# 1 เ พื่ อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ถ พ า ณิ ช ย
กาวสูปที่ 11
ฉบับที่ 257
www.BusAndTruckMedia.com
ปกษแรก พฤศจิกายน 2557 40 บาท
คําถามสังคม
สรุปยอดขายรถใหญ ป 57
มหากาพย รถเมล NGV จะเกิดไดไหม? ดับเครื่องชม
ภูคํา แอรบัส ปลอยวิหคสวรรคโบยบิน
04
เปรียบเทียบรถเดน เปรยบเทยบรถเดน
หัหวลากเฟองเร็ว ปประหยัดสุดคุม
ป 2557 นี้ถือไดวาเปนปที่เมือง ไทยอยูในภาวะที่ตกอับมาก เพราะมีทั้ง วิกฤตทางการเมือง เศรษฐกิจภายใน และเศรษฐกิจโลก สงผลใหสินคาทุก
ประเภทไม ว า จะเป น อุ ป โภค บริ โ ภค กอสราง นําเขาและสงออก ก็อยูในภาวะ ดิ่งลงเหวเชนกัน ขณะที่กันคาดวา 2 เดือนหลังของปนี้เศรษฐกิจจะฟนตัว
เมื1อตนปผูบริหารคายรถใหญทุก คายตางคาดการณวา ยอดจําหนายรถ ใหญในปนี้ตองถึง 3 หมื1นคันแน พอถึง ยุกตรัฐบาลชุดประยุทธหนึ่ง ตางก็มอง อานตอหนา 38
24 LOGISTICS LO OGISSTICS NEWS
ไอวีโก ประกาศประกอบในไทย CAMC นําเขาหัวลากรุนใหม ยันมาตรฐานเทียบเทาอิตาลี ประกาศสูศ ึกปหนาเต็มตัว
TPARK รวมมือ TWINTEC 28 AUTO GAS
PTT DIESEL CNG บน ISUZU 44
B&T#257_p01_Pro3.indd 1
คายรถใหญ “ไอวีโก” รุกตลาดไทยเต็มสูบ ประกาศ ตั้งโรงงานประกอบในไทยปลายป 58 ยันมาตรฐานเทียบ เทาบริษัทแมที่ประเทศอิตาลี วางเปาสงออกทั่วอาเซียน รองรับตลาด AEC Mr.K.Koray Kursunoglu ผูจัดการทั่วไป บริษัท ไอวีโก (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา จากที่ ไดเขามาตั้งสํานักงาน
คาย CAMC ประกาศเปนผูนํารถใหญจากประเทศจีน พรอมสูศึกป 2558 เต็มตัว นําเขารถหัวลากรุนใหม 300-400 กวาแรงมา ใชเทคโนโลยีเยอรมนีถึง 70% พรอมรับประกัน 2 ป หรือ 200,000 กม.เพิม่ ดีลเลอรให ได 10 แหงทัว่ ประเทศ มาตรฐานเทียบเทากับบริษัทแมที่จีน คุณศุภศักดิ์ รุง เจิดฟา ทีป่ รึกษาบริษทั CAMC มอเตอร
อานตอหนา 39
อานตอหนา 39
10/29/14 10:28 PM
B&T#257_p02-03_Pro3.indd 2
10/29/14 10:34 PM
B&T#257_p02-03_Pro3.indd 3
10/29/14 10:34 PM
04 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK SHOW
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
ดับเครื่องชม
ภูคําแอรบัส ปลอยวิหคสวรรคโบยบิน โดยปกติแลวในเมืองไทยหาก ตองการตอรถโดยสารเพื1อการทอง เที่ยวสักคัน หัวใจสําคัญการตอรถให ตรงตามใจลู ก ค า ที่ ม าใช บ ริ ก าร แนนอนวากลุม ลูกคาในปจจุบนั ก็แบง ออกเปน 2 กลุม ใหญ ๆ เทานัน้ คือ นัก ทองเที่ยวตางประเทศ และ นักทอง เที่ยวในประเทศ เรื1องความสวยงาม และความเพียบพรอมเรื1องตาง ๆ จึง เปนเรื1องสําคัญสวนการจะหารถสัก คั น มาทํ า ธุ ร กิ จ ก็ แ ล ว แต ค วามชอบ หรือโปรดปรานอูไหนเปนพิเศษก็แลว แตความชื1นชอบทุกวันนี้มีอูยอดฝมือ มากมายใหเลือกใชบริการกัน ถาใหเอยถึงเรื1องความสวยงาม และองคประกอบของตัวรถทัง้ ภายนอก ภายในรถคันที่จะนําเสนอนี้มีชื1อเสียง เรี ย งนามที่ เ ลิ ศ เลอไม แ พ ใ ครด ว ย คอนเซ็ปตที่โดนใจสีสันที่บาดใจ “Bird of Paradise” เปนรถโดยสารคันใหม ลาสุดจาก “ภูคําแอรบัส” โดย คุณ ปราโมทย ภูคํา ผูเปนเจาของผลงาน ชั้นเยี่ยมคันนี้ วัตถุประสงคหลักเพื1อ ประกอบออกมาจํ า หน า ยทั้ ง คั น โดย เฉพาะสําหรับผูที่ตองการรถโดยสาร แบบไมตอ งรอนาน ตัง้ อยูบ นคอนเซ็ปต ที่วา “อะไรที่คนนิยม ก็เอามาอยูในรถ คั น นี้ ” แต ค วามนิ ย มนั้ น ตั้ ง อยู บ น มาตรฐาน สวยงาม และถูกระเบียบ 2 สิ่ ง ที่ ค นนิ ย มมากสํ า หรั บ รถ โดยสารเมืองไทยคือ อันดับแรก ตัวถัง ที่สวยงามจะตองมาจากชางที่ฝมือได
B&T#257_p04-05_Pro3.indd 4
รับการยอมรับ สําหรับคันนี้ตอตัวถังที่อู มีแสง (คุณหนอย) ในสวนของตัวถังนั้น
ทางคุณปราโมทย ก็หยิบยกขอดีและ ความสวยงามของรถในแตละคันมาผสม
ผสานจนลงตัว ประกอบกับสีสันที่โดด เดน การเลนความหนักเบาของโทนสี ทําใหรถดูสวยงามทีเดียว ซึ่งเฉพาะ คาตัวถังก็ลงทุนไปรวม 2 ลานบาท และสิง่ ทีค่ นนิยมตอมาและถือวา สําคัญที่สุดสําหรับรถจดประกอบคือ การประกอบแชสซีส ซึ่งเปนผลงาน ของ “อูไพฑูรย การชาง” ใครก็รูถา แชสซีสเขาอูนี้ ความผิดพลาดแทบจะ เปนศูนย แตถาทําไมไดยกกลับไปเลย พี่ ไมมีเคาะ ๆ ให ใชงานไปได เพราะ ช ว งล า งคื อ ความปลอดภั ย ของผู โดยสาร เฉพาะชวงลางและแชสซีส สนนราคาอยูที่ 1.7 ลานบาท “Bird of Paradise” ประกอบขึ้น มาจากแชสซีสและเครื1องยนตสแกนเนีย K113 ขนาด 360 แรงมา เกียร ไฟฟา พรอมรีทารดเดอร เปนรถจด ประกอบที่อยูในเงื1อนไขและระเบียบ ของกรมการขนสงทางบก ผานการ รับรองถูกตอง สําหรับภายนอกนัน้ เรื1องของการ ใช โทนสีจะออกไปทางเขียวใบตองซึ่ง จะใหความชัดเจนและสดใสมองเห็นได งายชัดเจน ลวดลายจะเปนลายหุน ยนต รอบคันเสริมไฟหนาใหดูสปอรต สวน ภายในยังคงเปนโทนสีเดิมไมวา จะเปน ผนังหองโดยสารเลือกใชสีเขียวแซม ชมพูนิดหนอยใหดูโดดเดนมากยิ่งขึ้น สําหรับทานที่สนใจผลงานของ “ภูคํา แอรบสั ” สามารถสอบถามรายละเอียด ไปไดที่ โทร.08-1402-6074
10/29/14 10:44 PM
B&T#257_p04-05_Pro3.indd 5
10/29/14 10:44 PM
06 BUS&TRUCK • SPECIAL PURPOSE VEHICLE
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
รถเพื่อกิจการพิเศษ
IVECO 682 MIXER ไอวี โก รถหัวลากจากประเทศ อิตาลี นําเขาโดย บริษัท เอสเอสเค กรุป เซลส แอนด เซอรวิส จํากัด ผู แทนนําเขาและจัดจําหนาย ไอวี โก แตเพียงผูเดียวในประเทศไทย โดย การนํารถหัวลากคุณภาพสูงเขามาทํา ตลาดเมื1อไมนานนี้ ถือวาใจปาทีเดียว เนื1อ งจากการมี ป ระสบการณ เรื1อ ง การนํ า เข า รถหั ว ลากและดู แ ลหลั ง การขายทีค่ รอบคลุมลูกคาเปนอยางดี จึงทําใหมั่นใจเลือกแบรนดระดับสูง เขามาทําตลาดในประเทศไทยและ ดําเนินตามแผนที่วางไวระยะยาวปน รถใหญ ไอวีโก ใหติดตลาดอีกไมเกิน 2 ป ดวยราคารถญี่ปุน นอกเหนือจากจําหนายรถหัวลาก แรงมาสูงแลว รถมิกเซอรก็จําหนาย ดวยเชนกัน ไอวีโก 682 มิกเซอร 290 แรงมา คือรถทีจ่ ะทําตลาดในไมชา โดย หั ว เก ง คุ ณ ภาพสู ง ที่ ป ระกอบไปด ว ย โครงแชสซีสผ ลิตจากเหล็กกลาทนแรง ดึงสูง High Tensing Steel โดยรูป ลัก ษณ ภ าพนอกซึ่งเป นรถยุโ รปจะมี ดี ไ ซน ที่ ดู แ กร ง ดุ ดั น เป น พิ เ ศษด ว ย กระจังหนาออกแบบรูปทรงตัว วี เพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพด า นอากาศพลศาสตร กันชนหนาผลิตจากเหล็กกเวาขึ้นรูป แบบชิ้นเดียว ไอวี โก 682 มิกเซอร คันนี้มา พรอมเครื1องยนต Iveco Cursor 9 F2CE0681D*B053 ยูโร 3, 6 สูบแถว เรี ย งระบบการจ า ยนํ้ า มั น แบบคอม-
B&T#257_p06-07_Pro3.indd 6
มอนเรล แรงดันสูง 1,800 บาร High pressure common rail BOSCH ควบคุม ระบบอิเล็กทรอนิกส ECU เทอรโบชารจ HOLSET อินเตอรคูลเลอรระบายความ รอนดวยอากาศ ปริมาตรกระบอกสูบ 8,709 ซีซี. อัตราสวนกําลังอัด 15:9:1
กระบอกสูบ x ระยะชัก 117x135 มม. โดยมีกําลังสูงสุด 290 แรงมา 213 กิโล วัตต ที่ 1,800 - 2,100 รอบตอนาทีแรง บิดสูงสุด 1,100 - 1,750 รอบตอนาที ระบบขับเคลื1อนของรถมิกเซอรคนั นี้ใชระบบเกียร FAST รุน 9JSI35TB
พรอมเกียรโอเวอร ไดรฟ 9 เกียรเดิน หนา 1 เกียรถอยหลัง ระบบเปลี่ยน เกียรแบบธรรมดาเกียรฝากเครื1องยนต แรงบิดสูง 700 นิวตันเมตร ระบบขับ เคลื1อนแบบ 6x4 ขับเคลื1อนดวยเพลา หลัง 2 เพลา สามารถเลือกรูปแบบการ ขับขี่ไดแบบ 6x2 หรือ 6x4 ระบบชวง ลางแข็งแกรงเพลาหนาและหลังแบบ พาราโบลิ ค สปริ ง พร อ มโคลงติ ด ตั้ ง เครื1องผอนคลายความสะเทือน 2 ชุด ที่เพลาหนา โดยการขนส ง และสามารถ รองรั บ พิ กั ด นํ้ า หนั ก เพลาหน า แบบ รี เ วอร ส เอลเลี ย ตไอบี ม 7,500 กก. เพลาหลังแบบบันโจเพลาคู 18,000 กก. พิกัดนํ้าหนักที่ตัวรถสูงสุดสุด 25,000 กก. นํ้าหนักรวมบรรทุกสูงสุด 44,000 กก. ระบบเบรกแบบลมลวน 3 วงจร แยกอิสระ สําหรับลอหนา ลอหลังและ เบรกมือควบคุมดวยระบบลม WABCO พรอมระบบกําจัดความชื้น Air Dryer พรอมเบรก ABS และเบรกไอเสียปม ลมปริมาตร 350 ซีซี. สําหรับทั้งหมดนี้คือขอมูลในสวน ตาง ๆ ของไอวีโก 682 มิกเซอร ที่จะลง มาทําการตลาดในสวนของอุตสาหกรรม คอนกรีต แนนอนวา ดวยคุณภาพทีเ่ ปน รถยุโรปจึงทําใหมั่นใจเรื1องคุณภาพที่ดี กวาและเรื1องราคาที่สมเหตุสมผลและ ศูนยบริการทีเ่ อาใจใสลกู คาคงไมใชเรื1อง ยากที่ไอวีโก จะเขามาแชรสว นแบงการ ตลาดรถใหญไดในไมชา
10/29/14 10:49 PM
B&T#257_p06-07_Pro3.indd 7
10/29/14 10:49 PM
08 BUS&TRUCK • BUSINESS CATALYST
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
คันเรงธุรกิจ
ขนสงเลือกได เปนที่ทราบกันดีวาเศรษฐกิจของ ประเทศในป 2557 นี้ยังตกตํ่าอยูแมวา รัฐบาลชุดประยุทธหนึ่ง จะพยายามฟนฟู อยางไรก็ยงั ไมเปนผล แมวา จะชวยตัง้ แต ระดับรากหญาดวยการคืนเงินคาจํานํา ขาว ไปจนถึงชวยการทองเที่ยวใหมีชาว ตางชาติมาใชเงินในประเทศเพิ่มมากขึ้น แตดวยภาวะเศรษฐกิ จ ของแต ละ ประเทศทัว่ โลกทีอ่ ยูใ นชวงตกตํา่ เหมือนกัน ยอดการนําเขาสงออกซึ่งเปนรายไดหลัก ของประเทศก็หายไปเปนอยางมาก ดังนั้น ทุกคนก็ตอ งทําใจตองชวยเหลือตัวเองใหอยู รอดให ได มาพูดถึงยอดจําหนายรวมของรถ ใหญทผี่ บู ริหารของคายรถใหญแทบทุกคาย คาดวายอดขายจะทําไดเพียงแค 2.7–2.8 หมื1นคันเทานั้น ดวยเหตุผลที่วากลุมลูกคา มีงานขนสงลดลง การซือ้ รถใหญคนั ใหมจงึ ไมอยูในแผนการ แตดวยคายรถใหญทุกคายไดมีการ ขยายโรงงาน พร อ มทั้ ง เพิ่ ม เครื1อ งจั ก ร แรงงานและทําสัญญาซื้อชิ้นสวนไวลวง หน า แล ว ทุ ก อย า งจึ ง ต อ งเป น ไปตาม แผนการที่วางไว ดังนัน้ ทุกคายจึงตองพยายามขายให ไดมากที่สุดเทาที่ทางโรงงานไดวางแผน การประกอบไวแลว ดังนั้นโปรโมชั่นสง เสริมการขายจึงตองมีอยางตอเนื1อง ไมวา จะเปนการฟรีดาวน การยืดเวลาผอนชําระ การเพิ่ ม ระยะเวลาบริ ก ารหลั ง การขาย ใหการเปลีย่ นถายนํา้ มันเครื1องฟรี หรือแบบ อื1น ๆ ที่กลุมลูกคาเสนอใหอีกดวย ดังนั้นในป 2558 จึงเปนปของกลุม ขนสงที่สามารถกําหนดเงื1อนไขการซื้อได อยางอิสระ เพราะมีจาํ นวนรถใหญมากเกิน ความตองการนั่นเอง บรรณาธิการอาวุโส นิตยสาร BUS&TRUCK ที่ปรึกษากิติมศักดิ์ : ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา ชยาวุธ จิระธันท, ยู เจียรยืนยงพงศ, บุนเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ, วรพจน แสงทวีสิน, เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สวางสําลี ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร, คุณวรวิทย เจริญวัฒนพันธ, คุณสมชาย ทองคําคูณ กรรมการผูจัดการ : ชาตรี มรรคา บรรณาธิการอาวุโส : เสกสรรค ไชยเผือก หัวหนากองบรรณาธิการ : เสกสรรค ไชยเผือก ผูชวยหัวหนากองบรรณาธิการ : ธัญพร ขันธสิทธิ์ กองบรรณาธิการ : พฤกษ ดานจิตรตรง, จักรพรรดิ์ โสภา เลขากองบรรณาธิการ : มณีรัตน วัฒตะนะมงคล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ : อรุณ เหลาวัฒนกุล ผูจัดการโฆษณา : สุจิตรา สงครามรอด แผนกโฆษณา : สุจิตรา สงครามรอด เลขาแผนกโฆษณา : นิภาพร ทุมสอน สมาชิก : วิวรมาศ แกวศิริ เว็บไซต : BusAndTruckMedia.com การเงิน : แสงอรุณ มงคล ศิลปกรรม : ธีระ พุมขํา BIP GROUP พิมพ : กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จัดจําหนาย : เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ผูจัดทํา : บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทร. 0-2717-2477 แฟกซ. 0-2717-2466, 0-2717-2469 www.BusAndTruckMedia.com อีเมล : info@TTFintl.com
B&T#257_p08-09_Pro3.indd 8
ฟูโซ คาดยอดรวมรถใหญแค 2.7 หมื่นคัน แตสวนแบงการตลาดเพิ่มเปน 5% คายฟูโซคาดยอดรวมรถใหญทุก ยี่หอปนี้สูงสุดแค 2.7 หมื1นคัน แตสวน แบงทางการตลาด หรือ มารเก็ตแชร เพิ่มเปน 5% แสดงวากลุมลูกคามั่นใจ คุณภาพ เล็งป 58 นําเขารถใหญจาก ประเทศอินเดีย 2 รุนมั่นใจคุณภาพ เพราะเปนโรงงานประกอบของเบนซ คุ ณ ธนภั ท ร อิ น ทวิ พั น ธุ รอง ประธานบริษทั ฟูโซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา จากการคาดการณวา ภาวะเศรษฐกิจในป 2557 ยังอยูในชวง ตกตํ่าอยู ไมกระเตื้องเทาที่ควร จึงทําให ยอดจํ า หน า ยรวมของฟู โ ซ ทํ า ได แ ค ประมาณ 1,200- 1,400 คัน โดยยอดรวม ทุกยี่หอทั้งหมดจะทําสูงสุดไดเพียงแค 22 พฤษภาคม 2557 ซึง่ เปนวันรัฐประหาร พอดี ตอจากนั้นก็ไดนําออกโรดโชวตาม 2.7 หมื1นคันเทานั้น “ถึ ง แม ว า ยอดจํ า หน า ยรวมจะ ดีลเลอรตา ง ๆ พรอมดวยโปรโมชัน่ หลาก ตกตํ่าลงเปนอยางมากเมื1อเทียบกับปที่ หลายรูปแบบ เพื1อเพิ่มยอดขายและหวัง แลวที่ทําไดรวมมากกวา 4.4 หมื1นคันแค วาจะเปนตัวนําที่เพิ่มยอดขายรวม แต คายฟูโซกส็ ามารถทํามารเก็ตแชร ไดเพิม่ ดวยภาวะเศรษฐกิจทีย่ งั ไมฟน ตัว จึงไมได ขึ้น เมื1อปที่แลวได 4% แตปนี้ทําไดถึง ตามเปาขายทีว่ างไวสําหรับป 2557 นี้ 5% ซึ่งก็หมายถึงกลุมลูกคาไดเชื1อมั่นทั้ง ในเรื1องคุณภาพและการบริการหลังการ ขายเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นในป 2558 ก็ตอง เพิ่มกลุมลูกคาใหมากกวาปนี้” แมวารัฐบาลชุดประยุทธหนึ่งจะได วางโครงการพั ฒ นาระบบพื้ น ฐานการ คมนาคมไวหลายโครงการ แตใน 2 เดือน วอลโว ทรัคส นํารถหัวลากรุน ที่เหลือของปนี้คงจะยังไมไดเริ่มเปนรูป ใหม Volvo FMX ผาครึง่ แสดงในงาน เปนราง การขนสงซึง่ ตองใชรถใหญจงึ ยัง “นวั ตกรรมลํ้ายุค –Beyond Innovaไมมียอดจําหนายเพิ่มมากนัก แตในป tion” ภายใตชื1อ “Hij! Swedish 2014 หน า ก็ จ ะมี ใ ห เ ห็ น เป น รู ป ธรรม ภาวะ @ Central World” ซึง่ เปนนิทรรศการ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศก็จะตอง ที่จัดขึ้นเพื1อฉลองครบรอบ 25 ปของ ฟนตัวอยางเปนแน การกอตั้งหอการคาไทย-สวีเดน สํ า หรั บ แผนการการตลาดในป คุ ณ ฌาคส มิ เ ชล ประธาน 2558 นัน้ ทางบริษทั จะนําเขาสําเร็จรูปรถ กรรมการ บริ ษั ท วอลโว กรุ ป บรรทุ ก จากประเทศอิ น เดี ย ซึ่ ง เป น (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา วอล โรงงานของค า ยเมอร เ ซเดส-เบนซ โว ทรัคส ถือเปนหนึ่งในบริษัทชั้นนํา ประเทศเยอรมนี ซึ่งคาดวาจะเปนรถ ของสวีเดนในประเทศไทย และถือเปน บรรทุ ก หกล อ เครื1อ งยนต ข นาด 140 แนวหน า ของผู ใ ห บ ริ ก ารเทคโนโลยี แรงมาหรือ 175 แรงมา และรถหัวลาก ขนสงผานรถหัวลากทีใ่ ชพลังงานอยาง ซึ่งมีหลายขนาดแรงมา ดังนั้นจึงตองขึ้น มี ประสิทธิภาพสูงและยังเปนรถหัวลาก อยูก บั การสํารวจตลาดอีกครัง้ วาตองการ ทีม่ มี าตรฐานคุณภาพสูงสุดในตลาด ซึง่ ขนาดแรงมาเทาไหร สะทอนถึงคุณภาพและนวัตกรรมของ ในระยะแรกจะเป น การนํ า เข า สวีเดนไดเปนอยางดี สําเร็จรูปกอน ซึ่งยี่หอจะเปลี่ยนมาเปน สําหรับรถหัวลากวอลโว FMX ผา ฟู โ ซ พร อ มทั้ ง มี ก ารเปลี่ ย นรู ป แบบ ครึ่ ง คั น นี้ ไ ด สั่ ง ตรงมาจากประเทศ ภายนอกเพื1อใหเหมาะสมกับลากขนสง สิ งคโปรเพื1อนํามาแสดงในงานนี้ โดย หลังจากนัน้ ก็จะเปนการนํามาประกอบใน เฉพาะ โดยมีเปาหมายที่จะแสดงใหผู เมืองไทย เพื1อเพิ่มการใชชิ้นสวนที่ผลิต บริ โภคชาวไทยไดเห็นถึงรถหัวลากวอล ในเมืองไทยเปนการเพิ่มงานและทําให โว เป น รถหั ว ลากที่ คุ ณ ภาพสู ง จาก เศรษฐกิจโดยเติบโตขึ้น ประเทศสวีเดน โดยรถรุนดังกลาวเปน อยางไรก็ดี คายฟูโซไดพยายามทํา รถรุนใหมลาสุดที่เพิ่งเปดตัวในตลาด ตลาดอยางหนักดวยการเปดตัวรุนโชกุน เครื1องยนตดีเซล 380 แรงมาตั้งแตวันที่
แม ว า ทุ ก อย า งจะไม เ ป น ไปตาม แผนที่วางไว แตคายฟูโซก็ยังใหกําลังใจ กับดีลเลอร 10 แหงทีส่ ามารถทํายอดขาย ตามที่ ไ ด ว างไว ด ว ยการพาไปเที่ ย วที่ ประเทศเยอรมนี พร อ มทั้ ง ดู โ รงงาน ประกอบรถใหญ เมอรเซเดส-เบนซ และ ชมพิพิธพันธเมอรเซเดส-เบนซดวย
วอลโว ทรัคส ขนรถหัวลากผาครึ่ง ฉลอง 25 ป หอการคาไทย-สวีเดน ประเทศไทยเมื1อเร็ว ๆ นี้ ซึ่งวอลโว ทรัคส ไดตดิ ตัง้ อุปกรณทเี่ ปนนวัตกรรม ใหมลาสุดของวอลโว ทรัคส ในรถหัว ลากรุ น นี้ ไม ว า จะเป น ระบบเกี ย ร อัจฉริยะ I-Shift เบาะที่นั่งที่มีระบบกัน สะเทือนแบบ Air Suspension อีกทั้ง แปนจอหนาคนขับและชองเสียบ USB ที่ถูกออกแบบเพื1ออํานวยความสะดวก สบายแกพนักงานขับรถที่ตอ งขับระยะ ทางไกล และที่สําคัญคือที่สุดคือระบบ Volvo Dynamic Steering ที่ใหความ ปลอดภัยและแมนยําในการรักษาแนว เสนทางของพวงมาลัย “รถวอลโว ทรัคส เอฟเอ็มเอ็กซ ถู ก ออกแบบมาเพื1อ การใช ง านขั บ เคลื1อนที่โหดสุด ๆ โดยเพลาขับหนาได รับการออกแบบใหมเพื1อการใชงานบน ถนนทีท่ รุ กันดารโดยเฉพาะ มันจึงทําให การทรงตัวไมมีขอผิดพลาดบนถนนที่ ขรุ ข ระภายใต ก ารควบคุ ม ของระบบ Volvo Dynamic Steering ซึ่ ง ถื อ เปนการสรางมาตรฐานใหมของระบบ พวงมาลัยในอุตสาหกรรมการผลิตรถ บรรทุก มันไดรบั การพิสจู นแลวครับวา แมแตหนูแฮมสเตอรยังสามารถขับรถ บรรทุกวอลโวได”
10/30/14 8:09 PM
BUSINESS CATALYST • BUS&TRUCK 09
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
คันเรงธุรกิจ
สปป.ลาว เลือกไทยเปนฮับรถใหญ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ อันดับตน ๆ ของกลุมประเทศอาเซียนให AEC จะเริม่ ใชตน ป 2559 ทําใหประเทศ ไดในเร็ววัน ตาง ๆ ในอาเซียนตางตองเรงพัฒนาทัง้ ดังนั้นจํานวนรถใหญที่ขนขยะจาก เศรษฐกิ จ ก อ สร า งถนนหนทางและ ทัว่ ประเทศจะตองมีมากกวา 500 คันเปน อาคารสํานักงาน เพื1อใหนักลงทุนตาง แน ซึ่งจะตองเปนรถใหญที่มีคุณภาพ ชาติเห็นวามีความเหมาะสมที่จะเขาไป สามารถทํางานหนักได ไมเสียบอยและมี ลงทุนพัฒนาธุรกิจของตนเองใหดีขึ้น การบริการหลังการขายที่ดี สวนในเมืองไทยเองผูบริหารของทุก คายญี่ปุนและยุโรปมีสิทธิสูง ประเทศในอาเซี ย นต า งมี ค วามเห็ น จากประสบการณที่เคยทํางานใน เดียวกันวาเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ ค า ยรถใหญ จ ากจี น มาหลายป เ มื1อ นํ า ของอาเซี ย น ธุ ร กิ จ ทุ ก อย า งเจริ ญ เสนอไปยังผูวาการแขวงคํามวนก็ ไดรับ กาวหนาพรอมทั้งยังเปนศูนยกลางการ การปฏิเสธทุกยี่หอ เนื1องมาจากไมมั่นใจ ประกอบของรถเชิงพาณิชยดวย ในคุณภาพและอายุการใชงานวาจะคุม โดยดูไดจากงาน BUS & TRUCK ทุนหรือไม เพราะเวลาที่ไดรบั สิทธิในการ ’14 ที่จัดขึ้นเมื1อวันที่ 6–8 พฤศจิกายน ดูแลรถขยะนั้นเริ่มตนที่ 15 ป ดวยชื1อ 2557 ที่ผานมา ไดมีคายรถใหญหลาย เสียงของรถจีนจะทํางานหนักสูงสุดได คาย และธุรกิจที่เกี่ยวเนื1องไดเขามารวม เพียงแค 10 ปเทานัน้ ดังนัน้ คายรถญีป่ นุ แสดงที่ ไบเทค กรุงเทพฯ ซึ่งเปนปที่ 11 และรถยุโรปที่ประกอบในเมืองไทยจึง แลว แสดงใหเห็นวาตลาดรถใหญใน เปนเปาหมายหลัก แตกอ็ ยูใ นขอตกลงวา เมืองไทยเติบโตกาวหนากวาทุกประเทศ จะจําหนายในราคาคันละเทาไหร เมื1อ ในอาเซียนเปนอยางมาก เปนพวงมาลัยซายและมีบริการหลังการ แหลงขาวในวงการรถเชิงพาณิชย ขายยังไงบาง เปดเผยวา ดวยการพูดคุยทางธุรกิจกับผู นอกจากนี้ ยังไดรับหนาที่ใหดูแล วาการแขวงคํามวน สปป.ลาว ไดมีขอ ระบบโลจิสติกสในแขวงคํามวนดวย โดย สรุปวาจะจัดทําบอเก็บขยะขนาดใหญบน มีมาตรการที่วางไวคราว ๆ คือ รถใหญที่ พืน้ ทีก่ วา 600 ตารางกิโลเมตร เพื1อทีจ่ ะ วิ่ ง อยู ใ นแขวงคํ า ม ว นจะต อ งเป น พวง ไดสรางโรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงจากขยะ มาลั ย ซ า ยทั้ ง หมด รั บ สิ น ค า มาจาก เพื1อจะไดพัฒนาแขวงคํามวนใหมีความ ชายแดนเวียดนาม วิง่ มาสงสินคาทีแ่ ขวง เจริ ญ และมี นั ก ลงทุ น ต า งชาติ เ ข า มา คํ า ม ว น และหากส ง สิ น ค า จากแขวง ขยายธุ ร กิ จ ทํ า ให ส ปป.ลาวขึ้ น มาอยู คํามวนก็วิ่งไปสิ้นสุดไดที่ชายแดนของ
ไทยเทานั้น เพราะรถพวงมาลัยซายและ ขวาจะวิ่ ง ได เ ฉพาะในแต ล ะประเทศที่ กําหนดเทานั้นไมสามารถวิ่งรวมกันได เพราะจะทําใหเกิดอุบัติเหตุไดงาย
ตองเปลี่ยนระบบใหมทั้งหมด ดวย สปป.ลาว มีระบบการขนสงที่ ดอยกวาเมืองไทยเปนอยางมาก จึงตอง นําระบบพื้นฐานการขนสงไปใหผูวาการ แขวงคํามวนเปนผูพ จิ ารณาและตัดสินใจ เมื1อรวมกับโครงการอื1น ไมวาจะเปนการ บอเก็บขยะ และโรงไฟฟารวมทั้งระบบ โลจิสติกสทั้งหมดก็เปนเงินมหาศาลแต ตองทําทุกอยางในเวลาอันรวดเร็วเพื1อให ทั น กั บ การเป ด ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน ดังนั้นแหลงขาวที่ใหขอมูลทั้งหมด นี้จึงตองลาออกจากงานประจําเพื1อไป
ดูแลงานที่จะไดรับจางมาจาก สปป.ลาว ให ช ว ยพั ฒ นาประเทศอย า งเต็ ม ตั ว เพราะมีคาจางที่คุมกับการวางแผนและ การใชแรงงานเปนอยางมาก จากการทีเ่ มืองไทยเปนฮับของรถ ใหญ ไมวา จะเปนการมีโรงงานประกอบ หรื อ เป น สื1อ กลางนํ า เข า รถใหญ จ าก บริษัทแมจากตางประเทศวิ่งผานเมือง ไทยไปยังประเทศอื1นในกลุมอาเซียน ก็ เปนการสรางรายไดมหาศาลใหกบั เมือง ไทย เนื1องจากการขนสงไดมกี ารพัฒนา และนําหนากวาประเทศอื1นเปนอยาง มาก ดังนั้นประเทศ สปป.ลาว ก็ ได ใช รถใหญจากเมืองไทยเปนฐานเพื1อซือ้ ไป ใชงานภายในประเทศและอีกไมชาก็จะ มีประเทศเพื1อนบานรายอื1นเลียนแบบ เปนแนแท
จอดพัก
ใตทองรถ ถือวาเปนขาวใหญของคายรถจีนที่ขณะนี้ ไดมีคายหนึ่งไดลดตนทุน ทางการตลาดลงไปเปนอยางมาก มีการปลดพนักงานระดับสูงออก ลดงบการ ทําตลาดและการทําประชาสัมพันธทั้งหมดใหฝายขายทํางานขายตรงใหกับผู ประกอบการขนสงทางบกเพียงอยางเดียว หากมองดูแลวเปนการขายที่ยาก มากเนื1องจากกลุมลูกคายังไมรูจักยี่หอนี้มากนัก หากอยากรูจริงก็ตองใหฝาย ขายมาบอกรายละเอียดทั้งหมด กินเวลามากกวาหนึ่งวัน แลวที่ลงทุนไปกอน หนานี้ ไมวาจะเปนการขยายสาขาเพิ่มการลงประชาสัมพันธ เนนยี่หอ ออกโชว ตามงานตาง ๆ ก็ถือไดวาเปนการลมเหลวทั้งหมดตองลองขายตรงอีกครั้งกอน ที่จะตัดสินใจวาจะทําตอหรือไม ❖❖❖ ไดมีผูบริหารของคายรถใหญจากจีนยี่หอหนึ่งที่มีสํานักงานในเมือง ไทย เตรียมทําการคัดเลือกตัวแทนจําหนายใหมาเปนผูแทนจําหนายเพียงราย เดียวในเมืองไทย พรอมทั้งบอกวาสนับสนุนใหตัวแทนจําหนายที่ขายอยูนั้นมี ผลดีมากกวาผลเสีย เพราะยังเปนตัวแทนจําหนายอยู และที่มีขาวอยูเสมอวา รถใหญจากจีนนั้นมีอะไหลไมเพียงพอทําใหผู ใชตองขาดรายได ไป ถือไดวาเปน เรื1องไมจริง เพราะไมมีเรื1องรองเรียนมาจากผูใชผานดีลเลอรเลย รับประกันได วาเรื1องที่บอกมาทั้งหมดเปนเรื1องจริง ❖❖❖ เรื1องนี้ถือไดวาเปนเรื1องที่ดีเพราะกรมการขนสงทางบก กระทรวง คมนาคม ไดรวมมือกับโรงเรียนสอนขับรถไอดีไดรฟเวอร จังหวัดขอนแกน จัด ทําระบบไอดีเช็คเกอร เครื1องตรวจสอบระยะเวลาและความผิดพลาดในการ ทํางานของชิน้ สวนและอุปกรณตา ง ๆ ทีใ่ ชในรถยนตผา นทางมือถือสมารทโฟน ทุกยีห่ อ เพราะหากผูใชรถยนตตา งมีวนิ ยั และตรวจสอบดวยตัวเองแลวอุบตั เิ หตุ ตาง ๆ บนทองถนนก็จะลดลง คาดวาจะเริ่มกอนชวงปใหม ป 2558 นี้ ไมแน อาจจะไดใชเจ็ดวันอันตรายก็เปนแน ❖❖❖
B&T#257_p08-09_Pro3.indd 9
จอมปาด?
10/29/14 10:51 PM
10 BUS&TRUCK • ROAD and LAW
สัญญาณ
ทช.สรางสะพานขามแมนํ้าปาสัก เชื่อมขนสง จ.อยุธยา คาดเปดใช เม.ย. 58 กรมทางหลวงชนบท (ทช.) เดิน นี้ เปนสะพานอยูในสายทาง ข2 ผังเมือง หนากอสรางโครงการกอสรางสะพาน รวมทาเรือ ความยาว 555.00 เมตร 2 ขามแมนํ้าปาสัก ตําบลจําปา อําเภอ ชองจราจร ความกวางชองละ 4.00 เมตร ทาเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กวา มีทางเดินเทากวางขางละ 1.00 เมตร รอยละ 86 โดยอยูระหวางการกอสราง รวมถนนตอเชื1อมผิวทางแอสฟลท กวาง พื้ น สะพานช ว งกลาง คาดเป ด ให 12.00 เมตร งบประมาณในการกอสราง ประชาชนสั ญ จรได ใ นเดื อ นเมษายน 157.172 ลานบาท 2558 เมื1อ ก อ สร า งแล ว เสร็ จ จะช ว ย คุณชาติชาย ทิพยสุนาวี อธิบดี พัฒนาระบบขนสง ลดปญหาการจราจร กรมทางหลวงชนบท รักษาราชการรอง ที่ ห นาแน น ในเขตเทศบาล ยกระดั บ ปลัดกระทรวงคมนาคม กลาววา ที่ผาน คุณภาพชีวิตใหแกประชาชนในพื้นที่ ซึ่ง มากระทรวงคมนาคมมอบหมายให อําเภอทาเรือเปนเมืองทาทีม่ แี มนาํ้ ปาสัก ทช.ดําเนินการกอสรางถนนตามผังเมือง ไหลผานเชื1อมโยงระบบขนสงทางนํ้ากับ รวมถนนสาย ข2 ผั ง เมื อ งรวมเมื อ ง ทางบกเปนทีต่ งั้ ของโรงงานอุตสาหกรรม ทาเรือ เพื1อพัฒนาระบบขนสงในเขต เปนจํานวนมาก อีกทั้งยังเปนถนนตาม เทศบาลตําบลทาเรือ และรองรับการ แนวการพัฒนาเมือง อันจะสงผลใหเกิด เจริญเติบโตของเมืองในอนาคต สะพาน ความเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจและ คอนกรีตเสริมเหล็กขามแมนาํ้ ปาสักแหง สังคมอยางตอเนือ1 ง
โหลดฟรี! เพิ่มความสะดวกใชทางพิเศษ การทางพิ เ ศษ แหงประเทศไทย (กทพ.) ชวนผู ใช ทางพิเศษตลอด จนประชาชน ทั่วไปดาวนโหลด แ อ พ พิ เ ค ชั่ น “EXAT ITS” ฟรีบนสมารทโฟน แทบ เล็ต ฯลฯ ทุกระบบปฏิบัติการ (iOS, Android) เพื1อ อํ า นวยความสะดวก รวดเร็วในการใชทางพิเศษ คุณรัชนัย เปรมปราคิน หัวหนา แผนกประชาสั ม พั น ธ กองประชา สัมพันธ กทพ. เปดเผยวา การจัดทํา Mobile Application ที่มีชื1อวาEXAT ITS เพื1อตอบสนองไลฟสไตลคนเมืองใหไดรบั ความสะดวกในการเดินทาง โดย EXAT เปนชื1อยอของ กทพ. คือ Expressway Authority of Thailand และ ITS ยอมา จาก Intelligent Transportation System แปลวา ระบบจราจรอัจฉริยะ ซึ่งความ สามารถของแอพพลิเคชัน่ EXAT ITS นัน้ สามารถแสดงสภาพจราจรบนทางพิเศษ ทําใหประชาชนทัว่ ไป และ ผูใชทางพิเศษ ทราบถึงสภาพการจราจรโดยรวมแบบ Real time และยังสามารรถคํานวณระยะ เวลาการเดินทางจากจุดเริ่มตนถึงปลาย ทางไดอยางแมนยําตามสภาพการจราจร ในชวงเวลานั้น นอกจากนี้ EXAT ITS สามารถ ตรวจสอบสภาพการจราจรจากกล อ ง CCTV แบบ Real time บอกจุดใหบริการ บนทางพิเศษ เชน ดานเก็บคาผานทาง พิเศษ สถานีตํารวจทางดวน จุดพักรถ และแจงเตือนตําแหนงที่เกิดอุบัติเหตุ
B&T#257_p10-11_Pro3.indd 10
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557 โดย กรมการขนสงทางบก
จอดปายหมอชิต
ขบ. ยืนยัน เก็บภาษีรถประจําปอัตราเดิม กรมการขนสงทางบกชี้แจงไมมี การปรับอัตราภาษีรถประจําปเพิ่มขึ้น ตามที่มีขาวในโซเซียลมีเดีย และเก็บ ภาษี ร ถประจํ า ป ใ นอั ต ราเดิ ม ตามที่ กําหนดไว ในกฎหมาย กรณี ที่ มี ก ารโพสต ข อ ความใน โซเซียลมีเดียวา กรมการขนสงทางบก (ขบ.) จะปรับอัตราภาษีรถประจําป โดย ปรับอัตราภาษีตามขนาดความจุกระบอก สูบเพิม่ ขึน้ ประมาณ 2 เทา จากอัตราภาษี รถประจําปทเี่ รียกเก็บในปจจุบนั กรมการ ขนสงทางบกชีแ้ จงวา ขณะนี้ ไมมแี นวคิด เกีย่ วกับการปรับอัตราภาษีรถยนตประจํา ปตามทีม่ ผี ูไมประสงคดีได โพสตขอ ความ เผยแพรในโซเซียลมีเดียแตอยางใด และ ยื น ยั น ว า อั ต ราภาษี ร ถยนต ป ระจํ า ป ที่ เรี ย กเก็ บ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ร ถยนต พ.ศ. 2522 จะเรียกเก็บตามขนาดความ จุกระบอกสูบของรถยนต โดย รถยนต บุ ค คลธรรมดา (รย.1) พ.ต.อ.ยอดชาย ผูสันติ ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝายประชาสัมพันธ, บก.02
ขนาด 1,500 ซีซี. จะตองชําระภาษีรถ ประจําป เปนเงินจํานวน 1,650 บาท, ขนาด 1,600 ซีซี อัตราภาษี 1,800 บาท, ขนาด 1,800 ซีซี อัตราภาษี 2,100 บาท, ขนาด 2,000 ซีซี อัตราภาษี 2,900 บาท, ขนาด 2,400 ซีซี อัตราภาษี 4,500 บาท, ขนาด 3,000 ซีซี อัตราภาษี 6,900 บาท สวนรถยนตนั่งสวนบุคคลเกิน 7 คน (รย.2) และรถยนตบรรทุกสวนบุคคล (รย.3 หรือ รถปกอัพ) จะคิดอัตราภาษีรถ ตามนํา้ หนักรถ โดยรถยนตนงั่ สวนบุคคล เกิน 7 คน ที่มีนํ้าหนักรถ 1,800 กิโลกรัม อั ต ราภาษี 1,600 บาท และรถยนต บรรทุ ก ส ว นบุ ค คลในกรณี นํ้ า หนั ก รถ สูงสุดที่ 1,750 กิโลกรัม อัตราภาษีจะอยู ที่ 1,050 บาท เทานั้น สามารถตรวจสอบขอมูลขาวสาร ของ กรมการขนสงทางบกไดจากเว็บไซต www.dlt.go.th
BUS & TRUCK FAQ
บรรทุกแซงและเขาซายทันทีผิดหรือไม? ขับรถบรรทุกแซงแลวเขาซายทันทีที่ ซายวาง ผิดกฎหมายหรือไมครับ เจา หนาที่สามารถให ใบสั่งไดหรือไม จากคุณ : ตอมแตม
ตลอดจนจุ ด ซ อ มแซมบํ า รุ ง ทางพิ เ ศษ เพื1อใหผู ใชบริการสามารถวางแผนการ เดินทางและหลีกเลี่ยงเสนทางดังกลาว ลวงหนา ทั้งนี้ ผู ใช Easy pass ยังสามารถ ใช EXAT ITS App เชื1อ มไปยั ง หนา เว็บไซต thaieaypass.com เพื1อตรวจ สอบยอดคงเหลือในบัตร Easy Pass โดย EXAT ITS สามารถรองรับทัง้ ระบบปฏิบตั ิ การ iOS และ Android ทานสามารถ ดาวนโหลดไดที่ App Store และ Google Play Store โดยคนหาคําวา “EXAT ITS” หรือสอบถามไดที่ศูนยบริการขอมูลผู ใช ทางพิเศษ EXAT Call Center โทร 1543 ตลอด 24 ชั่วโมง
สามารถแซงไดครับ เมื1อผูขับขี่ขับรถ ดวยความเร็วสูงกวารถในชองเดินรถ ดานซาย เมื1อแซงพนแลวใหผูขับขี่ ตองขับรถชิดของทางเดินรถดานซายตอไป และกรณีรถบรรทุกหามวิง่ ขวายกเวนการแซง ซึ่งในเรื1องดังกลาวมีขอกฎหมาย ดังนี้ ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 ม.33 ในการขับรถ ผูขับขี่ตองขับรถในทาง เดินรถดานซาย และไมลํ้ากึ่งกลางของทาง เดินรถ เวนแตในกรณีตอไปนี้ ใหเดินทางขวา หรือลํา้ กึง่ กลางของทางเดินรถได (1) ดานซาย ของทางเดินรถมีสิ่งกีดขวางหรือถูกปดการ จราจร (2) ทางเดินรถนั้น เจาพนักงานจราจร กําหนดใหเปนทางเดินรถทางเดียว (3) ทาง เดินรถนั้นกวางไมถึงหกเมตร ม.34 ในการใช ทางเดินรถที่ ไดจัดแบงชองเดินรถในทิศทาง เดียวไวตั้งแตสองชองทางขึ้นไป หรือที่ ไดจัด ชองเดินรถประจําทางไวในชองเดินรถซายสุด ผูข บั ขีต่ อ งขับรถในชองซายสุดหรือใกลกบั ชอง ทางเดินรถประจําทาง เวนแตในกรณีตอไปนี้ (1) ในชองทางเดินรถนั้นมีสิ่งกีดขวาง หรือถูกปดการจราจร (2) ทางเดินรถนั้น เจาพนักงานจราจร กําหนดใหเปนทางเดินรถทางเดียว (3) จะตองเขาชองทางใหถูกตองเมื1อ เขาบริเวณใกลทางรวมทางแยก (4) เมื1อจะแซงขึ้นหนารถคันอื1น (5) เมื1อผูขับขี่ขับรถดวยความเร็วสูง กวารถในชองเดินรถดานซาย *** ม.35 รถบรรทุก รถบรรทุกคน โดยสาร รถจักรยานยนต รถที่มีความเร็วชา หรือรถที่ใชความเร็วตํ่ากวาความเร็วของรถ
คันอื1นที่ขับในทิศทางเดียวกัน ผูขับขี่ตองขับ รถให ใกลขอบทางเดินรถดานซายเทาที่จะ กระทําได ผูขับขี่รถบรรทุก รถบรรทุกคน โดยสาร รถจักรยานยนต ในทางเดินรถซึ่งได แบงชองเดินรถในทิศทางเดียวกันไวตั้งแต สองชองขึ้นไป หรือไดจัดชองเดินรถประจํา ทางดานซายไว โดยเฉพาะ ตองขับรถในชอง เดิ น รถด า นซ า ยสุ ด หรื อ ใกล เ คี ย งกั บ ช อ ง เดินรถประจําทางแลวแตกรณี ความในวรรคสองมิ ใ ห ใ ช บั ง คั บ แก รถยนตบรรทุกสวนบุคคลที่มีนํ้าหนักไมเกิน 1,600 กิโลกรัม และรถยนตนงั่ สวนบุคคลเกิน 7 คน ตามกฎหมายวาดวยรถยนต โทษ ม.151 ผู ใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม ... ม.35 ตอง ระวางโทษปรับตั้งแต 200-500 บาท คํา อธิบาย ตามบทบัญญัติใน ม.35 รถบรรทุก กฎหมายบังคับใหตองขับชิดซายเสมอ หาก เปนกรณีของทางเดินรถที่ ไมไดแบงชองทาง เดินรถไว ผูขับขี่ตองขับรถในทิศทางเดินรถ ดานซายเทาที่จะกระทําได ถาเปนทางเดินรถ ที่ ไดแบงชองทางเดินรถในทิศทางเดียวกันไว ตัง้ แตสองชองทางขึน้ ไปหรือไดจดั ชองเดินรถ ประจําทางดายซายไวเฉพาะ ก็ตองขับรถใน ช อ งเดิ น รถด า ยซ า ยสุ ด หรื อ ให ใ กล กั บ ช อ ง เดินรถประจําทางซึ่งอยูชิดดานซายของทาง อยูแลว ยกเวนในกรณีที่รถเหลานี้ตองการจะ ขับแซงขึ้นหนารถคันอื1นก็จะทําใหสามารถ ออกมาขับรถทางดานขวาโดยตองปฏิบตั ติ าม กฎหมายในเรื1องการขับแซงและผานขึ้นหนา แม ม.35 เปนบทบังคับสําหรับรถบรรทุก แต รถทั่วไปรวมทั้งรถชาตาม ม.35 ก็ตองอยูใน บังคับของ ม.33-34 ที่บังคับใหตองขับรถใน ทางเดินรถดานซายและตองไมลาํ้ กึง่ กลางของ ทางเดินรถ อันเปนหลักใหญและใช ในทาง เดินรถทีม่ ไิ ดแบงชองเดินรถและที่ไดแบงชอง เดินรถออกเปนหลายชองดวย
10/29/14 10:54 PM
PROTEST • BUS&TRUCK 11
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
กดแตร
ขนสงไทยถูกขนสงไทยกิน
กอนที่จะเปดประชาคมเศรษฐกิจ เล็กทั้งในภาคอีสาน และภาคเหนือ ตาง อาเซียน หรือ AEC ขนสงไทยตางเกรง วิง่ ขนสงอยูก ค็ อื ขาวเปลือกตามโรงสีขา ว วา ขนสงตางชาติจะเขามาแยงลูกคาใน รายเล็ก พืชผลทางการเกษตรเล็ก ๆ เมื อ งไทยไปครอง เพราะได มี ก าร นอย ๆ แถมบางครั้งก็ตองเปนซับขนสง ประกาศรั บ ทั้ ง พนั ก งานออฟฟ ศ ใหกับขนสงรายใหญที่รับจางขนขาวสาร พนักงานขับรถ และหัวหนายานยนต ให ใหกับโรงสีขาวรายใหญอีก เงินเดือนสูงกวาเดิม 3 เทา สงผลให ดวยเหตุนี้เองขนสงรายเล็กทั้งใน ขนสงไทยตองรวมตัวกันยื1นเอกสารให ภาคเหนือ และภาคอีสาน ตางก็ตองหา เจ า หน า ที่ ร ะดั บ สู ง ของกระทรวง ทางอยูร อด หากสินคาทีข่ นอยูห มดไปนัน้ พาณิ ช ย เ ป น ผู ไ กลเ กลี่ ย ในเรื1อ งนี้ จ น คือการเปนซับขนสงใหกับสองยักษใหญ สําเร็จ เพราะมิเชนนั้นแลว ขนสงไทย โดยทราบดีอยูแ ลววารายไดที่ไดมาจะลด ก็จะไรทั้งพนักงานและผูวาจาง เพราะ นอยลงไปเปนอยางมาก จะมีรายได ให ถูกดึงตัวไป โดยบริษัทตางชาติจะควัก เพียงเล็กนอยเทานั้น จากในอดีตที่สอง ทุนหนักประมาณ 3 ป ในชวงเวลานั้น ยักษใหญเคยทํามากอน เปนเชนไรก็เปน ขนสงไทยก็จะคอย ๆ ปดตัวไป เพราะ เชนนั้น ไมมีงานขนสงเขามาหาเลย อี ก ป จ จั ย หนึ่ ง ที่ ช ว ยเกื้ อ หนุ น ให ปจจุบันขนสงไทยแบงไดเปน 3 ขนสงไทย เปนซับใหขนสงไทยก็คือ เมื1อ กลุม คือ ขนสงรายใหญ ทีส่ ามารถยืนอยู ประมาณ 25 ปที่แลว ตลาดขนสงมีการ ไดดวยตนเองเพราะมีมาตรฐานโลจิส- เพิม่ รถใหมเปนจํานวนมาก แตสนิ คามีให ติกสเปนสากล ขนสงขนาดกลาง ที่จะ ขนสงนอยลงเรื1อย ๆ และในป 2558 จะ ต อ งรวมตั ว กั น เพื1อ ทํ า ให มี ค วามแข ง เห็นวามีจํานวนรถใหญเปนจํานวนมาก แกรงมากยิง่ ขึน้ มีรถเพื1อการพาณิชยทกุ รอที่จะขนสงสินคาที่มีเปนจํานวนนอย รู ป แบบเพื1อ ขนส ง ได ทั้ ง ในและต า ง คาใชจา ยของผูเ ปนเจาของรถใหญ ประเทศ สุดทายคือกลุมขนสงรายเล็ก ที่ ก็ตองมีเพิ่มขึ้นเรื1อย ๆ ไมวาจะเปนคา ตอไปจะตองเปนผูรับชวงตอจากขนสง ผอนไฟแนนซ คาบํารุงรักษา คาซอมแซม ตางชาติขยายธุรกิจในเมืองไทยเพิ่มมาก รวมทั้งคาคนขับ แตรายไดที่มีลดนอยลง ขึ้น ไมเพียงพอ แตสิ่งที่ขนสงคาดไวหาไดเปนเชน สิ่งแรกที่ตองเห็นแนก็คือ การตัด นั้นไม เพราะขนสงรายใหญของไทยได ราคาคาขนสงกัน เพื1อทีจ่ ะไดมเี งินเขามา กลายมาเปนผูร บั ขนสงรายยอยใหมาเปน หมุนเวียนใช แมวาจะตองขาดทุนก็ตาม ซับขนสงอีกทอดหนึง่ โดยยักษขนสงไทย สิ่งที่ 2 ที่ตองเห็นแนก็คือ ขนสง มีอยู 2 เจา ตองขนสงสินคาจากกรุงเทพฯ รายเล็กตองยอมทีจ่ ะมีรายไดเพียงแคพอ ไปสงยังภาคอีสานและภาคเหนือ สวน กินกับการเปนซับขนสงใหกับขนสงราย ขากลับก็จะรับขาวโพดดิบมาสงที่โรงงาน ใหญของไทยที่มีอยู 2 ราย เพราะหลัก ที่ จ.ชลบุรี เพื1อทําเปนอาหารสัตวตอไป การทํางานของ 2 รายนี้ ไดมีการปูพรม เรียกวาเปนการลดเที่ยวเปลาตาม ทัว่ ประเทศไวแลวเมื1อ 5 ปที่ผานมา ที่กรมการขนสงทางบกได ใหวิธีการไว กอนที่จะมีการเปด AEC นั้น สิ่งที่ กอนแลว นั้นคือเมื1อขนสินคาไปสงที่จุด คาดวาขนสงตางชาติจะเขามาแยงลูกคา หมายปลายทางก็ตองมีสินคาขนมาใน ขนสงจากไทย แตความเปนจริงขนสง ขากลับดวย โดยบริษัทขนสงสองยักษ ของไทยที่มีลูกคาทั่วประเทศ จะเปนผูที่ ใหญนลี้ ดราคาตัดหนาขนสงในพืน้ ทีด่ ว ย กินขนสงไทยดวยกันเอง ราคาตันละประมาณ 400 บาท ในขณะ แลววิธีการแก ไขควรจะออกมาใน ทีร่ าคาทีข่ นสงในพืน้ ทีร่ บั ก็คอื ตันละ 550 รูปแบบใดและใครจะเปนผูรับผิดชอบ บาท แถมยังตองวิ่งกลับดวยรถเปลาอีก เพื1อใหคนไทยมีอยูมีกินอยางสมเหตุสม สวนงานขนสงทีผ่ ปู ระกอบการราย ผล
B&T#257_p10-11_Pro3.indd 11
พักรถ
ตองดูแลรถกอนใชงาน คนขับรถใหญถือไดวา เปนสวนสําคัญในการ ดําเนินธุรกิจขนสง สิ่ง หนึ่ ง ที่ เ ห็ น ก็ คื อ ป ญ หา การขาดคนขั บ และยั ง ไมสามารถหาคนขับมา เพิ่มได ดังนั้นคนขับเดิมที่มีอยูก็ตองพัฒนาฝมือของตัวเองใหเปนนักขับเพิ่ม มากขึ้นจะไดมีทั้งสวัสดิการ การปรับเงินเดือน พรอมทั้งมีเงินใหกูเมื1อ ขาดแคลนอีกดวย การดูแลรถกอนขับใชงาน ถือวาเปนสิง่ สําคัญอันดับแรกทีค่ นขับรถทุก คนตองใสใจ กอนขึ้นรถก็ตองดูทั้งลมยางรถใหญทุกเสนวาพรอมที่จะขับ เคลื1อนเดินหนาหรือไม ตอมาก็เปนการดูแบตเตอรี่ นํ้ามันเบรก นํ้ามันครัช หากทุกอยางพรอมกอนขึ้นรถเพื1อสตารทดูหนาปด ดูระบบไฟ ตรวจสอบ เบรก ครัช และคันเรง กระจกมองหลัง มองขางทั้ง 2 บาน วาอยูในสภาพ พรอมที่จะใชงานหรือไม ตอมาก็จะเปนเบาะนั่งวา เหมาะสมกับการนั่งไปในระยะทางไกลหรือ ไม พวงมาลัยจะอยูในทาที่สบายมือหรือไม ตอมาที่สําคัญที่สุดคือ คันเกียร จะควบคุมอยางไร เพื1อใหสบายมือที่สุด เมื1ออุปกรณพรอมทุกอยางแลวก็ สามารถเริม่ ขับทํางานไดทนั ที อยาลืมวากอนขับรถไปทํางานทุกวันก็ตอ งทํา เชนนี้ เพราะจะเปนสวนที่ชวยทําให ไมเกิดอุบัติเหตุบนทองถนน แตสิ่งสําคัญที่สุดในการที่จะชวยปองกันไมใหเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งเปนที่ พอใจกับนายจางเปนอยางมาก คือ ตองมีสมาธิรูวากําลังทําอะไรอยูจะมีผล อยางไรกับตัวเองและครอบครัว สิ่งนั้นสําคัญที่สุดในการขับรถใหญ
10/29/14 10:57 PM
12 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK CARE
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
รักษรถ
ดูแลรถบรรทุกใหสมบูรณ กอนสายเกินไป ป จ จุ บั น นี้ มี ก ารขยายตั ว ของ ธุ ร กิ จ ด า นการขนส ง มากขึ้ น ผู ประกอบการทางดานการขนสงที่ใช รถบรรทุกในการขนสงจึงจําเปนตอง ใสใจรถบรรทุกใหมีสภาพที่สมบูรณ ซึ่งจะชวยลดตนทุนการซอมบํารุงให นอยลง ลดการเสียเวลาจากการทีร่ ถ บรรทุกเกิดเหตุขดั ของระหวางทางที่ กําลังขนสง และยังชวยสรางโอกาส ความไดเปรียบในการแขงขัน การบํารุงรักษาเครื1องยนตและ สวนควบคุมตาง ๆ ของรถบรรทุกมี ความสําคัญไมยิ่งหยอนกวารถยนต หรือรถอื1น ๆ เลย ยิ่งรถบรรทุกสวน มากแลวใชงานหนักและไมคอยไดพัก เครื1อ งยนต ถึ ง แม ค นขั บ จะเหนื1อ ย เมื1อยลาหรืองวงนอนก็สามารถเปลีย่ น คนขับได แตเครื1องยนตของรถบรรทุก นั้นไมไดพักเลย ดั ง นั้ น หากคุ ณ ใส ใ จและดู แ ล เครื1องยนตเปนอยางดีแลว เชื1อวารถ บรรทุกของคุณจะสามารถใชงานได นานวัน และคุมคาอยางแนนอน ลองมาดูวารถบรรทุกตองดูแล เรื1องอะไรเปนพิเศษบาง • ตรวจสอบตามรายการกอน ออกเดินทาง สําหรับคนทีม่ รี ถอยูแ ลว คุณจะตองมีคูมือรถ ซึ่งในนั้นบอกวิธี และรายการที่ตองเช็คกอนออกเดิน ทางอยูแลว คุณสามารถเปดดูและทํา ตามไดงาย ๆ เชน ตรวจสอบระดับ นํา้ มันเครื1อง ระบบไฟสองสวาง ระบบ ไฟสัญญาณ ลมยาง ฯลฯ มีบอกไว หมดแลว อยาเอาคูมือรถเก็บในชอง
B&T#257_p12-13_Pro3.indd 12
เก็บของหนารถโดยไมเปดอาน • 3 นํ้าสําคัญสําหรับเครื1องยนต นํา้ มันชวยใหเครื1องยนตทาํ งานได นํา้ มัน เครื1อ งช ว ยหล อ ลื1น ไม ใ ห เ ครื1อ งยนต ทํางานสะดุดหรือติดขัด นํ้าหมอนํ้าชวย ระบายความจากเครื1องยนต ควรเช็ความี ปริ ม าณเพี ย งพอสํ า หรั บ การเดิ น ทาง เที่ยวนั้น
• ชวงลางสําคัญที่สุดสําหรับรถ บรรทุก เพราะถือเปนหัวใจในการบรรทุก ของหนัก และหากชวงลางไมดีหรือเกิด การชํารุดอาจะทําให ไมสามารถเดินทาง ไปถึงจุดหมายปลายทางได ดังนั้นตอง หมั่นตรวจสอบชวงอยูเสมอ • รถเสียใหซอมทันที บางคนคิด วาคงไมเปนไรไฟหนาดับแคดวงเดียวก็ ยังเหลืออีกดวงหนึ่ง ขับตอไปได ยังมอง เห็นก็เดินทางตอไป หารูไมวา รถคันทีข่ บั สวนมาอาจเขาใจผิดวารถของคุณคือรถ มอเตอร ไซค (เพราะมันมี ไฟหนาดวง เดียว) อาจเปนตนเหตุใหเกิดรถชนหรือ อุ บั ติ เ หตุ ไ ด หรื อ ไม ว า ส ว นใดของรถ บรรทุกหากเกิดการชํารุดควรจอดรถเพื1อ ทําการซอมแซมหรือเปลีย่ นอะไหลนนั้ ให เรียบรอยใหสามารถใชงานไดดีดั่งเดิม กอนเดินทางตอไปโดยสวัสดิภาพ จะได
ปลอดภัยกันทัง้ ตัวคุณเองและคนอื1นที่ ใชถนนรวมกัน หากทานเจาของรถปลอยปละ ละเลยไมตรวจเช็คสภาพเครื1องยนต หรืออุปกรณตาง ๆ วาใชงานไดดีหรือ ไม มี ส ว นไหนบ า งที่ ต อ งเติ ม ต อ ง เปลีย่ น เมื1อเครื1องยนตทาํ งานผิดปกติ หรือไมสามารถทํางานได อาจจะทําให ขณะทีข่ บั ขีอ่ ยูน นั้ ไมสามารถควบคุมรถ และทําใหเกิดอุบัติเหตุได สูญเสียทั้ง ชีวิตและเงินทอง ดั ง นั้ น การตรวจสภาพต า ง ๆ ตามที่ผูผลิตแนะนําทั้งกอนออกเดิน ทางและระหวางการเดินทางก็ควรอยา ไดบกพรองเด็ดขาด อยาคิดวาไมเช็ค ไมตรวจก็ไมเห็นเปนไร รถยังวิง่ ไดปกติ ไมเปนไรไมได เพราะอุบัติเหตุปองกัน ดวยความไมประมาท
10/29/14 11:00 PM
B&T#257_p12-13_Pro3.indd 13
10/29/14 11:00 PM
14 BUS&TRUCK • INTERVIEW
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
จอดคุย เบาะรถโดยสาร ถือเปนปจจัย สําคัญในการเดินทาง เพราะทุกการ เดินทางนั้น ไมวาจะขึ้นเหนือลองใต ตางใชเวลาในการเดินทางหลายชัว่ โมง ผูผลิตเบาะรถโดยสารจึงตองคิดหนัก ขึ้นเพื1อสนองความตองการของลูกคา บริษัท ศรีไทย โอโตซีทส อินดัสตรี จํากัด หนึ่งในผูผลิตเบาะรถ โดยสารชั้นนําของประเทศไทย ที่ ไม เคยหยุดคิดเพื1อผูบริโภค จนสงผลให บริษัทประสบความสําเร็จมายาวนาน รวม 27 ป โดยเบื้องหลังความสําเร็จ ของเบาะศรีไทยนัน้ มาจาก “ครอบครัว ลิมปไพฑูรย” ทีบ่ ริหารโดย คุณอัชณา ลิมปไพฑูรย กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ศรีไทย โอโตซีทส อินดัสตรี จํากัด ซึ่ง ได “จอดคุย” ถึงเรื1องราวของศรีไทยฯ ไดอยางสวยงาม
รางวัลการันตีมากมาย เบาะศรี ไ ทยถื อ กํ า เนิ ด ขึ้ น ในป 1987 บนความตั้งใจที่จะสรางเบาะรถ โดยสารคุณภาพและนั่งสบายอันดับ 1 ของเมืองไทย และในป 1995 บริษัทได นํ า เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื1อ สุ ข ภ า พ ห ลั ง “AirLumba” มาติ ด ตั้ ง ไว เ บาะรถ โดยสารเปนครั้งแรก และไดรับการ ยอมรับใหติดตั้งเปนอุปกรณมาตรฐาน เบาะรถยนตตั้งแตป 2000 เปนตนมา ทั้งนี้ ยังไดรับรางวัลมาตรฐาน สูงสุดอันดับ 1 หลากหลายสาขา ไดแก รางวัลผูผ ลิตชิน้ สวนยานยนต ไทยดีเดน ประจําป 2553 โดย สมาคมวิศวกรรม ยานยนต ไทย มาตรฐาน ISO/TS16949 และ ISO 9001 นอกจากนี้ ยังเปนเบาะ รถโดยสารรายแรกในประเทศไทยที่ ผ า นมาตรฐานความปลอดภั ย ตาม มาตรฐานยุโรป ECE R14 : การทดสอบ ความมั่นคงแข็งแรงที่นั่ง และระบบ ปรับตําแหนงของทีน่ งั่ , ECE R17 : การ ทดสอบความมั่นคงแข็งแรงที่นั่ง และ ระบบปรับตําแหนงของทีน่ งั่ และ ECE R80 : การทดสอบความแข็งแรงจุดยึด ที่นั่ง
พัฒนาอยางตอเนื่อง บริ ษั ท มี ค วามมุ ง มั่ น ที่ จ ะตอบ สนองความต อ งการของลู ก ค า เป น สําคัญ ในทุก ๆ กลุม ผลิตภัณฑ บริษทั ฯ พยายามคิดคนและพัฒนาผลิตภัณฑ โดยการนําวิทยาการใหม ๆ เขามาชวย ในการผลิตและออกแบบผลิตภัณฑ มี การใชเครื1องมือทางวิศวกรรมในการ จัดการเพื1อใหเกิดความมั่นใจตอลูกคา ว า ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องบริ ษั ท มี คุ ณ ภาพ คงทน แข็งแรง ปลอดภัย และชวยลด ตนทุนในการผลิต นอกจากนั้นบริษัท ยั ง ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การทดสอบ ผลิตภัณฑตามมาตรฐานที่เกี่ยวของ จากสถาบันที่เปนมาตรฐานและเปนที่
B&T#257_p14-15_Pro3.indd 14
ยอมรับทั้งในระดับชาติและระดับสากล
AirLumba ToGo เบาะสุขภาพ การนัง่ ใหอยูใ นทาทีเ่ หมาะสมเพียง อยางเดียวนัน้ อาจไมเพียงพอเมื1อตองนัง่ เปนระยะเวลานาน ๆ เพราะแมวาทานั่ง จะเหมาะสมเพี ย งใดหากเราอยู ใ น อิริยาบถนั้นเฉย ๆ สักพักก็จะรูสึกอึดอัด และไมสบายตัว นัน่ เปนเพราะวารางกาย ของเราไมไดถกู ออกแบบมาเพื1อใหอยูใน อิริยาบถใดอิริยาบถหนึ่งเปนเวลานาน ๆ เมื1อรูส กึ แข็งเกร็งหรือเมื1อยลา รางกายก็ จะส ง สั ญ ญาณให เ รารู ว า มั น ต อ งการ ความเคลื1อ นไหว และเมื1อ เราเปลี่ ย น อิริยาบถเพียงเล็กนอยเราก็จะรูส กึ สบาย
กั บ concept การเคลื1อ นไหว ของ AirLumba ToGo ใชการเคลื1อนไหว เบา ๆ อยางตอเนื1องทําใหการถายเทนํ้า หนักตัวระหวางกลามเนื้อหลังกับหมอน รองกระดูกและทําใหหมอนรองกระดูกมี นํ้าเขาไปหลอเลี้ยง เพื1อรักษาความหนา แนน ซึง่ เอือ้ ตอการรับนํา้ หนักตัว จึงทําให คุณนั่งหรือขับรถไดนานขึ้นโดยไมปวด เมื1อยหลัง
ปลอดภัย และดีตอสุขภาพระยะยาว AirLumba ToGo ชวยปองกันโรค หมอนรองกระดูกเสื1อม และชวยบริหาร กลามเนื้อหลัง ทําใหคุณมีสุขภาพหลังที่ ดีในระยะยาว concept การเคลื1อนไหว
จะชวยลด และปองกันอาการปวดหลัง ไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื1องจากเปน ระบบลม AirLumba ToGo จึงไมมี สวนแข็ง ซึ่งอาจทําใหเกิดอันตรายใน ขณะเกิดอุบัติเหตุ สวนดีไซนเรียบงาย ที่จะทําให เบาะคุณสวยยิง่ ขึน้ AirLumba ToGo ไมเพียงถูกออกแบบอยางถูกตองตาม สรีระศาสตรเทานัน้ แตยงั ถูกออกแบบ จากพื้นฐานความคิดของความเรียบ ง า ยและละเอี ย ดอ อ น AirLumba ToGo ใชวัสดุคุณภาพสูงสุด มีขนาด กะทัดรัดและนํา้ หนักทีเ่ บากวา จึงทําให สะดวกและประหยัดพลังงาน
คุณอัชณา ลิมปไพฑูรย พัฒนาเบาะรถโดยสารที่ดีตอสุขภาพ AirLumba ToGo ชวย ทําใหกระดูกสันหลังของคุณอยูใ น ทาที่สบาย และถูกสุขลักษณะอยู เสมอ เนื่ อ งจากลมชว ยในการ รองรับทุกสวนโคงเวาของสรีระ และกระจายพื้นที่รับนํ้าหนักของ แผนหลังไดดีที่สุด ขึ้นทันที เพราะในความเปนจริงแลวการ เคลื1อ นไหวเป น วิ ธี ท างธรรมชาติ ข อง รางกายที่ใช ในการดูแลรักษาตัวมันเอง ซึ่ ง เ ป น ห ลั ก ก า ร เ ดี ย ว กั บ ก า ร ทํ า กายภาพบําบัด ดั ง นั้ น AirLumba ToGo ที่ มี เทคโนโลยี Air Motion Technology จึงไมเพียงชวยปรับใหกระดูกสันหลังของ เราอยูในทาที่เหมาะสมตามหลักสรีระ ศาสตรเทานั้น แตยังชวยใหแผนหลังได มีโอกาสเคลื1อนไหวเบา ๆ อยางตอเนื1อง เพื1อทําใหกลามเนื้อและกระดูกสันหลัง ผอนคลายอยูตลอดเวลา จึงชวยปองกัน และฟนฟูประสิทธิภาพตามธรรมชาติให กับรางกาย
สบายกระจายนํ้าหนัก AirLumba ToGo ช ว ยทํ า ให กระดูกสันหลังของคุณอยูในทาที่สบาย และถูกสุขลักษณะอยูเสมอ เนื1องจากลม ช วยในการรองรับทุ ก สวนโคง เวา ของ สรีระและกระจายพื้นที่รับนํ้าหนักของ แผนหลังไดดีที่สุด โดยเทคโนโลยีลาสุด
10/29/14 11:03 PM
LAW KNOWLEDGE • BUS&TRUCK 15
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
รูกฎกอนขับ
ประหยัดนํ้ามัน ความเปลี่ ย นแปลงในวงการ บรรทุกขนสงสินคาในชวงเร็ว ๆ นีน้ า จะ มีความเปลี่ยนแปลงของโครงสรางคา บรรทุกขนสง ทั้งนี้และทั้งนั้นเพราะวา “ตนทุน”ของธุรกิจจะเริ่มสูงขึ้นอันสืบ เนื1องจากหลาย ๆ ปจจัยรอบดานที่มี ความเกี่ยวของ และตนทุนที่นาจะถูก มองเห็นเปนอันดับแรก ๆ ก็คงจะเปนคา บรรทุกขนสงเพราะวา บางครั้งถูกมอง ว า การบรรทุ ก ขนส ง นั้ น เป น อะไรที่ สามารถหาทดแทนได ง า ยและหาได รวดเร็ว บางทีอาจจะเกิดภาวะที่ผูวาจาง บรรทุกขนสงสินคาหรือเจาของสินคา ตองขอความรวมมือกับผูขนสงในการที่ จะช ว ยกั น ลดต น ทุ น เพื1อ ให ส ามารถ แขงขันกับคูแขงตาง ๆ หากเปนเชนนั้น แนวทางการจะลดตนทุนก็คงจะตองคิด เผื1อเอาไวบา ง และทีใ่ กลตวั มากทีส่ ดุ ก็คอื “การประหยัดนํ้ามัน” นั่นเอง รถยิ่งมาก ยิง่ วิง่ ระยะทางมาก ๆ การประหยัดนํา้ มัน ก็จะยิ่งชวยใหสามารถแขงขันได ในระยะ ยาว การวางแผนสรรหารถที่เหมาะสม และรองรับความเปลีย่ นแปลงในอนาคต เปนการคิดเผื1อไว รถหัวลากที่นาจะมี ความประหยัดมากทีส่ ดุ นาจะเปนรถทีถ่ กู เลือกเขามาไว ในกองรถมากที่สุด รถที่ เหมาะสมหมายถึ ง ราคาที่ ไ ม แ พงนั ก อัตราการสิ้นเปลืองนํ้ามันก็อยูในเกณฑ มาตรฐาน คาซอมบํารุงก็ไมแพงลิว่ ระยะ เวลาการซอมก็ไมมากนัก ระหวางเกียร ธรรมดากับเกียรอตั โนมัตนิ นั้ การควบคุม อัตราการสิ้นเปลืองนํ้ามันเกียรธรรมดา นาจะคุมอัตราสิน้ เปลืองไดงา ยกวาเพราะ การเปลี่ยนเกียรทําการเปลี่ยนโดยผูขับ นอกจากปจจัยทั้งหลายที่กลาวมา แลวนั้น ยังมีอีกปจจัยหนึ่งที่ ไมควรจะ มองขาม “ความสอดคลองกับการใชงาน ในเมืองไทย” รถบางรุน บางยีห่ อ มีลกู เลน เทคโนโลยีมากเกินไป (แมจะประหยัด นํา้ มัน) แตไมคอ ยจะสอดคลองกับการใช งานในเมืองไทย สุดทายก็สรางปญหาให กับผูประกอบการขนสง (อาจจะไมใชทุก ราย) การเลื อ กรถที่ เ หมาะสมคงต อ ง อาศัยขอมูลของแตละองคกรวาเหมาะ สมกับรุน ไหน ยกตัวอยางเชน บางองคกร อาจจะไมเหมาะกับการใชรถระบบกัน สะเทื อ นแบบถุ ง ลม ก็ค งตองเลื อกใช ระบบแหนบ เพราะใชงานไดทนทานสม บุ ก สมบั น ซ อ มง า ยค า อะไหล ไ ม แ พง คาแรงถูก แหลงขอมูลสําหรับอัตราการสิ้น เปลืองนํา้ มันสามารถหาและรวบรวมจาก หลาย ๆ แหลงเพื1อใหครอบคลุมมากทีส่ ดุ แหลงของขอมูลเบือ้ งตน เชน ขอมูลจาก ผูผลิตรถ เปนขอมูลทางดานวิศวกรรม หรื อ ข อ มู ล สํ า หรั บ การนํ า เสนอขายรถ
B&T#257_p14-15_Pro3.indd 15
ขอมูลของ ผูประกอบการ ไมจําเปนจะตอง เทากับขอมูล ของผูผลิตรถ เสมอไป “แตไม ควรจะตํ่ากวา”
สามารถอยูรอดในช วงที่ความแขงขัน รุนแรง เทคนิคและความรูการประหยัด นํา้ มันเสมือนเปนความรูห ลักขององคกร
และหากใครมีและสามารถนําออกมาใชก็ เท า กั บ สร า งความได เ ปรี ย บในระยะ ยาว
ขอมูลทีส่ องเปนขอมูลที่ไดจากแหลงผูใช งานโดยตรงหรือผูประกอบการบรรทุก ขนสง ขอมูลดานวิศวกรรมเปนขอมูล เดี่ยว กลาวคือ สมมติวากําหนดไว 3.5 กิ โ ลเมตรต อ ลิ ต รก็ คื อ ตั ว เลขเดี ย วไม แปรผันเปนตัวเลขอื1น สวนขอมูลจาก แหลงผูประกอบการบรรทุกขนสงเปน ขอมูลที่ไมใชขอ มูลเดีย่ วคือมีการผันแปร เชน อาจจะ 3.4, 3.8, 3.0, 3.6 ขอมูลของ ผูประกอบการไมจําเปนจะตองเทากับ ขอมูลของผูผลิตรถเสมอไป “แตไมควร จะตํ่ากวา” การประหยัดนํ้ามันเกิดจากอะไร บาง ผมแบงเปนสองสวน คือสวนแรก เปนปจจัยทางตรงหรือเกณฑกาํ หนดของ รถแตละรุน แตละยีห่ อ อีกปจจัยหนึง่ ก็คอื ป จ จั ย ทางอ อ มที่ มี ผ ลกั บ การประหยั ด นํา้ มันก็คอื เทคนิคและความรูส าํ หรับการ บริหารขับรถประหยัดนํ้ามัน และหากผู ขับขี่ ไดรับความรูและเทคนิคก็จะยิ่งชวย ให ส ามารถประหยั ด ต น ทุ น ค า บรรทุ ก ขนส ง อั น จะนํ า มาซึ่ ง การแข ง ขั น ให
10/29/14 11:03 PM
B&T#257_p16-17_Pro3.indd 16
10/29/14 11:10 PM
B&T#257_p16-17_Pro3.indd 17
10/29/14 11:10 PM
18 BUS&TRUCK • ASSOCIATION NEWS
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
คบหาสมาคม สมาคมขนสงสินคา และโลจิสติกสไทย คุณธนพล สัมฤทธิ์ เลขาธิการสมาคม ขนส ง สิ น ค า และ โลจิ ส ติ ก ส ไทย เป ด เผยว า ทาง สมาคมฯไดกาํ หนดวันและสถานทีก่ าร ประชุมใหญสามัญประจําป 2557 ไว เรียบรอยแลว คือ วันที่ 8 กุมภาพันธ 2558 ที่สนาม กอล ฟ เดอะ รอยั ล เจมส กอลฟ แอนด สปอรต คลับ จ.นครปฐม คาดวาจะมีทงั้ ค า ยรถใหญ และอุ ป กรณ ที่ เ กี่ ย วเนื1อ ง ให ก ารสนั บ สนุ น เป น จํ า นวนมาก เหมือนปที่ผานมา แมวา เศรษฐกิจในปนจี้ ะตกตํา่ อยู แต ค าดว า ต น ป 2558 รั ฐ บาลชุ ด ประยุทธ 1 จะวางแผนทําใหเศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศฟนตัวขึ้นแน โดยสถานที่ในการจัดงานนั้นจะ อยูใกลกรุงเทพมหานคร ทําใหสปอนเซอรทที่ าํ ธุรกิจเกีย่ วกับรถใหญจะเดิน ทางไปร ว มงานไดส ะดวก เป น การ ประหยัดคาขนสงไปไดสวนหนึ่ง เมื1อ รวมกับปจจัยที่ผูประกอบการขนสง เริม่ มีงานทํามากขึน้ ผูท าํ ธุรกิจรถใหญ ก็ตองมี โปรโมชั่นเพื1อทํายอดขายให เพิ่มขึ้นอยางเปนแน สวนทางดานนายกสมาคม คือ คุณวรวิทย เจริญวัฒนพันธุ ก็จะครบ วาระ 2 สมัยจึงตองใหคณะกรรมการ เลือกนายกสมาคมคนใหม ซึ่งคาดวา บุ ค คลที่ เ หมาะสมที่ สุ ด คื อ คุ ณ สัญญวิทย เศรษฐโภคิน อุปนายกฝาย ตางประเทศ เนื1องจากมีความถนัดใน การขนส ง ประเทศเมี ย นมาร และ พรอมที่จะรุกตลาดอาเซียนไปในตัว
สวนคณะกรรมการชุดใหมกจ็ ะเปน เพียงตัวเดียว ก็มีเวลามาประกอบชิ้น รบกับประเทศยูเครนอยู ชาวรัสเซียจึง คนรุนใหมวัยหนุมสาวที่พรอมจะทํางาน สวนทั้งระบบเพิ่มมากขึ้น หรือฝายวิจัย แทบจะไมมีมาทองเที่ยวเลย จะมีก็ หนัก และมีความคิดกาวหนา ผลักดันให และพัฒนาแตเดิมตองออกสินคารุน ใหม อยางชาวจีนที่เขามาทองเที่ยวเปน สมาคมฯไดรับการยอมรับจากกระทรวง ในเวลาที่ กํ า หนด แต ป จ จุ บั น นี้ สิ น ค า จํานวนมากเหมือนเดิม ต า ง ๆ และมี ค วามมุ ง มั่ น ที่ จ ะทํ า ให แตละตัวจะมีความประณีตมากขึน้ เพราะ สวนคนไทยเองตางก็เก็บเงินไว สมาคมฯ เติบโตในประชาคมเศรษฐกิจ ความตองการของลูกคาลดนอยลง เมื1อ ไม ค อ ยท อ งเที่ ย วเหมื อ นเดิ ม โดย อาเซียน หรือ AEC อีกดวย ตลาดขนสงฟนคืนมาอีกครั้ง สินคาตัว เฉพาะนั ก การเมื อ งท อ งถิ่ น อย า ง สวนนายกสมาคมฯคนเดิม และ ใหมก็จะตรงกับความตองการของลูกคา อบต. อบจ. หรือ เทศกิจตามจังหวัด ผู ใหญของสมาคมฯก็จะเปนที่ปรึกษาให เพิพมมากขน ตาง ๆ แมวาจะไดรับงบประมาณมา ่มมากขึ้น คําแนะนําแกคณะกรรมการรุน ใหม ไมวา บริ ห ารงาน ส ว นการ จะเป น การติ ด ต อ ประสานงานกั บ ทองถิน่ แตก็ คาดการณ ถึ ง กระทรวงตาง ๆ การติดตอกับรัฐบาลใน ไม มี ก ารไป ตลาดขนสงในป ประเทศอาเซียน และการพัฒนาธุรกิจ ประชุ ม ตาม 2 5 5 8 นั้ น ของตัวเองใหระบบโลจิสติกส ในระดับ ต า งจั ง หวั ด เศรษฐกิ จ โดย สากล เพื1อที่จะไดแขงขันกับขนสงตาง ท อ ง เ ที่ ย ว รวมก็จะกลับฟน ชาติที่เริ่มเขามาบุกตลาดขนสงไทยเพิ่ม เหมื อ นเดิ ม คื น ม า ย อ ด มากขึ้น เ นื1อ ง จ า ก จําหนายรถใหญ รั ฐ บ า ล ชุ ด ทุกยีห่ อ ก็นา ทีจ่ ะ ประยุทธ 1 ให สมาคมอุตสาหกรรมตอตัวถัง ถึง 4 หมื1นคัน สงผลใหอูประกอบที่เปน ใช ง บประมาณท อ งถิ น ่ อย างสมเหตุสม สมาชิ ก จะมี ง านทํ า เพิ ม ่ มากขึ น ้ และราย รถบรรทุกและรถพวงไทย ผล เพื1อที่จะไดพัฒนาประเทศใหกลับ คุณสุรยิ า โพธิศ์ ริ สิ ขุ นายกสมาคม ไดของพนักงานก็จะดีตาม ฟนคืนมาในเวลาเร็วที่สุด นอกจากนี ้ ในการเป ด ประชาคม อุตสาหกรรมตอตัวถังรถบรรทุกและรถ ป ญ หาหลั ก ที่ บ รรดาสมาชิ ก พวงไทย เปดเผยวา ในป 2557 นี้การ อาเซียน หรือ AEC ความตองการรถเชิง ประสบอยู ก ค็ อื ไมมเี งินผอนรายเดือน พาณิ ช ย ก จ ็ ะมี เ พิ ม ่ มากขึ น ้ บรรดาสมาชิ ก ขนส ง ในประเทศยั ง ถื อ ว า ยั ง ตกตํ่ า อยู เพราะบรรดาอูที่เปนสมาชิก มียอดการ ก็ จ ะมี ก ารขยายอู ไ ปตั้ ง ในประเทศ ใหกับไฟแนนซ เนื1องจากไมมีรายได ตอตัวถังลดนอยลงไปเปนอยางมากเกือบ อาเซียน เพื1อที่จะไดผลิตสินคาใหตรงกับ เขามาเลย ดังนั้นวิธีการเอาตัวรอดก็ สภาพภูมปิ ระเทศนัน้ ๆ และทีส่ าํ คัญก็จะ คื อ ต อ งพู ด คุ ย กั บ ไฟแนนซ คื อ จะ 40% เลยทีเดียว เปนการผอนดอกเบีย้ ใหเปนรายเดือน แมวาอูที่เปนสมาชิกขนาดใหญจะ เขาถึงความตองการของลูกคาอีกดวย หรือบางครั้งก็ตองยอมเปน NPL คือ มีการพัฒนาออกแบบตัวถังใหม รวมทั้ง ไมมีรายไดมาจายใหกับไฟแนนซ ซึ่ง ยังมีการออกแบบตัวถังบรรทุกนํา้ มันเปน สมาคมผูประกอบการ ไฟแนนซกย็ งั ปลอยใหยงั สามารถใชรถ แบบอะลูมิเนียมแทนแบบตัวถังเหล็กที่ รถขนสงทั่วไทย เคยทําอยู แตดวยภาวะเศรษฐกิจที่ยัง คุณวสุเชษฐ โสภณเสถียร ได เพราะมองเห็นแลววา การยึดรถ ทรุดตัว การขนสงก็นอยตาม ดังนั้นผู นายกสมาคมผู ป ระกอบ คื น มาก็ เ ป น การยากที่ จ ะขายต อ มื อ ประกอบการขนสงทางบกเกือบทั้งหมด การรถขนสงทัว่ ไทย(สปข.) สอง เพราะแทบจะไมมีผู โดยสารเลย สําหรับสิ่งที่หวังสูงสุดในขณะนี้ แทบจะสัง่ ใหตอ ตัวถังรถบรรทุกและตัวถัง เปดเผยวา ในชวง 2 เดือน ก็ ค ื อ ให รัฐบาลชุดประยุทธ 1 ชวยหา บรรทุกนํา้ มันลดนอยลงไปเปนอยางมาก หลังของป 2557 นี้แมวาจะเปนชวงฤดู เมื1อเวลาการทํางานของพนักงาน การทองเทีย่ ว หรือ ไฮซีซนั่ ทีจ่ ะมีนกั ทอง ทางกระตุน ใหมนี กั ทองเทีย่ วเพิม่ มาก ตามอู ต า ง ๆ ลดน อ ยลง การพั ฒ นา เที่ยวทั้งตางชาติและคนไทยเดินทางมา ขึ้น ไมวาจะเปนการทําแพ็คเกจทอง พนักงานใหมคี วามรูเ พิม่ จึงเปนเรื1องทีอ่ ู ทองเทีย่ วกันเปนจํานวนมาก แตในปนถี้ อื เที่ยว ไมวาจะเปนสวนลดจากโรงแรม แตละแหงตางตองทํา เพราะถือวาเวลา ไดวาตกตํ่าลงไปเปนอยางมาก เกือบ รถทัวร เรือโดยสาร รวมทัง้ รานอาหาร งานที่ น อ ยลงก็ ส ง ผลดี เพราะมี เ วลา 50% เลยทีเดียว ปจจัยแรก คือเศรษฐกิจ ดวย ธุรกิจทองเทีย่ วทัง้ หมด ก็จะขยาย พัฒนาคุณภาพการทํางานของพนักงาน ของทุกประเทศทั่วโลกตางตกตํ่าลงไป ตัวและธุรกิจขางเคียงก็จะเจริญเติบโต ใหดีขึ้น แตเดิมที่ทําการประกอบชิ้นสวน อยางเห็นไดชัด เชนประเทศรัสเซียก็ยัง ตามไปดวย
สภาการขนสงทางบก เรงเครื่องเปนสภาขนสงทางบก ปจจุบันการขนสงทั้งสงสินคาหรือผู โดยสาร ก็ยังถือวาตกตํ่าอยู จนตองมีการตัดราคา กันเพื1อที่จะไดมีผูจางใหทํางาน ทั้งหมดทั้งปวงตางตองการใหรัฐบาลชุดประยุทธ 1 หาทางที่ จะฟน ฟูเศรษฐกิจของประเทศใหกลับฟน คืนมาใหเร็วทีส่ ดุ เพื1อทีร่ ายไดจะไดกลับคืนมาเหมือน ในอดีต การมีสภาการขนสงทางบกแหงประเทศไทย ถือไดวา เปนสิง่ ทีผ่ ปู ระกอบการขนสงทาง บก ตองการใหเกิดขึ้นภายในเร็ววัน เพราะจะเปนผูวางรูปแบบการจัดการใหมีมาตรฐานเปน สากล การแขงขันโดยการตัดราคาขนสงก็จะไมเกิดขึ้น คนขับรถก็จะมีสมาธิ มีจรรยาบรรณ ในการขับ จะไมกอใหเกิดอุบัติเหตุบนทองถนน ผูวาจางเพียงแคจายเงินคาจางเทานั้น อูที่รับ งานก็จะใชระบบโลจิสติกส ดูแลการขนสงใหเสร็จสรรพ สินคาทีป่ ลายทางจะมีคณ ุ ภาพเหมือน สินคาตนทาง แมวาการเปนสภาการขนสงทางบกแหงประเทศไทยนั้น จะเปนเรื1องที่ยาก แมวาจะมี รัฐบาลชุดประยุทธ 1 มาบริหารประเทศแลวก็ตาม เพราะงานหนักที่ตองบริหารมีอยูมากมาย
B&T#257_p18-21_Pro2.indd 18
ไมวาจะเปนการฟนฟูเศรษฐกิจใหกลับคืนมาเร็วที่สุด การสรางความเชื1อมั่นใหกับประเทศ อื1น ๆ ทําการคา นําเขาและสงออก พรอมทั้งยังตองแกปญหาอาชญากรรมใหคลี่คลาย อยาง คดีฆานักทองเที่ยวชาวอังกฤษที่เกาะเตา จ.สุราษฎรธานี และอื1น ๆ อีกมากมาย ในการใหคณะรัฐมนตรีลงมติตงั้ สภาการขนสงทางบกแหงประเทศไทยนัน้ ประการแรก ตองให ส.ส. 40 คน รวมตัวกันเสนอราง หรือ ประการทีส่ องตองยื1นรายชื1อผูป ระกอบการขนสง ทางบกจํานวน 1 หมื1นรายชื1อ เพื1อใหคณะรัฐมนตรีเห็นดวย ในเรื1องของการขนสงทางบกนั้น กรมการขนสงทางบก กระทรวงคมนาคม มีหนาที่รับ ผิดชอบโดยตรงและไดวางแผนไววา ในป 2558 จะหาขอมูลทุกอยาง เพื1อแตงตัง้ สภาการขนสง ทางบกแหงประเทศไทยขึ้นมา เพราะผลประโยชนสูงสุดจะตกอยูกับผูประกอบการขนสงทาง บกที่เปนคนไทย ใหสามารถแขงขันกับขนสงตางชาติได แตมองลึก ๆ แลว เห็นวาเปนการยากมากเพราะมีการขัดผลประโยชนซึ่งกันและกัน ตองรอใหขนสงตางชาติมาดูแลขนสงทั้งหมดในไทยเองกอน จึงจะเริ่มรูตัว ก็เปนได
10/29/14 10:27 PM
GOSSIP • BUS&TRUCK 19
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
ชุมทางขนสง สวัสดีครับเพื1อน ๆ ชาวนิตยสาร BUS & TRUCK พบกันอีกแลวในฉบับ 257 ปกษแรกเดือนพฤศจิกายน เรื1องราว หนัก ๆ และเบา ๆ ทัง้ ของวงการราชการ และเอกชนที่มีตอวงการขนสงทางบก ก็ มีมาใหตามเดิม เชิญพบกับเรื1องราวที่ หลาย ๆ ทานรอคอยไดเลยครับ
คุณสมหมาย ภาศรี รัฐมนตรี วาการกระทรวงการคลัง ไดวางแผนการ ลงทุ น โครงการพั ฒ นาพื้ น ฐานระบบ คมนาคมไวคราว ๆ แลว โดยจะเปนการ รวมทุนระหวางรัฐบาลและเอกชนเพื1อที่ จะไดวางระบบจัดการเพื1อเปนประโยชน ของประชาชนต อ ไป โดยโครงสร า ง ทั้งหมดทางกระทรวงคมนาคมจะเปนผู วางพื้นฐานให สวนการกอสรางและการ จัดการก็จะเปนของเอกชน ซึง่ จะสามารถ เปนรูปเปนรางไดประมาณปลายป 2557 นี้คาดวาผูรวมลงทุนภาคเอกชนจะเปน ชาวตางชาติ เนนหนักทีก่ ลุม OPEC เปน หลัก ❖❖❖
❖❖❖ เมื1อไมนานมานี้ “พีป ่ ยุ ” หรือ คุณสรอยทิพย ไตรสุทธิ์ ปลัดหญิงคน แรกแหงรัว้ กระทรวงหูกวาง ไดหาโอกาส ลาพักรอนไป “ภูกระดึง” หลังจากทํางาน หนักมานาน แตก็ไมวายตองชวนเพื1อน ฝูงและนักขาวไปดวย ซึ่งภูกระดึงแหงนี้ เปนที่ทราบดีวาเปนจุดปราบเซียน ถาไม ฟตจริง คงตองเสียเงินใชบริการลูกหาบ เป น จํ า นวนเงิ น ถึ ง 3,000 บาทอย า ง แนแท ถึงแมวา ทางจะทรหดเพียงใด แต เมื1อ ได ท ราบว า ปลั ด หญิ ง เหล็ ก อย า ง
B&T#257_p18-21_Pro2.indd 19
“พี่ปุย” เดินขึ้นภูกระดึงมาแลวถึง 19 ครัง้ ใคร ๆ ตางตองรองเสียงหลงวา “มา ได ไงตั้ง 19 ครั้ง” เพราะเทาที่สอบถาม คนที่ ขึ้ น ไปด ว ยครั้ ง นี้ กว า 80% พู ด ชัดเจนวา “มาครั้งนี้ครั้งเดียวจบ!!!” ที่ สําคัญหลายคนขอลางานตออีกวันสอง วัน แต “พีป่ ยุ ” เขามาทํางานทีก่ ระทรวง 6 โมงเชาเหมือนปกติทุกวัน!!! ❖❖❖ มีนักธุรกิจที่ดูแลรถโดยสาร 30 ออกมาพูดในเชิงหวงใยตอธุรกิจการ ทองเที่ยวและการเชารถโดยสารวา ปนี้ ถือเปนปทนี่ กั ทองเทีย่ วชาวตางชาติไดมา เสียชีวิตในเมืองไทยเปนจํานวนมาก ซึ่ง แตละรายจะเปนขาวใหญ ประชาชนทั่ว โลกตางทราบกันหมด ไมวาจะเปนนัก ทองเที่ยวชาวอังกฤษ 2 ราย ที่เกาะเตา จ.สุ ร าษฎร ธ านี ธุ ร กิ จ อุ ม บุ ญ ของชาว ญี่ปุน การฆาเอาประกันชีวิตของครูสอน ภาษาชาวญี่ปุน นักทองเที่ยว 2 รายชาว เกาหลีตองเสียชีวิตจมอยูใตทะเล เพราะ เรือสปดโบทชนกับเรือชาวประมงที่ภาค ใต พร อ มทั้ ง อุ บั ติ เ หตุ ร ถทั ว ร ต กเขา เพราะเบรกแตกที่ภาคเหนืออีก ดวยเหตุนี้จึงกลัววานักทองเที่ยว ตางชาติ ไมวาจะเปน ชาวญี่ปุน อังกฤษ และยุโรป ตางงดทองเทีย่ วมาไทยเปลีย่ น ไปประเทศขางเคียงแทนแลว รายไดที่ เข า มาช ว ยฟ น ฟู เ ศรษฐกิ จ ก็ จ ะหายไป แลวธุรกิจรถโดยสาร 30 ก็ตอ งปดตัวตาม ไปดวย จึงฝากความหวังไวที่รัฐบาลชุด ประยุทธหนึ่งไวดวย ❖❖❖ การวางแผนการทํางานของ รถใหญตองวางแผนลวงหนาไวกอน ผู บริหารของรถใหญ คาย “อีซซู ”ุ ประเทศ ญี่ปุนไดบินตรงมาพบผูบริหารธุรกิจรถ ทัวร 30 เพื1อประชาสัมพันธวาคุณภาพ และอายุการใชงานของรถโดยสารยี่หอ “อีซูซุ” นั้น มีความเหมาะสมที่จะใชงาน เปนรถทัวร ในเมืองไทยเปนอยางมาก หากธุรกิจการทองเทีย่ วเริม่ กลับมาบูมอีก ครั้ง ก็อยาลืมเรียกใชบริการของรถใหญ อีซูซุไดเสมอ ❖❖❖ สวนคายรถใหญ “ฮี โน” ก็ ไม ยอมแพ ผูบริหาร ฮีโน มอเตอร ประเทศ ญี่ปุนก็ไดชักชวนกลุมรถทัวรในประเทศ ญี่ปุนมาดูระบบการบริหารของบริ ษั ท สวีททรานสกรุป จํากัด วา ดวยระบบ ที่ ทํ า การบริ ห ารอย า งถู ก วิ ธี จึ ง ทํ า ให สามารถทําธุรกิจมาไดกวา 20 ป พรอม ทัง้ ไดลงทุนเพิม่ เพื1อขยายธุรกิจรถทัวรให ทํางานครอบคลุมทั้งประเทศตอไป ❖❖❖ หันมาดูคาย “ฟูโซ” ซึ่งมา จากประเทศญี่ปุนเหมือนกันก็เคยนําเขา รถโดยสารเขามาบุกตลาดรถทัวรเหมือน กัน แตดวยเหตุที่นําเขาสําเร็จรูปและมี เป น จํ า นวนน อ ย จึ ง ส ง ผลให ร าคา จําหนายสูงมาก ตางจากธุรกิจรถทัวรใน เมืองไทยทีต่ อ งการใชรถทัวรราคาถูก แต มี คุ ณ ภาพสู ง ทางผู บ ริ ห ารของค า ย “ฟูโซ” จึงตองยกธงขาวบอกลา แตก็ไม
“สื่อสากล” ควารางวัล “องคกรที่มีผลงานดานการพัฒนาสังคมเปนเลิศ (CSR)” บริษัท สื1อสากล จํากัด รับโลประกาศเกียรติคุณ ในฐานะ “องคกรที่มีผลงานดานการ พัฒนาสังคมเปนเลิศ (CSR)” ดําเนินโครงการ “ลมหายใจไรมลทิน” อยางตอเนื1อง สํานึก รับผิดชอบตอสังคมในเชิงรุก ดําเนินงานเพื1อสงเสริม ชวยเหลือ พัฒนากลุม เปาหมายในสังคม อยางเหมาะสม จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย เนื1องในวันคลายวัน สถาปนา 12 ป โดยรับมอบรางวัลรวมกับองคกรอื1นรวม 12 องคกร
“นิปปอนเพนต” นําลูกคาสิงคโปร ชมเทคโนโลยีสีพนรถยนตอัจฉริยะ คุณไมตรี ลาภากุลชัย (ที่ 2 จากขวา) ผูจัดการแผนกการขายตางประเทศ บริษัท เอ็นพี ออโต รีฟนิช จํากัด ในเครือนิปปอนเพนต ใหการตอนรับ คุณเคล โลว (Mr. Kel Low) Manager Specifier Relations บริษัท นิปปอนเพนต ประเทศสิงคโปร เยี่ยมชม ศูนยฝก อบรมและระบบพนซอมสีรถอัจฉริยะ พรอมแลกเปลีย่ นประสบการณและความรูเ กีย่ ว กับเทคโนโลยีลาสุด “แนกซ วิโลซิตี้ เพนต ซิสเต็ม” ทั้งดานประสิทธิภาพและการทํางาน
ฮอนดา พัฒนาศักยภาพพนักงาน จัดแขงขันทักษะพนักงาน ประจําป 2557 บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด จัดแขงขันทักษะพนักงาน ประจําป 2557 อยางตอเนื1องเปนปที่ 24 ภายใตแนวคิด รวมพลังเพื1อความเปนหนึ่ง (The Power of One) เพื1อสะทอนถึงความเปนอันหนึง่ อันเดียวกันของพนักงานทุกคนทีจ่ ะรวมกันทําใหฮอนดา เปนที่หนึ่งในใจลูกคาชาวไทย ตอกยํ้าเจตนารมณของฮอนดาในการมุงมั่นพัฒนายนตรกรรม ที่เปยมดวยคุณภาพ และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ควบคูไปกับการพัฒนาบุคลากร เพื1อสราง ความพึงพอใจสูงสุดใหแกลูกคาทั้งในดานการขายและบริการ
ปตท. รวมกับ โมเดิรนไนนการตูน มอบรางวัลสิ่งประดิษฐ ในจินตนาการ ดร.วิจิตร แตงนอย ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญสถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. รวมกับ คุณวิภาดา จตุยศพร ผูชวยกรรมการผูอํานวยการใหญ สํานักโทรทัศน อสมท. และ คณะกรรมการผูท รงคุณวุฒิ มอบรางวัลใหกบั เยาวชนและอาจารยทปี่ รึกษาผลงานรางวัลชนะ เลิศ จากการประกวดสิ่งประดิษฐในจินตนาการ “โครงการพลังเล็ก...เปลี่ยนโลก ป 2” โดย ผู ไดรับรางวัลจะไดเดินทางไปทัศนศึกษานวัตกรรมพลังงาน ณ ประเทศญี่ปุน
10/29/14 10:27 PM
20 BUS&TRUCK • GOSSIP
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
แนเหมือนกันหากธุรกิจรถทัวรกลับมาบูม จะตองพึ่งพานิตยสาร BUS & TRUCK มีทั้งนักทองเที่ยวตางชาติตองการกลับ เปนหลัก เพราะอยูค ตู ลาดรถใหญมากวา มาเยือนเมืองไทย และไปทัวร ในกลุม 20 ป ขอมูลทุกอยางสืบหาไดหมด ก็ยนิ ดี ประเทศอาเซียนดวย ก็อาจจะเห็นรถทัวร ทําตามความประสงค เพราะคนไทยก็ ยี่หอ “ฟูโซ”กลับมาวิ่งอีกครั้งก็ได ตองดูแลคนไทยดวยกันเอง แมวา จะขาย รถใหญของประเทศอิตาลีก็ตาม
คราวนี้ ก ลั บ มาดู ต ลาดรถ บรรทุ ก บ า ง “น อ งกวาง” หรื อ คุ ณ วาสนา เสื อ กลิ่ น ศั ก ดิ์ ผู บ ริ ห ารค า ย “ไอวี โ ก ” ต อ งทํ า งานไปด ว ย เรี ย น ปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยมหิดลไปดวย ไดวางแผนทีจ่ ะทําวิทยานิพนธ ในเรื1องที่ ไมเหมือนชาวบาน นั่นคือ การทําเรื1อง ตลาดรถใหญในเมืองไทย ซึ่งก็ไดบอกวา
ที่มีขอมูลรถใหญแนน พรอมทั้งทํางาน หนักอยางเต็มที่ เพื1อใหสําเร็จตามความ หวัง แบบนีถ้ า ผูบ ริหารของคาย “ไอวีโก” วางแผนขยายตลาดให ใหญขึ้นเมื1อไหร รั บ รองต อ งสํ า เร็ จ ตามที่ ว างแผนไว เพราะ “เซลมือทอง” คนนีจ้ ะเปนคนชวย ทําตามแผนของผู ใหญตอไป
ของอูตอตัวถังรถใหญ พบวาบอสใหญ ของสามมิตรมอเตอรทาํ งานหนักมาก ไม วาจะเปนทัง้ ระบบการบริหารจัดการ การ ควบคุมคาใชจายภายในอู แถมยังตอง ออกตลาดทั่วประเทศ เพื1อไปพบกับกลุม ลูกคา และจะไดทราบวาตองทําอยางไร บาง เพื1อใหลูกคาพอใจสูงสุด มินาละ แบบนี้เอง “สามมิตรมอเตอร” จึงเปนอู อันดับหนึ่งของเมืองไทย
❖❖❖
❖❖❖ “คุณเอ” หรือ คุณประเมิน เสมแยม ผูอํานวยการฝายขาย ของคาย ❖❖❖ มาดูกน ั ทีอ่ ตู อ ตัวถังรถบรรทุก “ไอวีโก” ถือไดวาเปน “เซลมือทอง” ใน กันบางคุณสุริยา โพธิ์ศิริสุข รอง MD อู แตละเดือนจะขายไดอยางนอย 10 กวา “สามมิตรมอเตอร” ยอมรับวา ในปนี้ คัน ก็มีทั้งลูกคาเกาที่มาจากคายรถใหญ ตองทํางานอยางหนักเพราะยอดขายของ เดิม ที่เคยทํางานอยู บวกกับลูกคาใหมที่ รถใหญและรถพวงตกลงไปเปนอยาง ตองหาเอง และดวยเห็นวาเปนฝายขาย มาก จากประสบการณที่ ไดพบผูบริหาร
พบความจริ ง ว า ทํ า ไมรถ กระบะ “ทาทา” จึงสามารถทําตลาดได เมื1อ คุณปญญา เศรษฐโภคิน บอสใหญ ของขนสง “บลูแอนด ไวท” จากเมื1อกอน ❖❖❖
ปกษแรก
พฤศจิกายน 2557
ISUZU MU-X : Privileged Press Trip “อีซูซุมิว-เอ็กซ” ชวนสื1อมวลชนเที่ยววัน เดยทริปกับกิจกรรม “Isuzu MU-X : Privileged Press Trip” รวมสัมผัสสมรรถนะอันเหนือชั้นของสุดยอด ยนตรกรรมจากอีซูซุ เช็ค-อินกับรานอาหารญี่ปุนสไตลใหมในซอยอารีย พรอม เวิรคช็อปปนกระถาง เพนทถวยสุดเอ็กซคลูซีฟ พรอมรวมทําความดีกับกลุม ดินสอสีรุง โดยทริปนี้เริ่มออกสตารทจาก บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด ดวย “อีซซู มุ วิ -เอ็กซ” สุดยอดยนตรกรรมแหงความเหนือชัน้ สะทอนเอกสิทธิแ์ หงผูน าํ ทุกการขับขี่ โดยจุดหมายแรกอยูที่ “46 Area Art” ซอยรามคําแหง 46 สถาน ที่สําหรับคนที่ตองการเรียนรูเกี่ยวกับงานศิลปะ
B&T#257_p18-21_Pro2.indd 20
10/29/14 10:28 PM
GOSSIP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557 ที่ซื้อรถกระบะยี่หอ “ทาทา” ไปใชงาน ประมาณ 5 โหล วิ่งทั่วประเทศ ชวงแรก บนวาเขารับบริการหลังการขายยากมาก บางจังหวัดไมมีอู ตองเดินทางไปจังหวัด อื1น เรี ย กได ว า ต อ งสลั บ หมุ น เวี ย นกั น ตลอด เพราะมีทั้งเสียและดี สลับกันอยู ตลอดเวลา เมื1อมีขา วออกมาวาซือ้ กระบะ “ทาทา” เพิ่มอีก 5 คัน จึงถามวาเปน เพราะเหตุใด ก็ไดคาํ ตอบวาพนักงานขาย ของ “ทาทา” ลดราคาใหเปนพิเศษ ถูก สุดในตลาด แตผลที่ไดรบั ยังบอกไมไดวา ดีหรือไมดี แตทาง “ทาทา” บอกวา จะ มีบริการหลังการขายใหตลอดเวลา จึง เชื1อใจและกลับมาใชอีกครั้งหนึ่ง ❖❖❖ ตองขอแสดงความเสียใจกับ คุณชุมพล สายเชื้อ เจาของ บริษัท บี.เอส. จํากัด ที่ดูแลการขนสงในภาค อีสานเปนหลัก ดวยคุณพอทีเ่ ปนผูบ กุ เบิก บริษัทไดเสียชีวิตไปดวยวัยชราแตเมื1อ ไดยินเสียงบอกจากคุณชุมพล วา มีแผน ขยายธุรกิจขนสงให โตขึ้น โดยจะรวมกับ พันธมิตรขนสงทั่วประเทศ รับรองไดวา ตองสําเร็จตามทีว่ างแผนไวแน โดยความ สําเร็จนี้จะมอบใหคุณพอผูที่ ไดวางการ ขนสงใหตั้งแตวัยเด็ก ❖❖❖ สงทายที่ “คุณหมู” เดิมใช ชื1อ ว า คุ ณ เฉลิ ม ศั ก ดิ์ หุ น นาคริ น ทร คอลัมนิตสติดเบรก ประจําปกษหลังของ
21
“พีที” มุงสรางคนคุณภาพ มอบเงิน 15 ลานบาทแกมูลนิธิพระดาบส
นิตยสาร BUS & TRUCK เพื1อน ๆ ที่อยู ฝายเทรนนิ่งไดรฟเวอรของ “สถาบัน ไอดี ไดรฟเวอร” ขอใหเปลี่ยนชื1อเสียง เรี ย งนามซะใหม เพราะฟ ง จาก ประสบการณ ที่ เ ล า ให ฟ ง ทั้ ง หมดไม มี เรื1องดี ๆ เลย ตองอยูเบื้องหลังตลอด จึง ไดหาชื1อใหมที่มีความหมายดีดีให คือ “เฉลิมชัย” และตัง้ แตเปลีย่ นชื1อมาก็พบ แตเรื1องราวดี ๆ ทั้งหมด มีแตงานหนักที่ ต อ งทํ า งานแทบไม มี เ วลาพั ก พบแต นักเรียนขับรถที่ตั้งใจฝกใหเปนนักขับมือ อาชีพ ไมพบเรื1องหนักใจเขามาหา ไม แนตอไปอาจจะพบคนสอนขับรถที่มีเงิน เก็บกวาพันลานบาทอยูก็ได
บริษทั พีทจี ี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) หรือ PTG ดําเนินโครงการพีทเี ติมพลังสัมมาชีพ ปที่ 2 สรางการมีสวนรวมกับผูใชสถานีบริการนํ้ามันพีทีเกือบ 900 แหงทั่วประเทศ โดยทุก ครั้งที่เติมนํ้ามันที่สถานีบริการนํ้ามันพีที รายไดทุก ๆ 5 สตางคตอลิตร จะถูกนําเขาสมทบทุน กับมูลนิธพิ ระดาบส เริม่ ตัง้ แตเดือนสิงหาคม-กันยายนทีผ่ า นมา รวมยอดบริจาคจากการจําหนาย นํ้ามันไดมูลคากวา 13 ลานบาท และทางบริษัทสมทบทุนเพิ่มเติม เพื1อนําเงินทูลเกลาถวาย สมเด็จพระเทพฯ ที่มอบแกมูลนิธิพระดาบสเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 15 ลานบาท
มิตซูบิชิ รับมอบโลเกียรติคุณ ผูสนับสนุนอาหารกลางวัน คุณโยชิอากิ คาโตะ กรรมการรองผูจัดการใหญ เปนผูแทนบริษัท มิตซูบิชิ มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด รับมอบโลเกียรติคณ ุ จาก ดร.ชัยยศ อิม่ สุวรรณ ผูต รวจราชการกระทรวง ศึกษาธิการ จากการทีบ่ ริษทั ฯ ใหการสนับสนุนกองทุนเพื1อโครงการอาหารกลางวัน ในโรงเรียน ประถมศึกษา ซึ่งมิตซูบิชิ มอเตอรส ประเทศไทย ไดมอบเงินสนับสนุนโครงการเกษตรเพื1อ อาหารกลางวันแกโรงเรียนประถมขนาดเล็กทีด่ าํ เนินโครงการปลูกผัก หรือเลีย้ งสัตวสาํ หรับนํา มาเปนอาหารกลางวันอยางตอเนื1องมาตั้งแตป 2553 จนถึงปจจุบันไดมอบทุนไปแลว 230 โรงเรียน ในพื้นที่ 58 จังหวัดทั่วประเทศ
“คายเยาวชนโตโยตาลดเมืองรอน ดวยมือเรา ปที่ 10” บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด รวมกับ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย จัด กิจกรรม “คายเยาวชนโตโยตาลดเมืองรอน ดวยมือเรา” ตอเนื1องเปนปที่ 10 ถายทอดความ รู ความเขาใจถึงสาเหตุของปญหาการเกิดภาวะโลกรอน พรอมแนะแนวทางในการแกไขปญหา แกเยาวชนแกนนําจาก 20 โรงเรียนทั่วประเทศที่ผานการคัดเลือก และบุตรหลานพนักงาน โตโยตา รวมทั้งสิ้นกวา 120 คน เพื1อนําองคความรูที่ ไดรับไปประยุกตใช ใหเหมาะกับปญหา ดานสิ่งแวดลอมภายในโรงเรียนของตน
เหมราชจัดกิจกรรม ‘สอนศิลปที่บานเกิด’ เสริมทักษะศิลปะครู บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จํากัด (มหาชน) จัดโครงการ “สอนศิลป...ที่บานเกิด” ให แกคุณครูจากโรงเรียนตาง ๆ โดยรอบนิคมฯของเหมราช ในเขตจังหวัดระยองและชลบุรี โดย มีวทิ ยากรจากศูนยศลิ ปะวัฒนธรรมสัญจรเปนผูใหความรูเ รื1องเสนและสี การสรางความเขาใจ เรื1ององค ประกอบศิลป การวาดภาพระบายสี และการวาดภาพตามความประทับใจในหัวขอ ตาง ๆ ซึ่งคุณครูสามารถนําทักษะนี้ ไปปรับใช ในการสอนแกนักเรียนไดทุกวิชา การอบรมครั้ง นี้มีคุณครูสนใจเขารวมจํานวน 30 ทาน ในระยะเวลา 4 วัน
B&T#257_p18-21_Pro2.indd 21
10/29/14 10:28 PM
22 BUS&TRUCK • VITSIT
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
แวะเวียน
DHL เพชรบุรีตัดใหม แหงที่ 6 ขึ้นแทนใหญที่สุด ดีเอชแอล ถาเอยถึงชื1อนี้ทุกคน ตางรูจักกันเปนอยางดีและตางเลือก ใชบริการกันอยางแพรหลายทั่วโลก ปจจุบันดีเอชแอลมีสาขามากมายทั่ว ประเทศไทยทั้งในกรุงเทพฯและตาง จังหวัด แตสําหรับศูนยกระจายสินคา ที่เปดไปไมนานนี้ก็ตั้งอยูในกรุงเทพฯ เชนกันบนถนนเพชรบุรตี ดั ใหม พรอม ติดตั้งเทคโนโลยีสุดลํ้าและระบบการ ลําเลียงสินคาอันทันสมัย เพื1อรองรับ ฐานลูกคาที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นไดอยางมี ประสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น นั บ เป น ศู น ย กระจายสินคาแหงที่ 6 ของดีเอชแอล ในกรุงเทพฯ และเปนศูนยกระจาย สินคาขนาดใหญที่สุดในประเทศไทย ติดตั้งเทคโนโลยีสุดลํ้าและระบบการ ลําเลียงสินคาอันทันสมัย เพื1อรองรับ ฐานลูกคาที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นไดอยางมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ความยาว และมิตขิ องสินคาสําหรับใชใน ขั้นตอนการชั่งนํ้าหนักสินคาอีกครั้ง
เชื่อมตอระบบเครือขายคมนาคม
แหงที่ 6 ใหญที่สุด ในประเทศไทย การลงทุนเปดศูนยกระจายสินคา แหงใหมนที้ เี่ ปนแหงที่ 6 ไดลงทุนสูงถึง 119 ลานบาท บนถนนเพชรบุรีตัดใหม โดยขึ้นแทนศูนยกระจายสินคาขนาด ใหญที่สุดในประเทศไทย ตอกยํ้าความ เป น ผู นํ า ของดี เ อชแอล ที่ มุ ง เน น สนับสนุนการพัฒนาตลาดขนสงดวน และโลจิสติกสของไทยใหกาวรุดหนา อย า งไมหยุ ด ยั้ ง ดวยการมอบบริ ก าร ขนสงดวนที่ดีที่สุด และเปดใหลูกคา สามารถสงและรับสินคาไดอยางสะดวก คลองตัวยิ่งขึ้น นอกจากศูนยกระจาย สินคาใหมลาสุดดังกลาว ดีเอชแอล ยัง มีศนู ยกระจายสินคาอีก 10 แหงทัว่ ไทย
ติดตั้งเทคโนโลยีลํ้าสมัย
ปฏิบัติการ 2,300 ตารางเมตร และพื้นที่ จอดรถสําหรับการปฏิบตั งิ าน 950 ตาราง เมตร ภายในติ ด ตั้ ง เทคโนโลยี แ ละ อุปกรณสุดลํ้า อาทิ เครื1องสแกนเนอร สมรรถนะสูง ระบบควบคุมการเขาใช งาน กลองวงจรปด (CCTV) จํานวน 48 เครื1อง ระบบสายพานลําเลียงที่มีระยะ สั้ น มากขึ้ น และกระชั บ และ อุ ป กรณ วั ด นํ้ า หนั ก
เ นื1อ ง จ า ก อ ยู ใ น ทํ า เ ล เ ชิ ง ยุทธศาสตรทเี่ หมาะสมใกลกบั ระบบเครือ ข า ยการคมนาคมที่ สํ า คั ญ ๆ อาทิ ทางดวน ระบบรถไฟฟาใตดนิ และระบบ รถไฟฟาแอรพอรตลิงค สามารถรองรับ ลูกคาจากแหลงธุรกิจชั้นนําตาง ๆ ของ กรุงเทพฯ อาทิ ลาดพราว ศรีนครินทร คลองเตย และเพลินจิต ไดอยางสะดวก และคลองตัว และสามารถเดินทางไป ถนนเส น หลั ก สู ภ าคตะวั น ออก โดยมี สมรรถนะในการกระจายสินคาสูงสุดถึง วันละ 3,000 ชิ้น และมี จํ า นวนการขนส ง และ
ลําเลียงสินคาสูงสุดชั่วโมงละ 1,100 ชิ้น การเปดศูนยกระจายสินคาแหง ใหมนี้นับเปนอีกหนึ่งความสําเร็จของ ดีเอชแอลในการขยายการดําเนินงาน ในประเทศไทยมาอยางตอเนื1อง ทัง้ ยัง ตอกยํ้าถึงปณิธานของดีเอชแอลที่มุง เนนสนับสนุนธุรกิจไทย โดยเฉพาะ อย า งยิ่ ง ธุ ร กิ จ เอสเอ็ ม อี ซึ่ ง เป น ฐาน ลูกคาขนาดใหญของบริษัทใหมีการ เติบโตในตลาดใหม ๆ ทั่วโลกไดอยาง แข็งแกรงและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ดี เ อชแอลจะยั ง คงเดิ น หน า สานต อ พันธกิจในการสนับสนุนเทคโนโลยีและ ระบบโครงสรางพื้นฐานเพื1อใหบริการ ขนสงดวนทางอากาศและโลจิสติกสที่ ดี ที่ สุ ด ตอบโจทย ค วามต อ งการของ ลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ สูงสุด
ศูนยกระจายสินคาแหงที่ 6 ตัง้ อยู บนพืน้ ที่ 6,400 ตารางเมตร โดยมีพนื้ ที่
B&T#257_p22-23_Pro2.indd 22
10/29/14 10:42 PM
B&T#257_p22-23_Pro2.indd 23
10/29/14 10:42 PM
24 BUS&TRUCK • COMPARISON
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
เปรียบเทียบรถเดน
หัวลากเฟองเร็ว ประหยัดสุด
FV5138 Super Great บ
HINO FM2P สุดแกรงแรงสุดคุม บริ ษั ท ฮี โ น ม อเตอร ส เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูนําแหงยนตร กรรมรถบรรทุกเพื1อการพาณิชย มา พรอมกับรถสุดยอดรถบรรทุกหัวลาก รูปลักษณที่สุดแหงความสะดวกสบาย หรู ห รา เสมื อ นขั บ ขี่ ร ถยนต นั่ ง ส ว น บุ ค คล กล า วได ว า เป น รถบรรทุ ก อเนกประสงค เต็ ม เป ย มด ว ยพลั ง บรรทุก ประหยัดเหมาะสมคุมคากับใน เมืองและนอกเมืองอยางแทจริง อีกทัง้ ยั ง คํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล อ ม พร อ มทั้ ง เทคโนโลยี ความทนทานและความ ประหยัดทีล่ าํ้ หนาเกินใครไปอีกขัน้ ดวย “เทคโนโลยีพรีเมียม คอมมอลเรล”
ขุมพลังขับเคลื่อน สํ า หรั บ รถบรรทุ ก 10 ล อ รุ น FM2PKLA เครื1องยนต P11C-UV พลัง แรง รวดเร็ว ฉับไว ประหยัดคุมคาดวย เทคโนโลยีเหนือชั้นดวยการจายระบบ คอมมอนเรล ควบคุมดวยคอมพิวเตอร เผาไหมแบบไดเร็คอินเจ็คชั่นเครื1องยนต 4 จังหวะ 6 สูบ ใหพลัง 380 แรงมา กําลัง สูงสุด 280 กิโลวัตต ที่ 2,100 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 1,275 นิวตัน-เมตร ที่ 1,500 รอบตอนาที ความจุกระบอกสูบ 10,520 ซีซ.ี มาตรฐานไอเสียเปนมิตรสิง่ แวดลอม ยูโร 3
B&T#257_p24-25_Pro2.indd 24
ระบบสงกําลังใหม สุ ด ยอดเกี ย ร ที่ ถู ก ออกแบบด ว ย เทคโนโลยีทันสมัย แข็งแกรง ทนทาน เนื1องจากทําจากวัสดุคุณภาพสูง เคลือบ ดวยสารปองกันการสึกหรอ และลดความ ร อ นในห อ งเกี ย ร ออกตั ว ดี ก ว า แม จ ะ บรรทุกเต็มพิกัดก็ตาม ใหพลังแรงบิดที่ สูงกวาเดิมอีกดวย อัตราทดสัมพันธดวย เฟองเร็ว กําลังไมมีตกและประหยัดเชื้อ เพลิงเพิ่มขึ้น เนื1องจากผานการทดสอบ ทุ ก สภาพถนนในประเทศไทย อย า ง ยาวนานและตอเนื1อง
ไฟฟา ทํางานโดยใชกลไกในการเปดวาลว ไอเสียเพื1อลดแรงดันในหองเผาไหม ใน จั ง หวะระเบิ ด ทํ า ให ล ดกํ า ลั ง ของ เครื1องยนตตอ ดวยการเปดวาลวไอเสียใน จั ง หวะลู ก สู บ เลื1อ นลงทํ า ให เ กิ ด ภาวะ สุญญากาศในหองเผาไหม สงผลใหเกิด แรงหนวงการทํางานของเครื1องยนตชั่ว ข ณ ะ แ ล ะ นี่ คื อ เ ท ค นิ ค ก า ร เ พิ่ ม ประสิทธิภาพการเบรกขั้นสูง
หองโดยสาร เสมือนขับรถยนตสวนบุคคล เป น ความสะดวกสบายที่ ลํ้ า ค า หรูหรามีสไตล หองคนขับที่มีขนาดใหญ สบายตอการขับขี่ มีระบบคันเรงไฟฟา เพิม่ เติมชองเก็บของอเนกประสงคหลาย จุดงายตอการแยกเก็บสิง่ ของ แผงมาตร วั ด ขนาดใหญ แ ละชั ด เจน เสมื อ นขั บ รถยนตสวนบุคคล
รอบคอบทุกการขับขี่ ระบบเบรกลมดั น ล ว น 2 วงจร อิสระประกอบดวยกามเบรกแบบตัวนํา และตัวตามกระทําทุกลอ ใหประสิทธิภาพ ในการเบรกสูง และระบบเบรกที่เสริม ไอเสี ย ทํ า งานด ว ยลมดั น ควบคุ ม ด ว ย
บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด เปนผูจัดจําหนายรถบรรทุกเพื1อ การพาณิชยภายใตแบรนด ฟูโซ ซึ่งมี จําหนายมากกวา 50 ประเทศทั่วโลก และปจจุบันฟูโซ อยูในกลุมเดมเลอร กรุป ซึง่ ประกอบดวย เมอรซเิ ดส เบนซ และ เฟรทไลเนอร ซึ่งเปนกลุมที่มียอด ผลิตรถบรรทุกเปนอันดับ 1 ของโลก สําหรับรถบรรทุกหัวลากฟูโซรุน ใหมนคี้ อื Super Great 380 High Speed ซึ่งไดรับการพัฒนาใหมีอัตราเฟองทาย ใหมอยูที่ 4.625 เปนรถหัวลาก 10 ลอ 2 เพลา รุน FV 5138 มาพรอมเครื1องยนต
SPECIFICATION รายละเอียด ลักษณะ รุน เครื่องยนต แรงมาสูงสุด แรงบิดสูงสุด Nm/rpm กําลังสูงสุด kw/rpm ความเร็วสูงสุด กม./ชม. ความจุถังนํ้ามัน (ถัง/ลิตร) รายละเอียดเพิ่มเติม
HINO
FUSO หัวลาก 10 ลอ DIESEL FM2PKLA FV5138 Super Great P11C-UV 6M70-1AT3 380 380 1,275/1,500 1,618/1,200 280/2,100 279/2,200 125 103 400 400
บริษัท ฮีโนมอเตอรเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2900-5000 บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2897-99
10/29/14 10:47 PM
SHOWROOM • BUS&TRUCK
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
25
SHOWROOM
สุดคุม Huron APC Huron APC เปนรถหุม เกราะทีถ่ กู ผลิตขึน้ เพื1อสนับสนุนหนวยงานตํารวจและทหาร การ ปฏิบัติหนาที่นั้นอาจจะใชลาดตระเวนหรือประจําที่ชายแดนเพื1อปฏิบัติหนาที่ทางยุทธวิธี โดย รถคันนี้มีนํ้าหนักที่เบาเนื1องจากเกราะปองกันกระสุนนั้นเลือกใชวัสดุที่มีนํ้าหนักเบาแตมีความ แข็งแกรงสูง สําหรับเครื1องยนต Paccar ขนาด 8.3 ลิตร ระบบเกียรธรรมดา 10 สปด ของ Allison โดยรถคันนี้สามารถตอตานอาวุธตั้งแตกระสุน 7.62 × 51 SC หรือ 7.62 × 51 M80 โดยผานการทดสอบตาม NIJ-STD-0,108.01 ระดับ III/CEN ระดับมาตรฐานขีปนาวุธ B6 พรอม ติดตั้งแผนอุปกรณปองกันการระเบิดที่จะปกปองผู โดยสารจากการกระจายตัวของระเบิด 2 DM-51 โดยแผนเกราะผานการทดสอบและไดรับการรับรองโดย INKAS® เกราะของยาน พาหนะการผลิต รายละเอียดเพิ่มเติม : https://inkasarmored.com/inkas-huron-apc
Ace zip
t บรรทุกถึงใจ กําไรถึงคุณ 6M70-1AT3 สัมผัสประสบการณเหนือ พลั ง การขั บ ขี่ ด ว ยสุ ด ยอดสมรรถนะ เครื1องยนตอันทรงพลัง ประหยัดนํ้ามัน มลพิษตํ่า ดวยเทคโนโลยีนําสมัย ระบบ คอมมอนเรล ควบคุ ม ด ว ยระบบ คอมพิวเตอร มาตรฐานยูโร 3 ดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบ ไดเร็คอินเจ็คชั่น ระบาย ความร อ นด ว ยนํ้ า พร อ มอิ น เตอร คูลเลอร 380 แรงมา กําลังสูงสุด 279 กิโลวัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิด สูงสุด 1,618 นิวตัน-เมตร ที่ 1,200 รอบ ตอนาที สามารถทํางานทีร่ อบเครื1องยนต ตํ่ารวมกับสปลิทเตอรเกียร เพิ่มพลังฉุด ไดมากขึ้น แมงานบรรทุกหนักเปนพิเศษ ความจุกระบอกสูบ 12,882 ซีซ.ี ความเร็ว สูงสุด 103 กิโลเมตรตอชั่วโมง
นุมนวลปลอดภัย ระบบเกียรสงกําลังแบบ 10 เกียร เดินหนา HI-LOW เกียร 2-5 ซินโครเมช รุน M130S2X5 ใหประสิทธิภาพการสง กําลังที่ดีกวาและประหยัดนํ้ามัน สราง ความมั่นใจใหแกผูขับขี่ดวยระบบเบรก แบบลมลวน (Full Air Dual Circuit Wedge Type) พรอมเบรกไอเสีย ที่ชวย เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการเบรกบนทาง ลาดชันเพื1อยืดอายุการใชงานของระบบ เบรก และเพิม่ ความปลอดภัยในการขับขี่
B&T#257_p24-25_Pro2.indd 25
ขับขี่สบายอยางมีเอกลักษณ มาพรอมความสะดวกสบาย ภายใน หองโดยสารที่ลงตัวหรูหรา กวางขวาง เบาะนั่งแบบปรับไดหลายระดับ ตาม สรีระของผูขับขี่ เพิ่มพื้นที่เหนือศีรษะ และชองเก็บของสวนตัวมากกวา บันได ขึ้นลงติดตั้งอยูในระดับตํ่า ทําใหขึ้นลง ภายในหองโดยสารได พื้นที่หองโดยสาร กว า งขวางตกแต ง ภายในเต็ ม รู ป แบบ เบาะนั่งกวางสบาย FV 5138 มีหอง โดยสารอเนกประสงค แ บบสองตอน ทั้ ง ห ม ด นี้ เ พื1อ ผ อ น ค ล า ย ค ว า ม เหน็ดเหนื1อยเมื1อยลาในการขับขี่
Ace zip รถบรรทุกจิ๋วจากคาย TATA โดยรถบรรทุกคันนี้ตองบอกวาเปนรถบรรทุกรุนที่ เล็กที่สุดแลวดวยรูปลักษณที่เล็กมากแตสามารถบรรทุกของไดนั้นจึงเหมาะสมกับการใชงาน บรรทุกที่ไมหนักมากหรือสามารถสงของไดในระยะไกลหรือในชุมชนตามตรอกซอกซอยภายใน เมืองจะเหมาะมาก โดยเครื1องยนต 611 ซีซี. มีกําลังเพียง 11.3 แรงมาเทานั้น ที่ 3,000 รอบ ตอนาที แรงบิดสูงสุด 3.16 mkg ที่ 1,600-1,800 รอบตอนาทีระบบเกียรเปนแบบซินโครเมซ เดินหนา 4 ถอยหลัง 1 ระบบเบรกดรัมหนาหลัง โดยสามารถบรรทุกนํ้าหนักรวมอยูที่ 1,285 กิโลกรัม ถามองในเรื1องการใชงานแลว Ace Zip คันนี้ เหมาะมากในบานเราสามารถใชงานได หลายอยางไมวาจะเปนสงขนมหรือนํามาเปนรถอเนกประสงคตาง ๆ รายละเอียดเพิ่มเติม : www.tatamotors.com
บรรทุกหนักคุมสุดขีด FV 5138 คันนี้นํ้าหนักรวมบรรทุก อยูที่ 50.5 ตันและไดมีการทดสอบแลว วามีความประหยัดในการขนสงไดดีกวา โดยผลการจากทดสอบปรากฏวามีอัตรา การประหยั ด นํ้ า มั น จากเดิ ม 2.78 กิโลเมตรตอลิตรเปน 3.46 กิโลเมตรตอ ลิตร หรือประหยัดเพิ่มขึ้นจากเดิมกวา 20% และมี ค วามโดดเด น และความ ทนทาน ทําใหงานทีย่ ากสําเร็จลุลว ง และ ลดคาใชจายจากขุมพลังของเครื1องยนต ที่มีประสิทธิภาพสูงและการออกแบบที่ ทันสมัย
TATAA Ultra 912 รถบรรทุกขนาดกลางจากคาย TATA เชนกันสําหรับรุนนี้จะใหญขึ้นมาหนอยโดยจัดวา เปนรถบรรทุกขนาดกลางไปแลว สามารถบรรทุกของไดประมาณ 1 ตัน มาพรอมเครื1องยนต TATA 497 TCIC มีกําลังสูงสุด 125 แรงมา ที่ 2,400 รอบตอนาที ระบบเกียร GB550 6 เกียร เดินหนา 1 เกียรถอยหลัง พวงมาลัยพาวเวอร ระบบเบรกดิสกหนาดรัมหลัง สามารถบรรทุก ได 1 ตัน เหมาะสําหรับงานขนสงพวกวัสดุกอสรางตาง ๆ หรือนํามาประกอบธุรกิจ SME ก็ สามารถทําไดดว ยรูปรางทีด่ ทู นั สมัยดวยการเปลีย่ นกันชนหนาใหดสู ปอรตขึน้ ทําใหดมู คี วามทัน สมัยมากขึ้นและนาใช โดย TATA Ultra มีสีใหเลือกหลัก คือ ขาว เหลือง นํ้าเงิน แดง ถาดูโดย รวมแลวถือวานาใชเลยทีเดียว รายละเอียดเพิ่มเติม : www.tatamotors.com
10/29/14 10:47 PM
26 BUS&TRUCK • LOGISTICS FOCUS
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557 LOGISTICS FOCUS
“เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน” เรื่องสําคัญที่ตองเรงพัฒนา รับ AEC หลังจากที่หัวหนาคสช. แตงตั้ง คณะกรรมการนโยบายเขตพั ฒ นา เศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) เมื1อวันที่ 19 มิถนุ ายน 2557 โดยไดมอบนโยบายเกีย่ ว กับการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยมุ ง หมายให เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของ โรดแมป คสช. ในการสนับสนุนการนํา ประเทศเขาสูประชาคมอาเซียน กระตุน เศรษฐกิจ ลดความเหลื1อมลํ้าและชวย รักษาความมั่นคงของประเทศ ก ล ยุ ท ธ สําคัญของการสรางเสริมการคาและการ ลงทุนเพื1อรองรับ AEC คือ การพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษ ดังนัน้ ผูป ระกอบการควร ตองศึกษาเรื1องนี้ใหมีความเขาใจ เพื1อจะ ไดผลักดันธุรกิจของตัวเองใหมีศักยภาพ พรอมรองรับ แนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ พิเศษจะเปนการสรางพื้นที่เศรษฐกิจใหม เนนบริเวณชายแดนสําหรับระยะแรก โดย ใชประโยชนจากการเชื1อมโยงกับประเทศ เพื1อนบาน พรอมสนับสนุน SMEs ไทย และการลงทุนตอเนื1องของไทยในประเทศ เพื1อ นบ า น รวมทั้ ง จั ด ระเบี ย บพื้ น ที่ เศรษฐกิ จ ชายแดน แกป ญ หาแรงงาน ต า งด า วผิ ด กฎหมายและสิ น ค า เกษตร ลักลอบจากประเทศเพื1อนบาน หลักเกณฑและวิธีการสนับสนุน ตามที่ กนพ. เห็นชอบ 4 ดาน ไดแก 1.สิทธิประโยชนสาํ หรับการลงทุน ดวยการใหสิทธิประโยชนตามเขตการสง เสริมการลงทุนเขต 3 พิเศษ และสิทธิ ประโยชนอื1นทั้งที่เปนภาษีและไมใชภาษี 2.การให บ ริ ก ารจุ ด เดี ย วแบบ เบ็ดเสร็จ โดยจัดตั้ง OSS ดานการลงทุน โดยมีสํานักงานในพื้นที่ และเชื1อมโยงกับ ศูนยบริการดานการลงทุนของ BOI และ จัดตัง้ OSS ดานแรงงาน สาธารณสุข และ การตรวจคนเขาเมือง 3.มาตรการสนั บ สนุ น การใช แรงงานต า งด า ว จั ด ระบบแรงงาน
B&T#257_p26-27_Pro2.indd 26
ต า งด า วแบบไป-กลั บ รวมทั้ ง กํ า หนด แนวทางการฝกอบรมแรงงาน 4.การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและ ดานศุลกากรในพื้นที่ โดยจะพัฒนาดาน ศุลกากรและการผานแดน โครงสรางพืน้ ฐาน ดานการขนสง ระบบนํ้า ไฟฟา และอื1น ๆ ทั้งนี้ เพื1อใหสามารถรองรับกิจกรรม ในพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจ และเชื1อมโยงประเทศ ในภูมิภาคไดอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพเหมาะสมใน การจัดตั้งเปนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะแรกของไทย ใน 5 พื้นที่ชายแดน คือ อําเภอแมสอด จ.ตาก เชื1อมโยงระดับ ภูมภิ าคจะเปนประตูฝง ตะวันตกของไทยบน แนวระเบียงเศรษฐกิจ EWEC เชื1อมตรงกับ เขตเศรษฐกิจชายแดนเมียวดี สามารถเชื1อม ตอสูทาเรือเมาะละแหมง และกรุงยางกุง ของเมียนมาร แนวทางการพัฒนา มีฐาน การลงทุ น เดิ ม ในพื้ น ที่ แรงงานพร อ ม อุตสาหกรรมใชแรงงานเขมขน เชน สิ่งทอ อุ ต ส า ห ก ร ร ม สิ น ค า เ ก ษ ต ร แ ป ร รู ป เฟอรนเิ จอร การใชประโยชนพนื้ ทีเ่ พื1อจัดตัง้ คลังสินคา พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่ ศุลกากร ศูนย โลจิสติกส สวนการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานจะขยายถนน 4 เลน(เสน ทางตาก-แมสอด) สะพานขามแมนํ้าเมย แหงที่ 2 การพัฒนาสนามบินแมสอด อํ า เภออรั ญ ประเทศ จ.สระแก ว เชื1อมโยงระดับภูมิภาคประตูฝงตะวันออก ของไทยบนแนว SEC เชื1อมตอสูกัมพูชา ซึ่ง มี เ ขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษปอยเปต-โอเนี ย ง Sanco-Poipet เสียมเรียบ และเมืองศรี โสภณ โดยสามารถเชื1อมตอออกสูท ะเลผาน ทาเรือของเวียดนาม แนวทางการพัฒนา พื้ น ที่ ค า ส ง - ค า ป ลี ก ฐ า น ก า ร ผ ลิ ต อุตสาหกรรมแปรรูปสินคาเกษตร การขนสง ตอเนื1อง คลังสินคาระหวางประเทศ มีคณะ ทํ า งานร ว มไทย-กั ม พู ช าเพื1อ จั ด ตั้ ง เขต เศรษฐกิจพิเศษ สวนการพัฒนาโครงสราง พื้นฐาน ขยายทางหลวง 4 เลน (สาย 304
อ.สารคาม บรรจบกับสาย 33 สระแกว 27.7 กม.) (สาย 33 ทาขาม บรรจบกับสาย 3511 หนองเอียน 12 กม.) ขยายเสนทางอรัญชายแดนเปน 4 เลน ระยะ 22 กม. พื้นที่ชายแดน จ.ตราด เชื1อมโยง ระดับภูมภิ าค ประตูฝง ตะวันออกของไทยบน แนว Southern Coastal Road Corridor / SubCorridor) เชื1อมตอเขตเศรษฐกิจพิเศษ เกาะกง ของกัมพูชา สามารถเชื1อมเขาถึง ทาเรือสีหนุวลิ ล (233 กม.) และทาเรือแหลม ฉบัง (230 กม.) แนวทางการพัฒนา พื้นที่ ทองเทีย่ วเชิงนิเวศ การขนสงตอเนื1องหลาย รูปแบบ คลังสินคา ศูนยโลจิสติกส การคา ชายแดน พืน้ ทีก่ ารคาชายแดนปลอดภาษี มี คณะทํางานรวมไทย-กัมพูชาเพื1อจัดตั้งเขต เศรษฐกิจพิเศษ สวนการพัฒนาโครงสราง พื้นฐาน ขยายทางหลวง 4 เลน(สาย 3 ตราด-หาดเล็ก 35 กม.) พัฒนารถไฟสาย แหลมฉบั ง -มาบตาพุ ด ท า เที ย บเรื อ คลองใหญ พืน้ ทีช่ ายแดน จ.มุกดาหาร เชื1อมโยง ระดับภูมภิ าคประตูฝง ตะวันออกของไทยบน แนว EWEC มีสะพานมิตรภาพไทย-ลาว เชื1อมสูสปป.ลาว ผานเขตเศรษฐกิจพิเศษ สะหวั น -เซโน สามารถเชื1อ มต อ สู ท า เรื อ ดานังของเวียดนาม หรือขึ้นสูจีนตอนใต (หนานหนิง) แนวทางการพัฒนาจะเปนฐาน การผลิตอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส การคา สง ศูนยกระจายสินคา การขนสงตอเนื1อง หลายรูปแบบ พัฒนาพื้นที่ศุลกากร การใช ประโยชนพื้นที่เพื1อจัดตั้งคลังสินคา ศูนย โลจิสติกส รวมทั้งการทองเที่ยวขามแดน สวนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน จะขยาย ทางหลวง (หมายเลข 12) การพัฒนาระบบ รถไฟรางคูระยะทาง 336 กม.(สาย บานไผ– มหาสารคาม–ร อ ยเอ็ ด –มุ ก ดาหาร– นครพนม) อําเภอสะเดา จ.สงขลา (ดานสะเดา ดานปาดังเบซาร) เชื1อมโยงระดับภูมิภาค ประตูทางใตของไทยบนแนว NSEC เปน
ช อ งทางขนส ง หลั ก ทางถนนและราง เชื1อ มต อ กั บ มาเลเซี ย สู สิ ง คโปร ใกล ทาเรือปนงั และทาเรือกลางของมาเลเซีย อยู ใ กล พื้ น ที่ อุ ต สาหกรรมหนั ก ของ มาเลเซีย แนวทางการพัฒนา พื้นที่ตอ ขยายนิคมอุตสาหกรรม การเชื1อมโยงเพื1อ การสงออก มีถนนและระบบรางเชื1อมโยง ชายแดน มีคณะทํางานรวมไทย-มาเลเซีย สวนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ถนน มอเตอร เ วย ส ายหาดใหญ - ชายแดน พัฒนารถไฟรางคูเสนทาง หาดใหญ – ปาดังเบซาร การกอสรางทาเรือ (ทาเรือ สงขลา) ในสวนของ 5 พื้นที่ชายแดน ที่ ได รั บ พิ จ ารณาเป น เขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิเศษระยะแรกนั้นใหดําเนินการตั้งแต ปงบประมาณ 2557 เปนตนไป โดยปรับ แผนงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ และ เตรียมงบประมาณประจําป 2558 เปน ลําดับแรก ทั้งนี้ใหสามารถดําเนินการได อยางเปนรูปธรรมภายในป 2558 โดยเนน การตอบสนองตอเปาหมายการพัฒนา ดานเศรษฐกิจ สังคม และความมัน่ คงของ ประเทศ เพื1อกระตุนเศรษฐกิจในพื้นที่ ชายแดน สวนในระยะที่สอง ซึ่งมี 5 พื้นที่ 7 ดานที่เหลือ คือ ชายแดน จ.เชียงราย, จ.กาญจนบุร,ี จ.นครพนม และจ.นราธิวาส ใหเตรียมความพรอมและเริ่มดําเนินการ ในป 2559 เปนตนไป โดยใหมกี ารประเมิน ผลการดํ า เนิ น งานของระยะแรก เพื1อ ปรับปรุงการดําเนินงานของพื้นที่ในระยะ ตอไป ทั้งนี้ พื้นที่ที่มีศักยภาพเหมาะสมใน การจัดตั้งเปนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 1 และ 2 ทั้ง 10 จังหวัด ลวนเปน พื้ น ที่ ช ายแดนที่ ตั้ ง อยู บ นแนวระเบี ย ง เศรษฐกิ จ อนุ ภู มิ ภ าคลุ ม นํ้ า โขง (GMS Economic Corridors) เพื1อเตรียมความ พรอมของประเทศไทยในการเขาสูก ารเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
10/29/14 10:50 PM
MATERIAL HANDLING
ระบบจัดเก็บสินคาแบบไดรฟอินทแร็คกิ้ง (Drive-In Racking System)
ระบบลําเลียงโซแบบทอปเชน (Top chain conveyor)
มีลกั ษณะคลายอุโมงคเหมาะสําหรับจัดเก็บสินคาชนิดเดียวกันไมเหมาะกับ สินคาทีม่ คี วามหลากหลายชนิด ระบบจัดเก็บสินคานีส้ นิ คาทีเ่ ก็บกอนจะออกทีหลัง (First In - Last Out) ดังนั้นสินคาใน 1 ชองจะตองเปนสินคาชนิดเดียวกันและ ควรมีการเบิกจายสินคาทีละมาก ๆ ระบบนี้จะประหยัดชองทางการเดินรถจึงมี พื้นที่จัดเก็บสินคามากกวาระบบซีเล็คทีฟแร็คกิ้งซึ่งทางบริษัทสามารถออกแบบ ระบบจัดเก็บสินคาแบบไดรฟอินทใหเหมาะกับโครงสรางสินคาและพื้นที่ บริษัท ไทยอินเตอรแมท จํากัด โทร.0-2738-3580-94
มักจะถูกเรียกวาระบบทอปคอนเวเยอร, เทเบิลทอปคอนเวเยอร, สายพานลําเลียงขวด หรือ บอทเทิลลิ่งคอนเวเยอร ระบบ ลําเลียงแบบนีจ้ ะมีพนื้ ทีร่ องรับสินคาดานบนของโซซงึ่ มีความทนทาน สูง สามารถทนแรงเสียดทานสูง อุณหภูมสิ งู หรือตํา่ ความชืน้ นํา้ มัน และสารเคมี บริษัท ที.อาร โมเดิรน อินดัสทรี จํากัด โทร.0-2758-2349
B&T#257_p26-27_Pro2.indd 27
10/29/14 10:51 PM
28 BUS&TRUCK • LOGISTICS NEWS
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557 LOGISTICS NEWS
TPARK ยกมาตรฐานคลังสินคาสําเร็จรูป รวมมือ TWINTEC ใชเทคโนโลยี SFRC กอสราง บริษัท ไทคอน โลจิสติคส พารค จํากัด หรือ TPARK กําหนดมาตรฐาน ใหมในวงการคลังสินคาสําเร็จรูปโดย จับมือกับบริษัท Twintec Industrial Flooring ผูนําดานการกอสรางเพื1อ อุตสาหกรรม จากสหราชอาณาจักร อั ง กฤษ นํ า เทคโนโลยี พื้ น คอนกรี ต
เสริมใยเหล็กแบบไรรอยตอ หรือ Steel Fibre Reinforced Concrete (SFRC) มาใชในการกอสรางพืน้ อาคารคลังสินคา ในโครงการ TPARK Eastern Seaboard 3 แหงใหม ทั้งนี้ Twintec ใชเวลาเพียง 4 วัน ในการทําพื้นโครงการ TPARK Eastern Seaboard 3 ซึ่ ง ตั้ ง อยู บ นทํ า เล ยุทธศาสตรของธุรกิจอุตสาหกรรมแถบ อีสเทิรนซีบอรดและแวดลอมดวยนิคม อุตสาหกรรมสําคัญหลายแหง มีพื้นที่ กวา 7,000 ตารางเมตร นอยกวาการเท พื้ น คอนกรี ต ทั่ ว ไปที่ ต อ งใช เ วลาถึ ง 3
สัปดาห ดวยเทคโนโลยี SFRC เปนการ ผสมผสานคอนกรีตและเสนใยเหล็ก พื้น ของ Twintec จึงไมมีรองไมเกิดการแตก ราวบริเวณรอยตอ ทําใหแข็งแรงกวาพืน้ คอนกรี ต ถึ ง แม จ ะหนาเพี ย ง 160 มิลลิเมตร ซึ่งบางกวาพื้นคอนกรีตทั่วไป นอกจากนี้ พื้นของ Twintec ยังให ความยืดหยุนในการจัดวางสินคา มีอายุ การใชงานที่ยาวนานเหมาะสําหรับการ รองรับนํ้าหนักสินคาจํานวนมากในคลัง สินคาและการเคลื1อนยาย ในประเทศไทย Twintec ไดรับการยอมรับจากผูประกอบ
ธุรกิจคาปลีกรายใหญ อาทิ เทสโก โลตัส ในการกอสรางคลังสินคาในเขตภาค ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และภาคใต บ น พื้นที่กวา 50,000 ตารางเมตรมาแลว ความร ว มมื อ ครั้ ง นี้ แ สดงถึ ง ความมุงมั่นของ TPARK ในการยก ระดับคลังสินคาให ไดมาตรฐานและ ตอบสนองการใชงานของลูกคาไดดี เยี่ยม โดยการแสวงหาผูรวมงานและ ผู รั บ เหมาที่ มี เ ทคโนโลยี ทั น สมั ย มี ความชํานาญเฉพาะดานมารวมเปน พันธมิตรอยางตอเนื1อง
ไทคอนซื้อที่ดินเพิ่ม 290 ไร ในนิคมฯปนทอง
บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ ไทคอน ลงนามใน สัญญาซื้อที่ดินจํานวน 290 ไร ในนิคมอุตสาหกรรมปนทอง (โครงการ 5) จากบริษัท ปนทอง อินดัสเตรียล ปารค จํากัด เพื1อขยายพื้นที่โรงงานสําเร็จรูปใหเชาไดเพิ่มอีกประมาณ 200,000 ตารางเมตร รองรับความตองการของลูกคาที่มีอยางตอเนื1อง โดยในสิ้นป 2557 นี้ ไทคอนตั้ง เปาขยายพืน้ ที่โรงงานใหเชาที่ 70,000 ตรม. โดยปจจุบนั ไทคอนมีพนื้ ทีภ่ ายใตการบริหารจัดการ ทั้งสิ้นกวา 1,046,000 ตารางเมตร
คุณชนัญญารักษ เพ็ชรรัตน รับรางวัล “สุดยอดสตรีนักธุรกิจอนุรักษโลก ป 2557” คุณชนัญญารักษ เพ็ชรรัตน กรรมการผู จั ด การ ดี เ อชแอล เอ็กซเพรส ประเทศไทยและภาคพื้น อินโดจีน บริษทั ผูน าํ ระดับโลกในธุรกิจ ขนส ง ด ว นระหว า งประเทศ ได รั บ เกียรติเขารับรางวัล “สุดยอดสตรีนัก ธุ ร กิ จ อ นุ รั ก ษ โ ล ก ป 2 5 5 7 (Outstanding Women Leaders for Green Growth Award)” โดยสหพันธ สมาคมสตรีนักธุรกิจและวิชาชีพแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ เปนผูจัดและดูแลกระบวนการตัดสิน เพื1อหาผูชนะรางวัล
B&T#257_p28-29_Pro2.indd 28
10/29/14 11:03 PM
B&T#257_p28-29_Pro2.indd 29
10/29/14 11:19 PM
30 BUS&TRUCK • STATISTIC UPDATE
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
STATISTIC UPDATE
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง ณ วันที่ 31 กันยายน 2557 จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสงและจํานวนผูป ระกอบการขนสง ทัง้ รถโดยสารและรถบรรทุก ประจําเดือนกันยายน 2557 เริ่มเคลื1อนไหวดีขึ้น ซึ่ง ถือเปนสัญญาณที่ดีตอวงการรถใหญและระบบโลจิสติกส ไทยมากทีเดียว กลุม สถิตกิ ารขนสง กองแผนงาน กรมการขนสงทางบก ไดรายงานสถิตจิ าํ นวน ใบอนุญาตประกอบการขนสง ณ วันที่ 31 กันยายน 2557 ไวแลว โดยเริม่ กันทีป่ ระเภทขนสงรถโดยสาร มีจาํ นวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 31,774 ฉบับ จากเดือนสิงหาคม อยูที่ จํานวน 30,889 ฉบับ เพิ่ม ขึ้น 885 ฉบับ และมีจํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น 28,783 ราย จากเดือนสิงหาคม อยูที่ จํานวน 27,885 ราย หรือเพิ่มขึ้น 898 ราย โดยแบงเปนรถโดยสารประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น 5,862 ฉบับ จากเดือนสิงหาคม อยูที่ จํานวน 5,902 ฉบับ หรือลดลง 40 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 2,902 ฉบับ จากเดือนสิงหาคม อยู ที่ จํานวน 2,930 ราย หรือลดลง 28 ราย ในสวนของรถโดยสารไมประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 19,441 ฉบับ จากเดือนสิงหาคม อยูที่ จํานวน 18,532 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 909 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 19,441 ราย จาก เดือนสิงหาคม อยูที่ จํานวน 18,532 ราย หรือเพิ่มขึ้น 909 ราย ดานรถโดยสารสวนบุคคล จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น
จํานวน 6,411 ฉบับ จากเดือนสิงหาคม อยูที่ จํานวน 6,394 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 17 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 6,411 ราย จากเดือนสิงหาคม อยู ที่ จํานวน 6,394 ราย หรือเพิ่มขึ้น 17 ราย ทั้งนี้ ยังมีรถขนาดเล็ก จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 60 ฉบับ จากเดือนสิงหาคม อยูที่ 61 ฉบับ ลดลง 1 ฉบับ โดยมีจํานวนผู ประกอบการขนสง จํานวน 29 ราย ยังคงที่เชนเดียวกับเดือนสิงหาคม สวนประเภทขนสงรถบรรทุกนัน้ มีจาํ นวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 383,327 ฉบับ จากเดือนสิงหาคม อยูที่ จํานวน 383,260 ฉบับ หรือ เพิม่ ขึน้ 67 ฉบับ ดานจํานวนผูป ระกอบการขนสง มีจาํ นวน 383,327 ราย จากเดือน สิงหาคม อยูที่ จํานวน 383,260 ราย หรือเพิ่มขึ้น 67 ราย แบงเปนรถบรรทุกไมประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 17,673 ฉบับ จากเดือนสิงหาคม อยูที่ จํานวน 17,491 ฉบับ หรือ เพิ่มขึ้น 182 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 17,673 ราย จากเดือนสิงหาคม อยูที่ จํานวน 17,491 ราย หรือเพิ่มขึ้น 182 ราย สวนรถบรรทุกสวนบุคคล จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 365,654 ฉบับ จากเดือนสิงหาคม อยูที่ จํานวน 365,769 ฉบับ หรือลดลง 115 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 365,654 ราย จากเดือน สิงหาคม อยูที่ จํานวน 365,769 ราย หรือลดลง 115 ราย
สถิติจํานวนใบอนุญาตประกอบการขนสง (สะสม) ณ วันที่ 31 กันยายน 2557
ลักษณะรถ รถโดยสาร ประจําทาง • หมวด 1 • หมวด 2 • หมวด 3 • หมวด 4 • ประจําทางระหวางประเทศ รวม ไมประจําทาง • รถโดยสารไมประจําทาง • ไมประจําทางระหวางประเทศ รวม สวนบุคคล • รถโดยสารสวนบุคคล • สวนบุคคลระหวางประเทศ รวม โดยรถขนาดเล็ก รวมรถโดยสารทั้งสิ้น
รถบรรทุก ไมประจําทาง • ไมประจําทาง • ไมประจําทางระหวางประเทศ รวม สวนบุคคล • สวนบุคคล • สวนบุคคลระหวางประเทศ รวม รวมรถบรรทุกทั้งสิ้น
B&T#257_p30-31_Pro2.indd 30
จํานวนใบอนุญาต จํานวนใบอนุญาต ผูประกอบการ ผูประกอบการ ขนสง (ราย) ขนสง (ฉบับ) 2,931 586 203 526 1,602 14 5,862
1,451 191 1 314 944 1 2,902
19,176 265 19,441
19,176 265 19,441
6,408 3 6,411 60 31,774
6,408 3 6,411 29 28,783
16,756 917 17,673
16,756 917 17,673
365,505 149 365,654 383,327
365,505 149 365,654 383,327
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงรถโดยสาร
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงรถบรรทุก
10/29/14 11:08 PM
B&T#257_p30-31_Pro2.indd 31
10/29/14 11:08 PM
32 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK AEC 32
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
BUS & TRUCK AEC
NOSTRA แผนที่นําทางอัจฉริยะ
ป จ จุ บั น โ ล ก ข อ ง ธุ ร กิ จ ไ ด เปลี่ยนแปลงไปอยางมากมาย ความ ต อ งการของผู บ ริ โ ภค และวิ ถี ก าร ดํารงชีวติ ทีเ่ ปลีย่ นไป สภาพภูมอิ ากาศ ที่แปรปรวน ทรัพยากรทางธรรมชาติ ที่ลดนอยลง ตลอดจนเทคโนโลยีที่มี การพัฒนาไปอยางรวดเร็ว เปนปจจัย สํ า คั ญ และอุ ป สรรคในการพั ฒ นา ประเทศและธุรกิจ ทุกภาคสวนจึงตอง เรงเตรียมความพรอมมองหาโอกาส และชองทางในการแขงขัน ควบคู ไป กับการเรงพัฒนาศักยภาพประชากร ของตนใหมคี วามรู ความสามารถ เทา เทียมระดับสากล ปลายป 2558 ประเทศไทยจะเขา สูการเปนสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน หรือ AEC ทีม่ เี ปาหมายในการ ส ง เสริ ม สั น ติ ภ าพ เสรี ภ าพ ความ สามารถในการแขงขันของภูมภิ าค และ ความรวมมือทางเศรษฐกิจอยางยั่งยืน การขนสงและโลจิสติกสจะมีการขนสง มากยิ่งขึ้น ดวยเหตุนี้ การขนสงสินคาตองมี ความแมนยํา ตรงตอเวลา เพื1อสราง มาตรฐานใหอยูในระดับสากล อยางไร ก็ดี ในโลกยุคใหมมีเทคโนโลยีเขามา ช ว ยให ง า ยมากยิ่ ง ขึ้ น เพราะมี ผู เชี่ยวชาญและนักคิดคนคอยคิดใหเปน ที่เรียบรอยแลว บริษัท โกลบเทค จํากัด หนึ่งใน บริษัทในเครือของกลุมบริษัทซีดีจี เปน หนึง่ ในบริษทั ผูน าํ ดานการบริการขอมูล แผนที่ (Location Content Provider) ในระดั บ ภู มิ ภ าค โดยพั ฒ นาและให บริการขอมูลแผนที่ดิจิตอลและขอมูล อางอิงพิกัดตําแหนงครบทุกรูปแบบ โดยมีขอมูลพื้นฐานที่ครบถวน ถูกตอง และครอบคลุมทุกพื้นที่ในประเทศไทย และทั่ ว ชาติ อ าเซีย น ภายใตแบรนด สินคา “NOSTRA” (นอสตรา) ดวยทีม งานที่มีความรูความเชี่ยวชาญและมี ประสบการณ ในเทคโนโลยีการสํารวจ และผลิตขอมูลแผนที่ เทคโนโลยีระบบ จีไอเอส (Geographic Information System: GIS) และระบบการนําทาง รถยนต (Car Navigation System) มา มากกวา 20 ป NOSTRA ถือเปนขอมูลแผนที่ ดิจิตอล (Digital Map Data) และ ข อ มู ล พิ กั ด ตํ า แหน ง (Location Content) ในประเทศไทยทีถ่ กู พัฒนาให เปนขอมูล ที่สามารถตอบโจทยการใช งานทางด า นแผนที่ ข ององค ก ร ผู ประกอบการขนสง และบุคคลทั่วไปได อยางดี ในชี วิ ต ประจํ า วั น NOSTRA
B&T#257_p32-33_Pro6.indd 32
ความละเอียดสูงแบบลายเสน (Vector Data) จึงมีความถูกตองและแมนยําสูง เหมาะสํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ที่ ต อ งการการ วิ เ คราะห ข อ มู ล ที่ ซั บ ซ อ น เช น การ วางแผนตั้ ง สาขาใหม การวิ เ คราะห ขอบเขตการใหบริการ การบริหารจัดการ เสนทางจัดสงสินคา การประเมินราคา ที่ดินหรือสินทรัพย เปนตน 2. NOSTRA Map Service : แ ผ น ที่ อ อ น ไ ล น ผ า น เ ค รื อ ข า ย อินเทอรเน็ต เปนบริการขอมูลแผนที่ ฐาน (Base map) เพื1อการอางอิงพิกัด ตํ า แหน ง ผู ใ ช ส ามารถใช บ ริ ก ารบน แอพพลิ เ คชั น ที่ พั ฒ นาขึ้ น เอง หรื อ สามารถให บ ริ ษั ท โกลบเทค จํ า กั ด พั ฒ นาแอพพลิ เ คชั น ตามรู ป แบบที่ ต อ งการใช ง านได นอกจากนั้ น แล ว กลายเปนอุปกรณที่ขาดไมได ในการเดิน บริ ษั ท ฯ ยั ง ให บ ริ ก ารแอพพลิ เ คชั น ทางของคนรุ น ใหม ด ว ยการให บ ริ ก าร สําเร็จรูปที่มีฟงกชันมาตรฐานครบถวน ข อ มู ล แผนที่ นํ า ทางและคอนเทนต เพื1อรองรับธุรกิจขนาดกลางและขนาด สนับสนุนการเดินทางและการทองเที่ยว เล็กดวยเชนกัน บนอุปกรณนําทางรถยนต GPS แบบพก 3. NOSTRA Logistics : ระบบ พา (PND) และระบบนําทางรถยนตใน บริหารจัดการและติดตามยานพาหนะ รถ (In-Car) เปนตน การที่ออกแบบ แบบเรียลไทม เปนหนึ่งในโซลูชั่นดาน ขอมูลให ใชงานงาย อัพเดทตลอดเวลา โลจิสติกสแบบครบวงจร เหมาะสําหรับ และมีความแมนยําสูง NOSTRA จึงได ธุรกิจที่มีภารกิจดานการขนสงโดยผู ใช รับความนิยมเปนอยางมาก ทั้งยังตอบ สามารถตรวจสอบขอมูลไดตลอดเวลา โจทย ไลฟสไตลของคนรุนใหมที่ ไมหยุด ผานโทรศัพทเคลื1อนที่หรือคอมพิวเตอร อยูกับที่ไดเปนอยางดี และสามารถเลือกฟงกชนั การใชงานตาม คุณวิชยั แสงหิรญ ั วัฒนา ผูจ ดั การ ความตองการได เชน วางแผนเสนทาง ทั่วไป นอสตรา บริษัท โกลบเทค จํากัด ขนสง ติดตามและบันทึกเสนทางเดินรถ เปดเผยวา ปจจุบันบริษัทฯไดพัฒนาการ หรือควบคุมการเดินรถดวยระบบแจง ใหบริการขอมูลแผนทีท่ งั้ หมด 7 รูปแบบ เตือน และเซนเซอรควบคุมการทํางาน เพื1อ ตอบสนองเทคโนโลยี แ ละความ ของส ว นต า ง ๆ เช น นํ้ า มั น ประตู ตองการใชงานที่แตกตางกัน ดังนี้ อุณหภูมิ เปนตน 1. NOSTRA Professional Map 4. NOSTRA Digital Map : :แผนที่ สํ า หรั บ ระบบสารสนเทศ แผนที่สําหรับอุปกรณจีพีเอส เพราะ ภูมศิ าสตร (Geographic Information ความละเอียดและแมนยําสูงสุดจึงทําให System : GIS) เปนขอมูลแผนที่ฐาน แผนที่นําทาง NOSTRA ไดรับความเชื1อ
มั่ น ในตลาดอุ ป กรณ นํ า ทางรถยนต (GPS) มามากกวา 10 ป การันตีโดย ผูนําอุปกรณจีพีเอสอยาง GARMIN และ Kamaz ตลอดจนซอฟต แ วร นําทางอยาง SpeedNavi และ Hood Dude เปนตน นอกจากแผนที่นําทาง NOSTRA จะพัฒนาคุณสมบัติใหมเพิ่ม เติมตลอดเวลาแลว เรายังปรับปรุง ขอมูลเสนทางคมนาคมทัว่ ประเทศไทย ใหเปนปจจุบันที่สุดอยูเสมอ 5. NOSTRA Map on Board : แผนที่สําหรับระบบนําทางที่ติดตั้งใน รถยนต อีกหนึง่ การใชงานขอมูลแผนที่ แบบงาย ๆ บนระบบนําทางแบบ On board ไม จํ า เป น ต อ งเชื1อ มต อ อินเทอรเน็ต ก็สามารถใชงานบนระบบ นํ า ทาง GPS ในรถยนต (In-Car Navigation) หรือบนสมารทโฟนและ แท็บเล็ตไดทําใหทุกการใชงานของคุณ ราบรื1น สะดวกรวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา 6. NOSTRA Map on Mobile : แผนที่ สํ า หรั บ แอพพลิ เ คชั่ น บน อุปกรณเคลื1อนที่เพราะโลกไมหยุดนิ่ง เราจึ ง พั ฒ นาบริ ก ารข อ มู ล แผนที่ ใ ห พรอมใชงานในทุกรูปแบบ NOSTRA ออกแบบใหสามารถรองรับการใชงาน บนสมารทโฟนและแท็บเล็ตทุกระบบได ไม ว า จะเป น iOS, Android หรื อ Windows Phone บนเทคโนโลยี ที่ หลากหลาย เช น Geographic Information System (GIS), Navigation System, Augmented Reality และ Location Base Services เปนตน และ 7. NOSTRA Map Information : แผนที่สําหรับสิ่งพิมพ เปนการใชงานแผนทีใ่ นรูปแบบสิง่ พิมพ เชน แผนพับ หนังสือ และแผนภาพ โปสเตอร เปนตน ดวยการออกแบบที่ สวยงาม ดูงาย มีการจัดทํามาตราสวน ที่เหมาะสมกับขนาดของสิ่งพิมพและ การใชงาน มีขอ มูลครบถวนทัง้ ภาพรวม ของพืน้ ทีใ่ นระดับประเทศ ภูมภิ าค และ จังหวัด พรอมภาพขยายเมืองสําคัญ และแหลงทองเที่ยวกวา 100 แหงทั่ว ประเทศ เหมาะสําหรับการวางแผนการ เดินทาง การทองเที่ยว และการขนสง “ความมุ ง มั่ น ในการพั ฒ นา เทคโนโลยีและบุคลากรใหมีความทัน สมัย เพือ1 สรางสรรคผลิตภัณฑและ บริการทีเ่ ปย มดวยคุณภาพ และมีสว น ร ว มนํ า ความเจริ ญ ก า วหน า ทาง เทคโนโลยีมาสูประเทศ” ปรัชญาของ บริษัทฯ ที่เรายึดมั่นตลอดมา คือแรง ผลักดัน สําคัญทีท่ าํ ใหเราพัฒนาอยาง ไมหยุดยั้ง”
10/29/14 10:26 PM
SET UP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
33
ติดตั้งลําเลียง
Mobile Pro Delivery เพิ่มศักยภาพธุรกิจขนสง
ป จ จุ บั น การสื1อ สารเป น องค ประกอบสําคัญทีช่ ว ยผลักดันใหธรุ กิจ ประสบผลสํ า เร็จ และกาวหนาได อยางมืออาชีพ การเพิ่มศักยภาพให องคกรเพื1อรองรับการเจริญเติบโต ของธุรกิจดวยเทคโนโลยีการสื1อสาร ที่พัฒนาอยางตอเนื1องและกาวทัน โลกจึงเขามามีบทบาท Mobile Pro Delivery คือ คํา ตอบสําหรับธุรกิจขนสงแบบครบวงจร เพราะชวยลดตนทุนการบริหารจัดการ เสนทางขนสง และชวยเพิ่มศักยภาพ ในการแขงขันทางธุรกิจไดแบบ RealTime บนโทรศัพทสมารทโฟน หรือ แท็บเล็ต ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย Simat Technologies Pcl. ดวยการคํานึงถึง ความตองการทีเ่ พิม่ ขึน้ ของธุรกิจขนสง ในประเทศ อีกทั้งยังสามารถใชบริการ ผาน AIS BizCloud ไดทันที ไมตอง ลงทุ น เพิ่ ม ในการติ ด ตั้ ง ระบบ และ ประหยัดคาใชจายในการบํารุงรักษา คุ ณ สมบั ติ ห ลั ก ประกอบด ว ย 1.การจัดการเสนทางการขนสงอยางมี ประสิทธิภาพโดยการตรวจสอบดวย
B&T#257_p32-33_Pro6.indd 33
ระบบ GPS 2.ตรวจสอบประวั ติ เ ส น ทางการเดินทางของยานพาหนะไดสงู สุด 30 วัน 3.มอบหมายงานและจัดการงาน ไดในทันที (Real-Time) 4.มีการตรวจสอบ การจัดสง (POD) พรอมการเก็บหลักฐาน ดวยลายเซ็นหรือภาพถาย 5.ขอมูลเสน ท า ง ก า ร เ ดิ น ท า ง แ ล ะ ก า ร จ ร า จ ร 6.สามารถตรวจสอบปริมาณการใชนาํ้ มัน เชือ้ เพลิงและตรวจสอบพิกดั ความเร็วใน ระหวางการขับขี่ และ7.ระบบตรวจจับ การติดเครื1องยนต (กรณีนตี้ อ งมีอปุ กรณ เสริม Bluetooth สําหรับการตรวจจับการ ติดเครื1องยนต) Proof of Delivery (การตรวจ สอบขอมูลการจัดสง) แอพพลิเคชั่น Mobile Pro Delivery รองรับในสวน ฟงกชนั่ งาน Proof of Delivery ซึง่ มีความ สามารถในการบริ หารจั ดเส น ทางการ ขนสงโดยพนักงานผูจัดสงสามารถรับ งานได โดยอัตโนมัติ ทั้งนี้ จําเปนตองมี การเชื1อมตออินเทอรเน็ตผานเครือขาย โทรศัพทมือถือ เมื1อปฏิบัติงานเรียบรอย แลว ผูใชสามารถสงขอมูลดังกลาว Proof of Delivery (ลายเซ็นพรอมประทับเวลา
และ/หรือภาพถายมีประทับเวลา) สง กลั บ ไปยั ง สํ า นั ก งานหลั ก ผ า นระบบ Cloud ไดทันที อยางไรก็ดี การติดตามดวย GPS เพื1อใหสํานักงานใหญสามารถตรวจสอบ ยานพาหนะในแบบทันที (Real Time) แอพพลิเคชัน่ จะทําการติดตามตําแหนง ของโทรศั พ ท มื อ ถื อ ด ว ยระบบ GPS (Global Positioning System) รวมทั้ง สามารถแสดงมาตรวัดความเร็วชวยให
ผู ใชสามารถตรวจสอบความเร็วของ ยานพาหนะได คุณสมบัติอื1น ๆ ที่มี ได แ ก ระบบการตรวจจั บ การติ ด เครื1องยนตของยานพาหนะ และยังมี เข็ ม ทิ ศ และตั ว นั บ เที่ ย วสํ า หรั บ การ รายงาน สําหรับกลุมลูกคาเปาหมาย ไดแก รถขนสงสินคา (Transportation and Logistic) รถสาธารณะ และรถ โรงเรียน
10/29/14 10:26 PM
34 BUS&TRUCK • LOGISTICS ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ในหั ว ข อ การใช IT กั บ การ จัดการคลังสินคา เมื1อฉบับที่แลวได กล า วถึ ง การนํ า เทคโนโลยี ที่ เ ป น ซอฟต แ วร สํ า หรั บ การจั ด การคลั ง สินคา และการออกแบบโปรแกรมจะ ต อ งให ส อดคล อ งกั บ ลั ก ษณะการ ทํางาน และกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายใน คลั ง สิ น ค า จะช ว ยทํ า ให เ กิ ด ความ แมนยํา ลดระยะเวลาในกระบวนการ สั่งซื้อ ลดความบกพรองในกระบวน การจั ด การภายในคลั ง สิ น ค า ลด ตนทุนในการจัดเก็บสินคาคงคลัง เพิม่ ประสิทธิภาพการใหบริการลูกคาเกิด ความรวดเร็วยิ่งขึ้น ซึง่ ขอควรพิจารณาในการเลือกใช มี 4 หัวขอหลัก คือ 1. การเตรียมขอมูล เบือ้ งตน 2. คนหาขอมูลบริษทั ทีด่ าํ เนิน ธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ WMS 3. ตั้ ง คณะ กรรมการพิจารณา ทดสอบ ทดลองใช และ 4. ปรับ Mind Set ทัศนคติของ พนั ก งานภายในคลั ง สิ น ค า และ พนักงานที่เกี่ยวของ
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557 LOGISTICS
ฉ บั บ นี้ จ ะ นํ า เ ส น อ ก า ร นํ า เทคโนโลยี อ ะไรก็ ต ามที่ ม าใช ใ นการ จัดการคลังสินคาจะตองสอดคลองกับ กระบวนการหรื อ กิ จ กรรมหลั ก ภายใน คลังสินคาดวย ซึ่งกิจกรรมหลักในคลัง สินคามีดังนี้ 1. การรับสินคา (Receiving) ซึ่ง การตรวจรั บ สิ น ค า กี่ ช นิ ด อะไรบ า ง จํานวนเทาใด สภาพสินคาเมื1อเทียบกับ เอกสาร/ขอมูลจากใบ PO เพื1อรับสินคา เขาสูคลังสินคา เนื1องจากขอมูลเหลานี้มี ความแตกตางและหลากหลาย ที่สําคัญ จะตองแก ไขปญหาในเรื1องรับผิดชนิด/ ผิดจํานวนได ดังนัน้ การรับขอมูลรายการ สินคาในการผานระบบเทคโนโลยีจําเปน ตองสรางระบบฐานขอมูลทีท่ าํ ใหสามารถ จัดสรรพื้นที่และวางสินคาในชั้นเก็บของ ไดลว งหนา หากมีการนําระบบ Barcode มาใชก็สามารถใช Barcode ที่มาพรอม สินคาหรือจัดทําระบบ Barcode ขึ้นเอง ก็ได 2. การจัดเก็บเขาชั้น (Put-away) เก็บที่ไหน ระบุตาํ แหนงทีต่ อ งการจัดเก็บ สินคา บล็อกตําแหนงจัดเก็บสินคา ใช เกณฑตาง ๆ เชน อัตราการหมุนเวียน ประเภทสินคา ขนาด นํ้าหนัก ฯลฯ การ
ขนสินคาเขาสูต าํ แหนงจัดเก็บ การยืนยัน การจั ด เก็ บ ตามตํ า แหน ง ที่ กํ า หนด ที่ สําคัญจะตองแกไขปญหาในเรื1องการจัด เก็บผิดสถานที่ รวมถึงการกําหนดลําดับ งานและเสนทางในการจัดเก็บสินคาที่ เหมาะสมดวย 3. การหยิบสินคา (Picking) เปน กิจกรรมที่ใชเวลามากที่สุด เหมือนกับ การเดินหาซื้อของในหางสรรพสินคาจะ เสียเวลาทั้ง ๆ ที่จดรายการมาจากบาน เนื1องจากสวนใหญจะใช ในการเดินและ ค น หา การจั ด โหลดการขนส ง การ วางแผนการหยิบสินคา (หยิบที่ไหน หยิบ อยางไร เสนทาง/วิธีการ) เกณฑในการ หยิบ เชน FIFO FEFO หยิบสินคาตาม ตําแหนงและปริมาณที่ระบุ ที่สําคัญจะ ตองแกไขปญหาในเรื1องการตรวจเช็คซํ้า การวางโปรแกรมประมวลผลจากฐาน ขอมูล และการเรียงลําดับกอนหลังการ หยิบสินคาตามเงื1อนไขที่กําหนด 5. การนั บ สต็ อ ก (Inventory Count) ซึ่งกิจกรรมนี้จะเริ่มตั้งแตกอน การตรวจนั บ หยุ ด การรั บ จ า ยและ เคลื1อนไหวสินคา เคลียรเอกสารรับจาย จัดเก็บสินคาคงคลังทั้งหมดในสถานที่ เก็บ เก็บขอมูลสต็อกในระบบทีม่ กี อ นนับ
กับการจัดการคลังสินคา (จบ)
B&T#257_p34_Pro6.indd 34
เพื1อ เปรี ย บเที ย บกั บ ของจริ ง และ เตรียมเอกสารนับสต็อก สวนการตรวจ นั บ ตามรายละเอี ย ดในใบนั บ สต็ อ ก (ชนิด ปริมาณ ฯลฯ) เปรียบเทียบขอมูล ที่เก็บกับที่ไดจากการตรวจนับจริง ซึ่ง การตรวจสอบซํ้าเบื้องตน หากพบผล ตาง และขั้นหลังการตรวจนับ ปรับ ขอมูลหรือจํานวนในระบบใหตรงกับ จํ า นวนจริ ง ที่ นั บ ได ซึ่ ง ก็ ต อ งสรุ ป รายงานปญหาและวัดความแมนยําใน การจั ด เก็ บ สิ น ค า (Inventor y Accuracy) ดังนั้น หากตองการวาง ระบบดังกลาว จะตองคํานึงถึงกิจกรรม เดิมการนับสต็อก กอนปรับเปลีย่ นการ ตรวจนั บ สิ น ค า ภายในช ว งเวลาที่ กําหนดโดยอาศัยการประมวลผลจาก ฐานข อ มู ล แบบ Real time หรื อ สามารถตรวจนับในขณะทีก่ าํ ลังปฏิบตั ิ งาน ซึ่งระบบ Cycle count สามารถ เชื1อมตอกับระบบ Mobile network ทําใหการตรวจนับสินคามีความถูกตอง มากยิ่งขึ้น 6. กิ จ กรรมสร า งมู ล ค า เพิ่ ม (Value-added) สวนใหญนิยมจัดใหมี การบริการเสริมภายในการจัดการคลัง สินคา ไมวาจะเปนการติดปายสินคา (Labeling) รับบรรจุสินคา (Pick & Pack) รั บ บรรจุ สิ น ค า ใหม (Repacking) เปนตน ซึ่งการวางระบบ โปรแกรมจึ ง ควรคํ า นึ ง ถึ ง ประเด็ น กิจกรรมสรางมูลคาเพิม่ ของคลังสินคา 7. การจัดทํารายงาน (Report) โดยปกติ จ ะมี ก ารจั ด ทํ า รายงานเก็ บ รวบรวมขอมูลอยูแ ลว แตหากมีการนํา ระบบดั ง กล า วมาใช จ ะต อ งสามารถ ตรวจสอบสถานะตาง ๆ ของสินคาและ สิ น ค า คงคลั ง แบบเรี ย ลไทม ติ ด ตามตรวจสอบผลิ ต ภั ณ ฑ และผลของการจั ด การคลั ง สิ น ค า เพื1อ ใช ใ นการวางแผน พัฒนาปรับปรุง รวมถึงการประมวล ผลสรุปขอมูลเชิงตัวเลข สถิติ และเชิง บรรยาย อ ย า ง ไ ร ก็ ต า ม ก า ร เ ลื อ ก เทคโนโลยีใด ๆ มาใชภายในองคกรหรือ ภายในคลังสินคาจะตองคํานึงถึงความ พรอมขององคกรและผูใชหรือผูปฏิบัติ งานดวย ซึ่งจะตองใชเวลาในการปรับ ตัว ระยะเวลาในการปรับปรุงใหมให เกิดความเขากันและสอดคลองตองกัน ในทุกหนวยงาน ไมควรเรงรัดเรงรีบ ไม เช น นั้ น แล ว ต อ ให มี ก ารวางระบบ เทคโนโลยีทดี่ เี ลิศเพียงใด แตทรัพยากร มนุษยขาดทักษะในการใชงานและมี ทัศนคติเชิงลบ ก็ยากที่จะใชเทคโนโลยี สร า งให อ งค ก รเกิ ด ความได เ ปรี ย บ ทางการแขงขัน อีกทัง้ การนําเทคโนโลยี มาใชกต็ อ งดูความเหมาะสมขององคกร วามีความจําเปนตองการใชมาก-นอย เพียงใด อยาทําตามกระแส
10/29/14 10:29 PM
B&T#257_p35_Pro6.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
10/29/14
10:33 PM
36 BUS&TRUCK • TEST & REPORT
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557 TEST & REPORT
ออสเตรเลียควาแชมป ฟววอทช 2014 จากการจั ด แข ง ขั น รถหั ว ลาก ประหยัดนํ้ามันหรือ ฟววอทช 2014 ของ วอลโว ทรั ค ส ไปแล ว ใน ประเทศไทยและไดสุดยอดนักขับรถ หัวลากของไทยไปทําการแขงขันรอบ ชิ ง ชนะเลิ ศ ในระดั บ เอเชี ย แปซิ ฟ ค เมื1อเดือนกันยายน ณ เมืองโกเธนเบิรก ประเทศสวีเดน โดยผลการ แขงขันเปนที่นาเสียดาย โดยผูที่ควา แชมป ใ นรายการใหญ ค รั้ ง นี้ คื อ ประเทศออสเตรเลีย การแขงขันฟววอทช ในภูมิภาค เอเชี ย แปซิ ฟ ค นี้ เ กิ ด ขึ้ น ครั้ ง แรกใน ประเทศเกาหลีใตในป พ.ศ. 2551 ซึ่ง ในเวลาตอมา ไดขยายพื้นที่ออกไปยัง ประเทศอื1น ๆ ในป พ.ศ. 2555 มียอด ผู เ ข า ร ว มแข ง ขั น ในรายการนี้ทั้งสิ้น 2,500 คน จํานวนผูเ ขารวมแขงขันเพิม่ ขึ้นเปนเทาตัวในปนี้ แนนอนวาสวน หนึ่งมาจากจํานวนประเทศที่เขารวม การแขงขันในรายการนีท้ เี่ พิม่ ขึน้ จาก 8 ประเทศในป พ.ศ. 2555 มาเปน 10 ประเทศในป พ.ศ. 2556 และป นี้ ประเทศเขารวมการแขงขันเพิม่ ขึน้ เปน 12 ประเทศโดยประเทศฮองกง และ ปากีสถานถือเปนประเทศลาสุดที่เขา รวม โดยการแขงขันไดจัดขึ้นสําหรับ ภูมิภาคตาง ๆ โดยในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟคนั้นจะประกอบดวยประเทศ ออสเตรเลีย สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต มาเลเซีย ฮองกง ปากีสถาน สิงคโปร ศรีลังกา ไตหวันและประเทศไทย ผูที่ผานเขา รอบเอเชีย แปซิฟค มีทั้งสิ้น 12 คน
B&T#257_p36_Pro6.indd 36
ระดับเอเชียแปซิฟค
จากจํานวนผูเขารวมรอบการคัดเลือก มากกวา 5,800 คน ไดเขาสูส นามสุดทาย สําหรับภูมิภาคเอเชีย แปซิฟคที่จัดขึ้นใน เมืองโกเธนเบิรก ประเทศสวีเดน ผู เ ข า รอบทั้ ง 14 คน แบ ง การ แขงขันออกเปน 2 ประเภท ไดแกการ
แขงขันบนทางเรียบ ซึ่งจะใชรถหัวลาก รุนใหม Volvo FH 6X2 และการแขงขัน เสนทางวิบาก ซึ่งจะใชรถ Volvo FMX 8X4 โดยผูชนะประเภทเสนทางวิบาก ไดแก มร.เมียงเซียง คิม จากประเทศ เกาหลีใต สวนผูชนะประเภททางเรียบ
ไดแก มร. สก็อต ฮารวี่ จากประเทศ ออสเตรเลีย โดยมี มร.ฮัวเหลียง ลู จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และ มร.ซุง เช็น ลู จากประเทศใตหวัน รองชนะเลิศอันดับ 2 โดยผูชนะทั้ง 3 อันดับ ประเภททางเรียบจะผานเขาสู รอบสุดทายที่มีผูเขารวมแขงขันจาก ภูมิภาคอื1นทั่วโลกทั้งสิ้น 23 คน สําหรับรอบสุดทายประเภททาง เรี ย บนั้ น จะจั ด ขึ้ น ในบ า นเกิ ด ของ วอลโว ทรัคส คือเมืองสโตรา โฮลม (Stora Holm) ใกลเมืองโกเธนเบิรก ประเทศสวีเดน และยังคงใชรถหัวลาก รุน ใหม Volvo FH 6X2 วิง่ บนทางเรียบ เปนระยะทางทั้งสิ้น 16.2 กิโลเมตร สํา หรับ ประเภททางวิบ าก ยังคงใช Volvo FMX 8X4 เชนเดิม โดยจะจัด ขึ้นที่ศูนยทดสอบรถวอลโว เปนระยะ ทางทั้งสิ้น 15 กิโลเมตร สวนผลงานการแขงขันในรอบ เอเชียแปซิฟคนั้น ผูชนะเลิศในรอบนี้ สามารถทําอัตราการสิ้นเปลืองนํ้ามัน ไดดกี วาผูเ ขารวมแขงขันอันดับสุดทาย ประมาณ 14% ซึ่งชวงหางของอัตรา สิน้ เปลืองของคนทัง้ สอง จะเปนเครื1อง บงชีถ้ งึ อัตราสิน้ เปลืองทีเ่ กิดขึน้ จากคน ขับรถหัวลากที่ดีที่สุดกับอันดับสุดทาย ซึ่งสงผลตอผลการดําเนินงานของผู ประกอบการอยางแนนอน ในระหวาง การแขงขัน ผูเ ขารวมการแขงขันจะถูก ประเมินพื้นฐานการขับขี่ ไมวาจะเปน อัตราการใชพลังงาน การขับขี่ทั่วไป การขับขี่ปลอดภัยและการประเมินใน ภาพรวมการขับขี่
10/29/14 10:36 PM
B&T#257_p36-37_Pro6.indd 37
10/29/14 10:38 PM
38 BUS&TRUCK • COVERS’ STORY ตอจากหนา 1
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
จากปก
สรุปยอดขายรถใหญ ป 57 โลกในแงดีวาเศรษฐกิจตองฟนภายใน เร็ววัน และเศรษฐกิจโดยรวมตองดีขึ้น อานิ ส งส ก็ ต อ งถึ ง รถใหญ ด ว ย ยอด จําหนายตองเกิน 3 หมื1นคันแน แตเมื1อ ตองมาเจอกับพิษเศรษฐกิจรอบดาน ชาวเกษตรกรไมวา จะเปนชาวนา ชาวไร ซึง่ เปนคนสวนใหญของประเทศก็อยูใ น ชวงที่ตกอับอยู แมวาจะหารายไดมา เสริมใหก็ตาม ดังนั้นคนในวงการรถ ใหญจึงตองหาทางประคองธุรกิจของ ตัวเองเพื1อใหอยูรอดในปนี้ใหได
ความตองการเลย เพราะไมมงี านขนสง ใหทําเปนจํานวนมากเชนเคย
ยอด 9 เดือนแรกเปนเครือ่ งพิสจู น
ยอดรวมตลาดรถใหญตก
คุ ณ อํ า น ว ย พ ง ษ วิ จ า ร ณ กรรมการบริหารอาวุโส บริษัท ฮีโน มอเตอรสเซล (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวาสําหรับยอดขายรถใหญโดย รวมทุกยี่หอ ในป 2557 นี้ คาดวานาจะ ทํายอดสูงสุดไดเพียงแค 2.8 หมื1นคัน เทานั้น สาเหตุก็สืบเนื1องมาจากการ ประท ว งทางการเมื อ งจนทํ า ให เ กิ ด วิกฤต และภาวะเศรษฐกิจโดยรวมตกตํา่ งานขนสงทางบกไดลดลงไปเปนอยาง มากนั่นเอง ส ว นยอดขายเมือ1 ต น ป ที่ สู ง จน ทําใหมองวา ยอดขายในครึ่งปหลังจะ สูงเทากับปที่แลว ก็สืบเนื1องมาจากยัง มียอดคางจองที่ตองสงอยูอีกมาก แต เมื1อสงหมดแลว ยอดขายก็เริ่มลดลง และเปนไปตามภาวะเศรษฐกิจที่ตกตํ่า
หวั่นผูประกอบการลดลง
ตามยอดจดทะเบียนของกรมการ ขนส ง ทางบก พบว า มี จํ า นวนผู ประกอบการขนสงทางบกเปนจํานวน ที่ สู ง มาก เพราะมี ก ารเพิ่ ม ของผู จ ด ทะเบียนรายใหมเปนจํานวนมาก สืบ เนื1องมาจากมีโรงงานผูผลิตสินคาราย ใหม เ กิ ด ขึ้ น ตามนิ ค มอุ ต สาหกรรม ตาง ๆ ทั่วประเทศ ที่ตองการหาผู ประกอบการขนสงสินคาให ซึ่งเปน ธรรมดาเมื1อมีโรงงานเพิม่ ก็ตอ งมีขนสง เพิ่มตามไปดวย คุณอํานวย เปดเผยตอไปวา เมื1อ ตลาดสินคามีผูประกอบการเพิ่มมาก ขึ้น การจัดระเบียบของการขนสงไมวา จะเปนทั้งในประเทศและตางประเทศ ก็ตอ งเปนมาตรฐานมากยิง่ ขึน้ ดังนัน้ ผู ประกอบการขนสงสินคาทีจ่ ะไดรบั การ คัดเลือกก็ตองมีระบบโลจิสติกสที่ดี มี คุณภาพเปนมาตรฐานสากล สวนธุรกิจ ขนสงขนาดเล็ก ทีว่ งิ่ รับงานยอย ก็ตอ ง ป ด ตั ว ไป ตามความเคลื1อ นไหวของ ตลาดขนสง
รถใหญเตรียมโปรโมชั่นเพียบ
ในป 2555 และ 2556 ตลาด ขนส ง มี ค วามต อ งการรถใหญ เ ป น จํานวนมากถึงปละ 4 หมื1นกวาคัน ซึ่ง เกินกําลังการประกอบของคายรถใหญ จากประเทศญี่ปุน ดังนั้นจึงไดทุมทุน
B&T#257_p38-39_Pro6.indd 38
มหาศาลไมวาจะเปนการซื้อเครื1องจักร และอุปกรณตาง ๆ เพิ่ม การเพิ่มคนงาน พรอมทั้งการเซ็นสัญญาซื้อชิ้นสวนเพิ่ม ทั้ ง นี้ เ พื1อ ที่ จ ะได ป ระกอบรถใหญ ใ ห มี จํานวนเพียงพอกับตองการของตลาด โดยไมตองรอนานเกิน 2 เดือนเหมือนที่ ผานมา เมื1อโรงงานประกอบรถใหญไดวาง จํ า นวนการประกอบในป 2558 ไว เรียบรอยแลว คายรถใหญที่รับหนาที่ จําหนายก็ตองพยายามทําการตลาดเพื1อ ที่จะขายให ไดตามจํานวนที่ ไดตั้งไว แต เมื1อสภาพเศรษฐกิจทั้งในประเทศและ ต า งประเทศยั ง ตกตํ่ า อยู และจะฟ น ตัวอยางเต็มที่ในชวงกลางป 2558 ผล ประโยชนสงู สุดจึงตกอยูก บั ลูกคา เพราะ มี ค า ยรถใหญ ม ากมายหลายยี่ ห อ มี จํานวนรถใหญมากเกินความตองการของ ตลาด ดั ง นั้ น ทุ ก ค า ยรถใหญ จึ ง ได จั ด โปรโมชั่ น ส ง เสริ ม การขายไว ม ากมาย หลายรูปแบบ เพื1อใหกลุมขนสงไดเลือก ซือ้ ตามความตองการ ไมวา จะเปนการฟรี ดาวน ฟรีดอกเบี้ย ราคาจําหนายคงที่ถึง 3 ป การรับประกันถึง 2 ป ไมจํากัดระยะ ทาง การซื้อเปนจําวนมาก ๆ ลดราคาให ถึงคันละ 4 หมื1นบาท และอื1น ๆ อีก มากมาย เพื1อใหตรงกับความตองการ ของลูกคามากที่สุด
คายรถจีนอยูไดเพราะทุนหนา
ก อ นหน า นี้ ไ ด มี ค า ยรถใหญ จ าก ประเทศจีนหลายยี่หอ เขามาเปดตลาด ในเมืองไทยสามารถทํายอดขายไดเกิน คาด ทั้งนี้เปนเพราะคายรถใหญที่เปน เจาตลาด ทั้งมาจากประเทศญี่ปุนและ ยุโรป ตางประสบปญหาทางธรรมชาติ หลายอยาง ทั้งที่เกิดในเมืองไทยและ บริษัทแม จึงขาดชิ้นสวนนํามาประกอบ ลูกคาตองรอนานบางครั้งเปนเวลาถึง 6 เดือน คายรถจีนจึงใชปญหาเหลานี้มา เปนชองทางขาย ดวยการนํารถใหญ ราคาถูก เมื1อลูกคาตองการก็สามารถนํา เขามาใหได ในทันที
ฮีโน มอเตอรสเซลส (ประเทศ ไทย)จํากัด ผูรวบรวมยอดขายรถใหญ ทุกยี่หอ เปดเผยวา ในชวง 9 เดือนที่ ผ า นมา คื อ ตั้ ง แต เ ดื อ นมกราคมถึ ง เดือนกันยายน ป 2557 มียอดขายรถ ใหญทุกยี่หอจํานวน 19,255 คัน ซึ่งใน ชวงเดียวกันของปทแี่ ลวขายได 35,936 คัน และเดือนกันยายน ป 2557 ขายได 2,510 คัน โดยยีห่ อ อีซซู ขุ ายไดมากทีส่ ดุ 9 เดือนแรกขายได 9,445 คัน ในชวง เดียวกันของปทแี่ ลวขายได 18,191 คัน และในเดือนกันยายน ป 2557 ขายได แตในป 2557 นี้ ถือเปนปพิสูจน 1,316 คัน อันดับ 2 คือ ฮีโน 9 เดือน ความแนจริงของคายรถใหญ เมื1อเจา แรกขายได 7,985 คัน ในชวงเดียวกัน ตลาดทางคายญีป่ นุ และยุโรป มียอดคาง ของปที่แลวขายได 15,146 คัน และใน สต็อกเปนจํานวนมาก ลูกคาตองการเมื1อ เดือนกันยายนป 2557 ขายได 1,055 ใดก็จะไดรับรถทันที คายรถจีนจึงหมด คัน อันดับที่ 3 คือ ฟูโซ 9 เดือนแรก โอกาสในขอนี้ ไป มีเพียงคุณภาพ ราคา ขายได 823 คัน ในชวงเดียวกันของป จําหนายที่ตํ่า และมีสต็อกอะไหล พรอม ที่แลวขายได 1,336 คัน และในเดือน ทั้งอายุการใชงานที่ยาวนานที่จะชวยให กันยายน ป 2557 ขายได 61 คัน อันดับ ลูกคาคุม ทุนไดเร็วกวาทีจ่ ะใชรถจากยีห่ อ 4 นองใหม ยูดี ทรัคส 9 เดือนแรกขาย เจาตลาด ได 214 คัน และเดือนกันยายนขายได และในป 2558 จะเปนการพิสูจน 20 คัน วารถใหญจากจีนยี่หอใดบางที่สามารถ สวนคายยุโรปใน 9 เดือนแรก ทําตลาดตอไปไดอีก เพราะไดรับความ ยี่หอที่ขายไดมากสุด คือ วอลโว 472 เชื1อถือจากกลุม ลุกคา และก็ตอ งมีรถใหญ คัน ในชวงเดียวกันของปที่แลวขายได อีกหลายยี่หอจากจีนที่ตองคอย ๆ ปด 871 คัน และในเดือนกันยายน ป 2557 บริษัทไป เพราะไมมุงมั่นทําตลาดอยาง ขายได 38 คัน อันดับ 2 สแกนเนีย 9 จริงจัง ชวงที่ผานมาสามารถเอากําไรไป เดื อ นแรกขายได 274 คั น ในช ว ง ไดเปนอยางมาก และเมื1อตลาดขนสง เดียวกันของปที่แลวขายได 304 คัน ตองการรถใหญทมี คี ณ ุ ภาพ และการดูแล และเดือนกันยายน ป 2557 ขายได 20 อยางจริงจัง ก็ตองปดตัวไป คัน ขนสงเผยมีรถใหญเกินตลาด สวนรถโดยสารใน 9 เดือนแรก แหล ง ข า วในวงการขนส ง ที่ ภ าค ยี่หอที่ขายไดมากที่สุด คือ สแกนเนีย เหนือและอีสาน ไดเปดเผยวา สําหรับผู ขายได 124 คัน ในชวงเวลาเดียวกัน ประกอบการขนส ง ทั่ ว ประเทศต า ง ของปที่แลวขายได 113 คัน และเดือน ประสบปญหาเดียวกัน คือมีผูวาจางลด กันยายนป 2557 ขายได 9 คัน อันดับ ลงไปเปนอยางมาก ทําใหเกิดการแขงขัน ที่ 2 วอลโว 9 เดือนแรกขายได 94 คัน กันดวยการตัดราคา พรอมทั้งยังบรรทุก และกันยายน ป 2557 ขายได 8 คัน เกินที่กฎหมายกําหนด เพือ1 ที่จะพอให อันดับ 3 MAN 9 เดือนแรกขายได 23 ธุรกิจอยูได สาเหตุหลักสืบเนื1องมาจาก คัน ในชวงเลาเดียวกันของปทแี่ ลวขาย เมื1อป 2555 และ 2556 ตลาดขนสงมี ได 30 คัน ความตองการสูง ผูป ระกอบการขนสงจึง และรถบรรทุก 2-3 ตัน 9 เดือน ไดซื้อรถใหญมาเปนจํานวนมาก โดยใน แรกยี่หอที่ขายไดมากสุด คือ อีซูซุ ขาย สองปนั้นมียอดจําหนายถึงปละ 4 หมื1น ได 2,428 คัน ในชวงเวลาเดียวกันของ คันเลยทีเดียว แตพอมาป 2557 เศรษฐกิจ ปที่แลวขายได 4,869 คัน และเดือน โดยรวมตกลงไปเปนอยางมาก ผูวาจาง กันยายนป 2557 ขายได 2,410 คัน ขนสงก็ลดนอยลง ผูป ระกอบการขนสงก็ อันดับที่ 2 ฮีโน 9 เดือนแรกขายได 932 มีงานลดนอยลงตามไปดวยเรียกวาแทบ คัน ในชวงเวลาเดียวกันของปที่แลว จะไมมีเงินจายไฟแนนซรายเดือนเลย ขายได 1,952 คัน และเดือนกันยายนป ดั ง นั้ น ทิ ศ ทางในป 2558 ความ 2557 ขายได 144 คัน อันดับ 3 ฟูโซ 9 ตองการในการจําหนายรถใหญของทุก เดือนแรกขายได 127 คัน ในชวงเวลา คายมีความตองการสูง สวนผูประกอบ เดียวกันของปที่แลวขายได 116 คัน การขนสงตองพยายามรักษารถใหญทยี่ งั และเดือนกันยายนป 2557 ขายได 10 ผอนไฟแนนซอยู สวนใหญรถใหมยงั ไมมี คัน
10/29/14 10:40 PM
WORLD NEWS • BUS&TRUCK 39
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
วงการตางแดน ตอจากหนา 1
ไอวีโก ประกาศประกอบในไทย ยันมาตรฐานเทียบเทาอิตาลี ในประเทศไทยได 3 ป เพื1อสํารวจตลาด รถใหญ และมองหาแนวทางการทําตลาด รถใหญ “ไอวีโก” ซึ่งพบวาควรมีราคา จําหนายอยูก งึ่ กลางระหวางรถยุโรปและ รถญี่ปุนเพื1อใหมีกลุมลูกคาหลากหลาย “เมื1อกลางป 2557 ที่ผานมาไดขอ สรุปมาวา ไดผูแทนจําหนายอยางเปน ทางการ คือ บริษัท เอสเอสเค กรุป เซลส แอนด เซอรวสิ จํากัด ทีม่ พี นื้ ฐาน เคยทํารถใหญมากอน และสามารถทํา ยอดขายไดมากกวา 2,000 คัน ในระยะ เวลาเพียง 3 ป ทัง้ มีความจริงใจตอลูกคา ไมวาจะเปนการใหบริการหลังการขาย และการดูแลเรื1องอะไหลตลอด 24 ชม. ทํ า ให มั่ น ใจได ว า รถใหญ “ไอวี โ ก ” สามารถขยายได ค รอบคลุ ม ตลาด แนนอน” นอกจากนี้ ยังมีโครงการใหญที่จะ ตั้งโรงงานประกอบในประเทศไทยปลาย หนา โดยทางบริษัทจะใหการสนับสนุน เรื1องเทคโนโลยี และมีวิศวกรมาควบคุม ดูแลเพื1อใหมาตรฐานเปนไปในทิศทาง เดี ย วกั น คื อ เที ย บเท า กั บ บริ ษั ท แม ที่ ประเทศอิตาลี คุณสุขสมเกรียติ เสือกลิ่นศักดิ์ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอสเอสเค กรุป เซลส แอนด เซอรวิส จํากัด กลาว วา จากการทําตลาดในชวง 3 เดือนหลัง
ในปนี้ สามารถทํายอดขายรถหัวลาก 380 แรงมา และรถมิกเซอร 290 แรงมา ได มากถึง 200 คัน และในหนาจะมีรถใหญ ทั้งเครื1องยนตดีเซลและ NGV เขามา เสริมทัพ ซึ่งไดวางยอดขายทั้งหมดไว จํานวน 800 คัน ตั้งราคาไวสูงสุดเพียง แค 3 ลานบาท และจะคงราคานี้ ไวเปน เวลาถึง 3 ป เพื1อกระตุนตลาดขนสงให กลับมาคึกคักอีกครั้ง อยางไรก็ดี บริษัทยังมีแผนใหญที่ จะตั้ ง โรงงานประกอบในไทยด ว ยงบ ประมาณจํานวนกวา 1,000 ลานบาท เบื้องตนไดซื้อที่ ไวแลวประมาณ 30 ไร ที่ อ.วังนอย จ.อยุธยา ซึง่ ไดวางแผนไววา จะ สามารถประกอบได ในชวงปลายปหนา โดยจะมีทั้งรถหัวลาก รถบรรทุก รถมิก เซอร และรถโดยสารดวย นอกจากนี้ บริษัทยังวางแผนที่จะขยายตลาดออกสู ชาติอาเซียนดวย เพื1อรองรับการเปด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คุ ณ สุ ข สมเกรี ย ติ กล า วอี ก ว า บริษทั ไดเจรจาดานสินเชื1อไวรองรับลูกคา แลว โดยไดจับมือกับทางบริษัท ลีสซิ่ง กสิกรไทย จํากัด เพราะถือเปนลิสซิ่ง อันดับหนึง่ ทีล่ กู คาใหการยอมรับ อยางไร ก็ตาม ลูกคาทุกรายที่บริษัทสงรายชื1อให กับทางลีสซิ่งกสิกรไทยจะไดรับสินเชื1อ เต็ม 100%
ตอจากหนา 1
CIMC นําเขาหัวลากรุนใหม ประกาศสูศึกปหนาเต็มตัว (ประเทศไทย) จํ า กั ด ผู นํ า เข า และ จําหนายรถบรรทุก ยีห่ อ CAMC ประเทศ จีน เปดเผยวา จากการที่ทําตลาดมาได 2 ป มียอดจําหนายเพียงแคประมาณ 200 คัน ทั้งนี้ เปนเพราะวิกฤตทางการ เมืองและภาวะเศรษฐกิจที่ตกตํ่า แตจาก การที่มีรัฐบาลชุดประยุทธิ์หนึ่ง ทําให สามารถคาดการณ ไดวา ภาวะเศรษฐกิจ จะกลับมาฟนตัวตั้งแตป 2558 และจะมี งานเมกะโปรเจกตของรัฐบาลอีกหลาย โครงการที่จะเริ่มเปนรูปธรรมมากขึ้น ดั ง นั้ น ทางบริ ษั ท จึ ง ได มี ก าร วางแผนที่จะนําเขารถหัวลากรุนใหมเขา มาเปดตลาดตัง้ แตตน ป 2558 ซึง่ มีหลาย ขนาดเครื1องยนตดเี ซลตัง้ แต 300 แรงมา ถึง 400 กวาแรงมา เพื1อทีจ่ ะไดครอบคลุม การขนสงทีจ่ ะมีการใชงานหลายประเภท ซึง่ รุน ทีน่ าํ เขามานี้ เปนรุน สูงสุดของคาย CAMC และเพื1อเปนการสงเสริมการขาย จึงไดเตรียมโปรโมชั่นไวหลายรูปแบบ เพื1อ ให ต รงกั บ ความต อ งการของกลุ ม ลูกคา ไมวา จะเปนการรับประกันหลังการ ขายถึง 2 ป หรือ 200,000 กิโลเมตร หรือ การรับประกันอุปกรณของรถ 100,000 กิโลเมตร พรอมทั้งมีการบํารุงรักษาฟรี ตลอดอายุ ก ารรั บ ประกั น นอกจากนี้ ระบบไฟและระบบแอรกย็ งั รับประกันถึง
B&T#257_p38-39_Pro6.indd 39
6 เดือนอีกดวย “สําหรับคุณภาพของรถ CAMC นี้ ถื อ ว า อยู ใ นระดั บ สากล เพราะได ใ ช เทคโนโลยีของประเทศเยอรมนีในการ ประกอบรถถึง 70% ไมวาจะเปน ระบบ ไฟ ระบบเกียร ระบบแอร เครื1องยนต และชวงลาง สวนเทคโนโลยีของจีนนัน้ ก็ ใชพียงแคโครงสรางของรถเทานั้น” สวนรุนที่นําเขามาจําหนายเมื1อ 2 ปทแี่ ลว ก็ยงั มีความตองการของลูกคาอยู โดยมี ใ ห เ ลื อ กตั้ ง แต ข นาด 336–375 แรงมา หากใชงานในระยะสั้น ก็จะเปน แรงมาที่มีขนาดนอย หากตองการวิ่งใช งานในระยะทางไกล ก็จะเปนเครื1องยนต ที่มีแรงมากําลังสูง ทางดานดีลเลอรนั้น ก็ถือเปนสวน ชวยในการขายเป น อย า งมาก เพราะ สามารถสรางความมั่นใจใหกับลูกคาได โดยในป 2558 จะขยายดีลเลอรให ได 10 แหงทั่วประเทศ ซึ่งจะเนนที่จังหวัดใหญ ทีม่ กี ารขนสงสูง โดยมาตรฐานของโชวรมู ศูนยบริการ และและโกดังสต็อกอะไหล นั้ น จะต อ งมี ม าตรฐานเดี ย วกั น ซึ่ ง ตนแบบนั้นทางบริษัทแมประเทศจีนได กําหนดออกมาเปนโครงสรางเหมือนกัน ทั้งหมดทั่วโลก
ยานยนต
สหรัฐอเมริกา : Huf เปดโรงงานพนสีชิ้นสวนยานยนตใหมในเทนเนสซี Huf North America Automotive Parts Manufacturing, Corp. ซึ่งเปนบริษัทในเครือ Huf Group เริ่มเปดดําเนินงานโรงงานพนสีชิ้นสวน ยานยนตแหงใหมในเมืองกรีนเนวิลล รัฐเทนเนสซี ประเทศสหรัฐอเมริกา โรงงานพนสีแหงใหมนตี้ งั้ อยูบ นพืน้ ที่ 5,300 ตารางเมตร ซึง่ ขยายมาจากโรงงาน ที่มีอยูเดิม ภายในโรงงานประกอบดวยอุปกรณพนสีอัตโนมัติและเครื1องฉีด พลาสติกขึ้นรูป เพื1อสนับสนุนกระบวนการผลิตใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดย มีกําลังการผลิตมือจับประตูรถราว 12.5 ลานชิ้นตอป ขณะเดียวกัน Huf ยังมี โรงงานพนสีอกี 5 แหงในยุโรปและจีน สงผลใหบริษทั เปนผูผ ลิตมือจับประตูรถ แบบพนสีรายใหญทสี่ ดุ รายหนึง่ ในอุตสาหกรรม นอกจากนี้ โรงงานแหงใหมยงั มีการฉีดพลาสติกขึ้นรูป การหลอดวยแรงดัน การผลิตอิเล็กทรอนิกส และการ ประกอบชิน้ สวน สงผลใหขอบขายการผลิตของ Huf ในทวีปอเมริกามีศกั ยภาพ เทียบเทากับในยุโรปและเอเชียแลวในตอนนี้ และการเปดดําเนินงานโรงงาน แหงใหมจะทําให Huf Group มีกําลังการผลิตมือจับประตูรถ 72.5 ลานชิ้นทั่ว โลกตอป เพื1อตอบสนองความตองการของลูกคาในอุตสาหกรรมยานยนต ญี่ปุน : เผยยอดขายรถไฮบริดโตโยตาทั่วโลกทะลุ 7 ลานคัน บริษัท โตโยตา มอเตอร คอรปอเรชั่น เผยยอดจําหนายรถยนต โตโยตาไฮบริดสะสมทั่วโลกทะลุ 7 ลานคัน ตัวเลขยอดขายที่ทะยานจาก 6 ลานสู 7 ลานคันนั้น ใชระยะเวลาเพียง 9 เดือนถือเปนระยะเวลาที่สั้นที่สุด ในประวัติการณของโตโยตา ปจจุบัน โตโยตาจําหนายรถยนตโดยสารสวน บุคคลขับเคลื1อนพลังงานไฮบริดทั้งสิ้น 27 รุน และรถไฮบริดปลั๊กอินจํานวน 1 รุนในมากกวา 90 ประเทศทั่วโลก นับตั้งแตตนปของ พ.ศ. 2557 ถึง ปลายป 2558 รถยนต ไฮบริดของโตโยตาจะมีการเปดตัวรถมากถึง 15 รุน ครอบคลุม ถึงรุน ที่ไดรบั การแนะนําเพื1อจําหนายในประเทศญีป่ นุ เมื1อเดือนมกราคมทีผ่ า น มาอยาง “ว็อคซี่ ไฮบริด” (Voxy Hybrid) และ “โนอาร ไฮบริด” (Noah Hybrid) นอกจากนี้ เมื1อเดือนกรกฎาคมที่ผานมา เลกซัสไดเปดตัว “NX300h” และจะ แนะนํา เลกซัส “RC300h” ในชวงครึ่งหลังของเดือนตุลาคม และโตโยตาจะ ขยายไลนผลิตภัณฑรถขับเคลื1อนพลังงานไฮบริด รวมทั้งขยายตลาดไปยัง ประเทศตาง ๆ ในอีกหลายภูมิภาคทั่วโลก
นวัตกรรม
ออสเตรีย : เตรียมวางจําหนาย รถบินได บริษทั ผูผ ลิตรถยนตผสมเครื1องบิน เตรียมวางจําหนาย รถบินได ภายใน เวลาไมชาไมนานนี้ถึง 2 รายดวยกัน เจาแรกคือ “สโลวาเกีย แอโรโมบิล” บริ ษั ท ที่ ตั้ ง อยู ใ นประเทศออสเตรี ย กําหนดจะนํา “ฟลายอิ้ง โรดสเตอร” รถยนตบนิ ได ทีพ่ รอมผลิตจําหนายตาม คําสั่งซื้อในงาน “ไพโอเนียร เฟสติวัล” ที่จัดขึ้นในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย “ฟลายอิ้ง โรดสเตอร” เปนรถเกงที่ มีปกพับไดอยูพรอม ขนาดเมื1อพับปกแลวเขาจอดในที่จอดรถทั่ว ๆ ไปไดสบาย เชื้อเพลิงก็ใชนํ้ามันทั่วไปที่ใชกันอยู ขนาดความยาววัดจากปกจรดปกเมื1อกาง ออกเทากับ 27 ฟุต ใชเครื1องยนตเครื1องบินรุน โรแทกซ 912 ทําความเร็วบน พืน้ ถนนไดสงู สุด 160 กิโลเมตรตอชัว่ โมง แตบนอากาศทําไดถงึ 198.4 กิโลเมตร ตอชั่วโมง รองรับผู โดยสาร 2 คน และนํ้าหนักรวมเกือบ ๆ 454 กิโลกรัม บิน ได ไกลสุดเปนระยะทาง 688 กิโลเมตร เปนผลงานคิดคนของ สเตฟาน ไคลน
ปฎิทินขาว วัน-เดือน-ป
รายละเอียดงาน
ติดตอ
17-26 พ.ย. 2557
Motor Road Show 2014 ณ ศูนยการคาอิมพ�เร�ยลเว�ลด สําโรง
คุณทัศนีย โทร. 08-5021-7786
24-30 พ.ย. 2557
The 2 nd AUTO IMPORT EXPO ณ ศูนยราชการแจงวัฒนะ อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี)
บร�ษัท กรังดปร�ซ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร. 0-2522-1731 ตอ 204 และ 467
29 พ.ย.-10 ธ.ค. 57 MOTOR EXPO 2014 ณ อาคารชาลเลนเจอร อิมแพคท เมืองทองธานี
บร�ษัท สื่อสากล จํากัด โทร.0-2641-8444 (อัตโนมัติ 12 สาย)
10/29/14 10:40 PM
40 BUS&TRUCK • DIRECTORY
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557 DIRECTORY ISUZU บร�ษัท ตร�เพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร. 0-2966-2111
SUNLONG บร�ษัท เบสทร�น กรุป จํากัด โทร.0-2750-3901, 0-2750-0227, 08-5999-9499 SLK6750CNG SLK6852D SLK6102D SLK6102CNG SLK6111CNG SLK6120D SLK6126CNGB SLK6145D ราคาดังกลาวเปนราคานําเขารถสําเร็จรูปทั้งคัน
Bus 7.5 m. Bus 8.5 m. Bus 10 m. Bus 10 m. City Bus 12 m. Coach 12 m. Coach 12 m. Coach 14.5 m.
YUTONG บร�ษัท ไทยคูชัย จํากัด โทร. 0-2393-9831-2
YUTONG มินิบัส 6 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 8 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 12 เมตร
มินิบัส รถธรรมดา รถปรับอากาศ
CNG ดีเซล ดีเซล CNG CNG ดีเซล CNG ดีเซล
-
-
-
2,650,000 4,000,000 4,600,000 4,900,000 5,400,000 6,000,000 6,500,000 7,500,000
1,500,000 2,500,000 4,850,000
HINO บร�ษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2900-5000 Hotline 0-2900-5260 Series 3 XZU600R-4W Series 3 XZU600R-6W Series 3 XZU650R (T&S) Series 3 XZU710R (T&S) Series 3 XZU720R Series 3 XZU600R-4W Cooler less Series 3 XZU600R-6W Cooler less Series 3 XZU650R (T&S) Cooler less
ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ
136 150 150 150 150 136 150 150
948,000 978,000 1,035,000 1,190,000 1,206,000 938,000 968,000 1,025,000
Series 5 FC9JEKA (T&S) Series 5 FC9JJKA Series 5 FC9JELA (T&S) Series 5 FC9JJLA (Radial Tube) Series 5 FC9JLLA (Radial Tube) Series 5 FG8JGLD Series 5 FG8JJLA Series 5 FG8JMLA Series 5 FG8JPLA Series 5 FG8JRLA Series 5 FG8JPLG (Air-Sus Series 5 FG8JGLE Series 5 FG8JJLB
6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
145 145 175 175 175 212 212 212 212 212 212 212 212
1,350,000 1,360,000 1,410,000 1,430,000 1,440,000 1,750,000 1,770,000 1,780,000 1,790,000 1,810,000 1,915,000 1,650,000 1,660,000
10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 12 ลอ 8x4 12 ลอ 8x4
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
212 212 251 212 251 330 330 344 380 380 330 380 380
2,345,000 2,385,000 2,415,000 2,485,000 2,535,000 2,820,000 2,850,000 2,905,000 2,965,000 3,035,000 2,575,000 3,130,000 3,170,000
หัวลาก 6 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
212 251 330 330 344 344 344 380 380 380
1,865,000 2,650,000 2,945,000 2,985,000 2,975,000 3,015,000 3,085,000 3,055,000 3,095,000 3,165,000
รถบัส รถบัส
6 สูบ 6 สูบ
251 380
2,145,000 3,605,000
Series 5 FC4JLNA NGV Series 5 FG1JPKA NGV Series 5 FG1JPKA NGV - Car Carrier Series 5 FL1JTKA-BGT NGV Series 5 FM1JNKD-BGT NGV Series 5 FM1JKKA NGV Series 5 FM2PNMD NGV Series 5 FM2PNMD- A NGV
6 ลอ NGV ขนาดใหญ 6 ลอ NGV ขนาดใหญ 6 ลอ NGV ขนาดใหญ 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ NGV 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
175 220 220 260 260 260 360 360
1,890,000 2,555,000 2,945,000 3,265,000 3,315,000 3,440,000 3,755,000 3,825,000
Series 5 FM2PKMA NGV Series 5 FM2PKMA-PA NGV Series 5 FM2PKMA-P NGV Series 5 FM2PKMA-A NGV
หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 360 360 360
3,850,000 3,960,000 3,890,000 3,920,000
Series 5 FL8JNKA Series 5 FL8JTKA Series 5 FL8JNLA Series 5 FM8JNKD Series 5 FM8JNLD Series 5 FM1ANKD (T Bias) E/G Retarder Series 5 FM1ANKD (T&S Radial) E/G Retarder Series 5 FM1ANLD (T&S Radial) E/G Retarder Series 5 FM2PNLD (T&S) Series 5 FM2PNLD (SPA) ABS Series 5 FM1AKKM E/G Retarder (Mixer) Series 5 GY2PSLA (S) Series 5 GY2PSLA (T&S 380 Ps) PTO Series 5 FG8JGLT Series 5 FM8JKKA Series 5 FM1AKKA (S) E/G Retarder Series 5 FM1AKKA (S) PTO E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (S) E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (S) PTO E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (SPA) ABS Series 5 FM2PKLA (T&S) Series 5 FM2PKLA (S) PTO Series 5 FM2PKLA (SPA) ABS Series 5 RK8JSLA Series 5 RM1ESKU
B&T#257_p40-41_Pro6.indd 40
360 360 360 360 360 360 300 300 360 360 360 360 360 360 360 360 360 300 300 300 300 300 300 300 300 300 240 240 240 240 210 210 210 190 190 175 175 150 150 130 130 130 130 354 245 245 354 245 245 220 130 130 130
3,347,000 3,177,000 3,177,000 3,317,000 3,147,000 3,147,000 2,582,000 2,559,000 3,294,000 3,294,000 3,044,000 3,044,000 2,694,000 2,727,000 2,680,000 2,680,000 2,580,000 2,565,000 2,544,000 2,662,000 2,642,000 2,621,000 2,504,000 2,432,000 2,412,000 2,391,000 1,875,000 1,854,000 1,844,000 1,818,000 1,536,000 1,526,000 1,484,000 1,486,000 1,476,000 1,350,000 1,334,000 1,225,000 1,209,000 1,029,000 1,024,000 967,000 937,000 3,957,000 3,754,000 3,394,000 3,844,000 3,456,000 3,375,000 2,580,000 1,627,000 1,617,000 1,432,000
10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุก 4 ลอ รถบรรทุก 6 ลอ รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชางยาว รถบรรทุก 6 ลอ ชวงสั้น รถบรรทุก 6 ลอ ชวงกลาง รถบรรทุก 6 ลอ ชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ ชวงยาวพ�เศษ รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถหัวลาก 10 ลอ
2,977 CC 2,977 CC 2,899 CC 2,899 CC 2,899 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 12,882 CC 12,882 CC
125 125 150 150 150 240 240 240 270 240 270 380 380
934,000 985,000 1,069,000 1,207,000 1,217,000 1,770,000 1,785,000 1,830,000 2,525,000 2,475,000 2,635,000 3,150,000 3,220,000
DONGFENG CNG DONGFENG 8x4 CNG
รถหัวลาก NGV 100% TRACTOR Engine Yuchai
YC 340HP YC 340HP
340 340
3,150,000 3,250,000
BJ4257SMFCB-R1 BJ4257MFJB-R1 BJ5257GJB-RA BJ3257DLPJE-R1
รถหัวลาก 10 ลอ CNG รถหัวลาก 10 ลอ Diesel รถมิกเซอร 10 ลอ Diesel รถ 10 ลอ Diesel
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
380 375 375 375
2,900,000 2,850,000 2,900,000 2,825,000
FUSO บร�ษัท ฟ�โซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-2897
FE71BB8SRDH1 FE73BE6SRDH1 FE84DE6SRDH1 FE85DE7SRDH1 FE85DG7SRDH1 FM65F F1RDH1 FM65F H1RDH1 FM65F M1RDH1 FN61FR2RDH1 FN62FM1RDH1 FN61FM2RDH1 FV51JHR3RDH1 FV51JHR3RDH1
DONGFENG บร�ษัท ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด โทร.0-2637-5041-3 FOTON บร�ษัท โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2882
DAYUN บร�ษัท ดายุน ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2503-4668-70
รถหัวลาก 10 ลอ รถผสมปูน 10 ลอ
-
280 280
2,780,000 2,700,000
รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 460 แรงมา
3,600,000 3,900,000 4,100,000 4,350,000 4,500,000 4,700,000 5,200,000
WP12NG350E40 WP12NG380E40 WP12NG380E40 WP10.336 WP12.375N WP10NG366E40 WP10.336 WP12NG330E40 (GAS)
SCANIA P 360 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MNA P 410 LA6x2MSZ K 410 IB6x2NB K 410 EB6x2NI K 460 EB6x2NI
9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 2,999 2,999 2,999 2,999 9,839 7,790 7,790 9,839 7,790 7,790 7,790 4,570 4,570 4,570
CGC4252 6x4 CGC4253 6x4 CGC4253 6x4 CGC1250 6x4 CGC1311 8x4 DYX3250 6x4 DYX3251 6x4 DYX3311 8x4 DYX5250 6x4
MAN บร�ษัท เอ็ม เอ เอ็น คอมเมอรเชียล ว�ฮีเคิลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-0070-5 MAN-CLA 26.280 6x4 Tractor MAN-CLA 26.280 6x4 Mixer
GXZ77NXJFQ (Aero-Max) GXZ77NXFQ (Aero-Max) GXZ77NXXTQ (Aero-Max) GXZ77NXJFQ GXZ77NXXFQ GXZ77NXXTQ GVR34JXXXQ (Aero-Max) GVR34JXXXQ FYH77SXDFQ FYH77SXTDQ FXZ77QXDFQ FXZ77QXDTQ FXZ77PXDXQ FXZ77NXFXQ FXZ34PSDFQ FXZ34PSDTQ FXZ34PNDXQ FVM34TSXXQ FVM34QSXXQ FVM34TNAXQ FVM34RNAXQ FVM34QNAXQ FVM34WNXXQ FVM34TNXXQ FVM34RNXXQ FVM34QNXXQ FTR34QXXXQ FTR34PXXXQ FTR34LXXXQ FTR34JXXXQ FRR90NSXXQ FRR90LSXXQ FRR90HSXXQ FRR90NNXXQ FRR90LNXXQ NQR75LXXXQ NQR75HXXXQ NPR75KXXXQ NPR75HXXXQ NMR85HXXFQ NMR85HXXTQ NMR85EXXXQ NLR85EXXXQ GXZ78NXCFQ (AMAX-A) GVR86KXCXQ (10W 6x2) GVR86KXCXQ (6W 4x2) FXZ78QXBFQ FVM86WXCXQ FVM86TXCXQ FTR86QXCFQ NPR82KXCXQ NPR82HXCXQ NMR82HXCXQ
Tractor (DIESEL) Tractor (CNG) Tractor (CNG) Cargo (DIESEL) Cargo (DIESEL) Truck+เพลาฮับ Truck+ กระบะดัมพ Mining+ กระบะดัมพ Mixer (DIESEL)
9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 11,596 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี
340 340 380 340 340 340 340 375 340
2,500,000 2,800,000 3,000,000 2,700,000 2,800,000 2,800,000 3,300,000 3,750,000 2,800,000
รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 8x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4
NGV NGV NGV ดีเซล ดีเซล NGV ดีเซล NGV
350 380 350 336 375 336 336 320
2,725,000 2,825,000 3,075,000 2,425,000 2,525,000 2,775,000 2,475,000 3,150,000
SHACMAN บร�ษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188
10/29/14 10:45 PM
BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 41
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557 BUS & TRUCK MART
B&T#257_p40-41_Pro6.indd 41
10/29/14 10:45 PM
42 BUS&TRUCK • Q & A
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
ถามทาง
เสียงจากผูอาน
ปองกันสนิมรถกระบะ
ธุรกิจทีท่ าํ อยูค อื ขนสงรายยอย มี รถปกอัพประมาณ 3 คันที่รับผิด ชอบขนของขนาดเล็ก ไมวาจะ เปนเครื1องดื1ม สิ่งกอสราง หรือ ผักผลไม เรียกวาทุกอยางที่วาจาง คราวนี้ก็เกิด รอยขีดขวนเห็นเหล็กดานใน กลัววาจะ เป น สนิ ม ได ง า ยจึ ง อยากรบกวนหาวิ ธี ปองกันการเกิดสนิมดวย สิ่งที่ชวยทําใหเกิดสนิมในตัวถัง รถกระบะก็ มี อ ยู ม ากมายหลาย อยางทัง้ แผนปู พลาสติก สีกนั ลื1น แตทขี่ อแนะนําวามีคณ ุ ภาพสูงก็คอื แผน ยางปูพนื้ รถกระบะยีห่ อ siken ที่ไดนาํ มา จัดแสดงในงาน BUS & TRUCK ’14 ที่ ผานมา เพราะหากสินคาไมดีไมมีคุณภาพ แถมยังมีราคาสูงก็คงไมกลานํามารวม แสดงรวมกั บ ยี่ ห อ อื1น เพราะกลุ ม ผู ประกอบการขนสงที่เขาชมงาน BUS & TRUCK ’14 ตางก็มีความเชี่ยวชาญใน การทําใหสนิ คาของตัวเองมีอายุในการใช งานยาวนานแตตองทํางานหนักเพื1อให คุมกับตนทุนที่ ไดซื้อมา
คุณอนุชิต ทองกูเกียรติกูล นักธุรกิจจังหวัดบุรีรัมย
ถือวาเปนการพลาดโอกาสอยาง งามทีผ่ ปู ระกอบการขนสงไมไดเขามาชม ยางปูพื้นรถกระบะยี่หอ siken เพราะมี โปรโมชัน่ สงเสริมการขายตาง ๆ ใหเลือก อยางมากมาย เมื1อมองดูแลวผูป ระกอบการขนสง รายเล็กจากทีม่ รี ถกระบะเพียงไมกคี่ นั ตอ ไปในอนาคตก็จะตองขยายเปนผูป ระกอบ การรายใหญตอ ไป หากมีระบบโลจิสติกส ทีด่ ี พรอมทัง้ มีความจริงใจใหกบั ผูว า จาง การลดตนทุนก็ถือวาเปนสวนหนึ่งที่จะ ทําใหธุรกิจขยายตัวขึ้นได ต อ ไปในอนาคตอั น ใกล นี้ จ ะนํ า แผนการตลาดของยางปูพื้นรถกระบะ ยี่หอ siken มานําเสนอใหกลุมลูกคาที่ สนใจไดรับรูและสามารถซื้อมาใชงานได ในเวลาที่เหมาะสมตอไป
ธุรกิจทีผ่ มทําอยูก ็ คือ เปนโรงสีขา ว ขนาดใหญมีรถพวงอยูทั้งหมด 19 คัน โดยรถพวงตอมาจาก 2 อูใหญ คือ อู มีโชคและอูสามมิตร เพราะมีมาตรฐาน ระดับสูง สวนงานขนสงก็มอี ยูเ ปนประจํา ไมวา จะเปนขนขาวเปลือกจากนาขาวเขา โรงสี และขนขาวสารจากโรงสีไปตามราน คาทัว่ ไป สวนเวลาอื1นก็จะขนขาวโพด มัน สํ า ปะหลั ง ไปตามปลายทางที่ ผู ว า จ า ง ตองการ เรียกวามีงานขนสงตลอดทั้งป สวนเรื1องทีต่ อ งการทราบเปนอยาง มากก็ คื อ การให ก รมทางหลวงจั ด ทํ า หนั ง สื อ เฉพาะการขนส ง ของรถใหญ เพียงอยางเดียว เพราะปจจุบันนี้ โดน ตํ า รวจเรี ย กตรวจและต อ งถู ก จั บ เป น ประจําอยาง เชน การติดไฟเขียวหนารถ จะตองติด 3 หรือ 4 ดวง ก็ไมทราบ แต ทุกครัง้ ก็มคี วามผิดเปนประจําไมวา จะติด 3 หรือ 4 ดวง หรือบางทีไมติดเลยก็ผิด ดังนั้นจึงตองการทราบขอมูลที่แทจริง และมั่นใจวาผูประกอบการขนสงทางบก ทั้งหมดตางก็ตองซื้อติดตัวไวเพื1อที่จะได ไมมีความผิด
กองบรรณาธิการ
ตองขอขอบคุณเปนอยางมาก ที่ เปนสมาชิกนิตยสาร BUS & TRUCK การนําเสนอขอมูลของรถใหญรุนใหม การจัดโปรโมชัน่ สงเสริมการขายของคาย รถใหญท้ังหมดก็ถือวาเปนขอมูลที่ตอง นําเสนอเพราะเปนประโยชน ใหกับผูที่ ขายและผูท ตี่ อ งการซือ้ จะไดทราบขอมูล และซื้อในชวงเวลาที่จัดโปรโมชั่นพอดี ส ว นเรื1อ งที่ ต อ งการให ท างกรม ทางหลวงจั ด ทํ า หนั ง สื อ เฉพาะของรถ ใหญนั่น ถือไดวาเปนเรื1องที่ดี แตเปนสิ่ง ทีย่ าก ขนาดกระทรวงคมนาคมไดมคี วาม ตัง้ ใจใหกรมทางหลวงและกรมการขนสง ทางบกไดรวม พ.ร.บ. การจราจรทางบก และ พ.ร.บ. การขนสงทางบกเปนเลม เดียวกัน แมวาเวลาจะผานมาหลายป แล ว แต ก็ ยั ง ไม ส ามารถรวมเป น เล ม เดียวกันไดเลย และเรือ1 งที่จะใหทําเปน หนังสือกฎระเบียบการจารจรของรถใหญ เพียงอยางเดียวนั้นก็เปนเรื1องที่รองลง มา จะขอนําเสนอผู ใหญของกระทรวง คมนาคมดูกอนแลวจะรายงานใหทราบ วาเรื1องราวจะเปนอยางไรตอไป
No. ............./..............
B&T#257_p42_Pro6.indd 42
10/29/14 10:50 PM
B&T#257_p43_Pro6.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
10/29/14
10:54 PM
44 BUS&TRUCK • AUTO GAS
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557 AUTO GAS
ปตท. จับมือ สามมิตร กรีนพาวเวอร พัฒนา “PTT DIESEL CNG” รถกระบะ ISUZU หลังจากประสบความสําเร็จใน การพั ฒ นาเทคโนโลยี ชุ ด อุ ป กรณ “PTT DIESEL CNG” ของทาง ปตท. และไดลงนามกับทาง สามมิตร กรีน พาวเวอร ให ใชเทคโนโลยีดังกลาวใน รถกระบะ “เอราวัณ ดีเซล ซีเอ็นจี” เมื1อเดือนกรกฎาคม 2556 จนไดรับ กระแสตอบรับดี ดวยจุดเดน แรง ทน คุ ม ค า สมรรถนะเยี่ ย มเที ย บเท า กระบะดีเซล แตใหความประหยัดและ ลดตนทุนตอหนวยการวิ่งไดมากกวา 50% ซึง่ สามารถตอบโจทยผปู ระกอบ การยุคใหม ไดเปนอยางดี คุ ณ วิ จิ ต ร แตงน อ ย ผู ช ว ย กรรมการผูจัดการใหญ สถาบันวิจัย และเทคโนโลยี ปตท. เป ด เผยว า ปจจุบันเทคโนโลยีดังกลาวไดรับการ พัฒนาอยางตอเนื1องใหมีศักยภาพการ ใช ง านเพิ่ ม ขึ้ น และเพื1อ เป น การส ง เสริมใหผขู บั ขีร่ ถกระบะดีเซล เชน อีซซู ุ มีโอกาสใชเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ การใชพลังงานสูง ประหยัดเชื้อเพลิง สะดวกตอการใชงาน และวิ่งไดระยะ ทางไกลตอการเติมกาซแตละครั้ง รวม ทั้งกําลังเครื1องยนตที่สูงขึ้น ดวยปจจัยดังกลาวขางตน ปตท.
โดยสถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. พรอมดวย SGP ซึ่งเปนพันธมิตรทาง ธุรกิจ จึงรวมมือกันในการพัฒนาตอยอด เทคโนโลยีชดุ อุปกรณ PTT DIESEL CNG เพื1อนําไปใชกับรถกระบะดีเซล ISUZU ที่ ไดรบั ความนิยมอยางสูงในทองตลาด อีก ทัง้ เปนการขยายฐานลูกคาเทคโนโลยีชดุ อุปกรณ PTT DIESEL CNG จากเดิมที่ สามารถใช ไดเฉพาะรถ TOYOTA ให สามารถใชไดกับรถ ISUZU ดวย ซึ่งจะ
เปนอีกทางเลือกหนึ่งที่ตอบสนองการใช งานที่ ป ระหยั ด และคุ ม ค า มากที่ สุ ด สําหรับผูใชรถยนตดเี ซลขนาดเล็กทีม่ กี าร แขงขันสูงมากในประเทศไทย คุณสุรยุทธิ์ โพธิศ์ ริ สิ ขุ กรรมการ ผูจ ดั การใหญ บริษทั สามมิตร กรีนพาวเวอร จํากัด (SGP) กลาวเพิ่มเติมวา SGP เปนผูผลิตรายเดียวในประเทศไทย ที่ไดรบั อนุญาตใหใชสทิ ธิในเทคโนโลยีชดุ อุปกรณ “PTT DIESEL CNG” นี้ จาก
ปตท. โดยไดนําไปติดตั้งและจําหนาย ในรถกระบะ ในชื1อรุน “เอราวัณ ดีเซล ซีเอ็นจี” ซึ่งผลสําเร็จจากพลังรวมใน ครัง้ นี้ จะเปนการเติมเต็มความตองการ และเสนอทางเลือกใหมในการใชกาซ ธรรมชาติ อ ย า งคุ ม ค า และประหยั ด พลังงานใหกับผูบริโภค ซึ่งจะสงผลดี อยางยิ่งตอภาคพลังงานของประเทศ ตลอดจนเปนประโยชนตอสังคม และ สิ่งแวดลอมโดยรวมตอไป
ยางโตโย ไทร ทุก 4 เสน นําเอกสารการ รับประกันสินคา จาก โตโย ไทร เขียน ชื1อ-นามสกุล ทีอ่ ยู และเบอรโทรศัพท ลง บนใบรั บ ประกั น สิ น ค า แล ว ส ง มาที่ บริษัท โตโย ไทร (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 2/1 ถนนสุ ข าภิ บ าล 2 แขวง ประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 ตั้งแตวันนี้ ถึง 31 มกราคม 2558 หรือ ติ ด ตามข า วสารได จ ากร า นค า ที่ เ ป น ดีลเลอรของโตโย ไทร กวา 300 สาขาทัว่ ประเทศ หรือ https://www.facebook. com/toyotirethai โดยจะมีการจับรางวัล
ในวันที่ 3 กุมภาพันธ 2558 ณ สํานักงานโตโย ไทร ประเทศไทย และ ประกาศรายชื1อ ผู โ ชคดี ท างเว็ บ ไซต www.toyotires.co.th และ www. facebook.com/toyotirethai ตัง้ แตวนั ที่ 4 กุมภาพันธ 2558 เปนตนไป แลวไป สนุกไกลถึงฮองกงแบบอิ่มฟรีต ลอด ทริปกับ “มาแตตัว ลุนทัวรฮองกงฟรี!! ยกแก็งค ภาค 2” ❖❖❖ ตงฟง มอเตอร ส ออก แคมเปญสุ ด ฮอตเอาใจลู ก ค า ด ว ย โปรโมชั่ น ใหม ล า สุ ด กั บ แคมเปญ “ตงฟง...คุมโดนใจ” จัดหนัก จัดเต็ม ให ลูกคาทีจ่ องและรับรถ ตงฟง มอเตอรส ทุกรุน ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม - 30 พฤศจิกายน 2557 รับความคุมโดนใจ ถึง 3 คุม คุม ทีห่ นึง่ ... ดวยฟรีประกันภัย ชั้นหนึ่งนาน 1 ป คุมที่สอง...สําหรับ ลูกคาที่ซื้อรุน “ตงฟง V21 แชมเปยน” รับของแถมมูลคาสูงสุดถึง 45,000 บาท และคุมสุดทายกับสิทธิลุนชิงไอโฟน 6 ทุกเดือน เดือนละ 5 เครื1อง รวมทั้งสิ้น 10 เครื1อง โดยจะจับรางวัลครั้งแรกวัน ที่ 21 พฤศจิกายน และจับรางวัลครั้งที่ สอง วันที่ 22 ธันวาคม 2557
พักเครื่อง
Ford เปดแอพพลิเคชั่น ‘Ford Roadside Assistance’ บริการ ช ว ยเหลื อ ด า นบริ ก ารหลั ง การขาย ฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง ใหแกลูกคาผูใชรถ Ford พร อ มดาวน โ หลดทั้ ง ระบบ Android และ iOS โดย App ‘Ford Roadside Assistance’ จะมีการบันทึก รายละเอียดรถที่คุณใช พรอมปญหา แจงซอมที่พบบอย เมื1อลูกคาสงราย ละเอียดขอความชวยเหลือไปแลว เจา หน า ที่ ข องฟอร ด จะประสานงานกั บ ลูกคา เพื1อสงชางผูช าํ นาญมาชวยเหลือ โดยเร็ ว ไปยั ง จุ ด เกิ ด เหตุ ในการให บริการชวยเหลือฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง ฟอรดยังมอบบริการ “เปลีย่ นแบตเตอรี่ นอกสถานที่” แบบ One-stop service เปนครั้งแรกในประเทศไทย เนื1องจาก ❖❖❖
B&T#257_p44-45_Pro6.indd 44
ฟอรดพบกวา 40% ของลูกคาทีใ่ ชบริการ ชวยเหลือฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง ตองการ ความชวยเหลือเกี่ยวกับแบตเตอรี่ (มีคา ใชจา ยในสวนของตัวแบตเตอรี)่ นอกจาก นั้นหากนํ้ามันหมด ทาง Ford จะเติม นํ้ า มั น ให ฟ รี 10 ลิ ต ร เพื1อ ให ลู ก ค า สามารถเดินทางไปยังปม นํา้ มันได ลูกคา ที่ซื้อรถฟอรดทุกคันจะไดสิทธิ์รับบริการ ชวยเหลือฉุกเฉินทั้งผานระบบปกติและ ผ า นแอพพลิ เ คชั่ น ‘Ford Roadside Assistance’ ฟรีตลอด 3 ปแรก นอกจาก นั้ น จะมี ค า บริ ก ารรายป ป ล ะประมาณ 1,790 บาท พรอมราคาในแบบ Package เมื1อซื้อ 2 ป ❖❖❖ โตโย ไทร มอบโชคชิ้นใหญ อีกครั้ง “มาแตตัว…ลุนทัวรฮองกงฟรี!! ยกแก็งค ภาค 2” กติกางาย ๆ เพียงซื้อ
10/29/14 10:57 PM
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
SMEs TRUCKS • BUS&TRUCK 45
เกาะติดพาณิชยนอย
IVECO Daily
รถตูเอนกประสงคสมบูรณแบบ “Iveco Daily” รถตู อ เนก ประสงค แบรนดอติ าลี ถึงประเทศไทย แลวหลังมีขาวคราวเสียงกระซิบลอย มาตามลมพั ก ใหญ ว า จะมี ผู ใ จถึ ง ลงทุนมหาศาลนําเขามาให ไดยลโฉม สะเทือนวงการรถตู ในไทย ล า สุ ด บริ ษั ท เอส เอส เค กรุ ป เซลล แอนด เซอร วิ ส จํ า กั ด นํ า เข า มาเป ด ตั ว ที่ ง าน BUS & TRUCK ’14 อย า งยิ่ ง ใหญ ซึ่ ง มี ผู ค นสนใจอย า งล น หลาม “Iveco Daily” ถือเปน New Daily รุนที่สาม ที่เพิ่งเปดตัวทั่วยุโรป ไปเมื1อเดือนมิถุนายน 2557 ที่ผานมา ซึ่งไดรับการตอบรับอยางดี เพราะเปน รถตู อ เนกประสงค ท่ี ส ามารถเป น ได มากกวารถตู ที่สามารถดัดแปลงเปน รถกิจการพิเศษไดอีกมากมาย ไมวาจะ เปนรถพยาบาล ธุรกิจโทรคมนาคมใน การทํ า เป น รถถ า ยทอดสั ญ ญาณ โทรทั ศ น ผ า นดาวเที ย ม หรื อ รถ ถายทอดสัญญาณภาพและเสียงนอก สถานที่ หรือแมกระทั่งรถขนสง ตาม แตที่เราพึงประสงค “Iveco Daily” เปนยานยนต เพื1อการพาณิชยแบบผนังทึบ ไดรบั การ ออกแบบใหมีความหลากหลายของรูป ลักษณใหเลือกตามความตองการ ซึ่ง เหมาะกับการใชงานในภาคธุรกิจ ไมวา จะเปนธุรกิจดานโลจิสติกส รองรับกับ การบรรทุ ก สิ น ค า จํ า นวนมาก พื้ น ที่ ภายในตัวรถสูง โปรง และกวางขวาง สามารถเปดขนของไดจากดานขางทั้ง สองดาน และดานหลังทีส่ ามารถเปดได กวางกวา ซึ่งสามารถตอบสนองทุก ความตองการของผูประกอบการธุรกิจ ไดอยางแทจริง
B&T#257_p44-45_Pro6.indd 45
“Iveco Daily” มีใหเลือกทั้ง เครื1องยนตดเี ซล 2,200-3,200 สามารถ ประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิงไดกวา 5% ทั้ ง นี้ ยั ง ผ า นมาตรฐานการควบคุ ม มลพิษของสหภาพยุโรป Euro 5 พละ กําลังสูง ดวยรูปทรงการออกแบบที่ เนนดานอากาศพลศาสตร ลดแรงเสียด ทานใหอากาศไหลผานไดดี สุดยอดพลัง บรรทุก คลองตัวทุกสภาพถนน เปยม ประสิทธิภาพในทุกเสนทางการบรรทุก สินคาออกแบบเพือ1 รองรับการเดินทาง ระยะไกล เพื1อใหผูโดยสารสะดวกสบาย ด ว ยห อ งโดยสารกว า งขวางระบบ รองรับการสั่นสะเทือนหนาแบบอิสระ ทําใหผู โดยสารรูสึกนุมนวลตลอดเสน ทาง แข็งแรงเต็มพลัง เพื1อการใชงาน ที่คุมคา เต็มประสิทธิภาพทุกรูปแบบ การใชงาน ระบบหัวฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงแบบ คอมมอนเรล ระบบเกียรแบบซิงโคร เมซ 5 เกี ย ร เ ดิ น หน า พร อ มเกี ย ร โอเวอร ไดรฟ เฟรมแชสซีขึ้นรูปแบบ ตัวซี รับแรงบิดและรับนํ้าหนักไดมาก ขึ้น ระบบรองรับการสั่นสะเทือนหนา แบบอิสระปกนก พรอมทอรชนั่ บาร นุม นวล ทนทานงานหนัก ระบบรองรับ การสั่นสะเทือนหลังแบบแหนบซอน เหนือเพลาขับ แบบ SEMI-ELLIPTIC และแหนบแบบรู ป ทรงโค ง ควํ่ า PARABOLIC ระยะความยาวชวงลอ 2,800 ถึง 3,950 มม. ความสูงจากพื้นถึงหลังคา รถ 2,500 ถึง 2,850 มม.นํ้าหนักรถรวม นํ้าหนักบรรทุก (GVW) 3,550, 4,200 และ 5,000 กก. ผูส นใจสามารถติดตอไดที่ บริษทั เอสเอสเค กรุป เซลส แอนด เซอรวิส จํากัด โทร.09-8848-8199
10/29/14 10:57 PM
46 BUS&TRUCK • B&T PRODUCTS
ปกษแรก • พฤศจิกายน 2557
แนะนําผลิตภัณฑ Dexos2 5W-30
แบตเตอรี่ VARTA
Oil Additive
พ รี เ มี่ ย ม A d va n c e F u l l y Synthetic สูตรสังเคราะหที่ดีท่ีสุด สํ า หรั บ เครื1อ งยนต ดี เ ซล ทนต อ ความรอนสูง และมีสารตอตานการ ทํ า ปฎิ ก ริ ย ากั บ ออกซิ เ จน ทํ า ให นํ้ามันไมเสื1อมสภาพแม ใชงานหนัก ปกป อ งเครื1อ งยนต ตั้ ง แต ส ตาร ท จนถึ ง สภาวะการทํ า งานที่ ห นั ก หนวง
เทคโนโลยี ลิขสิทธิ์เฉพาะของ วารตา ถูกออกแบบมาเพื1อให อิเล็กตรอนสามารถไหลผานได อยางมีประสิทธิภาพเปนการ เพิ่ ม สมรรถนะของแบตเตอรี่ สามารถจ า ยไฟและชาร ท ไฟ กลั บ เข า แบตเตอรี่ ไ ด อ ย า ง รวดเร็ว
สารเคลือบเครื1องยนตและลดแรงเสียดทาน ในเครื1องยนต ทําหนาทีป่ อ งกันลูกสูบลดแรง เสียดทานเคลือบปองกันฝุนละอองในหอง เครื1อ งของคุ ณ และไม ทํ า ให นํ้ า มั น เครื1อ ง เหนียวในระยะยาว
บริษัท จี.พี. อะไหล จํากัด โทร.0-2941-1222
ราน BANKKIN CONCEPT CAR โทร.08-6666-6437
ราน Liqui-Molythai Tel.0-2454-2876
ยาง Firestone FS 595
พรมปูพื้นใยไวนิลเกรด C
แปลงฉีดนํ้าลางรถ ตรายีราฟ
เหมาะสํ า หรั บ ทุ ก ตํ า แหน ง ล อ หนายางกวาง ใหพนื้ ทีส่ มั ผัสถนน มากขึ้ น เกาะถนนดี เ ยี่ ย มโดย เฉพาะถนนเปยกอายุการใชงาน ยาวนาน และทนทาน ดวยผาใบ เสริมขดลวด 2 ชั้นบริเวณขอบ ยางโครงยางที่ แ ข็ ง แกร ง เพิ่ ม โอกาสในการนํากลับมาหลอดอก ใหมไดอีก
เหมาะสําหรับผูที่ ไมคอยมีเวลาดูแลรักษา ภายในรถมากนัก มีคุณสมบัติดักฝุนและ เศษหิ น เล็ ก ๆ ที่ ติ ด มากั บ รองเท า ได ดี ทํ า ความสะอาดง า ย มี อ ายุ ก ารใช ง าน ยาวนาน ตัดเขารูปตามแบบรถ มียางตุม ใตพรมกันลื1น สําหรับรถยนตทกุ รุน ทุกยีห่ อ (สีมี 3 สี สีดํา สีเทา สีครีม)
ลางรถใหญ จะกลายเปนเรื1อง เล็ก ๆ ลาง รถสูง จะทําไดทพี่ นื้ เตีย้ ๆ ดามแปรงสามารถ ยืดใหยาวไดมีใหเลือกหลายขนาดความยาว ตั้งแต 1.5 ถึง 3.0 เมตร ไมวาจะเปนรถ บรรทุก รถตู 6 ลอ 10 ลอ รถบัสรถบัส 2 ชั้น รถปูน รถนํ้ามัน ก็สามารถใชทําความ สะอาดไดอยางสะดวกมีกระเปาะจายแชมพู ลางรถใหทา นคุมการจายแชมพูไดดว ยนิว้ มือ ของทานเอง
บจก.ออโตมเี ดีย (ไทยแลนด) โทร.0-2422-5292
ราน คิดการชาง โทร.0-2276-1514
บจก.แจสเปอร ไทย โทร.0-2804-4744
ผลิตและจําหนาย อุปกรณตอกระบะรถ
เครื่องยนตดีเซล
รถบรรทุก รถสิบลอ รถดัมพ รถพวง แผง ขางรถดั๊ม-รถสิบลอ
ยี่หอ Weichai รุน WP6.240 E30 ยูโร 3 240 แรงมา แบบแหงแผนเดียว/420 มม. ควบคุมดวยระบบไฮโดรลิค มีลมดันชวย
บจก.ศิรบุษ โทร.08-6999-0399
บจก.ดองแฟง แยงซี มอเตอร วูฮั่น (ไทยแลนด) โทร.0-2884-1081
ที่ปดนํ้าฝน
Aeroklas Truck Body
นํ้ายาปองกันสนิม HARDEX 4D
ชวยปองกันสนิมดวยฟลมบาง เคลื อ บไว ใ ห ชิ้ น ส ว นโลหะดู เหมือนใหมอยูเสมอชวยหยุด และลดเสี ย งดั ง สู ต รพิ เ ศษ ปองกันความชื้น
บจก.ศรีสยามกลกาล โทร.08-8757-1125
FUSO FV SHOGUN
ทําจากเนื้อยางคุณภาพสูงทนตอความ รอนและแสง UV ทนทาน อายุการใชงาน ยาวนานโครงสรางทําจากเหล็กคุณภาพ สู ง พร อ มยางหุ ม ปกป อ ง โครงสร า ง ออกแบบมาตามหลั ก Aerodynamic โครงสรางออกแบบ ใหยางแนบติดกับ กระจกไดสมํ่าเสมอ
ตูบรรทุกสินคา Full Body ผูนําการผลิตตู บรรทุกสินคาที่ไดรบั รองมาตรฐานจากการ สงออกมาแลวกวา 100 ประเทศทั่วโลก ครอบคลุมทุกการใชงาน
หากทานกําลังมองหาพันธมิตรทางธุรกิจที่จะชวยใหทาน ดําเนินกิจกรรทางธุรกิจไดอยางประสบผลสําเร็จ ชวยลด ตนทุน สรางผลกําไรใหกับการขนสงสินคา และเปนมิตรที่ ซื1อสัตยที่สุดของทาน นี่คือคําตอบ ที่ทานกําลังมองหา
บจก.3เอ็ม ประเทศไทย โทร.0-2260-8577
บจก.แอร โรคลาส โทร.0-2744-3020
บจก.ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) โทร.0-2567-2897
YTO-ME354 (35 แรงมา)
เครื1อ งยนต ร ะบบไดเร็ ค อิ น เจ็ ค ชั่ น ประหยัดนํ้ามัน 8 เกียรเดินหนา 4 เกียร ถอยหลัง ยางหนา 7.5 ขอบ 16 นิ้ว ยาง หลัง 12.4 ขอบ 24 นิ้ว ราคาคุมคากวา รถแทรกเตอรมือสอง
บจก.ทรัพยทวีเอ็นจิเนียริ่ง โทร.0-5622-1555
B&T#257_p46_Pro6.indd 46
รถตูขนาดเล็ก DFSK
โรงชุบงวนเฮงโครเมี่ยม
รถตูทึบขนาดเล็กดวยตัวตูที่สามารถเปด ขางสไลด ไดทั้ง 2 ดาน และเปดทายพรอม พืน้ ทีภ่ ายในทีก่ วางขวางรับนํา้ หนักมากกวา 800 กก. มาพรอมระบบเชือ้ เบนซิน 91 และ ระบบแกสธรรมชาติทั้ง CNG และ LPG ติดตั้งแกสขนานแท จากโรงงาน LOVATO
ประสบการณกวา 40 ป ผลิตอะไหลแตงรถ บรรทุกงวนเฮงโครเมี่ยม คุณภาพแนนอน เราคือผูรูจริง
บจก.ตงฟง มอเตอรส (ประเทศไทย) โทร.0-2978-5640
โรงชุบโครเมี่ยม งวนเฮงการชาง โทร.08-1527-6477
10/29/14 11:01 PM
B&T#257_p47_Pro6.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
10/29/14
11:23 PM
B&T#257_p48_Pro6.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
10/29/14
11:16 PM