8858649120724

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

หลัภภาษาและการใชภาษา ชั้นประถมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ทีเ่ คยออกขอสอบ NT/O-NET เก็งขอสอบ NT/O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

• นักเรียนควรรู

• บูรณาการอาเซียน

• มุม IT

คูม อื ครู

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT เพือ่ เตรียมพรอมสอบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด แนว NT (เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

บูรณาการเชื่อมสาระ กิจกรรมสรางเสริม

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิด และเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลย อยางละเอียด

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด โดยเนน - การอานออกเขียนได - การคิดเลข - ความสามารถดานการคิด และการใหเหตุผล

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม กิจกรรมทาทาย

ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.2 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน เสร�ม อจท. จํากัดเปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐาน 3 การเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรู ตามลําดับสาระ (Standard) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมาย การสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทาง การประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ภาษาไทย (เฉพาะชั้น ป.2)*

การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิด เพื่อนําไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น ป.2

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. อานออกเสียงคํา คําคลองจอง • การอานออกเสียงและการบอกความหมายของคํา คําคลองจอง ขอความ ขอความ และบทรอยกรองงายๆ และบทรอยกรองงายๆ ที่ประกอบดวยคําพื้นฐานเพิ่มเติมจาก ป.1 ไมนอ ยกวา 800 คํา รวมทัง้ คําทีเ่ รียนรูใ นสาระการเรียนรูอ นื่ ประกอบดวย ไดถูกตอง - คําที่มีรูปวรรณยุกตและไมมีรูปวรรณยุกต 2. อธิบายความหมายของคํา - คําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา และขอความที่อาน - คําที่มีพยัญชนะควบกลํ้า - คําที่มีอักษรนํา - คําที่มีตัวการันต - คําที่มี รร - คําที่มีพยัญชนะและสระไมออกเสียง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 อักษรไทยไขขาน เรื่อง สวัสดีเพื่อนใหม • หนวยการเรียนรูที่ 2 ประสมคําหนูทําได เรื่อง เด็กเอย…เด็กดี • หนวยการเรียนรูที่ 3 ตัวสะกดจดจําไว เรื่อง สุขภาพดี ชีวีมีสุข • หนวยการเรียนรูที่ 4 ผันวรรณยุกต สนุกสนาน เรื่อง ความสุขที่พอเพียง • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 คําควบกลํา้ และอักษรนํา เรื่อง เหมียวนอยและเพื่อน • หนวยการเรียนรูที่ 6 รร และการันตหรรษา เรื่อง ความรูมีอยูรอบตัวเรา • หนวยการเรียนรูที่ 7 ความหมายของคํา จดจําไว เรื่อง เลนกับเพื่อน • หนวยการเรียนรูที่ 8 คําคลองจองตองศึกษา เรื่อง ไกแจของนันทา • หนวยการเรียนรูที่ 9 เรียนรูเรื่องประโยค เรื่อง เด็กดีมีคุณธรรม • หนวยการเรียนรูที่ 10 ภาษาไทย ภาษาถิ่น เรื่อง ในหองสมุดโรงเรียน

5. แสดงความคิดเห็น และคาดคะเนเหตุการณ จากเรื่องที่อาน

• การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - นิทาน • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 คําควบกลํา้ และอักษรนํา - เรื่องเลาสั้นๆ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถาม - บทเพลงและบทรอยกรองงายๆ - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย และกลุมสาระ การเรียนรูอื่น - ขาวและเหตุการณประจําวัน ฯลฯ • หนวยการเรียนรูที่ 10 ภาษาไทย ภาษาถิ่น เรื่อง การแสดงความคิดเห็น และคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน

6. อานหนังสือตามความสนใจ อยางสมํ่าเสมอและนําเสนอ เรื่องที่อาน

• การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดรวมกัน ฯลฯ

• หนวยการเรียนรูที่ 10 ภาษาไทย ภาษาถิ่น เรื่อง การเลือกอานหนังสือ

7. อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่ง หรือขอแนะนํา

• การอานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่ง หรือขอแนะนํา - การใชสถานที่สาธารณะ - คําแนะนําการใชเครื่องใชที่จําเปนในบานและโรงเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 4 ผันวรรณยุกต สนุกสนาน เรื่อง การอานขอเขียนเชิงอธิบาย

8. มีมารยาทในการอาน

• มารยาทในการอาน เชน - ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทําลายหนังสือ - ไมควรแยงอานหรือชะโงกหนาไปอานขณะที่ผูอื่นกําลังอาน ฯลฯ

• หนวยการเรียนรูที่ 10 ภาษาไทย ภาษาถิ่น เรื่อง การเลือกอานหนังสือ

3. ตั้งคําถามและตอบคําถาม เกี่ยวกับเรื่องที่อาน 4. ระบุใจความสําคัญ และรายละเอียดจากเรื่องที่อาน

เสร�ม

_________________________________ *สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-59.

คูม อื ครู


สาระที่ 2

การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด

ชั้น ป.2

เสร�ม

10

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

1. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

• หนวยการเรียนรูที่ 2 ประสมคําหนูทําได เรื่อง การคัดลายมือ

2. เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับ ประสบการณ

• หนวยการเรียนรูที่ 6 รร และการันตหรรษา เรื่อง การเขียนเรื่องจากประสบการณ

• การเขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ

3. เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ • เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ 4. มีมารยาทในการเขียน

สาระที่ 3

• มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล - ไมเขียนลอเลียนผูอื่นหรือทําใหผูอื่นเสียหาย ฯลฯ

• หนวยการเรียนรูที่ 9 เรียนรูเรื่องประโยค เรื่อง การเขียนเรื่องตามจินตนาการ

การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น ป.2

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. ฟงคําแนะนํา คําสัง่ งายๆ และปฏิบตั ติ าม

• การฟงและปฏิบัติตามคําแนะนํา คําสั่งที่ซับซอน

• หนวยการเรียนรูที่ 3 ตัวสะกดจดจําไว เรื่อง การฟงคําสั่งและคําแนะนํา

2. เลาเรือ่ งทีฟ่ ง และดูทงั้ ทีเ่ ปน ความรู และความบันเทิง

• การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึกจาก เรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง เชน - เรื่องเลาและสารคดีสําหรับเด็ก - นิทาน การตูน และเรื่องขบขัน - รายการสําหรับเด็ก - ขาวและเหตุการณประจําวัน - เพลง ฯลฯ

• หนวยการเรียนรูที่ 6 รร และการันตหรรษา เรื่อง การพูดเลาเรื่อง

3. บอกสาระสําคัญของเรือ่ งทีฟ่ ง และดู 4. ตัง้ คําถามและตอบคําถาม เกีย่ วกับเรือ่ งทีฟ่ ง และดู

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 คําควบกลํา้ และอักษรนํา เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถาม • หนวยการเรียนรูที่ 1 อักษรไทยไขขาน เรื่อง การพูดในโอกาสตางๆ

5. พูดแสดงความคิดเห็น และความรูส กึ จากเรือ่ งทีฟ่ ง และดู

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

6. พูดสือ่ สารไดชดั เจนตรง ตามวัตถุประสงค

• การพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน เชน - การแนะนําตนเอง - การกลาวคําขอบคุณ - การขอความชวยเหลือ - การกลาวคําขอโทษ - การพูดขอรองในโอกาสตางๆ - การเลาประสบการณในชีวิตประจําวัน ฯลฯ

• หนวยการเรียนรูที่ 1 อักษรไทยไขขาน เรื่อง การพูดในโอกาสตางๆ • หนวยการเรียนรูที่ 6 รร และการันตหรรษา เรื่อง การพูดเลาเรื่อง

7. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

• มารยาทในการฟง เชน - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนําอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทานขณะที่ฟง - ไมแสดงกิริยาที่ไมเหมาะสม เชน โห ฮา หาว ฯลฯ - ใหเกียรติผูพูดดวยการปรบมือ - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง ฯลฯ • มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิของผูอื่น ฯลฯ • มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคําและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชนํ้าเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกในขณะที่ผูอื่นกําลังพูด - ไมพูดลอเลียนใหผูอื่นไดรับความอับอายหรือเสียหาย ฯลฯ

• หนวยการเรียนรูที่ 1 อักษรไทยไขขาน เรื่อง การพูดในโอกาสตางๆ • หนวยการเรียนรูที่ 3 ตัวสะกดจดจําไว เรื่อง การฟงคําสั่งและคําแนะนํา • หนวยการเรียนรูที่ 6 รร และการันตหรรษา เรื่อง การดูและมารยาทในการดู


สาระที่ 4

หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น ป.2

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

1. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย

• พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต • เลขไทย

• หนวยการเรียนรูที่ 1 อักษรไทยไขขาน เรื่อง อักษรไทย

2. เขียนสะกดคําและบอก ความหมายของคํา

• • • • • • • •

• หนวยการเรียนรูที่ 2 ประสมคําหนูทําได เรื่อง การประสมคําและการอานสะกดคํา • หนวยการเรียนรูที่ 3 ตัวสะกดจดจําไว เรื่อง มาตราตัวสะกด • หนวยการเรียนรูที่ 4 ผันวรรณยุกต สนุกสนาน เรื่อง วรรณยุกต • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 คําควบกลํา้ และอักษรนํา เรื่อง คําควบกลํ้า คําที่มีอักษรนํา • หนวยการเรียนรูที่ 6 รร และการันตหรรษา เรื่อง คําที่มี รร ตัวการันต • หนวยการเรียนรูที่ 7 ความหมายของคํา จดจําไว เรื่อง คําและความหมายของคํา

การสะกดคํา การแจกลูก และการอานเปนคํา มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมตรงตามมาตรา การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรตํ่า คําที่มีตัวการันต คําที่มีพยัญชนะควบกลํ้า คําที่มีอักษรนํา คําที่มีความหมายตรงขามกัน ความหมายของคํา

3. เรียบเรียงคําเปนประโยคไดตรง • การแตงประโยค • การเรียบเรียงประโยคเปนขอความสั้นๆ ตามเจตนาของการสื่อสาร

11

• หนวยการเรียนรูที่ 9 เรียนรูเรื่องประโยค เรื่อง ประโยค การแตงประโยค การเรียบเรียงประโยค • หนวยการเรียนรูที่ 9 คําคลองจองตองศึกษา เรื่อง คําคลองจอง

4. บอกลักษณะคําคลองจอง

• คําคลองจอง

5. เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ่นไดเหมาะสม กับกาลเทศะ

• ภาษาไทยมาตรฐาน • ภาษาถิ่น

สาระที่ 5

เสร�ม

• หนวยการเรียนรูที่ 10 ภาษาไทย ภาษาถิ่น เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น

วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใช ในชีวิตจริง ชั้น ป.2

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

1. ระบุขอคิดที่ไดจากการอาน หรือการฟงวรรณกรรม สําหรับเด็ก เพื่อนําไปใช ในชีวิตประจําวัน

• วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสําหรับเด็ก เชน - นิทาน - เรื่องสั้นงายๆ - ปริศนาคําทาย - บทอาขยาน - บทรอยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน ฯลฯ

2. รองบทรองเลนสําหรับเด็ก ในทองถิ่น

• บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กําหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ

• หนวยการเรียนรูที่ 7 ความหมายของคํา จดจําไว เรื่อง บทรองเลน

3. ทองจําบทอาขยานตามที่ กําหนดและบทรอยกรองที่มี คุณคาตามความสนใจ

• บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กําหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ

• หนวยการเรียนรูที่ 8 คําคลองจองตองศึกษา เรื่อง บทอาขยาน

สาระที่ 5 ขอ 1 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดี และวรรณกรรม ป.2

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ท…………………………………

เสร�ม

12

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 200 ชั่วโมง/ป

ศึกษาและฝกปฏิบัติเกี่ยวกับการอานออกเสียงคํา คลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงายๆ วรรณคดีและวรรณกรรม พรอมอธิบายความหมายของคํา และขอความที่อาน อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอแนะนํา อานหนังสือตามความสนใจอยางสมํ่าเสมอและนําเสนอเรื่องที่อาน สามารถบอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย การเขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ ตามจินตนาการ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และสามารถเลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ไดเหมาะสมกับกาลเทศะ รองบทรองเลนสําหรับเด็กในทองถิ่น ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค พูดแสดงความคิด เห็นและความรูส กึ จากเรือ่ งทีฟ่ ง และดู ฟงคําแนะนํา คําสัง่ ทีซ่ บั ซอน และปฏิบตั ติ าม พรอมบอกสาระสําคัญ ของเรื่องที่ฟงและดู และฝกตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ศึกษาและวิเคราะหวรรณกรรม และรอยแกวสําหรับเด็กเรื่อง นิทานสานรัก สามัคคีคือพลัง รักแทของแม สักวาพูดจาใหรูคิด ของขวัญ วันเกิด เพื่อระบุขอคิดที่ใหจากการอานทําใหปรับใชในชีวิตประจําวัน โดยใชการฝกทักษะกระบวนการทางภาษา ทั้งในดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน คนควา หาความรูจากแหลงการเรียนรูตางๆ อยางสมํ่าเสมอ ซักถามและสืบคนเพื่อหาขอมูล มีความรอบคอบ ในการทํางาน ใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง เหมาะสม มีมารยาทในการพูด การอาน การเขียน และการฟง นําความรูที่ใหจากการศึกษาไปประยุกตใชในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1

ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1

ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2

ป.2/3 ป.2/3 ป.2/3 ป.2/3

ป.2/4 ป.2/4 ป.2/4 ป.2/4

ป.2/5

ป.2/6

ป.2/7

ป.2/5 ป.2/5

ป.2/6

ป.2/7

รวม 26 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ป.2/8


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÀÒÉÒä·Â

ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».ò ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÀÒÉÒä·Â µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§à©ÅÒ ÍÃسÃѵ¹ ÃÈ. ´Ã. ÊÔÃԾѪà à¨É®ÒÇÔâè¹ ¹ÒÂÁÒ¹¾ Ê͹ÈÔÃÔ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§¸ÅÔÁÒ ¾Å;ҹԪ ¹Ò§ÊÒÇÊظҷԾ ¾Ñ¸¹ÒÇÔ¹ ¹ÒÂÍÀԪҡĵ ÍÔ¹·ËÍÁ

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂÈÑ¡´Ôì áÇÇÇÔÃÔÂÐ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ô

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-148-9 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòññððò

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòôñðòù

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ÊíÒËÃѺ¡Å‹ØÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÀÒÉÒä·Â »ÃСͺ´ŒÇ õ ÊÒÃЋ͠¤×Í ÊÒÃзÕè ñ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ ÊÒÃзÕè ò ¡ÒÃà¢Õ¹ ÊÒÃзÕè ó ¡Òÿ˜§ ¡Òô٠áÅСÒþٴ ÊÒÃзÕè ô ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒä·Â ÊÒÃзÕè õ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».ò àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌 »ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ¤ÇÒÁÃÙŒ´ŒÒ¹ËÅÑ¡ÀÒÉÒä·Â à¾×èÍãˌ㪌ÀÒÉÒä·Âä´Œ¶Ù¡µŒÍ§ áÅÐÁÕ·Ñ¡ÉÐ ¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒÊ×èÍÊÒÃÍ‹ҧ¶Ù¡µŒÍ§áÅÐÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».ò àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ñð ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç»ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ Ç‹ÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡Òí ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹ à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅÐ »ÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒ˹‹Ç ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».ò àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ¢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹㹪Ñé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õè¼ÙŒàÃÕ¹à¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹¡Òà ´íÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ â´Â㪌ÀÒ¾ á¼¹ÀÙÁÔ µÒÃÒ§¢ŒÍÁÙÅ ª‹Ç¹íÒàʹÍÊÒÃе‹Ò§æ «Ö觨Ъ‹ÇÂãËŒ ¼ÙŒàÃÕ¹ÊÒÁÒöàÃÕ¹Ãٌ䴌§‹Ò¢Öé¹ ¤³Ð¼Ù¨Œ ´Ñ ·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ§è Ç‹Ò Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».ò àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹ÀÒÉÒä·Â à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ôì¼Å µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

คําชี้แจงในการใชสื่อ หนว ยการเรียนรูท ี่

ÍÑ¡ÉÃä·Â䢢ҹ

กขส ง จ

-ี โ- -ู -า เ-

ñ เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรู ความสามารถของผูเรียน เมื่อเรียนจบหนวย

-่ - ้ - ๊ -็

ยที่ ๑ ียนรูประจําหนว เปาหมายการเรยนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้

มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กําหนดไว ในแตละหนวย

/๑) เรี เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผู ม และเรื่องสั้นๆ ไดถูกตอง (มฐ. ท ๑.๑ ป.๒ /๒) ป.๒ อควา ๑. อานออกเสียงคํา ข และขอความจากเรื่องที่อานได (มฐ. ท ๑.๑ า ํ ป.๒/๑) องค ๔.๑ เลขไทยได (มฐ. ท ๒. บอกความหมายข ชนะ สระ วรรณยุกต และ ารยาทในการพูด (มฐ. ท ๓.๑ ป.๒/๕, ม ๓. บอกและเขียนพยัญ งมี า ย อ ได น เห็ ิ ด งความค ๔. พูดสือ่ สาร และพูดแสด ป.๒/๖, ป.๒/๗)

แนวคิดสําคัญ แกนความรูที่เปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน

แนวคิดสําคัญ การฝกอานออกเสียงวรรณกร รมเรอื่ ง สวัสดีเพือ่ นใหม จะท าํ ใหอา นคํา ขอความ และเรื่องสั้นๆ ไดอยางถูกต องและคลองแคลว  อักษรไทย เปนตัวหนังสือที่ใชในภาษาไ ทย ไดแก พยัญชนะไทย สระ วรรณ และตัวเลขไทย ยุกต  การพูดเพื ่อการสื่อสาร เชน การพูดแนะ นํ าตัว การพูดขอรอง เปนตน พูดใหเหมาะสมกับโอกาส และ เราค วร พูดอยางมีมารยาทดวย กิจกรรมนําสูการเรีย น 

ª‹ÇÂà¾×èÍ¹æ µÒÁËÒµÑÇÍÑ¡ ·Â·Õ請͹ÍÂÙ‹ã¹ÀÒ áÅŒÇËÇÁ¡Ñ¹ºÍ¡Ç‹Ò ÁÕµÉÃä ÑÇÍÑ¡ÉÃä·ÂÍÐäúŒÒ§ ¾

กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและวัดประเมินผล กอนเรียน

ช โ-ะ

ก ๒

แ-

จ -้

-๊

Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

หลักภาษานารู

การประสมคํา และการอานสะกดคํา การประสมคํา การนําพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต มาประสมกัน จะทําใหเกิดเปนคําตางๆ เชน

ก - -า

กา

หมายถึง นกชนิดหนึ่ง ตัวสีดํา

ซ - โ- - -่

โซ

เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’๕๑ นําเสนอโดยใชแผนภาพ แผนภูมิ ตาราง เหมาะสมกับการเรียนการสอน

หมายถึง โลหะทีเ่ กีย่ วกันเปนขอๆ เปนสายยาวสาํ หรับผูกลามแทนเชือก

ม - -ะ / ข - เ-ือ มะเขือ หมายถึง ชื่อไมพุมชนิดหนึ่ง ผลกินได ส - เ-ือ - -้ เสื้อ

หมายถึง เครื่องสวมกายทอนบน ทําดวยผาชนิดตางๆ

๒๓

กิจกรรมรวบยอด

ชวนกันอาน ชวยกันตอบคําถาม ๑. รวมกันอานออกเสียงบทอานตามคุณครู ๒. ตอบคําถามจากบทอาน ดังนี้ ๑) การกลาวทักทายกัน มีประโยชนอยางไร ๒) ถานักเรียนพบเพื่อนใหม ควรทําอยางไร ๓) เราสามารถทักทายผูอื่นดวยวิธีใดไดบาง ชวนกันคิดและวาด คิด และวาดรูปตางๆ โดยใ ช ตัวอักษรไทย จากนั้นระบายสีใหสวยงาม แล ว นํ า ผลง าน ไปติดที่ปายนิเทศ ●

กิจกรรมรวบยอด ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดง พฤติกรรมการเรียนรูรวบยอด และประเมินผลการเรียนรูตาม มาตรฐานตัวชี้วัดประจําหนวย

ชวนกันเขียน ฝกเขียนเลขไทยใหสวยงาม ชวนกันปฏิบัติ จับคูกับเพื่อน แลวผลัดกัน ฝก การพูดในโอกาสตางๆ ●

๑๗


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

สารบัญ

● ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ ● บรรณานุกรม

๑ อักษรไทยไขขาน ๒ ประสมคําหนูทําได ๓ ตัวสะกดจดจําไว ๔ ผันวรรณยุกตสนุกสนาน ๕ คําควบกลําและอักษรนํา ๖ รร และการันตหรรษา ๗ ความหมายของคําจดจําไว ๘ คําคลองจองตองศึกษา ๙ เรียนรูเรื่องประโยค ๑๐ ภาษาไทย ภาษาถิ่น

๑ ๑๘ ๓๕ ๔๘ ๖๕

๘๐ ๙๔ ๑๐๔ ๑๑๓ ๑๒๗ ๑๓๘

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

ตารางวิเคราะห

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ÀÒÉÒä·Â ».๒

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

หนวยที่

สาระการเรียนรู

มาตรฐาน การเรียนรู

ตัวชี้วัด ชั้น ป.๒

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

สาระที่ ๑ การอาน

มฐ. ท ๑.๑

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘.

อานออกเสียงคํา คําคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตอง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓ อธิบายความหมายของคํา และขอความที่อาน ✓ ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ✓ ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดจากเรื่องที่อาน ✓ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน ✓ อานหนังสือตามความสนใจอยางสมํ่าเสมอ และนําเสนอเรื่องที่อาน ✓ อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอแนะนํา ✓ มีมารยาทในการอาน

สาระที่ ๒ การเขียน

มฐ. ท ๒.๑

๑. ๒. ๓. ๔.

คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน

✓ ✓ ✓

สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด

มฐ. ท ๓.๑

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

ฟงคําแนะนํา คําสั่งที่ซับซอน และปฏิบัติตาม เลาเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง บอกสาระสําคัญของเรื่องที่ฟงและดู ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู พูดแสดงความคิดเห็นและความรูส กึ จากเรือ่ งทีฟ่ ง และดู พูดสื่อสารไดชัดเจน ตรงตามวัตถุประสงค มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย

มฐ. ท ๔.๑

๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา เรียบเรียงคําเปนประโยคงายๆ ตอคําคลองจองงายๆ เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ่นไดเหมาะสมกับกาลเทศะ

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มฐ. ท ๕.๑

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓✓✓✓✓✓ ✓ ✓ ✓ สาระที่ ๕ ขอ ๑ นี้ จะปรากฏในหนังสือเรียน

๑. ระบุขอ คิดทีไ่ ดจากการอานหรือการฟงวรรณกรรมสําหรับเด็ก เพือ่ นําไปใชใน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.๒ ชีวิตประจําวัน ✓ ๒. รองบทรองเลนสําหรับเด็กในทองถิ่น ๓. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

ñ ÍÑ¡ÉÃä·Â䢢ҹ

เปาหมายการเรียนรู

1. อานออกเสียงคํา ขอความ และเสียงสัน้ ๆ ได 2. บอกความหมายของคําและขอความ จากเรื่องที่อานได 3. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทยได 4. พูดสื่อสารและพูดแสดงความคิดเห็น อยางมีมารยาทในการพูด

หนวยการเรียนรูท ี่

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กข ส ง จ

โ- -ู --ี เ- า

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

-่ - ๊ -้ ็

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. อานออกเสียงคํา ขอความ และเรื่องสั้นๆ ไดถูกตอง (มฐ. ท ๑.๑ ป.๒/๑) ๒. บอกความหมายของคํา และขอความจากเรื่องที่อานได (มฐ. ท ๑.๑ ป.๒/๒) ๓. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทยได (มฐ. ท ๔.๑ ป.๒/๑) ๔. พูดสือ่ สาร และพูดแสดงความคิดเห็นไดอยางมีมารยาทในการพูด (มฐ. ท ๓.๑ ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗)

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบรู ณาการความรูใ นสาระภาษาไทย กับสาระศิลปะ วิชาดนตรี-นาฏศิลป เรื่อง การเคลื่อนไหวประกอบเพลง โดยใหนักเรียนเคลื่อนไหวรางกายประกอบ เพลง สวัสดี เพื่อพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวรางกายใหดียิ่งขึ้น และทําใหเกิด ความสนุกสนานในการเรียนดวย

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 1 แลวรวมกันบอกวา เด็กในภาพกําลังทําอะไรกัน (ตอบ คุยกัน) 2. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา • หากนักเรียนมีเพื่อนใหม นักเรียนจะ แนะนําตัวอยางไร 3. ครูสอนนักเรียนรองเพลง สวัสดี แลวใหนกั เรียน คิดทาทางประกอบเพลงตามจินตนาการ เพลง สวัสดี สวัสดีวันนี้มาพบกัน ชางสุขสันตสําราญ และเริงรา เธอเปนใครมาจากไหนนะกานดา สุขอุราเมื่อพบหนาสวัสดี

เกร็ดแนะครู ในหนวยการเรียนรูที่ 1 มีเนื้อหา ดังนี้ 1. วรรณกรรมเรื่อง สวัสดีเพื่อนใหม และคําศัพท 2. อักษรไทย 1) พยัญชนะ 2) สระ 3) วรรณยุกต 4) ตัวเลขไทย 3. การพูดในโอกาสตางๆ 1) การพูดทักทาย 2) การพูดแนะนําตัว 3) การพูดสนทนาโตตอบ 4) การพูดขอรองและขอความชวยเหลือ 5) การพูดแสดงความคิดเห็น 4. มารยาทในการพูด

คูมือครู

1


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

Engaae

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Elaborate

Evaluate

Explore

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 2 แลวชวยกัน คนหาตัวอักษรไทยทีซ่ อ นอยูใ นภาพ และบอกวา มีตัวอักษรไทยอะไรบาง (ตอบ อักษรไทยที่อยูในภาพ มีดังนี้ 1) พยัญชนะ ไดแก ก, จ, ช, บ, ท 2) สระ ไดแก โ-ะ, แ3) วรรณยุกต ไดแก _้ , _๊ 4) ตัวเลขไทย ไดแก ๑) 2. ครูชูบัตรตัวอักษรไทยตัวอื่นใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนบอกวาเปนตัวอักษรอะไร มีชื่อเรียกวาอะไร เชน เปนตัวพยัญชนะ เรียกวา

แนวคิดสําคัญ การฝกอานออกเสียงวรรณกรรมเรือ่ ง สวัสดีเพือ่ นใหม จะทําใหอา นคํา ขอความ และเรื่องสั้นๆ ไดอยางถูกตองและคลองแคลว อักษรไทย เปนตัวหนังสือที่ใชในภาษาไทย ไดแก พยัญชนะไทย สระ วรรณยุกต และตัวเลขไทย การพูดเพื่อการสื่อสาร เชน การพูดแนะนําตัว การพูดขอรอง เปนตน เราควร พูดใหเหมาะสมกับโอกาส และพูดอยางมีมารยาทดวย

กิจกรรมนําสูการเรียน

ตัว ขอ เปนตน 3. ครูเปดวีดิทัศนเพลง อักษรไทยสําหรับเด็ก ใหนักเรียนดูแลวรองตาม และคิดทาทาง ประกอบเพลงตามจินตนาการ 4. ใหนักเรียนรวมกันบอกพยัญชนะไทย วามีอะไรบาง

ª‹ÇÂà¾×èÍ¹æ µÒÁËÒµÑÇÍÑ¡ÉÃä·Â·Õ請͹ÍÂÙ‹ã¹ÀÒ¾ áÅŒÇËÇÁ¡Ñ¹ºÍ¡Ç‹Ò ÁÕµÑÇÍÑ¡ÉÃä·ÂÍÐäúŒÒ§ ๑

โ-ะ

แ-

จ -้

-๊

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • ฝกอานออกเสียงสะกดคํา • ศึกษาการเขียนพยัญชนะไทย สระ วรรณยุกต และตัวเลขไทย • ฝกทักษะการพูดในโอกาสตางๆ • อภิปรายเกี่ยวกับมารยาทในการพูด

มุม IT ครูศึกษาวีดิทัศนเพลง อักษรไทย ไดที่ http://www.youtube.com โดยคนหา (search) คําวา เพลงอักษรไทยสําหรับเด็ก จะปรากฏวีดิทัศนใหชม

2

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

จากภาพเปนคําที่มีพยัญชนะตนตัวใด ก. ว ข. น ค. ม ง. พ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ค. จากภาพคือ คําวา แมว มี ม เปน พยัญชนะตน และมี ว เปนตัวสะกด

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบรู ณาการความรูใ นสาระภาษาไทย กับสาระศิลปะ วิชาดนตรี-นาฏศิลป เรือ่ ง การเคลือ่ นไหวประกอบเพลง โดยใหนกั เรียนเคลือ่ นไหวรางกายประกอบ เพลง อักษรไทยสําหรับเด็ก เพือ่ พัฒนาทักษะการเคลือ่ นไหวรางกายใหดยี งิ่ ขึน้ และทําใหเกิดความสนุกสนานในการเรียนดวย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

วรรณกรรมนาอาน

สวัสดีเพื่อนใหม 1 วันนี้เปนวันแรกของการเปดภาคเรียนที่ ๑ เด็กๆ ดีใจที่ ไดเรียนชั้นใหม ไดพบเพื่อนๆ และคุณครูประจําชั้นคนใหม นั น ทาและพอใจ มาถึ ง โรงเรี ย นแต เ ช า เด็ ก ทั้ ง คู  เปนเพื่อนสนิทกัน นันทาเห็นพอใจกําลังทักทายเพื่อนใหม จึงเขาไปทักทายเพื่อนใหมบาง 2

ÊÇÑÊ´Õ¨ŒÐ ©Ñ¹ª×è͹ѹ·Ò à¸Íª×èÍÍÐäè Ð

ÊÇÑÊ´Õ¨ŒÐ ¹Ñ¹·Ò ©Ñ¹ª×èÍÍÒÃÕ ËÃ×ͨРàÃÕ¡NjҨÔ꺡çä´Œ¨ŒÐ

¶ŒÒÍ‹ҧ¹Ñé¹ àÃÕ¡©Ñ¹Ç‹ÒÁ´¹Ð

ʋǹ©Ñ¹ ¾Í㨨ŒÐ

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงวรรณกรรม เรื่อง สวัสดีเพื่อนใหม ในหนังสือ หนา 3-4 พรอมๆ กัน 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียง วรรณกรรมไดถูกตอง 3. ใหนักเรียนผลัดกันบอกชื่อเพื่อนสนิทของ นักเรียนวาชื่อจริงชื่ออะไร และชื่อเลนวาอะไร 4. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามวา • หากในชั้นเรียนของนักเรียนมีนักเรียนใหม นักเรียนควรปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ กลาวแนะนําตัวเอง แลวถามชื่อ ของเพื่อนใหม เพื่อจะไดเปนเพื่อนกันตอไป) • การกลาวทักทายกัน มีประโยชนอยางไร (แนวตอบ ทําใหเกิดมิตรภาพที่ดี) • เราสามารถทักทายผูอื่นดวยวิธีใดไดบาง (แนวตอบ อาจใชทาทางประกอบการพูด เชน ไหว โบกมือ เปนตน)

อารีบอกเพือ่ นใหมทงั้ สองคนวา คุณพอและคุณแมของ เธอตองยายมาทํางานที่กรุงเทพมหานคร3 อารีจึงตองยาย โรงเรียนมาเรียนที่กรุงเทพมหานครตามคุณพอและคุณแม ๓

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ด.ญ. มุกดา ตองการแนะนําตัวตอเพื่อนใหม ด.ญ. มุกดา ควรใช คําแทนตัววาอยางไรจึงจะเหมาะสมที่สุด ก. ฉัน ข. หนู ค. ดิฉัน ง. ผม

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ก. เพราะ ด.ญ. มุกดา เปนผูหญิง และตองการแนะนําตัวตอเพื่อนใหมวัยเดียวกัน จึงควรใชคําแทนตัววา “ฉัน” จึงจะเหมาะสมที่สุด สวนขอ ข. หนู ควรใชเมื่อพูดกับผูใหญ ขอ ค. ดิฉัน ควรใชเมื่อพูดอยาง เปนทางการ ขอ ง. ผม เปนคําแทนตัวของผูชาย

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทยกับสาระภาษาตางประเทศ ภาษาอังกฤษ เรื่อง คําทักทายและคําอําลา วาใชคําวาอะไร และควรใช ในสถานการณอยางไร

นักเรียนควรรู 1 ภาคเรียน มาจากภาษาอังกฤษวา เทอม (term) ซึ่งหมายถึง เวลาที่กําหนด ระยะเวลา ภาคเรียน หมายถึง ระยะเวลาเรียนที่ทางโรงเรียนกําหนดใหนักเรียน เรียนหนังสือ 2 สวัสดี เปนคําทักทายของคนไทย โดยใชเมื่อแรกพบกันหรือเมื่อตองการบอกลา ซึ่งตางจากภาษาอังกฤษที่คําทักทายและคําอําลาจะใชตางกัน แปลวา ขอความดี ความงามจงมีแกทาน ซึ่งผูที่ริเริ่มใชคําวา สวัสดี คือ พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ) 3 กรุงเทพมหานคร เปนเมืองหลวงของประเทศไทย มีชอื่ เต็มวา “กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบุรีรมย อุดมราชนิเวศนมหาสถาน อมรพิมาน อวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์”

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามจากวรรณกรรม ที่อาน เพื่อสรุปใจความสําคัญ ดังนี้ • นันทาและพอใจทักทายใครในวันเปดภาคเรียน (ตอบ ทักทายเพื่อนใหมที่ชื่ออารี) • อารีมีทาทางอยางไรที่แสดงถึงมิตรภาพอันดี (ตอบ ยิ้มแยมแจมใส) • เมื่อคูณครูเดินเขามาในหอง นักเรียนควร ปฏิบัติอยางไร (ตอบ พูดสวัสดีคุณครู) • การพูดแนะนําตนเองเมื่อพบเพื่อนใหม ควรพูดอยางไร (แนวตอบ พูดจาไพเราะ กลาวคําวา สวัสดี และพูดดวยใบหนายิ้มแยม) 2. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.2

นันทาและพอใจเรียนอยูชั้นประถมศึกษาปที่ ๒/๑ ทั้งคู นั่งอยูใกลกัน สวนเด็กนักเรียนคนอื่นกําลังพูดคุยกันเบาๆ ระหวางนั้น คุณครูทานหนึ่งเดินเขามาในหองโดยมีอารี เดินตามมา นันทาเปนผูน าํ เพือ่ นๆ กลาวสวัสดีคณุ ครู จากนัน้ คุณครูก็พูดแนะนําตัวเองใหนักเรียนรูจัก และบอกใหอารี พูดแนะนําตัวใหเพื่อนๆ รูจักดวย ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð¹Ñ¡àÃÕ¹ªÑé¹ ». ò/ñ ·Ø¡¤¹ ¤ÃÙª×èÍá¡ŒÇµÒ ÁÒÅÑ·ͧ ¤‹Ð ¤ÃÙ໚¹ ¤ÃÙ»ÃШíÒªÑ鹢ͧ¾Ç¡à¸Í¤‹Ð

ʋǹ¹Õè¤×Íà¾×è͹ãËÁ‹¢Í§¾Ç¡à¸Í á¹Ð¹íÒµÑÇàͧãËŒà¾×è͹æ ÃÙŒ¨Ñ¡àŤ‹Ð

✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ ภาษาไทย ป.2 ประเมินตัวชี้วัด มฐ. ท 1.1 ป.2/1

ÊÇÑÊ´Õ¨ŒÐ ©Ñ¹ª×èÍÍÒÃÕ ËÃ×ͨÐàÃÕ¡NjҨÔ꺡çä´Œ ÂÔ¹´Õ·Õèä´ŒÃÙŒ¨Ñ¡ à¾×èÍ¹æ ·Ø¡¤¹¹Ð¨ Ð

แบบฝกหัดที่ ๒ เขียนเลข ๑-๔ ลงใน เพื่อนใหม

เพื่อเรียงลําดับเหตุการณของเรื่อง สวัสดี

๓ เฉลย

๑ ๒ ๔

เด็กนักเรียนเขาแถว เคารพธงชาติ นันทาและพอใจกําลัง ทักทายเพื่อนใหม

เพื่อนใหมแนะนําตัวเอง วาชื่อ อารี ชื่อเลนวา จิ๊บ คุณครูประจําชั้น ป.๒/๑ คนใหม แนะนําตัวเองวา ชื่อครูแกวตา มาลัยทอง แลวใหอารีแนะนําตัวให เพื่อนๆ รูจัก

คุณครูแกวตากลาวชมอารีวาพูดทักทายและแนะนํา ตัวเองไดดี คือ พูดคําวา “สวัสดี” และพูดดวยใบหนา ยิ้มแยม แสดงถึงมิตรภาพอันดี จากนั้นคุณครูแกวตา ก็ใหนักเรียนคนอื่นๆ พูดแนะนําตัวเองบางเพื่อใหคุณครู และอารีรูจัก แลวจึงเริ่มการเรียนการสอน ๔

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายใหนักเรียนทราบเรื่อง คําทักทายของประเทศตางๆ ในอาเซียน ดังนี้ • ภาษาลาว ใชวา สบายดี • ภาษาเขมร ใชวา ซัวซะไดย • ภาษาเวียดนาม ใชวา ซินจาว • ภาษาสิงคโปร ใชวา หนีหาว • ภาษาพมา ใชวา มิงกาลาบา • ภาษามาเลเซีย และบรูไน ใชวา ซาลามัตดาตัง • ภาษาอินโดนีเซีย ใชวา ซาลามัตเซียง • ภาษาฟลิปปนส ใชวา กุมุสตา

4

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทย กับสาระศิลปะ วิชาทัศนศิลป เรื่อง การวาดภาพเกี่ยวกับเพื่อน โดยใหนักเรียนวาดภาพเกี่ยวกับเรื่องราว ของตนเองที่เกี่ยวของกับเพื่อนสนิท พรอมทั้งระบายสีใหสวยงาม แลวออกมา นําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน โดยบอกวาเปนเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร เพื่อฝก ทักษะการจําเรื่องราวตางๆ และเพื่อพัฒนาความสามารถทางดานทัศนศิลป ของนักเรียน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงคําศัพท และอานความหมายของคําศัพทในหนังสือ หนา 5 พรอมๆ กัน 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญอานออกเสียง คําศัพทไดถูกตอง 3. ใหนักเรียนหาคําศัพทในหนังสือ หนา 5 ที่ปรากฏในวรรณกรรมเรื่อง สวัสดีเพื่อนใหม เพื่อใหนักเรียนเขาใจและเห็นแนวทางในการ ใชคําศัพทที่ถูกตองตอไป 4. ใหนักเรียนเลือกคําศัพทใหมมา 3 คํา แลวแตงประโยคจากคํา เพื่อใหใชคําใน การสื่อสารไดอยางถูกตองและเหมาะสม

คําศัพทนา รู

ครูประจําชั้น เพื่อนสนิท มิตรภาพ

ทักทาย เพื่อนใหม ยิ้มแยม

แนะนํา ภาคเรียน สวัสดี

คําอานและความหมายของคํา คํา

ทักทาย แนะนํา ภาคเรียน มิตรภาพ ยิ้มแยม สวัสดี

อานวา

Expand

ความหมาย

ทัก-ทาย

ไตถามถึงความเปนอยู อยางเปนกันเอง แนะ-นํา ชี้แจงใหทําหรือปฏิบัติ พาก-เรียน ชวงเวลาที่สถานศึกษา เปดทําการสอน มิด-ตระ-พาบ ความเปนเพื่อนรัก ยิ้ม-แยม ยิ้มอยางชื่นบาน สะ-หวัด-ดี คําทักทาย หรือพูดขึ้น เมื่อพบกัน หรือจากกัน

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบการอานออกเสียงวรรณกรรม และคําศัพทของนักเรียน โดยพิจารณาการ อานออกเสียงคําไดถูกตอง ชัดเจน 2. ครูตรวจสอบการแตงประโยคจากคําศัพท ของนักเรียน โดยพิจารณาจากการ แตงประโยคไดใจความสมบูรณ 3. ครูตรวจสอบการเขียนตามคําบอก โดยพิจารณา จากการเขียนคําศัพทตามคําบอกไดถูกตอง

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

จากภาพ ตรงกับคําศัพทในขอใด ก. มิตรภาพ ข. ยิ้มแยม ค. ทักทาย ง. สวัสดี

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ข. เด็กในภาพกําลังยิ้มอยางมีความสุข ตรงกับคําวา ยิ้มแยม

กิจกรรมเขียนตามคําบอก

ครูจัดกิจกรรมเขียนตามคําบอก โดยเลือกคําศัพทใหมจากบทเรียน มา 10 คํา ดังนี้ มิตรภาพ สวัสดี ภาคเรียน ทักทาย เพื่อนใหม ประถม ผูนํา ยิ้มแยม การเรียน ยินดี แลวใหนักเรียนเขียนคําศัพทตามที่ครูบอกทีละคํา เพื่อฝกทักษะการฟง และการเขียนสะกดคําของนักเรียน

เกร็ดแนะครู ในการสอนคําศัพท ครูอาจใชทาทางประกอบหรือแสดงบทบาทสมมุติในขณะ อธิบายความหมายของคําศัพท เชน ทําทาไหวประกอบการอธิบายความหมายของ คําวา สวัสดี เปนตน เพื่อใหนักเรียนเขาใจความหมายของคําศัพท และนําคําศัพท ไปใชไดอยางถูกตอง

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา คําพูดทักทายวา “สบายดีไหม” ของประเทศสมาชิกอาเซียน จะใชตางกัน เชน • ประเทศลาว ใชวา สะบาย ดี บ • ประเทศพมา ใชวา เน เกา บา ตะ ลา • ประเทศอินโดนีเซีย ใชวา อาปา กาบาร • ประเทศฟลิปปนส ใชวา กุมุสตา กา เปนตน คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Engaae

สํารวจคนหา

Explore

1. ใหนักเรียนรวมกันทบทวนความรูเรื่อง อักษรไทย วามีกี่ชนิด อะไรบาง 2. ใหนักเรียนวิเคราะหชื่อเลนของตนเองวา ประกอบดวยอักษรไทยชนิดใดบาง แลวผลัดกัน ออกมาพูดที่หนาชั้นเรียน เชน • ชื่อ กุก มีอักษรไทย 3 ชนิด คือ 1) พยัญชนะ คือ ก, ก 2) สระ คือ _ุ 3) วรรณยุกต คือ _๊ เปนตน

อธิบายความรู

Explain

1. ครูเขียนอักษรไทยชนิดตางๆ บนกระดาน ปนกัน แลวใหนักเรียนชวยกันจําแนกอักษรไทย ที่ครูเขียนเปนชนิดตางๆ ใหถูกตอง 2. ใหนักเรียนตรวจสอบความถูกตองวาจําแนก อักษรไทยถูกตองหรือไม โดยดูขอมูลในหนังสือ หนา 6 ประกอบ 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจ เรื่อง ชนิดของอักษรไทย

หลักภาษานารู 1

อักษรไทย อักษรไทย หมายถึง ตัวหนังสือที่ใชในภาษาไทย มี ๔ ชนิด คือ ๑. พยัญชนะไทย ๒. สระ ๓. วรรณยุกต ๔. ตัวเลขไทย ¾Ç¡àÃÒ ¤×Í ¾ÂÑÞª¹Ð

ʋǹ©Ñ¹ ¤×Í ÊÃÐ

ก ง อ เ-า ๑ ๐๘ ่ ๊

้ ๋

¾Ç¡àÃÒ ¤×Í ÇÃóÂØ¡µ

นักเรียนควรรู 1 อักษรไทย เปนอักษรที่ใชเขียนในภาษาไทย ซึ่งพอขุนรามคําแหงมหาราช ทรงคิดประดิษฐอักษรไทย หรือที่เรียกวา ลายสือไท ขึ้นเมื่อป พ.ศ. 1826 โดยมี ลักษณะตัวอักษรคลายกับอักษรขอมในสมัยเดียวกัน

¾Ç¡àÃÒ ¤×Í µÑÇàÅ¢ä·Â

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

คําในขอใด มีพยัญชนะตนเหมือนกับคําในภาพ ก. เกาอี้ ข. คอก ค. เด็ก ง. เตียง

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ง. จากภาพคือคําวา โตะ มี ต เปนพยัญชนะตนเหมือนกับคําวา เตียง

การเขียนตัวอักษรไทยจะไมมีการแยกตัวอักษรตัวใหญ หรือตัวอักษรตัวเล็ก เหมือนภาษาอังกฤษ และสระในภาษาไทยจะแยกชัดเจนไมรวมอยูกับพยัญชนะ อักษรไทยไดมีการพัฒนาเรื่อยมาจนมีรูปแบบเปนตัวอักษรไทยที่เราใชอยู ในปจจุบัน

6

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทยกับสาระภาษาตางประเทศ ภาษาอังกฤษ เรื่อง ตัวอักษรไทยกับตัวอักษรภาษาอังกฤษ วาเหมือน หรือแตกตางกันอยางไรบาง เชน มีจํานวนพยัญชนะไมเทากัน เปนตน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนรวมกันบอกพยัญชนะไทย 44 ตัว วามีอะไรบาง โดยเรียงลําดับจาก ก-ฮ 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ชื่อเรียกพยัญชนะไทยแตละตัวจะมีคําสรอย ประกอบทาย เพื่อใหจดจําไดงายวาเปน พยัญชนะตัวใด เนื่องจากพยัญชนะไทย บางตัวจะออกเสียงซํ้ากัน เชน ศ ษ ส ออกเสียงวา สอ จึงตองเติมคําสรอยเปน ศ ศาลา ษ ฤๅษี ส เสือ เปนตน 3. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.2

๑. พยัญชนะไทย มี ๔๔ ตัว ดังนี้

ก ฅ ฉ ญ ฑ ต น ฝ ม ว ห

ข ฆ ช ฎ ฒ ถ บ พ ย ศ ฬ

ฃ ง ซ ฏ ณ ท ป ฟ ร ษ อ

Explain

ค จ ฌ ฐ ด ธ ผ ภ ล ส ฮ

✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ ภาษาไทย ป.2 ประเมินตัวชี้วัด มฐ. ท 4.1 ป.2/1 แบบฝกหัดที่ ๕ รอบพยัญชนะตนของคําที่ตรงกับภาพ

วง

¡ÒÃÍ‹Ò¹¾ÂÑÞª¹Ð ¨ÐÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§àËÁ×͹»ÃÐÊÁ¡Ñº ÊÃÐ-Í áÅкҧµÑÇÍÍ¡àÊÕ§ «íéҡѹ¹Ð¤Ð

๑)

ก ถ ภ

๒)

ข ฃ ช

๓)

ค ด ต

๔)

พ ฟ ฬ

๕)

บ ป ษ

เฉลย

พยัญชนะในขอใด ออกเสียงเหมือน ล ก. ร ข. ส ค. ฟ ง. ฬ

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ง. ล ออกเสียงวา ลอ ซึ่ง ฬ ก็ออกเสียงวา ลอ สวน ขอ ก. ร ออกเสียงวา รอ ขอ ข. ส ออกเสียงวา สอ ขอ ค. ฟ ออกเสียงวา ฟอ

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายวา พยัญชนะไทยและพยัญชนะลาวบางตัวมีรูปรางคลายกันเนื่องจาก ทั้งตัวอักษรไทย และตัวอักษรลาวมีที่มาจาก อักษรขอม และอักษรมอญ เหมือนกัน เชน พยัญชนะไทย พยัญชนะลาว

ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การเรียนรูถึงความแตกตางดานภาษาของ ประเทศตางๆ ในอาเซียน จะทําใหนักเรียนเขาใจถึงความแตกตาง และรูจักยอมรับ ในสิ่งที่ผูอื่นเปน ซึ่งจะทําใหดํารงชีวิตไดอยางสันติสุขในฐานะพลเมืองไทย และพลเมืองอาเซียน

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูแจกบัตรสระในภาษาไทยใหนักเรียน คนละ 1 ใบ แลวใหนักเรียนผลัดกันบอกสระ ที่ตนเองไดรับ 2. ใหนักเรียนรวมกันอานชื่อเรียกสระในหนังสือ หนา 8-9 วามีสระใดบาง 3. ครูเขียนคําที่ประสมกับสระตางๆ บนกระดาน เชน เดิน แข็ง ตัว โตะ เปย ลืม เปนตน แลวใหนักเรียนรวมกันบอกวา คําที่ครูเขียน ประสมกับสระอะไร 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียนควรรู

๒. สระ ในภาษาไทยสระจะใชประกอบกับตัวพยัญชนะ สระในภาษาไทยมีรูปและชื่อเรียก ดังนี้ รูปสระ ชื่อเรียก ใชแทนเสียงสระ -ิ สระ อิ เสียง อิ -ี สระ อี เสียง อี เ-ะ สระ เอะ เสียง เอะ 1 เ-็ สระ เอ กับไมไตคู เสียง เอะ เสระ เอ เสียง เอ แ-ะ สระ แอะ เสียง แอะ 2 แ-็ สระ แอ กับไมไตคู เสียง แอะ แสระ แอ เสียง แอ -ึ สระ อึ เสียง อึ -ื สระ อือ เสียง อือ -ือ สระ อือ กับตัวออ เสียง อือ เ-อะ สระ เออะ เสียง เออะ เ-อ สระ เออ เสียง เออ 3 เ-ิ สระ เออ เสียง เออ -ะ สระ อะ เสียง อะ 4 -ั ไมหันอากาศ เสียง อะ -ำ สระ อํา เสียง อะ และเหมือนมี ม สะกด ๘

นักเรียนควรรู 1 เ _็ สระ เอ กับไมไตคู เปนรูปสระที่เกิดจากการประสมคํากับสระ เอะ แลวมีตัวสะกด จึงแปลงรูป -ะ เปน _็ 2 แ _็ สระ แอ กับไมไตคู เปนรูปสระที่เกิดจากการประสมคํากับสระ แอะ แลวมีตัวสะกด จึงแปลงรูป -ะ เปน _็ 3 เ _ิ สระเออ เปนรูปสระที่เกิดจากการประสมคํากับสระเออ แลวมีตัวสะกด จึงแปลงรูป -อ เปน _ิ 4 _ั ไมหันอากาศ เปนรูปสระที่เกิดจากการประสมคํากับสระ อะ แลวมีตัวสะกด จึงแปลงรูป -ะ เปน _ั

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

จากภาพเปนการประสมคํากับสระใด ก. แ _็ ข. เ _็ ค. _็ ง. เ _ิ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ข. จากภาพ คือ คําวา เปด เปนการประสม พยัญชนะกับสระ เ-ะ มี ด สะกด จึงแปลงรูป -ะ เปน _็


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูแตงนิทานเกี่ยวกับสระตางๆ ที่เปน สระประสม เชน มีบาน 2 หลัง อยูใกลกัน ระหวางบาน 2 หลัง มีตนไมสูงคั่นอยู บนตนไมมีสระ _ี อาศัยอยู สวนบางหลังแรก มีสระ เ- อยู และบานหลังที่สอง มี ย อยู เปนตน 2. ครูวาดภาพประกอบนิทานที่ครูเลา เพื่อให นักเรียนจดจํารูปสระประสมไดดียิ่งขึ้น เชน

รูปสระ ชื่อเรียก ใชแทนเสียงสระ ไ- สระ ไอ ไมมลาย เสียง อะ และเหมือนมี ย สะกด ใสระ ใอ ไมมวน เสียง อะ และเหมือนมี ย สะกด เ-า สระ เอา เสียง อะ และเหมือนมี ว สะกด -า สระ อา เสียง อา -ุ สระ อุ เสียง อุ -ู สระ อู เสียง อู โ-ะ สระ โอะ เสียง โอะ โสระ โอ เสียง โอ เ-าะ สระ เอาะ เสียง เอาะ 1 -็อ สระ ออ กับไมไตคู เสียง เอาะ 2 -็ ไมไตคู เสียง เอาะ -อ สระ ออ เสียง ออ เ-ียะ สระ เอียะ เสียง เอีย ที่ออกเสียงสั้น เ-ีย สระ เอีย เสียง เอีย เ-ือะ สระ เอือะ เสียง เอือ ที่ออกเสียงสั้น เ-ือ สระ เอือ เสียง เอือ -ัวะ สระ อัวะ เสียง อัว ที่ออกเสียงสั้น -ัว สระ อัว เสียง อัว 3 -ว ตัว วอ เสียง อัว

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ค. มด และโตะ เปนคําที่ประสมสระ โ-ะ ทัง้ สองคํา แตการประสมคํากับสระโอะ และมีตวั สะกด จะลดรูปสระไปทัง้ หมด สวน ขอ ก. ประสมสระ ไ- และ ใขอ ข. ประสมสระ เ-า และ -า ขอ ง. ประสมสระ -ะ มีตวั สะกดแปลงรูป -ะ เปน _ั และประสมสระ _ั ว

✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ ภาษาไทย ป.2 ประเมินตัวชี้วัด มฐ. ท 4.1 ป.2/1 แบบฝกหัดที่ ๖ โยงเสนจับคูรูปสระกับเสียงสระใหถูกตอง

๑) ๒) ๓) เฉลย

๔) ๕) ๖) ๗) ๖

คําในขอใดประสมสระเดียวกัน ก. ไป ให ข. เขา ขาว ค. มด โตะ ง. คัน วัว

3. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.2

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

Explain

-ุ -ั -ี ไ-ะ เ-ีย

-ํา

อะ

( มีตัวสะกด )

อะ

( มี ย สะกด )

อุ อะ

( มี ม สะกด )

อี เอีย อะ

( ไมมีตัวสะกด )

นักเรียนควรรู 1 _็ อ สระ ออ กับไมไตคู เปนรูปสระที่เกิดจากการประสมคํากับสระ เอาะ แลวมีตัวสะกด จึงแปลงรูปสระ เ-าะ ทั้งหมด เปน _็ อ 2 _็ คําที่ใชรูป _็ มีคําเดียว คือคําวา ก็ เกิดจากพยัญชนะ ก ประสมกับ สระ เ-าะ และวรรณยุกตโทเปน เกา แปลงรูปสระ เ-าะ ทั้งหมด เปน _็ 3 _ ว ตัว วอ เปนสระ อัว ที่เกิดจากการประสมคํากับสระ อัว แลวมีตัวสะกด จึงลดรูป _ั ว เหลือแค -ว

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูเขียนคําที่มีพยัญชนะ และสระเดียวกัน แตใชวรรณยุกตตางกันบนกระดาน เชน ปา ปา ปา ปา ปา เปนตน 2. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงคําที่ครูเขียน แลวบอกวาคําที่ครูเขียนบนกระดานมีอะไร แตกตางกัน (ตอบ วรรณยุกต) 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจเรื่อง วรรณยุกต โดยใหนักเรียนดูขอมูลในหนังสือ หนา 10 ประกอบ 4. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงตัวอยางคําที่มี รูปวรรณยุกตในหนังสือ หนา 10 พรอมๆ กัน โดยครูสงั เกตวานักเรียนสวนใหญอา นออกเสียง คําที่มีรูปวรรณยุกตไดถูกตอง 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.2 ✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ ภาษาไทย ป.2 ประเมินตัวชี้วัด มฐ. ท 4.1 ป.2/1

1

๓. วรรณยุกต คือ ระดับเสียงสูงตํ่าของคําในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา รูปเครือ่ งหมายบอกระดับเสียงบนอักษร มี ๔ รูป คือ (ไมเอก) (ไมโท) (ไมตรี) และ (ไมจัตวา) การเขียนรูปวรรณยุกต จะเขียนไวบนพยัญชนะตน ของพยางคหรือคํา เชน เชา ยุง โตะ โอ เปนตน แตถา พยางค หรือคํานัน้ มีพยัญชนะตน ๒ ตัว ใหเขียนรูปวรรณยุกตไวบน พยัญชนะตนตัวที่สอง เชน สราง ไหล กวาง เศรา เปนตน

เสือ

สัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม ชนิดหนึ่ง

แบบฝกหัดที่ ๘

-๊

-้

-่

-๋

เสื่อ

เครื่องสานชนิดหนึ่ง สําหรับปูนั่งและนอน

เสื้อ

เครื่องสวมกายทอนบน ทําดวยผา

เติมวรรณยุกตลงในชองวางใหเปนคําที่ตรงกับรูปภาพ

กระเปา สม ไก โตะ   เกาอี

๑)

๒) เฉลย

๓)

๔)

๕) ๘

ตัวอยาง คําที่มีรูปวรรณยุกต ไก กลา เก เก

ครู ของ โกะ เดี๋ยว

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายวา ในภาษาลาวก็มีการใชวรรณยุกตเหมือนภาษาไทย โดยภาษาลาว มีวรรณยุกต 4 ตัว คือ

10

คูมือครู

โซ ยาย แปะ ปุย

เฒา ตอย เศรา สรอย โปะ โอ

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

1 วรรณยุกต คําทุกคําจะมีเสียงวรรณยุกต แตอาจมีรูปวรรณยุกตหรือไมมีก็ได ซึ่งคําที่ไมมีรูปวรรณยุกต เรียกวา คําพื้นเสียง เชน ขา ไป ดู เผา เปนตน

ไมโท

ใช พรอม โตะ โบ

๑๐

นักเรียนควรรู

ไมเอก

งาย ปลอง เจ ตี๋

ไมกง

ไมกัน

ขอใดมีเสียงวรรณยุกตครบทุกเสียง ก. ขา กบ นอง เตา แม ข. แจก วา รอง โตะ เดี๋ยว ค. คิด ทอ ใช แน แลว ง. เสา งาย ยาย เก ปุย

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ก. ขา มีเสียงวรรณยุกตจัตวา กบ มีเสียง วรรณยุกตเอก นอง มีเสียงวรรณยุกตตรี เตา มีเสียงวรรณยุกตสามัญ แม มีเสียงวรรณยุกตโท ครบทั้ง 5 เสียง สวน ขอ ข. แจก มีเสียงวรรณยุกตเอก วา มีเสียงวรรณยุกตโท รอง โตะ มีเสียงวรรณยุกตตรี เดี๋ยว มีเสียงวรรณยุกตจัตวา ขอ ค. คิด แลว มีเสียงวรรณยุกตตรี ทอ ใช แน มีเสียงวรรณยุกตโท ขอ ง. เสา มีเสียงวรรณยุกตจัตวา งาย มีเสียงวรรณยุกตโท ยาย เก มีเสียงวรรณยุกตตรี ปุย มีเสียงวรรณยุกตจัตวา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูเขียนตัวเลขไทย ๐-๙ บนกระดาน แลวใหนักเรียนบอกวาเปนเลขอะไรทีละตัว 2. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงตัวอยาง การใชตัวเลขไทย ในหนังสือ หนา 11 พรอมๆ กัน 3. ครูเขียนตัวเลขไทยทีล่ งทายดวยเลข 1 หลายๆ จํานวน เชน ๑๑ ๒๑ ๓๑ ๑๐๑ เปนตน บนกระดาน แลวใหนักเรียนรวมกันอาน ออกเสียง โดยครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่อง การอานออกเสียงจํานวนตั้งแตหลักสิบขึ้นไป ที่มีหลักหนวยเปน 1 ใหอานวา “เอ็ด” เชน สิบเอ็ด หนึ่งรอยเอ็ด เปนตน

๔. ตัวเลขไทย เปนสัญลักษณที่ ใชแทนจํานวนจริง มี ๑๐ ตัว คือ ตัวเลข

ชื่อเรียก ศูนย หนึ่ง สอง สาม สี่

๐ ๑ ๒ ๓ ๔

ตัวเลข

๕ ๖ ๗ ๘ ๙

ชื่อเรียก หา หก เจ็ด แปด เกา

ขยายความเขาใจ

● ● ●

Expand

1. นักเรียนรวมกันจําแนก และวิเคราะหวา ในวรรณกรรมเรื่อง สวัสดีเพื่อนใหม มีอักษรไทยอะไรบาง แลวยกตัวอยางประกอบ 2. ครูใหนักเรียนคิดและวาดรูปตางๆ โดยใช ตัวอักษรไทยประกอบ จากนั้นระบายสี ใหสวยงาม แลวนําผลงานไปติดที่ปายนิเทศ (ดูตัวอยางผลงานในหนังสือ หนา 17)

ตัวอยาง การใชตัวเลขไทย ●

Explain

วันอาทิตยที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ โรงเรียนเลิกเวลา ๑๖.๓๐ นาฬกา ©Ñ¹àÃÕ¹ÍÂÙ‹ªÑé¹ พี่เรียนอยูชั้น ป.๓/๑ ».ò/ñ แมมีเงิน ๕๖๐ บาท

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบผลการวิเคราะหและจําแนก อักษรไทยจากวรรณกรรม โดยบอกชนิดของ อักษรไทย และยกตัวอยางประกอบไดถูกตอง 2. ครูตรวจสอบการวาดรูปโดยใชตัวอักษรไทย ประกอบ โดยพิจารณาจากความสวยงาม และความสะอาดเรียบรอยของผลงาน

ขอสังเกต

เลข ๑ ถาอยูทายจํานวนตั้งแตหลักสิบขึ้นไปใหอานวา “เอ็ด” เชน ๑๑ อานวา สิบเอ็ด ๑๐๑ อานวา หนึ่งรอยเอ็ ยเอ็ด ๑๑

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนฝกคัดพยัญชนะไทย สระ วรรณยุกต และตัวเลขไทยดวย ตัวบรรจงเต็มบรรทัด จากนั้นนักเรียนรวมกันคัดเลือกผลงานที่ดีไปติด ที่ปายนิเทศ เพื่อเปนแบบอยางที่ดีในการเขียน และเพื่อใหนักเรียน จําตัวอักษรไทยได

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนนําอักษรไทย (พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต) มาประสมกัน เปนคํา จากนั้นวาดภาพประกอบและเขียนสะกดคําจากภาพ เชน มะมวง มอ - อะ - มะ มอ - อัว - งอ - มวง - ไมเอก - มวง

เกร็ดแนะครู ครูเนนยํ้าใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการใชเลขไทย เพราะแสดงใหเห็นถึง เอกลักษณไทย โดยครูควรฝกใหนักเรียนใชเลขไทยในการเขียนจนติดเปนนิสัย

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายวา การเขียนตัวเลขไทย จะคลายกับตัวเลขในภาษาเขมร ดังนี้ ตัวเลขไทย

๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙

ตัวเลขในภาษาเขมร

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

Engaae

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Elaborate

Evaluate

Explore

1. ครูยกตัวอยางสถานการณหรือเลานิทาน เกี่ยวกับการพูดลักษณะตางๆ ใหนักเรียนฟง เชน การพูดจาไพเราะ นาฟง การพูดคําหยาบ การพูดแทรก และการพูดที่ไมมีมารยาท ในการพูด เปนตน 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา นักเรียนชอบการพูด ลักษณะใด เพราะเหตุใด 3. ใหนกั เรียนรวมกันสํารวจตนเองวา ในชีวติ ประจําวันของนักเรียนเคยพูดในโอกาส อะไรบาง และมีวิธีการพูดอยางไรบาง 4. ครูสอนนักเรียนรองเพลง คําทักทายอาเซียน แลวใหนักเรียนคิดทาทางประกอบเพลง ตามจินตนาการ เพื่อใหนักเรียนรูจักคําทักทาย ของประเทศตางๆ ในอาเซียน ดังนี้

การใชภาษา

การพูดในโอกาสตางๆ การพูด เปนทักษะการสื่อสารที่จําเปนตองใชในชีวิต ประจําวัน ซึง่ การพูดทีด่ จี ะทําใหเกิดไมตรีระหวางกัน การพูด ในโอกาสตางๆ มีดังนี้ 1 ๑. การพูดทักทาย ควรใชภาษาที่สุภาพ

เพลงคําทักทายของอาเซียน

เนื้อรอง/ทํานอง : ผอ.พศิณศักดิ์ กลางประพันธ

สวัสดี สะบายดี หนีหาว (ซํ้า) ซัวซะไดย ซินจาว ซาลามัตดาตัง กุมุสตา ซาลามัตดาตัง (ซํ้า) มิงกาลาบานารักจัง ซาลามัตเซียง สวัสดี

นักเรียนควรรู 1 การพูดทักทาย การพูดทักทายที่ดี ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1) แสดงอาการยินดีที่ไดพบผูที่เราทักทาย 2) หนาตายิ้มแยมแจมใส 3) กลาวคําทักทายที่เปนที่ยอมรับในสังคม เชน สวัสดีครับ สวัสดีคะ เปนตน 4) แสดงกิริยาประกอบคําทักทาย เชน ไหว เปนตน 5) ขอความที่ใชพูดทักทายควรเปนขอความที่ผูฟงเกิดความสบายใจที่ไดฟง

มุม IT ครูศึกษาเพลง คําทักทายอาเซียน ไดที่ htttp://www.youtube.com โดยคนหา (search) คําวา เพลงคําทักทายอาเซียน จะปรากฏเพลงใหฟง

12

คูมือครู

ÊÇÑÊ´Õ¨ŒÐÍÒÃÕ ÍÒ¡ÒÈ´Õ Í‹ҧ¹Õé à¸Í¨Ðä»ä˹¨ Ð

ÊÇÑÊ´Õ¨ŒÐ¾Íã¨

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

การพูดทักทายเพื่อนใหมวา “เฮย! แกชื่ออะไรวะ” เปนการพูดที่เหมาะสม หรือไม อยางไร แนวตอบ ไมเหมาะสม เพราะเราควรพูดทักทายผูอื่นโดยใชถอยคําสุภาพ ซึ่งคําวา เฮย แก วะ จัดเปนภาษาที่ไมสุภาพและไมเปนทางการ จึงควรพูด ใหสุภาพ เชน “สวัสดี...ฉันชื่อ...แลวเธอชื่ออะไรหรือ” เปนตน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

๒. การพู ด แนะนํ า ตั ว จะพูดเมื่อเราเขากลุมกับ เพือ่ นใหม ควรเริม่ ดวยการ พูดทักทายโดยใชภาษาที่ สุภาพ แลวพูดแนะนําตัว

ÊÇÑÊ´Õ¤ÃѺ ¼Áª×èÍÀÙ¼Ò ª×èÍàÅ‹¹ª×èÍ µ‹Í ¤ÃѺ ¼ÁÂÔ¹´Õ·Õèä´ŒÃÙŒ¨Ñ¡à¾×èÍ¹æ ·Ø¡¤¹¹Ð¤ÃѺ

๓. การพูดสนทนาโตตอบ เปนการพูดเพือ่ ติดตอสือ่ สาร ระหวางบุคคลตั้งแต ๒ คน ขึ้นไป ซึ่งควรพูด ดังนี้ ๑) ใชภาษาสุภาพ ๒) ไมควรพูดอยูแ ตเพียงฝายเดียว ควรเปดโอกาสให คูสนทนาไดพูดบาง ๓) ไมพูดโออวดหรือพูดทับถมอีกฝายหนึ่ง ในการพูดสนทนาโตตอบ อาจมีทั้งการพูดตอบรับ หรือพูดปฏิเสธ เราควรพูดโดยใชถอ ยคําทีส่ ภุ าพ ไมหว น หรือ ไมเปนคําหยาบคาย และเลือกใชคําพูดใหเหมาะสมดวย

àÁ×èÍÇѹËÂØ´·Õ輋ҹÁÒ ©Ñ¹ä»à·ÕèÂÇ ·ÕèÊǹÊÑµÇ ´ØÊÔµÁÒ¤‹Ð

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามวา • การพูดแนะนําตนเอง จะใชในโอกาสใดบาง (ตอบ ใชแนะนําตนเองกับคนที่รูจัก เปนครั้งแรก เชน เพื่อนใหม เปนตน) • การพูดทักทายและพูดแนะนําตนเองผูพูด ควรพูดอยางไร (แนวตอบ พูดโดยใชถอยคําสุภาพ เพื่อใหเกิด ไมตรีที่ดีตอกัน) • ในการพูดสนทนาโตตอบ ไมควรพูดอยางไร (ตอบ พูดอยูฝายเดียวและพูดทับถมอีกฝาย เพราะจะทําใหคูสนทนารูสึกไมพอใจได) 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลเรื่อง การพูดทักทาย การพูดแนะนําตัว และการพูดสนทนาโตตอบ โดยใหนักเรียนดูขอมูลในหนังสือ หนา 12-13 ประกอบ 3. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนแลวฝกพูดทักทาย พูดแนะนําตัว แลวพูดสนทนาโตตอบกับคูของ ตนเอง โดยครูเดินสังเกตวา นักเรียนสวนใหญ พูดทักทาย พูดแนะนําตัว และพูดสนทนา โตตอบไดอยางเหมาะสม

໚¹Í‹ҧäúŒÒ§ ʹءäËÁ¤ÃѺ

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ใครปฏิบัติตนในการพูดทักทายอยางเหมาะสม ก. นิดพูดเกี่ยวกับเรื่องสวนตัวของเพื่อน ข. หนอยพูดกระโชกโฮกฮากกับเพื่อน ค. นอยยิ้มแลวถามนุนวา สบายดีไหม ง. แนนกลาวสวัสดีคุณปาและลูบผมคุณปา

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ค. เพราะการพูดทักทายที่เหมาะสมควรพูด ทักทายดวยถอยคําที่สุภาพ ไมพูดกระโชกโฮกฮาก ไมควรพูดเกี่ยวกับเรื่อง สวนตัวของผูอื่น และไมควรแสดงกิริยาประกอบคําทักทายที่ไมเหมาะสม กับวัยดวย ขอ ค. จึงปฏิบัติตนอยางเหมาะสม

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา เมื่อพูดกับผูที่อายุเทากันหรือตางกัน ควรเลือกใช สรรพนามแทนตัวเองใหเหมาะสม ดังนี้ • พูดกับผูที่อายุเทากัน เด็กผูชาย ใชคําแทนตัววา ฉัน, ผม, เรา, ชื่อเลน เด็กผูหญิง ใชคําแทนตัววา ฉัน, เรา, ชื่อเลน และเรียกผูที่คุยดวยวา เธอ • พูดกับผูที่อายุมากกวา เด็กผูชาย ใชคําแทนตัววา ผม, ชื่อเลน เด็กผูหญิง ใชคําแทนตัววา หนู, ชื่อเลน และเรียกผูที่คุยดวยความเคารพ เชน คุณพี่ คุณครู คุณแม เปนตน

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันบอกขอควรปฏิบัติในการพูด ขอรอง พูดขอความชวยเหลือ และพูดแสดง ความคิดเห็นตามความเขาใจของนักเรียน 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจขอควร ปฏิบัติในการพูดขอรอง พูดขอความชวยเหลือ และพูดแสดงความคิดเห็นโดยใหนักเรียน ดูขอมูลในหนังสือ หนา 14-15 ประกอบ 3. ใหนักเรียนคิดและพูดขอรอง หรือพูดขอความ ชวยเหลือคนละ 1 ประโยค แลวผลัดกันพูด ใหเพื่อนและครูฟง

๔. การพู ด ขอร อ ง และการพู ด ขอความช ว ยเหลื อ เปนการพูดทีต่ อ งการใหผฟู ง ทําสิง่ ใดสิง่ หนึง่ จึงควรใชภาษา ที่สุภาพในการพูด ä´ŒÊÔ˹Ù

¤Ø³ÍÒ¤ÃѺ ª‹ÇÂËÂÔº ˹ѧÊ×Í·ÕèÍÂÙ‹´ŒÒ¹º¹ ãËŒ¼Áä´ŒäËÁ¤ÃѺ

» ´¹íéÒ·Ø¡¤ÃÑé§ ËÅѧ㪌àÊÃç¨

Í‹ÒÅ×Á» ´ä¿ àÁ×èÍÍÍ¡¨Ò¡ËŒÍ§

¡Ãسһ ´¹íéÒ·Ø¡¤ÃÑé§ ËÅѧ㪌àÊÃ稹ФÐ

â»Ã´» ´ä¿·Ø¡¤ÃÑé§ àÁ×èÍÍÍ¡¨Ò¡ËŒÍ§¹Ð¤ÃѺ

㹡Òþ٠ÇÂàËÅ×Í Áѡ㪌¤íÒÇ‹Ò 1 ´¢ÍÃŒ 2 ͧáÅТͤÇÒÁª‹ 3 ª‹Ç â»Ã´ ËÃ×Í¡ÃØ³Ò ÍÂً˹ŒÒ»ÃÐ⤴ŒÇ¹ФР๑๔

เกร็ดแนะครู ครูสอนใหนักเรียนรูจักพูดขอรอง พูดขอความชวยเหลืออยางสุภาพ แลวควรพูดคําวา “ขอบคุณ” ใหติดจนเปนนิสัย เพื่อใหนักเรียนมีทักษะทางสังคมที่ดี และอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข

นักเรียนควรรู 1 ชวย หมายถึง สงเสริมเพื่อใหทําสําเร็จ 2 โปรด เปนคําใชประกอบหนาคํากริยาเพื่อแสดงความขอรองอยางสุภาพ 3 กรุณา เปนคําใชประกอบหนาคํากริยา เพื่อแสดงความขอรองอยางสุภาพ

14

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

หากนักเรียนตองการพูดขอรองใหเพื่อนรักษาความสะอาด ควรพูดอยางไร จึงจะชัดเจนและเหมาะสมที่สุด ก. นี่ ! เก็บขยะกันบางสิ ข. เฮ ! เก็บขยะกันดวยนะ ค. เพื่อนๆ คะ โปรดทิ้งขยะลงในถังขยะทุกครั้งนะคะ ง. เพื่อนๆ ทุกคน ตองนําขยะในถังขยะไปทิ้งนะจะ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ค. เพราะการพูดขอรองควรพูดดวยถอยคํา สุภาพ และพูดใหตรงประเด็น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน จากนั้นใหแตละกลุม พูดแสดงความคิดเห็น ในเรื่องที่กลุมตนเองสนใจ กลุมละ 1 เรื่อง โดยครูเดินสังเกตวา นักเรียนสวนใหญ พูดแสดงความคิดเห็นไดอยางเหมาะสม 2. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.2

àÁ×èͼٌ¿˜§»¯ÔºÑµÔµÒÁ¤íÒ¾Ù´·ÕèàÃÒ¢ÍÌͧáÅŒÇ àÃÒ¤ÇáŋÒǤíÒ ¢Íº¤Ø³·Ø¡¤ÃÑé§ à¾ÃÒÐ໚¹ÁÒÃÂÒ··Õè´Õ㹡Òþٴ ઋ¹

ª‹ÇÂËÂÔº´Ô¹ÊÍãËŒ©Ñ¹Ë¹‹Í¨ŒÐ

¹Õ訌Ð

Explain

✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ ภาษาไทย ป.2 ประเมินตัวชี้วัด มฐ. ท 3.1 ป.2/5, ป.2/6

¢Íºã¨¨ŒÐ

๔. เขียนคําพูดใหเหมาะสมกับสถานการณที่กําหนด (ตัวอยาง)

มฐ. ท ๓.๑ ป. ๒/๕, ป.๒/๖

๑) นั ก เรี ย นจะหยิ บ หนั ง สื อ บนชั้ น แต ห ยิ บ ไม ถึ ง และจะขอ ใหพี่ชวยหยิบให ควรพูดวาอยางไร

คุณพี่คะ ชวยหยิบหนังสือ ที่อยูบนชั้นใหหนูไดไหมคะ

๒) นักเรียนอยากรูจักกับเพื่อนใหม ควรพูดวาอยางไร

สวัสดีครับ ผมชื่อตนครับ ยินดีที่ไดรูจักเพื่อนๆ นะครับ

เฉลย

๕. การพูดแสดงความคิดเห็น เปนการพูดเพื่อแสดง ความคิดเห็นทีม่ ตี อ เรือ่ งที่ไดฟง อาน หรือดู ซึง่ ควรพูด ดังนี้ ๑) พูดแสดงความคิดเห็นของตนเองที่มีตอสิ่งที่ฟง อาน หรือดู ตามความเปนจริง 1 ๒) พูดแสดงความคิดเห็นโดยไมลาํ เอียงเขาขางผูใ ด ๓) พูดดวยถอยคําที่สุภาพ ๔) มีมารยาทในการพูด

๓) นักเรียนจะเสนอความคิดเห็นเรือ่ งการจัดหองเรียนใหสวยงาม ควรบอกคุณครูวาอยางไร

คุณครูคะ หนูคิดวาเราควร จัดดอกไมประดับหองเรียนคะ

๔) นักเรียนพบคุณครูที่หนาประตูโรงเรียน ควรพูดทักทายวา อยางไร ๑๔

สวัสดีคะ/ครับ คุณครู

๑๕

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ใครพูดแสดงความคิดเห็นไดอยางเหมาะสม ก. ปุกพูดแสดงความคิดเห็นโดยใชถอยคํากระโชกโฮกฮาก ข. แกวพูดแสดงความคิดเห็นตามที่เพื่อนบอก เพื่อใหเพื่อนพอใจ ค. โอพูดแสดงความคิดเห็นเขาขางเพื่อนสนิทของตนเอง ง. ตอมพูดแสดงความคิดเห็นตามความเปนจริง

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ง. การพูดแสดงความคิดเห็นควรแสดง ความคิดเห็นตามความเปนจริง ไมลําเอียง และพูดดวยถอยคําสุภาพ การที่ตอมพูดแสดงความคิดเห็นตามความเปนจริง จึงเปนการกระทํา ที่เหมาะสม

นักเรียนควรรู 1 ลําเอียง หมายถึง เขากับฝายใดฝายหนึ่ง ไมวางตัวเปนกลาง

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายใหนักเรียนทราบเรื่อง คําขอบคุณของประเทศตางๆ ในอาเซียน ดังนี้ • ประเทศมาเลเซีย สิงคโปร และบรูไน ใชวา ตรีมอกาเซะ • ประเทศอินโดนีเซีย ใชวา เทอริมากาซิ • ประเทศฟลิปปนส ใชวา มารามิงสลามัต • ประเทศพมา ใชวา เจซูติน บาแด • ประเทศกัมพูชา ใชวา ออกุน • ประเทศลาว ใชวา ขอบใจ • ประเทศเวียดนาม ใชวา กามเอิน คูมือครู

15


, ป.๒/๖

กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนดูวีดิทัศนละครทางโทรทัศนเรื่อง ตางๆ เกี่ยวกับการพูดอยางมีมารยาท และการพูดที่ไมมีมารยาท 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา การพูดแบบใดที่จัด วามีมารยาทในการพูด พรอมบอกเหตุผล ประกอบ 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับ มารยาทในการพูด โดยใหนักเรียนดูขอมูล ในหนังสือ หนา 16 ประกอบ 4. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.2 ✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ ภาษาไทย ป.2 ประเมินตัวชี้วัด มฐ. ท 3.1 ป.2/7 ๕. ขีด ✓ ลงใน ขางภาพที่เปนการกระทําที่มีมารยาท ในการพูด แลวเขียนบรรยายภาพสั้นๆ ลงในชองวาง ๑)

อธิบายความรู

˹٪‹Ç¶×ͧ͢ äËÁ¤Ð¤Ø³¤ÃÙ

๓)

มฐ. ท ๓.๑ ป. ๒/๗

พูดโดยใช ตะโกนคุยขาม ถอยคําสุภาพ ๔)ศีรษะผูอื่น ๒)

มารยาทของการพูด มารยาทของการพูด ควรปฏิบัติ ดังนี้ ๑. ใชนํ้าเสียงนุมนวล ไมพูดจากระโชกโฮกฮาก 1 2 ๒. ใชถอยคําสุภาพไพเราะ เหมาะสมแกกาลเทศะ ๓. ไมพูดแทรกในขณะที่ผูอื่นกําลังพูดอยู ๔. กลาวคําขอโทษเมือ่ พูดผิด และกลาวคําขอบคุณเมือ่ ไดรับการยกยองชมเชยโดยพูดอยางจริงใจ ๕. ไมแสดงกิริยาที่ไมเหมาะสมขณะพูด เชน หาว เรอ แลบลิ้น เปนตน ๖. ไมพูดในขณะที่มีอาหารอยูในปาก และไมควรพูด ขามศีรษะผูอื่น ๗. ใชคําลงทายในการพูดใหเหมาะสม เชน เด็กผูหญิง ใชคําลงทายวา “คะ” “คะ” เด็กผูชายใชคําลงทายวา “ครับ”

เฉลย

˹٪‹Ç¶×ͧ͢ãËŒäËÁ¤Ð ¤Ø³¤ÃÙ

พูดดวยใบหนา พูดตะโกน ยิ้มแยม เสียงดังมาก ๑๕

๑๖

นักเรียนควรรู 1 กระโชกโฮกฮาก หมายถึง อาการพูดกระชากเสียง หรือพูดกระแทกเสียง ซึ่งไมนาฟง และอาจทําใหผูฟงเกิดความไมชอบใจและไมอยากพูดดวย 2 กาลเทศะ หมายถึง เวลาและสถานที่

ขอสอบเนน การคิด แนว NT ถึงบางพูดพูดดีเปนศรีศักดิ์ แมนพูดชั่วตัวตายทําลายมิตร

มีคนรักรสถอยอรอยจิต จะชอบผิดในมนุษยเพราะพูดจา

นิราศภูเขาทอง : สุนทรภู

จากบทกลอนที่ยกมา แสดงใหเห็นถึงมารยาทในการพูดอยางไร

มุม IT ครูชมละครโทรทัศนเรื่องตางๆ ไดที่ http://www.youtube.com โดยคนหา (search) ชื่อละครที่ตองการ จะปรากฏละครใหชม

16

คูมือครู

แนวตอบ ในการพูดควรพูดโดยใชถอยคําสุภาพไพเราะ ซึ่งจะทําใหผูฟง ชื่นชอบและอยากพูดดวย แตถาพูดไมสุภาพ ก็ทําใหไมมีใครอยากพูดดวย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ กิจกรรมรวบยอด

ชวนกันอาน ชวยกันตอบคําถาม ๑. รวมกันอานออกเสียงบทอานตามคุณครู ๒. ตอบคําถามจากบทอาน ดังนี้ ๑) การกลาวทักทายกัน มีประโยชนอยางไร ๒) ถานักเรียนพบเพื่อนใหม ควรทําอยางไร ๓) เราสามารถทักทายผูอื่นดวยวิธีใดไดบาง ชวนกันคิดและวาด คิด และวาดรูปตางๆ โดยใช ตัวอักษรไทย จากนั้นระบายสีใหสวยงาม แลวนําผลงาน ไปติดที่ปายนิเทศ ●

Expand

1. ใหนักเรียนจับคูกัน แลวผลัดกันฝกพูด ในโอกาสตางๆ 2. ใหนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องมารยาทในการพูด โดยเขียนเปนแผนผังความคิดและตกแตง ใหสวยงาม

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัดของนักเรียน โดยพิจารณาจากการบอกคําพูดในโอกาส ตางๆ และบอกมารยาทในการพูดไดถูกตอง และเหมาะสม 2. ครูตรวจสอบการพูดในโอกาสตางๆ ของนักเรียน โดยพิจารณาจากการพูด ไดชัดเจน ใชคําพูดอยางเหมาะสม และมีมารยาทในการพูด

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แบบประเมินการอานออกเสียงคํา ประโยค และขอความในวรรณกรรม 2. ผลงานการวาดรูปโดยใชตัวอักษรไทยประกอบ 3. แบบประเมินการพูดในโอกาสตางๆ 4. แบบฝกหัด ภาษาไทย ป.2 5. ผลการเขียนคําตามคําบอก

ชวนกันเขียน ฝกเขียนเลขไทยใหสวยงาม ชวนกันปฏิบัติ จับคูกับเพื่อน แลวผลัดกันฝก การพูดในโอกาสตางๆ ●

๑๗

คําในขอใด มีการใชสระแปลงรูป ก. แข็ง ข. โรย ค. ลืม ง. วัว

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ก. แข็ง มีพยัญชนะ ข ประสมกับสระ แ-ะ แลวมี ง สะกด จึงแปลงรูป -ะ เปน -็ สวน ขอ ข. ประสมกับ สระ โขอ ค. ประสมกับ สระ -ื ขอ ง. ประสมกับ สระ -ัว

เกร็ดแนะครู ใหนักเรียนทําแบบทดสอบที่ 1 ในแบบฝกหัดภาษาไทย ป.2 หนา 16 เพื่อวัดความรูที่ไดเรียนมาในหนวยการเรียนรูที่ 1 หากนักเรียนไดคะแนนในการทําแบบทดสอบไมผานเกณฑ ใหครูสอนซอมเสริม ในเรื่องนั้นๆ จนนักเรียนเขาใจดีขึ้น

คูมือครู

17


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.