8858649122377

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ทีเ่ คยออกขอสอบ NT/O-NET เก็งขอสอบ NT/O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

• นักเรียนควรรู

• บูรณาการอาเซียน

• มุม IT

คูม อื ครู

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT เพือ่ เตรียมพรอมสอบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด แนว NT (เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

บูรณาการเชื่อมสาระ กิจกรรมสรางเสริม

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิด และเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลย อยางละเอียด

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด โดยเนน - การอานออกเขียนได - การคิดเลข - ความสามารถดานการคิด และการใหเหตุผล

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม กิจกรรมทาทาย

ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา คณิตศาสตร ป.1 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน คณิตศาสตร ป.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา คณิตศาสตร ป.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแ นสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางงานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

คณิตศาสตร (เฉพาะชั้น ป.1)*

จํานวนและการดําเนินการ

มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. เขียนและอานตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทย แสดงปริมาณของ สิ่งของหรือจํานวนนับที่ไมเกิน หนึ่งรอยและศูนย

2. เปรียบเทียบและเรียงลําดับ จํานวนนับไมเกินหนึ่งรอย และศูนย

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การใชจํานวนบอกปริมาณที่ไดจาก การนับ • การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยแสดงจํานวนนับ • การอานตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทย • การนับเพิ่มทีละ 1 ทีละ 2 • การนับลดทีละ 1 • หลักและคาของเลขโดดในแตละหลัก • การเขียนตัวเลขแสดงจํานวน ในรูปกระจาย • การเปรียบเทียบจํานวนและการใช เครื่องหมาย = ≠ > < • การเรียงลําดับจํานวนไมเกิน หาจํานวน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 จํานวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 • หนวยการเรียนรูที่ 2 จํานวนนับ 6 ถึง 10 • หนวยการเรียนรูที่ 5 จํานวน 11 ถึง 20 • หนวยการเรียนรูที่ 9 จํานวน 21 ถึง 100

มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวางการดําเนินการตางๆ และสามารถใชการดําเนินการในการแกปญหา ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• ความหมายของการบวก ป.1 1. บวก ลบ และบวกลบระคน และการใชเครื่องหมาย + ของจํานวนนับไมเกินหนึ่งรอย • การบวกที่ไมมีการทด และศูนย พรอมทั้งตระหนัก ถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ • ความหมายของการลบ และการใชเครื่องหมาย • การลบที่ไมมีการกระจาย • การบวก ลบระคน 2. วิเคราะหและหาคําตอบของโจทย ปญหา และโจทยปญหาระคนของ จํานวนนับไมเกินหนึง่ รอยและศูนย พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ

• โจทยปญหาการบวก การลบ • โจทยปญหาการบวก ลบระคน • การสรางโจทยปญหาการบวก การลบ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 3 การบวกจํานวนสองจํานวน ที่มีผลบวกไมเกิน 9 • หนวยการเรียนรูที่ 4 การลบจํานวนสองจํานวน ที่มีตัวตั้งไมเกิน 9 • หนวยการเรียนรูที่ 6 การบวกและการลบจํานวน ที่มีผลลัพธและตัวตั้ง ไมเกิน 20 • หนวยการเรียนรูที่ 13 การบวกและการลบจํานวน ที่มีผลลัพธและตัวตั้ง ไมเกิน 100 • หนวยการเรียนรูที่ 14 การบวกลบระคน

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-54.

คูม อื ครู


สาระที่ 2

การวัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ป.1 1. บอกความยาว นํ้าหนัก ปริมาตร • การเปรียบเทียบความยาว (สูงกวา เตี้ยกวา ยาวกวา สั้นกวา และความจุ โดยใชหนวยที่ไมใช ยาวเทากัน สูงเทากัน) หนวยมาตรฐาน • การวัดความยาวโดยใชหนวย ที่ไมใชหนวยมาตรฐาน • หนวยการเรียนรูที่ 7 • การเปรียบเทียบนํ้าหนัก การวัดความยาว (หนักกวา เบากวา หนักเทากัน) • หนวยการเรียนรูที่ 8 • การชั่งโดยใชหนวยที่ไมใช การชั่งและการตวง หนวยมาตรฐาน • การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ (มากกวา นอยกวา เทากัน จุมากกวา จุนอยกวา จุเทากัน) • การตวงโดยใชหนวยที่ไมใช หนวยมาตรฐาน • หนวยการเรียนรูที่ 12 2. บอกชวงเวลา จํานวนวันและชือ่ วัน • ชวงเวลาในแตละวัน (กลางวัน ในสัปดาห กลางคืน เชา สาย เที่ยง บาย เย็น) เวลา • จํานวนวันและชื่อวันในสัปดาห

สาระที่ 3

เรขาคณิต

มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.1 1. จําแนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม • รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี รูปวงกลม รูปวงรี

สาระที่ 4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 10 การเตรียมความพรอม ทางเรขาคณิต

พีชคณิต

มาตรฐาน ค 4.1 เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชัน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. บอกจํานวนและความสัมพันธ ในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้น ทีละ 1 ทีละ 2 และลดลงทีละ 1

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• แบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 1 ทีละ 2 • แบบรูปของจํานวนที่ลดลงทีละ 1

2. บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูป • แบบรูปของรูปที่มีรูปราง ขนาด ของรูปที่มีรูปราง ขนาด หรือสี หรือสีทสี่ มั พันธกนั อยางใดอยางหนึง่ ที่สัมพันธกันอยางใดอยางหนึ่ง เชน △ □ △ □ △ □ — คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 11 แบบรูปและความสัมพันธ


สาระที่ 6

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร

มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใชเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตร และเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

ป.1 1. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา

11

2. ใชความรู ทักษะและกระบวนการ ทางคณิตศาสตร ในการแกปญหา ในสถานการณตางๆ ไดอยาง เหมาะสม 3. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม 4. ใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

-

บูรณาการสูก ารจัดการเรียน การสอนในทุกหนวย การเรียนรู

5. เชื่อมโยงความรูตางๆ ในคณิตศาสตร และเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ 6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ค…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 200 ชั่วโมง/ป

ศึกษา ฝกทักษะการคิดคํานวณ และฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้ จํานวนนับ 1 ถึง 100 และ 0 การใชจํานวนบอกปริมาณที่ไดจากการนับ การเขียนและการอานตัวเลขฮินดูอารบิก เสร�ม วเลขไทยแสดงจํานวน การนับเพิ่มทีละ 1 ทีละ 2 และการนับลดทีละ 1 การบอกหลัก คาของเลขโดดในแตละหลัก 12 และตั การบวก การลบ และโจทยปญหา การเขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจํานวน การใชเครื่องหมาย = ≠ > < การเรียงลําดับจํานวนไมเกินหาจํานวน ความหมายของการบวก และการใชเครือ่ งหมาย + ความหมายของการลบ และการใชเครือ่ งหมาย - การบวกจํานวนทีม่ ผี ลบวกไมเกิน 100 การบวกที่ไมมกี ารทด การลบจํานวนทีม่ ตี วั ตัง้ ไมเกิน 100 การลบที่ไมมีการกระจาย การบวก ลบระคน โจทยปญหาการบวก การลบ โจทยปญหาการบวก ลบระคน และการสราง โจทยปญหาการบวก การลบ การเปรียบเทียบความยาว การวัดความยาว โดยใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน การเปรียบเทียบนํ้าหนัก การชั่ง โดยใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ การตวงโดยใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน ชวงเวลาในแตละวัน จํานวนวัน และชื่อวันในสัปดาห รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม และรูปวงรี แบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 1 ทีละ 2 แบบรูปของจํานวนที่ลดลงทีละ 1 แบบรูปของรูปที่มีรูปราง ขนาด หรือสี ที่สัมพันธกันอยางใดอยางหนึ่ง โดยใชทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแกปญ หาในสถานการณตา งๆ ไดอยางเหมาะสม รูจ กั ใชวธิ กี าร ที่หลากหลายในการแกปญหา เพื่อใหมีความรูความเขาใจ มีทักษะในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร และสามารถนําไปใชในการเรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค มีระเบียบ มีความ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถทํางานอยางเปนระบบ รวมทั้งเห็นคุณคาและมีเจตคติ ที่ดีตอคณิตศาสตร ตัวชี้วัด ค 1.1 ค 1.2 ค 2.1 ค 3.1 ค 4.1 ค 6.1

คูม อื ครู

ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1

ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2

ป.1/3

ป.1/4 ป.1/5 รวม 15 ตัวชี้วัด

ป.1/6


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¤³ÔµÈÒʵà ».ñ

ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¤³ÔµÈÒʵà µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò¹Եԡà ÃдÁ ¹Ò§ÊÒǹíéÒྪà ªÒ- ¨Ö§¶ÒÇà ÃÈ. ´Ã. ÊÔÃԾѪà à¨É®ÒÇÔâè¹ ¹Ò§ÊÒÇ¡Ôè§á¡ŒÇ àÅÔÈ»ÃÐàÊÃÔ°Ãѵ¹ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§Êعѹ· ÇÔªÔÃÁ¹µÃÕ ¹Ò§ÊÒÇÃÐÇÔÇÃó ¤³Ôµ¡ØÅ ¹Ò§´ÒÃ³Õ ÍÁҵ¡ØÅ

ºÃóҸԡÒà ÃÈ. ´Ã. ÃبÔà ÀÙ‹ÊÒÃÐ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ÷

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ѵÔ

ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñññöðñù

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ññôöðóñ

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2544 ã¹âçàÃÕ¹·ÑèÇä»·Õè¨Ñ´¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×鹰ҹ㹻‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ 2546 áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÑÂáÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2544 ¨Ö§¹íÒä»Ê‹Ù¡ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2551 «Öè§ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×èÍãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹íÒä» ãªŒ à »š ¹ ¡Ãͺ·Ô È ·Ò§ã¹¡ÒÃ¨Ñ ´ ËÅÑ ¡ ÊÙ µ ÃʶҹÈÖ ¡ ÉÒ áÅÐ¨Ñ ´ ¡ÒÃàÃÕ Â ¹¡ÒÃÊ͹à¾×è Í ¾Ñ ² ¹Òà´ç ¡ áÅÐàÂÒǪ¹·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡Òà ´íÒçªÕÇÔµã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¤³ÔµÈÒʵà ».1 àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ªÑé¹ »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè 1 â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ ÃÇÁ·Ñé§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹Áդس¸ÃÃÁ ¨ÃÔ¸ÃÃÁ áÅФ‹Ò¹ÔÂÁ·Õè¶Ù¡µŒÍ§àËÁÒÐÊÁ µÃÐ˹ѡ㹤س¤‹ÒáÅÐÁÕਵ¤µÔ·Õè´Õµ‹Í¤³ÔµÈÒʵà ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¤³ÔµÈÒʵà ».1 àÅ‹Á¹Õé ÁÕ 14 ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç»ÃСͺ´ŒÇ 1. ¨Ø´»ÃÐʧ¤ ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕÂ¹Ç‹Ò àÁ×Íè àÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õ¡è Òí ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ 2. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. 2551 ¹íÒàʹÍàËÁÒÐÊÁ ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ 3. ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ ãËŒ¼àŒÙ ÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºµÑ àÔ ¾×Íè ¾Ñ²¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉлÃШíÒ˹‹Ç ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¤³ÔµÈÒʵà ».1 àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕÍè Òí ¹Ç»ÃÐ⪹ µÍ‹ ¡ÒÃàÃÕ¹¤³ÔµÈÒʵà à¾×Íè ãËŒÊÁÑ Ä·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. 2551 ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ

คำ�ช


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

คำ�ชี้แจงในก�รใช้สื่อ หนว ยการเรียนรทู ี่

¨íҹǹ¹Ñº 1 ¶Ö§ 5 áÅÐ 0

1 ะ0 1.1 จํานวนนับ 1 ถึง 5 แล จํานวนหนึ่ง ใหนักเรียนดูรูปตอไปนี้

ปลาหนึ่งตัว ลูกบอลหนึ่งลูก ดอกไมหนึ่งดอก ยที่ 1

ียนรูประจําหนว

จุดประสงคการเร

สามารถตอไปนี้ ของสิ่งของหรือ ว ผูเรียนจะมีความรูความ เมื่อเรียนจบหนวยนี้แล ฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย แสดงปริมาณ เลข ว 1. เขียนและอานตั และ 0 จํานวนนับ 1 ถึง 5 าดับจํานวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 ยงลํ 2. เปรียบเทียบและเรี

จุดประสงค์ก�รเรี รเรียนรู้ กำ�หนดคว�มรู มรู้คว�มส�ม�รถ ว� �รถ ของผู้เรียนเมื่อเรียนจบหน่วย กิจกรรมฝึกฝนทักษะ ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒน� คว�มรู้และทักษะประจำ�หน่วย

สิ่งตอไปนี้

ใหนักเรียนบอกจํานวนของ

2

คำ�ศัพท์ แนะนำ�คำ�ศัพท์ที่ใช้ในเล่ม พร้อมทั้งบอก คำ�อ่�นและคว�มหม�ยเพื่อขย�ยคว�ม เข้�ใจของผู้เรียน

เนื้อหห� ครบต�มหลั มหลักสูตรแกนกล�งฯ รแกนกล ’51 นำ�เสนอโดยใช้แผนภ ผนภ�พพ แผนภูมิ ตต�ร�ง เหม เหม�ะสมกั บก�รเรี รเรียนก นก�รสอน รสอน

ษะ

กิจกรรมฝกฝนทัก

แสดงจํานวนหนึ่ง เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก

1. ใหนักเรียนฝก ลงในสมุด นึ่ง ลงในสมุด ัวเลขไทยแสดงจํานวนห 2. ใหนักเรียนฝกเขียนตบอกสิ่งที่มีจํานวนหนึ่ง 3. ใหนักเรียนดูรูปแลว

คำศัพท คําศัพท

คําอาน

ความหมาย

างๆ • การวัดนํ้าหนักของสิ่งต กาน -ชั่ง หรือความจุ การชั่ง ของเหลว ของที่ ตวงได าตร ม ปริ ด วั การ • กาน -ตวง การตวง ของภาชนะ อกําหนดรู งความหมายเพื่อจดจําหรื มาย • สิ่งที่ทําขึ้น แสด เครื่องหมาย เครื่อง-ห 5 แทง) สอ น ดิ น (เช าณ ม ริ อกป • ใชบ จํา-นวน จํานวน ตร • คําถามในวิชาคณิตศาส โจด โจทย ที่ตั้งไวสําหรับบวก ลบ แรก นวน า จํ • ตัว -ตั้ง ตัวตั้ง ้ง • จํานวนที่นับรวมกับตัวตั ตัว -บวก ตัวบวก ัวตั้ง • จํานวนที่เอาออกจากต -ลบ ว ตั ตัวลบ นวน เชน 10, ๑๐ • สัญลักษณที่ใชแสดงจํา ตัว -เลก ตัวเลข นาญ า มชํ ควา • ่ง หรือ ทัก -สะ ทักษะ ่งรวมเขากับอีกจํานวนหนึ วก • เปนการเอาจํานวนหนึ ายบ บวก อื่ งหมาย “+” วาเครือ่ งหม บวก หลายจํานวน และเรียกเคร ะสําคัญรวมกันของชุด ษณ ก ลั สดง แ ่ ี ท ธ น พั ม มสั • ควา แบบ -รูบ หรืออื่นๆ แบบรูป ของจํานวนรูปเรขาคณิต นหรื อ งให  เ ห็ น ลั ก ษณ ะที่ เ หมื อ ย ี บเค ย ี าเท ารณ จ พิ ทียบ • การ เปรียบเทียบ เปรียบ-เ แตกตางกัน ลุม จํานวนสิง่ ตางๆ ตัง้ แตสองก • จํานวนรวมจากการนับรวม ผน- บวก ผลบวก ขึ้นไป กจํานวน นําจํานวนหนึ่งออกจากอี • จํานวนที่เหลือจากการ ผน- ลบ ผลลบ หนึ่ง • จํานวนที่ไดจากการคํานวณ ผน- ลับ ผลลัพธ

251


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบัญ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่

• •

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

จํานวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 จํานวนนับ 6 ถึง 10 การบวกจํานวนสองจํานวนที่มีผลบวกไมเกิน 9 การลบจํานวนสองจํานวนที่มีตัวตั้งไมเกิน 9 จํานวน 11 ถึง 20 การบวกและการลบจํานวนที่มีผลลัพธ และตัวตั้งไมเกิน 20 การวัดความยาว การชั่งและการตวง จํานวน 21 ถึง 100 การเตรียมความพรอมทางเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ เวลา การบวกและการลบจํานวนที่มีผลลัพธ และตัวตั้งไมเกิน 100 การบวกลบระคน

คําศัพท บรรณานุกรม

1 32 60 84 107 125 149 162 181 197 202 212 219 240 251 252


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

1 ¨íҹǹ¹Ñº

เปาหมายการเรียนรู

1. เขียนและอานตัวเลขฮินดูอารบิก และ ตัวเลขไทยแสดงปริมาณของสิ่งของ หรือจํานวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 (มฐ. ค 1.1 ป.1/1) 2. เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 (มฐ. ค 1.1 ป.1/2)

หน่วยก�รเรียนรูท้ ี่

1 ¶Ö§ 5 áÅÐ 0

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

จุดประสงคการเรียนรูประจําหนวยที่ 1 เมื่อเรียนจบหน่วยนี้แล้ว ผู้เรียนจะมีคว�มรู้คว�มส�ม�รถต่อไปนี้ 1. เขียนและอ่�นตัวเลขฮินดูอ�รบิกและตัวเลขไทย แสดงปริม�ณของสิ่งของหรือ จำ�นวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 2. เปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวนนับ 1 ถึง 5 และ 0

Engage

1. ใหนักเรียนดูรูปหนาหนวย แลวถามวา • เห็นรูปอะไรบาง (ตอบ บาน นก ตนไม รั้ว) 2. จากรูปหนาหนวยนี้ นักเรียนคิดวา • สิ่งใดมีจํานวนมากที่สุดและทราบไดอยางไร (ตอบ รูปเสา ทราบไดจากการนับจํานวน)

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • ฝกทักษะการคิดคํานวณ • อภิปรายเกี่ยวกับวิธีการหาคําตอบ • ยกตัวอยางประกอบการอธิบาย จนเกิดเปนความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเขียนตัวเลขแสดงจํานวนหนึ่งถึงหา และศูนย การเปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนได

คูมือครู

1


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

E×plore

1. ครูนาํ สิง่ ของตางๆ ทีห่ าไดในชัน้ เรียน เชน ดินสอ ยางลบ ไมบรรทัด เปนตน มาวางบนโตะ แลวครูชูสิ่งของขึ้นครั้งละ 1 ชิ้น แลวถามถึง จํานวนสิ่งของ เชน • ของชิ้นนี้คืออะไร มีจํานวนเทาไร 2. ครูติดบัตรรูปสิ่งของตางๆ บนกระดาน ดังนี้

1

1.1 จำ�นวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 จำ�นวนหนึ่ง ให้นักเรียนดูรูปต่อไปนี้

ปล�หนึ่งตัว ลูกบอลหนึ่งลูก ครูสุมเรียกนักเรียน แลวถามวา • สิ่งของใดบางที่มีจํานวนหนึ่ง (ตอบ สมหนึ่งผล, ไกหนึ่งตัว) 3. ใหนักเรียนดูหนังสือเรียน หนา 2 แลวบอกวามีรูปอะไรบาง แตละรูปมีจํานวนเทาใด

ดอกไม้หนึ่งดอก ให้นักเรียนบอกจำ�นวนของสิ่งต่อไปนี้

2

เกร็ดแนะครู ครูจัดกิจกรรมเพิ่มเติม โดยใหนักเรียนสังเกตสิ่งตางๆ รอบตัววา มีสิ่งใดบาง ที่มีจํานวนหนึ่ง เชน • ปากหนึ่งปาก • หนังสือหนึ่งเลม • ดินสอหนึ่งแทง

นักเรียนควรรู 1 จํานวน ใชบอกปริมาณ (เชน ดินสอ 5 แทง) และใชบอกลําดับที่ (เชน วิ่งเขาเสนชัยเปนลําดับที่ 5)

2

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

อวัยวะใดของคนเราเขียนแสดงไดดวยจํานวน 1 ก. หู ข. ตา ค. ปาก วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. เพราะคนเรามีปาก 1 ปาก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

Engage

สํารวจคนหา 1

ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน แลวสลับกันปฏิบัติ กิจกรรม พรอมกับพูดประกอบไปดวย เชน • เพื่อนชี้ที่แปรงลบกระดาน นักเรียนพูดวา “แปรงลบกระดาน 1 อัน” • นักเรียนชี้ที่กระดานดํา เพื่อนพูดวา “กระดานดํา 1 อัน”

ก�รเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนหนึ่ง 2

จำ�นวน หนึ่ง เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอ�รบิก ดังนี้ ล�กเส้นจ�กจุด เริ่มต้นไปต�มลูกศร

E×plore

เริ่ม

อธิบายความรู

บ้�น 1 หลัง

E×plain

1. ครูติดบัตรรูปประกอบตัวเลขฮินดูอารบิก “1” บนกระดาน จากนั้นถามคําถามนักเรียน เชน

3

จำ�นวน หนึ่ง เขียนแสดงด้วยตัวเลขไทย ดังนี้

1 • ในรูปมีหนังสือกี่เลม (ตอบ 1 เลม)

เริ่ม

ตะกร้� ๑ ใบ

นกหนึ่งตัว นกหนึ

1 • ในรูปมีนกกี่ตัว (ตอบ 1 ตัว) 2. ครูสาธิตการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก “1” บนกระดาน พรอมทั้งแนะนําวิธีเขียนวา จะตองเริ่มตนที่จุดใด และลากเสนไปทางใด โดยสังเกตจากลูกศร

นก 1 ตัว นก ๑ ตัว

µÑÇàÅ¢áÊ´§¨íҹǹ ºŒÒ¹ µÐ¡ÃŒÒ áÅй¡ 㪌µÑÇàÅ¢àËÁ×͹¡Ñ¹ ¤×Í 1 áÅÐ ñ

3

ขอใดมีคาเทากับหนึ่ง

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

นักเรียนควรรู 1 ตัวเลข เปนสัญลักษณที่ใชเขียนแทนจํานวน

ก.

2 ตัวเลขฮินดูอารบิก เปนตัวเลขที่นิยมใชกันทั่วโลก ซึ่งชาวฮินดูเปนผูคิด และชาวอาหรับเปนผูนําไปเผยแพร

ข.

3 ตัวเลขไทย สันนิษฐานวา พอขุนรามคําแหงเปนผูประดิษฐขึ้นมาในเวลา เดียวกับการประดิษฐตัวอักษรไทย เมื่อ พ.ศ.1826

ค. วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. เพราะ

จากขอ ก. มีไอศกรีม 3 อัน จากขอ ข. มีเคก 2 ชิ้น จากขอ ค. มีขนมปง 1 แถว คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

E×plain

ครูสาธิตการเขียนตัวเลขไทย “๑” ในทํานองเดียว กับตัวเลขฮินดูอารบิก “1”

ขยายความเขาใจ

กิจกรรมฝึกฝนทักษะ

E×pand

1. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขฮินดูอ�รบิกแสดงจำ�นวนหนึ่ง ลงในสมุด 2. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขไทยแสดงจำ�นวนหนึ่ง ลงในสมุด 3. ให้นักเรียนดูรูปแล้วบอกสิ่งที่มีจำ�นวนหนึ่ง

1. ครูเขียนเสนประของตัวเลขฮินดูอารบิก “1” บนกระดาน จากนั้นสุมนักเรียนออกมาลากเสน ตามเสนประในวิธีการที่ถูกตอง 2. ครูแจกบัตรตัวเลขฮินดูอารบิก ใหนักเรียนฝก เขียนตามรอยเสนประในบัตรตัวเลขจนถูกวิธี 3. ใหนักเรียนเขียนตัวเลข “1” และ “๑” ลงในสมุด จํานวน 1 หนา โดยเขียนบรรทัดละ 5 ตัว

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 4 ขอ 1. และ 2. ลงในสมุด เปนการบาน 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 4 ขอ 3. โดยการถามตอบในหองเรียน

4

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ประเทศสมาชิกอาเซียนมีคําที่ใชแทนการนับจํานวนหนึ่ง เปนภาษาของแตละประเทศ ดังนี้ ประเทศ ไทย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว

4

คูมือครู

จํานวน หนึ่ง ซาตู มวย ซาตู หนึ่ง

ประเทศ มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร เวียดนาม

จํานวน ซาตู ติ๊ อิซา อี หมด

ขอใดแสดงจํานวนหนึ่ง ก. ดินสอ 2 แทง ข. รถยนต 1 คัน ค. เกาอี้ 3 ตัว

วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะมีรถยนต 1 คัน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา

จำ�นวนสอง1 ให้นักเรียนดูรูปต่อไปนี้

E×plore

1. ใหนักเรียนจับคูกัน จากนั้นใหนักเรียน ผลัดกันสํารวจอวัยวะของเพื่อน แลวตอบวา • สวนประกอบใดบางในรางกายที่มีจํานวน 2 (แนวตอบ เชน ตา คิ้ว หู แขน ขา) 2. ครูติดบัตรรูปสิ่งของตางๆ บนกระดาน ดังนี้

แมวสองตัว แมว

ใบไม้สองใบ

ครูสุมเรียกนักเรียน แลวถามวา • สิ่งของใดบางที่มีจํานวนสอง (ตอบ กุงสองตัว, ดินสอสองแทง) 3. ใหนักเรียนดูหนังสือเรียน หนา 5 แลวบอกวามีรูปอะไรบาง แตละรูปมีจํานวนเทาใด 4. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน แลวสลับกันปฏิบัติ กิจกรรม พรอมกับพูดประกอบไปดวย เชน • เพื่อนชูดินสอขึ้นมา 2 แทง นักเรียนพูดวา “ดินสอ 2 แทง” • นักเรียนชูยางลบขึ้นมา 2 กอน เพื่อนพูดวา “ยางลบ 2 กอน”

เสือสอง สองตัตัว ให้นักเรียนบอกจำ�นวนของสิ่งต่อไปนี้

5

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

อวัยวะใดของคนเราเขียนแสดงไดดวยจํานวน 2 ก. ขา ข. จมูก ค. ปาก

วิเคราะหคําตอบ ขอ ก. เพราะคนเรามีขา 2 ขาง สวนจมูกมี 1 จมูก และปากมี 1 ปาก

เกร็ดแนะครู จากขัน้ สํารวจคนหา ครูอาจใหนกั เรียนชูนวิ้ แสดงจํานวนสองขณะบอกจํานวนของ สิ่งของในภาพประกอบดวย เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 สอง ในภาษาไทยนอกจากจะมีการเขียนตัวเลขไทยแสดงจํานวนสองแลว ยังมีคําอื่นที่ใชแทนคําวาสองอีก เชน ยี่ ซึ่งสวนใหญจะพบในการเรียกชื่อเดือนที่สอง ตามแบบไทยวา “เดือนยี่”

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

E×plain

1. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา จํานวนที่ตอจาก 1 คือ 2 2. ครูติดบัตรรูปประกอบตัวเลขฮินดูอารบิก “2” บนกระดาน จากนั้นถามคําถามนักเรียน เชน

ก�รเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนสอง จำ�นวน สอง เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอ�รบิก ดังนี้ ล�กเส้นจ�กจุด เริ่มต้นไปต�มลูกศร

2 • ในรูปมีตุกตากี่ตัว (ตอบ 2 ตัว)

เริ่ม

มด 2 ตัว จำ�นวน สอง เขียนแสดงด้วยตัวเลขไทย ดังนี้

2 • ในรูปมีไกกี่ตัว (ตอบ 2 ตัว) 3. ครูสาธิตการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก “2” บนกระดาน พรอมทั้งแนะนําวิธีเขียนวา จะตองเริ่มตนที่จุดใด และลากเสนไปทางใด โดยสังเกตจากลูกศร

เริ่ม

มะม่วง ๒ ผล

เสื้อสองตัว

เสื้อ 2 ตัว เสื้อ ๒ ตัว µÑÇàÅ¢áÊ´§¨íҹǹ Á´ ÁÐÁ‹Ç§ áÅÐàÊ×éÍ ãªŒµÑÇàÅ¢àËÁ×͹¡Ñ¹ ¤×Í 2 áÅÐ ò

6

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ประเทศสมาชิกอาเซียนมีคําที่ใชแทนการนับจํานวนสอง เปนภาษาของแตละประเทศ ดังนี้ ประเทศ ไทย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว

6

คูมือครู

จํานวน สอง ดัว ป ดัว สอง

ประเทศ มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร เวียดนาม

จํานวน ดัว นิ ดาราวา เออ ฮาย

จํานวนสอง เขียนแสดงแทนจํานวนขาของสัตวในขอใด ก. หนังสือหนึ่งเลม ข. มะละกอสองผล ค. ตะกราสามใบ วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะมีมะละกอ 2 ผล


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู

E×plain

ครูสาธิตการเขียนตัวเลขไทย “๒” ในทํานอง เดียวกับตัวเลขฮินดูอารบิก “2”

กิจกรรมฝึกฝนทักษะ

ขยายความเขาใจ

1. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขฮินดูอ�รบิกแสดงจำ�นวนสอง ลงในสมุด 2. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขไทยแสดงจำ�นวนสอง ลงในสมุด 3. ให้นักเรียนดูรูปแล้วบอกสิ่งที่มีจำ�นวนสอง

E×pand

1. ครูเขียนเสนประของตัวเลขฮินดูอารบิก “2” บนกระดาน จากนัน้ สุม นักเรียนออกมาลากเสน ตามเสนประในวิธีการที่ถูกตอง 2. ครูแจกบัตรตัวเลขฮินดูอารบิก ใหนักเรียนฝก เขียนตามรอยเสนประในบัตรตัวเลขจนถูกวิธี 3. ใหนักเรียนเขียนตัวเลข “2” และ “๒” ลงในสมุด จํานวน 1 หนา โดยเขียนบรรทัดละ 5 ตัว

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 7 ขอ 1. และ 2. ลงในสมุด เปนการบาน 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 7 ขอ 3. โดยการถามตอบในหองเรียน

7

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

จํานวนสอง เขียนแสดงแทนจํานวนขาของสัตวในขอใด ก. เตา ข. นก ค. ยีราฟ

วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะนกมี 2 ขา สวนขอ ก. เตามี 4 ขา และขอ ค. ยีราฟมี 4 ขา

เกร็ดแนะครู ครูจัดกิจกรรมเพิ่มเติม โดยใหนักเรียนวาดภาพสิ่งของที่มีจํานวนสอง พรอมทั้งระบายสีใหสวยงาม จากนั้นนําผลงานออกมาแสดงที่หนาชั้น และพูดจํานวนจากภาพ

มุม IT นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัดเพิ่มเติมไดที่ http://www.myfififirstbrain.com คลิกไปที่ แบบฝกหัดคณิตศาสตร คลิกเลือก ป.1 คลิกเลือก แบบฝกทักษะเรื่อง จํานวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 (ชุดที่ 1)

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

สํารวจคนหา

Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

E×plore

1. ครูนําสิ่งของตางๆ มาวางบนโตะ จากนั้น ครูชูสิ่งของครั้งละ 3 ชิ้น ใหนักเรียนดู แลวถามนักเรียนวา • สิ่งของนี้คืออะไร และมีจํานวนเทาใด 2. ครูติดบัตรรูปสิ่งของตางๆ บนกระดาน ดังนี้

จำ�นวนส�ม ให้นักเรียนดูรูปต่อไปนี้ ปูส�มตัว

ปล� ปล�ส�มตัว

ครูสุมเรียกนักเรียน แลวถามวา • สิ่งของใดบางที่มีจํานวนสาม (ตอบ เตาทองสามตัว, สับปะรดสามผล, เตาสามตัว) 3. ใหนักเรียนดูหนังสือเรียน หนา 8 แลวบอกวามีรูปอะไรบาง แตละรูปมีจํานวนเทาใด

เง�ะ เง�ะส�มผล ให้นักเรียนบอกจำ�นวนของสิ่งต่อไปนี้

8

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ประเทศสมาชิกอาเซียนมีคําที่ใชแทนการนับจํานวนสาม เปนภาษาของแตละประเทศ ดังนี้ ประเทศ ไทย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว

8

คูมือครู

จํานวน สาม ทิกา เบ็ย ทิกา สาม

ประเทศ มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร เวียดนาม

จํานวน ทิกา โตง แททโล ซาน บา

ขอใดบอกถึงสิ่งที่มีจํานวนสาม ก. แดงมีลูกอม 2 เม็ด ข. ขาวมีดินสอ 3 แทง ค. ดํามีโดนัท 4 ชิ้น

วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะขาวมีดินสอ 3 แทง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

Engage

สํารวจคนหา

ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน แลวสลับกันปฏิบัติ กิจกรรม พรอมกับพูดประกอบไปดวย เชน • เพื่อนชูไมบรรทัดขึ้นมา 3 อัน นักเรียนพูดวา “ไมบรรทัด 3 อัน” • นักเรียนชูสมุดขึ้นมา 3 เลม เพื่อนพูดวา “สมุด 3 เลม”

ก�รเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนส�ม จำ�นวน ส�ม เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอ�รบิก ดังนี้ ล�กเส้นจ�กจุด เริ่มต้นไปต�มลูกศร

E×plore

เริ่ม

อธิบายความรู

มังคุด 3 ผล

E×plain

1. ครูชูนิ้วมือขึ้น 1 นิ้ว แลวใหนักเรียนบอกจํานวน จากนั้นครูชูนิ้วเพิ่มขึ้นอีก 1 นิ้ว แลวใหนักเรียน บอกจํานวน และครูชูนิ้วเพิ่มขึ้นอีก 1 นิ้ว แลวใหนักเรียนบอกจํานวน จากนั้นใหนักเรียน รวมกันสรุปวา จํานวนที่ตอจาก 2 คือ 3 2. ครูติดบัตรรูปประกอบตัวเลขฮินดูอารบิก “3” บนกระดาน จากนั้นถามคําถามนักเรียน เชน

1

จำ�นวน ส�ม เขียนแสดงด้วยตัวเลขไทย ดังนี้ เริ่ม

กุ้ง ๓ ตัว 3 • ในรูปมีมดกี่ตัว (ตอบ 3 ตัว)

เสือส�มตัตัว เสือ 3 ตัว เสือ ๓ ตัว

µÑÇàÅ¢áÊ´§¨íҹǹ Áѧ¤Ø´ ¡ØŒ§ áÅÐàÊ×Í ãªŒµÑÇàÅ¢àËÁ×͹¡Ñ¹ ¤×Í 3 áÅÐ ó

9

ขอใดมีคาเทากับ ๓

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ก.

ค. วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะ สมมี 3 ผล สวนมะมวงมี 1 ผล และเงาะมี 2 ผล

ข.

3 • ในรูปมีเสื้อกี่ตัว (ตอบ 3 ตัว) 3. ครูสาธิตการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก “3” บนกระดาน พรอมทั้งแนะนําวิธีเขียนวา จะตองเริ่มตนที่จุดใด และลากเสนไปทางใด โดยสังเกตจากลูกศร

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมวา การเขียนตัวเลขไทยแสดงจํานวนสาม ควรเริ่มเขียน จากสวนหัวกอนเสมอ และควรเขียนใหถูกตองและชัดเจน เพราะถาเขียนไมถูกตอง หรือไมชัดเจน ผูที่อานอาจคิดวาเปนตัวอักษร “ต” ได

นักเรียนควรรู 1 ตัวเลขไทย การใชตัวเลขไทยเปนสิ่งที่ควรอนุรักษ เพื่อใหเปนมรดกของชาติ สืบตอไป

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

E×pand

1. ครูเขียนเสนประของตัวเลขฮินดูอารบิก “3” บนกระดาน จากนั้นสุมนักเรียนมาลากเสน ตามเสนประในวิธีการที่ถูกตอง 2. ครูแจกบัตรตัวเลขฮินดูอารบิก ใหนักเรียนฝก เขียนตามรอยเสนประในบัตรตัวเลขจนถูกวิธี 3. ใหนักเรียนเขียนตัวเลข “3” และ “๓” ลงในสมุด จํานวน 1 หนา โดยเขียนบรรทัดละ 5 ตัว

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

E×plain

1. ครูสาธิตการเขียนตัวเลขไทย “๓” ในทํานอง เดียวกับตัวเลขฮินดูอารบิก “3” 2. ครูหยิบดินสอ ยางลบ ไมบรรทัด อยางละ 1 ชิ้น มาวางบนโตะ จากนั้นครูถามวา • บนโตะมีของอยูกี่จํานวน (ตอบ 3 จํานวน)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

กิจกรรมฝึกฝนทักษะ

1. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขฮินดูอ�รบิกแสดงจำ�นวนส�ม ลงในสมุด 2. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขไทยแสดงจำ�นวนส�ม ลงในสมุด 3. ให้นักเรียนดูรูปแล้วบอกสิ่งที่มีจำ�นวนส�ม

Evaluate

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 10 ขอ 1. และ 2. ลงในสมุด เปนการบาน 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 4 ขอ 3. โดยการถามตอบในหองเรียน

1

10

เกร็ดแนะครู • ในการที่ครูยกตัวอยางสิ่งตางๆ แสดงจํานวน ไมจําเปนตองยกตัวอยาง สิง่ ของชนิดเดียวกัน ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหนกั เรียนไดเขาใจวา จํานวนไมไดขนึ้ อยูก บั ชนิด หรือขนาดของสิ่งของวา ตางกันหรือเหมือนกัน • ครูจัดกิจกรรมเพิ่มเติม โดยใหนักเรียนวาดรูปอุปกรณกีฬาชนิดใดก็ได เพื่อแสดงจํานวนสามมาคนละ 2 ชนิด พรอมทั้งระบายสีใหสวยงาม

นักเรียนควรรู 1 ภาพนี้ คือ ลูกรักบี้ มีลักษณนามเปน “ลูก” ลูกรักบี้จะมีลักษณะกลมรี ใชในการเลนกีฬารักบี้

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT ขอใดตางจากพวก ก. ข. สอง ค. 3

วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะ แสดงจํานวนสอง, 2, ๒ สวน ก. และ ค. แสดงจํานวนสาม, 3, ๓


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา

E×plore

1. ครูนําสิ่งของตางๆ มาวางบนโตะ จากนั้น ครูชูสิ่งของครั้งละ 4 ชิ้น ใหนักเรียนดู แลวถามนักเรียนวา • สิ่งของนี้คืออะไร และมีจํานวนเทาใด 2. ครูติดบัตรรูปสิ่งของตางๆ บนกระดาน ดังนี้

จำ�นวนสี่ ให้นักเรียนดูรูปต่อไปนี้ ส้มโอ โอสี่ผล

กระต่�ยยสี่ตัว ครูสุมเรียกนักเรียน แลวถามวา • สิ่งของใดบางที่มีจํานวนสี่ (ตอบ ขนมเคกสี่อัน, ดอกไมสี่ดอก) 3. ใหนักเรียนดูหนังสือเรียน หนา 11 แลวบอกวามีรูปอะไรบาง แตละรูปมีจํานวนเทาใด

ลูกโปงสีใใบ ่บ ให้นักเรียนบอกจำ�นวนของสิ่งต่อไปนี้

11

ขอใดแสดงจํานวน 4 ไมถูกตอง ก.

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ข.

ค.

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ประเทศสมาชิกอาเซียนมีคําที่ใชแทนการนับจํานวนสี่ เปนภาษาของแตละประเทศ ดังนี้ ประเทศ ไทย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว

จํานวน สี่ เอ็มแพท บวน เอ็มแพท สี่

ประเทศ มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร เวียดนาม

จํานวน เอ็มแพท เล อะพัต ซื่อ โบน

วิเคราะหคําตอบ ขอ ก. เพราะ ขอ ก. แสดงจํานวน 3 ขอ ข. และ ขอ ค. แสดงจํานวน 4 คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

Exploreนหา สํารวจค

สํารวจคนหา

E×plore

ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน แลวสลับกันปฏิบัติ กิจกรรม พรอมกับพูดประกอบไปดวย เชน • เพื่อนชูไมบรรทัดขึ้นมา 4 อัน นักเรียนพูดวา “ไมบรรทัด 4 อัน” • นักเรียนชูสมุดขึ้นมา 4 เลม เพื่อนพูดวา “สมุด 4 เลม”

อธิบายความรู

ก�รเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนสี่ จำ�นวน สี่ เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอ�รบิก ดังนี้ ล�กเส้นจ�กจุด เริ่มต้นไปต�มลูกศร

เริ่ม

E×plain

มด 4 ตัว

1. ครูชูนิ้ว 3 นิ้ว ใหนักเรียนดู แลวบอกจํานวน จากนั้นครูชูนิ้วเพิ่มอีก 1 นิ้ว แลวใหนักเรียน บอกจํานวน จากนั้นใหนักเรียนรวมกันสรุปวา จํานวนที่ตอจาก 3 คือ 4 2. ครูติดบัตรรูปประกอบตัวเลขฮินดูอารบิก “4” บนกระดาน จากนั้นถามคําถามนักเรียน เชน

จำ�นวน สี่ เขียนแสดงด้วยตัวเลขไทย ดังนี้ เริ่ม

ส้ม ๔ ผล

4 • ในรูปมีสิงโตกี่ตัว (ตอบ 4 ตัว)

4 • ในรูปมีกระเปากี่ใบ (ตอบ 4 ใบ) 3. ครูสาธิตการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก “4” บนกระดาน พรอมทั้งแนะนําวิธีเขียนวา จะตองเริ่มตนที่จุดใด และลากเสนไปทางใด โดยสังเกตจากลูกศร

หอยท�กสี หอยท�ก1 ่ตัว

หอยท�ก 4 ตัว หอยท�ก ๔ ตัว

µÑÇàÅ¢áÊ´§¨íҹǹ Á´ ÊŒÁ áÅÐËÍ·ҡ 㪌µÑÇàÅ¢àËÁ×͹¡Ñ¹ ¤×Í 4 áÅÐ ô

12

เกร็ดแนะครู ครูจัดกิจกรรมเพิ่มเติม โดยใหนักเรียนสังเกตสิ่งที่อยูรอบๆ ตัว แลวบอกวา สิ่งใดมีจํานวนสี่บาง เชน • ดินสอ 4 แทง • ยางลบ 4 กอน • ตนไม 4 ตน

นักเรียนควรรู 1 หอยทาก เปนสัตวที่ไมมีกระดูกสันหลัง เปนสัตวโบราณที่มีกําเนิด ในราวๆ เกือบสี่รอยลานปที่ผานมา ปจจุบันพบวามีหอยทากมากกวา 500 ชนิด

12

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

สัตวในขอใดที่เกี่ยวของกับจํานวนสี่ ก. สุนัข ข. เปด ค. งู วิเคราะหคําตอบ ขอ ก. เพราะสุนัขมี 4 ขา สวนเปดมี 2 ขา และงูไมมีขา

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนบอกชนิดของสัตวที่มีจํานวนสี่ขาใหมากที่สุด โดยทําใสกระดาษ A4


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู

E×plain

1. ครูสาธิตการเขียนตัวเลขไทย “๔” ในทํานองเดียวกับตัวเลขฮินดูอารบิก 4 2. ครูหยิบดินสอ ยางลบ ไมบรรทัด แปรงลบกระดาน อยางละ 1 ชิ้น มาวางบนโตะ แลวถามนักเรียนวา • บนโตะมีของอยูกี่ชิ้น (ตอบ 4 ชิ้น)

กิจกรรมฝึกฝนทักษะ

1. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขฮินดูอ�รบิกแสดงจำ�นวนสี่ ลงในสมุด 2. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขไทยแสดงจำ�นวนสี่ ลงในสมุด 3. ให้นักเรียนดูรูปแล้วบอกสิ่งที่มีจำ�นวนสี่

ขยายความเขาใจ

1

E×pand

1. ครูเขียนเสนประของตัวเลขฮินดูอารบิก “4” บนกระดาน จากนัน้ สุม นักเรียนออกมาลากเสน ตามเสนประในวิธีการที่ถูกตอง 2. ครูแจกบัตรตัวเลขฮินดูอารบิก ใหนักเรียนฝก เขียนตามรอยเสนประในบัตรตัวเลขจนถูกวิธี 3. ใหนักเรียนเขียนตัวเลข “4” และ “๔” ลงในสมุด จํานวน 1 หนา โดยเขียนบรรทัดละ 5 ตัว

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 13 ขอ 1. และ 2. ลงในสมุด เปนการบาน 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 13 ขอ 3. โดยการถามตอบในหองเรียน

13

ขอใดแสดงจํานวนสี่ ก. แมชูนิ้วมือ 2 นิ้ว ข. พอชูนิ้วมือขางซาย 1 นิ้ว ขางขวา 2 นิ้ว ค. ยายชูนิ้วมือขางซาย 2 นิ้ว ขางขวา 2 นิ้ว

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. เพราะ ขอ ก. แมชูนิ้วมือ 2 นิ้ว ขอ ข. พอชูนิ้วมือ 3 นิ้ว ขอ ค. ยายชูนิ้วมือ 4 นิ้ว

นักเรียนควรรู 1

ภาพนี้คือ มะเขือมวง มีลักษณนามเปนผล ลักษณะของผลอาจจะ กลมรูปไขหรือยาว ผิวเรียบ มีสีมวง นิยมนํามาใชประกอบอาหาร ผลดิบใชจิ้มนํ้าพริก

มุม IT นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัดเพิ่มเติมไดที่ http://www.myfififirstbrain.com คลิกไปที่ แบบฝกหัดคณิตศาสตร คลิกเลือก ป.1 คลิกเลือก แบบฝกทักษะเรื่อง จํานวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 (ชุดที่ 2)

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

E×plore

1. ครูรวบรวมสิ่งของตางๆ ที่จะใชในการสอน มาวางบนโตะ จากนั้นครูชูสิ่งของ 5 ชิ้น ใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนชวยกันบอกวา • สิ่งของนี้คืออะไร และมีจํานวนเทาใด 2. ครูติดบัตรรูปสิ่งของตางๆ บนกระดาน ดังนี้

จำ�นวนห้� ให้นักเรียนดูรูปต่อไปนี้

1

ยีร�ฟห้ �ฟ �ตัว

2

ลิงห้�ตัว ครูสุมเรียกนักเรียน แลวถามวา • สิ่งของใดบางที่มีจํานวนหา (ตอบ มังคุดหาผล, ผีเสื้อหาตัว, ตนไมหาตน) 3. ใหนักเรียนดูหนังสือเรียน หนา 14 แลวบอกวามีรูปอะไรบาง แตละรูปมีจํานวนเทาใด

ดินสอ สอห้�แท่ง ให้นักเรียนบอกจำ�นวนของสิ่งต่อไปนี้

14

นักเรียนควรรู 1 ยีราฟ เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม เปนสัตวเคี้ยวเอื้อง คอยาว มีเขา 1 คู ตัวสีเหลืองและนํ้าตาลเขมเปนลาย อยูรวมกันเปนฝูง มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกา 2 ลิง เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม มีลักษณะทาทางคลายคนแขนยาวแตขาสั้น ตีนหนาและตีนหลังสามารถใชยันและเกาะได

14

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

จํานวนใดอยูกอนและหลังจํานวน 4 ตามลําดับ ก. 2 และ 3 ข. 1 และ 5 ค. 3 และ 5 วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. เพราะจํานวนนับ 1 - 5 คือ 1, 2, 3, 4, 5 จํานวนที่อยูกอน 4 คือ 3 และจํานวนที่อยูหลัง 4 คือ 5


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

สํารวจคนหา

ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน แลวสลับกันปฏิบัติ กิจกรรม พรอมกับพูดประกอบไปดวย เชน • เพือ่ นชูหนังสือเรียนคณิตศาสตรขนึ้ มา 5 เลม นักเรียนพูดวา “หนังสือเรียนคณิตศาสตร 5 เลม” • นักเรียนชูสมุดขึ้นมา 5 เลม เพื่อนพูดวา “สมุด 5 เลม”

ก�รเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนห้� จำ�นวน ห้� เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอ�รบิก ดังนี้ ล�กเส้นจ�กจุด เริ่มต้นไปต�มลูกศร

E×plore

เริ่ม

อธิบายความรู

สีเทียน1 5 แท่ง

E×plain

1. ครูชูนิ้วมือขึ้น 4 นิ้ว แลวใหนักเรียนบอกจํานวน จากนั้นครูชูนิ้วเพิ่มขึ้นอีก 1 นิ้ว แลวใหนักเรียน บอกจํานวน จากนั้นใหนักเรียนรวมกันสรุปวา จํานวนที่ตอจาก 4 คือ 5 2. ครูติดบัตรรูปประกอบตัวเลขฮินดูอารบิก “5” บนกระดาน จากนั้นถามคําถามนักเรียน เชน

จำ�นวน ห้� เขียนแสดงด้วยตัวเลขไทย ดังนี้ เริ่ม

ย�งลบ ๕ ก้อน 5 • ในรูปมีเหยือกกี่ใบ (ตอบ 5 ใบ)

ดินสอห้ สอ �แท่ง ดินสอ 5 แท่ง ดินสอ ๕ แท่ง µÑÇàÅ¢áÊ´§¨íҹǹ ÊÕà·Õ¹ Âҧź áÅдԹÊÍ ãªŒµÑÇàÅ¢àËÁ×͹¡Ñ¹ ¤×Í 5 áÅÐ õ

15

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนวาดภาพของเลนหรือของใชของตนเอง แสดงจํานวน 1 - 5

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสํารวจสิ่งของภายในหองนอนของตนเอง แลววาดภาพสิ่งของ แสดงจํานวน พรอมกับเขียนตัวเลขแสดงจํานวน

5 • ในรูปมีปลากี่ตัว (ตอบ 5 ตัว) 3. ครูสาธิตการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก “5” บนกระดาน พรอมทั้งแนะนําวิธีเขียนวา จะตองเริ่มตนที่จุดใด และลากเสนไปทางใด โดยสังเกตจากลูกศร

เกร็ดแนะครู ครูควรยํ้าเตือนนักเรียนวา การเขียนแสดงจํานวนหาดวยตัวเลขไทย (๕) จะมีความคลายคลึงกับตัวเลข ๔ มาก ซึ่งสิ่งที่ตางกันคือเลข ๕ จะมีการขมวดที่หัว ดังนั้นในการเขียนตัวเลข ๔ และเลข ๕ จึงควรเขียนใหชัดเจน เพื่อไมใหสื่อสารผิด

นักเรียนควรรู 1 สีเทียน เนื้อสีมีลักษณะแข็งคลายเทียน เปนมัน ไมมีกลิ่น ไมละลายนํ้า เวลาระบายสีจะขึ้นมา สามารถขูดเนื้อสีออกได เมื่อระบายหนาเกินไป ไมสามารถผสมสีโดยการถูรวมกับสีอื่นได

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

E×plain

1. ครูสาธิตการเขียนตัวเลขไทย “๕” ในทํานอง เดียวกับตัวเลขฮินดูอารบิก “5” 2. ครูหยิบดินสอ ยางลบ ไมบรรทัด แปรงลบกระดาน สมุด อยางละ 1 ชิ้น มาวางบนโตะ จากนั้น ถามนักเรียนวา • บนโตะมีของอยูกี่ชิ้น (ตอบ 5 ชิ้น)

ขยายความเขาใจ

กิจกรรมฝึกฝนทักษะ

1. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขฮินดูอ�รบิกแสดงจำ�นวนห้� ลงในสมุด 2. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขไทยแสดงจำ�นวนห้� ลงในสมุด 3. ให้นักเรียนดูรูปแล้วบอกสิ่งที่มีจำ�นวนห้�

E×pand

1. ครูเขียนเสนประของตัวเลขฮินดูอารบิก “5” บนกระดาน จากนั้นสุมนักเรียนมาลากเสน ตามเสนประในวิธีการที่ถูกตอง 2. ครูแจกบัตรตัวเลขฮินดูอารบิก ใหนักเรียนฝก เขียนตามรอยเสนประในบัตรตัวเลขจนถูกวิธี 3. ใหนักเรียนเขียนตัวเลข “5” และ “๕” ลงในสมุด จํานวน 1 หนา โดยเขียนบรรทัดละ 5 ตัว

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียนหนา 16 ขอ 1. และ 2. ลงในสมุด เปนการบาน 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียนหนา 16 ขอ 3. โดยการถามตอบในหองเรียน

16

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ประเทศสมาชิกอาเซียนมีคําที่ใชแทนการนับจํานวนหา เปนภาษาของแตละประเทศ ดังนี้ ประเทศ ไทย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว

16

คูมือครู

จํานวน หา ลิมา ปรัม ลิมา หา

ประเทศ มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร เวียดนาม

จํานวน ลิมา งา ลิมา อู นัม



ก. หา - ๔

ข. หา - ๕

จากภาพมีจํานวนตรงกับขอใด ค. หก - ๖

วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะ นับจํานวน  ได หาชิ้น จึงเขียนแสดงจํานวนดวย ๕

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระคณิตศาสตรกับสาระศิลปะ วิชาทัศนศิลป เรื่องอุปกรณที่ใชในงานศิลปะ โดยใหนักเรียนวาดรูปสิ่งตางๆ ตามจํานวน ที่ครูกําหนดให แลวเขียนเปนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจํานวนสิ่งที่นักเรียนวาด พรอมทั้งฝกอาน เพื่อเสริมสรางจินตนาการ และพัฒนาการคิด


สํารวจคนหา

กระตุนความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา

จำ�นวนศูนย์ 1 ให้นักเรียนดูรูปต่อไปนี้ ไม่มีดอกไม้ เขียนแทนด้วย มีดอกไม้ 0 ดอก

มีดอกไม้ 1 ดอก

ไม่มีดอกไม้

มี ไข่ 2 ฟอง

ไม่มีไข่

ไม่มีไข่ เขียนแทนด้วย มีไข่ 0 ฟอง

E×plore

1. ครูนํากลองพลาสติกใส 2 ใบ ที่มีผาคลุมไว มาวางบนโตะ โดยกลองใบที่ 1 บรรจุลูกปงปอง สีสม 5 ลูก และกลองใบที่ 2 เปนกลองเปลา แลวใหนักเรียนชวยกันทายวา • กลองใบใดมีสิ่งของบรรจุอยูภายใน • กลองใบใดไมมีสิ่งของบรรจุอยูภายใน จากนัน้ ครูเฉลยคําถามโดยการเปดผาคลุมออก 2. เมื่อเปดผาคลุมออก ครูถามนักเรียนอีกครั้งวา • กลองใบใดมีสิ่งของชนิดใดบรรจุอยูภายใน และมีจํานวนเทาใด (ตอบ กลองใบที่ 1 มีลูกปงปองบรรจุอยู ภายใน 5 ลูก) • กลองใบใดไมมีสิ่งของบรรจุอยูภายใน (ตอบ กลองใบที่ 2)

ไม่มีดินสอ เขียนแทนด้วย มีดินสอ 0 แท่ง

มีดินสอ 3 แท่ง ไม่มีดินสอ ให้นักเรียนบอกจำ�นวนของสิ่งต่อไปนี้ลงในสมุด 1. 2. 3.

? ฟอง มีไข่...........

4.

? ตัวในตู้ปล� มีปล�...........

? ดอก มีดอกไม้...........

? ใบบนโต๊ะ มีหมวก........... 17

ขอความใดแสดงจํานวนศูนย ก. นุชมีเงินนอยกวาหนิง ข. หนิงมีเงินมากที่สุด ค. นิดไมมีเงินเลยสักบาทเดียว

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. เพราะนิดไมมีเงินเลยสักบาทเดียว ก็หมายถึงวา มีเงินอยูศูนยบาท

นักเรียนควรรู 1 ศูนย จํานวนศูนยเปนจํานวนเต็ม ซึ่งแสดงวาไมมี แตเรามักจะไมนิยมพูดวา มีไขไก 0 ฟอง มีดินสอ 0 แทง แตจะพูดวา ไมมีไขไก ไมมีดินสอ แทน ในบางครั้ง 0 ก็ไมไดแทนวาไมมีเสมอไป เชน วันนี้มีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ซึ่งไมไดหมายความวา ไมมีอุณหภูมิเลย แตจะหมายความวา อากาศมีความเย็น อยูในระดับที่กําหนดวาเปน 0 องศาเซลเซียส

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

Exploreนหา สํารวจค

สํารวจคนหา

E×plore

1. ครูหยิบลูกปงปองออกมาจากกลองใบที่ 1 ทีละลูก แลวใหนักเรียนชวยกันนับอีกครั้ง 2. สวนในกลองที่ไมมีสิ่งของใดอยูเลย ครูพูดให นักเรียนฟงอีกครั้งวา • กลองใบนี้ไมมีสิ่งของใด หรือกลองใบนี้ มีลูกปงปองอยูศูนยลูก 3. ใหนักเรียนดูหนังสือเรียน หนา 17 แลวบอกวา มีรูปอะไรบาง แตละรูปมีจํานวนเทาใด

อธิบายความรู

ก�รเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนศูนย์

จำ�นวน ศูนย์ เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอ�รบิก ดังนี้ เริ่ม

ล�กเส้นจ�กจุด เริ่มต้นไปต�มลูกศร

ในจ�นไม่มีขนม หรือขนม 0 ชิ้น

E×plain

1. ครูนํากลองดินสอที่ภายในกลองบรรจุดินสออยู 5 แทง จากนั้นสุมเรียกนักเรียนออกมาหยิบ ทีละ 1 แทง จนไมมีดินสอเหลืออยูในกลอง จากนั้นครูถามวา • มีดินสอเหลืออยูในกลองเทาไร (ตอบ 0 แทง) 2. ครูติดบัตรรูปประกอบตัวเลขฮินดูอารบิก “0” บนกระดาน จากนั้นถามคําถามนักเรียน เชน

จำ�นวน ศูนย์ เขียนแสดงด้วยตัวเลขไทย ดังนี้ เริ่ม

บนต้นไม้ไม่มีนก หรือนก ๐ ตัว ในตะกร้�ไม่มีผลไม้ หรือผลไม้ศูนย์ผล ผลไม้ 0 ผล ผลไม้ ๐ ผล

0 • มีลูกบอลอยูในกลองกี่ลูก (ตอบ 0 ลูก)

0 • มีหนังสือวางอยูบนโตะกี่เลม (ตอบ 0 เลม) 3. ครูสาธิตการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก “0” บนกระดาน พรอมทั้งแนะนําวิธีเขียนวา จะตองเริ่มตนที่จุดใด และลากเสนไปทางใด โดยสังเกตจากลูกศร

1

µÑÇàÅ¢áÊ´§¨íҹǹ »ÅÒ ¹¡ áÅмÅäÁŒ 㪌µÑÇàÅ¢àËÁ×͹¡Ñ¹ ¤×Í 0 áÅÐ ð

18

เกร็ดแนะครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ครูอาจตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนฝกทักษะการคิดและหาเหตุผล โดยครูถามวา นักเรียนคิดวา เลขศูนยมีคาหรือไม พรอมทั้งใหนักเรียนบอกเหตุผลสนับสนุน

นักเรียนควรรู 1 จํานวนศูนย การเขียนแสดงจํานวนศูนยดวยตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยจะคลายคลึงกัน คือ เขียนเปนวง แตจะมีความแตกตางกัน ที่ตัวเลขฮินดูอารบิกจะเขียนลักษณะคลายวงรี (0) แตตัวเลขไทยจะเขียนลักษณะ คลายวงกลม (๐) ดังนั้นในการเขียนตัวเลขแสดงจํานวนศูนยควรเขียนใหถูกตอง

18

คูมือครู

จากภาพ จํานวนขาของสัตวในภาพใด เขียนแสดงไดดวยจํานวนศูนย ก. ปลา ข. เสือ ค. หมี วิเคราะหคําตอบ ขอ ก. เพราะปลาไมมีขา ซึ่งเขียนแสดงไดดวยจํานวน 0


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู

E×plain

1. ครูสาธิตการเขียนตัวเลขไทย “๐” ในทํานองเดียวกับตัวเลขฮินดูอารบิก “0” 2. ครูเก็บสิ่งของทุกอยางบนโตะออก จากนั้นครูถามวา • บนโตะมีของอยูกี่ชิ้น (ตอบ 0 ชิ้น)

กิจกรรมฝึกฝนทักษะ

1. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขฮินดูอ�รบิกแสดงจำ�นวนศูนย์ ลงในสมุด 2. ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลขไทยแสดงจำ�นวนศูนย์ ลงในสมุด 3. ให้นักเรียนดูรูปแล้วบอกว่�รูปใดแสดงจำ�นวนศูนย์

ขยายความเขาใจ

E×pand

1. ครูเขียนเสนประของตัวเลขฮินดูอารบิก “0” บนกระดาน จากนัน้ สุม นักเรียนออกมาลากเสน ตามเสนประในวิธีการที่ถูกตอง 2. ครูแจกบัตรตัวเลขฮินดูอารบิก ใหนักเรียนฝก เขียนตามรอยเสนประในบัตรตัวเลขจนถูกวิธี 3. ใหนักเรียนเขียนตัวเลข “0” และ “๐” ลงในสมุด จํานวน 1 หนา โดยเขียนบรรทัดละ 5 ตัว

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 19 ขอ 1. และ 2. ลงในสมุด เปนการบาน 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 19 ขอ 3. โดยถามตอบในหองเรียน

µÑÇàÅ¢ÎÔ¹´ÙÍÒúԡ 0, 1, 2, 3, 4, 5 µÑÇàÅ¢ä·Â ð, ñ, ò, ó, ô, õ ໚¹ÊÑÞÅѡɳ ·Õè㪌à¢Õ¹áÊ´§¨íҹǹ à¢Õ¹໚¹µÑÇ˹ѧÊ×Í ¤×Í Èٹ ˹Öè§ Êͧ ÊÒÁ ÊÕè ËŒÒ µÒÁÅíҴѺ 19

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

“แมมีสมหาผล แตไมมีมะมวงเลย” จากขอความนี้ ขอใดเขียนตัวเลข แสดงจํานวนไดถูกตอง ก. สม ๔ ผล ข. สม ๐ ผล ค. มะมวง 0 ผล วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. เพราะมีสมหาผล เขียนตัวเลขแสดงจํานวน 5 ผล หรือ ๕ ผล และไมมีมะมวงเลย เขียนตัวเลขแสดงจํานวน 0 ผล หรือ ๐ ผล

เกร็ดแนะครู ครูจัดกิจกรรมเกม Bingo โดยครูแจกตาราง 9 ชอง ใหนักเรียนคนละ 1 แผน แลวใหนักเรียนเขียนเลข 0 - 5 ทั้งที่เปนตัวเลขไทยหรือตัวเลขฮินดูอารบิกก็ได ใหครบทุกชอง (ซํ้ากันได) จากนั้นครูสุมหยิบหมายเลข 0 - 5 ที่ครูเตรียมไวขึ้นมา ครั้งละ 1 ใบ แลวอานตัวเลข ถาตัวเลขนั้นตรงกับตัวเลขในชองใดของนักเรียน ให ✕ ทับชองนั้น ครั้งละ 1 ชอง ถานักเรียนคนใดกา ✕ ครบในแนวตั้งหรือแนวนอน หรือแนวทแยงกอนใหรอง Bingo และเปนผูชนะ

๐ 2 ✕ 3

๔ 1 ✕ ๑

๒ 4 ✕ ๕ คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา สํารวจค

Engage

สํารวจคนหา

E×plore

ครูตดิ บัตรทีเ่ ปนสิง่ ของจํานวนหนึง่ ถึงหาและศูนย และติดบัตรตัวเลขฮินดูอารบิก 1 ถึง 5 และ 0 บนกระดาน แลวใหนักเรียนโยงเสนจับคูจํานวน ใหตรงกับตัวฮินดูอารบิก ดังนี้

อธิบายความรู

3

จำ�นวน หนึ่ง สอง ส�ม สี่ ห้� และศูนย์ ๑

หนึ่ง

4

2

สอง

0

3

ส�ม

1

4

สี่

5

5

ห้�

2

0

ศูนย์

E×plain

1. จำ�นวนใช้บอกปริม�ณของสิ่งต่�งๆ เช่น ส้มสองผล ผล นก นกส�มตัว 2. จำ�นวนนับหนึ่ง สอง ส�ม สี่ ห้� เป็นจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละหนึ่งต�มลำ�ดับ 1 2 3 4 3. ถ้�ไม่มีสิ่งของแสดงว่�สิ่งของนั้นมีจำ�นวนศูนย์

2 1 • มีตูเย็นกี่เครื่อง • มีเกาอี้กี่ตัว (ตอบ 2 ตัว) (ตอบ 1 เครื่อง) 2. ใหนักเรียนเริ่มนับหนึ่งถึงหา โดยการชูนิ้วมือ ทีละนิ้ว จากนั้นครูอธิบายใหนักเรียนฟงวา จํานวนนับหนึ่งถึงหา เปนจํานวนนับที่เพิ่มขึ้น ครั้งละหนึ่ง ตามลําดับ

มีขนม 2 ชิ้น

ฝกนับจํานวน 1 - 10 เปนภาษาอังกฤษ จํานวน อานวา จํานวน 1 One 6 2 Two 7 3 Three 8 4 Four 9 5 Five 10

มีขนม 1 ชิ้น

5

มีขนม 0 ชิ้น

20

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

บูรณาการอาเซียน

คูมือครู

ตัวหนังสือ

1

1. ครูติดบัตรรูปประกอบตัวเลขฮินดูอารบิก บนกระดาน แลวใหเติมตัวเลขฮินดูอารบิก ลงในชองวาง จากนั้นถามคําถามนักเรียน เชน

20

ตัวเลข ตัวเลขไทย ฮินดูอ�รบิก

รูปภ�พ

อานวา Six Seven Eight Nine Ten

ขอใดแสดงจํานวนมากกวาสาม ก. แววมีตุกตาหนึ่งตัว ข. วิวมีกระเปาสามใบ ค. วิกมียางลบหากอน

วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. เพราะ ขอ ก. แววมีตุกตา 1 ตัว แสดงวา 1 นอยกวา 3 ขอ ข. วิวมีกระเปา 3 ใบ แสดงวา 3 เทากับ 3 ขอ ค. วิกมียางลบ 5 กอน แสดงวา 5 มากกวา 3 ดังนั้น ขอ ค. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู

E×plain

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจนไดขอ สรุปวา • จํานวนใชในการบอกปริมาณ • ตัวเลขเปนสัญลักษณที่ใชแสดงจํานวน • 1, 2, 3, 4, 5, ... เปนตัวเลขที่ใชเขียนแสดง จํานวนนับที่เพิ่มขึ้นครั้งละหนึ่ง ตามลําดับ • 1 เปนจํานวนนับที่นอยที่สุด

กิจกรรมฝึกฝนทักษะ

ให้นักเรียนดูรูป แล้วบอกจำ�นวนลงในสมุด

ขยายความเขาใจ

E×pand

ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด คณิตศาสตร ป.1 ✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ คณิตศาสตร ป.1 เรื่อง จํานวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 4 ใหนักเรียนเขียน ตัวอยาง

ลอมรอบตัวเลขที่แสดงจำนวนรูป

3 5 4 5 3 4 4 5 2 3 2 1 2 3 4

1)

มี

ใบ

มี

หัว

มี

ใบ

มี

ตัว

มี

ตัว

2)

ฉบับ

เฉลย

1

3)

4)

4

ตรวจสอบผล 21

2 5 ควรเติมจํานวนใดลงใน จํานวนจากนอยไปมาก ก. 0, 1 ข. 1, 3 ค. 4, 0

ขอสอบเนน การคิด แนว NT แลวจะเปนการเรียงลําดับ

วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะ 0 1 2 3 4 5 ซึ่ง 1 นอยกวา 2 และ 3 มากกวา 2 ดังนั้น 1 2 3 5 จึงเปนการเรียงลําดับจากนอยไปมากที่ถูกตอง

Evaluate

ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 21 โดยรวมกันตอบดวยปากเปลา

นักเรียนควรรู 1 หัว เปนลักษณนามของแครอต ซึ่งแครอตที่เรานํามารับประทานนี้ เปนหัว รากชนิดหนึ่งที่ทําหนาที่สะสมอาหารพวกแปง นํ้าตาล หรือโปรตีน ทําใหมีลักษณะ อวนใหญ ซึ่งเรียกวา หัว จึงไดเรียกแครอตแตละหัววา หัว

มุม IT นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัดเพิ่มเติมไดที่ http://www.myfififirstbrain.com คลิกไปที่ แบบฝกหัดคณิตศาสตร คลิกเลือก ป.1 คลิกเลือก แบบฝกทักษะเรื่อง จํานวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 (ชุดที่ 5)

คูมือครู

21


สํารวจคนหา

กระตุนความสนใจ Engage

Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

E×plore

1. ครูแบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม คือ • กลุมนักเรียนชาย โดยครูแจกบัตรรูปดินสอ ให 3 รูป • กลุมนักเรียนหญิง โดยครูแจกบัตรรูปยางลบ ให 3 รูป 2. ใหแตละคนในกลุมที่ถือบัตรรูป ออกมาจับคู ดินสอกับยางลบกันเปนคูๆ ซึง่ จะจับคูก นั ไดพอดี

ครูถามนักเรียนวา • ดินสอกับยางลบ จับคูกันไดพอดีหรือไม (ตอบ จับคูกันไดพอดี) 3. ครูจัดกิจกรรมเรื่อง การเปรียบเทียบจํานวน ไมเทากัน ในทํานองเดียวกับเรือ่ ง การเปรียบเทียบ จํานวนที่เทากัน

1

1.2 ก�รเปรียบเทียบจำ�นวน

1. ก�รเปรียบเทียบเท่�กัน ไม่เท่�กัน ล�กเส้นจับคู่แอปเปิลกับหนอน

จับคู่กันได้พอดี แสดงว่�

และ

มีจำ�นวนเท่�กัน

ล�กเส้นจับคู่ดอกไม้กับผีเสื้อ

จับคู่กันได้พอดี แสดงว่�

และ

มีจำ�นวนเท่�กัน

22

เกร็ดแนะครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ในการลากเสนจับคูสิ่งของ ครูอาจใหนักเรียนใชดินสอลากเสนโยงโดยไมใช ไมบรรทัด เพื่อฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อมือและฝกสายตา โดยที่นักเรียนอาจ ลากเสนไดไมตรงนักก็ได

นักเรียนควรรู 1 การเปรียบเทียบ หมายถึง การพิจารณาเปรียบเทียบในสองลักษณะ คือ การเทียบเคียงความเหมือน หรือความแตกตางระหวางสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง โดยมีเกณฑการตัดสิน

ใหนักเรียนพิจารณารูป แลวบอกวาสิ่งของใดบางที่มีจํานวนมากกวาหนึ่ง แนวตอบ รูปภาพมี 2 รูป ดินสอมี 3 แทง หนังสือมี 3 เลม

22

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

E×plain

1. ครูติดแถบรูปสิ่งของตางๆ ที่มีจํานวนเทากัน และไมเทากันบนกระดาน จากนั้นใหนักเรียน ออกมาลากเสนจับคู แลวตอบคําถาม

ล�กเส้นจับคู่ปล�กับแมว

• กลวยและลิงจับคูกันไดพอดีหรือไม (ตอบ จับคูกันไดพอดี)

จับคู่กันได้ไม่พอดี เหลือ 1 ตัว แสดงว่� และ มีจำ�นวนไม่เท่�กัน ล�กเส้นจับคู่หนังสือกับเด็ก

• ลูกอมและมดจับคูกันไดพอดีหรือไม (ตอบ จับคูกันไดไมพอดี) 2. ครูยกตัวอยางในทํานองเดียวกันนี้อีก 2 - 3 ขอ 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย จนไดขอ สรุปวา • เมื่อจับคูกันไดพอดีแสดงวา ทั้งสองกลุม มีจํานวนเทากัน • เมื่อจับคูกันไดไมพอดีแสดงวา ทั้งสองกลุม มีจํานวนไมเทากัน

จับคู่กันได้ไม่พอดี เหลือ 1 เล่ม แสดงว่� และ มีจำ�นวนไม่ นวนไม่เท่�กัน 23

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขอใดกลาวถึงการเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนที่เทากันไดถูกตอง ก. จับคูกันไดพอดี ข. จับคูกันแลวเหลือเศษ ค. จับคูกันแลวจํานวนหนึ่งไมมีคู

วิเคราะหคําตอบ ขอ ก. เพราะการเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนที่เทากัน แสดงวาจับคูกันแลวพอดี ไมเหลือเศษ

เกร็ดแนะครู ครูจัดกิจกรรมเพิ่มเติม โดยใหนักเรียนแบงกลุม และใหแตละกลุมมีสมาชิก ตามทีน่ กั เรียนพอใจ จากนัน้ ครูสมุ เรียกกลมุ 2 กลมุ ออกมาทีห่ นาชัน้ และใหจบั คูก นั ระหวางกลุม แลวพิจารณาวาจับคูกันไดพอดีหรือไม และเหลือเศษเทาไร ครูดําเนินกิจกรรมนี้ตอไป โดยผลัดเปลี่ยนกลุมที่นํามาจับคูกัน โดยครูสังเกตวา นักเรียนเกิดความเขาใจในการเปรียบเทียบจํานวนที่เทากันและไมเทากัน

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนพิจารณารางกายของตนเอง จากนั้นชวยกันบอกครูวา อวัยวะใดบางของรางกายมีจํานวน “หนึ่ง” คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

E×pand

ครูแจกกระดาษใหนักเรียนคนละ 1 แผน จากนั้นใหนักเรียนวาดภาพสิ่งตางๆ 2 กลุม โดยแตละกลุมแสดงจํานวนไมเกิน 5 ลงในกระดาษ พรอมทั้งเติมจํานวนลงในชองวาง แลวจับคูของทั้ง 2 กลุม เทากันหรือไมเทากัน เชน

4

ขยายความเขาใจ

กิจกรรมฝึกฝนทักษะ 1

ให้นักเรียนดูรูปและใช้นิ้วล�กเส้นจับคู่ในแต่ละรูป แล้วตอบว่� เทากัน หรือ ไมเทากัน

3

จากนั้นครูถามนักเรียนวา • รูปหนอนกับรูปใบไมมีจํานวนเทากัน หรือไมเทากัน (ตอบ มีจํานวนไมเทากัน)

ตรวจสอบผล

Evaluate

ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 24 ลงในสมุด เปนการบาน

24

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมวา สิ่งของที่นํามาเปรียบเทียบจํานวนกัน อาจจะเปนสิ่งของ ที่ตางชนิดกันได เชน คนกับสัตว พืชกับสัตว เปนตน

นักเรียนควรรู 1 ใชนิ้วลากเสน การใชนิ้วชี้ลากเสนเปนการฝกสายตาใหสัมพันธกับนิ้วมือ และสมอง ซึ่งผูที่ใชนิ้วลากเสนจะตองจําใหไดวาไดจับคูสิ่งใดไปแลวบาง เพื่อใหจับคูจํานวนที่เหลือไดถูกตอง

24

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

มีเด็กผูชายอยู 5 คน มีเด็กผูหญิงอยู 4 คน เมื่อจับคูกันจะไดพอดีหรือไม ถาไมพอดี จะเหลือเด็กผูชายหรือเด็กผูหญิง ก. จับคูกันไดพอดี ข. จับคูกันไมพอดี เหลือเด็กผูหญิง ค. จับคูกันไมพอดี เหลือเด็กผูชาย วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. เพราะมีเด็กผูชายมากกวาเด็กผูหญิง เมื่อนํามา จับคูกันจะเหลือเด็กผูชายอยู 1 คน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา 1

E×plore

ครูติดแถบรูปบนกระดาน ซึ่งสิ่งตางๆ ในแตละกลุมแสดงจํานวนไมเทากัน และแสดง จํานวนไมเกิน 5 จํานวน จากนั้นใหนักเรียนชวยกัน เติมจํานวนลงในชองวาง แลวจับคูของทั้ง 2 กลุม แลวชวยกันตอบคําถาม ดังนี้

2. ก�รเปรียบเทียบม�กกว่� น้อยกว่�

จับคู่กันได้ไม่พอดี เหลือ 1 ใบ แสดงว่� และ มีจำ�นวน นวนไม่เท่�กัน มี เหลืออยู่ 1 ใบ ดังนั้น มีจำ�นวนม�กกว่ ม�กกว่� หรือ มีจำ�นวนน้ นวนน้อยกว่�

5

3

• ผึ้งกับดอกไมมีจํานวนเทากันหรือไมเทากัน (ตอบ มีจํานวนไมเทากัน) • เมื่อจับคูกันแลวมีสิ่งใดยังเหลืออยู (ตอบ ผึ้ง)

25

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

บีมมีแกวนํ้า 5 ใบ มีหลอดดูดนํ้า 3 หลอด เมื่อนํามาจับคูกันจะจับคูได พอดีหรือไม ถาจับคูกันไมพอดีสิ่งใดเหลืออยู ก. จับคูกันไดพอดี ข. จับคูกันไดไมพอดี เหลือแกวนํ้าอยู 2 ใบ ค. จับคูกันไดไมพอดี เหลือหลอดดูดนํ้าอยู 2 หลอด

วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะบีมมีแกวนํ้า 5 ใบ มีหลอดดูดนํ้า 3 หลอด เมื่อจับคูกันแลวก็จะเหลือแกวนํ้าอยู 2 ใบ

นักเรียนควรรู 1 การเปรียบเทียบ เปนการพิจารณาความเหมือนและความแตกตางของสิ่งของ ตั้งแตสองสิ่งขึ้นไป ประโยชนของการคิดเปรียบเทียบ มีดังนี้ • ชวยฝกใหเปนคนชางสังเกต • ชวยฝกใหเปนคนมีเหตุผล • ชวยฝกใหเปนคนมีความคิดริเริ่มสรางสรรค • ชวยฝกใหเปนคนมีความคิดเฉียบแหลม • ชวยใหการสื่อสารชัดเจนและรวดเร็ว • ชวยใหเกิดความมั่นใจในการตัดสินใจ

คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

สํารวจคนหา

Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

E×plore

ครูติดแถบรูปบนกระดาน ซึ่งสิ่งตางๆ ในแตละกลุมแสดงจํานวนเทากัน และแสดงจํานวน ไมเกิน 5 จํานวน จากนั้นใหนักเรียนชวยกันเติม จํานวนลงในชองวาง แลวจับคูของทั้ง 2 กลุม แลวชวยกันตอบคําถาม ดังนี้

2

2

• กระตายกับเตามีจํานวนเทากันหรือไมเทากัน (ตอบ มีจํานวนเทากัน) • เมื่อจับคูกันแลวมีสิ่งใดยังเหลืออยู (ตอบ ไมมีสิ่งใดเหลืออยู เพราะจับคูกันได พอดี)

ตัวอย่างที่ 1

มีนก 3 ตัว มีหนอน 2 ตัว 1 ตัว จับคู่กันได้ไม่พอดี เหลือ และ มีจำ�นวนไม่เท่�กัน แสดงว่� แสดงว่� จำ�นวนนก ม�กกว่� จำ�นวนหนอน หรือ จำ�นวนหนอน น้อยกว่� จำ�นวนนก ดังนั้น 3 ม�กกว่� 2 หรือ 2 น้อยกว่� 3 ตัวอย่างที่ 2

มีส้ม 4 ผล มีมะม่วง 3 ผล จำ�นวนส้ม หรือจำ�นวนมะม่วง ดังนั้น 4 หรือ 3

ม�กกว่� จำ�นวนมะม่วง น้อยกว่� จำ�นวนส้ม ม�กกว่� 3 น้อยกว่� 4

26

เกร็ดแนะครู ครูจัดกิจกรรมเพิ่มเติม โดยใหนักเรียนวาดภาพสิ่งใดก็ได 1 ชนิด ลงในกระดาษ โดยใหมีจํานวนตั้งแต 1 - 5 จากนั้นครูสุมเรียกนักเรียนออกมาทีละคู แลวใหแตละคน แสดงภาพของตนใหเพื่อนดู จากนั้นใหเพื่อนเปรียบเทียบจํานวนของสิ่งที่อยูในภาพ วาเทากันหรือไมเทากัน วามากกวาหรือนอยกวา จากนั้นผลัดกันใหคูอื่นออกมา แสดงภาพบาง

26

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT ขอใดถูกตอง ก. 4 มากกวา 3 แตนอยกวา 2 ข. 2 นอยกวา 5 แตมากกวา 1 ค. 5 มากกวา 4 แตนอยกวา 3

วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะ 1 2 3 4 5 เปนจํานวนนับที่เพิ่มขึ้นทีละ 1 ดังนั้น 2 จึงนอยกวา 5 แต 2 มากกวา 1


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

E×plain

ครูติดแถบรูปบนกระดาน ซึ่งสิ่งตางๆ ในแตละกลุมแสดงจํานวนไมเทากัน และแสดง จํานวนไมเกิน 5 จํานวน จากนั้นใหนักเรียน ชวยกันเติมจํานวนลงในชองวาง แลวจับคูของ ทั้ง 2 กลุม แลวชวยกันตอบคําถาม ดังนี้

กิจกรรมฝึกฝนทักษะ

1. ให้นักเรียนบอกว่� รูปในข้อใดมีจำ�นวน มากกวา จำ�นวน ในรูปที่กำ�หนด ก. ข. ค. ง. 1)

¹Á¡Å‹Í§

¹Á¡Å‹Í§

2)

ก.

ข.

ค.

ง. ¹Á¡Å‹Í§

3)

ก.

ข.

ค.

ง.

4)

ก.

ข.

ค.

ง.

3

• นมมีจํานวนเทาไร (ตอบ 3 กลอง) • แกวนํ้ามีจํานวนเทาไร (ตอบ 2 ใบ) • นมกับแกวนํ้ามีจํานวนเทากันหรือไม (ตอบ มีจํานวนไมเทากัน) • จํานวนใดมากกวา (ตอบ 3 มากกวา 2) • จํานวนใดนอยกวา (ตอบ 2 นอยกวา 3) จากนั้นใหนักเรียนรวมกันสรุปจนไดวา • 3 ไมเทากับ 2 • 3 มากกวา 2 • 2 นอยกวา 3

27

จํานวนในขอใดที่มากกวา 3 ทั้งหมด ก. 1, 5 ข. 4, 2

ขอสอบเนน การคิด แนว NT ค. 5, 4

วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. เพราะ 4 มากกวา 3 อยู 1 และ 5 มากกวา 3 อยู 2 สวน 1 นอยกวา 3 อยู 2 และ 2 นอยกวา 3 อยู 1

กิจกรรมสรางเสริม

2

เกร็ดแนะครู • ในการทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ ครูควรใหนักเรียนนับจํานวนภาพในแตละชอง แลวเขียนตัวเลขกํากับไว เพื่อฝกความคุนชินของจํานวนกับภาพ และจะได ใหนักเรียนสังเกตตัวเลขกับการเปรียบเทียบ • ครูใหนักเรียนเปรียบเทียบจํานวนเพิ่มเติม โดยเลือกจํานวนที่กําหนดจากรูป ก. - ง. ในแตละขอมา 1 รูป แลวเปรียบเทียบกับรูปที่เหลือวา รูปในขอใด มีจํานวนใดมากกวาหรือนอยกวา

ใหนักเรียนวาดรูปของ 2 สิ่ง แลวนํามาจับคูกัน โดยกําหนดให สิ่งของจะตองจับคูกันไดไมพอดี

คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

E×plain

ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา เมื่อจับคู กันไดไมพอดีแสดงวาทั้งสองกลุมมีจํานวนไมเทากัน กลุมที่จับคูแลวมีของที่เหลืออยูแสดงวามีจํานวน มากกวา และอีกกลุมหนึ่งมีจํานวนนอยกวา

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

E×pand

2. ให้นักเรียนบอกว่�รูปในข้อใดมีจำ�นวน นอยกวา จำ�นวน ในรูปที่กำ�หนด ก. ข. ค. ง. 1)

1. ครูตดิ บัตรภาพสิง่ ของบนกระดาน เชน ภาพขนม 2 ชิ้น จากนั้นขออาสาสมัครนักเรียน 2 คน ใหชวยกันออกมาติดบัตรภาพและบัตรตัวเลข เพื่อแสดงการเปรียบเทียบกับจํานวน 2 2. ครูจัดกิจกรรมในทํานองเดียวกันนี้อีก 2 - 3 ขอ โดยเปลี่ยนจํานวนบัตรภาพเปนจํานวนอื่นๆ (จํานวน 1 - 5)

2)

ก.

ข.

ค.

ง.

ตรวจสอบผล

3)

ก.

ข.

ค.

ง.

4)

ก.

ข.

ค.

ง.

5)

ก.

ข.

ค.

ง.

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 27 ขอ 1. ลงในสมุด แลวรวมกันเฉลย 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 28 ขอ 2. ลงในสมุด เปนการบาน

Evaluate

28

เกร็ดแนะครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ครูจัดกิจกรรมเพิ่มเติม โดยใหนักเรียนเขียนตัวเลขแสดงจํานวนในแตละรูป แลวใหนําตัวเลขนั้นมาเปรียบเทียบกัน

มุม IT นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัดเพิ่มเติมไดที่ http://www.myfififirstbrain.com คลิกไปที่ แบบฝกหัดคณิตศาสตร คลิกเลือก ป.1 คลิกเลือก แบบฝกทักษะเรื่อง จํานวนนับ 1 ถึง 5 และ 0 (ชุดที่ 3)

28

คูมือครู

จากรูป ขอใดมีคามากกวา ก. จูนมีสุนัขสองตัว ข. แจนมีแมวสามตัว ค. จิ๋วมีปลาหาตัว วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. เพราะจากรูปมีเตาทองอยู 4 ตัว จะเห็นวา ขอ ก. จูนมีสุนัข 2 ตัว ซึ่ง 2 นอยกวา 4 ขอ ข. แจนมีแมว 3 ตัว ซึ่ง 3 นอยกวา 4 ขอ ค. จิ๋วมีปลา 5 ตัว ซึ่ง 5 มากกวา 4


สํารวจคนหา

กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

1. ครูติดบัตรจํานวน 1 ถึง 5 และ 0 บนกระดาน ดังนี้

1.3 ก�รเรียงลำ�ดับจำ�นวน

1

2

3

2 ม�กกว่� 1 อยู่ 1

4

ได้

5

4 ม�กกว่� 3 อยู่ 1

3 ม�กกว่� 2 อยู่ 1

3

1

5

4

0

2

จากนั้นใหนักเรียนสังเกตจํานวนแตละจํานวน แลวถามนักเรียนวา • จํานวนใดมากที่สุด (ตอบ 5) • จํานวนใดนอยที่สุด (ตอบ 0) 2. ครูกาํ หนดจํานวนครัง้ ละ 3 จํานวน บนกระดาน แลวใหนักเรียนชวยกันเรียงลําดับจํานวนจาก นอยไปมาก เชน

1

E×plore

2 1 2 5

5 ม�กกว่� 4 อยู่ 1

1 2 3 4 5 เป็นจำ�นวนนับที่เพิ่มขึ้นทีละ 1 เร�ส�ม�รถใช้ก�รนับจำ�นวนม�เรียงลำ�ดับจำ�นวนนับ ก�รเรียงลำ�ดับจำ�นวน ส�ม�รถเรียงได้ 2 ลักษณะ คือ ✿ เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กน้อยไปม�ก ✿ เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กม�กไปน้อย

0 3 4 4

1 2 3 3

เรียงได เรียงได เรียงได เรียงได

0 1 2 3

1 2 3 4

3. ใหนักเรียนนําจํานวนจากกิจกรรมขอ 2. มาชวยกันเรียงลําดับใหมจากมากไปนอย

2 3 4 5

29

ขอใดเปนการเรียงลําดับจากนอยไปมาก ก. 5, 3, 2, 0 ข. 1, 2, 4, 5 ค. 0, 1, 5, 3

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะจากขอ ก. 5, 3, 2, 0 เปนการเรียงจาก มากไปนอย ขอ ค. 0, 1, 5, 3 ถาจะเรียงจากนอยไปมาก จะได 0, 1, 3, 5

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิม่ เติมใหนกั เรียนเขาใจเกีย่ วกับลําดับที่ ลําดับทีเ่ ปนการบอกตําแหนง ของสิ่งตางๆ ที่เรียงลําดับกัน โดยนับจากจุดเริ่มตน ถาไมมีจุดเริ่มตนจะไมสามารถ จัดลําดับที่ได ครูอาจจะยกตัวอยางโดยใหนักเรียน 5 คน ออกมายืนเรียงแถวกัน หนาหอง แลวเริ่มตนนับจากคนที่อยูใกลครูมากที่สุด เปนคนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5

นักเรียนควรรู 1 รูปนี้ คือ สตรอวเบอรรี เปนผลไมที่ปลูกไดในเขตที่มีอากาศหนาวเย็น โดยในประเทศไทยจะปลูกมากที่ภาคเหนือ

คูมือครู

29


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ คณิตศาสตร ป.1 เรื่อง การเรียงลําดับจํานวน 3 ใหนักเรียนเรียงลำดับจำนวนจากมากไปนอย

2) 3) 4)

3 2 3 1 5 0 1 5

➡ ➡ ➡ ➡

Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

4 4 5 5

1

1) เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กน้อยไปม�ก ก�รเรียงลำ�ดับจำ�นวน 0 ถึง 5 จ�กน้อยไปม�ก

0 1 2 3 4 5 ¡ÒÃàÃÕ§ÅíҴѺ¨íҹǹ 0 ¶Ö§ 5 ¨Ò¡¹ŒÍÂä»ÁÒ¡ ໚¹¡ÒÃàÃÕ§¨íҹǹ â´Â¹Ñºà¾ÔèÁ¢Öé¹·ÕÅÐ 1 ¨Ò¡«ŒÒÂ仢ÇÒ

E×pand

ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด คณิตศาสตร ป.1

1 4 0 4 2 3 4 2

ขยายความเขาใจ

อธิบExplain ายความรู

E×plain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การเรียงลําดับ จํานวน 0 ถึง 5 เพื่อใหสรุปไดวา จํานวน 0 ถึง 5 สามารถนํามาเรียงลําดับ จากนอยไปมาก ดังนี้ 0, 1, 2, 3, 4, 5 จากมากไปนอย ดังนี้ 5, 4, 3, 2, 1, 0 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา • 1 2 3 4 5 เปนจํานวนนับ ที่เพิ่มขึ้นทีละ 1 เราสามารถใชการนับจํานวนมาเรียงลําดับ จํานวนนับได • การเรียงลําดับจํานวน สามารถเรียงได 2 ลักษณะ คือ - การเรียงลําดับจํานวนจากนอยไปมาก - การเรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย

1)

อธิบายความรู

3 3 3 4

2 1 2 2

2) เรียงลำ�ดับจำ�นวนม�กไปน้อย ก�รเรียงลำ�ดับจำ�นวน 0 ถึง 5 จ�กม�กไปน้อย

ค 1.1 ป.1/2

1 0 0 1

5 4 3 2 1 0

ฉบับ

เฉลย

4 ใหนักเรียนเรียงลำดับจำนวนจากนอยไปมาก

1) 2) 3) 4)

1 2 5 1 1 0 5 1

0 3 4 3 4 2 2 3

➡ ➡ ➡ ➡

0 1 0 1

1 3 1 2

2 4 2 3

ค 1.1 ป.1/2

3 5 4 5

¡ÒÃàÃÕ§ÅíҴѺ¨íҹǹ 0 ¶Ö§ 5 ¨Ò¡Áҡ仹ŒÍ ໚¹¡ÒÃàÃÕ§¨íҹǹ â´Â¹ÑºÅ´Å§·ÕÅÐ 1 ¨Ò¡«ŒÒÂ仢ÇÒ ËÃ×Íâ´Â¹Ñºà¾ÔèÁ¢Öé¹·ÕÅÐ 1 ¨Ò¡¢ÇÒ仫ŒÒ 30

12

นักเรียนควรรู 1 การเรียงลําดับจํานวน การเรียงลําดับจํานวนหลายๆ จํานวน ทําไดโดย การเปรียบเทียบจํานวนทีละคู แลวเรียงลําดับจํานวนจากที่มีคานอยไปหา จํานวนที่มีคามาก หรือจากจํานวนที่มีคามากไปหาจํานวนที่มีคานอย จํานวนที่นํามาเรียงลําดับ ไมจําเปนตองเปนจํานวนที่อยูติดกัน หรือจํานวนที่มีคามากกวาหรือนอยกวากันแค 1 เชน • เรียงลําดับจํานวน 5 2 4 จากนอยไปมาก จะได 2 4 5

30

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

1 3 5 ควรเติมตัวเลขใดในชองวาง ถาเรียงลําดับจํานวนจากนอยไปมาก ก. 0 ข. 2 ค. 4 วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะ 0 1 2 3 4 5 เปนการเรียงลําดับจํานวน โดยนับเพิ่มทีละ 1 ซึ่ง ขอ ก. 0 นอยกวา 1 จึง ตองอยูกอน 1 ขอ ข. 2 มากกวา 1 จึงตองอยูหลัง 1 ขอ ค. 4 มากกวา 1 และมากกวา 3 จึงตองอยูหลัง 3 ดังนั้น 1 2 3 5 จึงเปนการเรียงลําดับจํานวนจากนอย ไปมากที่ถูกตอง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

ใหนักเรียนกําหนดจํานวนจาก 0 ถึง 5 คนละ 3 จํานวน ลงในสมุด พรอมกับวาดภาพ แสดงจํานวน จากนั้นเรียงลําดับจํานวนจากนอย ไปมาก และจากมากไปนอย

กิจกรรมฝึกฝนทักษะ

(ทำ�ลงในสมุด) 1. ให้นักเรียนเติมตัวเลขต่อจ�กจำ�นวนที่กำ�หนดให้อีก สองจำ�นวน 2) 3 3) 2 4) 0 1) 1

ตรวจสอบผล

ข.

Evaluate

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 31 ขอ 1. - 2. ลงในสมุด แลวรวมกันเฉลย 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ จากหนังสือเรียน หนา 31 ขอ 3. - 4. ลงในสมุด เปนการบาน

2. ให้นักเรียนเรียงลำ�ดับรูปที่มีจำ�นวนผลไม้น้อยไปห�รูปที่มี จำ�นวนผลไม้ม�ก ก.

E×pand

ค.

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลงานการเขียนจํานวนและวาดภาพแสดงจํานวน 2. ผลงานการเรียงลําดับจํานวน จากแบบฝกหัด คณิตศาสตร ป.1 3. การทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ

3. ให้นักเรียนเรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กนนอยยไป ยไปมาก ไปมาก มาก 1) 3 1 2 2) 5 4 1 3 3) 3 2 1 4 5 4. ให้นักเรียนเรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กมากไปน มากไปนนอย มากไป 1) 4 2 3 2) 3 1 2 4 3) 4 3 5 1 2 31

ขอใดเรียงลําดับจากมากไปนอยไดถูกตอง ก. 1 2 3 4 ข. 5 3 2 0 ค. 0 1 3 4

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

วิเคราะหคําตอบ ขอ ข. เพราะ 5 4 3 2 1 0 เปนการเรียงจํานวน โดยนับลดลงทีละ 1 จากซายไปขวา หรือโดยนับเพิ่มทีละ 1 จากขวาไปซาย ดังนั้น 5 3 2 0 จึงเปนการเรียงลําดับจากมากไปนอย

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมวา การเรียงลําดับจํานวนเปนการฝกฝนทักษะการคิด อยางมีวิจารณญาณ เพราะตองคิดไตรตรองใหรอบคอบกอนวา จํานวนใด มากกวาหรือนอยกวากัน จึงจะนํามาเรียงลําดับไดถูกตอง

มุม IT นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัดเพิม่ เติมไดที่ http://www.trueplookpanya.com คลิกไปที่ คลังขอสอบ คลิกเลือก คณิตศาสตร ป.1 คลิกเลือก เรื่องจํานวนนับ ไมเกิน 10

คูมือครู

31


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.