8858649122797

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่

4

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.4 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.4 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน เสร�ม อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐาน 3 การเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบ กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.4 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรู ตามลําดับสาระ (strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมาย การเรียนรูและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทาง การประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา (เฉพาะชัน้ ม.4)*

การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-6 1. อานออกเสียง บทรอยแกวและ บทรอยกรองไดอยาง ถูกตอง ไพเราะ และ เหมาะสมกับเรื่อง ที่อาน 2. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่อง ที่อาน 3. วิเคราะหและ วิจารณเรื่องที่อาน ในทุกๆ ดานอยางมี เหตุผล 4. คาดคะเนเหตุการณ จากเรื่องที่อาน และ ประเมินคาเพื่อนํา ความรู ความคิดไป ใชตัดสินใจแกปญหา ในการดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การอานออกเสียงประกอบดวย • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 - บทรอยแกวประเภทตางๆ เชน บทความ นวนิยาย และความเรียง - บทรอยกรอง เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย และลิลิต

เสร�ม

9

• ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 3 • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - ขาวสารจากสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกสและ แหลงเรียนรูตางๆ ในชุมชน - บทความ - นิทาน - เรื่องสั้น - นวนิยาย - วรรณกรรมพื้นบาน - วรรณคดีในบทเรียน - บทโฆษณา - สารคดี - บันเทิงคดี - ปาฐกถา - พระบรมราโชวาท - เทศนา 5. วิเคราะห วิจารณ • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 4 แสดงความคิดเห็น - คําบรรยาย โตแยงกับเรื่องที่อาน - คําสอน - บทรอยกรองรวมสมัย และเสนอความคิด - บทเพลง ใหมอยางมีเหตุผล 6. ตอบคําถามจากการ • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 อานประเภทตางๆ • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ภายในเวลาที่กําหนด • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 3 • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 4

_________________________________ *สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 21-52. หมายเหตุ : สําหรับสาระที่ 4 (วรรณคดีและวรรณกรรม) จะอยูในหนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.4 ของ อจท. ซึ่งเปนหนังสือที่จัดทํา ควบคุูกับหนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา เลมนี้

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4-6 7. อานเรื่องตางๆ แลว - บทอาเศียรวาท (ตอ) เขียนกรอบแนวคิด - คําขวัญ ผังความคิด บันทึก ยอความ และ รายงาน 8. สังเคราะหความรูจ าก การอาน สื่อสิ่งพิมพ สือ่ อิเล็กทรอนิกส และ แหลงเรียนรูต า งๆ มา พัฒนาตน พัฒนาการ เรี ย น และพั ฒ นา ความรูทางอาชีพ 9. มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน

สาระที่ 2

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 3 • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 4 • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 3

• ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 4

การเขี​ียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การเขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ เชน ม.4-6 1. เขียนสื่อสารใน รูปแบบตางๆ ได - อธิบาย ตรงตามวัตถุประสงค - บรรยาย โดยใชภาษาเรียบ - พรรณนา เรียงถูกตอง มีขอมูล - แสดงทรรศนะ และสาระสําคัญ - โตแยง ชัดเจน - โนมนาว - เชิญชวน - ประกาศ - จดหมายกิจธุระ - โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ - รายงานการประชุม - การกรอกแบบรายการตางๆ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 • ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 3 • ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 4

2. เขียนเรียงความ • การเขียนเรียงความ • ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 3. เขียนยอความจาก • การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน • ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 สื่อที่มี รูปแบบ และ - กวีนิพนธ และวรรณคดี เนื้อหาหลากหลาย - เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบาน

คูม อื ครู


ชั้น ตัวชี้วัด ม.4-6 4. ผลิตงานเขียนของ (ตอ) ตนเองในรูปแบบ

ตางๆ

5. ประเมินงานเขียน ของผูอื่น แลวนํามา พัฒนางานเขียนของ ตนเอง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การเขียนในรูปแบบตางๆ เชน - สารคดี - บันเทิงคดี • การประเมินคุณคางานเขียนในดานตางๆ เชน - แนวคิดของผูเขียน - การใชถอยคํา - การเรียบเรียง - สํานวนโวหาร - กลวิธีในการเขียน

เสร�ม

11

6. เขี ย นรายงานการ • การเขียนรายงานเชิงวิชาการ ศึ ก ษาค น คว า เรื่ อ ง • การเขียนอางอิงขอมูลสารสนเทศ ที่สนใจตามหลักการ เขียนเชิงวิชาการ และ ใชขอมูลสารสนเทศ อางอิงอยางถูกตอง 7. บันทึกการศึกษา • การเขียนบันทึกความรูจากแหลงเรียนรูที่ คนควาเพื่อนําไป หลากหลาย พัฒนาตนเองอยาง สมํ่าเสมอ 8. มีมารยาทในการ เขียน

สาระที่ 3

• มารยาทในการเขียน

• ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 1

• ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 1

การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-6 1. สรุปแนวคิด และ

แสดงความคิดเห็น จากเรื่องที่ฟงและดู

2. วิเคราะห แนวคิด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การพูดสรุปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็น จากเรื่องที่ฟงและดู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

• การวิเคราะหแนวคิด การใชภาษา และความ

การใชภาษา และ นาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู ความนาเชื่อถือจาก เรื่องที่ฟงและดูอยางมี เหตุผล

คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด ม.4-6 3. ประเมินเรื่องที่ฟง (ตอ) และดู แลวกําหนด แนวทางนําไป ประยุกตใชในการ ดําเนินชีวิต

เสร�ม

12

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การเลือกเรื่องที่ฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ

• การประเมินเรื่องที่ฟงและดูเพื่อกําหนดแนวทาง นําไปประยุกตใช

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

4. มีวิจารณญาณในการ

• ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 • ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

5. พูดในโอกาสตางๆ พูด • การพูดในโอกาสตางๆ เชน

• ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 3

6. มีมารยาทในการฟง • มารยาทในการฟง การดู และการพูด การดู และการพูด

• ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 • ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 • ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 3

เลือกเรื่องที่ฟงและดู

แสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาวใจ และเสนอ แนวคิดใหมดวยภาษา ถูกตองเหมาะสม

สาระที่ 4

- การพูดตอที่ประชุมชน - การพูดอภิปราย - การพูดแสดงทรรศนะ - การพูดโนมนาวใจ

หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4-6 1. อธิบายธรรมชาติ • ธรรมชาติของภาษา ของภาษา พลังของ • พลังของภาษา ภาษา และลักษณะ • ลักษณะของภาษา ของภาษา - เสียงในภาษา - สวนประกอบของภาษา - องคประกอบของพยางคและคํา 2. ใชคําและกลุมคํา • การใชคําและกลุมคําสรางประโยค สรางประโยคตรงตาม วัตถุประสงค

คูม อื ครู

- คําและสํานวน - การรอยเรียงประโยค - การเพิ่มคํา - การใชคํา - การเขียนสะกดคํา

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 • ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

• ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 2


ชั้น

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.4-6 3. ใชภาษาเหมาะสมแก • ระดับของภาษา (ตอ) โอกาส กาลเทศะ และ • คําราชาศัพท บุคคล รวมทั้ง คําราชาศัพทอยาง เหมาะสม

4. แตงบทรอยกรอง

• กาพย โคลง ราย และฉันท

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 3

เสร�ม • ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 4

13

5. วิเคราะหอิทธิพลของ • อิทธิพลของภาษาตางประเทศและภาษาถิ่น ภาษาตางประเทศและ ภาษาถิ่น

6. อธิบายและวิเคราะห • หลักการสรางคําในภาษาไทย หลักการสรางคําใน ภาษาไทย

7. วิเคราะหและประเมิน • การประเมินการใชภาษาจากสื่อสิ่งพิมพและสื่อ การใชภาษาจาก สื่อสิ่งพิมพและสื่อ อิเล็กทรอนิกส

อิเล็กทรอนิกส

• ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 รหัสวิชา ท…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและ เสร�ม วรรณกรรมโดยฝกทักษะเกี่ยวกับการอานออกเสียง ตีความ แปลความ และขยายความ คาดคะเนเหตุการณ 14 เรื่องที่อาน วิเคราะหวิจารณ แสดงความคิดเห็น โตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน และเสนอความคิดใหมอยางมี เหตุผล ฝกทักษะการเขียนบรรยาย เขียนพรรณนา เขียนโนมนาว เขียนโครงการและรายงานการดําเนิน โครงการ เขียนรายงานการประชุม ประเมินคุณคางานเขียนในดานตางๆ ฝกทักษะการพูดสรุปแนวคิดและ แสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู ประเมินเรื่องที่ฟงและดู และศึกษาเกี่ยวกับระดับของภาษา วิเคราะหวถิ ไี ทย ประเมินคา ความรูแ ละขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม ทองจําบทอาขยานทีก่ าํ หนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียน เขียนสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง ดู และพูดแสดงความรูค วามคิดอยางมีวจิ ารณญาณและสรางสรรค เพือ่ ใหเขาใจ ธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา ภูมปิ ญ ญาทางภาษา วิเคราะหวจิ ารณวรรณคดี และวรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิต รักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติและมีนิสัย รักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1

คูม อื ครู

ม.4-6/1 ม.4-6/1 ม.4-6/1 ม.4-6/1

ม.4-6/2 ม.4-6/2 ม.4-6/2 ม.4-6/2

ม.4-6/3 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ม.4-6/8 ม.4-6/9 ม.4-6/3 ม.4-6/7 ม.4-6/8 ม.4-6/3 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/3 รวม 21 ตัวชี้วัด


วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม. 4

มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 3.1

สาระที่ 3

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

สาระที่ 4

✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้น ม.4 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.5 และ ม.6

หนวยการเรียนรูที่ 4 : การกรอกแบบรายการ

✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7

สาระที่ 2

สาระที่ 1

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การเขียนอธิบาย

ตอนที่ 1 : การพัฒนาทักษะการอาน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การอานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรอง หนวยการเรียนรูที่ 2 : การอานสื่อสิ�งพิมพและสื่อ อิเล็กทรอนิกส หนวยการเรียนรูที่ 3 : การอานแปลความ ตีความ และขยายความ หนวยการเรียนรูที่ 4 : การอานเพื่อแสดง ความคิดเห็น ตอนที่ 2 : การพัฒนาทักษะการเขียน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การเขียนบันทึกความรู หนวยการเรียนรูที่ 2 : การเขียนเรียงความ ยอความ จดหมาย

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

ตาราง

เสร�ม

15

คูม อื ครู


คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูที่ 4 : การแตง คําประพันธ ประเภทกาพยและ โคลง

หนวยการเรียนรูที่ 3 : คําราชาศัพท

หนวยการเรียนรูที่ 2 : ลักษณะของ ภาษาไทย

ตอนที่ 4 : หลักการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่ 1 : ธรรมชาติและพลัง ของภาษา

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การพูดตอที่ ประชุมชน

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การสรุปความจาก การฟง การดู

มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 3.1

สาระที่ 3 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

สาระที่ 4

✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓ ✓

✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7

สาระที่ 2

สาระที่ 1

16

ตอนที่ 3 : การพัฒนาทักษะการฟง การดู และการพูด หนวยการเรียนรูที่ 1 : หลักการฟงและ การดูสื่อ

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ม.๔ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นายภาสกร เกิดออน นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ นางฟองจันทร สุขยิ่ง นางกัลยา สหชาติโกสีย นางสาวศรีวรรณ ชอยหิรัญ

ผูตรวจ

นางบุญลักษณ เอี่ยมสําอางค นางเกื้อกมล พฤกษประมูล นางสาวโสภิต พิทักษ

บรรณาธิการ

นายเอกรินทร สี่มหาศาล พิมพครั้งที่ ๘

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๓๔๑๑๐๐๓

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3441011

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู ประนอม พงษเผือก นงลักษณ เจนนาวี สมปอง ประทีปชวง


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หลักภาษาและการใชภาษาเลมนี้ สรางขึ้นเพื่อใหเปนสื่อสําหรับ ใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาพืน้ ฐาน กลุม สาระการเรียนรูภ าษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี ๔ โดยเนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหท้ังความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเ รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ »¡Ô³¡Ð໚¹¤ÇÒÁÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ â´ÂÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

ปกิณกะ

๕. กลวิธีการเขียนอธิบาย ตอนที่ ๒

¡ÒÃà¢Â Õ ¹ º¹ Ñ ·¡ Ö ¤ÇÒÁà ٌ

หนวยการ

เรียนรูท ี่

ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗ ,๘ • บันทึกการ ศึกษาคน ตนเองอยางสม ควาเพื่อนำไปพัฒนา • มีมารยาทใ ่ำเสมอ สาระการเรียนรู นการเขียน แกนกลาง • การเขียนบั นทึกความรูจ ากแหลงเรียนรู ที่หลากหลาย  • มารยาทในก ารเขียน

¡ÒÃà¢Õ¹ ¤× Í ¡Òö‹ÒÂ·Í ¤ÇÒÁÃÙŒÊÖ¡ ¨Ô ´¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒ ¹µ¹Ò¡Òà áÅ Á¤Ô´ ФÇÒÁµŒÍ§¡Ò ÊÒÃÍÍ¡ÁÒà âͧ¼ÙŒÊ‹§ »š¹ÅÒ ÊÒÁÒö͋ҹࢠÅѡɳ ÍÑ¡Éà à¾×èÍãËŒ ¼ÙŒÃѺÊÒà ŒÒ㨵çµÒÁ· ¼ è Õ à Œ Ù ¢Õ  ¹µ ¡ÒÃà¢Õ¹ãË ŒÍ§¡ÒÃä´Œ µŒÍ§¡ÒÃä´Œ¹ Œ¼ÙŒÍ‹Ò¹à¢ŒÒã¨ÊÒõçµÒÁ· Ñé¹ ¢Öé¹ÍÂÙ‹¡Ñº Õè¼ÙŒà¢Õ¹ ͧ¤ 䴌ᡋ »ÃРʺ¡Òó áÅÐÊ »ÃСͺËÅÒÂÍ‹ҧ Ôè§áÇ´ÅŒÍÁ¢ ¡Ñº¼ÙŒÍ‹Ò¹ ·Ñ ͧ¼ÙŒ ¡ÉзҧÀÒÉ Ò Ãкº¤ÇÒÁ à¢Õ¹ ¼ÙŒà¢Õ¹áÅм ¤Ô´¢Í§ ٌ͋ҹ

µÑǪÕéÇÑ´áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕèËÅÑ¡ÊٵáíÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂã¹ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹Ò ตอนที่ ๔

 าษา หลักภาษาและการใชภ

กลวิธีในการเขียนอธิบาย ที่พบเห็นเสมอๆ ไดแก การเขียนแสดงขั้นตอนเปนระยะๆ หรือ ๑) การเขียนอธิบายตามลำดับขั้นตอน เปน องลำดับขั้นตอนกอนหลังเชนนั้น และขั้นตอน เปนลำดับอยางสมเหตุสมผล และชี้ใหเห็นวาทำไมต การเขียนอธิบายจะทำใหเขาใจชัดเจนยิ่งขึ้น ตั้งแตตนจนจบสัมพันธกันอยางไร ถามีภาพประกอบ ใ นการอธิ บ ายหลั ก การหรื อวิ ธี การหรื อ ๒) การเขียนอธิบายโดยใชตัวอยาง มั ก ใช วยวิธีนี้มักมีการใชคำวา “ตัวอยาง” หรือ ขอความรูบางอยางที่เขาใจยาก การเขียนอธิบายด “เชน” อยูในขอเขียน มือนกันและตางกัน เปนวิธีการ ๓) การเขียนอธิบายโดยการเปรียบเทียบความเห ่งที่ผูฟงยังไมคุนเคย หรืออธิบายขอดี ขอเสีย เขียนที่เหมาะสำหรับอธิบายสิ่งแปลกใหม หรือสิ ตารางก็ได ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งใหเห็นชัดเจน อาจทำเปนรูปหรือ ธที่สัมพันธกัน เปนการเขียนอธิบายที่ ๔) การเขียนอธิบายโดยชี้สาเหตุและผลลัพ ความสัมพันธกันในลักษณะใด ชี้ใหเห็นวา อะไรเปนเหตุ อะไรเปนผลลัพธ และมี คือ การเขียนอธิบายความหมายของคำ าม ย ิ น การให าม ย ิ น ายโดยให บ ๕) การเขียนอธิ ยนนิยามศัพทในงานวิจัยหรือการใหคำจำกัด ศัพทเพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน เชน การเขี พื่อใหเขาใจไดชัดเจนขึ้น งประกอบเ า อย ว ั ต าจมี อ ้ ามนี ย ิ น การให ความในพจนานุกรม ใจในเรื่องที่ตนจะอธิบาย โดยอาศัยการ สิ่งจำเปนสำหรับผูอธิบาย คือ มีความรู ความเขา ยาวนาน ทั้งนี้จะตองรวบรวมความรู ระยะเวลา น เป น งกั อ ่ เนื อ  ต ่ ี ท การณ สะสมความรูและประสบ ่จะถายทอดใหผูอื่นรู รูจักการสังเกตวิธีอธิบาย และความคิดของตนใหเปนระเบียบ แมนยำ กอนที กฝนใหถูกวิธีและสม่ำเสมอ ของผูอื่นอยูเสมอทั้งโดยการอานและการฟง หาโอกาสฝ ÇÔµ»ÃШÓÇѹ¢Í§

¹·Õè㪌ÁÒ¡·ÕèÊØ´ã¹ªÕ ¡ÒÃà¢Õ¹͸ԺÒ ໚¹¡ÒÃÊ×èÍÊÒôŒÇ¡ÒÃà¢Õ Ò¡ÒÃ Ò§æ ¡ÒÃ͸ԺÒ¶×Í໚¹ËÑÇ㨢ͧ§Ò¹·Ò§ÇÔª Á¹ØÉ â´Â੾ÒТŒÍà¢Õ¹㹵ÓÃÒÇÔªÒ¡Òõ‹ Œ¨Ñ¡ãªŒ¤ÓµÃ§¤ÇÒÁËÁÒ 㪌ÀÒÉÒ·Õè ¡ÒÃÃÙ Â §ÍÒÈÑ Í µŒ ᵋ¡ÒÃà¢Õ¹͸ԺÒ¨ÐÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅËÃ×ÍäÁ‹¹Ñé¹ ²¹Ò ¾Ñ Í è ¼ÙŒà¢Õ¹¨Ö§¤Çýƒ¡»¯ÔºÑµÔÍ‹ҧÊÁèÓàÊÁÍà¾× §‹ÒÂáÅÐÊÒÁÒöࢌÒã¨ä´ŒªÑ´à¨¹ ´Ñ§¹Ñé¹ é¹áÅÐà¾×èÍãËŒÊÒÁÒö¹Óä»ãªŒã¹¡ÒÃÊ×èÍÊÒÃä´Œ ·Ñ¡ÉСÒÃà¢Õ¹͸ԺÒÂãËŒÁÕ¤ÇÒÁªÓ¹ÒÞÁÒ¡¢Ö Í‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M4/06

29

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online ÊÃþ ÊÒÃР໚¹ÊÒÃШҡà¹×éÍËÒ ¹Í¡à˹×ͨҡ·ÕèÁÕ ã¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ à¾×èÍà¾ÔèÁ¾Ù¹áÅТÂÒ ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä» ดูจึง ังและการ ื่อ ื่น การฟ กเกณฑ์การ กษะอย่างอ มีหลั มากกว่าทั เวลาที่เสียไป จึง ง ั รฟ กา ษะใน ุ้มค่า างๆ ุษย์ใช้ทัก ดูบางอย่างไม่ค ๖. ก รายการต่ ะการ ะจำวัน มน ้ดูควรศึกษา อากาศนั้นๆ ในชีวิตปร เพราะการฟังแล ัน ผู้ฟังผู ีในแต่ละว ตรงกับสื่อที่จะออก ้เพื่อพิจารณา ีพิถัน ถ ิ าน งพ สถ อ ต้ จำ รประ วลาให้ รจดบันทึกไว จำเป็น ะดูสื่อ ดังนี้ คว อกจัดสรรเ จะมีรายกา เลือกฟังแล ื่อวิทยุโทรทัศน์ สถานีใด และเลื ที่แปลก สะดุดหู ด งให้ ๑. ส ลาใด ของเครื่อ ำพูด ใช้คำใ ากาศในเว การใดแล้วพบค าไม่ถูกต้องควรจะ ้เครื่องมือต่างๆ กอ ออ จะ ก่อนว่า เมื่อฟังหรือดูราย เพราะเหตุใด ถ้ งศึกษาวิธีการใช ธีใช้ที่ถูกต้อง รรู้จัก คว ๒. งหรือไม่ ถบบันทึกเสียงต้อ ต่างๆ และศึกษาวิ ่น อินเทอร์เน็ต นั้นถูกต้อ รม ์ เช กแ ว่าข้อความ ถ้าเป็นการฟังจา งรู้จักวิธีใช้โปรแก เภทคอมพิวเตอร าภาษา ณ อ ระ ต้ าร ๓. ์ รพิจ ิวเตอร อิเล็กทรอนิกส์ป ความรู้ ามาก คว ูน ่อ เป็นคอมพ เข้าใจ ถ้า ถ้าเป็นการดูจากสื รรค์ เกิดการเพิ่มพ ารายการใดมีโฆษณ ถ้ งส ๔. า ้ ด ู น ั สร ะพ ระ ด ะจำว ามที่ฟังแล ในชีวิตปร ื่อถือเพียงใ ี่มีเนื้อหาสา เว็บไซต์ท รู้จักวิเคราะห์ข้อคว าะสม และน่าเช ค่าในการนำไปใช้ ๕. วามเหม ะให้คุณ สนอว่ามีค ี่เหมาะกับวัย แล ์ ำเ รน กา ภาพยนตรน ภาพ ายการท มเป็ ๖. เลือกร ความนิย

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×èÍãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÁդسÀÒ¾ºÃÃÅØÁҵðҹ áÅеÑǪÕéÇÑ´

ือกดูส

และเล

กฟัง ารเลือ

่งได้รับ ตนาการให้ ภทหนึ่งซึ จิน ่ออีกประเ ามารถถ่ายทอด ารถเข้าใจใน ร์ เป็นสื ที่ส าม ภาพยนต เนื่องจากเป็นสื่อ รู้ บั สือ่ หรอื ผูช้ มส ปัจจุบัน สียง จึงทำใหผ้ ือ ใน าก ผู้สร้างค อย่างม ว้ ยภาพและเ วสุวรรณ ด้ ป็น รูปธรรม เปน็ จรงิ ได งๆ ไดอ้ ย่างเปน็ รกคือเรื่องนางสา ช้ผู้แสดงทั้งหมดเ ร ี้ใ กา งแ ต่า เรอื่ งราว พยนตร์ไทยเรื่อ ภาพยนตร์เรื่องน นตร์ไทยที่ได้รับ ศ. พย ภา พ. ัล ูนิเวอร์ซ ชคสองชั้นเป็นภา งโดยคนไทยใน พยนตร์ย งโ ร้า บริษัทภา นภาพยนตร์เรื่อ รคา้ เรอื่ งแรกทีส่ ส่ว กา ู่บนตาราง คนไทย นภาพยนตร์เพือ่ อย ไป น ้ ึ ถข เ้ ป็ ามาร ชอบและ ยอมรบั ให ลกและส เรื่องที่เป็นที่ชื่น าย ุ่งสู่ตลาดโ ๒๔๗๐ ยนตร์ที่ม ยนตร์ไทยอีกหล ไทยมีภาพ มีภาพ ประเทศ มริกา และยัง น ั บ จุ จ รัฐอเ ในปั ะเทศสห ร์นานาชาติ ฟิศในปร นต บ็อกซ์ออฟ ในเทศกาลภาพย ลั ไดร้ บั รางว

าระ สรรพส์

บการดำเนิน ภาษาเปนสื่อสำคัญในการสื่อสารและเกี่ยวของกัประสบควา ม ่จะชวยใหชีวิต ชีวิตของมนุษย ถือเปนสวนสำคัญสวนหนึ่งที วิธีการ และได เกณฑ ก ใจในหลั า วามเข ค  วามรู ค าษามี ภ ช ใ  สำเร็จ หากผู ่ง ซึ งดี า อย น าษาเป ภ  ษะในการใช ฝกฝนอยางถูกตอง ยอมชวยใหผูนั้นมีทัก เปนคนมีเหตุผลและมีความ การมีพัฒนาทางภาษาที่ดีสงผลใหบุคคลนั้น สารเกิดประสิทธิภาพ อ ่ ารสื ก และทำให ี ด ่ ี ท ธ น พั ม ั ส ย ษ นุ ม มี เชื่อมั่นในตนเอง

EB GUIDE

เรื่องสั้นและนวนิยาย

เรื่องสั้นและนวนิยายในประเทศไท ยเกิดขึ้นพร้อมๆ กับการรับอิทธิพลทางวัฒนธรรม จากชาติตะวันตก โดย เฉพาะเมื่อมิชชันนารีอเมริกันได้น ำวิทยาการการพิมพ์เข้ามา ประเทศไทยใน พ.ศ. ๒๓๗๘ สำหรับการแต่งนวนิยายเรื่อ กล่าวว่าเรื่อง สนุกนิ์นึก บทพระนงแรก ผู้รู้หลายท่านจะ ปรีชากร อาจจะเป็นนวนิยายเรื ิพนธ์ในกรมหลวงพิชิต ่องแรกของไทยที่แต่งเลียน แบบนวนิยายตะวันตก อย่างไรก็ ตามเรื ตอนเดี ย วก็ ถู ก ระงั บ เนื่ อ งจากถู ่องนี้ก็แต่งได้เพียง ก กระทบกระเทือนวงการศาสนาในสมั กล่ า วหาว่ า มี เ นื้ อ หา ยนั้น ส่วนนวนิยายเต็มเรื่องเรื่องแรกขอ งไทยเป ็ น นวนิยาย แปลเรื่อง ความพยาบาท ที่ “แม่ วัน” แปลมาจากหนังสือชื่อ Vandetta ของ Marie Corelli หลั ให้ “ครูเหลี่ยม” เขียนนวนิยายไทยทงจากนั้นก็สร้างแรงจูงใจ ี่มีเนื้อเรื่องแบบไทยล้อ เลียนเรื่องแปลของแม่วัน โดยใช้ ชื่อเรื่องว่า ความไม่พยาบาท ใน พ.ศ. ๒๔๕๘ งานเขียนเรื่องสั้นและนวนิยายไทยม ีวิวัฒนาการเรื่อย มาจนกระทั่งช่วง พ.ศ. ๒๔๗๑๒๔๗๒ ซึ่งถือเป็นช่วงเวลาที่ สำคัญของประวัติวรรณคดีไทย เนื นักเขียนซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้ม ่องจากเป็นช่วงเวลาที่เกิด ีการเขียนเรื่องสั้นและนวนิยายในยุ คต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๗๑ กุหลาบ สายประ ดิษ แต่งนวนิยายเรื่อง ลูกผู้ชาย ซึ่งได้ ฐ์ หรือ “ศรีบูรพา” รับ พ.ศ. ๒๔๗๒ “ดอกไม้สด” แต่ ความนิยมอย่างมาก ง และหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพี ศัตรูของเจ้าหล่อน พัฒ ชีวิต นักเขียนทั้งสามท่านเขียนนวนิ น์ แต่ง ละครแห่ง ย เรื่องแตกต่างจากนวนิยายต่างประเท ายออกมาโดยมีแนว สามท่ า นได้ รั บ การยอ มรั บ และเป็ ศ ทำให้นักเขียนทั้ง น ต้ น แบบกา รเขี ย น นวนิยายเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน แม้เป็นเรื่องที่แต่งขึ้นจากจิ ใหญ่ แต่ก็มีประโยชน์และคุณค่ นตนาการเป็นส่วน าในตัวเอง เนื่องจากมี เนื้อหาที่สามารถบอกเรื่องราวแล ะความนึกคิดของผู้คนในยุคสมัย ต่างๆ ได้ เช่น เรื่องสี่แผ่นดิน ของ ม.ร.ว. คึก ชีวิตไทยในอดีต หรือเรื่องราวขอ ฤทธิ์ ปราโมช ที่สะท้อนเรื่องราวของ งสงครามโลกครั้งที่สองในเรื่อง คู ่กรรม ของ “ทมยันตี” เป็นต้น

102

คำถามประจำหน่วยการเรียนรู้

๑. การรับสารด้วยการฟังและการดูมีความสำคัญอย่างไร ๒. การฟังปาฐกถา ผู้ฟังมีจุดมุ่งหมายในการฟังอย่างไร ๓. หากนักเรียนต้องการฟังหรือดูสื่อเพื่อให้ได้ข้อคิด คติชีวิต ควรเลือกฟังและดูสื่อ ประเภทใด ๔. การฟังหรือการดูข่าวสารต่างๆ มีประโยชน์อย่างไร ๕. การฟัง การดูสื่อต่างๆ เหตุใดจึงต้องเลือกให้เหมาะกับวัย จงอธิบายและยกตัวอย่าง ประกอบ

๑. ให้นักเรียนเลือกฟังหรือดูสื่อ ๑ รายการ แล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียนตามหัวข้อที่ กำหนด - หลักการเลือกฟังหรือดู - คุณค่าที่ได้รับจากการฟังหรือการดู ๒. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสื่อต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อผู้ฟังหรือผู้ดู พร้อมเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม ๓. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ภาษาของสื่อโฆษณาทาง โทรทัศน์ว่ามีลักษณะอย่างไร มีผลดีหรือผลเสียต่อผู้รับสื่ออย่างไร

กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้

104


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ÊÒúÑ๑

หนา

ตอนที่ การอาน ๑ - ๕๔ หนวยการเรียนรูที่ ๑ การอานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ๒ หนวยการเรียนรูที่ ๒ การอานสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส ๑๙ หนวยการเรียนรูที่ ๓ การอานแปลความ ตีความ และขยายความ ๔๑ หนวยการเรียนรูที่ ๔ การอานเพื่อแสดงความคิดเห็น ๔๙ ตอนที่ การเขียน ๕๕ - ๙๙ หนวยการเรียนรูที่ ๑ การเขียนบันทึกความรู ๕๖ หนวยการเรียนรูที่ ๒ การเขียนเรียงความ ยอความ จดหมาย ๖๗ หนวยการเรียนรูที่ ๓ การเขียนอธิบาย ๘๘ หนวยการเรียนรูที่ ๔ การกรอกแบบรายการ ๙๙

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

หนา

ตอนที่ การฟง การดู และการพูด ๑๐๗ - ๑๒๘ หนวยการเรียนรูที่ ๑ หลักการฟงและการดูสื่อ ๑๐๘ หนวยการเรียนรูที่ ๒ การสรุปความจากการฟง การดู ๑๑๕ หนวยการเรียนรูที่ ๓ การพูดตอที่ประชุมชน ๑๒๐ ตอนที่ หลักภาษาและการใชภาษา ๑๒๙ - ๑๘๖ หนวยการเรียนรูที่ ๑ ธรรมชาติและพลังของภาษา ๑๓๐ หนวยการเรียนรูที่ ๒ ลักษณะของภาษาไทย ๑๔๔ หนวยการเรียนรูที่ ๓ คำราชาศัพท ๑๕๖ หนวยการเรียนรูที่ ๔ การแตงคำประพันธประเภทกาพยและโคลง ๑๗๑ บรรณานุกรม ๑๘๗

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ตอนที่ ๑

¡ÒÃÍ‹Ò¹

การอานเปนเครื่องมือที่สำคัญอยางหนึ่งในการแสวงหาความรู

เพื่อพัฒนาตนเองใหเปนคนรอบรู ทันเหตุการณและสามารถอานสารตางๆ ไดอยางแตกฉาน ถูกตองตามอักขรวิธี ซึ่งปจจุบันมีสื่อตางๆ ใหเลือกอยาง หลากหลายทั้งประเภทรอยแกวและรอยกรอง หากผูอานเขาใจหลักการ อานและมีวิจารณญาณในการเลือกอานสารที่มีคุณคา ยอมสงผลใหการ อานเกิดประโยชนและผูอานไดรับอรรถรสจากการอาน

Engage

ครูสนทนาซักถามกระตุนความสนใจ ดังตอไปนี้ • นักเรียนรูจักหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร บาง พรอมยกตัวอยางรายชื่อหนังสือที่ นักเรียนรูจัก (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางหลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผลของ นักเรียน เปนตนวา นวนิยาย เชน ลับแล, แกงคอย ความสุขของกะทิ คําพิพากษา เปนตน วรรณกรรมเยาวชน เชน แฮรี่ พอตเตอร แมงมุมเพื่อนรัก เปนตน รวมถึง หนังสือประเภทสารคดี และนิตยสาร) • หนังสือเลมใดที่นักเรียนชอบมากที่สุด เพราะเหตุใดนักเรียนจึงชอบอานหนังสือ เลมนั้น (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดอยาง หลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผลของนักเรียน เปนตนวา แฮรี่ พอตเตอร เนื่องจากมีเนื้อหา สนุกสนานสงเสริมจินตนาการสรางสรรค และใหขอคิดที่ดีโดยเฉพาะขอคิดเกี่ยวกับ การเสียสละ) • นักเรียนมีวิธีการเลือกอานหนังสืออยางไร และหนังสือแตละประเภทมีจุดมุงหมายใน การอานและการทําความเขาใจแตกตางกัน หรือไมอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดอยาง หลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผลของนักเรียน)

เกร็ดแนะครู ในการจัดการเรียนการสอนเนื้อหาเกี่ยวกับการอานนั้น ครูควรเนนทบทวนความรู และประสบการณเดิมของนักเรียนเปนหลัก รวมถึงเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับหลักการ พิจารณาเลือกอานหนังสือ โดยกลาวถึงลักษณะของหนังสือแตละประเภทมีการนําเสนอ เนื้อหาที่มีความแตกตางกัน การกําหนดวัตถุประสงคในการอานยอมมีความแตกตาง กันไปดวย สงผลตอวิธีการอาน และการเลือกอานหนังสือเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค ของแตละคน ความรูดังกลาวยอมเปนพื้นฐานในการเลือกอานหนังสือใหสอดคลอง กับจุดมุงหมายของนักเรียน และนักเรียนสามารถนําขอมูลความรูที่ไดไปประยุกตทั้ง ในดานการเลือกอานหนังสือและการสืบคนขอมูลความรูได นอกจากนี้ ครูผูสอนควร พิจารณาความสามารถในการอานของนักเรียนแตละคนวา นักเรียนแตละคนมีพื้นฐาน การอานในระดับใด อยางไร เนื่องจากยังมีการอานในอีกลักษณะหนึ่งซึ่งมีจุดมุงหมาย ในการอานเพื่อการสงสาร คือ การอานออกเสียง ทั้งการอานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรอง ครูผูสอนจึงควรเนนใหนักเรียนทําความเขาใจเนื้อหารวมถึงอรรถรส ของสารจากบทประพันธกอนเปนอันดับแรก จากนั้นจึงสื่อสารเนื้อหาในบทประพันธ ถายทอดสูผูอานดวยวิธีการอานออกเสียง คูมือครู 1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองได อยางถูกตอง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่ อาน 2. ตอบคําถามจากการอานงานเขียนประเภท ตางๆ ภายในเวลาที่กําหนด

ตอนที่ ๑

สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค

¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ º·ÃŒÍÂá¡ŒÇáÅÐ º·ÃŒÍ¡Ãͧ

1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน 3. รักความเปนไทย

หนวยการเรียนรูที่

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูสนทนาซักถามกระตุนความสนใจ ดังตอไปนี้ • เมื่อนักเรียนอานวรรณคดีไทยเรื่องตางๆ อาทิ ขุนชาง ขุนแผน พระอภัยมณี อิเหนา นักเรียน เคยสังเกตบางหรือไมวา การอานออกเสียง ชวยใหวรรณคดีมีความไพเราะยิ่งขึ้น นักเรียน คิดวา เหตุใดจึงเปนเชนนั้น (แนวตอบ การอานออกเสียงมีความไพเราะจาก สัมผัส การเลนเสียง เลนคํา) • นักเรียนคิดวา การอานออกเสียงมีความสําคัญ อยางไร (แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลาย เปนตนวา เปนการสื่อสารกับบุคคลอื่นผานการอาน)

ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๖ • อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับ เรื่องที่อ่าน สาระการเรียนรู้แกนกลาง • การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว • การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง

เกร็ดแนะครู ครูควรเนนทบทวนความรูและประสบการณเดิมของนักเรียนเปนหลัก และครูควร เพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับหลักการสื่อสารผานการอานออกเสียง ซึ่งเปนการสื่อสารกับ บุคคลอื่น หากนักเรียนเปนบุคคลที่กําลังทําหนาที่ถายทอดสารผานการอานออกเสียง นักเรียนตองคํานึงถึงมารยาทในการอาน รวมถึงหลักการอานออกเสียงที่ดี นอกจากนี้ ในการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการอานออกเสียง ครูผูสอนควรคํานึงถึงความ สามารถเฉพาะตัวของนักเรียนแตละคน เนื่องจากนักเรียนแตละคนมีความสามารถ เฉพาะตัวแตกตางกัน เชน ความสามารถในการใชเสียง ไมวาจะเปนการเอื้อนเสียง ทอดเสียง การใสอารมณความรูสึกในบทประพันธ เปนตน ครูผูสอนจึงไมควรบังคับ นักเรียนใหอานออกเสียงใหมีความไพเราะเพียงอยางเดียว แตครูควรเนนทักษะการ พิจารณาบทประพันธ การทําความเขาใจเนื้อหา อารมณ และความรูสึกในบทประพันธ ดวย เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูทักษะอยางอื่นพรอมกัน การเรียนรูทักษะการอานให ไพเราะเพียงอยางเดียว อาจสงผลใหนักเรียนเกิดความรูสึกที่ไมดีทั้งตอครูผูสอนและ วิชาภาษาไทย จนอาจนําไปสูอคติตอการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยไดในทายที่สุด

2

คูมือครู

¡ÒÃÍ‹Ò¹ ໚¹·Ñ¡ÉзÕèÊÓ¤ÑÞ㹡ÒÃÃѺÊÒà áÅÐÁÕ¤ÇÒÁ¨Ó໚¹ã¹ªÕÇµÔ »ÃШÓÇѹ äÁ‹ÇÒ‹ ¨Ð໚¹¡Òà ͋ҹÍÍ¡àÊÕ§ËÃ×ÍÍ‹Ò¹ã¹ã¨ â´Â੾ÒСÒÃÍ‹Ò¹ ÍÍ¡àÊÕ Â §¨Ó໚ ¹ Í‹ Ò §ÂÔè § ·Õè ¨ еŒ Í §ÈÖ ¡ ÉÒáÅÐ·Ó ¤ÇÒÁࢌÒã¨à¡ÕèÂǡѺÃٻẺ ¨Ñ§ËÇÐ áÅз‹Ç§ ·Ó¹Í§ã¹¡ÒÃÍ‹Ò¹ãˌࢌÒã¨áÅнƒ¡¡ÒÃÍ‹Ò¹ãËŒ¶¡Ù µŒÍ§ áÅЪѴਹ ¨Ö§¨Ð·ÓãËŒ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅáÅÐ à¡Ô´»ÃÐ⪹ ʧ٠ÊØ´


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

๑. การอ่านบทร้อยแก้ว ร้อยแก้ว หมายถึง บทประพันธ์ที่เรียบเรียงตามภาษาที่ใช้เขียนหรือพูดกันทั่วไป ภาษาที่ ใช้สำหรับร้อยแก้วไม่มีการบังคับสัมผัสหรือกำหนดจำนวนคำแต่อย่างใด เป็นภาษาที่ใช้สื่อสาร เพื่อให้เกิดความเข้าใจเป็นสำคัญ รูปแบบของงานเขียนประเภทร้อยแก้ว แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ ๑. บั น เทิ ง คดี เป็ น ลั ก ษณะงานประพั น ธ์ ที่ มี เ นื้ อ หามุ่ ง จะเสนอเรื่ อ งที่ แ ต่ ง ขึ้ น จาก จินตนาการเพื่อความเพลิดเพลินเป็นหลัก งานประพันธ์ประเภทบันเทิงคดี ได้แก่ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย นิยายอิงพงศาวดาร และนิทานชาดก ๒. สารคดี เป็นลักษณะงานประพันธ์ที่มีเนื้อหามุ่งเสนอข้อเท็จจริงที่เป็นความรู้ ข้อคิด เป็นหลัก งานประพันธ์ประเภทสารคดี ได้แก่ ความเรียง บทความ สารคดี รายงาน ตำรา พงศาวดาร กฎหมาย จดหมายเหตุ พระราชหัตถเลขา จารึก และคัมภีร์ศาสนา

๑.๑ หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

เป็นการอ่านออกเสียงธรรมดาหรือสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจเรื่องราวที่อ่านได้ มีหลักใน การอ่าน ดังนี้ ๑. ก่อนอ่านควรศึกษาเรื่องที่อ่านให้เข้าใจโดยตลอดเสียก่อน โดยเข้าใจทั้งสาระสำคัญ ของเรื่องและข้อความทุกข้อความ เพื่อจะแบ่งวรรคตอนในการอ่านได้อย่างเหมาะสม ๒. อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธีในภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาที่ยืมมาจากภาษาอื่นๆ เช่น บาลี สันสกฤต เขมร เป็นต้น รวมทั้งคำที่ถูกต้องตามความนิยม โดยอาศัยหลักการอ่าน จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานเป็นสำคัญ ๓. ผู้ อ่ า นต้ อ งมี ส มาธิ แ ละความ มั่นใจในการอ่าน ไม่อ่านผิด อ่านตก หรือ อ่านเติมเวลาอ่านต้องควบคุมสายตาให้ไล่ ไปตามตัวอักษรทุกตัวในแต่ละบรรทัดจาก ซ้ายไปขวาด้วย ความรวดเร็วว่องไวและ รอบคอบ แล้ ว ย้ อ นสายตากลั บ ลงไปยั ง บรรทัดถัดไปอย่างแม่นยำ ๔. อ่ า นออกเสี ย งให้ เ ป็ น เสี ย งพู ด อย่างธรรมชาติ โดยเน้นเสียงหนัก เบา สูง การอานออกเสียงที่ถูกตองชัดเจนเกิดจากการปลูกฝงการอาน ที่ดี และฝกอานจนเกิดทักษะ ต่ำ ตามลักษณะการพูดโดยทั่วไป 3

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนอานลักษณะของงานเขียนรอยแกวจากแหลงเรียนรูตางๆ จากนั้น ใหนักเรียนรวบรวมงานเขียน 10 ประเภท มาพิจารณาจัดแบงวา เปนงานเขียนประเภทใด โดยบอกเกณฑในการแบง จากนั้นบันทึกลงในสมุด

กิจกรรมทาทาย นักเรียนศึกษาหลักการอานออกเสียงรอยแกวจากแหลงเรียนรูตางๆ เพื่อ ใชเปนแนวทางในการคัดเลือกงานวรรณกรรมประเภทรอยแกวสําหรับอาน วิเคราะหสาร นักเรียนสรุปสาระสําคัญของเรื่องที่อานลงในสมุด

Engage

ครูนําตัวอยางวีดิทัศนที่มีการนําเสนอขาวมา เปดใหนักเรียนชม จากนั้นนักเรียนรวมกันถายทอด ประสบการณ โดยครูใชคําถามกระตุนความสนใจ ดังตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา วีดิทัศนที่นักเรียนไดรับชม ขางตน หากพิจารณาในดานของเนื้อหา วีดิทัศนดังกลาวจัดเปนผลงานประเภท บันเทิงคดีหรือสารคดี (แนวตอบ ผลงานสารคดี)

สํารวจคนหา

Explore

นักเรียนศึกษารูปแบบงานเขียนประเภท รอยแกวทั้งงานเขียนประเภทบันเทิงคดีและ งานเขียนประเภทสารคดี พรอมศึกษาหลักการ อานออกเสียงรอยแกวและหลักการอานในใจ

อธิบายความรู

Explain

1. นักเรียนจัดกลุม กลุมละ 4 - 5 คน พรอม รวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากประเด็น คําถาม ดังตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา รูปแบบงานเขียนประเภท สารคดีและบันเทิงคดีมีความเหมือนและ ความแตกตางกันอยางไร (แนวตอบ มีความแตกตางในดานเนื้อหา และกลวิธีการนําเสนอ โดยบันเทิงคดีมี การนําเสนอดวยการผูกเรื่องราว ไมเนน สาระหรือขอเท็จจริง สวนสารคดีเนน ขอเท็จจริงเปนหลัก ในสวนของเปาหมาย การสื่อสารก็แตกตางกัน โดยบันเทิงคดี เนนความเพลิดเพลิน สวนสารคดีเนนสาระ ความรูเปนหลัก) 2. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับวิธีการจําแนกงานทั้งสองประเภทระหวางงาน สารคดีและงานบันเทิงคดี ซึ่งเปนการจําแนกตามประเภทของเนื้อหา โดยงาน ประเภทสารคดีใหความสําคัญกับเนื้อหา ขอเท็จจริง ซึ่งแตกตางจากงานบันเทิงคดี ที่เนนกลวิธีการนําเสนอเพื่อใหเกิดความบันเทิง ความแตกตางของเนื้อหาจึงนําไปสู กลวิธีการนําเสนอที่มีความแตกตางกัน การอานงานเขียนทั้งสองประเภทไมวาจะเปน งานสารคดีหรือบันเทิงคดีในขณะที่อาน นักเรียนควรพิจารณาเนื้อหารวมถึงประเมินคา สารจากบทอาน เพื่อใหนักเรียนเกิดการตีความเนื้อหา นอกจากจะเปนการสราง ความเขาใจเนื้อหาจากบทอานแลว เมื่อนักเรียนตองการอานออกเสียง ซึ่งเปนการ อานเพื่อสงสารใหผูอานเกิดความเขาใจ ยังกอใหเกิดอรรถรสในการสื่อสารไดเปน อยางดี นอกจากนี้ ครูควรเพิ่มเติมความรูความเขาใจเกี่ยวกับทักษะการอานเพื่อ ทําความเขาใจสารใหมีความลึกซึ้ง เพื่อใหนักเรียนสามารถตีความอารมณความรูสึก และจุดมุงหมายในการสื่อสารไดดียิ่งขึ้น ชวยใหนักเรียนเลือกใชนํ้าเสียง จังหวะลีลา ในการอานไดสอดคลองกลมกลืนกับเนื้อหาที่นําเสนอ คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Expand

1. นักเรียนยกตัวอยางงานเขียนประเภทบันเทิงคดี และสารคดีคนละ 2 ตัวอยาง 2. นักเรียนคนควางานเขียนประเภทบันเทิงคดี และสารคดี ประเภทละ 1 ตัวอยาง พรอมสรุป เนื้อหาที่ไดจากการอาน จากนั้นรวมกันอภิปราย วางานเขียนทั้งสองประเภทมีความแตกตางกัน อยางไร

ตรวจสอบผล

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

1. นักเรียนรวมกันตอบคําถาม ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา การอานออกเสียงและการอาน ในใจมีเปาหมายในการสื่อสารที่แตกตางกัน หรือไม อยางไร (แนวตอบ มีเปาหมายในการสื่อสารที่แตกตาง กัน โดยการอานในใจเปนการมุงสื่อสารกับ ตนเอง จึงเนนความเขาใจเนื้อหาของเรื่องเปน หลัก สวนการอานออกเสียงมุงสื่อสารกับผูอื่น การอานจึงตองเนนนํ้าเสียงที่มีความชัดเจน เพื่อสื่อเนื้อหาที่เดนชัด) • นักเรียนคิดวา จุดมุงหมายในการอานที่มี ความแตกตางกันสงผลตอหลักการอานที่มี ความแตกตางกันหรือไม อยางไร (แนวตอบ สงผลตอวิธีการอานที่แตกตางกัน เนื่องจากการอานออกเสียงตองคํานึงถึงปจจัย หลายอยาง โดยเฉพาะอยางยิ่งความชัดเจน ของนํ้าเสียง นักเรียนสามารถยกหลักการอาน ออกเสียงบทรอยแกวในหนา 3 และ 4 มา ประกอบการอธิบายเพิ่มเติมได) 2. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

Evaluate

๕. อ่านออกเสียงให้ดังพอสมควร ให้เหมาะกับสถานที่และจำนวนผู้ฟัง ไม่ดังหรือค่อย จนเกินไป จะทำให้ผู้ฟังเกิดความรำคาญและไม่สนใจ ๖. กำหนดความเร็วให้เหมาะสมกับผู้ฟังและเรื่องที่อ่าน ไม่อ่านเร็วหรือช้าเกินไป การ อ่านเร็วเกินไปทำให้ผู้ฟังจับใจความไม่ทัน แต่การอ่านช้าเกินไปทำให้ผู้ฟังเกิดความรำคาญได้ ผู้ อ่านจึงต้องพิจารณาพื้นความรู้ของผู้ฟังและพิจารณาประเภทของเรื่องที่อ่านด้วย ๗. อ่านให้ถูกจังหวะวรรคตอน ต้องอ่านให้จบคำและได้ใจความ ถ้าเป็นคำยาวหรือคำ หลายพยางค์ ไม่ควรหยุดกลางคำหรือตัดประโยคจนเสียความ ๘. มีการเน้นคำที่สำคัญและคำที่ต้องการ เพื่อให้เกิดจินตภาพที่ต้องการ ควรเน้นเฉพาะ คำ ไม่ใช่ทั้งวรรคหรือทั้งประโยค เช่น “พิมนิ่งงัน คำพูดของแม่บาดลึกเข้าไปในความรู้สึก”

๙. เมื่ออ่านข้อความที่มีเครื่องหมายวรรคตอนกำกับ ควรอ่านให้ถูกต้องตามหลักภาษา ส่วนคำที่ใช้อักษรย่อต้องอ่านให้เต็มคำ เช่น ทูลเกล้าฯ พ.ศ.

อ่านว่า อ่านว่า

ทูน - เกล้า- ทูน - กระ - หม่อม พุด - ทะ - สัก - กะ - หราด

๑๐. เมื่ออ่านจบย่อหน้าหนึ่งควรผ่อนลมหายใจและเมื่อขึ้นย่อหน้าใหม่ควรเน้นเสียงและ ทอดเสียงให้ช้าลงกว่าปกติเล็กน้อย เพื่อดึงความสนใจจากผู้ฟัง จากนั้นจึงใช้เสียงในระดับปกติ

๑.๒ การอ่านในใจ การอ่านในใจ เป็นการทำความเข้าใจสัญลักษณ์ที่มีผู้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร รูปภาพ และเครื่องหมายต่างๆ แล้วผู้อ่านจะต้องทำความเข้าใจโดยแปลสัญลักษณ์ที่บันทึกไว้นั้น ให้ตรงตามความต้องการของผู้บันทึก การอ่านในใจจึงใช้เพียงสายตากวาดไปตามตัวอักษรหรือ สัญลักษณ์ต่างๆ แล้วใช้ความคิดแปลความ ตีความ รับสารต่างๆ ที่อ่านนั้น ทำให้ผู้อ่านได้รับ ความรู้ ความคิด และความบันเทิง อันเป็นจุดมุ่งหมายของการอ่านโดยทั่วไป การอ่านที่จะช่วยให้ผู้อ่านสามารถบรรลุจุดมุ่งหมายในการอ่านไม่ว่าจะเป็นการอ่านเพื่อ ศึกษาหาความรู้ เพื่อหาคำตอบ หรือเพื่อความบันเทิงนั้น ผู้อ่านต้องอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ วิธี ที่จะช่วยให้อ่านอย่างมีประสิทธิภาพได้นั้น ผู้อ่านต้องสามารถจับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่านได้ ต้องรู้ว่าเรื่องที่ตนอ่านนั้นผู้เขียนกล่าวถึงอะไร มุ่งเสนอความคิดหลักว่าอย่างไร และฝึกอย่าง สม่ำเสมอ เพื่อให้สามารถจับใจความจากข้อความหรือเรื่องราวที่อ่านได้อย่างรวดเร็ว อันจะเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งในการแสวงหาความรู้หรือความบันเทิงในเวลาอันจำกัด 4

นักเรียนสามารถบอกความแตกตางระหวางงาน บันเทิงคดีและสารคดี พรอมยกตัวอยางประกอบได

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับการอานและการประเมินคางานเขียนประเภท บันเทิงคดีและงานเขียนประเภทสารคดี เมื่อนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับงาน เขียนแตละประเภท รวมถึงเขาใจจุดมุงหมายของงานเขียนแตละประเภทแลว นักเรียน สามารถนําความรูดังกลาวมาเปนพื้นฐานในการอานและการทําความเขาใจเนื้อหาใน บทอานได โดยการอานแบบประเมินคาเปนการตัดสินความถูกตอง เที่ยงตรง และ คุณคาของเรื่องที่อานวามีความชัดเจนหรือไม มากนอยเพียงไร มีความนาเชื่อถือใน ระดับใด มีคุณคาหรือไม อยางไร โดยพิจารณาเนื้อหา วิธีการนําเสนอ และการใช ภาษา การประเมินคางานเขียนจึงตองอาศัยการพิจารณาไตรตรองอยางละเอียดถี่ถวน โดยอาศัยขอมูล หลักเกณฑ และเหตุผล นอกจากนี้ การอานเพื่อพิจารณาประเมินคา งานเขียนแตละประเภท ยังตองพิจารณาตามประเภทของงานเขียนเปนหลัก โดยมี รายละเอียด ดังนี้ 1. สารคดี พิจารณาเนื้อหาวา มีการนําเสนอความรูที่นาสนใจ มีความถูกตอง และนาเชื่อถือ 2. บันเทิงคดี พิจารณาจากองคประกอบของเรื่องเปน สําคัญ เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจและถายทอดเนื้อหาไดอยางชัดเจน

4

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับการจับสาระสําคัญของเรื่อง ขอใดเปนสาระสําคัญของขอความตอไปนี้ คนสวนใหญไมคอยรูตัว ยังคงอยากไดอะไรที่มากขึ้นๆ ไมวาจะเปน เงินทอง เกียรติยศชื่อเสียง หรือความรัก และก็มักจะไมไดดังใจนึก ความทุกขก็ยิ่งมีมากขึ้นตามวัยที่มากขึ้นดวย 1. คนเราเมือ่ อายุมากขึน้ ก็ยอ มมีความอยากไดมากขึน้ ตามวัย 2. ถาคนเรามีความอยากไดไมมที สี่ นิ้ สุดก็จะยิง่ มีความทุกข 3. คนสวนใหญอยากไดของบางอยางแลวไมได จึงเกิดความทุกขใจ 4. สวนใหญความทุกขของคนเกิดจากความอยากไดเงินทองเกียรติยศ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ถาคนเรามีความอยากไดไมมีที่สิ้นสุดก็ จะยิ่งมีความทุกข พิจารณาจากขอความที่วา “...อยากไดอะไรที่มากขึ้นๆ... ความทุกขก็ยิ่งมีมากขึ้น...”


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

๒. การอ่านบทร้อยกรอง คนไทยมีนิสัยเจ้าบทเจ้ากลอนมาตั้งแต่โบราณ ด้วยเหตุนี้ ถ้อยคำสำนวนที่เราได้ยินได้ฟัง อยู่เสมอจึงมักมีเสียงสัมผัสคล้องจองกัน เช่น ก่อร่างสร้างตัว ข้าวยากหมากแพง คดในข้องอใน กระดูก จองหองพองขน แม้แต่เพลงสำหรับเด็กร้องเล่น เช่น รีรีข้าวสาร สองทะนานข้าวเปลือก เลือกท้องใบลาน คดข้าวใส่จาน เป็นต้น ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรีมีเอกลักษณะเฉพาะตัว คือ มีเสียงวรรณยุกต์ ๕ ระดับเสียง เมื่อนำถ้อยคำมาเรียงร้อยเข้าด้วยกันแล้วจะก่อให้เกิดบทร้อยกรองหลายลักษณะ เช่น กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ นอกจากนั้น ยังมีการนำบทร้อยกรองบางรูปแบบมาประสมประสานกัน แล้วเรียกว่า กาพย์ห่อโคลงบ้าง กาพย์เห่บ้าง ลิลิตบ้าง บทร้อยกรองที่คนไทยได้สร้างสรรค์มาแต่ โบราณนี้ล้วนงดงามด้วยวรรณศิลป์ทั้งสิ้น๑ ดังนั้น การอ่านบทร้อยกรองให้มีความไพเราะ เกิดความซาบซึ้งและมีอารมณ์ร่วมนั้น ผู้อ่านต้องอ่านบทร้อยกรองทั้งอ่านออกเสียงเป็นทำนองต่างๆ ตามลักษณะฉันทลักษณ์อันเป็นสิ่ง กำหนดทำนองให้แตกต่างกันออกไป

๒.๑ ลักษณะของบทร้อยกรองประเภทต่างๆ บทร้อยกรองแต่ละประเภทมีลักษณะแตกต่างกัน จึงมีวิธีการอ่านที่ต่างกันโดยขึ้นอยู่กับ บทร้อยกรองประเภทนั้นๆ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทการอ่านบทร้อยกรองได้ ดังนี้ ๑. โคลง เป็นคำประพันธ์ดั้งเดิมของไทย นิยมแต่งกันอย่างแพร่หลายในสมัยโบราณ จนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะคำประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำหรับการอ่านโคลง กระทู้ โคลงดั้น ที่มีลีลาและท่วงทำนองที่คล้ายคลึงกัน ๒. ฉันท์ เป็นคำประพันธ์ประเภทหนึ่ง ที่กำหนดบังคับเสียงหนัก เสียงเบา (ครุ-ลหุ) อย่างเคร่งครัดในการแต่ง คำที่ใช้แต่งจึงเน้นที่ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตเป็นหลัก เพราะคำที่ มีเสียงเป็นลหุในภาษาไทยเรามีน้อยมาก การฝึกอ่านฉันท์ จะต้องเริ่มฝึกจากการอ่านเป็นร้อยแก้ว เพื่อให้แม่นยำ คำครุ คำลหุ และจังหวะ ผู้อ่านจะต้องจดจำจังหวะให้แม่นยำ เพราะฉันท์บางชนิดแบ่งจังหวะเท่ากัน แต่ จำนวนพยางค์ในแต่ละจังหวะอาจไม่เท่ากัน ๓. กาพย์ เป็นคำประพันธ์ร้อยกรองประเภทหนึ่งของไทย ที่นิยมแต่งมี ๓ ประเภท คือ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ในสมัยโบราณนิยมแต่งกาพย์ทั้ง ๓ ประเภทนี้สลับกัน ๑

กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ, อ่านอย่างไรให้ได้รส (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, มปป.), หน้า ๓๐.

5

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนื้อหาเรื่อง การอานทํานองเสนาะ บูรณาการเชื่อมโยงกับ กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ รายวิชาดนตรี-นาฏศิลป เนื้อหาเกี่ยวกับการขับ รองเพลงไทย โดยนักเรียนสามารถทําความเขาใจหลักการและขั้นตอนการ ขับรองเพลงไทย และสามารถนําองคความรูจากรายวิชาดังกลาวมาฝกฝน เพื่อใหเกิดการอานบทประพันธโดยใชทํานองเสนาะไดอยางเหมาะสม

Engage

ครูนําตัวอยางวีดิทัศนที่มีการอานบทรอยกรอง แบบใสทํานอง และการอานแบบไมใสทํานอง มาเปดใหนักเรียนฟง หรือครูอานบทรอยกรอง แบบไมใสทํานองและบทรอยกรองแบบใสทํานอง ใหนักเรียนฟง โดยใชบทประพันธใดก็ได ซึ่งบท ประพันธที่นํามาอานหรือเปดใหนักเรียนฟงตอง เปนบทประพันธเดียวกัน จากนั้นนักเรียนรวมกัน ถายทอดประสบการณ โดยครูใชคําถามกระตุน ความสนใจ ดังตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา การอานบทรอยกรองแบบ ใสทํานองมีความแตกตางจากการอานบท รอยกรองดวยเสียงธรรมดาโดยไมมีการใส ทํานองหรือไม อยางไร • นักเรียนรูสึกชื่นชอบการอานบทรอยกรอง แบบใดมากกวากัน ระหวางการอานบท รอยกรองแบบใสทํานองและการอานบท รอยกรองดวยเสียงธรรมดา • นักเรียนคิดวา หากคนอานบทรอยกรอง เปนคนละคนกันจะสงผลตอทวงทํานองของ บทรอยกรองที่มีความแตกตางกันหรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิด เห็นไดอยางหลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผลของ นักเรียน)

สํารวจคนหา

Explore

นักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับการอาน บทรอยกรองใน 2 ลักษณะ คือ การอานออกเสียง ธรรมดาและการอานทํานองเสนาะ พรอมศึกษา คุณสมบัติของผูอานบทรอยกรองและหลักเกณฑ ในการอานบทรอยกรอง

บูรณาการอาเซียน ครูชี้ใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการอาน โดยยกโครงการอุทยานการเรียนรู TK park มาเปนตัวอยาง ซึ่งเริ่มจัดประชุมวิชาการประจําป 2554 เพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณโครงการสงเสริมการอานในระดับอาเซียน จากสิงคโปร ลาว และ เวียดนาม เพื่อเตรียมความพรอมกอนเขาสูเวทีอาเซียนในป 2558 ความสําเร็จในการ รณรงคการอานเมื่อป 2548 กับโครงการ Read Singapore การจัดกิจกรรมสงเสริม การอาน 1,600 ครั้งตอป สามารถผลักดันการอานเปนวาระของชาติไดสําเร็จ ปจจุบัน ประเทศสิงคโปรจึงเปนประเทศตนแบบในการรณรงคการอานในภูมิภาคอาเซียน นอกจากความสําเร็จของประเทศสิงคโปรแลว ยังมีประเทศเวียดนามและสาธารณรัฐ ประชาชนลาว มาแลกเปลี่ยนประสบการณและแนวทางการแกไขปญหาการรณรงค การอาน จากสถานการณการอานในเวียดนาม ภาครัฐสงเสริมการสรางหองสมุด 100 แหงภายใน 1 ป แตสําหรับสาธารณรัฐประชาชนลาว มีเพียงองคกร “ฮักอาน” ที่ ขับเคลื่อนแนวคิดนี้ และยังมีปญหาขาดแคลนหองสมุด และหนังสือ ซึ่งประเทศไทย สามารถนําบทเรียนจากการแกไขปญหาของประเทศเพื่อนบานมาเปนแนวทางในการ สงเสริมการอาน เพื่อพัฒนาการอานของประชาชนตอไป คูมือครู 5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับการอานบทรอยกรองใน สองลักษณะ คือ การอานออกเสียงธรรมดาและ การอานทํานองเสนาะใหนักเรียนฟง จากนั้น นักเรียนรวมกันตอบคําถาม ตอไปนี้ • บทรอยกรองที่นักเรียนไดฟงขางตน มีลักษณะคําประพันธประเภทใด (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับบทรอยกรองที่ครู ยกมาใหนักเรียนฟง) • นักเรียนคิดวา การอานบทรอยกรองทั้งสอง ประเภทมีความแตกตางกันอยางไร (แนวตอบ การอานทั้งสองแบบขางตนมีความ แตกตางกัน โดยการอานแบบใสทํานองหรือ การอานทํานองเสนาะ เนนความไพเราะของ เสียง ทั้งสําเนียงสูง ตํ่า หนัก เบา ยาว สั้น ทอดเสียง เอื้อนเสียง เนนจังหวะ เนนสัมผัส ในที่มีความไพเราะ ชัดเจน และทําใหเกิด อารมณคลอยตาม ผูอานจึงตองมีสําเนียงและ นํ้าเสียงเหมาะสมกับลักษณะเนื้อความที่อาน สวนการอานออกเสียงธรรมดาเนนจังหวะและ การแบงวรรค สามารถเพิ่มความไพเราะดวย การใสอารมณในบทประพันธได) 2. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

๔. กลอน เป็นคำประพันธ์ที่เกิดหลังสุด แต่งง่ายที่สุด และเป็นที่นิยมแพร่หลายมาก ที่สุด ด้วยกลอนจะมีจังหวะและทำนองเฉพาะตัว คือ กลอน ๑ บท มี ๔ วรรค ได้แก่ วรรคสดับ วรรครับ วรรครอง และวรรคส่ง การอ่านคำกลอนจะเน้นให้เห็นสัมผัสนอกที่ถูกต้องชัดเจน และถ้ามีสัมผัสในเพิ่มด้วยจะช่วยให้คำกลอนมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น ๕. ร่าย เป็นคำประพันธ์ที่เก่าแก่ที่สุดของไทย ข้อบังคับต่างๆ มีเพียงคำสุดท้ายส่ง สัมผัสไปยังวรรคถัดไป จะมีกี่วรรคก็ได้ ร่ายสุภาพจะมีวรรคละ ๕ คำ ส่วนร่ายยาวเป็นร่ายที่ไม่ กำหนดจำนวนคำในวรรคหนึ่งๆ แต่ละวรรคอาจมีคำน้อยมากแตกต่ 1 างกันไป ถ้าเป็นร่ายสุภาพจะ จบด้วยโคลงสองสุภาพหรือโคลงสามสุภาพ หากเป็นร่ายดั้นจะจบด้วยโคลงสองดั้นหรือโคลงสาม ดั้น การกำหนดจังหวะในการอ่านร่ายชนิดต่างๆ นั้น จึงไม่แน่นอน 2ทั้งนี้เพราะมีจำนวนคำไม่ แน่นอน คำประพันธ์ประเภทร่าย ประกอบด้วย ร่ายสุภาพ ร่ร่ายโบราณ ยโบราณ ร่ายดั้น และร่ายยาว

๒.๒ การอ่านบทร้อยกรอง3

บทร้อยกรองหรือกวีนิพนธ์ มีวิธีการอ่านได้ ๒ ลักษณะ กล่าวคือ อ่านออกเสียงธรรมดา โดยอ่านออกเสียงเช่นเดียวกับการอ่านร้อยแก้ว และการอ่านทำนองเสนาะ คือ อ่านเป็นทำนอง เพื่อความไพเราะ อ่านออกเสียงธรรมดา เป็นการอ่านออกเสียงพูดธรรมดาเหมือนอ่านออกเสียงร้อยแก้ว แต่ต้องเว้นจังหวะวรรคตอนให้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของคำประพันธ์แต่ละชนิด มีการเน้นคำ รับสัมผัสเพื่อเพิ่มความไพเราะ รวมทั้งสามารถใส่อารมณ์ให้เหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อหาที่อ่านได้ อ่านทำนองเสนาะ นทำนองเสนาะ เป็ เป็นการอ่านที่มีสำเนียงสูง ต่ำ หนัก เบา ยาว สั้น ทอดเสียง เอื้อน หวะ เน้นสัมผัสในชัดเจนไพเราะ เจนไพเราะ และทำให้เกิดอารมณ์คล้อยตาม ดังนั้น ผู้อ่าน เสียง เน้นจังหวะ ง น้ำเสียงที่เหมาะสมกับลักษณะเนื้อความที่อ่าน เช่ น น บทเล้าโลม เกี้ยวพาน ตัดพ้อ ต้องมีสำเนียง น้ ว คร่ำครวญโศกเศร้า ซึซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องฝึกฝนโดยเฉพาะ โกรธเกรี้ยว คร่

๑) คุณสมบัติของผู้อ่าน

๑. มีความรู้เรื่องฉันทลักษณ์ของบทร้อยกรองที่จะอ่านน เพื่อให้สามารถอ่านได้อย่าง ถูกต้องแม่นยำ ยำ ๒. มีความช่างสังเกต รอบคอบ ปฏิภาณไหวพริบดี เกต รอบคอบ ปฏิ ๓. มีทักษะและสมาธิในการอ่านน ไม่อ่านผิด อ่านตกหล่น หรือต่อเติม ทำให้เสีย ความไพเราะ ความไพเราะ ๔. มีความเพียรพยายาม รพยายาม มีความอดทนในการฝึกฝนการอ่านอย่างสม่ำเสมอ ๕. มีความรักและสนใจการอ่านอย่างแท้จริง อันจะนำไปสู่ความแตกฉานในการอ่าน ในตนเอง กล้ ๖. มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออก แสดงออก ๗. มีสุขภาพดี ๘. มีน้ำเสียงแจ่มใส อวัยวะในการออกเสียงไม่ผิดปกติ 6

นักเรียนควรรู 1 รายดั้น ชื่อรายชนิดหนึ่ง บทหนึ่งมี 5 วรรคขึ้นไป วรรคหนึ่งใชตั้งแต 5 - 7 คํา และจะตองจบดวยบาทที่ 3 และที่ 4 ของโคลงดั้นวิวิธมาลี นอกนั้นเหมือนรายสุภาพ 2 รายโบราณ ชื่อรายชนิดหนึ่ง นิยมใชในวรรณคดีโบราณ ไมนิยมคําเอกคําโท ไมจํากัดวรรคและคํา แตมักใชวรรคละ 5 คําและใชคําเทากันทุกวรรค 3 กวีนิพนธ คําประพันธที่กวีแตงขึ้นอยางมีศิลปะ งานประเภทกวีนิพนธในปจจุบัน มิไดจํากัดเฉพาะบทประพันธที่มีการแตงสอดคลองกับฉันทลักษณในบทประพันธ เทานั้น แตงานกวีนิพนธยังมีความหมายรวมถึงบทประพันธที่ไมบังคับฉันทลักษณ อยางกลอนเปลาอีกดวย การอานบทกวีนิพนธผูอานจึงควรพินิจพิจารณาคุณคาดวย การเปดประสาทสัมผัสตางๆ ไดแก หู ตา จมูก ลิ้น กาย รวมถึงใจของผูอาน เพื่อให เกิดการรับรูและเขาถึงอรรถรสที่อยูในบทกวี เชน เมื่อผูอานอานแลวเกิดจินตภาพเห็น แสงหรือภาพอยางไร ไดยินเสียงเชนใด ไดกลิ่นใด ไดลิ้มรสหรือสัมผัสอยางไร ผูอาน ควรใชวิธีการอานออกเสียง เพื่อฝกใหประสาทสัมผัสไดรับรูอยางเต็มที่

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

คําประพันธที่กําหนดเสียงบังคับเสียงหนัก เสียงเบา ใชภาษาบาลีสันสกฤต เปนพื้นในการแตง ผูอานจะตองจดจําจังหวะใหแมนยํา ขอความขางตนเปนการอานคําประพันธประเภทใด 1. โคลง 2. ฉันท 3. กาพย 4. ราย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ฉันท เพราะฉันทเปนคําประพันธที่เครงครัด เสียงหนัก-เสียงเบา หรือคําครุ-ลหุ และดวยเหตุที่ฉันทเปนคําประพันธที่ บัญญัติใหใชคําครุ-ลหุทุกบททุกบาท จึงยากที่จะใชคําไทยมาแตง เพราะ คําลหุในภาษาไทยมีนอย จึงตองอาศัยภาษาบาลีสันสกฤตเปนพื้นในการแตง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

๒) หลักเกณฑ์ในการอ่าน

๑. ศึกษาคำประพันธ์ชนิดต่างๆ ให้เข้1าใจถ่องแท้ จดจำรูปแบบ และข้อบังคับของบท ร้อยกรองให้แม่นยำ ถ้าจำเป็นสามารถเขียนคณะ จำนวนคำ ครุ ลหุ กำกับลงในบทร้อยกรองได้ ๒. อ่านบทร้อยกรองเป็นสำเนียงการอ่านร้อยแก้วธรรมดา อ่านออกเสียงดังชัดเจน ให้ได้จังหวะหรือช่วยเสียงตามรูปแบบร้อยกรองชนิดนั้นๆ ออกเสียงคำต่างๆ ให้ถูกต้องชัดเจน โดยเฉพาะการอ่านตัว ร ล ตัวควบกล้ำ และออกเสียงให้ถูกต้องตามระดับเสียงวรรณยุกต์ ๓. ฝึกอ่านทอดเสียงโดยอ่านผ่อนเสียงและผ่อนจังหวะให้ช้าลง เป็นขั้นตอนที่ต่อ เนื่องจากการอ่านคำแต่ละคำให้ชัดเจน โดยให้ผู้ฝึกอ่านลากเสียงให้ยาวออกไปเล็กน้อยแล้วจึง อ่านทอดเสียงนั้น 2 ๔. อ่านใส่ทำนองเสนาะ ซึ่งมีลักษณะสำคัญ คือ การแบ่งช่วงเสียงของคำในวรรค ในบาท ในบทได้ถูกต้อง สอดคล้องกับลักษณะวรรณศิลป์ที่มีอยู่ในบทร้อยกรองนั้นๆ การใส่ ทำนองเสนาะนี้ให้เลือกแบบแผนที่นิยมกันมาก ผู้อ่านต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัวในการอ่าน โดยคำนึงถึงความไพเราะเป็นสำคัญ ๕. ฝึกอ่านบทร้อยกรองชนิดต่างๆ เพื่อให้รู้จังหวะ วรรคตอน ท่วงทำนอง ลีลา จนเกิดความแม่นยำในทำนองแล้ว จึงเพิ่มศิลปะในการอ่านที่จะทำให้การอ่านทำนองเสนาะ เกิดความไพเราะยิ่งขึ้น โดยมีวิธีการ ดังนี้ การทอดเสียง คือ วิธีการอ่านโดยผ่อนเสียง ผ่อนจังหวะให้ช้าลง การเอื้อนเสียง คือ การลากเสียงช้าๆ เพื่อให้เข้าจังหวะและไว้หางเสียงเพื่อ ความไพเราะ 3 การครั่นเสียง คือ การทำ เสียงให้สะดุดสะเทือน เพื่อความไพเราะ เหมาะสมกับบทร้อยกรองบางตอน การครวญเสียง คือ การ สอดแทรกเสียงเอื้อนหรือสำเนียงครวญคร่ำ รำพั น ใช้ ไ ด้ ทั้ ง กรณี ที่ ต้ อ งการขอร้ อ ง วิงวอน หรือสำหรับอารมณ์โศก การหลบเสี ย ง คื อ การ เปลี่ยนเสียงหรือหักเสียงหลบจากสูงลงไป เอวิหารรายเปนลักษณะของเสียงเสนาะไทยหนึ่งในเกา ต่ำหรือจากเสียงต่ำขึ้นไปสูง เป็นการหลบ ชนิการสวดโอ ด คือ การสวด การขับ การเห การกลอม การพากย การวา จากการออกเสียงที่เกินความสามารถ การแหล การรองและการอาน ซึ่งไดรับความนิยมมาตั้งแตสมัย ●

Explain

1. นักเรียนรวมกันระดมความคิดดวยการ ตอบคําถาม ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา นักเรียนมีวิธีการฝกฝนตนเอง อยางไร เพื่อใหนักเรียนมีคุณสมบัติในการ อานออกเสียงที่ดี (แนวตอบ นักเรียนสามารถนําเสนอไดอยาง หลากหลาย เปนตนวา นักเรียนตองศึกษา คนควาขอมูลเกี่ยวกับฉันทลักษณ สราง พื้นฐานในการอาน ดวยการฝกฝนอยาง สมํ่าเสมอเพื่อใหมีความเชี่ยวชาญจนเกิด ความกลาแสดงออกและมีความเชื่อมั่นใน ตนเอง) • นักเรียนคิดวา การอานออกเสียงธรรมดา และการอานทํานองเสนาะมีหลักเกณฑใน การอานอยางไร ผูอานตองคํานึงถึงประเด็น ใดบาง อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดอยาง หลากหลาย โดยผูอานตองมีความรูทั้ง ฉันทลักษณและการใชเสียง ตลอดจน มีความเขาใจเนื้อหาและสามารถใสอารมณ ในการอานได) 2. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

ขยายความเขาใจ

Expand

นักเรียนฝกการอานออกเสียง โดยเริ่มตน จากการอานออกเสียงธรรมดาจากนั้นจึงเปลี่ยน เปนการอานออกเสียงทํานองเสนาะ โดยฝกฝนการ อานตามบทประพันธในวีดิทัศนที่ครูนํามาเปดให นักเรียนฟง

อยุธยาจนถึงปจจุบัน

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

โออกเรามีกรรมจะทําไฉน จึงจะไดแนบชิดขนิษฐา คําที่ขีดเสนใตอานอยางไรจึงจะไพเราะ 1. อานทอดเสียงแลวปลอยใหหางเสียงผวนขึ้นจมูก 2. อานครั่นเสียงใหนํ้าเสียงติดขัดสะเทือนอารมณ 3. อานเปลี่ยนเสียงจากเสียงตํ่าขึ้นไปเสียงสูง 4. อานหลบเสียงจากเสียงสูงลงไปเสียงตํ่า

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. การอานพยางคสุดทายของวรรคดวยการ ทอดเสียงแลวปลอยใหหางเสียงผวนขึ้นจมูกเปนเสียง ฮื้อ ฮือ เบาๆ คลาย เสียงคราง ไหน-ฮื้อ หรือ ไหน-ฮึ ซึ่งจะทําใหบทรอยกรองมีความไพเราะ

นักเรียนควรรู 1 คณะ กลุมคําที่จัดใหมีลักษณะเปนไปตามรูปแบบของรอยกรองแตละประเภท ประกอบดวยบท บาท วรรค และคํา ตามจํานวนที่กําหนด กลาวไดวา คณะ ซึ่ง เปนขอกําหนดเกี่ยวกับรูปแบบของรอยกรองแตละประเภทจะตองประกอบดวย บท บาท วรรค และคําจํานวนเทาใด นอกจากนี้ ยังสื่อถึงหลักเกณฑที่ใชในการแตง ฉันทวรรณพฤติ มี 8 คณะ คือ ช คณะ ต คณะ น คณะ ภ คณะ ม คณะ ย คณะ ร คณะ ส คณะ แตละคณะมี 3 คํา หรือ 3 พยางค โดยถือครุและลหุเปนหลัก 2 ทํานองเสนาะ วิธีการอานออกเสียงอยางไพเราะตามลีลาของบทรอยกรอง ประเภทโคลง ฉันท กาพย กลอน เปนการอานคําประพันธที่มีทํานองเสียงสูง-ตํ่า มีจังหวะลีลาและการเอื้อนเสียงเปนทํานองแตกตางกันไปตามลักษณะชนิดของ คําประพันธนั้น มีจุดมุงหมายเพื่อใหเกิดความไพเราะเปนสําคัญ 3 การครั่นเสียง เทคนิคอยางหนึ่งในการขับรองเพลงใหมีความไพเราะโดยการ ทําใหเสียงสั่นสะเทือนภายในลําคอ คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา

Explore

นักเรียนแบงกลุมออกเปน 5 กลุม จากนั้นให นักเรียนจับสลาก เพื่อศึกษาลักษณะเดนและวิธี การอานบทประพันธ 5 ประเภท ไดแก โคลง ฉันท กาพย กลอน และราย พรอมฝกอานบทประพันธ แตละประเภทในหนังสือเรียน จากนั้นนักเรียนนํา เสนอหนาชั้นเรียน

อธิบายความรู

Explain

1. นักเรียนกลุมที่ 1 นําเสนอวิธีการอานกลอน สุภาพ โดยนักเรียนนําเสนอแผนผังบทประพันธ พรอมยกตัวอยางประกอบจากหนา 8 2. สมาชิกกลุมที่ 1 รวมกันตอบคําถามในประเด็น ตอไปนี้ • คําประพันธประเภทกลอนสุภาพมีลักษณะ เดนอยางไร (แนวตอบ ลักษณะเดน คือ มีจังหวะและ ทวงทํานองเฉพาะตัว คือ กลอน 1 บท มี 4 วรรค ไดแก วรรคสดับ วรรครับ วรรครอง และวรรคสง การอานคําประพันธประเภท กลอนจะเนนสัมผัสนอกชัดเจน หากมีสัมผัส ในความไพเราะจะเพิ่มขึ้นดวย) • นักเรียนคิดวา การอานคําประพันธประเภท กลอนสุภาพแบบทํานองเสนาะมีขอควรคํานึง ในการอานอยางไร (แนวตอบ เปนตนวา อานถูกทวงทํานอง อักขรวิธี ใสอารมณใหสอดคลองกับบท ประพันธ อานใหถูกชวงจังหวะของบท ประพันธ) 3. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

การกระแทกเสียง คือ การลงเสียงในแต่ละคำหนักเป็นพิเศษ มักใช้บรรยาย ความโกรธ ความเข้มแข็ง หรือตอนที่ต้องการความศักดิ์สิทธิ๒์ ๖. ฝึ ก การใส่ อารมณ์ ใ ห้ เ หมาะสมสอดคล้ อ งกั บ เนื้ อ ความที่ อ่ า น การใส่ อารมณ์ ความรู้สึกลงในการอ่านบทร้อยกรอง ทำได้โดยการออกเสียงหนักเบา อ่อนโยน ช้าเร็ว กระแทก กระทั้น ทอดเสียงเนิบช้า ละมุนละไม เสียงสูงต่ำ โดยเปลี่ยนแปลงเสียงไปตามอารมณ์ความรู้สึก ของบทร้อยกรองแต่ละวรรคแต่ละตอน ●

๓) วิธีการอ่าน

ในการอ่านทำนองเสนาะของคำประพันธ์แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันด้านทำนอง ลีลา การทอดเสียงและความสามารถของผู้อ่าน ส่วนจังหวะจะคล้ายคลึงกัน ส่วนมากจะอ่านตาม ทำนองลีลาที่ ได้รับการสั่งสอนกันมา การอ่านจะไพเราะหรือไม่ ขึ้นอยู่กับน้ำเสียงและความ สามารถของผู้อ่าน โดยมีเครื่องหมายวรรคตอนในการอ่าน ดังนี้ เครื่องหมาย / หมายถึง การหยุดเว้นช่วงจังหวะสั้นๆ เครื่องหมาย // หมายถึง การหยุดเว้นช่วงจังหวะที่ยาวกว่าเครื่องหมาย / ๓.๑) การอ่านกลอนสุภาพ ๑. การแบ่งช่วงเสียง หรือจังหวะกลอนของกลอนสุภาพ โดยมีลีลาการอ่าน ดังนี้ หลวงธรรมาภิมณฑ์ (ถึก จิตรกถึก) นักเลงกลอนในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้ กล่าวถึงลีลาของกลอนสุภาพไว้ ดังนี้ กลอนสุภาพ/แปดคำ/ประจำบ่อน// ตอนต้นสาม/ตอนสอง/ต้องแสดง// กำหนดบท/ระยะ/กะสัมผัส// 2 วางจังหวะ/กะทำนอง/ต้องกระบวน//

อ่านสามตอน/ทุกวรรค/ประจักษ์แถลง// ตอนสามแจ้ง/สามคำ/ครบจำนวน//1 ให้ฟาดฟัด/ขัดความ/ตามกระสวน// จึงจะชวน/ฟังเสนาะ/เพราะจับใจ// (ประชุม ลำนำ : หลวงธรรมาภิมณฑ์ (ถึก))

เนื่องจากกลอนสุภาพวรรคหนึ่งอาจมีจำนวนคำ ๖-๙ คำ มิได้มี ๘ คำเสมอ ไป ดังนั้นถ้าจะอ่าน “ตอนต้นสาม ตอนสอง ต้องแสดง ตอนสาม แจ้งสามคำ ครบจำนวน” ก็ คงจะไม่ได้ “ต้องกำหนดบทระยะกะสัมผัส” และวาง “จังหวะ กะทำนอง ต้องกระบวน” จึงจะชวน ฟังเสนาะเพราะจับใจ ๒. การเอื้อนเสียงทอดเสียง การอ่านทำนองเสนาะ นิยมอ่านเสียงสูง ๒ วรรค ในวรรคที่ ๑ และ ๒ ลดเสียงต่ำลงในวรรคที่ ๓ และลดเสียงต่ำลงไปอีกจนเป็นเสียงพื้นระดับต่ำ ในต้นวรรคที่ ๔ การทอดเสียง นิยมทอดเสียงระหว่างวรรคไปยังคำรับสัมผัสซึ่งเป็นตำแหน่งที่ ๒

๓๔-๓๙.

กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ, อ่านอย่างไรให้ได้รส (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, มปป.), หน้า

8

เกร็ดแนะครู ในการนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน ครูควรกระตุนใหนักเรียนตอบคําถามโดย ใชแผนผังหรือตัวอยางบทประพันธที่นักเรียนเตรียมมา เพื่อใชในการอธิบายใหเกิด ความเขาใจอยางชัดเจนและชวยใหผูฟงสามารถเห็นภาพจากแผนผังที่นําเสนอได

นักเรียนควรรู 1 กระสวน แบบ เชน อยาคบพวกหญิงพาลสันดานชั่ว ที่แตงตัวไวจริตผิดกระสวน (สุภาษิตสุนทรภู) ถึงแบบตัวอยางสําหรับสรางหรือทําของจริง เชน กระสวนเรือน กระสวนเสื้อ เปนตน 2 กระบวน ขบวน แบบแผน เชน กระบวนหนังสือไทย ชั้นเชิง เชน ทํากระบวน งามกระบวนเนตรเงาเสนหงํา หรือหมายถึงลําดับ เชน แลขุนหมื่นชาวสานทั้งปวงเฝา ตามกระบวน สวนในกฎหมายตราสามดวง หมายถึง วิธีการ เชน จัดกระบวนพิจารณา

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดอานจังหวะวรรคตอนไดถูกตอง 1. ทั้งองค/ฐานรานราวถึง/เกาแฉก 2. โอเจดีย/ที่สรางยัง/ราง/รัก 3. กระนี้หรือ/ชื่อเสียง/เกียรติยศ 4. เปนผูดีมี/มากแลว/ยากเย็น

เผยอแยกยอด/ทรุดก็/หลุดหัก เสียดายนัก/นึกนานํ้าตา/กระเด็น จะมิหมด/ลวงหนา/ทันตาเห็น คิดก็เปน/อนิจจังเสีย/ทั้งนั้น

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. กลอนสุภาพที่มีจํานวนวรรคละ 8 คํา จะแบง จังหวะการอานเปน 3-2-3 ซึ่งก็คือ กระนี้หรือ/ชื่อเสียง/เกียรติยศ จะมิหมด/ลวงหนา/ทันตาเห็น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

Evaluate

อธิบายความรู ที่แบ่งช่วงเสียงด้วย นอกจากนี้การออกเสียงสูงต�่า สั้นยาว หนักเบา และการทอดเสียง ต้อง พิจารณาลีลาและเนื้อความของบทร้อยกรองประกอบด้วย ข้อควรค�ำนึงในกำรอ่ำนท�ำนองเสนำะประเภทกลอน ๑. อ่านให้ถูกท�านองของกลอนประเภทนั้นๆ ๒. อ่านออกเสียงค�าให้ถูกต้องตามอักขรวิธี ออกเสียงตัว ร ล ตัวควบกล�้า และเสียงวรรณยุกต์ให้ถูกต้อง ๓. อ่านค�าให้เอื้อสัมผัสในเพื่อเพิ่มความไพเราะ เช่น คิดถึงบาทบพิตรอดิศร อ่านว่า อะ - ดิด - สอน เพื่อเอื้อสัมผัสกับค�าว่า บพิตร ข้าอุตส่าห์มาเคารพอภิวันท์ อ่านว่า อบ - พิ - วัน เพือ่ เอื้อสัมผัสกับค�าว่า เคารพ บุญบันดาลดลจิตพระธิดา อ่านว่า ทิด - ดา เพือ่ เอื้อสัมผัสกับค�าว่า จิต

๔. ต้องใส่อารมณ์ให้เหมาะสมกับเนื้อความ หากผู้อ่านเข้าใจเนื้อความของ เรื่องทั้งหมด หรือเนื้อความในตอนที่อ่าน และมีลีลาอารมณ์ตามนั้น เช่น เนื้อความบรรยาย ธรรมชาติควรอ่านด้วยเสียงเนิบนุม่ กังวาน แจ่มใส ชัดเจน ความดังของเสียงประมาณ ๓ ใน ๔ ของเสียงตน ส่วนบทตื้นตันต้องอ่านด้วยลีลาช้าบ้าง เร็วบ้าง ดังบ้าง ค่อยบ้าง เพื่อให้ตื่นเต้น เร้าใจตามความหมายของเนื้อความ ทั้งนี้เพื่อให้กระทบอารมณ์ของผู้ฟัง ๕. อ่านให้ถูกช่วงเสียงหรือจังหวะของกลอน และต้องค�านึงถึงความเหมาะสม ความถูกต้องตามความหมายและเนื้อความของบทกลอนที่อ่านด้วย มิฉะนั้นอาจสื่อความหมาย ผิดพลาดได้ เช่น แขกเต้าจับเต่าร้างร้อง ควรอ่าน แขกเต้า/จับเต่าร้าง/ร้อง

เหมือนร้างห้องมาหยารัศมี

จึงจะได้ความ เพราะเต่าร้างเป็นชื่อของต้นไม้ ชนิดหนึ่ง ถูกตามจังหวะของกลอน แต่ความหมายจะผิดไป

หากอ่าน แขกเต้า/จับเต่า/ร้างร้อง ๓.๒) กำรอ่ำนกำพย์ ๑. กาพย์ยานี ๑๑ (๑) การแบ่ ารแบ่งช่วงเสียง หรือจังหวะของกาพย์ยานี ๑๑ วรรคหน้า ๕ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น ๐๐/๐๐๐ วรรคหลัง ๖ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น ๐๐๐/๐๐๐

พระเสด็จ/โดยแดนชล// กิ่งแก้ว/แพร้วพรรณราย// นาวา/แน่นเป็นขนัด// เรือริ้ว/ทิวธงสลอน//

ตรวจสอบผล

Explain

1. สมาชิกกลุมที่ 1 รวมกันตอบคําถาม ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา คําประพันธประเภทกลอน สุภาพมีหลักการแบงวรรคตอนและการ เอื้อนเสียงอยางไร (แนวตอบ เปนตนวา 1. การแบงชวงเสียง เนื่องจากจํานวนคําในแตละวรรค อาจมี 6-9 คํา มิใชมี 8 คําเสมอ การอานจึงตอง วางจังหวะและทํานองใหมีความเหมาะสม 2. หลักการเอื้อนเสียงทอดเสียง นิยมอาน เสียงสูง ในวรรคที่ 1 และ 2 ลดเสียงตํ่าลง ในวรรคที่ 3 และลดเสียงตํ่าลงไปอีกจนเปน เสียงพื้นระดับตํ่าในตนวรรคที่ 4 นอกจากนี้ ยังนิยมทอดเสียงระหวางวรรคไปยังคํารับ สัมผัสในวรรคตอไป ทั้งนี้ ตองพิจารณาลีลา และเนื้อความของบทรอยกรองประกอบดวย) 2. สมาชิกในกลุมที่ 1 สาธิตวิธีการแบงวรรคตอน การอาน พรอมสาธิตวิธีการอานออกเสียง บทรอยกรองดวยเสียงธรรมดาและการอาน ทํานองเสนาะ 3. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ครูนําบทประพันธประเภทกลอนสุภาพ เรื่อง อิเหนา จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.4 หนา 246 มาใหนักเรียนพิจารณาบนกระดาน 2. ครูสุมนักเรียน 1-2 คนใหออกมาชวยกันแบง วรรคตอนในการอานบทประพันธ 3. นักเรียนในหองอานบทรอยกรองโดยไมใส ทํานองพรอมกัน

ทรงเรือต้น/งามเฉิดฉาย// พายอ่อนหยับ/จับงามงอน// ล้วนรูปสัตว์/แสนยากร// สาครลั่น/ครั่นครื้นฟอง// (กาพย์เห่เรือ : เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร)

9

ขอใดอานออกเสียงสัมผัสไมถูกตอง 1. คิดถึงบาทบพิตรอดิศร อานวา 2. ขาขอเคารพอภิวันท อานวา 3. ขาขอคํานับอภิวาท อานวา 4. ขาขอเคารพอภิวันท อานวา

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET อะ- ดิด- สอน อะ-พิ-วัน อับ- พิ-วาด อบ-พิ-วัน

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. การอานคําประพันธใหไพเราะตองอานให คําในวรรคมีเสียงสัมผัสกับคําที่อยูติดกัน ดังนี้ ขอ 1. อานวา อะ- ดิด- สอน สัมผัสกับคําวา พิตร ขอ 3. อานวา อับ- พิ-วาด สัมผัสกับคําวา นับ ขอ 4. อานวา อบ-พิ-วัน สัมผัสกับคําวา เคารพ ขอที่ไมมีเสียงสัมผัสกันจึงอาน ไมถูกตอง

เกร็ดแนะครู ในการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับกลวิธีการอานทํานองเสนาะจากบทประพันธ นอกจากครูผูสอนจะใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับฉันทลักษณในบทประพันธ รวมถึง กลวิธีการอานและการออกเสียงบทประพันธแลว ครูผูสอนควรเพิ่มเติมความรูความ เขาใจเกี่ยวกับการทําความเขาใจสารในบทอานอยางชัดเจนถองแท ครูผูสอนควรชี้แนะ นักเรียนวา การที่นักเรียนจะสามารถสื่อสารความคิดและประสบการณที่ปรากฏในบท อานไดอยางเหมาะสมหรือถูกตองตามเจตนาของผูแตงไดนั้น ผูอานตองทําความเขาใจ เนื้อหาในบทอานอยางถองแทเสียกอน ดวยการพิจารณาความหมายนับตั้งแตระดับคํา ตลอดจนจุดมุงหมาย ทัศนคติ และนํ้าเสียงของผูแตง การทําความเขาใจดังกลาวควร มีความชัดเจน ผูอานตองสรางจินตภาพจากการอาน เชน การทําความเขาใจสีหนา ทาทาง อารมณ ความรูสึกของตัวละครในบทประพันธที่อาน ฉากที่ปรากฏ รวมทั้ง องคประกอบอื่นที่ปรากฏจากประสาทสัมผัส ไมวาจะเปน รูป รส กลิ่น เสียง หรือ บรรยากาศ ความทุกข เศรา เจ็บปวด เปนตน เพื่อใหผูอานสามารถถายทอดอารมณ ความรูสึกจากบทประพันธผานการอานไดอยางกระจางชัด นอกจากนี้ สิ่งที่ผูอานควร คํานึงถึงเปนสําคัญ คือ การเคารพจุดมุงหมายเดิมของผูแตง คูมือครู 9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

1. นักเรียนกลุมที่ 2 นําเสนอวิธีการอานกาพย โดยนักเรียนเลือกนําเสนอแผนผังฉันทลักษณ ของบทประพันธประเภทกาพยฉบัง 16 พรอม ยกตัวอยางบทประพันธประกอบ จากนั้นสาธิต วิธีการแบงวรรคตอน และอานออกเสียง 2. สมาชิกกลุมที่ 2 รวมกันตอบคําถาม ตอไปนี้ • คําประพันธประเภทกาพยมีลักษณะเดน อยางไร (แนวตอบ มีระเบียบบังคับคลายฉันท) • นักเรียนคิดวา คําประพันธประเภทกาพย ฉบัง 16 มีการแบงวรรคตอนและการเอื้อน เสียงอยางไร (แนวตอบ 1. การแบงชวงเสียง เนื่องจากวรรค ที่ 1 และ 3 มีวรรคละ 6 คํา อานแบงเสียง เปน 3 ชวง ชวงละ 2 คํา สวนวรรคที่ 2 มี 4 คํา อานแบงเสียง 2 ชวง 2. นิยมอาน ทอดเสียงตามตําแหนงที่สงรับสัมผัสและ เอื้อนทายวรรค และทอดเสียงกอนจบบท) • นักเรียนคิดวา การอานทํานองเสนาะในบท ประพันธประเภทกาพยมีขอควรคํานึงในการ อานอยางไร (แนวตอบ พิจารณาคําตอบในหนา 10 เรื่อง ขอควรคํานึงในการอานกาพย

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

Expand

1. ครูนําบทประพันธประเภทกาพยฉบัง 16 เรื่อง คํานมัสการพระธรรมคุณ มาใหนักเรียน พิจารณาบนกระดาน 2. ครูสุมนักเรียน 1-2 คนใหออกมาชวยกันแบง วรรคตอน นักเรียนอานออกเสียงพรอมกัน

(๒) การเอื้อนเสียงทอดเสียง การอ่านนิยมอ่านทอดเสียงตามตำแหน่งที่ส่ง รับสัมผัสและเอื้อนระหว่างท้ายวรรค ๒. กาพย์ฉบัง ๑๖ (๑) การแบ่งช่วงเสียง หรือจังหวะของกาพย์ฉบัง ๑๖ วรรคที่ ๑ และ ๓ มีวรรคละ ๖ คำ อ่านแบ่งเสียง ๓ ช่วง เป็น ๐๐/๐๐ /๐๐ วรรคที่ ๒ มี ๔ คำ อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น ๐๐/๐๐ กลางไพร/ไก่ขัน/บรรเลง// ซอเจ้ง/จำเรียง/เวียงวัง// ยูงทอง/ร้องกะโต้ง/โห่งดัง// แตรสังข์/กังสดาล/ขานเสียง//

ฟังเสียง/เพียงเพลง// เพียงฆ้อง/กลองระฆัง// (กาพย์พระไชยสุริยา : สุนทรภู่)

(๒) การเอื้อนเสียงทอดเสียง การอ่านนิยมอ่านทอดเสียงตามตำแหน่งที่ส่ง รับสัมผัสและเอื้อนระหว่างท้ายวรรค ๓. กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ (๑) การแบ่งช่วงเสียง หรือจังหวะของกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คำ อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น ๐๐/๐๐ มีดารากร// เห็นสิ้น/ดินฟ้า// มาลี/คลี่บาน//

วันนั้น/จันทร// เป็นบริวาร// ในป่า/ท่าธาร// ใบก้าน/อรชร// (กาพย์พระไชยสุริยา : สุนทรภู่)

(๒) การเอื้อนเสียงทอดเสียงง นิยมเอื้อนเสียงท้ายวรรค ยวรรค โดยเฉพาะท้าย วรรคที่ ๖๖ และทอดเสี และทอดเสียงรับส่งสัมผัสกับทอดเสียงเมื่อจบบทหนึ่งจะขึ้นบทใหม่ ข้อควรคำนึงในการอ่านกาพย์ ๑. อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธี เช่น การอ่ า นคำที่ ป ระสมด้ ว ยสระเสี ย งสั้ น และสระเสี ย งยาว งยาว อย่ า อ่ า น ผิดเพี้ยนน การอ่านพยัญชนะบางตัว เช่น ฤ ฑ ร ล และคำควบกล้ำ ควรศึกษา ให้ดีว่าอ่านออกเสียงอย่างไร งไร ทัทั้งต้องพิจารณาเรื่องการอ่านเอื้อสัมผัสและรับสัมผัส การอ่ า นให้ ถู ก ต้ อ งตามเสี ย งวรรณยุ ก ต์ เช่ น เมื่ อ ไร ไม่ อ่ า นเป็ น เมื่อไหร่ ●

10

เกร็ดแนะครู ในการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับกลวิธีการอานทํานองเสนาะจากบทประพันธ นอกจากครูผูสอนจะใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับจินตภาพในการสื่อสารจากบท ประพันธแลว ครูผูสอนควรเพิ่มเติมความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการถายทอดสาร จากบทอาน ดวยการนําประสบการณจากบทอานมารวมพิจารณาสารจากบทอาน ดวย ทั้งในดานความคิดและอารมณความรูสึก ครูผูสอนควรชี้แนะนักเรียนวา การ สรางสรรคบทประพันธของกวีในแตละบทหรือคําพูดของตัวละครนั้น เกิดจากการ ผสมผสานความคิดและอารมณความรูสึกจากบทประพันธนํามาผนวกรวมกับบท ประพันธ เพื่อสื่อสารเนื้อหาสูผูอาน ผูอานจึงควรพินิจพิจารณานํ้าเสียงในบทกวีวา กวีนําเสนอในลักษณะเชนไร เนื่องจากการนําเสนอในบทประพันธแตละบทยอมมี ความแตกตางกันไปตามบริบทของผูพูด และในการถายทอดความรูสึกจากภาษา เขียนสูภาษาพูด ผูอานตองนําเอาอารมณความรูสึกจากประสบการณของตนมา ถายทอดผานทางนํ้าเสียงดวย

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ยูงทองรองกะโตงโหงดัง แตรสังขกังสดาลขานเสียง คําประพันธขางตนตองอานตามขอใด 1. ยูงทองรอง/กะโตงโหงดัง แตรสังข/กังสดาลขานเสียง// 2. ยูงทอง/รองกะโตง/โหงดัง แตรสังข/กังสดาล/ขานเสียง// 3. ยูงทอง/รองกะโตงโหงดัง แตรสังข/กังสดาลขานเสียง// 4. ยูงทอง/รองกะโตงโหงดัง แตรสังข/กังสดาล/ขานเสียง//

เพียงฆองกลองระฆัง เพียงฆอง/กลองระฆัง// เพียงฆอง/กลอง/ระฆัง// เพียงฆอง/กลองระฆัง// เพียงฆอง/กลองระฆัง//

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. แบงจังหวะการอานวรรคที่มี 6 คํา ปกติแบง เปน 2/2/2 แตวรรคแรกอาน 2/4 พิจารณาเนื้อความเปนหลัก เพราะคําที่กวี ใชเปนคําที่ควรอานใหเสียงตอเนื่องกัน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๒. อ่านให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของกาพย์แต่ละประเภท เพราะจังหวะ ทำนองของกาพย์แต่ละประเภทจะแตกต่างกัน จึงควรศึกษาให้เข้าใจเพื่ออ่านได้อย่างถูกต้อง ๓. ใช้น้ำเสียงในการอ่ 1 านให้สอดคล้องกับคำและเนื้อความ เพื่อให้ผู้อ่านเกิด ความรู้สึกคล้อยตามและเกิดจินตภาพ เช่น เนื้อความบรรยายธรรมชาติ ควรอ่านด้วยเสียงนุ่ม กังวาน แจ่มใส ชัดเจน เนื้อความตื่นเต้น ควรอ่านด้วยลีลาช้าบ้าง เร็วบ้าง ดังบ้าง ค่อยบ้าง เพื่อให้ตื่นเต้น เป็นต้น ๔. ใช้เสียงในการอ่านอย่างมีศิลปะ เช่2น 3 การเอื้อนเสียง ทั้งเสียงคำเป็นและเสียงคำตาย ควรลากเสียงให้เข้า จังหวะและไว้หางเสียงให้ไพเราะ การทอดเสียง เพื่อให้เกิดความไพเราะ หรือเพื่อให้ทราบว่าบทที่อ่าน กำลังจะจบ ควรฝึกออกเสียงให้แนบเนียน การรวบคำ ควรฝึกให้ลงจังหวะได้พอดี 4 การเชื่อมเสียง ในกรณีที่บทอ่านมีคำยัติภังค์ ควรฝึกการอ่านออกเสียง ต่อเนื่องกัน ผู้ฟังจะได้ทราบว่าคำที่อ่านคือคำว่าอะไร ๓.๓) การอ่านโคลงสี่สุภาพ ๑. การแบ่งช่วงเสียง หรือจังหวะของโคลงสี่สุภาพ วรรคหน้า ๕ คำ อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น ๐๐/๐๐๐ หรือ ๐๐๐/๐๐ วรรคหลัง ๒ คำ อ่าน ๑ ช่วง ถ้ามีคำสร้อยอ่านเพิ่มอีก ๑ ช่วง เป็น ๒ ช่วง วรรคหลังบาทที่ ๔ มี ๔ คำ อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น ๐๐/๐๐ ●

เสียงลือ/เสียงเล่าอ้าง// เสียงย่อม/ยอยศใคร// สองเขือ/พี่หลับใหล// สองพี่/คิดเองอ้า//

อันใด/พี่เอย// (คำสร้อย) ทั่วหล้า// ลืมตื่น// //ฤา ฤฤา พี่// (คำสร้อย) อย่าได้/ถามเผื 5 อ//

บาทที่ ๑ บาทที่ ๒ บาทที่ ๓ บาทที่ ๔

(ลิลิตพระลอ : ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง)

๒. การเอื้อนเสียงทอดเสียง นิยมอ่านเอื้อนเสียงท้ายวรรคแรกของแต่ละบาท และในบทที่ ๒ อาจเอื้อนเสียงได้ถึงคำที่ ๑ คำที่ ๒ ของวรรคที่ ๒ และบาทที่ ๔ ระหว่างคำที่ ๒ กับคำที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ และทอดเสียงตามตำแหน่งรับสัมผัส ข้อเสนอแนะการอ่านโคลงสี่สุภาพให้เสนาะ ๑. อ่านให้ถูกต้องตามข้อบังคับของคำเอกและคำโท โคลงสี่สุภาพมีคำเอก ๗ แห่ง คำโท ๔ แห่ง คำเอกนั้นสามารถใช้คำตายแทนได้ เวลาอ่านผู้อ่านต้องคำนึงถึงตำแหน่งของ คำเอกและคำโทให้ได้ แล้วตรวจสอบว่าคำในตำแหน่งนั้นจะอ่านอย่างไรจึงจะถูกฉันทลักษณ์ เช่น

Explain

1. นักเรียนกลุมที่ 3 นําเสนอวิธีการอาน โคลงสี่สุภาพ โดยนักเรียนนําเสนอแผนผัง ฉันทลักษณของบทประพันธ พรอมยกตัวอยาง บทประพันธประกอบ สามารถพิจารณาไดจาก หนังสือเรียนหนา 11 จากนั้นสาธิตวิธีการแบง วรรคตอนการอาน และอานออกเสียง 2. สมาชิกกลุมที่ 3 รวมกันตอบคําถามในประเด็น ตอไปนี้ • คําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพมีลักษณะ เดนอยางไร (แนวตอบ โคลงเปนรอยกรองที่มีระเบียบ บังคับคณะ คําเอก คําโท และสัมผัสเปน สําคัญ) • นักเรียนคิดวา คําประพันธประเภทโคลงสี่ สุภาพ มีหลักการแบงวรรคตอนและการ เอื้อนเสียงอยางไร (แนวตอบ 1. การแบงชวงเสียง แบงเปน 2 ชวง คือ ชวงแรก 2 คํา ชวงที่สอง 3 คํา หรืออาจสลับกันได สวนวรรคหลัง แบงการ อานชวงละ 2 คํา ถามีคําสรอยอานเพิ่มเปน อีกหนึ่งชวง 2. นิยมเอื้อนเสียงทายวรรค แรกของแตละบาท และในบทที่ 2 อาจ เอื้อนเสียงคําอื่นๆ ได และสามารถ ทอดเสียงตามตําแหนงรับสัมผัสได เมื่อจบ ตอนสุดทายตองชะลอจังหวะใหชาลงกวา เดิม ทอดเสียงยาวตรงคํารองสุดทายและ คําสุดทาย) 3. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

11

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนเลือกบทประพันธที่นักเรียนชื่นชอบมา 1-2 บท บันทึกลงในสมุด และระบุวาเปนคําประพันธชนิดใด นักเรียนอธิบายลักษณะคําประพันธนั้น

นักเรียนควรรู 1 จินตภาพ ภาพที่เกิดจากความนึกคิดหรือที่คิดวาควรจะเปนเชนนั้น ภาพลักษณ ก็วา ภาษาอังกฤษใชวา image 2 คําเปน คําสระยาวที่ไมมีตัวสะกด และคําในมาตรา กง กน กม เกย เกอว

กิจกรรมทาทาย นักเรียนรวบรวมตัวอยางคําประพันธชนิดตางๆ ไดแก โคลง ฉันท กาพย กลอน และราย ชนิดละ 1-2 บท จากวรรณคดีเรื่องตางๆ

3 คําตาย คําสระสั้นที่ไมมีตัวสะกดพวกหนึ่ง และคําในมาตราแม กก กด กบ 4 คํายัติภังค เครื่องหมายวรรคตอนสากลอยางหนึ่ง ใชสัญลักษณขีดแนวนอนสั้นๆ กลางบรรทัด ( - ) 5 ลิลิตพระลอ ลิลิตเปนชื่อคําประพันธประเภทรอยกรองแบบหนึ่ง ซึ่งใชโคลงและ รายแตงตอกันเปนเรื่องยาว วรรณคดีที่แตงตามแบบแผนลิลิต มักจะใชรายและโคลง สลับกันเปนชวงๆ ตามจังหวะ ลีลา และทวงทํานอง และความเหมาะสมของเนื้อหา ในชวงนั้นๆ ลิลิตที่ไดรับการยกยองจากวรรณคดีสโมสรวา เปนยอดของกลอนลิลิต คือ ลิลิตพระลอ เมื่อ พ.ศ. 2459 แตงขึ้นอยางประณีต งดงาม มีความไพเราะของถอยคํา และเต็มไปดวยสุนทรียทางภาษา พรรณนาเรื่องดวยอารมณที่หลากหลาย คูมือครู 11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

1. สมาชิกกลุมที่ 3 รวมกันตอบคําถามในประเด็น ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา การอานทํานองเสนาะใน บทประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ มีขอควร คํานึงในการอานอยางไร (แนวตอบ อานใหถูกฉันทลักษณโดยเฉพาะ บังคับฉันทลักษณคําเอกคําโท ไมอานฉีกคํา ใชนํ้าเสียงใหสอดคลองกับบทประพันธ เพื่อ ดึงดูดใหผูฟงคลอยตาม เมื่อจบตอนสุดทาย ตองชะลอจังหวะใหชาลงกวาเดิม ทอดเสียง ยาวตรงคํารองสุดทายและคําสุดทาย) 2. นักเรียนที่เปนสมาชิกในกลุมที่ 3 สาธิตวิธีการ แบงวรรคตอนการอาน พรอมสาธิตวิธีการอาน ออกเสียงบทรอยกรองดวยเสียงธรรมดาและ การอานทํานองเสนาะ 3. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

Expand

1. ครูนําบทประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ เรื่อง นิราศนรินทรคําโคลง จากหนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.4 หนา 249 มาใหนักเรียนพิจารณาบนกระดาน 2. ครูสุมนักเรียน 1-2 คน ออกมาชวยกันแบงวรรค ตอนในการอานบทประพันธ 3. นักเรียนในหองอานบทรอยกรองพรอมกันโดย ไมตองใสทํานอง

นกแรงบินได้เพื่อ หมู่จระเข้เต่าปลา เข็ญใจพึ่งราชา ลูกอ่อนอ้อนกลืนกล้ำ

เวหา พึ่งน้ำ จอมราช เพื่อน้ำนมแรง (โคลงโลกนิติ : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร)

คำว่า จระเข้ อยู่ในตำแหน่งคำเอก ในที่นี้ต้องอ่านว่า “จะ-เข้” ๒. อ่านให้ถูกต้องตามลักษณะของการใช้คำยัติภังค์ มีโคลงหลายบทที่ใช้คำ ยัติภังค์ ทั้งที่ปรากฏและไม่ปรากฏเครื่องหมาย ผู้อ่านจึงต้องพิจารณาคำที่ใช้ในโคลงให้เข้าใจ หากพบคำเดียวกันเขียนแยกวรรคกัน จะต้องอ่านคำที่แยกนั้นให้ผู้ฟังทราบว่าเป็นคำใดแน่ เช่น ลำพูดูหิ่งห้อย 1 เหมือนเม็ดเพชรรัตน์ราย วับวับจับเนตรสายวับเช่นเห็นหิ่งห้อย

พรอยพราย รอบก้อย สวาทสบ- เนตรเอย หับหม้านนานเห็น (นิราศสุพรรณ : สุนทรภู่)

บาทที่ ๓ มีคำยัติภังค์ ๒ คำ คือ “สายสวาท” และ “สบเนตร” ดังนั้น จังหวะที่ ตกหลังคำว่า “สาย” และคำว่า “สบ” จึงทอดเสียงได้น้อยที่สุด เพราะต้องอ่านคำถัดไปให้ผู้ฟัง ทราบว่าคำคู่นี้คืออะไร ๓. ใช้น้ำเสียงในการอ่านให้เหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อความ เพื่อดึงดูดให้ผู้ฟัง คล้อยตามบทประพันธ์ ทั้งยังทำให้ผู้ฟังเกิดภาพพจน์ 2 และอารมณ์ร่วมได้ง่าย ดังเช่น การอ่านบทรัก บทนิราศ ควรปรับเสียงให้นุ่มนวลและเบากว่าเสียงปกติ การอ่านบทเศร้า ควรครั่นเสียง เครือเสียง อ่านช้า และเนิบกว่าปกติ การอ่านบทตลกขบขัน ควรใช้เสียงให้มีชีวิตชีวา เน้นบางคำหรือเน้น ความสำคัญให้เด่นชัด การอ่านบทกล่าวเกินจริง ควรใช้เสียงปกติ เน้นคำให้ความหมายเกินจริง ๔. เมื่อจะจบตอนที่อ่านต้องชะลอจังหวะให้ช้าลงกว่าเดิม แล้วทอดเสียงยาวกว่า ทุกครั้งตรงคำรองสุดท้ายและคำสุดท้าย เพื่อให้ผู้ฟังทราบว่ากำลังจะสิ้นกระแสความที่อ่าน ๓.๔) การอ่านฉันท์ ๑. อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ (๑) ผังภูมิอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ ุ ุ ุ ุ บาทเอก ั ุั ั ั ั ุ ั ั ุ ุ บาทโท ั ั ั ั ั ั ั ●

12

นักเรียนควรรู 1 เพชรรัตน แกวที่มีความแข็งแรงที่สุดและมีนํ้าแวววาวมากกวาพลอยอื่น 2 นิราศ เปนลักษณะคําประพันธชนิดหนึ่ง โดยลักษณะคําประพันธดังกลาว เปนการแบงประเภทของคําประพันธตามลักษณะของเนื้อหาในบทประพันธ ซึ่ง ประกอบดวยลักษณะสําคัญ 3 ประการ ดังตอไปนี้ 1. การเคลื่อนที่ เปนการเคลื่อนที่ ของบุคคลและเวลา โดยการเคลื่อนที่ของบุคคล คือ การเดินทางพรากจากสถานที่ ที่เคยอยูอาศัย พบไดในวรรณคดีนิราศทั่วไป สวนการเคลื่อนที่ของเวลา เชน การ เปลี่ยนแปลงของฤดูกาลตางๆ พบไดในวรรณคดีเรื่อง โคลงทวาทศมาส 2. การ ครํ่าครวญ อาจเปนการครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก ซึ่งพบในวรรณคดีทั่วไป หรือ อาจครํ่าครวญถึงพระมหากษัตริย เชน นิราศกวางตุง เปนตน และ 3. การใช ธรรมชาติที่พบเห็นตลอดการเดินทางเปนสื่อเปรียบเทียบ พรรณนาความรักความ อาลัย ลักษณะเดนอยางหนึ่งของบทประพันธประเภทนิราศ โดยสวนใหญมักมีความ เศราเพราะรางรักเปนแกนเรื่อง ปรากฏนางในนิราศซึ่งเปนอุปมานิทัศนของความสุข

12

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

คําประพันธในขอใดตองอานทอดเสียงใหนอยที่สุด 1. ทนุสนธิ์ซึ่งนานนํ้า นองพนา สณฑเฮย 2. หนปจฉิมทิศา ทวมไซร 3. คือทัพอริรามัญหมู นี้นา 4. สมดั่งลักษณฝนไท ธเรศนั้นอยาแหนง มัญหมู นี้นา วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. คือทัพอริราตองอานรวบเสียงคําวา “รามัญ” แมจะเขียนแยกกันดวยเครื่องหมายยัติภังค ( - ) แตเวลาอานตองอานคําใหมีเสียงตอกันเพื่อใหผูฟงรูวาเปนคําเดียวกัน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

(๒) การแบ่งช่วงเสียงหรือจังหวะ วรรคหน้า ๕ คำ อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น oo/ooo วรรคหลัง ๖ คำ อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น ooo/ooo 1

บงเนื้อ/ก็เนื้อเต้น// ทั่วร่าง/และทั้งตัว// แลหลั3ง/ละลามโล// เพ่งผาด/อนาถใจ//

พิศเส้น/สรีร์รัว// ก็ระริก/ระริวไหว// 2 หิตโอ้/เลอะหลั่งไป// ระกะร่อย/เพราะรอยหวาย// (สามัคคีเภทคำฉันท์ : ชิต บุรทัต)

(๓) การเอื้อนเสียงทอดเสียง นิยมเอื้อนที่ ๒ คำ ท้ายวรรคที่ ๒ ของบาทที่ ๑ และท้ายวรรคที่ ๑ ของบาทที่ ๒ แต่ทั้งนี้ต้องดูความเหมาะสมของเสียงของคำในแต่ละวรรคด้วย ๒. วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ (๑) ผังภูมิวสันตดิลกฉันท์ ๑๔ ุ ุ ุ ุ ุ ุ ุ บาทเอก ั ั ั ั ั ั ั ุ ุ ุ ุ ุ ุ ุ บาทโท ั ั ั ั ั ั ั (๒) การแบ่งช่วงเสียงหรือจังหวะ วรรคหน้ามี ๘ คำ อ่านแบ่งเสียง ๓ ช่วง เป็ เป็น oo/oo/oooo oo/oo/oooo วรรคหลังมี ๖ คำ อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่ช่วงง เป็ เป็น ooo/ooo ooo/ooo เรืองรอง/พระมน/ทิรพิจิตร// ก่องแก้ว/และกาญ/จนระคน// ช่อฟ้า/ก็เฟื้อย/กลจะฟัด// บราลี/พิไล/พิศบวร//

กลพิศ/พิ 4 มานบน// รุจิเรข/อลงกรณ์/5/ ดลฟาก/ทิฆัมพร// นภศูล/สล้างลอย// (อิลราชคำศัพท์ : สุนทรภู่)

(๓) การเอื้อนเสียงทอดเสียง การอ่านให้ทอดเสียงไปยังคำรับสัมผัสตาม และระหว่างคำที่ ๕ คำที ๕ คำที่ ๖ ของวรรคที ๖ ของวรรคที่ ๒ ตำแหน่งนิยมเอื้อนเสียงที่ท้ายวรรคที่ ๒ ของบาทโท และระหว่ บาทที่ ๑ และบาทที่ ๒ ข้อควรคำนึงในการอ่านฉันท์ ใจ ต้องรู้คำครุ คำลหุ และคณะ และคณะ ๑. ต้องศึกษาลักษณะของฉันทลักษณ์ให้เข้าใจ ต้ ของฉันท์แต่ละประเภท

Explain

1. นักเรียนกลุมที่ 4 นําเสนอวิธีการอานฉันท โดยนักเรียนนําเสนอแผนผังฉันทลักษณของ บทประพันธ ครูใหนักเรียนเลือกบทประพันธ ประเภทอินทรวิเชียรฉันท พรอมยกตัวอยาง บทประพันธประกอบ นักเรียนสามารถ พิจารณาตัวอยางไดจากหนังสือเรียน 2. นักเรียนที่เปนสมาชิกกลุมที่ 4 รวมกันตอบ คําถามในประเด็น ตอไปนี้ • คําประพันธประเภทอินทรวิเชียรฉันทมี ลักษณะเดนอยางไร (แนวตอบ มีการกําหนดบังคับเสียงหนักเบา (ครุ-ลหุ) อยางเครงครัด จึงใชคําภาษาบาลี สันสกฤตเปนหลัก) • นักเรียนคิดวา คําประพันธประเภทฉันทมี หลักการแบงวรรคตอนและการเอื้อนเสียง อยางไร (แนวตอบ 1. การแบงชวงเสียง หรือจังหวะ เนื่องจากวรรคหนามี 5 คํา การอานแบงเปน 2 ชวง คือ ชวงแรก 2 คํา ชวงที่สอง 3 คํา สวนวรรคหลัง 6 คํา แบงการอานเปน 2 ชวง ชวงละ 3 คํา 2. การเอื้อนเสียงทอด เสียง นิยมทอดเสียงไปยังคํารับสัมผัส หาก พิจารณาตามตําแหนงของคํานิยมเอื้อนเสียง ที่ทายวรรคที่ 2 ของบาทโท และระหวาง คําที่ 5 คําที่ 6 ของวรรคที่ 2 บาทที่ 1 และ บาทที่ 2) 3. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

13

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

คําประพันธในขอใดมิไดแสดงอารมณเกรี้ยวกราดกระแทกนํ้าเสียง 1. เอออุเหมอิลลาชะลาไฉน ประพาสบเกรงบกลัวกระทํา อุกอาจ อหังการ 2. เรานี่แหละจะสาปจะสรรใหสาแกใจ นะเจาแนะนางอิลลา จะทําไฉน 3. แสงสกาววิโรจนนภาประจักษ แฉลมเฉลาและโสภิตนัก ณ ฉันใด 4. กลกะกากะหวาดขมังธนู บหอนจะเห็นธวัชริปู สีลาถอย

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เปนตอนที่นางมัทนารําพึงรําพันกับดวงดาว ที่สองแสงสกาวบนทองฟา ไมมีนํ้าเสียงเกรี้ยวกราด ซึ่งตางจากขออื่นที่ใช คําตายในคําประพันธที่จะใหเสียงสั้น ติดขัด ทําใหเสียงรูสึกถึงอารมณโกรธ เกรี้ยวกราด

นักเรียนควรรู 1 สรีร รากศัพทมาจากภาษาบาลี แปลวา รางกาย 2 แลหลัง/ละลามโล// หิตโอ/เลอะหลั่งไป// บทประพันธบทนี้มีความดีเดนดาน การเลนเสียงสัมผัสอักษรหรือสัมผัสพยัญชนะ คือ ล จากคําวา แล หลัง ละ ลาม โล เลอะ หลั่ง ในการอานทํานองเสนาะบทประพันธที่มีเสียงสัมผัสอักษรเสียงเดียวกัน ดังตัวอยางขางตน นักเรียนควรระมัดระวังในการอานโดยอานออกเสียงใหถูกตอง ชัดเจนตามฉันทลักษณ โดยไมกลืนเสียง ขณะเดียวกันนักเรียนควรอานบทประพันธ ใหสอดคลองกับอารมณความรูสึกในบทประพันธดวย เพื่อใหผูฟงเขาใจเนื้อหาจาก บทประพันธไดอยางชัดเจน 3 ผาด คําวิเศษณ ผานหรือเคลื่อนไปเร็ว (มักใชแกกริยาเห็น) มองแตเผินๆ 4 รุจิเรข มีลายงาม มีลายสุกใส 5 ทิฆัมพร เปนการสรางคําดวยวิธีการสมาสอยางมีสนธิ ระหวางคําวา ทีฆ + อมฺพร ซึ่งหมายถึง ทองฟา คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

Expand

1. ครูนําบทประพันธประเภทอินทรวิเชียรฉันท เรื่อง คํานมัสการมาตาปตุคุณและคํานมัสการอาจริยคุณจากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.4 หนา 247 มาใหนักเรียนพิจารณาบนกระดาน 2. ครูสุมนักเรียน 1-2 คน ออกมาชวยกันแบง วรรคตอนในการอานบทประพันธ 3. นักเรียนในหองอานบทรอยกรองโดยไมใส ทํานองพรอมกัน

Evaluate

๒. การแบ่งจังหวะในการอ่านฉันท์ต้องแม่นยำ ถูกต้อง หากคำใดมีเครื่องหมาย ยติภังค์คั่น ต้องอ่านคำเต็มก่อนแล้วจึงอ่านตามคณะฉันท์ สูงลิ่วละลานนัสูง-ลิ่ว/ละ-ลาน-นัย//

ข้าแต่พระจอมจุฬมกุฎ ข้า-แต่/พระ-จอม/จุ-ละ-มะ-กุด//

บริสุทธิกำจาย บอ-ริ-สุด/ทิ-กำ-จาย//

๔. ไม่อ่านเอื้อนเสียงที่คำลหุ เพราะมีเสียงเบาและสั้น ๕. การใส่ทำนอง ต้องเอื้อนทำนองให้ถูกต้องตามประเภทของฉันท์แต่ละชนิด ๖. การใส่อารมณ์ ต้องฝึกฝนการถ่ายทอดอารมณ์และน้ำเสียงให้เหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อเรื่องของฉันท์แต่ละประเภท โดยพยายามไว้จังหวะในบทและบาทของฉันท์ จึงจะทำให้การอ่านฉันท์ไพเราะน่าฟัง ๗. การอ่านตอนจะจบบทต้องเอื้อนเสียงและทอดจังหวะให้ช้าลงจนกระทั่งจบ ๓.๕) การอ่านร่าย ๑. ร่ายยาว (๑) การแบ่งช่วงเสียงหรือจังหวะของร่ายยาว ร่ายยาวในแต่ละวรรคมักมีคำ เกิน ๕ คำ ผู้อ่านควรแบ่งช่วงเสียงตามกลุ่มคำที่จบความหนึ่ง หรืออ่านติดต่อกันให้จบวรรค เน้นเสียงคำที่รับสัมผัสเพื่อให้ได้รับรสจากเสียงสัมผัส

สรรพ์สาระ ที่มาของฉันท์ คำประพันธ์ประเภทฉันท์ ไทยได้รับการถ่ายทอดจากอินเดียตั้งแต่สมัยโบราณ ในอินเดีย นั้นจะแต่งเป็นภาษาบาลี สันสกฤต โดยในภาษาบาลีได้กล่าวถึงแบบอย่างการแต่งฉันท์ในคัมภีร์ วุฒโตทัย ต่อมาไทยได้นำมาปรับปรุงโดยการเพิ่มเติมให้มีบังคับสัมผัส เพื่อให้เกิดความไพเราะ และนับได้ว่าเป็นแบบฉบับคำประพันธ์ของไทยที่แตกต่างจากอินเดีย

14

ในการเรียนการสอนอานคําประพันธนั้น ครูผูสอนควรฝกทักษะการอานให ถูกตองและชํานาญดวย หากครูผูสอนทานใดไมถนัด สามารถใชแถบบันทึกเสียง การอานคําประพันธหรือเชิญวิทยากรที่มีความสามารถเฉพาะดานมาใหความรูกับ นักเรียน โดยครูผูสอนตองคํานึงถึงความสามารถเฉพาะของแตละบุคคลเปนหลัก เนื่องจากนักเรียนแตละคนมีขอจํากัดที่แตกตางกัน การเรียนการสอนอานบทประพันธนี้ ครูผูสอนควรคํานึงวา มีจุดมุงหมายสําคัญ คือ เพื่อใหนักเรียนสามารถอานบทประพันธไดถูกตองตามรูปแบบคําประพันธ เพื่อใหนักเรียนสามารถพิจารณาความไพเราะของบทประพันธจากจังหวะลีลาและ อารมณในบทประพันธ รวมถึงมีการเอื้อนเสียงที่ถูกตองเปนหลัก สวนการอานให มีความไพเราะนั้นเปนพัฒนาการในลําดับถัดไป ตองอาศัยการฝกฝนและความ สามารถเฉพาะบุคคล

คูมือครู

ยนพ้นประมาณหมาย ยะ-นะ-พ้น/ประ-มาน-หมาย//

๓. คำที่รับสัมผัสกันต้องอ่านเน้นเสียงให้ชัดกว่าปกติ ถ้าเป็นสัมผัสนอก ต้องทอดเสียงให้มีจังหวะยาวกว่าปกติ ดังตัวอย่างที่อ่านเน้นเสียงคำว่า กุด สุด ดังนี้

เกร็ดแนะครู

14

ตรวจสอบผล

Explain

1. สมาชิกกลุมที่ 4 รวมกันตอบคําถามในประเด็น ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา การอานทํานองเสนาะในบท ประพันธประเภทฉันทมีขอควรคํานึงในการ อานอยางไร (แนวตอบ เปนตนวา อานใหถูกฉันทลักษณ โดยเฉพาะบังคับคําครุ ลหุ และคณะของฉันท แตละประเภท การแบงจังหวะในการอานถูก ตองแมนยํา ไมอานฉีกคํา หากมีเครื่องหมาย ยัติภังคคั่นตองอานเต็มคํากอน แลวจึงอาน ตามคณะ คําที่รับสัมผัสกันตองอานเนนเสียง ใหชัดกวาปกติ ถาเปนสัมผัสนอกตองทอด เสียงใหยาวกวาปกติ ใชนํ้าเสียงใหสอดคลอง กับประเภทของฉันท เพื่อดึงดูดใหผูฟงคลอย ตาม เมื่อจบตอนสุดทายตองเอื้อนเสียงใหชา ลงกวาเดิม ทอดเสียงชาลงจนกระทั่งจบ) 2. นักเรียนที่เปนสมาชิกในกลุมที่ 4 สาธิตวิธีการ แบงวรรคตอนการอาน พรอมสาธิตวิธีการอาน ออกเสียงบทรอยกรองดวยเสียงธรรมดาและ การอานทํานองเสนาะ 3. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขุนผูคูกํากับ เปนทัพหลังพรั่งพฤนท ขี่คชินทรพาหนะ นามชนะจําบัง ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการอานราย 1. อานคําสงสัมผัส “พฤนท” วา พริน 2. อานคําสงสัมผัส “พฤนท” วา พะรึน 3. อานคํารับสัมผัส “คชินทร” วา คะ-ชิน-ทอน 4. อานคํารับสัมผัส “คชินทร” วา คะ-ชิน-ทะ-ระ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. อานคําสงสัมผัส “พฤนท” วา พริน จะรับ สัมผัสกับ “คชินทร” อานไดอยางเดียววา คะ-ชิน ซึ่งเปนลักษณะของรายที่ คําทายวรรคจะตองสงสัมผัสไปยังคําใดคําหนึ่งในวรรคถัดไป ดังนั้นการอาน ใหถูกตองตามฉันทลักษณ จึงตองพิจารณาคํารับ-สงสัมผัสระหวางวรรค


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู ราชา สญฺชโย/ปางเมื่อพระทูลกระหม่อมจอมนราธิบดีศรีสญชัย/ได้ฟังพระโอรส ทูลร่ำพิไร/พระทัยเธอเร่าร้อนประหนึ่งว่าจะผ่อนให้/แล้วจึ่งผินพระพักตร์มาตรัสปราศรัย/ กับพระสุณิสาศรีสะใภ้ว่า/มัทรีเอ่ย/พาพ่อ1ชาลีมาไย/จะไปด้วยผัวหรือพระลูกรัก/อนิจจา นิจจาเอ่ย/ไม่ควรเลยจะประดักประเดิด/ดูเอาเถิดไม่เกรงกลัว/เจ้าโกรธพ่อหรือว่าขับผัว จากบุรี/มัทรีจะไปด้วยผัวก็เป็นได้/พระลูกเอ่ย/อย่าไปเลยฟังพ่อว่า/ (มหาเวสสันดรชาดก ทานกัณฑ์ : สำนักวัดถนน)

(๒) การเอื้อนเสียงทอดเสียง ส่วนมากนิยมเอื้อนท้ายวรรคเมื่อจบความหนึ่ง และเอื้อนที่กลางวรรคสุดท้ายซึ่งเป็นวรรคจบร่าย ๒. ร่ายสุภาพ (๑) การแบ่งช่วงเสียงหรือจังหวะ วรรคหนึ่งมี ๕ คำ แบ่งช่วงเสียง ๒ ช่วง เป็น ooo/oo ในบางแห่งอาจแบ่ง เป็น oo/ooo เพื่อไม่ให้คำฉีก ศรีสิทธิ์/พิศาลภพ/ แผนแผ่นผ้าง/เมืองเมรุ/ เพียงรพิพรรณ/ผ่องด้าว/ ส่ายเศิกเหลี้ยน/ล่งหล้า/ ควบค้อมหัว/ไหว้ละล้าว/ ผ่อนแผ่นดิน/ให้ผาย/ พระยศไท้/เทิดฟ้า/

เลอหล้าลบ/ล่มสวรรค์/ ศรีอยุธเยนทร์/แย้มฟ้า/ ขุนหาญห้าว/แหนบาท/ ราญราบหน้า/เภริน/ ทุกไทน้าว/มาลย์น้อม/ ขยาย/แผ่นฟ้าให้แผ้ว/ เฟื่องฟุ้ง/ทศธรรม//

จรร/โลงโลก/กว่ากว้าง/ แจกแสงจ้า/เจิดจันทร์/ สระทุกข์ราษฎร์/รอนเสี้ยน/ เข็ญข่าวยิน/ยอบตัว/ ขอออกอ้อม/มาอ่อน/ เลี้ยงทแกล้ว/ให้กล้า/ ท่านแฮ (นิราศนรินทร์ : นรินทรธิเบศร์)

(๒) การเอื้อนเสียงทอดเสียง การอ่านร่ายเมื่ออ่านถึงคำรับสัมผัส ผู้อ่านต้อง เน้นเสียงหรือทอดเสียงให้เหมาะกับเนื้อความ และต้องทอดเสียงท้ายวรรคทุกวรรค เมื่ออ่านถึง ตอนจบซึ่งจบด้วยโคลงสอง ให้เอื้อนเสียงท้ายวรรคให้ยาวนานกว่าทอดเสียงท้ายวรรคอื่นๆ เพื่อ ให้ผู้ฟังทราบว่าเรื่องที่ฟังอยู่กำลังจะจบ ข้อควรคำนึงในการอ่านร่าย ๑. การอ่านร่ายทุกชนิดจะมีทำนองเหมือนกัน คือ ทำนองสูงอ่านด้วยเสียง ระดับเดียวกัน และการลงจังหวะอยู่ที่ท้ายวรรคทุกวรรค ส่วนจะอ่านด้วยลีลาช้าเร็วเพียงใดขึ้นอยู่ กับอารมณ์ที่ปรากฏตามเนื้อความ แต่เมื่ออ่านพบคำที่มีเสียงสูงจะนิยมอ่​่านหลบเสียงลงต่ำให้อยู่ ในระดับเสียงอ่านปกติและต้องทอดเสียงท้ายวรรคทุกวรรค ๒. ร่ายส่วนใหญ่จะมีวรรคละ ๕ คำ ซึ่งไม่มีปัญหาในการอ่านให้จบวรรค ภายใน ๑ ช่วงลมหายใจ ยกเว้นร่ายยาว ซึ่งแต่ละวรรคมักมีคำเกินกว่า ๕ คำ หรือเกินกว่า 15

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การอานคําประพันธในขอใดมีลักษณะคําประพันธประเภทรายสุภาพ 1. ปางเมื่อพระทูลกระหมอมจอมนราธิบดีศรีสัญชัย/ ไดฟงพระโอรสทูลรํ่าพิไร 2. พระทับเธอเรารอนประหนึ่งวาจะผอนให/แลวจึ่งผินพระพักตรมาตรัส ปราศรัย 3. แผนแผนผาง/เมืองเมรุ/ศรีอยุธเยนทร/แยมฟา/ 4. พระสุณิสาศรีสะใภวา/มัทรีเอย/พาพอชาลีมาไย/จะไปไดผัวหรือพระลูกรัก วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เพราะเปนลักษณะคําประพันธประเภทราย สุภาพ สังเกตไดจากการแบงจังหวะการอาน วรรคหนึ่งมี 5 คํา แบงเปน 2 ชวง ดังนี้ แผนแผนผาง/เมืองเมรุ/และ ศรีอยุธเยนทร/แยมฟา/ สวนขออื่นเปนรายยาวที่แตละวรรคมักมีคําเกิน 5 คํา

Explain

1. นักเรียนกลุมที่ 5 นําเสนอวิธีการอานราย โดยนักเรียนนําเสนอแผนผังประเภทรายสุภาพ พรอมยกตัวอยางประกอบจากหนังสือเรียน 2. นักเรียนที่เปนสมาชิกกลุมที่ 4 รวมกันตอบ คําถามในประเด็น ตอไปนี้ • คําประพันธประเภทรายสุภาพมีลักษณะเดน อยางไร (แนวตอบ มีบังคับคณะ สัมผัส รายสุภาพ บังคับคําเอก คําโทดวย) • นักเรียนคิดวา คําประพันธประเภทรายมี หลักการแบงวรรคตอนและการเอื้อนเสียง อยางไร (แนวตอบ 1. วรรคหนามี 5 คํา การอานแบง เปน 2 ชวง คือ ชวงแรก 3 คํา ชวงที่สอง 2 คํา สามารถปรับเปลี่ยนได เพื่อไมใหฉีกคํา 2. นิยมเอื้อนเสียงทอดเสียง เมื่ออานถึง คํารับสัมผัส ควรอานใหเหมาะกับเนื้อความ และตองทอดเสียงตอนทายวรรค เมื่อถึง ตอนจบใหเอื้อนเสียงยาวนานกวาวรรคอื่น) • นักเรียนคิดวา การอานทํานองเสนาะในบท ประพันธประเภทรายมีขอควรคํานึงในการ อานอยางไร (แนวตอบ สามารถพิจารณาเพิ่มเติมจากเรื่อง ขอควรคํานึงในการอานราย ในหนา 15) 3. นักเรียนที่เปนสมาชิกในกลุมที่ 5 สาธิตวิธีการ แบงวรรคตอน พรอมอานออกเสียง

ขยายความเขาใจ

Expand

1. นักเรียนพิจารณาบทประพันธประเภท รายสุภาพ เรื่อง นิราศนรินทรคําโคลง จากหนังสือเรียน หนา 15 2. ครูสุมนักเรียน 1-2 คน ออกมาแบงวรรคตอน 3. นักเรียนอานบทรอยกรองพรอมกัน

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับการอานบทประพันธประเภทรายสุภาพ โดยกลาวถึง การอานรายสุภาพทํานองสูงอานดวยเสียงระดับเดียวกัน และลงจังหวะ ที่ทายวรรคทุกวรรค สวนลีลาการอานขึ้นอยูกับเนื้อความ เมื่อพบคําเสียงสูงนิยมหลบ เสียงลงตํ่า และทอดเสียงทายวรรคทุกวรรค ตองพิจารณาชวงเวลาในการกักเก็บและ การปลอยลมหายใจในการอานใหดี เมื่อจบตอนสุดทายตองเอื้อนเสียงใหชาลงกวา เดิมจนกระทั่งจบ เพื่อใหเกิดการใชเสียงที่สมบูรณ ทั้งความไพเราะและความชัดเจน นักเรียนจึงควรฝกฝนตนเองทั้งการอานและการใชเสียงอยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหเกิด ความเชี่ยวชาญเมื่อนํามาประยุกตใช

นักเรียนควรรู 1 ประดักประเดิด อาการรีๆ รอๆ ที่ทําใหรูสึกลําบากยุงยากกายหรือใจ คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. นักเรียนจัดกลุมใหม โดยใหแตละกลุมมีสมาชิก ไมนอยกวา 5 คน และสมาชิกในกลุมตองเปน ตัวแทนนําเสนอวิธีการอานบทประพันธทั้ง 5 ประเภท คือ โคลง ฉันท กาพย กลอน และราย 2. สมาชิกภายในกลุมรวมแลกเปลี่ยนความรูความ เขาใจในการฝกอานบทประพันธแตละประเภท ประกอบดวยบทประพันธ จํานวน 5 บท จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม. 4 ซึ่งใชปฏิบัติ กิจกรรมขยายความเขาใจ ดังนี้ • ประเภทกลอนสุภาพ บทประพันธเรื่อง อิเหนา หนา 246 • ประเภทกาพยฉบัง 16 บทประพันธเรื่อง คํานมัสการพระธรรมคุณ หนา 29 • ประเภทโคลงสี่สุภาพ บทประพันธเรื่อง นิราศ นรินทรคําโคลง หนา 249 • ประเภทอินทรวิเชียรฉันท บทประพันธเรื่อง คํานมัสการมาตาปตุคุณและคํานมัสการ อาจริยคุณ หนา 247 • ประเภทรายสุภาพ บทประพันธเรื่อง นิราศ นรินทรคําโคลง หนา 15 2. นักเรียนทดสอบความสามารถในการอานทํานอง เสนาะ โดยใหนักเรียนจับสลากเลือกอานบท ประพันธบทใดบทหนึ่งจากบทประพันธที่ครู มอบหมายใหนักเรียนฝกฝน 3. ครูประเมินผลการเรียนรูเปนรายกลุม

๑ ช่วงลมหายใจ ผู้อ่านจะต้องใช้วิจารณญาณตัดสินว่าควรจะหยุดผ่อนลมหายใจช่วงใด ต้อง ฝึกฝนการกักลมหายใจ เพื่ออ่านให้จบวรรค ๓. การใส่อารมณ์ในการอ่านร่าย ผู้อ่านจะต้องพิจารณาลักษณะเนื้อความว่า เป็นประเภทใด เพื่อให้ใช้น้ำเสียงในการอ่านได้เหมาะสมสัมพันธ์กับอารมณ์และเนื้อความ ทำให้ กระทบใจผู้อ่าน เช่น เนื้อความแสดงอารมณ์เศร้า น้ำเสียงควรเบาลง สั่นเครือ จังหวะการ อ่านช้าลงกว่าปกติ เนื้ อความแสดงอารมณ์ โ กรธ น้ำ เสียงควรหนักแน่ น เน้ นเสี ยงดัง กว่าเดิม กระชับ สั้น ห้วน เนื้อความบรรยายการรบการต่อสู้ น้ำเสียงดัง หนักแน่น ห้วน กระชับ เนื้อความตัดพ้อต่อว่า น้ำเสียงต่ำ เน้นบ้าง สะบัดเสียงบ้าง เนื้อความสั่งสอน น้ำเสียงปานกลางไม่เบาไม่ดังเกินไป เน้นเสียงที่ คำสอนแต่ไม่ห้วน ๔. การอ่านตอนจบของร่ายทุกชนิด ผู้อ่านต้องทอดเสียงให้ยาวนานกว่าการ ทอดเสียงท้ายวรรคอื่นๆ เพื่อให้ผู้ฟังทราบว่าเรื่องที่ฟังอยู่กำลังจะจบ ●

๒.๓ การอ่านและพิจารณาบทร้อยกรอง การอ่านบทร้อยกรองมีแนวทางในการอ่านและพิจารณาตามองค์ประกอบ ดังนี้ ๑) เนื้อหาสาระ บทร้อยกรองที่ดีมีคุณค่าจะต้องมีเนื้อหาสาระที่แสดงถึงความรู้สึก นึกคิดที่ให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิต ผู้อ่านต้องหาคำตอบให้ได้ว่าได้รับอะไรจากการอ่านบท ร้อยกรองนั้นบ้าง ๒) รูปแบบ หมายถึ ง ลั ก ษณะการประพั น ธ์ ห รื อ ฉั น ทลั ก ษณ์ และศิ ล ปะในการ ประพันธ์ ได้แก่ ๑. ลักษณะการประพันธ์ ผู้อ่านควรทราบว่าบทร้อยกรองที่อ่านเป็นคำประพันธ์ ชนิดใด ผู้ประพันธ์ประพันธ์ตามกฎเกณฑ์หรือไม่ เลือกใช้ฉันทลักษณ์ได้เหมาะสมกับเนื้อหาหรือไม่ ๒. ศิลปะการประพันธ์ การพิจารณาศิลปะการประพันธ์ควรพิจารณาในด้านต่างๆ ต่อไปนี้ การสรรคำ ถ้ อ ยคำที่ ใ ช้ ใ นบทร้ อ ยกรองมั ก เป็ น คำที่ มี ลั ก ษณะพิ เ ศษ นอกจากนี้การสรรคำควรสอดคล้องกับเนื้อหาและรูปแบบของร้อยกรอง จึงจะเกิดความกลมกลืน มีศิลปะ เช่น ถ้ากวีใช้ศัพท์ว่า ทิวา ราตรี บุรุษ นงลักษณ์ ก็จะเห็นได้ว่าเนื้อหาและรูปแบบจะ ●

16

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับการอานบทประพันธประเภทรายสุภาพ โดยกลาว ถึงวิธีการอานรายสุภาพทํานองสูงควรอานดวยเสียงระดับเดียวกัน และลงจังหวะที่ ทายวรรคทุกวรรค สวนลีลาการอานบทประพันธประเภทรายสุภาพนั้น ขึ้นอยูกับเนื้อ ความในบทประพันธ เมื่อพบคําเสียงสูงนิยมหลบเสียงลงตํ่า และทอดเสียงทายวรรค ทุกวรรค ตองพิจารณาชวงเวลาในการกักเก็บและการปลอยลมหายใจในการอานให ดี เมื่อจบตอนสุดทายตองเอื้อนเสียงใหชาลงกวาเดิมจนกระทั่งจบ เพื่อใหเกิดการใช เสียงที่สมบูรณ ทั้งความไพเราะและความชัดเจน นอกจากความไพเราะจากการใชเสียงในการอานทํานองเสนาะแลว ขอคํานึงที่ สําคัญในการอานทํานองเสนาะ คือ อรรถรสจากถอยคําอันเกิดจากประพันธ โดยผู อานพิจารณาวาบทประพันธที่อานนั้นมีเนื้อหาอยางไร นําเสนออารมณแบบใด โดย พิจารณาบทประพันธจากรสวรรณคดีวา บทประพันธนําเสนอรสอารมณเชนไร เพื่อ ใหผูอานสามารถถายทอดอารมณความรูสึกจากบทประพันธใหมีความเขมขนและ สามารถสื่อสารอารมณความรูสึกจากบทประพันธผานผูอานสูผูฟงไดเปนอยางดี

16

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนฝกอานทํานองเสนาะใหถูกตองตามฉันทลักษณและสามารถ อานทํานองเสนาะดวยวิธีการเบื้องตน สําหรับนักเรียนที่ไมถนัดการอาน ทํานองเสนาะ ครูผูสอนอาจจัดกิจกรรมโดยจัดนักเรียนเปนกลุมและให นักเรียนที่มีความสามารถเปนตนแบบและสอนเพื่อนในกลุมอาน

กิจกรรมทาทาย การฝกอานออกเสียงบทรอยกรองนั้น ครูผูสอนสามารถจัดกิจกรรมให ผูเรียนไดฝกอานออกเสียงจากแถบบันทึกเสียง หรือเชิญวิทยากรที่มีความ สามารถพิเศษ โดยใหฝกวิธีการอานที่ถูกตอง เชน การเอื้อนเสียง การ ทอดเสียง และการใสอารมณความรูสึกใหสอดคลองกับบทประพันธ เปนตน


สํารวจคนหา

กระตุนความสนใจ

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

Engage

ตรวจสอบผล Evaluate

สํารวจคนหา

นักเรียนศึกษาหลักการอานและพิจารณา บทรอยกรองในดานเนื้อหาสาระและรูปแบบ

ต้องเป็นร้อยกรองที่ค่อนข้างวิจิตรบรรจง หากใช้คำธรรมดาต้องใช้กับคำประพันธ์ประเภทกลอน ร่าย กาพย์ เช่น ตรากตรำ ลำเค็ญ ซมซาน เป็นต้น การใช้ภาพพจน์ คือ การใช้ถ้อยคำสร้างภาพ ภาพพจน์ที่กวีใช้มีหลาย ชนิดด้วยกัน เช่น อุปมา อุปลักษณ์ บุคคลวัต สัทพจน์ เป็นต้น อุปมา เช่น สวยเหมือนนางฟา อุปลักษณ์ เช่น ขอเป็นเกือกทองรองบาทา บุคคลวัต เช่น ทะเลไม่เคยหลับไหล สัทพจน์ เช่น ครืนครืนคลื่นพิรุณทั่วหล้า ความไพเราะ รสของบทร้อยกรองอยู่ที่เสียงเป็นสำคัญ ความไพเราะของ บทร้อยกรองจึงเกิดจากกลวิธีการซ้ำคำ การซ้ำวลี การเล่นคำ การเล่นสัมผัส และลีลาจังหวะ เช่น

อธิบายความรู

ละลิ่วลิ่วริ้วคลื่นครืนผวา ละลานตารวิวาบอาบนที (ภาพพิมพ์ใจสองฝั่งเจ้าพระยา : นิภา บางยี่ขัน)

ความหมายลึกซึ้งกินใจ บทร้อยกรองที่ประทับใจผู้อ่านนอกจากจะมีเนื้อหา

ดีมีคุณค่า มีความไพเราะแล้ว ถ้อยคำโวหารที่กล่าวอย่างลึกซึ้งยังทำให้บทร้อยกรองนั้นๆ เป็นที่ นิยมยาวนาน ความคมคายเหล่านั้นเกิดจากทรรศนะหรือความรู้สึก และอารมณ์ของกวี เช่น สักวันหนึ่งถึงไม่มีชีวิตแม่ แม่ทอลูกก็ทอต่อเส้นใย

ลูกที่แท้คงทอสืบต่อได้ ผ้าชีวิตผืนใหม่จะต้องงาม (ไหมแท้ที่แม่ทอ : ไพวรินทร์ ขาวงาม)

¡ÒÃ͋ҹ໚¹·Ñ¡ÉСÒÃÊ×èÍÊÒ÷ÕèÊÓ¤ÑÞáÅШÓ໚¹ã¹ªÕÇÔµ à¾ÃÒÐ໚¹à¤Ã×èͧÁ×Í㹡Òà áÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ à¾×è ÍãËŒ à »š ¹ ¤¹·Ñ ¹âÅ¡·Ñ ¹ à赯 ¡ Òó ¼ÙŒ Í‹ Ò ¹¤ÇÃ¤Ó¹Ö § ¶Ö § ËÅÑ ¡ ¡ÒÃÍ‹ Ò ¹ãËŒ ÊÍ´¤ÅŒÍ§¡ÑºÅѡɳСÒÃÍ‹Ò¹áŌǹÓÁÒ㪌ãËŒàËÁÒÐÊÁ ¡ÒÃÍ‹Ò¹¨Ö§¨ÐÊÑÁÄ·¸Ô¼Å ઋ¹ Ëҡ໚¹ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§¨Ð·ÓãËŒàÊÕ§¹Ñé¹¹‹Ò¿˜§ ¼ÙŒ¿˜§à¡Ô´ÍÒÃÁ³ ¤ÅŒÍµÒÁ Ëҡ໚¹¡ÒÃÍ‹Ò¹ã¹ã¨ ¼ÙŒÍ‹Ò¹¨Ðä´ŒÃѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁࢌÒ㨠¤ÇÒÁºÑ¹à·Ô§ Í‹ҧ᷌¨ÃÔ§ ¼ÙŒÍ‹Ò¹¨Ö§µŒÍ§ËÁÑè¹½ƒ¡½¹ÍÂÙ‹àÊÁÍ à¾×èÍãËŒà¡Ô´·Ñ¡ÉÐ áÅÐÊÒÁÒö¹Óä»ãªŒã¹¡ÒÃÊ×èÍÊÒÃ䴌͋ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M4/01

ขอสอบ

ขยายความเขาใจ

EB GUIDE

1๗

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับการอานและพิจารณาบทรอยกรอง ขอใดตีความไดตรงกับขอความตอไปนี้ ลาภยศถาบรรดาดีที่มีอยู รวยเลิศหรูอยูเรือนทองสองลานสาม สมบัติมากลากไมไหวใครจะปราม สุดทายหามแตรางเนาเทานั้นเอง 1. บางคนโชคดีไดลาภยศและเงินทองโดยไมมีใครขวางได 2. คนเราไมควรโลภมากเอาแตตักตวงความรํ่ารวย ในที่สุดก็แบกไมไหว 3. สมบัติทั้งหลายไมใชสิ่งจีรังยั่งยืน มีความเปลี่ยนแปรอยูเสมอ 4. คนเราเมื่อถึงคราวตายก็เอาเกียรติยศและทรัพยสินติดตัวไปไมได วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. “ลาภยศถาบรรดาดีที่มีอยู” คือ เกียรติยศ และ “เรือนทองสองลานสาม” คือ ทรัพยสิน แตเมื่อถึงคราวตายก็ “หามแต รางเนาเทานั้นเอง” ไมสามารถเอาเกียรติยศและทรัพยสินติดตัวไปได

Explain

1. นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็น ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา บทประพันธที่นักเรียนใชใน การปฏิบัติกิจกรรมที่ผานมา มีความโดดเดน ดานเนื้อหาและรูปแบบอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางหลากหลาย โดยยกบทประพันธ บทใดบทหนึ่งที่นักเรียนประทับใจ เปนตนวา กลาวถึงบทชมดงในเรื่องอิเหนา มีการเลนคํา และใชภาพพจน รวมถึงใชขนบนิราศในการ ประพันธ นักเรียนสามารถพิจารณาเพิ่มเติม ไดจากบทประพันธที่นักเรียนยกมา) • นักเรียนคิดวา การอานทํานองเสนาะชวย ใหนักเรียนเกิดความเขาใจและซาบซึ้งใน อรรถรสของบทประพันธประเภทรอยกรอง เพิ่มมากขึ้นหรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางหลากหลาย เปนตนวา ชวยใหเกิด ความซาบซึ้งในทวงทํานองเสียงสัมผัส ตลอดจนรสอารมณจากบทประพันธ) 4. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

ระรื่นชื่นชมด้วยลมพริ้ว ละลอกเรื่อยกระทบกระทั่งฝั่งสุธา

Explore

Expand

1. นักเรียนยกบทประพันธประเภทรอยกรองที่ นักเรียนประทับใจ จากนั้นนักเรียนอธิบาย คุณคาดานเนื้อหาสาระและคุณคาทาง วรรณศิลป พรอมนําบทประพันธดังกลาว มาอานทํานองเสนาะ 2. ครูสุมนักเรียน 2-3 คน ออกมาอานทํานอง เสนาะ พรอมนําเสนอคุณคาทางวรรณศิลป

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิ่มเติมความรูความเขาใจเกี่ยวกับการพิจารณารสจากวรรณคดีหรือ วรรณกรรม รสของบทประพันธในที่นี้คือ รสของความไพเราะและความงดงามทาง ภาษา นักเรียนสามารถพิจารณารสที่ใชในการอานและพิจารณาบทรอยกรองได ดังรายละเอียด ตอไปนี้ 1. รสถอย (คําพูด) แตละคํามีรสในคําของตัวเอง ผูอานจะ ตองอานใหเกิดรสถอย 2. รสความ (เรื่องราวที่อาน) ขอความที่อานมีเรื่องราวเกี่ยวกับ อะไร เชน โศกเศรา สนุกสนาน ตื่นเตน โกรธ รัก เปนตน ขณะที่อาน ผูอานตองอาน ใหมีลีลาไปตามลักษณะของเนื้อเรื่องนั้นๆ 3. รสทํานอง (ระบบเสียงสูงตํ่าซึ่งมีจังหวะ สั้นยาว) ในบทรอยกรองไทยจะประกอบดวยทํานองตางๆ เชน ทํานองโคลง ทํานอง ฉันท ทํานองกาพย ทํานองกลอน และทํานองราย เปนตน ผูอานจะตองอานใหถูก ตองตามทํานองของรอยกรองนั้น 4. รสคลองจอง ในบทรอยกรองตองมีคําคลองจอง ในคําคลองจองนั้นตองใหออกเสียงตอเนื่องกัน โดยเนนสัมผัสนอกเปนสําคัญ 5. รสภาพ เสียงทําใหเกิดภาพ ในแตละคําจะแฝงไปดวยภาพ ในการอานใหเห็นภาพ ตองใชเสียง สูง-ตํ่า ดัง-คอย แลวแตจะใหเกิดภาพอยางไร คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

1. นักเรียนสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับความแตกตาง ในการอานบทรอยกรองธรรมดาและการอาน ทํานองเสนาะ 2. นักเรียนสรุปคุณสมบัติเกี่ยวกับการอาน ออกเสียงบทรองกรองที่ดีได 3. นักเรียนอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท โคลง ฉันท กาพย กลอน และรายได 4. นักเรียนสรุปลักษณะคําประพันธและหลัก เกณฑในการอานได 5. นักเรียนสรุปสาระสําคัญดานเนื้อหาและรูปแบบ จากบทประพันธที่นักเรียนไดอาน พรอมระบุ ความสัมพันธกับการอานทํานองเสนาะได 6. นักเรียนอานบทประพันธพรอมบอกคุณคาดาน เนื้อหาและวรรณศิลปจากบทประพันธได

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ความเรียงสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับความ แตกตางในการอานบทรอยกรองธรรมดาและ การอานทํานองเสนาะ พรอมตัวอยางประกอบ 2. ความเรียงสรุปคุณสมบัติเกี่ยวกับการอาน ออกเสียง 3. ความเรียงบันทึกขอมูลการอานออกเสียง บทรอยแกวประเภทบันเทิงคดีและสารคดี 4. ความเรียงสรุปลักษณะคําประพันธและหลัก เกณฑการอาน 5. ความเรียงสรุปสาระสําคัญดานเนื้อหาและ รูปแบบจากบทประพันธที่นักเรียนไดอาน พรอมระบุความสัมพันธระหวางคุณคาของ บทประพันธกับการอานทํานองเสนาะได 6. บันทึกการอานออกเสียงบทรอยกรอง 7. ความเรียงสรุปเนื้อหาและคุณคาทางวรรณศิลป จากบทประพันธ 8. บันทึกการตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู

คำถามประจำหน่วยการเรียนรู้

๑. การอ่านออกเสียงร้อยแก้วเป็นทักษะที่จำเป็นต้องฝึกฝนหรือไม่ อย่างไร ๒. การศึกษาฉันทลักษณ์ของคำประพันธ์แต่ละประเภทก่อนอ่านบทร้อยกรอง มีความ จำเป็นหรือไม่ อย่างไร ๓. การอ่านบทร้อยกรองประเภทคำฉันท์ มีหลักในการอ่านอย่างไร จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ ๔. คุณสมบัติของผู้ที่จะอ่านทำนองเสนาะได้ดีมีอะไรบ้าง จงอธิบาย ๕. การอ่านทำนองเสนาะแบบกระแทกเสียง มักจะใช้กับการอ่านเนื้อหาในลักษณะใด จงอธิบายและยกตัวอย่าง

กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้

๑. ให้นกั เรียนจับคูก่ นั ฝึกอ่านทำนองเสนาะให้ถกู ต้องตามขัน้ ตอนการอ่าน แล้วติชมหรือ ให้ขอ้ เสนอแนะซึง่ กันและกัน ๒. ให้นักเรียนเลือกวรรคทองในวรรณคดีที่นักเรียนชื่นชอบมาฝึกอ่านทำนองเสนาะ ให้ถูกต้องและมีความไพเราะ ๓. จัดโครงการประกวดการอ่านเพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญของการอ่านและฝึก การอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง ชัดเจน เช่น - โครงการประกวดผู้ประกาศข่าววัยใส - โครงการประกวดเยาวชนเสียงเสนาะ

18

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. นักเรียนสามารถตอบไดอยางหลากหลาย เนื่องจากการอานรอยแกวเปนทักษะที่จําเปนตองฝกฝนอยางสมํ่าเสมอ ทั้งความรูในดานเนื้อหาและการออกเสียงที่มีความ ถูกตองชัดเจน เพื่อสรางอรรถรสในการอาน 2. การศึกษาฉันทลักษณกอนการฝกอานคําประพันธประเภทบทรอยกรองมีความจําเปนอยางมาก เนื่องจากฉันทลักษณทําหนาที่กําหนดทํานองใหบทรอยกรองแตละ ประเภทมีความแตกตางกัน ทั้งการแบงวรรคตอนและทวงทํานองการอาน 3. ตองมีความเขาใจฉันทลักษณ ทั้งคําครุ ลหุ ของฉันทแตละประเภท ตลอดจนการแบงจังหวะที่ถูกตอง รวมถึงตองคํานึงถึงการเนนสียงในคําที่ทําหนาที่รับสัมผัสและ เอื้อนเสียงใหถูกตองตามลักษณะของฉันทแตละประเภท จากนั้นจึงเอื้อนเสียงและทอดจังหวะใหชาลงในชวงทาย 4. นักเรียนสามารถตอบไดอยางหลากหลาย เปนตนวา ตองหมั่นศึกษาคนควาความรูเกี่ยวกับฉันทลักษณ ความรูพื้นฐานในการอาน หมั่นฝกฝนอยางสมํ่าเสมอเพื่อใหมี ความเชี่ยวชาญจนเกิดความกลาแสดงออกและมีความเชื่อมั่นในตนเอง 5. การอานทํานองเสนาะแบบกระแทกเสียง มักใชบรรยายความโกรธ ความเขมแข็ง หรือความศักดิ์สิทธิ์ เนื่องจากมีการลงเสียงในแตละคําหนักเปนพิเศษ ตัวอยางเชน “เอออุเหมนะมึงชิชางกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเปน ศึก บ ถึงละมึงก็ยังมิเห็น จะนอยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด” เนื้อหาจากวรรณคดีเรื่องสามัคคีเภทคําฉันท ประพันธโดยนายชิต บุรทัต

18

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.