# 1 เ พื่ อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ถ พ า ณิ ช ย
กาวสูปที่ 12
ฉบับที่ 269
www.BusAndTruckMedia.com
ปกษแรก พฤษภาคม 2558 40 บาท
กระตุนตลาดนํ้ามันหลอลื่น
คําถามสังคม
คมนาคม ทดลองใชรถเมลไฟฟา 500 คัน? ดับเครื่องชม
TR Transformer MAX รถตรวจการณฝมือคนไทย 04 เปรียบเทียบรถเดน
บรรทุกเล็ก 150 แรงมา
LOGISTICS NEWS
TNT พรอมขับเคลื่อน ธุรกิจไทยสู AEC POWER SAVING
ดวยสภาวะเศรษฐกิจปจจุบัน สง ผลให ต ลาดรวมนํ้ า มั น หล อ ลื�น ลดลง คายนํา้ มันจึงตองงัดกลยุทธเพื�อชิงสวน แบงทางการตลาด ทั้งการจัดโปรโมชั่น เสริม การพัฒนาผลิตภัณฑนํ้ามันหลอ 24
ลื�นใหทนั สมัยกับเทคโนโลยีรถใหม และ ยืดอายุการใชงานของนํ้ามันหลอลื�นให นานมากขึ้น เพื�อครองใจผู ใช พรอมทั้ง รุกตลาดในตางประเทศเพื�อขยายฐาน ลูกคา
ปตท.จัดโปรโมชั่นตอเนื่อง
คุณบุญมา พนธนกรกุล ผูจัดการ ฝายการตลาดในประเทศและเทคนิค หลอลื�น บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) อานตอหนา 38
MCC รับสิทธิ์ดูแลชินเลเต็มตัว RCK วางแผนตั้งโรงงานใหม พรอมสงออกกลุมอาเซียน นําเขาแชสซีสจากเวียดนาม
28
คิดใหดี! เมื่อจะใชรถติด LPG 44
เอ็มซีซี กรุป มีศักยภาพสูงไดรับสิทธิ์ดูแลรถบรรทุก เล็ก ชินเล เต็มตัว เปาปแรก 800 คันพรอมขยับขึ้น 1 เทา ตัว เพราะตลาด SMEs ยังมีชอ งวางอีกมาก รวมถึงโครงการ ใหญ ไดรับสิทธิ์ดูแลทั้งสปป.ลาว กัมพูชา เมียนมารและ อินโดนีเซีย หากทํายอดไดตามเปาเตรียมทําในกลุม อาเซียน
อู อารซีเค รุงเจริญ วางแผนระยะยาวเปนอูประกอบ ที่ใหญสดุ เตรียมตัง้ โรงงานใหญทนี่ คิ มอุตสาหกรรม อีสเทิรน ซีบอรด จ.ระยอง เพื�อประกอบรถใหญทั้งรถเทรลเลอร รถ สิบลอ รถดัมพ และตัวถังบรรทุกนํ้ามัน เปลี่ยนโรงงานเดิม 3 แหง เปนอสังหาริมทรัพยแทน สวนโรงงานที่เวียดนามสง
อานตอหนา 39
อานตอหนา 39
04 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK SHOW
ดับเครื่องชม
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
TR TRANSFORMER MAX รถตรวจการณฝมือคนไทย
บริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) ผูนําการออกแบบและผลิตรถยนตอเนกประสงคของไทย เปดตัว รถยนตรุนใหม TR TRANSFORMER MAX รถยนตตรวจการณประสิทธิภาพสูง 11 ที่นั่ง ออกแบบพัฒนาเพื่อการ ใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
ดวยขนาดตัวถังและหองโดยสารที่ กว า งกว า รถทั่ ว ไปในระดั บ เดี ย วกั น สามารถจัดรูปแบบที่นั่งไดหลากหลาย ตั้งแต 5 - 11 ที่นั่ง เพิ่มพื้นที่สัมภาระ และสามารถดัดแปลงให ใชงานไดหลาย รูปแบบ เชน รถพยาบาลฉุกเฉินภาค สนาม รถบรรเทาสาธารณะภั ย รถ ควบคุมระบบสื�อสาร เปนตน อนาคต สามารถขยายตลาดไปยังประเทศในกลุม AEC TR TRANSFORMER MAX รุนนี้มี คุ ณ สมบั ติ เ หนื อ กว า คู แ ข ง รถประเภท PPV ทั่ ว ไปในไทย เนื�อ งจากเป น รถ ตรวจการณรุนเดียว ที่สามารถบรรทุกผู โดยสารไดมากถึง 11 ที่นั่ง และสามารถ ปรับตําแหนงเบาะใหเหมาะสมกับการใช งานไดอกี ดวย เพราะมีขนาดหองโดยสาร ที่กวางขวางและมีหลังคาทรงสูง โดยผู โดยสารทีม่ คี วามสูงถึง 175 ซม. สามารถ นั่งและเคลื�อนตัวไดอยางสบายทุกที่นั่ง นอกจากนั้นอีกสิ่งที่สําคัญของรถคันนี้มี พืน้ ทีบ่ รรทุกสัมภาระมากทีส่ ดุ ในรถระดับ เดียวกัน นอกจากนีย้ งั มีตวั ถังยกสูง สามารถ ลุยนํ้าได ไมนอยกวา 50 ซม. ยังคงมี เอกลักษณทดี่ ูแข็งแรง บึกบึน ในสไตล รถยนตตรวจการณ Off Road ซึ่งเหมาะ
กั บ ก า ร ใ ช ง า น ที่ ห ล า ก ห ล า ย อเนกประสงค ไม ว า จะเปนการทอง เทีย่ วธรรมชาติเขาไปตะลุยเขา หรือใช ในหนว ยงานเอกชนหรื อนํา มาใช ใน หนวยงานทหารเพื�อเปนรถตรวจการณ TR TRANSFORMER MAX ถูก พัฒนาดวยโครงสรางของรถยนต Pick Up Toyota Vigo ที่ มี ทั้ ง ระบบขั บ เคลื�อน 4 ลอ และระบบขับเคลื�อน 2 ลอ ยกสูง เครื�องยนตดีเซลขนาด 3.0 ลิตร 171 แรงมา และ 2.5 ลิตร 143 แรงม า ที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ ในเรื�อ ง สมรรถนะที่ดีเยี่ยม มีคาบํารุงรักษาตํ่า สามารถเขารับบริการดานเครื�องยนต และชวงลาง ไดที่ศูนย บริการ Toyota ทั่วประเทศ ที่ใหมองโดยรวมแลวการใชงาน ของรถคั น นี้ เ หมาะสมกั บ งานที่ ต อ ง สมบุกสมบันเนื�องจากเปนพืน้ ฐานของ รถขับเคลื�อนสีล่ อ จึงสามารถขึน้ เขาลง เขาไดอยางมีประสิทธิภาพ ถาได ไป ประจําที่กรมปาไมเพื�อใหเจ าหนาที่ อุทยานได ใช หรือทหารรักษาชายแดน จะเหมาะสมเปนอยางมาก นอกเหนือ จากนัน้ รถพยาบาลภาคสนามก็มคี วาม จําเปนกับหนวยงานตาง ๆ ที่เอยถึง ด ว ยคุ ณ สมบั ติ ข องห อ งโดยสารที่ สามารถรองรับผูบาดเจ็บไดเปนอยาง ดีพรอมติดตั้งอุปกรณปฐมพยาบาลได อีกดวย โดยราคานัน้ อยูท ปี่ ระมาณ 1.5 - 1.6 ลานบาท
06 BUS&TRUCK • SPECIAL PURPOSE VEHICLE
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
รถเพื่ อกิจการพิ เศษ
พนัส อีกกาวการพัฒนาสินคา สงมอบกึ่งพวงกางปลา 80 คัน
พนัส วางเปาพัฒนาสินคาทางดานการขนสงใหครอบคลุมความตองการของลูกคามากขึ้นในปนี้ ตอกยํ้า ความเปนผูนํารถบรรทุกกึ่งพวงในประเทศไทยชูเทคโนโลยีออสเตรเลียที่นํามาปรับใชสูสินคาที่มีมาตรฐานสูงขึ้น อยางไมหยุดนิ่ง เนนความปลอดภัย ทนทาน โดยลาสุดสงมอบรถบรรทุกกึ่งพวงกางปลาจํานวน 80 คัน
คุณทัศนะ กันรัตน รองกรรมการผูจัดการ หนวยธุรกิจโลจิสติกส บริษทั พนัส แอสเซมบลีย จํากัด เผย วา ปจจุบันสินคาที่มียอดจําหนายเพิ่ม ขึ้นทุกปและเปนผูนําในประเทศเปน สินคารถบรรทุกกึ่งพวงกางปลาและ พื้นเรียบซึ่งถือวาเปนสินคาที่ ไดการ ยอมรั บ จากผู ป ระกอบการขนส ง ใน ประเทศไทยอย า งมาก เนื�อ งจาก มาตรฐานเทคโนโลยีจากออสเตรเลียที่ นํ า มาปรั บ ใช กั บ สิ น ค า ของเรานั้ น เหมาะสมกั บ สภาพการใช ง านใน ใช ในการผลิ ต จึ ง ไม ใ ช เ รื�อ งยากใน ประเทศไทยเปนอยางมากจึงมียอด กระบวนการตรงจุดนี้ ไมวาจะเปนความ จําหนายเพิ่มขึ้นทุกป ทนทานของรถบรรทุ ก ก า งปลาที่ มี ค า เนื�อ งจากสิ น ค า รถบรรทุ ก กึ่ ง มาตรฐาน Safety Factor อยูที่ 2.5 เทา พวงกางปลาของ พนัสฯ (PANUS) แตสําหรับเทคโนโลยีดานการออกแบบ เปนสินคาที่ ไดการยอมรับในวงการ ของพนัสฯไดเผื�อไวที่ 3.0 เทา ซึ่งตอบ ขนสงเปนเวลานาน โดยลาสุดไดรับ โจทยเรื�องความทนทาน สีที่นํามาใชนั้น ความไววางใจจาก บริษัท สยามชอร เปนสี PU ซึง่ เปนสีทเี่ ราคัดสรรพันธมิตร ไซด เซอร วิ ส จํ า กั ด สั่ ง สิ น คา รถ ทางธุรกิจสีที่ใช ในอุตสาหกรรมรถยนต บรรทุกกึ่งพวงกางปลาจํานวน 80 คัน รายใหญที่ผลิตรถยนตภายในประเทศ และให โจทยเรื�องคุณภาพของรถวา ไทย ซึง่ มีคณ ุ สมบัตทิ นตอความเปนเกลือ ต อ ง มี ค ว า ม ท น ท า น แ ล ะ ค ว า ม ซี ด ช า และทนแรงขี ด ข ว น ด า นความ ปลอดภัยสูง สามารถสงมอบรถจํานวน ปลอดภัยไดเพิ่มอุปกรณสองสวางและ นีภ้ ายในเวลา 2 เดือน เนื�องจากบริษทั สะทอนไฟเพิม่ ขึน้ สามารถเห็นชัดเจนเมื�อ ทีท่ าํ การสัง่ สินคาเปนบริษทั รวมทุนกับ อยูบนทองถนน บริ ษั ท ต า งชาติ แ ละมี ค วามต อ งการ “ความสําเร็จของ พนัสฯ นัน้ ไมได เปลี่ยนรถบรรทุกกึ่งพวงทั้งหมดที่ใช อยูท ี่ใครเพียงคนเดียว ในการทํางานให อยูเ นื�องจากหมดสภาพการใชงานแลว ประสบความสําเร็จตองมีกระบวนการ เนื�อ งจากพนั ส มี ก ารออกแบบ ความคิด และความรวมมือของทุกสวน และนําเทคโนโลยีจากออสเตรเลียมา
จึงจะสําเร็จผล สินคาทีถ่ กู ผลิตขึน้ ก็เชน กั น ไม ส ามารถทํ า เพี ย งคนเดี ย วได เพราะคําวา “พนัส” แปลวา “ปา” เรา จึงทํางานกันเปนทีม” คุ ณ ทั ศ นะ กล า วเสริ ม ในป นี้ พนัสฯ โตขึ้น 20% ซึ่งเปนตัวเลขที่นา พอใจจากการมุ ง มั่ น พั ฒ นาสิ น ค า ทุ ก ประเภทที่มีอยูใหมีมาตรฐานสูงขึ้นอยู ตลอดเวลา จากป 57 ที่ผานมานั้นสินคา ที่มีการผลิตสูงขึ้นคือ รถบรรทุกดัมพซึ่ง โตขึ้นเปน 5% โดยปนี้วางเปาไว 10% เมื�อมีกาํ ลังการผลิตสูงขึน้ จึงมีการลงทุน 40 ลานบาท เพื�อสรางโรงงานผลิตรถ บรรทุกดัมพโดยเฉพาะ สวนสินคาอื�นในปนี้ที่กําลังอยูใน การทดสอบคาดวาจะมีถึง 10 รุน ซึ่ง เปนรุนใหมทั้งหมดไมวาจะเปนการ เพิ่มความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น มี ดีไซนทตี่ อบสนองความปลอดภัย การใชเหล็กคุณภาพสูงที่มีนํ้า หนักเบาแตมีความทนทานสูง เนื�อ งจากในประเทศขณะนี้ กฎหมายเรื�องการบรรทุกเขม งวดอยางมากจึงพัฒนาสินคา เพื�อผูประกอบการในประเทศ มากที่สุด
นอกเหนือจากนัน้ ยังมีรถบรรทุก รถยนตที่จะถูกพัฒนาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้ น โดยป จ จุ บั น สิ น ค า รถ บรรทุกรถยนตถือวา พนัสฯยังคงเปน ผูนําไมวาจะเปนเทคโนโลยีที่นํามาใช เพื�อตอบสนองดานการขนสงภายใน ประเทศและมี ม าตรฐานด า นความ ปลอดภัยสูงเนื�องจากตองใชกบั องคกร ขนาดใหญเรื�องความปลอดภัยจึงตอง มาเป นอันดับแรก มาเปนอนดบแรก
08 BUS&TRUCK • BUSINESS CATALYST
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
คันเร่งธุรกิจ
รถใหมเปดตัวพียบ แมวาในป 2558 นี้ ภาวะเศรษฐกิจ ยังถือวาอยูในชวงตกตํา่ อยู แตกย็ งั เติบโต ขึ้ น อย า งช า ๆ ดั ง นั้ น ประชาชนทั่ ว ทั้ ง ประเทศ จึงไมตองหดหูมาก อยางไรเสีย ทาง คสช. และรัฐบาล ก็ยังคงทํางาน อยางเต็มที่ ไมยอมใหเศรษฐกิจไทยตกลง ไปมากกวานี้แน ดวยการคาดการณของคายรถใหญ ทุกยี่หอ ตางมองวา ยอดขายโดยรวมในปนี้ จะตองถึง 3.5 หมื�นคัน มากกวาป 2557 ที่ ทําไดประมาณ 2.8 หมื�นคัน ดวยเหตุผลที่ วาตั้งแตกลางปเศรษฐกิจโดยรวมจะเริ่ม เติบโตขึ้น การกอสรางทั้งโครงการของ รัฐบาลและเอกชนก็จะทยอยตามมา ความ จําเปนที่ตองใชรถใหญก็ตองมีมากตามมา เปนลําดับขั้น ตามที่ ไดทราบขาวมา จะมีคายรถ ใหญหลายคายทีเ่ ตรียมตัวเปดตัวรถรุน ใหม มีทั้งโมเดลใหม โมเดลเชนจ และไมเนอร เชนจ ซึ่งตางจะเนนที่การประหยัดนํ้ามัน เปนหลัก หลายยีห่ อ จะมีโปรโมชัน่ งาม ๆ มา นําเสนออีกดวย การมีรถรุน ใหมกถ็ อื วา เปนประโยชน ที่ผูประกอบการขนสงสามารถเลือกใช ได ตรงกับงานเพิ่มมากยิ่งขึ้น ดังนั้นในป 2558 นี้ ก็เปนอีกปของ สมาชิกทุกทานที่สามารถเลือกได บรรณาธิการอาวุโส นิตยสาร BUS & TRUCK คณะผูจัดทําฝายบริหาร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 คณะที่ปรึกษา ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา, ชยาวุธ จิรธันท, ยู เจียรยืนยง พงศ, บุนเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ, วรพจน แสงทวีสิน, เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สวางสําลี, ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร, คุณวรวิทย เจริญวัฒนพันธ, คุณสมชาย ทองคําคูณ ทีมงานฝายบริหาร กรรมการผูจัดการ คุณชาตรี มรรคา รองกรรมการผูจัดการ คุณศุภแมน มรรคา รองกรรมการผูจัดการ คุณศุภวาร มรรคา Publishing Director คุณปยะนุช มีเมือง ฝายขายโฆษณา Sales Director คุณศุภแมน มรรคา supaman@ttfintl.com ผูจัดการโฆษณา สุจิตรา สงครามรอด แผนกโฆษณา นัฐพล วณิชกูร ชญานิน มาศเมธา ณัฑฏดนัย ฐิติระอานนท อนรรฆวี หาญอยูคุม นิภาพร ทุมสอน เลขาแผนกโฆษณา บุตรตรี สงางาม ฝายกองบรรณาธิการ บรรณาธิการอาวุโส เสกสรรค ไชยเผือก หัวหนากองบรรณาธิการ พฤกษ ดานจิตรตรง ผูชวยหัวหนากองบรรณาธิการ ธัญพร ขันธสิทธิ์ กองบรรณาธิการ จักรพรรดิ์ โสภา เลขากองบรรณาธิการ มณีรัตน วัฒตะนะมงคล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ อรุณ เหลาวัฒนกุล สมาชิก วิวรมาศ แกวศิริ เว็บไซต BusAndTruckMedia.com การเงิน แสงอรุณ มงคล ศิลปกรรม ธีระ พุมขํา BIP GROUP พิมพ กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด มหาชน จัดจําหนาย เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ติดตอฝายขายโฆษณา โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดตอฝายสมาชิก โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดตอฝายกองบรรณาธิการ โทรศัพท (66) 2717-2477
รถใหญ 3 เดือน ขาย 6,255 คัน
ยอดรถใหญ 3 เดือน ป 58 ขาย ได 6,255 คัน มากกวาชวงเดียวกันของ ปที่แลวขายได 6,231 คัน คายอีซูซุเปน ผูนํา 2,878 คัน ตามมาดวยฮีโนขายได 2,775 คัน อันดับสามฟูโซ 311 คัน และ อันดับสี่ ยูดี ทรัคส 70 คัน สวนคาย ยุโรปทางวอลโวขายได 174 คัน อันดับ สองสแกนเนียขายได 35 คัน อันดับสาม จากเกาหลี แดวู ขายได 12 คัน รายงานจากบริษทั ฮีโน มอเตอรส เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูรวบรวม ยอดขายรถใหญทกุ ยีห่ อ เปดเผยวา ใน 3 เดือน คือตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือน มีนาคม ป 2558 มียอดขายรถใหญทุก ยีห่ อ จํานวน 6,255 คัน ซึง่ ในชวงเดียวกัน ของปที่แลวขายได 6,231 คัน และเดือน มีนาคม ป 2558 ขายได 2,470 คัน โดย ยี่หออีซูซุขายไดมากที่สุด 3 เดือนแรก ขายได 2,878 คัน ในชวงเดียวกันของปที่ แล ว ขายได 2,934 คั น และในเดื อ น มีนาคม ป 2558 ขายได 1,130 คัน อันดับ สองคือฮีโน 3 เดือนแรกขายได 2,775 คัน ในชวงเดียวกันของปที่แลวขายได 2,620 คัน และในเดือนมีนาคม ป 2558 ขายได 1,101 คัน อันดับที่สามคือฟูโซ 3 เดือนแรก ขายได 311 คัน ในชวงเดียวกันของปที่ แลวขายได 316 คัน และในเดือนมีนาคม ป 2558 ขายได 122 คัน อันดับสี่ ยูดี ทรัคส 3 เดือนแรกขายได 70 คัน ในชวง เดียวกันของปที่แลวขายได 78 คัน และ เดือนมีนาคมขายได 30 คัน สวนคายยุโรปใน 3 เดือนแรกยี่หอ ทีข่ ายไดมากสุดคือวอลโว 174 คัน ในชวง เดียวกันของปทแี่ ลวขายได 190 คัน และ ในเดือนมีนาคม ป 2558 ขายได 66 คัน อันดับสองสแกนเนีย 3 เดือนแรกขายได 35 คัน ในชวงเดียวกันของปทแี่ ลวขายได 76 คัน และมีนาคม ป 2558 ขายได 15 คัน สวนรถโดยสารใน 3 เดือนแรกยีห่ อ ทีข่ ายไดมากทีส่ ดุ คือวอลโวขายได 38 คัน
ในชวงเวลาเดียวกันของปที่แลวขายได 38 คัน และเดือนมีนาคมป 2558 ขายได 16 คัน อันดับที่สองสแกนเนีย 3 เดือน แรกขายได 15 คัน ในชวงเวลาเดียวกัน ของปที่แลว 56 คัน และเดือนมีนาคมป 2558 ขายได 5 คัน และรถบรรทุก 2-3 ตัน 3 เดือนแรก ยี่หอที่ขายไดมากสุดคืออีซูซุขายได 675 คัน ในชวงเวลาเดียวกันของปที่แลวขาย
ได 689 คัน และมีนาคมป 2558 ขายได 232 คัน อันดับทีส่ องฮีโน 3 เดือนแรกขาย ได 304 คัน ในชวงเวลาเดียวกันของปที่ แลวขายได 240 คัน และเดือนมีนาคม ป 2558 ขายได 114 คัน อันดับสามฟูโซ 3 เดือนแรกขายได 20 คัน ในชวงเวลา เดียวกันของปที่แลวขายได 42 คัน และ เดือนมีนาคมป 2558 ขายได 6 คัน
ไทร-มารท มิชลิน เพิ่มแผนกหลอดอก ตอบรับกําลังซื้อของตลาดที่ลดลง ไทร-มารท มิชลิน ทวีสิน ปรับ แผนเขากับความตองการของตลาด เปดแผนกหลอดอกยางใหม เพื�อให ลูกคาใชของดีแตราคาถูกลง เริม่ ตนที่ กลุม ลูกคาประจํากอนแลวจึงรับขาจร คุ ณ ชู ช าติ กอเจริ ญ เกี ย รติ กรรมการผูจัดการ บริษัทไทร-มารท มิชลิน ทวีสิน จํากัด ตัวแทนจําหนาย ยางรถใหญ “มิชลิน” เปดเผยวา ดวย สภาพเศรษฐกิจที่ยังไมเติบโตมากนัก สงผลใหตลาดขนสงมีงานลดนอยลง เปนอยางมาก ซึ่งผลก็ตกอยูกับตลาด ยางรถใหญมยี อดขายลดนอยลงไปเปน อันมากดวย ทางบริษัทจึงตองปรับแผนใหม ดวยการตั้งแผนกหลอดอกยางใหมขึ้น มา โดยใชเครื�องมือทีม่ เี ทคโนโลยีระดับ สูง สามารถเอ็กซเรยตรวจดูโครงสราง ของยางที่จะนํามาหลอดอกยางไดดวย พรอมทั้งมีลายดอกยางใหเลือกอยาง มากมายเพื�อใหเหมาะสมกับการใชงาน จริง “กลุม ลูกคาหลักทีจ่ ะรับหลอดอก ให คือ ลูกคาประจําของบริษัทนั่นเอง เมื�อเปลี่ยนยางใหมก็สามารถนํายาง
เกามาหลอดอกใหมได ซึ่งสถานที่หลอ ดอกนัน้ จะอยูใ นโชวรมู ของยางรถใหญ สามารถทํางานไดสะดวกและรวดเร็ว ทันใจลูกคามาก” นอกจากยางมิชลินทีท่ างบริษทั มี จํ า หน า ยอยู แ ล ว ก็ ยั ง รั บ บริ ก ารหล อ ดอกยางยีห่ อ อื�นดวย ลูกคาจึงสามารถ นํายางเกามาใชสําหรับหลอดอกยาง ใหมไดทุกเสน โดยมาตรฐานของการ หลอดอกจะนอยกวายางรถใหมเพียง 20% แตราคาจําหนายตํ่าลงมากกวา 30% ซึ่ ง ตรงต อ ความต อ งการของ ตลาดขนสง ที่มีงานลดนอยลง รายได ก็ลดนอยลงตามไปดวย เมื�อมีความ ตองการเปลีย่ นยางเสนใหม ก็สามารถ เปลี่ยนเปนยางหลอดอกได ในราคา สมเหตุสมผลแตมีคุณภาพดีเกินคาด ในสวนของยางใหมนั้น แมวาจะ มียอดจําหนายทีล่ ดนอยลง แตกต็ อ งมี มาตรการการปองกันหนี้สูญเปนอยาง มาก เพราะกลุม ลูกคายังมีงานขนสงที่ ยังไมแนนอน จึงตองมีการตรวจสอบ รายรับรายจายของกลุม ลูกคากอนทีจ่ ะ ปลอยสินเชื�อออกไป
BUSINESS CATALYST • BUS&TRUCK 09
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
คันเร่งธุรกิจ
ตลาดรถโดยสารมาแรง 3 ยักษใหญจีนบุกตลาด
ตลาดรถโดยสารป 2558 เติบโต เกินคาด 3 คายยักษใหญจากจีน เริ่ม จากยีห่ อ ยูท ง จงทง และไฮเกอร ทยอย เปดตัวรถรุน ใหม คาดนักทองเทีย่ วตอง เกิน 28 ลานคน ตามที่รัฐบาลประกาศ แน แหลงขาวในวงการรถโดยสาร เปด เผยวา ตามยอดจดทะเบียนรถโดยสาร ของกรมการขนส ง ทางบก กระทรวง คมนาคม ในป 2557 มีเกิน 1,300 คัน ซึ่ง แสดงใหเห็นวา ความตองการของตลาด รถโดยสารยังมีความตองการเปนจํานวน มาก พรอมทัง้ คาดวาในป 2558 นี้ จะตอง มี ย อดจดทะเบี ย นมากถึ ง 1,500 คั น เนื�องจากความตองการรถโดยสารเพิ่ม ขึน้ ตามจํานวนนักทองเทีย่ วทีม่ มี ากถึง 28 ลานคนตามที่รัฐบาลคาดการณ ไว ดวยเหตุนี้ ทางคายรถโดยสารยักษ ใหญจากประเทศจีน ทัง้ ยีห่ อ ยูท ง ทีม่ ยี อด จํ า หน า ยในประเทศจี น มากถึ ง ป ล ะ 60,000 คัน ตามดวยยี่หอจงทง ที่มียอด จําหนายในประเทศจีนเปนอันดับ 2 และ คายไฮเกอร ทีม่ ยี อดจําหนายตามมาเปน ที่ 3 ซึ่งแตละคายวางเปาหมายในการ จําหนายในเมืองไทยเริ่มตนเฉลี่ยคายละ 100 คัน/ป “คายยักษใหญอยางยูท งมุง เนนทํา ตลาดในไทยอยางเต็มตัว ทางบริษัทแม ทีป่ ระเทศจีนไดสง พนักงานมาดูแลอยาง เต็มตัว เริ่มตนมี 2 ตัวแทนจําหนาย
พรอมทัง้ ไดนาํ รถโรงเรียนเขามาเสนอกับ กรมการขนส ง ทางบก เพื�อ ให เ ป น รถ โรงเรียนตนแบบเหมือนอยางทีเ่ ปนอยูใ น ประเทศจีน และคาดวาจะตองทําตลาด ให โตเหมือนอินโดนีเซียที่ขายได 1,000 คั น และเมี ย นมาร ที่ ข ายได 500 คั น พรอมทั้งยังมีลูกคา สปป.ลาวซื้อรถโดย สารยูทงมือสองมาใชงานอีก 10 คัน โดย สภาพรถยังดีมาก รวมถึงราคาจําหนายก็ ยังสูงอีกดวย” สวนทางคายจงทงและคายไฮเกอร มีตัวแทนจําหนายคายละ 1 แหงเทานั้น ซึ่งเนนความรวดเร็วในการสั่งจอง เพียง แค 60 วันไดรับรถ โดยเนนไปที่กลุม ลูกคารถโดยสารไมประจําทาง เพราะ ตลาดนักทองเที่ยวมีเพิ่มขึ้นจนรถทัวรที่ มีอยูไมพอตองสั่งเพิ่ม สวนทางดานคายซันลอง ซึ่งถือ เปนเจาตลาดรถโดยสารในเมืองไทย วาง เปาในการจําหนายในปนี้ ไวประมาณ 800 คัน เนนกลุมรถโดยสารวิ่งระหวางเมือง เพิ่มมากขึ้น เพราะจากการสํารวจตลาด พบวารถโดยสารทีว่ งิ่ ระหวางจังหวัดและ ตามอําเภอตางมีสภาพที่เกามาก ตอง ทํ า การเปลี่ ย นรถใหม เ พื�อ ตอบสนอง ความตองการของผู โดยสารพรอมทั้ง เตรียมโปรโมชัน่ ทีจ่ ะสนองความตองการ ของลู ก ค า ในแต ล ะกลุ ม ไว เ รี ย บร อ ย แลว
ใต้ท้องรถ เริ่มกันที่ขาวรายกอน เมื�อผูประกอบการขนสงทางบกในภาคอีสานตางเจอ วิกฤตหนัก พืชผลการเกษตรที่เปนสินคาหลักในการขนสงเริ่มหมดไป งานขนสงก็หายไปอีก 4 ถึง 5 เดือน รถใหญที่ยังตองมีการผอนคางวดอยูก็ตองดิ้นรนหารายไดทางอื�นมาเสริม แต หากหาไมไดนั้น การถูกยึดรถคืนก็ตองตามมาแน หากมองมุมกลับเมื�องานขนสงลดนอยลง การซื้อรถใหญคันใหมเพิ่มก็ไมมีอยูในความคิด แลวคราวนี้เปาหมายที่จะจําหนายรถใหญ ของทุกคายทุกยี่หอในปนี้ 3.5 หมื�นคัน ก็มีความเปนไปยากมาก อยางเชนในชวง 3 เดือน แรกมียอดจําหนายอยูที่เดือนละ 2,000 คัน หากเขาหนาแลงที่เปนชวงยอดขายตกจะมียอด ขาย 1,000 คัน หรือไมก็ยังไมแนใจได แบบนี้จะมีแนวทางการแกไขอยางไรดี ถือเปนขาวดีทท ี่ างกระทรวงอุตสาหกรรม ไดออกกฎระเบียบใหมใหรถเพื�อการ พาณิชยทุกคันที่จะออกจําหนายสูตลาดตองผานการตรวจสอบจาก สํานักงานมาตรฐาน อุตสาหกรรม (สมอ.) กอน ดังนั้น ผู ใชงานทุกคนมั่นใจไดวารถทุกคันทุกแบบที่ซื้อไปนั้นได มาตรฐานสมกับราคาทีจ่ า ยไป โดยกอนหนานีม้ คี า ยรถกระบะคายหนึง่ ทีน่ าํ เขามาจากประเทศ จีน ทําการจําหนายโดยไมผา น สมอ.กอน รถมีการเสียบอยและเสียงายทีส่ าํ คัญยังไมมบี ริการ หลังการขายใหอกี ดวย เจาของรถทีซ่ อื้ มาจึงไดการรองเรียนไปยัง สมอ.เปนจํานวนมาก ทาง สมอ.จึงตั้งกฎระเบียบขึ้นมาใหตรวจมาตรฐานใหผาน สมอ.กอนทุกคัน ดวยเหตุที่เศรษฐกิจยังตกอยูในขาลงไมเติบโตขึ้นอยางที่หวัง จึงมีผูทํานํ้ามัน เครื�องปลอมผิดกฎหมาย โดยใชบรรจุภัณฑที่มียี่หอดังใหมและมีฝาเปดที่ปดสนิทเรียบรอย ทําเหมือนของจริงทุกอยาง แตมีราคาถูกจนนาตกใจ เมื�อผานการใชงานไปได ไมนาน เครื�องยนตก็จะหลวม เรงเครื�องไมคอยขึ้น พรอมทั้งยังมีควันดํามากกวาปกติ จึงตองนํารถ เขาศูนยเช็คนํ้ามันเครื�องบอย ซึ่งพบวาเปนสีดําและไมมีคุณสมบัติในการหลอลื�นเลย ชาง จึงบอกวาเปนนํ้ามันเครื�องปลอมไมมีคุณภาพ รถใหญราคาเกือบ 3 ลานบาท ก็ควรที่จะใช นํา้ มันเครื�องทีเ่ ปนของแทแมจะมีราคาทีส่ งู ก็ตาม เพราะทําใหสามารถเพิม่ ระยะเวลาในการ ใช ไดนาน เครื�องยนตแทบจะไมตองซอม ถือเปนการประหยัดไปในตัวอีกดวย
ปตท.เปดศูนยควบคุมระบบ คุมเขมรถขนสงปโตรเลียม
ปตท.เป ด ศู น ย ค วบคุ ม ระบบรถ ขนสงผลิตภัณฑป โตรเลียม ติดตั้ง กลอง CCTV และระบบ GPS บนรถ ขนส ง ผลิ ต ภั ณ ฑ ทั่ ว ประเทศจํ า นวน 1,300 คั น พรอ มติ ด ตามควบคุ ม รถ ขนสงตลอด 24 ชั่วโมง คุณไพรินทร ชูโชติถาวร ประธาน เจาหนาทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ ดั การ ใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กลาววา ปตท.ไดเปดศูนยควบคุมการ ขนสงผลิตภัณฑปโตรเลียม (TCC) เพื�อ ตรวจสอบและติดตามการขับขี่รถขนสง ผลิตภัณฑทวั่ ประเทศตลอด 24 ชัว่ โมงใน ทุกเสนทาง โดยใชงบประมาณในการ ดําเนินงานรวมประมาณ 500 ลานบาท และดวยความมุงมั่นในการดําเนินงาน ดานความปลอดภัยของระบบรถขนสง ผลิตภัณฑปโตรเลียมในครัง้ นีจ้ ะเปนกาว สําคัญในการยกระดับความเปนมืออาชีพ ในด า นการบริ ห ารจั ด การรถขนส ง ปโตรเลียมของ ปตท. เพื�อปองกันการ เกิดอุบัติเหตุ ไมกอใหเกิดการสูญเสียตอ ชีวิตและทรัพยสิน
ตามนโยบายด า นคุ ณ ภาพความ มั่นคง ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่ง แวดลอม กลุม ปตท.ไดตั้ง ศูนยควบคุม การขนสงผลิตภัณฑปโตรเลียม พรอม จัดทําคูมือบริหารจัดการความปลอดภัย ในการขนสงทางรถยนตกลุม ปตท. เพื�อ เปนแนวปฏิบตั ใิ หผปู ระกอบการขนสงใน การปฏิ บั ติ ง านเพื�อ ลดอุ บั ติ เ หตุ จ าก การขนสง เกิดความปลอดภัยตอผูป ฏิบตั ิ งาน ชุมชน และประชาชนผูใชรถใชถนน ดวยนโยบายการขนสงอยางปลอดภัย แบงเปน การจัดการพนักงานขับรถ, การจั ด การรถขนส ง และอุ ป กรณ ประกอบ ดวยมาตรฐานตามที่กฎหมาย กําหนด และ การบริหารจัดการเสนทาง ด ว ยการกํ า หนดจุ ด จอดพั ก ให เ ป น มาตรฐานในทุกเสนทาง และการติดตั้ง ระบบบันทึกขอมูลพฤติกรรมการขับขี่ IVMS ไดแก ระบบ GPS และกลอง CCTV บนรถขนสงทั่วประเทศ เพื�อเปน อุปกรณติดตามและบันทึกขอมูลการใช งานรถและพฤติ ก รรมการขั บ ขี่ ข อง พนักงานขับรถ
10 BUS&TRUCK • ROAD and LAW
สัญญาณ
สะพานมิตรภาพเมียนมาร-ลาว ยุทธศาสตรเชื่อมเสนทาง R3B และ R3A ป 2558 นี้ เตรียมเปดใชสะพาน มิตรภาพเมียนมาร-ลาว (เชียงลาบ-เชียง กง) จุ ด ยุ ท ธศาสตร เ ชื�อ มต อ ที่ สํ า คั ญ ระหวางเสนทาง R3B ในเมียนมาร และ R3A ใน สปป.ลาว ซึ่งจะอํานวยความ สะดวกในการการคมนาคมและการ ขนส ง ระหว า งมณฑลตอนใต ข องจี น แขวงภาคเหนือของลาว จังหวัดภาค เหนือของไทย กับรัฐฉานของเมียนมาร ปจจุบันมีการกอสรางสะพานขาม แมนํ้าโขงในสวนที่เปนพรมแดนระหวาง ประเทศอยูเพียง 4 แหง ทั้งหมดเชื�อม ระหว า งประเทศไทยและลาวได แ ก สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 1 หนองคายเวียงจันทน, สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 2 มุ ก ดาหาร-สะหวั น นะเขต, สะพาน มิตรภาพไทย-ลาว 3 นครพนม-คํามวน, สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 4 เชียงของหวยทราย ในอนาคตไทยกับลาวมีโครงการจะ สรางสะพานขามแมนํ้าโขงเพิ่มอีกอยาง นอย 4 แหง คือ สะพานมิตรภาพไทยลาว 5 บึ ง กาฬ-บอลิ คํ า ไซ, สะพาน มิตรภาพไทย-ลาว 6 นาตาล-ละครเพ็ง, สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 7 เลย-แขวง เวียงจันทน, สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 8 อุบลราชธานี-จําปาสัก ขณะที่ ก ารก อ สร า งสะพานข า ม พรมแดนแมนาํ้ โขงระหวางประเทศอื�น ๆ ไดมีแผนดําเนินโครงการในอนาคตอีก เปนจํานวนมาก แตที่กําลังจะแลวเสร็จ และเห็นผลเปนรูปธรรมชัดเจนในป พ.ศ. 2558 นี้คือสะพานมิตรภาพเมียนมาร– ลาว (เชียงลาบ–เชียงกก) เชียงลาบ อยู เหนือเชียงแสนของไทยขึ้นไปตามลํานํ้า โขงประมาณ 82 กิโลเมตร โครงการกอสรางสะพานมิตรภาพ เมียนมาร–ลาว (เชียงลาบ–เชียงกก) เกิด ขึ้นในป พ.ศ. 2554 เมื�อทั้งสองประเทศ ไดลงนามรวมกันที่จะกอสรางสะพาน ขามแมนํ้าโขงขึ้นเปนแหงแรก ดวยงบ
ประมาณทั้งสิ้น 26 ลานดอลลารสหรัฐ สะพานมีความยาว 691.6 เมตร กวาง 10.9 เมตร มีขนาด 2 ชองจราจร มี กําหนดแลวเสร็จในป พ.ศ. 2558 เปนที่ รูก นั ดีวา ถนนสายสําคัญทีเ่ ชื�อมลาวเขาสู จีนตอนใตคือถนนถนน R3A เริ่มจาก แขวงบอแกวไปยังแขวงหลวงนํ้าทา เขา สูจ นี ตอนใตทดี่ า นบอเต็น–บอหาน ความ ยาวประมาณ 245 กิโลเมตร ทัง้ นี้ หลังเกิดสะพานขามแมนาํ้ โขง ไทย-สปป.ลาว แหงที่ 4 เชียงของ–บอ แกวแลว ทําใหการขนสงสินคาและการ เดินทางของผูคนบนถนนสายนี้เปนไป อยางคึกคักมากยิ่งขึ้น สวนถนนที่เชื�อม ระหวางเมียนมารเขาสูจ นี ตอนใตคอื ถนน R3B เริ่มจาก อ.แมสาย จ.เชียงราย ผาน จ.ทาขี้เหล็ก-เชียงตุง-เมืองลา ประเทศ เมียนมารเขาสูจีนตอนใตดวยระยะทาง ทั้งสิ้น 224 กิโลเมตร เมื�อ กางแผนที่ ดู เ ราจะพบว า สะพานมิตรภาพเมียนมาร–ลาว (เชียง ลาบ–เชี ย งกก) กํ า ลั ง จะกลายเป น จุ ด ยุทธศาสตรเชื�อมตอทีส่ าํ คัญระหวางเสน ทาง R3B ในเมียนมาร และ R3A ใน สปป.ลาว ซึ่งจะอํานวยความสะดวกใน การคมนาคมและการขนส ง ระหว า ง มณฑลตอนใตของจีน แขวงภาคเหนือ ของลาว จังหวัดภาคเหนือของไทย กับ รัฐฉานของเมียนมาร สะพานมิ ตรภาพเมียนมาร –ลาว (เชียงลาบ–เชียงกก) ที่กําลังจะเปดใชใน ป พ.ศ. 2558 พรอม ๆ กับการเขาสูความ เปนประชาคมอาเซียนอยางเปนทางการ จะชวยพลิกโฉมหนาดินแดนสามเหลี่ยม ทองคํ า ให เ ปลี่ ย นแปลงไปโดยสิ้ น เชิ ง เพราะกอนหนานี้สะพานขามแมนํ้าโขง ทั้ง 4 แหง ไดพิสูจนใหเห็นแลววาไดมี สวนชวยสรางการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศในลุมแมนํ้าโขงซึ่งมีมูลคา มากมายมหาศาลอยูแ ลวใหขยายตัวมาก ยิ่งขึ้นเพียงใด
เตรียมติดจาเฉยไฮเทค 15 ตัว กทม.ชั้นใน บช.น. เรงประมูลติดจาเฉยจับรถ ผิดกฎจราจร 15 จุด จาก 100 จุด อาจเริม่ บริเวณเขตกรุงเทพฯ ชัน้ ในกอน เนื�องจากมีปญหาจราจรอยางมาก พล.ต.ต.อดุลย ณรงคศักดิ์ รองผู บัญชาการตํารวจนครบาล กลาวถึงความ คืบหนาระบบจาเฉยอัจฉริยะพรอมออก ใบสั่งอัตโนมัติวา หลังจากที่สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ไดมอบ ระบบจาเฉยอัจฉริยะใหกบั กองบังคับการ ตํารวจจราจรแลวนั้น ขณะนี้ ไดมีการราง
ทีโออารเพื�อติดตัง้ กลองตรวจจับความผิด 15 จุด จาก 100 จุด ในพืน้ ทีท่ มี่ กี ารฝาฝน กระทําความผิดมากที่สุด ซึ่งขณะนี้ยังไม ไดมีการกําหนดจุดที่แนนอน แตอาจจะ เริ่มในบริเวณเขตกรุงเทพฯชั้นในเนื�อง จากมีปญหาจราจรเปนอยางมาก ทั้ ง นี้ งบประมาณในการติ ด ตั้ ง กลองมีวงเงินทั้งหมด 15 ลานบาท ติด ทั้งหมด 15 จุด ซึ่งคาดวาจะสามารถ กําหนดจุด ในการติดตัง้ เพิม่ เติมไดภายใน เร็ว ๆ นี้
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
จอดป้ายหมอชิต
โดย กรมการขนสงทางบก
ขนสงฯ แจงระเบียบใหม จดทะเบียนรถนํ้าหนักเกิน 2,200 กก. กรมการขนส ง ทางบก ชี้ แ จง ระเบียบกรมการขนสงทางบกใหม ยันรถ เกงและรถกระบะ ยังจดทะเบียนไดตาม ปกติ ยกเวนรถยนตนั่ง และ รถบรรทุก ส ว นบุ ค คล ที่ มี นํ้ า หนั ก เกิ น 2,200 กิโลกรัม ตองจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. ขนสง แตถามี ไว ใชงานสวนตัวตองจด ทะเบียนตาม พ.ร.บ.รถยนต ตองแนบ หลักฐานการเงิน ที่จอดรถ เพิ่มเติม ตาม ที่ราชการกําหนด ตั้งแตวันนี้ รถบรรทุกสวนบุคคลที่มี นํ้าหนักตั้งแต 1,600 กิโลกรัม แตไมเกิน 2,200 กิโลกรัม ที่เปนรถที่ใชสวนบุคคลไม ได ใชเพื�อการประกอบการขนสงสามารถ ยื�น ขอจดทะเบี ย นตามพระราชบั ญ ญั ติ รถยนตจากเดิมที่ตองยื�นจดทะเบียนตาม กฎหมายวาดวยการขนสงทางบก และตอง ขออนุญาตประกอบการขนสงดวย ทั้งนี้ เพื�อใหสอดคลองกับเทคโนโลยีการผลิต รถยนตทมี่ กี ารพัฒนาจนเปนเหตุใหรถยนต สวนบุคคลมีนํ้าหนักเพิ่มขึ้นกวาเกณฑที่ กฎหมายวาดวยรถยนตกําหนดไวเดิมไม เกิน 1,600 กิโลกรัม อีกทั้งเปนการอํานวย ความสะดวกใหกับประชาชนรถที่มีรถดัง กล า วโดยที่ ไ ม ไ ด มี ไ ว เ พื�อ การประกอบ การขนสง สําหรับรถยนตนั่งและรถบรรทุกที่มี นํ้าหนักเกิน 2,200 กิโลกรัม ซึ่งเปนรถ ขนาดใหญและไมไดมีไวเพื�อการประกอบ การขนสง หากจะจดทะเบียนเปนรถตาม พ.ร.บ.รถยนตตองอยูภายใตเงื�อนไขตามที่ ราชการกําหนด ซึง่ ผูข อตองสามารถพิสจู น BUS&TRUCK FAQ
ให ไดวาจะใชรถดังกลาวเพื�อการสวนตัว โดยแทจริง โดยใหแนบหลักฐานเพิ่มเติม ไดแก หลักฐานการแสดงการเสียภาษีเงิน ไดบุคคลธรรมดายอนหลัง 2 ป หลักฐาน แสดงฐานะการเงิ น ที่ มั่ น คงและความ จําเปนตองใชรถขนาดใหญเพื�อการสวนตัว ภาพถายตัวรถพรอมรายละเอียด ขนาด สัดสวนและขนาดของรถจากบริษัทผูผลิต หลักฐานแสดงที่จอดรถ ไดแก ภาพถาย สถานที่จอดรถที่มีเนื้อที่จอดรถไมกวา 35 ตารางเมตร แผนที่แสดงที่จอดรถ และ หนังสือรับรองการใชรถยนตสวนบุคคล ตามที่ทางราชการกําหนด โดยเจาหนาที่ จะมีการออกตรวจสถานทีจ่ อดรถและหลัก ฐานตาง ๆ ตามที่กําหนด เพื�อปองกัน การนํารถขนาดใหญ เชน รถบัส รถสิบลอ มาขอจดทะเบียนเปนรถตาม พ.ร.บ.รถยนต แล ว นํ า ไปใช ป ระกอบการขนส ง ผิ ด กฎหมาย การแก ไขกฎหมายฉบับดังกลาวไม ไดสงผลกระทบใด ๆ กับการจดทะเบียน รถยนตสวนบุคคลไมเกิน 7 คน (รถเกง) หรือรถบรรทุกสวนบุคคล (รถปคอัพ) แต อยางใดทั้งสิน โดยการดําเนินการเชนเดิม ตามที่เคยปฏิบัติมา สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ กลุม พัฒนาระบบทะเบียนและภาษีรถสํานัก มาตรฐานงานทะเบียนและภาษีรถ โทร. 0-2271-8703 หรื อ สํ า นั ก งานขนส ง กรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-5 และสํานักงาน ขนสงจังหวัดทุกจังหวัด
พ.ต.อ.ยอดชาย ผูสันติ ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝายประชาสัมพันธ, บก.02
ขับรถ 6 ลอ ลืมพกใบอนุญาต สามีดฉิ นั ขับรถ 6 ลอ บรรทุกดิน ในชุมชนแหงหนึ่ง แตตองขับ ผานทางหลวงชนบทประมาณ 1 กม. โดยไม ไ ด ถื อ ใบอนุ ญ าตขั บ ขี่ มี ตํารวจแตงชุดในเครื�องแบบ 4 คน ขี่รถ สวนทางมาแลเ รี ย กให จ อด และขอ ตรวจปสสาวะ พอไมพบอะไร ก็ถามหา ใบอนุญาตขับขี่ แตใบอนุญาตขับขี่ไมมี ตร.บอกวาตองจายคาปรับ 1,000 ถาไม จายเรื�องจะถึงศาล จะตองจาย 3-4 พัน เราก็จายไป แตไมไดใบเสร็จ หรือใบสั่ง ใด ๆ เลย ในกรณีทเี่ กิดขึน้ นี้ จําเปนตอง จายคาปรับหรือไม ถาจายจะตองจาย เทาไหรหรืออยางไร ขอบคุณมากคะ จาก คุณปาวรี่ ตาม พ.ร.บ.รถยนต พ.ศ. 2522 มาตรา 42 ผูขับรถตองไดรับใบ อนุ ญ าตขั บ รถและต อ งมี ใ บ
อนุญาตขับรถและสําเนาภาพถายใบ คู มื อ จดทะเบี ย นรถในขณะขั บ หรื อ ควบคุมผูฝ ก หัดขับรถ เพื�อแสดงตอเจา พนักงานไดทนั ที เวนแตผถู อื ฝกหัดขับ รถยนตตามมาตรา 57 มาตรา 56 ภายใตบังคับ มาตรา 43 และมาตรา 57 หามมิใหเจาของรถ หรือคนขับรถยินยอม ใหผูซึ่งไมมีใบ อนุญาตขับรถ หรือมีใบอนุญาตขับรถ ประเภทอื�นทีใ่ ชแทนกันไมได เขาขับรถ ของตน หรือรถที่ตนเปนคนขับ มาตรา 64 ผูใดขับรถโดยไมไดรบั ใบอนุญาตขับรถ ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่ง พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 66 ผูใดขับรถโดยไมแสดงใบอนุญาตขับรถ และสําเนาภาพถายใบคูม อื จดทะเบียน รถ ตาม มาตรา 42 ตองระวางโทษปรับ ไมเกิน 1,000 บาท
PROTEST • BUS&TRUCK 11
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
กดแตร
พั กรถ
เริ่มมีซับขนสง
คงจํากันไดเมื�อประมาณ 3-4 ปที่ ผ า นมา ได มี บ ริ ษั ท ไทยโลจิ ส ติ ก ส อัลลายแอนซ จํากัด และบริษัท สยาม โลจิสติกส อัลลายแอนซ จํากัด เกิดขึน้ มาเพื�อ ที่ จ ะรวบรวมผู ป ระกอบการ ขนสงทางบกที่เปนของคนไทย ซึ่งจะมี รถบรรทุกตั้งแตขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ พรอมทัง้ ยังมีการขนสงทาง เรือและเครื�องบิน พรอมสลับกันใหการ บริการกับลูกคา จุดประสงคหลักคือจะตั้งกําแพง ขวางไมใหขนสงตางชาติเขามารุกตลาด ขนสงของคนไทยได เพราะหากใชบริการ ขนส ง ของคนไทยเพี ย งแค จ า ยเงิ น มา สินคาจากตนทางก็สามารถสงไปถึงมือ จุ ด หมายปลายทางได ไม ว า จะเป น ประเทศไหนก็ได โดยสินคายังมีคุณภาพ ดีเหมือนดังที่สงมาทุกประการ พรอมทัง้ ใหขอ คิดวา ขนสงตางชาติ ที่เขามานั้น จะมีเพียงแคกระเปาเจมส บอนดตดิ มือมาเพียงใบเดียวเทานัน้ เมื�อ ไปหาลูกคาตามโรงงานตาง ๆ ที่มาจาก ประเทศเดียวกันก็สามารถทําการติดตอ ในการขนสงใหไดอยางงายมาก เพราะได รั บ ความเชื�อ ถื อ ไม ว า จะเป น ความรู เทคโนโลยี รวมถึงการมีเงินทุนมาลงทุน ในการขนสงดวย เมื�อไดรบั งานขนสงมาแลว ก็จะซือ้ รถใหญมาเพียงไมกี่คัน สวนจํานวนที่ เหลือก็จะทําการจางซับขนสงที่เปนของ คนไทย แมวาคาจางจะลดนอยลงถึง 20% เพราะหากถู ก หั ก ค า นายหน า ก็ จําเปนที่จะตองรับงานเพราะไมมีงานให ทํา ดวยถูกการแยงงานการขนสงไป แตทงั้ สองบริษทั ทีร่ วมตัวกันนี้ ตาง ก็ทาํ งานไปไดเพียงไมกปี่ เ ทานัน้ ตองแยก ยายกันออกไป ดวยสาเหตุทวี่ า งานขนสง ที่ทําอยูมีมาตั้งแตเกิด ถือวาเปนงานที่มี ฐานะมั่นคง แซงหนาจากบริษัทรวมทุน รายอื�น เมื�อไมมีใครฟงใคร ธุรกิจจึงลม ไป ดังนั้นจึงมองวาขนสงตางชาติจะตอง เดินหนาไปขางหนาอยางแนนอน เมื�อมี การเปดเสรี AEC แลว แตสิ่งที่คาดไมถึงอีกอยางก็เกิดขึ้น แลว เมื�อซับขนสงของคนไทย ไดเริม่ โผล ขึ้ น จากฝ มื อ ขนส ง คนไทยด ว ยกั น เอง เพราะในชวงที่มีปฏิวัติทางการเมือง มี คสช. และรัฐบาลชุดทหาร ทําใหเกิดสวย รถใหญมากกวาทุกๆ รัฐบาล
ดวยผูวาจางการขนสงมีอยู 2 กลุม คือกลุม คุณธรรม และกลุม ไรสามัญสํานึก โดยกลุ ม ที่ มี คุ ณ ธรรมนั้ น จะไม ทํ า ผิ ด กฎหมาย ผูรับจางขนสง จะตองบรรทุก สินคาตามพิกัดบรรทุกนํ้าหนัก สวนคา จางนั้นก็จะไดรับอยางเปนธรรม อีกกลุม หนึง่ ที่ไรสามัญสํานึกจะบังคับใหผรู บั จาง ขนสงตองทําการบรรทุกสินคาเกินพิกดั ที่ กฎหมายกําหนด สวนคาจางนั้นก็จะให ตรงตามราคานํ้าหนักที่บรรทุกตามพิกัด ที่กฎหมายกําหนด ใครไมเอาก็ถอยไป ดังนั้นจึงเห็นรถใหญที่วิ่งตามทอง ถนนจํานวนมากทีม่ กี ารบรรทุกสินคาเกิน เปนจํานวนมาก โดยมองเห็นดวยตาเลย วามีการบรรทุกสินคาเกินนํ้าหนักที่พิกัด ไวอยางแนนอน สวนสาเหตุที่รับงานก็ เพื�อใหมรี ายไดมาเปนคาผอนรถและเงิน เดือนพนักงานนั่นเอง ส ว นขนส ง ที่ ทํ า ตามกฎหมาย กําหนดนั้น ก็จะไมรับงานที่ผิดกฎหมาย จ า ก ง า น เ ดิ ม ที่ เ ค ย ข น ข า ว แ ล ะ มันสําปะหลัง ก็ถกู แยงงานไป ตองหันไป หาสินคาตัวอื�นที่ยังไมเคยขนสงมากอน โดยอาศัยเพื�อนพันธมิตรเปนผูชวยหา งานใหดว ย ซึง่ เปนปกติที่จาํ เปนตองโดน หักคานายหนาตามไปดวย ซึง่ นีก่ เ็ รียกวา ซับขนสงไดเหมือนกัน หากมีสวยขนสงเกิดขึ้นทุกอําเภอ ทุกจังหวัด และทุกถนนทัว่ ประเทศ ขนสง ที่มีคุณธรรม ก็จะลดนอยลงตามไปดวย เพื�อที่จะไดมีงาน มีรายได เขามาเลี้ยง ครอบครับ ปจจุบันนี้ มี 2 บริษัท โลจิสติกส ไทยทีม่ กี ารยอมรับจากผูว า จางเปนอยาง มาก ทําใหรถใหญไมเพียงพอกับงานที่ได รับมา จึงตองพึ่งขนสงขนาดกลางและ ขนาดเล็กทัว่ ประเทศ ใหมาเปนซับขนสง เพื�อที่จะไดมีงานมีรายไดเขามา ด ว ยขนส ง ขนาดเล็ ก และขนาด กลางตางไดรับการคาดหมายจากคนใน วงการขนสงวาจะตองคอย ๆ ปดตัวไป เพราะไม สามารถทําการขนส งใหเปน แบบสากลตามที่ผูวาจางตองการได ซึ่ง ผลทางรอดก็ยังคงมีอยู ดวยการสมัคร เปนซับขนสงของบริษทั ขนสง 2 รายใหญ ที่เปนของคนไทย ดีกวาที่จะไปเปนซับ ขนสงใหกับชาวตางชาติ คนไทยตองมีเลือดไทย ไมทิ้งคน ไทยดวยกัน
มะนาวชวยทําใหตืี่น! ในชวงสงกรานตที่ผานมามีวันหยุดหลายวัน ชาวกรุงเทพฯ ที่มีบานพัก อยูตางจังหวัด ตางก็ขับรถยนต ไปเที่ยวที่บานเกิดเปนจํานวนมาก เกือบสาม ในสี่ของประชากรของกรุงเทพฯ เลยทีเดียว ดวยเหตุที่ถนนที่มุงสูทั้งภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต และภาคตะวันออก ตางก็มีรถยนตคลาคลํ่าตลอดทั้งวันและทั้งคืน จึงทําใหรถใหญทบี่ รรทุกสินคาแทบทุกจังหวัดตางก็ตอ งหยุดงานเหมือนกัน เพราะไมมีถนนใหวิ่งงาน! แตการหยุดขับรถของคนขับรถใหญก็ตองมีการดื�มกินกับญาติมิตรเพื�อน พองใหตรงกับเทศกาล เมื�อหยุดขับไปไดหนึ่งอาทิตยรางกายแทบไมไดนอนพัก ผอน ความงวงและความออนเพลียในการขับรถใหญไปทํางานในตอนเชาถึงตอน เย็นก็ตองเกิดอาการเพลียมากอยางแนนอน มีอยูบอยครั้งที่คนขับรถใหญ ไมวาจะเปนรถบรรทุกหรือรถโดยสาร เกิด อุบัติเหตุมีผูบาดเจ็บและเสียชีวิตเปนจํานวนมาก ซึ่งสาเหตุมาจากคนขับหลับใน นั่นเอง แมวาจะเปนเพียงแค 5 วินาทีก็สามารถทําใหเกิดอุบัติเหตุได การหลับในนัน้ มีดว ยกันหลายสาเหตุ ไมวา จะเปน การนอนพักผอนนอยเกิน ไป กินเหลาหรือเบียร การขับรถชาเพียง 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง ตามที่กฎหมาย กําหนดเปนเวลานาน ๆ ทําใหเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุไดงาย ทางแกการงวงนอนนั้น มีอยูดวยกันหลายวิธี ไมวาจะเปนการดื�มเครื�องดื�ม ชูกาํ ลัง หากดื�มเหมือนนํา้ เปลาก็จะไมเกิดผลอันใดเลย ตองอมไวทใี่ ตลนิ้ ประสาท จึงจะสัมผัสได โดยงาย มีอยูอีกวิธีหนึ่งที่อยากนําเสนอนั่นคือ การพกมะนาวติดรถไว หากงวงนอน เมื�อใดก็ใหบีบมะนาวเขาปาก รสเปรี้ยวของมะนาวจะชวยปลุกประสาทใหตื�นอยู เสมอ ซึ่งสามารถปองกันการเกิดอุบัติเหตุได ใครไมอยากเสี่ยงใหเกิดอุบัติเหตุก็ใหบีบมะนาวเขาปากไว
12 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK CARE
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
รักษ์รถ
รูทัน! เหตุการณฉุกเฉิน ชวยลดอุบัติเหตุ การขับรถทางใกลหรือทางไกล ตองใชความระมัดระวังเสมอ เพราะเหตุฉุกเฉินสามารถเกิดขึ้นไดจากหลาย เหตุผล ฉะนั้นหากรูวิธิการรับมือหรือวิธีแกไขก็จะชวยเซฟความปลอดภัยใหกับตัวเองไดไมนอย ลองมาดูเหตุการณฉุกเฉินที่สามารถเกิดขึ้นได และเราจะตองมีวิธีการรับมือเพื่อผานเหตุการณเหลานั้นใหได อยางไร
ยางแตก
เมื�อยางระเบิดหรือแตกกะทันหัน ไมวาจะอยููในชวงความเร็วใด ตองจับ พวงมาลัยใหมั่นคง พยายามรั้งไว ให ตรงทิศทาง อยากระชากเด็ดขาด ไม ตกใจกดเบรกอยางกะทันหัน เพราะ รถยนตอาจหมุนปดเปเสียการทรงตัว ได ใหถอนคันเรง การลดความเร็ว สามารถใชเบรกไดเพียงเบา ๆ และตอง เหยียบสลับกับการปลอย เพื�อไมใหนํ้า หนักถายลงดานหนามากเกินไป ถายาง ที่แตกไมใชลอขับเคลื�อน ก็สามารถใช เกียรชวยในการลดความเร็วได หากตองการเปลี่ยนยาง ควรดึง เบรกมือกอนการขึ้นแมแรง ปองกัน รถยนต ไหล แตถามีที่สูบลมติดรถยนต ไว และยางที่แบนไมไดรั่วเปนรูขนาด ใหญก็สามารถสููบลมยางใหแข็งกวา ปกติสัก 5-10 ปอนด/ตารางนิ้ว และ คอย ๆ ขับตอไปจนถึงรานเปลี่ยนยาง ก็ได
เบรกแตก
รถยนตทกุ รุน ในปจจุบนั ใชนาํ้ มัน เบรกเปนตัวถายทอดแรงดันระหวาง การกดของเทาไปยังผาเบรก เสมือน เปนระบบไฮดรอลิกชนิดหนึง่ ดังนัน้ จึง อาจมีการรั่วซึมขึ้นได จากการรั่วของ
ลูกยางตัวใดตัวหนึง่ หรือทอนํา้ มันเบรกรัว่ การถายทอดแรงดันก็จะสูญเสียลงไป ระบบเบรก มักแบงการทํางานออก เปน 2 วงจร อาจเปนแบบลอคูหนาและ ลอคูหลัง หรือเปนแบบไขวลอหนาซายลอหลังขวา และลอหนาขวา-ลอหลังซาย เผื�อวาวงจรใดวงจรหนึ่งชํารุด เพื�อให ระบบยังมีประสิทธิภาพการทํางานหลง เหลืออยูบู าง ดั ง นั้ น เมื�อ เบรกแตกหรื อ นํ้ า มั น เบรกเกิดการรั่ว สวนใหญมักหลงเหลือ ประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานอยู ห ลายสิ บ เปอรเซ็นต หรืออีกไมนอยกวาครึ่งหนึ่ง ในอีกวงจร ตั้งสติใหมั่นคง เมื�อเหยียบ แปนเบรกลงไปแลวลึกตํ่ากวาปกติ ตอง เหยียบซํ้าแรง ๆ และถี่ ๆ เพื�อใชแรงดัน ในวงจรทีเ่ หลืออยูู ผาเบรกจะไดสรางแรง เสี ย ดทานขึ้ น มาบ า งพร อ มกั บ การลด เกียรตาํ่ ครัง้ ละ 1 เกียร จนกวาจะถึงเกียร ตํ่าสุดุ แลวคอยใชเบรกมือชวย โดยการ กดปุมุ ล็อกคางไวใหสดุ เพื�อไมใหเบรกจน ลอล็อก ดึงขึ้นแลวปลอยสลับกันไป เพื�อ ลดความเร็ว ถาระบบเบรกชํารุดุ ทุกุ วงจร ตองใชการลดเกียรตํ่าชวยเปนหลัก แลว คอยดึงเบรกมือชวย เมื�อไลลงจนถึงเกียร ตํ่าสุด รถยนตที่ใชระบบเบรกที่มีเอบีเอส
ถาตองการเบรกกะทันหัน อยาเหยียบ แลวปลอยสลับกันถี่ ๆ แบบเทคนิคการ เบรกในยุคเกา เพราะเอบีเอสจะตัดการ ทํางาน และไมสามารถปองกันการล็อก ลอได ตองเหยียบลงไปใหแนน ๆ แลว ควบคุมพวงมาลัยไปยังทิศทางที่ควรจะ ไปนั่ น คื อ วิ ธี ที่ ถู ก ต อ งเมื�อ ต อ งเบรก กะทันหันในรถยนตที่มีเอบีเอส
รถหลุดออกจากทาง
อาจเปนเพราะหักหลบสิ่งกีดขวาง อยางกะทันหัน ทําให ไถลออกนอกเสน ทาง เมื�อเกิดเหตุการณนคี้ วรตัง้ สติใหมนั่ ไมควรเหยียบเบรกอยางแรง เพราะอาจ ทํ า ให ล อ ล็ อ กหรื อ ลื�น ไถลจนเสี ย การ ทรงตัว วิธที ถี่ กู ตอง ควรลดความเร็วดวย การแตะเบรกแลวปลอย พรอมกับการลด จังหวะเกียร เพื�อใชเครื�องยนตชว ยในการ ชะลอความเร็วอีกเล็กนอย นอกจากนั้น สายตายังตองมองทางไปขางหนาเพื�อ หลบสิ่ ง กี ด ขวาง ไม ค วรหั ก หลบทั น ที เพราะอาจพลิกควํ่าได
คันเรงคาง (สายคลัตซขาด-ปมคลัตซรั่ว)
รถยนตที่ใชระบบเกียรธรรมดา ถา สายคลัตซขาดหรือปมคลัตซรั่ว ไม ได หมายความวา รถยนตจะแลนไมไดเลย ยังสามารถแกไขปญหาเฉพาะหนา เพื�อ นํารถยนตออกจากพื้นที่เปนระยะสั้น ๆ โดยไมตองเข็นหรือลากกันไดไมยาก วิธีปฏิบัติคือ ตรวจสอบวาเสนทาง ขางหนาตองวางไมนอ ยกวา 10-20 เมตร ป ด อุ ป กรณ ไ ฟฟ า ทุ ก ชนิ ด เป ด สวิ ต ซ กุญแจ เขาเกียร 1 ไว กดคันเรงประมาณ 1-2 ซม. บิดกุญแจสตารทเครื�องยนตคา ง ไว ตัวรถยนตจะกระตุกเปนจังหวะ ตาม การหมุนของเครื�องยนตและไดสตารท เคลื�อ นที่ก ระตุ ก ไปที ล ะนิ ด จนกระทั่ ง เครื�องยนตทํางาน ก็กดคันเรงไปมากขึ้น เพื�อเรง ความเร็ว เกี ย รจ ะไมส ามารถ เปลีย่ นได แตสามารถใชความเร็วไดเกือบ เต็มที่ของความเร็วสูงสุดของเกียร 1 คือ ประมาณ 30-40 กม./ชม. ถาเสนทางขาง หนาวาง ก็สามารถขับไปไดเรื�อย ๆ เมื�อ ตองเบรก ก็กดแปนเบรกลงไปเทานั้น ปล อ ยให เ ครื�อ งยนต ดั บ แล ว ค อ ยเริ่ ม ออกตัวใหม
เครื่องยนตรอนจัด
ถาไมไดเกิดจากการรั่วซึมผิดปกติ แตเกิดจากการหลงลืมเติมนํ้าหมอนํ้า ก็
สามารถเต็มนํ้าเขาไปใหเต็มได เพราะ ถ า มี ก ารรั่ ว เติ ม ลงไปก็ รั่ ว ออกมาอี ก การเติ ม นํ้ า ต อ งมี เ ทคนิ ค และใจเย็ น จอดรถยนต ห ลบในที่ ป ลอดภั ย ดั บ เครื�องยนตรอใหเครื�องยนตเย็นลงบาง หาผาหนา ๆ และผืนกวางพอสมควร เชน ผายางรองพื้นในรถยนต คลุมุ ฝา หมอนํ้าใหมิด แลวบิดออกเล็กนอย กอน เพื�อใหแรงดันภายในคลายตัว ออกบาง เมื�อแรงดันคลายตัวออกมา มากในชวงระยะเวลาประมาณ 2-3 นาที คอย ๆ เปดฝาหมอนํ้าตอ ระวัง ไอหรือนํา้ รอนพุง ขึน้ มา ตองคลุมผาผืน หนาไว ใหมิดชิดมาก ๆ อยารีบเติม นํ้าลงไปในทันที ตองรอใหเครื�องยนต คลายความรอน อาจตองรอถึงกวา 20-30 นาที การเติมนํา้ ตองเติมครัง้ ละ นิด ไมควรเกินครึง่ ลิตร แลวทิง้ ชวงสัก 5 นาที เพื�อใหนํ้าที่เติมดึงความรอน กระจายกันใหทวั่ เพราะโลหะทีร่ อ นจัด เมื�อถูกนํ้าเย็นทันที จะหดตัวลงอยาง รวดเร็ว จนราวหรือเสียหายได
สิ่งของตกอยูบนถนน
ไมควรแลนทับ เพราะอาจทําให เกิดอันตรายหรือความเสียหายได ขั้น แรกควรลดความเร็ว หากชองทางทั้ง ซาย-ขวาไมมีรถยนตแลนตามหลังมา ใหหักหลบโดยพยายามเบี่ยงใหนอย ทีส่ ดุ เพราะการหักหลบมาก ๆ ในขณะ ที่ขับเร็ว รถยนตอาจหมุุนหรือปดเปได หากเลี่ยงไม ได หลังการทับหรือชน ควรจอดรถและตรวจสอบชิ้นสวนใต ทองรถวามีความเสียหายเกิดขึ้นหรือ ไม เชน คันชัก คันสง ทอสงเชื้อเพลิง ถังนํ้ามัน ยาง ฯลฯ
สัตวขวางทาง
ควรลดความเร็ว แตไมควรเบรก อยางรุุนแรงหรือหักหลบทันที เพราะ อาจทําใหรถยนตพลิกควํ่าได และไมควรหักหลบไปในชองทาง ที่มีรถแลนสวนมา หากไมเรงรีบ ควร ปลอยใหสัตวเหลานั้นเดินจนพนจาก ถนน ไมควรบีบแตรไล เพราะอาจทําให ตกใจและหันมาทําอันตรายได การแซง ควรเลี่ยงไปดานหลังของสัตว เพราะ การตั ด หน า จะทํ า ให สั ต ว ต กใจและ เตลิด อันตรายตอรถยนตในชองทาง อื�น เหตุุ ก ารณ เ หล า นี้ เ กิ ด ขึ้ น ได เสมอ ฉะนัน้ เมื�อรูวู ธิ ีในการแกปญ หา แลว ก็จะชวยลดอุบัติเหตุและเพิ่ม ความปลอดภัยไดแนนอน
14 BUS&TRUCK • INTERVIEW
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
จอดคุย เบาะนั่งรถโดยสารยี่หอ “ดํารงศิลป” ถือเปนองคประกอบหลักรถโดยสาร ที่ชวยสรางภาพลักษณใหกับรถ โดยสารทีผ ่ โู ดยสารเลือก เพราะมีทง ั้ ความสวยงาม คงทน นํา้ หนักเบา และทีส ่ าํ คัญยังชวยลดการใชนาํ้ มันเชือ ้ เพลิง ลงดวย ซึ่งสามารถชวยลดนํ้าหนักของตัวรถทําใหชวงลาง เครื่องยนต เบรก มีอายุการใชงานที่ยาวนานขึ้น
คุณเกียรติศักดิ์ ภูอัครนันท ผู จัดการโรงงาน บริษัท ดํารงศิลป พารทซีท เซ็นเตอร จํากัดเปดเผยถึง หลักการทําตลาดและแผนการมัดใจ ลูกคา พรอมทัง้ กลยุทธในการทีจ่ ะเปน เบาะรถโดยสารเบอร 1 ในกลุ ม ประเทศอาเซียน
ดํารงศิลป เบอร 1 เมืองไทย
ดวยประสบการณทเี่ ริม่ ทําเบาะ รถโดยสารยี่หอ ดํารงศิลป มากวา 35 ป ดวยความมุง มัน่ ทีจ่ ะทําเบาะรถยนต ใหตรงกับกลุมผู โดยสารมากที่สุด จึง ไดเรียนรูที่จะนําวัตถุดิบตาง ๆ ที่มี คุณภาพและมีอายุที่ใชงานไดอยาง ยาวนานมาผสมผสานกันใหดที สี่ ดุ ซึง่ ผลที่ออกมาก็ตรงกับความตองการ ของกลุมลูกคามากที่สุด ไมวาจะเปน อูประกอบตัวถังรถโดยสาร หรือกลุม ที่เชารถโดยสาร ในเวลาตอมาก็ ได สร า งให เ กิ ด มาตรฐานขึ้ น จึ ง นํ า มาตรฐานสากลมาเปนตัวนําในการทํา เบาะดํารงศิลป จนไดรับมาตรฐาน ISO หลาย ๆ ดาน เพื�อที่จะสามารถ ขยายตลาดเพื�อการสงออกไปยังตาง ประเทศไดดวย ปจจุบันนี้ ถึงแมวาเศรษฐกิจจะ ตกตํ่า ยอดการประกอบรถโดยสารได ลดนอยลงไปเปนอยางมาก คาดวาใน ป 2558 นี้ จะมี ร ถโดยสารใหม ที่ ประกอบในประเทศเพียงแค 1,000 คันเทานั้น ซึ่งทางบริษัทคาดวาจะมี ยอดขายเบาะนั่งดํารงศิลปประมาณ 365 คัน หรือเฉลี่ยประมาณวันละ 1 คัน ซึ่งตัวเลขนี้ถือเปนยอดขายมาก ที่ สุ ด ในตลาดเบาะนั่ ง รถโดยสารใน เมืองไทย
เบาะรถโดยสาร เบอร 1 อาเซียน
จากทีภ่ าวะเศรษฐกิจในประเทศ ตกตํา่ อยู ทําใหบริษทั ตองปรับเปาการ จํ า หน า ยใหม ม าเป น จํ า หน า ยใน ประเทศ 30% ส ง ออกไปในกลุ ม ประเทศอาเซียน 70% ดวยเหตุที่วา เศรษฐกิจในกลุมประเทศดังกลาวมี การเจริญเติบโตมาก ความตองการรถ โดยสารก็เพิม่ ตามไปดวย ทัง้ นี้ เพราะ มีนกั ทองเทีย่ วเพิม่ มากขึน้ นัน่ เอง โดย สองประเทศหลั ก ที่ ค าดว า มี ค วาม ต อ งการเบาะรถโดยสารจะเพิ่ ม ขึ้ น เปนอยางมากก็คือประเทศเมียนมาร และเวียดนาม เพราะทั้งธุรกิจภาย ประเทศและตางประเทศมีการขยาย การลงทุ น เป น อย า งมาก ทํ า ให ร ถ โดยสารต อ งเพิ่ ม มาตรฐานในการ
ประกอบใหเปนสากลเพิม่ มากขึน้ ดวย ซึง่ เบาะดํารงศิลปเองไดรับมาตรฐานสากล อยูแ ลวจึงทําใหตรงตอความตองการของ กลุมลูกคาอยูแลว สํ า หรั บ การทํ า ตลาดในกลุ ม อาเซียนมีดวยกันอยู 3 แบบ แบบแรก คือ การสงชิ้นสวนเพื�อใหธุรกิจตอตัวถัง รถโดยสารทําการประกอบเองได แบบที่ สอง คือ การสงเบาะสําเร็จรูปสามารถนํา ไปประกอบในรถโดยสารไดเลย สวนแบบ สุดทาย คือ การถายทอดทําการตลาดให กับโรงงานทําเบาะรถโดยสารไมวาจะ เป น ทั้ ง วั ต ถุ ดิ บ ความกว า งความยาว
ตองมีแผนก R&D เพื�อทําการวิจัยและ พัฒนาสินคา เพื�อที่จะไดออกสินคารุน ใหมใหตรงกับความตองการของตลาด อย า งสมํ่ า เสมอ จากที่ ผ า นมาพบว า แผนก R&D มีความชํานาญและความ สามารถคิด วิเคราะห แยกแยะ ออกเบาะ นัง่ รุน ใหมตรงกับความตองการของลูกคา เปนอยางมาก จึงมีแผนที่จะแยกแผนก R&D ออกมาเป น บริ ษั ท ลู ก เพื�อ ที่ จ ะ สามารถหารายไดเองได สวนการทํางานก็จะเปนบริษัทที่ วิจยั และพัฒนาออกแบบใหกบั เบาะนัง่ รถ โดยสารไดทุกยี่หอ รวมทั้งยังสามารถ
ออกแบบใหกับเบาะนั่งรถยนต ไดทุก ชนิดอีกดวย ทั้งนี้ กลุมลูกคาจะมีทั้ง ในเมืองไทยและตางประเทศ เรียกได วาเปดใหทาํ งานไดอยางอิสระและเต็ม ที่ เบาะดํ า รงศิ ล ป ถื อ ได ว า มี คุณภาพที่สูงมาก อย างรถตูยี่หอ ฮุนได รุน H1 กอนทีจ่ ะนําเขามาสูใน ตลาดเมืองไทยก็ตอ งหาเบาะนัง่ เพื�อ มาติดรถตูที่จะประกอบในเมืองไทย กอน และก็เลือกเบาะนั่งดํารงศิลป เพราะมีทั้งคุณภาพ ราคาที่สมเหตุ สมผล ตรงกับความตองการของผู โดยสารเปนอยางมาก ทางฮุนไดจึง เลือกใหเปนเบาะนั่งรถตูฮุนได รุน H1 เพื�อทําการสงออกไปยังประเทศ ฟลิปนสและอินโดนีเซีย
คุณเกียรติศักดิ์ ภูอัครนันท
เบาะดํารงศิลป เบา แข็งแรง ประหยัดพลังงาน ปนี้จะมีรถโดยสารที่ประกอบ ในประเทศเพี ย งแค 1,000 คั น เทานัน ้ คาดวาจะมียอดขายเบาะนัง ่ ดํารงศิลปประมาณ 365 คัน หรือ เฉลี่ยวันละ 1 คัน ความสูงของเบาะ เพื�อที่จะใหเปนแบบ าก สากลสามารถใช ไดทั่วทั้งประเทศ หา หาก ได ตรงกับขนาดทีท่ างโรงงานสามารถทําาไได ขออง ก็จะทําการสงออกให ไปยังโรงงานของ ประเทศนั้นดวย
พรอมขยายโรงงาน เมื่อตลาดโต
ขณะนีบ้ ริษทั มีโรงงานผลิตเบาะอยู ะอยู 2 แหง คือ โรงงานที่จังหวัดสุพรรณบุ ณบุรี ทําการผลิตเบาะจําหนายในประเทศและ และ สงออก อีกโรงงานอยูที่จังหวัดราชบุ ชบุุรี เพื�อจําหนายในประเทศ ซึ่งจะเนนหหนันัก ภอ ไปที่อูประกอบตัวถังรถโดยสารที่อําเเภอ บานโปง จังหวัดราชบุรี โดยโรงงานทัทังั้ 2 แหงนี้ มีคนงานทัง้ หมดประมาณ 700 คน ผลิต และมีความพรอมทีจ่ ะเพิม่ กําลังการผลิ ไมวาจะเปนการขยายโรงงานเพิ่ม หรือ เพิ่ ม เวลาทํ า งานอี ก กะหนึ่ ง ให กั บ ดใใน พนักงาน หากความตองการของตลาดใน ประเทศ หรือตลาดสงออกในอาเซีซียน เพิ่มมากขึ้น
เตรียมตั้งแผนก R&D เปนบริษัทลูก
ดวยการทําธุรกิจทีเ่ ปนสากลจึ ลจึง
LAW KNOWLEDGE • BUS&TRUCK 15
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
รู้กฎก่อนขับ
ทุ ก อาชี พ บนโลกใบนี้ มี ทั้ ง มื อ อาชี พ และฝ มื อ ยั ง ไม ถึ ง ขั้ น มื อ อาชี พ การขั บ รถมั ก จะถู ก มองว า เป น สิ่ ง ที่ งาย ๆ ใคร ๆ ก็สามารถจะขับได จริง ครับใครที่มีใบขับขี่ก็สามารถขับรถหรือ ทําใหรถเคลื�อนไปขางหนา - ถอยหลัง ไดจริง ผมมองวาอาชีพขับรถเปนอาชีพ ที่ “ยาก” มาก ๆ อาชีพหนึง่ เพราะ “เปน อาชีพทีต่ อ งลงมือปฏิบตั จิ ริง” นอกจาก นัน้ แลวสถานทีป่ ฏิบตั งิ านยังเต็มไปดวย ตั ว แปรประกอบดว ยคนเดิ น เท า รถ จักรยาน รถจักรยานยนต รถนั่งสวน บุ ค คล รถบรรทุ ก เล็ ก ใหญ ต า ง ๆ มากมายที่รวมใชถนน สวนพวกตัวแปร คงที่อยางเชน สถานที่คับแคบ ทางชัน ทางโคง พวกสิง่ เหลานี้ไมมกี ารเคลื�อนที่ พอคุนเคยและไดผานบอย ๆ ก็จะเริ่ม เกิดความเคยชินและจะไมสรางปญหา อะไรใหเปนที่นาวิตกกังวลอีกตอไป สิง่ ทีบ่ รรดานักขับรถทีจ่ ดั อยูใ นกลุม ที่มีทัศนะคติมืออาชีพก็พอจะสังเกตเห็น ได โดยไมยากนัก ยกตัวอยางการเปนมือ อาชีพในระดับพื้นฐาน เชน ความสะอาด ในการแตงเนื้อแตงตัวของเขาเอง ความ สะอาดของรถที่เขาขับ การปฏิบัติการ ตามขั้ น ตอนกฎระเบี ย บของบริ ษั ท ใน การเตรียมรถ ในการตรวจรถ ในการ เตรี ย มความพร อ มสํ า หรั บ การจะเริ่ ม ปฏิบัติงาน ความเรียบรอยในการกรอก เขียนเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของ การ ปฏิบัติตามกฎจราจร เปนตน การจะเปน มืออาชีพนั้น สวนหนึ่งเกิดจากการไดมี โอกาสอยูในสภาพแวดลอมที่สงเสริม สนับสนุนกระตุน ใหเกิดการเปลีย่ นแปลง ให เ ข า กลุ ม ใหญ ห รื อ หากจะพู ด แบบ บ า น ๆ ก็ คื อ การปรั บ ตั ว เข า กั บ สิ่ ง แวดลอมนั่นเอง เขาเมืองตาหลิ่วตอง หลิว่ ตาตาม (ในดานสรางสรรค) ตัวอยาง การเป น อาชี พ ในดั บ แนวหน า ก็ น า จะ ประกอบดวย “รูความรู ในการปฏิบัติ งาน” เชน สามารถอธิบายไดวา ทําไม ตองขับรถบรรทุกกึง่ พวงดวยความเร็วไม เกิน 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง คําตอบของ นักขับทั่วไปที่ฝมือยังไมถึงขั้นระดับแนว หนาก็อาจจะตอบวา ออ เพราะปฏิบัติ ตามกฎหมายกฎจราจร และตามข อ กําหนดของบริษัทที่หามความเร็วเกิน เพราะหากขับความเร็วเกินแลวจะถูกตัด เงิน จะถูกพักงานและอาจจะถูกเลิกจาง ตัวอยางความรูในเชิงลึกทีน่ กั ขับรถระดับ แนวหน า หรื อ มี ทั ศ นะคติ มื อ อาชี พ ก็ มี มากมาย เชน ที่ตองขับความเร็วไมเกิน 60 กิโลเมตรตอชั่วโมงก็เพราะวารถกึ่ง พวงมีขนาดใหญ บรรทุกสินคามาเต็มคัน รถ หากรถคันใหญเกิดอุบัติเหตุก็จะสง ผลกระทบตอสังคม ตอระบบการจราจร สรางปญหาใหกับคนอื�น ๆ ทําใหรถติด
ทัศนคติมืออาชีพ
ทั ศ น ะ ค ติ มื อ อาชีพ สามารถ สรางได เปนทั้ง พรสวรรค แ ละ พรแสวง คนขับ ที่ รู ค ว า ม รู ใ น การปฏิ บัติ ง าน เขาก็ จ ะมี ค วาม มั่ น ใจ มี ค วาม มั่ น คงในอาชี พ ขับรถ
การขั บ รถใหญ ต อ งพยายามขั บ ด ว ย ความเร็วตํ่า ในระหวางการเดินทางหาก งวงเพลียก็ตองไมฝนขับ ตองหาสถานที่ ปลอดภัย แจงใหตนสังกัดทราบแลวก็ นอนงีบหลับพักผอนเพื�อใหรางกายหาย เหนื�อยหายเพลียจึงคอยปฏิบัติหนาที่ขับ รถตอไปใหถงึ จุดหมายปลายทาง เปนตน ที่กลาวมาเปนเพียงตัวอยางบาง สวน ถาเราสอบถามผูประกอบอาชีพขับ รถ ถามหลาย ๆ คนเราก็จะไดคําตอบที่ คอนขางหลากหลาย ทัศนะคติมืออาชีพ สามารถสรางได เปนทั้งพรสวรรคและ พรแสวง คนขับที่รูความรู ในการปฏิบัติ งานเขาก็จะมีความมั่นใจ มีความมั่นคง ในอาชีพขับรถ เพราะสามารถตระหนัก หยั่งรูไดทุกเรื�องทั้งเรื�องของสินคา เรื�อง ของรถ เรื�องของกฎหมาย เรื�องความรับ ผิ ด ชอบต อ ชี วิ ต ชี ว อนามั ย รวมทั้ ง สิ่ ง แวดลอมตาง ๆ ดวย พอเขารู เขาก็ปฏิบตั ิ พอเขาปฏิบัติเขาก็กลายเป นนักขับรถ บรรทุกในระดับมืออาชีพ การกาวขั้นให ถึงมืออาชีพไมใชเรื�องไกลเกินเอือ้ มอีกตอ
ไปแลว เพราะทุกวันนีม้ เี ทคโนโลยีทคี่ อย ชวยอํานวย อีกทั้งองคกรขนสงก็มีการ ลงทุนในดานการพัฒนาบุคคลากร หาก ผูปฏิบัติงานขับรถมีความรู ในการปฏิบัติ
งานรับรองวาจะสามารถปฏิบตั งิ านขับรถ บรรทุกไดอยางมีความสุขและเปนผูห นึง่ ที่มีสวนคืนความสุขความปลอดภัยแก สังคม
18 BUS&TRUCK • ASSOCIATION NEWS
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
คบหาสมาคม
สหพันธการขนสงทางบก แหงประเทศไทย
คุ ณ ยู เจี ย รยื น ยงพงศ ประธานสหพั น ธ ก าร ขนสงทางบกแหง ประเทศไทย เปดเผยวา เมื�อ ประมาณปลายเดื อ นเมษายน 2558 ที่ผานมา ทางสหพันธฯ ไดเขา พบรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย เพื�อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ใน การทําใหธรุ กิจการสงออกมีมลู คาเพิม่ มากขึ้น สําหรับขอมูลจากประสบการณ จริงที่ไดนําเสนอไปมีดวยกัน 3 ขอ คือ 1. ใหทางรัฐบาลทําการแก ไข การเก็บภาษีสนิ คา ไมวา จะเปนทัง้ การ ส ง ออกและ นํ า เข า ด ว ย ก ฎ ห ม า ย ที่ กํ า หนดออก มานั้นเหมาะ กั บ การใช ใ น อดีตแตมาใน ยุ ค ป จ จุ บั น นี้ ไ ด มี ก า ร เปลี่ยนแปลง ไปเปนอยางมาก ดังนัน้ จึงตองทําการ เปลี่ยนแปลงกฎระเบียบ เพื�อใหทัน สถานการณในปจจุบนั และในอนาคต 2. ตามจังหวัดชายแดนที่ติดกับ ประเทศเพื�อบานตองแกกฎระเบียบ ใหม ไมวาจะเปนการตรวจสอบสินคา กอนเขาเมือง การตรวจสอบเอกสาร ตาง ๆ ตองทําใหรวดเร็วมากขึน้ เพราะ ขณะนี้รถบรรทุก ต างๆ ทั้ งที่ วิ่งจาก เมืองไทยออกไปประเทศเพื�อนบาน และทั้งจากประเทศเพื�อนบานวิ่งเขา มาในเมืองไทย ตางตองจอดรอขัน้ ตอน การตรวจสอบหลายชั่ ว โมง เพราะ เพียงแครอเอกสารชิน้ เดียวเทานัน้ ซึง่ สงผลกระทบทําใหธุรกิจการคาลาชา ลง ไมเปนไปตามแผนการและเปา หมายที่วางไว 3. ควรจะกําหนดใหผูวาราชการ จังหวัดที่อยูติดกับประเทศเพื�อนบาน ต อ งทํ า การปฏิ รู ป การค า ระหว า ง ประเทศในจั ง หวั ด ใหม นอกจาก เน น ทํ า การค า ภายในจั ง หวั ด แล ว ยังตองมุงทําการคากับประเทศเพื�อน บานใกลเคียงที่ติดกันดวย ตองศึกษา ว า ตลาดในประเทศเพื�อ นบ า นมี ความต อ งการอย า งไร และหากใน จังหวัดมีความถนัดก็ใหมงุ พัฒนาไปใน ทิศทางนั้น ทัง้ หมดนี้ คือ ขอมูลทีผ่ ปู ระกอบ
การขนสงทางบกตางไดพบเห็นมาดวย ตั ว เอง จึ ง ได นํ า มาเป น ข อ มู ล ให ท าง รัฐบาลไดรับทราบเพื�อนําไปแก ไขโดย ดวน เพราะอาจจะทําใหมูลคาในการสง ออก ซึง่ นักวิชาการคาดวา การสงออกใน ป 2558 นี้ จะโตขึ้นเพียง 1% อาจจะเพิ่ม เปน 3% ก็ได
เหลือซึ่งกันละกัน จึงจะทําใหธุรกิจการ ขนสงอยูรอดได
สมาคมขนสงสินคา และโลจิสติกสไทย
คุณชุมพล สายเชื้อ อุ ป น า ย ก ฝ า ย บริ ห าร สมาคม สมาคมขนสงสินคา ขนสงสินคาและโลจิสติกส ไทย เปดเผย วา สําหรับปญหาที่บรรดาสมาชิกของ ภาคอีสาน คุณพันธุศักดิ์ ศรีสกุล ทางสมาคมฯ ประสบอยูในขณะนี้ คือ รองนายกสมาคมขนสง ทางผังเมืองกรุงเทพมหานครไดทําการ สินคาภาคอีสาน เปด ไลพนื้ ทีท่ ที่ าํ งานของผูป ระกอบการขนสง เผยวา ดวยสถานการณหนาแลงที่จะมา ทางบกที่พุทธมณฑลสาย 2 สาย 3 และ ถึงในอีก 2 เดือนขางหนานี้ ไดสอเคามา สาย 4 อยางหนัก เนื�องมาจากเปนพื้นที่ เพื�อ การเกษตร ใหบรรดา กรรมและพั ก สมาชิกไดทราบ อาศัย เพราะมี วา งานขนสงจะ หมู บ า นและที่ เริ่ ม ลดน อ ยลง อยู อ าศั ย ใหม และหมดไป ซึ่ง เพิ่มขึ้นมาอยาง ในปนี้คาดวาจะ มากมาย หนักวาปที่แลว ซึ่ ง ไ ด มี เป น อย า งมาก สมาชิกบางราย อย า งช ว งนี้ แ ม ไดยา ยสํานักงาน จะมี ง านขนส ง พืชผลทางการเกษตรอยูบาง แตเห็นได ไ ป ยั ง ศู น ย ก ล า ง ข น ส ง ที่ บ า ง เ ล น จ.สุพรรณบุรี มีพื้นที่ประมาณ 20 ไร ชัดวาก็ลดนอยลงอยางนาใจหาย ซึ่งบรรดาสมาชิกตางก็คํานวณมา ทํ า ให มี บ ริ ษั ท เพี ย งแค ป ระมาณ 30 ล ว งหน า แล ว ว า จะต อ งมี ก ารประสบ บริษัท เขาไปทํางานได จึงสงผลใหสวน ปญหาอะไรบาง เมื�อไมมีงานขนสงและ กลางขนสงแหงนี้ ไดเตรียมการเปดศูนย รายไดเขามา ผลกระทบอยางแรกคือ เงิน แหงใหม ซึง่ เปดใหอยูก บั สถานทีแ่ หงเดิม หมุนเวียนในบริษัท ทางบริษัทจึงจําเปน บนเนือ้ ทีป่ ระมาณ 70 ไร ทําใหมเี พียงแค ตองลดตนทุนที่ไมคอยจําเปนออกไป รถ ประมาณ 100 บริษัทที่สามารถเขาไป ใหญทยี่ งั ติดคางไฟแนนซอยู ตองจอดอยู ทํางานไดเทานั้น จากการสํารวจพื้นที่ใน ริมถนนเพราะยังไมมีงานใหวิ่ง บริษัท การเดินทางเพื�อการขนสงไปทั่วประเทศ ตองทําการเจรจากับทางบริษัทไฟแนนซ นัน้ พบวา การเดินทางยากยิง่ ขึน้ กวาเดิม เพือ� ใหชวยเหลือเรื�องลดหยอนดอกเบี้ย เนื�องจากสถานที่ ไกลกวาเดิม ซึ่งทําให การผอนรายเดือน โดยยังไมตองถูกทาง ต นทุนแพงขึ้ นไปดวย แตก็ถื อ วาเปน ทางออกทีด่ ที สี่ ดุ ในตอนนีเ้ พราะจะไมโดน ไฟแนนซยึดรถไป นอกจากนี้ ในการประชุมสัญจรใน ไลที่อีก จากในอดีตทีผ่ า นมากลุม ผูป ระกอบ แตละจังหวัดทางภาคอีสาน คายรถใหญ ก็มีการงดเปนสปอนเซอรหลักในการจัด การขนสงทางบกไดถกู ไลทมี่ าประมาณ 3 ประชุม เนื�องจากแทบจะไมมีผูประกอบ ครั้งแลว โดยเริ่มตนจะรวมกลุมกันไปตั้ง การขนสงรายใดสัง่ ซือ้ รถใหญคนั ใหมเลย สํานักงานในสถานที่หางไกลความเจริญ เพราะยังไมมใี ครกลาเสีย่ งลงทุนลวงหนา แตเมื�อมีจํานวนรถใหญวิ่งมากขึ้น ความ เจริ ญ และชุ ม ชนก็ มี ค วามเจริ ญ ตาม ประกอบกับงานขนสงก็ลดนอยลงไป ดานความคิดเห็นสวนตัวแลว ทาง เขาไป กลุมผูประกอบการก็จะถูกไลที่มา ชมรมขนส ง ทั้ ง ในจั ง หวั ด ขอนแก น โดยตลอด เพราะทําใหการจราจรแออัด จังหวัดหนองคาย จังหวัดมุกดาหาร ตาง และสรางมลพิษทางอากาศอีกดวย สําหรับการแกปญหาที่ดีที่สุดเพื�อ มีความเขมแขงเปนอยางมาก ใหความ ชวยเหลือเกือ้ กูลกัน ดวยการกระจายงาน ไมใหกลุม ผูป ระกอบการขนสงทางบกถูก ขนสงที่ไดรบั มา และไมมกี ารแขงขันดาน ไลที่ทํามาหากินอีกก็คือ ใหทางรัฐบาล การลดราคาการขนสงอีกดวย เพื�อการอยู กําหนดพื้นที่ตั้งนิคมการขนสงขึ้นมาเลย รอดของเพื�อ นพั น ธมิ ต รต า งต อ งช ว ย โดยจะตองมีพนื้ ที่โดยประมาณ 1,000 ไร
เปนอยางตํ่า และสามารถเดินทางได สะดวกทัว่ ประเทศ สวนการลงทุน การ ออกแบบกอสรางอาคารและถนนนั้น ทางกลุมผูประกอบการขนสงทางบก ก็พรอมที่จะเปนผูลงทุนเองเพราะตอ ไปในอนาคต การขนสงของเมืองไทย จะมีการเติบโตขึ้นจนเปนศูนยกลาง ของอาเซียน
สมาคมผูประกอบการ รถขนสงทั่วไทย
คุ ณ วสุ เ ชษฐ โสภณ เสถียร นายกสมาคมผู ประกอบการรถขนสงทัว่ ไทย กลาววา เมื�อวันที่ 9 - 1 0 พฤษภาคมที่ ผานมา ทาง สมาคมฯ ได จัดแรลลี่เปน ครั้งแรก โดย เดิ น ทางไปที่ จังหวัดชลบุรี และให ส ม า ชิ ก ไ ด รวมทําบุญปลูกปะการังในทะเล โดย จุดมุงหมายที่สําคัญคือ การจัดหาเงิน ทุนเพื�อตั้งโรงเรียนสอนขับรถใหญให กับสมาชิก ปญหาที่บรรดาสมาชิกประสบ อยู ก็ คื อ การขาดแคลนคนขั บ รถ โดยสาร แม ว า จะมี ร ถโดยสารเป น จํานวนมากแตมคี นขับเปนจํานวนนอย จึงเปนการลงทุนที่สูญเปลา เพราะไม ไดใชงานอยางเต็มที่นั่นเอง สําหรับการตั้งโรงเรียนสอนขับ รถใหญนี้ จะไดรับการสนับสนุนจาก กรมการขนสงทางบก กรมพัฒนาฝมอื แรงงาน และผูเชี่ยวชาญการขับรถ โดยสาร คาดวาจะเปดสอนไดภายใน ปลายป 2558 นี้ และจะมีผจู บหลักสูตร ประมาณ 50-100 คน ซึง่ จะเปนคนขับ ที่ผู โดยสารสั่งจองใหขับรถโดยสารที่ เชาเปนการเฉพาะ เนื�องจากมีฝมือใน การขับรถโดยสารอยางปลอดภัยและ มีการดูแลผู โดยสารเปนอยางดีพรอม ยังใหความชวยเหลืออยางเปนมิตรใน ทุก ๆ เรื�อง งานนี้ ถื อ เป น งานหลั ก ของป 2558 ที่ทางสมาคมฯ ตองทําใหสําเร็จ ให ไ ด เ พื�อ ผู โ ดยสารทั้ ง ในและต า ง ประเทศจะใหความไว ใจใชบริการรถ โดยสารไมประจําทาง
GOSSIP • BUS&TRUCK 19
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
ชุมทางขนส่ง
สวั ส ดี ค รั บ ขอต อ นรั บ สมาชิ ก นิตยสาร BUS & TRUCK ทุกทาน มา พบกันอีกในฉบับที่ 269 ปกษแรกเดือน พฤษภาคม 2558 หลังจากที่ ไดทํางาน หนักมาไดเกือบ 4 เดือนก็ถือวาพอจะ ประทังชีวิตใหอยูรอดได เพราะภาวะ เศรษฐกิจยังเติบโตอยางเชื�องชา จึงขอ เปนสวนหนึ่งที่จะที่ชวยผอนคลายให ชีวิตมีสีสันบาง ไมวาจะเปนเรื�องที่มี สาระและไมมีสาระที่จะสรางความยิ้ม แยมเฮฮาใหกับเพื�อนสมาชิก YYY เริ่มกันที่กระทรวงคมนาคม เล็งนําเขารถเมลระบบไฟฟา 500 คัน มาทดลองใช เพื�อเปรียบเทียบคาใชจาย กับระบบ NGV โดยมีความเชื�อวา ระบบ ไฟฟาจะมีตนทุนถูกกวา NGV ที่อนาคต อาจจะตองนําเขาจากตางประเทศ คุณ พงษ ไชย เกษมทวี ศั ก ดิ์ รองปลั ด กระทรวงคมนาคม บอกวา ภายหลังเปน ประธานการประชุมคณะทํางานศึกษา ความเหมาะสมระบบเชือ้ เพลิงสําหรับรถ โดยสารขององค ก ารขนส ง มวลชน กรุงเทพ หรือ ขสมก.นั้น ที่ประชุมเสนอ ใหนําเขารถโดยสารระบบไฟฟามาทด ลองใชจํานวน 500 คัน เพื�อเปรียบเทียบ ศั ก ยภาพและค า ใช จ า ยระหว า งรถ โดยสารระบบไฟฟาและระบบเอ็นจีวี โดย จะนําเสนอตอ พลอากาศเอก ประจิน จั่ น ตอง รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง คมนาคม กอนเสนอเขาที่ประชุมคณะ รัฐมนตรี รวมถึงสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ หรือ สภาพัฒน พิจารณาตอไป จากผลการศึกษาคาใชจายเปรียบ เทียบ พบวา รถเมล ไฟฟาราคานําเขา รวมภาษีคันละ 15 ลานบาท รถโดยสาร ระบบดีเซลอยูที่คันละ 5 ลานบาท รถ โดยสารระบบ NGV อยูที่คันละ 4.5 ลาน บาท ในระยะยาว 20 ป คาใชจายรวมคา บํารุงรักษา และคาเชื้อเพลิง รถเมล ไฟฟาอยูที่ประมาณ 30 ลานบาท ขณะที่ รถเมลดีเซลจะอยูที่ประมาณ 44 ลาน บาท และรถเมล NGV ประมาณ 34 ลาน บาท อยางไรก็ตาม จะตองมีการคํานวณ ราคา NGV ที่จะปรับขึ้นในอนาคต และ การจัดทําจุดเติมพลังงานไฟฟาจะถูกกวา จุดบริการกาซ NGV เนื�องจากการทํา สถานีเติมกาซจะตองมีการวางแนวทอสง อีกทั้งกาซ NGV มีแนวโนมขาดแคลนใน อนาคต และจะต อ งนํ า เข า จากต า ง ประเทศ ทําใหอนาคตจะมีตนทุนสูงขึ้น สวนสถานีชารจไฟ โดยราคาตัว ชารจประมาณ 300,000 บาทตอตัว ใช เวลาชารจ 5 ชั่วโมง วิ่งไดระยะทาง 250 กิโลเมตร ระบบพลังงานไฟฟาในอนาคต มีแนวโนมทีจ่ ะมีราคาลดลงอีก เนื�องจาก เปนระบบที่กําลังพัฒนาในทั่วโลก
สแกนเนีย สยาม เปดบานใหเยี่ยมชมศูนยบริการฯ สํานักงานใหญ
คุณบันเทิง เจาะปาด ผูจ ดั การฝายเทคนิค บริษทั สแกนเนีย สยาม จํากัด เปนตัวแทน ตอนรับคณะทํางานหนวยงานซอมบํารุงและตรวจสภาพรถ (รังสิต) บริษัท ขนสง จํากัด และ บริษทั บัส คารเรนท กรุป จํากัด เพื�อใหความรูด า นนวัตกรรมดานเทคโนโลยีเครื�องยนต ระบบ ความปลอดภัย การประหยัดพลังงาน และนําชมความพรอมในการใหบริการดูแลและซอม บํารุงรถบัสโดยสารและรถบรรทุก ณ บริษัท สแกนเนีย สยาม จํากัด สํานักงานใหญ YYY ฟากรัฐมนตรีวา การกระทรวง คมนาคมพรอมรับลูก บอกวา ตั้งใจจะ ทําใหประชาชนเดินทางอยางปลอดภัย และเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงเรื�อ งการใช พลังงาน เชน เปลี่ยนจากรถเมลเอ็นจีวี เปนรถไฟฟา ซึ่งนายกรัฐมนตรีใหความ สําคัญในเรื�องนี้ เพราะระยะยาวการใช รถเมล ไฟฟาประหยัดกวา ขณะเดียวกัน คาดหวังวาในป 2575 รถไฟไทยจะเปลีย่ น มาใชระบบรถไฟฟาดวย นอกจากนี้ จะเร ง เดิ น หน า ใน โครงการรถไฟไทย-จีน ที่ไดลงนามความ รวมมือกับรัฐบาลจีน ดําเนินโครงการ ก อ สร า งรถไฟทางคู ขนาดมาตรฐาน 1.435 เมตร ระยะทาง 873 กม. แบงงาน กอสรางเปน 4 ชวง กรุงเทพฯ-แกงคอย 133 กม. แกงคอย-มาบตาพุด 246.5 กม. แกงคอย-นครราชสีมา 138.5 กม. และ นครราชสีมา-หนองคาย 355 กม. คาดวา จะเปดใหบริการในป 2561 พร อ มเร ง ดํ า เนิ น การในบั น ทึ ก แสดงเจตจํานงรวมกับรัฐบาลญี่ปุน เพื�อ พัฒนาความรวมมือโครงการรถไฟทางคู รางมาตรฐาน 1.435 เมตร 2 เสนทาง คือ กาญจนบุรี-กรุงเทพฯ-อรัญประเทศแหลมฉบัง เชื�อมโยงกับโครงการทาเรือ นํ้าลึกทวาย และกรุงเทพฯ-พิษณุโลกเชียงใหม สวนเสนทาง ตาก-พิษณุโลกเพชรบูรณ-ขอนแกน-รอยเอ็ด-มุกดาหาร จะช ว ยศึ ก ษา คาดว า จะลงนามใน เอ็มโอยูเพื�อพัฒนาทางรถไฟไทย-ญี่ปุน ไดภายใน พ.ค.นี้ และเริ่มกอสรางภายใน ป 2559 ซึ่งญี่ปุนสนใจลงทุนโครงการ รถไฟฟาความเร็วสูง เสนทาง กทม.เชียงใหมดวย นอกจากนี้ นายกรั ฐ มนตรี มี นโยบาย ใหเรงดําเนินการโครงการรถไฟ ความเร็วสูง 2 เสนทาง คือ เสนทาง กทม.-หัวหิน 211 กม. วงเงิน 81,136 ลาน บาท และเสนทาง กทม.-พัทยา-ระยอง 193.5 กม. วงเงิน 152,712 ลานบาท ซึ่ง อยูระหวางพิจารณาผลกระทบดานสิ่ง แวดล อ ม เพื�อ เสนอให ค ณะรั ฐ มนตรี พิจารณาในเดือน มิ.ย.นี้ โดยจะเปดให เอกชนเขามาดําเนินการดวย
ปตท. รับรางวัล Asian Excellence Awards 2015
คุณวิรตั น เอือ้ นฤมิต ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารการเงิน บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) รับรางวัลยอดเยี่ยมเอเชียประจําป 2558 (Asian Excellence Awards 2015) โดยในปนี้ ปตท. ไดรับทั้งสิ้น 6 รางวัล ไดแก รางวัลซีอีโอยอดเยี่ยมแหงเอเชีย (Asia’s Best CEO) รางวัลซีเอฟโอยอดเยีย่ มแหงเอเชีย (Asia’s Best CFO) รางวัลนักลงทุนสัมพันธมอื อาชีพ ยอดเยี่ยม (Best Investor Relations Professional) และประเภทองคกร ไดแก รางวัล ซีเอสอารยอดเยี่ยม (Best CSR) และ รางวัลนักลงทุนสัมพันธยอดเยี่ยม (Best Investor Relations Company) จัดโดยนิตยสาร Corporate Governance Asia ซึ่งเปนนิตยสาร การเงินการลงทุนชั้นนําในเอเชีย
กูดเยียร รณรงคความปลอดภัยบนทองถนน ชวงเทศกาลสงกรานต 2558
กูด เยียร ประเทศไทย รวมกับกองบังคับการตํารวจจราจร (บก.จร.) รณรงคเรื�องความ ปลอดภัยบนทองถนนในชวงเทศกาลสงกรานตป 2558 พรอมปลุกจิตสํานึกเรื�องการขับขีอ่ ยาง ปลอดภัย เพื�อลดอุบัติเหตุบนทองถนนในชวงเทศกาล ในโครงการ “งวงไมขับ กลับบาน ปลอดภัย” รวมถึงใหการสนับสนุนวิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค เพื�อใหคําแนะนําเกี่ยวกับวิธี การแกปญหาเกี่ยวกับรถยนตในชวงเทศกาลสงกรานต
โตโยตา แคร จัดแคมเปญคืนกําไรลูกคาตอประกันภัยรถยนต
คุณศิตชัย จีระธัญญาสกุล (ที่ 5 จากขวา) ที่ปรึกษาบริหาร บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด พรอมดวยคณะผูบริหารและผูแทนจําหนายฯ มอบรางวัลรถยนตโตโยตา 3 คัน สําหรับลูกคาผู โชคดีที่ตอประกันภัยชั้น 1 โตโยตา แคร ในแคมเปญ “สบายใจ 2 เทา ลุนโชค 2 ตอ” ณ The Style by Toyota สยามสแควร นอกจากรางวัลรถยนตโตโยตาแลว ยังมีรางวัลอื�น ๆ มากมายกวา 386 รางวัล รวมมูลคาทั้งสิ้น 3,576,000 บาท
20 BUS&TRUCK • GOSSIP
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
ชุมทางขนส่ง
YYY อีซูซุกวาด 7 รางวัลรถยอด เยี่ยมแหงป 2015 โดย คุณฮิโรชิ นาคางาวะ กรรมการผูจัดการ บริษัท ตรีเพชร อีซซู เุ ซลส จํากัด พรอมคณะผูบ ริหาร รับ มอบ 7 รางวัลรถยอดเยีย่ มประจําป 2015 หรือ “Car of the Year 2015” จาก ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ปลัดกระทรวง อุตสาหกรรม ไดแก 1.รางวัลรถปกอัพ ประหยั ด นํ้ า มั น ยอดเยี่ ย มเครื�อ งยนต 2,500 ซีซี : อีซูซุดีแมคซ 2.รางวัลรถ ปกอัพขับเคลื�อนสี่ลอยอดเยี่ยม : อีซูซุ ดีแมคซ วี-ครอส 3.รางวั ล รถยนต นั่ ง อเนกประสงคขบั เคลื�อน 2 ลอ ดีเซลยอด เยี่ยม : อีซูซุมิว-เอ็กซ 4.รางวัลรถปกอัพ เทคโนโลยียอดเยีย่ ม : อีซซู ดุ แี มคซพรอม เทคโนโลยี อั จ ฉริ ย ะ “อี ซู ซุ อิ น ไซท ” 5.รางวัลรถยนตนั่งอเนกประสงคยอด นิยมดวยยอดจําหนายมากกวา 20,000 คันใน 1 ป : อีซูซุมิว-เอ็กซ 6.รางวัลรถ ปกอัพขับเคลื�อน 2 ลอยอดเยี่ยม : อีซูซุ ดีแมคซ และ 7.รางวัลโครงการเพื�อสังคม ยอดเยี่ยมแหงป โครงการ “อีซูซุใหนํ้า... เพื�อชีวิต”
YYY มาที่คาย ทาทา มอเตอรส แตงตั้งผูบริหารใหม มั่นใจพัฒนาพรอม เพิม่ กลยุทธดา นการขาย โดยทาง บริษทั ทาทา มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด ประกาศแตงตั้ง คุณกฤษณะ เศรษฐธรางกูร เปนผูบริหารฝายขาย บริษัท ทาทา มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด คน
ใหมอยางเปนทางการ เพื�อดูแลกลยุทธ ดานการขายทั่วประเทศใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทางดาน คุณซานเจย มิชรา กรรมการผูจัดการ บริษัท ทาทา มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด บอกวา การแตงตั้ง คุณกฤษณะ ผูบริหารฝาย ขายคนใหมในครั้งนี้ ทาทา มอเตอรส มี ความยินดีอยางยิ่งที่ ไดคุณกฤษณะเขา มารวมงาน ดวยประสบการณบริหารงาน ดานการขายในแวดวงอุตสาหกรรมยาน ยนต ก ว า 20 ป ทํ า ให มั่ น ใจว า คุ ณ กฤษณะ จะเขามาชวยพัฒนากลยุทธ ดานการขายของ ทาทา มอเตอรส ใหดี ยิ่ ง ขึ้ น ในป นี้ แ ละในอนาคตได อ ย า ง แนนอน ก อ นที่ คุ ณ กฤษณะจะเข า มารั บ ตําแหนงเปนผูบ ริหารฝายขายของ ทาทา มอเตอรส ประเทศไทย คุณกฤษณะ เคย ดํารงตําแหนงเปนผูบริหารงานดานการ ขาย การตลาด วางกลยุ ท ธ ด า นการ บริการลูกคาและการใหบริการหลังการ ข า ย ใ ห กั บ ห ล า ย บ ริ ษั ท ชั้ น นํ า ใ น อุตสาหกรรมยานยนต รวมทั้งยังเคย ดํารงตําแหนงเปนรองผูจัดการใหญดาน การขายและเปนคณะกรรมการบริหารใน บริษทั ผูผ ลิตและจําหนายรถจักรยานยนต ชั้นนําของเมืองไทย YYY สวนคาย “ฟูโซ” ที่มี “พี่เอ” หรือ คุณธนภัทร อินทรวิพันธ เปนแกน นํา ก็ไมยอมแพตอเศรษฐกิจที่ชะลอตัว อยู เตรี ย มกระตุ น ความต อ งการของ ตลาดขนสงใหเดินหนา เตรียมนํารถรุน ใหม 4 รุนรวดมาเปดตัว ในเดือนมิ.ย.ศก นี้ และที่สําคัญก็เตรียมโปรโมชั่นเด็ด ๆ ไวลอใจลูกคาอยางหลากหลายรูปแบบ มั่นใจวายอดขายโดยรวมในปนี้จะตอง เปนไปตามเปาที่วางไว 2,000 คันอยาง แนนอน YYY ส ว นคุ ณ สุ ร ชั ย ชั ย ตระกู ล ทอง บอสใหญของอู RCK รุงเจริญ ได เตรียมยายโรงงานทั้ง 3 แหง ที่ศรีราชา 2 แหง และชลบุรี 1 แหง ไปที่นิคม อุตสาหกรรม อีสเทิรน ซีบอรด ทีจ่ .ระยอง ซึ่งจะเริ่มดําเนินงานไดตนป 2559 แมวา จะวางแผนการใหญ แตก็ยังหวงใยคน งานทั้ง 700 คน ที่ตองทําการยายที่อยู ตามไปดวย จึงตองใหเวลา ไมวาจะเปน เรื�องที่อยูอาศัย การยายโรงเรียนของ บุตรหลาน รวมทัง้ สวัสดิการตาง ๆ ทีม่ อบ ให เ พื�อ เป น แรงจู ง ใจให พ นั ก งานอยู ทํางานตอ จึงเห็นไดวาเปนตัวอยางที่ดีที่ “เจานาย” ยังใหความใสใจลูกนองอยู แบบนี้ตองเปนอูตอรถอันดับตน ๆ ของ เมืองไทยเชนเดิมแน ดานการเปดตัวถังรถบรรทุกนํา้ มัน แบบอลูมิเนียมใหมนั้น แมวาตัวถังจะมี คุณภาพระดับเปนสากลแลว ทาง RCK
RCK เปดตัวรถบรรทุกนํ้ามันรุนใหม “แท็งคอลูมินั่ม อัลลอยด”
คุณสุรชัย ชัยตระกูลทอง ประธาน บริษทั อาร ซี เค รุง เจริญ จํากัด เปดตัวนวัตกรรม “แท็งคอลูมินั่ม อัลลอยด” ผลิตภัณฑใหมที่มีการพัฒนาและตอยอดเรื�องคุณภาพจากเดิมใหมี คุณภาพที่สูงขึ้น ตรงตามความตองการของลูกคาดานความแข็งแรง นํ้าหนักเบา ไมมีปญหา เรื�องแตกราวของแท็งค สามารถบรรทุกไดมากขึ้นไมตองเสียเวลาเรื�องการซอมบํารุง ถูกตอง ตากขอกําหนดมาตรฐานที่เกี่ยวของกับการขนสงวัตถุอันตราย เปดราคาเพียง 3.2 ลานบาท และติดตั้ง GPS ใหฟรีอีกดวยพรอมสงมอบภายใน 20 วัน
รุงเจริญ ก็ยังใหความใสใจตอเพื�อรวม ถนน ไมวาจะเปนไฟทายที่เอนออกดาน
ขาง ไมสองตรงไปกระทบสายตาของคน ขับรถทีข่ บั ตามหลัง รวมทัง้ ยังมีกนั โคลน
ปกษแรก พฤษภาคม 2558
สาว TOYOTAI
GOSSIP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
ที่กวางออกมาเลยลอรถ เพื�อปองกันไม ให โคลนกระเด็นออกไปใสรถคันอื�นที่อยู ดานขาง เพราะหวงใยวาในหนาฝนจะสง ผลไปทํารายเจาของรถที่เพิ่งลางรถออก มา YYY คุณ Nash Nie ผูจัดการฝาย ขายธุรกิจตางประเทศ ของคาย “ยูทง” ประเทศจีน ถือไดวาไดกลายมาเปนคน
ไทยครึ่งตัวแลว เพราะเมื�อ 5 ปที่แลว ได นํารถโรงเรียนเขามาเปดตัวที่ไทย โดยได
จัดงานใหญที่ จ.เชียงใหมเปนที่แรก ตอ มาไดมาจัดงานตอที่ จ.ลําปาง และก็ได พบรักกับสาวลําปาง เมื�อเวลาผานไป 2 ปก็ไดแตงงานกัน จนสามารถพูดไดทั้ง 3 ภาษา ทั้งจีน ไทย และอังกฤษ แบบนี้คง ตองยายที่อยูมาอยูที่เมืองไทยแน YYY สุดทายมาดูกีฬาอดิเรกของ “คุณเอ็ม” หรือ “คุณเกียรติศกั ดิ์ ภูอคั รนันท” ผูจัดการโรงงาน “เบาะดํารง ศิลป” จากที่ตองทําการบริหารงานมา อยางหนัก เพื�อดันใหมยี อดขายเปนเบอร 1 ทั้งของเมืองไทยและอาเซียน ก็ตอง แบงเวลาไปทํากิจกรรมตามทีช่ อบ นัน่ คือ การดํานํ้าดูปะการังใตทะเล ที่ ไหนสวย ไมวาจะเปนเมืองไทยหรือตางประเทศก็ ไปหมด ทั้งนี้ ยังมีหมูคณะออฟโรด ที่รัก ธรรมชาติ ชอบไปลุยปาขึน้ เขาในสถานที่ UNSEEN พรอมกันนีย้ งั รักธรรมชาติและ รักโลก ไปไหนมาไหนไมเคยทิ้งขยะไว ตามสถานทีท่ อ งเทีย่ วใด ๆ สักแหง มีขยะ มากนอยเพียงใด ขนกลับขึ้นรถหมด ซึ่ง ถือเปนแบบอยางที่ดี ที่สังคมตองการ พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ
21
นิปปอนเพนต มอบสี 2 ลานบาท ใหชมรมวิชาชีพเทคโนโลยีตัวถังและสีรถยนต
คุณทวีชัย ตังธนาวิรุตม ผูจัดการทั่วไป บริษัท เอ็นพี ออโต รีฟนิช จํากัด ในเครือ นิปปอนเพนต (ที่ 4 จากซาย) มอบผลิตภัณฑสีพนซอมรถยนต สําหรับใชในการเรียนการสอน ดานงานสีรถยนต รวมมูลคา 2 ลานบาท แกชมรมวิชาชีพเทคโนโลยีตัวถังและสีรถยนต โดยมี คุณปทมา วีระวานิช ผูอ าํ นวยการสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา (สสอ.) เปนผูร บั มอบในนามของ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ทีศ่ นู ยฝก อบรม บริษทั นิปปอนเพนต (ประเทศไทย) จํากัด
“มิตซู ชูเกียรติยนต นคร” ผูจําหนายมาตรฐานในนครศรีธรรมราช
คุณโมะริคาซุ ชกคิ กรรรมการผูจัดการใหญ บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด (ที่4 จากซาย) พรอมดวย ชูเกียรติ ปติเจริญกิจ ประธาน กลุมบริษัทในเครือชูเกียรติ (ที่ 4 จากขวา) และผูบริหารของบริษัทใหการตอนรับ หมอมราชวงศ ปรีดิยาธร เทวกุล รอง นายกรัฐมนตรี ซึ่งใหเกียรติรวมแสดงความยินดีในโอกาสเปดดําเนินงานใหบริการทั้งโชวรูม และศูนยบริการมาตรฐานมิตซูบิชิเต็มรูปแหงใหมในจังหวัดนครศรีธรรมราชอยางเปนทางการ ภายใตชื�อ “บริษัท มิตซู ชูเกียรติยนต นคร จํากัด”
ปตท. ยกยองเด็กปมฮีโร มอบรางวัลเปนแบบอยางที่ดีของสังคม
คุณสรัญ รังคสิริ ประธานเจาหนาปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มอบประกาศนียบัตรและเงินรางวัลแก นางสาวบุศรินทร จงประสพ โชคชัย และนายติว โด พนักงานหนาลาน สถานีบริการนํ้ามัน ปตท. หจก. รุงพิทักษบริการ จ.ฉะเชิงเทรา จํานวนคนละ 10,000 บาท เพื�อยกยองและชื�นชมทีพ่ นักงานทัง้ สองเขาชวยเหลือ และปกปอง พ.ต.ท.กฤษณ บุญเรืองคณาภรณ (สวป.สภ. พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา) ที่ถูก กลุมวัยรุนทํารายจนบาดเจ็บสาหัสขณะปฏิบัติหนาที่ ถือเปนฮีโร เปนคนดีที่ ปตท. ภาคภูมิใจ และขอเชิดชูใหเปนแบบอยางที่ดีแกสังคมตอไป
มูลนิธิสันติภาพนานาชาติ วางใจเลือก “VW Caravelle”
ศาสตรจารยบรูซ เอ. บอทเลอร : Prof.Bruce A.Beutler (คนซายมือ) ผู ไดรับรางวัล โนเบล สาขาแพทย ป 2011 และดํารงตําแหนงผูอํานวยการศูนยพันธุศาสตร ศูนยการ แพทยเท็กซัสตะวันตกเฉียงใต ในรัฐดัสลัส ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดแสดงปาฐกถา เรื�อง “การตอสูกับโรคติดเชื้อของคนทั่วโลก” ณ หองแกรนดบอลรูม ศูนยการประชุมแหงชาติ สิริกิติ์ อันเปนหนึ่งในกิจกรรมของโครงการ “สานสัมพันธสูสันติวัฒนธรรม ครั้งที่ 5 ประจํา ภูมิภาคอาเซียน” และมอบความไววางใจในการเลือกรถยนต โฟลคสวาเกน รุนเดอะ นิว คาราเวล เปนยานพาหนะสําหรับการเดินทางในกิจกรรมครั้งนี้
22 BUS&TRUCK • VITSIT
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
แวะเวียน
อาร ซี เค โรงงานที่ประเทศเวียดนามลงทุน 40 ลาน สรางโรงผลิต โครงแชสซี ส โ ดยเฉพาะ 200 โครงต อ เดื อ น ชู ม าตรฐานการผลิ ต และ เครื่องจักรมาตรฐาน พรอมขยายธุรกิจรองรับ AEC
เวี ย ดนาม 100 โครง สํ า หรั บ ที่ นี่ ผู ประกอบการเวียดนามจะทําการประกอบ เพลาและสวนอื�น ๆ เอง สินคาทีจ่ าํ หนาย นั้นจะประทับตราสินคา RCK ทุกชิ้นงาน เพื�อเปนการสรางมาตรฐานและใหเปนที่ รูจ กั กันแพรหลายมีความเชื�อถือในสินคา ของ RCK อยางยั่งยืน โดยอีกสวนจะถูก สงมาประเทศไทยที่โรงงานศรีราชาเพื�อ ทํ า การประกอบเพลาและส ว นอื�น ๆ จํานวน 100 โครงตอเดือน สําหรับที่ เวียดนามถือวาเปนจุดยุทธศาสตรในการ สงออกไปยังประเทศตาง ๆ โดยเมื�อเปด AEC จะสามารถลดเงินภาษีนาํ เขาไดเปน จํานวนมาก
ตรวจเช็คมาตรฐาน 100%
บริษัท อาร ซี เค รุงเจริญ จํากัด ในนาม RCK เปดมานโรงงาน ที่ประเทศเวียดนามตั้งอยูที่ 25 ถนน 2 นิคมอุตสาหกรรมสิงคโปรเวียดนาม 2 บินเดือง ประเทศเวียดนาม ดวย เงินลงทุนจํานวนเงิน 40 ลานบาท บน พื้ น ที่ ข นาด 10,000 ตารางเมตร เป น การวางแผนเพื�อ อนาคตเรื�อ ง การกระจายชิ้นสวนอะไหลของ RCK โดยเฉพาะสินคาที่ทําการผลิตและ
ไดการยอมรับคือ แชสซีสกางปลาและ พื้นเรียบ ซึ่งถือวาไดเปดตลาดไวรองรับ เพื�อการสงออกในประเทศเพื�อนบานใน กลุม CLMV ซึ่งเปนประเทศเพื�อนบาน ในละแวกนั้ น และได รั บ ความนิ ย มใน ประเทศเวียดนามอีกดวย
โรงงานเวี ย ดนาม ถื อ ว า เป น โรงงานผลิตชิ้นสวนแชสซีสกางปลาที่มี มาตรฐานสู งโดยเฉพาะเครื�อ งมือและ เครื�อ งจั ก รไมว า จะเป น เครื�อ งตั ด พั บ เครื�องรีด จะถูกติดตั้งขึ้นที่นี่ทั้งหมด โดย มีจุดเดนคือพนักงานซึ่งเปนแรงงานที่ ประเทศเวี ย ดนามมี ค วามขยั น และมี คุณภาพสูง เนื�องจากเปนประเทศกําลัง ข ย า ย ตั ว ท า ง ด า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ อุตสาหกรรม ในขณะที่แรงงานประเทศ เวียดนามตางใหความสนใจการทํางานใน โรงงานตาง ๆ มากขึน้ และมีระเบียบวินยั ในการทํางานสูง ชิ้นงานที่ออกมาจาก โรงงานที่ เ วี ย ดนามจึ ง มี คุ ณ ภาพและ มาตรฐานสูง ผานขั้นตอนการตรวจสอบ ตาง ๆ ไมวาจะเปนการตรวจคาความ เคลื�อนที่ของเหล็กหลังการเชื�อมโดยมี การใชเลเซอรเพื�อดูความเคลื�อนที่ใหมี
กําลังการผลิต 200 โครงตอเดือน
ดวยกําลังการผลิต 200 โครงตอ เดือน จะแบงเปนสงจําหนายในประเทศ
ตรวจสถานี ชื่อบริษัท : บริษัท อาร ซี เค รุงเจริญ จํากัด (เวียดนาม) เปดใหบริการ : พ.ศ. 2528 สถานที่ตั้ง : 25 ถนน 2 นิคมอุตสาหกรรมสิงคโปร เวียดนาม 2 บินเดือง ประเทศเวียดนาม ประเภทบริการ : โรงงานผลิตโครงแชสซีส รถกึ่งพวงกางปลาและกึ่งพวงพื้นเรียบ กําลังการผลิต : 200 โครงตอเดือน
ความเที่ยงตรงสูงที่สุดขางละ 6 จุด รวม 12 จุด
คุณภาพเปนที่ยอมรับ สงผลใหตลาดขยายตัว
ป จจุ บั นตลาดในปร ะ เท ศ เวียดนามเติบโตอยางมากทางบริษัท จึ ง มี ก ารขยายกํ า ลั ง การผลิ ต โดย ดําเนินการสรางโรงผลิตที่สองไวรอง รับเปนทีเ่ รียบรอยแลว ทัง้ การสงออก และความตองการของประเทศไทยที่ จะมีจํานวนมากขึ้นในปนี้ จากแตเดิม นั้นสงมายังประเทศไทย 60% และ จํ า หน า ยที่ ป ระเทศเวี ย ดนามเพี ย ง 30% เทานั้น แตปจจุบันกลับกัน สง เวียดนามสูงถึง 60% และประเทศไทย 30% ถื อ ว า ขยายตั ว เร็ ว มากโดย รั ฐ บาลเวี ย ดนามให ก ารสนั บ สนุ น อุตสาหกรรมตางชาติและพรอมใหนกั ลงทุนตางประเทศเขามาลงทุนเปน จํานวนมากในขณะนีร้ วมถึงนักลงทุน ของไทยที่มองเห็นศักยภาพทางดาน แรงงานของประชากรเวียดนาม และ เมื�อ มองเรื�อ งการลงทุ น แล ว ถื อ ว า เป นการลงทุ นที่ตํ่ากว าการผลิตใน ประเทศไทยมากเนื�องจากคาแรงถูก กว า แต คุ ณ ภาพระเบี ย บวิ นั ย การ ทํางานสูง ซึง่ เปนเหตุผลสําคัญในการ ขยายโรงงาน อาร ซี เค ไปทีเ่ วียดนาม หลังจากบริษทั ตัดสินใจวางแผนระยะ ยาว
SAVE..ENERGY
SAVE..YOURSELF
หาซอืไดที ..
ทวัประเทศ
24 BUS&TRUCK • COMPARISON
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
เปรียบเทียบรถเด่น
บรรทุกเล็ก
150 แรงมา
Canter บรรทุกเล็กสุด
Expert สะดวก แกรง บริ ษั ท ฮี โ น ม อเตอร ส เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูนําแหงยนตร กรรม รถบรรทุกเพื1อการพาณิชย ฉลอง การดําเนินงานครบรอบ 50 ปในเมือง ไทย ดวยการเปดตัวรถบรรทุกขนาด 2-3 ตั น Hino Series 3 Expert ประหยัดเหนือชั้นอยางมืออาชีพ สุด ยอดรถบรรทุกขนาดเล็ก ที่ ไดรับการ พัฒนาใหมเพือ1 ใหมปี ระสิทธิภาพในการ ใชงานสูงสุด และตอบสนองการใชงาน ของลู ก ค า เป น หลั ก ภายใต แ นวคิ ด QDR (คุณภาพ ทนทาน มั่นใจได)
เครื่องยนตประหยัดนํ้ามัน
รถบรรทุก 6 ลอ ในรุน XZU650R การออกแบบที่ โฉบเฉี่ยวลงตัว สําหรับ การใชงานในเมืองที่ตองการความคลอง ตัวโดยเฉพาะ พรอมการบรรทุกไดอยาง เต็ ม พิ กั ด แต ป ระหยั ด นํ้ า มั น สู ง สุ ด ให ความคุม คาทุกการลงทุน ดวยเครื1องยนต รุน N04C-VB เครื1องยนตดีเซลขนาด 4 จังหวะ 4 สูบ เรียงแนวตรง ระบายความ รอนดวยนํ้า เทอร โบอินเตอรคูลเลอร คอมมอนเรล ควบคุมดวยคอมพิวเตอร แบบไดเร็กอินเจ็คชั่น 4,009 ซีซี. 150 แรงมา กําลังสูงสุด 110 กิโลวัตต ที่ 2,800 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 420 นิ ว ตั น เมตร ที่ 1,400 รอบต อ นาที
ความเร็วสูงสุด 127 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทอไอเสียเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ยูโร 3
การขับเคลื่อนมั่นคง
ระบบเกี ย ร 5 เกี ย ร เดิ น หน า โอเวอร ไดรฟ 1-5 ซินโครเมซ คลัตชแบบ แหงแผนเดียว ระบบไฮโดรลิก ปรับตั้ง อั ต โนมั ติ ระบบเบรกแบบไฮโดรลิ ค ประกอบด ว ยก า มเบรกแบบตั ว นํ า คู กระทําทุกลอ 2 วงจรอิสระ หมอลม สุญญากาศชวยเบรก
รูปโฉมภายนอก
ออกแบบหัวเกงใหมหมด ขยาย ขนาดหั ว เก ง ให ใ หญ ม ากยิ่ ง ขึ้ น มี รู ป ลั ก ษณ ส วยงาม แต เ ต็ ม ไปด ว ยความ แข็งแกรง สามารถรองรับนํา้ หนักบรรทุก รวม 4,500 กิ โ ลกรั ม และยั ง เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการลูลมชวยประหยัด พลั ง งานตามหลั ก อากาศพลศาสตร (Aerodynamic) เพิ่มความคลองตัวใน การขึ้ น ลงหั ว เก ง ทั้ ง ของผู ขั บ ขี่ แ ละผู โดยสาร เสริมความปลอดภัยดวยไฟหนา ดี ไ ซน ใ หม แ บบฮาโลเจนพร อ มไฟตั ด หมอก ทําใหสอ งสวางไดในระยะไกล เพิม่ ความปลอดภัยในทุกการขับขี่
ความปลอดภัยเปนเลิศ
ระบบความปลอดภัยสูงสุดทั้งคาน เหล็กนิรภัยบริเวณประตูชวยลดความ
เสียหายเมื1อเกิดอุบัติเหตุ ขนาดของเสา A มีขนาดเล็กลงเพิม่ ทัศนวิสยั ในการมอง ที่ดียิ่งขึ้น และระบบถุงลมนิรภัย SRS ทํางานรวมกับเข็มขัดนิรภัยปองกันการ กระแทกเมื1อ เกิ ด อุ บั ติ เ หตุ สิ่ ง อํ า นวย ความสะดวกอื1น ๆ ไดแก เครื1องปรับ อากาศคุ ณ ภาพสู ง ยี่ ห อ เด็ น โซ เป น มาตรฐานจากโรงงาน ใหความเย็นฉํ่าได ทั่วทั้งหองโดยสาร วิทยุพรอมเครื1องเลน CD และ MP3 ใหคุณเพลิดเพลินอยาง มีระดับในทุกการเดินทาง ชองเก็บของ อเนกประสงคหลายจุด ออกแบบใหหยิบ ใชงานไดสะดวก
บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนายรถบรรทุก เพื1อการพาณิชยหลายแบบหลายขนาด ทีพ่ รอมตอบสนองทุกความตองการของ ทุกธุรกิจ ฟูโซ ยานยนตเพื1อการพาณิชย ชั้นนําของเอเชีย ที่พรอมดวยคุณคา และคุณภาพ ดวยเทคโนโลยีระดับสูง
ระบบขับคลื่นแรงถึงใจ
FUSO CANTER เปนรถบรรทุก ขนาดเล็กซึง่ อยูใ นแผนการตลาดของทาง FUSO เพื1อรองรับความตองการที่หลาก
SPECIFICATION รายละเอียด ลักษณะ เครื่องยนต แรงมาสูงสุด กําลังสูงสุด kW/rpm แรงบิดสูงสุด Nm/rpm ความจุกระบอกสูบ (ซีซี.) ความเร็วสูงสุด กม./ชม. นํ้าหนักรวมสูงสุด (กก.) มาตรฐานไอเสีย รายละเอียดเพ�่มเติม
HINO EXPERT FUSO CANTER รถบรรทุก 6 ลอ ดีเซล N04C-VB 4M50-7AT7 150 150 110/2,800 110/2,700 420/1,400 404/1,500-2,700 4,009 4,899 127 109 8,500 8,400 ยูโร 3 ยูโร 3
บร�ษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2900-5000 บร�ษัท ฟ�โซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2900
SHOWROOM • BUS&TRUCK
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
25
Showroom
Maxus V80 Grand Combi
บริษัท แม็คซัส มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด เปดตัวรถตูทึบรุน V80 Grand Combi รถ ตูบรรทุกอเนกประสงค เชื้อชาติอังกฤษ เปดตัวครั้งแรกในประเทศไทย ตอบสนองนโยบายภาค รัฐ พรบ.การขนสงทางบก (ฉบับที่ 12) ที่ปรับเพดานนํ้าหนักรถยนตบรรทุกสวนบุคคลจากเดิม 1.6 ตันขึ้นเปน 2.2 ตัน รองรับตลาดขนสงสินคาที่มีมูลคาสูงหรือเสียหายไดงาย อาทิ กลุม โลจิสติกส เครื1องใชไฟฟา คอมพิวเตอร กลุมอาหาร เบเกอรี่ โรงแรม และกลุมเฟอรนิเจอร Maxus V80 Grand Combi เปนรถตูทบึ ชวงยาว ความจุหองเก็บสัมภาระมากกวา 10 ลูกบาศก เมตร วางเครื1องยนตดีเซล คอมมอนเรล (Bosch) เทอรโบแปรผัน 2.5 ลิตร 136 แรงมา แรง บิดสูงสุด 330 นิวตันเมตร-เมตร ที่รอบตํ่าเพียง 1,800 รอบตอนาที ทนทาน ใชนํ้ามันอยางคุมคา รายละเอียดเพิ่มเติม : www.maxusmotor.co.th
ดคุม Nissan NP300 Navara Single Cab
หลายของลู ก ค า ให ค รอบคลุ ม ในรุ น CANTER จะตอบสนองเรื1องการขนสง ภายในเมืองไดอยางคลองแคลว สภาวะ ที่เรงดวน CANTER สามารถตอบสนอง ความตองการไดดวยความกะทัดรัดและ ประหยัดเชื้อเพลิง ดวยเครื1องยนตรุน มิตซูบิชิ 4M50-7AT7 ดีเซล 4 จังหวะ 4 สูบ ไดเร็คอินเจ็คชั่น ระบายความรอน ดวยนํ้าพรอมเทอร โบอินเตอรคูลเลอร ระบบคอมมอนเรล กํ า ลั ง สู ง สุ ด 150 แรงมา 110 กิโลวัตต ที่ 2,700 รอบตอ นาที แรงบิดสูงสุด 471 นิวตันเมตร ที่ 1,600 รอบตอนาที ความจุกระบอกสูบ 4,899 ซีซี. เครื1องยนตเปนมิตรตอสิ่ง แวดลอมยูโร 3
แกรง ทนทานเปนหนึ่ง
โครงสรางแข็งแรง แกรงทนทาน รับนํา้ หนักไดดดี ว ยแชสซีสเ หล็กกลาหนา พิเศษแบบขั้นบันได ระบบกันสะเทือน หนาหลังแบบแหนบแผนซอน พรอมโชค อัพแบบ 2 จังหวะ
ขับขี่ปลอดภัย
ระบบขับเคลื1อนของ CANTER ใช เกียรรนุ M036S5และ M036S6 ซึง่ ในรุน นี้สามารถเลือกเกียร ไดทั้ง 5 เกียรเดิน หนาและ 6 เกียรเดินหนา ซึ่งเกียรเดิน หนานัน้ เปนแบบซินโครเมซ เกียร 1 และ
เกียรถอยหลังแบบคอนสแตนทเมซ สวน เรื1องของระบบเบรกนั้น เปนไฮโดรลิค 2 วงจร พรอมระบบเพิ่มแรงดันไฮโดรลิค HHB (Hydraulic Booster Brake) เบรก มือแบบกลไก เบงตัวเบรก กระทําทีเ่ พลา กลาง เบรกชวยแบบไอเสีย เพลาหนา แบบไอบีม รีเวอรสเอลเลียต เพลาหลัง แบบลอยตัว เฟองทดเดี่ยวแบบไฮปอยด
Nissan NP300 Navara Single Cab มาพรอมเครื1องยนต 2 รุน เครื1องยนตดีเซล ขนาด 2.5 ลิตร 4 สูบ กําลังสูงสุด 163 แรงมา ที่ 3,600 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 403 นิวตัน เมตร และเครื1องยนตเบนซินขนาด 2.5 ลิตร 4 สูบ ระบบหัวฉีดมัลติพอยท ใหกําลังแรงสูงสุด 169 แรงมาที่ 6,000 รอบตอนาที แรงบิด 241 นิวตันเมตร โดยทั้งสองเครื1องยนตมาพรอมกับ ระบบเกียรธรรมดา 6 สปด และไดรับการพัฒนาใหประหยัดนํ้ามันเพิ่มขึ้นกวาเดิมสูงสุดถึง 22 % โครงสรางเหล็กกลาไรรอยตอ รองรับนํ้าหนักบรรทุกไดในปริมาณมากและเปนครั้งแรก ของกลุม ตลาดกระบะตอนเดียวและเปนเจาแรกทีม่ กี ารติดตัง้ กลองมองหลัง และติดตัง้ ทีเ่ หยียบ ขึ้นกระบะดานขาง ใหเปนอุปกรณมาตรฐานทุกรุน (ยกเวน Chassis Cab) รายละเอียดเพิ่มเติม : www.nissan.co.th
สายพันธุแทเพื่องานบรรทุก
ห องโดยสารกวา งขวาง สะดวก สบาย และปลอดภัยไดรับการออกแบบ เปนพิเศษ ตามหลักสรีระศาสตร แผง หนาปดโคงมน ควบคุมการทํางานงายแค ปลายนิ้วสัมผัส พรอมเครื1องปรับอากาศ ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ อ ากาศด ว ยระบบ อัตโนมัติ นอกจากนี้ยังมีอุปกรณพิเศษ ตาง ๆ ทีผ่ ลิตจากวัสดุที่ไดมาตรฐาน ออก มาตอบสนองเรื1องแรงมาและการบรรทุก ไดอยางลงตัว ที่มีทั้งกําลังความทนทาน การบรรทุก ตามสโลแกน บรรทุกถึงใจ กําไรถึงคุณ ไม ว า งานในลั ก ษณะไหนทาง CANTER ก็ ไมหวั่นเพราะออกแบบมา เพื1องานบรรทุกและความคลองตัวเปน เลิศ สําหรับรถบรรทุกขนาด 150 แรงมา เชื1อไดวา CANTER ไมเปนรองเรื1องการ ขนสงอยางแนนอน
All-New Mitsubishi Triton Single Cab
All-New Mitsubishi Triton Single Cab หรือกระบะแบบตอนเดียว เปดตัวไปเมื1อปลาย ป จุดเดนตรงทีก่ ระบะทายทีใ่ หญขนึ้ เหมาะสําหรับการบรรทุกไดมากพรอมผนังกระบะแบบสอง ชัน้ ทนทานตอการขนสงหนัก โดยมีซมุ ลอขนาดเล็กเพื1อเพิม่ พืน้ ทีบ่ รรทุกไดเปนพิเศษ แถมคลอง ตัวดวยรัศมีวงเลี้ยวแคบสุดเพียง 5.7 เมตร และ 5.9 เมตร และสิ่งอํานวยความสะดวก ไมวา จะเปนกระจกไฟฟา พรอมเซ็นทรัลล็อค เครื1องปรับอากาศ วิทยุ CD MP3 โดยในรุนนี้ Single Cab มีเครื1องยนตดีเซล VG เทอรโบแปรผัน 178 แรงมาที่ 4,000 รอบตอนาที แรงบิด 400 นิวตันเมตรที่ 2,000 รอบตอนาที ในรุนขับสี่ 4WD และเครือ1 งยนต ดีเซลเทอรโบ อินเตอร คูลเลอร 2.5 ลิตร 128 แรงมา รายละเอียดเพิ่มเติม : www.mitsubishimotors-triton.com
26 BUS&TRUCK • LOGISTICS FOCUS
Logistics Focus
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
อยามองขาม!
“ดานชายแดนบานหาดเล็ก”
ดานชายแดนยังคงเปนประเด็นสําคัญในการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC เนือ ่ งจากเปนศูนยกลาง การคาขายและถือเปนประตูเชื่อมอาเซียนที่นาจับตามองเปนอยางมาก ซึ่งแตละประเทศตางเรงพัฒนาดานการคา ชายแดนของตัวเอง รวมทั้งนําเสนอดานชายแดนที่ควรลงทุนอีกดวย
โดยตั ว เลขของการค า ขาย ชายแดนในปจจุบนั มีการเติบโตอยางดี มาก คุณธวัชชัย เฮงประเสริฐ รอง ประธานสภาอุ ต สาหกรรมแห ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) สายงานสง เสริมการคาชายแดน เผยวา ตัวเลข การคาชายแดนยังเติบโตไดดี โดยยอด การคาชายแดนในป 2558 คาดวาจะมี มูลคาประมาณ 1.1-1.2 ลานลานบาท เติบโตกวาปที่ผานมาไมตํ่ากวา 10% โดยใน ป 2557 มีมลู คาการคาชายแดน ประมาณ 1 ลานลานบาท ขยายตัวสูง กวาป 2556 ประมาณ 6% ซึ่งแบง เปนการสงออก 5.9 แสนลานบาท ขยายตัว 5.26% และนําเขา 4 แสน ลานบาท ขยายตัว 9.3% โดยตลาดการ ค า ชายแดนที่ จ ะขยายตั ว มากที่ สุ ด ไดแก ประเทศกัมพูชา โดยคาดวาในป 2558 ยอดการคาชายแดนกับกัมพูชา
จะมีมูลคาประมาณ 1.2-1.3 แสนลาน บาท หรือขยายตัว 20-30% หากพูดถึงการคาขายชายแดนกับ กัมพูชา จุดผานแดนถาวรบานหาดเล็ก อ.คลองใหญ จ.ตราด ดานชายแดนดาน ตะวันออกของประเทศไทยที่อยูตรงกัน ขามกับ อ.มณฑลสีมา จ.เกาะกง ของ กัมพูชา ถือเปนดานคาขายชายแดนที่ สามารถสรางโอกาสไดไมนอ ย ซึง่ จุดผาน แดนถาวรบานหาดเล็ก ถูกประกาศให เป น จุ ด ผ า นแดนถาวรเมื1อ วั น ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2541 นับเปนชองทางบก
สําคัญทีจ่ ะเชื1อมตอไปยังประเทศกัมพูชา และสามารถเดิ น ทางเข า สู ป ระเทศ เวียดนามตอนใตไดอยางสะดวก ปจจุบันมูลคาการคาชายแดนที่นี่ อยูระหวาง 26,000 - 27,000 ลานบาท ตอป ซึ่งมูลคาการคาเหลานี้มีแนวโนม ทะลุ 30,000 ลานบาท ในอีก 1 - 2 ปนี้ นีเ่ องทีท่ าํ ใหชอ งทางการคาชายแดนบาน หาดเล็กมีมูลคาการคาระหวางไทยและ กัมพูชาสูงเปนอันดับสองรองจากดาน ชายแดนจังหวัดสระแกว ในชวง 4 - 5 ป มานี้ เสนทางการคมนาคมในประเทศ กัมพูชาไดรบั การพัฒนาขึน้ มากทําใหการ ขนสงสินคาทางบกไดรับความนิยมมาก ขึ้นเรื1อย ๆ โดยเฉพาะสินคาที่ตองการให ไปถึงมือผูบริโภคอยางรวดเร็ว เชน พืช ผัก ผลไมตาง ๆ ขณะที่การขนสงสินคา ทางเรือยังเปนชองทางหลักนับจากอดีต จนถึงปจจุบัน ดวยตนทุนในการขนสงที่ถูกกวา โดยสามารถมองตัวอยางการขนสงสินคา ผานทาเทียบเรือชลาลัย ซึ่งเปนทาเทียบ เรือเอกชนขนาดใหญของบานหาดเล็กที่ เปดใหบริการมานานกวา 20 ปแลว ที่นี่ เป น ท า เรื อ รองรั บ การขนถ า ยสิ น ค า อุปโภคบริโภคทีข่ นสงทางรถยนตมาจาก แหลงตาง ๆ ในประเทศไทย กอนทําการ ขนลงเรื อ เพื1อ เดิ น ทางไปยั ง ประเทศ กัมพูชา ซึง่ สินคาสวนใหญจะถูกขนสงไป ที่ทาเรือสีหนุวิลลและกระจายตอไปยัง แหลงตาง ๆ ในประเทศ รวมถึงการขนสง ตอไปยังประเทศเวียดนามบางสวนดวย ดังนั้น การคาชายแดนที่บานหาด เล็ ก แห ง นี้ มี ศั ก ยภาพสู ง อย า งยิ่ ง ที่ สามารถสรางทางเลือกอันหลากหลายใน การขนสงสินคาไปสูต ลาดปลายทางไดทงั้ ทางบกและทางทะเล แต ช ว งนี้ นิ ย ม ขนสงทางรถมากกวา เพราะกัมพูชามี
การพั ฒ นาด า นการเก็ บ ภาษี ท างนํ้ า แพง ผูประกอบการจึ้งใชการขนสง ทางรถ ขณะที่สินคาประมงเฉพาะที่ทา เทียบเรือชลาลัยเพียงแหงเดียวเปน แหลงรองรับสัตวทะเลที่จับไดเฉลี่ยไม นอยกวาเดือนละ 4 ลานกิโลกรัม ซึ่ง ทั้งหมดเกิดจากการทําประมงในนาน นํา้ แถบ จ. ตราด รวมทัง้ ในนานนํา้ ของ กัมพูชาที่อยูติดกัน สวนใหญสินคา ประมงจะถูกขนสงเขาสูอุตสาหกรรม แปรรูปในจังหวัดสมุทรสงครามและ บางส ว นยั ง ส ง ไปไกลถึ ง ภาคใต ข อง ประเทศไทย สะทอนใหเห็นศักยภาพ ของบานหาดเล็กทีเ่ ปนทัง้ ศูนยรวบรวม และกระจายสิ น ค า ประมงที่ มี ค วาม สําคัญอยางยิ่งในแถบภาคตะวันออก ของประเทศไทย ในอนาคตเมื1อความเปนประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย นเกิ ด ขึ้ น อย า ง สมบูรณ เชื1อวาเมืองชายแดนเล็ก ๆ อยางบานหาดเล็ก อําเภอคลองใหญ จ.ตราด จะไดรบั ความสนใจมากขึน้ นัน่ เพราะที่นี่ตั้งอยูบนถนนสาย R10 ซึ่ง เป น ส ว นหนึ่ ง ของเส น ทางระเบี ย ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ช า ย ฝ ง ท ะ เ ล ต อ น ใ ต (Southern Economic Corridor) ภาย ใ ต โ ค ร ง ก า ร ร ะ เ บี ย ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อนุ ภู มิ ภ าคลุ ม แม นํ้ า โขง (Greater Mekong Sub regional Economic Corridors) ที่ ไดรับเงินอุดหนุนจาก ธนาคารเพื1อ การพั ฒ นาแห ง เอเชี ย หรือ ADB (Asian Development Bank) และหากโครงการทาเรือทวาย ในเมียนมารดําเนินการแลวเสร็จเมื1อ ใด บานหาดเล็กจะยิ่งทวีความสําคัญ มากขึ้ น ในฐานะประตู เ ชื1อ มโยงทาง เศรษฐกิจ การคาและการทองเที่ยว ของประชาคมอาเซียน
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
MATERIAL HANDLING • BUS&TRUCK 27
Material Handling
ระบบลําเลียงแบบลูกกลิ้ง
เหมาะสําหรับการลําเลียงสินคาขนาดเล็ก นํา้ หนักเบา หรือ สินคาหนักไมมาก ใชลาํ เลียงในระยะทางสัน้ ๆ สามารถออกแบบ ระบบลําเลียงแบบลูกกลิ้งใหสามารถใชงานรวมกับเครื1องจักร ตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพจึงชวยประหยัดเวลาและคาใชจา ย บริษัท ไทยอินเตอรแมท จํากัด โทร.08-6341-3708
สลิงผาใบ
ผลิตจากเสนใยสังเคราะหที่มีคุณภาพดีที่สุด ดวย เทคโนโลยี ก ารถั ก ทอขั้ น สู ง มี ค า ความปลอดภั ย อยูที่ 4 : 1, 5 : 1, 6 : 1, 8 : 1 เทา ระดับการรับนํ้าหนัก 0.5 t - 100 t โดยมีสีสัน และความสามารถในการรับ นํ้ า หนั ก ตามมาตรฐานสากล เพือ1 ตอบสนองความ ตองการของลูกคาอยางมีประสิทธิภาพ บริษัท ไทยมุยเทรดดิ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด โทร.0-2235-2940-9
ชั้นมีเดียมแล็ค
เปนชั้นเก็บสินคา โชวสินคา หรือสต็อกสินคา ที่มีนํ้า หนัก รับนํา้ หนักไดตงั้ แต 500-800 กก.ตอชัน้ สําหรับ โชวสนิ คา ที่มีนํ้าหนักสูง เปนแพ็ค เปนลัง เก็บสต็อกสินคา เปนกลอง เปนลัง โกดังขนาดเล็ก ขนาดกลาง บริษัท ดี.ดี. อินเตอร จํากัด โทร.08-7247-1985
ระบบ GPS ติดตามรถขนสงสินคา
GPS Tracker AVL05 เปนอุปกรณที่ใชติดตั้งใน รถยนตสาํ หรับบันทึกการใชงานยานพาหนะโดยใชระบบ ดาวเทียมบอกพิกดั GPS (Global Positioning System) ทํ าให คุณสามารถตรวจสอบขอมูล ในการใชร ถผา น โปรแกรม Prosoft GPS เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ และงานบริการ ลดความยุง ยาก รายงานและขอมูลเพื1อ วางแผนธุรกิจ สงสินคาถูกที่ ตรงเวลา มีขอ มูลไวบริการ ลูกคา ลดตนทุน ลดอุบัติเหตุ รูทันพฤติกรรมการทุจริต รวมทั้งยังสามารถปองกันการโจรกรรมดวย บริษัท โปรซอฟท คอมเทค จํากัด โทร. 0-2402-6117
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
28 BUS&TRUCK • LOGISTICS NEWS
Logistics News
ทีเอ็นที พรอมขับเคลื่อนธุรกิจไทย รับ AEC
ทีเอ็นที ยํา้ จุดยืนผูน าํ ดานบริการขนสงสินคาของเมืองไทย เพื1อตอบสนองการขยายตัวทางเศรษฐกิจหลังเปดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนปลายปนี้ ดวยเครือขายการขนสงทางบกแหงเอเชีย (Asia Road Network : ARN) รวมถึงกลยุทธ เครือขายแหงผูคน (The People Network) ที่ครอบคลุมทุกความตองการในการขนสงสินคาของผูบริโภคและผูประกอบ การทุกระดับ เครือขายการขนสงทางบกแหง เอเชีย (Asia Road Network : ARN) คือการนําเสนอบริการชั้นเลิศใหแกผู บริโภค ซึ่งจะเปนประโยชนตอลูกคา อย า งยิ่ ง โดยเฉพาะเมื1อ มี ก ารเป ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ไมวาจะ เป น การกํ า หนดระยะเวลาส ง มอบ สินคาทีแ่ นนอนได ระบบจัดการพิธกี าร ศุลกากรแบบเบ็ดเสร็จ และสามารถ เชื1อมตอกับเครือขายการขนสงทาง อากาศของทีเอ็นทีไดอยางไรรอยตอ ทําใหลูกคาสามารถขนสงสินคาทั้งขา เขาและขาออกจากเอเชียไปสูจ ดุ หมาย ปลายทางทั่ ว โลกได ห ลากหลายรู ป แบบ ดวยตนทุนตํ่าที่สุดเมือ1 เทียบกับ การขนสงทางอากาศ และรวดเร็วกวา การขนสงทางเรือ นอกจากนี้ เครือขาย ARN ยังเพียบพรอมดวยสิ่งอํานวย ความสะดวกเพือ1 การขนสงสินคาทุก รู ป แบบ นั บ ตั้ ง แต สิ น ค า ไฮเทค อิเล็กทรอนิกส ชิ้นสวนอุตสาหกรรม
การผลิต สินคาทางการแพทย ยานยนต และสิ่งทอ เปนตน โดยครอบคลุมเสน ทางกวา 5,000 กม. ใน 125 เมืองทั่ว เอเชีย ตั้งแตสิงคโปร มาเลเซีย ไทย เวียดนาม และจีน ด า นกลยุ ท ธ เ ครื อ ข า ยแห ง ผู ค น (The People Network) คือเครือขาย บุ ค ลากรอั น ทรงประสิ ท ธิ ภ าพของ พนักงานทีเอ็นทีกวา 65,000 คน ทีพ่ รอม มอบการบริการครบวงจร ทัง้ ทางบกและ
ทางอากาศให แ ก ลู ก ค า ในกว า 200 ประเทศทั่วโลกตลอด 24 ชั่วโมง และสง เสริ ม ให เ กิ ด การเชื1อ มโยงทางธุ ร กิ จ ที่ รวดเร็ว ผานบริการใหคําปรึกษา การ อํ า นวยความสะดวกและการนํ า เสนอ โซลูชั่นที่ตอบสนองความตองการของ ลูกคาที่แตกตางกันไดอยางลงตัว นอกจากนี้ ที เ อ็ น ที ยั ง มี บ ริ ก าร ออนไลนเพื1อเพิม่ ประสิทธิภาพการขนสง
ใหรวดเร็วยิง่ ขึน้ นัน่ คือบริการ myTNT. com เพื1อใหลกู คาของทีเอ็นทีสามารถ ติดตามสถานะและบริหารจัดการสินคา ระหว า งการขนส ง ได แ บบเรี ย ลไทม พรอมรับสิทธิประโยชนมากมาย อาทิ ระบบลดขั้นตอนเพื1อประหยัดเวลาใน การขนสงสินคารอบปจจุบัน การแจง คาบริการขนสงสินคาแบบอัตโนมัติ ระบบการแจ ง ค า บริ ก ารเพื1อ ความ สะดวกต อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ พาณิ ช ย ระหวางประเทศ รวมไปถึงโปรโมชั่น พิเศษมากมาย ที่ทีเอ็นทีพรอมมอบให กับลูกคาที่มีบัญชีผูใชบริการ myTNT. com โดยเฉพาะ
C
M
Y
CM
MY
ไปรษณียไทย เปดปณ.เดอะแพลทินัม เพิ่มความสะดวกผูประกอบการยานประตูนํ้า บริ ษั ท ไปรษณี ย ไ ทย จํ า กั ด (ปณท) เอาใจนักชอปยานประตูนํ้า เป ด ที่ ทํ า การไปรษณี ย แ ห ง ใหม ศูนยการคาเดอะ แพลทินัม แฟชั่น มอลล เพื1ออํานวยความสะดวกแกผู ประกอบการธุรกิจคาปลีกและคาสง ทัว่ ไทยในการจัดสงสินคาไปยังปลาย ทางแบบ “ชอปปงปบ สงกลับปุบ” คุณปริษา ปานะนนท ผูชวย กรรมการผูจ ดั การใหญดา นการตลาด บริษัท ไปรษณีย ไทย จํากัด (ปณท) กลาววา ปจจุบนั ธุรกิจคาสง รวมไปถึง ธุรกิจอี-คอมเมิรซ มีแนวโนมขยายตัว เพิ่มขึ้นในทุก ๆ ป โดยตลอดป 2557 ที่ ผ า นมา พบว า มี ผู ใ ช บ ริ ก ารงาน ไปรษณี ย ก ว า 1,300 ล า นชิ้ น ซึ่ ง ไปรษณียภัณฑเปนรูปแบบของกลอง มากกวาซอง โดยปริมาณงานทีเ่ พิม่ ขึน้ นั้นมีอัตราการเติบโตจากธุรกิจอี-คอม เมิรซ อยางไรก็ดี หากเปดประชาคม อาเซียนอยางเปนทางการในป 2558 นี้ คาดวาจะมีผูใชบริการไปรษณียเ พิม่ ขึ้นกวารอยละ 5–10 “ปณท ไดเปดที่ทําการไปรษณีย แห ง ใหม ขึ้ น ณ ศู น ย ก ารค า เดอะ แพลทินมั แฟชัน่ มอลล (ประตูนาํ้ ) โดย จุดใหบริการดังกลาว มีบริการที่หลาก
หลายครบวงจรให ผู ป ระกอบการได เลือกใชตามความเหมาะสมกับสินคา และบริการทีฝ่ ากสง อาทิ บริการ EMS ลงทะเบียน โดยคาดวาจะมีผูใชบริการ กวา 1,600 ชิ้นตอวัน” นอกจากตลาดคาสงสินคาแฟชั่น ขนาดใหญ อ ย า งศู น ย ก ารค า เดอะ แพลทินมั แลว ไปรษณีย ไทย ยังมีจดุ ให บริการรับฝากสงสิง่ ของตามศูนยการคา สําคัญ ๆ อีกหลายแหง อาทิ ศูนยการคา เซ็นทรัลเวิลด ซีคอนสแควร ซีคอน บางแค และฟ ว เจอร พ าร ค รั ง สิ ต เปนตน นอกจากนี้ ยังมีแผนที่จะขยาย จุดใหบริการไปตามศูนยการคาตลาดคา สงอืน1 ๆ ในอนาคตอันใกล ซึ่ง ปณท คาดวาจะสามารถสรางรายได และ อํานวยความสะดวก พรอมรองรับความ ตองการในการฝากสงสินคาหลากหลาย รูปแบบทั้งในและตางประเทศ ที่ทําการไปรษณียสาขาดังกลาว เปดใหบริการตัง้ แตเวลา 10.00 – 18.00 น. ทุ ก วั น ณ ศู น ย ก ารค า เดอะ แพลทินัม แฟชั่นมอลล (ประตูนํ้า) ชั้น 5 สอบถามรายละเอียดการใชบริการ เพิ่มเติมไดที่ THP Contact Center 1545 หรือเว็บไซต www.thailandpost. co.th
เฟดเอ็กซ เผยรายงาน Global Citizenship Report ประจําป 2557
CY
CMY
K
บริษทั เฟดเอ็กซ คอรป เผยผลรายงาน Global Citizenship Report ประจําป 2557 ประสบความสําเร็จในความมุงมั่นที่จะลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ดวยการประหยัดนํ้ามัน เครื1องบินไดถึง 100 ลานแกลลอน สําหรับการดําเนินงานของเฟดเอ็กซ เอ็กซเพรส และยัง หลีกเลี่ยงการปลอยกาซคารบอนไดมากกวา 976,000 ตัน ซึ่งความสําเร็จดังกลาวเปนผลจาก โครงการ FedEx® Fuel Sense และโครงการปรับปรุงอากาศยานใหมีความทันสมัย
โบโชคุ ออโตโมทีฟ เปดโรงงานใหม นิคมฯ อีสเทิรนซีบอรด
บริษัท โบโชคุ ออโตโมทีฟ (ประเทศไทย) จํากัด บริษัทในเครือ โตโยตา โบโชคุ เอเชีย จํากัด จากประเทศญี่ปุน ทําพิธีเปดโรงงานแหงใหมใน นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิรนซีบอรด (ระยอง) พัฒนาโดยบริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จํากัด (มหาชน) โรงงานแหงใหมนี้ติดตั้ง เทคโนโลยีทที่ นั สมัย เพื1อเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตสินคา และตอบสนองตอความตองการ ของลูกคาในอุตสาหกรรมยานยนตทั่วภูมิภาค
30 BUS&TRUCK • LAST MONTH CIRCULATION
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
วัดรอบ
ยอดจดทะเบียนรถบรรทุกและรถโดยสาร ประจําเดือน มีนาคม 2558 รถบรรทุก รถโดยสาร
รายงานสถิติจํานวนรถใหม (ปายแดง) ที่จดทะเบียนโดยแยกยี่หอรถ ประเภทรถบรรทุกและรถโดยสารทั่วประเทศ ประจําเดือนมีนาคม 2558 ที่ทาง กลุมสถิติการขนสง กองแผนงาน กรมการขนสงทางบก ไดรวบรวมไว เริม่ จากสถิตจิ าํ นวนรถใหม (ปายแดง) ทีจ่ ดทะเบียนโดยแยกยีห่ อ รถ ประเภท รถบรรทุกรวมทั่วประเทศ ประจําเดือนมีนาคม 2558 โดย 3 อันดับแรกจากคายรถ ญี่ปุน ISUZU ยังนําเปนที่ 1 มียอดจดทะเบียนอยูที่ 1,130 คัน จากเดือนกุมภาพันธ อยูที่ จํานวน 928 คัน เพิ่มขึ้น 202 คัน ตามมาดวยเจาเกาอยาง HINO จํานวน 1,038 คัน จากเดือนกุมภาพันธ อยูที่ จํานวน 910 คัน เพิ่มขึ้น 128 คัน และคาย FUSO จํานวน 82 คัน จากเดือนกุมภาพันธ อยูที่ จํานวน 65 คัน เพิ่มขึ้น 17 คัน ดานคายรถจากยุโรป VOLVO นําเปนที่ 1 มียอดจดทะเบียน จํานวน 51 คัน จากเดือนกุมภาพันธ อยูท ี่ จํานวน 60 คัน ลดลง 9 คัน ตามมาดวย SCANIA จํานวน 18 คัน จากเดือนกุมภาพันธ อยูที่ จํานวน 8 คัน เพิ่มขึ้น 10 คัน และคาย IVECO
หมายเหตุ แหลงที่มา : ยอดรถจดทะเบียน ฝายสถิติ กลุมวิชาการและวางแผน สํานักจัดระบบการขนสง ทางบก ขออธิบายเพิ่มเติม : ประเภทนํา้ หนักรถบรรทุกและรถโดยสารตามขอมูลของกรมการขนสงทางบก เทียบเทาลักษณะ รถบรรทุกและรถโดยสาร ดังนี้
จํานวน 8 คัน จากเดือนกุมภาพันธ อยูที่ จํานวน 2 คัน เพิ่มขึ้น 6 คัน ทางฟากคายจีน FOTON ขึ้นมานําเปนที่ 1 มียอดจดทะเบียน จํานวน 11 คัน จากเดือนกุมภาพันธ อยูที่ จํานวน 10 คัน เพิ่มขึ้น 1 คัน ตามมาดวยคาย CAMC จํานวน 9 คัน จากเดือนกุมภาพันธ อยูที่ จํานวน 11 คัน ลดลง 2 คัน และคาย SANY จํานวน 8 คัน จากเดือนกุมภาพันธ อยูที่ จํานวน 12 คัน ลดลง 4 คัน ในสวนของสถิติจํานวนรถใหม (ปายแดง) ที่จดทะเบียนโดยแยกยี่หอรถ ประเภทรถโดยสารรวมทัว่ ประเทศ โดยคายทีม่ ยี อดจดทะเบียนประจําเดือนมีนาคม 2558 มากที่สุด คือ คาย SUNLONG สรางยอดจดทะเบียนได จํานวน 59 คัน ตาม มาดวย คาย HINO สรางยอดจดทะเบียนได จํานวน 17 คัน และคาย SCANIA สรางยอดจดทะเบียนได จํานวน 11 คัน
ประเภทนํ้าหนัก 1. 2,001-4,000 กก. 2. 4,001-5,000 กก. 3. 5,001-6,000 กก. 4. 6,001-7,000 กก. 5. 7,001 กก. ขึ้นไป
ลักษณะรถ รถบรรทุก รถโดยสาร รถตู, รถสองแถว ไมเกิน 12 ที่นั่ง 4 ลอ (ชวงยาว), 6 ลอ (4x2) มินิบัส 6 เมตร,รถสองแถว 13-24 ที่นั่ง 6 ลอ ตัวถังยาว 6-7 เมตร 6 ลอ (หัวลาก) ตัวถังยาว 8 เมตร/ที่นั่งเกิน 30 ที่ 10 ลอ (6x2) ตัวถังยาว 10 เมตรและ 12 เมตร บรรทุก 12 ลอ (8x4) ที่นั่งเกิน 30 ที่นั่ง หัวลาก 10 ลอ (6x4)
32 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK AEC
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
BUS&TRUCK AEC
เจาะลึก! ประโยชนเสนทาง R3A
วันนี้เสนทาง R3A กําลังมีความสําคัญอยางยิ่งตอประเทศไทย เพราะเปนจุดผานใหประเทศจีนสามารถทะลุ เขาถึงกลุมอาเซียนไดกอนที่รถไฟทางคูคุนหมิง-กรุงเทพฯ จะกําเนิดขึ้น ดังนั้น เสนทางเศรษฐกิจ R3A จึงกลาย เปนขนมหวานสําหรับผูที่ตองการทําการคาขายขามประเทศ หรือใชเสนทางในการเดินทางขนสงสินคา ดวยเหตุนี้ จึงขอนําเสนอผลประโยชนดานตาง ๆ ของการสรางเสนทาง R3A ใหไดทราบโดยทั่วกัน
ประโยชนทางดานเศรษฐกิจ
เสนทาง R3A นั้น จะทําใหเกิด การขยายตั ว ของเศรษฐกิ จ ภายใน ภูมิภาคอาเซียนใหมีความเจริญมาก ขึ้น ทั้งในดานการคา การลงทุน การ ทองเที่ยว และอื1น ๆ เนื1องจากเสน ทาง R3A เป น เส น ทางตั ด ผ า นลุ ม แม นํ้ า โขง จึ ง ทํ า ให ต น ทุ น ทางการ ขนสงสินคาลดตํ่าลง เปนการขยาย ตลาดสินคาใหเกิดความหลากหลาย มากขึ้นภายในภูมิภาค ทั้งทางดาน สินคาอุป โภค-บริโภคในกลุมเกษตร กรรม อุตสาหกรรม สงผลใหตลาดเกิด การแขงขันอยางชัดเจน เพราะทั้ง เรื1องราคาและคุณภาพของสินคานั้น ไมมคี วามแตกตางกัน ในขณะทีค่ วาม สามารถในการสงออกก็มปี ริมาณมาก ขึน้ และมีความถีใ่ นการสงออกมากขึน้ ตามไปดวย ถือเปนการกระตุนทาง ดานเศรษฐกิจระหวางประเทศไดเปน อยางดี ทั้งทางดานเศรษฐกิจภายใน ประเทศ ระหวางประเทศ และระหวาง ภูมิภาค
ประโยชนทางดานการเมือง
สิ่ ง ที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด สํ า หรั บ ความ รวมมือ ไมวาจะเปนโครงการความ ร ว มมื อ ในระยะสั้ น หรื อ ระยะยาว ก็ตาม นั่นก็คือ ความสัมพันธอันดี ซึ่ง ในการนี้ จ ะส ง ผลให ค วามสั ม พั น ธ ระหว า งประเทศของประเทศไทย สปป.ลาว และจีน นั้นมีความสัมพันธ แนนแฟนมากขึน้ กอใหเกิดความรวม มือกันระหวางประเทศ ในการทําสนธิ สัญญาตาง ๆ ทีจ่ ะกอใหเกิดประโยชน มหาศาลระหวางประเทศ ทั้งนี้ การ ดํ า เนิ น นโยบายทางด า นการเมื อ ง ดานเศรษฐกิจ หรือทีเ่ กีย่ วกับกฎหมาย
ระหวางประเทศ ก็สงผลใหเกิดความ เสมอภาค และในระยะยาวจะเกิดความ รวมมือดานการคา การลงทุนและจะเปน เสมือนกุญแจสําคัญในการเสริมอํานาจ ในการตอรองระหวางภูมิภาคอื1น ๆ อีก ดวย
ประโยชนทางดานสังคม
เกิ ด ผลดี ท างอ อ มที่ ก อ ให เ กิ ด ประโยชนสูงสุด นั่นคือการแลกเปลี่ยน ทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม การแลก เปลี่ยนองคความรูทางดานวิชาการ ดาน การแพทย ดานเทคโนโลยีที่ทันสมัย ที่ สามารถนํ า มาประยุ ก ต ใ ช เ พื1อ ให เ กิ ด ประโยชนบนพื้นฐานของความรวมมือ
สินคาสงออกไทย-ลาว-จีน
สําหรับสินคาผลิตภัณฑหลักในการ
ทําการคาของแตละประเทศบนเสนทาง R3A นั้น ประเทศไทยสงออกสินคาไปยัง ตลาดสปป.ลาวและจีน (นครคุนหมิง) ไดแก นํ้ามันดีเซล นํ้ามันเบนซิน สินคา อุป โภคบริโภค ผลไมสด (เชน มังคุด มะขาม กลวย ลําไยแหง และทุเรียน) และวัสดุกอสราง สวน สปป.ลาว สงออก ถานหินลิกไนท ผลิตภัณฑเกษตร ขาวโพด อะไหลรถยนต และยาปฏิชีวนะมายัง ประเทศไทย และสงออกไมแปรรูปมายัง
ทั้งประเทศไทยและจีน และประเทศ จีน สงออกพืชผัก (เชน บล็อคโคลี่ ผัก กาดแก ว ) ดอกไม (เช น กุ ห ลาบ กลวยไม) และผลไม (เชน แอปเปล ลู ก พี ช ส ม และลู ก พลั บ ) และ ยางพารา มายังประเทศไทย
ปญหาอุปสรรคการคา
ส ว น ป ญ ห า แ ล ะ อุ ปส ร ร ค ทางการคาของไทยนั้น คือ เวลาพัก กลางวันของเจาหนาที่ฝงไทย ดาน เชียงของ จ.เชียงราย พักตั้งแตเวลา 12.00-14.00 น. และหยุดทําการในวัน อาทิ ต ย ข องด า นห ว ยทรายในลาว (ตรงข า มเชี ย งของ) ป ญ หาความ แออั ด ของท า เรื อ เชี ย งของทุ ก วั น จัน ทร เนื1องจากแพขนานยนตปด ทําการวันอาทิตย จึงเกิดการสะสม ของรถบรรทุกในวันหยุด การขนสง บริ เ วณด า นชายแดนมี ค วามคั บ คั่ ง และมี ป ญ หาการขนถ า ยสิ น ค า เนื1องจากการขนถายสินคาในปจจุบนั ยั ง คงใช แ รงงานคนในการขนถ า ย สินคาระหวางตูคอนเทนเนอรกับรถ บรรทุก สวนการขนถายนํ้ามัน จะใช วิธีการนํารถทั้ง 2 คันตอทายกัน ซึ่ง จะใชระยะเวลากวา 4-5 ชัว่ โมงตอครัง้ ทําใหถนนบริเวณดานชายแดนมีชอ ง ทางแคบลงอยางถนัดตา ดังนั้นไมวาจะพิจารณาในดาน ใดก็ ต าม การเกิ ด ของเส น ทาง เศรษฐกิจ R3A ก็ลว นแตสง ผลดีแก ทุกภาคสวน หากแตเพียงวา ผล ประโยชน ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะเป น ผล ประโยชน ในระยะยาว และมีการ พัฒนาอยางยั่งยืน มิใชเปนเพียง มาตรการชั่วคราว เพื1อรองรับความ ตองการของฝายใดฝายหนึ่งเทานั้น ก็ตอ งเอาใจชวยกันตอไป สําหรับนัก คา นักลงทุน วาอนาคต เสนทางสาย เศรษฐกิจเสนนี้ จะเปนอยางไรตอไป เมื1อเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC อยางเต็มสูบ
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
SET UP • BUS&TRUCK
33
ติดตั้งลําเลียง
SSI Autocruiser
ระบบสายพานขนสงประหยัดพลังงานสูง บริษัท เอสเอสไอ เชฟเฟอร ซิสเต็มส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (SSI SCHAEFER) ผูนําตลาดกลุมจัดการคลัง สินคา อุตสาหกรรมและระบบอัตโนมัติ เจาตลาดอันดับ 1 ของโลก สงระบบขนสงภายในองคกรดวยเทคโนโยลีใหม ลาสุดที่ไมตองใชสายพาน “เอสเอสไอ ออโตครุซเซอร (SSI Autocruiser™)” ออกสูตลาดชวงไตรมาส 2 ป 2558 เพื่อ ตอบโจทยการใชงานและความตองการของกลุมเปาหมาย ลูกคาในทุกกลุมอุตสาหกรรม รวมทั้งประหยัดพลังงาน สูง และลดคาใชจายการขนสงภายในถึง 50%
เนื1องจากภาวะเศรษฐกิจในปจจุบนั บริษัท เอสเอสไอ เชฟเฟอร ซิสเต็มส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด จึงใชจังหวะนี้ ในการรุกแผนการตลาดไตรมาส 2 ป 2558 สง “เอสเอสไอ ออโตครูซเซอร’ (SSI Autocruiser™)” ออกสูตลาดที่ สามารถชวยลดคาใชจายของลูกคาใน การขนสงภายในไดถงึ 50% ซึง่ เปนระบบ ประหยั ด พลั ง งานที่ สุ ด อั น ดั บ 1 ของ ระบบนี้ ทัง้ สามารถเชื1อมตอเขากับระบบ ไฟทั่วไปได และตัวครูซที่ใชแบตเตอรี่ใน การขับเคลื1อน สามารถชารตไฟไดจาก หลายสถานีบนรางหรือแมเวลาขึ้นของ หรือลงของ ก็ยังสามารถชารตแบตเตอรี่ ได โดยออโตครูซเซอร เปนการขนสง ภายในแบบใหมที่ไมตองใชสายพาน แต มีประสิทธิภาพในการลดชองวางระหวาง รถโฟลคลิฟทของสายพานแบบเกา มี
ดีไซนเหมาะสมสําหรับการขนสงภายใน องคกรทีม่ กี ารเคลือนทีข่ องสินคานอยไป จนถึงระดับกลาง และสามารถเขาถึง สินคาได 600 ชิ้นตอชั่วโมง ออโตครูซ แตละตัวสามารถบรรทุกนํา้ หนักไดถงึ 30 กิโลกรัม ตัวฐานมีปริมาตร 40 × 60 cm. และสามารถเดินทางไดดว ยความเร็ว 1.6 กิโลเมตรตอชัว่ โมง และพนักงานสามารถ โหลดของลงในออโต ค รู ซ เซอร ไ ด เ อง อยางงายดาย ทั้งนี้ ยังสามารถปรับแตงฟงกชั่น การใชงานไดหลายหนาที่ พรอมเชื1อมตอ ฝายผลิตกับคลังสินคาได และใชขนสง เครื1อ งมื อ ให กั บ พนั ก งานหรื อ ป อ นให เครื1องจักร หรือสงตองานระหวางไลน ผลิต, เชือ1 มโยงระหวางตึก, ใชขนสง สินคาพิเศษในศูนยกระจายสินคา หรือใช รับของตีกลับ สวนการออกแบบดีไซน ระบบรางนั้ น ก็ ทํ า ได ง า ยและไม ส ร า ง
ปญหาเพิ่มเติม โดยสามารถทํารางโคง เติ ม เข า ไปในระบบรางปกติ ไ ด และ สามารถจะเพิ่มฟงกชั่นการใชงานโดย เพิ่มการสลับราง เพิ่มจานหมุน หรือ อุปกรณในการยก เพื1อเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการใชระบบไดอยางรวดเร็วและงาย ตอการติดตั้ง นอกจากนี้ ทาง SSI SCHAEFER ยังจะนําระบบ เอสเอสไอ ออโตครูซเซอร โชวแสดงการใชงานจริงใหกับผูประกอบ การและลูกคากลุม เปาหมายไดชมภายใน งานแสดงระบบคลังสินคา ‘Intelligent Warehouse’ (อินเทลลิเจนท แวรเฮาส) ระหวา งวัน ที่ 26-28 สิง หาคม 2558 ณ อิมแพคอารีนา เมืองทองธานี ซึ่งถือ เปนงานแรกงานเดียวทีร่ วมผูน าํ ในระบบ คลังสินคาในทุกแขนงมารวมตัวกันไวที่ เดียว สามารถดูรายละเอียดงานแสดง ร ะ บ บ ค ลั ง สิ น ค า “ I n t e l l i g e n t Warehouse” หรือผลิตภัณฑตาง ๆ เพิ่ม เติมไดที่ www.ssi-schaefer.co.th หรือ สอบถามขอมูลโทร 0-2204-0205
34 BUS&TRUCK • LOGISTICS
Logistics
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558 ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ความเปนไปไดของ Green Logistics ที่จะเขาสู AEC
ในปลายปนี้ (2558) จะเปนเพียงปแหงการเริม ่ ตนทีจ ่ ะเขาสูป ระชาคมอาเซียน ถึงแมความพรอมในดานตาง ๆ โดยเฉพาะทางดานโลจิสติกสจะยังไมเห็นความพรอมของภาครัฐ ผูประกอบการ หรือสถาบันการศึกษาเทาใดนัก
อย า งไรก็ ต าม หากถามถึ ง ความเปนไปได ในการที่จะเริ่มบังคับ ใช ห รื อ เริ่ ม มี ก ารดํ า เนิ น การอะไร ตาง ๆ ถึงความเปนไปไดของ Green Logistics ในปนี้ของกลุมอาเซียน คํา ตอบสั้นมาก คือ ยังมีความเปนไปได นอยมาก แตหากจะมองในอนาคต ของธุรกิจทีจ่ ะตองมีการทําธุรกิจรวม กันในกลุมอาเซียนมีความเปนไปได มากที่ จ ะให ค วามสํ า คั ญ กั บ เรื1อ งนี้ โดยเฉพาะเรื1องคารบอน ฟุต พริ้นท (Carbon Foot Print) ทีป่ ระเทศไทย ไดดําเนินการเรื1องนี้มาตั้งแตป 2552 แล ว ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งกั บ ปริ ม าณก า ซ เรือนกระจกที่ปลอยออกมาจากทุก ห น ว ย ก า ร ผ ลิ ต ต ล อ ด จ น เ ป น ผลิตภัณฑ โดยคํานึงถึงเรื1อง Green Logistics and Supply Chain ในทุก กิ จ กรรมนั้ น จะต อ ง Green and Clean ตั้ ง แต กิ จ กรรมแรกคื อ การ จัดหาแหลงวัตถุดบิ ทีเ่ ปนตนทางของ กิจกรรมจะตองไมทาํ ลายสิง่ แวดลอม วัตถุดิบนั้นสามารถยอยสลายไดและ ไมทําลายสิ่งแวดลอม จนผลิตเปน สิ น ค า สํ า เร็ จ รู ป และส ง มอบ ผลิตภัณฑนั้นถึงมือผูบริโภค ซึ่ง Green คือ ทุกกระบวนการ ไมทาํ ลายสิง่ แวดลอม และ Clean ทุก กระบวนการตองสะอาดไมมีผลตอ
สิ่งแวดลอมตั้งแตผูผลิต ซัพพลายเออร ไปจนถึงผูบริโภค โดยเฉพาะประเทศที่มี ความพรอมความสามารถทางดานโลจิ สติกสและเงินทุน เชน ประเทศสิงคโปร มาเลเซีย บรูไน อาจจะมีการกําหนดกฎ กติกา แนวทาง หรือกําหนดคามาตรฐาน ของ Green Logistics ในการทําธุรกิจรวม กัน สวนประเทศอื1น ๆ ของกลุมอาเซียน ทีย่ งั มีความพรอมความสามารถทางดาน โลจิสติกสและเงินทุนอยูในระดับที่ดอย กวาอาจจะตองกลายเปนผูทําตามกฎดัง กลาว สําหรับปจจัยที่เปนตัวผลักดันใหผู ประกอบการปรับตัวสู Green Logistics มี 2 ปจจัย คือ ปจจัยภายนอก ที่เห็นได ชัดก็คือ กฎกติการะเบียบของสังคมโลก และอาเซียนจะทําใหผูประกอบการจะ ตองปรับตัวและผลักดันใหทกุ ๆ กิจกรรม ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ต อ งเป น Green Logistics ส ว นป จ จั ย ภายในจะต อ งมี การเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ ไม วาจะเปนการกําหนดวิสัยทัศน (Vision) ตองมีการกําหนด Vision ใหมในการ สนับสนุนใหเกิดระบบ Green Logistics ในทุก ๆ กิจกรรมทั่วทั้งองคการ กําหนด เปนนโยบาย (Policy) ในการจะมุงไปสู องคการ Green Logistics การสื1อสาร (Communication) ใหทุกคนในองคการ ทราบถึงการพัฒนาการขององคการไปสู ระบบ Green Logistics เชน ประชา
สัมพันธ บรรยากาศ กิจกรรม เปนตน การตั้ ง คณะทํ า งานที่ จ ะขั บ เคลื1อ น (Steering Committee) โดยใหทุกคนทุก ภาคสวนมีสว นรวม “ทีม” สนับสนุนและ แก ไขปญหาระบบ Green Logistics ใน ทุก ๆ กิจกรรมทั่วทั้งองคการ และการ ตรวจสอบ (Audit) เปรียบเทียบผลที่ได รับกับแผนที่วางไว รวบรวม วิเคราะห และหาทางปรับปรุง เพื1อใหเกิดความ สามารถทางการแขงขัน สําหรับบทบาทของผูท เี่ กีย่ วของทัง้ ภาคผูป ระกอบการ และรัฐบาล ถือวาเปน กลไกหลักในการที่จะนําในเชิงรุกนั้น ผู เขียนเห็นวาบทบาททั้งผูประกอบการ และรัฐบาลตางก็ใหความสนใจและความ สํ า คั ญ ในเรื1อ งนี้ อ ยู แ ล ว โดยเฉพาะผู ประกอบการขนาดกลางและขนาดใหญ ตางก็มีการทํา Green Logistics โดยการ ลดต น ทุ น และลดค า ใช จ า ย ในแต ล ะ กิจกรรมอยูแลว ขณะที่ผูประกอบการ ขนาดเล็กนั้น ยังไมสามารถทําไดมากนัก นอกจากนี้ ยังเปนการดําเนินการทาง ออมอีกดวยในเรื1องของการแสดงความ รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ธุ ร กิ จ ต อ สั ง ค ม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื1อ การเพิ่ ม ความสามารถทางการ แขงขัน สวนภาครัฐก็ใหความสําคัญและ ความสนใจ โดยมอบหมายใหหนวยงาน ภาครั ฐ ที่ ดู แ ลงานทางด า นโลจิ ส ติ ก ส ใหการสงเสริมชวยเหลือแกผูประกอบ การในการลดตนทุนในการดําเนินธุรกิจ และสงเสริมการทํา Green Logistics
แตเนื1องจากสถานการณของ โลจิสติกส ไทยในปจจุบันอยูในชวง ทรงตัว ไมไดมกี ารเปลีย่ นแปลงอะไร ที่มีความเคลื1อนไหวมากนัก เนื1อง จากนโยบายภาครัฐบาล (รักษาการ) และหนวยงานภาครัฐที่รับนโยบาย มาดําเนินการสามารถทําได ในระดับ หนึ่งเทานั้น ซึ่งสวนใหญก็สานจาก รัฐบาลเดิม โดยพยายามลดตนทุน โลจิสติกสทงั้ ประเทศ และการพัฒนา ระบบโลจิสติกสและโซอปุ ทานใหเปน ยุ ท ธศาสตร ห นึ่ ง ในการพั ฒ นา ประเทศ โดยใหความสําคัญกับการ พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการจั ด การ โลจิ ส ติ ก ส ด า นการเกษตร และ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ตั้ ง แ ต ต น นํ้ า (Upstream) จนถึ ง ปลายนํ้ า (Downstream) ในการพั ฒ นา โครงสร า งพื้ น ฐานของประเทศ นอกจากนี้ ยัง สงเสริมการพัฒนาขีด ความสามารถด า นโลจิ ส ติ ก ส แ ก บุคลากรภาครัฐและเอกชน โดยการ ฝกอบรมและสัมมนาเชิงปฏิบัติ การ สรางบุคลากรและผูเชี่ยวชาญดาน โลจิสติกส ของกลุมอุตสาหกรรม ถึงเวลาแลวที่หนวยงานภาค รัฐที่ยังไมไดมีการเชื1อมโยงสานงาน ตอกันในลักษณะที่เปนจิ๊กซอวตอกัน ทั้งระดับนโยบาย วิธีการ หรือการ ปฏิบัติการ ซึ่งไมควรที่จะมีลักษณะ การทํางานแบบตางคนตางทํา แต หากจะตองมีการบูรณาการจับมือ รวมกันอยางเปนรูปธรรม นาจะเปน ประโยชน ต อ ทุ ก ภาคส ว น ซึ่ ง ใน อนาคตอาจจะไมใชเปนเพียง Green Logistics เทานั้น แตจะตองเปน Green Logistics and Supply Chain ทั้งระบบของธุรกิจ
36 BUS&TRUCK • TEST & REPORT
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
Test & Report
วอลโว สวีเดน เลือกไทยเจาภาพ แขงประหยัดนํ้ามันสนามสุดทาย
วอลโว ทรัคส ประเทศไทย ประกาศความพรอมเปนเจาภาพจัดแขงขันรอบสุดทายในรายการขับขีป ่ ลอดภัย และประหยัดนํา้ มัน Volvo Trucks Asia Pacific Final FuelWatch Competition 2015 ทีจ ่ ง ั หวัดเพชรบุรี ระหวาง วันที่ 15 - 18 กันยายน 2558
มร. ฌาคส มิ เ ชล ประธาน กรรมการบริษัท วอลโว กรุป (ประเทศ ไทย) จํ า กั ด เป ด เผยว า นั บ เป น ประวัติศาสตรของวอลโว ทรัคส ที่ ได ตัดสินใจใชประเทศไทยเปนสนามแขงขัน รอบสุดทายในรายการขับขีป่ ลอดภัยและ ประหยั ด พลั ง งาน Volvo Trucks FuelWatch Competition 2015 ในรอบ เอเชีย แปซิฟค เพื1อคัดเลือกผูชนะใน ประเภททางราบและทางวิบาก เขารวม ชิงแชมปโลกในรายการ Volvo Trucks World Driving Challenge 2016 ที่ ประเทศสวีเดนในป พ.ศ. 2559 “โอกาสพิเศษทีป่ ระเทศไทยไดเปน เจาภาพจัดงานระดับภูมิภาคครั้งนี้ ผม ใครขอขอบคุณกระทรวงพลังงานที่ ได ให ก ารสนั บ สนุ น การแข ง ขั น การขั บ ขี่ ประหยัดพลังงานและขับขี่ปลอดภัยเปน
ครั้งแรก ผมอยากจะขอขอบคุณพันธมิตร ทางธุรกิจคือมิชลินสยาม และไฮ เทรลเลอร เอเชีย ซึ่งใหการสนับสนุนแนบแนน และอย า งต อ เนื1อ งกั บ เรามาตั้ ง แต ก าร แขงขันครัง้ แรกในประเทศไทยตัง้ แตป พ.ศ. 2553 ซึง่ มีเปาหมายในการประหยัดพลังงาน รวมกันกับเรา” มร. มิเชล กลาว สําหรับรอบคัดเลือกในประเทศไทย ภายใต แ ผนการดํ า เนิ น งานสํ า หรั บ การ แขงขันจะเริ่มเปดรับสมัครผูสนใจเขารวม แขงขันสนามประเทศไทยในรายการนีต้ งั้ แต วันนี้จนถึงวันที่ 5 มิถุนายน และจะมีการ แบงสนามแขงขันออกเปน 5 สนามยอยที่ สุราษฎรธานี ตาก สระบุรี ขอนแกนและ ชลบุ รี เพื1อ คั ด เลื อ กตั ว แทนระดั บ ภาค ระหวางวันที่ 15 มิถุนายน ถึงวันที่ 15 กรกฎาคม คณะกรรมการจะประกาศผูผาน การคัดเลือกในแตละสนามรวมจํานวน 24
คนเพื1อเขาสูรอบสุดทายของการคัดเลือก ระดับประเทศไทยที่จังหวัดเพชรบุรี โดยจะ มีการประกาศผูชนะที่จะเปนตัวแทนของ ประเทศไทยเขาสูส นามแขงขันระดับภูมภิ าค เอเซีย แปซิฟกในงานเลี้ยงฉลองในวันที่ 15 สิงหาคม และผูช นะจะเขาสูก ระบวนการเก็บ ตัวเพื1อเขาชิงชัยในรายการ APAC Final FuelWatch Competition ที่ จ ะจั ด ขึ้ น ระหวางวันที่ 15 - 18 กันยายน ที่จังหวัด เพชรบุรี มร.มิเชล กลาววา วอลโว ทรัคส ประเทศไทยไดจัดกิจกรรมการแขงขันขับขี่ ปลอดภัยและประหยัดพลังงาน FuelWatch Competition อยางตอเนื1อง โดยปนี้ถือ เปนการจัดเปนปที่ 6 ติดตอกัน โดยในปแรก พ.ศ. 2553 มีผูสมัครเพียง 56 คน และเพิ่ม ขึ้นเปน 65 คนในป 2554 ป 2555 มีผูสมัคร 73 คน ป 2556 มีผูสมัคร 81 คน และปที่
แลวเปนปแหงการกาวกระโดดคือมีผู สมัครมากถึง 120 คน ทางดาน มร. เอียน ซินแคลร ผู อํ า นวยการฝ า ยบริ ห ารผลิ ต ภั ณ ฑ (Director Product Management) กลาว ถึงการคัดเลือกประเทศไทยเปนเจาภาพ ในการจัดการแขงขันรอบเอเชีย แปซิฟค ว า เป น การตอกยํ้ า ถึ งความสํ า คั ญ ของ ประเทศไทยวาเปนฐานสําคัญของวอลโว ทรัคส ซึ่งปจจุบัน ประเทศไทยเปนฐาน การผลิตรถบรรทุกของวอลโว ทรัคสเพื1อ สงออกไปยังประเทศสหภาพเมียนมาร สาธารณรั ฐ ประชาชนลาว กั ม พู ช า เวียดนามและฟลิปปนส ขณะเดียวกัน ประเทศไทยจะเปนประเทศสําคัญภาย หลั ง การรวมกลุ ม ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียนหรือ AEC ซึ่งจะเริ่มในปลายปนี้ นอกจากนี้ วอลโว ทรัคส ยังมี ความเชื1อมั่นวาสนามแขงขันที่จังหวัด เพชรบุ รี นี้ ถื อ เป น อี ก สนามหนึ่ ง ที่ มี คุณภาพและความทาทายที่ดีที่สุดสนาม หนึ่ ง โดยยอดนั ก แข ง ที่ เ ข า สู ส นาม ออสเตรเลียเมื1อปที่แลว มีมากถึง 5,800 คนจาก 12 ประเทศ “ในความเปนจริงแลว ประเทศไทย ถือเปนประเทศทีม่ คี วามสําคัญตอวอลโว กรุป ในภูมภิ าคเอเชียอยางมากเพราะถือ เป น ฐานการผลิ ต เพื1อ ส ง ออกไปยั ง ภูมิภาคนี้ ซึ่งจะมีการรวมตัวเปนตลาด เดียวที่เรารูจักกันดีในชื1อ AEC ซึ่งจะเริ่ม ขึ้นในปลายปนี้ อีกทั้งในชวงสองสามปที่ ผานมา วอลโว กรุป ประเทศไทย ไดทุม เงินกวา 5,000 ลานบาท เพื1อลงทุนขยาย กําลังการผลิตและขยายเครือขายการจัด จําหนายในประเทศ การลงทุนนี้ยอม สามารถอธิ บ ายถึ ง ความสํ า คั ญ ของ ประเทศไทย และถือเปนโอกาสอันดีที่ บรรดาลู ก ค า และผู เ ข า ร ว มแข ง ขั น ใน รายการนี้จะไดมาเยือนประเทศไทยและ เห็นระบบ Logistics ในประเทศไทยดวย” มร. ซินแคลร กลาว
38 BUS&TRUCK • COVERS’ STORY
จากปก
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558 ตอจากหนา 1
กระตุนตลาดนํ้ามันหลอลื่น เปดเผยวา สําหรับตลาดนํ้ามันหลอลื1นทุก ยีห่ อ ในปนคี้ าดวาจะมียอดจําหนายโดยรวม ประมาณ 50,000 ลานลิตร หรือเฉลี่ย 2,500 ลานบาท หากวิเคราะหใหดีจะพบ วามียอดจําหนายลดนอยลงกวาปทผ่ี า นมา เนื1อ งจากสภาพเศรษฐกิ จ ตกลง ทํ า ให เจาของรถยนตตองพยายามยืดอายุนํ้ามัน หลอลื1นใหนานสุดเทาที่จะทําได ดวยตําแหนงอันดับ 1 ที่ทาง ปตท. มียอดขายมากสุด ตั้งแตป 2552 จนถึง ปจจุบนั ทําใหตอ งทําตลาดอยางหนัก เพื1อ รักษาตําแหนงไวไหนานที่สุด กลยุทธแรก ก็คือตองมีโปรโมชั่นสงเสริมการขายออก มาอย า งต อ เนือ1 ง ตั้ ง แต นํ้ า มั น หล อ ลื1น รถใหญ รถปคอัพ รถเกง รถจักรยานยนต รวมถึงทุกสถานีบริการนํ้ามันของ ปตท. ก็ จะมีนาํ้ มันหลอลื1นจําหนายอีกดวย และยัง มี ศู น ย รั บ เปลี่ ย นถ า ยนํ้ า มั น หล อ ลื1น ไว บริการ ทั้งนี้ เพื1อใหกลุมลูกคาไดรับความ สะดวกมากที่สุด สวนการวิจัยและพัฒนานํ้ามันหลอ ลื1นนั้น ทาง ปตท. ตองมีการพัฒนาอยาง ต อ เนื1อ ง เพราะรถยนต รุ น ใหม จ ะมี เทคโนโลยีของเครื1องยนตที่สูงขึ้น ดังนั้น นํ้ามันหลอลื1นก็ตองพัฒนาตามใหทันกับ เทคโนโลยีของรถดวย นอกจากนี้แลวอายุ การใชงานของนํ้ามันหลอลื1นก็จะยาวนาน ขึ้น เพื1อใหลูกคาคุมทุนมากที่สุด ด า นการตลาดต า งประเทศทาง ปตท.ไดเริ่มทําตลาดเพื1อนบานบางแลว รวมทัง้ ในประเทศจีนดวย โดยคุณภาพของ นํ้ามันหลอลื1นไมวาจะเปนในประเทศหรือ ที่สงออกไปยังตางประเทศ จะมีมาตรฐาน เดียวกัน ซึ่งทาง ปตท.ไดรับการตอบรับ เปนอยางดี คาดวาเมื1อเปดใชประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC อยางเต็มตัว จํ า นวนรถยนต จ ะเพิ่ ม มากขึ้ น ส ง ผลให จํานวนการสงออกนํ้ามันหลอลื1นเพิ่มตาม ไปดวย
บางจากฯ โตสวนกระแสตลาดรวมลด
คุ ณ พิ เ ชษฐ เอมวั ฒ นา ผู ช ว ย กรรมการผู จั ดการใหญ สายงานดา น ธุ ร กิ จ การตลาด บริ ษั ท บางจาก ปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) กลาววา ใน ป 2557 ยอดขายนํา้ มันหลอลื1นในประเทศ รวมประมาณ 30 ลานลิตร/เดือน ลดลง จากป 2556 ประมาณ 3% สวนยอดขาย ของบางจากในป 2557 อยูที่ 2.5 ลานลิตร ตอเดือน เติบโตขึ้นประมาณ 3.6% สวน ทางกับตลาดรวมที่ยอดขายลดลง นํ้ามัน หลอลื1นบางจากเติบโตอยางตอเนื1องมา ตลอด 5 ป โดยมีสวนแบงการตลาด 7.8% เปนอันดับที่ 5 สวนตลาดตางประเทศ ประกอบด ว ย โซนเอเชี ย ได แ ก จี น ฟลิปปนส เวียดนาม ลาว พมา กัมพูชา น อ ก จ า ก นั้ น ยั ง มี ป ร ะ เ ท ศ ใ น ก ลุ ม ตะวันออกกลางและแอฟริกา ซึ่งปที่ผาน มามียอดสงออกเพิ่มขึ้น 10% สําหรับในป 2558 มีเปาหมายเติบโต 12% มากกวา
ตลาดรวมทีค่ าดวาจะโต 10% โดยไตรมาส 1 ของป 2558 ยอดขายนํ้ามันหลอลื1น บางจากยั ง เติ บ โตสู ง กว า ตลาดโดยรวม เนนกลยุทธคุณภาพและราคาที่เหมาะสม “ภาพรวมของตลาดนํา้ มันหลอลื1นใน ประเทศไทยชวงที่ผานมามีการชะลอตัว ประมาณ 3% ดังนั้นผูคาแตละรายมีการ เปดกลยุทธแขงขันกันอยางรุนแรง บาง รายทุมงบรักษาความเปนผูนําพรีเมียม แบรนด บางรายตองการรักษาความเปน ผูนําในกลุมดีเซล และบางรายแจกสินคา พรีเมียมอยางตอเนื1อง ซึ่งเปนแนวทาง ตลาดที่ผูคาแตละรายวางไวเพื1อชวงชิง ความไดเปรียบในการแขงขัน” บางจากฯเนนการพัฒนาคุณภาพ นํ้ามันหลอลื1นทุกผลิตภัณฑอยางตอเนื1อง เพื1อใหสอดคลองกับเทคโนโลยีของยาน ยนต แ ละสภาพแวดล อ มการใช ง านที่ เปลี่ยนแปลงไป เพื1อใหทุกผลิตภัณฑดีทั้ง ตอการใชงานและสิ่งแวดลอม นํ้ามันหลอ ลื1น บางจากทุ ก ประเภทได รั บ มาตรฐาน สู ง สุ ด ในระดั บ สากล แต ข ณะเดี ย วกั น บางจากฯ จะใชกลยุทธกําหนดราคาให เหมาะสม และในป 2558 บริษัทฯ ยังคง พัฒนาผลิตภัณฑนํ้ามันหลอลื1นบางจาก อย า งต อ เนื1อ ง อี ก ทั้ ง ยั ง มี กิ จ กรรมการ ตลาดตลอดทัง้ ป เพื1อสรางความเชื1อมัน่ ใน แบรนด ก ระตุ น ยอดจํ า หน า ย เช น จั ด รายการ “ลุนโชค IPHONE 6 PLUS ทุก เดือนกับนํา้ มันหลอลื1นบางจาก” ซือ้ นํา้ มัน หลอลื1นบางจาก มีสิทธิ์รวมลุน IPHONE 6 PLUS ทุกเดือน รวม 40 รางวัล ตั้งแต วันนี้ ถึง 30 มิถุนายน 2558 ด า นผลิ ต ภั ณ ฑ นํ้ า มั น หล อ ลื1น ของ บางจากฯ สําหรับรถดีเซลขนาดใหญ ใช งานหนัก บางจากมี D3 LONG LIFE (API CI-4 PLUS SAE 15W-40) นํ้ามันหลอลื1น เครื1องยนตดีเซลสูตรพิเศษ ที่ออกแบบให มีฟลมนํ้ามันแข็งแรง เคลือบชิ้นสวนใน เครื1อ งยนต ปกป อ งเครื1อ งยนต ทั น ที ที่ สตารท และทุกสภาวะการใชงานหนัก อุณภูมสิ งู อยางตอเนื1อง เหนือมาตราฐาน API CI-4 และมาตรฐานผูผลิตเครื1องยนต (OEM) ในระดับสูงสุด MB 228.31 จาก MERCEDES BENZ , VOLVO VDS-3 , CUMMINS CES 20078 และ MACK EO-N PP’03 ทําใหมั่นใจไดวานํ้ามันหลอ ลื1นบางจากใชงานไดดีกับรถบรรทุกเชิง พาณิชยรุนใหม รถหัวลากตระกูลยุโรปที่ ตองการยืดอายุเปลี่ยนถายนํ้ามันหลอลื1น ยาวนานสูงสุด 60,000 กม. สวนรถอเนกประสงค (MPV/SUV) รถขับเคลื1อน 4 ลอ (4WD) เครื1องยนต ดีเซลสมรรถนะสูงที่ ใชเครื1องยนต direct injection (DI) และระบบ common rail (CDI) รวมทั้งเครื1องยนตรอบจัดที่ติดตั้ง เทอรโบชารจ และ ระบบ EGR บางจากฯ มีผลิตภัณฑ D3 Gold สังเคราะห 100% (Synthetic) มาตรฐาน CJ 4 SAE 5W-30 ช ว ยประหยั ด นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ลดการ
สึกหรอในขณะสตารทไดดี ใหฟลมนํ้ามัน แข็ ง แรงทนทาน แม ผ า นการใช ง าน ยาวนาน จึงยืดอายุการเปลี่ยนถายไดนาน สูงสุดถึง 50,000 กิโลเมตร “สําหรับการเปดประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน หรือ AEC ทางบางจากฯ ไดรุกทํา ตลาดในกลุมนี้บางแลว ดวยแบรนด BCP LUBRICANTS เนนการทําตลาดนํา้ มันหลอ ลื1นในกลุมประเทศ CLMV เปนอันดับแรก พรอมทั้งสรางกิจกรรมการตลาดอยางตอ เนื1อ ง เพื1อ สร า งการรั บ รู แ ละเชื1อ มั่ น ใน คุณภาพที่ ไดมาตรฐานสากล และวางเปา หมายการเติบโตไมตํ่ากวาปละ 10%”
เชลล มุงพัฒนาผลิตภัณฑ ตอบความตองการตลาด
คุ ณ ทรอย แช็ ป แมน กรรมการ บริหาร ธุรกิจนํา้ มันหลอลื1น กลุม ประเทศ เอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษัท เชลล แหงประเทศไทย จํากัด กลาววา สําหรับ เชลล ต ลาดนํ้ า มั น หล อ ลื1น ยั ง เป น ไปใน ทิศทางทีค่ าดการณเอาไว และเรายังมุง มัน่ ในการรักษาสวนแบงทางการตลาด โดยใน ปจจุบัน เชลลยังคงครองความเปนอันดับ หนึ่งสําหรับนํ้ามันเครื1องแบรนดสากลใน ประเทศไทย เราพบว า ตลาดมี ค วาม ต อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ คุ ณ ภาพสู ง เกรด พรีเมี่ยมมากขึ้นอยางตอเนื1อง และดวย เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ ลํ้ า หน า ของเชลล ทําใหสามารถนําเสนอผลิตภัณฑที่ตอบ สนองความตองการของตลาดในจุดนี้ ได เปนอยางดี ทีส่ าํ คัญคือ ผลิตภัณฑคณ ุ ภาพ สู ง จากเชลล ยั ง ช ว ยให ผู ป ระกอบการ สามารถลดตนทุนไดมาก เพราะนอกจาก ชวยยืดอายุการใชงานของเครื1องยนตแลว ยังชว ยประหยัดนํ้ามันเชื้อ เพลิงและคา บํารุงรักษาไดอีกทางหนึ่งดวย ตามการรายงานของมาตรา 7 กระทรวงพลังงาน ภาพรวมของตลาด นํ้ามันหลอลื1นในประเทศ ตั้งแตปที่แลว จนถึงตนปทผี่ า นมา มีความทรงตัว ในสวน ของเชลล ยังคงมุงมั่นในการพัฒนาและ นําเสนอผลิตภัณฑคณ ุ ภาพสูงทีก่ า วลํา้ ดวย เทคโนโลยีอยางตอเนื1อง เพื1อตอบโจทยขอ กําหนดของผูผลิตเครื1องยนต และความ ตองการของผูบริโภค ดานผลิตภัณฑนํ้ามันเครื1องสําหรับ เครื1องยนตดีเซลรถบรรทุกงานหนัก แนว โนมของตลาดมีความตองการผลิตภัณฑ เกรดพรีเมีย่ ม หรือประเภทสังเคราะหเพิม่ มากขึ้น เชลลถือวาเปนรายแรก ๆ ของ ตลาดในประเทศไทยที่เขามาทําตลาดนี้ และมียอดขายโตขึ้นเรื1อย ๆ สําหรับผูป ระกอบการทีต่ อ งการเลือก ใชนํ้ามันหลอลืน1 ของรถบรรทุกงานหนัก เครื1องยนตดีเซล ควรเลือกประเภทนํ้ามัน หลอลื1นที่เหมาะสมกับเครื1องยนต ใหการ ปกปองขั้นสูงสุด เพือ1 สมรรถนะที่ดีเยี่ยม โดยผลิ ต ภั ณ ฑ นํ้ า มั น เครื1อ งเชลล ริ มู ล า ประเภทสังเคราะห เปนผลิตภัณฑเกรด พรีเมีย่ มทีพ่ รอมทํางานหนักเคียงขางผูข บั ขี่
รถบรรทุก โดยมีจุดเดนในเรื1องของการ ปกปองเครื1องยนต ไดอยางทรงพลังในทุก สภาวะการขับขี่ ชวยยืดอายุการใชงานของ เครื1องยนต รวมทั้งชวยประหยัดนํ้ามันเชื้อ เพลิงและคาบํารุงรักษา นํ้ามันเครื1องเชลล ริมูลา สําหรับเครื1องยนตดีเซลรถบรรทุก งานหนักนั้น มีหลากหลายประเภท ตอบ สนองทุกความตองการของผูใชงาน ลูกคา สามารถมัน่ ใจไดวา สามารถหาซือ้ ผลิตภัณฑ ที่มีคุณสมบัติตามความตองการไดแนนอน
ปโตรนาส เนนสรางแบรนใหเปนที่รูจัก
คุณณัฐพงศ อัศวทองกุล ประธาน เจ า หน า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท ป โ ตรนาส อินเตอรเนชันแนล มารเก็ตติ้ง (ประเทศ ไทย) จํากัด เผยวา ปจจุบันประเทศไทย มี ค วามต อ งการนํ้ า มั น หล อ ลื1น มากเป น อันดับ 2 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต รองจากอินโดนีเซีย โดยปโตรนาสจะมุง เนนใหผูบริโภคในเมืองไทยไดรูจักแบรนด และผลิตภัณฑ ผานกลยุทธทางการตลาด ที่จะเขาถึงผูบริโภคไดอยางรวดเร็ว ตรง ตามกลุมเปาหมายของบริษัทฯ ที่วางไว และผู บ ริ โ ภคสามารถหาซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ ปโตรนาสคุณภาพสูงไดงาย สะดวก ใกล บานมากยิ่งขึ้น ดานการตลาด ปโตรนาส จะมุง เนน เจาะ 3 กลุม ตลาดหลัก ไดแก 1. กลุม ตลาด ผูบริโภคนํ้ามันหลอลื1นยานยนตทั่วไป 2. กลุมตลาดอุตสาหกรรมและรถขนสง ซึ่ง ประเทศไทยมีจาํ นวนโรงงานอุตสาหกรรม ขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก จํานวนมาก ทั้งยังเปนศูนยกลางของการ จั ด ส ง สิ น ค า ไปยั ง ประเทศเพื1อ นบ า นใน แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตอีกดวย สวน กลยุทธการจัดจําหนาย ปโตรนาส ประเทศ ไทย มีการจําหนายผลิตภัณฑโดยตรงผาน ผู แ ทนขายของบริ ษั ท สู ก ลุ ม โรงงาน อุตสาหกรรมขนาดใหญ กลุมขนสง และ กลุมผูผลิตรถยนตระดับโลก (OEM) และ จัดจําหนายผานพันธมิตรทางธุรกิจอยาง เปนทางการ (Authorized Distributor) ซื1ง จําหนายผลิตภัณฑครอบคลุมทุกจังหวัดทัว่ ประเทศไทย ปจจุบัน ปโตรนาส ประเทศไทย มี ผลิ ต ภั ณ ฑ นํ้ า มั น หล อ ลื1น สนองความ ตองการครบทุกกลุมยานพาหนะในตลาด ประเทศไทย เช น รถยนต ป ระเภท เ ค รื1อ ง ย น ต เ บ น ซิ น แ ล ะ ดี เ ซ ล ร ถ จักรยานยนต รถบรรทุกสิบลอ รถหัวลาก แ ละร ถโด ยส า รข นา ด ให ญ โ ด ยมี PETRONAS Syntium เพื1อเติมเต็มความ ต อ ง ก า ร ข อ ง ก ลุ ม ร ถ ย น ต บุ ค ค ล , PETRONAS Suvium สํ า หรั บ รถยนต ปคอัพ, PETRONAS Urania สําหรับรถ บรรทุก 6 ลอ 10 ลอ และรถโดยสารขนาด ใหญ, PETRONAS Syntium Moto สําหรับ รถจักรยานยนต 4 จังหวะ ออโตเมติก และ PETRONAS Syntium Moto และ Sprinta สําหรับรถจักรยานยนต 4 จังหวะ
WORLD NEWS • BUS&TRUCK 39
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
วงการต่างแดน ตอจากหนา 1
MCC รับสิทธิ์ดูแลชินเลเต็มตัว พรอมสงออกกลุมอาเซียน ทั้งหมด คุณรินรดี วงศทพิ ยพานิช กรรมการ ผูจัดการ บริษัท เอ็ม.ซี.ซี. ทรัคแอนดบัส อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด เปดเผยวา ดวย ความแข็งแกรงของบริษัทฯจึงสามารถทํา ยอดขายรถใหญที่จําหนายอยูไมวาจะเปน ไบเบน CAMC หรือไซโนทรัค ทําใหทาง คายชินเล รถบรรทุกขนาดเล็กประเทศจีน มีความเชื1อมัน่ มอบหมายใหทาํ ตลาดทัง้ ใน ประเทศไทย สปป.ลาว กัมพูชา เมียนมาร และในอนาคตที่ประเทศอินโดนีเซีย โดยรถบรรทุกเล็ก ชินเล มีขนาด เครื1องยนต 1,100 ซีซี. และ 1,300 ซีซี. ใช นํา้ มันเบนซิน E20 ราคาจําหนายประมาณ 3 แสนบาท ซึง่ ไดวางยอดจําหนายในเมือง ไทยไวที่ 800 คัน และจะมีการเติบโตขึ้นป ละ 1 เทาตัว เพราะชองวางของตลาด SMEs ยังมีอกี มาก ไมวา จะเปนการทําเปน รถขายกาแฟ รถขายผลไม รถขายกับขาว รถขายเครื1องดื1ม ฯลฯ ซึง่ ทางบริษทั ฯจะรับ หนาที่ทําใหลูกคาตามความตองการใน ราคาถูกกวาอูทั่วไปถึง 10,000 บาท รวม ถึงตลาดขนสงที่ใชบรรทุกสินคาผานถนน เล็ก หรือซอกซอยเพื1อนําสงไปยังจุดหมาย ปลายทางอีกดวย “ในชวง 3 เดือนแรกที่ผานมานี้ ไดมี ลูกคาจองรถ ชินเล ไวประมาณ 80 คันแลว ซึ่งมีทั้งรถสวนบุคคลและรถรับสงประจํา
ทาง มีลูกคา 2 กลุมดวยกันคือ ขนสงที่ แหลมฉบัง จ.ชลบุรี และสหกรณขนสงที่ หาดใหญ และเพื1อเพิ่มความตองการของ ลูกคาใหมากขึ้น จึงมองหาไฟแนนซที่คิด เงินดาวนตํ่ากวา 25% คาดวาจะทราบผล ภายในเร็ววันนี้ และทีส่ าํ คัญหากลูกคาจอง ก็จะไดรบั รถเลยเพราะทางบริษทั ฯมีการนํา เขาเปนสต็อกไวจํานวน 120 คันแลว” สวนรถใหญไบเบนก็สามารถทํายอด ขายไดตรงตามความตองการคือประมาณ 50 คันแลว จากเปาที่กําหนดไวภายในปนี้ ที่ 150 คัน คาดวาจะตองขายไดตามเปา หมายที่วางไวอยางแนนอน และเพื1อเพิ่ม ความเชื1อมั่นใหกับลูกคา ทางบริษัทฯจึง มองหาพื้นที่บริเวณบางนาและจ.สมุทร ปราการ เพื1อสรางโชวรมู ศูนยบริการ และ โกดังสต็อกอะไหล พรอมรถโมบายเซอรวสิ ซึ่งจะตองเปดดําเนินการไดภายในปหนา อยางแนนอน ดานงาน BUS & TRUCK ’15 ที่จะ มี ขึ้ น ในวั น ที่ 5-7 พ.ย.58 นี้ ที่ ไ บเทค กรุงเทพฯ ทางบริษัทฯไดเตรียมรถบรรทุก เล็ก “ชินเล” และรถใหญ เขารวมแสดง ดวย พรอมมีแผนสํารองทีจ่ ะสงรถโดยสาร ยี่หอนีโอแพน ประเทศเยอรมนี ซึ่งเปน ตัวแทนจําหนายอยางเปนทางการเขารวม แสดงดวย หากสรุปราคาในการจําหนายได เรียบรอย
ตอจากหนา 1
RCK วางแผนตั้งโรงงานใหม นําเขาแชสซีสจากเวียดนาม แชสซีสเ ดือนละ 100 ยูนติ มาใหประกอบ ที่เมืองไทย คุณสุรชัย ชัยตระกูลทอง ประธาน กรรมการ บริษทั อารซเี ค รุง เจริญ จํากัด เปดเผยวา ทางบริษทั ฯไดวางแผนยกระดับ ใหเปนอูที่ทําธุรกิจดานรถใหญใหครอบ คลุ ม มากขึ้ น จึ ง ได เ ตรี ย มการที่ จ ะตั้ ง โรงงานแห ง ใหม ที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรม อีสเทิรน ซีบอรด จ.ระยอง บนเนื้อที่กวา 40 ไร ประกอบรถเทรลเลอร พืน้ เรียบและ แบบกางปลา ตัวถังรถบรรทุกสิบลอ รถ ดั ม พ และตั ว ถั ง บรรทุ ก นํ้ า มั น แบบ อลูมิเนียม ซึ่งจะเริ่มดําเนินการไดตนป 2559 “ขณะนี้ ไดเริ่มดําเนินการออกแบบ โรงงาน โดยการประกอบไดแยกเปนไลน เพื1อความสะดวกในการทํางาน สวนดาน เครื1อ งจั กร ชิ้ น ส ว น และคนงานนั้น จะ ทยอยย า ยไปและดํ า เนิ น การเสร็ จ สิ้ น 100% ภายในป 2559 สวนโรงงานเดิมทั้ง ที่ศรีราชา 2 แหง และในตัวเมืองชลบุรีอีก 1 แ ห ง ก็ จ ะ เ ป ลี่ ย น ม า เ ป น ธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย ใหบริษัทในเครือดูแล” ทางดานโรงงานประกอบแชสซีสที่ ประเทศเวียดนาม ซึง่ ไดรบั มาตรฐานสากล จนเป น ที่ ย อมรั บ ของอู ป ระกอบภายใน ประเทศเวียดนาม สามารถจําหนายใหตาม อูประกอบรถใหญในเวียดนามไดถึงเดือน
ละ 100 ยูนิต ทางบริษัทฯก็มีแผนที่จะให ทางโรงงานผลิ ต แชสซี ส ส ง มาให อู ประกอบที่อยูเมืองไทยเดือนละ 100 ยูนิต ดวย รวมทั้งในอนาคตตอไป หากตลาดมี การต อ งการรถใหญ เ พิ่ ม มากขึ้ น ทาง บริษัทฯก็จะสั่งแชสซีสเพิ่มขึ้นตามไปดวย ซึ่งโรงงานที่เวียดนามยังมีกําลังการผลิต เพิ่มขึ้นไดอีกจํานวนมาก สวนแผนการตลาดในป 2558 นี้ ทาง บริษัทฯจะทําการเปดตัวสินคาใหม 3 รุน คือ ตัวถังบรรทุกนํ้ามันแบบอลูมิเนียม ตัว ถั ง รถบรรทุ ก ที่ มี นํ้ า หนั ก เบาแต มี ค วาม ทนทานมากยิ่งขึ้น และตัวถังรถดัมพ ที่ เปนผูผลิตไฮโดรลิคเอง ซึ่งสามารถใช ได กับรถดัมพสิบลอและรถดัมพพวง โดย ทั้งหมดจะมีโปรโมชั่นที่ดึงดูดความสนใจ จากลูกคาไดเปนอยางมาก สวนบริษัทในเครือ คือ บริษัท ไทย คูชัย มอเตอรเซลส จํากัด ไดรับสิทธิ์เปนผู แทนจําหนายรถโดยสารยี่หอ SKS จาก ประเทศมาเลเซีย เพื1อเจาะกลุม ลูกคาทีอ่ ยู กึ่งกลางระหวางรถโดยสารญี่ปุนและรถ โดยสารยุโรป ทั้งนี้ เพราะมีมาตรฐาน ระดับสูงใชเครื1องยนต ยี่หอฮีโน และ อีซูซุ สวนระบบเกียรและชวงลางนัน้ ใชยหี่ อ ZF เปนหลัก โดยจะเปดตลาดภายในเดือน พฤษภาคม 2558 นี้
นวัตกรรม
เยอรมนี : BMW - SAMSUNG SDI พัฒนาแบตเตอรี่ใหม รถ PHEV ไซส 3-series บี เ อ็ ม ดั บ เ บิ ล ยู ประกาศความร ว มมื อ กั บ Samsung SDI บ ริ ษั ท ย อ ย ใ น เ ค รื อ ซัมซุง ประเทศเกาหลีใต ภายในงาน 2015 BMW Annual Press Conference ที่มิวนิค เตรียมพัฒนาแบตเตอรีเ่ จนเนอเรชัน่ ใหม สําหรับใชงานในรถยนต ไฮบริดแบบ เสียบปลั๊กชารจ หรือ PHEV : plug-in hybrid vehicle โดยรถยนตรุนแรกที่ จะได ใชงานคือ รถซีดานขนาดคอมแพคทรุนใหมที่ขับเคลื1อนดวยระบบ PHEV ความสําเร็จของซัมซุง ในครั้งนี้ เกิดจากผลงานในการสงมอบแบตเตอรี่ใหกับ บีเอ็มดับเบิลยู อยางไรขอ ผิดพลาดใด ๆ การลงนาม MOU ครัง้ แรกในชวงกลาง ปที่แลวที่อินชอน เปนเพียงบันทึกความเขาใจในการสงมอบแบตเตอรี่บางสวน ใหกับ BMW i3 และ BMW i8 เทานั้น ทวาการควาดีลใหญอยางการเปน ซัพพลายเออรใหกบั รถรุน ใหมของ บีเอ็มดับเบิลยู นับเปนโบนัสกอนใหญสาํ หรับ บริษัทแมอยาง ซัมซุง
ยานยนต
เม็กซิ โก : โตโยตา ลงทุน 1,000 ลานดอลลาร สรางโรงงานใหม โตโยตา ประกาศวาจะสรางโรงงานใหมในเม็กซิโกเปนเงิน 1,000 ลาน ดอลลารหลังจากที่ ไดหยุดขยายการลงทุนมานาน 3 ป นอกจากนีบ้ ริษทั จะเพิม่ สายการผลิตใหมในโรงงานทีม่ อี ยูแ ลวในภาคใตของจีน โตโยตาไดหยุดลงทุนใน โรงงานใหม ๆ หลังจากที่ไดเรียกรถยนตคืนครั้งใหญหลายครั้ง โดยการเรียกรถ คืนครั้งลาสุดเมื1อเดือนตุลาคมที่ผานมา บริษัทเรียกรถเขาตรวจเช็ก 1.75 ลาน คัน โตโยตาเพิ่มแนวโนมกําไรประจําปเมื1อตนปนี้ เนื1องจากการออนคาของเงิน เยนชวยชดเชยยอดขายภายในประเทศทีล่ ดลง คาดวาการผลิตรถยนตในโรงงาน ใหมจะเริ่มขึ้นไดในป 2559 โดยจะเนนผลิตรถยนตโคโรลลาและเทคโนโลยีใหม นอกจากนี้ โตโยตาจะปรับโครงสรางสายการผลิตที่มีอยูในบริษัทที่รวมทุนกับ กวางโจว โตโยตา มอเตอรในจีน โดยมีแผนจะสรางโรงงานเพิ่มภายในปลายป 2560 เวียดนาม : อุตสาหกรรมรถยนตเสี่ยงลม หลังบริษัทรถจอนําเขารับภาษี 0% อุตสาหกรรมรถยนตในเวียดนามกําลังเผชิญตอความเสีย่ ง หลังโตโยตา ประกาศวาอาจหยุดประกอบรถในเวียดนาม จากกรณีการปรับลดอัตราภาษี นําเขารถยนต ในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียนในอนาคต การประกาศของ โตโยตาเมื1อชวงเดือนเมษายน โดย คุณโยชิฮิสะ มารุตะ ประธานบริษัทโตโยตา มอเตอร เวียดนาม ระบุวา กําลังพิจารณาที่จะยุติการผลิต และหันไปมุงเนน การนําเขารถเพื1อใชประโยชนจากการปรับลดอัตราภาษีของขอตกลงเขตการคา เสรีอาเซียน ที่จะมีขึ้นในอีก 3 ปขางหนา ซึ่งตามแผนของขอตกลงเขตการคา เสรีอาเซียน (AFTA) ระบุวา รถยนตที่มีจํานวนที่นั่งนอยกวา 10 ที่นั่ง ที่นําเขา จากประเทศสมาชิกอาเซียน มีอัตราภาษี 50% ในปนี้ จะปรับลดเหลือ 40% ใน ปหนา และ 30% ในปถัดไป และเหลือเพียง 0% ในป 2561 สํานักงานสถิติใหญ เวียดนาม (GSO) รายงานวา เวียดนามใชจายเงินไปกวา 1,570 ลานดอลลารใน การนําเขารถยนต 72,000 คัน ปริมาณเพิ่มขึ้นถึง 103.8% และมูลคาเพิ่มขึ้น 117.3% เมื1อเทียบกับป 2556
ปฎิทินขาว วัน-เดือน-ป
รายละเอียดงาน
ติดตอ
24-28 มิ.ย.2558
Bangkok International Auto Salon 2015 ณ ฮอลล 2-3 อาคารชาเลนเจอร เมืองทองธานี
บจก. อินสไพร เอ็นเตอรเทนเมนท โทร.0-2508-8100 www. bangkokinternationalautosalon.com
1-5 ก.ค. 2558
FAST Auto Show Thailand 2015 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ
บจก. อินสไพร เอ็นเตอรเทนเมนท โทร.0-2508-8100 www.bangkok internationalautosalon.com
16-22 ก.ค.2558
Grand motor show 2015 ณ เซ็นทรัลพลาซา ชลบุร�
Be work media organizer โทร.09-2583-8138 คุณโอ
40 BUS&TRUCK • DIRECTORY
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
Directory ISUZU บร�ษัท ตร�เพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร. 0-2966-2111
SUNLONG บร�ษัท เบสทร�น กรุป จํากัด โทร.0-2750-3901, 0-2750-0227, 08-5999-9499 SLK6752CNG SLK6852D SLK6102D SLK6102CNG SLK6120D SLK6126CNGB SLK6145D ราคาดังกลาวเปนราคานําเขารถสําเร็จรูปทั้งคัน
Coach 7.5 m. Coach 8.5 m. Coach 10 m. Coach 10 m. Coach 12 m. Coach 12 m. Coach 14.5 m.
YUTONG บร�ษัท ไทยคูชัย จํากัด โทร. 0-2393-9831-2
YUTONG มินิบัส 6 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 8 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 12 เมตร
มินิบัส รถธรรมดา รถปรับอากาศ
CNG ดีเซล ดีเซล CNG ดีเซล CNG ดีเซล
-
-
-
2,950,000 4,000,000 4,600,000 4,900,000 6,000,000 6,500,000 7,500,000
1,500,000 2,500,000 4,850,000
HINO บร�ษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2900-5000 Hotline 0-2900-5260 Series 3 XZU600R-4W ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-6W ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU650R (T&S) ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU710R (T&S) ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU720R ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-4W Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-6W Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU650R (T&S) Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 5 FC9JEKA (T&S) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JJKA 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JELA (T&S) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JJLA (Radial Tube) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JLLA (Radial Tube) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FG8JGLD 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JJLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JMLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JPLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JRLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JPLG (Air-Sus 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JGLE 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JJLB 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FL8JNKA 10 ลอ 6x2 Series 5 FL8JTKA 10 ลอ 6x2 Series 5 FL8JNLA 10 ลอ 6x2 Series 5 FM8JNKD 10 ลอ 6x4 Series 5 FM8JNLD 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANKD (T Bias) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANKD (T&S Radial) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANLD (T&S Radial) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNLD (T&S) 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNLD (SPA) ABS 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1AKKM E/G Retarder (Mixer) 10 ลอ 6x4 Series 5 GY2PSLA (S) 12 ลอ 8x4 Series 5 GY2PSLA (T&S 380 Ps) PTO 12 ลอ 8x4 Series 5 FG8JGLT หัวลาก 6 ลอ Series 5 FM8JKKA หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKKA (S) E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKKA (S) PTO E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (S) E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (S) PTO E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (SPA) ABS หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (T&S) หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (S) PTO หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (SPA) ABS หัวลาก 10 ลอ Series 5 RK8JSLA รถบัส Series 5 RM1ESKU รถบัส Series 5 FC4JLNA NGV 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FG1JPKA NGV 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FG1JPKA NGV - Car Carrier 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FL1JTKA-BGT NGV 10 ลอ 6x2 Series 5 FM1JNKD-BGT NGV 10 ลอ 6x2 Series 5 FM1JKKA NGV 10 ลอ NGV Series 5 FM2PNMD NGV 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNMD- A NGV 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PKMA NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-PA NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-P NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-A NGV หัวลาก 10 ลอ NGV
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
136 150 150 150 150 136 150 150 145 145 175 175 175 212 212 212 212 212 212 212 212 212 212 251 212 251 330 330 344 380 380 330 380 380 212 251 330 330 344 344 344 380 380 380 251 380 175 220 220 260 260 260 360 360 360 360 360 360
948,000 978,000 1,035,000 1,190,000 1,206,000 938,000 968,000 1,025,000 1,350,000 1,360,000 1,410,000 1,430,000 1,440,000 1,750,000 1,770,000 1,780,000 1,790,000 1,810,000 1,915,000 1,650,000 1,660,000 2,345,000 2,385,000 2,415,000 2,485,000 2,535,000 2,820,000 2,850,000 2,905,000 2,965,000 3,035,000 2,575,000 3,130,000 3,170,000 1,865,000 2,650,000 2,945,000 2,985,000 2,975,000 3,015,000 3,085,000 3,055,000 3,095,000 3,165,000 2,145,000 3,605,000 1,890,000 2,555,000 2,945,000 3,265,000 3,315,000 3,440,000 3,755,000 3,825,000 3,850,000 3,960,000 3,890,000 3,920,000
MAN บร�ษัท เอ็ม เอ เอ็น คอมเมอรเชียล ว�ฮีเคิลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-0070-5 MAN-CLA 26.280 6x4 Tractor MAN-CLA 26.280 6x4 Mixer
9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 2,999 2,999 2,999 2,999 9,839 7,790 7,790 9,839 7,790 7,790 7,790 4,570 4,570 4,570
360 360 360 360 360 360 300 300 360 360 360 360 360 360 360 360 360 300 300 300 300 300 300 300 300 300 240 240 240 240 210 210 210 190 190 175 175 150 150 130 130 130 130 354 245 245 354 245 245 220 130 130 130
3,347,000 3,177,000 3,177,000 3,317,000 3,147,000 3,147,000 2,582,000 2,559,000 3,294,000 3,294,000 3,044,000 3,044,000 2,694,000 2,727,000 2,680,000 2,680,000 2,580,000 2,565,000 2,544,000 2,662,000 2,642,000 2,621,000 2,504,000 2,432,000 2,412,000 2,391,000 1,875,000 1,854,000 1,844,000 1,818,000 1,536,000 1,526,000 1,484,000 1,486,000 1,476,000 1,350,000 1,334,000 1,225,000 1,209,000 1,029,000 1,024,000 967,000 937,000 3,957,000 3,754,000 3,394,000 3,844,000 3,456,000 3,375,000 2,580,000 1,627,000 1,617,000 1,432,000
รถบรรทุก 4 ลอ รถบรรทุก 6 ลอ รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชางยาว รถบรรทุก 6 ลอ ชวงสั้น รถบรรทุก 6 ลอ ชวงกลาง รถบรรทุก 6 ลอ ชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ ชวงยาวพ�เศษ รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถหัวลาก 10 ลอ
2,977 CC 2,977 CC 2,899 CC 2,899 CC 2,899 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 12,882 CC 12,882 CC
125 125 150 150 150 240 240 240 270 240 270 380 380
934,000 985,000 1,069,000 1,207,000 1,217,000 1,770,000 1,785,000 1,830,000 2,525,000 2,475,000 2,635,000 3,150,000 3,220,000
DONGFENG บร�ษัท ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด โทร.0-2637-5041-3
DONGFENG CNG DONGFENG 8x4 CNG
รถหัวลาก NGV 100% TRACTOR Engine Yuchai
YC 340HP YC 340HP
340 340
3,150,000 3,250,000
BEIBEN บร�ษัท เอ็ม.ซี.ซี. ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.08-1698-1934, 0-7423-0258 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 1827 SY 4x2 V3 2534 BY 6x4 V3 2534 KV 6x4 V3 (chassis )
-
280 280
2,780,000 2,700,000
รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 460 แรงมา
3,600,000 3,900,000 4,100,000 4,350,000 4,500,000 4,700,000 5,200,000
F2000 WP12NG350 F2000 WP12NG380 F2000 WP12NG380 F2000 WP12NG350 F2000 WP 10.336 F2000 WP 10.375 M3000 WP10NG.330 M3000 WP10.330 M3000 WP10.330
380 375 375 375
2,900,000 2,850,000 2,900,000 2,825,000
SANY MIXER 6M3 SANY MIXER 6M3 SANY MIXER 3M3
Tractor (CNG) Tractor (CNG) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Mixcer (Diesel) Dumper(Diesel)
11,596 CC 11,596 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC
380 380 375 375 270 336 336
2,950,000 3,250,000 2,550,000 2,700,000 2,150,000 2,800,000 2,750,000
SHACMAN บร�ษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188-9 Hotline 08-6302-1778
FOTON บร�ษัท โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2882
BJ4257SMFCB-R1 BJ4257MFJB-R1 BJ5257GJB-RA BJ3257DLPJE-R1
10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG
FUSO บร�ษัท ฟ�โซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-2897
FE71BB8SRDH1 FE73BE6SRDH1 FE84DE6SRDH1 FE85DE7SRDH1 FE85DG7SRDH1 FM65F F1RDH1 FM65F H1RDH1 FM65F M1RDH1 FN61FR2RDH1 FN62FM1RDH1 FN61FM2RDH1 FV51JHR3RDH1 FV51JHR3RDH1
รถหัวลาก 10 ลอ รถผสมปูน 10 ลอ
SCANIA P 360 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MNA P 410 LA6x2MSZ K 410 IB6x2NB K 410 EB6x2NI K 460 EB6x2NI
GXZ77NXJFQ (Aero-Max) GXZ77NXFQ (Aero-Max) GXZ77NXXTQ (Aero-Max) GXZ77NXJFQ GXZ77NXXFQ GXZ77NXXTQ GVR34JXXXQ (Aero-Max) GVR34JXXXQ FYH77SXDFQ FYH77SXTDQ FXZ77QXDFQ FXZ77QXDTQ FXZ77PXDXQ FXZ77NXFXQ FXZ34PSDFQ FXZ34PSDTQ FXZ34PNDXQ FVM34TSXXQ FVM34QSXXQ FVM34TNAXQ FVM34RNAXQ FVM34QNAXQ FVM34WNXXQ FVM34TNXXQ FVM34RNXXQ FVM34QNXXQ FTR34QXXXQ FTR34PXXXQ FTR34LXXXQ FTR34JXXXQ FRR90NSXXQ FRR90LSXXQ FRR90HSXXQ FRR90NNXXQ FRR90LNXXQ NQR75LXXXQ NQR75HXXXQ NPR75KXXXQ NPR75HXXXQ NMR85HXXFQ NMR85HXXTQ NMR85EXXXQ NLR85EXXXQ GXZ78NXCFQ (AMAX-A) GVR86KXCXQ (10W 6x2) GVR86KXCXQ (6W 4x2) FXZ78QXBFQ FVM86WXCXQ FVM86TXCXQ FTR86QXCFQ NPR82KXCXQ NPR82HXCXQ NMR82HXCXQ
รถหัวลาก 10 ลอ CNG รถหัวลาก 10 ลอ Diesel รถมิกเซอร 10 ลอ Diesel รถ 10 ลอ Diesel
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV (Retarder) รถหัวลาก 12 ลอ (8x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถโมคอนกร�ต 10 ลอ (6x4) DIESEL
350 380 380 350 336 375 330 330 330
2,725,000 2,825,000 2,945,000 2,925,000 2,425,000 2,525,000 2,775,000 2,475,000 2,670,000
SANY บร�ษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188-9 Hotline 08-6302-1778 รถโมคอนกร�ต 10 ลอ (6x4) DIESEL (Hino P11C-UH) รถโมคอนกร�ต 10 ลอ (6x4)รุนใหม DIESEL (Hino P11C-UH) รถโมคอนกร�ต 6 ลอ (4x2) DIESEL (Cummins)
325 325 140
2,850,000 2,900,000 1,850,000
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
BUS&TRUCK Mart
BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 41
42 BUS&TRUCK • Q & A
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
เสียงจากผู้อ่าน
ถามทาง ไฮดรอลิคสามมิตร รับประกันคุณภาพ
ธุรกิจขนสงกอสรางเริม่ เติบโตขึน้ ดังนัน้ จึงตองการเพิม่ รถดัมพเพื1อ ขนดินและทราย จึงตองการทราบ ขอมูลวาจะเลือกใช ไฮดรอลิคของยี่หอใด ดี เพราะมียี่หอตาง ๆ ใหเลือกอยาง มากมาย ตามอูที่ประกอบตัวถังรถบรรทุก ตาง ๆ ไดมีการทําตัวถังรถดัมพ ด ว ย เพราะถื อ เป น ตลาดใหญ อย า งในปลายป นี้ ก็ จ ะมี โ ครงการของ รั ฐ บาลอี ก หลายโครงการที่ จ ะเริ่ ม ทํ า ดําเนินการ การใชงานของรถดัมพ 6 ลอ รถดัมพ 10 ลอ และรถดัมพพวง จะตอง มีเพิ่มขึ้นอยางแนนอน ในการเลือกใช ไฮดรอลิคเพื1อยกรถ ดัมพนนั้ ก็มใี หเลือกมากมาย ไมวา จะเปน แบบยกกลาง หรือยกหนา ซึง่ คุณภาพใน แบบตาง ๆ ของทุกยี่หอก็จะมีการรับ ประกันคุณภาพทั้งหมด แตที่ โดงดังและสามารถทําตลาด ไดมากสุดก็คอื อูส ามมิตร ใชวสั ดุอปุ กรณ
ทุกอยางที่มีคุณภาพมาประกอบเปนรถ ดัมพ อยางตัวถังนั้นก็ใชเหล็กอยางดี มี นํ้ า หนั ก เบา อายุ ก ารใช ง านยาวนาน สามารถบรรทุกดินและทรายไดหนักเพิม่ ขึ้น สวนดานไฮดรอลิคนัน้ ก็สามารถยก ตัวถังรถดัมพที่มีนํ้าหนักไดสบาย แถมมี สัญญาณเตือนคนขับ หากลืมนําตัวถังรถ ดัมพลง ทัง้ นีเ้ พื1อความปลอดภัยของผูใช งานบนทองถนน รวมทั้งยังมีเกียรปมสามมิตร รุน SMM-140 ชวยใหชองทางการไหลของ นํา้ มันภายในไหลไดสะดวก ทําใหอณ ุ หภูมิ นํา้ มันไมสงู ขณะทํางานหนัก หรือความถี่ ใชงานสูง ชวยใหคุณสมบัติของนํ้ามัน ไฮดรอลิคอยูในภาวะปกติ จึงสามารถ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ดวยเหตุนี้เองจึงทําใหรถดัมพของ สามมิตรมียอดขายมากที่สุดในตลาดรถ ดัมพ โดยเฉลีย่ มียอดผลิตปละกวา 6,000 คัน และสามารถเพิ่มกําลังการผลิตได มากถึงปละ 10,000 คัน หากตลาดมีความ ตองการ
คุณจิรภา ตรีตราบุตร กรุงเทพฯ
ดวยการทํางานที่ทําหนาที่เปนทั้ง นักขาวการตลาด และประชาสัมพันธ จึง ตองอานนิตยสาร BUS & TRUCK เปน ประจํา เพราะใหความรูเกี่ยวกับดาน วงการขนสงเปนอยางดี ทําใหสามารถ เจรจาและแนะนําใหกบั กลุม ผูว า จางไดมี วิธีการทําตลาด เพื1อเพิ่มยอดขายใหมาก ขึ้น สวนขอมูลที่อยากใหลงขาวอยาง ตอเนื1อง ก็คอื วิธกี ารทําตลาดเบาะนัง่ รถ โดยสารยี่หอดํารงศิลป เพราะรับหนาที่ ทําการประชาสัมพันธให ดังนั้นกลุมรถ โดยสารก็ควรทราบความเคลื1อนไหวของ เบาะดํารงศิลป วามีผลิตภัณฑ ใหม ๆ และโปรโมชั่นออกมาชวงไหนบาง
กองบรรณาธิการ
ตองขอขอบคุณมากที่เปนกําลังใจ ในการเปนสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ขอมูล ตาง ๆ ของวงการขนสงที่นําเสนอไปก็ ถือวามีประโยชน เพิ่มความรู ใหกับธุรกิจ ตาง ๆ ที่อยูในวงการขนสง เนื้อหาและ
สาระในทุกฉบับก็จะมีความเขมขน และ ตามกระแสใหรวดเร็ว เพื1อใหขอมูลที่นํา เสนอทันกับความเคลื1อนไหวของตลาด สวนขอมูลตาง ๆ ที่แนะนํามา ก็จะ หาทํ า ให ต ามความต อ งการ โดยจะ รวบรวมข อ มู ล ของตลาดเบาะนั่ ง รถ โดยสารทุกยี่หอกอน ตอจากนั้นจะแบง มาเขาขอมูลแตละยีห่ อ เพื1อใหกลุม ลูกคา รถโดยสารรูขอมูลทั้งหมดอยางละเอียด รับรองไดไมผิดหวังครับ
No. ............./..............
www.BuilderClick.com
44 BUS&TRUCK • POWER SAVING
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
Power Saving
คิดใหดี! เมื่อจะใชรถติด LPG
แว ว ข า วให น า ตกใจอี ก แล ว สําหรับรถที่ใช LPG ตองเตรียมรับมือ และสําหรับใครทีก่ าํ ลังจะเล็งนํารถไป ติดกาซ LPG ก็ตองทบทวนความคุม คากันอีกที เมื1อรัฐบาลไมมนี โยบายสง เสริมการใชกาซหุงตม (LPG) ในภาค ขนสง จากอดีตทีก่ ารติดกาซ LPG ไดรบั ความนิยมอยางแพรหลาย เนื1องจาก กาซ LPG มีราคาถูกกวานํ้ามันมาก แถมติดตั้ง LPG เพียงปกวา ๆ ก็คุมคา การลงทุนแลว แตปจ จุบนั นีห้ ากใครจะ ติด LPG คงตองคิดดูใหดี เมื1อรัฐบาล มีนโยบายชัดเจนจะไมสงเสริมการใช กาซหุงตม (LPG) ในภาคขนสง
คุ ณ วิ ฑู ร ย กุ ล เจริ ญ วิ รั ต น อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน เปดเผย วา ขณะนี้รัฐมีนโยบายชัดเจนจะไม สงเสริมการใชกาซหุงตม (LPG) ใน ภาคขนสง ดังนั้นธุรกิจปม LPG ควรชะลอการขยายปมที่มี 2,003 แหง นอกจากนี้ กระทรวงพลังงาน จะปรับโครงสรางภาษีสรรพสามิต ของ LPG ภาคขนสงใหเทากับภาษี นํ้ามันที่จัดเก็บ 4-5 บาท/ลิตร เพื1อ ความเทาเทียมกันตามคาความรอน
โดยจะจัดเก็บภาษีทหี่ วั จายเพื1อใหงา ยตอ การปองกันการลักลอบใช LPG ขาม ประเภท ซึ่งจะทําใหราคา LPG ขยับขึ้น
การรักษาสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน โดย ป จ จุ บั น ฟอร ด มี ก ารผลิ ต เครื1อ งยนต EcoBoost มากกวา 200,000 เครื1องตอ เดือนทัว่ โลก ทัง้ นี้ เครื1องยนต EcoBoost เปดตัวครั้งแรกในปพ.ศ. 2552 ในรถ ฟอรด ทอรัส เอสเอชโอ ดวยเครื1องยนต EcoBoost V6 ขนาด 3.5 ลิตร โดยในป พ.ศ. 2553 นับเปนปแรกที่มีการผลิต เครื1องยนต EcoBoost ตลอดทัง้ ป สําหรับ ในประเทศไทยนั้ น ฟอร ด ได ติ ด ตั้ ง เครื1อ งยนต EcoBoost ในรถฟอร ด เฟยสตา รุน EcoBoost 1.0L ใหม ที่ให กําลังสูงสุด 125 แรงมา และแรงบิด สูงสุด 170 นิวตัน-เมตร ใหความประหยัด นํ้ามันดีที่สุดในรถระดับเดียวกัน พีที ใจใหญ แจกจริง!! มูลคา รวมกว า 33 ล านบาท บริ ษั ท พี ที จี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) หรือ PTG คืนกําไรใหแกลูกคาทั่วประเทศ ภายใต แคมเปญพิเศษ “พีทีใจใหญ ลุนฟรีลาน ลิ ต ร” มอบรางวั ล ที่ ห นึ่ ง รถกระบะ ISUZU D-Max Space Cap 2.5 S จํานวน 1 คัน มูลคา 577,000 บาท แก คุณเมธี
บุญธรรม ผู โชคดีจากจังหวัดอางทอง พร อ มมอบรถจั ก รยานยนต Yamaha FINO Premium ใหแกผู โชคดีทานอื1น ๆ จํานวน 12 รางวัล นอกจากนี้ยังมอบ คูปองนํ้ามันฟรี 5 ลิตร จํานวน 200,000 ใบ แกผู โชคดี รวมมูลคาของรางวัลทั้ง สิ้นกวา 33 ลานบาท ซั ส โก เติ ม พลั ง รถ ซดชา อิชิตัน บริษัท ซัสโก จํากัด (มหาชน) ผนึกพลังรวมกับ บริษัท อิชิตัน กรุป จํากัด (มหาชน) สรางสรรคแคมเปญ เพิม่ พลังความสดชื1นใหแก ทัง้ รถและคน ด ว ยแคมเปญ “ซั ส โก เ ติ ม พลั ง รถ
ไมตางจากนํ้ามันมาก ขณะเดียวกันกระทรวงพลังงาน จะหารือกับกรมการขนสงทางบก เพื1อ เก็บภาษีปา ยทะเบียนรถยนต LPG เพิม่ ขึ้น และขอใหพิจารณาเก็บภาษีนําเขา อุปกรณ ตัวถัง LPG ที่นํามาดัดแปลง ติดตั้งใช ในรถยนตเพิ่มเชนกัน ซึ่งจะ ทําใหปริมาณรถยนตตดิ ตัง้ LPG ลดลง รูอยางนี้แลวก็ลองพิจารณาดู วาการใชรถติดกาซ LPG จะยังคุมคา หรือไม แตหากถาคุณ มั่นใจวา ขอมูลขางตนที่ นําเสนอไม ไดสงผลกระ ทบตอการใชรถติด LPG ก็ขอสนับสนุนใหใชตอ ไป เพราะโดยรวมแล ว พลังงานในประเทศของ เราก็แปรผันอยูตลอด
พั กเครื่อง
ฟอร ด ฉลองการผลิ ต รถยนตทตี่ ดิ ตัง้ เครื1องยนต ‘EcoBoost’ ครบ 5 ลานคันทั่วโลก โดยรถยนตคัน ที่ 5 ลานทีต่ ดิ ตัง้ เครื1องยนต EcoBoost ไดออกจากสายการผลิต ณ โรงงาน ฟอรดที่รัฐมิชิแกน โดยรถฟอรด โฟกัส เปนรถคันที่ 5 ลานที่ติดตั้งเครื1องยนต EcoBoost 1.0 ลิตร เทอรโบ ซึ่งความ สําเร็จนี้ เปนอีกหนึ่งความสําเร็จจาก แผน One Ford ในการเดินหนาติดตั้ง นวัตกรรมใหม ๆ ในผลิตภัณฑของ ฟอรด รวมถึงแสดงความมุงมั่นของ บริษัทฯ ในการนําเสนอแมแบบเพื1อ
ซดชาอิชติ นั ” ซึง่ ถือเปนแคมเปญความ รวมมือลาสุด ที่ซัสโก ไดดึงพันธมิตร ธุรกิจชาระดับแนวหนาของเมืองไทย มารวมมอบความสดชื1นภายในสถานี บริการนํ้ามัน ซัสโก เพียงเติมนํ้ามัน ชนิดใดก็ไดครบ 800 บาท รับฟรีทนั ที... ชาอิชติ นั รสมัทฉะ หรือรสอูห ลง 1 ขวด โดยแคมเปญดังกลาวไดเปดฉากขึ้น แลวตัง้ แตวนั นีถ้ งึ 30 มิ.ย. ศกนี้ ทีส่ ถานี บริการนํ้า มัน ซัส โกที่ร ว มรายการทั่ว ประเทศ
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
SMEs TRUCKS • BUS&TRUCK 45
เกาะติดพาณิชย์น้อย
SHINERAY
ขุมพลังแรง ประหยัด รักษสิ่งแวดลอม
การขนสง ถือเปนหัวใจหลักเกือบจะทุกสาขาอาชีพ เมือ ่ มีรถขนสงทีม ่ ี ทัง ้ ขุมพลังแรง ประหยัด รักษสง ิ่ แวดลอม ยิง ่ ตอบโจทยในเรือ ่ งการชวยลด โลกรอน
“เกาะติดพาณิชยนอย” ฉบับนี้ อยากแนะนําใหรูจักรถบรรทุกขนาด เล็ก ที่มีนามวา “SHINERAY” ที่ทาง “บริษัท เอ็ม.ซี.ซี. ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด” นําเขามา จากประเทศจีน เพื1อมาจําหนายใน ประเทศไทย เวลาผ า นไปเพี ย งไม น าน “SHINERAY” สรางยอดจองไดถงึ 80 คัน ถึงแมวาจะยังไมจําหนายอยาง เปนทางการ โดยทาง บริษทั เอ็ม.ซี.ซีฯ วางเปายอดขายไวที่ 800 คันตอป ซึ่ง ถือเปน “มามืด” อีกคายที่จะเขามา แยงสวนแบงทางการตลาดในกลุม ขนสงขนาดกลาง ขนสง SMEs และ ขนสงขนาดเล็ก ที่ประเทศไทย “SHINERAY” มีขุมพลังแรง ประหยัด รักษสิ่งแวดลอม แรงดวย เครื1องยนต 4 สูบ 16 วาลว MFI พรอม
รองรับนํ้ามัน E20 ชวยประหยัด และ มั่นใจดวยมาตรฐานไอเสียยูโร 4 แข็งแรง สูง านหนัก ดวยชวงลาง แข็งแรงคงทน เสริมดวยแผนเหน็บ 6 แผน ซายและขวา ชวยใหบรรทุกสูงสุด ไดถึง 1,000 กิโลกรัม พรอมสูงานหนัก กระบะยาวถึง 2.7 เมตร ความกวางที่ พอดี 1.5 เมตร และทายเปดได 3 ดาน ไมมีซุมลอ ตอบสนองทุกความตองการของ คุณดวยออฟชั่นเหนือระดับ อาทิ กระจก หนาตางไฟฟา ระบบเซ็ลทรัลล็อค กุญแจ รีโมท โคมไฟหนาเลนโปรเจคเตอรสอง สวางไดไกลกวา วิทยุ MP3 และผอนแรง ดวยพวงมาลัยพาวเวอร แบบเครื่องยนต ความจุกระบอก สูบ 1.298 กําลังสูงสุด 63 แรงมา 6,000 รอบ/นาที แรงบิดสูงสุด 105 นิวตันเมตร 3,500-4,500 รอบ/นาที อัตราสวนกําลัง
อัด 125 กม./ชม. ความจุถังนํ้ามัน 40 ลิตร มิ ติ แ ละนํ้ า หนั ก ยาว 4,592 มิลลิเมตร กวาง 1,510 มิลลิเมตร สูง 1 , 8 7 0 มิ ล ลิ เ ม ต ร พื้ น ที่ บ ร ร ทุ ก 2,706x1,506x340 ฐานล อ 2,760
มิลลิเมตร ระยะหางลอคูหนา 1,300 มิลลิเมตร ระยะหางลอคูหลัง 1,310 มิลลิเมตร ระยะตํ่าสุดจากพื้น 165 มิลลิเมตร รัศมีวงเลี้ยว 6 เมตร นํ้า หนักตัวรถ 890 กิโลกรัม ขนาดยาง 155/R13LT จํานวน 2 ที่นั่ง
46 BUS&TRUCK • B&T PRODUCTS
ปกษแรก • พฤษภาคม 2558
BUS&TRUCK Products U 1 Lite
GPS ประสิทธิภาพสูง มีเซ็นเซอรวดั ระดับ นํ้ามัน เซ็นเซอรตรวจจับแรงกระแทก กรณีรถชน รับรองรับระบบ Barcode และ RFID สําหรับงานติดตาม และจัดสง เนนประสิทธิภาพ
บจก.เกรท คอรเนอร อินเวนท เทค โทร.0-2938-1451
SL-80T
GPS C5HD
จีพีเอสติดตามรถประสิทธิภาพสูง เหมาะ สําหรับรถทุกขนาด ฟงกช่ันครบครัน ตัว เครื1อ งใช ชิ ป เซ็ ท คุ ณ ภาพสู ง ทํ า ให รั บ สัญญาณดาวเทียมไดรวดเร็วและแมนยํา จึง เหมาะสํ า หรั บ รถทุ ก ประเภท ทั้งรถขนาด เล็กและรถขนาดใหญ
บจก.ไซเบอรดิก (เทคโนโลยี) โทร.0-2679-8008
บจก.จีพีเอส ไทย สตาร โทร.08-1565-9834
Nuvi 42 Thai
เครื1องวัดความเร็ว ระยะทาง และแจง เตือนเมื1อความเร็วเกินกําหนดของยาน พาหนะดวยจีพีเอส ออกแบบเพื1อใหผู ใช งานสามารถทราบถึงระยะทาง ความเร็ว รถยนต แ ละพิ กั ด ของ ยานพาหนะด ว ยระบบ จีพีเอสผานดาวเทียม
เนวิเกเตอรนําทางหนาจอสัมผัสสุดคมชัด ขนาด 4.3” นําทางดวยเสียงแบบเลี้ยวตอ เลีย้ ว พรอมแผนทีป่ ระเทศไทยทีด่ ที สี่ ดุ จาก NOSTRA Map
บจก.ซัน อิเล็คทริคอล เทคโนโลยี โทร.0-2532-8278
บจก.อีเอสอาร ไอ (ประเทศไทย) โทร.0-2266-9944
เบ็นดิกซ เฮฟวี่ ดิวตี้
GPS Tracker รุน TS1
หนาจอสี HD ขนาด 5” ระบบสัมผัส รับสัญญาณไดฉับไว Bluetooth Hand free ปลอดภัยในการใช โทรศัพทขณะขับรถ ชองตอ AV สําหรับติดตั้งกลองมองหลังรถ และทีวี Box หนวยเก็บความจําภายในขนาด 8GHz ซอฟแวรนําทาง SpeedNavi รุน ลาสุด รองรับไฟล มัลติมีเดียหลาก หลายรูปแบบ
ขาคันเรง ขาเบรก ขาคลัทช
MODEL : KP-75B
สมรรถนะการสงทางทฤษฎี 75(ml/r) อัตรา การหมุน 800(r/min) ความเร็วรอบสูงสุด 1800(r/min) อัตราความดัน 7(MPa) ความดันสูงสุด 21(Mpa) นํ้าหนักของปม 20(kg)
บจก.ซิ่นหงไท กรุป โทร.0-3446-9669
R157 TL
สุดยอดผาเบรกที่ผลิตขึ้นมาโดยเฉพาะ สํ า หรั บ รถป ค อั พ และรถตู ที่ ใ ช ง าน หนัก ไมวาจะเปนการวิ่งระยะทางไกล ระหวางจังหวัด ดวยความเร็วหรือการ บรรทุกหนัก ซึ่งผูขับขี่ยอมตองการผา เบรกที่ปลอดภัยที่สุด
ผูผ ลิตรายเดียวในประเทศไทยทีจ่ าํ หนายชุด ABC ใหกับคายรถยนต Isuzu นอกจากนั้น ยังไดนําเทคนิคการผลิตชุด ABC ที่ ไดจาก การทําสัญญารับความชวยเหลือจาก SUT มาพัฒนาเพิม่ เติมจนสามารถผลิตชุด ABC จําหนายใหคายรถ Toyota ทุกรุน
ยางเรเดียลแบบไมใชยางใน (Tubeless) ยา งสําหรับรถบรรทุกและรถโดยสารที่ ไดรับ การพั ฒ นาเพื1อ สนองตอบธุ ร กิ จ ขนส ง ที่ ต อ งการความปลอดภั ย สู ง เหมาะกับสภาพการใชงานระยะ ทางไกลบนถนนทางเรียบดวย หนายางกวางเปนพิเศษ เพิ่ม ประสิทธิภาพในการยึดเกาะถนน เปนเยี่ยม
บจก.ไทรพลัส โทร.0-2793-6999
บมจ.ยานภัณฑ จํากัด (มหาชน) โทร.0-2311-7398
บจก.บริดจสโตนเซลล (ประเทศไทย) โทร.0-2636-1555
กันโคลนหุมลอ Seemok
งายตอการติดตั้ง เพียงถอดกันโคลนชิ้นเดิมที่ติดมากับรถ แลวติดตั้งกันโคลน Seemok ซึ่งชิ้นใหญกวาตัวเดิม ดวยตัว ล็อค (Clip Lock) ยึด ตามจุดที่กําหนด โดย ไม ต อ งเจาะตั ว ถั ง รถ ทําความสะอาดไดงาย และปลอดสนิม บจก.เสถียรพลาสติค แอนด ไฟเบอร โทร.0-2546-1802
แว็กซี่นํ้ายาบํารุงรักษาเครื่องหนัง
ผลิตภัณฑสูตรพิเศษปองกันรังสียูวี ชวย บํารุงรักษาเครื1องหนังและพื้นผิววัสดุทุก ชนิดให คงทน สดใสเปนประกาย และเงา งามเหมือนใหมอยูเ สมอ ชวยยืด อายุการใชงานของพื้นผิววัสดุ ตาง ๆ ปองกันการแหงกรอบ แตกราว สีซดี จาง โดยไมเหนียว เหนอะหนะและมีกลิ่นหอม บจก.สยามแว็กซี่ สแตนดดารด โทร.0-2917-0566
SYNPOWER (ซินพาวเวอร)
Ate (เอเต) DOT 3, DOT 4
SAE 5W-30 API SN, ILSAC GF-5, ACEA A, A5 Protection ซินพาว เวอร นํ้ า มั น เครื1อ งยนต เ บนซิ น สังเคราะหเทคโนโลยีขนั้ สูงสุดเหนือ กวานํ้ามันเครื1องทั่วไป ปกปองการ สึกหรอของเครื1องยนต และปองกัน การเกิดคราบสกปรกอายุการใชงาน ยาวนานกวาและรักษาชิ้นสวนของ เครื1องยนตใหสะอาดอยูเสมอ
นํ้ามันเบรกคุณภาพสูง ความรอนสูง ทําให นํา้ มันเบรกยังมีคณ ุ สมบัตทิ ดี่ อี ยู แมในขณะ ทีร่ ถยนตถกู ใชงานอยางหนัก เหมาะสําหรับ รถยนตทุกรุนทุกยี่หอ
บจก.วาโวลีน (ประเทศไทย) โทร.0-2618-2790
บจก.นครไทยยนต โทร.0-2731-1550
รถบรรทุกผลิตสเลอรี่ซีลและฉาบผิวถนน
Foton Auman Diesel
Macropaver เปนรถยนตบรรทุกสําหรับ การฉาบพื้นผิวถนนแบบสเลอรี่ซีล เหมาะ สําหรับการปองกันและการรักษาผิวถนน ไม ใหเกิดการเสียหายไดงายจากการใชงาน และสภาวะธรรมชาติ
รถบรรทุ ก สิ บ ล อ ลากจู ง แบบสองเพลา (6×4) ในแบบ European Style เครื1องยนต Diesel 375 แรงมา แรงบิด 1460 นิวตันเมตร เทอรโบอินเตอรคลู เลอร 12 เกียร เดิน หนาแบบมีซินโครเมซ เหนือชั้นกวาดวยเบรก ABS
บจก.คอสโม ทรัค แอนด อีควิปเมนท โทร.0-2459-5888
บจก.โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) โทร.0-2567-2882