรู้สึกว่าได้ สัมผัสกับสิ่งที่น่ากลัวใดๆก็ตาม ให้แผ่เมตตาให้สิ่งเหล่านั้นแล้วคิดว่าอย่าได้มาร บกวนการปฏิบัติของเราเลย ถ้าไม่หายกลัวก็นึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อให้เป็นที่พึ่งทาง ใจ แล้วพยายามอย่าใส่ใจถึงสิ่งที่น่ากลัวนั้นอีก ถ้าแก้ไม่หายจริงๆ ก็ตั้งสติเอาไว้ หายใจยาว ๆ แล้วค่อยๆ ถอนออกจากสมาธิออกมา เมื่อใจเป็นปรกติแล้วถึงจะท�า สมาธิใหม่อีกครั้ง ส�าหรับคนที่ตกใจง่าย ก็อาจนั่งสมาธิหน้าพระพุทธรูป หรือนั่งโดย มีเพื่อนอยู่ด้วย ก่อนนั่งก็ควรสวดมนต์ไหว้พระก่อน แล้วอธิษฐานให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วย คุ้มครอง 13.ถ้าจิตไม่สงบ ก็ลองแก้ไขตามวิธีที่ได้อธิบายเอาไว้ในเรื่องนิวรณ์ 5 และ วิธีแก้ไข ในหมวดสมถะกัมมัฏฐาน (สมาธิ) ซึ่งได้อธิบายเอาไว้อย่างละเอียดแล้ว 14.เมื่อจะออกจากสมาธิ ควรแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ทั้งหลายก่อนโดย การ ระลึกถึงความปรารถนาให้ผู้อื่น และสัตว์ทั้งหลายมีความด้วยใจจริง จากนั้นก็อุทิศ ส่วนกุศลที่ได้จากการท�าสมาธินั้น ให้กับเจ้ากรรมนายเวรและผู้มีพระคุณและสรรพ สัตว์ทั้งหลาย (ระลึกให้ด้วยใจ) แล้วหายใจยาวๆ ลึกๆ สัก 3 รอบ พร้อมกับค่อยๆ ถอนความรู้สึกจากสมาธิช้าๆ เสร็จแล้วค่อยๆ ลืมตาขึ้น บิดเนื้อ บิดตัวคลายความ ปวดเมื่อย แล้วจึงค่อยๆ ลุกขึ้นยืนช้าๆ 15.เมื่อตั้งใจจะท�าสมาธิให้จริงจัง ควรงดเว้นจากการพูดคุยให้มากที่สุด เว้น แต่เพื่อให้คลายความสงสัยที่ค้างคาอยู่ในใจเพราะการคุยกันนั้นจะท�าให้จิตฟุ้งซ่าน 151
����������2.indd 151
3/6/14 11:11 AM
คือในขณะที่คุยกันก็มีโอกาสท�าให้เกิดกิเลสขึ้นได้ ท�าให้จิตหยาบกระด้างขึ้น และ เมื่อท�าสมาธิก็จะเก็บมาคิดท�าให้ทา� สมาธิได้ยากขึ้น โดยเฉพาะการคุยกับคนที่ สมาธิน้อยกว่าเรา นอกจากนี้ ควรเว้นจากการร้องร�าท�าเพลง การฟังเพลง รวมถึง การดูการละเล่นทั้งหลาย เพราะสิ่งเหล่านี้จะเพิ่มกามฉันทะ ซึ่งเป็นนิวรณ์ชนิดหนึ่ง (ดูเรื่องนิวรณ์ 5 และวิธีแก้ไข ในหมวดสมถะ) 16.กัมมัฏฐาน (สมาธิประกอบ) อันเป็นอุปสรรคต่อการท�าสมาธิ 17.ก่อนเริ่มปฏิบัติฝึกหัดจิตไม่ควรบริโภคเนื้อสัตว์เพราะจะท�าให้ย่อยยาก เกิดแก็สในกระเพาะอาหารและท�าให้ต้องใช้พลังงานเผาผลาญในร่างกายมากจึง ท�าให้การฝึกจิตส�าเร็จได้ยากและอีกประการหนึ่งจิตของใหญ่เหล่านั้นจะมารบกวน เวลานั่งสมาธิหรือฝึกฌาสมาบัติ
ภาคผนวก คู่มือการฝึกอบรมจิตเพื่อปรับศักยภาพชีวิต ประโยชน์ของการฝึกจิต เพื่อเพิ่มศักยภาพของความส�าเร็จ ท�าให้ร่างกายแข็งแรง ท�าให้ชะลอความแก่ เป็นผู้น�าในองค์กร เพิ่มประสิทธิภาพในการท�างาน 152
����������2.indd 152
3/6/14 11:11 AM
มีระบบการจัดการที่ดี มีจิตใจที่เข้มแข็งไม่หวั่นไหวเมื่อมีภัย เพิ่มความสุข ลดความทุกข์ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับชีวิตได้ง่ายกว่า เมื่อจุดสุดท้ายของชีวิตมาเยือนย่อมมีสติกว่าคนที่ไม่ได้ฝึกจิต ปัจจัยที่ทา� ให้การฝึกจิตสู่ความส�าเร็จ มีการบริหารจิตที่ดี มีความตั้งใจแน่วแน่ มีจิตใจที่เบิกบาน มีการวางแผนที่ดีให้กับจิต การพัฒนาจิตแบบเชิงกลยุทธ์ ความคิดเชิงบวก ความคิดในเชิงสร้างสรรค์ ความคิดเชิงกลยุทธ์ สร้างโอกาสให้มาก กายและจิตเป็นของคู่กัน ส่วนประกอบของกายตามธาตุ 4 ส่วนประกอบของจิตตามหลักอภิธรรม พลังงานที่ซ่อนอยู่ในกายทิพย์ พลังจิตเจโตที่ซ่อนอยู่ในเจตสิก ศีล สมาธิ ปัญญา 153
����������2.indd 153
3/6/14 11:11 AM
น�าศีลและข้อห้ามทางศาสนามาเป็นเครื่องป้องกันจิตมิให้จิตตกต�่า ฝึกสมาธิเพื่อการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับชีวิต น�าปัญญามาใช้เพื่อความรอบรู้ในชีวิตประจ�าวัน โยนิโสมนสิการ ในการฝึกพลังจิต น้อมตนเองเข้าสู่ขบวนการของจิต ตั้งใจฝึกตามวิธีที่ถูกต้อง อดทนรอคอยความส�าเร็จที่เกิดขึ้นกับจิต มารู้จักเครื่องกีดกั้นความดี 5 ประการ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมีทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา ฝึกอภิญญาญาณ 6 เพื่อความส�าเร็จของชีวิต ทิพยโสตะ ทิพยะจักขุ เจโตปริยะญาณ มโนมยิทธิ อาสวะขยญาณ แนวการศึกษาและพัฒนาจิตที่ดีต้องมีจิตใจที่ดีและแน่วแน่มั่นคงและยินดีที่จะเป็น 154
����������2.indd 154
3/6/14 11:11 AM
คนดีทั้งในที่ลับและในที่แจ้งรวมถึงปรารถนาที่จะเป็นคนดีตลอดไปจนชีวิตสิ้นลงไป สรุปผลการอบรมพลังจิตเพื่อปรับศักยภาพของชีวิต ฝึกจิตภาคปฏิบัติ ท่านั่งที่ถูกต้อง การก�าหนดลมปราณที่ถูกต้อง (ก�าหนดอานาปานัสสติ) ปรับเปลี่ยนสภาวะจิตและวิธีคิดใหม่เพื่อให้จิตสั่งความส�าเร็จ ก�าหนดธาตุ 4 อย่างหยาบ (ก�าหนดธาตุเตโช วาโย อาโป ปฐวี) ก�าหนดธาตุ 4 อย่างละเอียด (เจริญกสิณ 4 อย่างละเอียด) ลดสภาวะกายให้เหลือแต่สภาวะจิตอย่างเดียว ก�าหนดจิตให้เข้าสู่นิมิต 3 อุคนิมิต บริกรรมนิมิต ปฏิภาคนิมิต ก�าหนดจิตให้เข้าสู่ภวังค์ 3 อตีตัง อนาคตัง ปัจจุปันนัง ก�าหนดจิตให้เข้าฌาน 4 ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน จิตรู้เข้าสู่ สมาบัติ 8 (กสิณ 4 ฌาน 4 รวมเป็นสมาบัติ 8) ถอนจิต เพื่อก�าหนดรู้ก่อนน�าจิตเข้าฌาน ก�าหนดญาณให้เข้าสู่ความส�าเร็จโดยการเปลี่ยนองค์ภาวนา ดังนี้ อากาสานัญจายตนะ อากาศหาที่สุดไม่มี และไม่ได้ ไม่มี อากิญจัญญายตนะ ความว่างเปล่าหาที่สุดไม่ได้ ไม่มี วิญญานัญจายตนะ วิญญาณหาที่สุดไม่ได้ ไม่มี เนวสัญญานาสัญญายตะนะ ทุกอย่างในโลกนี้ถือเป็นสัญญาไม่ได้ไม่มี 155
����������2.indd 155
3/6/14 11:11 AM
ถอนจิตออกจากฌานอย่างแผ่วเบาแล้ว แผ่เมตตาในจิต ยังไม่ต้องออกจาก ฌาน เพราะว่าอ�านาจจิตในขั้นนี้สูงมาก มีกา� ลังมาก การแผ่เมตตาในจิตจะทั่วถึง ทุกนามที่ตั้งจิตแผ่เมตตาไปให้ บุญ กุศลจะบังเกิดอย่างรวดเร็วมากและเห็นสัมฤทธิ์ ผลในเวลาอย่างรวดเร็ว ท�าให้กรรมที่กระท�าไว้ลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อกรรมลดลง ชีวิตของเราก็มีความสุขและความส�าเร็จเร็วขึ้นแผ่เมตตาจิตในสมาธิจิตกับสิ่งที่หก ระท�าในจิต อุทิศส่วนกุศล ที่เป็นบุญกุศลให้กับครูบาอาจารย์และเทพเทวดาและสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายทุกผู้ทุกนามทั่วทั้งตรีภพ ไตรภูมิพระพุทธเจ้า เทพพรหม เทวดา ที่รักษาจิตและกายของเรา บิดามารดา ผู้มีพระคุณทั้งหลายรวมถึงเจ้ากรรมและ นายเวรและสรรพสัตว์ทั้งหลายและผู้ที่ล่วงลับไปแล้วด้วย นั่งสมาธิใหม่อีกครั้ง เพื่อก�าหนดจิตให้กับเรื่องราวต่างๆ ที่ได้กระท�าไปในจิต เพื่อป้องกันการเกิดกรรมใหม่ ในปัจจุบันชาติรวมถึงการกรวดน�้าให้กับเจ้ากรรมและ นายเวรทั้งหลายรวมถึงผู้ล่วงลับไปแล้วด้วยเพื่อเพิ่มบุญให้กับตนเอง ทั้งหมดที่ได้กระท�ามานี้เป็นเพียงอภิญญาด้านโลกิยะธรรมเท่านั้น พุทธัง อนันตัง ธัมมังจักกะวาลัง สังฆัง นิพพานนัง นะ ปัจจะโยโหตุ การอุทิศส่วนกุศลหรือแผ่เมตตาควรมีจิตที่ดีและตั้งมั่นรวมถึงความพร้อม ทั้งร่างกายและจิตใจรวมถึงผลบุญที่เราได้กระท�าไว้ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า การ ปฏิบัติธรรมก็เป็นผลบุญกุศลเช่นเดียวกัน รวมถึงผลที่เกิดจากปฏิบัติฝึกอบรมจิต เมื่อสามารถฝึกจิตได้ในระดับหนึ่งแล้วควรแผ่เมตตาให้กับผู้มีพระคุณทุกท่านใน ที่นี้ขอแนะน�าการแผ่เมตตาให้กับเจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายท่านที่ฝึกสมาธิจิตแล้ว ควรเริ่มต้นให้ผลบุญของท่านแก่ท่านทั้งหลายก็จะลดกรรมที่ได้กระท�าไว้ในชาติที่ 156
����������2.indd 156
3/6/14 11:11 AM
แล้วรวมถึงชาตินี้ด้วย ท่านที่ต้องการศึกษาเพิ่มเติม สามารถเข้ารับฟังการอบรมฝึกพลังจิต เพื่อ พัฒนาศักยภาพชีวิตสู่ความส�าเร็จได้ที่ อโรคยา เมดิเตชั่น เฮลท์ แคร์ พระราม 5 ใน วันศุกร์และวันเสาร์ เวลา 19:30 น. เป็นต้นไป ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 082-323-3777, 082-323-3888 และ 082-323-3999 หรือทางสื่อออนไลน์เช่น Line ID: Arokayanet, Fanpage : Arokaya Meditation Health Care Praram 5 หรือ Facebook ท่านอาจารย์จิรัฏฐ์กร (วิเชียร) อยู่เกตุ : Arokaya Arokaya
157
����������2.indd 157
3/6/14 11:11 AM