8858649121646

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

รายวิชา

หลักภาษา และการใชภาษา

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

6


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู ภาษาไทย ม.6 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผนและเตรียมการสอน โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย ม.6 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) เสร�ม ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู 2 ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน

คูมือครู ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.6 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรู ที่ระบุไวในมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation)ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปน เปาหมายการเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนได อยางมั่นใจ

นรู

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รีย า รเ

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ

แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง คูม อื ครู


1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเ ดิม

2) ความรูเดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นักเรียนสรางความหมายสําหรับ ตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหนักเรียน นํ า ข อ มู ล ความรู  ที่ ไ ด ไ ปลงมื อ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า งถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นั ก เรี ย น เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวนักเรียนมากที่สุด

เสร�ม

3

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด

การเรียนรูของนักเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมองซึ่งทําหนาที่รูคิด ภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และ ไดรับการกระตุนจูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการ เรียนรูและสาระการเรียนรูที่มีความหมายตอผูเรียนนั้น จะชวยกระตุนใหสมองรับรูและสามารถเรียนรูไดอยางมี ประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรี ย นรู  แ ละสื บ ค น โดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณ ค า ของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้ อ หาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรู หรือประสบการณเดิมที่ถูก จัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรอง เพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจ ใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะ ฝงแนนในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดั บ ลั ก ษณะการคิ ด ได แ ก 3) ระดั บ กระบวนการคิ ด ได แ ก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน คูม อื ครู


4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเสริมสราง ทักษะที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวิตในสังคมทองถิ่นของผูเรียนอยางมีความสุข และเปนการ เสร�ม เตรียมความพรอมดานกําลังคนใหมีทักษะพื้นฐาน และศักยภาพในการทํางานเพื่อการแขงขันและกาวสูประชาคม 4 อาเซียนหรือประชาคมโลกตอไป 4.1 ทักษะพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนในรายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณ เรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคู ไปกับการเรียนการสอนดานวิชาการ โดยฝกทักษะสําคัญตามที่สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควา แหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลด ความเสี่ยงในการลงทุน และเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิตและการจัดจําหนายโดยนักเรียนคิดตนทุน กําไร ดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุมโดยมีจิตอาสา เพื่อสวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอ ยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชื่อมั่น ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมิใจในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนทีใ่ หผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ทิ กั ษะดังกลาว จะชวยใหผเู รียนไดรบั ประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพ เขาสูตลาดแรงงานในอนาคต 4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให นักเรียนมีการพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะตามเปาหมายของหลักสูตร การพัฒนาผูเรียน ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ การฝกปฏิบัติ และเนนการวัดประเมินผลจากการปฎิบัติตามสภาพจริง ดวยวิธีการที่จัดกิจกรรมการบูรณาการ ใหเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเรียน สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดของกลุมสาระตางๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทยมุง เนนการพัฒนาใหผเู รียนมีความรูค วามสามารถในการใชภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร เปนเครื่องมือในการเรียนรู การแสวงหาความรูและประสบการณตางๆ เพื่อพัฒนาความรู กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม และความกาวหนาทาง

คูม อื ครู


วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่ สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู เสร�ม ตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ 5 ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ ทุกอาชีพ และเปนการปูทางไปสูอาชีพเฉพาะเกี่ยวกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ นักวิจารณ เปนตน 2. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงเนนการพัฒนาผูเรียนในการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู พัฒนาวิธีการคิด ทั้งความคิดที่เปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหาที่หลากหลาย เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี นําความรูไปใชอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม และอยูในสังคมแหงการเรียนรู ไดอยางเหมาะสม โดยมีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน ว 1.1 ม.1/13 อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุง พันธุและเพิ่มผลผลิตของพืช และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.1 ม.2/4 อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุง พันธุและเพิ่มผลผลิตของสัตว และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยีชวี ภาพทีม่ ตี อ มนุษย และสิง่ แวดลอม และนําความรูไปใชประโยชน การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพที่ เกี่ยวกับเกษตรกร วิทยาศาสตร การเกษตร นักวิจัย เปนตน 3. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับการดํารงชีวติ ของมนุษย การอยูร ว มกันในสังคมทีม่ คี วามเชือ่ มโยงสัมพันธกนั มีความแตกตางกัน อยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยใหสามารถปรับ ตนเองกับบริบท และสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมที่ เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอทิ ธิพลของวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทยใน ปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของ ภูมิปญญาดังกลาว ตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา คูม อื ครู


ส 4.3 ม.3/3

วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการ พัฒนาชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย เสร�ม การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพืน้ ฐาน และสรางเจตคติตอ อาชีพ 6 เกีย่ วกับภูมปิ ญ ญาไทยในทองถิน่ เชน นักโบราณคดี นักประวัตศิ าสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา จักสาน นักดนตรีไทย การทําขนมหรืออาหารไทย ฯลฯ และเปนรากฐานของการศึกษาเพื่อพัฒนาตอยอดอาชีพ ที่มีฐานของภูมิปญญาไทย 4. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะทีจ่ าํ เปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยางหลากหลาย รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัดและความสนใจ มาตรฐาน และตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสวนใหญมีลักษณะเปนทักษะกระบวนการทํางาน ซึง่ ผูส อนสามารถจัดเนือ้ หาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเ รียนและทองถิน่ ได เพือ่ พัฒนา ไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรค และมีทักษะการทํางานรวมกัน ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม ง 4.1 ม.2/3 มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ง 4.1 ม.3/3 ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และ ความสนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทัง้ อาชีพในกลมุ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และการบริหาร จัดการและการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เพือ่ เปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองตามนโยบายการจัดการเรียนการสอน พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในสาระภาษาไทย ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมดานพื้นฐานอาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณการทํางาน แกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมยของ พ.ร.บ. การศึกษาฯ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุใหการจัดการศึกษาตองปลูกฝง ใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนมี ความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพื่อการดํารงชีวิต การศึกษาตอและ การประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต คูม อื ครู


5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E

รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ เสร�ม ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage)

7

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราว หรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกต และรวมมือกันสํารวจ เพื่อใหเห็นปญหา รวมถึงวิธีการศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนไดคนหา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่ชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

คูม อื ครู


ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขั้นที่ผูสอนประเมินมโนทัศนของผูเรียน โดยตรวจสอบจากความคิดที่เปลี่ยนไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่นเพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

เสร�ม

8

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูป การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ

9

ตรวจสอบผล

Expand

เสร�ม

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ เปาหมาย การเรียนรู หลักฐาน แสดงผล การเรียนรู เกร็ดแนะครู นักเรียนควรรู @

มุม IT

NET

ขอสอบ

B

พื้นฐานอาชีพ

B

บูรณาการ สูอาเซียน

วัตถุประสงค • แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียนตองบรรลุตามตัวชี้วัด •

แสดงรองรอยหลักฐานที่แสดงผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการจัดการเรียนการสอน

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหนักเรียนไดมีความรูมากขึ้น

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย

วิเคราะหแนวขอสอบ O-NET เพื่อใหครูเนนยํ้าเนื้อหา ที่มักออกขอสอบ O-NET

กิจกรรมสําหรับครูเพื่อใชเปนแนวทางในการชวยพัฒนาอาชีพใหกับนักเรียน

ขยายความรู แนะนํากิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนใหมีความพรอม สําหรับเขาสูประชาคมอาเซียน

• ขอสอบ O-NET พิจารณาออก ขอสอบจากเนื้อหา ม.4, 5 และ 6

คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.4 - 6)* สาระที่ 1 การอาน

เสร�ม มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน 10 ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4 - 6 1. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองได

• การอานออกเสียง ประกอบดวย - บทรอยแกวประเภทตางๆ เชน บทความ นวนิยาย และความเรียง

2. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อาน

• การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - ขาวสารจากสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส

อยางถูกตอง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่อาน

3. วิเคราะหและวิจารณเรื่องที่อานในทุกๆ ดานอยางมี • แหลงเรียนรูตางๆ ในชุมชน เหตุผล - บทความ 4. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน และประเมินคา - นิทาน เพื่อนําความรู ความคิดไปใชตัดสินใจแกปญหาใน - เรือ่ งสั้น การดําเนินชีวิต - นวนิยาย 5. วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงเกี่ยวกับ - วรรณกรรมพื้นบาน เรื่องที่อานและเสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล - วรรณคดีในบทเรียน 6. ตอบคําถามจากการอานงานเขียนประเภทตางๆ - บทโฆษณา ภายในเวลาที่กําหนด - สารคดี 7. อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิด - บันเทิงคดี ผังความคิด บันทึก ยอความ และรายงาน - ปาฐกถา 8. สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ - พระบรมราโชวาท สื่ออิเล็กทรอนิกสและแหลงเรียนรูตางๆ มาพัฒนา - เทศนา ตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ - คําบรรยาย - คําสอน - บทรอยกรองรวมสมัย - บทเพลง - บทอาเศียรวาท - คําขวัญ 9. มีมารยาทในการอาน

• มารยาทในการอาน

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ กนกลาง กลุม สาระ ภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7 - 59. คูม อื ครู


สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4 - 6 1. เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ ได ตรงตาม

วัตถุประสงค โดยใชภาษาเรียบเรียงถูกตอง มีขอมูล และสาระสําคัญชัดเจน

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การเขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ เชน - อธิบาย - บรรยาย - พรรณนา - แสดงทรรศนะ - โตแยง - โนมนาว - เชิญชวน - ประกาศ - จดหมายกิจธุระ - รายงานการประชุม - การกรอกแบบรายการตางๆ - โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ

2. เขียนเรียงความ

• การเขียนเรียงความ

3. เขียนยอความจากสื่อที่มีรูปแบบและเนื้อหา หลากหลาย

• การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน - กวีนิพนธ และวรรณคดี - เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบาน

4. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ

• การเขียนในรูปแบบตางๆ เชน - สารคดี - บันเทิงคดี

5. ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางาน เขียนของตนเอง

• การประเมินคุณคางานเขียนในดานตางๆ เชน - แนวคิดของผูเขียน - การใชถอยคํา - การเรียบเรียง - สํานวนโวหาร - กลวิธีในการเขียน

เสร�ม

11

6. เขียนรายงานการศึกษาคนควาเรื่องที่สนใจตาม • การเขียนรายงานเชิงวิชาการ หลักการเขียนเชิงวิชาการ และใชขอมูลสารสนเทศ • การเขียนอางอิงขอมูลสารสนเทศ อางอิงอยางถูกตอง 7. บันทึกการศึกษาคนควาเพื่อนําไปพัฒนาตนเอง อยางสมํ่าเสมอ

• การเขียนบันทึกความรูจากแหลงเรียนรู ที่หลากหลาย

8. มีมารยาทในการเขียน

• มารยาทในการเขียน

คูม อื ครู


สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูส กึ ในโอกาส ตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค เสร�ม

12

ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4 - 6 1. สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟง และดู

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การพูดสรุปแนวคิดและการแสดงความคิดเห็นจาก เรื่องที่ฟงและดู

2. วิเคราะหแนวคิด การใชภาษา และความนาเชื่อถือ • การวิเคราะหแนวคิด การใชภาษา และความนาเชือ่ ถือ จากเรื่องที่ฟงและดู จากเรื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล 3. ประเมินเรื่องที่ฟงและดู แลวกําหนดแนวทางนําไป • การเลือกเรื่องที่ฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ ประยุกตใชในการดําเนินชีวิต • การประเมินเรื่องที่ฟงและดูเพื่อกําหนดแนวทาง 4. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟงและดู นําไปประยุกตใช

คูม อื ครู

5. พูดในโอกาสตางๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาวใจ และเสนอแนวคิดใหมดวยภาษา ถูกตองเหมาะสม

• การพูดในโอกาสตางๆ เชน - การพูดตอที่ประชุมชน - การพูดอภิปราย - การพูดแสดงทรรศนะ - การพูดโนมนาวใจ

6. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

• มารยาทในการฟง การดู และการพูด


สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4 - 6 1. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และ ลักษณะของภาษา

สาระการเรียนรูแกนกลาง • ธรรมชาติของภาษา • พลังของภาษา • ลักษณะของภาษา - เสียงในภาษา - สวนประกอบของภาษา - องคประกอบของพยางคและคํา

เสร�ม

13

2. ใชคําและกลุมคําสรางประโยคตรงตามวัตถุประสงค • การใชคําและกลุมคําสรางประโยค - คําและสํานวน - การรอยเรียงประโยค - การเพิ่มคํา - การใชคํา - การเขียนสะกดคํา 3. ใชภาษาเหมาะสมแกโอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคําราชาศัพทอยางเหมาะสม

• ระดับของภาษา • คําราชาศัพท

4. แตงบทรอยกรอง

• กาพย โคลง ราย และฉันท

5. วิเคราะหอทิ ธิพลของภาษาตางประเทศและภาษาถิน่ • อิทธิพลของภาษาตางประเทศและภาษาถิ่น 6. อธิบายและวิเคราะหหลักการสรางคําในภาษาไทย

• หลักการสรางคําในภาษาไทย

7. วิเคราะหและประเมินการใชภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส

• การประเมินการใชภาษาจากสื่อสิ่งพิมพและสื่อ อิเล็กทรอนิกส

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เสร�ม รหัสวิชา ท…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง/ป

14

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและวรรณกรรมโดยฝกทักษะ เกี่ยวกับอานออกเสียง ตีความ แปลความ และขยายความ คาดคะเนเหตุการณเรื่องที่อาน วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็น โตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน และเสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล ฝกทักษะการเขียนบรรยาย เขียนพรรณนา เขียนโนมนาว เขียนโครงการและรายงานการดําเนินโครงการ เขียนรายงานการประชุม ประเมินคุณคางานเขียนในดานตางๆ ฝกทักษะการพูด สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู ประเมินเรื่องที่ฟงและดู และศึกษาเกี่ยวกับระดับของภาษา วิเคราะหวิถีไทย ประเมินคา ความรูและขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่องขุนชางขุนแผน เรื่องกาพยเหเรือ เรื่องไตรภูมิพระรวง ทองจําบทอาขยานที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพือ่ สรางความรูค วามคิดนําไปใชตดั สินใจแกปญ หาในการดําเนินชีวติ กระบวนการเขียนเขียนสือ่ สาร อยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง ดู และพูดแสดงความรูความคิดอยางมีวิจารณญาณ และสรางสรรค เพื่อใหเขาใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา วิเคราะห วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติและมีนิสัย รักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพู แล ด

ตัวชี้วัด ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1

ม.4 - 6/2 ม.4 - 6/1 ม.4 - 6/1 ม.4 - 6/3 ม.4 - 6/1

รวม 16 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ม.4 - 6/4 ม.4 - 6/4 ม.4 - 6/2 ม.4 - 6/4 ม.4 - 6/2

ม.4 - 6/6 ม.4 - 6/3 ม.4 - 6/3

ม.4 - 6/4

ม.4 - 6/5

ม.4 - 6/6


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 รหัสวิชา ท…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง/ป เสร�ม

15

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและวรรณกรรมโดยฝกทักษะ เกี่ยวกับอานออกเสียง ตีความ แปลความ และขยายความ คาดคะเนเหตุการณเรื่องที่อาน วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็น โตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน และเสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล ฝกทักษะการเขียนบันเทิงคดี ประเมินคุณคางานเขียนในดาน ตางๆ ฝกทักษะการพูดในโอกาสตางๆ และศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลของภาษาตางประเทศ การแตงบทรอยกรองประเภทฉันท วิเคราะหวิถีไทย ประเมินคา ความรูและขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่องสามกก เรื่องไตรภูมิพระรวง ทองจํา บทอาขยานที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพือ่ สรางความรูค วามคิดนําไปใชตดั สินใจ แกปญ หาในการดําเนินชีวติ กระบวนการเขียนเขียนสือ่ สาร อยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง ดู และพูดแสดงความรูความคิดอยางมีวิจารณญาณ และสรางสรรค เพื่อใหเขาใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา วิเคราะห วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในช นชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติและมีนิสัย รักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพู และการพูด

ตัวชี้วัด ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1

ม.4 - 6/7 ม.4 - 6/5 ม.4 - 6/5 ม.4 - 6/5 ม.4 - 6/1

ม.4 - 6/8

ม.4 - 6/9

ม.4 - 6/6 ม.4 - 6/2

ม.4 - 6/3

ม.4 - 6/4

ม.4 - 6/5

ม.4 - 6/6

รวม 13 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ Á.6

คูม อื ครู มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 3.1

สาระที่ 3

สาระที่ 4 ตัวชี้วัด

✓ ✓✓

✓ ✓ ✓ ✓✓✓ ✓✓ ✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6

สาระที่ 2

สาระที่ 1

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้น ม.6 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.4 และ ม.5

ตอนที่ 1 : การอาน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การอานวินิจสาร หนวยการเรียนรูที่ 2 : การอานในชีวิตประจําวัน ตอนที่ 2 : การเขียน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การเขียนเพื่อสื่อสาร หนวยการเรียนรูที่ 2 : การเขียนบันเทิงคดี หนวยการเรียนรูที่ 3 : การประเมินคุณคางานเขียน ตอนที่ 3 : การฟง การดู การพูด หนวยการเรียนรูที่ 1 : การฟงและดูอยางมี ประสิทธิภาพ หนวยการเรียนรูที่ 2 : การพูดอภิปราย การพูด แสดงทรรศนะ และการโตแยง ตอนที่ 4 : หลักการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่ 1 : ระดับภาษาและอิทธิพล ของการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่ 2 : การแตงคําประพันธ ประเภทฉันท

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

16

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

ตาราง

เสร�ม


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ม.๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นายภาสกร เกิดออน นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ นางฟองจันทร สุขยิ่ง นางกัลยา สหชาติโกสีย นายศานติ ภักดีคํา นายพอพล สุกใส

ผูตรวจ

นางจินตนา วีรเกียรติสุนทร นางวรวรรณ คงมานุสรณ นายศักดิ์ แวววิริยะ

บรรณาธิการ

นายเอกรินทร สี่มหาศาล นางประนอม พงษเผือก

คณะผูจัดทําคูมือครู ประนอม พงษเผือก พิมพรรณ เพ็ญศิริ สมปอง ประทีปชวง พิมพครั้งที่ ๒

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๓๖๑๑๐๐๓ รหัสสินคา ๓๖๔๑๐๐๖

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Explain

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน หลักภาษาและการใชภาษาเลมนี้ เปนสื่อสําหรับใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวยพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียน การสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําใหผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

วยคําเติมหนาและ วธิ กี ารสรางคําใหมดว ยการเตมิ หน ชในภาษาไทย ๒.๔) เปนคําแผลง ภาษาเขมรมี ภาษาเขมรที่ใ ียกวา “คําแผลง” คําที่ยืมมาจาก หนวยคําเติมกลาง ซึ่งในภาษาไทยเร สําเร็จ (เสร็จ) กําลัง (ขลัง) ดํารัส (ตรัส) เปนตน ย เชน ภาษาไทยมักนํา จึงมีคําที่ยืมมาจากคําแผลงดว ัพท คําที่ยืมมาจากภาษาเขมรใน ๒.๕) นิยมนํามาใชเปนคําราชาศ ร เสวย ขนอง เปนตน ไทยดวย เชน บัณฑู มาใชเปนคําราชาศัพทในภาษา ษาไทย o-Polynesian) หรือ ๓.๓ ภาษาชวา-มลายู ในภา ูลมาลาโย-โพลินีเชียน (Malay ภาษาชวา-มลายู เปนภาษาในตระก าไทยสามารถจําแนก ในภาษ ู ออสโตรนีเชียน (Austronesian) มลาย กภาษาชวา๑) อิทธิพลของคําทีย่ มื มาจา น่ ใต เชน กาหยู (มะมวงหิมพานต) ฆง (ขาวโพด) ในภาษาไทยถิ ออกเปน ๓ กลุม คือ กลุม ทีร่ บั มาใช คือคําที่รับมาใชในภาษาไทยทั่วไป เชน กริช กัญชา กําปน ที่ ๒ หลุด (ดินโคลน) เปนตน กลุม ณคดี เชน ยิหวา ปนจุเหร็จ คือคํายืมภาษาชวา-มลายู ในวรร วิรงรอง เปนตน กลุมสุดทาย กระยาหงัน ตุนาหงัน เปนตน

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ตอนที่ ๑

๏ จึงเห็นจารึกอักษร ชื่อหยังหยังหนึ่งหรัดอินดรา อิเหนาเองหยังตาหลา ดาหยังอริราชไพรี

ÃàÃÕ¹ÃÙŒ

การอาน

หนวยการเรียนรูที่

เปนปจจัยสําคัญของการแสวงหา ความรู มีความจําเปนตอการเรี ยนรู ในขั้นสูงและสงผลตอการประกอบอาช ีพ ในอนาคต ฉะนั้น การอานจึงเป นทักษะสําคัญ ที่จะทําใหไดรับรูขอมูลตางๆได อยางกวางขวาง

ò

สาระการเรียนรูแกนกลาง

การอานจับใจความจากสื่อตางๆ

สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู ตางๆ มาพัฒนาตน ทางอาชีพ (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘)

๑๗๒

EB GUIDE

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§Ï µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ ࢌÒ㨧‹ÒÂ

๖.  ประเมินผล ตัวชี้วัดความส�าเร็จ

เป้าหมายตัวชี้วัด

งบประมาณ

ก�าหนดเวลา

เครื่องมือที่ใช้ประเมิน

ผู้ขออนุมัติโครงการ  ลงชื่อ    (..........................................................)    ต�าแหน่ง.....................................................

ฐานันดรของ ผูร้ บ ั ฟัง

ก�าหนดเวลาประเมิน

ai_Gra/M6/12

ต�าแหน่ง.....................................................

ค�าลงท้าย

167

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ ¢ŒÍÁÙÅà¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online ¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹ÇÂà¾×Íè ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹䴌½¡ƒ ¤Ô´áÅзº·Ç¹ ¤ÇÒÁÃÙŒ áÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ à¾×èÍ ª‹Ç¾Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒºÃÃÅؼÅÊÑÁÄ·¸ÔìµÒÁµÑǪÕéÇÑ´

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. การอานแปลความ ตีความและขยายความมีความสัมพันธกันอยางไร ๒. หลักเกณฑของการอานแปลความ ตีความและขยายความมีความแตกตางกัน อยางไร ๓. ผูที่มีมารยาทในการอานจะตองมีลักษณะอยางไรและจะสงผลดีตอผูปฏิบัติอยางไร ๔. การอานคาดคะเนเหตุการณและประเมินคามีความสําคัญตอการอานอยางไร ๕. หลักการอานประเมินคามีแนวทางการพิจารณาอยางไร อธิบายพอสังเขป

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. นักเรียนเลือกขาวที่นาสนใจจากหนังสือพิมพมา ๑ เรื่อง แลวพิจารณาอาน แปลความ ตีความและขยายความ แลวรวบรวมสงครูผูสอน ๒. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ - ๖ คน โดยใหแตละกลุมเลือกบทความสารคดี ประเภททองเที่ยวที่นักเรียนสนใจมาอานเพื่อคาดคะเนเหตุการณและประเมินคา ของบทความสารคดีนั้นและอภิปรายในชั้นเรียนใหเพื่อนฟง

(๔) ผลการศึกษาการด�าเนิ นงานโครงการ ประกอบ ด้วย ๑. ผล ข้อมูลในรายละเอียดเพื่อ การดา� เนินงานโครงการ ผูเ้ ขียนรายงานจะน�าเสนอ ตอบวัตถุประสงค์ของกา ผลการวิเคราะห์ รศึก ข้อมูลจะยึดวัตถุประสง ค์ของการประเมินเป็นหลั ษาแต่ละข้อ การน�าเสนอผลการวิเคราะห์ ก โดยจะเสนอผลตอบไป จากข้อแรกถึงข้อสุดท้าย ทีละวัตถุประสงค์ ภายใต้วัตถุประสงค์แต่ล ะข้อ ข้อมูลอาจมาจากกลุ ๑ กลุ่มก็ได้ ่มตัวอย่างมากกว่า ๒. อภ ว่าเหตุใดผลการด�าเนินงานโค ิปรายผลการด�าเนินงาน ส่วนนี้จะเป็นการอภิ ป รงกา รจึ ง เป็ น เช่ น นี้ สอดคล้องกับหลักทฤษฎ รายผลการศึกษา ขัดแย้งกับผลการวิจัยของใ ีใดบ้าง สอ ครบ้ เอกสาร (ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู างที่ได้รวบรวมไว้ในหัวข้อการทบทวนวรรณกรรม ดคล้องหรือ ่ในบทที่ ๒ ของรายงานการ หรือ ยอมรับหรือปฏิเสธสมมติ วิจัย) รวมถึงการทดสอบ การตรวจ ฐาน สมมติฐานว่า

ผู้เห็นชอบโครงการ ลงชื่อ    (..........................................................)  ต�าแหน่ง..................................................... ผู้อนุมัติโครงการ ลงชื่อ    (..........................................................)

สรรพนาม

http://www.aksorn.com/LC/Th

สรรพส ์ าระ

ผู้รับผิดชอบ

ค�าขึน ้ ต้น

พระมหากษัตริย์ ขอเดชะฝ บุรษุ ที่ ๑ : ข้าพระพุทธเจ้า ด้วยเกล้ สมเด็จพระบรมราชินนี าถ พระบาท ่าละอองธุลี าด้วยกระหมอ่ ม ปกเกล้า บุรุษที่ ๒ : ขอเดชะ ปกกระหม่อม ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท สมเด็จพระบรมราชินี ขอพระร าชทานก ราบ บุรษุ ที่ ๑ สมเด็จพระบรมบังคมทูล ทราบฝ่าละออง บุรุษที่ ๒: ข้าพระพุทธเจ้า ด้วยเกล้าด้วยกระหมอ่ ม : โอรสาธิราชฯ หรือ ควรมิ พระบาท ใต้ฝ่าละอองพระบาท จะทรงพ ควรแล้วแต่ สมเด็จพระเทพรัตนระกรุณาโปรด ราชสุดาฯ เกล้าโปรดกระหม่อม พระบรมวงศ์ชั้น ขอพระราชทานกราบทูล บุรษุ ที่ ๑ : ข้ า พระพุ สมเด็จเจ้าฟ้า ทธเจ้า ควรมิค ทราบฝ่าพระบาท บุรษุ ที่ ๒ : ใต้ฝา่ พระบาท โปรดเกลวรแล้วแต่จะ า้ โปรดกระหม่อม พระบรมวงศ์ชั้น ขอประทานกราบทูล บุรษุ ที่ ๑ : ข้าพระพุทธเจ้า ควรมิค พระองค์เจ้า ทราบฝ่าพระบาท บุรษุ ที่ ๒ : ใต้ฝา่ พระบาท โปรดเกลวรแล้วแต่จะ า้ โปรดกระหม่อม พระอนุวงศ์ชั้นพระเจ้า กราบทูล บุ ร ษ ุ ที ่ ๑ : วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ทราบฝ่ ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด าพระบาท เกล้ากระหม่อม (ช.) (ที่ไม่ได้ทรงกรม) และ เกล้ากระหม่อมฉัน (ญ.) พระวรวงศ์เธอ พระองค์ บุรุษที่ ๒ : ฝ่าพระบาท เจ้า (ที่ทรงกรม) พระอนุวงศ์ชั้น ทูล ทราบฝ่าพระบาท บุรษุ ที่ ๑ : กระหม่อม (ช.) ควรมิควรแล้วแต่ พระวรวงศ์เธอ พระองค์ จะโปรด หม่อมฉัน (ญ.) เจ้า (ที่ไม่ได้ทรงกรม) บุรุษที่ ๒ : ฝ่าพระบาท พระอนุวงศ์ชนั้ หม่อมเจ้า ทูล ฝ่าพระบาท บุรษุ ที่ ๑ : กระหม่อม (ช.) แล้วแต่ จะโปรด หม่อมฉัน (ญ.) บุรุษที่ ๒ : ฝ่าพระบาท สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ขอประท บุรษุ ที่ ๑ : ข้าพระพุทธเจ้า ควรมิค สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ทราบฝ่ านกราบทูล าพระบาท บุรษุ ที่ ๒ : ใต้ฝา่ พระบาท โปรดเกลวรแล้วแต่จะ า้ โปรดกระหม่อม สมเด็จพระสังฆราช กราบทูล บุรุษที่ ๑ : ปัจจุบันได้แก่ ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด ทราบฝ่าพระบาท เกล้ากระหม่อม (ช.) สมเด็จพระญาณสังวร เกล้ ากระหม่อมฉัน (ญ.) สมเด็จพระสังฆราช บุรุษที่ ๒ : ฝ่าพระบาท สกลมหาสังฆปริณายก

เทคนิคการเขียนรายงานโ ๑. ภาษาที่ใช้เขียนถูกต้ ครงการ องตามหลักไวยากรณ์ ไม่ใช้ภาษาพูด มีความชั ความง่าย มีความสอดคล ดเจน ตรงประเด็น สื่อ ้องกันตั้งแต่ต้นจนจบ ๒. เขยี นตามข้อเท็จจริ งของหลกั วิชาการในการว จิ ยั ไม่เขียนตามความคิ ๓. มีรูปแบบที่แน่นอน ต้ ดของผูจ้ ดั ท�าโครงการ องเขียนตามล�าดับขั้นตอน ๔. หลีกเลี่ยงการเขียนค� าสรรพนามที่เกี่ยวกับตั ต้องเขียนให้ใช้ค�าว่า “ผู วผู้เขียน เช่น ข้าพเจ้า ้รายงานโครงการ” แทน ดิฉัน ผม ถ้าจ�าเป็น ๕. ในการอ้างอิงถึงสิง่ อืน่ หรือข้อมูลอืน่ ต้องท� าตามหลักการ คอื ต้องมี บอกแหล่งที่มาซึ่งเชื่อถื อได้และใช้รูปแบบการอ้ หลักฐานเอกสารอา้ งอิง างอิงซึ่งเป็นที่ยอมรับ นอก ตาราง แผนภมู ิ แผนภาพปร จากนี้ การเขียนอธิบายโดย ะกอบ จะช่วยให้ผอู้ า่ นเข้ ใช้ าใจได้ดขี นึ้ แต่ตอ้ งระวั งไม่ให้มมี ากเกินความจ� าเป็น

ผลผลิต ผลลัพธ์

¹íÒàʹÍà¹×éÍËÒã¹ÃٻẺµÒÃÒ§ à¾×èÍãËŒ§‹Òµ‹Í¡Ò÷íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨

ข้อมูล ตั้งแต่การติดต่อประส านงาน การขออนุญาต ก ตอบแก่กลุ่มตัวอย่าง กา ารนัดหมายกลุ่มตัวอย่าง การ รนัดรั เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมด บแบบสอบถามกลับคืน (กรณีแบบสอบถาม) รวม อธิบายวิธีการ ระยะเวลาในการ ๔. กา รวบรวมข้อมูลกลับมาแล รวิเคราะหข์ อ้ มูล ในการเขียนส่วนนีผ้ รู้ ายงานควรอ ้วได้ด ธิบ ข้อมูลตามกลุ่มตัวอย่าง วิ �าเนินการอย่างไรบ้าง เช่น ตรวจสอบความสมบู ายว่าหลังจาก รณ์ของข้อมูล แยก เคราะห์ข้อมูล ว่าส่วนใดว ิเคราะห์อย่างไร ใช้สถิติอ ะไรบ้าง เป็นต้น

... .................... ......................................................... ......................................................... ....................................... ......................................................... ................... ................... ................... ....... แผนงาน .......................................................... ......................................................... ................... ................... ......................................................... ........................... สนองนโยบาย ....................................... ......................................................... ......................................................... หน่วยงานที่รับผิดชอบ ..................................... .................................................. ......................................................... ................... ................... .............................. ผู้รับผิดชอบ .......................................................... ......................................................... ......................................................... ระยะเวลาด�าเนินการ ..................................... .......................................... ......................................................... ......................................................... ....................................... ๑.  หลักการและเหตุผล .................. ......................................................... ................... ................... ................... ........................... ๒.  วัตถุประสงค์ ...................................... ......................................................... ......................................................... ............ ๓.  เป้าหมาย .......................................................... ......................................................... .........................................................  ..........................................................

ชื่อหน่วยงาน.........................................................

เป้าหมาย

)

สมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย

(บทละครเรื่องอิเหนา : พระบาท

ÊÃþ ÊÒÃÐ ¨Ò¡à¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ·ÕÁè ãÕ ¹ ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ à¾×èÍà¾ÔèÁ¾Ù¹áÅÐ ¢ÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

................... ชื่องาน / โครงการ .....................................

๔.  งบประมาณที่ใช้ ๕.  กิจกรรมการด�าเนินงาน กิจกรรม ที่

นามกรพระโอรสา อุดากันสาหรีปาตี เมาะตาริยะกัดดังสุรศรี เองกะนะกะหรีกุเรปน

ู มีดังนี้ มื มาจากภาษาชวา-มลาย เดียวนอย แต ๒) หลักการสงั เกตคาํ ทีย่ างค ภาษาชวา-มลายู มีคําพยางค วา-มลายู ๒.๑) มีลักษณะเปนคําสองพย ย่ มื มาจากภาษาช งเกตเห็นไดงา ยวาคําใดเปนคําที ถสั สามาร ง จึ โดด ํ า ภาษาค น ภาษาไทยเป น ต น เป ะ ายเสียงที่สามารถ เชน ระเดน บุหลัน บุหรง ปาเต ้า แตภาษาไทยมีพยัญชนะหล ๒.๒) ไมมีเสียงพยัญชนะควบกลํ งชัดเจน เชน กัลปงหา กะปะ เปนตน ความแตกตางกันอยา เปนพยัญชนะควบกลํ้าได จึงมี ยุกต ดังนั้น คําที่ยืมมาจากภาษา งวรรณ ย ยเสี ว น ห ี ม ไม ต ก ุ วรรณย ป ู ๒.๓) ไมมีร โนรี เปนตน อยางไรก็ตาม จึงไมมีรูปวรรณยุกต เชน เจียระไน ชวา-มลายู ในภาษาไทยสวนใหญ ตกํากับดวย เพื่อใหสอดคลองกับระบบเสียงในภาษาไทย ก ุ วรรณย ป ู ร ี ม มาใช า ํ น ่ ที า คํายืมบางคํ เชน บาบา ยาหนัด เปนตน

การอานในชีวติ ประจําวัน ตัวชี้วัด

• อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิ ด บันทึก ยอความและรายงาน (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗) • สังเคราะหความรูจากการอ านสื่อสิ่งพิมพ

à¹×Íé ËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙጠÅÐàÍ×Íé µ‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×Íè ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

53 61

๒๐


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

ÊÒúÑหนา

ตอนที่ การอาน

๑ การอานวินิจสาร ๒ การอานในชีวิตประจําวัน ตอนที่ ๒ การเขียน ๑ การเขียนเพื่อสื่อสาร ๒

๑ - ๔๐

หนวยการเรียนรูที่

๒ - ๒๐

หนวยการเรียนรูที่

๒๑ - ๔๐ ๔๑ - ๑๑๔

หนวยการเรียนรูที่

๔๒ - ๖๘

หนวยการเรียนรูที่

การเขียนบันเทิงคดี หนวยการเรียนรูที่

การประเมินคุณคางานเขียน

๖๙ - ๙๔ ๙๕ - ๑๑๔

Evaluate


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

การฟงและดูอยางมีประสิทธิภาพ หนวยการเรียนรูที่

การพูดอภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ และการโตแยง

ตอนที่ หลักการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่

ระดับภาษาและอิทธิพล ของการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่

Evaluate

หนา

ตอนที่ การฟง การดู และการพูด หนวยการเรียนรูที่

Expand

๑๑๕ - ๑๕๔ ๑๑๖ - ๑๔๐

๑๔๑ - ๑๕๔

๑๕๕ - ๑๘๖

๑๕๖ - ๑๗๙

การแตงคําประพันธประเภทฉันท

๑๘๐ - ๑๘๖

บรรณานุกรม

๑๘๗ - ๑๘๘


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ตอนที่

ñ

การอาน

การอานเปนวิธกี ารหนึง่ ทีม่ นุษยสามารถใชแสวงหาความรูห รือขอมูลตางๆ

ได ทําใหกาวทันกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโลก ผูที่มีความสามารถในการ อานยอมไดรับความรูและประสบความสําเร็จในชีวิต การอานใหไดประสิทธิภาพ ตองจับใจความสําคัญ และวิเคราะห เพือ่ หาขอเท็จจริงและขอคิดเห็น ดังนัน ้ ผูอ า น ตองอานอยางมีวิจารณญาณ อาศัยความคิดและเหตุผลในการพิจารณาวินิจฉัย ตัดสินใจวาสิ่งที่ไดอานดีหรือไมดี ตลอดจนสามารถประเมินคาความนาเชื่อถือจาก สิ่งที่ไดอานได เพื่อจะไดเลือกสิ่งที่เปนประโยชนมาพัฒนาสติปญญา พัฒนาจิตใจ และนํามาปรับใชในชีวิตประจําวัน

กระตุนความสนใจ 1. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา เชาวันนี้มีใครที่อานขาวสารจาก หนังสือพิมพบาง มีขาวอะไรที่ นาสนใจ ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนให ออกมาสรุปเนื้อหาของขาวที่อาน 2. ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • บางวลีที่ปรากฏในสื่อสิ่งพิมพ ประเภทตางๆ ไมใชคําที่พบ ไดบอยในชีวิตประจําวัน แต นักเรียนเขาใจความหมายของ คําเหลานั้นไดอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย คําตอบขึ้น อยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน และควรสนับสนุนใหนักเรียน ไดมีสวนรวมในการแสดงความ คิดเห็น) • ทักษะการอานมีความสําคัญตอ ชีวิตมนุษยอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบได อยางหลากหลาย เชน การอาน มีความสําคัญตอการพัฒนา อาชีพและการศึกษา เปนหัวใจ สําคัญของการเรียนการสอน นักเรียนจะสามารถประสบ ความสําเร็จในการเรียนก็จําเปน จะตองอานเพื่อพัฒนาความรู ตลอดเวลา)

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

(หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็กกวาฉบับนักเรียน 20%)

เปาหมายการเรียนรู 1. จับใจความ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อานจากสื่อ ตางๆ 2. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่ อานและประเมินคาเพื่อนําความรู ความคิดไปใชตัดสินปญหาในชีวิต ประจําวัน 3. ตอบคําถามจากงานเขียนประเภท ตางๆ ตามเวลาที่กําหนดอยางมี มารยาท

ตอนที่ ๑

กระตุนความสนใจ ครูรวมสนทนากับนักเรียนโดยตั้ง คําถามเพื่อนําเขาสูหนวยการเรียนรู • นักเรียนคิดวาทักษะการอาน เปนทักษะที่สามารถฝกฝนได ดวยตนเองหรือไม และเพราะ เหตุใดจึงคิดเชนนั้น (แนวตอบ การอานเปนทักษะที่ สามารถฝกฝนไดดวยตนเอง จนกระทั่งเกิดความชํานาญ เพราะถาหมั่นฝกฝนทุกวัน ผูที่จะไดรับประโยชนจาก การอานก็คือ ตัวเราเอง) • นักเรียนคิดวาในชีวิตประจําวัน ของมนุษย สามารถใชทักษะ การอานเพื่อรับสารประเภทใด ไดบาง (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย เปนการ แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ ขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ของครูผสู อน)

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูนี้ ครูผูสอน ควรเตรียมเรือ่ งราวหรือเนือ้ หาสาระจากสือ่ ตางๆ ให นักเรียนไดมีโอกาสฝกฝนการอานตีความ แปลความ และขยายความดวยตนเอง โดยใหนักเรียนมีโอกาส เลือกเรื่องที่สนใจจากเรื่องตางๆ ที่ครูนํามา

2

คูมือครู

การอาน

หนวยการเรียนรูที่

ñ

การอานวินจิ สาร ตัวชี้วัด

• ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อาน (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒) • คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อานและประเมินคา เพื่อนําความรูความคิดไปใชตัดสินใจแกปญหาใน การดําเนินชีวิต (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๔) • ตอบคําถามจากการอานงานเขียนประเภทตางๆ ภายในเวลา ที่กําหนด (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖) • มีมารยาทในการอาน (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๙)

เปนทักษะสําคัญในการรับสาร การอานวินิจสารเปนวิธีการอานที่ทําให อานสารตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังตองรูจักวิเคราะหกลวิธี การนําเสนอแลวจึงวินิจฉัยวาสิ่งที่ไดอานนั้น มีคุณคาอยางไร

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การอานจับใจความจากสื่อตางๆ • มารยาทในการอาน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ

การอานแปลความ ตีความและขยายความ

การอานแปลความ ตีความและขยายความ เปนการอานที่มีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกัน การอานแปลความเปนทักษะขั้นพื้นฐานของการอานตีความและการอานขยายความ ถาอาน แปลความของเรื่องไดก็จะนําไปสูการตีความ รวมทั้งสามารถอานขยายความได ซึ่งหลักเกณฑ ดังกลาวเปนวิธีการอานที่ชวยใหสามารถอานสารตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

๑.๑ การอานแปลความ

การอานแปลความ คือการแปลเรือ่ งราวเดิมใหออกมาเปนคําพูดใหมหรือเปนถอยคําใหม แตยังคงรักษาเนื้อหาและสาระความสําคัญของเรื่องราวเดิมไวไดอยางครบถวน ความสามารถใน การอานแปลความเปนพื้นฐานของการอานตีความและขยายความ เพื่อนําไปใชในการวิเคราะห สังเคราะหและประเมินคา การอานแปลความมีหลายรูปแบบ ดังนี้ ๑) แปลคําศัพทเฉพาะใหเปนภาษาธรรมดา เปนการแปลความหมายจาก ระดับหนึ่งไปสูอีกระดับหนึ่ง เชน เสวย หมายถึง กิน บุปผา หมายถึง ดอกไม โจทก หมายถึง ผูฟอง เปนตน ถาผูอานไมทราบความหมายของคําศัพทเฉพาะในขอความตอนใด ก็อาจไมทราบ ความหมายและไมสามารถตีความขอความในประโยคได ๒) แปลขอความเดิมทีเ่ ปนสํานวนโวหาร เปนขอความใหมที่เขาใจไดงายขึ้น หรือเปลี่ยนแปลงใหเปนภาษาอีกระดับหนึ่ง เชน ปนใหญถลมหงสแดงยับ ๓ - ๑

แปลความไดวา ทีมฟุตบอลอารเซนอลเอาชนะทีมฟุตบอลลิเวอรพูลไปดวยคะแนน ๓ ตอ ๑ ประตู ๓) แปลสํานวนสุภาษิต คําพังเพย บทรอยกรอง หรือคําภาษาบาลีและสันสกฤต ที่นํามาใชใหเปนรอยแกวที่ไดใจความสมบูรณ เชน ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารี

แปลความไดวา ธรรมยอมรักษาผูประพฤติธรรม ๔) แปลความจากเครือ่ งหมาย หรือสัญลักษณตางๆ เชน > แปลวา มากกวา < แปลวา นอยกวา แปลวา เพศชาย แปลวา เพศหญิง เปนตน ๓

นักเรียนควรรู สังเคราะห คือ ความสามารถในการ ผสมผสานเรื่องราวหรือสิ่งตางๆ ตั้งแต สองเรื่องขึ้นไปเพื่อสรางเปนเรื่องราวขึ้นใหม

นักเรียนควรรู ประเมินคา คือ การวินิจฉัยหรือ ประเมินเรื่องราวตางๆ ไดวา ดีหรือไม มีคุณคาหรือไม อยางไร

ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • เมื่อนักเรียนอานเนื้อหาสาระ ประเภทตางๆ เชน บทความ ขาว นวนิยายหรือการตูน นักเรียนเคยสังเกตบางหรือไม วา ตนเองทําความเขาใจเนื้อหา สาระที่อานไดอยางไร

สํารวจคนหา ครูทําสลากเทากับจํานวนนักเรียน ในหอง จากนั้นเขียนหมายเลข 1 และหมายเลข 2 ในจํานวนเทาๆ กัน ลงบนสลาก ใหนักเรียนแตละคน ออกมาจับสลาก ใครที่จับสลากได หมายเลขเหมือนกันใหอยูก ลุม เดียวกัน โดยครูมอบหมายหัวขอสําหรับสํารวจ คนหารวมกัน ดังนี้ กลุมที่ 1 “ความสําคัญของ การอาน” กลุมที่ 2 “การอานแปลความ มีความสําคัญตอการ อานอยางไร”

อธิบายความรู 1. นักเรียนในแตละกลุมรวมกันสรุป ความคิดรวบยอดในประเด็นที่ได รับมอบหมาย จากนั้นใหสง ตัวแทนออกมาอธิบายความรู 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลม เพื่อรวมกันอธิบายความรูแบบ โตตอบรอบวง โดยครูตั้งคําถาม กับนักเรียนวา • การอานแปลความ นักเรียนจะ ตองแปลความในลักษณะใด บาง (แนวตอบ แปลความศัพทเฉพาะ แปลความสํานวนสุภาษิต แปล ความสัญลักษณและแปลความ คําที่มีความหมายโดยนัย)

คูมือครู

3


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน โดยตั้งคําถามกระตุน • เมื่อนักเรียนอานเรื่องสั้น นวนิยาย บทรอยกรองหรือ งานประพันธประเภทตางๆ แลวเกิดความรูสึกคลอยตาม ไปกับตัวละคร เชน รูสึกโกรธ เกลียดตัวละครตัวหนึ่ง และ สงสารหรือเห็นใจตัวละครอีก ตัวหนึ่ง นักเรียนคิดวาความ รูส กึ เหลานีม้ สี าเหตุมาจากอะไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย คําตอบ ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครู ผูสอน) • นักเรียนคิดวาเพราะสาเหตุใด ผูเขียนจึงสามารถถายทอด จุดมุงหมาย อารมณความรูสึก ตางๆ มาใหผูอานรับรูได (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย ซึ่งครูควร ทําหนาที่สนับสนุนใหนักเรียน ไดรวมกันแสดงความคิดเห็น อยางอิสระ)

สํารวจคนหา ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม ในจํานวนเทาๆ กัน หรือตาม ความเหมาะสม จากนั้นใหแยกกัน ศึกษาคนควาความรูในประเด็น “การอานตีความ” จากแหลงเรียนรู ตางๆ เชน หนังสือเรียน หนา 4-5 หรือแหลงสารสนเทศอื่นๆ เชน อินเทอรเน็ต เปนตน

๑.๒ การอานตีความ

การอานตีความ คือการอานที่ผูอานจะตองใชความคิด พิจารณาสาระสําคัญของเรื่องวา ผูเขียนมีเจตนาใด เชน แนะนํา สั่งสอน เสียดสี ประชดประชันหรือตองการสื่ออะไรแกผูอาน ทัง้ นีผ้ อู า นตองสามารถตีความหมายของคําทัง้ ความหมายนัยตรงและความหมายนัยประหวัดของ ขอความและสํานวนไดถูกตอง ซึ่งขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ประสบการณ ความสนใจ ทัศนคติ จินตนาการ สติปญญาและวัยของผูอาน โดยบางครั้งตองอาศัยเนื้อความหรือบริบทแวดลอม และประสบการณเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ สารนั้นอาจเปนความตั้งใจหรือเจตนาแนะนํา สั่งสอน เตือนสติ โดยอาจใชกลวิธีที่แตกตางกัน เชน ใชถอยคําที่ขบขันหรือบอกอยางตรงไปตรงมาวา ผูเขียนตองการจะกลาวถึงเรื่องอะไร มีจุดประสงคหรือมุงที่จะนําเสนอสาระสําคัญประการใดตอ ผูอาน โดยอาจพิจารณาจากนํ้าเสียงของผูเขียนที่แฝงไวภายใตเนื้อหาสาระ พยายามที่จะเขาใจ ความหมายของขอความ เพื่อเขาใจถึงจุดมุงหมายของสารที่ผูเขียนตองการสื่อ การอานตีความมีหลักเกณฑในการอาน ดังนี้ ๑. อานเรื่องที่จะตีความใหละเอียด แลวพยายามจับประเด็นสําคัญของผูเขียนใหได ๒. พยายามคิดหาเหตุผลและใครครวญอยางรอบคอบเพือ่ นํามาประมวลกับความคิดของ ตนเองวา ขอความหรือเรื่องนั้นมีความเกี่ยวของกับอะไร ๓. พยายามทําความเขาใจถอยคําและสังเกตบริบทหรือเนื้อความแวดลอมวากําหนด ความหมายสวนรวมไปในทิศทางใด ๔. ตองระลึกไวเสมอวาการตีความไมใชการถอดคําประพันธ เพราะการถอดคําประพันธ คือ การเรียบเรียงจากถอยคําของบทประพันธมาเปนรอยแกวใหครบทัง้ คําและความ แตการตีความ คือ การจับความคิดหรือแนวคิดของผูเขียนที่แฝงไวภายในเรื่อง ๕. การเขียนเรียบเรียงถอยคําที่ไดจากการตีความนั้นจะตองใหมีความหมายชัดเจน ๖. การตีความไมวาจะเปนการตีความเนื้อหาหรือนํ้าเสียงของผูเขียนก็ตาม เปนการ ตีความตามความรูความคิดและประสบการณของผูตีความเอง เพื่อสรุปความคิดทั้งหมดแลวจับ เจตนาอันแทจริงของขอความหรือเรื่องราวที่ผูสงสารตองการแสดงออกมา ดังนั้น ผูอื่นอาจจะ ไมเห็นพองดวยก็ได ทั้งนี้การอานตีความตองพิจารณาเรื่องราวที่อานในดานตางๆ ดังนี้ ๑. พิจารณาจากเนื้อความ หมายถึง พิจารณาเนื้อหาที่ทําใหผูอานรับรูหรือเกิดความคิด อาจกลาวอยางตรงไปตรงมาหรือกลาวโดยเปรียบเทียบหรือใชสัญลักษณ ๒. พิจารณาจากความรูสึก คืออารมณที่ประกอบมากับขอความ ๔

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M6/01

อธิบายความรู นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทน ออกมาอธิบายความรูเกี่ยวกับ หลักการอานตีความ เพือ่ นๆ บันทึก ความรูที่ไดรับจากการฟงลงสมุด

4

คูมือครู

ขยายความเขาใจ ครูทบทวนความรูความเขาใจใหนักเรียน จากนั้นตั้งประเด็นการอภิปรายเพื่อให นักเรียนไดแสดงความคิดเห็นรวมกันวา “การอานตีความมีประโยชนอยางไร”


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุนความสนใจ ๓. พิจารณาจากนํ้าเสียงของผูแตงหรือผูเขียน คือทาทีหรือทรรศนะของผูแตงตอสิ่งที่ กลาวถึง มักผสมผสานไปกับความรูสึก เชน รูสึกโกรธจะใชนํ้าเสียงเกรี้ยวกราด รูสึกเยยหยัน จะใชนํ้าเสียงประชด เสียดสี เปนตน ๔. พิจารณาจากจุดมุงหมาย คือความตั้งใจหรือสํานึกของผูแตงที่แสดงออกมา ๕. พิจารณาจากความหมายนัยประหวัดหรือนัยแฝงที่ตองอาศัยการตีความมากกวา ความหมายโดยตรง ๖. พิ จ ารณาสั ญ ลั ก ษณ ซึ่ ง เป น ส ว นที่ ใ ช สื่ อ ความหมายแทนบางสิ่ ง ที่ ต  อ งการสื่ อ ความหมายโดยตรงหรืออาจกลาวไดวา ใชสงิ่ ทีเ่ ปนรูปธรรมแทนสิง่ ทีเ่ ปนนามธรรมซึง่ ผูอ า นจะตอง เชื่อมโยงขอมูลตางๆ เขาดวยกันหรือใชวิธีการเทียบเคียงเพื่อพิจารณาความหมายของสัญลักษณ ที่ผูเขียนเลือกใช ๗. พิจารณาจากบริบทสังคม คือพิจารณาภูมหิ ลังของผูแ ตงรวมถึงบริบทสังคมหรือสภาพ สังคม เหตุการณบานเมืองในขณะสรางงานเขียนนั้นเพื่อใหสามารถทําความเขาใจงานไดดีขึ้น

๑.๓ การอานขยายความ

การอานขยายความ เปนการขยายความคิดโดยใชจินตนาการใหกวางขวางลึกซึ้งจาก ขอเท็จจริงทีม่ อี ยู จนสามารถคาดคะเน พยากรณหรือประเมินเปนขอสรุปได การอานเพือ่ ขยายความ จึงเปนการอานเพื่อนํามาอธิบายเพิ่มเติมใหมีความละเอียดเพิ่มมากขึ้นจากเนื้อความเดิมที่มีอยู ทั้งนี้การอานเพื่อขยายความสามารถใชวิธีการยกตัวอยางประกอบหรือมีการอางอิงเปรียบเทียบ เพื่อใหไดเนื้อความที่กวางขวางออกไปจนเปนที่เขาใจยิ่งขึ้น การอานขยายความสามารถทําได หลายวิธี ดังนี้ ๑. การกลาวถึงสาเหตุและผลที่สัมพันธกัน ๒. การยกตัวอยางหรือขอเท็จจริงมาประกอบเนื้อเรื่องเดิม ๓. การอธิบายสิ่งที่เกี่ยวของกับเรื่องนั้นเพิ่มเติม ๔. การคาดคะเนสิ่งที่นาจะเปน หรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นตอไป โดยอาศัยขอมูลเหตุผลจาก เรื่องเดิมเปนพื้นฐานการคิดคาดคะเน ๕. การขยายความโดยการใหคํานิยามหรือใหคําจํากัดความ ซึ่งเปนการใหความหมาย ของประเด็นสําคัญนั้นๆ ๖. การขยายความโดยการเปรียบเทียบอาจเปนการเปรียบเทียบความเหมือนหรือ ความตางก็ได เพื่อใหผูอานเขาใจไดชัดเจนขึ้น

เกร็ดแนะครู ครูแนะนํานักเรียนวาการอานตีความ ตองอาศัยพื้นฐานความรู ประสบการณ จินตนาการของผูอานประกอบดวย ซึ่งผูอานแตละคนอาจตีความเรื่องตางๆ ได ไมเหมือนกัน ซึ่งนักเรียนสามารถฝกฝนการอานตีความไดโดยหมั่นอานหนังสือ ในประเภทที่หลากหลายและสมํ่าเสมอ

ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • การอานขยายความจะตองใช สิ่งใดประกอบเพือ่ ใหสามารถ บรรลุจดุ ประสงค (แนวตอบ การอานขยายความ เปนการขยายความคิดให กวางขวางลึกซึ้งออกไป จนสามารถคาดคะเน พยากรณ หรือประเมินเปนขอสรุปได ดังนั้นการอานประเภทนี้จึงตอง ใชความคิดและจินตนาการจึง จะบรรลุจุดมุงหมายได)

สํารวจคนหา ครูแบงกลุมนักเรียน จากนั้นให แตละกลุมสํารวจคนหาความรู ในประเด็น “การอานขยายความ” จากหนังสือเรียน หนา 5-6 จากพืน้ ฐาน ความรูเดิม หรือจากแหลงเรียนรู ประเภทอื่นๆ ที่นักเรียนสนใจ

อธิบายความรู นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อ รวมกันอธิบายความรูแบบโตตอบ รอบวง จากนั้นครูตั้งคําถามให นักเรียนทุกคนไดมีสว นรวมในการ แสดงความรูเ กี่ยวกับแนวทางการอาน ขยายความ

ขยายความเขาใจ ครูทบทวนความรู ความเขาใจ ใหนักเรียน จากนั้นตั้งประเด็นการ อภิปรายเพื่อใหนักเรียนไดแสดง ความคิดเห็นรวมกันวา “การอาน แปลความ ตีความและขยายความ มีความจําเปนตอนักเรียนอยางไร”

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

Evaluate

Engage

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ครูทบทวนความรูเกี่ยวกับการอาน แปลความ ตีความ และขยายความ หลังจากนั้นใหนักเรียนสํารวจคนหา วา การอานแปลความ ตีความและ ขยายความโคลงโลกนิติ จาก หนังสือเรียน ในหนา 6-7 มีเนื้อหา อยางไร

อธิบายความรู ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย ความรูเกี่ยวกับการอานแปลความ ตีความ และขยายความโคลงโลกนิติ จากนั้นตั้งคําถามกับนักเรียนวา • นักเรียนมีความคิดเห็นตรงกับ ตัวอยางหรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย คําตอบขึ้น อยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

ขยายความเขาใจ นักเรียนคัดเลือกบทประพันธที่ ชืน่ ชอบ นํามาอานตีความ แปลความ และขยายความ ตามแนวทางที่ได ศึกษา บันทึกลงสมุดสงครูผูสอน ความยาวไมเกินหนึ่งหนากระดาษ รายงาน

ตรวจสอบผล นักเรียนนําผลการอานที่ไดบันทึก ไวมาอานใหครูและเพื่อนๆ ฟง หนาชั้นเรียน ครูสังเกตแนวทาง การอานของนักเรียน

ทั้งนี้การอานขยายความมีหลักการพิจารณาในดานตางๆ ดังนี้ ๑. ตองมีความรู ความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ๒. พิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับความคิดหลักในเรื่องนั้นๆ ขอเท็จจริง และขอคิดเห็น ในเนื้อเรื่อง โดยพิจารณาวาเนื้อความตอนใดเปนขอเท็จจริง ตอนใดเปนขอคิดเห็น ความรูสึกหรือ อารมณของผูเขียน ผูเขียนเจตนาอยางไรในการเขียน และการมุงหวังใหผูอานตอบสนองอยางไร ๓. การเกิดความคิดแทรกและความคิดเสริม ความคิดแทรกเปนความคิดทีเ่ กิดขึน้ ในขณะ ที่อาน สวนความคิดเสริมเปนความคิดที่เกิดขึ้นหลังจากที่อานเรื่องจบแลว

๑.๔ ตัวอยางการอานแปลความ ตีความและขยายความ การอานแปลความ ตีความและขยายความจากบทประพันธ

อยาเอื้อมเด็ดดอกฟา สูงสุดมือมักตรอม เด็ดแตดอกพยอม สูงก็สอยดวยไม

มาถนอม อกไข ยามยาก ชมนา อาจเอื้อมเอาถึง

(โคลงโลกนิติ : สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาเดชาดิศร)

แนวทางการแปลความ ตีความและขยายความบทประพันธ โคลงโลกนิติ มีดังนี้ ๑) การแปลความ จากบทประพันธแปลความไดวา ไมควรมุง หมายเด็ดดอกฟา หรือ ดอกไมทหี่ ายากมาไวในครอบครอง เพราะดอกไมเหลานัน้ มักอยูส งู หรืออุปมาเหมือนอยูใ นทีห่ า งไกล ก็ยอ มสรางความลําบากในการไดมา ตรงขามกับดอกไมทวั่ ไป เชน ดอกพะยอม ดอกไมทสี่ ามารถ หาไดโดยงาย แมจะอยูที่สูงก็สามารถหามาไวในครอบครองได ๒) การตีความ จากบทประพันธกวีใชถอยคําที่มีความหมายแฝงหรือความหมาย นัยประหวัด ๒ คํา คือ ดอกฟา และดอกพะยอม เพือ่ สือ่ ถึงสตรี ๒ ประเภท คือ สตรีสงู ศักดิ์ และสตรี สามัญ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหขอคิดเกี่ยวกับการเลือกคูครองใหสมฐานะของแตละบุคคล กลาว คือ การมุง ปรารถนาสตรีสงู ศักดิ์ ก็ยอ มเผชิญขอขัดของเกีย่ วกับสถานภาพทางสังคม ซึง่ อาจทําให ไดรับความเดือดรอน ตรงขามกับสตรีสามัญที่มีอยูทั่วไป ซึ่งไมมีอุปสรรคในการรับไวเปนคูครอง ๓) การขยายความ จากบทประพันธขางตน หากพิจารณาอยางลึกซึ้ง อาจพิจารณา ไดวา บทประพันธนี้แสดงกรอบความคิด คานิยมเรื่องการเลือกคูครอง ในสังคมไทยสมัย ตนกรุงรัตนโกสินทร และอาจยอนขึน้ ไปถึงปลายกรุงศรีอยุธยา ดวยโคลงโลกนิติ ฉบับสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาเดชาดิศร ทรงชําระและดัดแปลงจากฉบับกรุงศรีอยุธยา ๖

@

มุม IT

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระประวัติและผลงานของพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาเดชาดิศร ไดจากเว็บไซตของมูลนิธิวิกิมีเดีย http://th.wikipedia.org/wiki/ โดย search คําวา พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาเดชาดิศร

6

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา กรอบความคิด คานิยมดังกลาว แสดงใหเห็นความแตกตางของสถานภาพทางสังคม ที่ไมยอมรับการเลือกคูครองที่มีสถานภาพแตกตางกัน เชน ชายสามัญกับสตรีสูงศักดิ์ ซึ่งกรอบ ความคิดดังกลาวยังปรากฏในวรรณคดีรวมสมัยอีกหลายเรื่อง เชน ขุนชางขุนแผน ตอนขุนแผน เขาหองนางแกวกิรยิ าวา “ตัวไทอยาเอาใจไปคบทาส” อันเปนคําพูดทีน่ างแกวกิรยิ ากลาวกับขุนแผน วาขุนแผนเปนไท มีศกั ดิต์ ระกูลสูง ก็ไมควรมาของเกีย่ วกับนางทีเ่ ปนเสมือนทาสขัดดอกทีพ่ ระยาสุโขทัยนํามาขัดไวกับขุนชาง เปนตน การอานแปลความ ตีความและขยายความบทรอยกรองรวมสมัย เรื่อง จันทรเจาขา ของเนาวรัตน พงษไพบูลย

จันทรเอยจันทรเจาขา จันทรเดนเห็นเต็มดวง จันทรจาจันทรเจาเอย วันวันวิ่งไปมา จันทรเอยพระจันทรเจา แดดรอนไมรอนรน จันทรเอยจันทรเจาขา ขอมุงกันยุงริ้น จันทรจาจันทรเจาเอย ก. ไก ข. ไขดาว จันทรเอยพระจันทรเจา ขอสิทธิเทาเทียมกัน

ฉันเกิดมาในเมืองหลวง โชติชวงอยูรูหลังคา ฉันไมเคยไดศึกษา ขายมาลัยใหรถยนต ฉันตองเฝาอยูบนถนน เทารอนใจไมมีกิน ขอหลังคาคลุมแผนดิน ขอผาหมใหคลายหนาว ฉันไมเคยรูเรื่องราว ขอครูดวยชวยสอนฉัน ขอคนเรารักผูกพัน ขอสักวันฉันมีกินฯ

นักเรียนรวมกันศึกษาคนควา เกี่ยวกับเสนทางการเปนกวีของ เนาวรัตน พงษไพบูลย รวมถึงผลงาน ในแตละชวงเวลา จากนั้นใหรวมกัน อานออกเสียงบทรอยกรองรวมสมัย เรื่อง จันทรเจาขา โดยการแบง วรรคตอนใหถูกตอง

อธิบายความรู ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่อบรรยาย ความรูสึกของตนเอง หลังจากได อานบทรอยกรองรวมสมัยเรื่อง จันทรเจาขา • นักเรียนคิดวาผูประพันธใช กลวิธีใดในการประพันธทําให ผูอานเกิดอารมณความรูสึก คลอยตาม (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย เพราะ เปนการแสดงความคิดเห็น อยางอิสระ)

NET ขอสอบ ป 53 ขอสอบถามวา ขอใดตีความได ตรงกับขอความตอไปนี้ ลาภยศบรรดาดีที่มีอยู รวยเลิศหรูอยูเรือนทองสองลานสาม สมบัติมากลากไมไหวใครจะปราม สุดทายหามแตรางเนาเทานั้นเอง 1. บางคนโชคดีไดลาภยศและ เงินทองโดยไมมีใครขวางได 2. คนเราไม ควรโลภมากเอาแต ๗ ตักตวงความรํ่ารวย ในที่สุด ก็แบกไมไหว 3. สมบัติทั้งหลายไมใชสิ่งจีรัง ยั่งยืน มีความเปลี่ยนแปร อยูเสมอ 4. คนเราเมื่อถึงคราวตายก็เอาเกียรติยศและทรัพยสินติดตัวไปไมได ( วิเคราะหคําตอบ สาระสําคัญของคําประพันธปรากฏที่วรรคสุดทายคือ “สุดทายหามแต รางเนาเทานั้นเอง” คําประพันธที่ยกมาแสดงเนื้อความชัดเจนวา คนตายไปแลวไมสามารถ นําอะไรติดตัวไปไดเลย แมแตเกียรติยศ เงินทอง ดังนั้นจึง ตอบ ขอ 4.) คูมือครู 7

แนวทางการอานแปลความ ตีความและขยายความบทรอยกรองรวมสมัยเรื่อง จันทร เจาขา มีดังนี้ ๑) การแปลความ จากบทประพันธ “จันทรเจาขา” กลาวถึง “ฉัน” กําลังขอพรจาก พระจันทร วา “ฉัน” เกิดมาในเมืองหลวง แตละคืนมองเห็นพระจันทรผานรูหลังคา จากนั้นเลาวา “ฉัน” ไมเคยไดรับการศึกษา หาเลี้ยงชีวิตดวยการขายพวงมาลัยตามทองถนนพอใหมีกินไปวันๆ จากนัน้ เปนการขอพรวาขอทีพ่ กั อาศัยทีม่ หี ลังคามิดชิด มีมงุ กันยุงและตัวริน้ มีผา หมไวคลายหนาว และกลาวเพิม่ เติมวาตนเองไมรหู นังสือ จึงอยากขอโอกาสเลาเรียน สุดทายเปนคําขอทีเ่ ปนอุดมคติ สูงสุด คือ ขอใหคนรักกัน และมีสทิ ธิเทาเทียมทัง้ ดานการศึกษา ทีอ่ ยูอ าศัย และการประกอบอาชีพ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล นักเรียนนําผลการอานมาอานให ครูและเพื่อนๆ ฟงหนาชั้นเรียน ครูสังเกตแนวทางการอานของ นักเรียน

นักเรียนควรรู กวีนิพนธ เปนถอยคําที่ผูประพันธ เรียบเรียงขึ้น โดยมีรูปแบบที่กําหนด ตามฉันทลักษณ มีความไพเราะดวย การสรรถอยคํา การใชเสียงสัมผัส และจังหวะลีลา มีความหมายลึกซึ้ง กระทบอารมณความรูส กึ ของผูอ า น กวีนพิ นธมีความแตกตางจาก รอยกรองโดยทั่วไป ดังนี้ 1. ตองมีความถึงพรอมดวย เสียงเสนาะ 2. ตองเขาถึงจิตใจของผูอาน ทําใหไดเห็น ไดยิน ไดสัมผัส และไดรับประสบการณตางๆ รวมกับผูประพันธ 3. ตองแสดงออกซึ่งความรูสึก อารมณและความคิดอันลึกซึ้ง โดยพยายามตีความใหผูอาน เขาใจประจักษถึงความหมาย ที่แฝงอยูในชีวิตและธรรมชาติ 4. ตองสรางสรรคขึ้นดวยภาษา ที่มีความพิเศษ ปรากฏการใช กวีโวหารที่ลึกซึ้งและคมคาย

8

คูมือครู

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ นักเรียนนําเรื่องสั้นที่มีขนาด ความยาวเหมาะสมหรือเรื่องที่ใช เวลาในการอาน 10-15 นาที หรืออาจ นําบทรอยกรองรวมสมัยที่นักเรียน ชื่นชอบ ประทับใจความหมาย นํามา อานแปลความ ตีความและขยายความ ตามแนวทางทีไ่ ดศกึ ษา บันทึกลงสมุด สงครูผูสอน

Expand

๒) การตีความ จากบทประพันธ “จันทรเจาขา” กวีใชกลวิธีการนําเสนอกวีนิพนธ โดยการนําบทรองเลนของเด็กที่วา “จันทรเอยจันทรเจา ขอขาวขอแกง…” ซึ่งเปนการขอพรจาก พระจันทร มานําเสนอในมุมมองใหม ที่ยังคงสถานะความเปนผูใหของพระจันทร แตสถานะของ ผูขอเปลี่ยนไป กลายเปนผูขาดสวัสดิการ ขาดการศึกษา ที่ขอใหตนเองมีกิน มีการศึกษา มีที่อยู เหมือนคนอืน่ ทัว่ ไป ทัง้ กวียงั แทรกนํา้ เสียงเสียดสีสงั คมไวในคําขอสุดทายของ “ฉัน” วา “ขอคนเรา รักผูกพัน ขอสิทธิเทาเทียมกัน” ซึ่งเปนอุดมคติขั้นสูงที่ทุกๆ สังคมพึงมี แตคําขอนี้กลับเปน ความตัง้ ใจของเด็กคนหนึง่ ทีส่ งั คมไมเคยเหลียวแล และแมจะถูกมองขามแตคาํ ขอสุดทายก็ยงั แสดง ความเผื่อแผไปสูเพื่อนมนุษยดวยกัน ๓) การขยายความ สามารถอธิบายขยายความโดยจําแนกประเด็นดังนี้ ๓.๑) เนือ้ หา จุดเดนของกวีรว มสมัยคือการเลือกเสนอเนือ้ หาเกีย่ วกับปญหาทีย่ งั คง มีอยูใ นปจจุบนั เปนเรือ่ งใหญ เปนเรือ่ งทีแ่ กไขไดยาก บทกวีรว มสมัยเรือ่ ง “จันทรเจาขา” นอกจาก จะเสนอเนือ้ หาความตองการปจจัยสีแ่ ลว เนือ้ หาของบทกวียงั แสดงออกถึงการเรียกรองเชิงอุดมคติ คือ ขอคนเรารักผูกพันกัน และขอสิทธิเทาเทียมกันในสังคม ๓.๒) ความรูส กึ บทรอยกรองรวมสมัยเรือ่ ง “จันทรเจาขา” ไดเลือกเสนอปญหาของ เมืองใหญอยางกรุงเทพมหานครทีม่ ปี ญ หาสังคมอยูใ นความเจริญรุง เรืองหรูหรา แตอกี มุมหนึง่ ของ ความรุงเรืองหรูหรานั้น กลับมีกลุมคนที่ขาดโอกาส ยากจนและไรการศึกษา กวีมีเจตนาที่จะชี้ให เห็น “ภาพขัดแยง” ที่เปน “ชองวาง” ของสังคม คือสภาพความยากจน การดิ้นรนเพื่อปากทอง สภาพของเด็กไรการศึกษาแมวาจะอยูในเมืองหลวงที่มีคนรํ่ารวยและมหาเศรษฐีมากมาย ๓.๓) นํา้ เสียง เนือ้ หาของบทรอยกรองทีเ่ สนอใหเห็น คือ แงมมุ ของชีวติ คนทีอ่ าศัย อยูในเมืองหลวง เปนชีวิตที่ยากไรในทุกๆ ดาน แตไมสามารถเรียกรองสิ่งเหลานี้จากใครได จึง เรียกรองจากพระจันทร ดังนั้นนํ้าเสียงของผูเขียนที่แฝงอยูภายใตบทประพันธ จึงเปนในลักษณะ ของการเสียดสี ประชดประชันสังคม ๓.๔) จุดมุง หมาย แนวความคิดและมุมมองในเรือ่ ง “จันทรเจาขา” เปนการสะทอนให ผูอ า นตระหนักวาสภาพสังคม เชน เด็กขายพวงมาลัยทีค่ นทัว่ ไปพบเห็นจนชินตานัน้ มีปญ หาใหญ ที่รอคอยการแกไขอยูดวย โดยบทกวีสะทอนใหเห็นปญหาคุณภาพชีวิตของคนอีกกลุมในสังคม เมืองหลวง คือปญหาทีอ่ ยูอ าศัย ขาดการศึกษา ความเหลือ่ มลํา้ ทางเศรษฐกิจ ทําใหคณ ุ ภาพชีวติ ตํา่ ซึ่งกวีหวังวาผูรับผิดชอบจะนําปญหาไปแกไข แมวาจะแกไขยากในสังคมทุนนิยม แตอยางนอย ผูอ า นก็ยงั ไดตระหนักถึงปญหาความไมเทาเทียมกันในสังคม ดวยหวังวาคงจะมีความเอือ้ เฟอ เผือ่ แผ ตอผูดอยโอกาส ไดสนับสนุนผลักดันใหเขาไดรับสิ่งจําเปนขั้นพื้นฐาน คือ มีกิน มีการศึกษา และ มีสิทธิเทาเทียมกับคนอื่นในสังคม ๘

เกร็ดแนะครู ครูอาจทองเพลงกลอมเด็กที่ เนาวรัตน พงษไพบูลย แตงบทรอยกรองรวมสมัย “จันทรเจาขา” เพื่อ ใหนักเรียนรวมกันเปรียบเทียบสาระสําคัญ จันทรเจาเอย ขอขาวขอแกง ขอแหวนทองแดง ผูกมือนองขา ขอชางขอมา ใหนองขาขี่ ขอเกาอี้ ใหนองขานั่ง ขอเตียงตั้ง ใหนองขานอน ขอละคร ใหนองขาดู ขอยายชู เลี้ยงนองขาเถิด ขอยายเกิด เลี้ยงตัวขาเอง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา ครูแบงกลุมนักเรียนในจํานวน ที่เทาๆ กันหรือตามความเหมาะสม จากนั้นใหแตละกลุมสํารวจคนหาวา ในปจจุบันมีโฆษณาชนิดใดบางที่ นักเรียนคิดวาจะตองใชวจิ ารณญาณ ในการรับชมและตัดสินใจ

การอานแปลความ ตีความและขยายความบทโฆษณา เปดโอกาสทางธุรกิจใหกับตัวเอง ! นีค่ อื ชองทางทีจ่ ะนํามาซึง่ รายไดแบบไรขดี จํากัดโดยไมกระทบกับงานประจําเพียงสมัคร เปนตัวแทนจําหนายเครื่องสําอาง to be angel ผลิตภัณฑนําเขาจากสหรัฐอเมริกาเพื่อสาวไทย โดยเฉพาะจะทําใหคุณมีรายไดตอเดือนเพิ่มมากขึ้น นี่คือคําบอกเลาจากคุณลดาวัลย สระบัวแกว ตัวแทนจําหนายจากภาคตะวันออก “เดิมดิฉนั ทํางานประจําในบริษทั เอกชนแหงหนึง่ มีรายไดประจํา พอมีพอกินในแตละเดือน แตเมือ่ มาสมัครเปนตัวแทนจําหนายเครือ่ งสําอาง to be angel ทําใหตอ เดือน ดิฉนั มีรายไดเพิม่ มากขึน้ จนตอนนีส้ ง ใหลกู เรียนจบปริญญาตรีได ๑ คนแลวคะ ชีวติ ดีขนึ้ มากอยากให ผูที่สนใจลองมาสมัครดู แลวคุณจะรูวาเครื่องสําอาง to be angel นอกจากจะทําใหคุณสวยแลว ยังจะทําใหครอบครัวมีความสุขมากขึ้นดวยคะ” สนใจสมัครเปนตัวแทนจําหนายเครื่องสําอาง to be angle ไดที่ ๐-๒๒๔๘-๓๒๖๑ หรือ www.tobe_angle.com

อธิบายความรู นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทน ออกมาอธิบายความรูเกี่ยวกับ ประเภทของโฆษณาที่สมาชิกในกลุม ไดพิจารณารวมกันแลววาเปน โฆษณาที่จะตองใชวิจารณญาณใน การรับชมและตัดสินใจ

แนวทางการอานแปลความ ตีความและขยายความบทโฆษณา ผูรับสารจะตองรูจัก การวิเคราะหแยกแยะขอเท็จจริงจากขอคิดเห็น แลวทําความเขาใจกับสารนั้นๆ วาหมายถึงอะไร เปนอยางไร จากตัวอยางบทโฆษณาของธุรกิจขายเครื่องสําอาง to be angel สามารถแปลความ ตีความและขยายความได ดังนี้ ๑) การแปลความ จากบทโฆษณาแปลความไดวา เครื่องสําอาง to be angel เปน เครื่องสําอางนําเขาจากสหรัฐอเมริกาที่กําลังตองการรับสมัครตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑ ซึ่งผูที่ สนใจสามารถสมัครไดสองชองทางคือ โทรศัพทและเว็บไซตของผลิตภัณฑ ๒) การตีความ จากบทโฆษณาตีความไดวา อาชีพตัวแทนจําหนายเครื่องสําอาง to be angel จะทําใหมีรายไดเพิ่มมากขึ้นแตอยางไรก็ตามโฆษณาดังกลาวมีรูปแบบการใชภาษา เพื่อจูงใจพนักงานประจําโดยชี้ใหเห็นวาการสมัครเปนตัวแทนจําหนายจะชวยเพิ่มรายไดโดยไม กระทบตองานประจํา โนมนาวใหเชื่อดวยการใชคําบอกเลาของผูมีประสบการณ ซึ่งอาจจะจริง หรือไมจริงก็ได ๓) การขยายความ จากบทโฆษณาสามารถขยายความไดวา ผูที่ประกอบอาชีพ ขายสินคาชนิดนี้จะมีรายไดดี และสินคาที่นํามาขายก็เปนสินคามีคุณภาพซึ่งนําเขาจากประเทศ สหรัฐอเมริกา ทําใหผูเลือกซื้อผลิตภัณฑเกิดความมั่นใจ

ขยายความเขาใจ ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลวิธี การใชภาษาเพื่อการโฆษณา เพื่อให นักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ การโฆษณาและทําใหทราบวาเมื่อ อานหรือฟงโฆษณาจะตองอานและ ฟงอยางมีสติ พิจารณาไตรตรอง ขอเท็จจริงที่ปรากฏ จากนั้นให นักเรียนคัดเลือกบทโฆษณาจากสื่อ สิ่งพิมพ เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร วารสาร นํามาอานแปลความ ตีความ และขยายความตามแนวทางที่ได ศึกษา บันทึกลงสมุดสงครูผูสอน

ตรวจสอบผล ๙

NET ขอสอบ ป 53 ขอสอบถามวา ขอใดไมอาจอนุมานไดวาเปนคุณสมบัติของนํ้าทับทิมตามบทโฆษณาตอไปนี้ “สาวนอยหุนดี ยิ้มแยมแจมใส คิดดี ทําดี คนนี้ ดื่มนํ้าทับทิมพลอยแสงเปนประจํา” 1. มีรสชาติดี 2. เหมาะแกคนรุนใหม 3. มีประโยชนตอสุขภาพ 4. เหมาะแกสตรี ( วิเคราะหคําตอบ ไมมีคําโฆษณาตอนใดระบุวาเหมาะแกคนรุนใหม ดังนั้นจึง ตอบ ขอ 2.)

นักเรียนนําผลการอานโฆษณาที่ เลือกมาอานใหครูและเพื่อนๆ ฟง หนาชั้นเรียน ครูสังเกตแนวทาง การอานของนักเรียน

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

Evaluate

Engage

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา นักเรียนสํารวจคนหาวา มีวรรณคดี เรื่องใดบางที่ตนเองมีความประทับใจ

การอานแปลความ ตีความ ขยายความวรรณคดีเรื่อง โคลงกําสรวลสมุทร

๏ โฉมแมจักฝากฟา อินทรทานเทอกโฉมเอา โฉมแมจักฝากดิน ดินฤขัดเจาหลา ๏ โฉมแมฝากนานนํ้า เยียวนาคเชยชมอก โฉมแมรําพึงจบ โฉมแมใครสงวนได

อธิบายความรู นักเรียนยืนในลักษณะวงกลม เพื่อรวมกันอธิบายความรูแบบ โตตอบรอบวง โดยครูตั้งคําถามกับ นักเรียนวา • วรรณคดีเรื่องใดที่นักเรียนมี ความประทับใจ และมีเนื้อหา เปนอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย ขึ้นอยูกับ พื้นฐานความรูและคานิยม สวนตน ครูควรสนับสนุนให นักเรียนทุกคนไดมีสวนรวมใน การแสดงความคิดเห็น) • นักเรียนคิดวา เพราะสาเหตุใด ที่ทําใหนักเรียนมีความชื่นชอบ วรรณคดีเรื่องดังกลาว (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย ครูควร สนับสนุนใหนักเรียนไดแสดง ความคิดเห็นอยางเปนเหตุ เปนผล)

ขยายความเขาใจ นักเรียนคัดเลือกคํากลอนจาก วรรณคดีเรื่องที่ประทับใจ นํามาอาน แปลความ ตีความ และขยายความ ตามแนวทางที่ไดศึกษา บันทึกลง สมุดสงครูผูสอน

เกรงอินทร หยอกนา สูฟา ดินทาน แลวแฮ สูสํสองสํ ฯ อรรณพ แลฤๅ พี่ไหม จอมสวาสดิ์ กูเอย เทาเจาสงวนเอง ฯ

(โคลงกําสรวลสมุทร)

๑) การแปลความ จากโคลงกําสรวลสมุทร ๒ บทขางตน สามารถอธิบายความไดวา เปนการแสดงความรัก ความเปนหวงของกวีที่มีตอสตรีคนรัก โดยกวีแสดงแนวคิดวาในยามที่ ตนตองเดินทางจากเคหะสถาน ก็ควรจะหาที่ฝากฝง ชวยดูแลสตรีคนรักใหปลอดภัยจากชายอื่น ในกวีนพิ นธบทนีก้ วีแสดงความกังวลใจในการหาผูฝ ากฝง และก็เกรงผูฝ ากฝงจะลวงเกินสตรีคนรัก ของตนเสียเอง ดังนี้ บทที่ ๑ บาทที่ ๑ จะฝากนางไวบนฟา ก็เกรงพระอินทรจะหยอกเยา ลวงเกิน บาทที่ ๒ พระอินทรอาจลอบพานางไปไวบนสวรรค บาทที่ ๓ จะฝากนางไวกับแผนดินนั้น บาทที่ ๔ ดินก็มอิ าจขัดเจาหลาผูเ ปนใหญในแผนดิน (อาจอธิบายความ ได ๒ ระดับ คือ พระมหากษัตริยผูปกครองแผนดิน และ พระพรหมผูสรางแผนดิน) ที่จะพานางไปครอบครอง บทที่ ๒ บาทที่ ๑ จะฝากนางไวกับหวงนํ้า มหาสมุทรกระนั้นหรือ บาทที่ ๒ ก็เกรงวาพระยานาคมาลอบชมนางผูเปนที่รัก ซึ่งจะทําใหกวี รุมรอนเปนกังวลเหมือนไฟไหมอยูในอก บาทที่ ๓ ดวยโฉมแมอนั เปนทีร่ กั ยิง่ เกินกวาจะพรรณนาไดจบครบถวน บาทที่ ๔ ตัวของนางนัน้ ไมมใี ครดูแลใหความคุม ครองไดเทากับนางดูแล ตัวของนางเอง

๑๐

ตรวจสอบผล นักเรียนนําผลการอานมาอานให ครูและเพื่อนๆ ฟงหนาชั้นเรียน ครูสังเกตแนวทางการอานของ นักเรียน

10

คูมือครู

นักเรียนควรรู โคลงกําสรวลสมุทร เปนวรรณคดีโบราณที่มีความงดงามดานวรรณศิลป การสรรถอยคําลวนมี ความโดดเดน ลึกซึ้ง สะเทือนอารมณ เครงครัดในฉันทลักษณของโคลง เปนแบบอยางใหกวี ในสมัยหลังเลียนแบบสํานวนโวหารในการแตง เชน โคลงนิราศตามเสด็จลํานํ้านอย ของพระยาตรัง โคลงนิราศนรินทร ของนายนรินทรธิเบศร (อิน)


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา ๒) การตีความ จากบทประพันธนี้ แสดงความรอนรุม กังวลใจของกวีในการจะหา ที่ปลอดภัยฝากฝงสตรีคนรักในยามที่ตนตองเดินทางไปไกล ดวยสตรีนางนี้เปนผูงามพรอม โดย พิจารณาจากคํา “โฉมแม” ซึ่งคําวาโฉม ชวยเพิ่มศักดิ์ของคําวา “แม” ใหสูงสงมากขึ้น คือมิใชงาม เพียงรูปกายภายนอก แตถงึ พรอมดวยคุณสมบัตคิ วามงามภายในอีกดวย นอกจากนีใ้ น ๒ บาทแรก ยังแสดงคุณลักษณะความงามของนางผานกริยา “เทอก” ของพระอินทร อันหมายถึง การเทิดไว ยกไวใหสูง ทั้งในสองบาทถัดมา ยังแสดงคุณลักษณะของนางวา แมแตพระพรหม (เจาหลา) ก็ยัง มิอาจหามความรูสึกที่มีตอสตรีนางนี้ได ความในโคลงบทถัดไป ๓ บาทตน ยังคงลักษณะเชนเดียวกับโคลงบทกอนหนาคือการ แสดงความเปนหวง และหวงแหนสตรีคนรัก ดังที่กลาววาหากจะฝากไวกับมหาสมุทร พระยานาค ก็จะมาลักลอบพาไปครอบครอง ดวยคุณสมบัติและรูปโฉมของนางนั้นมิอาจกลาวใหครบถี่ถวนได แตในบาทสุดทาย กวีแสดงความคิดรวบยอดวา ไมมีใครจะสามารถดูแลตัวนางไดเทากับตัวของ นางเอง ซึง่ แสดงใหเห็นถึงความคิดรวบยอดของกวี ทีแ่ ตเดิมมองสตรีวา เปนเพียงผูอ อ นแอ ควรคา แกการทะนุถนอมและเปนผูที่ไมสามารถดูแลปกปองตัวเองได จึงนําไปสูการหาสถานที่ปลอดภัย เพื่อฝากฝงคุมครองนางอันเปนที่รัก มาสูการยอมรับในศักดิ์อันเทาเทียมกันระหวางหญิงและชาย วาสตรีใดก็ตามยอมมีสิทธิ และความสามารถในการดูแลคุมครองตนเองใหปลอดภัยจากอันตราย ไดดวยตนเองเชนเดียวกับผูชาย ๓) การขยายความ จากคําประพันธขางตน สามารถพิจารณาเชื่อมโยงไปถึง ความเชือ่ ของสังคมไทย ทีม่ คี วามเลือ่ มใสศรัทธาตอสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ เทพยดาวามีอาํ นาจสามารถปกปอง คุม ครอง อวยชัยใหพรมนุษยได จึงถือวาความเชือ่ ดังกลาวเปนพลังหรือความหวังในการดําเนินชีวติ ของมนุษย นอกจากนีก้ ารสรุปความคิดรวบยอดยังแสดงใหเห็นอีกวา กวีนบั ถือความรูค วามสามารถ ของมนุษยทั้งชายและหญิงในการปกปองคุมครองตนเอง ซึ่งลักษณะดังกลาวกวีในสมัยหลังไดนํา ไปแทรกไวในงานของตนเอง เชน งานของพระยาตรัง เปนตน การอานตีความและขยายความนิทานเรื่อง ลิงเปดแผล มีลิงฝูงหนึ่งอาศัยอยูในปาขางเขาใหญพวกมันกระโดดโลดเตนสนุกสนานไปตามประสาลิง มีลิงนอยตัวหนึ่งกระโดดไปตามกิ่งไม แตวิทยายุทธคงจะนอยไปหนอย จึงควากิ่งไมพลาดพลัดตก ลงมากระทบตอไมขางลาง มีแผลแตกที่ทองประมาณนิ้วเศษและมีเลือดไหลออกมา เหลาเพื่อนลิง เห็นเขาจึงลงจากตนไมมายืนมุงดูรอบขาง มีตัวหนึ่งคลายกับจะเปนหัวหนาฝูงเขาไปใกลรองเจี๊ยกๆ ซึ่งอาจแปลวา “เปนไงพวก”

๑๑

@

ครูทําสลากเทากับจํานวนนักเรียน ในหอง โดยเขียนหมายเลข 1 จํานวน ครึ่งหนึ่ง สวนอีกครึ่งหนึ่งเขียน หมายเลข 2 จากนั้นใหนักเรียนออก มาจับสลาก ใครที่จับไดหมายเลข เหมือนกันใหอยูกลุมเดียวกันและ รวมศึกษาในประเด็นเดียวกัน ดังนี้ กลุมที่ 1 “กําเนิดของนิทาน” กลุมที่ 2 “การอานแปลความ ตีความและขยายความ นิทานเรื่องลิงเปดแผล”

อธิบายความรู นักเรียนทั้งสองกลุมแลกเปลี่ยน ความรูระหวางกันเปนเวลา 15 นาที จากนั้นใหยืนในลักษณะวงกลมเพื่อ รวมกันอธิบายความรูเกี่ยวกับ กําเนิดของนิทานและรูปแบบการอาน แปลความ ตีความและขยายความ ซึ่งเปนตัวอยางในหนังสือเรียน

ขยายความเขาใจ นักเรียนคัดเลือกนิทานที่ตนเอง ชื่นชอบ ประทับใจและมีแนวคิด สอนใจที่ดี นํามาอานแปลความ ตีความและขยายความตามแนวทาง ที่ไดศึกษา บันทึกลงสมุดสงครูผูสอน

ตรวจสอบผล นักเรียนออกมาเลานิทานเรื่อง ที่ตนเองคัดเลือกหนาชั้นเรียน พรอมทัง้ บรรยายผลการอานแปลความ ตีความและขยายความใหครูและ เพื่อนๆ ฟง ครูสังเกตแนวทาง การอานของนักเรียน

มุม IT

สามารถศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับนิทานธรรมะ ไดจาก เว็บไซต http://www.dhammathai.org/dhammastory/index.php คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ตรวจสอบผล ครูตรวจสอบความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการอานแปลความ ตีความ และขยายความของนักเรียนจากการ มีสวนรวมในการอภิปราย

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู ผลการอานแปลความ ตีความ และขยายความบทรอยกรอง บทรอยกรองรวมสมัย บทโฆษณา และนิทานที่เลือก

12

คูมือครู

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ 1. ครูสรุปความหมาย แนวทางและ ความสําคัญของการอานแปลความ ตีความและขยายความใหนักเรียน ฟง จากนั้นใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายวา “การอานแปลความ ตีความ และขยายความสามารถ นําไปใชในชีวิตประจําวันได อยางไร” 2. ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • การอานแปลความ ตีความและ ขยายความมีความเกี่ยวเนื่อง สัมพันธกันอยางไร (แนวตอบ การอานทั้ง 3 ประเภท เปนกระบวนการที่เกิดขึ้น ตอเนื่องกันไปจนไมสามารถ แยกออกจากกันได คือ เมื่ออาน สารเสร็จแลวแปลความหมายได โดยทันที ก็จะตีความไดวา ผูเขียนตองการบอกอะไร หรือแฝงอะไรไว แลวผูอานก็จะ ขยายความหรือคาดคะเนไดวา ผลสรุปของเรื่องจะเปนอยางไร)

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

รองไมรอ งเปลา ใชมอื ทัง้ สองแหวกแผลดูเหมือนเปนหมอตรวจคนไข แตเปนหมอทีใ่ ชไมได เพราะไมไดลางมือใหสะอาดกอน แผลที่แตกอยูแลวก็เลยฉีกกวางขึ้น เจาจอนอยรอง...จาก...ดวยความเจ็บ เหลาวงศาคณาญาติลงิ ทัง้ ฝูงก็แตกฮือดวยความตกใจ สักพักก็กลับมามุงใหม อีกตัวหนึง่ ก็เขามาดูแผลโดยการแหวกแผลดูอกี ตัวแลวตัวเลาก็ทาํ แบบเดียวกัน แผลก็ยิ่งเหวอะหวะมากขึ้น เจาลิงนอยสุดจะทน ถึงกับหมดแรง รองไมออก นอนแนนิ่งไป เมื่อเห็น เพื่อนนอนนิ่งฝูงลิงตางแยกยายออกไป วันรุงขึ้น แผลเริ่มระบม ลิงนอยไดแตนอนหายใจระทวยรวยริน เพื่อนฝูงเห็นวายังไมตาย ก็ทยอยเขามาใหม มาถึงก็แหวกแผลดูอีก หลายตัวเขาแผลก็ฉีกกวางจนเห็นไส เลือดไหลนอง มีตัวหนึ่งเขาไปดึงไสออกมาดู อีกตัวหนึ่งดึงจนไสออกมาทั้งหมด ไมถึงเย็นเจาลิงนอยผูโชครายก็ถึง กาลอวสาน มันจบชีวิตอยางทรมานและนาเวทนา ดวยความหวังดีและความอยากรูอยากเห็นของ เพื่อนพองพี่นองของมันนั่นเอง (กิรดังไดสดับมา : พระธรรมกิตติวงศ)

แนวทางการแปลความ ตีความและขยายความนิทานเรื่อง ลิงเปดแผล มีดังนี้ ๑) การแปลความ จากนิทานเรือ่ ง ลิงเปดแผล สามารถแปลความไดวา ลิงนอยตัวหนึง่ ประสบเหตุตกลงมาจากตนไมไดรับบาดเจ็บบริเวณทองเปนแผลยาว ลิงทุกตัวในฝูงจึงเขามา มุงดูและแหวกแผลของเจาลิงนอยออกดูดวยความอยากรูอยากเห็น จนในที่สุดเจาลิงนอยก็ตาย ๒) การตีความ จากนิทานเรื่อง ลิงเปดแผล แสดงใหเห็นวาความหวังดีและความ อยากรูอยากเห็นของคน ทําใหกลายเปนการสอดรูสอดเห็น เขาไปยุงเรื่องของคนอื่น ถาเปนไป โดยไรขอบเขตก็จะมีแตโทษ กอความเสียหายอยางไมคาดคิด ๓) การขยายความ ความหวังดีและความอยากรูอยากเห็นของคน ทําใหเปนการ สอดรูส อดเห็นและชอบเขาไปยุง ในเรือ่ งของผูอ นื่ แมจะเปนเรือ่ งธรรมดาของคนทัว่ ไป แตถา เปนไป โดยไรขอบเขต ขาดความรูก จ็ ะมีแตโทษ แมบางเรือ่ งจะเปนเรือ่ งเล็กนอยไมใหญโต แกไขไดไมยาก แตถาขาดความรูความเขาใจในการแกไขเรื่องราวก็อาจบานปลายลุกลามกลายเปนเรื่องใหญโต เกิดความเสียหาย โดยเฉพาะเรือ่ งการใชคนตองศึกษาวาคนคนนัน้ มีความสามารถมากนอยแคไหน ถาเราใชคนไมเปน ใชคนไมถูกเรื่อง ก็อาจจะไปสรางปญหาใหญโตหรือเพิ่มปญหาใหมากขึ้น จนยากที่จะแกไขหรือมีบางเรื่องไมไดใหญโตอะไร แตพูดตอๆ กันไปปากตอปากก็จะทําใหเรื่อง บานปลายนากลัวขึ้นไปเรื่อยๆ ในการรับสารที่ผูเขียนสื่อใหผูอานเขาใจตามตัวอักษร ผูอานจะตองรูความหมายของ คําศัพทสํานวนโวหารในเรื่อง อธิบายความหมายไดถูกตอง เรียกวา การอานแปลความ ถาผูอาน พิจารณาเนื้อหาสาระใจความสําคัญและบริบท หรือศึกษาจากภูมิหลังของผูเขียน ผูอานจะคนพบ ๑๒


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ ความหมายที่แฝงไวในเนื้อหานั้นๆ เรียกวา การอานตีความ ซึ่งการตีความเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผูอานอาจตีความไดไมเหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความรูเดิมหรือประสบการณเดิมของผูอาน ทั้งนี้ การอานจะทําใหผูรับสารเขาใจไดดียิ่งขึ้น หากผูอานรูจักอธิบายขยายความใหผูอื่นรับรูไดดวย การอานขยายความ ดังนั้น การอานแปลความ ตีความและขยายความจึงเปนทักษะในการรับสาร และสงสารที่นักเรียนควรฝกฝน

๒ การอานเพ�อคาดคะเนเหตุการณและประเมินคา ๒.๑ การอานเพื่อคาดคะเนเหตุการณ

การอานเพื่อคาดคะเนเหตุการณ เปนการอานที่ผูอานสามารถระบุลักษณะขอมูล เปน ความสามารถในการจําแนกประเภทของขอมูล ระบุแนวคิดที่อยูเบื้องหลังขอมูลที่ปรากฏ ซึ่ง ประกอบดวยความสามารถในการพิจารณาแยกแยะ เปรียบเทียบความตางของขอมูล การตีความ ประเมินวาขอมูลใดเปนจริง ขอมูลใดเปนเท็จ รวมถึงการระบุขอสันนิษฐานหรือขอตกลงเบื้องตน ทีอ่ ยูเ บือ้ งหลังขอมูลทีป่ รากฏ การนําความรูไ ปใชในสถานการณใหมทอี่ าศัยขอมูลจากประสบการณ เดิมมารวมพิจารณาดวย หลักการอานเพื่อคาดคะเนเหตุการณ มี​ีดังนี้ ๑) ทบทวนพิจารณาเหตุการณหรือปรากฏการณที่เกิดขึ้นนั้นวาเปน สวนหนึง่ ของกระบวนการใด หรือคลายคลึงกับเหตุการณใดจากความรูเ ดิมและประสบการณ เดิมที่มีอยู ๒) ระบุเหตุการณหรือปรากฏการณที่เกิดขึ้นนั้นอยูในขั้นตอนใดของ กระบวนการ หรือเหตุการณที่คลายคลึงกัน

๒.๒ หลักการอานเพื่อประเมินคา

การอานประเมินคา เปนการอานเพื่ออธิบายลักษณะดี ลักษณะบกพรองของงานเขียน ในแงมุมตางๆ ไดแก ดานเนื้อเรื่อง ดานความคิดเห็น ดานทํานองการแตง เปนตน อธิบายให ผูอานเขาใจ แลวตองวินิจฉัยวางานนั้นเขียนดีหรือไมดี ผูประเมินคาจะตองหยิบยกสวนประกอบ ที่สําคัญมาวิพากษวิจารณทุกแงมุมเพื่อใหผูอานคลอยตามตามมุมมองของผูประเมินคา การอาน ประเมินคาชวยใหเกิดงานเขียนที่สรางสรรค ทําใหผูแตงสรางสรรคงานคุณภาพเพื่อผูอานและ ชวยใหงานเขียนแพรหลายยิ่งขึ้น การอานเพื่อประเมินคานั้นนอกจากเราจะไดรับความรูความ เพลิดเพลินและสนุกสนานแลวยังไดรับขอคิดอีกหลายประการ ผูอานที่ดีควรแยกแยะระหวาง ขอเท็จจริง และขอคิดเห็นไดอีกดวย ๑๓

NET ขอสอบ ป 51 ขอสอบถามวา สํานวนในขอใดกลาวถึงอุปนิสัยของคน 1. โปรดสัตวไดบาป 2. เงียบเปนเปาสาก 3. ผอนสั้นผอนยาว 4. กระดังงาลนไฟ ( วิเคราะหคําตอบ อุปนิสัย หมายถึง ความประพฤติที่เคยชินจนเปนนิสัย ในขณะที่ขอ 1., 2. และ 4. เปนสํานวน ที่มีความหมายเฉพาะ ขอ 3. มีความหมายถึง บุคคลที่มีนิสัยอะลุมอลวยใหผูอื่น ดังนั้นจึง ตอบ ขอ 3.)

ครูตั้งคําถามกับนักเรียนเพื่อนํา เขาสูหัวขอการเรียนการสอน • เมื่อนักเรียนอานผลงานการ ประพันธประเภทตางๆ จบลง นักเรียนมีความรูสึกหรือความ คิดเห็นอยางไรตอเรื่องที่อาน (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย ครูควร สนับสนุนใหนักเรียนไดแสดง ความคิดเห็นอยางอิสระ) • นักเรียนคิดวาเมื่อแตละคน อานงานเขียนเรื่องเดียวกัน จะ มีความรูสึกหรือความคิดเห็น เหมือนกันหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ คําตอบไมมีถูกหรือผิด ขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ของครูผสู อน)

สํารวจคนหา นักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมกัน สํารวจคนหาความรูในประเด็น การอานเพื่อคาดคะเนเหตุการณจาก แหลงการเรียนรูประเภทที่สนใจ

อธิบายความรู ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย ความรูเ กีย่ วกับการอานเพือ่ คาดคะเน เหตุการณ ดวยการตั้งคําถามกับ นักเรียนวา • การอานเพื่อคาดคะเน เหตุการณมีลักษณะอยางไร (แนวตอบ เปนการอานเรื่อง โดยพิจารณาเหตุผล ความ สัมพันธในเหตุการณเชื่อมโยง กับพืน้ ฐานความรู ประสบการณเดิมที่ผูอานมี นําไปสูการ คาดคะเนเหตุการณ)

คูมือครู

13


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู Explain

สํารวจคนหา นักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมกัน สํารวจคนหาในประเด็นความสําคัญ และแนวทางการอานเพื่อประเมินคา

อธิบายความรู นักเรียนยืนในลักษณะวงกลม เพื่อรวมกันอธิบายความรูแบบ โตตอบรอบวง โดยครูตั้งคําถามกับ นักเรียนวา • งานเขียนแตละประเภท เชน รอยแกว รอยกรอง มีหลักการ ประเมินคาเชนเดียวกันหรือไม อยางไร (แนวตอบ งานเขียนที่มีรูปแบบ แตกตางกัน ตองพิจารณา ดานรูปแบบแตกตางกัน เชน รอยกรองกับรอยแกว สารคดี กับบันเทิงคดี เปนตน)

14

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • นักเรียนมีเรื่องสั้น นวนิยาย วรรณคดีเรื่องที่ประทับใจหรือ ที่ชื่นชอบเปนพิเศษหรือไม และ เพราะเหตุใด (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย ตามความ คิดเห็นสวนตน) • นักเรียนคิดวา การพิจารณา ตัดสินวาเรื่องที่ไดอานนั้น ดีหรือไมดีอยางไร สิ่งสําคัญ สิ่งแรกที่ผูอานตองปฏิบัติคือ อะไร (แนวตอบ การพิจารณาตัดสิน หรือการประเมินคาเรื่องที่อาน ผูอานที่ดีจะตองอานเรื่องจนจบ และมีความเขาใจอยางลึกซึ้ง ตอเรื่องนั้นๆ)

ขยายความเขาใจ

หลักการอานเพื่อประเมินคา มีดังนี้ ๑) ใชวจิ ารณญาณใครครวญไตรตรองทุกแงมมุ ของงานเขียน ตองคนหาขอดี ขอบกพรองของงานเขียนใหได ๒) พิ จ ารณาเกี่ ย วกั บ รู ป แบบคํ า ประพั น ธ หรื อ ลั ก ษณะคํ า ประพั น ธ ที่ ใ ช ขนบธรรมเนียมในการแตง คือกลวิธีในการประพันธที่นิยมกันวาดีงามและถือปฏิบัติสืบตอกันมา บทประพันธที่ไมสอดคลองกับธรรมเนียมนิยมไมถือวาผิด หากแตจะเปนคําประพันธที่ไมงาม สมบูรณในความนิยมของผูอาน ๓) พิจารณาสวนประกอบและเนือ้ หา โครงสรางเนือ้ หาของงานเขียนแตละประเภท เชน พิจารณาเกี่ยวกับโครงเรื่อง แนวคิด จุดมุงหมาย เนื้อเรื่อง ขอขัดแยงและขอคิดเห็นของ ผูเขียน สวนงานเขียนบันเทิงคดีจะพิจารณาเกี่ยวกับโครงเรื่อง แนวคิด เนื้อเรื่อง ตัวละคร ฉาก บรรยากาศและบทเจรจา ๔) พิจารณากลวิธแี ตง โดยคํานึงถึงความชํานาญในการเขียน เชน การตั้งชื่อเรื่อง วิธีการเลาเรื่อง วิธีการดําเนินเรื่อง การจบเรื่องและการนําเสนอที่แปลกใหม ๕) พิจารณาภาษาทีใ่ ช ความสามารถในการใชถอ ยคําภาษา เชน การใชคาํ ประโยค สํานวนโวหาร เปนตน ๖) พิจารณาคุณคาของงานเขียน พิจารณากวางๆ ๔ ประเด็น คือ ๖.๑) คุณคาดานวรรณศิลป คือความไพเราะของบทประพันธ ซึ่งทําใหผูอานเกิด อารมณ ความรูสึกและจินตนาการตามความหมายของถอยคําและภาษาที่ผูแตงเลือกใชเพื่อให มีความหมายกระทบใจผูอาน รวมทั้งกลวิธีการนําเสนอ กวีจะใชวิธีนําเสนอเพื่อใหวรรณคดีและ วรรณกรรมนัน้ ๆ นาสนใจ นาติดตามหรือนาประทับใจตางๆ เชน เสนอสาระสําคัญอยางตรงไปตรงมา หรือเสนอแบบใหตีความหรือความเปรียบ เปนตน ๖.๒) คุณคาดานเนื้อหาสาระ คือแนวคิดและสารที่ผูประพันธนําเสนอ แนวคิด หมายถึง สาระขอคิดเห็นหรือความตัง้ ใจของกวีทตี่ อ งการจะสือ่ มายังผูอ า น กวีจะเชื่อมโยงโครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก บทสนทนาและสวนประกอบตางๆ ทั้งหมดเขาดวยกันเพื่อ แสดงแกนเรื่อง หรือแนวคิดสําคัญออกมา แกนเรื่องจะมีจุดมุงหมายแตกตางกันไป ๖.๓) คุณคาดานสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมจะสะทอนใหเห็นสภาพสังคมและ วรรณคดีที่ดีสามารถจรรโลงสังคมไดอีกดวย ความรูหรือความคิดที่สงออกมา หากคนในสังคมได อานไดรับรูก็มีผลใหนําไปชวยกันพัฒนาสังคม แกปญหาสังคมหรือเกิดความละอายที่จะกระทําชั่ว ก็จะทําใหสังคมมีความเจริญมีความสุขสงบขึ้น ๑๔


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา ๖.๔) การนําไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน ผูอ า นอานแลวไดรบั ประโยชนทงั้ ความรู ที่เปนขอเท็จจริงจากสาร ทั้งทางดานวรรณศิลปและสังคม นอกจากนั้นยังไดขอคิด คติเตือนใจ สามารถนําแนวคิดและประสบการณจากเรือ่ งทีอ่ า นไปประยุกตใชหรือแกปญ หาในชีวติ ประจําวันได

๒.๓ ตัวอยางการอานคาดคะเนเหตุการณและประเมินคา การอานประเมินคาพระโอวาท ของสมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว.ชื่น นพวงศ) ผูปกครองที่ไมตั้งอยูในศีล ยอมประพฤติทุจริตทําใหผูอยูในปกครองเดือดรอนดวย อธรรม ปราศจากความเมตตากรุณา ฝายผูอยูในปกครองที่ปราศจากศีล เปนคนชั่ว เปนผูราย กอความเดือดรอนตางๆ ทั้งแกผูอยูในปกครองดวยกัน และผูปกครองไมเปนอันประกอบอาชีพให เจริญ เพราะฉะนั้นศีลจึงจําเปนสําหรับการอยูรวมกันเปนหมูคณะ ถาตางตั้งมั่นอยูในศีล บานเมือง ก็จะมีความสงบสุขราบคาบปราศจากโจรภัย และทุจริตทั้งปวง (ธรรมจักษุ)

แนวทางการอานประเมินคาคําสอนของสมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว.ชื่น นพวงศ) มีดังนี้ ๑) รูปแบบ คําสอนหรือพระโอวาทมีวธิ กี ารนําเสนอโดยใชความเรียงรอยแกว และยก ขอความขึน้ มาชีใ้ หเห็นเหตุและผลของการไมตงั้ อยูใ นศีลในธรรมของผูป กครองและผูอ ยูใ ตปกครอง ๒) สวนประกอบของเนื้อหา เนื้อหาของบทความมีความนาเชื่อถือเพราะเปน พระโอวาทของสมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว.ชื่น นพวงศ) เนื่องจาก พระองคเปนผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ พระโอวาทนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับวา หากผูปกครองและผูอยูใตปกครองไมตั้งมั่นอยูในศีล ในธรรม เปนคนไมดีจะทําใหบานเมืองเดือดรอน ดังนั้น ทั้งผูปกครองและผูอยูใตปกครองจําเปน ตองอยูในศีลในธรรมจะทําใหบานเมืองมีความสงบสุขปราศจากโจรผูรายและทุจริตทั้งปวง เพราะ ศีลคือ หลักธรรมสําหรับการใชชีวิตอยูรวมกันในสังคม ๓) รูปแบบของภาษาทีใ่ ช คําสอนทีย่ กมาเปนตัวอยางนีใ้ ชภาษาทีเ่ ขาใจไดงา ย หาก ทําความเขาใจจะสามารถนําไปใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตได ๔) คุณคาของงานเขียน พระโอวาทนี้นักเรียนสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิต ประจําวันได คือ ถาเราทุกคนตั้งมั่นอยูในศีล บานเมืองก็จะมีแตความสงบสุข ปราศจากความ ทุจริตทั้งหลาย ๑๕

นักเรียนสํารวจกลวิธีการอาน ประเมินคาพระโอวาท ที่นํามาแสดง ไวในหนังสือเรียน หนา 15

อธิบายความรู ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย ความรูเกี่ยวกับแนวทางการอาน ประเมินคาพระโอวาทที่นํามาแสดง เปนตัวอยาง จากนั้นครูสรุปแนวทาง การอานประเมินคาใหนักเรียนฟง เพื่อบันทึกสาระสําคัญลงสมุด

@

มุม IT

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมเด็จพระสังฆราชเจา รวมถึงคําสอนที่ให แงคิดและประสบการณที่ดีงาม เปน ประโยชนตอการนําไปปรับใชในชีวิต ประจําวันของตนเองไดจากเว็บไซต ของสถาบันวิมตุ ตยาลัย http://www. dhammatoday.com ลิงกไปที่ ธรรมะบริการหรือลิงกอื่นที่สนใจ ซึ่งปรากฏบนเว็บไซต

NET ขอสอบ ป 50 ขอสอบถามวา คําสอนในขอใด นํามาใชเปนประโยชนในการศึกษา เลาเรียนไดมากที่สุด 1. อยาลองคะนองตน ตามชอบ ทํานา 2. จงพออยายินยล แตตื้น 3. อยาระคนปนใกล เกลือกกลั้ว ขลาดเขลา 4. อยาหยอนวิริยะยล อยางเกียจ ( วิเคราะหคําตอบ คําสอนทุกขอมาจาก เรื่องลิลิตตะเลงพาย ขอ 1., 2. และ 3. เปนคําสอนที่เหมาะสําหรับผูครองเรือน ดังนั้นจึง ตอบ ขอ 4.) คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

นักเรียนควรรู สวนจิตรลดา หรือพระตําหนัก สวนจิตรลดา หรือพระตําหนัก จิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2456 มีลักษณะ ทางสถาปตยกรรมแบบตะวันตก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช โปรดเกลาฯ ใหใช พระตําหนักจิตรลดารโหฐานเปนที่ ประทับถาวร โปรดเกลาฯ ใหสราง โรงเรียนจิตรลดาเพื่อใชเปนสถานที่ ศึกษาของพระโอรส พระธิดาและ บุตรหลานขาราชสํานัก นอกจากนี้ยัง ทรงใชเปนสถานที่ทดลองโครงการ สวนพระองคเกี่ยวกับการเกษตร เพื่อพระราชทานผลการศึกษาใหแก ราษฎร เชน โครงการนาขาวทดลอง โครงการเลี้ยงปลานิล โครงการโคนม เปนตน

16

คูมือครู

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ 1. นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น วา “นักเรียนสามารถนําหลักการ อานเพื่อประเมินคาไปปรับใชเพื่อ พัฒนาชีวิตและสังคมไดอยางไร” (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบได อยางหลากหลาย คําตอบขึ้นอยู กับพื้นฐานความรูและ ประสบการณสวนตน) 2. ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • การอานเพื่อประเมินคาควร รักษามารยาทอยางไร (แนวตอบ พิจารณาคําตอบของ นักเรียน โดยขึ้นอยูกับดุลยพินิจ ของครูผูสอน)

Expand

การอานประเมินคาพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานเนื่องในงานวันปดภาคเรียนปการศึกษา ๒๕๑๓ โรงเรียนจิตรลดา ณ ศาลาผกาภิรมย สวนจิตรลดา เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๑๔ “ผลที่ไดเปนคะแนนที่เปนประกาศนียบัตร หรือเปนรางวัลนั้น มีประโยชนอยางไร ตอง เขาใจวาเราเปนผูเยาว เปนเวลาที่จะตองสะสมความรู ไมใชการเรียนเพื่อเอาคะแนน เปนการเรียน เพื่อที่จะเตรียมตัวสําหรับดํารงชีวิตอยูในโลกนี้ เพื่อเปนประโยชนแกสังคมและเพื่อประโยชนของ ตัวเอง ไมใชเรียนสําหรับใหพอแมหรือผูปกครองหรือครูปลื้มใจเทานั้นเอง แตสําหรับที่จะใหตัวเอง มีชีวิตรอดตอไปในอนาคตแลวก็เมื่อโตขึ้นจะรูตัววาตัวทําดีหรือไมดี...”

แนวทางการอานประเมินคาพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภูมพิ ลอดุลยเดช มีดังนี้ ๑) รูปแบบ พระบรมราโชวาทมีลกั ษณะเปนความเรียง นําเสนอโดยการใชคาํ งายๆ ใช คํานอยแตกินความมาก สื่อความอยางตรงไปตรงมา ๒) สวนประกอบของเนือ้ หา เนื้อหาของพระบรมราโชวาทมีความนาเชื่อถือเปน อยางยิ่ง เพราะเปนพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช อีกทั้ง สาระของพระบรมราโชวาทตอนนี้ เปนสัจธรรมหรือความจริงแท กลาวคือ ผูท มี่ คี วามรูอ ยางแทจริง ไมไดวัดจากผลคะแนน แตอยูที่การนําความรูที่มีไปใชใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม พระบรมราโชวาทนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการสะสมความรูเพื่อตนเองและเพื่อประโยชนแก สังคม มีความสําคัญยิ่งกวาคะแนนที่ดีหรือเพียงแคเรียนใหพอแมปลื้มใจเทานั้น ๓) คุณคาของงานเขียน เนนใหนักเรียนปฏิบัติตามพระบรมราโชวาท คือ หมั่น ศึกษาหาความรูใหมาก เพื่อจะไดนําความรูไปใชประกอบอาชีพในอนาคตและทําประโยชนใหกับ สังคมได การอานประเมินคาบทเทศนา รักของพอแม ทั้งรักแท และรักยั่งยืน ลูกทุกคนคงเห็นชัดวา ที่คุณพอคุณแมทําทุกอยางใหแกลูกนั้น ก็ดวยความรัก เราจึงควร รูจักความรักของคุณพอคุณแมใหดีสักหนอย เริ่มแรก รูจักกันไวกอนวา ความรักนั้น ถาแยกตามหลักธรรม ก็แบงงายๆ วา มี ๒ แบบ ความรักแบบที่ ๑ คือ ความชอบใจอยากไดเขามาสนองความตองการของเราเพื่อทําให ตัวเรามีความสุข ความชอบใจที่จะเอาเขามาบําเรอความสุขของเรา ชอบใจคนนั้น สิ่งนั้นเพราะจะ มาสนองความตองการเปนเครือ่ งบํารุงบําเรอเรา ทําใหเรามีความสุขไดความรักแบบนีม้ มี ากมายทัว่ ไป

๑๖


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ ความรักแบบที่ ๒ คือ ความอยากใหเขามีความสุข ความตองการใหคนอืน่ มีความสุข หรือ ความปรารถนาใหคนอืน่ อยูด มี คี วามสุข ความรักของพอแมเปนแบบที่ ๒ นี้ คือ อยากใหลกู มีความสุข ความรัก ๒ แบบนี้ แทบจะตรงขามกันเลย แบบที่ ๑ อยากไดเขามาบําเรอความสุขของเรา (จะหาความสุขจากเขา หรือเอาเขามา ทําใหเราเปนสุข) แต แบบที่ ๒ อยากใหเขาเปนสุข (จะใหความสุขแกเขา หรือทําใหเขาเปนสุข) ความรักที่หนุมสาวมักพูดกัน คือแบบที่หนึ่ง แตในครอบครัว มีความรักอีกแบบหนึง่ ใหเห็น คือ ความรักระหวางพอแมกบั ลูก โดยเฉพาะ ความรักของพอแมตอลูก คืออยากใหลูกเปนสุข ความรักชอบใจอยากไดเขามาบําเรอความสุขของเรา ก็คือ ราคะ สวนความรักที่อยากใหเขาเปนสุข ทานเรียกวา เมตตา ความรัก ๒ แบบนี้ มีลักษณะตางกัน และมีผลตางกันดวย อะไรจะตามมาจากความรัก ทั้ง ๒ แบบนี้ ถามีความรักแบบที่ ๑ ก็ตองการได ตองการเอาเพื่อตนเอง เมื่อทุกคนตางคนตางอยากได ความรักประเภทนี้ก็จะนํามาซึ่งปญหา คือ ความเห็นแกตัว และการเบียดเบียนแยงชิงซึ่งกันและกัน แตความรักแบบที่สองตองการใหเขามีความสุข พอเขามีความทุกขเดือดรอน เราก็สงสาร อยากจะชวยปลดเปลื้องความทุกข ใหเขาพนจากความลําบากเดือดรอนนั้น ความรักแบบที่หนึ่งนั้น ตองไดจึงจะเปนสุข ซึ่งเปนธรรมดาของปุถุชนทั่วไปที่วา เมื่อเอา เมื่อได จึงมีความสุข แตถาตองใหตองเสีย ก็เปนทุกข วิถีของปุถุชนนี้ จะทําใหไมสามารถพัฒนาในเรื่องคุณธรรม เพราะวาถาการใหเปนทุกข หาสงคมไมได เสียแลว คุณธรรมก็มาไมได มนุษยจะตองเบียดเบียนกัน แกปญหาสั แตถา เมือ่ ไรเราสามารถมีความสุขจากการให เมือ่ ไรการใหกลายเปนความสุข เมือ่ นัน้ ปญหา สังคมจะลดนอยลงไป หรือแกไขไดทันทีเพราะมนุษยจะเกื้อกูลกัน ตามปกติ การใหคือการเสียสละหรือยอมเสียไป ซึ่งมักตองฝนใจ จึงเปนความทุกข แตพอ มีความรักแบบที่สอง ก็ใหดวยความสุข ดังนั้น ความรักคือเมตตาจึงมาสรางความเปลี่ยนแปลงใหม ทําใหการใหกลายเปนความสุข ความรักแบบที่สอง ที่ทําใหตนมีความสุขจากการให จึงเปนความรักที่สรางสรรคและแก ปญหา เมื่อมนุษยมีความสุขจากการให จะเปนความสุขแบบทั้งสองฝาย สุขดวยกัน คือ ผูใหก็สุข เมือ่ เห็นเขามีความสุข สวนผูไ ดรบั ก็มคี วามสุขจากการไดรบั อยูแ ลว สองฝายสุขดวยกัน จึงเปนความ สุขแบบประสาน

นักเรียนรวมกันอภิปรายวา “ผูอ า น ประเมินคาทีด่ คี วรมีคณ ุ สมบัตอิ ยางไร” (แนวตอบ บุคคลที่จะสามารถอาน ประเมินคาไดดีจะตองเปนผูที่มี ความรอบรู รักการเรียนรู หมั่น ศึกษาหาความรูเพิ่มเติมและมี จิตใจเปนกลาง ปราศจากอคติ)

นักเรียนควรรู ราคะ หมายถึง ความกําหนัดยินดี ความพอใจ ความติดใจ

นักเรียนควรรู เมตตา เปนหนึ่งในพรหมวิหารธรรม 4 ประการในพระพุทธศาสนา หรือเรียกวา พรหมวิหารสี่ ประกอบ ไปดวย เมตตา กรุณา มุทิตา และ อุเบกขา ซึง่ ผูท มี่ จี ติ ใจเมตตายอมเกิด อานิสงส เชน หลับเปนสุข ตื่นเปนสุข เปนที่รักของมนุษยและอมนุษย เปนตน

NET ขอสอบ ป 50 ขอสอบถามวา ขอความตอไปนี้มี สาระสําคัญเกี่ยวกับเรื่องใด “ขาพเจาใครจะกลาวแกทุกทานวา การทํานุบํารุงประเทศชาตินั้นมิใช หนาที่ของผูหนึ่งผูใดโดยเฉพาะ หาก ๑๗ เปนภาระความรับผิดชอบของคนไทย ทุกคนทีจ่ ะตองขวนขวายกระทําหนาที่ ของตนใหดีที่สุด เพื่อธํารงรักษาชาติ บานเมืองใหเจริญมั่นคงและผาสุก รมเย็น” 1. ความรับผิดชอบของผูนํา 2. ความสามัคคีของคนในสังคม 3. ความเจริญมั่นคงของประเทศ 4. ความสํานึกรูหนาที่ของคนไทย ( วิเคราะหคําตอบ ผูกลาวกําลังชี้แจงใหเห็นวาการทํานุบํารุงประเทศชาติเปนหนาที่ของทุกคน ดังนั้นจึง ตอบ ขอ 4.) คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

NET ขอสอบ ป 53 ขอสอบถามวา ประกาศตอไปนี้ ขาดความชัดเจนในเรื่องใด “โรงพยาบาลชีวีสุขเปดบริการ ตรวจโรคนอกเวลา สําหรับสตรี ที่มีอาการวัยทองและมีอาการ ประจําเดือนผิดปกติ ตรวจโดย แพทยสูตินรีเวชผูเชี่ยวชาญ ณ ชั้น 7 อาคาร 100 ป นัดหมายลวงหนา โทร 02-1111111” 1. กลุมเปาหมาย 2. สถานที่ติดตอ 3. เวลาดําเนินการ 4. ผูดําเนินการ ( วิเคราะหคําตอบ มีกลุมเปาหมาย คือ “สตรีที่มีอาการวัยทอง” สถานที่ติดตอคือ “ชั้น 7 อาคาร 100 ป โรงพยาบาลชีวีสุข” ผูด าํ เนินการคือ “แพทยสตู นิ รีเวช ผูเชี่ยวชาญของโรงพยาบาล ชีวีสุข” สิ่งที่ขาดคือ เวลา ดําเนินการ ดังนั้นจึง ตอบ ขอ 3.)

คูมือครู

ตรวจสอบผล Evaluate

ความสุขแบบนี้ดีแกชีวิตของตนเองดวย คือ ตนเองก็มีทางไดความสุขเพิ่มขึ้นแลวก็ดีตอ สังคม เพราะเปนการเกื้อกูลกัน ชวยใหเพื่อนมนุษยมีความสุข ทําใหอยูรวมกันดวยดี ความรักของพอแมคือ อยากเห็นลูกมีความสุข และอยากทําใหลูกเปนสุข แลวก็มีความสุข เมื่อเห็นลูกเปนสุข เมือ่ อยากเห็นลูกมีความสุข พอแมกพ็ ยายามทําทุกอยางใหลกู มีความสุข วิธสี าํ คัญอยางหนึง่ ที่จะทําใหลูกมีความสุข ก็คือการใหแกลูก เพราะฉะนั้นพอแมก็จะมีความสุขในการใหแกลูก เพราะ การใหนั้นเปนการทําใหลูกมีความสุข ในขณะที่คนทั่วไปตองไดจึงจะมีความสุข แตพอแมใหแกลูกก็มีความสุข บางทีตัวเอง ตองลําบากเดือดรอนแตพอเห็นลูกมีความสุข ก็มีความสุข ในทางตรงขามถาเห็นลูกไมสบายหรือ ตกทุกขลําบาก พอแมก็พลอยทุกข หาทางแกไข ไมมีความรังเกียจ ไมมีความเบื่อหนาย แลวยัง ทนทุกขทนลําบากเพื่อลูกไดดวย รักของพอแมนี้เปนรักแทที่ยั่งยืน ลูกจะขึ้นสูง ลงตํ่า ดี ราย พอแมก็รัก ตัดลูกไมขาด ลูก จะไปไหนหางไกล ยาวนานเทาใด จะเกิดเหตุการณผันแปรอยางไร แมแตจะถูกคนทั้งโลกเกลียดชัง ไมมีใครเอาดวยแลว พอแมผูใหกําเนิดก็ยังเปนออมอกสุดทายที่จะโอบกอดลูกไว พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต)

แนวทางการอานประเมินคาบทเทศนา รักของพอแม ทั้งรักแท และรักยั่งยืน มีดังนี้ ๑) รูปแบบ นําเสนอลักษณะเปนความเรียงโดยใชถอ ยคําทีเ่ รียบงาย ใชขอ เท็จจริงและ หลักการของเหตุผลเพื่อสนับสนุนแนวความคิดหลักของเรื่องซึ่งคือ “ความรักของพอแมเปน ความรักทีย่ งั่ ยืน” โดยการยกตัวอยางควบคูก บั ความรักอีกประเภทหนึง่ ซึง่ เปนความรักของคนหนุม สาว เพือ่ ใหผอู า นเห็นภาพตางระหวางความรักทัง้ สองประเภท ทําใหเห็นวาความรักทีแ่ ทจริงคือความรัก ของใครและเห็นคุณคาของเจาของความรักนั้นมากขึ้น ๒) สวนประกอบของเนือ้ หา บทเทศนานีก้ ลาวถึงความรัก ๒ รูปแบบทีแ่ ตกตางกัน อยางตรงขาม แบบที่ ๑ เปนความรักของคนหนุม-สาว ที่อยากไดเขามาบําเรอความสุขของเรา แบบที่ ๒ เปนความรักของพอแมที่อยากใหลูกเปนสุข ซึ่งความรักทั้งสองแบบนี้ตั้งอยูบนพื้นฐานที่ตางกัน กลาวคือ ความรักแบบที่ ๑ ตั้งอยู บนพื้นฐานของราคะ ความอยากได ใครมี เมื่อไมไดก็จะเกิดทุกข แตความรักในแบบที่ ๒ ตั้งอยู บนพื้นฐานของความเมตตา ปรารถนาใหผูอื่นมีความสุข ซึ่งผูที่มีราคะกับผูที่มีความเมตตาก็จะ แสดงพฤติกรรมที่แตกตางกัน ผูมีราคะเมื่อตองเสียสละยอมเปนทุกข แตผูมีเมตตาเมื่อเสียสละ ๑๘

18

Expand

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ นักเรียนรวมกันอภิปรายวา “ผูอ า น แตละคนจะสามารถอานเพือ่ ประเมินคา ไดเหมือนกันหรือไม อยางไร” (แนวตอบ ไมเหมือนกัน ขึ้นอยูกับ พื้นฐานความรู ความคิด ความ เขาใจ ทัศนคติ และประสบการณ ของแตละบุคคล)

ขยายความเขาใจ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ ยอมเปนสุขเพราะเปาหมายทีต่ า งกัน ดังนัน้ บทเทศนาดังกลาวจึงสามารถนําไปปรับใชกบั การดําเนิน ชีวิตประจําวันอยางมีความสุขได ๓) คุณคาของงานเขียน เมือ่ อานบทเทศนาจบแลวจะเห็นวาความรักของพอแมนนั้ เปนความรักที่ยิ่งใหญ ปรารถนาใหลูกมีความสุข ดังนั้น เมื่อมีโอกาสก็ควรตอบแทนพระคุณของ ทานดวยความรักและหวงใยอยางแทจริง

๒.๔ มารยาทในการอาน

การอาน คือเครือ่ งมือสําคัญในการศึกษาหาความรูแ ละเพิม่ พูนประสบการณในดานตางๆ ผูอ า นทีด่ ตี อ งมีมารยาทหรือขอควรประพฤติปฏิบตั ใิ นการอาน เพือ่ เปนผูอ า นทีม่ ปี ระสิทธิภาพอยาง แทจริง ๑) ไมสงเสียงดังรบกวนผูอื่น หรือไมใชอุปกรณสื่อสารภายในหองสมุดเพราะ เปนการรบกวนสมาธิของผูอื่น รวมถึงไมนําอาหาร เครื่องดื่มเขามารับประทานภายในหองสมุด ๒) ใหความเคารพตอเอกสารทีอ่ า น คือไมขูด ลบ ขีด ฆา พับมุมหรือฉีกหนังสือ ใหชาํ รุดเสียหาย หากตองการขอความ รูปภาพในหนังสือ ควรใชวธิ กี ารคัดลอกหรือถายสําเนาดวย ความระมัดระวัง ๓) เก็บใหเปนระเบียบ คือเมือ่ อานหนังสือเสร็จแลว ควรนําไปวางไวยงั จุดทีบ่ รรณารักษ กําหนด เพื่อสะดวกแกการจัดเก็บของเจาหนาที่ ๔) ไมละเมิดสิทธิของผูอ นื่ คือไมอา นจดหมาย หนังสือ สมุดบันทึกสวนตัวของผูอ นื่ โดยไมไดรับอนุญาต ๕) ปฏิบตั ติ ามกฎกติกามารยาทอยางเครงครัด คือเมือ่ ไปใชบริการทีห่ อ งสมุด ของสถานที่ตางๆ ควรปฏิบัติตามกฎกติกาที่ไดกําหนดไว เพื่อเปนการเคารพและใหเกียรติสถานที่ การอานเปนทักษะที่ฝกฝนและพัฒนาไดโดยเริ่มจากการที่ผูอานทําความเขาใจตาม ตัวอักษร จับใจความสําคัญและบริบท รูค วามหมายของคําศัพท สํานวนโวหาร อธิบายความหมาย ไดถูกตอง คนพบความหมายที่แฝงไวในเนื้อหานั้น จะทําใหผูรับสารเขาใจไดดียิ่งขึ้น ทัง้ นีผ้ อู า นตองตระหนักถึงความถูกตองของขอมูลและความคิดเห็นทีผ่ เู ขียนนําเสนอ วาอยูบนพื้นฐานของเหตุและผลหรือไม ตลอดจนวิเคราะหกลวิธีการนําเสนอและการใชภาษา แลวจึงวินิจฉัยวาบทความนั้นมีคุณคามากนอยเพียงใดกอนที่จะนําไปปรับใชในชีวิตประจําวัน

๑๙

B

B

พื้นฐานอาชีพ

การอาน เปนคุณสมบัติขั้นพื้นฐานของการประสบความสําเร็จในชีวิต ผูที่มีพื้นฐานการอานที่ดี ยอมสามารถประกอบอาชีพไดอยางหลากหลาย ซึ่งการอานแปลความ ตีความและขยายความ สามารถปูพื้นฐานทางอาชีพใหแกนักเรียนได เชน พิธีกร นักจัดรายการวิทยุ บรรณาธิการหนังสือพิมพ เปนตน ดังนั้นนักเรียนจึงควรฝกฝนทักษะการอานอยางสมํ่าเสมอและเปนผูมีนิสัยรักการอาน

1. “การอานทําใหคนเปนคน โดยสมบูรณ” นักเรียนเห็นดวย หรือไมกับคํากลาวนี้ ใหนักเรียน แสดงความคิดเห็นพรอมยก ตัวอยางประกอบใหเห็นชัดเจน (แนวตอบ พิจารณาคําตอบของ นักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจ ของครูผูสอน) 2. ครูคัดเลือกโอวาท พระโอวาท พระราชโอวาท บทเทศนา มาให นักเรียนประมาณ 3-4 ตัวอยาง จากนั้นใหนักเรียนเลือกอาน ประเมินคาโอวาท พระโอวาท หรือพระราชโอวาทมา 1 ตัวอยาง บันทึกลงสมุดสงครูผูสอน

ตรวจสอบผล 1. นักเรียนนําผลการอานประเมินคา มาบรรยายใหครูและเพื่อนๆ ฟง หนาชั้นเรียน ครูสังเกตแนวทาง การอานของนักเรียน คัดเลือก ผลงานดีเดน 3 ผลงาน นํามาติด ปายนิเทศประจําชั้นเรียน 2. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวย การเรียนรู

@

มุม IT

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติ และผลงานของพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต) ไดที่ http://www.dhammathai.org/ souds/dhammapidok.php

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู ผลการอานประเมินคาที่นักเรียน นําสง ความยาวไมเกินหนึ่งหนา กระดาษรายงาน คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

เกร็ดแนะครู (แนวตอบ คําถามประจําหนวย การเรียนรู 1. การอานแปลความทําใหเขาใจ ความหมายตามตัวอักษร ที่ปรากฏ การอานตีความ ทําใหเขาใจจุดประสงค นํ้าเสียง ของเรื่องและผูแตงทําใหเกิด ความเขาใจเรื่องอยางกระจาง ชัด และสามารถขยายความ เขาใจนั้นได 2. การอานแปลความ คือ การ แปลความหมายตามตัวอักษรที่ มีความหมายตามพจนานุกรม และความหมายโดยนัย การอานตีความ คือ การตีความ โดยพิจารณาถอยคํากับ บริบทแวดลอมเพื่อใหเขาใจ ความหมายที่ผูแตงแฝงไว การอานขยายความ คือ การนํา ความเขาใจที่ไดจากการอานมา เชื่อมโยงขยายใหกวางออกไป และทําใหเขาใจเรื่องมากยิ่งขึ้น 3. เปนการอานแปลความ ตีความ และขยายความ เพราะผูอานจะ สามารถอธิบายความหมาย และเนื้อหาของเรื่องไดทั้งหมด จากความเขาใจ 4. ทําใหผูอานสามารถคาดคะเน เหตุการณของเรื่องได และชวย ใหผูอานประเมินคุณคาของ เนื้อหาหรือรูปแบบของเรื่องวา ดีหรือไม นาเชื่อถือหรือไม ควร นําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน หรือไม 5. มีแนวทางการพิจารณา คือ พิจารณารูปแบบของงานเขียน พิจารณาสวนประกอบ ขอเท็จจริง เนื้อหา ความ นาเชื่อถือของขอมูล การใช ภาษา คุณคาของงานเขียน)

20

คูมือครู

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. การอานแปลความ ตีความและขยายความมีความสัมพันธกันอยางไร ๒. หลักเกณฑของการอานแปลความ ตีความและขยายความมีความแตกตางกัน อยางไร ๓. ผูที่มีมารยาทในการอานจะตองมีลักษณะอยางไรและจะสงผลดีตอผูปฏิบัติอยางไร ๔. การอานคาดคะเนเหตุการณและประเมินคามีความสําคัญตอการอานอยางไร ๕. หลักการอานประเมินคามีแนวทางการพิจารณาอยางไร อธิบายพอสังเขป

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. นักเรียนเลือกขาวที่นาสนใจจากหนังสือพิมพมา ๑ เรื่อง แลวพิจารณาอาน แปลความ ตีความและขยายความ แลวรวบรวมสงครูผูสอน ๒. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ - ๖ คน โดยใหแตละกลุมเลือกบทความสารคดี ประเภททองเที่ยวที่นักเรียนสนใจมาอานเพื่อคาดคะเนเหตุการณและประเมินคา ของบทความสารคดีนั้นและอภิปรายในชั้นเรียนใหเพื่อนฟง

๒๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.