# 1 เ พ� อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ถ พ า ณิ ช ย
กาวสูปที่ 10
ฉบับที่ 233
คําถามสังคม
www.BusAndTruckMedia.com ปกษแรก พฤศจิกายน 2556 40 บาท
ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 21.00-22.00 น. ทาง @dESIGN Channel ชอง 138 PSI, 113 CTH
ยอดขายปนี้เกิน 50,000 คัน
เปาหมายมีไวพุงชน! ดับเคร�องชม
อันซิ่นทัวร ปลอดภัยไรกังวล 04 เปรียบเทียบรถเดน
เมื1อตนป 2556 ทีผ่ า นมา ผูบ ริหาร รถใหญแทบทุกคายตางคาดวา ยอด ขายรถทุกยี่หอในปนี้ตองเกิน 50,000 คันแน ดวยสาเหตุ 2 ปจจัยคือ มียอด คางสะสมมาตัง้ แตปลายป 2554 ทีเ่ กิด
สองสายพันธุ 380 แรงมา 24
LOGISTICS NEWS
DHL เปดสํานักงานในพมา
28
NGV DEVELOPMENT
44
AUTO GAS
อุทกภัยครั้งใหญ พรอมทั้งตนป 2555 ที่ ไดเกิดสินามีขนึ้ ทีป่ ระเทศญีป่ นุ สงผล ให โรงงานผลิตชิ้นสวนตองหยุดชะลอ การผลิตชิ้นสวนไประยะหนึ่ง จึงทําให โรงงานประกอบรถตองหยุดตามไปดวย
อี ก ป จ จั ย หนึ่ ง คื อ ในป 2556 นี้ แผนการกอสรางทั้งทางรัฐบาลและการ กอสรางอสังหาริมทรัพยของเอกชนก็ ทยอยสรางกันเรื1อยมา รถใหญจึงไดรับ อานตอหนา 38
DF ปฎิวัติการทํางานใหม เบสทริน ฮับออฟอาเซียน ปรับทุกอยาง สูระบบสากล ทําหนาที่สงออกแทนจีน
เตรียมพบกับเร องเดน
ควันหลง BUS&TRUCK’13 ในฉบับที่ 235
รถใหญ DF ปรับระบบการทํางานเปนมาตรฐานสากล เริ่มจากอะไหลทุกชิ้นตองติดบารโคด มีไฟแนนซใหสินเชื1อ เอง ดีลเลอรปรับเปนสาขา ตั้งศูนยขายรถมือสอง มั่นใจป หนาขายไดกวา 400 คัน เพราะรถหัวลากทีน่ าํ มาโชวในงาน BUS & TRUCK ’13 ชวยหนุน คุณปุณณภา วรกิจธนากร ผูจัดการฝายขาย บริษัท อานตอหนา 39
เบสทรนิ กรุป ประกาศศักยภาพเปนศูนยกลางการผลิต ในอาเซียน สงออกแทนประเทศจีน มั่นใจปหนาเริ่มผลิตให กับ ขสมก. และ บขส. กอน ตอไปจึงจะขยายการจําหนายทั้ง ในประเทศและสงออก พรอมเปดรับประกอบรถใหเอกชนทุก รายดวย คุณหลิน เขอนั่ว ประธานกรรมการ บริษัท เบสทริน อานตอหนา 39
งานแสดงรถเพ อการพาณิชยและกิจการพิเศษ ครั้งที่ 11 งานแรกในอาเซียน งานแสดงรถเพ อการพาณิชยและกิจการพิเศษ ครั้งที่ 11
6-8 พฤศจิกายน 2557 ไบเทค กรุงเทพฯ จัดโดย :
B&T#233_p1_iMac2.indd 3
รวมสรางพลังโดย :
11/4/2556 BE 9:36 PM
• จากหนังสือ Tabloid ไปสูความเปน Magazine • จากรายปกษ ไปสู รายเดือน • จากขาวสารกอสรางทั้งมวล ไปสู เรื่องราวการออกแบบ กอสราง-ตกแตง-บำรุงรักษาอาคาร ตลอดจนนวัตกรรมทางการกอสรางตางๆ • จาก Builder News ไปสู Builder
นิตยสารรายเดือน เพื่อนำเสนอเรื่องราวของ ธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่ครบวงจรเลมแรกของไทย สำหรับนำเสนอเรื่องราวของกลุมนักพัฒนาโครงการ กลุมนักออกแบบ กลุมวิศวกร กลุมผูรับเหมากอสราง กลุมผูผลิตสินคาและคาวัสดุกอสราง และกลุมที่ปรึกษาบริหารอาคาร รวมทั้งผูที่สนใจ ในธุรกิจอสังหาริมทรัพยนี้ดวย
R1_B&T#233_p02-03_iMac2.indd 2
11/6/2556 BE 11:48 PM
B&T#233_p02-03_iMac2.indd 3
11/4/2556 BE 9:55 PM
04 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK SHOW
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
ป
ดับเครื่องชม
“อันซิ่นทัวร”
ธรรมชาติเมืองใตปลอดภัยไรกังวล
ดับเครื1องชมฉบับนี้ จะพาคุณผูช ม ไปดั บ เครื1อ งชมรถโดยสารจากทะเล ภูเก็ตกันเสียหนอย เพราะขึ้นชื1อวา เป น รถนํ า เที่ ย วของทางภาคใต เมืองแหงทะเลงามแลว ตอง บอกว า เรื1อ งคุ ณ ภาพของ บริ การเป นสิ่ ง สํ า คั ญลํ า ดั บ ตน ๆ เพราะมาตรฐานจะ ตองสูงกวาทีอ่ ื1น ดวยเหตุที่ ว า ต อ งรองรั บ ผู โ ดยสาร
04-05 ������������.indd 4 R1_B&T#233_p04-05_iMac2.indd 4
ตางชาติเปนสวนใหญ การอํานวยความ สะดวกจึงเปนเรื1องที่ตองใสใจ ในครั้ ง นี้ เ ราได มี โ อกาสมานั่ ง ดั บ เครื1อ งกั น กั บ คุ ณ เป ย น พลขั น ธ ผูจัดการจากบริษัท อันซิ่น ทัวร จํากัด ในเรื1องของรถโดยสาร 8.5 เมตร จาก บริษัทอันซิ่นทัวร ซึ่งที่จริงนั้นรถโดยสาร ในบริษัทก็มีขนาดตางกันไป เพื1อรองรับ ปริมาณผู โดยสารหรือนักทองเทีย่ วทีต่ า ง กัน ดังนัน้ จึงมีใหเลือกไดตามความเหมาะ
สม ไมวาจะเปนแบบ 8.5 เมตร 7เมตร หรือ 10 เมตร ซึ่งมีอยูทั้งหมดรวมแลว ประมาณ 85 คัน และยังมียอดตอรถ โดยสารเพิ่มในปนี้ใหอยูที่ 96 คันอีก ดวย มาทีก่ ารตกแตงภายนอกกันกอน ตองบอกวารถจากอันซิ่นทัวร เนนให บริการนักทองเที่ยวเปนหลัก ซึ่งใน จังหวัดภูเก็ตนั้นจะมีปริมาณชาวตาง ชาติ ค อ นข า งมาก ภายนอกจึ ง ถู ก
11/6/2556 BE 10:44 AM 11/7/2556 BE 12:25 AM
04-05 �
6
BUS & TRUCK SHOW • BUS&TRUCK 05
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
Technical Specification ภายนอก
ลักษณะเดน : รถโดยสารปรับอากาศ แบบ VIP อุปกรณตกแตง : สติ๊กเกอรขางรถ ไมมากจนเกินไป การตกแตง : เนนโทนสีขาวสบายตา การตกแตงเนนความถูกตอง ตามกฎของ กรมการขนสงทางบก
ภายใน
เบาะ
: เบาะสีทูโทน เทา-เทาเขม พรอมเข็มขัดนิรภัย การตกแตง : ตกแตงดวยโทนสีออน เปนหลัก เนนความเรียบงาย สบายตา บรรจุ : 35 ที่นั่ง ไมรวมโซฟาดานลาง
ขุมพลัง
ออกแบบมาใหสบายตาดวยโทนสีขาว และเพิ่ ม ความเรีย บหรูใ หกับ ทุก การ เดินทาง เรื1องการตกแตงตาง ๆ พีเ่ ปย น บอกไววาทําถูกตองตามกําหนดจาก กรมการขนสงทางบกทุกประการ มาดูที่ภายในกันบาง ที่แมวาจะ ยั ง คงคอนเซปต แ บบหรู ห ราระดั บ ไฮคลาส แตกย็ งั เพิม่ สีสนั ใหภายในดวย เบาะโดยสารทีม่ สี แี บบทูโทน คือสีเทาเทาเขม และผามานสีฟาออน และ ขอบอกไววา อุปกรณทกุ อยางไดรบั การ การั น ตี คุ ณ ภาพและมาตรฐานระดับ
10:44 AM
04-05 ������������.indd 5 R1_B&T#233_p04-05_iMac2.indd 5
สากลไมวา จะเปนทีห่ มุ สายไฟ ผายางรอง พื้น ฯลฯ ที่พิสูจนแลววาติดไฟยากกวา ทั่ว ๆ ไป อยางแนนอน มาถึ ง คิ วของเรื1อ งเครื1อ งยนต กั น บางที่รถโดยสาร 8.5 เมตรคันนี้ เปน เครื1องยนตของ ISUZU FRR 190 ขุมพลัง ความเร็วที่ 190 แรงมา ตอตัวถังที่อูมี แสงบั ส บอดี้ อั น เลื1อ งลื อ ทั้ ง คุ ณ ภาพ มาตรฐานระดับสากล มีอุปกรณอํานวย ความสะดวกตาง ๆ มากมายไมวา จะเปน GPS จากบริษัท DTC Enterprise จํากัด เข็มขัดนิรภัยประจําเบาะโดยสารทุกทีน่ งั่
ที่ทุบกระจก และถังดับเพลิง ตามกรม ขนสงทางบกเชนเคย สําหรับคุณผูอานที่สนใจอยากจะ ไปชมวิวทะเลใตอันสวยสดงดงาม ก็มา ถูกทางแลวกับอันซิ่นทัวร เพราะตอนนี้ รับเฉพาะทัวรทอ งเทีย่ วแบบ only โดย วิ่งรถที่ภูเก็ต กระบี่ สุราษฎรธานี และ พั ง งา ถ า อยากเต็ ม อิ่ ม ไปกั บ ความ สวยงามของทะเลใต ใ นแดนขวาน ทองคํากับมีชวงเวลาดี ๆ ตลอดทริปป ใหมนี้ ก็ตองที่ “อันซิ่น ทัวร”
ความปลอดภัย: GPS จาก DTC Enterprise ถังดับเพลิง / ที่ทุบกระจก ยามเกิดเหตุฉุกเฉิน เครื่องยนต : ISUZU FRR 190 ตอตัวถัง : อูมีแสงบัสบอดี้ ติดตอ : 0-7624-9589 (อันซิ่นทัวร)
11/6/2556 BE 10:44 AM 11/7/2556 BE 12:27 AM
06 BUS&TRUCK • SPECIAL PURPOSE VEHICLE
ปักษ์แรก • พฤศจิกายน 2556
รถเพื่อกิจการพิเศษ
“วิกรม” 7 เดือน 40,000 กม. บนรถ “Motor Home”
ปิดฉากการเดินทาง 7 เดือน 5 ประเทศ 40,000 กิโลเมตร คุณวิกรม กรมดิษฐ์ ประธานมูลนิธิอมตะ พร้อม คณะคาราวานกว่า 22 ชีวิตกลับถึง ประเทศไทย ด้วย “รถบ้าน” หรือ “Motor Home” น�้ำหนักตั้งแต่ 1118 ตัน จ�ำนวน 4 คัน ซึ่งได้รับการ ตกแต่งเป็นพิเศษเพื่อให้ตอบสนอง
R1_B&T#233_p06-07_iMac2.indd 6
ต่ อ การใช้ เ ป็ น พาหนะเดิ น ทางไกล พร้อมไปด้วยห้องท�ำงาน ห้องนอน ห้อง ครัว และพื้นที่จ�ำเป็นต่าง ๆ คาราวานรถทั้ง 4 คันพร้อมด้วย รถยนต์ 7 ที่นั่งอีก 2 คัน ได้ออกเดินทาง ไปยังประเทศต่าง ๆ ได้แก่ ลาว จีน รัสเซีย คาซัคสถาน และเมียนมาร์ เพื่อ เผยแพร่ แลกเปลี่ยน แบ่งปัน รวมไปถึง
เก็บเกี่ยวประสบการณ์ ความรู้อันล�้ำค่า จากทุกประเทศเพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ มุมมองทีแ่ ปลกใหม่ทงั้ ทางด้านเศรษฐกิจ การลงทุน สังคม การปกครอง ศิลป วัฒนธรรม และประสบการณ์แปลกใหม่ อี ก หลากหลายเพื่อ การพั ฒ นาในด้ า น ต่าง ๆ ต่อไป นอกจากนี้ยังได้สานต่อ ความสุขให้กับ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยปรับเปลี่ยนรถคาราวาน 1 คัน เป็น ห้องสมุดเคลื่อนที่ เพื่อเปิดโอกาสให้เด็ก ชายแดนใต้ ไ ด้ ท ่ อ งโลกกว้ า งผ่ า นตั ว หนังสือ และเปิดตัวโปสการ์ดภาพถ่าย บันทึกการเดินทาง รายได้ทั้งหมดเพื่อ ช่วยเหลือ 3 จังหวัดชายแดนใต้ผ่านทาง หน่วยเฉพาะกิจสันติสุข กอ.รมน.ภาค 4 ส่วนหน้า ส�ำหรับ “Motor Home” ที่จะพูด ถึงนี้เป็นรถที่ใช้เดินทางจริงตลอดทั้ง 7 เดือน กว่า 40,000 กิโลเมตร จ�ำนวน 4 คันด้วยกันที่เลือกใช้รถของ Scania และ Hino มาดัดแปลงเพิ่มสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกต่าง ๆ ครบครัน ไม่ว่าจะเป็น ห้ อ งน�้ ำ และเตี ย งนอนรวมไปถึ ง ห้ อ ง ประชุม แต่ส�ำหรับรถของ คุณวิกรม กรม ดิษฐ์” ประธานมูลนิธิอมตะ ที่ใช้เดินทาง นั้ น เลื อ กรถ Scania มาดั ด แปลงให้ สามารถท�ำงานได้ตลอดเวลาในการเดิน ทาง โดยเริ่ ม จากห้ อ งท� ำ งานที่ มี ก าร ตกแต่งให้มีกระจกรอบด้านซึ่งอยู่ด้าน หน้าตัวรถเหนือห้องคนขับที่มีกระจกใส บานใหญ่ ถ้ามองหันหน้าสู่ถนนนั้นจะ
สั ง เกตและเห็ น เหตุ ก ารณ์ บ นถนน หนทางได้ตลอดด้าน ซึ่งในมุมนี้มีการ เผยว่ า เป็ น การสร้ า งแรงบั น ดาลใจ ต่าง ๆ ในการท�ำงาน และสามารถเขียน หนังสือได้อกี ด้วย ทีเ่ พิม่ ชัน้ วางหนังสือ เป็นโต๊ะท�ำงานเล็ก ๆ พร้อมด้วยเก้าอี้ พิเศษเพิม่ ความสะดวกสบายมากขึน้ ทัง้ การท�ำงานและความสบาย ถัดจากห้องท�ำงานนัน้ จะเป็นส่วน ที่ใช้นั่งเล่นพักผ่อนด้วยโซฟายาวสอง ฝั่ง เลือกใช้ลายแบบคลาสิคเหลืองตัด น�ำ้ ตาลเข้มทีด่ สู บายตาและยังเป็นทีใ่ ช้ ประชุมวางแผนหรือพูดคุยปัญหาทีเ่ กิด ขึน้ จากการเดินทัง้ ตลอด 7 เดือนทีผ่ า่ น ต่อไปก็เป็นห้องน�ำ้ ส่วนตัวภายใน รถมีดีไซน์ให้มคี วามคล่องตัว เพดานสูง พอสมควรที่มองเห็นประโยชน์การใช้ งานและสะดวกมากขึ้นพร้อมฟักบัว ห้องอาบน�ำ้ และอ่างล้างหน้า สุดท้ายก็ จะเป็นห้องนอนที่ดูกะทัดรัดแต่สะดวก สบายเพราะได้ดดั แปลงเป็นห้องนอนที่ ใช้พักผ่อนโดยเฉพาะมีเตียงกว้างเต็ม พื้นที่ โดยเน้นการผ่อนคลายเป็นหลัก ส�ำหรับการเดินทางในครั้งนี้ทาง คุณ วิกรม กรมดิษฐ์ ประธานมูลนิธิอมตะ ใช้รถคันนี้เดินทางตลอดระยะเวลา 7 เดือน ทั้งการท�ำงานและเขียนหนังสือ จนจบ พร้อมน�ำมาแสดงให้เห็นและ แบ่งปันสาระต่าง ๆ ในการเดินทางใน งาน “คาราวานเอเชีย 2013 : กลับบ้าน เพื่อสานต่อ
11/6/2556 BE 11:51 PM
R1_B&T#233_p06-07_iMac2.indd 7
11/7/2556 BE 12:19 AM
08 BUS&TRUCK • BUSINESS CATALYST
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
คันเรงธุรกิจ
เอาใจชวยใหผาน ถือวาเปนขาวดีมากที่ โครงการ พัฒนาระบบขนสง 2 ลานลานบาท ทาง รัฐบาลไดเปนผูเสนอขึ้นมา แมวาจะ เปนการกูเงินมา แตก็ ไม ไดกูเงินมา ทั้งหมด เพราะคอย ๆ ทยอย ถึงแมวา จะมี เ สี ย งคั ด ค า นบ า งว า จะเกิ ด การ คอรั ป ชั่ น ตามธรรมเนี ย มของทาง ราชการ แตหากคิดในแงของผลดีแลว ก็จะ มีเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมากขึน้ ประชาชนก็จะมีงานทําและมีรายได เมื1อ ระบบขนสงไดกอ สรางเสร็จ การเดินทาง ก็จะสะดวกสบายมากขึน้ พรอมทัง้ ยังชวย หนุ น ให เ ป น ศู น ย ก ลางของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนอีกดวย ส ว น เ รื1อ ง ก า ร โ ก ง กิ น ข อ ง ขาราชการนัน้ นักการเมืองทีค่ วบคุมดูแล โครงการนี้บอกวา จะพยายามทํางานทุก อยางให ใสสะอาดที่สุดเทาที่จะเปนไปได แมวาจะมีเงินไหลออกนอกระบบก็ตาม แตก็จะตองใหนอยที่สุด ถาคิดดูในแง ดีแลว ผลประโยชนที่ ไดมาจะมีมหาศาล สวนผลเสียกลับจะมีนอยนิดเทานั้น สํ า หรั บ ค า ยรถใหญ ทุ ก ยี่ ห อ ต า ง เปนกําลังใจให โครงการ 2 ลานลานบาท นีผ้ า นฉลุย เพราะนัน่ หมายถึงวา รถใหญ ที่ เ ป น ป จ จั ย หลั ก ในการขั บ เคลื1อ น เศรษฐกิ จ โดยเฉพาะรถใหญ เ พื1อ การ กอสรางก็จะขายดี ซึ่งนั่นก็จะหมายถึง ภาวะเศรษฐกิจของประเทศก็ดีตามไป ดวยนั่นเอง ก็ขอเปนกําลังใจใหรฐั บาลสามารถ ผลักดันโครงการนี้ผานไปได แมจะยาก เย็นก็ตาม บรรณาธิการอาวุโส หนังสือพิมพ BUS&TRUCK ที่ปรึกษากิติมศักดิ์ : ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา ชยาวุธ จิระธันท, ยู เจียรยืนยงพงศ, บุนเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ, วรพจน แสงทวีสิน, เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สวางสําลี ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร กรรมการผูจัดการ : ชาตรี มรรคา บรรณาธิการบริหาร : ชนมจิรา ธรรมปยะรักษ บรรณาธิการอาวุโส : เสกสรรค ไชยเผือก หัวหนากองบรรณาธิการ : ชนมจิรา ธรรมปยะรักษ ผูชวยหัวหนากองบรรณาธิการ : ธัญพร ขันธสิทธิ์ กองบรรณาธิการ : พฤกษ ดานจิตรตรง, จักรพรรดิ์ โสภา, ภาระวี ไชยศิลป เลขากองบรรณาธิการ : บุตรตรี สงางาม ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ : เรณู ฟกสกุล มยุรี ดุก, อรุณ เหลาวัฒนกุล ผูจัดการโฆษณา : อารีย ปตตุรังสี แผนกโฆษณา : รภา โสรินทร, บุปผา กอมขุนทด เลขาแผนกโฆษณา : สุธารัตน จันทรนคร พัฒนาธุรกิจ : วันวิสาข เข็มทอง, วิวรมาศ แกวศิริ สมาชิก : วิวรมาศ แกวศิริ เว็บไซต : BusAndTruckMedia.com วราภรณ กันทะเนตร การเงิน : แสงอรุณ มงคล ศิลปกรรม : ธีระ พุมขํา BIP GROUP พิมพ : กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จัดจําหนาย : เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ผูจัดทํา : บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทร. 0-2717-2477 แฟกซ. 0-2717-2466, 0-2729-8758 www.BusAndTruckMedia.com อีเมล : info@BusAndTruckMedia.com sales@BusAndTruckMedia.com
R1_B&T#233_p08-09_iMac2.indd 8
FUSO มั่นใจคุณภาพรถ ขยายดีลเลอร 30 แหง พรอมรับ AEC ป จ จุ บั น รถยนต บ รรทุ ก Fuso กลายมาเป น หนึ่ ง ในแบรนด ห ลั ก ของ Daimler AG จากเยอรมัน ซึง่ ในป 2553 Daimler ไดตัดสินใจมอบหมายใหกลุม ตั น จงจากสิ ง คโปร เ ข า มาดํ า เนิ น การ บริหารธุรกิจ Fuso ในประเทศไทย ทําให ในวันนี้รถบรรทุก Fuso คือรถบรรทุกที่ มี เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย จากประเทศ เยอรมัน และมีคุณภาพการผลิตที่ยอด เยี่ ย มจากประเทศญี่ ปุ น บริ ห ารงาน อยางมืออาชีพในนามกลุมตันจง และมี พั น ธมิ ต รทางการเงิ น ที่ แ ข็ ง แกร ง คื อ Mercedes Benz Leasing Thailand รวมถึงสถาบันการเงินชั้นนําทุกแหง ปนี้ Fuso เนนการเพิ่มเครือขายผู จําหนาย 3S ที่ดูแลเรื1อง Sale, Service และ Spare Part แบบครบวงจรจากเดิม 15 แหงเปน 30 แหงทั่วประเทศ โดย เฉพาะในหัวเมืองใหญ นอกจากนี้ Fuso ยังมีเครือขายผูจ าํ หนายอะไหลทกี่ ระจาย อยูท วั่ ประเทศ ในสวนของอะไหลทดแทน ก็สามารถหาซื้อไดงายในราคายอมเยา นอกจากการเปดโชวรูมและศูนยบริการ ใหม ๆ แลว Fuso ยังไดมุงมั่นพัฒนา Product ใหม ๆ มากขึน้ ตัวอยางเชน การ พัฒนารถโมปูนผสมเสร็จ และรถดั๊มพ ซึ่งไดรับการตอบรับที่ดี สําหรับทิศทางการทําการตลาดยัง คงเนนไปที่รถบรรทุกขนาดใหญ วันนี้ Fuso ถื อ ว า เป น เจ า ตลาดรถดั๊ ม พ ที่ มี กําลังตํ่ากวา 300 แรงมา ซึ่งปจจุบันมี สัดสวนการตลาดมากกวา 60% แตใน ตลาดรถบรรทุกที่มีกําลังมากกวา 300 แรงมา Fuso ยังไมมีรถบรรทุกประเภท นี้ แตในปลายปนี้จะเปดตัวรถบรรทุก 10 ลอขนาดใหญขึ้นมาอีก 4 รุน ที่สามารถ รองรับนํ้าหนักบรรทุกไดมากขึ้น และ สามารถลากรถพวง 3 เพลาได ซึ่งจะมี ใหเลือกทั้งที่เปน Hi-Torque ที่ตองการ กําลังฉุดลากสําหรับงานในบอดินหรือ งานเหมือง และรุน Hi-Speed ที่ตองการ ความประหยัดสําหรับงานบรรทุกหลัง ถนน เราคาดวารถรุนใหม ทั้ง 4 รุนนี้ จะ เปนรถธงที่จะมาชวยสรางยอดขายให Fuso ในปหนาสวนลูกคาที่ตองการใช พลั ง งานทางเลื อ ก Fuso ก็ มี ร ถยนต บรรทุกและรถหัวลากที่สามารถใชเพลิง CNG จากโรงงานเชนกัน สวนการเตรียมความพรอมในการ รองรับการเปดเสรีเศรษฐกิจประชาคม อาเซียน (AEC) ในปลายป 2558 Fuso เตรียมผลิตภัณฑที่เหมาะสมสําหรับการ ขนสงระหวางประเทศในระยะทางไกล ๆ ใหมากขึ้น ซึ่งจะตองเปนรถยนตบรรทุก ทีม่ สี มรรถนะสูงและประหยัดนํา้ มัน รถที่
เหมาะกับการใชงานประเภทนี้คือ รถหัว ลาก FV Super Great ที่มีพละกําลัง มากกวา 380 แรงมารุนใหมในเวอรชั่น Hi-speed วันนี้ Fuso มีเครือขายของผู จํ า หน า ยที่ ส ามารถให บ ริ ก ารตลอด ระหวางเสนทางการขนสงที่มากขึ้น โดย เฉพาะจังหวัดสําคัญ ๆ และในจุดที่เปน ประตูเขาออกระหวางไทยกับประเทศ เพื1อนบาน ไดแก เชียงใหม เชียงราย พิษณุโลก เพชรบูรณ นครสวรรค เลย หนองบัวลําภู อุดรธานี ชัยภูมิ สกลนคร กาฬสินธุ ยโสธร รอยเอ็ด อุบลราชธานี สุรินทร นครราชสีมา นครนายก อยุธยา นครปฐม สุ พ รรณบุ รี สมุ ท รปราการ สมุทรสาคร ชลบุรี ระยอง สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช ภูเก็ต และ หาดใหญ
สงขลา เปนตน FUSO มียอดขายที่ดีขึ้นเรื1อย ๆ เนื1องจากความเชื1อมั่นของลูกคา การ สรรหา Product ใหม ๆ เพื1อมาตอบโจทย ลูกคาคนไทยมากขึ้น รวมถึงการบริการ หลังการขายทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทําใหลกู คา มั่นใจไดวา หากเลือก Fuso แลวจะได ผลิตภัณฑและบริการที่ดีจากเครือขาย ของ Fuso ทั้งหมด นี่คือเปาหมายที่วาง ไว และกําลังเดินตามนั้น แม Fuso จะ ไมใชเบอรหนึ่งของตลาด แตเราก็ไมเคย หยุดที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ ใหม ๆ เพื1อ ตอบสนองความตองการของลูกคา และ มุง มัน่ ใหการบริการทีด่ เี พื1อสรางความพึง พอใจสูงสุด เพื1อจะไดเปนทีห่ นึง่ ในใจของ ลูกคา
SSK ไซโนทรัค มั่นใจบริการ ตั้งเปาปหนา 800 คัน รถใหญ SSK ไซโนทรัค มั่นใจป 2557 ยอดขายเพิ่มเปน 800 คัน สาเหตุเพราะกลุม ลูกคาไว ใจในบริการ หลังการขาย พรอมนํารุนใหม 6 ลอ ทั้งเครื1องยนตดีเซล และเครื1องยนต NGV เปดตัวสูตลาดเพิ่ม คุณสุขสมเกียรติ เสือกลิ่นศักดิ์ กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท สุ ข ศิ ริ มอเตอร จํากัด ตัวแทนจําหนายรถ ใหญ SSK ไซโนทรัค ประเทศจีน เปด เผยวา ดวยฐานในปนี้วางยอดขายไว 500 คัน แตเพียง 9 เดือนก็สามารถทํา ยอดขายไดแลวกวา 400 คัน ทําให มั่นใจวายอดขายปนี้จะตองเกินเปาที่ วางไวแน และดวยพื้นฐานโครงสรางการ พัฒนาระบบขนสงงบประมาณ 2 ลาน ล า นบาท และการเป ด เสรี ก ารค า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ที่ใช ในป 2558 ทําใหมีความเชื1อมั่นวา ยอดขายปหนาจะตองขายไดอยางนอย สุดประมาณ 800 คัน เพราะรถใหญที่ ตลาดตองการมากสุดคือ รถมิกเซอร
และรถดั๊มพ โดยทางบริษัทฯมีอยูแลว นอกจากนี้ยังมีรถรุนใหมคือรถ 6 ลอ เครื1องยนตดเี ซล และเครื1องยนต NGV มาเสริมในตลาดกอสรางอีกดวย “สิ่งสําคัญสุดที่ทําใหกลุมลูกคา ไว ใจในตัวบริษัทฯ เพราะการบริการ หลังการขายที่ดี มีอะไหลเตรียมพรอม ไว 24 ชัว่ โมง รวมทัง้ ลูกคาทีซ่ อื้ รถ SSK ไซโนทรัค จะไดรับสวนลดราคาอะไหล และคาซอมฟรี” พร อมทั้ ง มี ดี ลเลอร จากค ายรถ ใหญจนี ยีห่ อ อื1นมาเสนอตัวเปนดีลเลอร ของบริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง ยั ง มี ลู ก ค า ของ ตัวแทนจําหนายรถยีห่ อ เดียวกันมาซอม และทําการซือ้ รถ SSK ไซโนทรัค เพราะ ไดรับบริการหลังการขายที่ดีกวาบริษัท เดิมเปนอยางมาก ดวยความที่เปนบริษัทจําหนาย รถ SSK ไซโนทรัคไดมากสุด เมื1อเทียบ กับบริษทั อื1นทีจ่ าํ หนายรถยีห่ อ เดียวกัน เพราะแตละปจําหนายไดมากกวา 500 คันในตลอด 3 ปที่ผานมา และปตอไป จะเพิ่มยอดขายขึ้นเรื1อย ๆ
11/6/2556 BE 11:40 PM
BUSINESS CATALYST • BUS&TRUCK 09
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
คันเรงธุรกิจ
ดายุน วางแผนรับตลาดโต บ.ขายอะไหลรถจีนเกิดเพียบ เจรจาบริษัทแม ขอรถเพิ่ม สงใหลูกคาเร็วกวาผูขายรถ
รถใหญดายุน เตรียมแผนรองรับ ตลาดรถใหญโต ปจจัยหลักโครงการ 2 ล า นล า นบาท และการเป ด เสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC เจรจากับบริษัทแมที่ประเทศจีน ขอ ออเดอรรถเพิ่ม เพื1อตอบสนองความ ตองการของลูกคา คุ ณ สุ กิ จ เพี ย รประดิ ษ ฐกุ ล ประธานกรรมการ บริษัท ดายุน ออโต โมบิล (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา ดวยทัศนะและความคิดเห็นตอตลาดรถ ใหญนั้น คาดวายอดขายรวมทุกยี่หอจะ ตองเติบโตขึ้นเปนอยางมาก เนื1องจาก ปจจัยหลักคือ โครงการ 2 ลานลานบาท ที่ รั ฐ บาลต อ งการกระตุ น ให ร ะบบการ ขนสงทั่วประเทศพัฒนาเปนระดับสากล ไมวาจะเปน ทางถนน ทางนํ้า และทาง อากาศ ซึง่ หากโครงการนี้ ไดรบั การอนุมตั ิ จากสภาผูแ ทนราษฎรเมื1อไร ยอดขายรถ ใหญโดยเฉพาะรถเพื1อการกอสราง ไมวา รถหัวลาก รถดัม๊ พ และรถมิกเซอร ก็ตอ ง มีความตองการเพิ่มขึ้นเปนอยางมาก สวนอีกปจจัยหนึ่งก็คือ ในป 2558 จะเปดใชเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรื อ AEC และประเทศไทยก็จะเปน ศูนยกลางเศรษฐกิจในอาเซียน พรอมทัง้ รถใหญก็จะเปนศูนยกลางการสงออกไป
ในประเทศเพื1อนบานอาเซียน ไมวาจะ เป น รถบรรทุ ก ขนส ง สิ น ค า และรถ โดยสารที่ขนสงผู โดยสาร “เพื1อรองรับตลาด AEC ทางบริษทั จึ ง ได เ พิ่ ม ดี ล เลอร ใ นภาคอี ส านเป น จํานวนมาก เนื1องจากปจจุบัน การขนสง ในอี ส านเริ่ ม โตขึ้ น เพราะนอกจากจะ ขนสงในภาคอีสานแลว ยังขนสงไปใน ประเทศเพื1อนบานอีกดวย” ด ว ยยอดขายในป นี้ ที่ ว างเป า ไว จํานวน 300 คัน โดยมีรถหัวลากที่ทํา ตลาดคือ เครื1องยนตดีเซลและ NGV ขนาด 300 แรงมาและ 380 แรงมา รวม ทั้ ง ยั ง มี แ ผนที่ จ ะนํ า รุ น ที่ ต รงกั บ ความ ตองการของตลาดเขามาเสริมอีกดวย เพื1อเปนการสรางความมัน่ ใจใหกบั ลู ก ค า ในด า นบริ ก ารหลั ง การขาย นอกจากจะมีโชวรูม ศูนยบริการ และ โกดังสต็อกอะไหลอยูท สี่ าํ นักงานใหญคอื สุ ร าษฎร ธ านี และบางบั ว ทอง จะมี ดีลเลอรตาง ๆ ทั่วประเทศอีกกวา 10 แหงที่ไดตงั้ ใจไว รวมทัง้ ยังมีบริการจัดสง อะไหลใหกับลูกคาที่มีอูซอมของตัวเอง โดยใชเวลาไมเกิน 24 ชั่วโมง เพราะเปน ลูกคาของบริษทั ฯแลวจะไดรบั การบริการ จากบริษัทฯอยางเต็มที่นั่นเอง
ตลาดรถใหญ จี น โตส ง ผลให เ กิ ด บริษัทผูขายอะไหลในตลาดตามไปดวย พรอมใชจุดออนที่อะไหลขาดการนําเขา และเนนการสงใหลูกคาเร็วกวาผูขายรถ พรอมมีการรับประกันคุณภาพใหอกี ดวย แหล ง ข า วในวงการรถใหญ จ าก ประเทศจีน เปดเผยวา ดวยปจจุบันนี้ ตลาดรถใหญจากประเทศจีนมีการเติบโต เปนอยางมากในเมืองไทย เมื1อนําขอมูล ตาง ๆ ไมวาจะเปน การตั้งยอดขายของ แตละคาย และยอดจดทะเบียนของกรม การขนสงทางบก คาดวาจะมีทงั้ รถโดยสาร และรถบรรทุกมากกวา 10,000 คัน ทีเดียว และดวยจุดออนของแตละคายที่นํา เขามาจําหนายถึงแมวาจะลงทุนมหาศาล ทําการสต็อกอะไหล เพื1อไมใหลูกคาตอง ขาดรายไดเพราะไมมอี ะไหลเปลีย่ นให แต ก็ยังเกิดปญหาดานอะไหลอยูดี จึงไดเกิด บริษัทผูขายอะไหลรถใหญจากจีนขึ้นมา โดยใชวิธีเจาะบริษัทผู ใชรถใหญจากจีน เมื1อขาดอะไหลชิ้นใดก็สามารถสั่งได ใน ทันที โดยอะไหลทจี่ ะทําการสต็อกไวนนั้ จะ
เริ่มจากรถยี่หอไซโนทรัคเปนอันดับแรก เพราะมียอดจําหนายมากที่สุด รองลงมา ก็เปนแซคแมน, DF, FAW สวนยี่หออื1น นั้นเพิ่งจะเขามาทําตลาดได 1 ป คุณภาพ ของรถก็ยังใชงานไดดีอยู ดานรถโดยสาร นั้นทางคายผูแทนจําหนายมีการสต็อก อะไหลเพียงพออยูแลว พรอมทั้งยังมีผูใช ที่เปนกลุมเฉพาะ ทําใหไมสามารถเขามา แทรกตลาดได สําหรับบริษัทผูขายอะไหลรถใหญ จีนในขณะนี้มีมากกวา 3 บริษัท พรอมทั้ง ยังเปดเว็บไซตใหสามารถสัง่ สินคาไดอยาง รวดเร็วอีกดวย สวนทีเ่ ชียงกงก็สามารถหา ซื้ออะไหลรถจากจีนไดแลว เพราะตลาด เริ่มตองการของดีแตราคาถูกเพิ่มมากขึ้น สวนคายรถจีนที่แตกตางจากยี่หอ อื1นก็คือ ยี่หอโฟตอน เพราะเปนเพียงคาย เดียวทีป่ ระกอบในเมืองไทย ดังนัน้ ในเรื1อง อะไหลจงึ ไดทาํ การสต็อกไวใหเพียงพอกับ จํานวนรถทีว่ งิ่ อยูบ นทองถนน พรอมทัง้ ยัง เน น ให ลู ก ค า นํ า รถเข า มาซ อ มในศู น ย บริการเพื1อทําใหทงั้ คุณภาพและสมรรถนะ ไดมาตรฐานเปนอยางดี
ใตทองรถ ❖❖❖ เมื1อกลางเดือนตุลาคมที่ผานมาทางคายฮี โนเปดตัวแชสซีส รถ โดยสารรุน ใหม โดยไมมกี ารเชิญสื1อมวลชนทานใดไปรวมงาน ซึง่ มองไดวา ไม ตองการใหคายรถใหญที่เปนคูแขงทราบ เพราะตลาดรถโดยสารขายไดปละ กวา 100 คัน หรืออาจเปนอยางที่มีผูใหขอสังเกตมาวา คายฮีโน ไดรับการ จองมาใหเปนรถเมลรอนเครื1องยนต NGV ของ ขสมก. ซึ่งเรื1องนี้นาติดตาม วาความจริงจะเปนเชนไร ตองลองดูตอไปอีกระยะหนึ่ง
ชวงนี้เปนชวงการกอสรางตลาดรถดั๊มพจึงเริ่มมาแรง คนที่อยู วงการกอสรางไดกระซิบมาวาแถวรังสิตมีโรงงานตัง้ ใหมเพื1อผลิตกระบะดัม๊ พ เพื1อใหรูแนวาเปนจริงอยางที่บอกมาหรือเปลา จึงไดสอบถามไปยังอูตอ รถดัม๊ พทมี่ ชี ื1อเสียงหลายอู พบวายังไมทราบขาวนีเ้ ลยแตกใ็ หขอ คิดมาวาอาจ จะเปนไปไดเหมือนกัน เพราะเมื1อมีความตองการมากก็ตองมีผูที่เสนอตาม ความตองการของตลาดถึงแมวาจะมีคูแขงเพิ่มมากขึ้น แตดวยคุณภาพและ ราคาทําใหมั่นใจวาตองอยูคูตลาดรถกอสรางตอไปอยางแนนอน ❖❖❖
ในปนแี้ มวา จะเกิดอุทกภัยไมเทาป 2554 และกระแสไหลเวียนของ นํ้าก็เปลี่ยนจากเดิมที่เปนแมนํ้าเจาพระยามาเปนแมนํ้าบางปะกงแทน ซึ่ง ผลกระทบก็มีบางคือ อูพนัส แอสแซมบลีย ซึ่งเปนอูต อรถขนาดใหญติด 1 ใน 4 ในเมืองไทยถูกนํ้าทวมตองชะลอการประกอบตัวถังรถบรรทุกไปชั่วคราว สงผลใหลกู คาทีม่ าจองทนรอไมไหวตองหันไปหาอูอ ื1นแทน แบบนีท้ างอูพ นัสฯ ก็ตองใชกลยุทธตาง ๆ เพื1อที่จะดึงลูกคาที่ ไดทําการจองไว ใหทนรอไประยะ หนึ่ง สิ้นปนี้ก็จะตองดูตัวเลขการประกอบของอูตาง ๆ วาจะมากนอยเพียง ไหน และอูพนัสฯจะประกอบไดกี่คันตรงตามที่คาดหมายไวหรือไม ❖❖❖
R1_B&T#233_p08-09_iMac2.indd 9
11/6/2556 BE 11:40 PM
10 BUS&TRUCK • ROAD and LAW
สัญญาณ
ตร.ขยาย “ยกรถ” ทั่วกรุง พรอมจัดระเบียบแท็กซี่-รถตู
กองบังคับการตํารวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการตํารวจจราจร หารือ การขยายเสนทางตามโครงการระดม แก ไขปญหาจราจรโดยใชรถยกในถนน 10 สายหลัก ออกไปอีก 56 สน. ใหครบ 88 สน.ทัว่ กรุงเทพฯ โดยจะสามารถสรุป รายชื1อเสนทางตาง ๆ และพรอมบังคับ ใชกฎหมายตั้งแตวันที่ 1 พ.ย. พรอมกันนี้ พล.ต.ต.อดุลย ณรงคศักดิ์ รอง ผบช.น. สั่งการใหทุก สน.เรง สํ า รวจความสั ม พั น ธ ข องสั ญ ญาณไฟ จราจร และจุดที่มีปญหาโดยเฉพาะทาง โคง ทางเลี้ยว ทางรวม และทางแยก เพื1อ ประสานทางกรุ ง เทพมหานคร (กทม.) เขามาดําเนินการแก ไข รวมถึง การจัดระเบียบปายรถประจําทาง บริเวณ
หนาตลาด และหางสรรพสินคาที่พบวา ยังมีการจอดแช ซึ่งจะเชิญขนสงมวลชน กรุงเทพ (ขสมก.) กทม. และกรมการ ขนสงทางบกมารวมหารือแก ไขปญหา และให ว างแผนจั ด การจราจรโดย ประสานขอความรวมมือทางโรงเรียน เพื1อรองรับการจราจรในชวงเปดเทอม “หลังจากนี้จะนําใบสั่งอิเล็กทรอนิกสทมี่ กี ารประมวลผลไดทนั ทีมาใชงาน กับทุก สน. โดยจะพัฒนาใหทันใช ในตน ป 2557 รวมถึงจะพัฒนาการติดตัง้ กลอง จับรถฝาสัญญาณไฟแดงใหครอบคลุมทัว่ กรุงเทพฯ ที่จากเดิมมีเพียงแค 30 จุด พรอมเรงพัฒนาระบบตรวจจับเวลารถ ขับเสนทึบ (เลนเชนจ) ใหครบ 200 จุด เพื1อแกไขปญหาจราจร
เดินหนาทางพิเศษ กะทู-ปาตอง คาดจะเปดใหบริการป 2564
การทางพิเศษแหงประเทศไทย กระทรวงคมนาคม ไดจัดการประชุมรับ ฟงความคิดเห็นของประชาชนครั้งที่ 2 (สรุปผลการศึกษาความเหมาะสมของ โครงการ) งานศึกษาความเหมาะสม ทางดานวิศวกรรม เศรษฐกิจ การเงิน และผลกระทบสิ่ ง แวดล อ ม และ ออกแบบรายละเอียด โครงการทาง พิเศษสายกะทู-ปาตอง จังหวัดภูเก็ต คุณเลิศศักดิ์ จิงหะรานนท รอง ผูว า การฝายวิชาการ กลาววา “โครงการ ทางพิเศษสายกะทู-ปาตอง จังหวัดภูเก็ต เปนโครงการที่เกิดจากการประชุมคณะ รัฐมนตรีอยางเปนทางการนอกสถานที่ ครัง้ ที่ 3/2555 เมื1อวันที่ 20 มีนาคม 2555 โดยคณะรัฐมนตรีไดเห็นชอบในหลักการ เพื1อเปนการแก ไขปญหาการจราจร โดย ใหกระทรวงคมนาคมศึกษาความเหมาะ สมเพิ่มเติม และใหเทศบาลเมืองปาตอง หารือกับทองถิน่ ใกลเคียงในการพิจารณา กําหนดสัดสวนเงินสมทบของทองถิ่นใน การลงทุนกอสรางอุโมงค รวมทั้งการ กําหนดแนวทางการรวมลงทุนภาครัฐ และเอกชน และการกําหนดอัตราการจัด
R1_B&T#233_p10-11_iMac2.indd 10
เก็บคาธรรมเนียมการผานทางที่เหมาะ สม ซึง่ รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม ไดมอบหมายใหการทางพิเศษฯ พิจารณา ศึกษาโครงการดังกลาว โครงการทางพิ เ ศษสายกะทู -ป า ตอง เปนทางยกระดับมีจุดเริ่มตนจาก ถนนตามผังเมืองรวมสาย ก. ต.ปาตอง มุงไปทางทิศตะวันออก ขามถนนพิศิษฐ กรณีแลวเขาสูอุโมงคลอดใตเทือกเขา นาคเกิดไปยัง ต.กะทูผ า นดานเก็บคาผาน ทางไปบรรจบกั บ ทางหลวงแผ น ดิ น หมายเลข 4029 ระยะทางรวม 3.9 กม. โดยอุโมงคมีระยะทาง 1.9 กม. และทาง ยกระดับ 2.0 กม. มูลคาโครงการประมาณ 8,730 ลานบาท โครงการมีความเหมาะ สมทางด า นเศรษฐกิ จ โดยมี อั ต ราผล ตอบแทนทางดานเศรษฐกิจรอยละ 21.45 คาดวาจะเปดใหบริการไดในป พ.ศ. 2564 ติ ด ต อ สอบถามข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม www.katoo-patongexpressway. com ศูนยบริการขอมูลผู ใชทางพิเศษ (EXATCall Center 1543) สํานักงาน โครงการทางพิเศษสายกะทู–ปาตอง จังหวัดภูเก็ต โทร.0-7634-6734
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556 โดย กรมการขนสงทางบก
จอดปายหมอชิต
ขบ.จับมือ AIS ชําระภาษีรถผานมือถือ 24 ชม.
กรมการขนส ง ทางบก จั บ มื อ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส ให บริการรับชําระภาษีรถประจําปผานมือ ถือ ตลอด 24 ชัว่ โมง เพื1อตอบสนองรูป แบบการใชชวี ติ ของคนรุน ใหม และเพิม่ ชองทางเลือกการรับชําระภาษีทอี่ าํ นวย ความสะดวกให กั บ ประชาชนมากขึ้ น เริ่มใหบริการ 15 พ.ย. นี้ การรับชําระคาภาษีรถประจําปตาม กฎหมายว า ด ว ยรถยนต ผ า นบริ ก ารรั บ ชําระเงินคาสินคา/บริการผานโทรศัพท เคลื1อนที่ (Mobile Payment) ดวยบริการ เอ็มเปย และที่เคานเตอรชําระเงินที่มี สัญลักษณ mPay Station เพื1อเพิ่มชอง ทางการรั บ ชํ า ระภาษี ร ถประจํ า ป ต าม กฎหมายวาดวยรถยนต โดยเจาของรถ สามารถชําระภาษีรถประจําปผาน Application “ชําระภาษีรถ” บนโทรศัพทมือถือ เครือขาย AIS 3G 2100 ดวยบริการเอ็ม เปย ไดทุกที่ ทุกเวลา ตลอด 24 ชั่วโมง รวมทั้ ง ยั ง สามารถชํ า ระภาษี ผ า น เคานเตอรชําระเงินที่มีสัญลักษณ mPAY พ.ต.อ.ยอดชาย ผูสันติ ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝายประชาสัมพันธ, บก.02
STATION กวา 3,500 แหงทัว่ ประเทศ โดย เริ่มเปดใหบริการในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2556 เปนตนไป สําหรับมือถือระบบปฏิบตั ิ การ Android (สวนระบบ iOS จะเริ่มให บริการปลายเดือนธันวาคม 2556) ทั้งนี้ เพื1อเปนการเพิม่ ชองทางการรับชําระภาษี รถประจําปตามกฎหมายวาดวยรถยนตใน เขตกรุงเทพมหานครและอํานวยความ สะดวกใหกับประชาชนมากขึ้น สําหรับรถที่จะชําระภาษีประจําป บนมือถือ ไดแก รถเกง รถปคอัพ รถตู ที่ มีอายุการใชงานไมเกิน 7 ป และไมใชกา ซ CNG หรือ LPG เปนเชื้อเพลิง และรถ จักรยานยนตที่มีอายุการใชงานไมเกิน 5 ป โดยตองมีกรมธรรมประกันภัยจากรถ หรือสามารถสั่งซื้อกรมธรรมประกันภัย ผานระบบนั้นได ทั้งนี้ สามารถดําเนิน การไดลวงหนากอนวันครบกําหนดชําระ ภาษีรถประจําปครั้งถัดไปได ไมเกิน 3 เดือน โดยเสียคาใชจายเพียง 60 บาท เทานั้น สอบถามเพิ่มเติมได ที่สํานักงาน ขนสงกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-5 หรือ สอบถาม Call Center 1584 BUS & TRUCK FAQ
ติดแร็คหลังคาเกง บรรทุกของไดหรือไม? หากผมติ ดแร็ คหลั ง คารถเกง แล ว ขนท อ ยาวประมาณ 3 เมตร เส น ผ า ศู น ย ก ลาง ประมาณ ½ นิ้ว ประมาณ 50 ทอ จะ มีความผิดทางกฏหมายจราจรหรือไม ตาม พ.ร.บ.รถยนตมาตรา 21 หามมิใหผู ใดใชรถไมตรงตาม ประเภททีจ่ ดทะเบียนไว เวนแต ในกรณี ดังตอไปนี้ (1) การใชรถยนตบริการธุรกิจ รถยนต บ ริ ก ารทั ศ นาจร หรื อ รถ จักรยานยนตสาธารณะในกิจการสวนตัว (2) การใชรถยนตสาธารณะใน กิจการสวนตัว โดยมีขอ ความแสดงไวที่ รถนั้นใหเห็นไดงายจากภายนอกวาใช ในกิจการสวนตัว (3) การใช ร ถยนต ส าธารณะ บรรทุกของที่ติดตัวไปกับผู โดยสาร
(3 ทวิ) การใชรถยนตบรรทุกสวน บุ ค คลที่ มี นํ้ า หนั ก รถไม เ กิ น 1,600 กิโลกรัม เปนรถยนตนั่งสวนบุคคลเกิน 7 คน หรือใชรถยนตนั่งสวนบุคคลเปน รถยนตบรรทุกสวนบุคคล (4) ได รั บ อนุ ญ าตจากนาย ทะเบียน ตามหลักเกณฑ วิธีการ และ เงื1อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง กรณีรถเกงติดแร็คหลังคาบรรทุก ทอ ตองดูวาปฏิบัติตาม พ.ร.บ. จราจร ทางบกตามมาตรา 20 ผูขับขี่ซึ่งขับรถ บรรทุกคน สัตว หรือสิ่งของตองจัดใหมี สิ่งปองกันมิให คน สัตว หรือสิ่งของที่ บรรทุกตกหลน รัว่ ไหล สงกลิน่ สองแสง สะทอน หรือปลิวไปจากรถ อันอาจกอ เหตุเดือดรอน รําคาญ ทําใหทางสกปรก เปรอะเป อ น ทํ า ให เ สื1อ มเสี ย สุ ข ภาพ อนามั ย แก ป ระชาชน หรื อ ก อ ให เ กิ ด อันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสิน
11/7/2556 BE 12:02 AM
PROTEST • BUS&TRUCK 11
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
กดแตร
ถนนเสียแหลงหากิน
ตามปกติ แ ล ว ถนนทุ ก สายทั่ ว ประเทศจะถูกกอสรางโดยกรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท กระทรวง คมนาคม ซึง่ ตามมาตรฐานการกอสราง ถนนทุกเลนจะตองมีคณ ุ ภาพเทาเทียมกัน โดยรถใหญที่มีนํ้าหนักมากจะถูก ออกกฎใหวิ่งเลนซายสุด และรถที่มีนํ้า หนักเบาและวิ่งเร็วก็จะอยูในเลนกลาง และเลนขวา ซึ่งไมถูกตองตามธรรมชาติ การใชงานเลย เพราะรถที่มีนํ้าหนักมากและตอง วิง่ อยูเ ลนซายสภาพถนนจะชํารุดและพัง เร็ว สวนเลนกลางและเลนขวาก็จะเปน ปกติ ส ามารถใช ง านได อ ย า งยาวนาน เพราะไดถูกออกกฎใหรถที่มีนํ้าหนักเบา วิ่งไดเทานั้น เรื1องนีท้ างเจาหนาทีข่ องหนวยงาน ราชการที่ดูแลกฎหมายการจราจรตาง ทราบเปนอยางดี เพราะผูที่ละเมิดกฎที่ วางไวจะตองถูกปรับตามหลักกฎหมาย อยางเชนถนนทีว่ งิ่ จากศรีราชาเพื1อ ไประยอง สภาพถนนเลนซายสุดจะชํารุด และเปนหลุมใหญทําใหทั้งรถจักรยานยนต รถปคอัพ รถเกง และรถใหญ ตาง มีอบุ ตั เิ หตุและสินคาทีบ่ รรทุกมาเสียหาย เปนอยางมาก แมวาในเรื1องนี้จะถูกแจง ไปยังกรมทางหลวงชนบทจังหวัดระยอง ใหมาซอมแซมโดยดวน ก็ยังไมมีเสียง ตอบรับกลับมา ดวยรายไดคงทีแ่ ตรายจายเพิม่ มาก ขึ้น ทําใหเจาหนาที่ของทางราชการซึ่ง ดู แ ลในพื้ น ที่ นี้ ต อ งหาช อ งทางทํ า มา หากิน และเมื1อถนนเสนนีม้ กี ารชํารุดชอง ทางการหารายไดอยางงามก็เกิดขึ้น รถบรรทุกใหญตั้งแต 4 ลอ ขึ้นไป ตามหลักกฎหมายบังคับใหวิ่งไดเลนซาย สุด เพราะตองใชความเร็วไมเกิน 90
R1_B&T#233_p10-11_iMac2.indd 11
กิโลเมตรตอชั่วโมง ซึ่งถือวาชามากและ เมื1อมาใชถนนเสนนี้เลนซายสุดเปนหลุม เปนบอหากวิง่ ตามกฎหมายกําหนดลอรถ ระบบชวงลาง และสินคาทีบ่ รรทุกมาตอง ชํารุดแน จึงตองเปลีย่ นมาวิง่ เลนขวาเพื1อ ใหทกุ อยางอยูใ นสภาพเดิมสงสินคาไดใน ราคาที่ไดรับวาจางมา แตเมื1อมาเจอเจาหนาที่ของทาง ราชการไมรบั ฟงเหตุผลของการขับรถผิด หลักกฎหมาย ตองเสียคาปรับหรือจาย สวยเพียงอยางเดียวเทานั้น จึงสามารถ ขั บ รถต อ ไปได แ ล ว อย า งนี้ ค นขั บ รถ บรรทุกก็ตอ งมีรายจายเพิม่ มากขึน้ แตราย ไดยังคงเทาเดิม ในขณะที่เจาหนาที่ของ ทางราชการที่เรียกปรับเงินหรือเก็บสวย ก็จะมีรายไดเพิ่มขึ้นแตรายจายเทาเดิม แล ว ในที่ สุ ด ทั้ ง ชาวบ า นที่ อ ยู ใ น ละแวกนัน้ คนขับรถทัง้ รถเล็กและรถใหญ ตางทนเห็นสิ่งที่ประชาชนทั่วไปตองรับ เคราะหอีกไมไหว จึงตองทําการรวมตัว กันสละทัง้ ทรัพยและแรงกายออกมาชวย เหลื อ เพราะไม ส ามารถที่ จ ะทนเห็ น หนวยงานตาง ๆ ของทางราชการเอารัด เอาเปรียบตอไปไดอีกแลว จึงไดนําอิฐหินปูนทรายและรถบด เพื1อ ทํ า ให ถ นนแข็ ง แรง และรถยนต สามารถทําการจราจรไดเหมือนเดิม เมื1อ เปนแบบนี้แลวหนวยงานราชการตาง ๆ ที่ รั บ ผิ ด ชอบทั้ ง ในจั ง หวั ด ระยองและ ชลบุ รี ไม รู สึ ก ละอายบ า งเลยหรื อ ที่ ประชาชนได เ รี ย กร อ งเข า มาให แ ก ไ ข ปญหา แลวเงินภาษีที่จายให ในแตละ เดือนก็คือเงินเดือนประจําของราชการ ตาง ๆ เคยคิดถึงกันหรือไม ก็อยากฝากไววา หนวยงานราชการ ตองทํางานคูก บั ประชาชนอยาเอารัดเอา เปรียบกันอีกเลย
พักรถ
คาย FAW ใชโมบิลแบงตัวแทนจําหนาย ดวยปจจุบนั นีต้ ลาดรถใหญจากจีนถือวามียอดขายเติบโตขึน้ เปนอยาง มาก สาเหตุแรกเกิดจากผูประกอบขนสงไมสามารถรอรถคายญี่ปุนได จึง ตองใชรถจากจีนแทน สาเหตุที่ 2 คือ ดวยราคาจําหนายที่ถูกทําใหระยะ เวลาเพียงแค 3 ป ก็คมุ ทุนและประการสุดทายคือ การพัฒนาหลังการขาย ใหทันกับความตองการ จึงไมเสียเวลาที่ซื้อรถจีน บริษัท เอเซีย วีฮิเคล คอรเปอเรชั่น จํากัด ตัวแทนจําหนายรถใหญ FAW ประเทศจีน ไดวางกลยุทธตาง ๆ ที่จะทําใหสามารถคุมตลาดในอาเซียน ไดทั้งหมด เริ่มจากทําตลาดในเมืองไทยเปนพันธมิตรในอินโดนีเซียขายปแรก ไดมากกวา 1,000 คันแลว ตอไปก็จะบุกไปยังประเทศลาวและมาเลเซียตอไป หากมองตลาดในเมืองไทยแลวมีตัวแทนจําหนายรถใหญ FAW อยู 2 บริษัท คือ บริษัทเอเซีย วีฮิเคล คอรเปอเรชั่น จํากัด และ บริษัท สุพรีม ทรัค จํากัด ซึ่งรถของทั้งสองคายนี้เหมือนกันทุกประการเพราะนํามาจากโรงงาน ประกอบโรงงานเดียวกัน เพื1อทําใหทกุ อยางมีความแตกตางกันทางเอเซียฯ จึงไดเปนพันธมิตรกับ คายนํา้ มันโมบิลทีม่ ศี นู ยเปลีย่ นถายนํา้ มันเครื1องอยูใ นปม นํา้ มันเอสโซ ทําการ เปลี่ยนถายนํ้ามันและไสกรองนํ้ามันใหในชวงเวลารับประกันเริ่มแรกจาก 19 สาขากอน อนาคตตอไปก็จะขยายใหได 56 แหงทั่วประเทศ ดังนั้นความแตกตางอันดับแรกก็คือ การบริการหลังการขายที่จะไดรับ การดูแลเปนอยางดีแตกตางจากอีกคายหนึง่ ทีต่ อ งดูแลรถดวยตัวเอง นอกจาก นีแ้ ลวก็มแี ผนทีจ่ ะเพิม่ สาขาและขยายดีลเลอร ไปยังภูมภิ าคตาง ๆ ทัว่ ประเทศ และ ยังมีรถโมบายเซอรวิสเพื1อใหรถ FAW ที่ทางบริษัทฯไดจําหนายไปมีการ ดูแลและบริการอยางเต็มที่ หากเปนแบบนี้แลวคาย FAW ก็จะทําใหภาพพจนเดิมของรถใหญจาก จีนเลือนหายไป และตอไปไมแนอาจจะทําใหตลาดรถใหญจากจีนมีการเติบโต เทียบเทารถญี่ปุนก็เปนไปได
11/7/2556 BE 12:00 AM
12 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK CARE
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
รักษรถ
กําเนิดรถบรรทุก
ขอมูล http://th.wikipedia.org/wiki/ และ กลุมสถิติการขนสง กองแผนงาน กรมขนสงทางบก
หลั ง จากที่ เราไดร อบรูเรื1อ งราว รักษรถกันมามากมาย วันนี้ รักษรถจึง จะขอนําเสนอเรื1องราวของจุดเริ่มตน ของรถบรรทุกกันบาง เพราะวาเปนสิ่ง ที่ ห ลายต อ หลายคนยั ง คงเกิ ด ความ สนใจ อีกทั้งยังเปนเกร็ดความรูเล็ก ๆ นอย ๆ ทีจ่ ะทําใหคณ ุ ไดผอ นคลายความ ตึงเครียดลงกับเรื1องราวจุดเริ่มตนของ รถบรรทุกกัน สิ่งที่แรกที่เราจะนําเสนอก็คือการ เกิดขึ้นของรถบรรทุกคันแรกในโลก จาก ความคิ ด ของบุ ค คลที่ ชื1อ ว า Gottlieb Daimler ในป ค.ศ. 1896 โดยรถบรรทุก คันแรกของโลกนี้ทําโครงสรางจากเหล็ก แข็ง และลอก็ทํามาจากไม ในสวนของ เครื1องยนตนนั้ เปนแบบ 2 สูบขนาดความ จุอยูที่ 1.06 ลิตร ตอมาไดมีการคิดติดตั้ง เครื1องยนตขนาด 2.2 ลิตร ที่ขับเคลื1อน ดวยระบบสายพาน และระบายความรอน ดวยหมอนํ้า อยางไรก็ตาม หลังจากที่รถ บรรทุกไดถือกําเนิดขึ้นมา ก็ถูกปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทั้งโครงสราง รูปแบบ และ สมรรถนะอยางตอเนื1อง จนกระทั่งในป ค.ศ.1898 รถบรรทุกไดถูกนําไปจัดแสดง ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งสราง ปรากฏการณดงึ ดูดผูค นไดอยางมหาศาล จนเผยแพรและนําไปใชงานรอบโลก ดัง เชนในปจจุบัน ซึ่งรูปรางลักษณะของรถ
บรรทุกนั้นก็จะมีลักษณะที่แตกตางกัน ออกไปตามการใชงาน อย า งไรก็ ต าม ลั ก ษณะของรถ บรรทุกในปจจุบันสามารถแบงตามราย ละเอียดหรือโครงสราง รวมไปถึงการ แบ ง ตามลั ก ษณะการใช ง านได อ ย า ง หลากหลาย แตสําหรับรักษรถฉบับนี้ จะ
ขอแบงรถบรรทุกตามลักษณะของตัวรถ ซึ่ ง สามารถจํ า แนกประเภทได ถึ ง 8 ประเภทดวยกันดังนี้ • รถกระบะบรรทุกพื้นเรียบ • รถกระบรรทุกทายลาด • รถกระบะบรรทุกมีขางเสริม • รถกระบะบรรทุกมีเครื1องทุน แรง • รถกระบะบรรทุกยกเทได • รถตูบรรทุก • รถบรรทุกของเหลว • รถบรรทุกวัสดุอันตราย ในปจจุบันนี้ คําจํากัดความของรถ บรรทุก สามารถแบงออกเปน 2 ลักษณะ ดังนี้ รถบรรทุกไมประจําทางหมายถึง รถ ที่ใช ในการขนสงสัตวหรือสิ่งของเพื1อสิน
จ า งโดยไม กํ า หนดเส น ทาง และ รถ บรรทุกสวนบุคคล หมายถึง รถที่ใช ใน การขนสงสัตวหรือสิง่ ของเพื1อการคาหรือ ธุรกิจของตนเอง ซึง่ มีนาํ้ หนักเกิน 1,600 กิโลกรัมขึ้นไป เมื1อเราทราบถึงเรื1องราวของจุด เริ่มตนของรถบรรทุกคันแรกของโลก กันไปแลว ในรักษรถฉบับหนา เราจะนํา ทุกทานไปรูจ กั กับรถบรรทุกคันแรกของ ประเทศไทย วาจะมีรูปรางหนาตาเปน อย า งไรก อ นที่ จ ะอยู ใ นสั ง คมดั ง เช น ปจจุบนั อยาลืมติดตามชมรถบรรทุกคัน แรกของประเทศไทยได ใน รักษรถ ฉบับ หนา
รูไวใชวา คุณสมบัติของ ยางเรเดียลเสนลวด
ยางเรเดียลเสนลวด มี ค วามต า นทานต อ การ สึ ก หรอสู ง กว า ยางผ า ใบ ธรรมดา เนื1องจากหนายาง ที่แกรงกวา การบิดตัวของ หน า ยางน อ ยกว า ความ รอนจึงเกิดขึ้นไดนอยกวา และหน า ยางที่ สั ม ผั ส ผิ ว ถนนได ม ากกว า ช ว ยลด ป ญ หาการบวมล อ นของ ยาง มีผลทําใหอายุการใชงานของยางเรเดียลเสนลวดยาวนานกวายางผาใบ ธรรมดา 1.5 - 2 เทา ชวยใหประหยัดคาใชจายเกี่ยวกับตนทุนตอระยะทางที่ใช งาน และใหความปลอดภัยในการใชงานไดมากยิ่งขึ้น
B&T#233_p12-13_iMac2.indd 12
11/4/2556 BE 11:00 PM
B&T#233_p12-13_iMac2.indd 13
11/4/2556 BE 11:00 PM
14 BUS&TRUCK • INTERVIEW
ปักษ์แรก • พฤศจิกายน 2556
จอดคุย การจัดเก็บสินค้า ถือเป็นความ ส�ำคัญอย่างยิ่งของระบบโลจิสติกส์ หากจัดเก็บให้เป็นระเบียบก็ง่ายต่อ การค้ น หา แน่ น อนว่ า การจั ด เก็ บ สินค้าจ�ำเป็นต้องมีชั้นวางสินค้า หรือ ตู้เอกสาร ที่ประหยัดพื้นที่เพื่อความ สะดวกในการดูแล โอกาสนี้ ทีมข่าว BUS & TRUCK ได้เดินทางไป “จอดคุย” คุณนบกร ร่มฟ้าไทย กรรมการบริหาร บริษัท แอลพีไอ แร็คแร็นจ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้ผลิตชั้นวางและระบบจัดเก็บ คลังสินค้า ถึงแผนการด�ำเนินงานให้ พี่น้องสมาชิกได้ทราบทั่วกัน
ความเป็นมา “แอลพีไอ”
บริษัทก่อตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 45 ปี เป็นบริษัทคนไทย 100% ด้วย ฝี มื อ ของ คุ ณ ประที ป ร่ ม ฟ้ า ไทย
ประธานบริหาร ซึง่ เป็นพีช่ ายคนโตทีเ่ ริม่ ท�ำงานมาตั้งแต่เยาว์วัย และเวลาต่อมา ได้ไปพบสินค้าบางตัว ซึง่ เป็นสินค้าเหล็ก กัน้ หนังสือของห้องสมุดทีม่ รี าคาเพียง 10 บาท จนกลายมาเป็นธุรกิจของบริษัท หลังจากนั้นได้ค้นคว้าสินค้าที่สามารถ อ�ำนวยความสะดวกในการจัดเก็บเอกสาร ในส�ำนักงานและโรงพยาบาล บริษทั จึงมี ธุรกิจเพิม่ ขึน้ มาอีก และในทีส่ ดุ ก็ได้ขยาย ผลิตภัณฑ์ ไปสู่ห้างสรรพสินค้า ในส่วน ของชั้นวางสินค้าอุปโภคบริโภค รวมถึง ระบบการจัดเก็บสินค้าในภาคโรงงาน อุตสาหกรรม “สินค้าทีเ่ ป็นพระเอกจะประกอบไป ด้วย ตู้เลื่อนประหยัดพื้นที่ ตู้และชั้นเก็บ แบบ ครุ ภั ณ ฑ์ ห ้ อ งสมุ ด ครุ ภั ณ ฑ์ ส�ำนักงาน ชั้นโชว์หนังสือ/ซีดี/วีดีโอ ชั้น เก็บสินค้าในคลังสินค้า และศูนย์บริการ รถยนต์”
นโยบายการบริหาร
คนทีป่ ระสบความส�ำเร็จทีส่ ดุ ไม่ใช่ เป็นคนที่เก่งงานที่สุด หากแต่เป็นคนที่ “เก่งคน” บริษัทมีนโยบายตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าด้วยผลิตภัณฑ์ที่ มีคุณภาพและบริการ ที่สร้างความพึง พอใจให้แก่ลูกค้า เพราะเราไม่หยุดนิ่งที่ จะพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ พนั ก งานเป็ น ทรัพยากรทีม่ คี วามส�ำคัญสูงสุดในการน�ำ พาให้บริษัทอยู่รอด ถ้าไม่มีการพัฒนา บุคลากรแล้ว อาจส่งผลให้การด�ำเนินงาน ล้าหลัง และไม่อาจจะเดินไปข้างหน้าได้ เราจึงเสริมสร้างความรู้ความสามารถ พนักงานให้พร้อมทุกสถานะการแข่งขัน
อุปสรรคการด�ำเนินธุรกิจ
ถึงแม้ ในปัจจุบันระบบไอทีจะเข้า มามีบทบาทในเรื่องการจัดเก็บข้อมูล แต่ ระบบการจัดเก็บสินค้าก็ยังจ�ำเป็น ไม่ว่า
คุณนบกร ร่มฟ้าไทย
พร้อมสนองความต้องการลูกค้า การเปิ ด ประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น หรือ AEC ในปี 2558 จะช่ ว ยให้ ภ าคธุ ร กิ จ เติ บ โตตามแม้ ว ่ า จะมี การแข่ ง ขั น ที่ รุ น แรง ก็ตาม แต่ปัจจัยยังเปิด ให้ เ ราสามารถเข้ า ไป เปิ ด ตลาดได้ อี ก 9 ประเทศ ไม่ได้จ�ำกัดอยู่ แค่ในประเทศไทย
B&T#233_p14-15_iMac2.indd 14
จะเป็นโรงงานต่าง ๆ ห้างสรรพสินค้า คลังแวร์เฮาส์ โลจิสติกส์ และศูนย์ บริการรถยนต์ ยังคงความต้องการ และมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นอีก
ความเชื่อมั่นของสินค้า
สินค้าบริษทั เราถือเป็นสินค้าทีม่ ี คุณภาพรับรองมาตรฐาน ISO 90012014 และยังได้นำ� Green Technology มาใช้ช่วยลดภาวะโลกร้อน โดยเฉพาะ เหล็ก GI-Sheet สามารถทดแทนการ ใช้ ส ารเคมี แ ละสี จ ากปิ โ ตรเคมี ด ้ ว ย ธุรกิจเราผ่านร้อนผ่านหนาวมาเกือบ ทุกวิกฤตที่เกิดขึ้นกับเมืองไทย และนี่ คื อ จุ ด แข็ ง ที่ ก ลุ ่ ม ลู ก ค้ า มองเห็ น ว่ า บริษัทเรามีความพร้อมที่จะอยู่คู่กับ ลูกค้าตลอดไป
AEC กระตุ้นเศรษฐกิจ
การเปิ ด ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน หรือ AEC ในปี 2558 จะช่วย ให้ ภ าคธุ ร กิ จ เติ บ โต แม้ ว ่ า จะมี ก าร แข่งขันที่รุนแรงก็ตาม เรายังสามารถ เข้าไปบุกเบิกตลาดได้อกี 9 ประเทศ ไม่ ได้จ�ำกัดอยู่แค่ในประเทศ ทั้งนี้ ชาติ อาเซียนเชื่อมั่นในสินค้าของคนไทย มาก “เรามีสาขาที่ประเทศฟิลิปปินส์ และด�ำเนินธุรกิจมาแล้ว 10 ปี ซึ่งได้ รับการตอบรับอยู่ในระดับน่าพอใจ”
โรงงานผลิต
ความส�ำเร็จไม่ได้มาในครั้งเดียว อาจต้องท�ำซ�้ำแล้วซ�้ำเล่า ล้มบ้างก็ไม่ เป็นไร ใช้ความล้มเหลวมาเรียนรู้เป็น ประสบการณ์ เราภูมใิ จในสิง่ ใหม่ทเี่ กิด จากการใช้ ค วามรู ้ และการคิ ด ค้ น สร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ และสังคม LPI มีเครื่องจักรที่ทันสมัย ใช้เทคโนโลยีสีเขียว (Green technology) เข้ามาบริหารจัดการ เพื่อให้เกิด มลภาวะน้อยที่สุด
ฝากลูกค้าช่วยธุรกิจคนไทย
สินค้าไทยเป็นสินค้าคุณภาพไม่ แพ้ชาติใดในโลก(เราขอสนับสนุน) ขอ ฝากให้กลุม่ ลูกค้าได้พจิ ารณาให้ โอกาส ธุรกิจคนไทย ช่วยสนับสนุน จุดนีจ้ ะส่ง ผลให้ บ ริ ษั ท คนไทยพั ฒ นาคุ ณ ภาพ สินค้าได้อย่างต่อเนื่องสามารถน�ำสิ่งดี ดี สู ่ ชี วิ ต ชาวโลกและชาวไทย LPI Group ยินดีให้คำ� ปรึกษาเกีย่ วกับระบบ การจั ด เก็ บ ครบวงจร โทร.0-27200444 #234,08-1358-1919 www.lpi. co.th
11/4/2556 BE 11:06 PM
LAW KNOWLEDGE • BUS&TRUCK 15
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
รูกฎกอนขับ
ผูรับจางชวง มืออาชีพ
ยอนอดีตไปเมื1อประมาณ 20 ปที่ ทาเรือแหลมฉบังเกิดขึ้นใหม ๆ ความ ตองการรถกึง่ พวงมีมาก ทัง้ หางกึง่ พวง ลากตู แ ละหางกึ่ ง พ ว งพื้ น เรี ย บเอนก ประสงค การรั บ งานสมั ย นั้ น มั ก จะ เปนการรับงานโดยตรงจากโรงงานหรือ สายเรืออยางมากก็มีรถรวมเขาไปวิ่ง ด ว ยกั น เพราะตู นํ า เข า และส ง ออกมี ปริมาณมาก จึงเกิดความตองการรถ รวม ประกอบกับความไมแนนอนของ สัญญาการขนสงจึงทําให ไมมีใครกลา ลงทุนซื้อรถเยอะ ๆ แม ไดงานเยอะแต ก็ตอ งการกระจายความเสีย่ งออกไปบาง พอหลังจากที่ฟองสบูแตกสิ่งที่เกิด ขึ้นก็คือมีผูประกอบชีพขนสงหาย หรือ หยุดกิจการไปจํานวนหนึง่ ในสมัยนัน้ การ รับจางชวงยังไมเกิดขึ้น พัฒนาการและ ความเปลี่ยนแปลงของวงการขนสงเริ่ม เกิ ด ขึ้ น หลั ง จากฟองสบู แ ตกหรื อ ช ว ง ประมาณป 2540 กลาง ๆ การรับจาง ชวงเกิดขึ้นเมื1อมีบริษัทที่ประกอบธุรกิจ ดาน logistics เต็มรูปแบบของตางชาติ เริ่มเขามาและงานรับจางชวงเริ่มมีมาก ขึ้นตามลําดับจนถึงปจจุบัน และก็มีแนว โนมทีจ่ ะคงอยูอ กี ตอไปนานแสนนานหรือ ตลอดไปก็วาได ที่บอกวาการรับจางชวงยังคงมีอยู ตอไปอีกก็เพราะ Logistics ประกอบดวย 3 กิจกรรมหลัก ๆ คือ การนําเขา-สงออก การจัดเก็บการกระจาย และการขนสง การขนสงเปนสวนหนึ่งในกระบวนการ หลักของ Logistics จึงอยูคูกันตลอดไป มีคาํ ถามตอไปวาถาเปนแบบนีบ้ ริษทั ของ คนไทยก็หมดโอกาสในการทําธุรกิจ คํา ตอบคือวามองในมุมไหน หากมองในมุม ของผูขนสงโอกาสยังไมหมด แตถามอง ในมุมของ Logistics ทั้งระบบก็อาจจะ หมดเพราะเราแพตางชาติที่ปลายทาง หรือตางประเทศ เรามีขีดความสามารถ ลงทุนหรือรวมตัวกันสราง Warehouse แตเราไมสามารถที่จะไปหาลูกคาเพราะ ความซั บ ซ อ นในหลากหลายขั้ น ตอน
B&T#233_p14-15_iMac2.indd 15
ตาง ๆ และที่สําคัญคือเราไมเคยมีฐาน ธุ ร กิ จ ด า นนี้ ม าก อ น เราเป น ประเทศ เกษตรกรรม เราคาขายนําเขาสงออก ธรรมดาไมเคยมีฐานในดาน Warehouse และดาน Logistics เลย แตธุรกิจบรรทุก ขนสงเราสามารถที่จะเรียนรูและพัฒนา ต อ ยอดไปได เ รื1อ ย ๆ ตามความ เปลี่ ย นแปลงและเทคโนโลยี ใน กระบวนการของกิจกรรม logistics นั้น ยอมรับวาสวนขนสงคือสวนที่หินที่สุด ตนทุนไมมีลดหรือลดยากมาก สามารถ ลดตนทุนดานการนําเขาการสงออกและ การบริหารจัดการในคลังสินคาไดแตการ ขนสงลดยากมาก ๆ นอกจากจะลดยาก แลวการเพิ่มคาขนสงก็ทําไดยากอีก ยิ่ง เปนผูรับจางชวงยิ่งเพิ่มคาขนสงไดยาก สิ่ ง ที่ เ ราเริ่ ม พอพบเห็ น บ า งในวงการ ขนสงบานเราก็มบี ริษทั ชัน้ นําหลายรายที่ เริ่มกระจายความเสี่ยงไมยึดติดกับการ ขนสงสินคาประเภทเดียว การพัฒนามีความจําเปนทุกสาขา อาชีพ การพัฒนาการการขนสงเพื1อให เปนมืออาชีพคงจะยังมีอยูต ลอดไป ตราบ ใดที่ยังอยูในธุรกิจ พัฒนาในสิ่งที่มีความ จํ า เป น และพั ฒ นาระบบการขนส ง (Transport Management System) เชน ระบบการบริ ห ารองค ก ร ระบบการ บริหารคนขับรถ ระบบการซอมบํารุง ระบบความปลอดภัย ระบบการคํานวณ เสนทาง ระบบการเงิน การบริหารลูกคา และระบบการอบรมตาง ๆ เปนตน เรา ตองไมลืมวาทุกอาชีพนั้นมีจุดตายและ บางอาชีพอาจจะมีจุดตายหลายจุดก็เปน ได ตองพยายามหาจุดตายใหเจอแลว พยายามหลบออกไปหรืออยาใหมจี ดุ ตาย อยูในระบบของเรา การพัฒนาเพื1อใหเปนผูรับจางชวง มืออาชีพก็เพราะวาการขนสงสมัยนี้เปน สวนหนึ่งของ Logistics และ Logistics ก็เปนสวนหนึ่งของกระบวนการหวงโซ อุ ป าทานหรื อ คุ น หู ภ าษาอั ง กฤษว า Supply Chain อยางโตโยตาผลิตรถได
นาที ล ะคั น ก็ ห มายความว า การจั ด ส ง อะไหล ห รื อ ชิ้ น ส ว นในกระบวนการ Supply Chain ตองแมน ผิดพลาดไมได ไปเร็วนิดหนอยไดแตชาก็เกิดปญหาใน กระบวนการผลิต การขนสงในยุคกอนป 2540 สวนมากเปนการขนสงธรรมดาที่ ไมไดเกี่ยวของกับระบบ Logistics และ หวงโซอุปาทาน แตวันนี้การขนสงไดมี การเปลีย่ นแปลงแลวตามยุคตามสมัย จึง
หนีไมพน ทีจ่ ะตองพัฒนาตามเพื1อใหเปน ผู รั บ จ า งช ว งอย า งมื อ อาชี พ รั ก ษา ตําแหนงไวตานคูแขงที่จะเขามาแขงขัน หรื อ ทดแทน สิ่ ง ดี ๆ จะตามมาอี ก มากมายครับหากมีพัฒนาการตอเนื1อง เชน อุบัติเหตุเกิดนอยลง รถจอดนอยลง อัตราการใชรถไมลดลง รถลอหมุนทุกวัน ทุกคนมีความสุข ทุกฝายอยูรวมกันได ตลอดไปครับ
11/4/2556 BE 11:07 PM
16 BUS&TRUCK • TTC
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
TOUR THEQUE CLUB
เหนื1อ ยแต ก็ ส นุ ก ในทุ ก ป ค ะ สํ า หรั บ กิ จ กรรม Thailand Tour Theque สําหรับปนเี้ ปนการโชว แสง สี ในรถโดยสารเพียงเทานั้น แตดีกรี ของความเปนตนฉบับของรถทัวรเธค ยังคงมีครุกรุนอยูเหมือนเคย ด ว ยยั ง อยู ใ นช ว งของการร ว ม ไวอาลัย สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก เสด็จสวรรคต ก็ตองยอมรับวาในปนี้ ค อ นข า งจะบางตาอู บ า งแต ก็ ยั ง พลพรรคที่ รั ก ในงานนี้ ม ารวมตั ว กั น เพื1ออวดสีสนั ในแบบฉบับของแตละคน และเชนทุกปกอ นทีจ่ ะมีการจัดกิจกรรม จะมีการนัดหมายผูเขารวมประชันมา ซักซอมทําความเขาใจถึงกฎระเบียบ และกติกามารยาท และเพื1อเปนการ กระตุกเสนเลือดนิดหนอย
ขอบคุณทุกทีมงาน งานนี้จะสําเร็จไปไม ไดเลย ถา ขาดความรวมมือ และนํ้าใจของพีน่ อง ในวงการนี้ โดยเฉพาะกลุมนอง ๆ ใน นาม OK-Bus, Crazy Bus, ศรีบุญลือ ที่มาชวยเรื1องของการจัดรถและดูแล
R1_B&T#233_p16-17_Pro2.indd 16
สถานที่ ใ ห เ ป น ไปอย า งเรี ย บร อ ยที่ สุ ด รวมถึ ง การร ว มกั น ประชาสั ม พั น ธ กิจกรรมตาง ๆ ภายในงานใหเปนทีท่ ราบ กันในวงกวาง ที่สําคัญยังตองขอคาราวะทุกทาน ทั้งรุนเล็กรุนใหญ ที่เปนศูนยรวมขอมูล ในการรวมกันเผยแพร ซึง่ ตัวขาพเจาเอง นัน้ หลายครัง้ ทีต่ อ งขอความรูจ ากนอง ๆ ตลอดจนทีมงานแอบจิตทีร่ ว มสรางความ บันเทิงเล็ก ๆ นอย ๆ ไดตลอดเวลา เรียก
วาเอาฮาไดทุกที่ ซึ่งจากที่ ไดสัมผัสก็ตองยอมรับวา ทัววรเธคเรานั้น มีแบบฉบับในแบบของ เรา เราบาบิ่นบาง แตก็ใชวาจะพูดจากัน ไมรูเรื1อง ทุกคนที่อยูในวงการรถโดยสาร ก็ อ ยากจะให ธุ ร กิ จ มั น ออกมาดี ไม มี อุบัติเหตุกันทั้งนั้น ไมมีใครอยากสูญเสีย ทานวาไง เราก็พยายามทําอยางนั้น อาจ จะเกเรบางบนทองถนน พอแมกต็ อ งคอย ตักเตือนกันไป หนักนิดเบาหนอยก็อภัย
กันนะคะ เตรียมพบกันใหมปหนา อั้นกัน ไวไมอยู เปดอูใ ครระเบิดความมันสกนั ไปกอนนะคะ
11/7/13 1:40 AM
R1_B&T#233_p16-17_Pro2.indd 17
11/7/13 1:44 AM
18 BUS&TRUCK • ASSOCIATION NEWS
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
คบหาสมาคม สหพันธการขนสงทางบก แหงประเทศไทย คุ ณ ชุ ม พ ล ส า ย เ ชื้ อ เลขาธิ ก ารสหพั น ธ ก าร ขนสงทางบกแหง ประเทศไทย เปดเผยวา ในปนี้ทางสหพันธ ไดตั้งมาครบ 10 ป แลว นับตั้งแตที่ผูประกอบการขนสง ทางบกไดรวมตัวกันประทวงเรื1องราคา นํา้ มันดีเซลทีม่ รี าคาสูงเกินไป ดังนัน้ จึง ตองมีหนวยงานที่จะตองดูแลและรับ ผิดชอบในเรื1องตาง ๆ ที่สมาชิกไดรับ ความเดือดรอน โดยสมาคมที่ เ ป น สมาชิ ก ของ สหพันธฯนัน้ จะมีการเพิม่ และถอดถอน ออกไปเมื1อเกิดความเดือดรอนในเรื1อง การขนสง หากทุ ก อย า ง เรียบรอยตาม ทีค่ าดหวังก็จะ ถอนสมาคม ออกไปอย า ง เ ช น เ รื1อ ง ร า ค า นํ้ า มั น และ ราคา NGV ทีส่ งู เกิน ตนทุน อยางในขณะนี้มีสมาคมเพิ่มเขา มาอี ก 5 สมาคม โดยทั้ ง หมดมี จุ ด ประสงคเดียวกับสหพันธฯคือ ใหตั้ง สภาการขนสงทางบกแหงประเทศไทย ให เ ร็ ว ที่ สุ ด เพื1อ จะทํ า ให บ รรดาผู ประกอบขนส ง ทางบกที่ เ ป น คนไทย สามารถประคองตัวใหอยูรอดไดเมื1อมี เปดใชประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC นั่นเอง โดยอํานาจหนาที่ของสภาฯนั้น จะมี ทั้ ง ผลดี แ ละผลเสี ย ของบรรดา สมาชิก โดยในแงของผลดีนั้นจะชวย เพิ่มใหสมาชิกมีการพัฒนาธุรกิจและมี จรรยาบรรณในการประกอบอาชี พ พรอมทัง้ ไดรบั การสนับสนุนจากหนวย งานของรัฐบาลอีก ทางดานผลเสียนั้นหากสมาชิก
รายใดไมสามารถทําตามมาตรฐานของ สภาฯที่วางไว ได ตองปดบริษัทหรือยุบ ธุรกิจของตัวเองไป สวนสหพันธฯนั้นก็สามารถทําได เพียงแคยื1นเอกสารเพื1อเรียกรองสิทธิ และความเปนธรรมของบรรดาสมาชิกให แกหนวยงานของรัฐบาลไมสามารถให คุณและให โทษแกผู ใดได
สมาคมผูประกอบการขนสง สินคาภาคอีสาน คุ ณ ขวั ญ ชั ย ติ ย ะวานิ ช นายกสมาคมผู ป ระกอบ การขนสงสินคาภาคอีสาน กล า วว า แม ใ นขณะนี้ จ ะ เกิดนํ้าทวมหนักที่อําเภอพิมาย จังหวัด นครราชสีมา แต ยังไมกระทบตอ เขตชุ ม ชนและ เขตเศรษฐกิ จ ของนครราชสีมา เพื1อความ มั่ น ใจทางสมาคมฯก็ยงั ตระเวน ดูอยู เพราะหาก เกิดนํ้าทวมเมื1อ ใดจะไดใหความชวยเหลือได ในทันที แตในการประชุมสามัญประจําป 2556 ที่จะมีขึ้นในวันที่ 16 พฤศจิกายน ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี นครราชสีมา มั่นใจวาจะไมเกิดนํ้าทวม แนเพราะเปนสถานที่สูง ดังนั้นแผนงาน ทุกอยางจึงเปนไปตามแผนที่ ไดวางไว สวนในป 2557 สามารถคาดการณ ลวงหนาไดวา ตลาดขนสงในภาคอีสานจะ เติบโตขึ้นแตไมมากนัก เนื1องจากสินคา หลั ก ที่ ทํ า การขนส ง อยู คื อ ข า ว มั น สําปะหลัง ทางรัฐบาลจะทําการรับจํานํา ไว ดังนั้นตองรอใหทางรัฐบาลไทยและ รั ฐ บาลจี น ตกลงทํ า การซื้ อ กั น อย า ง แนนอนอีกครั้ง งานขนสงจึงจะสามารถ เดินหนาตอไปได พรอมทั้งยังคาดตอไปไดวา เมื1อ เปดใชประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ
AEC แลว ธุรกิจขนสงของคนไทยจะมี แนวโนมที่จะถูกซื้อกิจการไป หรือไมแน ก็จะเปลี่ยนไปเพียงแคการขนสงเทานั้น เพราะบริษทั ขนสงตางชาติจะเขามาเปน ผูดูแลกิจการขนสงของไทยทั้งหมด เห็นไดวาธุรกิจของคนไทยนั้น ใน ขณะนีส้ ามารถดําเนินการไปไดอยางราบ รื1น โดยไมมีการวางแผนปองกันไวลวง หนาตองรอใหเกิดเหตุจวนตัวเสียกอนจึง จะรองขอความชวยเหลือ เพราะหาก สังเกตจะเห็นไดวาเริ่มมีนักธุรกิจชาวจีน หิ้วกระเปาเขามาเพื1อพูดคุยกับเจาของ โรงงานตาง ๆ และพรอมที่จะทําการ ขนสงสินคาให ซึ่งก็เปนจุดแรกของการ ถูกชิงตลาดขนสงแลว พรอมทั้งยังได ใหความเห็นอีกวา หนวยงานของรัฐยังไม ได ใหความชวย เหลืออยางจริงจังตอการแกปญหาและ อุปสรรคตาง ๆ ในการขนสงเลย เห็นมี แตเพียงการจัดสัมมนาถึงความคืบหนา เมื1อเปดใชประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งไมใชการวางแผนเพื1อรับมือลวงหนา เปนเพียงการใชงบประมาณเพื1อใหหมด ในปนี้เทานั้น
สมาคมผูประกอบการ รถขนสงทั่วไทย ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร นายกสมาคมผู ป ระกอบ การรถขนสงทั่วไทย เปด เผยวา จากกรณีที่รถทัวร ทอดผาปาไดตกเหว และมีผเู สียชีวติ บาด เจ็บที่ลําปางตามที่เปนขาวนั้น ตองขอ เพิ่มเติมขอมูลที่ถูกตองวารถทัวรที่ ไป ทอดผาปานั้นมีจํานวน 3 คัน และรถที่ เกิดอุบัติเหตุนั้นเปนรถ 6 ลอ ชั้นเดียว สวนอีก 2 คัน เปนรถ 8 ลอ 2 ชั้น ซึ่ง สาเหตุหลักนาจะเกิดจากผูข บั ขีท่ มี่ สี ภาพ รางกายไมพรอม ทั้ง ๆ ที่เปนคนในพื้นที่ และรูเสนทางการจราจรเปนอยางดี รวมทัง้ ยังสามารถคาดการณ ไดอกี วา อาจจะเปนรถที่มีอายุการใชงานมา นานถึงแมวาคนขับจะมีการตรวจสภาพ กอนใชงานก็อาจจะกอใหเกิดอุบัติเหตุก็
เปนได ถึ ง แม ว า รถโดยสารจะเกิ ด อุบัติเหตุในปนี้นอยครั้ง โดยในแตละ ครัง้ นัน้ จะมีผเู สียชีวิตและบาดเจ็บเปน จํานวนมากจึงเปนเหตุใหหนังสือพิมพ แตละเลม และรายการวิทยุ รายการ โทรทัศนตา งลงขาวกันใหญโต ซึง่ ความ เปนจริงแลวเมื1อเทียบกับอุบัติเหตุผู เสียชีวิตและผูบาดเจ็บในกรณีอื1น ๆ แลว รถโดยสารถือวามีจํานวนที่นอย มาก ในเรื1องของหนวยงานราชการที่ ตองการใหรถโดยสารมีอายุการใชงาน และมีมาตรฐานโครงสรางที่ปลอดภัย เพื1อดูแลผู โดยสาร มีความเห็นวาเปน สิ่งที่ถูกตองแตดวยตนทุนทั้งของรถ โดยสาร พนักง า น ขั บ ร ถ และธุรกิจของ บ ริ ษั ท นั้ น ถือวาแพงมาก หากให ใชงาน ไดเพียง 10 ป นั้ น ไม คุ ม ทุ น เลย ดั ง นั้ น สิ่งที่ตองการใหรัฐบาลชวยเหลือ เพื1อ ให โครงการกําหนดโครงสรางของรถ โดยสารใช ไดก็คือ ตองมีการยกเวน ดอกเบีย้ สําหรับรถโดยสารใหม และยัง ตองลดคาอะไหลตาง ๆ ของรถลงอีก เพื1อที่จะทําใหธุรกิจรถทัวรประคองตัว ใหอยูรอดได สํ า หรั บ สมาชิ ก ของสมาคมนี้ มี จํานวนรถโดยสารมากกวา 8,000 คัน ซึ่งปจจุบันนี้ตองทําการแขงขันกันเอง อยางดุเดือดเปนอยางมาก เนื1องจากมี จํานวนผู โดยสารชาวตางชาติและใน ประเทศลดลงเปนจํานวนมาก เพราะ รั ฐ บาลของต า งประเทศห า มคนใน ประเทศมาเที่ ย วเมื อ งไทยรวมทั้ ง เศรษฐกิจในเมืองไทยเองก็อยูในชวง ตกตํ่าดวย
สภาการขนสงทางบก
เรงเปนสภาการขนสงทางถนน ดวยสถานการณการขนสงที่เริ่มบีบบังคับเขามา ไมวาจะเปน ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนหรือโครงการ 2 ลานลานบาท จึงทําใหบรรดาผูป ระกอบการขนสงทางบกตองหาหลัก ยึดเหนี่ยวให ได แมวา โครงการแรกคือ การเปนสภาการขนสงทางบกแหงประเทศไทยจะใชเวลาดําเนิน การมาแลวกวา 10 ป ตามแผนการก็ตองดําเนินการตอไป การลารายชื1อผูประกอบขนสงทาง บกใหไดกวา 10,000 รายชื1อ พรอมทั้งตองหาสภาผูแทนให ได 40 คน เพื1อเสนอเรื1องเขาไปยัง ที่ประชุม ครม.เพื1อลงมติใหเปนสภาการขนสงทางบกแหงประเทศไทยให ได สวนอีกแนวทางหนึง่ คือ การใหคณะอนุกรรมการการคาเขตชายแดนสภาผูแ ทนราษฎร ชวยเรงตัง้ สภาโลจิสติกสแหงประเทศไทยขึน้ โดยจะนําขนสงทัง้ หมด ไมวา จะเปน ทางนํา้ ทาง บก ทางอากาศ มารวมกันซึ่งไดดําเนินการไปแลวกวา 25% โดยตองมีการรวบรวมขอมูลและ เอกสารทั้งหมดเพื1อที่จะไดเสนอใหกับคณะรัฐมนตรีในการราง พรบ.ใหเปนโลจิสติกสแหง ประเทศไทยใหเร็วที่สุด
R1_B&T#233_p18-21_Pro2.indd 18
ดังนั้น ไมวาจะกอตั้งเปนสภาใดสภา หนึ่งขึ้นมา บรรดาผูประกอบการขนสงทาง บกก็จะไดรับผลประโยชนทั้งหมดไมวาจะ เปน การพัฒนาธุรกิจใหเปนสากล การรักษา จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ รวมทัง้ ผู ใช ร ถใช ถ นนร ว มกั บ รถใหญ ก็ จ ะไม เ กิ ด อุบตั เิ หตุเหมือนทีผ่ า นมา อีกทัง้ ยังเปนปจจัย สําคัญทีท่ าํ ใหราคาสินคาไมปรับราคาเพิม่ ขึน้ ดวย เพราะการขนสงนั้นชวยลดตนทุน คิดอีกแงหนึง่ หากไมสามารถทําใหเปนสภาขึน้ ได ผลเสียก็จะตกอยูก บั คนไทยทีข่ นสงจะ เปนของชาวตางชาติคนวางงานก็จะเพิ่มขึ้น ราคาสินคาก็จะเปนไปตามที่เจาของกําหนดเรียก ไดวาตางชาติเขามาดูแลเมืองไทยอยางเต็มตัวนั่นเอง
11/7/13 1:55 AM
GOSSIP • BUS&TRUCK 19
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
ชุมทางขนสง ดวยเหตุการณหลาย ๆ อยางใน ช ว งนี้ ส ง ผลให ก ารจั ด งานรวมถึ ง กิจกรรมตาง ๆ ภายในงาน BUS & TRUCK ’13 มีการเปลี่ยนแปลงไปบาง ทัง้ นีก้ เ็ พื1อใหเปนไปตามความเหมาะสม ซึง่ ทางผูจ ัดงานเองหวังเปนอยางยิง่ วา ผูรวมแสดงสินคาและผูเขาชมงานจะ รับทราบในเปาหมายและวัตถุประสงค ของการจัดงานงานในครั้งนี้ดวยคะ Logistics เพื1อ ลดต น ทุ น ในการขนส ง สินคา และแนะนํา NOSTRA Map Thailand แอพพลิเคชัน่ แผนทีบ่ นมือถือระบบ iOS และ android สําหรับการเดินทางใน ชี วิ ต ประจํ า วั น หรื อ การท อ งเที่ ย ว ประเทศไทย โดยไดรบั ความสนใจจากทัง้ ชาวไทยและชาวตางชาติ รวมถึงนิสิต นักศึกษาเปนจํานวนมากคะ ต อ งขอแสดงวามยิ น ดี กั บ ผู นํ า สิ น เชื1อ ยานยนต ค รบวงจร อยา ง บริษัท อยุธยา แคปปตอล ออโต ลีส จํากัด (มหาชน) หรือ “กรุงศรี ออโต” นํา โดย คุณไพโรจน ชื1นครุฑ กรรมการผู จัดการใหญ เขารับรางวัล “โครงการ ภาพยนตรโฆษณาดีเดนทางโทรทัศนเพื1อ ผูบริโภค (สคบ.แอด อะวอรด) ประจําป 2556” จากภาพยนตรโฆษณาชุด สิง่ มีคา (The Precious) ซึ่งจัดขึ้นโดย สํานักงาน คณะกรรมการคุม ครองผูบ ริโภค (สคบ.) รวมกับ สมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย เพื1อสงเสริมและยกยองผูประกอบธุรกิจ ที่ใหความสําคัญตอสิทธิผูบริโภค โดย คํานึงถึงความรับผิดชอบตอสังคมและ ความเปนธรรมตอผูบ ริโภค ซึง่ ภาพยนตร โฆษณา ชุด สิ่งมีคา ของกรุงศรี ออโต ได รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภท บริการ ซึ่งคุณไพโรจน แอบเปรยมาวา “ภาพยนตร โฆษณาดังกลาวสะทอนให เห็นวา กรุงศรี ออโต พรอมเปนที่พึ่งพิง และใหคาํ ปรึกษากับลูกคาทัง้ เรื1องรถและ เรื1องเงินอยางดีที่สุด โดยใหความสําคัญ กับความตองการและคุณคาทางจิตใจ ของลูกคา เพื1อสรางประสบการณทดี่ แี ละ สรางความประทับใจใหกับลูกคาตลอด ไป” คะ คิดวาไมนาจะมีขอสงสัยนะคะ เพราะการันตีไดจากที่ 1 ดานสินเชื1อคะ ❖❖❖ ขามมาที่ โกลบเทคฯ กันสัก หนอยคะ ชวงนี้เห็นวาออกอีเวนทบอย มาก ลาสุดนํา NOSTRA โกอินเตอร รวม ออกบูธงาน Software Expo Asia 2013 ซึ่งทาง บริษัท โกลบเทค จํากัด ผู ให บริ ก ารแผนที่ ป ระเทศไทยออนไลน NOSTRA ไดรวมออกบูธงาน Software Expo Asia 2013 ณ ศูนยประชุมแหง ชาติ สิ ริ กิ ติ์ โดยได นํ า เสนอโซลู ชั่ น NOSTRA Map Service การใชแผนที่ เพื1อการวิเคราะหเชิงธุรกิจ ระบบ GPS Tracking ติ ด ตามรถยนต NOSTRA
กรุงศรี ออโต เดินหนาสานฝนเด็กไทย สงมอบ “หองสมุดกรุงศรี ออโต แหงที่ 8” คุณกฤติยา ศรีสนิท ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สายงานบริหารสินเชื1อและปฎิบัติ การ และประธานอาสาสมัครกรุงศรี ออโต ประจําป 2556 (ที่ 2 จากซาย) สงมอบหองสมุด กรุงศรี ออโต แหงที่ 8 พรอมสนับสนุนทุนการศึกษา อุปกรณการเรียนการสอน ใหกับโรงเรียน บานหินประกาย อ.วังทอง จ.พิษณุโลก โดยมี คุณจุติ ไกรฤกษ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก (ที่ 3 จากขวา) รวมรับมอบ
❖❖❖
R1_B&T#233_p18-21_Pro2.indd 19
สปข.รวมระดมความคิดเห็น เกี่ยวกับมาตรการการกําหนดอายุและมาตรฐานรถโดยสาร เมื1อไมนานทีผ่ า นมา กรมการ ขนสงทางบก โดย คุณณันทพงศ เชิดชู ผูอํานวยการสํานักงานขนสงกรุงเทพ มหานครพื้นที่ 5 ใหการตอนรับ พรอม มอบของที่ ร ะลึ ก แก คุ ณ อํ า นวยสุ ข แตพานิช รักษาการผูเชี่ยวชาญดาน การบริ ห ารงานบุ ค คล พร อ มคณะ ขาราชการที่เขารับการอบรมหลักสูตร “ฉันคือขาราชการที่ดี” สังกัดกระทรวง คมนาคม เยีย่ มชมและดูงานการนําระบบ ไอทีมาใชบริการประชาชนรูปแบบใหม ของกรมการขนสงทางบก ❖❖❖
สมาคมผูป ระกอบการรถขนสงทัว่ ไทย (สปข.) นําโดย ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร นายก สมาคม รวมกับคณะกรรมการและผูท สี่ นใจ เขารวมหารือและระดมความคิดเห็น เกีย่ วกับกรณี ที่กรมการขนสงทางบกจะออกระเบียบวาดวยการกําหนดอายุรถโดยสาร และมาตรฐานในการ ประกอบรถโดยสาร ณ โรงแรมรามาการเดนส เมื1อเร็ว ๆ ที่ผานมา
มิชลิน เปดโรงงานแหงใหมที่ จ.สงขลา คุณวิฑรู ย สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (กลาง) เปนประธานในพิธเี ปดโรงงาน มิชลินแหงใหม ณ นิคมอุตสาหกรรมภาคใต จ.สงขลา และไดรับเกียรติจาก คุณตีแยรี วีโต เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจําประเทศไทย (ที่ 4 จากขวา) รวมในพิธี โดยมี คุณฌอง-คริส ตอฟ เกแร็ง ผูบริหารระดับสูง ฝายจัดหาวัตถุดิบกลุมมิชลิน (ที่ 4 จากซาย) และ คุณมิเชล เลอแฟป ผูจัดการโรงงานมิชลิน หาดใหญ ใหการตอนรับ
จัดกันตอเนื1องทุกปคะสําหรับ การอบรมเพื1อ รั บ ใบขั บ ขี่ ซึ่ ง บริ ษั ท บริดจสโตน เซลส (ประเทศไทย) จํากัด รวมกับ กรมการขนสงทางบก และเมื1อ ไมนานมานีก้ เ็ พิง่ จะมอบประกาศนียบัตร แก ผู ที่ ผ า นการอบรมไปคะ โดย คุ ณ เสาวลักษณ หิรัญพฤกษ หัวหนาฝาย อบรมและทดสอบฯ มอบใบอนุญาตขับ รถพรอมประกาศนียบัตรแกผูผานการ อบรมโครงการเสริมความรูใหแกผขู อรับ ใบอนุญาตขับรถยนต ซึ่งปจจุบันมีผูผาน การอบรมทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค ❖❖❖
กรมการขนสงทางบก เปดสัมมนาขนสงวัตถุอันตราย เมื1อเร็วๆ นี้ คุณวัฒนา พัทรชนม รองอธิบดีกรมการขนสงทางบก เปดสัมมนาผูป ระกอบ การ “ขนสงวัตถุอนั ตรายอยางไรใหปลอดภัย” ในสวนภูมภิ าค เพื1อยกระดับมาตรฐานดานความ ปลอดภัยในการขนสงวัตถุอนั ตราย พรอมทัง้ สงเสริมการพัฒนาการบริหารจัดการภัยพิบตั จิ าก รถขนสงวัตถุอันตรายไดอยางมีประสิทธิภาพ ณ โรงแรมเจริญโฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
11/7/13 1:55 AM
20 BUS&TRUCK • GOSSIP
ปกษหลัง • ตุลาคม 2556
“สถาปนิกอีสาน’56” พรอมยกระดับงานภูมิภาคเพื่อกาวเขาสู AEC เสร็จสิ้นลงไปแลวสําหรับ มหกรรม งานแสดงเทคโนโลยี ด า นสถาป ต ยกรรม สําหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภายใตแนว ความคิด “สองฝงโขง Wisdom” ที่เนนรูป แบบการจัดงานใหมกี ลิน่ ไอความเปนทองถิน่ อันเปนเอกลักษณเฉพาะตัวของภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ โดยความรวมมือของสมาคม สถาปนิ ก สยาม ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ , กรรมาธิ ก ารสถาปนิ ก อี ส าน และบริ ษั ท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ครั้ ง นี้ ไ ด รั บ เกี ย รติ จ าก คุ ณ สมศั ก ดิ์ สุวรรณสุจริต ผูวาราชการจังหวัดขอนแกน เปนประธานในการเปดงานสถาปนิกอีสาน’56 และการเดินทางมารวมงาน ของ คุณพรชัย สุทธิพงศ นายกสมาคมสถาปนิกและวิศวกรกอสรางลาว พรอมนําคณะเดินทางมารวมเปนสวนหนึง่ ในการชมงานถือวาเปนการสานสัมพันธไมตรี อันดีระหวางไทยและลาวแลว ยังเปนการสรางความสัมพันธดานขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีระหวางสองมิตรประเทศที่มีมายาวนานอีกดวย นับเปนหนึ่งในงานสถาปนิกระดับภูมิภาค ซึ่งเปนเวทีแหงการเผยแพรความรูดานวิชาการ และจัดแสดงผลิตภัณฑดานสถาปตยกรรม บน เนื้อที่กวา 3,400 ตารางเมตร เพื1อเปนการสรางความสัมพันธและแลกเปลี่ยนองคความรูระหวางองคกรวิชาชีพสถาปตยกรรมระหวางประเทศ โดยเฉพาะกลุมประเทศลุมนํ้าโขง ไดแก พมา ลาว ไทย กัมพูชา เวียดนาม ในการเตรียมความพรอมเขาสูการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC และเตรียมพบกับ งานสถาปนิกอีสาน ’57 งานแสดงเทคโนโลยีสถาปตยกรรม สําหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดอีกครั้งในเดือนตุลาคม 2557 คะ
จํานวนเกือบ 40,000 รายแลวคะ
❖❖❖ เร ง ฝ เ ท า อย า งต อ เนื1อ ง สําหรับ ทาทา มอเตอรส ลาสุดเพิ่งเซ็น สัญญาแตงตั้งผูจําหนายใหม งานนี้เอ็มดี หมาด ๆ อย า ง คุ ณ ซานเจย มิ ช รา กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท ทาทา มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด (ขวา) มอบชอดอกไมใหกบั คุณพรพรหม ลีนตุ พงษ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ยนตรกิจ เซอรวิส (รองเมือง) 2008 จํากัด และ คุณวีรยา ลีนุตพงษ ผูบริหาร บริษัท ยนตรกิจ เซอรวิส (รองเมือง) 2008 จํากัด หลังจากจรดปากกาเซ็นสัญญาแตง ตั้ง บริษัท ยนตรกิจ เซอรวิส (รองเมือง) 2008 จํากัด เปนผูจําหนายรถยนต ทาทา มอเตอรส แหงใหม ในพื้นที่เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โดยนับเปนผูจําหนายรายที่ 52 ของทาทา มอเตอรส ประเทศไทย ซึง่ เปน ไปตามแผนการขยายตลาดเพื1อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพและศักยภาพในการขายและ การใหบริการหลังการขายคะ ❖❖❖ ขาวดีสา ํ หรับลุกคามิตซูบชิ คิ ะ งานนี้ มิ ต ซู บิ ชิ ม อบโชคทั ว ร ญี่ ปุ น “Hi Japan กับมิตซูบิชิ” โดย คุณอะสึชิ เซอิโนะ กรรมการรองผูจัดการใหญ บริษทั มิตซูบชิ ิ มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด พรอมดวยผูบริหารของบริษัทฯ รวมจับสลากรางวัลผู โชคดีที่ซื้อรถยนต มิตซูบิชิแลวสงคูปองมาชิงรางวัลภายใต แคมเปญ “Hi Japan กับมิตซูบิชิ” รับ แพ็กเกจทัวรญี่ปุน 5 วัน 3 คืน จํานวน
R1_B&T#233_p18-21_Pro2.indd 20
150 รางวัลรวมมูลคาทั้งสิ้น 15,000,000 บาท ณ สํานักงานใหญ รังสิต เมื1อเร็ว ๆ นี้สําหรับ “Hi Japan” เปนกิจกรรมที่ บริ ษั ท ฯ ร ว มกั บ ผู จํ า หน า ยรถยนต มิตซูบิชิทั่วประเทศ จัดขึ้นเพื1อเปนการ ขอบคุณลูกคาที่ซื้อรถมิตซูบิชิทุกรุน ใน ระหว า งวั น ที่ 11 มิ ถุ น ายน ถึ ง 30 กันยายนที่ผานมา ทั้งนี้ ลูกคารถยนต มิตซูบิชิที่รวมกิจกรรมดังกลาวสามารถ ตรวจสอบรายชื1อ ได ที่ เ ว็ บ ไซต www. mitsubishi-motors.co.th ❖❖❖ นอกจากนี้ คุ ณ โนบุ ยู กิ มูราฮาชิ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท มิตซูบชิ ิ มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด มอบเงิน 1 ลานบาท ตอเนื1องเปนปที่ 4 เพื1อสนับสนุนโครงการเกษตรเพื1ออาหาร กลางวั น สํ า หรั บ เด็ ก นั ก เรี ย นในพื้ น ที่ ยากจน ตามโครงการ “มิตซูอิ่มใจ นอง ไดอิ่มทอง” โดยมี ดร.กิตติ ลิ่มสกุล ผู ช ว ยรั ฐ มนตรี ประจํ า กระทรวง ศึกษาธิการ เปนผูแทนรับมอบ ในปนี้ มิ ต ซู บิ ชิ มอเตอร ส ให ก ารสนั บ สนุ น โรงเรียนครบ 200 โรงเรียน จาก 56 จังหวัดทั่วประเทศ เพื1อใหนักเรียนเหลา นี้ไดมอี าหารกลางวันทีอ่ มิ่ ทองครบทุกคน พรอมสารอาหารครบหมู พิธีมอบไดจัด ขึ้ น ณ ห อ งจั น ทร เ กษม กระทรวง ศึกษาธิการ เมื1อเร็ว ๆ ที่ผานมา ❖❖❖ ด า น บริ ษั ท เชลล แ ห ง ประเทศไทย จํากัด ก็ไมนอยหนา เปด โปรโมชั่นสุดคุม มอบความคุมคาแกผู ใช รถยนต เพียงซื้อและเปลี่ยนถายนํ้ามัน เครื1อง เชลล เฮลิกส อัลตรา ขนาด 4 ลิตร หรือ เชลล เฮลิกส ดีเซล อัลตรา ขนาด 6 ลิตร รับฟรี! กลองอเนกประสงค มูลคา 1,150 บาท หรือ เมื1อซื้อและ เปลี่ยนถายนํ้ามันเครื1อง เชลล เฮลิกส HX7 ขนาด 4 ลิตร, เชลล เฮลิกส ดีเวล HX7 ขนาด 6 ลิตร หรือ เชลล เฮลิกส
HX7G ขนาด 4 ลิตร รับฟรี! เกาอีป้ คนิค มูลคา 450 บาท โปรโมชัน่ เริม่ แลวตัง้ แต วันนี้ –15 พฤศจิกายน 2556 หรือจนกวา ของจะหมด สอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติมไดที่สถานีบริการนํ้ามันเชลลที่รวม
รายการคะ ดาน บริษัท ทีเอ็นที เอ็กซ เพรส เวิลด ไวด (ประเทศไทย) จํากัด ขอ เสนอบริ ก ารออนไลน รู ป แบบใหม บ น เว็บไซต myTNT.com พรอมจัดโปรโมชัน่ พิเศษสําหรับลูกคาใหม เพียงใชบริการ ทีเอ็นที เอ็กซเพรส ดวยใบนําสงสินคา อิเล็กทรอนิกส ผานระบบ myTNT ครบ 5 ครั้งแรก รับฟรี บัตรของขวัญจากหาง สรรพสินคาเซ็นทรัล มูลคา 300 บาท ตั้งแตวันนี้ – 31 ธันวาคม 2556 นี้คะ ซึ่ง การลงทะเบียนเพียงไมกขี่ นั้ ตอน ลูกคาจะ สามารถเลือกการบริการฟงกชั่นตาง ๆ ที่ ❖❖❖
ปกษแรก พฤศจิกายน 2556 สาว PTT
Photo : Mthai
11/7/13 1:55 AM
GOSSIP • BUS&TRUCK
ปกษหลัง • ตุลาคม 2556
ตองการบนหนาแรกของเว็บไซต สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ สายดวนทีเอ็นที 1721 ตลอด 24 ชั่ ว โมง อี เ มล th.marketing@tnt.com หรื อ ติ ด ต อ โดยตรงกับตัวแทนฝายขายของทาน ❖❖❖ ดานนึงจัดโปรโมชัน ่ มาบานนี้ รับรางวัลกันหนอย คุณยรรยง พวงราช รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงพาณิชย มอบรางวัล Outstanding APEA 2013 Awards (Asia Pacific Entrepreneurship) : Oil & Gas, Mining and EnergySector ใหแก ดร.ไพรินทร ชูโชติ ถาวร ประธานเจาหนาที่บริหารและ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) เพื1อเชิดชูเกียรติในฐานะ ผูบริหารที่แสดงถึงความมุงมั่นทุมเทใน การบริ ห ารธุ ร กิ จ ควบคู กั บ ความรั บ ผิดชอบตอสังคม ชุมชน และสิง่ แวดลอม จั ด ขึ้ น โ ด ย เ อ็ น เ ท อ ไ พ ร ส เ อ เ ชี ย (Enterprise Asia) ซึง่ เปนองคกรอิสระทํา หนาที่ผลักดันใหเกิดการพัฒนาองคกร ภาคธุรกิจ ดวยการสรางโอกาสและเวที การแขงขันที่เทาเทียมกันสําหรับองคกร ในระดับภูมิภาค ณ โรงแรมแชงกรี-ลา กรุงเทพฯ ก็ขอแสดงความยินดีมา ณ โอกาสนี้ดวยนะคะ ❖❖❖ ป ด ท า ยกั น ที่ ข า วฝากจาก บริษทั ที.เอชดี. ริชไทร จํากัด แจงบุคคล
21
อีซูซุ สนับสนุน 3 นักแขงเมืองไทยผงาดฝมือใน ASIA CROSS COUNTRY RALLY 2013 บริษัท ตรีเพชรอีซูซูเซลส จํากัด นําโดย คุณเคียวยะ คนโด รองกรรมการผูจัดการ อาวุโส และ คุณวิชัย สินอนันตพัฒน กรรมการ รวมแสดงความยินดีพรอมมอบเงินสนับสนุน พิเศษแกสุดยอดนักแขงทีมไทยที่นํารถปกอัพ “ออล-นิว อีซูซุดีแมคซ วีครอส” ไปควาชัยในการ แขงขันแรลลี่หฤโหดรายการ “ASIA CROSS Country RALLY 2013” ณ อาคารสํานักงานใหญ บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด ถนนวิภาวดีรังสิต
พ น สภาพจากการเป น พนั ก งานของ บริษัท ตามที่ บริษัท ที.เอช.ดี. ริชไทร จํากัด ไดรับ คุณกุลธวัช หฤแสง เขา ทํางานในตําแหนงพนักงานขายภูมิภาค นั้น บัดนี้บุคคลดังกลาวไดพนสภาพจาก การเปนพนักงานของ บริษัท ที.เอช.ดี. ริชไทร จํากัด ตั้งแตวันที่ 28 ตุลาคม 2556 ที่ผานมา ทางบริษัทฯ ไมขอรับผิด ชอบตอการกระทําใด ๆ ทั้งสิ้นของ คุณ กุลธวัช หฤแสง นับจากวันทีพ่ น จากความ เปนพนักงานของบริษัท จึงเรียนมาเพื1อ ทราบคะ พบกันใหมฉบับหนาสวัสดีคะ
กูดเยียร รับรางวัลสถานประกอบการณดีเดนดาน CSR จากกระทรวงอุตสาหกรรม บริษทั กูด เยียร (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) โดย คุณฟนบาร โอคอนเนอร กรรมการ ผูจัดการ รับมอบรางวัล CSR-DIW Award 2013 มาตรฐานความรับผิดชอบของผูประกอบ การอุตสาหกรรมตอสังคม ประจําป 2556 ภายใต โครงการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมใหมคี วาม รับผิดชอบตอสังคมอยางมีสวนรวมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ในฐานะองคกรที่มีสวนรวม ในการพัฒนาสังคม ชุมชน และสิ่งแวดลอมที่สามารถสรางผลกระทบในดานดีไดอยางชัดเจน เมื1อเร็ว ๆ นี้
นํ้ามันหลอลื่นปโตรนาส มอบทุนพัฒนารถสูตรหนึ่งระดับเยาวชนแกเทคโนลาดกระบัง คุณโมฮาเม็ด ชอบรี บิน เอ บาการ กรรมการผูจัดการ บริษัท ปโตรนาส อินเตอร เนชั่นแนล มารเก็ตติ้ง (ประเทศไทย) จํากัด ลงนามความรวมมือกับ ศาสตราจารย ดร.ถวิล พึง่ มา อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ในโอกาสทีน่ าํ้ มัน หลอลื1นปโตรนาสไดมอบทุนสนับสนุนดานการวิจัย คนควา และพัฒนารถสูตรหนึ่ง ระดับ นักศึกษา (Fomular Student Car) พรอมดําเนินการอบรมและใหความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยี นํ้ามันหลอลื1น
ทาทา มอเตอรส ประกาศจุดยืนชัด ในงานประชุมผูจําหนายทั่วประเทศ บริษัท ทาทา มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด นําโดย คุณซานเจย มิชรา กรรมการ ผูจัดการ จัดงานประชุมผูจําหนายรถทาทา ทั่วประเทศ ประจําป 2556 ที่หัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ พรอมประกาศเจตนารมณนําแนวคิด “ฮอไรซันเน็กซ” (Horizonext) พัฒนา ศักยภาพในทุก ๆ ดาน เพื1อตอบสนองความตองการและสรางความมั่นใจใหกับลูกคา พรอม พัฒนาแบรนด ทาทา มอเตอรส ใหมีความแข็งแกรงมากยิ่งขึ้น
R1_B&T#233_p18-21_Pro2.indd 21
11/7/13 1:55 AM
22 BUS&TRUCK • VISIT
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
แวะเวียน
อีสานคึกคัก วอลโว กรุป กําหนดจุดยุทธศาสตรเปดศูนยรับ AEC บริษทั วอลโว กรุป (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเปนผูแทนจําหนายรถบรรทุก หนักวอลโวและยูดีทรัคส แตผูเดียวใน ประเทศไทย เดินหนาขยายเครือขาย การจั ด จํ า หน า ยและศู น ย บ ริ ก ารทั่ ว ประเทศ โดยล า สุ ด เป ด สาขา นครราชสีมา เพื1อรองรับการจัดหนาย และใหบริการแกตลาดภาคอีสาน
ประตูสูขนสงภาคอีสาน สาขา จ.นครราชสีมา ถือเปนประตู สูจ ังหวัดภาคอีสานและมีความสําคัญตอ การจัดจําหนายและการใหบริการแกผู ประกอบการในภาคอีสานอยางมาก ซึ่ง เปนพื้นที่ที่มีการขนสงหนาแนน เหมาะ ที่ จ ะกํ า หนดให เ ป น จุ ด ยุ ท ธศาสตร ที่ สําคัญในการเปดประตูสูภาคอีสาน ศูนยบริการสาขานครราชสีมาแหง นี้ตั้งอยูบน ถ.มิตรภาพ ต.จอหอ อ.เมือง จ.นครราชสีมา มีพื้นที่ 8 ไร และมีพื้นที่ ใหบริการทั้งสิ้น 1,253 ตารางเมตร ซึ่ง เปนพืน้ ทีใ่ หบริการทัง้ แบรนดวอลโว และ แบรนดยูดี ทรัคส โดยมีชองใหบริการ ตามแบบมาตรฐานของวอลโว สามารถ รองรับการใหบริการได 10 คันตอวัน
ใหความสําคัญเรื่องเศรษฐกิจ จ.นครราชสีมาหรือโคราชนี้ ถือเปน จังหวัดที่มีความสําคัญตอการขยายงาน ของวอลโว กรุ ป สู จั ง หวัด ภาคอีส าน ทั้งหมด และที่สําคัญ ขณะนี้เศรษฐกิจ ของโคราช ถือเปนจังหวัดทีม่ คี วามสําคัญ ตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้ เพราะผูประกอบการตางเล็งเห็นความ สํ า คั ญ ของจั ง หวั ด นครราชสี ม าในการ รองรับการเขาสูประชาคมประชาชาติ เศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC ในป 2558
ซึ่ ง นั ก ธุ ร กิ จ แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น ใ น นครราชสีมาตางตื1นตัวตอสิ่งที่กําลังจะ เกิดขึ้นในอนาคต
ศูนยบริการ 15 แหงสิ้นปนี้ ภายใต แ ผนการขยายงานของ บริษทั วอลโว กรุป (ประเทศไทย) จํากัด ไดตั้งงบประมาณไวสูงถึง 3,000 ลาน บาทในการสรางสาขาเพิม่ เติม 10 แหง และขยายปรับปรุงสาขาปจจุบนั จํานวน 5 แหง ทั่วประเทศ จะเรงเปดใหครบ ตามแผนงานทั้งสิ้น 15 แหงภายในสิ้น ปนี้ และสําหรับทีน่ สี่ ามารถใหบริการได ทั้งรถที่มาจากทั่วทุกภาคของประเทศ ไทย ทั้งนี้เพราะโคราช ถือเปนประตูสู ภาคอีสานที่ผูประกอบการรถบรรทุก และรถโดยสารจะตองผาน จึงเชื1อมัน่ วา สาขาแหงนี้จะไดรับการตอบรับอยางดี จากผูประกอบการ สาเหตุ ที่ ต ลาดเติ บ โตอย า งต อ เนื1องนั้น เปนผลจากความเชื1อมั่นของ ผูประกอบการและนักลงทุนที่เล็งเห็น ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดย เฉพาะโครงการในอนาคตของรัฐบาลที่ มี แ ผนจะสร า งป จ จั ย พื้ น ฐานของ ประเทศ แนนอนโครงการเหลานีย้ อ มมี สวนสรางความเชื1อมั่นตอเศรษฐกิจใน อนาคตของประเทศไทย
ตรวจสถานี ชื่อบริษัท : บริษัท วอลโว กรุป (ประเทศไทย) จํากัด สถานที่ : 372 หมู 10 ถ.มิตรภาพ ต.จอหอ อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30310 ประเภทบริการ : ศูนยบริการ “มัลติแบรนด” VOLVO และ UD TRUCKS ติดตอ : โทร.0-4437-0964-6
B&T#233_p22_Pro2.indd 22
11/4/13 11:21 PM
B&T#233_p23_Pro2.ai
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
11/4/13
11:27 PM
24 BUS&TRUCK • COMPARISON
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
เปรียบเทียบรถเดน
สองสายพันธุหัวลาก 380 แรงมา
BEIBEN V3 ขุมพลังคุณ
FV 5138 Super Great ประหยัดนํ้ามันสูงสุด แรงฉุดเเต็มกําลัง บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด เปนผูจัดจําหนายรถบรรทุกเพื1อ การพาณิชยภายใตแบรนด ฟูโซ ซึ่งมี จําหนายมากกวา 50 ประเทศทั่วโลก ปจจุบันฟูโซ อยูในกลุม เดมเลอร กรุป ซึง่ ประกอบดวย เมอรซเิ ดส-เบนซ และ เฟรทไลเนอร ซึ่งเปนกลุมที่มียอดผลิต รถบรรทุกเปนอันดับ 1 ของโลก สําหรับรถบรรทุกหัวลากฟูโซรุน ใหมนคี้ อื Super Great 380 High Speed ซึ่งไดรับการพัฒนาใหมีอัตราเฟองทาย ใหมอยูที่ 4.625 เปนรถหัวลาก 10 ลอ 2 เพลา รุน FV 5138 มาพรอมเครื1องยนต 6M70-1AT3 สัมผัสประสบการณ เหนือ พลั ง การขั บ ขี่ ด ว ยสุ ด ยอดสมรรถนะ เครื1องยนตอันทรงพลัง ประหยัดนํ้ามัน มลพิษตํ่า ดวยเทคโนโลยีนําสมัย ระบบ คอมมอนเรล ควบคุ ม ด ว ยระบบ คอมพิวเตอร มาตรฐานยูโร 3 ดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบ ไดเร็คอินเจ็คชั่น ระบาย ความรอนดวยนํ้า พรอมอินเตอรคูลเลอร ใหพลัง 380 แรงมา กําลังสูงสุด 279 กิโล วัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 1,618 นิวตัน-เมตร ที่ 1,200 รอบตอนาที สามารถทํางานที่รอบเครื1องยนตตํ่ารวม กับสปลิทเตอรเกียร เพิ่มพลังฉุดไดมาก
B&T#233_p24-25_Pro2.indd 24
ขึน้ แมงานบรรทุกหนักเปนพิเศษ ความ จุกระบอกสูบ 12,882 ซีซ.ี ความเร็วสูงสุด 103 กิโลเมตรตอชั่วโมง
นุมนวลปลอดภัย ระบบเกียรสงกําลังแบบ 10 เกียร เดินหนา HI–LOW เกียร 2-5 ซินโครเมช รุน M130S2X5 ใหประสิทธิภาพการสง กําลังที่ดีกวาและประหยัดนํ้ามัน สราง ความมั่นใจใหแกผูขับขี่ดวยระบบเบรก แบบลมลวน (Full Air Dual Circuit Wedge Type) พรอมเบรกไอเสีย ที่ชวย เพิ่มประสิทธิภาพในการเบรกบนทาง ลาดชันเพื1อยืดอายุการใชงานระบบเบรก และเพิ่มความปลอดภัยในการขับขี่
ขับขี่สบายอยางมีเอกลักษณ หองโดยสารที่ลงตัวหรูหรา กวาง ขวาง เบาะนั่งแบบปรับไดหลายระดับ ตามสรีระของผูขั บขี่ เพิ่ มพื้นที่ เหนือ ศีรษะ และชองเก็บของสวนตัวมากกวา FV 5138 มีหองโดยสารอเนกประสงค แบบสองตอน ทั้งหมดนี้เพื1อผอนคลาย ความเหน็ดเหนื1อยเมื1อยลาในการขับขี่ ตามแนวคิดของการสรางสรรคดลุ ยภาพ แหงความสมบูรณแบบ
บรรทุกหนักคุมสุดขีด FV 5138 Super Great 380 High
Speed คันนีน้ าํ้ หนักรวมบรรทุกอยูท ี่ 50.5 ตั นและได มี การทดสอบแลววามี ความ ประหยัดในการขนสงไดดีกวา โดยผลการ จากทดสอบปรากฏวา Super Great 380 High Speed มีอัตราการประหยัดนํ้ามัน จากเดิม 2.78 กิโลเมตรตอลิตรเปน 3.46 กิโลเมตรตอลิตร หรือ ประหยัดเพิ่มขึ้น จากเดิมกวา 20% และมีความโดดเดน และความทนทาน ทําใหงานที่ยากสําเร็จ ลุ ล ว ง จากขุ ม พลั ง ของเครื1อ งยนต ที่ มี ประสิทธิภาพสูง
บริษัท ไบเบนไทย จํากัด อีกหนึ่ง คายนองใหมวงการขนสงทีเ่ ปนตัวแทน จําหนายรถหัวลากสัญชาติจนี BEIBEN รถหัวลากคุณภาพยุโรปที่พรอมทําการ การตลาด สําหรับรถหัวลากยี่หอนี้ตอง บอกว า ไม เ ป น รองใครทั้ ง สมรรถนะ ความแรงและความสวยงาม สําหรับ สิ น ค า ที่ เ ข า มาทํ า ตลาดตอนนี้ มี ทั้ ง เครื1องยนต CNG และ DIESEL ทั้ง 10 ลอและ 12 ลอ
SPECIFICATION รายละเอียด ลักษณะ รุน เครื่องยนต แรงมาสูงสุด กําลังสูงสุด kW/rpm แรงบิดสูงสุด Nm/rpm ความเร็วสูงสุด กม./ชม. ความจุถังนํ้ามัน มาตรฐานไอเสย มาตรฐานไอเสีย รายละเอียดเพิ่มเติม
FUSO
BEIBEN
รถหัวลาก DIESEL FV 5138 Super Great V3 6M70-1AT3 WP10 380 380 1,618/1,200 279/2,200 279/2,200 1,400-1,200-1,600 103 100 400 400 ยูยโรโร 3 ยูยโรโร 3
บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2897-99 บริษัท ไบเบนไทย จํากัด โทร.0-2172-8775
11/4/13 11:33 PM
SHOWROOM • BUS&TRUCK
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
25
SHOWROOM
า Trakker Iveco Trakker รถบรรทุกแดนมักกะโรนีแบรนดนี้ฟงดูอาจจะไมคุนหูเทาไรนักเพราะไม คอยจะไดเห็นผู ใชในประเทศไทย แตในยุโรปถือวาไดรับความนิยมพอสมควร Trakker ก็เปน อีกรุนเชนกันที่จะมีรุนยอยที่แตกออกไปครอบคลุมกับผู ใชงานไมวาจะเปนรถโมปูน รถดัมพที่ ใชในงานหนักอยางในเหมือง และรถเพื1อใชในการขนสง มาพรอมเครื1องยนต Cursor 13 ขนาด 6 สูบ เทอรโบชารจ 450 แรงมา และเลือกใชเกียร คุณภาพอยาง ZF Eurotronic II 16 สปด มีหัวเกงใหเลือกทั้ง Day cabs และ Sleeper Cabs นํ้าหนักบรรทุกรวมอยูที่ 33-50 ตัน และ เครื1องยนตเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ยูโร 5 รายละเอียดเพิ่มเติม : www.iveco.com.au
Axor
คุณภาพ คุณภาพเบนซเยอรมัน รถบรรทุ ก BEIBEN ผลิ ต จาก เทคโนโลยีเบนซเยอรมัน เพื1อการใชงาน ในทุ ก สภาวะบนท อ งถนน อุ น ใจด า น ความปลอดภัย ผานการรับรองความ ปลอดภัย ECE R29 ขับขี่คลองตัว เพลา ดีบรรทุกหนัก ประสิทธิภาพการขนสงสูง เปนมิตรกับสิง่ แวดลอมและประหยัดเชือ้ เพลิ ง การั น ตี ด ว ยรางวั ล รถบรรทุ ก ประหยั ด เชื้ อ เพลิ ง สู ง สุ ด ในประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน 3 ปซอน
สมรรถนะสุดคุม BEIBEN TRUCK รุน 2638SD V3 รถหัวลาก 10 ลอ ระบบขับเคลื1อน 6x4 หองโดยสารสวยหรูโอ โถงอยางมีสไตล ดวยหัวเกงรุน V3 เครื1องยนตดีเซล รุน WP10 สมรรถนะ 380 แรงมา เทอรโบ อินเตอรคูลเลอร 4 จังหวะ 6 สูบ เรียงตั้ง แนวตรงระบายความรอนดวยนํ้า ระบบ จายเชื้อเพลิงควบคุมดวยคอมพิวเตอร ความจุกระบอกสูบ 9,726 ซีซี. ระยะชวง ชัก 126 x 133 มิลลิเมตร กําลังสูงสุด 276 กิโลวัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิด สูงสุด 1,400 นิวตันเมตร ที่ 1,200-1,600 รอบตอนาที ความเร็วสูงสุด 100 กิโลเมตร ต อ ชั่ ว โมง ได รั บ การรั บ รองมาตรฐาน
B&T#233_p24-25_Pro2.indd 25
ไอเสียเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ยูโร 3 เกียร รุน 12JS200T 12 เกียรเดินหนา 2 เกียร ถอยหลัง ระบบพวงมาลัยแบบ ZF8098 พรอมระบบไฮโดรลิค ความสามารถใน การวิ่งทางชันสูงถึง 29%
Mercedes Benz Axor ถือเปนอีกหนึง่ รุน ที่ไดรบั ความนิยมในตางประเทศ เปนรถบรรทุก ขนาดกลางจากคายตราดาวรุนนี้ถือวาเปนรุนที่ ไมใหญนักเหมาะสําหรับการขนสงสินคา มีหัว เกงใหเลือกทั้ง R cab และ C cabs สําหรับรุนนี้มีขาวกระซิบแตยังไมแนชัดวาจะนําเขามาสู ตลาดขนสงประเทศไทยหรือไม Axor มาพรอมเครื1องยนตใหเลือกถึง 2 รุน คือ 6.37 ลิตร และ 7.2 ลิตร เปนเครื1องยนต เทอรโบ อินเตอรคูลเลอร 6 สูบ ไดเร็คอินเจ็คชั่น เชื้อเพลิงดีเซล และ มีแรงมาตั้งแต 238 – 326 แรงมา ระบบเกียรมีใหเลือก 6 สปด และ 9 สปด ซินโครเมซ นํ้า หนักบรรทุกสูงสุดอยูที่ 36 ตัน ไมแนอาจจะมีขาวดีสําหรับรุนนี้ที่จะมีผูนําเขามาจําหนายใน เมืองไทยก็เปนได รายละเอียดเพิ่มเติม : www2.mercedes-benz.co.uk
ความปลอดภัยดีเยี่ยม ระบบเบรกลมลวน วงจรคูอิสระ นิรภัย พรอมดิสกเบรกคูหนา ดรัมเบรก คูหลัง พรอมเบรกไอเสีย เบรกมือชนิด ลมควบคุ ม การทํ า งานด ว ยมื อ บั ง คั บ เพลากลางและหลัง เพลาหนาแกนลอ แบบแข็ง คานเหล็กรูปตัว “U” คู เพลา กลางหลัง ขับเคลื1อน 2 เพลาคู เฟองทด คูแบบอัด เทคโนโลยีจากเบนซ BEIBEN ถือวาเปนรถสัญชาติจีน ทีเ่ ปนนองใหม โดยบริษทั ไบเบนไทย แต เ รื1อ ง ข อ ง คุ ณ ภ า พ ข อ ง ตั ว ร ถ ที่ ใ ช เทคโนโลยี เ บนซ เ ยอรมั น เข า มาผสม ผสานได อ ย า งลงตั ว ทั้ ง รู ป ลั ก ษณ ที่ สวยงามและสมรรถนะเพื1อการบรรทุก หนัก สําหรับตลาดในประเทศไทยรถจีน ยี่หอนี้คงจะเขาตาหลาย ๆ ทานอยาง แนนอน แตสิ่งสําคัญของรถสัญชาติจีน จะดีเฉพาะตัวรถอยางเดียวไมไดตอ งดูแล หลังการขายดวยตามสโลแกน “บริการ ดวยใจ ทันใจและพอใจ”
Commuter 3.0 บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด เปดตัวรถตู โตโยตา คอมมิวเตอร รุน ปรับปรุงเพิ่มสมรรถนะมากขึ้นดวยเครื1องยนตดีเซล 3.0 ลิตร รองรับมาตรฐานไอเสีย ยูโร 4 พรอมเสริมความมัน่ ใจในทุกการเดินทางดวยถุงลมเสริมความปลอดภัยคูห นา SRS และเข็มขัด นิรภัยระบบรั้งกลับ Pre-tensioner & Force limiter 1KD-FTV (I/C) อินเตอรคูลเลอร ความจุ 2,982 ซีซี. กําลัง 136 แรงมา ที่ 3,400 รอบตอนาทีแรงบิด 300 นิวตัน-เมตร ที่ 1,200 - 2,400 รอบตอนาที มาตรฐานไอเสีย ยูโร 4 ถุงลมเสริมความปลอดภัย 2 จุด (ผูขับขี่และผู โดยสารดานหนา) เข็มขัดนิรภัยที่นั่งดานหนาแถวที่ 1 (Front seatbelt) ELR ยึด 3 จุด 2 ที่นั่ง พรอมระบบดึงรั้งกลับ + NR ยึด 2 จุด 1 ที่นั่ง รายละเอียดเพิ่มเติม : www.toyota.co.th
11/4/13 11:33 PM
26 BUS&TRUCK • LOGISTICS FOCUS
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556 LOGISTICS FOCUS
ดร.ธนิต พุทธพงษศิริพร สานตอ Backhaul ดันไทยศูนยกลางโลจิสติกส สํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร ได ร ว มมื อ กั บ สถาบั น วิ จั ย และให คํ า ปรึกษาแหงมหาวิทยาธรรมศาสตร ผู เชี่ยวชาญดานระบบไอทีและโลจิสติกส ดําเนินโครงการสงเสริมการใช และเชื1อมโยงระบบ Backhauling เพื1อลดสัดสวนการวิ่งรถเที่ยวเปลา เปนปที่ 2 ติดตอกันเพื1อพัฒนาระบบ โลจิสติกสใหครอบคลุมทัว่ ประเทศ ซึง่ เปนการพัฒนาระบบเขื1อมโยงขอมูล กลาง (Middleware) ในโครงการนี้ จะชวยในการจับคูรถเที่ยวเปลากับ สิ น ค า รอส ง ให กั บ ผู ป ระกอบการ ภายในกลุม (Cluster) และในปนี้มี การพัฒนาใหระบบมีความชาญฉลาด มากขึ้น ดร.ธนิต พุทธพงษศริ พิ ร ในนาม ของที ม ที่ ป รึ ก ษาของโครงการ ได อธิบายถึงบทบาทและความสําคัญของ โครงการนี โ ้วา การ จะบริ จ ห ารจั ด การ ระบบโลจิ ร สติกสให มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สสร า งเครื อ ข า ย ค ว า ม ร ว ม มื อ ภ า ย ใ น ก ลุ ม ผู ประกอบการ ซึ่ ง ตองมีการวางแผนและบริหารจัดการ ในทุกสวนตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้า ซึ่ง สํานักโลจิสติกสมีโครงการตาง ๆ มา สนับสนุนและสงเสริมผูประกอบการ หนึง่ ในนัน้ คือโครงการ Backhauling ที่ กลาวไดวา เปนการขยายผลจากปทผี่ า น มา โดยเนื้อหาของโครงการจะแบง ระบบงานเปน 2 สวน คือ ระบบ Backhauling ระบบช ว ยผู ป ระกอบการ บริหารจัดการการเดินรถเที่ยวเปลา
B&T#233_p26-27_iMac2.indd 26
ดวยการลงประกาศรถเที่ยวเปลาและ รับจางขนสงสินคา เปนการลดตนทุน ดานพลังงาน บุคลากรและสินทรัพย อี ก ส ว นหนึ่ ง คื อ ระบบบริ ห าร จั ด การการขนส ง Transportation Management System หรือ TMS ชวย จัดเก็บขอมูลดานการขนสงที่ ไดรับการ พัฒนายกระดับขึ้นจากปที่ผานมา เชน ระบบจัดการรถบรรทุก ติดตามการใช งานการดูแลรักษา แนะนํารถบรรทุกที่ เหมาะกับงาน ระบบติดตามคาใชจายใน การเดินทาง การจัดการทรัพยากรบุคคล เพื1อใช ในงานรถบรรทุก ระบบบริหาร จัดการลูกคา งานเอกสารตาง ๆ ระบบ ประเมินผลสําหรับการขนสงแตละครั้ง เพื1อ ทราบถึ ง คุ ณ ภาพและความคุ ม ค า ทัง้ หมดทําใหผปู ระกอบการเห็นภาพรวม การดําเนินการ ตนทุนการใหบริการ เพื1อ นํ า มาประกอบการพิ จ ารณาปรั บ ปรุ ง ระบบ รวมถึงการเพิ่มหรือลดคาบริการ ใหคุมคาและสามารถแขงขันในตลาดได สาระสําคัญอีกประการคือ ระบบ TMS เป น การปรั บ ให ก ระบวนการ ทางเอกสารมีมาตรฐานสากลเปนระบบ เดียวกันในกลุม ผูป ระกอบการ ชวยลดขัน้ ตอนการทํ า งาน และลดภาระเรื1อ ง กระบวนการทางเอกสาร เปนการขยาย ความสามารถในการรับงานเพิ่มใหกับผู ประกอบการไดอีกดวย ดังนั้น หากมีการใชงานระบบทั้ง 2 สวน มีโอกาสทําใหคาใชจายโดยรวมลด ลง ลดตนทุนดานพลังงานตอการขนสง สินคาลงได 30% และเพิม่ รายไดจากการ ลดจํานวนการวิ่งรถเที่ยวเปลา รวมถึง ช ว ยบริ ห ารจั ด การการขนส ง เพื1อ ให ผู ประกอบการรับรูต น ทุนคาใชจา ยอยางถูก ตองแมนยํา นอกจากนีก้ ารดําเนินโครงการในป
นี้ จะเนนไปทีผ่ ปู ระกอบการในภาคตะวัน ออกและภาคใต เปนการขยายผลจากปที่ ผานมาซึ่งไดเริ่มดําเนินการในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไปแลว มี การตอบรับจากผูประกอบการเปนอยาง ดี แนนอนวาปนจี้ ะยังคงความตอเนื1องใน ภาคเหนือและอีสานตอไปใหเขมขนมาก ขึ้น พรอมทั้งรับสมัครผูประกอบการราย ใหม ๆ เขามาในระบบ ดร.ธนิต กลาวตอไปวา การเตรียม ความพรอมของผูป ระกอบการโลจิสติกส ในการใชงานระบบ Backhauling และ ระบบ TMS เปนเรื1องจําเปนอยางยิง่ เมื1อ เปรี ย บเที ย บกั บ ในต า งประเทศ เช น สหรั ฐ อเมริ ก า มี ก ารใช ง านระบบนี้ เปนการทั่วไป หรือตัวอยางที่ใกลเขามา คือ สิงคโปรและมาเลเซีย ก็มีการใชงาน ระบบนี้เชนเดียวกัน กลาวไดวาเปนการ ปรับการทํางานใหทนั สมัยดวยเทคโนโลยี ซึ่งหากไทยจะเปนศูนยกลางดานระบบ โลจิสติกสของอาเซียน การเตรียมความ พร อ มในด า นนี้ เ ป น ส ว นที่ สํ า คั ญ และ จําเปนอยางยิ่งที่ตองเรงดําเนินการ อี ก ทั้ ง ต อ งไม ลื ม ว า นอกจากการ พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานเพื1อ
เตรียมใหบริการลูกคาขนสงสินคาจาก ตางประเทศ เพื1อเปนชองทางในการ เชื1อมโยงหลายประเทศเขาดวยกันแลว การเป ด เออี ซี ยั ง เป น โอกาสให ผู ประกอบการโลจิสติกสจากตางประเทศ สามารถเขามาตัง้ ฐานการขนสงและให บริการแขงขันกับผูประกอบการไทยได อยางเสรี ซึ่งบริษัทจากตางประเทศ เหลานี้ มีการใชงานระบบตาง ๆ อยูแ ลว ดั ง นั้ น นี่ จึ ง เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ให ผู ประกอบการโลจิ ส ติ ก ส ไ ทยต อ งเร ง สรางมาตรฐานและความนาเชื1อถือดวย การนําระบบ Backhauling และระบบ TMS มาใชงานโดยเร็ว คือหนึ่งในภารกิจสําคัญของสํา นักโลจิสติกสและสถาบันวิจยั และใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่ตองสรางระบบบริหารจัดการทํางาน โดยใชเทคโนโลยี สรางเครือขายความ ร ว มมื อ ในการทํ า งานของกลุ ม ผู ประกอบการไทย ใหสามารถเตรียม ความพรอมรับมือการแขงขันทีท่ วีความ รุนแรง และเพิม่ ศักยภาพการใหบริการ เพื1อผลักดันใหไทยกาวไปสูก ารเปนศูนย กลางโลจิสติกสภูมิภาคอาเซียน
11/4/13 10:29 PM
MATERIAL HANDLING
Forklift HANGCHA
เครื่องรัดกลองอัตโนมัติ
รถโฟลคลิฟท HANGCHA นําเขาจาก บริษัท ตันจง อินดัสเตรียล เซอรวิส (ประเทศไทย) จํากัด เปนหนึ่งบริษัทในกลุม Tanchong Group และเป น ตั ว แทนจํ า หน า ย Forklift Brand HANGCHA ในประเทศไทย โดยโฟลคลิฟท HANGCHA เปนรถยก คุณภาพไดรับมาตรฐาน ISO 9001 : 2000 และ ISO 14001 : 2004 ระดับสากล ที่มียอดจําหนายสูงสุดในประเทศจีน นอกจากนี้ยังจัด จําหนายยังประเทศตาง ๆ ทั่วโลก ทั้งนี้ Forklift HANGCHA มีทั้ง เครื1องยนต ไดแก Nissan Diesel, Gasoline/LPG โดยจะไดรบั บริการ หลังการขายรวมไปถึงเรื1องของอะไหลตาง ๆ ดวย เพิม่ เติม : บริษทั ตันจง อินดัสเตรียล เซอรวสิ (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-3857-1878
เครื1องรัดกลองอัตโนมัติ รุน TS - 8560APR ที่มีการ ทํางานแบบระบบ PLC Control (Automatic Strapping Machine) ไดรบั การออกแบบใหใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีมาตรฐาน แข็งแรงทนทานดวยโครงสรางของเหล็กหนา พิเศษ อีกทั้งยังสามารถตอไลนการผลิตอัตโนมัติได โดยใช เซ็นเซอรควบคุมการทํางานดวยลูกกลิง้ ลําเลียงสินคาทีม่ อี ยูใ น ตัวเครื1อง พรอมระบบขับเคลื1อนมอเตอร นอกจากนี้ยังสามา รถฟดเชือกแบบอัตโนมัติไดอีกดวย เพิ่มเติม : บริษัท ที.ยู แพ็ค จํากัด โทร. 0-2743-8899
R1_B&T#233_p26-27_Pro3.indd 27
11/7/13 2:11 AM
28 BUS&TRUCK • LOGISTICS NEWS
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556 LOGISTICS NEWS
DHL เปดตัวสํานักงาน รุกธุรกิจขนสงในพมา บริษัท ดีเอชแอล โกลเบิล ใน เครือ ดอยช โพสต ดีเอชแอล เปด สํานักงานในประเทศพมาโดยถือหุน เต็ม 100% เพื1อเพิ่มความแข็งแกรง ของการดําเนินธุรกิจในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต โดยสํานักงานดัง กลาวเปนสวนหนึ่งของ ดีเอชแอล โกลเบิล ฟอรเวิรดดิ้ง ภูมิภาคเอเชีย ใต การเปดสํานักงานในกรุงยางกุง อย า งเป น ทางการและการแต ง ตั้ ง นายคริสตอฟ ไบเออร เปนกรรมการ ผูจัดการ นับเปนการบรรลุเปาหมาย ทางธุ ร กิ จ หลั ง จากดํ า เนิ น การผ า น ตัวแทนในพมามาเปนเวลา 20 ป คุ ณ เคลวิ น เหลี ย ง ประธาน
กรรมการบริ ห าร บริ ษั ท ดี เ อชแอล โกลเบิล ฟอรเวิรดดิ้ง ภาคพื้นเอเชีย แปซิฟก กลาววา พมาถือเปนประเทศที่ มีการเติบโตอยางรวดเร็ว อีกทั้งยังเปน ประเทศหนึ่งที่มีศักยภาพการขยายตัว ทางเศรษฐกิจมากที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต นอกจากนี้ สภาพ แวดลอมและทรัพยากรที่เอื้ออํานวยตอ การผลิตสินคายังดึงดูดใหนักลงทุนตาง ชาติจากกหลากหลายอุตสาหกรรมสนใจ เขามาลงทุนทําธุรกิจในประเทศอีกดวย ผูเ ชีย่ วชาญดานการขนสงของ ดีเอชแอล โกลเบิล ฟอรเวิรด ดิง้ ในพมาจะชวยเชื1อม โยงและสร า งเครื อ ข า ยพั น ธมิ ต รทาง ธุรกิจจากตางชาติและพันธมิตรในพมา ใหครอบคลุมทั้งภายในภูมิภาคนี้ รวมถึง ภูมิภาคอื1น ๆ ดวย การเปดสํานักงานในประเทศพมา เปนสวนหนึ่งของแผนในการขยายธุรกิจ ของดีเอชแอล โกลเบิล ฟอรเวิรด ดิง้ เพื1อ สรางความแข็งแกรงดานการเปนผูน าํ ใน
ธุ ร กิ จ ขนส ง ที่ ใ ห บ ริ ก ารด ว ยมาตรฐาน สากลทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก ป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ การเติ บ โตทาง เศรษฐกิจของพมาในชวงป 2555-2556 สวนใหญมาจากอุตสาหกรรมผลิตกาซ การกอสราง และการบริการ สอดคลอง กั บ ทิ ศ ทางของ ดี เ อชแอล โกลเบิ ล ฟอรเวิรด ดิง้ ในพมา ซึง่ มีความพรอมเต็ม ทีใ่ นการสนับสนุนอุตสาหกรรมเหลานีใ้ ห เติ บ โตอย า งต อ เนื1อ ง รวมถึ ง การเร ง พั ฒ นาในภาคส ว นของผู บ ริ โ ภคและ เทคโนโลยี ใ ห เ ติ บ โตตามกั น ไปด ว ย บริษัทฯ มีบริการตาง ๆ รองรับอยาง ครอบคลุ ม ทั้ ง บริ ก ารขนส ง ระหว า ง ประเทศ ขนสงทางอากาศและทางทะเล ตัวแทนใหบริการแกผปู ระกอบการขนสง (line/NVOCC) การออกของใหกับผูสง และผูรับสินคา บริการยานพาหนะเพื1อ การขนสง และบริการคลังสินคาใหเชา ทัง้ นี้ การดําเนินธุรกิจของสํานักงานแหง นี้จะเปนไปตามมาตราฐานระดับสากล ของดีเอชแอล โดยมีระบบเทคโนโลยี สารสนเทศรองรับโดยสมบูรณ ซึ่งการ วางระบบจะเสร็จสมบูรณภายในสิ้นปนี้
คุณคริสตอฟ ไบเออร กรรมการผู จัดการ ซึง่ เคยประจําการอยูท สี่ าํ นักงาน ในประเทศบังคลาเทศ จะรายงานตรง ตอคุณโทมัส ทีเบอร ประธานเจาหนาที่ บริหาร ประจําภูมิภาคเอเชียใต เพื1อรับ ผิดชอบงานบริหารและพัฒนาธุรกิจใน ประเทศพมา รวมถึงการผลักดันการ เติบโตในธุรกิจดานการใหบริการขนสง ระหวางประเทศ บริการยานพาหนะ คลังสินคา และบริการอื1น ๆ ที่มีใหเพิ่ม เติมในดานโลจิสติกสทวั่ ประเทศ เพื1อยก ระดั บ การเติ บ โตของธุ ร กิ จ และการ ลงทุนจากตางชาติ “ประเทศพมามีความไดเปรียบ ทางดานภูมิศาสตร การพัฒนาระบบ พืน้ ฐานการขนสงประกอบกับกลุม ยาน พาหนะของดีเอชแอลทีม่ อี ยูใ นปจจุบนั และยุทธศาสตรทางพันธมิตรที่มีกับผู ใหบริการทองถิ่นมาอยางยาวนาน จะ ชวยเพิม่ ศักยภาพดานการเติบโตอยาง สู ง สุ ด ให กั บ ดี เ อชแอล เพื1อ ส ง มอบ ประโยชนสูงสุดใหแกลูกคาที่ใชบริการ ได ในขณะที่เรายังสามารถปฏิบัติตาม กฎระเบียบดานการขนสงของประเทศ ไดตามทีก่ าํ หนด ทัง้ ในสวนของพิธกี าร และขั้ น ตอนการยื1น เอกสาร” คุ ณ คริสตอฟ ไบเออร กลาวทิ้งทาย
รัฐ-เอกชน เรงพัฒนาโลจิสติกสเพิ่มมูลคาสงออก พาณิ ช ย ร ว มวางแนวทางส ง เสริม-พัฒนาระบบโลจิสติกส ไทย เพิม่ ประสิทธิภาพการคาลงทุน หวังผลัก ดันการสงออก หนุนเปนศูนยกลาง อาเซียน คุณนันทวัลย ศกุนตนาค อธิบดี กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ เปดเผยวา กระทรวงพาณิชยรว ม กั บ ภาคเอกชน กําหนดวิสัยทัศน 2020 ของโลจิสติกส ไทย เพื1อให เกิ ด ความเชื1อ ม โยงและบู ร ณา การความรวมมือ ประสิทธิภาพสูงทั้งระบบที่เกี่ยวเนื1อง กับโลจิสติกส การขนสง จัดซื้อ บริหาร สินคาคงคลัง กระจายสินคา ขอมูลและ การเงิน เพื1อเพิ่มศักยภาพทางการคา และการลงทุนของประเทศ ซึ่งจะสงผล ทําใหการสงออกของไทยเพิม่ ขึน้ อยางมี เสถียรภาพ ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาระบบ โลจิสติกสของประเทศไทยนั้น มีเปา หมายสําคัญ เพื1อเพิ่มความรวดเร็วใน การส ง มอบสิ น ค า การไหลลื1น ของ สินคาการไหลลื1นของขอมูลขาวสาร การสร า งมู ล ค า เพิ่ ม ในกิ จ กรรมที่
B&T#233_p28-29_Pro3.indd 28
เกี่ยวของกับความตองการของตลาด การลดต น ทุ น ในส ว นที่ เ กี่ ย วกั บ การ ดําเนินการเกี่ยกับสนคาและการดูแล และขนสงสินคา และการเพิม่ ศักยภาพ และประสิทธิภาพของการแขงขัน “ประเทศไทยตั้งศูนยกลางการ ขนสงของภูมิภาคเอเซียน มีชายฝง ทะเลคอนขางยาว มีผูประกอบการ มากมาย มีสาธารณูปโภคพื้นฐานทาง บกและทางอากาศทีค่ รอบคลุมทัว่ ถึง ผู ประกอบการไทยมีความชํานาญดาน การใหบริการภายในประเทศ และมีการ รวมตัวกันเปนสมาพันธโลจิสติกส จึง เปนโอกาสสําหรับการขนสงทัง้ เสนทาง ถนน รถไฟ เหนือ ใต ตะวันออกและ ตะวันตกการเปนประตูสูประเทศจีน ตอนใต รวมถึ ง การเป ด ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ในป 2558 จะทําใหเกิดการไหลเวียนของสินคาเงิน ทุน แรงงานไดอิสระและมีการพัฒนา เครือขายคมนาคมขนสงระหวางกัน เพื1อ ประโยชน ด า นการค า และการ ลงทุน” คุณนันทวัลย กลาว อยางไรก็ตาม ความสามารถดาน โลจิสติกสของประเทศไทยยังเปนรอง มาเลเซีย และสิงคโปร จึงจําเปนที่ไทย ตองเรงพัฒนาดานทรัพยากรมนุษย ลดตนทุนโลจิสติกสที่สูงกวาประเทศ เพื1อนบาน
11/4/13 10:38 PM
Ý® hª b |ªw¢ Ðz¤Ø ܪ ¢ ª h OEM
."%& */ *5"-:
Þ³ ® i i Ù Ý® h Ù Ð ² ݪ B&T#233_p28-29_Pro3.indd 29
11/4/13 10:38 PM
30 BUS&TRUCK • STATISTIC UPDATE
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
STATISTIC UPDATE ที่มา : กรมการขนสงทางบก
การดําเนินการใบอนุญาตประกอบการขนสงประจําป 2552-2555 ปจจุบนั นับวาธุรกิจของการขนสงกําลังเปนทีน่ า จับตามองเปนอยางยิง่ ดวย เหตุทวี่ า ประเทศไทยจะกาวเขาสูป ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 ขางหนา ซึ่งถือวาเปนระยะเวลาอันใกล ผูประกอบการหลายตอหลายทาน เริ่มหันมาจับ ธุรกิจของการขนสงเพิม่ มาขึน้ จึงทําใหตลาดของการขนสง กําลังเขาสูก ารแขงขัน ที่ดุเดือดเพิ่มขึ้นทุกป
วันนีเ้ ราจึงจะพาทุกทานมาชมสถิตขิ องการดําเนินการใบอนุญาตประกอบการ ขนสงประจําป 2552-2555 กัน เพื1อเตรียมตัวในการตั้งรับตลาดแหงสนามแขงขัน รวมไปถึงดูสถิติและอัตราการเพิ่มลดของคูแขงขันในตลาดของการขนสงนี้อีกดวย
การดําเนินการเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบการขนสงประจําป 2552-2555 2552
ประเภทการขนสง ลักษณะ
2553
ออกใหม ตออายุ ออกใหม ตออายุ ประจําทาง
ไมประจําทาง
สวนบุคคล
ระหวางประเทศ โดยสารขนาดเล็ก รวมทั้งหมด
หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 รวม รถโดยสาร รถบรรทุก รวม รถโดยสาร รถบรรทุก รวม รถโดยสาร รถบรรทุก รวม
ออกใหม
2553
ออกใหม ตออายุ
ออกใหม ตออายุ
2554
ออกใหม
ตออายุ
(31.48) 100.00 100.00 (22.82) (18.89) 38.63 13.57 24.82 (4.72) 7.86 7.77 7.55 (26.94) (19.51) (90.91) 8.56
(66.67) (57.78) (13.25) (4.23) (34.27) 6.91 4.56 5.79 (5.61) (4.30) (4.31) 20.00 172.73 125.00 112.50 (3.62)
สถิติใบอนุญาตประกอบการขนสง โดยรถขนาดเล็ก
ตออายุ
2555
สถิติจํานวนใบอนุญาตประกอบการขนสงออกใหมและตออายุ ปงบประมาณ 2555 เปรียบเทียบกับปงบประมาณ 2554 จําแนกไดดังนี้ • จํานวนใบอนุญาตฯ ออกใหม ปงบประมาณ 2555 มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจาก ปงบประมาณ 2554 รอยละ 3.56
R2_B&T#233_p30-31_Pro3.indd 30
2555
16 29 25 36 54 87 37 47 12 19 6 22 45 3 69 30 72 26 67 10 83 20 55 152 68 155 80 206 71 159 59 210 188 212 205 270 286 219 230 1,258 949 1,649 984 2,286 1,052 772 1,494 1,554 941 900 2,301 988 1,877 1,011 2,026 2,812 1,760 3,371 1,960 3,675 1,884 4,587 1,993 377 202 413 212 381 214 636 199 48,284 16,129 49,732 16,468 55,859 17,081 60,247 16,347 48,661 16,328 50,145 16,680 56,240 17,295 60,610 16,549 51 6 30 1 53 5 57 156 30 155 16 193 11 141 48 207 36 185 17 246 16 198 48 5 17 11 6 11 8 1 7 51,895 18,373 53,924 18,868 60,442 19,489 65,615 18,783
สถิติใบอนุญาตประกอบการขนสง ปงบประมาณ 2552-2555
2552
2554
หนวย : ฉบับ อัตราการเปลี่ยนแปลงรอยละ 2555/2554
ออกใหม
2552
2553
2554
ตออายุ
2555
ใบอนุญาตประกอบการขนสงโดยรถขนาดเล็กปงบประมาณ 2552-2555 • จํานวนใบอนุญาตฯ ออกใหม ปงบประมาณ 2555 มีอัตราการออกใบอนุญาตฯ ใหม ลดลงจากปงบประมาณ 2554 รอยละ 50.91 • จํานวนใบอนุญาตตออายุ ปงบประมาณ 2555 มีอัตราการตออายุใบอนุญาตฯ เพิ่มขึ้น จากปงบประมาณ 2554 รอยละ 112.50
11/7/13 9:00 PM
.
B&T#233_p30-31_Pro3.indd 31
11/4/13 11:16 PM
32 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK AEC
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
BUS & TRUCK AEC
วางอีสานฮับขนสง เชื่อมไทย-ลาว-จีน การเปดเสรีประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (เออีซ)ี ป 2558 สงผลใหการ คาการขายคึกคักมากขึ้น ในภูมิภาคที่ เปนจุดเชื1อมตอกับประเทศเพื1อนบาน โดยเฉพาะทางภาคอีสานใน จ.มุกดาหาร และจ.นครพนม ที่เปนจุดเชื1อม ใหญและเสนทางลําเลียงสินคาไลมา ตั้งแตจีน-ลาว-ไทย ไปมาเลเซีย และ สิงคโปร แน น อนว า จ.มุ ก ดาหารและ นครพนม สามารถเปนศูนยกลางการ ขนสงและกระจายสินคาเชื1อมกับสปป. ลาว เวียดนาม และจีนตอนใตไดอยาง สะดวก เพราะมีสะพานมิตรภาพไทยลาว 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) และ สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 3 (นครพนมคํามวน) เปนตัวเชื1อมตอที่สําคัญ ทั้งนี้ จ.มุกดาหารสามารถเชื1อม กับเสนทาง R9 ที่เริ่มตนมาจากนคร หนานหนิง ทางจีนตอนใต ลงมากรุง ฮานอยของเวียดนาม วิ่งลงทิศใตถึง ดานลาวบาว เขาสูแขวงสะหวันนะเขต ของสปป.ลาว และข า มสะพาน มิตรภาพเขาสูมุกดาหาร ขณะทีน่ ครพนมเชื1อมกับเสนทาง R12 ที่เริ่มจากนครหนานหนิงเชนกัน แตเสนทางนี้วิ่งลงมาทางเมืองทาแขก แขวงคํามวนของลาวและขามสะพาน มิตรภาพเขาสูนครพนม ซึ่งทั้ง 2 เสน ทางเมื1อขามแมนํ้าโขงมาแลวสามารถ เชื1อมไดถงึ กรุงเทพฯ และทาเรือแหลม ฉบัง จ.ชลบุรี รับเปนยุทธศาสตรหลัก 2 ลานลานบาท คุณจันทร ตยางคนนท ประธาน สภาอุตสาหกรรมจังหวัดมุกดาหาร เปดเผยวา การคาชายแดนผานดาน มุกดาหารมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ และถาเขา สู เออีซี จะทําใหการคาขยายตัว รวม ทัง้ ขณะนีม้ ผี ปู ระกอบการไทยไปลงทุน ในสปป.ลาว ก็จะตองสงสินคากลับมา ไทยผานดานมุกดาหาร เชน บริษัท นํ้าตาลมิตรผล จํากัด บริษัท นํ้าตาล ขอนแกน จํากัด (มหาชน) เปนตน อยางไรก็ดี ในป 2555 มีการคา ชายแดนผ า นด า นมุ ก ดาหารมู ล ค า 28,677 ลานบาท แบงเปนการสงออก 12,006 ลานบาท นําเขา 16.670 ลาน
R1_B&T#233_p32-33_Pro3.indd 32
บาท ขาดดุลการคา 4,663 ลานบาท และ มูลคาการคาในชวง 7 เดือน แรกของป 2556 อยูที่ 17,412 ลานบาท เปนการสง ออก 7,010 ลานบาท นําเขา 10,401 ลาน บาท ขาดดุลการคา 3,390 ลานบาท โดย สินคานําเขามีสินแรทองแดง เหล็กจาก ลาวและเวียดนาม รวมทั้งมีผลไมและ เครื1องใชไฟฟาจากจีนหนุนเขตเศรษฐกิจ พิเศษมุกดาหาร ทั้งนี้ ผูประกอบการในจ.มุกดาหาร และนครพนม สนั บ สนุ น ให ก ระทรวง คมนาคมเรงโครงการสรางรถไฟเสนทาง บานไผ-มหาสารคาม-รอยเอ็ดมุกดาหารนครพนม ซึ่งกระทรวงคมนาคมเริ่มรับ ฟงความเห็นชุมชนแลว และวางแผนที่ จะประมูลในตนป 2558 วงเงินลงทุน กอสราง 42,000 ลานบาท เรงเสนทาง รถไฟบานไผ-นครพนม ตรงนี้ผูประกอบ การใน 2 จังหวัด เชื1อวาเสนทางรถไฟสาย ใหม จะทําใหมกุ ดาหารและนครพนมเปน ศูนยกลางการขนสงและกระจายสินคา เชื1อมกับลาว เวียดนามและจีนตอนใต เพราะมี ส ะพานมิ ต รภาพไทย-ลาว 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) และสะพาน มิตรภาพไทย-ลาว 3 (นครพนม-คํามวน) เปนตัวเชื1อม “การผลักดันเสนทาง รถไฟสายดัง กล า วจะช ว ยสนั บ สนุ น การตั้ ง เขต เศรษฐกิ จ พิ เ ศษมุ ก ดาหาร ซึ่ ง สภา อุตสาหกรรมจังหวัดมุกดาหารไดเสนอ รัฐบาลไปแลว และชวงที่นางสาวยิ่ง ลักษณ นายกรัฐมนตรี มาตรวจราชการ ที่จังหวัดมุกดาหารเมื1อเดือน ก.ค. 2556 ที่ผานมา ก็ไดเสนอเรื1องนี้เขาไปอีก” นอกจากนี้ รั ฐ บาลจะต อ งออก กฎหมายเพื1อประกาศเขตเศรษฐกิจพิเศษ มุกดาหารจะเหมือนเขตเศรษฐกิจแมสอด จังหวัดตาก และจะทําใหเขตเศรษฐกิจ พิเศษมุกดาหารจัดโครงสรางพืน้ ฐานเพื1อ รองรับการทําธุรกิจได เชน การตั้งศูนย บริการแบบเบ็ดเสร็จเพื1ออํานวยความ สะดวกในการทําธุรกิจ การกําหนดสิทธิ ประโยชนทางภาษี อยางไรก็ตาม เขตเศรษฐกิจพิเศษ มุกดาหาร จะเนนการเปนศูนยกระจาย สิ น ค า มากกว า การเป น ฐานการผลิ ต
3 =83; G3X 3
1 LX DJEAK33JW / ;R .LEL=
3 ==L%DO;L
= G<WG^.
=R"W18I
เพราะพืน้ ฐานเศรษฐกิจของมุกดาหารมา จากการค า ชายแดน โดยเมื1อ เขต เศรษฐกิจพิเศษเกิดขึ้นมาจะมีสนใจมา ลงทุ น ตั้ ง ศู น ย คั ด แยกและบรรจุ สิ น ค า สวนการตั้งโรงงานอาจจะเปนโรงงาน ประกอบทีใ่ ชวตั ถุดบิ นําเขาจากเพื1อนบาน ซึ่งคาดวาการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ จะใชเวลาประมาณ 5 ป นับจากปนี้ ด า นคุ ณ ชั ช ช า ติ สิ ท ธิ พั น ธุ รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม กลาว วา รถไฟเสนทางบานไผ-นครพนม เปน ยุ ท ธศาสตร ห ลั ก ของโครงการลงทุ น โครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมวงเงิน 2 ลานลานบาท ที่จะเรงดําเนินการเพราะ จะทําใหชวยลดตนทุนการขนสงสินคา และผ า นการรั บ ฟ ง ความเห็ น ของ ประชาชนในพื้นที่แลวหลายครั้งตั้งแตป 2555 ทั้งนี้ รถไฟเสนทางดังกลาวเปน ทางเดีย่ วแตผปู ระกอบการในพืน้ ทีเ่ ห็นวา ในชวงแรกมีความเหมาะสม ไมตองเปน ทางคูเหมือนเสนทางอื1นก็ได เพราะการ
ขนสงสินคาไมตอ งใชความเร็วมาก ซึง่ การขนส ง สิ น ค า จากมุ ก ดาหาร ใน ปจจุบนั ขนสงดวยรถบรรทุกทีจ่ าํ กัดนํา้ หนักไมเกินคันละ 20 ตัน แตถาขนสง ทางรถไฟไดจะขนสงไดเพิ่มขึ้นมากใน แตละเที่ยว และสามารถเพิ่มตูรถไฟ เพื1อรองรับสินคาไดชูสถานีมุกดาหาร เทียบแหลมฉบัง สําหรับสถานีรถไฟมุกดาหาร จะ หางจากตัวเมืองประมาณ 3-4 กิโลเมตร โดยภาคเอกชนตองการใหสถานีรถไฟ มุกดาหาร เปนจุดตรวจปลอยสินคา เหมือนสถานีรถไฟแหลมฉบังทีม่ ขี บวน สินคาผานเขาออกไปยังทาเรือแหลม ฉบัง ซึ่งสถานีรถไฟมุกดาหารจะเชื1อม การขนสงสินคากับสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว 2 และเห็นวาควรมีปจจัย อํานวยความสะดวกรองรับ เชน ขั้น ตอนพิ ธี ก ารศุ ล กากรที่ ร วดเร็ ว ค า ชายแดนโตกาวกระโดด
11/7/13 2:02 AM
SET UP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
33
ติดตั้งลําเลียง
5 กลยุทธในการลดตนทุนการขนสง ปจจุบันการขนสงมีความสําคัญ ตอธุรกิจเกือบทุกประเภททัง้ ในสวนการ จัดหาวัตถุดิบ การผลิตการขาย และ การจัดจําหนาย ในหลาย ๆ ธุรกิจ ตนทุน การขนสงนับเปนตนทุนที่สําคัญ และ กระทบตอผลประกอบการ เมื1อราคานํ้ามันเพิ่มสูงขึ้นทําใหผู ประกอบการดานโลจิสติกส ตองแบกรับ ภาระดานตนทุน ในดานการขนสงสินคา ที่สูงขึ้น ดังนั้นผูประกอบการดานโลจิสติกสจะตองมีการวางแผนกําหนดกลยุทธ ตาง ๆ เพื1อเพิม่ ประสิทธิภาพในการขนสง และลดตนทุนในการขนสง 1. กลยุทธการใชพลังงานทางเลือก โดยปรับเปลีย่ นพลังงานทีใ่ ชในการขนสง จากนํ้ามันดีเซลหรือเบนซิน เปนไบโอ ดีเซลหรือกาซ NGV ซึ่งการใชกาซ NGV จะประหยัดกวาการใชนํ้ามันประมาณ 60-70% แตในการตัดสินใจติดตั้งระบบ NGV ผูป ระกอบการควรมีการตัดสินใจที่ ละเอียดถี่ถวน เนื1องจากการติดตั้งระบบ NGV ใชงบประมาณทีค่ อ นขางสูง ในการ ติดตั้งผูประกอบการควรพิจารณาตาม หลั ก เกณฑ ดั ง ต อ ไปนี้ คื อ พิ จ ารณา ประเภทของเครื1องยนต พิจารณาสถานี บริการ NGV และเสนทางในการขนสง สุดทายคือ การพิจารณาผลตอบแทนการ ลงทุน ซึ่งการพิจารณาถึงองคประกอบ เหลานี้ จะทําใหผูประกอบการเห็นถึง ความเปนไปไดของการติดตั้งในดานผล ตอบแทนการลงทุน รวมถึงการเพิม่ ความ สามารถในการแขงขัน 2. กลยุทธการปรับเปลี่ยนรูปแบบ การขนสงแบบใหม หรือการใชวิธีการ ขนส ง ต อ เนื1อ งหลายรู ป แบบ (Multimodal transportation) ซึ่งเปนวิธีการ ขนส ง ที่ ผ สมผสานระหว า งการขนส ง ตัง้ แต 2 รูปแบบขึน้ ไป ภายใตสญ ั ญาหรือ ผู รั บ ผิ ด ชอบการขนส ง รายเดี ย ว ซึ่ ง โครงสรางของระบบขนสง สามารถแบง ตามลักษณะทางกายภาพได 5 แบบ คือ 1. การขนสงทางถนน เปนรูปแบบ การขนสงที่นิยมใชมากที่สุด สําหรับการ ขนสงภายในประเทศ 2. การขนสงทางราง มีขอจํากัดใน ดานสถานที่ตั้ง และสถานีบริการ ตนทุน การขนสงตํ่า และสามารถบรรทุกสินคา ไดครั้งละมาก ๆ 3. การขนสงทางนํา้ สามารถขนสง ไดครั้งละมาก ๆ มีตนทุนในการขนสงตํ่า ที่สุด และเปนการขนสงหลักของการ ขนสงระหวางประเทศ 4. การขนสงทางอากาศ ใชสําหรับ การขนสงระยะทางไกล ๆ และตองการ ความเร็วสูง มีตนทุนการขนสงสูงที่สุด และใชกับสินคาที่มีราคาแพง มีนํ้าหนัก และปริมาตรนอย 5. การขนสงทางทอ ตองมีการ
R1_B&T#233_p32-33_Pro3.indd 33
กําหนดตําแหนงที่ตั้งสถานที่รับและสง สินคาที่แนนอน 3. กลยุทธศูนยกระจายสินคา การ หาที่ตั้งศูนยรวบรวมและกระจายสินคา ตามจุดยุทธศาสตรต าง ๆ ที่สามารถ กระจายและสงตอไปยังจังหวัดใกลเคียง หรือประเทศเพื1อนบาน มีการจัดระบบ การขนถายสินคา การจัดพื้นที่การเก็บ สินคา ระบบการจัดสงสินคา (บารโคด / สายพานลํ า เลี ย ง) ระบบบริ ห ารคลั ง สินคา มีการจัดประเภทสินคา ที่จัดเก็บ การบรรจุดวยหนวยมาตรฐาน (Stock Keeping Units: SKU) มีอุปกรณจัดวาง สินคา 4. กลยุทธการขนสงสินคา ทัง้ เทีย่ ว ไปและกลับ การเพิ่มประสิทธิภาพการ ขนสงดวยการลดการวิ่งเที่ยวเปลาหรือ Backhauling management เปนการ จัดการการขนสงทีม่ เี ปาหมายให เกิดการ ใชประโยชนจากยวดยาน (Load utilization) เพราะการขนสงโดยทั่วไปเมื1อสง สินคาเสร็จ จะตีรถวิ่งเที่ยวเปลากลับมา ซึ่งทําใหเกิดตนทุนของการประกอบการ เพิ่มสูงขึ้นโดยเปลาประโยชน ซึ่งตนทุน ทีเ่ กิดขึน้ มานีน้ บั เปนตนทุนที่ไมกอ ใหเกิด มูลคา (Non-value added cost) และผู ประกอบการต อ งแบกรั บ ภาระต น ทุ น เหลานี้ ซึ่งเปนสวนสําคัญในการทําให ตนทุนการประกอบการสูงขึ้นแตอยางไร ก็ตาม การบริหารการขนสงเทีย่ วกลับ ใน ปจจุบนั ยังไมสามารถดําเนินการไดอยาง มีประสิทธิภาพมากนักเนื1องจากไมทราบ ปริมาณความตองการในการขนสงสินคา รวมถึงจุดหมายปลายทางของสินคา ที่ สําคัญปริมาณความตองการการขนสง สินคาระหวางตนทางและปลายทางมัก จะมีปริมาณไมเทากัน 5. กลยุทธการใชระบบเทคโนโลยี สารสนเทศมาชวยในการลดตนทุนโลจิสติ ก ส และการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพใน การขนสง คือ ระบบบริหารจัดการการ ขนสงสินคา (Transportation management system; TMS) ซึ่งเปนเครื1องมือ ในการวางแผนการขนสง เพื1อใหบรรลุ เปาหมายของธุรกิจการขนสง ซึ่งก็คือ ความรวดเร็วและตนทุนที่ประหยัดที่สุด องคประกอบของระบบ TMS คือ การ บริหารการจัดการดานขนสง (Transportation manager) ซึ่งมีหนาที่ในการ วางแผนการดําเนินงานขนสงและอีกองค ประกอบหนึ่ง คือ การเพิ่มประสิทธิภาพ ในการขนสง (Transportation optimizer) มี ห น า ที่ ช ว ยการตั ด สิ น ใจในเรื1อ งการ บรรทุกสินคา และการจัดวางเสนทางให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ภายใต ข อ จํ า กั ด ตางๆ การทํ า งานของระบบ TMS จะ ครอบคลุมตั้งแตการจัดการใบสงสินคา
การเลื อ กเส น ทางที่ ป ระหยั ด ที่ สุ ด (Routing) การใชรถอยางมีประสิทธิภาพ (Utilization) การจั ด ตารางเดิ น รถ (Scheduling) การจัดสินคา ขึ้นรถแตละ คัน (Loading) ลวนแลวแตเปนงานทีต่ อ ง ใชเวลาในการวางแผนคอนขางมาก หาก ตองการใหตนทุนคาขนสงตํ่าสุด ดังนั้น ระบบวางแผนการจัดสงสินคาจึงเขามา
ชวยทําใหผวู างแผนสามารถวางแผนการ จัดสงสินคา ไดอยางรวดเร็วโดยอาศัย ข อ มู ล จากระบบติ ด ตามยานพาหนะ อั ต โนมั ติ ด ว ยระบบดาวเที ย มบอก ตําแหนง (Automatic vehicle location system; AVLS) และข อ มู ล อื1น ๆ ที่ เกี่ยวของ
11/7/13 2:02 AM
34 BUS&TRUCK • LOGISTICS ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556 LOGISTICS
การพัฒนาระบบเทคโนโลยีโลจิสติกส (4) (เรียบเรียงจากการพัฒนาระบบเทคโนโลยีโลจิสติกส : คูมือแนะนําแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพของบริการดานโลจิสติกสสําหรับ SMEs) จากฉบับที่แลวที่กลาวถึงเรื1อง ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศในงาน โลจิสติกสทดี่ ี ประกอบดวย ฮารดแวร ชองทางสื1อสาร และซอฟแวร ซึ่งได กลาวเรื1องของฮารดแวร ไปแลว ฉบับ นี้จะพูดถึงเรื1องของ ชองทางสื1อสาร และซอฟแวร เพื1อทําใหการจัดการ โ ล จิ ส ติ ก ส ดํ า เ นิ น ก า ร อ ย า ง มี ประสิทธิผล 2. ชองสื1อสาร (Communication channels) หมายถึงรูปแบบใด ๆ ที่สามารถนํามาใชถายทอดสัญญาณ ขอมูลจากอุปกรณตวั หนึง่ ในระบบเครือ ข า ยไปยั ง อุ ป กรณ อี ก ตั ว หนึ่ ง ช อ ง สื1อสารแตละชองอาจใชสื1อนําสัญญาณ ชนิดใดก็ได เชน สายคูบิดเกลียว สาย โคแอ็ ก เขี ย ว สายใยแก ว นํ า แสง สั ญ ญาณไมโครเวฟ สั ญ ญาณผ า น ดาวเทียม และสัญญาณไรสายแบบ ตาง ๆ สื1อแตละชนิดมีทั้งขอดีและขอ เสีย โดยทั่วไปแมวาสื1อที่มีความเร็วใน การถายทอดขอมูลสูงจะมีราคาสูงกวา สื1อทีม่ คี วามเร็วตํา่ แตกม็ คี วามสามารถ ในการถายทอดขอมูลในปริมาณที่มาก กวาทําใหราคาตอหนวยขอมูลตํ่ากวา ตัวอยางเชน การถายทอดสัญญาณ ผานดาวเทียมนั้นมีราคาสูงกวาการใช สายโทรศัพทวงจรเชามาก แตถา มีการ ส ง สั ญ ญาณอยู อ ย า งต อ เนื1อ งตลอด เวลาแลวราคาตอหนวยขอมูลทีส่ ง ออก ไปจะตํ่ากวาการใชสายฯ สื1อแตละชนิด มีความเร็วในการสงขอมูลหลายระดับ ซึ่ ง ต อ งเลื อ กใช ให เ หมาะสมกั บ ฮารดแวรและซอฟตแวรทใี่ ช โดยระบบ ถ า ยทอดสั ญ ญาณในประเทศไทย นอกจากนั้นยังมี โทรศัพทเซลลูลาร หรื อ โทรศั พ ท มื อ ถื อ ระบบพี ดี เ อ (Personal Data Assistant : PDA) GSM (Global System for Mobile communications) ระบบ GPRS (General Packet Radio Service) เปน ระบบสําหรับใหบริการสงขอมูลแบบไร
B&T#233_p34-35_Pro3.indd 34
สาย ที่มีอยูทุกแหงทั่วโลก โดยเชื1อมผาน ระบบเครือขาย GSM ซึง่ เชื1อมผานระบบ อินเตอรเน็ต เพื1อสนับสนุนการใชงานใน องคกร และผูบริโภคดวยความเร็วถึง 40 kbit/วินาที EDGE (Enhanced Data rates for GSM Evolution) เปนเทคโนโลยี ทีส่ ามารถสงขาวสารขอมูลมากกวาระบบ GPRS ไดสูงถึง 3 เทา และ 3G/UMTS เปนระบบใหมในอนาคตอันใกลนี้ ซึ่ง ถื อ ว า เป น แนวโน ม ทางสั ง คม ทาง เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีปจจุบัน ซึ่ง ถือวาเปนการเริ่มตนที่ดี 3.ซอฟแวร (Software) ในปจจุบนั การจัดการโลจิสติกสนยิ มใชซอฟแวรโดย ใช เวบเบสเทคโนโลยี (Web Based Technologies) ผ า นอิ น เตอร เ น็ ต อินทราเน็ต และเอ็กซทราเน็ต โดยนิยม พัฒนาดวย Dot Net Frame Work ของ Microsoft หรือ JAVA2E รวมถึงระบบ ซอฟแวรการวางแผนทรัพยากรองคกร (ERP) การจัดการขนสง (TMS) การ จั ด การยานยนต ในบริ ษั ท (Fleet management) ระบบการจัดการบรรทุก สิ น ค า ระบบจองระวาง และระบบ ศุลกากรแบบไรกระดาษ ซึ่งกอนจัดซื้อ ควรไดศึกษาอยางละเอียด โดยซอฟแวร ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ในองค ก รคื อ ซอฟแวร ก าร วางแผนทรัพยากรองคกร (ERP) มีดังนี้ • ซอฟทแวรการวางแผนทรัพยากร องคกร (Enterprise Resource Planning : ERP ) เปนซอฟแวรที่ใชเปนเครื1องมือ ในการจัดการกระบวนการทางธุรกิจโดย ใชขอมูลรวมกันผานทุกฝายในองคการ และยังสามารถเชื1อมขอมูลทั้งซัพพลาย เชน ซึ่ ง จะเป น ข อ มู ล ในทางธุ ร กิ จ ที่ มี ประโยชนมาชวยตัดสินใจในการดําเนิน งานในทุกฝายของบริษทั เชน ฝายจัดการ สินคาคงคลัง ฝายจัดซื้อ และฝายบัญชี การเงิน เปนตน นอกจากนี้ยังเกี่ยวของ กับความตองการ และการดูแลติดตาม ลูกคา ซึ่งใช ไดทั้งภายในและภายนอก บริ ษั ท ดั ง นั้ น ERP จึ ง เป น ระบบ
สารสนเทศทีจ่ าํ เปนสําหรับบริษทั ทีด่ กี วา 2. การขายและการตลาด (Sales ระบบพาณิ ช ย อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ธ รรมดา and Marketing) จะสนั บ สนุ น ใน ช ว ยให บ ริ ษั ท จั ด การทรั พ ยากรให มี กิจกรรมที่เกี่ยวของกับลูกคา คําสั่ง ประสิทธิภาพ สามารถใหบริการลูกคาดี กระบวนการผลิต รูปรางภายนอกของ ขึ้นแก ไขปญหาที่เกิดกับลูกคาใหงายขึ้น ผลิตภัณฑ และการสงมอบ สวนราคา ทํ า ให ก ารผลิ ต รวดเร็ ว ตามที่ ลู ก ค า และโปรโมชั่นก็เปนทางเลือกในการ ตองการ เชน ลูกคาสั่งสินคาจากระบบ ตัดสินใจในการสัง่ ซือ้ สินคาอีกทางหนึง่ ออนไลน ก็สามารถเลือกสินคาไดอยาง ฝายขายจะปลอยใหนักวิเคราะหกําไร รวดเร็วจากแคตตาล็อค สวนใบสั่งซื้อจะ ในขอบเขตราคาที่ตางกัน ในเรื1องของ จั ด ทํ า ขึ้ น และส ง ไปยั ง ฝ า ยผลิ ต โดย การลดราคา จายเงินคืน และการสง อัตโนมัติ ขอมูลที่ปอนเขาในระบบเพียง มอบสินคาในเวลาที่แนนอน สามารถ ครั้งเดียว แลวจะสงขอมูลไปยังทุกฝาย มองเห็นถึงความสําเร็จของกิจการและ โดยฝายบัญชีไมตองบันทึกรายการวัสดุ ทํางานในกระบวนการผลิตสินคาทีม่ อี ยู ใหม เพราะการบันทึกขอมูลจะทําครั้ง เหมือนเปนกระบวนการ งาย ๆ ทีต่ อ ง เดี ย วเหมื อ นกั น ทั้ ง ระบบ เป น ระบบ ตัดสินใจอยางรวดเร็วและสามารถสั่ง สนับสนุนแผนทางธุรกิจ ทีร่ วบรวมขอมูล งานไดเต็มที่ หัวหนาสามารถกันสินคา เพื1อชวยในการตัดสินใจ ในเวลาเดียวกัน ไวสําหรับลูกคาเฉพาะ หรือลูกคาที่ ยังรวมและควบคุมขอมูลเพียงชุดเดียว ตองการแนนอนได เทานัน้ มีมาตรฐานกระบวนการผลิตและ 3. การผลิ ต และการจั ด การ ธุ ร กิ จ ทํ า ใ ห ธุ ร กิ จ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ วัตถุดิบ (Production and Materials สารสนเทศในแตละสวนทําใหเกิดความ management) สร า งขึ้ น เพื1อ เป น คิดสรางสรรคมากขึน้ ERP ประกอบดวย เครื1องมือในกระบวนการผลิต รับคําสัง่ ชุดทํางานที่สามารถใช ไดกับบุคคลหรือ การทํางาน รวบรวมคําสั่งการทํางาน กลุม คน ซึง่ จะใชฐานขอมูลทัว่ ไป เพื1อชวย จะใช โปรแกรมเขียนแบบ Auto CAD ให ก ระบวนการผลิ ต มี ก ารกระจาย ปฏิบตั งิ านตามแผนงานการผลิต ใบสัง่ ขอบเขตหนาที่การดําเนินงานออกไป ซึ่ง งาน และตนทุนผลิตภัณฑ คําสัง่ เปลีย่ น ระบบนี้จะเปนระบบที่งายที่สุด ประกอบ กระบวนการวิศวกรรม ขอกําหนดแผน ดวยชุดทํางานเปน 4 สวนดังนี้ งาน ตารางการทํางาน และการผลิต 1. ด า นการเงิ น และการบั ญ ชี แบบขยายวงกวาง 4. จั ด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย (Finance and accounting) ซึ่งไดรวม เอาบัญชีการเงิน การจัดการการลงทุน (Human Resource System) ครอบคลุม ควบคุ ม ต น ทุ น ผลิ ต การจั ด การสิ น ค า เครื1องมือในการจัดการบุคคลทั้งหมด คงคลั ง การจั ด การเกี่ ย วกั บ สิ น ทรั พ ย ประกอบดวย การวางแผนการทํางาน และการควบคุมกิจการ การรวมดังกลาว ตารางพนั ก งาน การฝ ก งาน และ ก็คอื ศูนยกลางของตนทุน ศูนยกลางของ พัฒนาการ บัญชีเงินเดือนและโบนัส กําไร เปนตนทุนของกิจกรรมหลักงบ ลักษณะงาน โครงสรางเงินเดือนและ ประมาณกลาง และการวิเคราะหที่เปน โบนัส และระบบบัญชีเงินเดือนที่ดี ซึ่ง ประโยชน ฝายการเงินจะตองเตรียม ทุ ก ชุ ด ทํ า งานจะเชื1อ มต อ มายั ง คลั ง ขอมูลการเงินที่ตรงกัน และเปนขอมูลที่ ข อ มู ล สํ า หรั บ ERP เพื1อ ใช ใ นการ ทันสมัยในเวลาที่แทจริง และเชื1อมผล วางแผน และสรางรายงานอัจฉริยะ การทํางานเขาดวยกันกับผลกระทบการ (Intelligent Report System) ประกอบ การตัดสินใจในการบริหารตอไป เงิน
11/4/13 11:22 PM
ส อเดียวที่รวบรวมขอมูลสินคาและ บริการสำหรับรถเพ อการพาณิชย ไดครอบคลุมมากที่สุดจากงาน COMMERCIAL VEHICLES AUTO PARTS COMPONENTS AUTO GAS EQUIPMENTS GARAGE & REPAIR LOGISTICS & MATERIAL HANDLING SERVICES ORGANIZATION CHEMICAL FINANCIAL OTHERS TRANSPORTATION
B&T#233_p34-35_Pro3.indd 35
11/4/13 11:22 PM
36 BUS&TRUCK • TEST & REPORT
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556 TEST & REPORT
ZF-EcoLife เงียบ ประหยัด
ZF เกียรคุณภาพที่ใชกันอยาง แพรหลายทั่วโลก เขามาทําตลาดใน ประเทศไทยนานถึง 15 ป โดยใชชื1อ วา บริษัท แซดเอฟ (ประเทศไทย) จํากัด และเมื1อไมนานมานี้ ไดมีการ เปดตัวเกียร 2 รุน ดวยกันที่จะเขามา ตลาดในสวนของรถโดยสาร คือ ZF – EcoLife และ ZF – AS tronic lite แตสาํ หรับครัง้ นีจ้ ะแนะนําการทํางาน ตาง ๆ ของ ZF – EcoLife กันกอน ว า มี ก ารทํ า งานและความแตกต า ง จากรุ น ก อ นอย า งไรบ า งและมี ประสิทธิภาพมากขึ้นอยางไร
B&T#233_p36-37_Pro3.indd 36
ZF – EcoLife เกียรอัตโนมัติไม เพียงแตจะชวยประหยัดเชื้อเพลิงแตยัง มี ก ารทํ า งานที่ เ งี ย บกว า และทํ า ให เครื1องยนตวงิ่ ไดเงียบกวาเดิมอีกดวย ซึง่ มีการดีไซนทอี่ อกแบบมาอยางชาญฉลาด ชวยใหเครื1องยนตควบคุมรอบความเร็ว ไดในระดับตํ่าพรอมดวยเกียรที่ปรับได 6 ระดับโดยโปรแกรมเปลี่ยนเกียร TopoDyn Life ในขณะที่รถกําลังเริ่มออกตัว ความเร็วอัตราหมุนรอบเครื1องสามารถ ลดลงมาไดถงึ 700 ครัง้ ตอนาที เมื1อเทียบ กับรถเกียรอตั โนมัตทิ วั่ ไป ดังนัน้ ไมเพียง แตผูคนบนทองถนนและผูที่มีบานเรือน
อยูใ กลกบั ปายรถเมลทจี่ ะไดรบั ประโยชน นี้เทานั้น แตผู โดยสารเองก็จะสามารถ โดยสารบนรถได โดยไมมเี สียงรบกวนจาก การทํางานดวยเชนกัน เพราะปกติแลว เสียงเครื1องยนตจะดังมากจากการทํางาน ของเครื1องยนต โดยเฉพาะที่นั่งดานหลัง จะมีเสียงทีด่ งั ขึน้ ตามระดับความแรงของ เครื1องยนต โปรแกรมเปลี่ยนเกียร TopoDyn Life ชวยใหเครื1องยนตสามารถเปลี่ยน เปนเกียรตํ่าไดอยางใจนึก โดยขึ้นอยูกับ สภาพภูมปิ ระเทศและนํา้ หนักการบรรทุก ซึ่งโดยรวมแลวการทํางานของเกียรเชน นี้สามารถลดเสียงในเครื1องยนต ได โดย เฉพาะอย า ยิ่ ง เสี ย งการทํ า งานของ เครื1องยนตขณะรถออกตัวที่ปายรถเมล ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย ใ น เ รื1อ ง นี้ ร ว ม กั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคนิ ค โพเซ น (Posen Technical University)ในป 2553 ไดเปด เผยวา ความดังของเสียงลดลงไดถึง 5 เดซิ เ บล นอกจากนี้ ผู เ ชี่ ย วชาญจาก DEKRA ไดรวมยืนยันจากผลการวิจยั ใน ป 2554 พรอมทั้งเสริมวาความดังของ เสี ย งสามารถลดลงสู ง สุ ด ได ถึ ง 6.4 เดซิเบล ขึ้นอยูกับประเภทของรถ ดานเทคนิค โดยทั่วไปแลว การขับ รถโดยมีแรงตานของตัวทอรคคอนเวอร เตอร จะทําใหเครื1องยนตมีเสียงดังและ สิ้นเปลืองพลังงาน แต ZF EcoLife มี
เกียรที่ปรับได 6 ระดับ โดยมีอัตราทด เกียรที่ใกลเคียงกันมาก แตอัตราการ สิ้นเปลืองนํ้ามันจะลดลงเปนอยางยิ่ง ซึ่ ง กรณี นี้ ได รั บ การรั บ รองโดยผู เชี่ยวชาญจาก DEKRA อีกเชนกัน วา ในขณะที่การออกตัวของรถดวยอัตรา เรงสูงสุด ทอรคคอนเวอรเตอรจะหมุน ไดรอบเมื1อรถแลนไปไดระยะเพียง 1.5 เมตรเทานั้น เพราะฉะนั้น การทํางาน ของเครื1องยนตนอกจากจะประหยัด กวาแลว ยังชวยลดอัตราเร็วในการ หมุนรอบเครื1องยนต ซึ่งสงผลถึงเสียง ของเครื1องยนตที่นอยกวาอีกดวย สําหรับการเปดตัวเขาสูตลาด ZF EcoLife ได ส ร า งมาตรฐานของการ ประหยัดพลังงานอันเนื1องมาอันเนื1อง มาจาก โปรแกรม Topodyn โดย โปรแกรมนี้ทําใหเกียรประหยัดการใช นํา้ มันถึง 10% เมื1อเปรียบเทียบกับเกียร รุนกอน อยาง Ecomat ขอมูลทางดาน เทคนิคแสดงใหเห็นถึงจุดที่ทําใหมีการ ใชพลังงานที่นอยกวา โดยสามารถควบ คุมปมไฮดรอลิคไดตามตองการ ซึ่งปม ไฮโดรลิคจะทํางานอยางสมบูรณก็ตอ เมื1อเครื1องยนตทําการขับเคลื1อนอยาง เต็ ม ที่ เ ท า นั้ น ตั ว ซอฟแวร ที่ ค วบคุ ม ระบบไมเพียงแตชว ยปรับเกียรเปนเกียร วางขณะอยูท ปี่ า ยรถเมลเทานัน้ แตชว ย ในขณะล อ หมุ น และรถเคลื1อ นที่ ด ว ย อัตราเร็วตํ่ากวา 12 กิโลเมตรตอชั่วโมง โดยเครื1องยนตทํางานไดเต็มกําลัง จาก เหตุผลทั้งหมดนี้ เครื1องยนตและระบบ เบรกจะทํางานอยางสัมพันธกัน ซึ่งสง ผลให เ กิ ด ประโยชน ใ นเรื1อ งของการ ประหยัดนํ้ามันมันอีกดวย สําหรับฉบับ หนาจะมาแนะการทํางานของ ZF – AS tronic lite
11/4/13 11:28 PM
B&T#233_p36-37_Pro3.indd 37
11/5/13 12:22 AM
38 BUS&TRUCK • COVERS’ STORY ตอจากหนา 1
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
จากปก
ยอดขายปนี้เกิน 50,000 คัน อานิสงสขายดีตามเปนเทนํ้าเททา จากสถิติรวบรวมยอดขายรถใหญ ใน 9 เดือน ตัง้ แตเดือนมกราคม-กันยายน ของป 2556 มียอดจําหนายรวมทุกยี่หอ มากถึง 36,015 คัน โดยในชวงเดียวกัน ของปที่แลวมียอดจําหนาย 26,346 คัน และดวยเวลาทีเ่ หลืออีก 3 เดือน ยอดขาย รวมจะตองถึง 50,000 คันอยางแนนอน ซึ่งยี่หอที่จําหนายไดมากที่สุดคือ อีซูซุ จําหนายได 18,191 คัน ในชวง เดียวกันของปที่แลวจําหนายได 12,109 คัน อันดับสองคือ ฮีโน มียอดจําหนาย รวม 15,146 คัน ในชวงเดียวกันของปที่ แลวจําหนายได 12,083 คัน อันดับสาม ฟู โ ซ จํ า หน า ยได 1,336 คั น ในช ว ง เดียวกันของปที่แลวจําหนายได 1,263 คัน คายยุโรป วอลโว จําหนายไดมาก สุด 935 คัน ในชวงเดียวกันของปที่แลว จําหนายได 621 คัน อันดับสอง สแกน เนีย จําหนายได 319 คัน ในชวงเดียวกัน ของปที่แลวจําหนายได 200 คัน อันดับ สาม คาย MAN จําหนายได 54 คัน ใน ชวงเดียวกันของปที่แลวจําหนายได 10 คัน ประเภทรถขนาด 2-3 ตันนัน้ อันดับ หนึ่งเปน อีซูซุ จําหนายไดมากถึง 4,869 คัน ในชวงเดียวกันของปที่แลวจําหนาย ได 3,232 คั น อั น ดั บ สอง ค า ยฮี โ น จําหนายไดมากถึง 1,952 คัน ในชวง เดียวกันของปที่แลวจําหนายได 1,205 คัน และอันดับสามคือ ฟูโซ จําหนายได 116 คั น ในช ว งเดี ย วกั น ของป ที่ แ ล ว จําหนายได 116 คัน สวนรถประเภท 3 ตันขึ้นนั้นเริ่ม จากรถ 6 ลอ ซึ่งมีคายฮีโนนําอันดับหนึ่ง ซึ่งใน 9 เดือนแรกจําหนายได 5,866 คัน และในชวงเดียวกันของปที่แลวจําหนาย ได 4,778 คัน อันดับสองเปนคายอีซูซุ ใน 9 เดือนแรกจําหนายได 5,722 คัน และในชวงเดียวกันของปที่แลวจําหนาย ได 4,051 คัน และอันดับสามคือ คาย ฟูโซ ใน 9 เดือนแรกจําหนายได 177 คัน และในชวงเดียวกันของปที่แลวจําหนาย ได 238 คัน ประเภทถัดมาเปนประเภท 10 ลอ โดยมีคา ยอีซซู นุ าํ ใน 9 เดือนแรกจําหนาย ได 5,133 คัน และในชวงเดียวกันของป ที่แลวจําหนายได 3,197 คัน อันดับสอง เปนฮี โน ใน 9 เดือนแรกจําหนายได 4,985 คัน และในชวงเดียวกันของปที่ แลวจําหนายได 3,432 คัน ถัดมาเปน คายฟูโซ ใน 9 เดือนแรกจําหนายได 923 คัน และในชวงเดียวกันของปที่แลว จําหนายได 835 คัน และสุดทายคือ คาย ฝงยุโรปอยาง MAN ใน 9 เดือนแรก จําหนายได 21 คัน และในชวงเดียวกัน ของปที่แลวจําหนายได 8 คัน
B&T#233_p38-39_Pro3.indd 38
ประเภท 12 ลอยังคงเปนผูนํา 2 อันดับ ไดแก คายอีซูซุ ใน 9 เดือนแรก จําหนายได 486 คัน และในชวงเดียวกัน ของปที่แลวจําหนายได 239 คัน และ คายฮีโน ใน 9 เดือนแรกจําหนายได 154 คั น และในช ว งเดี ย วกั น ของป ที่ แ ล ว จําหนายได 110 คัน สํ า หรั บ ประเภทรถหั ว ลากโดยมี คายฮีโนเปนผูน าํ ใน 9 เดือนแรกจําหนาย ได 2,116 คัน และในชวงเดียวกันของป ทีแ่ ลวจําหนายได 2,497 คัน ตามติดดวย คายอีซูซุ ใน 9 เดือนแรกจําหนายได 1,931 คัน และในชวงเดียวกันของปที่ แลวจําหนายได 1,390 คัน คายวอลโวใน
9 เดือนแรกจําหนายได 935 คัน และใน ชวงเดียวกันของปทแี่ ลวจําหนายได 550 คั น ค า ยสแกนเนี ย ใน 9 เดื อ นแรก จําหนายได 200 คัน และในชวงเดียวกัน ของปที่แลวจําหนายได 85 คัน คายฟูโซ ใน 9 เดือนแรกจําหนายได 120 คัน และ ในชวงเดียวกันของปที่แลวจําหนายได 74 คัน คาย MAN ใน 9 เดือนแรก จําหนายได 3 คัน และในชวงเดียวกัน ของปที่แลวจําหนายได 2 คัน และคาย สุดทายคายทาทาใน 9 เดือนแรกจําหนาย ได 1 คัน และในชวงเดียวกันของปทแี่ ลว จําหนายได 18 คัน ฝง ประเภทรถโดยสารมีคา ยสแกน
ยอดขายรถญี่ปุน
เนี ย นํ า อั น ดั บ หนึ่ ง ใน 9 เดื อ นแรก จําหนายได 119 คัน และในชวงเดียวกัน ของปที่แลวจําหนายได 110 คัน รอง มาคายฮีโน ใน 9 เดือนแรกจําหนายได 73 คัน และในชวงเดียวกันของปที่แลว จําหนายได 61 คัน ตามดวยคาย MAN ใน 9 เดือนแรกจําหนายได 30 คัน ตาม คิดมาดวยคายเบนซ ใน 9 เดือนแรก จําหนายได 25 คัน และในชวงเดียวกัน ของปที่แลวจําหนายได 33 คัน สุดทาย คายแดวู ใน 9 เดือนแรกจําหนายได 8 คัน และในชวงเดียวกันของปที่แลว จําหนายได 2 คัน
ยอดขายรถยุโรป
HINO 15,146 ISUZU 18,191
VOLVO 935
SCANIA 319
MAN 54
FUSO 1,336
คายรถจีนมาแรง แตไมแจง ค า ยรถใหญ จ ากจี น มี ทั้ ง รถ บรรทุกและรถโดยสาร คาดวาใน แตละปจะสามารถทํายอดขายไดสูง ถึงปละกวา 5,000 คัน เริ่ ม ตั้ ง แต ร ถโดยสารยี่ ห อ ซันลองทีเ่ ฉลีย่ จะมียอดขายอยางนอย 500 คัน ยีห่ อ คิงลองทีม่ กี ลุม ลูกคาเปา หมายปละกวา 400 คัน ยีห่ อ แยงซี ถือ เปนนองใหมทเี่ ขามาทําตลาดไดเพียง 2 ป และตั้งยอดขายไวปละอยางนอย 100 คัน และยี่หอยูทง ที่อยางนอย ก็ไดกวาปละ 100 คันเหมือนกัน สวนทางดานรถบรรทุกนัน้ คาย ที่ทํายอดขายไดมากสุดคือ ไซโนทรัค เนื1องจากมีตวั แทนจําหนายมากกวา 5 บริษทั ซึง่ แตละบริษทั ไดวางเปาหมาย การขายไวเฉลี่ยรวมกันแลวมากกวา 700 คัน ยีห่ อ โฟตอน ในปนี้ ไดวางยอด ขายไวที่ 600 คัน ยีห่ อ แซคแมน FAW
ดายุน ตงฟง DF ที่แตละคายไดวางเปา ขายพอ ๆ กันคือคายละประมาณ 300 คัน นอกจากนี้ แ ล ว ยั ง มี ร ถจี น ยี่ ห อ ใหม ๆ เขามาเสริมตลาดเรื1อย ๆ อีก โดย มุงเจาะกลุมลูกคาเฉพาะหรืออาจจะนํา มาทําการขนสงเอง แตคายรถจีนทุกคายมีความคิดที่ เหมือนกัน คือจะไมทําการแลกเปลี่ยน ยอดขายในแตละเดือน เพราะเกรงวา หากขายไดนอ ย คูแ ขงก็จะนํามาทับถมให กลุมลูกคาทราบ ดังนั้นคนที่อยูในวงการ รถใหญหากตองการทราบยอดขายรถจีน แตละคาย ก็ตอ งรอดูยอดจดทะเบียนของ กรมการขนสงทางบกเทานั้น ซึ่งการกระทําของคายรถใหญจาก จีนนี้ ถือวาเปนการทําใหการรายงานผล ภาวะเศรษฐกิจคลาดเคลื1อนจากความ เปนจริง เพราะจํานวนของรถใหญนั้น
เมื1อ วิ่ ง งานจริ ง จะทราบถึ ง ปริ ม าณ การใชนาํ้ มันดีเซลตอวัน จํานวนสินคา ที่ไดทาํ การขนสง เพราะตองเสียภาษี เมื1อทําการนําสินคาลง สิ่งที่ทําใหธุรกิจตาง ๆ ประเมิน คาความเคลื1อนไหวของเศรษฐกิจผิด พลาดนัน้ ก็อาจสงผลถึงการวางแผน ทางการตลาด การขาย และการ บริการลูกคาสัมพันธผดิ พลาด อาจจะ สงผลถึงความมั่นคงของบริษัทก็เปน ไปได ดังนั้น จึงมีนักวิชาการหลาย แขนงตองการที่จะใหแตละคายรถ ใหญ จ ากจี น แลกเปลี่ ย นข อ มู ล การ ขายกับ คา ยญี่ปุ น ค า ยยุโ รป ค า ย เกาหลี เพราะจะทํ า ให ก ารพั ฒ นา ประเทศเปนไปไดอยางถูกตอง และ จะประสบกับความเจริญกาวหนาตอ ไป
11/4/13 11:42 PM
WORLD NEWS • BUS&TRUCK 39
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
วงการตางแดน ตอจากหนา 1
คมนาคม
DF ปฏิวัติการทํางานใหม ปรับทุกอยาง สูระบบสากล ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด เปด เผยวา ในป 2557 ทางบริษัทฯ ปรับเพิ่ม ยอดขายเป น 400 คั น จากในป นี้ ที่ จําหนายได 150 คัน ดวยสาเหตุหลักคือ รถหัวลากเครื1องยนตดีเซล 360 แรงมา ซึ่งถือเปนรุนท็อปสุดในประเทศจีน โดย บริษัทฯไดนํามาแสดงในงาน BUS & TRUCK ’13 ที่ผานมา และไดใชกลยุทธ ใหมคอื ใหกลุม ลุกคาเปาหมายไดนาํ ไปใช งานจริงกอน หลังจากนั้นจะมาสอบถาม ความพึงพอใจ หากทุกอยางตรงกับความ ตองการก็จะทําใหยอดขายพุงทะลุเปา หมาย แต ห ากมี อุ ป กรณ ชิ้ น ใดไม ต รง ความตองการจะใหทางโรงงานแมทาํ การ ปรับปรุงเพื1อจะไดนาํ กลับมาทําการตลาด ตอไป ในสวนของการบริหารงานนั้น ได จั ดทํ าใหเปนระบบสากลทั้งหมด เริ่ม ตั้งแตอะไหลทุกชิ้นจะตองมีบารโคดเพื1อ ยืนยันวาเปนของแท คุณภาพการใชงาน ของรถก็สามารถใชงานไดนานขึ้น และ เพื1อเพิ่มความสะดวกใหกับลูกคา จึงมี แผนการตัง้ บริษทั ไฟแนนซเพื1อปลอยสิน เชื1อเอง และเพื1อเปนการรองรับรถเกา DF ที่ลูกคาตองการขายตอจะตั้งศูนยรถ
มือสอง เพื1อทําใหทั้งตลาดรถใหมและ ตลาดมือสองมีราคาจําหนายที่สูง คุณปุณณภา กลาวตอวา ในสวน ของสํานักงานใหญที่ถนนบางนา-ตราด กม. 28 ในเดือนธันวาคมนีจ้ ะสามารถเปด ศูนยอบรมคนขับของลูกคาได และจะเปด ศูนยบริการไดประมาณกลางป 2557 ซึ่ง มัน่ ใจวาเปนศูนยทมี่ เี ทคโนโลยีใหบริการ ไดครบครันสําหรับรถใหญ DF ที่วิ่งอยู บนทองถนนทุกคัน ดานสาขานัน้ ในปหนาจะมีทงั้ หมด 4 แหงดวยกัน ไดแก สํานักงานใหญ สระบุรี อุบลราชธานี และนครปฐม ซึ่ง จะสร า งความมั่ น ใจให กั บ ลู ก ค า ที่ ใ ช บริการในแตละภูมภิ าคได รวมทัง้ ยังมีรถ โมบายเซอรวิสอีกประมาณ 4 คัน ที่ สามารถใหบริการและดูแลรถ DF ได ทั้งหมด ในปจจุบันนี้ รถใหญ DF จะไมเห็น จอดเสียอยูขางถนนเลย ซึ่งสามารถบง ชัดไดวาเปนรถที่มีคุณภาพสูง รวมทั้ง ทางบริษัทฯยังใหบริการหลังการขายที่ดี มีการอบรมใหความรูแกคนขับ เพื1อที่จะ ได ดู แ ลรถได ด ว ยตั ว เองยามเกิ ด เหตุ ขัดของบนทองถนน
ยานยนต ทั่วโลก : ‘โตโยตา’ เรียกคืนรถ 5 รุน กวา 8.8 แสนคัน สํานักขาวตางประเทศ รายงานวา โฆษกหญิงของ บริษัท โตโยตา มอเตอรส ออกมาเปดเผยวา บริษัทไดประกาศเรียกคืนรถ 885,000 คัน จาก ทั่วโลก เนื1องจากมีปญหานํ้ารั่วจากเครื1องปรับอากาศ ไหลเขาไปในระบบ ควบคุมถุงลมนิรภัยและอาจทําใหเกิดไฟฟาลัดวงจร ซึ่งอาจสงผลกระทบตอ ชีวิตผูขับขี่ หากรถประสบอุบัติเหตุ แตระบบแอรแบ็ค ไมทํางาน หลังไดรับ รายงาน มีผูบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ 2 ราย จากสาเหตุดังกลาว รายงาน ระบุวา รถที่จะถูกเรียกคืนในครั้งนี้ ประกอบดวย รุนคัมรี, คัมรี ไฮบริด, อวาลอน, อวาลอน ไฮบริด และ รุนอแวนซา ที่ผลิตในป 2012-13 ซึ่ง 847,000 คัน อยูใน ทวีปอเมริกาเหนือ สวนทีเ่ หลืออยูใ น ทวีปยุโรป เอเชีย และตะวันออกกลาง ทัง้ นี้ โตโยตา ไดเรียกคืนรถลอตใหญมาอยางตอเนื1อง โดยครั้งนี้เปนครั้งที่ 3 ในปนี้ ตอจากการเรียกคืน ราฟโฟร, เล็กซัส รุน HS 250H ในสหรัฐ จํานวน 780,000 รถรุน มินิแวน เซียนนา 615,000 คัน ในสหรัฐ เมื1อเดือนกันยายนที่ผานมา
นวัตกรรม
ตอจากหนา 1
เบสทรินฯ ฮับออฟอาเซียน ทําหนาที่สงออกแทนจีน กรุ ป จํ า กั ด เป ด เผยว า ขณะนี้ ท าง บริษัทฯ ไดรับมอบหมายจากบริษัทแม ประเทศจีนใหเปนศูนยกลางการผลิตเพื1อ อาเซียน โดยมีโรงงานประกอบตั้งอยูที่ กิ่งแกว สมุทรปราการ มีกําลังการผลิต สูงสุดปละ 1,500 คัน โดยเปนรถโดยสาร เครื1องยนตดีเซล และเครื1องยนต NGV ตั้งแต 260, 320 และ 360 แรงมา โดย จะเริ่มผลิตไดตั้งแตป 2557 เปนตนไป สําหรับแผนการตลาดในปแรกตั้ง ไว สํ า หรั บ การประกอบรถเมล ใ หม เครื1องยนต NGV ใหกับ ขสมก. รวมทั้ง รถโดยสารสําหรับ บขส. ดวย ซึ่งขนาด รถที่ประกอบมีตั้งแต 12-15 เมตร แลว แตความตองการของลูกคา สวนในปถัดไปจะผลิตใหกับตลาด รถโดยสาร ไม ว า จะเป น รถโดยสาร ประจํ า ทาง รถรั บ -ส ง พนั ก งานตาม โรงงาน และรถโดยสารไมประจําทาง รวมถึงตลาดรถโดยสารในกลุมอาเซียน อีกดวย ซึง่ ศักยภาพของโรงงานประกอบ นั้นจะเปนไลนประกอบดวยเครื1องจักร ผลิ ต ได ทั้ ง รถพวงมาลั ย ซ า ยและพวง มาลัยขวา รวมทั้งยังรับจางประกอบรถ โดยสารใหกับเอกชนทั่วไปอีกดวย
R1_B&T#233_p38-39_Pro3.indd 39
รัฐมิชิแกน : ปรับปรุงบริการรถไฟดึงผูโดยสาร ทางการรัฐมิชิแกน และการรถไฟ Amtrak ซึ่งเปนผู ใหบริการโดยสาร รถไฟเพียงรายเดียวในสหรัฐฯ รวมกันวางแผนลงทุนในอีกหลายปขางหนา เปนเงินนับลานดอลลารเพื1อปรับปรุงบริการของรถไฟโดยสาร ปจจุบันผู โดยสารสามารถเอารถจักรยานขึ้นไปบนรถไฟไดดวย จะมีอินเตอรเน็ตในเดือน มกราคมนี้ จะปรับปรุงระบบรางชวง Kalamazoo ถึง Dearborn เพื1อใหรถ ทําความเร็วเพิ่มขึ้น ลดเวลาเดินทางใหนอยลง ผู โดยสารจะพบกับสิ่งอํานวย ความสะดวกที่นาสนใจ การปรับปรุงนี้เพื1อใหมีรายไดจากผู โดยสารเพิ่มขึ้น และ เพื1อลดเงินสนับสนุนจากรัฐใหนอ ยลงในปนี้ มียทุ ธศาสตรทสี่ าํ คัญกวา เนื1องจาก ทางการไดมีกฎหมายมา 5 ป แลวใหทางรัฐมิชิแกนปรับปรุงเสนทางสาย Wolverine ทีเ่ ชื1อมโยง Pontiac และ Chicago โดยมีสถานีรายทางผาน Detroit, Ann Arbor, Jackson, Battle Creek และ Kalamazoo. โครงการนี้เกิดขึ้นมาได เพราะทางรัฐไดปรับแผนใชงบประมาณ โดยโยกงบจากสายทางอื1นมาใชเพื1อ ปรับปรุงเสนทางนี้กอน เพื1อใหสอดคลองกับอุปสงคของผู โดยสาร
ดานการเปดใชประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนนัน้ ดวยรถโดยสารทีป่ ระกอบใน เมืองไทยประกอบขึ้นจากชิ้นสวนที่ผลิต ในอาเซียน ตรงตามจํานวนที่รัฐบาลได กําหนดไว ก็ไมตอ งเสียภาษีการสงออกไป ยังอาเซียน จึงทําใหรถโดยสารซันลอง เปนผูผ ลิตมีคณ ุ ภาพสูง แตราคาจําหนาย สมเหตุสมผล เหมาะกับลูกคาในกลุม อาเซียนเปนอยางมาก รถโดยสารซันลองถือเปนคายรถ โดยสารจากจีนยี่หอแรกที่ ไดเขามาทํา ตลาดในเมืองไทย โดยกลุมลูกคาที่ตรง เปามากสุดคือ รถเมล ขสมก. รถรวม ขสมก. รถ บขส. และรถรวม บขส. รวม ทั้งรถโดยสารไมประจําทางอีกดวย เมื1อ คายรถโดยสารจากจีนยี่หออื1นมองเห็น การเติบโตของตลาด จึงเริ่มเขามาทํา ตลาดในเมืองไทยเหมือนกัน โดยมีที่ทํา ตลาดอยูอยางยี่หอแยงซี โฟตอน และ ยูท ง นอกจากนี้ยังมีบางยี่หอ ที่ ไดเขามา ทําตลาดเพียงระยะสั้น ๆ แสดงใหเห็นวาคายรถโดยสารทีท่ าํ ตลาดไดตอไปนั้น ตองบริหารโดยบริษัท ที่มีคุณภาพ เพราะไดรับความไววางใจ จากกลุมลูกคาเปนอยางดี
รัฐมิชิแกน : GM & U.S. Army รวมมือพัฒนา Fuel Cell เจนเนอรัล มอเตอรส และ U.S. Army Tank Automotive Research, Development & Engineering Center หรือ TARDEC ประกาศลงนามใน สัญญา Cooperative Research and Development Agreement รวมกัน พัฒนาเทคโนโลยีรงั เชือ้ เพลิงไฮโดรเจนหรือ Fuel Cell การประกาศความรวม มือในครั้งนี้ มีขึ้นหลังจาก จีเอ็ม และ ฮอนดา เซ็นสัญญาความรวมมือระยะยาว เมื1อเดือนกรกฎาคมที่ผานมา เพื1อรวมกันพัฒนาระบบรังเชื้อเพลิงเจนเนอเรชั่น ตอไป รวมทัง้ เทคโนโลยีในการจัดเก็บไฮโดรเจน ปจจุบนั จีเอ็ม มีหอ งแล็บสําหรับ พัฒนาระบบรังเชื้อเพลิงในเมืองปอนเตี๊ยก รัฐมิชิแกน ซึ่งจะใชในการวิจยั และ พัฒนาระบบรังเชื้อเพลิงเกือบทั้งหมดของ จีเอ็ม สวนหองแล็บของ TARDEC ซึ่งอยูหางออกไปประมาณ 32 กิโลเมตร จะใหความรวมมือเทาที่จะทําได รวม ทั้งแบงปนขอมูลดานวัสดุศาสตรและขอมูลในดานตาง ๆ รวมทั้งใชเปนหอง ทดลอง สําหรับการรวมมือกับ จีเอ็ม ในครั้งนี้ กองทัพสหรัฐจะนําเทคโนโลยีรัง เชื้อเพลิงไปใชกับยานยนตภาคพื้นดินของกองทัพ และมีการแซวกันเลน ๆ วา อีกไมนานอาจไดเห็นรถถังที่ใชพลังงานไฮโดรเจนก็เปนได
ปฎิทินขาว วัน-เดือน-ป
รายละเอียดงาน
ติดตอ
29 พ.ย.-10 ธ.ค.56 Thailand International Motor Expo 2013 อาคารชาเลนเจอร 1-3 อิมแพ็คเมืองทองธานี
บริษัท สื่อสากล จํากัด โทร.0-2641-8444
14-23 ธ.ค. 2556
Thailand Motor Festival 2013 @ หาดใหญ ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา หาดใหญ
INSPIRE ENTERTAINMENT CO.,LTD. โทร.0-2508-8100
7-9 ก.พ.2557
สถาปนิกทักษิณ 57 ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลเฟรสติวัล หาดใหญ
TTF International Co., Ltd. Tel: 0-2717-2477 E-mail : info@ttfintl.com www.architectexpo.com
11/7/13 2:04 AM
40 BUS&TRUCK • DIRECTORY
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556 DIRECTORY ISUZU บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร. 0-2966-2111
SUNLONG บริษัท เบสทริน กรุป จํากัด โทร.0-2750-0227, 08-9801-7777 SLK6750CNG SLK6852D SLK6852CNG SLK6102D SLK6102CNG SLK6111CNG SLK6120D SLK6126CNGB SLK6145D ราคาดังกลาวเปนราคานําเขารถสําเร็จรูปทั้งคัน
Bus 7.5 m. Bus 8.5 m. Bus 8.5 m. Bus 10 m. Bus 10 m. City Bus 12 m. Coach 12 m. Coach 12 m. Coach 14.5 m.
YUTONG บริษัท ไทยคูชัย จํากัด โทร. 0-2393-9831-2
YUTONG มินิบัส 6 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 8 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 12 เมตร
มินิบัส รถธรรมดา รถปรับอากาศ
CNG ดีเซล CNG ดีเซล CNG CNG ดีเซล CNG ดีเซล
-
2,650,000 4,000,000 4,300,000 4,600,000 4,900,000 5,400,000 6,000,000 6,500,000 7,500,000
-
-
1,500,000 2,500,000 4,850,000
HINO บริษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2900-5000 Hotline 0-2900-5260
Series 3 XZU600R-4W Series 3 XZU600R-6W Series 3 XZU650R (T&S) Series 3 XZU710R (T&S) Series 3 XZU720R Series 3 XZU600R-4W Cooler less Series 3 XZU600R-6W Cooler less Series 3 XZU650R (T&S) Cooler less
ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ
136 150 150 150 150 136 150 150
948,000 978,000 1,035,000 1,190,000 1,206,000 938,000 968,000 1,025,000
Series 5 FC9JEKA (T&S) Series 5 FC9JJKA Series 5 FC9JELA (T&S) Series 5 FC9JJLA (Radial Tube) Series 5 FC9JLLA (Radial Tube) Series 5 FG8JGLD Series 5 FG8JJLA Series 5 FG8JMLA Series 5 FG8JPLA Series 5 FG8JRLA Series 5 FG8JPLG (Air-Sus Series 5 FG8JGLE Series 5 FG8JJLB
6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
145 145 175 175 175 212 212 212 212 212 212 212 212
1,350,000 1,360,000 1,410,000 1,430,000 1,440,000 1,750,000 1,770,000 1,780,000 1,790,000 1,810,000 1,915,000 1,650,000 1,660,000
10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 12 ลอ 8x4 12 ลอ 8x4
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
212 212 251 212 251 330 330 344 380 380 330 380 380
2,345,000 2,385,000 2,415,000 2,485,000 2,535,000 2,820,000 2,850,000 2,905,000 2,965,000 3,035,000 2,575,000 3,130,000 3,170,000
หัวลาก 6 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
212 251 330 330 344 344 344 380 380 380
1,865,000 2,650,000 2,945,000 2,985,000 2,975,000 3,015,000 3,085,000 3,055,000 3,095,000 3,165,000
รถบัส รถบัส
6 สูบ 6 สูบ
251 380
2,145,000 3,605,000
Series 5 FC4JLNA NGV Series 5 FG1JPKA NGV Series 5 FG1JPKA NGV - Car Carrier Series 5 FL1JTKA-BGT NGV Series 5 FM1JNKD-BGT NGV Series 5 FM1JKKA NGV Series 5 FM2PNMD NGV Series 5 FM2PNMD- A NGV
6 ลอ NGV ขนาดใหญ 6 ลอ NGV ขนาดใหญ 6 ลอ NGV ขนาดใหญ 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ NGV 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
175 220 220 260 260 260 360 360
1,890,000 2,555,000 2,945,000 3,265,000 3,315,000 3,440,000 3,755,000 3,825,000
Series 5 FM2PKMA NGV Series 5 FM2PKMA-PA NGV Series 5 FM2PKMA-P NGV Series 5 FM2PKMA-A NGV
หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 360 360 360
3,850,000 3,960,000 3,890,000 3,920,000
Series 5 FL8JNKA Series 5 FL8JTKA Series 5 FL8JNLA Series 5 FM8JNKD Series 5 FM8JNLD Series 5 FM1ANKD (T Bias) E/G Retarder Series 5 FM1ANKD (T&S Radial) E/G Retarder Series 5 FM1ANLD (T&S Radial) E/G Retarder Series 5 FM2PNLD (T&S) Series 5 FM2PNLD (SPA) ABS Series 5 FM1AKKM E/G Retarder (Mixer) Series 5 GY2PSLA (S) Series 5 GY2PSLA (T&S 380 Ps) PTO Series 5 FG8JGLT Series 5 FM8JKKA Series 5 FM1AKKA (S) E/G Retarder Series 5 FM1AKKA (S) PTO E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (S) E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (S) PTO E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (SPA) ABS Series 5 FM2PKLA (T&S) Series 5 FM2PKLA (S) PTO Series 5 FM2PKLA (SPA) ABS Series 5 RK8JSLA Series 5 RM1ESKU
MAN บริษัท เอ็ม เอ เอ็น คอมเมอรเชียล วีฮีเคิลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-0070-5 MAN-CLA 26.280 6x4 Tractor MAN-CLA 26.280 6x4 Mixer
รถหัวลาก 10 ลอ รถผสมปูน 10 ลอ
-
280 280
2,780,000 2,700,000
รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 460 แรงมา
3,600,000 3,900,000 4,100,000 4,350,000 4,500,000 4,700,000 5,200,000
SCANIA P 360 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MNA P 410 LA6x2MSZ K 410 IB6x2NB K 410 EB6x2NI K 460 EB6x2NI
B&T#233_p40-41_Pro3.indd 40
GXZ77NAF1K(AERO MAX) GXZ77NF1H (AERO MAX) GXZ77N1H (AERO MAX) GXZ77NAF1K GXZ77NF1H GXZ77NT1H GVR34JH (AERO MAX) GVR34JH FYH77SDM FXZ77QDF1H FXZ77PM FVZ77NL FVZ34PSDFH FVZ34PSDH FVZ34PNDH FVM34TSH FVM34QSH FVM34TNAM FVM34RNAM FVM34QNAM FTR34WNXXN FVM34TNM FVM34RNM FVM90QNM FTR34QXXXN FTR34PZL FTR34LZL FTR34JZL FRR90NZL FRR90LSXXN FRR90HZL FRR90NM FRR90LM FRR90HM NQR75L5AH NQR75H5AH NPR75K5NAH NPR75H5NAH NMR85H5FAH NMR85H5TAH NMR85E5AH NLR85E1AH GXZ78NXCFN (AMAX-A) GVR86KCL (10W 6x2 Aero Max) GVR86KCL (6W 4x2 Aero Max) FXZ78QXBFN FVM86WSCXN FVM86TCM FTR86QCFL NPR82K5CAK NPR82H5CAK NMR82H5CAK
10 ลอหัวลาก สองเพลา 10 ลอหัวลาก สองเพลา 10 ลอหัวลาก สองเพลา 10 ลอหัวลาก สองเพลา 10 ลอหัวลาก สองเพลา 10 ลอหัวลาก สองเพลา 6 ลอหัวลาก (4x2) 6 ลอหัวลาก (4x2) 12 ลอหัวลาก สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 6 ลอ 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ 6 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 2 ตัน รถบรรทุก 2 ตัน รถบรรทุก 2 ตัน รถบรรทุก 2 ตัน รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG
9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 7,790 CC. 9,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 9,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 2,999 CC. 2,999 CC. 2,999 CC. 2,999 CC. 9,839 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 9,839 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 4,570 CC. 4,570 CC. 4,570 CC.
360 360 360 360 360 360 300 300 360 360 360 360 300 300 240 300 300 240 240 240 240 240 240 240 240 240 240 240 210 210 210 190 190 190 175 175 150 150 130 130 130 130 354 245 245 354 245 245 220 130 130 130
3,347,000 3,177,000 3,177,000 3,317,000 3,147,000 3,147,000 2,582,000 2,559,000 3,294,000 3,044,000 2,964,000 2,727,000 2,680,000 2,680,000 2,580,000 2,565,000 2,544,000 2,662,000 2,642,000 2,621,000 2,504,000 2,432,000 2,412,000 2,391,000 1,875,000 1,854,000 1,844,000 1,818,000 1,536,000 1,526,000 1,484,000 1,486,000 1,476,000 1,434,000 1,350,000 1,334,000 1,225,000 1,209,000 1,029,000 1,024,000 967,000 937,000 3,957,000 3,754,000 3,394,000 3,844,000 3,456,000 3,375,000 2,580,000 1,627,000 1,617,000 1,432,000
FE71BB8SRDH1 FE73BE6SRDH1 FE84DE6SRDH1 FE85DE7SRDH1 FE85DG7SRDH1 FM65F F1RDH1 FM65F H1RDH1 FM65F M1RDH1 FN61FR2RDH1 FN62FM1RDH1 FN61FM2RDH1 FV51JHR3RDH1 FV51JHR3RDH1
รถบรรทุก 4 ลอ รถบรรทุก 6 ลอ รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชางยาว รถบรรทุก 6 ลอ ชวงสั้น รถบรรทุก 6 ลอ ชวงกลาง รถบรรทุก 6 ลอ ชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ ชวงยาวพิเศษ รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถหัวลาก 10 ลอ
2,977 CC 2,977 CC 2,899 CC 2,899 CC 2,899 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 12,882 CC 12,882 CC
125 125 150 150 150 240 240 240 270 240 270 380 380
934,000 985,000 1,069,000 1,207,000 1,217,000 1,770,000 1,785,000 1,830,000 2,525,000 2,475,000 2,635,000 3,150,000 3,220,000
รถหัวลาก NGV 100% TRACTOR Engine Yuchai
YC 340HP YC 340HP
FUSO บริษัท ฟูโซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-2897
DONGFENG บริษัท ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด โทร.0-2637-5041-3
DONGFENG CNG DONGFENG 8x4 CNG
SINOTRUK หจก. SSK ทรานสปอรต โทร.08-1641-4299, 08-0020-8899
HOWO Series
รถหัวลาก 10 ลอ รถคารโก รถหัวลาก 12 ลอ
9,700 CC 9,700 CC 9,700 CC
DAYUN บริษัท ดายุน ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2503-4668-70
CGC4252 6x4 CGC4253 6x4 CGC1250 6x4 CGC1311 8x4 DYX3250 6x4 DYX3251 6x4 DYX3311 8x4 DYX5250 6x4
3,150,000 3,250,000
345 345 345
2,900,000 3,100,000 3,300,000
Tractor (DIESEL) Tractor (CNG) Cargo (DIESEL) Cargo (DIESEL) Truck+เพลาฮับ Truck+ กระบะดัมพ Mining+ กระบะดัมพ Mixer (DIESEL)
9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี
340 340 340 340 340 340 340 340
2,450,000 2,750,000 2,650,000 2,750,000 2,750,000 3,250,000 3,700,000 2,750,000
รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 8x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4
NGV NGV NGV ดีเซล ดีเซล NGV ดีเซล NGV
350 380 350 336 375 336 336 320
2,725,000 2,825,000 3,075,000 2,425,000 2,525,000 2,775,000 2,475,000 3,150,000
SHACMAN บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188
WP12NG350E40 WP12NG380E40 WP12NG380E40 WP10.336 WP12.375N WP10NG366E40 WP10.336 WP12NG330E40 (GAS)
340 340
11/4/13 11:48 PM
BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 41
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556 BUS & TRUCK MART
k '(-. ,DF@ Ë } ¯ Ó p¦ Ó ¢j ¦ p Ô Ô ~ }~Ó
j ,(324 ¡Ó %- Ë p} × ¥ ~ §
B&T#233_p40-41_Pro3.indd 41
11/4/13 11:48 PM
42 BUS&TRUCK • Q & A
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
ถามทาง
เสียงจากผูอาน
233 ถามทาง สวั ส ดี ค รั บ ที ม งาน BUS & TRUCK ทุกทาน วันนี้ผมจะมา บอกเลาเกาสิบกันถึงเรื1องราวของ งาน BUS & TRUCK ’13 ที่ผานมาเมื1อ วันที่ 7-9 พฤศจิกายน จริง ๆ แลวผมก็ ไปเดินงานอยูเปนประจําทุกป แตปนี้ ตั้ ง ใจเป น พิ เ ศษ เพราะหวั ง จะไปเก็ บ ขอมูลภายในงานทีเ่ ปนประโยชนตอ ธุรกิจ ของผมดวย ตองบอกวางานปนอี้ าจจะไม คอยครึกครื้น ดวยกิจกรรมตาง ๆ ที่ตอง ลดลงไปดวยเหตุการณตาง ๆ มากมาย แตตอ งบอกวาเรื1องของเนือ้ หาสาระและ ความรู รวมไปถึงขอมูลที่เปนประโยชน ในวงการขนสงยังคงแนนเหมือนทุก ๆ ป แตพองานรื1นเริงตาง ๆ เงียบหายไป ก็ อดใจหายไมได เลยตัง้ ใจเขียนเขามาถาม ทีมงาน BUS & TRUCK เพื1อเรียกขวัญ และกําลังใจเสียหนอยวา ในงาน BUS & TRUCK ’14 หรืองานปหนานั้น จะมี กิจกรรมตาง ๆ อยูเ ชนเดิมหรือไม ผมตอง บอกวาคําถามนี้ยังเปนคําถามที่ผมตั้งใจ ถามเผื1อใครอีกหลายคนที่ ไดมีโอกาสได เขารวมงานในปนี้ เพราะเชื1อวาแตละคน ตองรูส กึ เหมือนผมอยางแนนอน ขอบคุณ ครับ
B&T#233_p42-43_Pro3.indd 42
ก อ นอื1น ทางที ม งาน BUS & TRUCK ก็ ต อ งขอเอ ย คํ า ว า ขอบพระคุ ณ เป น อย า งมาก สําหรับผูที่มีโอกาสในการเขารวมงานใน ปนี้ แมวาในปนี้จะไมไดจัดงานสังสรรค รื1นเริงดังเชนที่ผานมา แตตองบอกวา แฟนพันธุแทชาว BUS & TRUCK ก็ยัง ไมหา งหายกันไปไหน ยังคงเขามาเดินชม งานกันอยูในทุก ๆ วัน และสําหรับงาน BUS & TRUCK ’14 ในปหนาตองบอกวาทางทีมงานจะ พยายามสร า งสรรค ง านให มี ค วาม สนุกสนานใหมากกวาเดิมทีเ่ ปนมา ถือวา เปนการคืนความสนุกสนานเผื1อปนี้ ไปใน ตั ว เลยก็ แ ล ว กั น รั บ รองได ว า ความ สนุ ก สนานเราจะทํ า ให สู ง สุ ด จุ ด ปรอท แตกกันเลยทีเดียว สําหรับเรื1องของกิจกรรมทีเ่ ปนเชิง วิ ช าการ เราก็ จ ะไม ทิ้ ง เป น เด็ ด ขาด รับรองเลยวาปหนางาน BUS & TRUCK จะตองครบครันทุกรสชาติ ไมวาจะเปน ความสนุกสนาน ความรูต าง ๆ รวมไปถึง กิจกรรมที่สรางสรรคให ไดรวมสนุกกัน ทางทีมงานตองขอขอบพระคุณอีก ครั้ง สําหรับผูที่ใหความสนใจและผูเขา รวมงานในปนี้ แลวอยาลืมกลับมาพบกัน อีกครั้งในปหนา
คุณสุวิทย เอื้ออารี จังหวัดราชบุรี สวัสดีครับทีมงาน BUS & TRUCK ทุกทาน ผมชื1อสุวิทย เอื้ออารี ในปจจุบัน ผมทํา ธุ ร กิ จ เกี่ย วกั บการนํา เขา ยางรถ โดยสารและรถบรรทุก ผมไดตัดสินใจ สมัครสมาชิกกับหนังสือพิมพ BUS & TRUCK เมื1อประมาณ 1 ปทแี่ ลวตองบอก วาไมมีเลมไหนเลยสําหรับหนังสือพิมพ BUS & TRUCK ทีท่ าํ ใหผมผิดหวัง เพราะ ผมได ใชเนื้อหาสาระและขาวสารตาง ๆ ในหนั ง สื อ พิ ม พ กั บ ทั้ ง ธุ ร กิ จ และชี วิ ต ประจําวันของผม โดยบางครั้งอาจจะไม ไดเกี่ยวของกับยางโดยตรง แตก็ยังคง เปนเรื1องราวที่เกี่ยวของกับแวดวงการ ขนส ง และรถใหญ อ ยู ดี ถื อ เป น การ เพิ่มพูนความรูของผม เพื1อนําไปตอยอด ธุรกิจในอนาคตไดอีกดวย อีกทัง้ ผมยังได อั พ เดทข อ มู ล ต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วของกั บ อุตสาหกรรมยานยนต ไดอยูต ลอดอีกดวย อย า งไรก็ ต ามถ า ถามผมว า อยากให หนังสือพิมพ BUS & TRUCK ปรับปรุง ในแงไหนบาง จริง ๆ ผมอยากจะบอกวา ผมชอบทุกอยางที่ทีมงานไดทํากันมาอยู แลว แตถาอยากจะใหเพิ่มเติมรูปภาพสี ตาง ๆ ใหมากขึน้ เสียหนอย ถือวาเปนการ เพิ่มอรรถรสในการอานของผูอานก็แลว กันครับ
กองบรรณาธิการ สวัสดีคะ คุณสุวิทย เอื้ออารี ทาง ที ม งาน BUS & TRUCK ต อ งขอ ขอบพระคุณเปนอยางมาก ที่ ไดติดตาม ขาวสารกับหนังสือพิมพของเรามาโดย ตลอด และติดตามขาวสารกับทาง BUS & TRUCK ดวย ทางทีมงานของเราจะ พยายามสรรหาขาวสารและเนือ้ หาสาระ ตาง ๆ ที่เปนประโยชนสําหรับคุณผูอาน มานําเสนออยางสมํ่าเสมออยางแนนอน ในสวนของขอเสนอแนะเพิ่มเติม ที่ทางคุณสุวิทยบอกวา อยากจะใหเพิ่ม รูปภาพตาง ๆ เพื1อเพิ่มอรรถรสในการ อ า น ทางที ม งานได รั บ ทราบและจะ พยายามสอดแทรกรูปภาพเพิม่ เติมใหนะ คะ ทุกอยางที่คุณผูอานไดเสนอแนะมา นั้ น ทางที ม งานจะพยายามทํ า การ ปรับปรุงแก ไขใหถูกอกถูกใจกันแบบถึง พริกถึงขิงคะ และหากท า นผู อ า นอยากได รั บ ความรูแ ละขอมูลขาวสารตาง ๆ เพิม่ เติม ทางทีมงาน BUS & TRUCK ขอนําเสนอ อีกหนึง่ ชองทางในการติดตามขาวสารกับ ทางรายการ BUS & TRUCK TV ทุกวัน พฤหัสบดี เวลา 21.00-22.00 น. ทาง @dESIGN CHANNEL PSI ชอง 138 และทาง CTH ชอง 113 คะ
11/4/13 11:52 PM
B&T#233_p42-43_Pro3.indd 43
11/4/13 11:52 PM
44 BUS&TRUCK • AUTO GAS
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556 AUTO GAS
“NGV DEVELOPMENT” ทางเลือกความคุมคา ดวยเทคโนโลยี TFC ปจจุบนั การติดตั้งกาซ NGV ใน รถยนต ได พั ฒ นาการติ ด ตั้ ง กั น ใน ระบบต า ง ๆ ที่ มี ทั้ ง แบบสลั บ ใช ระหวางนํ้ามันเบนซินกับกาซ NGVLPG หรือใชแบบกาซ 100% ซึ่งผู
ประกอบการตางก็พยายามเลือกการ ติดตั้งที่เหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง NGV DEVELOPMENT เสนอทาง เลือกการติดตัง้ กาซ NGV ดวยระบบ TFC (TWIN FUEL COMMONRAIL) ซึ่งเปน ระบบการติดตั้งกาซ NGV แบบใชรวม กั บ นํ้ า มั น ดี เ ซลที่ ใ ห ค วามประหยั ด ทั้ ง รถยนตที่เปน COMMONRAIL หรือไม เปน COMMONRAIL เพราะสามารถติด ตั้งไดกับเครื1องยนตดีเซลทุกชนิด
กลาง ๆ วิ่ ง ความเร็ ว ไม เ กิ น 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง หรือประมาณ 13 กิ โ ลเมตร/ลิ ต ร และถ า วิ่ ง 120 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง จะอยู ที่ 8-9 กิโลเมตร/ลิตร แตถาเมื1อนํามาใชเชื้อ เพลิ ง ร ว มกั น ระหว า งดี เ ซลร ว มกั บ NGV มันจะสามารถเพิ่มระยะทางได มากกวา ปจจุบันสูงสุดที่ทําไดกวา 90 กิโลเมตร/ลิตรขึ้นไป และสิ้นเปลือง NGV ไมมาก ซึ่งตัวเลขดังกลาวหลาย คนไมเชื1อ เมื1อไมเชื1อแลวก็มีการตําหนิ ตาง ๆ วาจะสามารถทําไดจริงหรือไม หลายคนตองการทดสอบ แตไมกลาทํา คุ ณ วสั น ต ก อ เกี ย รติ ต ระกู ล กับรถตัวเอง ที่ศูนยติดตั้งจึงมีรถนานา กรรมการผูจัดการ NGV DEVELOP- ชนิดใหผสู นใจไดมาทดสอบ และทีต่ อ ง MENT กลาววา NGV DEVELOPMENT มีหลายรุน เพราะเราออกแบบ ECU พัฒนาและวิจัยการติดตั้งเชื้อเพลิงรวม เพื1อรองรับรถยนตรนุ นัน้ ๆ โดยตรง ไม ดีเซล + NGV สําหรับรถเครื1องยนตดเี ซล ไดมกี ารนํากลอง ECU ของรุน อื1นมาใช มากวา 8 ป จนนํามาสูการติดตั้งระบบ ทดแทนกัน” ระบบดีเซลรวม NGV ของ NGV ดีเซลรวม NGV หรือ TFC หรือ Twin Fuile Commonrail ระบบที่ เ หมาะ DEVELOPMENT ติดตั้งมาแลวกวา สํ า หรั บ ติ ด ตั้ ง กั บ รถกระบะหรื อ รถ 1,000 คัน ทุกคันสามารถพูดไดเต็มปาก เครื1องยนตดเี ซลคอมมอนเรล ซึง่ สามารถ วาสามารถประหยัดนํ้ามันไดดีทุกคัน ให ก ารประหยั ด นํ้ า มั น ถึ ง 80-120 ปจจุบันเทคโนโลยีของ NGV DEVELOPMENT ถู ก ทาบทามจากหลาย กิโลเมตร/ ลิตร เมื1อใชรวมกับ NGV “รถเชิ ง พาณิ ช ย ส ว นใหญ ใ น ประเทศ สนใจการติดตั้งกาซ NGV ปจจุบันใชเครื1องยนตดีเซลคอมมอนเรล ระบบ TFC สามารถเขาไปดูรายละเอียด ขนาด 2.5 ลิตร จะสิ้นเปลืองนํ้ามัน เพิ่มเติมไดที่ โทร.0-2990-8484
พักเครื่อง ไว สําหรับลูกคาทีส่ นใจสามารถสอบถาม รายละเอียดที่ มิตซูบชิ ิ Call Center 1800 900 009 หรือโทร. 0-2259-9500 ทุกวัน จันทร-เสาร ระหวางเวลา 8.30-17.00 น. หรือทีเ่ ว็บไซต www.mitsubishi-motors. co.th
มิ ต ซู บิ ชิ มอเตอร ส ประเทศไทย รายงานยอดขายรถยนต อีโคคาร เดือนมกราคม-กันยายน 2556 ไดรบั ความนิยมสูงจากลูกคา โดยมียอด ขายแลวกวา 36,076 คันหรือกวา 44.80 % ของยอดขายรถยนตรวมของ มิตซูบิชิ ยอดขายรถยนตทั้งหมดของ บริษทั ฯ แบงเปน มิตซูบชิ ิ มิราจ 27,007 คัน และ มิตซูบิชิ แอททราจ 8,204 คัน ซึ่ ง เป น ผลมาจากการยอมรั บ ใน คุณสมบัตเิ ดนตาง ๆ ของตัวรถ ไมวา จะเปน การประหยัดพลังงานและเปน มิตรตอสิ่งแวดลอม งายตอการขับขี่ พรอมดวยสมรรถนะ การออกแบบที่ รองรับการใชงานของลูกคา รวมไปถึง ความคุม คาคุม ราคา โดยบริษทั ฯไดวาง เปาหมายของการจําหนายรถอีโคคาร ทั้ง 2 รุนไวที่เดือนละ 4,000-4,500 คัน ซึ่งถือวาเปนไปตามเปาหมายที่ ไดวาง
ทัง้ ยังไดมาตรฐานยูโร 5 รายแรกและราย เดียวในประเทศไทย ชวยลดการปลอย มลพิษและไอเสีย ดวยมาตรฐานระดับ โลก สามารถใช ไดกับรถยนตดีเซลที่มี ระบบ DPF (Diesel Particulate Filter) ซึง่ เปนระบบดักจับฝุน ละอองไอเสียในรถ ยุโรป ถื อเปนอีกหนึ่งนวัตกรรมเพื1อผู บริโภคชาวไทยที่ ปตท. ภาคภูมิใจ และ
ยังสอดคลองกับนโยบายทีเ่ นนใหความ สําคัญกับเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ของ ปตท. พิสูจนความแรงของ PTT HyForce ไดแลววันนี้ ณ สถานีบริการ ที่มีสัญลักษณ PTT HyForce หรือ ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมและคนหาสถานี บริการนํา้ มัน ไดที่ www.pttmap.com และ PTT Life Station Application
❖❖❖
B&T#233_p44-45_Pro2.indd 44
WHAT’S NEXT
ปตท. เปดตัว PTT HyForce นํา้ มันดีเซลสูตรสังเคราะหเกรดพรีเมียม สูตรใหมของ ปตท. ซึ่งคิดคนและพัฒนา ขึ้ น จากการวิ จั ย โดยสถาบั น วิ จั ย และ เทคโนโลยี ปตท. ใชเทคโนโลยีเดียวกับ การผลิตเชื้อเพลิงสังเคราะหอากาศยาน Generation ล า สุ ด สู นํ้ า มั น ดี เ ซล สังเคราะหโมเลกุลเดี่ยว พรอมสารเติม แตงคุณภาพสูงพิเศษ Hy-Booster ที่จะ ชวยใหสมรรถนะรถแรงขึ้นตั้งแตออกตัว เพื1อรถดีเซลสมรรถนะสูงโดยเฉพาะ อีก ❖❖❖
McLaren P1 ซูเปอรคารพลังมหาศาล 903 แรงมา แรงบิด 663 ฟุตปอนด ระบบไฟฟาชวยใหตัวรถ สามารถขับเคลื1อนโดยปราศจากมลพิษเปนระยะทางราว 11 กม. อัตราเรง 0-100 กม./ชม. ทําได ในเวลาเพียง 2.8 วินาทีเทานั้น อัตราเรงควอเตอร ไมลระยะ 402 เมตร 9.8 วินาที ที่ ความเร็วปลายเสน 244 กม./ชม.
11/4/13 11:42 PM
SMEs TRUCKS • BUS&TRUCK 45
ปักษ์แรก • พฤศจิกายน 2556
เกาะติดพาณิชย์น้อย
“อีซูซุ มิว-เอ็กซ์” ไลฟ์สไตล์ชาวไทย-ชาวโลก
เป็นกระแสมาตลอดตั้งแต่ยังไม่ เปิ ด ตั ว ส� า หรั บ “อี ซู ซุ มิ ว -เอ็ ก ซ์ ” เนื่องจากเป็นรถยนต์อเนกประสงค์ที่ สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ทั่วโลก ล่าสุด ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการ แล้ว พร้อมด้วยราคาแนะน�าเริ่มต้นที่ 1,014,000-1,401,000 บาท เพราะทาง บริษทั ตรีเพชรอีซซู เุ ซลส์ จ�ากัด เล็งเห็น ตลาดรถยนต์นั่งอเนกประสงค์มีบทบาท เพิ่ ม มากขึ้ น ในตลาดรถยนต์ เ มื อ งไทย และเป็นอีกหนึ่งทางเลือกส� าคัญของผู้ บริโภคยุคใหม่ โดยทาง อีซูซุ ได้คิดค้น และพัฒนายนตรกรรมอเนกประสงค์ที่ สอดคล้องกับความต้องการ และไลฟ์ สไตล์ของผู้ ใช้รถทั้งชาวไทยและทั่วโลก “อีซซู ุ มิว-เอ็กซ์” (ISUZU MU-X) ย ก ร ะ ดั บ ม า ต ร ฐ า น ร ถ ย น ต ์ นั่ ง อเนกประสงค์เมืองไทยกับไฟส่องสว่าง เวลากลางวั น (Super Daylight) มาตรฐานเดียวกับยนตรกรรมยุโรปเป็น เจ้าแรก นอกจากนี้ ยังพัฒนาระบบช่วง ล่างแบบใหม่ แบบคอยล์สปริงทั้ง 4 ล้อ ช่วงล่างด้านหลังแบบ 5-Link Suspension ให้เสถียรภาพในการขับขี่และเกาะ 44-45 AutoGas.indd 45 R1_B&T#233_p44-45_Pro2.indd 45
ถนนดี เ ยี่ ย ม พร้ อ มความนุ ่ ม นวลดุ จ รถยนต์นั่งระดับหรู มั่นใจกับระบบเบรก แบบดิกส์มคี รีบระบายความร้อนทัง้ 4 ล้อ ส่ ว นการออกแบบภายนอกมา พร้อมความโฉบเฉี่ยว ปราดเปรียวเร้าใจ โดดเด่ น ด้ ว ยรู ป ทรงลู ่ ล ม ด้ ว ยค่ า สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานอากาศ (Cd) เพี ย ง 0.4 ดี ที่ สุ ด ในรถระดั บ เดี ย วกั น พร้อมให้ความคล่องตัวสูงส�าหรับการใช้ งานในเมืองใหญ่ ด้วยความยาวตัวรถ 4.825 เมตร และวงเลี้ยวแคบสุดเพียง 5.7 เมตร หรือเทียบเท่ารถยนต์นั่งขนาด กลาง ด้านหน้าดีไซน์ทูโทน โดดเด่นด้วย ไฟหน้าแบบ PROJECTOR ที่ออกแบบ แนวเส้นรับกับกระจังหน้าแบบ 3-DIMENSION คมเข้ม เน้นมิติเด่นชัดในทุก ระยะสายตาด้วย SUPER DAYLIGHT ไฟ ส่องสว่างเวลากลางวัน หรูหราปลอดภัยสไตล์ยุโรป สว่าง ชัดแม้กลางแสงจ้าด้วยหลอด LED ที่ ประหยัดพลังงานและใช้งานได้นานกว่า ส่วนด้านข้างให้ความภูมิฐานมั่นคง หนัก แน่นด้วย MUSCULAR FENDER ผสาน เส้นสายอันเฉียบคม SPEEDY BLISTER และแนวหลังคาแบบ DYNAMIC FLOW
สร้างความรูส้ กึ พุง่ ทะยานแม้ขณะหยุดนิง่ ด้านท้ายโค้งมน โดดเด่นด้วยแนว เส้นสายต่อเนื่อง สอดประสานรับกับแนว โครเมี่ยม ไฟท้ายแบบ ARC-DIMENSION ให้มิติโดดเด่น ขับเน้นความรู้สึก เปีย่ มพลัง กล้องมองหลังแบบ BUILT-IN เรียบหรู พร้อมสปอยเลอร์หลัง ออกแบบ แนวสปอร์ตเสริมหลักอากาศพลศาสตร์ สะท้อนภาพลักษณ์ยนตรกรรมยุคใหม่ เสาอากาศ DUAL FUNCTION แบบ SHARK FIN ทันสมัย บ่งบอกตัวตนเหนือ ระดับ พร้อมรับได้ทั้งสัญญาณวิทยุและ ระบบน�าทางอย่างชัดเจน ส�าหรับการออกแบบภายในหรูหรา สไตล์ยโุ รป ด้วยแนวคิด “PREMIUM & EXCLUSIVE” โดดเด่นด้วยการใช้คู่สี แบบทู โ ทนสวยงามลงตั ว พร้ อ ม
อรรถประโยชน์ทมี่ อบอิสระในการใช้ชวี ติ ได้อย่างลงตัวตามศาสตร์การออกแบบ ISUZU UNIVERSAL DESIGN โดยให้ผู้ ใช้ ร ถเป็ น ศู น ย์ ก ลาง ด้ ว ยการจั ด วาง ต�าแหน่งที่นั่ง และอุปกรณ์ต่างๆ ภายใน รถให้เข้ากับทุกสรีระ เพื่อการใช้งานง่าย สะดวกสบาย และใช้งานได้หลากหลาย ลงตัวตั้งแต่ที่นั่งตอนหน้าถึงตอนที่สาม พร้อมบรรยากาศโปร่งโล่งสบาย ด้วย พืน้ ทีเ่ หนือศีรษะและพืน้ ทีว่ างเท้าทีเ่ หนือ กว่ารถระดับเดียวกัน เบาะนั่งกึ่งหนังแท้ สีไอวอรี่ เกรดพิเศษให้ผิวสัมผัสนุ่มนวล ทีน่ งั่ ด้านคนขับแบบปรับไฟฟ้า 6 ทิศทาง สามารถสัมผัสเอกสิทธิ์แห่งผู้น�า พร้อมทดลองขับรถยนต์นงั่ อเนกประสงค์ “อีซูซุ มิว-เอ็กซ์” ได้ที่ โชว์รูมอีซูซุทั่ว ประเทศ
ชี้ช่องสินค้า สีนาโนชนิดพิเศษ
สามารถทนความ ร ้ อ น สู ง 2 5 0 อ ง ศ า ต ้ า น ท า น รั ง สี ยู วี 1 5 0 0 ชั่ ว โมง ความเข้ ม ของสี ไ ม่ เปลี่ ย น, ไม่ ร วมตั ว และตก ต ะ ก อ น ป ริ ม า ณ ค ว า ม แ ข็ ง 1 8 % , ไ ม ่ ร ว ม เ ร ซิ่ น เส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ลางอนุ ภ าค เป็ น 10 ส่ ว นต่ อ พั น ล้ า น ถึ ง 1.5 (1.5pl) ส่ ว นของเม็ ด สี ไ ม่ ใ ช่ สี ย ้ อ มทั่ ว ไปอายุ ก ารเก็ บ รั ก ษา 2 ปี , สี ที่ ส ามารถใช้ ง านร่ ว มกั น ได้ เ ช่ น PU, สี พ ่ น , สี อ บ และอื่ น ๆ บริษัท ไทยจรัส เพ้นท์ จ�ากัด (ประเทศไทย) โทร.0-3826-3048-51
11/6/2556 BE 10:46 AM 11/7/13 12:52 AM
46 BUS&TRUCK • B&T PRODUCTS
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2556
แนะนําผลิตภัณฑ Delo® 400 Multigrade
Castrol CRB Turbo
PTT Dynamic NGV-LA
เดโล 400 มัลติเกรด SAE 15W-40 นํ้ามันเครื1องระดับพรีเมี่ยม สําหรับ เครื1องยนตดีเซลที่ตองใชงานอยาง หนั ก ผลิ ต ขึ้ น มาเป น พิ เ ศษสํ า หรั บ เครื1องยนตดีเซลที่ติดตั้งระบบ EGR และ SCR ซึ่งเปนระบบขจัดมลพิษที่ ทําใหเกิดเขมาในนํ้ามันเครื1องมากขึ้น ด ว ยเทคโนโลยี ISOSYN ® ให ก าร กระจายเขมาที่ดีเยี่ยม
สูตรใหม ออกแบบมาดวยสูตรพิเศษ โดยเฉพาะ ซึ่ ง มี ส าร Durashieid Boosters สูตรเฉพาะของคาสตรอล ช ว ยให ส ามารถยื ด หยุ น การใช ง าน เครื1องยนต ไดมากกวา 2 เทา เมื1อ เทียบกับนํ้ามันเครื1องทั่วไป
นํ้ามันหลอลื1นที่มีความหนืดเกรดรวม SAE 15W-40 พัฒนาเปนพิเศษสําหรับ รถบรรทุกที่ใชงานหนัก ใชการผลิตที่ ได มาตรฐานจากอเมริกา เหมาะสําหรับรถ บรรทุกเชิงพาณิชยที่ใชกาซธรรมชาติ เปนเชื้อเพลิงเพียงอยางเดียว ใหการ หลอลื1นดีเยี่ยม พรอมปกปองชิ้นสวน เครื1องยนต และชุดขับเคลื1อนวาลวจาก การสึกหรอ ในทุกสภาวะการใชงาน
บจก.เชฟรอน (ไทย) โทร.0-2696-4000
บจก.บีพี-คาสตรอล (ประเทศไทย) โทร.0-2684-3777
บมจ.ปตท. โทร.0-2537-3965
Refinishing Series
Refinishing Series สี พ น รถยนต ที่ มี คุณภาพ และประสิทธิภาพสูง เพื1อพืน้ ผิว รถที่ ดี ข องท า น เนื้ อ สี ชั ด เจน มี ทั้ ง สี CarPaint 1K และ สีโปวโพลีเอสเตอร
บจก.ไทยจรัส เพนท โทร.0-2170-7553
NOSTRA : Traffic Information Cable
สีพนรถยนต Ultima
แครรีเท็กซ หัวเชื้อสารเคลือบรถยนต
ใหเฉดสีที่มีความสวยงาม สีสันสดใส เมื1อพนแลวจะสรางความโดดเดนใหกับ ตั ว รถทั นที รวมถึ ง ความทนทานของ ฟลม สีทพี่ น ใชงานแลวชวยใหสีไมซดี จาง หรือเกิดเงาตก อีกทัง้ ยังทนตอการขูดขีด ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพใหลวดลายมีความ โดดเดนเฉพาะตัว
Carretex engine Treatment สกัด จากนํา้ มันดิบบริสทุ ธิ์ ใหการคุม ครอง ที่คุมคากวา ปลอดภัยกับผู ใชและ เครื1องยนตทุกประเภท สามารถรวม ตัวกับนํ้ามันเครื1องไดดีซึ่งแตกตาง จากสารเคลือบเครื1องยนตชนิดอื1น ๆ ที่เปนสารสังเคราะห
บจก.นิปปอนเพนต (ประเทศไทย) หนวยธุรกิจสีพนซอมรถยนต โทร.0-2463-0032 ตอ 283
บจก.โปรเฟสชั่นนัล คลีนนิ่ง โทร.0-2954-6655
SWG Non Real Time Tracking
CCTV Tracking Online 3G
สายเคเบิลตอเชื1อมเครื1องจีพีเอสนํา ทาง KAMAZ รุน NAAV590 TV ใช รั บ สั ญ ญาณข อ มู ล สภาพจราจร NOSTRA Traffic แบบ Real-time รวม ถึงขอมูลแจงเตือนเหตุการณตาง ๆ เชน ปดถนน ซอมบํารุง อุบัติเหตุ นํ้า ทวม เปนตน ทําใหคุณสามารถเลือก เสนทางการเดินทางไดอยางเหมาะ สม และปลอดภัย
อุ ป กรณ สํ า หรั บ บั น ทึ ก การใช ง านยาน พาหนะโดยใช ร ะบบดาวเที ย มบอกพิ กั ด GPS ซึ่งจะสามารถรายงานเสนทางการ เดินรถ, เวลาที่มีการใชงาน, หยุดหรือจอด รถ, ความเร็วขณะใชงานรถ, ตําแหนงของ รถในชวงเวลาตาง ๆ ฯลฯ โดยขอมูล การใชงานจะถูกเก็บไว ในหนวย ความจํา SD Card
กลอง DVR บันทึกวีดีโอ และเปน GPS ใน ตัวสําหรับติดรถ สามารถดู Online ผาน Notebook, PC ได สามารถสื1อ สารกั บ พนักงานขับรถได โดยไมตองใช โทรศัพทมือ ถือ เปนนวัตกรรมใหมรายแรกและรายเดียว เทานั้น
บจก.โซนิควิชั่น โทร.0-2300-6700
บจก.ดี.ที.ซี. เอ็นเตอร ไพรส โทร.0-2759-4999
บจก.แวลู ไฮ เทคโนโลยี่ โทร.0-2906-2730
ชุดเคลือบปกปองภายในรถ
Age Stop ชวยปองกันคราบสกปรกและคราบไขมัน จาก รางกายคนเราและครีมหลอลื1นผิว ซึ่งทําใหเกิดรอยดาง เปลี่ยนสี และเปลี่ยนสภาพของเฟอรนิเจอรหนัง โซฟา และ ผลิตภัณฑหนังอื1น ๆ ชวยใหเครื1องหนัง มีความยืดหยุน สูงขึน้ และดูใหมอยูเสมอ
บจก.คัลเลอร โกล อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) โทร.08-5544-5455
เครื่องขัดเงา
ยางปูพื้นทายกระบะ
เครื่องมือวัดกาซรั่ว
หนา ทนทานตอการใชงานหนัก ทําจาก วัสดุใหม และ Recycle ยางธรรมชาติ ลาย ลูกฟูก ชวยปองกันการลื1นไถลของสินคา ตาง ๆ ลวดลายสวยงาม ไมแตกฉีกขาดแม ภายในสภาวะ อากาศรุนแรง
เครื1องมือวัดกาซรัว่ ติดตัง้ เซนเซอร ได พรอมกันสูงสุด 5 เซ็นเซอร และวัด กาซไดสูงสุด 6 ชนิดกาซ สามารถติด ตั้งเซ็นเซอรวัดกาซ VOC ได ชวงการ วัดกาซไวไฟ ตั้งแต 0 ถึง 100% LEL
บจก.สยามยูไนเต็ดรับเบอร โทร.0-3422-0777
บจก.เอ็นเทคแอสโซซิเอท โทร.0-2831-6666
ลูกหมากปกนก
ไฮดรอลิครถดั๊มพ รุน 92
เครื1องขัดอิเล็กทรอนิกส ที่มีขนาดเล็กมากไดรับการออกแบบตาม หลักสรีรศาสตร ไมตอ งออกแรงเหนื1อยใน ระหวางการขัด มอเตอร แรงบิดสูงและนํ้าหนักเบา เปนมืออาชีพ ใชการเลือก ความเร็วในการหมุน มีคุณภาพสูงสุด ในระหวางการขัด
สวนประกอบจากโลหะแบบหลอและอัดรีด เย็น ใชเทคนิคเบาพลาสติกรองรับหัวลูก หมากของ TRW ซึง่ ชวยดูดซับแรงกระแทก และสัน่ สะเทือน การเสียดทานนอย ทนทาน และปลอดภัยสูง ขัดมันผิวสัมผัสของหัวลูก หมากเพื1อการเคลื1อนไหวที่นุมนวลกวา
ไฮดรอลิครถดั๊มพ ประสิทธิภาพสูง อายุการ ใชงานยาวนาน นํา้ หนักเบา สามารถประกอบ และติดตั้งกับตัวถังรถงาย
บจก.ฟลูสตาร อินดัสทรี้ ซัพพลาย โทร.0-3827-8877
รานไพศาลอะไหลยนต ลาดพราว โทร.0-2378-0519
บจก.ซินหงไท กรุป โทร.0-3446-9669
R1_B&T#233_p46-47_Pro2.indd 46
11/7/13 12:31 AM
B&T#233_p46-47_Pro2.indd 47
11/4/13 11:50 PM
B&T#233_p48_Pro2.ai
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
11/4/13
11:57 PM