:: Form 56-1 2008/2009 Thai ::

Page 1

แบบ 56-1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2551/2552 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552

บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) TYONG


สารบัญ หนา สวนที่ 1

สวนที่ 2 เอกสารแนบ 1 เอกสารแนบ 2 เอกสารแนบ 3

บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ขอมูลทั่วไป 2. ปจจัยความเสี่ยง 3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 4. การประกอบธุรกิจในแตละสายผลิตภัณฑ 5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 6. ขอพิพาททางกฎหมาย 7. โครงสรางเงินทุน 8. การจัดการ 9. การควบคุมภายใน 10. รายการระหวางกัน 11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ การรับรองความถูกตองของขอมูล รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหาร ขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการและผูบริหารในบริษัทยอยและบริษัทรวม อื่น ๆ

1 4 7 17 38 46 47 49 70 73 81 98


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ขอมูลสรุป (Executive Summary) ประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ.11/2552 เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการ รายงานการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย ไดยกเลิก หัวขอนี้


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

สวนที่ 1 บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ขอมูลทั่วไป ขอมูลบริษัท: ชื่อบริษัท ชื่อภาษาอังกฤษ ที่ตั้งสํานักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

Home Page โทรศัพท โทรสาร เลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนชําระแลว จํานวนหุนจดทะเบียน (หุนสามัญ) มูลคาหุน นายทะเบียนหลักทรัพย

ผูสอบบัญชี

ที่ปรึกษากฎหมาย

บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) Tanayong Public Company Limited ชั้น 14 ทีเอสทีทาวเวอร 21 ซอยเฉยพวง ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 1. พัฒนาอสังหาริมทรัพย 2. ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ 3. งานบริหารโครงการ www.tanayong.co.th 0 2273-8511-5 0 2273-8516 0107536000421 8,056,923,076 บาท 5,813,333,333 บาท 5,813,333,333 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0 2229-2800 โทรสาร : 0 2359-1259 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0 2264-0777 โทรสาร : 0 2264-0789-90 นางสาวทิพวัลย นานานุวัฒน ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3459 บริษัท วีระวงค, ชินวัฒน และเพียงพนอ จํากัด ชั้น 22 อาคารเมอรคิวรี่ ทาวเวอร 540 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท : 0 2264-8000 โทรสาร : 0 2657-2222

สวนที่ 1 หนา 1


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ขอมูลบริษัทยอยและบริษัทรวม: บริษัท

ประเภทธุรกิจ

สถานที่ตั้ง

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด ถือครองที่ดิน คอมมิวนิเคชั่น

21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 บจ. สําเภาเพชร ถือครองที่ดิน 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 บจ. เมืองทองเลคไซด ถือครองที่ดิน 50/492 หมู 6 เรสเตอรรอง * แขวงบานใหม เขตปากเกร็ด จ. นนทบุรี โทรศัพท 0 2503-2062 โทรสาร 0 2503-2061 บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ ถือครองที่ดิน 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ บจ. ดีแนล อาคารสํานักงาน 21 ซอยเฉยพวง ใหเชา ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส โรงแรม 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 บจ. ยงสุ เซอรวิส 21 ซอยเฉยพวง อพารทเมนท ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด บริหารและ 100-100/1 หมู 4 คันทรี คลับ ดําเนินการ ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985

สวนที่ 1 หนา 2

ทุน ชําระแลว (บาท)

การถือ หุน (รอยละ)

5,000,000

100.00

1,000,000

100.00

1,000,000

100.00

100,000,000

30.00

50,000,000

100.00

433,500,000

100.00

234,000,000

100.00

10,000,000

100.00


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 บริษัท

บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท

บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท

บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส

ธุรกิจอื่น ๆ บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

ประเภทธุรกิจ

สถานที่ตั้ง

โรงแรมและพัฒนา 21 ซอยเฉยพวง อสังหาริมทรัพย ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 บริหารอาคาร 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 บริหารจัดการ 21 ซอยเฉยพวง โรงแรม ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8507 โทรสาร 0 2273-8509 ภัตตาคาร

บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย)

รับเหมากอสราง

บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล

ลงทุนใน หลักทรัพย

บจ. ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส **

ลงทุนใน หลักทรัพย

บจ. เทรสเชอร พูล อินเวสเมนท **

ลงทุนใน หลักทรัพย

บจ. ริคเตอร แอสเซทส **

ลงทุนใน หลักทรัพย

100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8733 โทรสาร 0 2273-8730 Wilmington Trust Corporate Services (Cayman) Limited P.O. Box 32322 SM 4th Floor, Century Yard, Cricket Square, Elgin Avenue George Town, Cayman Islands Caledonian Bank & Trust Limited, Ground Floor, Caledonian House, Mary Street, P.O. Box 1043, George Town, Grand Cayman, Cayman Islands P.O. Box 71, Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola British Virgin Islands Offshore Incorporations Limited P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

ทุน ชําระแลว (บาท) 859,000,000

การถือ หุน (รอยละ) 68.00

1,000,000

100.00

8,000,000

50.00

1,000,000

100.00

25,000,000

51.00

1,000 USD

100.00

2.00 USD

100.00

1.00 USD

100.00

1.00 USD

100.00

หมายเหตุ * บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง ถือหุนรอยละ 100 โดย บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส ** บจ. ริคเตอร แอสเซทส บจ. เทรสเซอร พูล อินเวสเมนท และ บจ. ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส ถือหุนรอยละ 100 โดย บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล โดยบริษัทยอยของ บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล ทั้งสามบริษัทนี้ไดหยุดประกอบกิจการและชําระบัญชีในเดือน มีนาคม 2552

สวนที่ 1 หนา 3


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

2. ปจจัยความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงอยางมีประสิทธิภาพ มีความสําคัญอยางมากกับความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ของบริษัท บริษัทไดมีการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวของตลอดเวลา และมีการปรับปรุงมาตรการการบริหาร ความเสี่ยงอยางตอเนื่อง ในป 2551 บริษัทไดมีการลงทุนในระบบซอฟทแวรบัญชีในการบริหารจัดการขอมูล และงบประมาณ เพื่อปรับปรุงการบริหารทรัพยากรของบริษัทใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2.1

ความเสี่ยงเกี่ยวกับความไมตอเนื่องของรายได ในรอบปบัญชีที่ผานมารายไดหลักของบริษัทสวนใหญมาจากโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยและงาน บริหารโครงการ ซึ่งมีลักษณะเปนงานโครงการทําใหมีความเสี่ยงเกี่ยวกับความไมตอเนื่องของรายได ทั้งนี้ ผูบริหารไดตระหนักถึงความเสี่ยงดังกลาว จึงกําหนดแผนธุรกิจที่จะพัฒนาอสังหาริมทรัพยโครงการใหมอยาง ตอเนื่อง ควบคูไปกับการขยายธุรกิจโรงแรม เพื่อใหบริษัทมีรายไดจากการดําเนินธุรกิจอยางสม่ําเสมอมากขึ้น 2.2

ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจโรงแรม ที่ผานมาบริษัทดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนหลัก ในปจจุบันบริษัทมีเปาหมาย ในการทําธุรกิจโรงแรมมากยิ่งขึ้นในระดับ 3-6 ดาว ทั้งในกรุงเทพและตางจังหวัด บริษัทจึงอาจมีความเสี่ยงใน การดําเนินธุรกิจโรงแรมซึ่งไมใชธุรกิจหลักของบริษัทในอดีต

อยางไรก็ตาม บริษัทไดรวมทุนกับกลุมนักธุรกิจที่มีประสบการณในธุรกิจรับบริหารจัดการโรงแรม จัดตั้ง บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด เพื่อทําการพัฒนาเครือขายโรงแรมของตนเองขึ้นมาภายใต ชื่อ U Hotels & Resorts เพื่อบริหารโรงแรมระดับ 3-4 ดาว ของบริษัท สวนการดําเนินธุรกิจโรงแรมระดับ 56 ดาวนั้น บริษัทจะรวมกับเครือขายโรงแรมระดับโลกมาบริหารงานในสวนนี้ ซึ่งบริษัทตางชาติเหลานี้มี ชื่อเสียงเปนที่ยอมรับและมีฐานลูกคาอยูแลว นอกจากนี้ ในอดีตบริษัทไดเคยเปนผูถือหุนในโรงแรมรีเจนท ถนนราชดําริ และโรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม อีกทั้งไดเคยประกอบธุรกิจโรงแรมมาแลว ไดแก โรงแรม ดิเอ็มเพรส กรุงเทพ ซึ่งปจจุบัน คือ โรงแรมอิสติน มักกะสัน กรุงเทพฯ และในปจจุบันบริษัทยังคงดําเนิน ธุรกิจโรงแรมอิสติน เลคไซด ดังนั้น บริษัทจึงมีศักยภาพในการประกอบธุรกิจโรงแรม 2.3

ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจรับเหมากอสราง บริ ษั ท ได ร ว มทุ น กั บ บริ ษั ท ในฮ อ งกง คื อ บริ ษั ท ฮิ บ เฮง โอเวอร ซี จํ า กั ด ในการจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (ฮิบเฮง) เพื่อทําธุรกิจรับเหมากอสราง ซึ่งถือเปนธุรกิจใหมซึ่งมี ความเกี่ยวของกับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่บริษัทมีประสบการณมายาวนาน

ธุร กิ จ รั บ เหมาก อ สรา งเป น ธุ ร กิ จ ที่ เกี่ ย วเนื่ อ งกับธุ ร กิ จ พั ฒ นาอสั ง หาริม ทรัพ ย ซึ่ง จะช ว ยใหบ ริษั ท บริหารงานตางๆ ไดดียิ่งขึ้น เนื่องจากฮิบเฮงจะรับเหมากอสรางงานโครงการบางโครงการของบริษัทตาม ความเหมาะสม บริษัทจึงมิตองทําหนาที่จัดหาผูรับเหมารายยอยหลายราย อีกทั้งฮิบเฮงยังมีผูบริหาร ชาวตางชาติซึ่งมีความรูความชํานาญในงานกอสราง ซึ่งมีประสบการณมายาวนานในการกอสรางโครงการ ขนาดใหญในตางประเทศมากอน จึงมีความรูและเทคโนโลยีในการกอสรางเปนอยางดี ชวยเสริมสรางธุรกิจ หลักของบริษัทไดดียิ่งขึ้น

สวนที่ 1 หนา 4


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 2.4

ความเสี่ยงจากการเพิ่มขึ้นของราคาวัสดุกอสราง วัสดุกอสรางถือเปนตนทุนการกอสรางที่สําคัญในการพัฒนาโครงการ ราคาวัสดุกอสรางจะมีความ ผันแปรไปตามภาวะราคาน้ํามันที่ปรับตัวสูงขึ้น และการเติบโตของภาคอสังหาริมทรัพย ความผันผวนของ ราคาวัสดุกอสรางอาจสงผลใหตนทุนในการกอสรางโครงการของบริษัทเพิ่มขึ้น ซึ่งสงผลตอความสามารถใน การทํากําไรของบริษัท อยางไรก็ตามบริษัทมีการบริหารควบคุมคากอสราง โดยใชนโยบายการวาจางที่รวมคาวัสดุและคาแรง ของทั้งโครงการไวในสัญญาวาจางของบริษัทไวแลว โดยผูรับเหมาจะเปนผูรับภาระราคาวัสดุที่เปลี่ยนไป สําหรับวัสดุกอสรางที่บริษัทเปนผูจัดหานั้น เนื่องจากบริษัทมีฝายพัฒนาโครงการซึ่งมีประสบการณและมี ความสัมพันธที่ดีกับผูขายวัสดุกอสราง และมีอํานาจในการตอรองกับผูคาวัสดุกอสรางคอนขางสูง ทําใหบริษัท สามารถควบคุมตนทุนของวัสดุกอสรางใหอยูในระดับที่เหมาะสมได โดยบริษัทจะวางแผนการกอสรางและทํา การประเมินปริมาณการใชวัสดุแตละประเภทรวมทั้งโครงการกอน และจะสั่งซื้อวัสดุดังกลาวตามปริมาณที่ได ประเมินไว 2.5

ความเสี่ยงจากการจัดทําโครงการบานเอื้ออาทร บริษัทไดรวมจัดทําโครงการบานเอื้ออาทรจํานวน 20,000 หนวย โดยทําสัญญากับการเคหะแหงชาติ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2549 แตเนื่องจากความไมแนนอนทางการเมืองที่อาจสงผลตอนโยบายของภาครัฐใน การสานตอโครงการนี้ ทําใหยังคงตองรอความชัดเจน ความไมแนนอนดังกลาวมีผลกระทบโดยตรงตอจํานวน หนวยที่บริษัทจะไดรับอนุมัติใหดําเนินการสรางและรายไดในอนาคต

ในปจจุบันจํานวนหนวยที่บริษัทไดรับอนุมัติใหดําเนินการสรางบานเอื้ออาทรลดลงจากจํานวน 9,584 หนวย เหลือจํานวน 8,048 หนวย จากทั้งหมด 20,000 หนวย เนื่องจากในป 2551 การเคหะแหงชาติได ยกเลิกโครงการที่บางบอ (1,536 หนวย) ทั้งนี้บริษัทไดสํารองเผื่อการดอยคาของตนทุนโครงการที่สระบุรี และ ชลบุรีแลวจํานวน 19.8 ลานบาท และ 11.2 ลานบาท ในงบการเงินสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 และ 2552 ตามลําดับ แตอยางไรก็ตาม ที่ผานมาบริษัทยังคงมีรายไดรับตามงวดงานที่สงมอบใหแกการเคหะ แหงชาติอยางตอเนื่อง ทั้งนี้บริษัทมีกําหนดสงมอบงานที่สรางเสร็จสมบูรณจํานวน 4,216 หนวย ภายในเดือนกันยายน 2552 ตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติขยายระยะเวลาการกอสรางออกไปอีก 180 วัน ซึ่งบริษัทคาดวาจะสามารถสงมอบ งานไดตามกําหนดระยะเวลา ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ภายหลังจากบริษัทประสบความสําเร็จในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ บริษัทมีภาระหนี้คงคางอีก จํานวนหนึ่ง โดยภาระหนี้ดังกลาวไมมีการคิดดอกเบี้ย ดังนั้นจึงไมไดรับผลกระทบจากความเสี่ยงจากการผัน ผวนของอัตราดอกเบี้ยในสวนนี้ สําหรับภาระหนี้ใหมจากการกูยืมเงินจากสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนา โครงการตางๆ ของบริษัทภายหลังจากการยกเลิกการฟนฟูกิจการ บริษัทไดเจรจาตอรองกับสถาบันการเงิน หลายแหง และเขากูยืมเงินกับสถาบันการเงินซึ่งใหขอตกลงและเงื่อนไขที่ดีที่สุด

2.6

สําหรับโครงการในอนาคต บริษัทมีนโยบายในการจัดหาแหลงเงินทุนที่มีตนทุนที่ดีที่สุดขึ้นอยูกับภาวะ เศรษฐกิจและการเงินในขณะนั้น

สวนที่ 1 หนา 5


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ความเสี่ยงจากการคางชําระหนี้ ตามแผนฟนฟูกิจการ บริษัทมีภาระหนี้ที่ตองชําระคืนอีกจํานวนหนึ่ง บริษัทตองชําระหนี้ของเจาหนี้ไม มีประกัน ซึ่งจะตองทําการผอนชําระเปนรายงวดจํานวนรวมประมาณ 233.7 ลานบาท ซึ่งไดถึงกําหนดชําระ ในปลายเดือนตุลาคม 2550 และ 2551 อยางไรก็ตาม บริษัทยังไมไดชําระหนี้ใหกับเจาหนี้ และในปจจุบัน บริษัทอยูระหวางการเจรจากับเจาหนี้ไมมีประกันดังกลาว 2.7

สวนที่ 1 หนา 6


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3.1 ประวัติความเปนมาและการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญ บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) (บริษัท) จดทะเบียนกอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2511 ดวยทุนจด ทะเบียนเริ่มแรก 5,000,000 บาท เพื่อดําเนินธุรกิจดานการพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทไดเริ่มเปดโครงการ พัฒนาอสังหาริมทรัพยโครงการแรก คือ “โครงการธนาซิตี้” ซึ่งตั้งอยูริมถนนบางนา-ตราด กม.14 ในป 2531 ซึ่ง เปนโครงการที่ประกอบไปดวย บานเดี่ยว ทาวนเฮาส อาคารชุดพักอาศัย และที่ดินเปลาจัดสรร บริ ษั ท ได นํ า กิ จ การเข า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทยและเริ่ ม ทํ า การซื้ อ ขาย หลักทรัพยครั้งแรกในวันที่ 1 มีนาคม 2534 และตอมาเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2536 บริษัทไดจดทะเบียนแปรสภาพ จากบริษัทจํากัดเปนบริษัทมหาชนจํากัด โดยเปลี่ยนชื่อจาก บริษัท ธนายง จํากัด เปน บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) ในขณะเดี ย วกั น บริ ษั ท ได ข ยายลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ ออกไปหลายประเภท เช น โครงการ อสังหาริมทรัพย อาคารพักอาศัยใจกลางเมือง เซอรวิสอพารทเมนท อาคารสํานักงาน โรงแรม และโครงการ สาธารณูปโภคขนาดใหญซึ่งใชเงินลงทุนมหาศาล โดยบริษัทเปนผูริเริ่มดําเนินการโครงการรถไฟฟาแหงแรกใน ประเทศไทยภายใต บริ ษั ท ระบบขนส ง มวลชนกรุ ง เทพ จํ า กั ด (มหาชน) ซึ่ ง เริ่ ม เป ด ดํ า เนิ น การเมื่ อ วั น ที่ 5 ธันวาคม 2542 ในป 2540 ประเทศไทยประสบวิกฤตทางเศรษฐกิจครั้งใหญ จนกระทั่งรัฐบาลในขณะนั้นตองประกาศ มาตรการลอยตัวคาเงินบาท ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอภาคธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูประกอบการที่กูยืมเงินจาก ตางประเทศ การลอยตัวคาเงินบาทสงผลใหเงินกูยืมที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศมีมูลคาเมื่อเทียบเปนสกุลเงิน บาทเพิ่มสูงขึ้นเปนอยางมาก บริษัทก็ไดรับผลกระทบตาง ๆ เหลานี้ดวยเชนกัน ในระหวางป 2545-2549 บริษัทไดทําการปรับปรุงโครงสรางหนี้ และเขาสูกระบวนการฟนฟูกิจการ ซึ่ง บริษัทไดปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการจนกระทั่งศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการในปลายป 2549 ในป 2550 บริษัทไดกลับมาดําเนินธุรกิจโดยปกติดวยวิสัยทัศนของผูบริหารในการเสริมสรางศักยภาพ ในการดํ าเนิน ธุ ร กิจ ในอนาคต บริษัท ไดเริ่ม ปรับโครงสรา งองคก รใหม ทั้ งในส ว นโครงสร า งผูถือหุน ที ม งาน ผูบริหาร ตลอดจนไดมีการรวมมือกับพันธมิตรที่แข็งแกรงจากดูไบ ฮองกง จีน ซึ่งเปนบริษัทที่มีการลงทุนทั่วโลก มารวมลงทุนในบริษัท ระหวางป 2550-2551 บริษัทและบริษัทในกลุม ไดลงทุนในอสังหาริมทรัพยสําหรับการพัฒนาโครงการ ในอนาคต โดยไดซื้อที่ดินที่หาดกมลา จังหวัดภูเก็ต, ถนนสุขุมวิท กรุงเทพฯ, กาญจนบุรี และเขาใหญ อีกทั้งได เชาที่ดินที่เชียงใหม ในป 2551 บริษัทไดเปดใหบริการโรงแรมบูติคแหงแรกโดยมีบริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด ซึ่งเปนบริษัทในกลุมเปนผูบริหาร ภายใตชื่อ “โรงแรม ยู เชียงใหม” นอกจากนี้ บริษัทไดเซ็นสัญญาจางเหมาแบบ เบ็ดเสร็จ (Turnkey) เพื่อออกแบบและกอสรางโครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน (Four Points by Sheraton) ที่กรุงเทพฯ กับเจาของโครงการ ในป 2551 เพื่ อ ส ง เสริ ม การบริ ห ารธุ ร กิ จ ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น บริ ษั ท ได นํ า ระบบข อ มู ล สารสนเทศในการบริหารอสังหาริมทรัพย (”PROMIS”) ซึ่งเปนระบบซอฟตแวรการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจ ขององคกรโดยรวมมาใชในบริษัทตลอดจนบริษัทในกลุม โดยซอฟตแวรนี้จะทําใหบริษัทสามารถบริหารการเงินได โดยละเอียด ตลอดจนสามารถประเมินและวางแผนงานดานตางๆ ในการประกอบธุรกิจ ซึ่งจะสงผลใหบริษัทมี ความสามารถในการแขงขันที่ดี

สวนที่ 1 หนา 7


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ในป 2552 พันธมิตรจากดูไบไดขายหุนใหแกบริษัทจากสิงคโปร นับตั้งแตป 2544 เปนตนมา บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญในสวนที่เกี่ยวกับการ ประกอบธุรกิจและการบริหารงาน ดังนี้ 2544

2545-2549 2548

2549

2550

2551

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยขึ้นเครื่องหมาย SP หามการซื้อหรือขายหลักทรัพย ของบริษัทตั้งแตวันที่ 7 กันยายน 2544 เปนตนไป บริษัทไดทําการปรับปรุงโครงสรางหนี้ โดยเขาสูกระบวนการฟนฟูกิจการ ลดทุนจดทะเบียนชําระแลวจากเดิม 4,684,557,000 บาท เหลือ 3,677,468,400 บาท แปลงมูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10 บาท เปนหุนละ 1 บาท และลดทุนจดทะเบียน ชํ า ระแล ว จากเดิ ม 3,677,468,400 บาท เหลื อ 533,333,333 บาท ซึ่ ง เป น การ ดําเนินการตามแผนฟนฟูกิจการซึ่งผานความเห็นชอบของศาลลมละลายกลาง เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 533,333,333 บาท เปน 5,333,333,333 บาท โดยออกหุน สามัญจํานวน 4,800,000,000 หุน จัดสรรหุนสามัญจํานวน 4,800,000,000 หุน ใหแกเจาหนี้และผูรวมลงทุนใหม และเพิ่ม ทุนจดทะเบียนชําระแลวจากเดิม 533,333,333 บาท เปน 5,333,333,333 บาท ซึ่งเปน การดําเนินการตามแผนฟนฟูกิจการซึ่งผานความเห็นชอบของศาลลมละลายกลาง ศาลลมละลายกลางมีคําสั่งใหยกเลิกการฟนฟูกิจการ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอนุญาตใหหลักทรัพยของบริษัทซื้อขายไดในหมวด พัฒนาอสังหาริมทรัพย ตั้งแตวันที่ 28 ธันวาคม 2549 เปนตนไป เพิ่ม ทุน จดทะเบีย นชํา ระแลว เป น 5,813,333,333 บาท โดยออกหุ น สามัญ จํา นวน 480,000,000 หุน และจัดสรรใหพันธมิตรทางธุรกิจดวยวิธีการเสนอขายใหแกบุคคลใน วงจํากัด เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 5,813,333,333 บาท เปน 8,056,923,076 บาท โดยการ ออกหุนจํานวน 2,243,589,743 หุน เพื่อรองรับการใชสิทธิของหุนกูแปลงสภาพ จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด เพื่อประกอบกิจการโรงแรมและพัฒนาอสังหาริมทรัพยในจังหวัดภูเก็ต จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อดําเนิน ธุรกิจรับเหมากอสราง จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด เพื่อดําเนินธุรกิจรับ บริหารจัดการโรงแรม ยกเลิ ก การออกหุ น กู แ ปลงสภาพ และเปลี่ ย นแปลงวิ ธี ก ารจั ด สรรหุ น จํ า นวน 2,243,589,743 หุน โดยใหเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมและบุคคลในวงจํากัด และ/หรือ นักลงทุนสถาบัน เพิ่มทุนจดทะเบียนและชําระแลวในบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด จากเดิม 850,000,000 บาท เปน 859,000,000 บาท

สวนที่ 1 หนา 8


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 2552

เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุนสามัญ จํานวน 22,334,000 หุน และหุนบุริมสิทธิจํานวน 5,154,000 หุน จาก Winnington Capital Limited คิดเปนรอยละ 32 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด หรือเทากับรอยละ 50 ของสัดสวนผลประโยชนใน บริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด ในราคา 648,444,000 บาท โดยแบงชําระเปนสองสวน คือ ชําระดวยเงินจํานวน 100,000,000 บาท และสวน ที่เหลืออีก 548,444,000 บาท บริษัทจะชําระดวยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท จํานวน 1,034,800,000 หุน ในราคาหุนละ 0.53 บาท ทั้งนี้ บริษัทจะเสนอใหที่ ประชุม สามั ญ ผูถือ หุน ประจํ า ป 2552 ซึ่ งจะจัด ใหมี ขึ้น ในวั น ที่ 24 กรกฎาคม 2552 พิจารณาอนุมัติใหแกไขขอบังคับขอ 6. ของบริษัท เพื่อใหบริษัทสามารถรับชําระคาหุน ของบริษัทดวยทรัพยสินอื่นนอกจากตัวเงิน และใหเพิ่มทุนและจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุน จํานวน 1,034,000,000 หุน ใหแก Winnington Capital Limited เพื่อซื้อหุนในบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด

สวนที่ 1 หนา 9


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 3.2 ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท บริษัทยอย และบริษัทรวม บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการ อสังหาริมทรัพย และการใหบริการ

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย 100%

100%

งานบริหารโครงการ

ธุรกิจอื่นๆ บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด คอมมิวนิเคชั่น

100%

บจ. ดีแนล

100%

บจ. สําเภาเพชร

100%

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

51%

บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย)

บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง

100%

บจ. ยงสุ

100%

บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล

บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้

100%

บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ

100%

บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท

100%

30%

68% 50%

บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส

สวนที่ 1 หนา 10


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 โครงสรางการถือหุนของบริษัทในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัท

ประเภทธุรกิจ

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัท สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท สําเภาเพชร จํากัด บริษัท เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง จํากัด * บริษัท สระบุรี พร็อพเพอรตี้ จํากัด

ถือครองที่ดิน ถือครองที่ดิน ถือครองที่ดิน ถือครองที่ดิน

ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ บริษัท ดีแนล จํากัด บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด

อาคารสํานักงานใหเชา โรงแรม

บริษัท ยงสุ จํากัด

เซอรวิสอพารทเมนท

บริษัท ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ จํากัด บริษัท ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท จํากัด บริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด

บริหารและดําเนินการ บริหารอาคาร โรงแรมและพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริหารจัดการโรงแรม

ธุรกิจอื่น ๆ บริษัท ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ จํากัด บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด

ภัตตาคาร รับเหมากอสราง

ดําเนินการ -

สวนที่ 1 หนา 11

ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว การถือหุน (ลานบาท) (ลานบาท) (รอยละ) 5.00 1.00 1.00 100.00

5.00 1.00 1.00 100.00

100.00 100.00 100.00 30.00

ทีเอสทีทาวเวอร** โรงแรมอิสติน เลคไซด โรงแรม ยู เชียงใหม ยงสุ อพารทเมนท** - หยุด ประกอบกิจการ สปอรตคลับ ทีเอสทีทาวเวอร** โรงแรม ยู เชียงใหม โรงแรมอิสติน มักกะสัน กรุงเทพฯ เมาทเทนท ล็อดจ เขาใหญ

50.00 433.50

50.00 433.50

100.00 100.00

234.00

234.00

100.00

10.00 1.00 859.00 25.00

10.00 1.00 859.00 8.00

100.00 100.00 68.00 50.00

หยุดประกอบกิจการ โรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน (Four Points by Sheraton)

1.00 100.00

1.00 25.00

100.00 51.00


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ธุรกิจอื่น ๆ

ประเภทธุรกิจ

บริษัท ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ลงทุนในหลักทรัพย

บริษัท เทรสเชอร พูล อินเวสเมนท จํากัด *** บริษัท ริคเตอร แอสเซทส จํากัด *** บริษัท ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส จํากัด ***

ลงทุนในหลักทรัพย ลงทุนในหลักทรัพย ลงทุนในหลักทรัพย

ดําเนินการ บริษัท เทรสเชอร พูล อินเวสเมนท จํากัด บริษัท ริคเตอร แอสเซทส จํากัด บริษัท ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส จํากัด หยุดประกอบกิจการและชําระบัญชี หยุดประกอบกิจการและชําระบัญชี หยุดประกอบกิจการและชําระบัญชี

ทุนจดทะเบียน (USD) 1,000 USD

ทุนชําระแลว (USD) 1,000 USD

การถือหุน (รอยละ) 100.00

1.00 USD 1.00 USD 2.00 USD

1.00 USD 1.00 USD 2.00 USD

100.00 100.00 100.00

หมายเหตุ * บริษัท เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง จํากัด ถือหุนรอยละ 100 โดย บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด ** ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท เปนสวนหนึ่งของทรัพยหลักประกันตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัท ซึ่งศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งใหประมูลขายทรัพยดังกลาว โดย รายไดจากการประมูลจะจัดสรรใหเจาหนี้ตามสัดสวนหนี้ ทั้งนี้ บริษัทไดทําการประมูลขายทรัพยและไดผูชนะการประมูลแลว เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552 *** บริษัท ริคเตอร แอสเซทส จํากัด บริษัท เทรสเชอร พูล อินเวสเมนท จํากัด และบริษัท ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส จํากัด ถือหุนรอยละ 100 โดย บริษัท ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โดยบริษัทยอยของ บริษัท ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ทั้งสามบริษัทนี้ไดหยุดประกอบกิจการและชําระบัญชีในเดือนมีนาคม 2552

สวนที่ 1 หนา 12


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 บริษัทไดแบงการดําเนินธุรกิจออกเปน 3 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (2) ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ และ (3) งานบริหารโครงการ (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทมีนโยบายการดําเนินธุรกิจที่มุงเนนความหลากหลายของผลิตภัณฑและครอบคลุมทําเล ตางๆ ทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อใหครอบคลุมกลุมลูกคาตามพื้นที่ตางๆ ซึ่งปจจุบันบริษัท มีโครงการหลากหลายประเภทครบวงจร ดังตอไปนี้ ชื่อโครงการ 1. โครงการธนาซิตี้ ถนนบางนา-ตราด กม.14

ผูดําเนินการ บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)

ลักษณะโครงการ ที่ดินเปลาจัดสรร อาคารชุดพัก อาศัย บานเดี่ยว ทาวนเฮาส

(2) ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ บริ ษั ท ได ป ระกอบธุ ร กิ จ โรงแรม บริ ก ารให เ ช า อาคารพั ก อาศั ย อาคารสํ า นั ก งาน และการ ใหบริการอื่นๆ ดังตอไปนี้ ชื่อโครงการ โรงแรม 1. โรงแรมอิสติน เลคไซด 2. โรงแรม ยู เชียงใหม

ผูดําเนินการ

ลักษณะโครงการ

บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด

โรงแรมระดับ 3 ดาว โรงแรมระดับ 4 ดาว

1. โครงการเดอะรอยัลเพลส 1

บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)

อาคารพักอาศัยใหเชา

2. โครงการเดอะรอยัลเพลส 2

บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)

อาคารพักอาศัยใหเชา

3. โครงการเดอะแกรนด

บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)

อาคารพักอาศัยใหเชา

บริษัท ดีแนล จํากัด และ บริษัท ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท จํากัด

อาคารสํานักงานใหเชา

บริษัท ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ จํากัด

สปอรตคลับ

อาคารพักอาศัย

อาคารสํานักงาน 1. ทีเอสทีทาวเวอร*

การใหบริการ 1. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ *

ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท เปนสวนหนึ่งของทรัพยหลักประกันตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัทซึ่ง ศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งใหประมูลขายทรัพยดังกลาว โดยรายไดจากการประมูลจะจัดสรรใหเจาหนี้ตาม สัดสวนหนี้ ทั้งนี้ บริษัทไดทําการประมูลขายทรัพยและไดผูชนะการประมูลแลว เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552

สวนที่ 1 หนา 13


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 (3) งานบริหารโครงการ (3.1) โครงการบานเอื้ออาทร บริษัทไดรับคัดเลือกจากการเคหะแหงชาติใหเปนผูรวมดําเนินการจัดทําโครงการบานเอื้ออาทร จํ า นวน 20,000 หน ว ย ทั้ ง นี้ โ ครงการมี ลั ก ษณะเป น อาคารชุ ด พั ก อาศั ย 3 ชั้ น และ 4 ชั้ น พร อ มระบบ สาธารณูป โภค และสาธารณูปการตามมาตรฐานของการเคหะแหงชาติ ในปจ จุบันบริษัทไดรับอนุมัติใ ห ดําเนินการสรางบานเอื้ออาทรจํานวน 8,084 หนวย จากทั้งหมด 20,000 หนวย ในทําเลตาง ๆ มีรายละเอียด ดังตอไปนี้ ชื่อโครงการ

ผูดําเนินการ

ลักษณะโครงการ

โครงการบานเอื้ออาทร บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) อาคารชุดพักอาศัย 3 ชั้น 1. บานเอื้ออาทรชลบุรี (นาจอมเทียน) 2. บานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) อาคารชุดพักอาศัย 4 ชั้น บริษทั ธนายง จํากัด (มหาชน) อาคารชุดพักอาศัย 3 ชั้น 3. บานเอื้ออาทรสระบุรี (โคกแย) (3.2) โครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน (Four Points by Sheraton) งานบริหารโครงการโรงแรมระดับ 4 ดาว สูง 32 ชั้น จํานวนหองพัก 437 หอง ในลักษณะ Turnkey (สัญญาจางเหมาแบบเบ็ดเสร็จ) โดยขอบเขตการใหบริการครอบคลุมตั้งแต การออกแบบ การ ก อ สร า ง ตลอดจนการจั ด หาผู บ ริ ห ารงานโรงแรมภายหลั ง โรงแรมก อ สร า งเสร็ จ โดยโครงการตั้ ง อยู ใ น ศูนยกลางธุรกิจบนถนนสาทร ใกลสถานีรถไฟฟาสุรศักดิ์ มูลคาโครงการประมาณ 2,200 ลานบาท ซึ่งคาดวา จะกอสรางแลวเสร็จในป 2554

สวนที่ 1 หนา 14


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 3.3

โครงสรางรายได รายได/ชื่อโครงการ

1. ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย โครงการธนาซิต้ี 2. ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ โรงแรมอิสติน เลคไซด โรงแรมยู เชียงใหม เดอะรอยัลเพลส 1 เดอะรอยัลเพลส 2 เดอะแกรนด ทีเอสทีทาวเวอร ยงสุ อพารทเมนท ธนาซิต้ี กอลฟ แอนด คันทรี คลับ 3. งานบริหารโครงการ โครงการบานเอื้ออาทร โครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน (Four Points by Sheraton) 4. อื่นๆ กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้และการฟนฟูกิจการ โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทรวม ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น รวมรายไดทั้งสิ้น

ดําเนินการโดย บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ดีแนล จํากัด และบริษัท ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท จํากัด บริษัท ยงสุ จํากัด บริษัท ธนาซิต้ี กอลฟ แอนด คันทรี คลับ จํากัด บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 15

2550/2551 2549/2550 2551/2552 รายได รายได รายได (ลานบาท) รอยละ (ลานบาท) รอยละ (ลานบาท) รอยละ 48.7 4.5 10.2 0.4 29.8 0.9 204.7

19.1

175.6

7.0

170.6

5.0

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

547.3 440.1 107.2

51.1 -

976.0 976.0 -

39.4 -

502.1 502.1 -

14.7 -

270.0 195.1 11.8 1.2 61.9 1,070.7

25.2 100

1,329.2 1,149.2 114.4 5.5 60.1 2,491.0

53.4 100

2,717.40 2,647.1 6.5 25.6 5.5 32.7 3,419.9

79.5 100


แบบ 56-1 ประจําป 2551/25521 3.4 เปาหมายในการดําเนินธุรกิจ บริษัทมีเปาหมายในการดําเนินธุรกิจ 3 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (Property Development) (2) ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ (Hotel, Hospitality, Property Management and Services) และ (3) งานบริหารโครงการ (Project Management) โดยในระยะสั้น บริษัทคาดวาจะมีรายไดหลักมาจากงานบริหารโครงการ แตในระยะยาว รายไดของบริษัทจะ มาจากธุรกิจหลักทั้ง 3 ประเภท ในสัดสวนที่ใกลเคียงกันมากขึ้น

สวนที่ 1 หนา 16


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

4. การประกอบธุรกิจในแตละสายผลิตภัณฑ 4.1

ลักษณะของผลิตภัณฑ บริษัทแบงการดําเนินธุรกิจออกเปน 3 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (2) ธุรกิจ โรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ และ (3) งานบริหารโครงการ

ธุรกิจ 1: ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย U

โครงการธนาซิตี้ ถ. บางนา-ตราด กม.14 โครงการธนาซิตี้ ตั้งอยูบนถนนบางนา-ตราด กม.14 ซึ่งดํา เนินการโดยบริษัท จากที่ตั้งโครงการ สามารถเดินทางสะดวกดวยเสนทางถนนบางนา-ตราดหรือทางดวนยกระดับ ไปเชื่อมตอยังถนนออนนุช มอเตอรเวย กรุงเทพฯ-ชลบุรี อีกทั้งโครงการยังอยูใกลสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ อาทิเชน หางสรรพสินคา เซ็นทรัลซิตี้ บางนา มหาวิทยาลัยเกริก มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาคุณทหาร ลาดกระบัง โรงพยาบาล สนามบินสุวรรณภูมิ และจุด Airport Link สําหรับการเดินทางเขาเมืองโดยรถไฟฟา ไดในอนาคต โครงการมีพื้นที่รวมทั้งสิ้นกวา 1,600 ไร เปนโครงการขนาดใหญพรอมดวยสาธารณูปโภคครบครัน มี ระบบปองกันน้ําทวม ทามกลางสิ่งแวดลอมที่ดีจากธรรมชาติของตนไมรายรอบโครงการ นอกจากนี้เพื่อ สุขภาพ ผูอยูอาศัยสามารถสมัครเปนสมาชิกสปอรตคลับซึ่งมีสนามกีฬากลางแจง ไดแก สนามเทนนิส 8 สนาม สระวายน้ําขนาดมาตรฐานโอลิมปค และพื้นที่สนามกีฬาในรม ไดแก สนามแบตมินตัน สนามบาสเก็ต บอล สนามสคว็อช หองสนุกเกอร เซานา พื้นที่เลนสําหรับเด็ก ฟตเนส และหองแอโรบิค พรอมครูฝกมือ อาชีพไวคอยใหคําแนะนํา อีกทั้งสนามกอลฟมาตรฐาน 18 หลุม 72 พาร ออกแบบโดยนักกอลฟมืออาชีพ ระดับโลก และสนามไดรฟกอลฟภายในพื้นที่ของโครงการ เนื่องจากโครงการธนาซิตี้เปนโครงการขนาดใหญ สามารถรองรับความตองการของลูกคาทุกประเภท บริษัทจึงไดพัฒนาอสังหาริมทรัพยหลายรูปแบบ เพื่อตอบสนองกับความตองการของลูกคา และโครงการ บางสวนไดพัฒนาเสร็จและปดการขายไปเรียบรอยแลว เชน โครงการบานเดี่ยวเพรสทีจเฮาส I ซึ่งเปนบาน เดี่ยวพรอมที่ดินขนาด 400 ตารางวาขึ้นไป ในปจจุบัน โครงการธนาซิตี้มี โครงการอสังหาริมทรัพยพรอมขายเหมาะสําหรับลูกคา ทุกประเภท ดังตอไปนี้ บานเดี่ยวพรอมที่ดิน 1. เพรสทีจเฮาส II 2. เพรสทีจเฮาส III (ฮาบิแทต) 3. ธนาเพลสกิ่งแกว ทาวนเฮาส 1. ทาวนเฮาส ริมน้ําและริมสวน 2. ทาวนเฮาส (ฮาบิแทต) อาคารชุดพักอาศัย 1. เพรสทีจคอนโดมิเนียม 2. นูเวลคอนโดมิเนียม 3. กิ่งแกวคอนโดมิเนียม สวนที่ 1 หนา 17


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ที่ดินเปลาจัดสรร 1. เพรสทีจไพรมแลนด ที่ดินเปลารอบสนามกอลฟ 2. แคลิฟอรเนียน บานเดี่ยวพรอมที่ดิน U

รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขาย และโอนกรรมสิทธิแลว จํานวนคงเหลือ

ถนนบางนา-ตราด กม. 14 73-0-0 ไร 144.4 ลานบาท 662.2 ลานบาท บานเดี่ยวบนพื้นที่ 200 ตารางวา ขึ้นไป 85 หนวย 38,000-42,000 บาท/ ตารางวา 315.3 ลานบาท 42 หนวย

เพรสทีจเฮาส III (ฮาบิแทต) ถนนบางนา-ตราด กม. 14 130-0-0 ไร 242.2 ลานบาท 844 ลานบาท บานเดี่ยวบนพื้นที่ 100-250 ตารางวา 288 หนวย 38,000-42,000 บาท/ ตารางวา 601.5 ลานบาท 204 หนวย

ถนนบางนา-ตราด กม. 14 101-2-80 ไร 231.7 ลานบาท 439.9 ลานบาท บานเดี่ยวบนพื้นที่ 100 ตารางวา ขึ้นไป 307 หนวย 29,000-35,000 บาท/ ตารางวา 242.8 ลานบาท 215 หนวย

43 หนวย

84 หนวย

92 หนวย

เพรสทีจเฮาส II

ธนาเพลสกิ่งแกว

โครงการเพรสทีจเฮาส I ซึ่งเปนที่ดินขนาดใหญประมาณ 400 ตาราวาขึ้นไป ไดขายหมดไปแลวและใน ปจจุบันโครงการเพรสทีจเฮาส II เพรสทีจเฮาส III และธนาเพลสกิ่งแกว ซึ่งเปนโครงการบานเดี่ยวบนที่ดิน แปลงขนาดยอ มลงมาประมาณ 50-400 ตารางวา โครงการมีที่ ดิ น หลายขนาดและบ า นหลายรู ป แบบที่ ตอบสนองความตองการของลูกคา ทาวนเฮาส รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ

ทาวนเฮาส ริมน้ําและริมสวน ถนนบางนา-ตราด กม.14 12-0-0 ไร 118.7 ลานบาท 188.1 ลานบาท ทาวนเฮาส หนากวาง 8 เมตร สูง 3 ชั้น / 4 ชั้น พื้นที่ 40-50 ตารางวา 72 หนวย 3.8 - 4.6 ลานบาท 134.4 ลานบาท

จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขายและโอน กรรมสิทธิ์แลว 54 หนวย จํานวนคงเหลือ 18 หนวย

สวนที่ 1 หนา 18

ทาวนเฮาส (ฮาบิแทต) ถนนบางนา-ตราด กม.14 2-3-20 ไร 15.2 ลานบาท 24.7 ลานบาท อาคารพาณิชย สูง 3.5 ชั้น พื้นที่ 40-60 ตารางวา 20 หนวย 3.0 – 5.1 ลานบาท 5.5 ลานบาท 4 หนวย 16 หนวย


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 โครงการทาวน เ ฮ า ส ริ ม น้ํ า และริ ม สวน เน น การออกแบบให มี พื้ น ที่ ใ ช ส อยขนาดใหญ 250-300 ตารางเมตร บนพื้นที่ 40-50 ตารางวา บรรยากาศแบบบานพักตากอากาศ มีทั้งแบบ 3 ชั้น และ 4 ชั้น มี หองนอน 3-4 หอง ปจจุบันทั้งโครงการมีจํานวนเหลือเพียง 18 หนวย ทั้งโครงการมีการวางสายไฟฟาใตดิน อยางทันสมัยเพื่อความสวยงามของทัศนียภาพโดยรอบ โครงการทาวนเฮาส (ฮาบิแทต) เนนพื้นที่ใชสอยอเนกประสงคที่ใชงานไดหลากหลาย เหมาะสําหรับ เปนทาวเฮาสเพื่อการพาณิชย ปจจุบันมีจํานวนเหลือเพียง 16 หนวย อาคารชุดพักอาศัย U

U

รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขาย และโอนกรรมสิทธิ์แลว จํานวนคงเหลือ

เพรสทีจคอนโดมิเนียม ถนนบางนา-ตราด กม. 14 24-0-0 ไร 1,169.8 ลานบาท 993.9 ลานบาท อาคารชุด สูง 16 ชั้น จํานวน 6 อาคาร 340 หนวย 15 ลานบาท 979.3 ลานบาท 338 หนวย

นูเวลคอนโดมิเนียม ถนนบางนา-ตราด กม. 14 25-0-0 ไร 1,026.1 ลานบาท 1,386.4 ลานบาท อาคารชุด สูง 17 ชั้น จํานวน 6 อาคาร 905 หนวย 1.2-7.9 ลานบาท 950.6 ลานบาท 774 หนวย

กิ่งแกวคอนโดมิเนียม ถนนบางนา-ตราด กม. 14 6-2-10 ไร 384.0 ลานบาท 300.3 ลานบาท อาคารชุด สูง 6-7 ชั้น จํานวน 15 อาคาร 456 หนวย 0.8-1.3 ลานบาท 159.3 ลานบาท 320 หนวย

2 หนวย

131 หนวย

136 หนวย

เพรสทีจคอนโดมิเนียม ปจจุบันบริษัทมีเหลือเพียง 2 หนวยเทานั้น แตละหนวยมีพื้นที่ใชสอย 428 ตารางเมตร มีลักษณะเปน เพนทเฮาส 2 ชั้น ขนาด 5 หองนอน ราคาประมาณ 15 ลานบาท ดานหนาโครงการมีบรรยากาศที่สวยงาม สามารถมองเห็นทิวทัศนของสนามกอลฟ นูเวลคอนโดมิเนียม โครงการนูเวลคอนโดมิเนียม เปนอาคารสูง 17 ชั้น จํานวน 6 อาคาร ทั้งโครงการมีสระวายน้ําจํานวน 3 สระ ทามกลางทัศนียภาพสวนสวย โดยสระวายน้ํา 1 สระจะเชื่อมตอระหวาง 2 อาคาร เพื่ออํานวยความ สะดวกใหแกผูอยูอาศัย ภายในหองชุดตกแตงดวยเฟอรนิเจอรรูปลักษณทันสมัย ขนาดหองมีหลายขนาดตั้งแตพื้นที่ 60 ตาราง เมตร สําหรับหองชุดแบบ 1 ห องนอน ราคา 1.2 ลานบาท พื้น ที่ 97 ตารางเมตร สําหรับหองชุดแบบ 2 หองนอน ราคา 1.94 ลานบาท และพื้นที่ 250 ตารางเมตร สําหรับ 3-4 หองนอน มีลักษณะเปนเพนทเฮาส 2 ชั้น

สวนที่ 1 หนา 19


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 กิ่งแกวคอนโดมิเนียม โครงการกิ่งแกวคอนโดมิเนียม เปนอาคารสูง 6-7 ชั้น จํานวน 15 อาคาร มีพื้นที่ใชสอย 41-45 ตาราง เมตร สําหรับหองแบบ 1 หองนอน ราคา 800,000 บาท พื้นที่ 60 ตารางเมตร สําหรับหองแบบ 2 หองนอน ราคา 1.1 ลานบาท และพื้นที่ 98 ตารางเมตร สําหรับหองแบบดูเพล็กซ 2 ชั้น 3 หองนอน ราคา 1.6 ลานบาท ทั้งนูเวลคอนโดมิเนียมและกิ่งแกวคอนโดมิเนียมเปนหองชุดพักอาศัยที่สรางเสร็จกอนขายเพื่ออํานวย ความสะดวกใหแกลูกคา โดยสามารถเขาอยูอาศัยไดทันที โดยโครงการไดมีการตกแตงดวยเฟอรนิเจอร ทันสมัยพรอมเครื่องปรับอากาศ พรอมเขาอยู ทุกหองชุดมีการออกแบบเปนอยางดี หองนอนโปรงโลง พื้นที่ หองครัวแยกเปนสัดสวน มีระบบการระบายอากาศที่ดี ไมมีกลิ่นรบกวนในสวนอื่นของหองพัก โครงการคอนโดมิเนี ย มในธนาซิตี้ เปน โครงการคอนโดมิเนี ย มแหงเดี ยวในบริเ วณรอบสนามบิ น สุวรรณภูมิ ซึ่งจากโครงการสามารถเดินทางไปยังนิคมอุตสาหกรรมตางๆ และศูนยการธุรกิจในตัวเมืองได โดยสะดวก ที่ดินเปลาจัดสรร U

รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขาย และโอนกรรมสิทธิ์แลว จํานวนคงเหลือ

เพรสทีจไพรมแลนด ถนนบางนา-ตราด กม.14 106-0-0 ไร 172.9 ลานบาท 1,223.5 ลานบาท ที่ดินเปลาจัดสรร รอบสนามกอลฟ 123 หนวย 3.8-23.2 ลานบาท 970.2 ลานบาท 91 หนวย

แคลิฟอรเนียน ถนนบางนา-ตราด กม.14 14-3-7.5 ไร 41.5 ลานบาท 161.4 ลานบาท ที่ดินเปลาจัดสรร 63 หนวย 1.2- 4.7 ลานบาท 75.5 ลานบาท 32 หนวย

32 หนวย

31 หนวย

ที่ดินจัดสรรเพื่อจําหนาย โดยบริษัทมีบริการรับสรางบานใหแกลูกคาตามที่ตองการ ทั้งนี้บริษัทได จัดสรรแปลงที่ดินหลายขนาดเพื่อใหเหมาะสมกับความตองการของลูกคาแตละกลุม เชน เพรสทีจไพรมแลนด จะมีพื้น ที่แ ปลงละประมาณ 250 ตารางวา ราคาขายประมาณ 35,000 บาทตอตารางวา และ โครงการ แคลิฟอรเนียน จะมีพื้นที่แปลงละประมาณ 80 ตารางวา ราคาขายประมาณ 35,000 บาทตอตารางวา การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน 1. สําหรับผลิตภัณฑที่มีอยูเดิม บริษัทไดทําการปรับตําแหนงผลิตภัณฑ (Repositioning) ใหสอดคลองกับ ความตองการของตลาดในปจจุบัน โดยเนนการปรับรูปลักษณและใชกลยุทธทางดานราคา 2. สําหรับผลิตภัณฑใหม บริษัทจะเนนสรางความแตกตางในตัวผลิตภัณฑ ในดานการออกแบบและ คุณภาพที่โดดเดนและมีเอกลักษณเฉพาะตัว 3. พัฒนาความเปนชุมชน และ ความมีชีวิตชีวาของสภาพแวดลอม

U

สวนที่ 1 หนา 20


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 4. ปรับภูมิทัศนโดยรอบโครงการของบางโครงการในธนาซิตี้ใหม 5. เสริมสรางและเพิ่มชองทางการขาย และ การสื่อสารทางการตลาดที่ครบวงจร โดยเฉพาะอยางยิ่งการขาย ตรงสูลูกคา กลุมลูกคาเปาหมาย หรือนักลงทุนทั่วไป 6. ใหความสําคัญกับความพึงพอใจของลูกคาและการบริการที่ครบวงจร ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย โครงการบานพักอาศัย: กลุมบุคคลหรือครอบครัวที่มีรายไดระดับปานกลางถึงระดับสูง ซึ่งขึ้นอยูกับ ลักษณะและทําเลของแตละโครงการ ลูกคาสวนใหญเปนกลุมคนที่ชอบบานรูปลักษณทันสมัย มีเนื้อที่ใช สอยมาก มีสภาพแวดลอมที่ดี และสงบรมรื่น โครงการทาวน เ ฮ า ส : เน น กลุ ม ลู ก ค า ประเภทครอบครั ว ที่ ต อ งการห อ งซึ่ ง เหมาะกั บ ความต อ งการ หลากหลาย โครงการอาคารชุด: เนนกลุมลูกคาทั้งชาวไทยและตางประเทศที่มีรายไดปานกลางถึงคอนขางสูงผูมอง หาโอกาสในการลงทุน ผูที่ตองการบานหลังที่สอง หรือลูกคาที่ทํางานใกลแถบสนามบินสุวรรณภูมิ และ ตองการที่พักที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครัน โครงการที่ดินเปลาจัดสรร: กลุมบุคคลที่ตองการกอสรางที่พักอาศัยในรูปแบบตามความพึงพอใจสวนตัว และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ที่โครงการจัดเตรียมไวให U

1.

2. 3.

4.

นโยบายการกําหนดราคา บริษัทมีนโยบายการกําหนดราคา โดยคํานึงถึงความเหมาะสมทางการตลาดและสภาวะการแขงขัน ของแตละโครงการ โดยบริษัทจะเลือกใชนโยบายดานราคาและกลยุทธการสงเสริมการขายควบคูกันเพื่อ ความสําเร็จตามความเหมาะสมของแตละโครงการ U

ภาวะอุตสาหกรรม ในป 2551 ธุรกิจอสังหาริมทรัพยตองประสบกับปจจัยลบหลายอยาง ไดแก ความผันผวนของราคาวัสดุ กอสราง ความไมมั่นคงทางการเมือง สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลก และผลกระทบของสภาวะดังกลาวตอ เศรษฐกิจของประเทศไทย ซึงไดสงผลกระทบตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนและผูบริโภค การชะลอตัวทาง เศรษฐกิจเพิ่มแรงกดดันในทางลบตอรายไดและความสามารถในการซื้อของผูที่ตองการจะซื้อที่อยูอาศัย ทําให ผูบริโภคชะลอการตัดสินใจ หรือลดงบประมาณในการซื้อที่อยูอาศัยลง นอกจากนี้ในชวงปลายป สถาบัน การเงินไดเพิ่มความเขมงวดในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อที่อยูอาศัย โดยปจจัยเหลานี้ยังคงมีอิทธิพลในป 2552 ทั้งนี้เพื่อเปนการกระตุนเศรษฐกิจและธุรกิจอสังหาริมทรัพย ในเดือนมีนาคม 2551 คณะรัฐมนตรีได อนุมัตินโยบายกระตุนเศรษฐกิจดวยมาตรการซึ่งเปนปจจัยบวกโดยตรงตอธุรกิจอสังหาริมทรัพย ดังนี้

มาตรการภาษีเพื่อเพิ่มรายไดใหแกประชาชน 1. ปรับเพิ่มเงินไดสุทธิที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจาก 100,000 บาท เพิ่มเปน 150,000 บาท 2. ปรับเพิ่มวงเงินการยกเวนและการหักคาลดหยอนเบี้ยประกันชีวิต จาก 50,000 บาท เพิ่มเปน 100,000 บาท 3. ปรับเพิ่มวงเงินการหักคาลดหยอนเงินไดที่ซื้อกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ กองทุนรวมหุนระยะยาว จาก 300,000 บาท เพิ่มเปน 500,000 บาท 4. เพิ่มการหักคาลดหยอนคาอุปการะผูพิการ โดยใหหักได 30,000 บาทตอคนพิการ U

สวนที่ 1 หนา 21


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 มาตรการภาษีเพื่อกระตุนการลงทุนและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของเอกชนไทย มาตรการภาษีเพื่อกระตุนการลงทุน และความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการภาคเอกชนซึ่งใน เบื้องตนไดรับการอนุมัติใหเปนมาตรการพิเศษ 1 ป ตอมาไดมีการตออายุมาตรการดังกลาวเปน 2 ป หรือ จนกระทั่งเดือนมีนาคม 2553 ไดแก 1. การลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะจากรอยละ 3.3 เปนรอยละ 0.11 สําหรับการขายอสังหาริมทรัพยเปนทาง คาหรือหากําไร 2. การลดคาธรรมเนียมการโอนจากรอยละ 2.0 เปนรอยละ 0.01 และคาธรรมเนียมจดทะเบียนการจํานอง อสังหาริมทรัพยจากรอยละ 1 เปนรอยละ 0.01 U

ทั้งนี้เพื่อเปนการกระตุนธุรกิจอสังหาริมทรัพยยิ่งขึ้น ในเดือนมกราคม 2552 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติ มาตรการทางภาษีเพิ่มเติม ใหผูซื้อที่อาศัยสามารถนําคาใชจายในการซื้ออสังหาริมทรัพยที่ไมเคยผานการใช งานมากอนจํานวนเงินตนไมเกิน 300,000 บาท และดอกเบี้ยไมเกิน 100,000 บาท โดยจะตองทําการโอน กรรมสิทธิ์ภายในป 2552 อยางไรก็ตาม ผูประกอบการเชื่อวาปจจัยหลักที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจของผูซื้อที่อยูอาศัย คือ ความ เชื่ อ มั่ น ของผู บ ริ โ ภค ความมั่ น คงของรายได ใ นอนาคตซึ่ ง ส ง ผลกระทบโดยตรงต อ กํ า ลั ง ซื้ อ และสภาวะ เศรษฐกิจ สวนมาตรการภาษีเปนเพียงปจจัยเสริมเทานั้น การจดทะเบียนที่อยูอาศัยใหมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 35,000 30,000

31,535 26,631 23,889

25,000

หนวย

20,000 15,000 10,000

16,700 17,461 14,632

13,360 7,689

5,000

16,390 17,012 14,931

11,460 9,229

761

2,133

1,436

869

586

13,437 11,943

0 2547

2548 บานเดีย่ ว

2549 ทาวนเฮาส

2550 อาคารชุด

2551 บานแฝด

ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย หมายเหตุ: กรุงเทพและปริมณฑล ไดแก สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร

สวนที่ 1 หนา 22


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 จํานวนที่อยูอาศัย สรางโดยผูประกอบการ การเปลี่ยนแปลง (%) จํานวนที่อยูอาศัย สรางโดยเจาของ การเปลี่ยนแปลง (%)

2547 48,441

2548 45,164

2549 49,662

2550 49,769

2551 59,048

32.4% 19,859

-46.8% 25,244

10.0% 28,949

0.2% 25,341

18.6% 24,017

N.A.

27.1%

14.7%

-12.5%

-5.2%

ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย หมายเหตุ: กรุงเทพและปริมณฑล ไดแก สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร จํานวนที่อยูอาศัยสรางเองโดยเจาของมีแนวโนมลดลง สวนจํานวนที่อยูอาศัยจากผูประกอบการตางๆ มีการปรับตัวสูงขึ้น ในป 2551 จํานวนบานเดี่ยวจดทะเบียนใหมยังคงลดลงอยางตอเนื่องในสัดสวนรอยละ 18.02 เชนเดียวกับอุปทานทาวนเฮาสและอาคารพาณิชยที่ลดลงรอยละ 20.01 ในขณะที่จํานวนบานแฝดมี การขยายตัวเพิ่มขึ้นสูงสุดตั้งแตป 2548 ดวยอัตราการขยายตัวรอยละ 48.54 สวนอาคารชุดคอนโดมิเนียม ยั ง คงมี อั ต ราการเติ บ โตสู ง สุ ด ที่ ร อ ยละ 85.37 หลั ง จากได ช ะลอตั ว ในป 2550 เนื่ อ งจากมี อ าคารชุ ด คอนโดมิเนียมสรางเสร็จและโอนจํานวนมากในป 2551 โดยรวมในชวง 5 ปที่ผานมา จํานวนที่อยูอาศัยจดทะเบียนใหมสวนมากอยูที่ประมาณ 70,000-80,000 หนวย ซึ่งมองวาเปนระดับมาตรฐานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แนวโนมป 2552 คาดวาจํานวนที่ อยูอาศัยจดทะเบียนใหมจะลดลง เนื่องจากผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจซึ่งมีผลกระทบตอความมั่นคงใน หนาที่การงานและกําลังซื้อ นอกจากนี้ระดับราคาของอสังหาริมทรัพยอาจปรับตัวลดลง โครงการอสังหาริมทรัพยเปดใหมในป 2551 แยกตามระดับราคา ระดับราคา (ลานบาท) < 0.501 0.501 - 1.000 1.001 - 2.000 2.001 - 3.000 3.001 - 5.000 5.001 - 10.000 10.001-20.000 > 20 รวม

บานเดี่ยว 449 3,860 4,028 2,965 405 11,707

บานแฝด 96 1,027 1,388 843 3,354

ทาวนเฮาส 5,125 9,240 2,684 3,003 138 29 24 20,243

อาคาร พาณิชย 333 472 301 1,106

ที่มา: บริษัท เอเจนซี่ ฟอร เรียลเอสเตท แอฟแฟรส จํากัด

สวนที่ 1 หนา 23

คอนโด มิเนียม 80 4,014 11,562 7,478 5,243 2,374 520 51 31,322

ที่ดิน จัดสรร 6 51 2 59

รวม 80 9,235 22,284 15,743 13,589 5,778 1,005 77 67,791


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ตารางโครงการที่อยูอาศัยที่เสนอขายทั้งหมด ณ สิ้นป 2551 แยกตามระดับราคา ระดับราคา (ลานบาท) < 0.501 0.501 - 1.000 1.001 - 2.000 2.001 - 3.000 3.001 - 5.000 5.001 - 10.000 10.001-20.000 > 20 รวม

บานเดี่ยว

บานแฝด

2,161 8,162 31,240 43,940 22,445 4,226 771 112,945

ทาวนเฮาส

1,339 8,612 7,534 3,763 168 21,416

อาคาร พาณิชย

1,005 33,253 37,141 9,476 9,045 1,528 62 24 91,534

90 3,031 1,378 3,212 568 35 8,314

คอนโด มิเนียม 48,079 20,960 44,150 20,493 15,987 9,900 3,105 1,044 163,718

ที่ดิน จัดสรร 1,370 663 1,226 941 649 100 155 5 5,109

รวม 49,084 57,803 101,096 70,121 75,947 34,609 7,428 1,839 397,927

ที่มา: บริษัท เอเจนซี่ ฟอร เรียลเอสเตท แอฟแฟรส จํากัด จากระดับราคาดังกลาวจะเห็นไดวาโครงการอสังหาริมทรัพยจํานวนมากที่เปดตัวในป 2551 และที่ เสนอขายในตลาด ณ สิ้นป 2551 จะอยูที่ระดับราคา 1-2 ลานบาท โดยอสังหาริมทรัพยสวนมากจะเปน คอนโดมิเนียมและทาวนเฮาส สวนบานเดี่ยวสวนมากจะอยูในระดับราคา 3-5 ลานบาท บานแฝดจะเปดตัวใน ราคา 1-3 ลานบาทมากที่สุด สวนที่ดินจัดสรรสวนใหญอยูที่ระดับราคาต่ํากวา 0.5 ลานบาท ทั้งนี้จากจํานวนที่ อยูอาศัยทั้งหมดที่เสนอขายในตลาด ณ สิ้นป 2551 ประกอบไปดวยบานเดี่ยวและคอนโดมิเนียมคิดเปน สัดสวนประมาณรอยละ 70 ของอุปทานคงคางที่ยกมาเสนอขายในป 2552 สวนในดานของระดับราคา ราคา ของที่อยูอาศัยจํานวนมากอยูที่ราคาระดับลางถึงปานกลาง ซึ่งเปนไปตามความคาดการณวาความตองการที่ อยูอาศัยราคาถูกจะปรับตัวสูงขึ้นตามการลดลงของกําลังซื้อ ดัชนีราคาที่อยูอาศัย 190 180 170 160 150 140 130 120 110

บานเดี่ยวพรอมที่ดิน

ทาวนเฮาสพรอมที่ดิน

ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย

สวนที่ 1 หนา 24

ที่ดินจัดสรร

ไตรมาส 4/2551

ไตรมาส 3/2551

ไตรมาส 2/2551

ไตรมาส 1/2551

ไตรมาส 4/2550

ไตรมาส 3/2550

ไตรมาส 2/2550

ไตรมาส 1/2550

ไตรมาส 4/2549

ไตรมาส 3/2549

ไตรมาส 2/2549

ไตรมาส 1/2549

ไตรมาส 4/2548

ไตรมาส 3/2548

ไตรมาส 2/2548

ไตรมาส 1/2548

100


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ตั้งแตครึ่งหลังของป 2551 ผูประกอบการหลายรายไดมีการปรับกลยุทธเพื่อรุกตลาดบานที่ระดับ ราคาลดลง เนื่องจากมองวาความตองการในตลาดดังกลาวจะปรับตัวสูงขึ้น ดังนั้นราคาของบานเดี่ยวและ ทาวนเฮาสจึงมีการปรับตัวสูงขึ้นดวยอัตราการเติบโตที่ลดลง ซึ่งการปรับตัวสูงขึ้นของราคาเปนผลมาจากการ ปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องของราคาที่ดิน การออกใบอนุญาตจัดสรรที่ดินในป 2551 แยกตามประเภทที่อยูอาศัย เขต

บานเดี่ยว

กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล รวม

บานแฝด

3,614 8,761 12,375

ทาวนเฮาส

1,776 5,612 7,388

9,922 14,578 24,500

อาคาร พาณิชย 200 659 859

ที่ดินจัดสรร

รวม

357 510 867

15,869 30,120 45,989

ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย จากจํ า นวนที่ อ ยู อ าศั ย คงค า งและจํ า นวนใบอนุ ญ าตจั ด สรรที่ ดิ น ในป 2551 คาดว า ธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพยจะมีสภาวะการแขงขันสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ที่มีความตองการต่ําแตอุปทานมีจํานวน มากจะมีการแขงขันสูงมาก ทั้งนี้ถึงแมจํานวนใบอนุญาตจัดสรรออกใหมจะมีจํานวนมาก แตคาดวาจํานวน อุปทานใหมในป 2552 จะไมสูงมากนัก เนื่องจากผูประกอบการมีกลยุทธลดจํานวนสินคาคงคางตามการ คาดการณการถดถอยของเศรษฐกิจ นอกจากนี้ในชวงปลายป 2551 สภาพคลองมีการปรับตัวลดลงและคาด วาจะยังไมปรับตัวดีขึ้นตราบที่สถาบันการเงินมีการจํากัดสินเชื่อภาคอสังหาริมทรัพยในการรับมือกับวิกฤต เศรษฐกิจ ในการนี้สภาพคลองทางสินเชื่อของทั้งผูประกอบการและผูซื้อที่อยูอาศัยจะเปนปจจัยหลักซึ่งมี อิทธิพลตอระดับอุปทานและอุปสงคในป 2552 ยอดสินเชื่อที่อยูอาศัยบุคคลทั่วไปคงคางและปลอยใหม 1,800,000

1,584,966

1,600,000

1,471,099 1,346,622

1,400,000 1,200,000

1,215,634 1,032,101

1,000,000 800,000 600,000 400,000

294,403

279,392

262,993

270,466

286,960

200,000 0 2547

ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย

2548

2549 สินเชือ่ คงคาง

สินเชือ่ ปลอยใหม

สวนที่ 1 หนา 25

2550

2551


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ยอดสินเชื่อผูประกอบการที่อยูอาศัย แยกตามประเภทที่อยูอาศัย สินเชื่อคงคาง

70,000

65,855

60,000

200,000 50,000

สินเชื่อปลอยใหม

250,000

238,030 193,839

194,528

183,864

46,146

178,994

150,000

40,000 28,587

30,000

31,448

29,404

100,000

20,000

50,000

10,000 0

0 2547

2548 บานพรอมที่ดิน

2549 อาคารพาณิชย และ ตึกแถว

2550

2551

คอนโดมิเนียม และ อพารทเมนท

2547 บานพรอมที่ดนิ

2548 อาคารพาณิชย และ ตึกแถว

2549

2550 คอนโดมิเนียม และ อพารทเมนท

2551 ที่ดนิ จัดสรร

ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย เงินกูเปนแหลงเงินทุนหลักสําหรับผูซื้อบานสวนใหญ และเปนปจจัยหลักซึ่งสงผลกระทบตอยอดขาย ของผูประกอบการ ในป 2551 ยอดสินเชื่อที่อยูอาศัยบุคคลทั่วไปปลอยใหม เพิ่มขึ้นรอยละ 6.10 สวนยอด สินเชื่อที่อยูอาศัยบุคคลทั่วไปคงคางเพิ่มขึ้นรอยละ 7.74 เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโนมปรับตัวลดลง และการแขงขันกันในตลาดสินเชื่อที่อยูอาศัยของธนาคารพาณิชย ในป 2552 คาดวาความตองการสินเชื่อที่ อยูอาศัยยังคงอยูในระดับสูง ดวยมาตรการลดหยอนทางภาษีสําหรับผูซื้อที่อยูอาศัย แตขณะเดียวกันคาดวา ธนาคารพาณิชยจะเขมงวดในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อที่อยูอาศัยมากขึ้น อยางไรก็ตามกลุมบุคคลที่มีรายได สูงยังคงใชเงินสดในการซื้ออสังหาริมทรัพย ดา นยอดสินเชื่ อผูป ระกอบการปลอยใหมใ นป 2551 สูงถึง 65,855 ลานบาท เพิ่ม ขึ้น ถึงรอยละ 109.41 จากป 2550 เนื่องจากการปรับตัวสูงขึ้นของยอดสินเชื่อบานและที่ดินปลอยใหมซึ่งเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 147.42 บานเดี่ยว และทาวนเฮาส จํานวนบานเดี่ยวยังคงคิดเปนสัดสวนประมาณหนึ่งในสามของจํานวนที่อยูอาศัยคงคาง ณ สิ้นป 2551 ทั้งนี้ในชวงปที่ผานมา ทั้งอุปสงคและอุปทานของทาวนเฮาสมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น โดยในโครงการ อสังหาริมทรัพยที่เปดตัวในป 2551 จํานวนทาวนเฮาสสูงกวาจํานวนบานเดี่ยวเกือบ 2 เทา ผูประกอบการ หลายรายไดปรับสัดสวนสินคา โดยใหความสําคัญกับทาวนเฮาสมากขึ้น นอกจากนี้ผูประกอบการบางรายได ทําการตลาดทาวนเฮาสภายใตแนวความคิดโฮมออฟฟส (home office) หรือการใชสอยแบบอเนกประสงค ทํา ใหทาวนเฮาสไดรับความสนใจจากผูตองการซื้อที่อยูอาศัยเนื่องจากราคาที่ต่ําเทียบกับบานเดี่ยว แตมีพื้นที่ใช สอยมากกวาเมื่อเทียบกับคอนโดมิเนียมและยังใหสิทธิ์ครอบครองที่ดินอีกดวย ดังนั้นความตองการทาวนเฮาส จึงมีมากขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งที่ระดับราคา 1-2 ลานบาท U

สําหรับโครงการธนาซิตี้ มีทั้งบานเดี่ยว ทาวนเฮาส และที่ดินจัดสรร หลายขนาดและระดับราคา ซึ่ง บริษัทคาดวาผลิตภัณฑที่บริษัทมีใหแกลูกคานั้น สามารถครอบคลุมความตองการของลูกคาเปาหมายทุก ประเภทไดเปนอยางดี

สวนที่ 1 หนา 26


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 อาคารชุดพักอาศัย ในป 2008 อุปทานของคอนโดมิเนียมยังคงเพิ่มขึ้นจนทําสถิติใหมนับตั้งแตป 2544 เปนตนมา ดวย จํานวนจดทะเบีย นใหมสูงถึง 31,535 หนวย ตลาดนี้ยังเปน ที่ตองการของกลุ ม ผู ซื้ อทั้ ง ชาวไทยและชาว ตางประเทศที่ตองการอาคารชุดเพื่อเปนที่พักอาศัยหรือเพื่อการลงทุน โดยเฉพาะอยางยิ่งคอนโดมิเนียมซึ่ง ตั้งอยูในเสนทางรถไฟฟา BTS หรือรถไฟใตดิน MRT โดยโครงการคอนโดมิเนียมหลายโครงการที่ระดับ ราคาต่ํากวา 3 ลานบาท โดยเฉพาะโครงการที่ระดับราคา 1-2 ลานบาท ซึ่งมีการเปดตัวไปแลวตางไดรับการ ตอบรับที่ดีจากลูกคา ทั้งนี้คาดวาในป 2552 ความตองการคอนโดมิเนียมที่ระดับราคานี้จะยังคงไดรับความ นิ ย ม ในขณะที่ ค วามต อ งการคอนโดมิ เ นี ย มระดั บ ที่ ห รู ห ราราคาแพงยั ง คงไม แ น น อน โดยเฉพาะผู ซื้ อ ชาวตางชาติเนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจและการเมือง ทั้งนี้กลุมลูกคาเปาหมายในป 2552 จะเปนกลุมลูกคาที่มี กําลังซื้อสูงซึ่งมองหาโอกาศการลงทุนในอสังหาริมทรัพยที่มีคุณภาพ U

ปจ จัยที่ทําใหตลาดนี้ยังเปน ที่ตองการเนื่อ งจาก (1) รูปแบบการใชชี วิตของผูค นเปลี่ ยนไป มีก าร เดินทางโดยรถไฟฟามากขึ้น (2) อาคารชุดราคาถูกมีการเปดตัวขายมาก โดยเฉพาะใกลแนวรถไฟฟา BTS และรถไฟฟาใตดิน MRT ซึ่งอํานวยความสะดวกในการเดินทางโดยประหยัดทั้งคาใชจายและเวลา จึงดึงดูด กลุมลูกคาผูมีรายไดนอย (3) อาคารชุดเปนที่พักอาศัยที่ตอบสนองความตองการของผูพักอาศัยคนเดียว หรือ ครอบครัวที่ยัง ไมมีบุตร และ (4) การซื้อ ไวเพื่อการเก็งกํา ไร โดยการขายตอ จะใหผ ลตอบแทนมากกวา ดอกเบี้ยที่ไดรับจากธนาคาร สําหรับโครงการธนาซิตี้ป ระกอบไปดวยอาคารชุดพักอาศัย 3 โครงการ ตั้งแตระดับราคา 0.8-15 ลา นบาท ดั งนั้นบริ ษัทจึงมี อ าคารชุดนําเสนอสํา หรั บลูก คา ทุก กลุม อยางครบถ วน นอกจากนี้ยัง สามารถ เดินทางไดสะดวกโดยเสนทางถนนบางนา-ตราด และทางดวนยกระดับ สามารถไปสนามบินสุวรรณภูมิ และ เดินทางเขาเมืองไดอยางรวดเร็ว

ธุรกิจ 2: ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ U

การดําเนินธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ ประกอบไปดวย (1) โรงแรม (2) อาคารสํานักงานใหเชา และ (3) อาคารพักอาศัยใหเชา (1) โรงแรม บริษัทดําเนินธุรกิจโรงแรมระดับ 3-4 ดาว ภายใตแบรนด “U Hotels & Resorts” บริหารโดย บริ ษั ท แอ็ บ โซลู ท โฮเต็ ล เซอร วิ ส จํ า กั ด (AHS) ซึ่ ง เป น บริ ษั ท ร ว มทุ น ระหว า งบริ ษั ท กั บ พั น ธมิ ต รซึ่ ง มี ประสบการณในธุรกิจโรงแรม สําหรับโครงการโรงแรมระดับ 5-6 ดาว บริษัทจะรวมมือกับเครือโรงแรมระดับ สากลในตางประเทศใหเขามาบริหาร เนื่องจากโรงแรมเหลานี้มีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับและมีฐานลูกคาอยูแลว ในอดีตบริษัทไดเคยเปนผูถือหุนในโรงแรมรีเจนท ถนนราชดําริ และโรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม อีกทั้งได เคยประกอบธุรกิจโรงแรมมาแลว ไดแก โรงแรมดิเอ็มเพรส กรุงเทพ ซึ่งปจจุบันคือโรงแรมอิสติน มักกะสัน กรุงเทพ ปจจุบัน มีบริษัทมีโรงแรมภายใตการดําเนินงานจํานวน 2 โรงแรม ไดแก โรงแรมอิสติน เลคไซด และ โรงแรม ยู เชียงใหม ซึ่งเปนโรงแรมแหงแรกในเครือโรงแรม U Hotels & Resorts

สวนที่ 1 หนา 27


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 โรงแรมอิสติน เลคไซด โรงแรมอิสติน เลคไซด ดําเนินการโดย บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด เปนโรงแรมระดับ 3 ดาว ตั้งอยูในบริเวณเมืองทองธานี ใกลศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพค สามารถเดินทางโดยสะดวกดวย ทางดวนขั้นที่ 3 หรือถนนแจงวัฒนะ ดานหนาของโรงแรมมีทิวทัศนที่สวยงามติดกับทะเลสาบขนาดใหญ โรงแรมมีจํานวนหองพัก 143 หอง แตละหองมีจุดเดนแตกตางจากโรงแรมอื่นๆ ทุกหองพักจะประกอบ ไปดวยหองนอน หองนั่งเลน และสวนประกอบอาหาร (ครัว) ทั้งนี้หองพักของโรงแรมมีสิ่งอํานวยความสะดวก ใหแกผูที่มาพักทั้งแบบรายวันและรายเดือน โดยโรงแรมมีหองหลากหลายประเภทตั้งแต 1-3 หองนอน และ หองเพนทเฮาส 2 ชั้น 3 หองนอน นอกจากนี้แลว โรงแรมยังมีการใหบริการหองอาหาร หองสัมมนา หองจัดเลี้ยง หองคาราโอเกะ และมี รถรับสงใหบริการฟรีแกลูกคาระหวางศูนยแสดงสินคาและโรงแรม การตลาดและภาวะการแขงขัน ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย U

ตลาดหลัก คือ ฐานลูกคาธุรกิจจัดงานประชุม งานแสดงสินคาและนิทรรศการนานาชาติ (Meeting, Incentive Convention and Exhibition : MICE) กลุมลูกคาไดแก สวนราชการ บริษัท ผูที่มาชมงานหรือจัด งานที่ศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพค โรงแรม ยู เชียงใหม โรงแรม ยู เชียงใหม เปนโรงแรมแหงแรกในเครือโรงแรม U Hotels & Resorts ของบริษัท โดยเริ่ม เป ด ดํ า เนิ น การเมื่ อ วั น ที่ 1 มิ ถุ น ายน 2551 เป น โรงแรมระดั บ มาตรฐาน 4 ดาว ในรู ป แบบบู ติ ค โฮเต็ ล (Boutique Hotel) กอสรางในรูปแบบสถาปตยกรรมอาคารไทยลานนา ตั้งอยูบนถนนราชดําเนิน ใจกลางเมือง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งใกลกับถนนคนเดิน ‘ถนนราชดําเนิน’ ที่มีชื่อเสียง โรงแรมมีหองพักจํานวน 41 หอง ซึ่ง ตกแตงอยางหรูหราและสะทอนประวัติศาสตรทองถิ่นประกอบกับการออกแบบรวมสมัย จวนเจาเมืองเกาของ เชียงใหมไดรับการปรับปรุงอยางมีศิลปะเพื่อใหบริการที่พักผอนในบรรยากาศสถาปตยกรรมดั้งเดิมของ เชียงใหมและกลิ่นอายการตกแตงแบบไทยรวมสมัยเพื่อใหเขากับสภาพแวดลอมของมรดกอารยธรรม ในการเปนสวนหนึ่งของเครือ U Hotels & Resorts โรงแรม ยู เชียงใหมจึงเนนกลยุทธในดานความ แตกตางในการใหบริการ เพิ่มเติมจากระดับมาตรฐานสากลเชนโรงแรมทั่วไป โดยมีบริการเพิ่มเติมโดยไมคิด คาใชจายเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกลูกคา เชน ลูกคาสามารถใชหองพักไดเต็มเวลา 24 ชั่วโมง โดยลูกคา มีอิสระในการกําหนดเวลาลงทะเบียนเขาและออกที่พักตามความตองการ บริการอาหารมื้อเชาแบบไมจํากัด เวลาและสถานที่ อินเตอรเน็ทไรสาย ไว-ไฟลทั่วบริเวณโรงแรม แตละหองพักสามารถเลือกฟงเพลงไดจากไอพอด (i-pod) ที่ใหบริการในหองพัก ภาพยนตรดีวีดี นอกจากนี้โรงแรมไดตกแตงอาคารอายุกวา 100 ป เพื่อ ใหบริการหองสมุดที่บริการเครื่องคอมพิวเตอร หนังสือและนิตยสารมากมายเกี่ยวกับเรื่องทั่วไปตลอดจน ประวัติศาสตรลานนาและวัฒนธรรมของทองถิ่นไวใหกับลูกคาอีกดวย หองอาหาร Eat & Drink ของโรงแรมใหบริการอาหารตามสั่งแบบไมมีเมนู ในบรรยากาศสบายสบาย ในขณะที่สปา U Spa ที่ใหบริการนวดทั้งแบบไทยและยุโรป สวนการอํานวยความสะดวกดานฟตเนส มี ห อ งยิ ม และสระว า ยน้ํ า นอกจากนี้ ท างโรงแรมยั ง ส ง เสริ ม นโยบายอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม ด ว ยบริ ก ารทั ว ร

สวนที่ 1 หนา 28


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ประวัติศาสตร รายการทัศนาจรโดยการเดินหรือขี่จักรยาน และบริการจักรยานใหลูกคาทุกคนโดยไมคิด คาใชจาย การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน สําหรับโรงแรมในเครือ U Hotels & Resorts จะเปนโรงแรมขนาดเล็กที่มุงเนนความแตกตางในตัว ผลิตภัณฑที่อิงประวัติศาสตรความเปนมาของสถานที่ การออกแบบที่โดดเดนและมีเอกลักษณเฉพาะตัว ควบคูไปกับการใหความสําคัญกับความพึงพอใจของลูกคาและการบริการที่ครบวงจร U

ส ง เสริ ม การตลาดของโรงแรมผ า นเว็ ป ไซด ข องโรงแรม และเว็ ป ไซด รั บ จองโรงแรมต า งๆ อาทิ Asiarooms.com, Zuji.com และ Hotelrooms.com เปนตน การบริการคุณภาพตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกคา เพื่อสงเสริมใหลูกคากลับมาใช บริการอีก ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคาของโรงแรม ประกอบไปดวยกลุมลูกคาชาวไทยและชาวตางประเทศ โดยมาจากประเทศเยอรมนี สหราชอาณาจักร ประเทศแถบสแกนดิเนเวีย และยุโรป ทั้งประเภทนักทองเที่ยวและนักธุรกิจ U

ภาวะอุตสาหกรรม

จํานวนนักทองเที่ยวตางประเทศ 18 16 13.82

14

ลานคน

12 10 8

7.22

7.76

8.58

9.51

10.06

10.80

11.65

11.52

2547

2548

14.46

14.54

2550

2551

14.00

10.00

6 4 2 0 2540

2541

2542

2543

2544

2545

จํานวนนักทองเที่ยว

2546

2549

2552

เปาหมายจํานวนนักทองเที่ยว

ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย จํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศยังคงมีแนวโนมเพิ่มขึ้นแตดวยอัตราการเติบโตที่ลดลง ในป 2551 มีจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ 14.54 ลานคน เพิ่มขึ้นรอยละ 0.55 จากป 2550 และระหวางเดือน มกราคมถึงกุมภาพันธ 2552 นักทองเที่ยวชาวตางชาติที่เดินทางเขามาผานสนามบินสุวรรณภูมิมีจํานวน 1.62 ลานคน ลดลงรอยละ 22.7 จากชวงเดียวกันของป 2551 โดยจํานวนนักทองเที่ยวที่เดินทางเขามา สวนที่ 1 หนา 29


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ประเทศไทยมากที่สุด คือ เอเชียตะวันออก (รอยละ 52.73) ยุโรป (รอยละ 27.22) อเมริกา (รอยละ 6.19) โอเชียเนีย (รอยละ 5.47) เอเชียใต (รอยละ 4.85) ตะวันออกกลาง (รอยละ 3.09) และแอฟริกา (รอยละ 0.81) โดยทุกตลาดมีแนวโนมขยายตัว โดยเฉพาะเวียดนาม ลาว สหรัฐอาหรับเอมิเรต มาเลเซีย นอรเว และรัสเซีย ซึ่งเติบโตกวารอยละ 10 จากป 2550 ปจจัยที่สงผลกระทบตอธุรกิจการทองเที่ยวในป 2551 ไดแก วิกฤตเศรษฐกิจโลก ความยืดเยื้อของ เหตุการณความรุนแรงที่ภาคใต ความไมแนนอนทางการเมือง โดยเฉพาะการประกาศใช พรก.ฉุกเฉิน ใน เดือนกันยายน การปดสนามบินสุวรรณภูมิและสนามบินดอนเมืองระหวางปลายเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ซึ่งเปนฤดูการทองเที่ยว เหตุการณเหลานี้ตางสงผลกระทบตอภาพลักษณของประเทศ อยางไรก็ตามจํานวน นักทองเที่ยวชาวตางชาติที่สูงในชวงเดือนมกราคมถึงมีนาคม ป 2551 การจัดกิจกรรมกระตุนตลาดชวงนอก เทศกาลของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) และความรวมมือของกระทรวงตางประเทศ ตลอดจน องคกรและสวนงานที่เกี่ยวของซึ่งชวยประชาสัมพันธเรื่องความปลอดภัยของนักทองเที่ยวในประเทศไทยได รับทราบไดชวยลดผลกระทบลง ททท. ตั้งเปาจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติป 2552 ที่จํานวน 14.00 ลานคน และยอดรายได 505 พันลานบาท สวนการทองเที่ยวภายในประเทศ ททท. ตั้งเปาจํานวนนักทองเที่ยวชาวไทยที่จํานวน 87.00 ลานคน และยอดรายไดที่ 407.90 พันลานบาท ทั้งนี้เพื่อเปนการกระตุนการทองเที่ยว คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติ งบประมาณในการจัดโรดโชว และกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธภาพลักษณของประเทศไทย โดยมุงเนนสงเสริม (1) ประเทศไทยเปนศูนยกลางการจัดการประชุมและสัมมนา (MICE) ของภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (2) ตลาด การทองเที่ยวกอลฟ ดําน้ํา และเพื่อสุขภาพ (3) ตลาดหลัก เชน จีน ญี่ปุน รัสเซีย และ สหรัฐอาหรับเอมิเรต (4) ตลาดรอง เชน เกาหลีใต ยุโรป ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด นอกจากนี้ รัฐบาลยังออกมาตรการงด คาธรรมเนียมการขอวีซาสําหรับ 42 ประเทศ ตั้งแตเดือน มีนาคม 2552 เปนตนไปเปนเวลา 3 เดือน อีกทั้ง รวมมือกับบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ในการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมอุตสาหกรรมการืชทองเที่ยวไทย ภายใตแนวคิด “ Amazing Thailand Amazing Value” และกระตุนจํานวนนักทองเที่ยว ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ แผนการฟนฟูการทองเที่ยว สวนการทองเที่ยวภายในประเทศ คณะรัฐมนตรีไดอนุมัตินโยบายการลดหยอน ภาษี ใ หม สํ า หรั บ บริ ษั ท จากรายได ใ นการจั ด สั ม มนาเกี่ ย วกั บ การท อ งเที่ ย ว โดยมาตรการดั ง กล า วมี วัตถุประสงคเพื่อกระตุนธุรกิจการโรงแรมและบริษัททองเที่ยว จากผลการสํารวจระดับสากล ประเทศไทยยังคงเปนหนึ่งในแหลงทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมสูงสุด โดยในป 2551 Country Brand Index (CBI) จัดใหประไทยเปนอันดับหนึ่งดานความคุมคากับราคาที่จาย (value for money) เปนปที่ 3 ติดตอกัน ดาน New Post Office Holiday Costs Barometer สําหรับ นักทองเที่ยวระยะไกล 15 ประเทศ เปดเผยวาประเทศไทยเปนผูนําในดานแหลงทองเที่ยวราคายอมเยา โดย ค า ใช จ า ยต่ํ า สํ า หรั บ นั ก ท อ งเที่ ย วชาวอั ง กฤษ เมื่ อ เที ย บกั บ แหล ง ท อ งเที่ ย วชั้ น นํ า 5 ประเทศในยุ โ รป นอกจากนี้ ก รุ ง เทพมหานครยั งได รั บ เลื อ กให เป น เมื อ งธุ ร กิจ ระหว า งประเทศดี เ ด น ประจํ า ป 2551 โดย CondeNest Traveler ของสหรัฐอเมริกา และไดรับเลือกใหเปนเมืองทองเที่ยวที่ดีที่สุดของโลกของป 2552 โดย Norwegian Grand Travel Award และ Swedish Grand Travel Award และลาสุดไดรับรางวัล The 2009 Travelers’s Choice จาก เว็ปไซด TripAdivisor-branded ดานองคการเดินทางและทองเที่ยวโลก (World Travel & Tourism Council : WTTC) ไดประเมินผล กระทบทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมการเดินทางและทองเที่ยวของประเทศไทยวาในป 2552 ประเทศไทย จะมีสวนแบงทางการตลาดรอยละ 24.43 ของตลาดการทองเที่ยวของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในดาน

สวนที่ 1 หนา 30


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 จํานวนนักทองเที่ยว ซึ่งคิดเปนอัตราเติบโตลดลงรอยละ 4.4 โดย WTTC ไดประมาณการรายไดจากการ ทองเที่ยวในแขนงตางๆ ดังนี้ รายงานวิจัยการเดินทางและทองเที่ยวของประเทศไทยโดย WTTC หนวย : ลานลานบาท การเดินทาง & ทองเที่ยว สวนตัว การเดินทาง & ทองเที่ยวเพื่อ ธุรกิจ บริษัทเอกชน รัฐบาล คาใชจายภาครัฐ -รายบุคคล รายไดการสงออก จากนักทองเที่ยว การบริโภคดานการเดินทาง & ทองเที่ยว คาใชจายภาครัฐ – รวม การลงทุน การสงออกอื่นๆ อุปสงคการเดินทาง & ทองเที่ยว อุตสาหกรรมการเดินทาง & ทองเที่ยว ผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศ เศรษฐกิจการเดินทาง & ทองเที่ยว ผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศ E – ประมาณการณ; F-คาดการณ

2547 404.3

2548 418.3

2549 470.2

2550 486.2

2551E 531.6

2552F 507.5

2562F 1,325.5

144.4

154.5

154.7

163.8

171.6

155.5

356.3

132.2 12.1 5.8 525.1

140.6 13.8 6.9 486.7

141.0 13.7 7.6 629.4

149.0 14.8 8.5 711.9

157.5 14.1 8.7 722.7

142.5 13.0 9.0 692.2

327.8 28.4 18.0 1,707.1

1,079.6

1,066.4

1,261.9

1,370.4

1,434.7

1,364.2

3,406.9

13.4 148.4 122.7 1,364.1

15.8 201.8 145.9 1,430.0

17.4 209.7 165.7 1,654.8

19.6 200.4 175.6 1,766.1

20.0 225.7 193.7 1,874.0

20.6 188.6 190.4 1,763.7

41.3 521.4 554.8 4,524.4

458.9

435.8

527.5

588.4

598.1

575.9

1,332.9

1,020.3

1,034.2

1,219.6

1,328.2

1,375.3

1,309.2

3,153.5

ที่มา: Travel & Tourism Economic Impact 2009-Thailand, World Travel & Tourism Council

การทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร 12

2.01

1.97

2.02 1.83

1.5

6

2.46

3.20

1.0

3.47

2.96

0.0

0 2548 นักทองเที่ยวตางชาติ

2549 นักทองเที่ยวไทย

2550

80% 70% 60%

40,000

50% 30,000

40% 30%

20,000 0.5

2

2547

90%

50,000

1.81 7.00

2.87

100%

60,000

2.0

วัน

ลานคน

8

4

70,000

9.85

จํานวนหองพัก (หอง)

10

2.5

10.67

10.52

9.91

20%

10,000

10%

0

ม.ค.-ก.ย. 2551

0% 2547

ระยะเวลาพํานัก

ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย และ สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว

2548

2549 จํานวนหองพัก

2550

ม.ค.-ก.ย. 2551

อัตราการเขาพัก

ในป 2551 จํ า นวนนั ก ท อ งเที่ ย วที่ เ ข า พั ก ในที่ พั ก ต า งๆ ในกรุ ง เทพฯ มี จํ า นวนลดลงเนื่ อ งจาก เหตุการณความไมสงบทางการเมือง และการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ถึงแมจะยังไมมีการรายงานตัวเลขของ สวนที่ 1 หนา 31


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ไตรมาส 4 แตมีการคาดการณวาจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติจะลดลงซึ่งเปนผลมาจากการปดสนามบิน อยางไรก็ตามจํานวนหองพัก และระยะเวลาพักยังคงมีแนวโนมสูงขึ้นถึงแมวาอัตราการเขาพักจะลดลง สําหรับ ป 2552 คาดว า การแข ง ขั น จะรุ น แรงเนื่ อ งจากมี ห อ งพั ก จํ า นวนมากที่ จ ะเป ด ให บ ริ ก าร ศู น ย ข อ มู ล อสังหาริมทรัพย ประมาณการณการออกใบอนุญาตกอสรางโรงแรมใหมป 2551 จํานวน 39 อาคาร เพิ่มขึ้น จากจํานวน 12 อาคารในป 2550 ในขณะที่มีการคาดการณวาจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติจะลดลงเนื่องจาก สถานการณเศรษฐกิจที่ถดถอยของประเทศเศรษฐกิจหลักซึ่งเปนสัดสวนสําคัญของนักทองเที่ยวเพื่อการ ทองเที่ยวสวนตัวและธุรกิจ ภาคการทองเที่ยวจึงตองมุงเนนการทองเที่ยวภายในประเทศ และการสนับสนุน จากรัฐบาลในการกระตุนภาคธุรกิจ การทองเที่ยวจังหวัดเชียงใหม 2.0 1.62

1.61

1.6 1.4

1.33

1.36

1.68

1.75

1.66 1.41

1.80

22,493 18,820

20,000

2.0

1.06

1.17

1.0 0.8

1.5

1.0

15,000

70%

14,103

60% 50%

10,000

50.50%

46.83%

47.88% 42.02%

0.6 0.4

80%

16,673

1.84

1.92

100% 90%

20,816

วัน

ลานคน

1.2

25,000

2.5 1.72 1.69

จํานวนหองพัก (หอง)

1.8

0.5

5,000

0.0

0

40% 36.96%

30% 20%

0.2

10%

0.0 2547

2548 นักทองเที่ยวตางชาติ

2549 นักทองเที่ยวไทย

2550

ม.ค.-ก.ย. 2551

0% 2547

ระยะเวลาพํานัก

2548

2549 จํานวนหองพัก

2550 อัตราการเขาพัก

ม.ค.-ก.ย. 2551

ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย และ สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว การแขงขันในธุรกิจการโรงแรมที่เชียงใหมยังคงรุนแรง โดยเฉพาะอยางยิ่งในป 2551 เมื่อที่พักตางๆ ตองประสบกับการลดลงของจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติเนื่องจากเหตุการณความไมสงบทางการเมือง การชะลอตัวของเศรษฐกิจ และการปดสนามบิน ถึงแมเชียงใหมจะมีสนามบินนานาชาติของตัวเองก็ตาม แมวาจํานวนนักทองเที่ยวและระยะเวลาพํานักเฉลี่ยจะลดลง แตจํานวนหองพักยังคงเพิ่มสูงขึ้น สงผลใหอัตรา การเขา พักลดลง อยางไรก็ ต าม เมื องหลวงของภาคเหนือยังคงเปนเมืองทองเที่ยวยอดนิย มสํา หรับ การ ทองเที่ยวไทย โดยเริ่มมีจํานวนนักทองเที่ยวไทยคิดเปนสัดสวนมากกวาชาวตางชาติ ทั้งนี้คาดวาสภาวะการ แข ง ขั น ในป 2552 จะรุ น แรงขึ้ น ด ว ยจํ า นวนห อ งพั ก ยั ง คงเพิ่ ม ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ ง ถึ ง แม ศู น ย ข อ มู ล อสังหาริมทรัพย ประมาณการการออกใบอนุญาตกอสรางโรงแรมกอสรางใหมป 2551 จํานวน 42 อาคาร ลดลงจากจํานวน 137 อาคารในป 2550 แตดวยจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่คาดวาจะลดลง และการชะลอ การกอสรางศูนยแสดงสินคาและการประชุมนานาชาติเชียงใหม เพื่อสงเสริมตลาดการจัดประชุม งานแสดง สินคาและนิทรรศการนานาชาติ (MICE) ดังนั้นการทองเที่ยวภายในประเทศจะมีความสําคัญในการกระตุน ธุรกิจการทองเที่ยวของแหลงทองเที่ยวตางๆในเมืองเชียงใหม (2) อาคารสํานักงาน ทีเอสทีทาวเวอร ดําเนินการโดย บริษัท ดีแนล จํากัด อาคารตั้งอยูบนถนนวิภาวดี-รังสิต ฝงตรงขาม อาคารสํานักงานใหญการบินไทย เปนอาคารสูง 24 ชั้น มีพื้นที่ใหเชาทั้งหมดประมาณ 15,875.5 ตารางเมตร อาคารประกอบไปดวยสวนสํานักงาน 15 ชั้น และพื้นที่จอดรถ 8 ชั้น สําหรับรถยนตจํานวน 267 คัน ปจจุบัน มีจํานวนผูเชาคิดเปนอัตราการเชารอยละ 99 มีอัตราคาเชาเฉลี่ย 375 บาท/เดือน/ตารางเมตร ผูเชาสวนใหญ เปนองคกรขนาดกลางถึงใหญและเปน สัญญาเชาระยะยาว โดยมีลูก คา ที่สําคัญไดแก สํานั กงานสงเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) ธนาคารยูโอบี จํากัด (มหาชน) สาขาวิภาวดีรังสิต 9 มหาวิทยาลัย รังสิตศูนยศึกษาวิภาวดี เปนตน สวนที่ 1 หนา 32


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ทีเอสทีทาวเวอร เปนสวนหนึ่งของสินทรัพยหลักประกัน ตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่งศาลลมละลายกลาง ไดมีคําสั่งใหประมูลสินทรัพยดังกลาว โดยรายไดจากการประมูลจะจัดสรรใหเจาหนี้ตามสัดสวนหนี้ ทั้งนี้ บริษัทไดทําการประมูลขายทรัพยและไดผูชนะการประมูลแลว เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552 การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน เนนการบริการและความพึงพอใจของลูกคาเปนหลัก U

ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคาผูเชาอาคารสํานักงานจะเปนบริษัทหรือองคกรที่ตองการสถานที่ตั้งสํานักงานที่เดินทางสะดวก ยานถนนวิภาวดี-รังสิต มีความสะดวกสบายในการคมนาคม ทั้งทางรถยนต รถไฟฟา BTS และรถไฟฟาใตดิน MRT U

ภาวะอุตสาหกรรม การถดถอยของเศรษฐกิจโลกสงผลใหบริษัทขามชาติและบริษัทไทยหลายแหงปรับลดแผนการขยาย งาน และปญหาทางการเมืองที่ยังคงมีตอเนื่องในป 2551 กระทบตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนตางชาติในการ เขามาลงทุนในประเทศไทย จึงสงผลกระทบตอธุรกิจใหเชาสํานักงานโดยตรง อุปสงคโดยรวมในป 2551 ลดลง โดยการเขาเชาพื้นที่สุทธิปรับตัวลงลดถึงรอยละ 37.1 จากปกอน ซึ่งเปนผลมาจากการที่ศาลปกครอง ไดยายสํานักงานไปอยูที่ศูนยราชการ สวนพื้นที่ใหเชาเพิ่มขึ้นเปน 7.80 ลานตารางเมตร เพิ่มขึ้นรอยละ 3.31 จากสิ้นป 2550

อัตราคาเชาอาคารสํานักงาน ประเภท ต.ค. - ธ.ค. 2550 เกรดเอ ใน CBD 739 บาท/ตร.ม. เกรดบี ใน CBD 567 บาท/ตร.ม. เกรดเอ นอก CBD 592 บาท/ตร.ม. เกรดบี นอก CBD 440 บาท/ตร.ม. ที่มา: CB Richard Ellis

ต.ค. - ธ.ค. 2551 743 บาท/ตร.ม. 584 บาท/ตร.ม. 600 บาท/ตร.ม. 446 บาท/ตร.ม.

เปลี่ยนแปลง (รอยละ) +0.54 +3.00 +1.35 +1.36

ถึงแมจะมีปจจัยลบหลากหลายปจจัยในป 2551 แตอัตราคาเชาเฉลี่ยของอาคารสํานักงานในกรุงเทพฯ มีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กนอย ยกเวนอาคารสํานักงานเกรดบี ในเขตศูนยกลางธุรกิจ (Central Business District : CBD) ซึ่งปรับตัวสูงขึ้นกวารอยละ 3.0 เพราะมีอุปทานจํากัด เนื่องจากอาคารสํานักงานใหมใน CBD เปน อาคารสํา นั กงานเกรดเอ ซึ่งมีอัต ราคาเชา สูงทํ า ใหผูเชา มีอํา นาจตอ รองมากขึ้น ทั้งนี้พื้น ที่ ใ นอาคาร สํานักงานเกรดบี ในเขต CBD ไดรับความสนใจเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีอัตราคาเชาที่ต่ํากวา แตมีที่ตั้งที่เปนจุดขาย เหมือนกัน อยางไรก็ตาม ตลาดอาคารสํานักงานในกรุงเทพฯ มีอัตราการวางของพื้นที่เพิ่มขึ้นจากรอยละ 1.1 เปน 13.5 โดยเฉพาะพื้นที่ในอาคารสํานักงานเกรดเอในเขต CBD ซึ่งมีอัตราการวางของพื้นที่สูงถึงรอยละ 16.7 เพิ่มขึ้นรอยละ 8.2 จาก ณ สิ้นป 2550 แนวโนมป 2552 คาดวาอัตราการวางของพื้นที่จะยังคงเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากจะมีอาคารสํานักงานสราง เสร็จเพิ่มขึ้น แตความตองการลดลง ดังนั้นการแขงขันจึงอยูในระดับสูง

สวนที่ 1 หนา 33


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 เนื่องจากทีเอสทีทาวเวอรเปนอาคารสํานักงานเกรดบี ซึ่งผูเชาสวนใหญเปนบริษัทของคนไทยที่มี ความมั่นคง หรือเปนองคกรที่มีสัญญาเชาระยะยาว และทีเอสทีทาวเวอรมีอัตราการเชาถึงรอยละ 96 จึงไมได รับผลกระทบจากปญหาการเมืองและภาวะถดถอยของเศรษฐกิจมากนัก (3) อาคารพักอาศัย รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ กรรมสิทธิ์ในที่ดิน รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวยที่ขายแลว จํานวนหนวยคงเหลือเพื่อใหเชา พื้นที่ที่เหลือใหเชา คาเชา/คาหองพัก ตอหนวย

โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ติดสถานีรถไฟฟาราชดําริ สํานักงานพระคลังขางที่ อาคารชุด สูง 26 ชั้น 315 หนวย 56 หนวย 4,675.85 ตารางเมตร 416 บาท/เดือน/ตารางเมตร

โครงการเดอะแกรนด ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ติดสถานีรถไฟฟาราชดําริ สํานักงานพระคลังขางที่ อาคารชุด สูง 25 ชั้น 312 หนวย 26 หนวย 1,616 ตารางเมตร 426 บาท/เดือน/ตารางเมตร

โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 และโครงการเดอะแกรนดเปนโครงการที่บริษัทไดสรางหองพักอาศัยเพื่อ ขายสิทธิการเชามีระยะเวลา 30 ป โดยเปดขายโครงการในป 2536 ในปจจุบัน บริษัทไดเสร็จสิ้นการขายแลว คงเหลือแตหองพักอาศัยตกแตงพรอมเฟอรนิเจอรใหเชาระยะสั้น 1 ป หรือนานกวา โดยทั้ง 2 โครงการมี หองพักหลายขนาดทั้งแบบหองสตูดิโอ หองขนาด 1 หองนอน และ 2 หองนอน แตในปจจุบันเหลือเพียงแบบ 1 ห อ งนอน สํ า หรั บ บริ ก ารเสริ ม แต ล ะโครงการมี ส ระว า ยน้ํ า และห อ งออกกํ า ลั ง กายสํ า หรั บ ผู อ ยู อ าศั ย นอกจากนี้ยังมีพื้นที่พาณิชยใหเชาบริเวณดานลาง ระยะเวลาการเชา 3 ป และสามารถตอสัญญาได โดย บริษัทมีการคัดเลือกผูเชาพื้นที่อยางระมัดระวัง เพื่อความสงบสุขและความสะดวกของผูอยูอาศัย และเพื่อ สภาพแวดลอมที่ดีของโครงการ ซึ่งทั้ง 2 โครงการตั้งอยูในซอยมหาดเล็กหลวง 2 ทําเลอยูใจกลางเมือง สะดวกตอการเดินทางเนื่องจากใกลสถานีรถไฟฟา BTS ราชดําริ การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน โครงการตั้งอยูในทําเลที่ดีที่สุดแหงหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีการเดินทางที่สะดวกสบาย และมีขนาด หองพักที่เหมาะสม ทําใหสามารถแขงขันดานราคาได U

ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคาโครงการอาคารพักอาศัย เนนกลุมลูกคาประเภทบริษัทที่มีแผนจะเชาที่พักอาศัยสําหรับผูบริหาร ตางชาติ หรือแขกของบริษัท ตลอดจนลูกคาชาวไทยและชาวตางประเทศที่มีรายไดปานกลางถึงคอนขางสูง ซึ่งมีวัตถุประสงคในการเชาเพื่อเปนที่อยูอาศัยใจกลางเมือง และตองการที่พักที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบ ครัน U

ภาวะอุตสาหกรรม

ตลาดเชาอาคารที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ มีการแขงขันอยางรุนแรง โดยเฉพาะอยางยิ่งบนถนนราชดําริ เนื่องจากมีอาคารที่พักอาศัยใหเชา เซอรวิสอพารทเมนท โครงการคอนโดมิเนียม จํานวนมากซึ่งตั้งอยูบน

สวนที่ 1 หนา 34


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ถนนราชดําริ และบริเวณใกลเคียง หรือตามเสนทางรถไฟฟา BTS ทั้งนี้มีจํานวนหองพักประมาณ 11,000 หนวย ซึ่งอยูในบริเวณใจกลางกรุงเทพฯ ณ สิ้นป 2551 อยางไรก็ตามอัตราการเชายังคงอยูที่ระดับสูงที่ ประมาณรอยละ 90 อัตราคาเชาอาคารพักอาศัย โซน สีลม/สาทร สุขุมวิท ริมแมน้ํา/พระราม3 ยานใจกลางลุมพินี

ต.ค. - ธ.ค. 2550 432 บาท/ตร.ม. 420 บาท/ตร.ม. 321 บาท/ตร.ม. 373 บาท/ตร.ม.

ต.ค. - ธ.ค. 2551 461 บาท/ตร.ม. 421 บาท/ตร.ม. 405 บาท/ตร.ม. 399 บาท/ตร.ม.

เปลี่ยนแปลง (รอยละ) +6.71 +0.24 +26.17 +6.97

พื้นที่ ถนน สีลม สาทร ราชดําริ สุรวงศ นราธิวาส-ราชนครินทร (ฝงเหนือของถนนจันทร) และซอยตางๆ ระหวางนั้น สุขุมวิท ถนนสุขุมวิท ตั้งแตซอย 1-65 ซอย 2-44 และซอยอื่นๆ ระหวางนั้น ริมแมน้ํา/พระราม 3 ถนนเจริญกรุง เจริญนคร พระราม 3 นราธิวาส-ราชนครินทร (ฝงใตของถนนจันทร) และซอยเชื่อมตอตางๆ ยานใจกลางลุมพินี ถนนวิทยุ เพลินจิต ราชดําริ ชิดลม หลังสวน สารสิน รวมฤดี และซอยตางๆ ระหวาง นั้น ที่มา: CB Richard Ellis โซน สีลม/สาทร

ถึงแมอัตราคาเชาจะปรับตัวสูงขึ้นจาก ณ สิ้นป 2550 แตอัตราคาเชาไดมีการปรับตัวลดลงในชวงเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2551 และคาดวาอัตราคาเชาจะยังคงปรับตัวลดลงในป 2552 เนื่องจากบริษัทตางๆ มีการ ปรับลดคาใชจาย และงบประมาณคาเชาที่พักสําหรับผูบริหารนับเปนสวนคาใชจายหลักที่มีการพิจารณาปรับ ลด ผูเชาสวนมากเปนพนักงานเงินเดือนประจําซึ่งมีความเปนไปไดที่จะถูกปรับลดเงินเดือนหรือผลประโยชน ตางๆ ดังนั้นราคาจึงเปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจ นอกจากนี้ยังมีโครงการคอนโดมิเนียมหลายแหงที่มี กําหนดสรางเสร็จในป 2552 และจํานวนหองพักสวนใหญจะเพิ่มอุปทานในตลาดเชาอาคารที่พักอาศัย ดวย จํานวนหองพักที่มากขึ้น และความตองการที่ลดลง ทําใหแนวโนมตลาดเชาอาคารที่พักอาศัยยังคงมีการ แขงขันสูงทั้งในดานราคา ที่ตั้ง และสภาพแวดลอมของอาคาร อยางไรก็ตาม โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 และ โครงการเดอะแกรนดตางตั้งอยูในทําเลที่ดี มีความไดเปรียบในการแขงขันดานราคาเทียบกับอัตราคาเชาของ ตลาด

สวนที่ 1 หนา 35


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ธุรกิจ 3: งานบริหารโครงการ U

โครงการบานเอื้ออาทร รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ

กรรมสิทธิ์ในที่ดิน พื้นที่ทั้งหมด รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย มูลคาโครงการ

บานเอื้ออาทร ชลบุรี (นาจอมเทียน) ถนนสุขุมวิท (ทล.3) กม. 155-156

บานเอื้ออาทร ประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) ถนนเพชรเกษม (ทล.4) กม. 242-243

การเคหะแหงชาติ 154-0-59.6 ไร อาคารชุดพักอาศัย สูง 3 ชั้น 4,598 หนวย 1,931.2 ลานบาท

การเคหะแหงชาติ 22-0-17.5 ไร อาคารชุดพักอาศัย สูง 4 ชั้น 1,008 หนวย 423.4 ลานบาท

บานเอื้ออาทร สระบุรี (โคกแย) ถนนพหลโยธิน กม. 91-92 (ในนิคม อุตสาหกรรม หนองแค) การเคหะแหงชาติ 72-1-98.2 ไร อาคารชุดพักอาศัย สูง 3 ชั้น 2,442 หนวย 1,025.6 ลานบาท

ในป 2549 บริษัทไดรับคัดเลือกจากการเคหะแหงชาติใหเปนผูรวมดําเนินการจัดทําโครงการบานเอื้อ อาทร จํานวน 20,000 หนวย ในปจจุบันจํานวนหนวยที่บริษัทไดรับอนุมัติใหดําเนินการสรางบานเอื้ออาทร ลดลงจากจํานวน 9,584 หนวย เหลือจํานวน 8,048 หนวย จากทั้งหมด 20,000 หนวย เนื่องจากในป 2551 การเคหะแหงชาติไดยกเลิกโครงการที่บางบอ ทั้งนี้บริษัทมีกําหนดสงมอบงานที่สรางเสร็จสมบูรณจํานวน 4,216 หนวย ภายในเดือนกันยายน 2552 โครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน งานบริหารโครงการโรงแรมระดับ 4 ดาว สูง 32 ชั้น จํานวนหองพัก 437 หอง ในลักษณะ Turn Key (สัญ ญาจ างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ ) โดยขอบเขตการใหบริก ารคลอบคลุม ตั้งแต การออกแบบ การกอสรา ง ตลอดจนการจัดหาผูบริหารงานโรงแรมภายหลังโรงแรมกอสรางเสร็จ โครงการตั้งอยูในศูนยกลางธุรกิจบน ถนนสาทร ใกลสถานีรถไฟฟาสุรศักดิ์ มูลคาโครงการประมาณ 2,200 ลานบาท โดยคาดวาจะกอสรางแลว เสร็จในป 2554

การตลาดและภาวะการแขงขัน

กลยุทธในการแขงขัน U

บริษัทมีประสบการณในการพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่ยาวนาน และมีพันธมิตรธุรกิจที่มีประสบการณใน ธุรกิจโรงแรม คุณสมบัติดังกลาวทําใหบริษัทไดเปรียบในการแขงขันประมูลงานเพื่อบริหารโครงการใหแก ลูกคา ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย U

กลุ ม เป า หมาย ประกอบด ว ยบริ ษั ท เอกชน และหน ว ยงานรั ฐ บาลซึ่ ง มี แ ผนจะพั ฒ นาโครงการ อสังหาริมทรัพยหรือโรงแรม

สวนที่ 1 หนา 36


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ภาวะอุตสาหกรรม

ธุรกิจรับจางบริหารโครงการมีการแขงขันคอนขางสูง เนื่องจากมีบริษัทจํานวนมากที่ใหบริการบริหาร โครงการ ในปจจุบันมีบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย และบริษัทรับเหมากอสราง ตลอดจนเครือโรงแรมที่มี ชื่อเสียงทั้งของไทยและตางชาติ ที่ใหบริการบริหารแบบมืออาชีพ หรือบริการที่ปรึกษาในธุรกิจที่มีความ เชี่ย วชาญ ดังนั้ นบริษัทจึงต องแข งขั น กับทั้งบริษัทพัฒนาอสัง หาริม ทรัพย บริษัทรับ เหมากอสร า ง เครือ โรงแรม และบริษัทที่ปรึกษาอิสระตางๆ อยางไรก็ตามบริษัทมีขอไดเปรียบเนื่องจากบริษัทมีประสบการณและ มีพันธมิตรที่มีประสบการณในทุกดานของการบริหารโครงการ ทําใหบริษัทสามารถใหบริการบริหารโครงการ แบบครบวงจรใหกับลูกคาได

การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ

การจัดหาที่ดิน สําหรับโครงการบานเอื้ออาทร ปจจัยหลักในการพิจารณาจัดซื้อที่ดิน คือ การเลือกที่ดินที่มีศักยภาพ สอดคลองกับนโยบายทางการตลาดของแตละโครงการ โดยมีฝายพัฒนาธุรกิจเปนหนวยงานพิจารณาเลือก ทําเลที่ตั้งที่เหมาะสม และเสนอใหผูบริหารระดับสูงของบริษัทพิจารณาในระดับตอไป U

สําหรับโครงการโรงแรม บริษัทไมตองพิจารณาจัดซื้อที่ดิน เนื่องจากเจาของโครงการมีที่ดินอยูแลว แต บริษัทยังตองทําการศึกษาความเปนไปไดเพื่อพิจารณาธุรกิจที่เหมาะสมกับที่ดินแปลงดังกลาว การจัดหาผูรับเหมากอสรางและวัสดุกอสราง บริษัทจะเปนผูพิจารณาคัดเลือกผูรับเหมากอสรางที่มีประสบการณและคุณสมบัติเหมาะสมกับแตละ โครงการ นอกจากนี้ บริษัทไดรวมทุนกับ บริษัท ฮิบเฮง โอเวอรซี จํากัด ซึ่งเปนบริษัทที่เชี่ยวชาญดานการ กอสรางจากฮองกงซึ่งมีประสบการณในการกอสรางโครงการขนาดใหญในตางประเทศและมีความรูและ เทคโนโลยีการกอสรางเปนอยางดี ในการจัดตั้ง บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อ สงเสริมการประกอบธุรกิจหลักและเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานในหลายๆดานของบริษัท ในป 2550 บริษัทเซ็นสัญญารับบริหารโครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน ที่สุรศักดิ์ มูลคาโครงการ ประมาณ 2,200 ลานบาท โดยบริษัทไดวาจาง บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด ใหเปนผู กอสราง โดยคาดวาจะกอสรางแลวเสร็จในป 2554 U

การจัดหาที่ปรึกษาการออกแบบกอสราง บริษัทมีฝายพัฒนาโครงการ ซึ่งมีสถาปนิกและวิศวกรที่มีประสบการณในการทํางาน ทําหนาที่คัดเลือก ที่ปรึกษาและผูออกแบบโครงการตามความเหมาะสมของแตละโครงการ U

การจัดหาผูบริหารงานโรงแรม สําหรับโรงแรมระดับ 5-6 ดาวนั้น บริษัทจะพิจารณาคัดเลือกเครือขายโรงแรมระดับโลกที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมกับแตละโครงการมาบริหารงาน สําหรับโรงแรมระดับ 3-4 ดาว บริษัทจะใหเครือโรงแรม U Hotels & Resorts มาบริหาร หรืออาจพิจารณาคัดเลือกเครือขายโรงแรมระดับโลกที่มีคุณสมบัติเหมาะสมมาบริหาร ตามความเหมาะสม U

สวนที่ 1 หนา 37


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

การวิจัยและพัฒนา ประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ.11/2552 เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการ รายงานการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย ไดยกเลิก หัวขอนี้


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 5.1 ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจ ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจ ไดแก ที่ดินเปลา ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง และอาคารที่สรางไวเพื่อขายและใหเชาในโครงการตางๆ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (1)

รายละเอียดโครงการที่ดําเนินการอยู ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด

(1.1) โครงการเพื่อขาย จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. โครงการธนาซิตี้ ถนนบางนา – ตราด กม.14 1.1 ทาวนเฮาสริมน้ําและริมสวน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.2 ที่ดินเปลา ไพรมแลนด โซน เอ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.3 ที่ดินเปลา ไพรมแลนด โซนบี,ซี และดี ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.4 นูเวลคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.5 เพรสทีจเฮาส II ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.6 เพรสทีจเฮาส III ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.7 ทาวนเฮาสฮาบิแทต ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.8 แคลิฟอรเนียน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.9 เพรสทีจคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

จํานวน

18 หลัง 2 แปลง 32 แปลง 129 หองชุด 43 แปลง 84 แปลง 16 แปลง 31 แปลง 2 หองชุด

ไร

2 35 23 30 22 1 7

งาน

ตารางวา

15 2 19 60.50 14,813.43 ตารางเมตร 3 90 1 82.40 3 68.80 2 70.30 856.36 ตารางเมตร

สวนที่ 1 หนา 38

ราคาประเมิน (ลานบาท)

วันที่ทําการ ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52

52.95 213.28 241.88 299.94 346.92 210.27 31.69 79.83 14.99

14 ก.พ.50 31 ม.ค.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50

19.67 118.57 77.22 283.92 106.16 74.56 14.79 25.60 10.28

ภาระผูกพัน

-


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

จํานวนที่ดิน รายละเอียด ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 2. โครงการธนาเพลสกิ่งแกว 2.1 ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง 2.2 คอนโดมิเนียม 3. ที่ดินเปลาในธนาซิตี้ 3.1 ที่ดินแปลงใหญ ฮาบิแทต 3.2 ที่ดินตรงขามเพรสทีจคอนโดมิเนียม (ใกลศาลพระพรหม) 3.3 ที่ดินตรงขาม เพรสทีจเฮาส I 3.4 ขางที่ดิน ไพรมแลนด โซนบี 4. ที่ดินเปลานอกโครงการธนาซิตี้ 4.1 ที่ดินเปลา #35258 ซอยทางเดินเลียบคลองลาดกระบัง 5. โครงการธนาเพลสลาดพราว 5.1 อาคารพาณิชย 1 คูหา

ที่ตั้ง

จํานวน

ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

104 แปลง 136 หองชุด

19

ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

1 แปลง 1 แปลง

9 4

3

ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

1 แปลง 1 แปลง

3 11

ตําบลราชาเทวะ อําเภอบางพลี (บางพลีใหญ) จังหวัดสมุทรปราการ

1 แปลง

ซ.ลาดพราว 71 แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กทม.

1 คูหา

ไร

งาน

ราคาประเมิน ตารางวา

ราคาตาม บัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52

ภาระผูกพัน

(ลานบาท)

วันที่ทําการประเมิน

150.67 86.06

31 ม.ค.50 31 ม.ค.50

101.91 90.41

-

53 44

51.14 33.05

31 ม.ค.50 31 ม.ค.50

30.46 16.21

-

3

38 34

21.05 85.21

31 ม.ค.50 31 ม.ค.50

10.32 39.47

-

10

2

6

7.99

31 ม.ค.50

7.99

-

-

-

35

3.2

5 ก.พ.50

0.85

-

1 24.28 8,108.88 ตารางเมตร

สวนที่ 1 หนา 39


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 (1.2) โครงการเพื่อใหเชา จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

-

-

ราคาประเมิน ตาราง เมตร

(ลานบาท)

วันที่ทําการประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52

ภาระผูกพัน

1. โครงการธนาซิตี้ ถนนบางนา – ตราด กม. 14 (เพื่อใหเชา) 1.1 นูเวลคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 2 หองชุด -195.64 3.52 14 ก.พ.50 3.60 2. อาคารพักอาศัยโครงการเดอะรอยัลเพลส และเดอะแกรนด (เพื่อใหเชา) 2.1 เดอะรอยัลเพลส 1* ซ.มหาดเล็กหลวง2 ถ.ราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 2.1 เดอะรอยัลเพลส 2* ซ.มหาดเล็กหลวง2 ถ.ราชดําริ 56 หองชุด 4,675.85 147.73 8 ก.พ.50 142.03 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 2.2 เดอะแกรนด* ซ.มหาดเล็กหลวง2 ถ.ราชดําริ 26 หองชุด 1,616 52.57 8 ก.พ.50 50.11 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. *ที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งของเดอะรอยัลเพลส 1 & 2 และ เดอะแกรนด เปนที่ดินเชาสัญญาเชาระยะยาวกับสํานักงานพระคลังขางที่ โดยสัญญาเชาที่เดอะรอยัลเพลส 1 จะหมดสัญญา ณ 30 มิถุนายน 2570 สวนเดอะรอยัล เพลส 2 และเดอะแกรนดจะหมดสัญญา ณ 30 พฤศจิกายน 2570

-

(1.3) ธุรกิจโรงแรม จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

ไร

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ ของบริษัทยอยและบริษัทรวม 1. โรงแรม ยู เชียงใหม ถ.ราชดําเนิน ต.ศรีภูมิ อ. เมือง 1 (กรรมสิทธของ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส) ** จ. เชียงใหม 2. โรงแรมอิสติน เลคไซด 50/492 หมู 6 ถ. แจงวัฒนะ 11 (กรรมสิทธของ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส) *** ต.บานใหม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี **ที่ดินและสิ่งกอสราง เปนการเชาระยะยาว โดยสัญญาจะหมด ณ 31 มกราคม 2571 ***ที่ดินเชาสัญญาระยะยาวกับบริษัท บริหารสินทรัพยทวี จํากัด โดยบริษัทอยูระหวางการเจรจาตอระยะเวลาเชา

สวนที่ 1 หนา 40

ราคาประเมิน

ราคาตาม บัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52

ภาระผูกพัน

งาน

ตารางวา

(ลานบาท)

วันที่ทําการประเมิน

1

38

-

-

-

-

1

66

-

-

-

-


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 (2)

รายละเอียดทรัพยสินที่ถือครองเพื่อการพัฒนาในอนาคต ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. ที่ดินเปลา ถนนราษฎรบูรณะ แขวงราษฎรบูรณะ กทม. 2. ที่ดินเปลา ถนนบานน้ําลัด – บานแมยาว ต.ริมกก อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย 3. ที่ดินเปลา ต.ริมกก อ.เมืองเชียงราย จ. เชียงราย 4. ที่ดินเปลา ซอยบานเกาะลอย ถนนสิงหไคล ต.เวียง (รอบเวียง) อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย 5. ที่ดินเปลา ต. จันจวาใต (ทาขาวเปลือก) อ.แมจัน จังหวัดเชียงราย 6. ที่ดินเปลา ถนนเทพกษัตรีย ต.เกาะแกว อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต 7. ที่ดินเปลา (ซอยสุขุมวิท 66/1) ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กทม. 8. ที่ดิน ต. ทามะขาม อ. เมือง จ. กาญจนบุรี และอาคาร

จํานวน

ราคาประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

ภาระผูกพัน

ไร

งาน

ตารางวา

(ลานบาท)

วันที่ทําการประเมิน

1 แปลง

27

2

10

645.0

15 ก.พ.50

645.00

1 แปลง

7

-

60

2.0

9 ก.พ. 50

2.00

บมจ. ธนาคาร กรุงเทพ -

3 แปลง 1 แปลง

14 -

3 -

0 77

5.9 0.4

14 มิ.ย. 47 9 ก.พ. 50

5.90 0.46

-

65 แปลง

565

3

78

28.3

9 ก.พ. 50

28.30

-

2 แปลง

37

-

71.6

29.7

15 ก.พ. 50

29.75

-

2 แปลง

1

3

89

-

-

50.00

-

13 แปลง 1 อาคาร

5

1 30 918 ตารางเมตร

-

-

30.00 20.00

-

สวนที่ 1 หนา 41


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ของบริษัทยอยและบริษัทรวม 1. ที่ดินเปลา ต. กมลา อ. กระทู จ. ภูเก็ต (กรรมสิทธิ์ของ บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท) 2. ที่ดินเปลา ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง (กรรมสิทธิ์ของ บจ. เมืองทองเลคไซด จ. นครราชสีมา เรสเตอรรอง) 3. ที่ดินเปลา 21 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล (กรรมสิทธของ บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด เขตจตุจักร กทม. คอมมิวนิเคชั่น) 4. ที่ดินเปลา ซ. ชะอม-หนองแหน ถ. บานนา-แกง (กรรมสิทธิ์ของ บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้) คอย (ทางหลวง 3222) ถ. มิตรภาพ ต.ชะอม อ.แกงคอย จ. สระบุรี

จํานวน

ราคาประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

ภาระผูกพัน

ไร

งาน

ตาราง เมตร

(ลานบาท)

วันที่ทําการประเมิน

40 แปลง

455

3

5.90

1,615

23 ธ.ค. 51

1,197.03

-

19 แปลง

645

3

86

255

4 พ.ค. 52

236.65

-

2 แปลง

-

-

71

142

31 มี.ค. 52

12.78

-

4 แปลง

95

-

93

36

20 มี.ค. 52

4.32

-

สวนที่ 1 หนา 42


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 5.2 ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจในสวนที่รอโอนชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจในสวนที่รอโอนชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการไดแก ที่ดินเปลา ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง และอาคาร สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด จํานวนที่ดิน -

-

ตาราง เมตร

(ลานบาท)

วันที่ทําการ ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52

73 หองชุด

-

-

3,774.21

39.92

31 ม.ค.50

39.92

3 หองชุด

-

-

438.05

13.56

2 ก.พ.50

3.33

รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. กิ่งแกวคอนโดมิเนียม

ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ถนนสุขุมวิท 39 แขวงคลองตัน เขตพระโขนง กทม.

2. บานมิตราคอนโดมิเนียม

ราคาประเมิน

ภาระผูกพัน

บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย

สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

ไร

งาน

ตารางวา

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52

ภาระผูกพัน

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. ที่ดินเปลา

ต.ทับไทร อ.โปงน้ํารอน จ.จันทบุรี

1 แปลง

2

-

96.7

2.24

1 ก.พ.50

2.24

2. ที่ดินเปลา

ทล. 108 กม. 77 ต.แมสอย อ.จอมทอง จ. เชียงใหม บริเวณนอกโครงการธนาซิตี้ ถ.บางนา-ตราด ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

3 แปลง

6

-

60

0.74

12 ก.พ.50

0.74

5 แปลง

12

-

-

36.00

2 เม.ย.47

25.34

3. ที่ดินเปลา

สวนที่ 1 หนา 43

บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์บริษัทยอยและบริษัทรวม 1. ที่ดินเปลา ต.นาเตย อ.ทายเหมือง จ.พังงา (กรรมสิทธิ์ของ บจ.สําเภาเพชร)

รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์บริษัทยอยและบริษัทรวม 1. ทีเอสทีทาวเวอร ถ.วิภาวดี-รังสิต เขตจตุจักร กทม. (กรรมสิทธิ์ของ บจ.ดีแนล)

2. ยงสุ อพารทเมนท (กรรมสิทธิ์ของ บจ.ยงสุ)

ซอยสุขุมวิท 39 เขตพระโขนง กทม.

จํานวน

19 แปลง

จํานวน

ราคาประเมิน

ไร

งาน

ตารางวา

(ลานบาท)

วันที่ทําการ ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

117

2

15

4.7

14 ก.พ. 50

4.69

-

จํานวนพื้นที่ใหเชา ตาราง เมตร

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

1 แปลง

-

-

15,875.50

478.92

16 มี.ค.47 *

86.97

1 แปลง

-

-

11,060.00

378.0

8 เม.ย.47 **

63.50

ภาระผูกพัน

บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย

ภาระผูกพัน

ธนาคารกสิกร ไทยในฐานะ ผูแทน ผูถือหุนกู ธนาคารกสิกร ไทยในฐานะ ผูแทน ผูถือหุนกู

** ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท เปนสวนหนึ่งของสินทรัพยหลักประกัน ตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่งศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งใหประมูลสินทรัพยดังกลาว โดยรายไดจาก การประมูลจะจัดสรรใหเจาหนี้ตามสัดสวนหนี้ ทั้งนี้ บริษัทไดทําการประมูลขายทรัพย และไดผูชนะการประมูลแลวเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552

สวนที่ 1 หนา 44


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 5.3

นโยบายการลงทุนและการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทมีนโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมในลักษณะดังตอไปนี้ (1) นโยบายการลงทุนในบริษัทยอย บริษัทมีนโยบายลงทุนในกิจการที่สอดคลองหรือสนับสนุนธุรกิจหลัก เพื่อใชบริษัทยอยเปนตัวกําหนด ตําแหนงทางการตลาดและความชัดเจนของแตละสายธุรกิจ และเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบธุรกิจและ ความคลองตัวในการเติบโตในแตละสายธุรกิจ

(2) นโยบายการลงทุนในบริษัทรวม บริษัทมีนโยบายรวมลงทุนกับบริษัทที่มีความชํานาญเฉพาะดานเพื่อเสริมธุรกิจหลักของกลุมบริษัท โดยจะรวมลงทุนไมต่ํากวารอยละ 25 นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม (1) นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอย บริ ษั ท จะกํ า หนดแนวนโยบายในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ บ ริ ษั ท พิ จ ารณาแล ว เห็ น ว า เป น การเสริ ม ประสิทธิภาพและการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทใหแกบริษัทยอยเพื่อใหเปนแนวทางเดียวกันและเพื่อให บริษัทยอยไดพิจารณาดําเนินงานในสวนของการปฏิบัติการดวยตนเอง (2) นโยบายการบริหารงานของบริษัทรวม เมื่อบริษัทไดเขารวมทุนกับบริษัทอื่นแลว บริษัทจะสงตัวแทนเขาไปเปนกรรมการในบริษัทรวมนั้นๆ เพื่อเปนการติดตามการทํางานของบริษัทรวมวาไดดําเนินงานตามแนวทางที่บริษัทไดคาดหวังไว

สวนที่ 1 หนา 45


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

โครงการในอนาคต ประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ.11/2552 เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการ รายงานการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย ไดยกเลิก หัวขอนี้


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

6. ขอพิพาททางกฎหมาย รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 ของบริษัทและบริษัทยอย ขอ 34.5 เรื่อง คดีฟองรอง

สวนที่ 1 หนา 46


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

7. โครงสรางเงินทุน 7.1

หลักทรัพยของบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 8,056,923,076 บาท และทุนจดทะเบียนชําระแลว 5,813,333,333 บาท แบงเปนหุนสามัญ 5,813,333,333 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท 7.2

ผูถือหุน รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรกของบริษัท ณ วันปดสมุดทะเบียน วันที่ 31 มีนาคม 2552

มีดังนี้ รายชื่อผูถือหุน 1. กลุมนายคีรี กาญจนพาสน* 2. Citigroup Global Markets Limited - Prop. Custody Account** 3. VMS Private Investment Partners II Limited 4. Mr. Cheng Wan Yen 5. บริษัท ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ จํากัด*** 6. นายวันชัย พันธุวิเชียร 7. นางสาวพรเพ็ญ หวังเพิ่มพูน 8. UOB Asia Limited 9. Mr. Ka Ho Donald Man 10. Oriental Field Limited

จํานวนหุน 2,144,300,619 870,000,000 400,000,000 300,000,000 275,715,160 258,300,000 100,000,000 84,617,767 70,000,000 67,039,981

% 36.89 14.97 6.88 5.16 4.74 4.44 1.72 1.46 1.20 1.15

หมายเหตุ * กลุมนายคีรี กาญจนพาสน ไดนับรวมหุนที่ถือโดยบริษัท เค ทู เจ โฮลดิ้ง จํากัด จํานวน 2,000,000,000 หุน หรือรอยละ 34.40 ของทุนจดทะเบียนชําระแลว ** ผูถือหุนที่แทจริงคือ Pacific Harbor Advisors Pte. Ltd. (ขอมูลจากแบบรายงานการไดมาหรือจําหนายหลักทรัพย (แบบ 2462) ณ วันที่ 30 มกราคม 2552) *** เปนการถือหุนแทนเจาหนี้ตามแผนการฟนฟูกิจการของบริษัท ซึ่งอยูระหวางรอโอนชําระใหเจาหนี้

7.3

นโยบายการจายเงินปนผล

(1) นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัท บริษัทมีนโยบายจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนในอัตราไมนอยกวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี เงินไดตามงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยบริษัทจะจายเงินปนผลในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไป โดยคํานึงถึง กระแสเงินสดจากการประกอบการ และการประกาศจายเงินปนผลประจําปจะตองไดรับความเห็นชอบจากที่ ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทอาจเห็นสมควรใหมีการจายเงินปนผลระหวางกาล หากเห็นวาบริษัทมีกําไรและสามารถดํารงเงินลงทุนหมุนเวียนที่ใชในการดําเนินการไดอยางเพียงพอภายหลัง การจายเงินปนผลระหวางกาลนั้น ซึ่งคณะกรรมการบริษัทมีหนาที่แจงใหที่ประชุมผูถือหุนรับทราบในการ ประชุมผูถือหุนครั้งถัดไป สวนที่ 1 หนา 47


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ในการพิจารณาจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนนั้น คณะกรรมการบริษัทจะคํานึงถึงปจจัยหลายประการ ดังนี้ ผลการดําเนินงานของบริษัท สภาพคลอง กระแสเงินสดหมุนเวียน และสถานะการเงินของบริษัท ข อ บั ง คั บ หรื อ เงื่ อ นไขที่ เ กี่ ย วกั บ การจ า ยเงิ น ป น ผลที่ กํ า หนดโดยสั ญ ญาเงิ น กู ยื ม หุ น กู สั ญ ญาซึ่ ง กอใหเกิดภาระหนี้สินของบริษัท หรือขอตกลงหรือสัญญาอื่นๆ ที่บริษัทตองปฏิบัติตาม แผนการดําเนินงานในอนาคตและความตองการในการใชเงินลงทุน ปจจัยอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร นอกจากนี้ บริษัทยังอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ที่กําหนดให บริษัทไมสามารถจายเงินปนผลไดหากบริษัทยังมีผลขาดทุนสะสมอยูแมวาบริษัทจะมีกําไรสุทธิสําหรับปนั้นๆ ก็ตาม และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ยังกําหนดใหบริษัทสํารองเงินตามกฎหมายใน จํานวนไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาเงินสํารอง ตามกฎหมายจะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน และนอกจากเงินสํารองที่กฎหมาย กํา หนดให บริษั ทตอ งจั ด สรรแลว คณะกรรมการอาจพิจ ารณาจั ด สรรเงิน สํ า รองประเภทอื่น ไดอีก ตามที่ เห็นสมควร

(2) นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย บริ ษั ท ย อ ยมี น โยบายในการจ า ยเงิ น ป น ผลโดยพิ จ ารณาจากศั ก ยภาพการเติ บ โตของผลการ ดําเนินงาน แผนการลงทุน การขยายงาน ขอกําหนดตามสัญญาเงินกูหรือหุนกูของบริษัท และบริษัทยอย รวมถึงความจําเปนและความเหมาะสมในอนาคต โดยมีนโยบายจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 50 ของ กําไรสุทธิหลังหักภาษีและสํารองเงินตามกฎหมาย หากไมมีเหตุจําเปนอื่นใดและการจายเงินปนผลนั้นไมมี ผลกระทบตอการดําเนินงานปกติของบริษัทยอยดังกลาว

สวนที่ 1 หนา 48


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

8. การจัดการ

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการพิจารณา คาตอบแทน คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการบริหาร

ฝายตรวจสอบภายใน

กรรมการผูจัดการ ฝายกฎหมาย

รองกรรมการผูจ ัดการ

รองกรรมการผูจ ัดการ

รองกรรมการผูจ ัดการ

ฝายบริหารทรัพยสนิ และ อสังหาริมทรัพย

ฝายพัฒนาธุรกิจ

ฝายพัฒนาอสังหาริมทรัพย

ฝายโครงการพิเศษ

ฝายบัญชี

ฝายบริหารโครงการ

ฝายโรงแรม

ฝายการเงิน

ฝายการตลาด การขายและประชาสัมพันธ

ฝายทรัพยากรบุคคล และธุรการ

ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ

สวนที่ 1 หนา 49


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 8.1 โครงสรางการจัดการ ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 โครงสรางการจัดการของบริษัทประกอบดวยคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการชุดยอยรวม 5 ชุด ไดแก คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหาร 1)

คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวน 11 ทาน ดังนี้ ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการ 2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการ 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร กรรมการ 4. นายรังสิน กฤตลักษณ กรรมการ 5. Mr. Kong Chi Keung กรรมการ 6. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการ 7. Dr. Paul Tong กรรมการ 8. Mr. Cheung Che Kin กรรมการ 9. ดร. อาณัติ อาภาภิรม กรรมการ 10. พลโทพิศาล เทพสิทธา กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ 11. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ โดยมีนายรังสิน กฤตลักษณ ทําหนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการบริษัท กรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนบริษัทมี 6 ทาน ดังนี้ กรรมการกลุม ก 1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายรังสิน กฤตลักษณ กรรมการกลุม ข

4. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 5. Mr. Kong Chi Keung 6. นายคม พนมเริงศักดิ์

ชื่อและจํานวนกรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท คือ กรรมการคนใดคนหนึ่งจากกรรมการ กลุม ก ลงลายมือชื่อรวมกันกับกรรมการคนใดคนหนึ่งจากกรรมการกลุม ข รวมเปนสองคนและประทับตรา สําคัญของบริษัท

สวนที่ 1 หนา 50


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท 2. กําหนดวิสัยทัศน นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษัท และกํากับดูแลใหฝายบริหารดําเนินการ ใหเปนไปตามนโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาสูงสุดใหแกบริษัท และผูถือหุน 3. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรการทําธุรกิจ แผนงาน และงบประมาณประจําปของบริษัท รวมทั้งผลงาน และผลประกอบการประจํ า เดื อ นและประจํ า ไตรมาสของบริ ษั ท เที ย บกั บ แผนและงบประมาณ และ พิจารณาแนวโนมระยะตอไปของป 4. ประเมินผลงานของฝายบริหารอยางสม่ําเสมอและดูแลระบบกลไกการจายคาตอบแทนผูบริหารระดับสูงที่ เหมาะสม โดยมีคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนเปนผูดูแลอยางมีประสิทธิภาพ 5. ดําเนินการใหฝา ยบริห ารจัดใหมี ระบบบัญ ชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญ ชีที่เชื่อถือ ได ตลอดจนดูแลใหมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอเหมาะสม 6. พิจารณาอนุมัติการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งทรัพยสิน การลงทุนในธุรกิจใหม และการดําเนินการใดๆ ที่ กฎหมายกําหนด เวนแตเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติที่ประชุมผูถือหุน 7. พิจารณาอนุมัติ และ/หรือ ใหความเห็นตอรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทและบริษัทยอยใหเปนไปตาม กฎหมาย ประกาศ ขอกําหนด และระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของตาง ๆ 8. ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมีสวนไดเสียของบริษัท 9. พิจารณาเรื่องตาง ๆ โดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียทุกกลุมของบริษัทอยางเปน ธรรม โดยกรรมการตองแจงใหบริษัททราบโดยไมชักชา หากมีสวนไดเสียไมวาโดยตรงหรือโดยออมใน สัญญาที่ทํากับบริษัทหรือถือหุนเพิ่มขึ้นหรือลดลงในบริษัทหรือบริษัทยอย ทั้งนี้ กําหนดใหรายการที่ทํา กับกรรมการหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงหรือมีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่น ใดกับ บริษัท หรือ บริษัทย อย ใหก รรมการซึ่งมีส ว นได เสียไมมีสิท ธิออกเสี ย งลงคะแนนอนุมัติก ารทํ า รายการในเรื่องนั้น 10. กํากับดูแลกิจการอยางมีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจ และทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ของบริษัทและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวเปนประจําอยางนอยปละ 1 ครั้ง 11. รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูกับรายงานของผูสอบ บัญชีไวในรายงานประจําปและครอบคลุมในเรื่องสําคัญ ๆ ตามนโยบายเรื่องขอพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับ กรรมการบริษัทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 12. มอบหมายให ก รรมการคนหนึ่ ง หรื อ หลายคนหรื อ บุ ค คลอื่ น ใดปฏิ บั ติ ก ารอย า งหนึ่ ง อย า งใดแทน คณะกรรมการได การมอบอํานาจแกกรรมการดังกลาวจะไมรวมถึงการมอบอํานาจหรือการมอบอํานาจ ชวงที่ทําใหกรรมการหรือผูรับมอบอํานาจจากกรรมการสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรือมีผลประโยชนในลักษณะอื่นใดขัดแยงกับผลประโยชนของบริษัทหรือ บริษัทยอย 13. แตงตั้งกรรมการชุดยอยเพื่อชวยดูแลระบบบริหารและระบบควบคุมภายในใหเปนไปตามนโยบายที่ กําหนดไว เชน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหา 14. จัดใหมีเลขานุการบริษัทเพื่อดูแลใหคณะกรรมการและบริษัทปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายและระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของตาง ๆ สวนที่ 1 หนา 51


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 2)

คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีจํานวน 2 ทาน* ดังนี้ ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. พลโทพิศาล เทพสิทธา ประธานกรรมการตรวจสอบ** 2. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการตรวจสอบ โดยมีนางดวงกมล ชัยชนะขจร ทําหนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

* ดร. อาณัติ อาภาภิรม ลาออกจากการเปนกรรมการตรวจสอบเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทจะ เสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อใหที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2552 แตงตั้งเปนกรรมการตรวจสอบตอไป ** พลโทพิศาล เทพสิทธา เปนกรรมการตรวจสอบที่มีความรูและประสบการณในการสอบทานงบการเงินของบริษัท

อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษัทมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณา แตงตั้ง โยกยาย เลิกจางหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกํ าหนดของตลาด หลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัท และ เสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวม ประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมาย และขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชน สูงสุดตอบริษัท 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงาน ดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท ความเห็นเกี่ยวกับความพอเพียงของระบบควบคุมภายในของบริษัท ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละ ทาน ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบ ที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการของบริ ษั ท มอบหมายด ว ยความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ

สวนที่ 1 หนา 52


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ทั้งนี้ ในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบหากพบหรือมีขอสงสัยวามีรายการหรือการกระทํา ดั ง ต อ ไปนี้ ซึ่ ง อาจมี ผ ลกระทบอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ต อ ฐานะการเงิ น และผลการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ให คณะกรรมการตรวจสอบรายงานตอคณะกรรมการของบริษัทเพื่อดําเนินการปรับปรุงแกไขภายในเวลาที่ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร รายการที่เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพรองที่สําคัญในระบบควบคุมภายใน การฝา ฝนกฎหมายวา ดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท คุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบของบริษัทตองเปนกรรมการอิสระและมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัท รวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของของ กรรมการตรวจสอบรายนั้นๆ ดวย 2. ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือน ประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผู ถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไม นอยกวา 2 ป 3. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปนบิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทยอย 4. ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือ ผู มี อํ า นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ในลั ก ษณะที่ อ าจเป น การขั ด ขวางการใช วิ จ ารณญาณอย า งอิ ส ระของ กรรมการตรวจสอบ รวมทั้ ง ไม เ ป น หรื อ เคยเป น ผู ถื อ หุ น ที่ มี นั ย หรื อ ผู มี อํ า นาจควบคุ ม ของผู ที่ มี ความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป 5. ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษัท และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของสํานักงานสอบ บัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทสังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป 6. ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวา 2 ลานบาทตอปจากบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัท รวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอย กวา 2 ป 7. ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่ง เปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ 8. ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน สวนที่ 1 หนา 53


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

9. ไมมลี ักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท 10. ไดรบั การแตงตั้งจากคณะกรรมการหรือที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทใหเปนกรรมการตรวจสอบ 11. ไมเปนกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการใหตัดสินใจการดําเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท และ ไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริษัทยอย หรือบริษัทยอยลําดับเดียวกันเฉพาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน 12. มี ค วามรู แ ละประสบการณ เ พี ย งพอที่ จ ะสามารถทํ า หน า ที่ ใ นฐานะกรรมการตรวจสอบ ทั้ ง นี้ ต อ งมี กรรมการตรวจสอบอยางนอย 1 คนที่มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในการ สอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงินได 3)

คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน* ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีจํานวน 3 ทาน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3.

รายชื่อ พลโทพิศาล เทพสิทธา พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายรังสิน กฤตลักษณ

ตําแหนง ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการพิจารณาคาตอบแทน

* คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552

อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน 1. พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑการจายคาตอบแทน (ทั้งที่เปนตัวเงินและมิใชตัวเงิน) ของกรรมการและ กรรมการผูจัดการ ตามภาระหนาที่ค วามรับผิดชอบและผลงาน โดยพิจารณาเปรียบเที ยบกับขอมูล การจายคาตอบแทนของบริษัทอื่นที่อยูในอุตสาหกรรมเดียวกันกับบริษัท ตลอดจนกําหนดหลักเกณฑให มีความเหมาะสมเพื่อใหเกิดผลงานตามที่คาดหวัง ใหมีความเปนธรรม และเปนการตอบแทนบุคคลที่ชวย ให ง านของบริ ษั ท ประสบผลสํ า เร็ จ ทบทวนรู ป แบบการจ า ยค า ตอบแทนทุ ก ประเภท โดยพิ จ ารณา จํานวนเงินและสัดสวนการจายคาตอบแทนแตละรูปแบบใหมีความเหมาะสม และพิจารณาใหการจาย คาตอบแทนเปนไปตามเกณฑที่หนวยงานทางการกําหนดหรือขอแนะนําที่เกี่ยวของ 2. พิจารณาเกณฑในการประเมินผลกรรมการผูจัดการและนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาใหความ เห็นชอบ 3. นําเสนอจํานวนและรูปแบบการจายคาตอบแทนตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อใหอนุมัติคาตอบแทนของ กรรมการผูจัดการ สวนคาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทจะตองนําเสนอใหที่ประชุมผูถือหุนอนุมัติ 4. รายงานผลการปฏิบัติหนาที่ตอคณะกรรมการและผูถือหุน 5. พิจารณาความเหมาะสมและเงื่อนไขตาง ๆ เกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพยใหม (หรือใบสําคัญแสดง สิทธิที่จะซื้อหุน) ใหแกกรรมการและพนักงาน เพื่อชวยจูงใจใหกรรมการและพนักงานปฏิบัติหนาที่เพื่อให เกิดการสรางมูลคาเพิ่มใหแกผูถือหุนในระยะยาวและสามารถรักษาบุคคลากรที่มีคุณภาพไดอยางแทจริง แตตองไมสูงเกินไปและเปนธรรมตอผูถือหุน โดยหากกรรมการหรือพนักงานรายใดไดรับการจัดสรร

สวนที่ 1 หนา 54


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

4)

คณะกรรมการสรรหา* ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีจํานวน 3 ทาน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3.

รายชื่อ พลโทพิศาล เทพสิทธา พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายรังสิน กฤตลักษณ

ตําแหนง ประธานกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา

* คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาในการประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552

อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา 1. กําหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ตองการสรรหาใหเปนไปตามโครงสราง ขนาด และองคประกอบของ คณะกรรมการตามที่คณะกรรมการกําหนดไว 2. กําหนดวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการใหเหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของบริษัท 3. สรรหากรรมการโดยพิจารณาความเหมาะสมของความรู ประสบการณ ความเชี่ยวชาญ การอุทิศเวลา ของกรรมการ รวมถึงคุณสมบัติตามกฎหมายหรือขอกําหนดของหนวยงานทางการ 4. พิจารณาความเปนอิสระของกรรมการอิสระแตละคน เพื่อพิจารณาวากรรมการอิสระคนใดมีคุณสมบัติ ครบถวนหรือคนใดขาดคุณสมบัติในการเปนกรรมการอิสระ 5. คัดเลือกกรรมการที่มีคุณสมบัติสอดคลองกับเกณฑคุณสมบัติที่กําหนดไว และเสนอชื่อใหคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาแต งตั้ง หรือเสนอชื่อใหค ณะกรรมการเพื่อพิ จารณาและบรรจุชื่อในหนังสื อนัดประชุม ผูถือหุน เพื่อใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาแตงตั้งตอไป 6. ชี้แจงและตอบคําถามกรณีเกิดขอสงสัยเกี่ยวกับนโยบายการสรรหากรรมการในที่ประชุมผูถือหุน 5)

คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีจํานวน 6 ทาน ดังนี้ ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการ 2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการผูจัดการ 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร รองกรรมการผูจัดการ 4. นายรังสิน กฤตลักษณ รองกรรมการผูจัดการ 5. Mr. Kong Chi Keung รองกรรมการผูจัดการ 6. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการบริหาร โดยมี Mr. Bernardo Godinez Garcia ทําหนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กํ า หนดนโยบาย ทิ ศ ทาง กลยุ ท ธ และโครงสร า งการบริ ห ารงานในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ให สอดคลองและเหมาะสมตอสภาวะเศรษฐกิจและการแขงขัน เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัทเห็นชอบ 2. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตางๆ ของบริษัท เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัท เห็นชอบ

สวนที่ 1 หนา 55


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 3. ตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทใหเปนไปตามนโยบายและแผนธุรกิจที่ไดรับอนุมัติไว และใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. พิจ ารณาอนุ มัติ ก ารดํ า เนิ น การโครงการต า ง ๆ ของบริษั ท และรายงานตอ คณะกรรมการบริ ษั ท ถึ ง ความคืบหนาของโครงการ 5. บริ ห ารความเสี่ ย งในภาพรวมทั้ ง องค ก ร ประเมิ น ความเสี่ ย งและวางรู ป แบบโครงสร า งการบริ ห าร ความเสี่ยงขององคกร 6. ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 6)

ผูบริหาร ที่ไมใชกรรมการบริษัท ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีจํานวน 9 ทาน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

รายชื่อ Mr. Martin Harold Kyle นางดวงกมล ชัยชนะขจร นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย นายวิศิษฐ ชวลิตานนท Mr. Bernardo Godinez Garcia นายเสนอ รัตนวลี นางสาวธิติกรณ ยศยิ่งธรรมกุล นางสาวอาทิตยา เกษมลาวัณย นางสาวธัญญรวี พิพัฒนผลกุล

ตําแหนง ผูอํานวยการใหญสายการเงิน ผูอํานวยการฝายบัญชี ผูอํานวยการฝายการเงิน ผูอํานวยการฝายพัฒนาโครงการ ผูอํานวยการฝายโรงแรม ผูอํานวยการโครงการธนาซิตี้ ผูอํานวยการฝายกฎหมาย ผูอํานวยการฝายขาย ผูอํานวยการฝายการตลาด

บทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของคณะผูบริหาร 1. ดําเนินการตามนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงานในการดําเนินธุรกิจของบริษัทที่ กําหนดใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. ดํ า เนิ น การจั ด ทํ า แผนธุ ร กิ จ งบประมาณ และอํ า นาจการบริ ห ารต า ง ๆ ของบริ ษั ท เพื่ อ เสนอให คณะกรรมการบริหารเห็นชอบ 3. บริหารงานบริษัทตามแผนงานหรืองบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารอยางซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนอยางดีที่สุด 4. ติดตามผลการดําเนินงานของบริษัท ใหเปนไปตามนโยบายแผนงาน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ 5. รายงานผลการดําเนินงานของบริษัทตอที่ประชุมคณะกรรมการบริหารเปนประจํา 6. ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารมอบหมาย 7. กํากับการบริหารงานทั่วไปตามที่กําหนดไวในระเบียบขอบังคับของบริษัท

สวนที่ 1 หนา 56


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 8.2

การสรรหาและถอดถอนกรรมการบริษัท ในอดีต คณะกรรมการบริหารไดรั บมอบหมายจากคณะกรรมการบริษั ทใหทําหนาที่ ในการสรรหา กรรมการเพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัทและ/หรือที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติแตงตั้ง ตอมา เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาเพื่อใหทําหนาที่สรรหากรรมการ ใหมแทนคณะกรรมการบริหารตอไป ทั้งนี้ การแตงตั้งและถอดถอนกรรมการบริษัทจะเปนไปตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดอยูในขอบังคับของบริษัท โดยมีสาระสําคัญดังนี้

1. ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการจํานวนไมนอยกวา 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด ในคณะกรรมการพนจากตําแหนงตามวาระ ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปน 3 สวนไมได ก็ ใหออกโดยจํานวนที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 และกรรมการผูพนจากตําแหนงมีสิทธิไดรับเลือกตั้งใหมได อีก 2. ใหที่ประชุมผูถือหุนมีสิทธิแตงตั้งกรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ 2.1 ผูถือหุนแตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 2.2 ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูท้ังหมดเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการ ก็ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกบุคคลใดมากนอยเพียงใดไมได 2.3 บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวน กรรมการที่จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนน เสียงเทากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ใหผูเปนประธานเปนผูออก เสียงชี้ขาด 3. นอกจากการพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ 3.1 ตาย 3.2 ลาออก 3.3 ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 3.4 ที่ประชุมผูถือหุนมีมติใหออก 3.5 ศาลมีคําสั่งใหออก 4. ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการมีมติ ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนกรรมการที่เหลืออยู เลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไมมี ลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เข า เปนกรรมการแทนในการ ประชุมคณะกรรมการคราวตอไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวา 2 เดือน บุคคลซึ่งเขาเปน กรรมการแทนดังกลาวจะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน 5. ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระไดดวยคะแนน เสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุนนับรวมกันไดไม นอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง

สวนที่ 1 หนา 57


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 8.3

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร 1. คาตอบแทนกรรมการ 1.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน บริษัทไดจายคาตอบแทนคณะกรรมการบริษัทจํานวน 13 ทาน ในชวงเวลาตั้งแต 1 เมษายน 2551 ถึง 31 มีนาคม 2552 รวมทั้งสิ้น 3,160,000 บาท ซึ่งเปนคาตอบแทนที่ไดรับอนุมัติโดยที่ประชุม สามัญผูถือหุนประจําป 2551 โดยกําหนดในอัตราบําเหน็จสําหรับประธานกรรมการ 25,000 บาทตอ เดื อ น และ บํา เหน็ จ สํ า หรั บกรรมการท า นละ 20,000 บาท ต อ เดื อน ทั้ ง นี้ สามารถแสดงเป น รายบุคคลไดดังนี้ คาตอบแทน 1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. นายคม พนมเริงศักดิ์ 6. Mr. Kong Chi Keung 7. Mr. Abdulhakeem Kamkar* 8. Dato’ Amin Rafie Othman** 9. Dr. Paul Tong 10. Mr. Cheung Che Kin 11. พลโทพิศาล เทพสิทธา 12. ดร.อาณัติ อาภาภิรม 13. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล รวม

ป 2551/2552 300,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 220,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 3,160,000

* Mr. Abdulhakeem Kamkar ลาออกจากตําแหนงกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2552 ** Dato’ Amin Rafie Othman ลาออกจากตําแหนงกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2552

1.2 คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน -ไมมี2. คาตอบแทนผูบริหาร 2.1 บริษัทไดจายคาตอบแทนแกกรรมการที่ทําหนาที่เปนผูบริหารและผูบริหารที่ไมใชกรรมการจํานวน 14 ราย ในชวงเวลาตั้งแต 1 เมษายน 2551 ถึง 31 มีนาคม 2552 รวมทั้งสิ้น 34,020,439 บาท 2.2 คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน -ไมมี-

สวนที่ 1 หนา 58


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 8.4 0

การกํากับดูแลกิจการ

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

บริษัทมีความเชื่อมั่นวาระบบการบริหารจัดการที่ดี การมีคณะกรรมการและผูบริหารที่มีวิสัยทัศนและมี ความรับผิดชอบตอหนาที่ มีกลไกการควบคุมและการถวงดุลอํานาจเพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางโปรงใส ตรวจสอบได การเคารพในสิทธิความเทาเทียมกันของผูถือหุน และมีความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสียจะเปน ปจจัยสําคัญในการเพิ่มมูลคาและผลตอบแทนสูงสุดใหแกผูถือหุนของบริษัทในระยะยาว คณะกรรมการบริ ษั ท ได กํ า หนดนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ โดยมี ห ลั ก การและแนวปฏิ บั ติ ที่ สอดคลองกับหลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และไดมีการสื่อสารให ผูบริหารและพนักงานของบริษัทไดรับทราบและถือปฏิบัติอยางตอเนื่อง นอกจากนี้คณะกรรมการจะมีการ ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการเปนประจําทุกป เพื่อใหนโยบายดังกลาวเหมาะสมกับสภาวะการณและ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท อยู เ สมอ ซึ่ ง ในการประชุ ม คณะกรรมการเมื่ อ วั น ที่ 28 พฤษภาคม 2552 คณะกรรมการไดทําการพิจารณาทบทวนและปรับปรุงนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัท โดยสรุปได ดังนี้ นโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทแบงออกเปน 5 หมวด ครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการที่ ดี ดังนี้ 1. สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน และการคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย 2. โครงสราง บทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ และความเปนอิสระของคณะกรรมการ 3. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 4. การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 5. จริยธรรมและจรรยาบรรณ 1)

สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน และการคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย

1.1 สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน บริษัทไดใหความสําคัญตอสิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน โดยผูถือหุนทุกรายจะไดรับการ ปฏิบัติที่เทาเทียมกันในเรื่องตางๆ เชน การรับทราบสารสนเทศของบริษัทไมวาจะผานทางเว็บไซตของตลาด หลักทรั พย แ หง ประเทศไทยหรือ เว็บ ไซตข องบริษัท เอง การเขา รว มประชุม ผูถือหุ นเพื่อรับทราบผลการ ดําเนินงานประจําปและการออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติเรื่องตาง ๆ ที่สําคัญ ตามที่กฎหมายกําหนด ไมวาจะเปนการแตงตั้งหรือถอดถอนกรรมการ คาตอบแทนกรรมการ แตงตั้งและ พิจารณาคาตอบแทนผูสอบบัญชี การจายหรืองดจายเงินปนผล การเพิ่มทุนและออกหุนใหม ตลอดจนการ ซักถามหรือแสดงความเห็นในเรื่องตาง ๆ ที่คณะกรรมการไดรายงานใหทราบหรือไดขอความเห็นชอบจาก ที่ประชุมผูถือหุน เปนตน ทั้งนี้ คณะกรรมการจะตองจัดใหมีการประชุมสามัญประจําปผูถือหุนภายใน 120 วันนับแตวันสิ้นสุด รอบปบัญชีของบริษัท และการประชุมผูถือหุนคราวอื่นซึ่งเรียกวาการประชุมวิสามัญ บริษัทจะจัดประชุมเพิ่ม ตามความจําเปนและเหมาะสม โดยบริษัทไดจัดใหมีเลขานุการบริษัทและหนวยงานกํากับดูแลการปฏิบัติตาม สวนที่ 1 หนา 59


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ในการประชุ ม ผู ถื อ หุ น ผู ถื อ หุ น ทุ ก รายมี สิ ท ธิ แ ละความเท า เที ย มกั น ในการรั บ ทราบสารสนเทศ การแสดงความคิดเห็น และการตั้งคําถามใด ๆ ตอที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรื่องที่เสนอ รวมทั้งมีการแจงใหผูถือหุนรับทราบสิทธิในการลงคะแนนและวิธีการออกเสียงลงคะแนนทุกครั้งกอนเริ่มการ ประชุม โดยประธานการประชุมมีหนาที่จัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสม และสงเสริมใหมีการแสดงความคิดเห็น และซักถามในที่ประชุม 1.2 สิทธิของผูมีสวนไดเสีย บริษัทคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสียและใหความสําคัญกับสิทธิของผูมีสวนไดเสียของบริษัททุก กลุม โดยไดมีการดูแลใหผูมีสวนไดเสียกลุมตาง ๆ ของบริษัท เชน ผูถือหุน พนักงาน ลูกคา คูคา ตลอดจน สาธารณชนและสังคม ไดรับการปฏิบัติอยางเหมาะสม เสมอภาค และเปนธรรม ผูถือหุน

:

ลูกคา

:

พนักงาน

:

บริษัทมีการดําเนินธุรกิจอยางโปรงใส ถูกตอง และยุติธรรม เพื่อพัฒนา กิจการใหมั่นคงและเจริญเติบโต โดยคํานึงถึงการสรางผลตอบแทนที่ดี ตอผูถือหุนอยางตอเนื่องและเทาเทียมกัน บริษัทมุงมั่นสรางความพึงพอใจและความมั่นใจใหกับลูกคา ซึ่งมีผลตอ ความสําเร็จของธุรกิจ โดยพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสินคาและ บริการเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอยางสม่ําเสมอ เพื่อรักษาความสัมพันธที่ดีในระยะยาว บริษัทไดใหความเปนธรรมตอพนักงานทุกระดับโดยไมเลือกปฏิบัติ และมีการปฏิบัติตอพนักงานบนพื้นฐานของคุณภาพ โดยมีการพัฒนา ฝกอบรมพนักงานอยางตอเนื่องทั้งภายในและภายนอกบริษัทและดูแล ในเรื่องผลตอบแทนและสวัสดิการของพนักงาน ใหมีความเหมาะสม สวนที่ 1 หนา 60


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

คูคา

:

สั ง ค ม ชุ ม ชนและ : สิ่งแวดลอม

บริษัทดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสีย และ การปฏิบัติที่เปนธรรมตอคูคาทุกรายของบริษัท บริษัทใหความความสําคัญตอกิจกรรมเพื่อสังคมและคุณภาพชีวิตที่ดี ตอสังคมไทย ดวยการมีสวนรวมพัฒนาชุมชนและตอบแทนกลับคืนสู สังคม

โครงสราง บทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ และความเปนอิสระของคณะกรรมการ บริ ษั ท ได กํ า หนดให มี ค ณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร ในการกลั่นกรองและศึกษาแนวทางการกํากับ และการบริหารงานของบริษัท คณะกรรมการทุกคนมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นตอการดําเนินงานของ บริษัทเพื่อกํากับดูแลใหการดําเนินงานของฝายบริหารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ถูกตอง และโปรงใส 2)

2.1 คณะกรรมการบริษัทมีจํานวน 11 ทาน (ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552) ประกอบดวย กรรมการที่เปนผูบริหาร 6 ทาน กรรมการที่มิไดเปนผูบริหาร 3 ทาน กรรมการอิสระ 2 ทาน* * บริษั ทอยูในระหวางการเสนอชื่อบุค คลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่ อให ที่ป ระชุมสามัญผูถือ หุนประจํ าป 2552 แตง ตั้ง เป น กรรมการอิสระอีก 1 ทาน

2.2 ภาวะผูนําและวิสัยทัศน

คณะกรรมการมีความมุงมั่นที่จะใหบริษัทและบริษัทยอยเปนองคกรชั้นนําที่ไดรับการยอมรับใน ระดับสากลวาเปนบริษัทที่ประสบความสําเร็จมากที่สุดแหงหนึ่งในประเทศไทย โดยดําเนินธุรกิจที่มี ความหลากหลาย ดวยการบริหารจัดการที่แข็งแกรงและดวยบุคลากรที่ลวนแตมีความสามารถและ มีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ และกลยุทธ

คณะกรรมการมีภาวะผูนํา วิสัยทัศน มีความอิสระในการตัดสินใจและรับผิดชอบตามหนาที่ในการ กํากับดูแลกิจการใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูถือหุนโดยรวม

คณะกรรมการมีหนาที่และความรับผิดชอบตอผูถือหุนของบริษัทที่จะกํากับดูแลการบริหารงานของ ฝายบริหารและมีการแบงแยกหนาที่ระหวางคณะกรรมการและฝายบริหารไวอยางชัดเจน

2.3 ความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการไดมีการกําหนดแนวทางในเรื่องความขัดแยงทางผลประโยชน โดยปฏิบัติตามแนวทาง ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เพื่อผลประโยชน สู ง สุ ด ของบริ ษั ท และถื อ เป น หน า ที่ ข องบุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ที่ จ ะพิ จ ารณาแก ไ ขป ญ หาความขั ด แย ง ของ ผลประโยชนอยางรอบคอบ ยึดหลักความซื่อสัตย สุจริต มีเหตุมีผลและเปนอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี ตลอดจนมีการเปดเผยขอมูลอยางครบถวนเพื่อผลประโยชนของบริษัทโดยรวมเปนสําคัญ

สวนที่ 1 หนา 61


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 2.4 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนจะเปนผูพิจารณาการจายคาตอบแทนแกคณะกรรมการเพื่อเสนอ ใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ โดยมีหลักเกณฑการกําหนดคาตอบแทนตามกฎบัตรของคณะกรรมการ พิจารณาคาตอบแทน สําหรับผูบริหารจะไดรับเงินเดือนประจําเปนปกติเหมือนพนักงานอื่นๆ ของบริษัท 2.5 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบจะมีการประชุมเปนประจําทุกไตรมาส เพื่อรับทราบ และติดตามผลการดําเนิ นงานในเรื่องตางๆ ของบริษัท โดยมีกรรมการอิสระมาถวงดุลและสอบทานการ บริหารงานของคณะกรรมการ สวนคณะกรรมการบริหารจะมีการประชุมเปนประจําทุกเดือนและประชุม เพิ่มเติมตามความจําเปนและเหมาะสมเพื่อพิจารณาอนุมัติการดําเนินงานของบริษัทในเรื่องสําคัญตางๆ ที่อยู ในอํานาจการตัดสินใจของคณะกรรมการบริหารและรายงานผลการดําเนินงานใหคณะกรรมการบริษัททราบ จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการบริษัทและจํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัท ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2551 ถึง 31 มีนาคม 2552 เปนดังนี้ รายชื่อกรรมการ

ตําแหนง

1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. Mr. Kong Chi Keung 6. นายคม พนมเริงศักดิ์ 7. Mr. Abdulhakeem Kamkar* 8. Dato’ Amin Rafie Othman** 9. Dr. Paul Tong 10. Mr. Cheung Che Kin 11. พลโทพิศาล เทพสิทธา 12. ดร. อาณัติ อาภาภิรม*** 13. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล

ประธานกรรมการบริษัท กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ

การเขารวมประชุม/ การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 4/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 1/5 4/5 3/5 1/5 5/5 5/5 5/5

* Mr. Abdulhakeem Kamkar ลาออกจากการเปนกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2552 ** Dato’ Amin Rafie Othman ลาออกจากการเปนกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2552 *** ดร .อาณัติ อาภาภิรม ลาออกจากการเปนกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 แตยังคง ดํารงตําแหนงกรรมการบริษัทตอไป

สวนที่ 1 หนา 62


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและจํานวนครั้งที่กรรมการตรวจสอบแตละทาน เขารวมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2551 ถึง 31 มีนาคม 2552 เปนดังนี้ การเขารวมประชุม/ การประชุมทั้งหมด รายชื่อกรรมการตรวจสอบ ตําแหนง (ครั้ง) 1. พลโทพิศาล เทพสิทธา ประธานกรรมการตรวจสอบ 5/5 2. ดร. อาณัติ อาภาภิรม กรรมการตรวจสอบ 5/5 3. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการตรวจสอบ 5/5 2.6 คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการบริษัทไดจัดตั้งคณะกรรมการชุดยอยตาง ๆ เพื่อบริหารและดําเนินกิจการใหเปนไปตาม นโยบายการกํา กับดูแลกิจการที่ดี ไดแ ก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิ จารณาคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหา และ คณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยกรรมการอิสระ ทั้งหมด สําหรับคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและคณะกรรมการสรรหาจะประกอบดวยกรรมการอิสระ เปนสวนใหญ 2.7 เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีเลขานุการบริษัทเพื่อรับผิดชอบดําเนินการตาง ๆ ตามพระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ดังนี้

จัด ทํ า และเก็ บ รั ก ษาทะเบี ย นกรรมการ หนัง สื อ นั ด ประชุ ม กรรมการ รายงานการประชุ ม คณะกรรมการ และรายงานประจําปของบริษัท หนังสือนัดประชุมผูถือหุน และรายงานการประชุมผู ถือหุน

เก็บรักษารายงานการมีสวนไดเสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผูบริหาร

ดําเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด

3)

การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บทบาทหนาที่ของคณะกรรมการเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 3.1 คณะกรรมการมีหนาที่ในการเปดเผยสารสนเทศทั้งที่เปนสารสนเทศทางการเงิน และที่ไมใชทางการเงิน อยา งครบถ วน เพี ยงพอ เชื่อถื อ ได และทั น เวลา เพื่อ ใหผูถือ หุ น และผูมี สวนได เสีย ของบริษัท ไดรั บ สารสนเทศอยางเทาเทียมกัน 3.2 บริ ษั ท มี ห น ว ยงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ (Investor Relations) เพื่ อ เป น ตั ว แทนบริ ษั ท ในการสื่ อ สาร ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนใหแกผูถือหุน นักลงทุน นักวิเคราะหหลักทรัพยและผูที่สนใจ และเกี่ยวของไดรับทราบขอมูลของบริษัท โดยสามารถติดตอสอบถามผานหนวยงานนักลงทุนสัมพันธที่ หมายเลขโทรศัพท 0 2273-8511-5 ตอ 371 อีกทั้งมีหนวยงาน Compliance ของบริษัทดูแลในดาน การเปดเผยขอมูลแกตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลัก ทรัพ ย เพื่อ ใหมั่ น ใจว า ได ป ฏิบั ติต ามระเบีย บและข อ บั งคั บ ของกฎหมายที่ เ กี่ ย วขอ งอย า ง ครบถวน 3.3 บริษัทมีนโยบายเปดเผยสารสนเทศที่สําคัญตอสาธารณชน ดังนี้ วัตถุประสงคของบริษัท

สวนที่ 1 หนา 63


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัท โครงสรางการถือหุน และสิทธิในการออกเสียง รายชื่อคณะกรรมการ กรรมการชุดตางๆ และคณะผูบริหาร ปจจัยและนโยบายเกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยงที่สามารถคาดการณได (Material Foreseeable Risk Factors) ทั้งที่เกี่ยวกับการดําเนินงานและการเงิน นโยบายและโครงสรางการกํากับดูแลกิจการ (Governance Structures and Policies) รวมทั้ง ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการในการรายงานทางการเงิ น และรายงานของประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ เปดเผยในรายงานประจําปเกี่ยวกับจํานวนครั้งที่กรรมการและกรรมการตรวจสอบแตละทานเขารวม ประชุม โดยเปรียบเทียบกับจํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการและคณะกรรมการตรวจสอบ ในแตละป ตลอดจนประวัติของคณะกรรมการและผูบริหาร รายงานขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท ขอมูลที่มีผลกระทบตอราคาซื้อขายหลักทรัพยของ บริษัท ตอการตัดสินใจลงทุน หรือตอสิทธิประโยชนของผูถือหุนตามประกาศของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ บริษัทยังเปดเผยขอมูลตามขอบังคับหรือกฎหมายที่เกี่ยวของ งบการเงิน และรายงาน ประจําป เพื่อใหนักลงทุนและผูที่เกี่ยวของทั้งที่เปนผูถือหุนและผูที่สนใจจะถือหุนในอนาคตไดใชประกอบการ ตัดสินใจลงทุน ผานชองทางและสื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลอดจน ผานเว็บไซตของบริษัทที่ www.tanayong.co.th

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน (Internal Control) คณะกรรมการตองจัดใหมีและรักษาไวซึ่งระบบการควบคุมภายใน เพื่อปกปองเงินลงทุนของผูถือหุน และทรัพยสินของบริษัท คณะกรรมการมีหนาที่สอบทานความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในอยางนอยปละครั้ง และรายงานใหผูถือหุนทราบวาไดกระทําการดังกลาวแลว การสอบทานตองครอบคลุมในทุกเรื่อง รวมทั้ ง การควบคุ ม ทางการเงิ น การดํ า เนิ น งาน การกํ า กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง าน (Compliance Controls) และการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) 4.2 การตรวจสอบภายใน ฝายตรวจสอบภายในจะเปนอิสระจากหนวยงานอื่น ๆ ในบริษัท และรายงานผลการปฏิบัติงานตอ คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรง โดยจะทําหนาที่ในการตรวจสอบภายใน ติดตาม ควบคุม ทดสอบ สอบทาน และประเมินผลการปฏิบัติงานของหนวยงานตาง ๆ ในบริษัทตามที่คณะกรรมการตรวจสอบเปนผู กําหนดบทบาทหนาที่ ทั้งนี้ เพื่อใหระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีประสิทธิภาพ ปกปองทรัพยสินของ บริษัท ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับบริษัท เกิดการถวงดุล และตรวจสอบระหวางกัน อยางเหมาะสมที่จะใหเกิดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลในการปฏิบัติงานของบริษัทที่จะบรรลุผลสําเร็จตาม เปาหมายที่กําหนดไว 4.3 การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) บริษัท มีน โยบายที่ จะบริ ห ารความเสี่ย งตางๆ ที่มี ผ ลกระทบต อบริษั ททั้ง ที่เปน ปจ จัย ภายในและ ภายนอกใหมีความเสี่ยงที่เหลืออยูในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได การบริหารความเสี่ยงเปนสวนหนึ่งของ การจั ดทํา แผนธุ ร กิจ (Business Plan) ประจํา ป เพื่อ ให ก ารกํา หนดแนวทางการจัด การความเสี่ ยงนั้ น 4) 4.1

1

สวนที่ 1 หนา 64


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

5)

จริยธรรมและจรรยาบรรณ

บริ ษั ท ได ดํ า เนิ น การประกอบธุ ร กิ จ ด ว ยความซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต และเที่ ย งธรรมตามหลั ก ปรั ช ญาและ จรรยาบรรณของบริษัท ทั้งการปฏิบัติตอผูถือหุนของบริษัทและผูมีสวนไดเสียทุกกลุม สาธารณชน สังคม และ ผูที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ บริษัทไดติดตามการปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งไดมีการอบรมทํา ความเขาใจใหกับผูบริหารและพนักงาน ซึ่งผูบริหารและผูบังคับบัญชามีหนาที่ในการสอดสอง ดูแล และ สงเสริมผูใตบังคับบัญชาใหปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนดและประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทไดตระหนักถึงความสําคัญในการปองกันการใชขอมูลภายในของบริษัท ดังนั้น จึงไดมีการแจงให กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทั้งหลายปฏิบัติตามกฎเกณฑและระเบียบของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และประมวลขอกําหนดตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอยางเครงครัด โดย มีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ 8.5

1. กําหนดใหกรรมการ ผูบริหาร รวมถึงคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกลาว ตอง รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยตอสํานักงานคณะกรรมการกํา กั บหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และจัดสงสําเนา รายงานนี้ใหแกบริษัทในวันเดียวกันกับวันที่สงรายงานตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย 2. แจงใหกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และบุคคลภายในอื่น ๆ เชน ทนายความ ผูสอบบัญชี รับทราบถึง การไมใชขอมูลภายในเพื่อประโยชนในการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท และหามมิใหเปดเผยขอมูลภายในตอ บุคคลภายนอกใด ๆ กอนที่จะมีการเปดเผยใหประชาชนทราบโดยทั่วถึงกันผานตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย โดยบริษัทมีนโยบายปองกันการใชขอมูลภายในโดยมิชอบดังนี้ ห า มบุค คลภายในซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ยข องบริ ษั ทก อ นมีก ารเป ด เผยงบการเงิ น รายไตรมาสและงบ การเงินประจําปและภายใน 24 ชั่วโมง หลังการเปดเผยงบการเงินดังกลาว ในกรณีที่ขอมูลภายในที่ เปดเผยตอประชาชนมีความซับซอน บุคคลภายในควรตองรออยางนอย 48 ชั่วโมง ในกรณีที่ทราบขอมูลภายในที่ยังไมเปดเผย และมีความสําคัญซึ่งอาจมีผลกระทบตอราคาหลักทรัพย ของบริษัท บุคคลภายในตองละเวนการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทจนกวาจะพนระยะเวลา 24 สวนที่ 1 หนา 65


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ทั้งนี้ หากบุคคลภายในเปนพนักงานของบริษัท การฝาฝนขอกําหนดในเรื่องเกี่ยวกับการใชขอมูล ภายในดังกลาว นอกจากจะมีโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลว ยังถือวาไดกระทํา ผิดขอบังคับการทํางานของบริษัทและมีโทษทางวินัย โดยบทลงโทษทางวินัยในเรื่องนี้มี 4 ลําดับ โดยขึ้นกับ ลักษณะแหงความผิดหรือความหนักเบาของการกระทําผิดหรือตามความรายแรงที่เกิดขึ้น คือ ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร และพักงานโดยไมไดรับคาจางไมเกิน 7 วัน เลิกจางโดยจายคาชดเชย เลิกจางโดยไมจายคาชดเชย 8.6

บุคลากร จํานวนพนักงานและผูบริหารของบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 มีจํานวน 104 คน โดยแยกตาม ฝายตางๆ ดังนี้ สํานักกรรมการผูจัดการ/รองกรรมการผูจัดการ ฝายกฎหมาย ฝายทรัพยากรมนุษยและธุรการ ฝายบริหารทรัพยสินและอสังหาริมทรัพย ฝายโครงการพิเศษ ฝายโรงแรม ฝายพัฒนาอสังหาริมทรัพย/ฝายบริหารโครงการ/ฝายพัฒนาธุรกิจ ฝายการตลาด การขาย และประชาสัมพันธ ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝายบัญชี ฝายการเงิน รวม 26

โดยมีคาตอบแทนประกอบดวยเงินเดือนและโบนัส รวมทั้งสิ้น 67,549,768 บาท ขอพิพาททางดานแรงงานในปที่ผานมา - ไมมี -

สวนที่ 1 หนา 66

9 คน 6 คน 8 คน 27 คน 9 คน 1 คน 17 คน 10 คน 3 คน 12 คน 2 คน 104 คน


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 8.7

นโยบายการพัฒนาบุคลากร

บริษัทตระหนักดีวาพนักงานทุกคนเปนทรัพยากรที่มีคาที่จะทําใหบริษัทสามารถบรรลุเปาหมายและแผน ธุรกิจ ดังนั้น บริษัทจึงมีการกําหนดแนวทางในการบริหารทรัพยากรมนุษยตั้งแตกระบวนการสรรหา คัดเลือก พัฒนา สงเสริม และรักษาไวซึ่งพนักงานที่มีคุณภาพ ดังตอไปนี้ การสรรหาและความกาวหนาในอาชีพของพนักงาน บริษัทไดใหความสําคัญในการพัฒนาบุคลากรตั้งแตกระบวนการสรรหา โดยบริษัทจะกําหนดลักษณะ ของวุฒิการศึกษา ประสบการณ ความเชี่ยวชาญ และขอกําหนดอื่นๆ ของแตละตําแหนงงานอยางชัดเจน เพื่อที่จะไดเลือกสรรอยางถูกตองและเหมาะสม ทั้งนี้ บริษัทจะพิจารณาพนักงานภายในเปนอันดับแรก เพื่อให โอกาสในการพั ฒ นาความก า วหน า ในการทํ า งาน หากไม มี ผู ใ ดเหมาะสมจึ ง จะพิ จ ารณาคั ด เลื อ กจาก บุคคลภายนอก นอกจากนี้พนักงานใหมทุกคนจะไดเขารับการอบรมปฐมนิเทศเพื่อชวยใหพนักงานไดทราบถึง กระบวนการและขั้นตอนการทํางานของฝายตางๆ ในองคกร จึงทําใหพนักงานสามารถวางแผนและปฏิบัติงาน ไดตรงตามวัตถุประสงค อีกทั้งบริษัทยังใหความสําคัญในการใหโอกาสเติบโตในหนาที่การงานแกพนักงาน ตามเสนทางความกาวหนาในอาชีพ เพื่อรักษาคนเกงและคนดีใหอยูกับองคกรตลอดไป

โครงการฝกอบรมพนักงาน บริษัทมีนโยบายที่จะสนับสนุนการฝกอบรมและการพัฒนาพนักงาน ทั้งนี้เพื่อพัฒนาทักษะในการทํางาน ของพนักงานอยางสม่ําเสมอ เพิ่มพูน และตอเนื่อง โดยไดจัดใหมีการฝกอบรมทั้งภายในและภายนอกองคกร สําหรับการฝกอบรมภายในองคกร นอกจากจะไดจัดใหมีการฝกอบรมในเรื่องทักษะการทํางานตาง ๆ แลว ยัง ไดจัดใหมีการแลกเปลี่ยนความรูเชิงประสบการณระหวางพนักงานฝายตาง ๆ ไมวาจะโดยการประชุมรวมกัน หรือการแลกเปลี่ยนความรูผานสื่อระบบ Intranet สําหรับการฝกอบรมภายนอกองคกร บริษัทจะใหพนักงาน กรอกแบบสอบถามความตองการฝกอบรมและสงใหเขาอบรมตามความเหมาะสม โดยมีการติดตามผลหรือวัด การเรียนรูในแตละหลักสูตร เพื่อใหเกิดประโยชนรวมกันทั้งบริษัทและพนักงาน

จัดใหมีระบบการประเมินผลงานของพนักงาน บริษัทมีการประเมินความรูความสามารถของพนักงานในการปฏิบัติงาน โดยมีการกําหนดเกณฑในการ ประเมินพนักงานทุกระดับอยางชัดเจนและเปนธรรม โดยจะประเมินจากความสามารถ ศักยภาพ และสมรรถนะ ของพนักงานใน 4 สวน คือ ทักษะ (Skill) ความรู (Knowledge) คุณสมบัติ (Attributes) และผลการปฏิบัติงาน (Performance) และบริษัทไดมีการสื่อสารเกณฑตางๆ ในการประเมินใหพนักงานทราบลวงหนาอยางทั่วถึง ทั้งนี้ ในการพิจารณากําหนดคาตอบแทนแกพนักงาน นอกจากจะคํานึงถึงผลการประกอบการของบริษัทและ สถานการณทางเศรษฐกิจในแตละปแลว ผลการประเมินก็เปนสวนสําคัญในการพิจารณากําหนดคาตอบแทน แกพนักงาน ซึ่งการจัดใหมีระบบการประเมินผลงานของพนักงานและการพิจารณากําหนดคาตอบแทนแก พนักงานตามผลการประเมินนี้ จะสงผลใหพนักงานสามารถทํางานและพัฒนาศักยภาพอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

สวนที่ 1 หนา 67


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ความเทาเทียมในการปฏิบัติตอพนักงานในองคกร บริษัทตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันกับพนักงานทุกคนในองคกร ตั้งแต กระบวนการคัดเลือกบุคคล ตลอดจนการเลื่อนตําแหนงจากความสามารถ โดยไมมีอคติหรือใชระบบเครือ ญาติในการวัดผลงาน การแสดงความคิดเห็นและแนวทางการปฏิบัติงาน

การสํารวจความพึงพอใจของพนักงาน เพื่ อ ให ท ราบถึ ง ความพึ ง พอใจหรื อ ความสุ ข ในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องพนั ก งานแต ล ะคน บริ ษั ท ได กําหนดใหมีการสํารวจขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ ของพนักงานทุกระดับ ซึ่งขอมูลที่ไดรับมานั้นจะ สามารถนํามาปรับปรุงแกไขขอบกพรองในการบริหารจัดการองคกรและทรัพยากรทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งบริษัทยังไดกําหนดระเบียบปฏิบัติวาดวยการยื่นคํารองทุกขเพื่อใหพนักงานไดใชในการยื่นเรื่องราว รองทุกข เพื่อเปนแนวทางในการแกไขขอคับของใจในการทํางานของพนักงานอยางเสมอภาคและเปนธรรม

สรางคุณภาพชีวิตที่ดีแกพนักงาน บริษัทเห็นความสําคัญของคุณภาพชีวิตที่ดีของพนักงาน ซึ่งจะชวยสงเสริมใหพนักงานทํางานอยาง เต็ ม ที่ แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ดั ง นั้ น บริ ษั ท จึ ง เอาใจใส ดู แ ลรั ก ษาสถานที่ ทํ า งานให มี ค วามปลอดภั ย และ ถูกสุขลักษณะ เพื่อสวัสดิภาพที่ดีและสุขพลามัยที่สมบูรณของพนักงาน โดยบริษัทไดจัดใหมีการตรวจสุขภาพ แกพนักงานเปนประจํา ทุกป นอกจากนี้ หากจํานวนพนักงานในหนวยงานใดไมเพียงพอตอปริมาณงานที่ เพิ่ ม ขึ้ น บริษั ท ก็จ ะจัด จ า งพนั ก งานที่ เ หมาะสมกั บ ตํา แหน ง งานเพิ่ ม เติม เพื่ อ ให ป ริ ม าณงานในหน ว ยงาน สอดคลองกับจํานวนพนักงานและสรางคุณภาพชีวิตที่ดีในการทํางานแกพนักงาน

สรางระบบบริหารและการทํางานรวมกันที่ดี บริษัทไดเล็งเห็นความสําคัญในระบบการทํางานใหมีความตอเนื่องตั้งแตตนทางไปยังปลายทาง และ กอใหเกิดผลงานที่มีคุณภาพ ไดมาตรฐาน ขจัดและลดความขัดแยงในการทํางาน จึงไดใหทุกฝายในองคกร รวมกันจัดทําคูมือระบบการทํางานรวมกัน (Operational Manual) เพื่อเปนระเบียบวิธีปฏิบัติงานในการติดตอ ประสานงานกันระหวางหนวยงานภายในองคกรและไดมีการเผยแพรระบบการทํางานรวมกันนี้ผานระบบ Intranet โดยบริษัทไดจัดใหมีการทบทวนและแกไขตามความเหมาะสม

สรางสัมพันธที่ดีระหวางผูบริหารและพนักงาน บริ ษั ท ได ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของความสั ม พั น ธ ที่ ดี ใ นการทํ า งานร ว มกั น ระหว า งผู บ ริ ห ารและ พนักงาน เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการทํางานรวมกัน ดังนั้น จึงไดจัดใหมีกิจกรรมรวมกันระหวางพนักงาน และผูบริหาร ซึ่งจะเปนปจจัยที่สามารถพัฒนาความสัมพันธที่ดีและเปนการสนับสนุนใหเกิดความสุขใจในการ ทํางาน เชน งานสังสรรควันปใหม งานทําบุญรวมกัน นอกจากนี้ ผูบริหารไดจัดประชุมรวมกันกับพนักงาน อยางสม่ําเสมอ เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางผูบริหารและพนักงาน ซึ่งจะนําพาองคกรไปสู เปาหมายการทํางานในทิศทางเดียวกันอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

สรางพนักงานใหเปนคนดีขององคกรและสังคม เพื่อใหพนักงานยึดถือปฏิบัติตามและเพื่อประโยชนแหงความมีวินัยอันดีงามของหมูคณะ เมื่อพนักงาน ผูใดหลีกเลี่ยงหรือฝาฝนระเบียบขอบังคับการทํางานจะถือวาพนักงานผูนั้นกระทําผิด ซึ่งจะตองไดรับการ พิจารณาและดําเนินการตามมาตรการแกไขอยางใดอยางหนึ่งตามระเบียบขอบังคับการทํางานอยางเหมาะสม

สวนที่ 1 หนา 68


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

สวนที่ 1 หนา 69


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

9. การควบคุมภายใน บริษัทไดใหความสําคัญตอการควบคุมภายในมาอยางตอเนื่อง โดยคณะกรรมการบริษัทไดมอบหมาย ใหคณะกรรมการตรวจสอบสอบทานและประเมินระบบการควบคุมภายใน เสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อ กําหนดแนวทางการกํากับดูแลกิจการ ตลอดจนการควบคุมภายในดานตางๆ ไดแก องคกรและ สภาพแวดลอม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติการของฝายบริหาร ระบบสารสนเทศและการ สื่อสารขอมูล และระบบการติดตาม เพื่อเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดังนี้ องคกรและสภาพแวดลอม 1. บริษัทคํานึงถึงการมีโครงสรางองคกรและสภาพแวดลอมที่ดีซึ่งเปนรากฐานที่สําคัญของระบบควบคุม ภายในที่มีประสิทธิผล ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่ตองสรางภาวะหรือปจจัยตางๆ ซึ่งเอื้อใหระบบการควบคุม ภายในดําเนินไปไดตามที่บริษัทมุงหวัง และสงเสริมใหทุกคนตระหนักถึงความจําเปนของระบบการควบคุม ภายในดังตอไปนี้ คณะกรรมการไดจัดการดูแลใหมีการกําหนดเปาหมายการดําเนินธุรกิจอยางชัดเจน โดยบริษัทมี การประชุมรวมกันของฝายบริหาร เพื่อกําหนดเปาหมายของการดําเนินธุรกิจ และจัดเปนแผนธุรกิจ และงบประมาณทั้งในระยะยาวและระยะสั้นเปนประจําทุกป อีกทั้งมีการแจงใหผูบริหารแตละฝาย รับทราบ เพื่อบริหารงานภายในใหสอดคลองกับเปาหมายที่ตั้งไว นอกจากนี้บริษัทไดมีการวัดผล การดําเนินงานทุกไตรมาส เพื่อประเมินผลการปฏิบัติหนาที่และนํามาปรับปรุงแผนการดําเนินการ บริษัทไดพิจารณาทบทวนถึงการตั้งเปาหมายของการทํางานในแตละหนาที่อยางรอบคอบ โดย ทบทวนถึงผลการดําเนินงานที่ผานมา สภาวะเศรษฐกิจ และปจจัยตางๆ เพื่อการปฏิบัติหนาที่ซึ่ง ไดรับมอบหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดแรงจูงใจหรือผลตอบแทนแกพนักงานอยาง เหมาะสม บริษัทมีการกําหนดโครงสรางองคกร โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร และมี การประกาศใหพนักงานทราบโดยทั่วกัน บริษัทมีการจัดทําขอกําหนดเกี่ยวกับจริยธรรม (Code of Conduct) ขอกําหนด ระเบียบการ ปฏิบัติและบทลงโทษของฝายบริหารและพนักงาน บริษัทมีการกําหนดนโยบายและระเบียบในการอนุมัติธุรกรรมดานการเงิน การจัดซื้อ และการ บริหารงานเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน เพื่อปองกันการทุจริต บริษัทมีขอกําหนดเกี่ยวกับหลักการกํากับกิจการที่ดีและแผนการปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงความ เปนธรรมกับทุกฝายที่เกี่ยวของ 2.

การบริหารความเสี่ยง

บริษัทมีการกําหนดวัตถุประสงคที่ชัดเจน ทั้งวัตถุประสงคระดับองคกรและวัตถุประสงคระดับกิจกรรม ใหสอดคลองกันเพื่อที่จะสามารถทํางานใหสําเร็จดวยงบประมาณและทรัพยากรที่กําหนดไวอยางเหมาะสม โดยบริษัทมีการวิเคราะหความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน ฝายบริหาร จึงกําหนดใหมีการดําเนินการอยางสม่ําเสมอดังตอไปนี้

สวนที่ 1 หนา 70


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

บริษัทไดมีการประชุมเพื่อประเมินถึงความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจอยางสม่ําเสมอและวิเคราะหถึง สาเหตุที่ทําใหเกิดเปนความเสี่ยง ตลอดจนมีการติดตามสถานการณที่เปนสาเหตุของความเสี่ยง เพื่อกําหนดมาตรการปองกันหรือลดความเสี่ยงดังกลาว บริษัทมีการแจงใหผูบังคับบัญชาของแตละฝายงานทราบถึงแนวทางการปฏิบัติตามมาตรการ บริหารความเสี่ยง เพื่อนําไปถายทอดแกพนักงานทุกคนเพื่อปฏิบัติใหถูกตอง และไดติดตามผลการ ปฏิบัติตามแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว

การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร บริษัทมีนโยบายและวิธีปฏิบัติงานของฝายบริหารที่ทําใหมั่นใจวาแนวทางการปฏิบัติงานของฝาย บริหารที่กําหนดไวไดรับการตอบสนองและปฏิบัติตามจากทุกคนในบริษัท ซึ่งแนวทางดังกลาว ไดแก บริษัทมีการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และวงเงินอํานาจอนุมัติของฝายบริหารในแตละระดับไว อยางชัดเจนเปนลายลักษณอักษร บริษัทมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ดานคือ (1) หนาที่อนุมัติ (2) หนาที่บันทึก รายการบัญชีและขอมูลสารสนเทศ และ (3) หนาที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพยสิน โดยแยกออกจากกัน อยางชัดเจน เพื่อใหสามารถดูแลตรวจสอบไดอยางมีประสิทธิภาพ บริษัทมีมาตรการดูแลการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหารหรือกับบุคคลที่ เกี่ยวของอยางรัดกุมและชัดเจน โดยมีการกําหนดใหการทํารายการระหวางกันของบริษัท หรือ บริษัทยอยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงจะตองเปนไปภายใตเงื่อนไขที่สมเหตุสมผล หรือเงื่อนไข การคาปกติหรือราคาตลาด โดยจะตองนําเสนอการทํารายการดังกลาวตอคณะกรรมการตรวจสอบ เปนรายไตรมาส เพื่อใหคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาใหความเห็นเกี่ยวกับความสมเหตุสมผล ในการทํารายการนั้นๆ หากมีการทํารายการระหวางกันที่ไมเปนรายการทางการคาปกติ จะ กําหนดใหตองนําเสนอตอคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาความเหมาะสมเพื่อเสนอความเห็นตอ คณะกรรมการบริษัทหรือผูถือหุนตามแตกรณี เพื่ออนุมัติรายการกอนเขาทํารายการ ซึ่งการอนุมัติ จะกระทําโดยผูที่ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมนั้นเทานั้น โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของบริษัทเปน สําคัญ ในกรณีที่มีการทําธุรกรรมกับผูที่เกี่ยวของในลักษณะที่มีผลผูกพันบริษัทในระยะยาว บริษัท กําหนดใหตองมีการติดตามการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ไดตกลงกันไว และใหรายงานตอคณะกรรมการ ตรวจสอบ เพื่อทบทวนความเหมาะสมของรายการตลอดระยะเวลาของสัญญา อีกทั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบจะพิจารณาครอบคลุมถึงการปองกันไมใหผูเกี่ยวของนําโอกาสหรือผลประโยชนของ บริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตัวดวย บริษัทไดกําหนดใหมีการติดตามดูแลการบริหารจัดการในบริษัทยอยและบริษัทรวมอยูเสมอ รวมทั้งมีการกําหนดทิศทางใหบุคคลที่บริษัทแตงตั้งใหเปนกรรมการหรือผูบริหารในบริษัทดังกลาว ถือปฏิบัติ เพื่อใหการดําเนินการของบริษัทยอยและบริษัทรวมเปนไปตามเปาหมายของบริษัท ตลอดจนมีการกําหนดนโยบายตรวจสอบติดตามการดําเนินงานของบริษัท บริษัทยอย และ บริษัทรวม ใหสอดคลองเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ และบริษัทมีมาตรการแกไขและปองกันมิให เกิดการฝาฝนกฎหมาย

3.

สวนที่ 1 หนา 71


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 4.

ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล บริษัทมีการจัดการระบบขอมูลสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน การรายงานทางการเงิน การ ดําเนินงาน การปฏิบัติตามนโยบาย และระเบียบปฏิบัติตาง ๆ ที่ใชในการควบคุม เพื่อใหมั่นใจวามีการ ติดตอสื่อสารที่มีผลตอการบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายขององคกร ดังนั้นการสื่อสารขอมูลดังกลาวไปยังผู ที่เกี่ยวของจึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งและเปนสิ่งที่จะชวยใหเกิดความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ดังนี้ บริษัทไดจัดใหมีขอมูลที่สําคัญตาง ๆ อยางเพียงพอเพื่อใหคณะกรรมการใชประกอบการตัดสินใจ โดยเฉพาะขอมูลที่มีนัยสําคัญ โดยจะจัดสงหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการพิจารณา ลวงหนาไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการมีเวลาศึกษาขอมูลตางๆอยางเพียงพอ บริษัทกําหนดใหการบันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการมีเนื้อหารายละเอียดตามควร ซึ่งเปน เนื้อหาสําคัญตอการตัดสินใจในแตละเรื่อง อีกทั้งยังมีการบันทึกขอซักถาม ความเห็น และขอสังเกต ของกรรมการในเรื่องที่พิจารณา รวมทั้งความเห็นของกรรมการในการประชุม บริษัทมีการจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีและบัญชีตางๆ ไวครบถวนเปนหมวดหมู สะดวกตอการตรวจสอบ และมีการกําหนดนโยบายบัญชีของบริษัทและบริษัทยอยใหสอดคลองกับ การดําเนินธุรกิจหลักของบริษัทและบริษัทยอยเปนสําคัญ และไมขัดตอหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ระบบการติดตาม บริษัทมีการติดตามอยางสม่ําเสมอเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเปาหมายที่วางไว และระบบควบคุมภายใน ยังคงดําเนินอยูอยางตอเนื่อง และมีการปรับปรุงแกไขใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้ง ขอบกพรองตาง ๆ ไดรับการแกไขอยางทันทวงที โดยมีสาระสําคัญดังตอไปนี้ บริษัทมีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในและประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน บริษัทได จัดการประชุมอยางสม่ําเสมอ เพื่อพิจารณาผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นวามีความแตกตางจาก เปาหมายที่กําหนดไวหรือไม ตลอดจนเสนอแนวทางการปฏิบัติการที่จําเปน เพื่อที่บริษัทจะได ดําเนินการแกไขภายในระยะเวลาที่เหมาะสม บริษัทจัดใหมีการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในอยางนอย 1 ครั้งตอป โดย กําหนดแผนการตรวจสอบอยางชัดเจน อีกทั้งบริษัทยังมีการกําหนดใหหนวยงานตรวจสอบภายใน ขึ้นตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบภายในโดยตรงตอคณะกรรมการ ตรวจสอบ เพื่อใหผูตรวจสอบภายในสามารถปฏิบัติงานไดอยางตรงไปตรงมา หากมีการตรวจพบขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ ผูที่เกี่ยวของจะตองรายงานตอคณะกรรมการ หรือ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อชี้แจงสาเหตุ และเสนอแนะแนวทางการแกไขขอบกพรอง อีกทั้งบริษัท กําหนดใหมีการติดตามความคืบหนาในการแกไขขอบกพรอง และรายงานตอคณะกรรมการบริษัทหรือ คณะกรรมการตรวจสอบภายในระยะเวลาที่กําหนด

5.

สวนที่ 1 หนา 72





แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

10. รายการระหวางกัน

บุคคลที่อาจมี บริษัทที่เกิด ความขัดแยง รายการ บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่

บริษัท

ลักษณะความสัมพันธ –

บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ เปน บริษัทยอยของ บมจ. ระบบ ขนสงมวลชนกรุงเทพ นายคีรี กาญจนพาสน เปน ประธานกรรมการบริหารของ บมจ. ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพ

ลักษณะรายการ

-

รายไดจากการรับเหมาออกแบบ

-

บริษัทเปนผูรับจางตามสัญญารับเหมา ออกแบบกอสรางมูลคารวมตามสัญญา 72 ลานบาท ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 บริษัทมี ยอดเงินรับลวงหนาจากผูวาจาง จํานวน 15.50 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 73

มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2550 (ลานบาท) -

มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2551 (ลานบาท) -

ความจําเปน / หมายเหตุ เปนรายการที่เกิดจากการทํา ธุรกิจรวมกันตามเงื่อนไข การคาโดยทั่วไปที่เขาทํา ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2551 กอนที่ บมจ.ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ จะเขาซื้อหุน ใน บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ ใน เดือนธันวาคม 2551 และทํา ให บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ มี สถานะเปนบุคคลที่อาจมี ความขัดแยงกับบริษัท


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 บุคคลที่อาจมี บริษัทที่เกิด ความขัดแยง รายการ บจ. ยูนิโฮลดิ้ง

บริษัท

ลักษณะความสัมพันธ –

บจ. ยูนิโฮลดิ้ง เปนบริษัทยอย ของ บมจ. ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพ นายคีรี กาญจนพาสน เปน ประธานกรรมการบริหารของ บมจ. ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพ

ลักษณะรายการ

-

รายไดจากการรับเหมาออกแบบและกอสราง

-

บริษัทเปนผูรับจางตามสัญญารับเหมา ออกแบบและกอสรางแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) มีมลู คารวมตามสัญญา 2,200 ลานบาท ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 มีรายการ ตามบัญชี ดังนี้

ลูกหนี้การคา 44.44 ลานบาท รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ 65.04 ลานบาท เงินรับลวงหนาจากผูวาจาง 57.85 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 74

มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2550 (ลานบาท) -

มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2551 (ลานบาท) 107.2

ความจําเปน / หมายเหตุ เปนรายการที่เกิดจากการทํา ธุรกิจรวมกันตามเงื่อนไข การคาโดยทั่วไปที่เขาทํา ตั้งแตเดือนสิงหาคม 2551 กอนที่ บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ จะเขาซื้อหุน ใน บจ. ยูนิโฮลดิ้งในเดือน พฤษภาคม 2552 และทําให บจ. ยูนิโฮลดิ้ง มีสถานะเปน บุคคลที่อาจมีความขัดแยงกับ บริษัท


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

รายการระหวางกันในอดีตซึ่งเกิดขึ้นนานแลว โดยยังมียอดหนี้คงคางอยูและบริษทั ไดประเมินแลววาลูกหนี้ไมมีความสามารถในการชําระหนี้เต็มจํานวน ซึ่งอยูระหวางการติดตามและทวงถามหนี้ ทั้งนี้ บริษัทไดสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพียงพอตอจํานวนที่คาดวาจะเกิดความเสียหายแลว บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง บจ. อีจีวี

ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ –

นายคีรี กาญจนพาสน เปน กรรมการและผูถือหุนราย ใหญใน บจ. อีจีวี

บริษัทใหเงินกูยืม บจ. อีจีวี เมื่อ นานมาแลว โดย บจ. อีจีวี ไดนํา เงินกูยืมนี้ไปซื้อหุนของ บมจ. ไอ ทีวี และไดจํานําหุนเหลานี้เปน หลักประกันหนี้ของบริษัท ตอมา เจาหนี้ของบริษัทไดยื่นขอรับชําระ หนี้ดังกลาวนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ ของบริษัทและขณะนี้อยูระหวางรอ คําสั่งอันเปนที่สุดของศาลลมละลาย กลาง มีหนี้คงคางกอนหักคาเผื่อหนี้สงสัย จะสูญ ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปน จํานวน 10.69 ลานบาท คงเหลือ มูลคาตามบัญชี 0 บาท

รายละเอียดของแตละรายการ ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุด ใหกูเพิ่ม/ ดอกเบี้ยสุทธิจากคา ปบัญชี 2550 รวม (รับชําระคืน) เผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ หักคาเผื่อหนี้สงสัย (ลานบาท) (ลานบาท) จะสูญ (ลานบาท) -

สวนที่ 1 หนา 75

ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุดป บัญชี 2551 หักคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) -


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้

ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ – –

บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ เปนบริษัทรวมของบริษัท นายคีรี กาญจนพาสน เปน กรรมการและผูถือหุนราย ใหญใน บจ. สระบุรี พร็อพ เพอรตี้

- บริษัทใหเงินกูยืม

บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ เมื่อนานมาแลว โดย คิดอัตราดอกเบี้ยตามตนทุน บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ ไดนําเงินกู ดังกลาวไปซื้อที่ดินและนําที่ดิน ดังกลาวมาจํานองประกันหนี้ของ บริษัท โดยตอมาที่ดินดังกลาวได ถูกโอนใชหนี้ใหแกเจาหนี้ของบริษัท ทั้งกอนการฟนฟูกิจการและตาม แผนฟนฟูกิจการของบริษัท โดยมี หนี้คงคางกอนหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะ สูญ ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปน จํานวน 491.66 ลานบาท คงเหลือ มูลคาตามบัญชี 4.57 ลานบาท

รายละเอียดของแตละรายการ ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุด ใหกูเพิ่ม/ ดอกเบี้ยสุทธิจากคา ปบัญชี 2550 รวม (รับชําระคืน) เผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ หักคาเผื่อหนี้สงสัย (ลานบาท) (ลานบาท) จะสูญ (ลานบาท) 4.57 (0.46) -

สวนที่ 1 หนา 76

ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุดป บัญชี 2551 หักคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) 4.57


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด)

ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ –

บจ. กระดาด ไอสแลนด รีสอรท

-

เดิม บจ. วาเคไทย (ไทย แลนด) เปนบริษัทยอยของ บริษัท ญาติสนิทของนายคีรี กาญจนพาสน เปนกรรมการ ใน บจ. วาเคไทย (ไทย แลนด)

นายคีรี กาญจนพาสน เปน กรรมการและผูถือหุนราย ใหญใน บจ. กระดาด ไอสแลนด รีสอรท

- บจ.

เมืองทอง แอสเซ็ทส และ บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง ซึ่ง เปนบริษัทยอยของบริษัทไดใหกูยืม เงินแก บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) เมื่อนานมาแลว โดยมีหนี้คงคาง กอนหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปนจํานวน 14.58 ลานบาท และ 37.60 ลาน บาท ตามลําดับ คงเหลือมูลคาตาม บัญชี 0 บาท - บริษัทไดใหเงินทดรองจายแก บจ. กระดาด ไอสแลนด รีสอรท เมื่อนาน มาแลว โดยมีหนี้คงคางกอนหักคา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปนจํานวน 0.22 ลานบาท คงเหลือมูลคาตามบัญชี 0 บาท

รายละเอียดของแตละรายการ ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุด ใหกูเพิ่ม/ ดอกเบี้ยสุทธิจากคา ปบัญชี 2550 รวม (รับชําระคืน) เผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ หักคาเผื่อหนี้สงสัย (ลานบาท) (ลานบาท) จะสูญ (ลานบาท) -

สวนที่ 1 หนา 77

-

-

-

ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุดป บัญชี 2551 หักคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) -

-


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง บมจ. บางกอก แลนด

ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ - ญาติสนิทของนายคีรี

กาญจนพาสน เปนกรรมการ และผูถือหุนรายใหญใน บมจ. บางกอกแลนด

- บจ.

เมืองทอง แอสเซ็ทส ซึ่งเปน บริษัทยอยของบริษัทไดจายเงิน ทดรองแก บมจ. บางกอกแลนด เมื่อ นานมาแลว โดยมีหนี้คงคางกอน หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ สิ้นสุด ปบัญชี 2551 เปนจํานวน 1.05 ลาน บาท คงเหลือมูลคาตามบัญชี 0 บาท

รายละเอียดของแตละรายการ ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุด ใหกูเพิ่ม/ ดอกเบี้ยสุทธิจากคา ปบัญชี 2550 รวม (รับชําระคืน) เผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ หักคาเผื่อหนี้สงสัย (ลานบาท) (ลานบาท) จะสูญ (ลานบาท) -

สวนที่ 1 หนา 78

ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุดป บัญชี 2551 หักคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) -


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

รายการระหวางกันในอดีตซึ่งเกิดขึ้นนานแลวโดยบริษัทยอยเปนลูกหนี้และยังมียอดหนี้คงคางอยู

บุคคลที่อาจมีความ ขัดแยง

ลักษณะความสัมพันธ

นายคีรี กาญจนพาสน

-

บจ. ชางคลานเวย

– –

ลักษณะรายการ

เปนประธานกรรมการ และผูถือหุนรายใหญ ของบริษัท

- นายคีรี กาญจนพาสน ไดใหบริษัทยอยหลายบริษัทกูยืมเงินโดยไมคิดดอกเบี้ย เพื่อเปนคาใชจายของบริษัทยอยในชวงระหวางการฟนฟูกิจการของบริษัทในป 2544 – 2548 โดยมีหนี้คงคาง ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปนจํานวนรวมกัน 1.42 ลานบาท บริษัทถือหุนใน บจ. ชาง - บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส คางจายเงินคาบริหารโรงแรมกับ บจ. ชางคลานเวย โดยมีหนี้คงคาง ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปนจํานวน 2.32 ลานบาท ซึ่งเปน คลานเวย รอยละ 15.15 รายการที่เกิดขึ้นนานมาแลว ญาติสนิทของนายคีรี - บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง เปนลูกหนี้เงินทดรองจาย บจ. ชางคลาน กาญจนพาสน เปน กรรมการและผูถือหุนราย เวย จํานวน 0.48 ลานบาท ซึ่งเปนรายการที่เกิดขึ้นนานมาแลว ใหญของ บจ. ชางคลาน เวย

สวนที่ 1 หนา 79

มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2550 (ลานบาท)

มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2551 (ลานบาท)

-

-

-

-


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน รายการระหวางกันของบริษัทเปนยอดคงคางของรายการที่เกิดขึ้นในอดีตเมื่อนานมาแลว อยางไรก็ ตาม คณะกรรมการตรวจสอบได ส อบทานรายการดั ง กล า วถึ ง ความเหมาะสมของการติ ด ตามผลและ ดําเนินการ การประเมินสถานะของรายการ การประเมินศักยภาพในการชําระหนี้ของลูกหนี้ ตลอดจนความ เหมาะสมของการตั้งสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวใหเพียงพอตอความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน การทํารายการระหวางกันจะตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการบริษัทที่มีค ณะกรรมการ ตรวจสอบเข า ร ว มประชุ ม หรื อ ผ า นการอนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น ตามแต ก รณี ทั้ ง นี้ ต ามประกาศ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจด ทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 และประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 21 /2551 เรื่อง หลักเกณฑในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน ตลอดจนกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่เกี่ยวของกับขอกําหนดใน เรื่องการทํารายการระหวางกัน นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกัน บริษัทอาจมีความจําเปนในการทํารายการระหวางกันกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันในอนาคต อยางไรก็ ตาม บริษัทจะกําหนดเงื่อนไขตางๆ ใหเปนไปตามเงื่อนไขการคาโดยทั่วไป และในราคาตลาด ซึ่งสามารถ เปรียบเทียบไดกับราคาและเงื่อนไขที่ใหกับบุคคลภายนอก และจะปฏิบัติตามหลักเกณฑและขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ หากมีรายการระหวางกันของบริษัทหรือบริษัทยอยเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน มีสวนไดเสีย หรื ออาจมีความขัดแยงในลักษณะอื่น บริษัทจะดํา เนินการให คณะกรรมการ ตรวจสอบเป น ผู ใ ห ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ ความจํ า เป น และความเหมาะสมของรายการนั้ น ๆ ในกรณี ที่ คณะกรรมการตรวจสอบไมมีความชํานาญในการพิจารณารายการระหวางกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะให ผูเชี่ยวชาญอิสระหรือผูสอบบัญชีของบริษัทเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกันดังกลาว เพื่อ นําไปใชประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรือผูถือหุนตามแตกรณี ทั้งนี้ บริษัทจะเปดเผยรายการ ระหวางกันไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ไดรับการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีของบริษัทและรายงาน ประจําปของบริษัท

สวนที่ 1 หนา 80


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.1 งบการเงิน 11.1.1 สรุปรายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2551 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 จากรายงานผูสอบบัญชี คือ นางสาวทิพวัลย นานานุวัฒน ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3459 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ซึ่งเปนผูสอบบัญชีที่มีรายชื่ออยูในรายชื่อผูสอบบัญชีที่ไดรับความ เห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดใหความเห็นวางบการเงินที่ แสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 อันประกอบดวย งบดุล งบกําไรขาดทุน งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนและงบกระแสเงินสดของบริษัท มีความถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตาม หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิไดเปนการแสดงความเห็นอยางมีเงื่อนไขตองบการเงินขั้นตนนี้ และไดให ขอสังเกตดังตอไปนี้ บริษัทยังไมสามารถโอนหุนสามัญของบริษัทที่จดทะเบียนในนามของบริษัทยอยเปนการชั่วคราวเพื่อเปน หลักประกันในการชําระหนี้ใหกับเจาหนี้ที่ศาลลมละลายกลาง เนื่องจากหนี้สินบางสวนยังไมถึงกําหนด ชําระ และบางสวนอยูระหวางรอคําสั่งอันเปนที่สุดของศาลหรือเจาพนักงานพิทักษทรัพย ตามที่กลาวไว ในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 25 บริษั ทมียอดคงเหลือของเงินสดที่ นํ า ไปวางทรัพยเ พื่อเปน หลัก ประกัน ในการชํา ระหนี้ของเจา หนี้ไ ม มี ประกันและเจาหนี้มีประกันที่ศาลลมละลายกลาง ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 13 โดยบริษัทไดบันทึกหนี้สินดังกลาวไวในบัญชีเรียบรอยแลว และเจาหนี้มีประกันดังกลาวไดรับการค้ํา ประกันดวยสินทรัพยของบริษัทไวแลวทั้งจํานวน บริษัทยังไมไดโอนสินทรัพยบางสวนใหกับเจาหนี้ เนื่องจากหนี้สินบางสวนยังอยูระหวางรอคําสั่งอันเปน ที่สุดของศาลหรือเจาพนักงานพิทักษทรัพย ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 15 และ 16 สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2550 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 จากรายงานผูสอบบัญ ชี คือ นายศุภชัย ปญ ญาวัฒ โน ผูสอบบัญ ชีรับอนุญ าต เลขทะเบียน 3930 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ซึ่งเปนผูสอบบัญชีที่มีรายชื่ออยูในรายชื่อผูสอบบัญชีที่ไดรับความ เห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดแสดงความเห็นอยางไมมี เงื่อนไขตองบการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 แตไดใหขอสังเกตเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการบางประการและการเปลี่ยนนโยบายบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัท ยอยและบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีสว นไดเสียเปนวิธีราคาทุน สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2549 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2550 จากรายงานผูสอบบัญชี คือ นายศุภชัย ปญญาวัฒโน ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3930 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ซึ่งเปนผูสอบบัญชีที่มีรายชื่ออยูในรายชื่อผูสอบบัญชีที่ไดรับความ เห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ผูสอบบัญชีไดแสดงความเห็น อยางไมมีเงื่อนไขตองบการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2550 แตไดใหขอสังเกตความ ไมแนนอนของการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ สวนที่ 1 หนา 81


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 11.1.2 สรุปงบการเงินรวม งบดุล รอบบัญชีป 2551 ณ 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ สินทรัพย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา - สุทธิ รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ ลูกหนี้จากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกกิจการที่ เกี่ยวของกัน - สุทธิ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย – สุทธิ งานระหวางกอสราง - สุทธิ สินทรัพยรอการโอนตามแผนฟนฟูกิจการ - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทยอยรอการโอนตามแผนฟนฟู กิจการ - สุทธิ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินจายลวงหนาแกผูรับเหมา เงินจายลวงหนาเพื่อจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้อ อาทร เงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดิน ลูกหนี้อื่น - สุทธิ อื่นๆ รวมสินทรัพยหมุนเวียน เงินฝากที่ติดภาระค้ําประกัน เงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการ ชําระหนี้ เงินจายลวงหนาคาซื้อที่ที่ดิน เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรวม - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สิทธิการเชา - สุทธิ หองพักอาศัยและเครื่องตกแตงใหเชา - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

รอบบัญชีป 2550 ณ 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ

(หนวย : ลานบาท) รอบบัญชีป 2549 ณ 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

61 50 80 258

0.9% 0.7% 1.2% 3.8%

154 9 147 -

2.3% 0.1% 2.2% -

117 47 14 -

1.7% 0.7% 0.2% -

8 1,028 13 227

0.1% 15.2% 0.2% 3.4%

1,083 39 228

16.3% 0.6% 3.4%

1,079 169 1,310

15.6% 2.4% 18.9%

224

3.3%

224

3.4%

224

3.2%

37

0.5%

30

0.5%

-

-

57 11 2,055 3

0.8% 0.2% 30.4% 0.0%

1 65 29 25 1,968 3

0.9% 0.4% 0.4% 29.6% 0.0%

25 28 3,079 3

0.4% 0.4% 44.4% 0.0%

313 11 5 633 126 1,075 2,249 99 196 4 4,713 6,768

4.6% 0.2% 0.1% 9.4% 1.9% 15.9% 33.2% 1.5% 2.9% 0.1% 69.6% 100%

313 24 292 636 113 767 2,322 11 206 5 4,691 6,658

4.7% 0.4% 4.4% 9.5% 1.7% 11.5% 34.9% 0.2% 3.1% 0.1% 70.4% 100.0%

361 292 112 601 2,271 12 204 3,856 6,935

5.2% 4.2% 1.6% 8.7% 32.7% 0.2% 2.9% 55.6% 100.0%

สวนที่ 1 หนา 82


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบดุล (ตอ) รอบบัญชีป 2551 ณ 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ หนี้สินและสวนของผูถือหุน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่ เกี่ยวของกัน สวนของเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป ตนทุนงานกอสรางคางจาย เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินรับลวงหนาจากผูวาจาง – สุทธิ สํารองเผื่อผลขาดทุนของโครงการบานเอื้ออาทร คาใชจายคางจาย เงินประกันผลงาน เจาหนี้อื่น อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ - สุทธิจากสวนที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมจากกรรมการ เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

รอบบัญชีป 2550 ณ 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ

(หนวย : ลานบาท) รอบบัญชีป 2549 ณ 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

400 18

5.9% 0.3%

132 19

2.0% 0.3%

8

0.1%

27

0.4%

11

0.2%

11

0.2%

1,972 36 65

29.1% 0.5% 1.0%

1,889 86 -

28.4% 1.3% -

4,021 -

58.0% -

59 11 46 71 60 50 2,814

0.9% 0.2% 0.7% 1.0% 0.9% 0.7% 41.6%

49 41 72 28 71 2,397

0.7% 0.6% 1.1% 0.4% 1.1% 36.0%

69 36 6 27 45 4,223

1.0% 0.5% 0.1% 0.4% 0.6% 60.9%

257 1 9 12 279 3,092

3.8% 0.0% 0.1% 0.2% 4.1% 45.7%

580 1 10 14 605 3,001

8.7% 0.0% 0.1% 0.2% 9.1% 45.1%

747 1 10 10 768 4,991

10.8% 0.0% 0.1% 0.1% 11.1% 72.0%

สวนที่ 1 หนา 83


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบดุล (ตอ) รอบบัญชีป 2551 ณ 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ สวนของผูถือหุน ทุนที่ออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว สวนเกินมูลคาหุนสามัญ ผลกําไร (ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจริง สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย สวนต่ํากวาทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาเงิน ลงทุน หุนของบริษัทที่ถือโดยบริษัทยอย สํารองจากการทํางบการเงินรวม ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ขาดทุนสะสม สวนของผูถือหุนของบริษัท สวนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย รวมสวนของผูถอื หุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

รอบบัญชีป 2550 ณ 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ

(หนวย : ลานบาท) รอบบัญชีป 2549 ณ 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

5,813 134

85.9% 2.0%

5,813 134

87.3% 2.0%

5,333 -

76.9% 0.0%

2,020 (1)

29.8% 0.0%

2,020 (0)

30.3% 0.0%

2,021 1

29.1% 0.0%

(16) 3 (134) (4,155) 3,665 11 3,676 6,768

-0.2% 0.0% -2.0% (61.4%) 54.1% 0.2% 54.3% 100%

(16) 3 (134) (4,175) 3,645 12 3,657 6,658

-0.2% 0.0% -2.0% -62.7% 54.7% 0.2% 54.9% 100.0%

(16) 3 (134) (5,264) 1,944 1,944 6,935

-0.2% 0.0% -1.9% -75.9% 28.0% 28.0% 100.0%

สวนที่ 1 หนา 84


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกําไร (ขาดทุน) รอบบัญชีป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ รายได รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย รายไดจากการจัดหาที่ดินโครงการบาน เอื้ออาทร รายไดจากการรับเหมากอสราง รายไดคาเชาและการบริการ รายไดจากกิจการโรงแรม รายไดอื่น กําไรจากการยกเลิกการค้ําประกัน กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไรจากการโอนสินทรัพยเพื่อชําระ หนี้ รายไดจากการหักกลบลบหนี้จาก การประมูลที่ดิน โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โอนกลับหนี้สินสวนเกินกวาจํานวน หนี้สินตามคําสั่งจากเจาพนักงาน พิทักษทรัพย กําไรจากการโอนทรัพยสินเพื่อชําระ หนี้ ดอกเบี้ยรับ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัท รวม อื่น ๆ รวมรายได

(หนวย : ลานบาท) รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ

49

4.5%

10

0.4%

30

0.1%

547 168 37

50.8% 15.6% 3.4%

144 832 138 37

5.8% 33.4% 5.5% 1.5%

502 75 35

1.8% 0.3% 0.1%

195 -

18.1% -

12

0.5%

24,443

87.7%

-

-

1,149

46.1%

-

-

16 12

1.5% 1.1%

114

4.6%

6

0.0%

-

-

-

-

1,597

5.7%

1

0.1%

6

0.2%

1,050 5

3.8% 0.0%

46 1,071

4.3% 100%

48 2,491

1.9% 100.0%

26 94 27,863

0.1% 0.3% 100.0%

สวนที่ 1 หนา 85


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกําไร (ขาดทุน) – (ตอ) (หนวย : ลานบาท) รอบบัญชีป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ

รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ

รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

คาใชจาย ตนทุนขายอสังหาริมทรัพย

53

4.9%

7

0.3%

12

0.0%

-

-

145

5.8%

449

1.6%

ตนทุนการรับเหมากอสราง

536

49.8%

845

33.9%

-

-

ตนทุนการใหเชาและการบริการ

105

9.8%

93

3.7%

57

0.2%

23 18

2.2% 1.6%

22 16

0.9% 0.6%

22 343

0.1% 1.2%

คาใชจายในการบริหาร

216

20.2%

226

9.1%

-

-

คาตอบแทนผูบริหาร

38

3.5%

23

0.9%

-

-

ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคา ของสินทรัพย

11

1.0%

20

0.8%

538

1.9%

ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุน จากการลดลงของมูลคาโครงการ

13

1.2%

-

-

17

0.1%

หนี้สงสัยจะสูญ

-

-

-

-

16

0.1%

ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคา ของตนทุนโครงการบานเอื้ออาทร

-

-

-

-

93

0.3%

ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคา ของเงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดินแกผู ถือหุนเดิมกอนซื้อบริษัทยอย

-

-

-

-

100

0.4%

1,013

94.6%

1,396

56.0%

1,646

5.9%

ตนทุนการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้อ อาทร

ตนทุนจากกิจการโรงแรม คาใชจายในการขายและการบริการ

รวมคาใชจาย

สวนที่ 1 หนา 86


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกําไร (ขาดทุน) – (ตอ) รอบบัญชีป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ กําไรกอนสวนแบงขาดทุนจากเงิน ลงทุนในบริษัทรวม สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัท รวม กําไรกอนคาใชจา ยทางการเงินและ ภาษีเงินไดนิติบคุ คล คาใชจายทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดนิติบุคคล กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับป การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สุทธิ สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอยของ บริษัทยอย

58

5.4%

(6)

-0.6%

51 (23) 28 (9) 20

43.9%

26,217

94.1%

(4)

-0.1%

-

-

4.8% -2.2% 2.6% -0.8% 1.8%

1,090 (1) 1,089 1,089

43.8% -0.1% 43.7% 0.0% 43.7%

26,217 (2) 26,215 26,215

94.1% -0.0% 94.1% 0.0% 94.1%

21

1.9%

1,089

43.7%

26,215

94.1%

(1) 20

-0.1% 1.8%

1,089

43.7%

26,215

94.1%

รอบบัญชีป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552 กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัท ใหญ จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน)

รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ 1,094

(หนวย : ลานบาท) รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

(หนวย: บาทตอหุนหรือตามที่ระบุ) รอบบัญชีป 2550 รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2550 – 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2551 31 มี.ค. 2550

0.004

0.190

9.223

5,781,555,421

5,745,347,771

2,842,471,167

สวนที่ 1 หนา 87


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกระแสเงินสด

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรกอนภาษี รายการปรับกระทบยอดกําไรกอนภาษีเปนเงินสดรับ (จาย) คาเสื่อมราคาและตัดจําหนาย สวนแบงผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม โอนกลับหนี้สินสวนที่เกินกวาจํานวนหนี้สินตามคําสั่งจากเจาพนักงาน พิทักษทรัพย กําไรจากการยกเลิกค้ําประกัน กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไรจากการโอนสินทรัพยเพื่อชําระหนี้ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทรวม กําไรจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว กําไรจากการรับโอนสินทรัพยเพื่อชําระหนี้ โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ภาษีหัก ณ ที่จายตัดจําหนาย หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคาของเงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดิน แกผูถือหุนเดิมกอนซื้อบริษัทยอย ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุนของโครงการบานเอื้ออาทร ขาดทุนจากการปรับมูลคาเงินใหกูยืมตามแผนฟนฟูกิจการบริษัทที่ เกี่ยวของกัน ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคาโครงการ ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคาเงินลงทุน ขาดทุน (กําไร) จากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ ดอกเบี้ยรับ คาใชจายดอกเบี้ย ขาดทุนจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและ หนี้สินดําเนินงาน

สวนที่ 1 หนา 88

(หนวย : ลานบาท) รอบบัญชี ป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550

รอบบัญชี ป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552

รอบบัญชี ป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551

28.1

1,089.4

26,214.9

43.9 6.4

30.0 4.3

76.9 -

(3.4) (195.1) (3.9) (11.8) 26.3 -

(12.2) (1,149.2) (1.0) (114.4) 1.1 11.7

(1,597.4) (24,442.9) (1,049.6) (25.6) (6.5) 2.3 16.0

10.6 11.2

19.8 -

100 537.8 -

13.1 0.8 (1.2) 22.8

(0.5) (5.5) 0.5

42.1 17.5 -

(52.3)

(126.6)

(114.8)


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกระแสเงินสด (ตอ)

สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) :ลูกหนี้การคา รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ตนทุนการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร งานระหวางกอสราง เงินจายลวงหนาเพื่อจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร เงินจายลวงหนาแกผูรับเหมา ลูกหนี้อื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) :เจาหนี้การคา ตนทุนงานกอสรางโครงการบานเอื้ออาทรคางจาย เงินรับลวงหนาจากผูวาจาง คาใชจายคางจาย เงินประกันผลงาน เจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดใชไปในกิจกรรมดําเนินงาน จายดอกเบี้ย จายภาษีเงินได ดอกเบี้ยรับ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมดําเนินงาน

สวนที่ 1 หนา 89

(หนวย : ลานบาท) รอบบัญชี ป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550

รอบบัญชี ป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552

รอบบัญชี ป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551

(41.8) 66.8 41.3 26.3 (23.2) 3.7 (1.8) 0.5

3.0 (146.8) (7.9) 110.8 (13.8) (7.7) 14.4 (4.4)

0.7 9.5 127.7 (169.2) (1.0) (2.7) (20.0) (1.3)

(1.0) (50.1) 20.2 0.7 (1.5) 0.5 (23.8) (35.5) (21.7) (15.7) 1.20 (71.8)

10.2 85.8 (48.5) 5.1 66.1 29.0 29.6 (1.7) (0.5) (12.2) 5.5 (8.9)

(4.6) 68.7 2.8 4.5 (4.0) 5.9 (97.9) (97.9)


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกระแสเงินสด (ตอ)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากที่ติดภาระค้ําประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินลงทุนในบริษัทรวมลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินสดรับจากการโอนสิทธิในการซื้อที่ดิน เงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดินและอาคารเพิ่มขึ้น เงินสดจายซื้อที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายซื้อสิทธิการเชา เงินสดจายซื้อหองพักอาศัยและเครื่องตกแตงใหเชา เงินสดรับจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการชําระหนี้ลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกูยืมจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกันลดลง เงินกูยืมจากกรรมการลดลง จายชําระเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ เงินรับลวงหนาจากการแบงเชาชวงหองพักอาศัยลดลง เงินสดรับจากการออกหุนเพิ่มทุน เงินสดรับจากการจําหนายหุนของบริษัทที่ถือโดยบริษัทยอย เงินสดรับจากผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป

สวนที่ 1 หนา 90

(หนวย : ลานบาท) รอบบัญชี ป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550

รอบบัญชี ป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552

รอบบัญชี ป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551

20.0 0.1 (8.3) 1.4 (4.0) (10.9) (264.7) (22.3) (25.9) (2.1) (316.7)

47.3 (0.0) 2.6 (640.2) 65.0 (23.5) (48.3) (98.3) (10.3) 0.6 (705.1)

(46.2) 2.9 (3.8) 150.0 (65.0) (8.5) (6.5) (5.5) 0.2 17.5

267.8 65.0 5.5 (0.3) (41.9) 296.1 (0.0) (92.4) 153.8 61.3

48.2 132.2 (0.0) (0.0) (0.1) (56.6) 614.4 12.3 750.4 0.1 36.5 117.3 153.8

(361.0) (0.7) (1,542.4) (133.3) 2,133.3 1.9 97.7 0.7 18.1 99.2 117.3


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน

รอบบัญชีป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552

รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551

รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550

อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลอง เทา 0.73 0.82 0.73 อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว เทา 0.04 0.07 0.03 อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด เทา (0.03) (0.00) (0.00) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา * เทา 27.23 104.01 45.31 * ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย วัน 13.22 3.46 7.95 อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ ** เทา 0.05 0.13 0.36 ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย ** วัน 7,155.86 2,764.38 1,003.65 อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ เทา 39.82 82.65 50.55 ระยะเวลาชําระหนี้ วัน 9.04 4.36 7.12 Cash Cycle วัน 7,160.04 2,763.49 1,004.47 อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร อัตรากําไรขั้นตน % 10.34 4.34 15.95 อัตรากําไรจากการดําเนินงาน % (23.53) (18.48) (30.85) อัตรากําไรอื่น % 25.21 53.36 81.77 (24.31) (23.06) (4.94) อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร % อัตรากําไรสุทธิ % 1.83 43.72 744.86 อัตราผลตอบแทนผูถือหุน*** % 0.53 38.89 n.a อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย % 0.29 16.01 381.67 อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร % 1.35 26.19 874.24 อัตราการหมุนของสินทรัพย เทา 0.16 0.37 0.51 อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน เทา 0.84 0.82 2.57 อัตราสวนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย**** เทา (1.64) (3.10) n.a. อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน เทา (0.31) (0.26) (0.06) (Cash Basis) อัตราสวนการจายเงินปนผล % n.a n.a n.a หมายเหตุ : * คํานวณจากรายไดหลักในธุรกิจการขายอสังหาริมทรัพย ธุรกิจการจัดหาที่ดินและรับเหมากอสราง ธุรกิจใหเชาและการบริการ และกิจการโรงแรมของบริษัท ** คํานวณจากรายไดหลักในธุรกิจการขายอสังหาริมทรัพย และการจัดหาที่ดินและรับเหมากอสราง *** สวนของผูถือหุนติดลบในปบัญชี 2548 **** ไมมีคาใชจายดอกเบี้ยเกิดขึ้นในงบกระแสเงินสดในปบัญชี 2549

สวนที่ 1 หนา 91


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 11.2 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.2.1 ภาพรวมผลการดําเนินงานในระยะที่ผานมา ในปบัญชี 2551 บริษัทมีรายไดรวม จํานวน 1,071 ลานบาท โดยมีรายไดจากการประกอบธุรกิจหลัก จํานวน 801 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 74.8 ของจํานวนรายไดรวมทั้งหมด และมีรายไดที่ไมไดมาจาก การดําเนินธุรกิจ ซึ่งสวนใหญมาจากการปรับโครงสรางหนี้เปนจํานวน 270 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 25.2 ของจํานวนรายไดรวมทั้งหมด รายไดรวมในปบัญชี 2551 ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปบัญชี 2550 เนื่องจากในปบัญชี 2551 กําไรจาก การปรับโครงสรางหนี้มีจํานวนลดลง สืบเนื่องจากมีความคืบหนาในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการของ บริษัทในปบัญชี 2550 คอนขางมาก โดยในปบัญชี 2550 รายไดรวมมีจํานวน 2,491 ลานบาท ประกอบดวย รายไดจากการประกอบธุรกิจหลักจํานวน 1,161 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 46.6 ของจํานวนรายไดรวม ทั้งหมด และรายไดที่ไมไดมาจากการดําเนินการธุรกิจ ซึ่งสวนใหญมาจากกําไรจากการปรับโครงสรางหนี้เปน จํานวน 1,330 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 53.4 ของจํานวนรายไดรวมทั้งหมด กําไรสุทธิสําหรับปบัญชี 2551 มีจํานวนลดลงเชนกัน สอดคลองกับรายไดรวมที่ลดลง โดยปบัญชี 2551 มีผลกําไรสุทธิจํานวน 20 ลานบาท ในขณะที่ปบัญชี 2550 มีผลกําไรสุทธิจํานวน 1,089 ลานบาท

11.2.2 ผลการดําเนินงานที่ผานมาของแตละสายผลิตภัณฑหรือกลุมธุรกิจ รายไดจากการประกอบธุรกิจ บริษัทมีรายไดจากการประกอบธุรกิจหลักและอื่นๆ ในปบัญชี 2551 จํานวน 801 ลานบาท ซึ่งลดลง จากในปบัญชี 2550 ที่มีจํานวน 1,161 ลานบาท โดยสาเหตุมาจากการลดลงจากรายไดที่เกิดจากการรับเหมา กอสรางและการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร ในปบัญชี 2551 บริษัทมีรายไดจากการประกอบธุรกิจหลักของบริษัทประกอบดวย (1) รายไดจากการ ขายอสังหาริมทรัพย (2) รายไดจากการรับเหมากอสราง (3) รายไดจากคาเชาและบริการ และ (4) รายไดจาก กิจการโรงแรม โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

(1) รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย ในปบัญชี 2551 บริษัทมีรายไดจากการขายอสังหาริมทรัพยเทากับ 49 ลานบาท เพิ่มขึ้น 39 ลานบาท จากปบัญชี 2550 คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นจํานวนรอยละ 390.0 โดยรายไดดังกลาวมาจากโครงการ ธนาซิตี้ เนื่องจากปบัญชี 2551 เนนการขายอสังหาริมทรัพยมากขึ้น ขณะที่ในปบัญชี 2550 บริษัทมีรายไดจากการ ขายอสังหาริมทรัพยเทากับ 10 ลานบาท เนื่องจากอยูในชวงปรับปรุงโครงการเพื่อนําออกขายใหม ยอดขาย จึงยังไมมากนัก

(2) รายไดจากการรับเหมากอสราง สํ า หรั บ ป บั ญ ชี 2551 บริ ษั ท มี ร ายได จ ากการรั บ เหมาก อ สร า งจํ า นวน 547 ล า นบาท โดยมาจาก โครงการบานเอื้ออาทรจํานวน 440 ลานบาท และโครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน จํานวน 107 ลาน บาท ทั้งนี้บริษัทไมมีรายไดจากการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร เนื่องจากรายไดดังกลาวไดถูกรับรูเสร็จ สิ้นไปในปบัญชี 2550 โดยในปบัญชี 2550 บริษัทมีรายไดจากการโครงการเอื้ออาทรจํานวน 976 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 92


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

(3) รายไดจากคาเชาและบริการ ในปบัญชี 2551 มีรายไดคาเชาและบริการจากการประกอบธุรกิจอาคารสํานักงานใหเชาทีเอสทีทาว เวอร คาเชาสนามกอลฟ และคาเชาอาคารพักอาศัย (โครงการเดอะรอยัลเพลส 1 โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 และ โครงการเดอะแกรนด) จํานวนรวมกันเทากับ 168 ลานบาท เพิ่มขึ้น 30 ลานบาท คิดเปนอัตราการ เพิ่มขึ้นรอยละ 21.7 จากปบัญชี 2550 โดยในปบัญชี 2550 บริษัทมีรายไดคาเชาและบริการจํานวนรวมกัน เทากับ 138 ลานบาท

(4) รายไดจากกิจการโรงแรม ในปบัญชี 2551 บริษัทมีรายไดจากการประกอบกิจการโรงแรมอิสติน เลคไซด จํานวน 23 ลานบาท และรายไดจากการประกอบกิจการโรงแรม ยู เชียงใหม จํานวน 14 ลานบาท โดยรายไดจากการประกอบ กิจการโรงแรมอิสติน เลคไซด ลดลงจากปบัญชีกอน เนื่องจากการทองเที่ยวในประเทศไทยไดรับผลกระทบ จากภาวะเศรษฐกิจโลก และปญหาทางการเมืองภายในประเทศ แตบริษัทมีรายไดจากการประกอบกิจการ โรงแรม ยู เชียงใหม มาทดแทนในสวนที่ลดลง ดังนั้นจึงไมมีการเปลี่ยนแปลงในการรับรูรายไดดังกลาว เมื่อ เทียบกับปบัญชี 2550 รายไดอื่น ในปบัญชี 2551 บริษัทมีรายไดอื่นที่ไมไดมาจากการดําเนินการทางธุรกิจจํานวน 270 ลานบาท สวน ใหญมาจากผลของการปรับโครงสรางหนี้และการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ ในปบัญชี 2550 รายไดอื่นที่ไม ไดมาจากการดําเนินการทางธุรกิจมีจํานวน 1,330 ลานบาท โดยรายไดดังกลาวลดลงจํานวน 1,060 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนลดลงรอยละ 79.7 เนื่องจากความคืบหนาในการดําเนินการตามแผนฟนฟูกิจการของ บริษัท ตนทุนขายและบริการ ในปบัญชี 2551 บริษัทมีตนทุนขายและบริการรวมกันเทากับ 717 ลานบาท ลดลงจํานวน 395 ลาน บาทจากปบัญชีกอน โดยคิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 35.5 ในปบัญชี 2551 บริษัทเนนการปรับกลยุทธ ทางดานราคาและควบคุมตนทุนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อใหสอดคลองกับความตองการในตลาด ทําใหป บัญชี 2551 บริษัทมีอัตรากําไรขั้นตนรอยละ 10.3 เปรียบเทียบกับรอยละ 4.3 ในปบัญชี 2550 โดยสาเหตุ หลักของการลดลงของตนทุนขายและบริการในการประกอบธุรกิจหลัก มีดังตอไปนี้ (1) ตนทุนการขายอสังหาริมทรัพย ในปบัญชี 2551 บริษัทมีตนทุนการขายอสังหาริมทรัพยเทากับ 53 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 657.1 เมื่อ เปรียบเทียบกับปบัญชี 2550 ที่บริษัทมีตนทุนการขายอสังหาริมทรัพยเทากับ 7 ลานบาท ในขณะที่รายได จากการขายอสังหาริมทรัพยมีอัตราการเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 390.0 สงผลใหธุรกิจอสังหาริมทรัพย มีอัตรา

สวนที่ 1 หนา 93


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

(2) ตนทุนการรับเหมากอสราง ในปบัญชี 2551 บริษัทมีตนทุนการรับเหมากอสรางจํานวน 536 ลานบาท ประกอบดวย โครงการ บานเอื้ออาทรจํานวน 439 ลานบาท และโครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน จํานวน 97 ลานบาท ตนทุน รับเหมากอสรางโครงการบานเอื้ออาทรปรับตัวลดลงจํานวน 406 ลานบาท ลดลงรอยละ 48 เมื่อเปรียบเทียบ กับปบัญชี 2550 ซึ่งสอดคลองกับรายไดที่ลดลง โดยในปปญชี 2551 มีอัตรากําไรขั้นตนของทั้งโครงการที่รอย ละ 0.2 เพิ่มขึ้นจากปบัญชี 2550 ที่มีอัตรากําไรขั้นตนที่รอยละ (1.4) เนื่องจากผลกําไรสวนใหญมาจากรายได จากการจัดหาที่ดิน ซึ่งไดบันทึกรับรูรายไดไปแลวในปบัญชีที่ผานมา ในขณะที่ผลกําไรจากการกอสรางมีนอย หรือขาดทุนในบางโครงการ

(3) ตนทุนการใหเชาและการใหบริการ ในปบัญชี 2551 บริษัทมีตนทุนการใหเชาและบริการเทากับ 105 ลานบาท ในปบัญชี 2550 มีตนทุน การใหเชาและบริการเทากับ 93 ลานบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 12 ลานบาท จากปบัญชี 2550 คิดเปนอัตราการ เพิ่มขึ้นรอยละ 12.9 ซึ่งสอดคลองกับสัดสวนของการเพิ่มขึ้นของรายไดดังกลาว โดยบริษัทมีอัตรากําไรขั้นตน รอยละ 37.5 และ 32.6 ในปบัญชี 2551 และ 2550 ตามลําดับ ซึ่งมีการปรับตัวไปในทางที่ดีขึ้น

(4) ตนทุนการโรงแรม ในปบัญชี 2551 บริษัทมีตนทุนจากกิจการโรงแรมเทากับ 23 ลานบาท โดยมีอัตรากําไรขั้นตนเทากับ รอยละ 37.8 และ ในปบัญชี 2550 มีตนทุนจากกิจการโรงแรมเทากับ 22 ลานบาท มีอัตรากําไรขั้นตนเทากับ รอยละ 40.5 ซึ่งในปบัญชี 2551 บริษัทมีอัตรากําไรขั้นตนที่ลดลง เนื่องจากโรงแรมยู เชียงใหม เพิ่งเริ่ม ดําเนินการเปนปแรก ทําใหมีอัตรากําไรขั้นตนนอย ซึ่งเปนธรรมชาติของธุรกิจโรงแรมที่จะมีอัตรากําไรขั้นตน ในชวงแรกต่ํากวาปปกติ คาใชจายในการขายและการบริการ และการบริหาร และกําไรจากการดําเนินงาน ในปบัญชี 2551 บริษัทมีคาใชจายในการขายและการบริการ และการบริหาร เทากับ 272 ลานบาท เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากปบัญชี 2550 ที่มีคาใชจายในการขายและการบริการ และการบริหารเทากับ 265 ลาน บาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 2.6 ตนทุนกูยืม ในปบัญชี 2551 บริษัทมีคาใชจายดอกเบี้ยจํานวน 23 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปบัญชี 2550 ที่มีคาใชจาย ดอกเบี้ยจํานวน 1 ลานบาท อันเปนผลสืบเนื่องมาจากจํานวนเงินกูที่เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับการพัฒนาโครงการ ตางๆ

สวนที่ 1 หนา 94


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ภาษีเงินได ในปบัญชี 2551 บริษัทยอยมีรายจายภาษีเงินไดนิติบุคคลจํานวน 9 ลานบาท และในปบัญชี 2550 บริษัทและบริษัทยอยไมมีรายจายภาษีเงินไดนิติบุคคลแตอยางใด กําไรสุทธิ ในปบัญชี 2551 บริษัทมีผลกําไรสุทธิจํานวน 20 ลานบาท ลดลงจากปบัญชี 2550 ที่มีผลกําไรสุทธิ จํานวน 1,089 ลานบาท เนื่องจากปบัญชี 2551 มีการลดลงของรายไดที่ไมไดมาจากการดําเนินการ เชน กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ ในปบัญชี 2551 มีอัตราสวนกําไรสุทธิเทากับรอยละ 1.9 และในปบัญชี 2550 มีอัตราสวนกําไรสุทธิเทากับรอยละ 43.7 อัตราผลตอบแทนผูถือหุน ในปบัญชี 2551 บริษัทมีอัตราผลตอบแทนของผูถือหุนคิดเปนจํานวนรอยละ 0.5 ลดลงจากปบัญชี 2550 ที่มีอัตราผลตอบแทนของผูถือหุนคิดเปนจํานวนรอยละ 38.9 เนื่องจากในปบัญชี 2551 มีกําไรสุทธิ ลดลง สืบเนื่องมาจากกําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ที่ลดลง 11.2.3 ฐานะการเงิน สินทรัพย สวนประกอบและการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยที่สําคัญ สินทรัพยรวมของบริษัท สิ้นสุดงวดปบัญชี 2551 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 มีจํานวน 6,768 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยสินทรัพยหมุนเวียนจํานวน 2,055 ลานบาท และสินทรัพยไมหมุนเวียนจํานวน 4,713 ลาน บาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 30.4 และ 69.6 ของสินทรัพยรวม ตามลําดับ โดยสินทรัพยรวมมีมูลคาเพิ่มขึ้น 110 ลานบาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 1.7 เทียบกับสิ้นสุดงวดปบัญชี 2550 ซึ่งสวนใหญเปนผลมา จากการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้จากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต และสิทธิการเชา เปนตน สําหรับสินทรัพยหมุนเวียนของบริษัท ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2551 เพิ่มขึ้นจํานวน 87 ลานบาท จาก ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2550 เนื่องจากมีการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้จากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ และลูกหนี้ การคา สําหรับสินทรัพยไมหมุนเวียนของบริษัท ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2551 มีจํานวนเพิ่มขึ้น 23 ลานบาท จากปกอน เปนผลสืบเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของที่ดินรอการพัฒนาในอนาคตจํานวนสุทธิ 308 ลานบาท สภาพคลอง กระแสเงินสด ในงวดสิ้นสุดปบัญชี 2551 บริษัทมีกระแสเงินสดสุทธิใชไปจํานวน 92 ลานบาท และมีเงินสดตนงวดที่ ยกมาจากงวดสิ้นสุดปบัญชี 2550 จํานวน 154 ลานบาท ทําใหเงินสดสุทธิปลายงวดปบัญชี 2551 มีจํานวน เทากับ 61 ลานบาท โดยกระแสเงินสดที่ลดลง ถูกนําไปใชไปในกิจกรรมดําเนินการจํานวน 72 ลานบาท และ กิจกรรมลงทุนจํานวน 317 ลานบาท ซึ่งประกอบดวย คาซื้อที่ดินรอการพัฒนาในอนาคตจํานวน 265 ลาน บาท คาซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ และสิทธิการเชาเปนจํานวน 48 ลานบาท และอื่นๆอีกจํานวน 4 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 95


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

อัตราสวนสภาพคลอง ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2551 บริษัทมีอัตราสวนสภาพคลองเทากับ 0.73 เทา ซึ่งลดลงเล็กนอยจาก ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2550 ที่เทากับ 0.82 เทา โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของหนี้สินหมุนเวียนในป บัญชี 2551 เนื่องจากมีการกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้นจากปบัญชีกอน สงผลให ณ สิ้นสุดงวดป บัญชี 2551 มีอัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็วเทากับ 0.04 เทา ซึ่งลดลงจาก ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2550 ที่ เทากับ 0.07 เทา

อัตราสวนแสดงความสามารถในการชําระดอกเบี้ยดีขึ้นจาก (3.10) เทา ในปบัญชี 2550 เปน (1.64) เทา ในปบัญชี 2551 โดยสาเหตุที่อัตราสวนมีคาเปนลบ เนื่องจากบริษัทอยูระหวางพัฒนาโครงการ ทําใหมี คาใชจายเกิดขึ้นในขณะที่รายรับจะเกิดขึ้นตามมาในอนาคต แหลงที่มาของเงินทุน โครงสรางเงินทุน โครงสรางเงินทุนของบริษัทไมเปลี่ยนแปลงจากปที่แลว โดยอัตราสวนหนี้สินตอทุนมีคาเทากับ 0.84 เทา ในปบัญชี 2551 ซึ่งใกลเคียงกับปบัญชี 2550 ที่มีคาเทากับ 0.82 เทา หนี้สิน ในปบัญชี 2551 หนี้สินรวมเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากจํานวน 3,001 ลานบาท ในปบัญชี 2550 เพิ่มขึ้นเปน 3,092 ลานบาทในปบัญชี 2551 สาเหตุหลักมาจากเงินกูยืมจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เพื่อรองรับการพัฒนา โครงการตา งๆของบริษั ท โดยรายละเอี ย ดหนี้ สิ น ตามแผนฟ น ฟู กิ จ การและหนี้ สิน กั บ สถาบั น การเงิ น มี ดังตอไปนี้

รายละเอียดหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการและหนี้สินกับสถาบันการเงิน

หนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ เจาหนี้มีประกัน / เจาหนี้ไมมีประกันที่มีทรัพย บุคคลหรือนิติบุคคลอื่นค้ําประกัน หนี้สินที่บริษัทเปนตัวแทนในการจัดการขาย ทรัพยสินให หนี้สินที่รอคําสั่งอันเปนที่สุด

รวม

จํานวนหนี้คงคาง ณ 31 มี.ค. 2552 (ลานบาท)

อัตรา ดอกเบี้ย

เงื่อนไขการ ชําระหนี้

859

-

457

-

ขาย ทรัพยสิน เพื่อชําระหนี้ ชําระหนี้เปน เงินสดและ โอนทรัพย ชําระหนี้

1,316

สวนที่ 1 หนา 96

หลักทรัพยค้ําประกัน

ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท ที่ดินเปลาในธนาซิตี้ พังงา เชียงใหม จันทบุรี คอนโดมิเนียมบานมิ ตรา และกิ่งแกว คอนโดมิเนียม


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 จํานวนหนี้คงคาง ณ 31 มี.ค. 2552 (ลานบาท) เจาหนี้ไมมีประกัน หนี้สินที่รอคําสั่งอันเปนที่สุด หนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ หนี้ที่แบงจายชําระเปนรายงวด รวม รวมหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน*

366 80 467 913 2,230 400

อัตรา ดอกเบี้ย -

MLR

เงื่อนไขการ ชําระหนี้ เงินสด เงินสด เงินสด

ทบทวน วงเงินทุกป

หลักทรัพยค้ําประกัน

-

ที่ดินถนนราษฎรบูรณะ

หมายเหตุ : * วงเงินจํานวน 400 ลานบาท

สวนของผูถือหุน สวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้นจากจํานวน 3,657 ลานบาทในปบัญชี 2550 เปน 3,676 ลานบาท ในปบัญชี 2551 เนื่องจากขาดทุนสะสมลดลง

11.3 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี ในรอบปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 ผูตรวจสอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด โดยมีคาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) ของบริษัทและบริษัทยอยคิดเปน จํ า นวนรวมทั้งสิ้น 3.54 ล า นบาท โดยเป น คา สอบทานงบการเงิน ไตรมาสจํ า นวน 0.6 ลา นบาท และค า ตรวจสอบงบการเงินประจําปจํานวน 2.94 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 97


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

12. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ โครงการในอนาคต คอนโดมิเนียมบนถนนสุขุมวิท 66/1 กรุงเทพฯ โครงการคอนโดมิเนียมแนวราบสไตลบูติคจํานวน 2 โครงการ แตละโครงการมีหองพัก 55 หอง ใน รูปแบบ 1 หองนอน และ 2 หองนอน พรอมสิ่งอํานวยความสะดวก เชน สระวายน้ําและฟตเนส โดยโครงการ ตั้งอยูบนที่ดินรวมประมาณ 2 ไร ซึ่งอยูหางจากสถานีรถไฟฟาบีทีเอสอุดมสุขสวนตอขยายเพียง 250 เมตร ทั้งนี้บริษัทคาดวาจะเปดขายโครงการครั้งแรกชวงปลายป 2552

โรงแรม ยู กาญจนบุรี โครงการโรงแรมสไตลบูติค (Boutique Hotel) ระดับ 4 ดาว บนที่ดินประมาณ 5 ไร ริมฝงแมน้ําแคว ภายใตชื่อ “โรงแรม ยู กาญจนบุรี” ในเครือ ยู โฮเต็ล แอนด รีสอรท เปนโครงการที่มีโรงแรมเดิมอยูแลว ปจจุบันโครงการอยูในระหวางขั้นตอนการออกแบบ เพื่อปรับปรุงซอมแซมอาคารเดิมและกอสรางอาคารใหม ภายในโครงการมีตนอินจันทนอายุมากกวา 100 ป ซึ่งจะเปนจุดเดนใหกับโรงแรมในการพัฒนาและปรับปรุง ตอไปในอนาคต

ยู เขาใหญ / ปราณคีรี เขาใหญ นครราชสีมา โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ตั้งอยูบนทําเลที่มีศักยภาพ บนที่ดินกวา 600 ไร ใกลอุทยานแหงชาติ เขาใหญ แบบผังของโครงการอยูระหวาการออกแบบโดยกรุปทรี (Group Three) ภายในโครงการจะประกอบ ไปดวย โรงแรมสไตลบูติค จํานวนหองพักประมาณ 70 หอง ภายใตชื่อ “โรงแรม ยู เขาใหญ” วิลลาหรูเพื่อขาย ภายใตชื่อ “ยู เขาใหญ” ที่ดินเปลาจัดสรรเพื่อขาย ขนาดแปลงละประมาณ 1-3 ไร ภายใตชื่อ “ปราณคีรี”

สวนที่ 1 หนา 98


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

สวนที่ 2 การรับรองความถูกตองของขอมูล บริษัทไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลวดวยความระมัดระวัง บริษัทขอ รับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงใน สาระสําคัญ นอกจากนี้ บริษัทขอรับรองวา (1) งบการเงิ น และข อ มู ล ทางการเงิ น ที่ ส รุ ป มาในแบบแสดงรายการข อ มู ล ประจํ า ป ไดแสดงขอมูลอยางถูกตองครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของ บริษัทและบริษัทยอยแลว (2) บริษัทไดจัดใหมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผยขอมูลในสวน ที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตาม ระบบดังกลาว (3) บริษัทไดจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบ ดังกลาว และบริษัทไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 ตอผูสอบ บัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบ การควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและ บริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่บริษัทไดรับรองความ ถูกตองแลว บริษัทไดมอบหมายให นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนา ดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย กํากับไว บริษัทจะถือวาไมใชขอมูลที่ บริษัทไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาวขางตน ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

นายคีรี กาญจนพาสน นายกวิน กาญจนพาสน นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร นายรังสิน กฤตลักษณ Mr. Kong Chi Keung นายคม พนมเริงศักดิ์

ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ กรรมการบริหาร

-คีรี กาญจนพาสน-. -กวิน กาญจนพาสน-สุธรรม ศิริทิพยสาคร-รังสิน กฤตลักษณ-Kong Chi Keung-คม พนมเริงศักดิ์-

ชื่อผูรับมอบอํานาจ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย

ผูอํานวยการฝายการเงิน

-นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย-

สวนที่ 2 หนา 1


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบ ริหาร ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 * ขอมูลการถือหุนของกรรมการ และผูบริหาร ซึ่งรวมหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 ความสัมพันธ การถือหุน อายุ ทางครอบครัว คุณวุฒิทางการศึกษา ชื่อ-สกุล/ตําแหนง ในบริษัท (ป) ระหวาง ชวงเวลา (%)* ผูบริหาร 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการบริษัท

59

-

1.18

บิดานายกวิน กาญจนพาสน

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง

2549-ปจจุบัน 2536-2549 2550-ปจจุบัน

ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ

2539-ปจจุบัน 2537-ปจจุบัน

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

2536-ปจจุบัน 2535-ปจจุบัน 2534-ปจจุบัน 2533-ปจจุบัน

2532-ปจจุบัน 2531-ปจจุบัน

เอกสารแนบ 1 หนา 1

0

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บจ. ไทม สเตชั่น บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง บจ. สําเภาเพชร บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. ดิ เอ็กซเชนจ สแควร บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ บจ. สระบุรี พร็อพเพอรต้ี บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท บจ. เทพประทาน พร็อพเพอรตี้ส บจ. สหกรุงเทพพัฒนา บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการผูจัดการ

3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร รองกรรมการผูจัดการ

อายุ (ป) 34

53

คุณวุฒิทางการศึกษา - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย

- ปริญญาตรีสถาปตยกรรม ศาสตร เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -

-

บุตรของนายคีรี กาญจนพาสน

-

เอกสารแนบ 1 หนา 2

0

ชวงเวลา 2549-ปจจุบัน 2552-ปจจุบัน 2551-ปจจุบัน

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง

2550-ปจจุบัน

กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

2549-ปจจุบัน 2549-ปจจุบัน 2550-ปจจุบัน 2549-ปจจุบัน

กรรมการ รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บจ. สระบุรี พร็อพเพอรต้ี บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง บจ. สําเภาเพชร บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. วีจีไอ โกลบอล มีเดีย บมจ. ธนายง บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. ทองหลอ อาคิเตค แอนด แอสโซซิเอทส


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 4. นายรังสิน กฤตลักษณ รองกรรมการผูจัดการ

อายุ (ป) 47

คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2546 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -

-

0

ชวงเวลา 2549-ปจจุบัน 2540-2549 2551-ปจจุบัน 2550-ปจจุบัน

2544-ปจจุบัน

2541-ปจจุบัน 2540-ปจจุบัน

เอกสารแนบ 1 หนา 3

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) บจ. สหกรุงเทพพัฒนา บจ. สระบุรี พร็อพเพอรต้ี บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. สําเภาเพชร บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง บจ. ไทม สเตชั่น บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท บจ. ยงสุ บจ. ดีแนล บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ บจ. เทพประทาน พร็อพเพอรตี้ส บจ. ดิ เอ็กซเชนจ สแควร


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

5. Mr. Kong Chi Keung รองกรรมการผูจัดการ

34

6. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการบริหาร

70

7. Dr. Paul Tong กรรมการ

68

คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (Executive) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - ปริญญาโทพัฒนบริหารศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการเงิน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - PhD. Engineer

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร

0

ชวงเวลา

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

0.34

-

2551-ปจจุบัน 2549-2551 2551-ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน

รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. วีจีไอ โกลบอล มีเดีย

-

-

2549-ปจจุบัน 2544-2549 2552-ปจจุบัน 2550-ปจจุบัน

กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

0.17

-

2550-ปจจุบัน 2551-ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ

2549-ปจจุบัน ปจจุบัน

ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ

บมจ. ธนายง บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ Hip Hing Overseas Limited New World Service Management Co., Ltd. Parsons Brinkerhoff Asia Pacific Chongbang Holdings Limited

เอกสารแนบ 1 หนา 4


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

8. Mr. Cheung Che Kin กรรมการ

41

-

9. ดร.อาณัติ อาภาภิรม กรรมการ

71

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

10. พลโทพิศาล เทพสิทธา ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

11. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

77

74

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร

0

ชวงเวลา

ตําแหนง กรรมการ ประธาน และ CEO ประธาน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการ

บมจ. ธนายง Green Salt Group Limited Oinghai Province Salt Industry Limited บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง

กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ ที่ปรึกษา

บมจ. ธนายง

-

-

2550-ปจจุบัน ปจจุบัน

- ปริญญาวิศวกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาภาควิศวกรรมโยธา University of Colorado, ประเทศสหรัฐอเมริกา

-

-

2552-ปจจุบัน 2541-2552

- ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ป 2545 และ หลักสูตร ประกาศนียบัตร Audit Committee Program (ACP) รุน 26 ป 2552 สมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย - ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ร.ร. นายรอยพระจุลจอมเกลา วท.บ. (ทบ) สถาบันขาราชการตํารวจชั้นสูง

0.01

-

2552-ปจจุบัน 2539-2551 2543-ปจจุบัน 2552-ปจจุบัน ปจจุบัน

-

-

2541-ปจจุบัน 2538-ปจจุบัน

เอกสารแนบ 1 หนา 5

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชื่อหนวยงาน/บริษัท

บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ธนายง บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ร็อคเวิธ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ

บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 12. Mr. Martin Harold Kyle ผูอํานวยการใหญสายการเงิน

13. นางดวงกมล ชัยชนะขจร ผูอํานวยการฝายบัญชี 14. นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย ผูอํานวยการฝายการเงิน

อายุ (ป) 56

49 42

คุณวุฒิทางการศึกษา - Master of Arts in Development Economics, Oxford University (Magdalen College), ประเทศสหราชอาณาจักร - Fellow Chartered Accountant, ประเทศออสเตรเลีย - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ University of California, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -

-

0

ชวงเวลา 2551-ปจจุบัน 2548-2551 2545-2548

51

- ปริญญาโทการจัดการภาครัฐ และเอกชน สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

ผูอํานวยการใหญสายการเงิน บมจ. ธนายง กรรมการบริหาร Australian-Thai Chamber of Commerce (AustCham Thailand) ผูอํานวยการ บจ. มี้ด จอหนสัน นิวทริชัน (ประเทศไทย) ฝายปฏิบัติการ - การเงิน และเทคโนโลยีสารสนเทศ

-

-

2544-ปจจุบัน

ผูอํานวยการฝายบัญชี

บมจ. ธนายง

-

-

2550-ปจจุบัน 2549 2548

ผูอํานวยการฝายการเงิน ที่ปรึกษาการเงินอิสระ รองประธานบริหาร ฝายการเงินและบัญชี ผูชวยผูอํานวยการ ฝายการเงิน ผูอํานวยการ ฝายพัฒนาโครงการ ผูจัดการ ฝายบริหารโครงการ

บมจ. ธนายง

2540-2547 15. นายวิศิษฐ ชวลิตานนท ผูอํานวยการ ฝายพัฒนาโครงการ

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

-

-

2550-ปจจุบัน 2546-2550

เอกสารแนบ 1 หนา 6

บมจ. แกรนด แอสเสท ดีเวลลอปเมนท บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ธนายง บมจ. กรุงเทพดุสิตเวชการ (โรงพยาบาลกรุงเทพ)


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 16. Mr. Bernardo Godinez Garcia ผูอํานวยการฝายโรงแรม

17. นายเสนอ รัตนวลี ผูอํานวยการโครงการธนาซิตี้

อายุ (ป) 52

56

18. นางสาวธิติกรณ ยศยิ่งธรรมกุล ผูอํานวยการฝายกฎหมาย / เลขานุการบริษัท

32

19. นางสาวอาทิตยา เกษมลาวัณย ผูอํานวยการฝายขาย

31

คุณวุฒิทางการศึกษา - College Degree in Hotel and Restaurant Management, Orange Coast College, ประเทศสหรัฐอเมริกา

- Bachelor of Arts in Hotel & Catering Management, Dartley University (U.K. Campus), ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท ดานกฎหมายพาณิชย University of Bristol, ประเทศสหราชอาณาจักร - ปริญญาตรี ดานบริหารการจัดการ การโรงแรมและการทองเที่ยว มหาวิทยาลัยนานาชาติมหิดล

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -

-

-

-

-

-

-

-

เอกสารแนบ 1 หนา 7

0

ชวงเวลา

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง

2551-ปจจุบัน 2552-ปจจุบัน 2551-ปจจุบัน 2550

ผูอํานวยการฝายโรงแรม กรรมการ กรรมการ ผูจัดการทั่วไป

2549-2550

ผูจัดการทั่วไป

2547-2549

ผูจัดการทั่วไป

2552-ปจจุบัน

2545-2551 2551-ปจจุบัน 2550-ปจจุบัน 2543-2550

ผูอํานวยการโครงการ ธนาซิตี้ กรรมการ กรรมการ ผูจัดการทั่วไป เลขานุการบริษัท ผูอํานวยการฝายกฎหมาย ทนายความ

2552-ปจจุบัน 2551-2552

ผูอํานวยการฝายขาย ผูอํานวยการฝายขาย

2547-2551

ผูจัดการฝายขาย

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส โรงแรมแกรนด เมอรเคียว สวีท กรุงเทพฯ และ วี วิลลาส หัวหิน โรงแรมแกรนด สุขุมวิท และ โรงแรมแกรนด เมอรเคียว ปารค อะเวนิว, กรุงเทพฯ โซฟเทล พีพี วิลลา แอนด สปา, กระบี่ ประเทศไทย บมจ. ธนายง บจ. ดีแนล บจ. ยงสุ อิสติน โฮเต็ล แอนด สปา, กรุงเทพฯ บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. เบเคอร แอนด แม็คเค็นซี่ บมจ. ธนายง บจ. แปซิฟค สตาร อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) บจ. พี. อาร. ดี. ออสแพค เรียลตี้ (ไทยแลนด)


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 20. นางสาวธัญญรวี พิพัฒนผลกุล ผูอํานวยการฝายการตลาด

อายุ (ป) 35

คุณวุฒิทางการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -

-

0

ชวงเวลา

ตําแหนง

2552-ปจจุบัน 2547

ผูอํานวยการฝายการตลาด รองผูอํานวยการอาวุโส ฝายการตลาด ผูจัดการฝายขาย พนักงานขายอาวุโส

2548 2547

เอกสารแนบ 1 หนา 8

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บมจ. ไรมอน แลนด บจ. เดสติเนชั่น พร็อพเพอรต้ี บจ. พี. อาร. ดี. ออสแพค เรียลตี้ (ไทยแลนด)


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

หมายเหตุ A=

บริษัท ประธานกรรมการ

D

D

D

D

D

บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส

D

บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล

D D

บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย)

D D

บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้

D

D D

บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท

D

บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

D

D D

บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท

D

บจ. ยงสุ

D

D D D D

บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง

D D

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

D D

A,D B,D C,D C,D C,D D D D D E E F F F F F F F F F

บจ. ดีแนล

1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. Mr. Kong Chi Keung 6. นายคม พนมเริงศักดิ์ 7. Dr. Paul Tong 8. Mr. Cheung Che Kin 9. ดร. อาณัติ อาภาภิรม 10. พลโทพิศาล เทพสิทธา 11. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล 12. Mr. Martin Harold Kyle 13. นางดวงกมล ชัยชนะขจร 14. นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย 15. นายวิศิษฐ ชวลิตานนท 16. Mr. Bernardo Godinez Garcia 17. นายเสนอ รัตนวลี 18. นางสาวธิติกรณ ยศยิ่งธรรมกุล 19. นางสาวอาทิตยา เกษมลาวัณย 20. นางสาวธัญญรวี พิพัฒนผลกุล

บจ. สําเภาเพชร

บริษัท

บจ.สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น

บมจ. ธนายง

กรรมการและผูบริหาร

บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ

เอกสารแนบ 2 ขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการและผูบ ริหารในบริษัทยอยและบริษัทรวม ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552

D D

D D

D

D

D

D D

D D

D D

B=

บริษัทยอย กรรมการผูจัดการ

C=

D

บริษัทรวม รองกรรมการผูจัดการ

D=

เอกสารแนบ 2 หนา 1

กรรมการ

E=

กรรมการตรวจสอบ

F=

ผูบริหาร


แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552

เอกสารแนบ 3 อื่น ๆ - ไมมี -

เอกสารแนบ 3 หนา 1


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.