Contents
[004]
ภิรักษ์ อนุรักษ์เยาวชน พฤกษ์ เดชกำ�แหง 022 วิสันต์ ตั้งธัญญา 028 ธนพล แก้วพริ้ง 034 ธีรวัฒน์ วิญญรัตน์ 040 ธวัชชัย พัฒนาภรณ์ 046 อภิลักษณ์ พวงแก้ว 050 ศุภชัย เกศการุณกุล 056 อนุชัย ศรีจรูญพู่ทอง 062 จิรฐา นรพิทยนารถ 068 เกรียงไกร ไวยกิจ 072 วรรณี ชัชวาลทิพากร 078 วรนันทน์ ชัชวาลทิพากร 086 สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา 090 องอาจ สาตรพันธุ์ 094 สันติ ฉันทวิลาสวงศ์ 098 ประภากร วทานยกุล 102 กวิศ ปานม่วง 106 ชนสิทธิ์ สุนทราณู 110 วรนล สัตยวินิจ 114 กฤษฎา บุญเฉลียว 118 ปิตุพงษ์ เชาวกุล 122 สมชาย จงแสง 126 เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ 130 วรฤทธิ์ อนันต์สรรักษ์ 134 ชนะ สัมพลัง 138 พงษ์เทพ สกุลคู 142 ทรงสุดา อธิบาย 146 ต้นข้าว ปาณินท์ 150 วีรวุฒิ นนทเวชช์ 154 สัญชัย ลุงรุ่ง 158 เมธา บุนนาค, เล็ก 166 สมคิด เปี่ยมปิยชาติิ 172 จิระนันท์ พิตรปรีชา 176 ธีรภาพ โลหิตกุล 180 กมล เผ่าสวัสดิ์ 184 นพคุณ กุลสุจริต 188 เมธี น้อยจินดา 192 อินทิรา เจริญปุระ 196 ประธาน ธีระธาดา 200 นวรัตน์ รุ่งอรุณ 204 สันติ ลอรัชวี 208 ’รงค์ วงษ์สวรรค์
Pirak Anurakyawachon
010
Pruk Dejkhamhaeng
016
Wison Tungthunya Tanapol Kaewpring Teerawat Winyarat Tawatchai Pattanaporn Aphiluck Puangkaew Supachai Ketkaroonkul Anuchai Secharunputong Jiratha Narapittayanart Kriengkrai Waiyakij Vannee Chutchawantipakorn Waranun Chucthawantipakorn Sumet Jumsai Ongard Satrabhandhu Santi Chantavilasvong Prabhakorn Vadanyakul Kawis Panmaung Chonnasit Sundaranu Woranol Sattayavinij Krisada Boonchaleow Pitupong Chaowakul Somchai Jongsaeng Kiattisak Veteewootacharn Vorrarit Anantsorrarak Chana Sumpalung Pongthep Sagulku Songsuda Adhibai Tonkao Panin Weerawut Nontavech Sanchai Loongroong Lek Bunnag Somkid Paimpiyachat Chiranan Pitpreecha Teeraparb Lohitkun Kamol Phaosavasdi Nopakun Kunsujarid Maythee Noijinda Inthira Charoenpura Pratarn Teeratada Navarutt Roongaroon Santi Lawrachawee ’Rong Wong-Savun
[005]
Introduction
One picture represents hundreds of meaningful words, so the architectural photo can communicate and indicate many things without limit, like other kinds of photographs, depending on who the person is taking the photos. Professional photographers give priority to technique and accessories, teaming up with the best angle selection, lighting design, and timing. Whilst architects or designers place importance in space, material surfaces, lines, and architectural details. The artist or others involved in an artistic industry on the other hand, pay attention to life and the emotion of people in front of them in order to thread stories and build imagination as a part of the component in architectural beauty. FRAMING ARCHITECTURE editing team would like to open a new perspective of photography, under the narrative of concepts and viewpoints of 43 people from various industries. These range from professional architectural photographers, designers from different areas such as architects, [006]
landscape architects, interior designers, through to artists who are poets, writers, musical artists, etc. They express their thoughts in order to present inspiration and attitudes towards architecture so that readers would receive the taste of 200 pictures with a variety of thoughts throughout the 43 showcases. Good architectural photograph must not only combine photography techniques, accessories, components or quality of the picture, but also be able to communicate to people, to understand feelings, stories, attitudes, and the imagination of the photographer. Then, that architectural photograph will hold a beautiful meaning and appear perfectly within the frame. I would like to thank Mr. Nithi Sthapitanonda, who initiated the idea, and gave the editing team the opportunity to do the book. I also want to thank all the photographers who produced these beautiful and creative works with many stories and emotions as shown in FRAMING ARCHITECTURE.
ภาพถ่ายหนึง่ ภาพแทนความหมายหลายร้อยค�ำพูด ดังนัน้ ภาพถ่ายสถาปัตยกรรมจึงสามารถสื่อสารและบ่งบอก อะไรได้มากมายไร้ขีดจ�ำกัดเช่นเดียวกับภาพถ่ายอื่นๆ จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ว่า ใครคือผู้ถ่ายภาพ สถาปัตยกรรมนั้น ช่างภาพอาชีพอาจให้ความส�ำคัญกับเทคนิคและอุปกรณ์ การถ่ายภาพ ผนวกกับมุมที่ดีที่สุด การจัดแสง รวมทั้ง มิติของเวลา สถาปนิกหรือนักออกแบบจะสนใจในที่ว่าง พืน้ ผิววัสดุ เส้นสายและรายละเอียดของงานสถาปัตยกรรม ในขณะที่ศิลปินหรือผู้ที่อยู่ในแวดวงศิลปะแขนงต่างๆ จะ ค�ำนึงถึงอารมณ์และชีวิตของผู้คนที่ปรากฎอยู่เบื้องหน้า เพือ่ ร้อยเรียงเรือ่ งราวและสร้างจินตนาการให้เป็นส่วนหนึ่ง ในองค์ประกอบความงามของภาพสถาปัตยกรรมนั้น ผู้จัดท�ำหนังสือ Framing Architecture ต้องการ เปิดมิติใหม่ของหนังสือภาพถ่าย โดยเฉพาะภาพถ่าย สถาปัตยกรรม จึงได้รวบรวมผลงาน ภายใต้บทบรรยาย แนวความคิดและมุมมอง ของผูค้ น 3 กลุม่ จากหลากหลาย วงการ ตั้งแต่ช่างภาพอาชีพถ่ายภาพงานสถาปัตยกรรม นักออกแบบสาขาต่างๆ ได้แก่ สถาปนิก ภูมิสถาปนิก มัณฑนากร ฯลฯ และคนในแวดวงศิลปะ ได้แก่ ศิลปิน กวี นักเขียน นักดนตรี ฯลฯ เพื่อน�ำเสนอแรงบันดาลใจและ
ความรูส้ กึ นึกคิดของเขาเหล่านัน้ ทีม่ ตี อ่ งานสถาปัตยกรรม ให้ผู้พลิกเปิดหนังสือเล่มนี้ได้รับอรรถรสของภาพถ่าย กว่า 200 ภาพ และสารพันเรื่องราวความคิดจากเจ้าของ ผลงาน 43 คนอย่างเต็มอิ่ม ภาพถ่ายสถาปัตยกรรมที่ดีมิได้หมายถึง เทคนิคและ อุปกรณ์ถ่ายภาพ องค์ประกอบหรือคุณภาพของภาพ เท่านั้น แต่ต้องสามารถสื่อสารให้ผู้คนได้เข้าถึง เข้าใจ รวมทั้งบอกเล่าอารมณ์ จินตนาการ และทัศนคติ ของ เจ้าของผลงาน จึงจะเป็นภาพถ่ายสถาปัตยกรรมที่มีความ หมายงดงาม ปรากฎอยู่ในกรอบนั้นสมบูรณ์แบบอย่าง แท้จริง ขอขอบคุณ คุณนิธิ สถาปิตานนท์ ที่ริเริ่มแนวคิดและให้โอกาสผู้จัดท�ำ รวมถึ ง เจ้ า ของภาพถ่ า ยสถาปั ต ยกรรมทุ ก ท่ า นที่ ร ่ ว ม สร้างสรรค์ผลงานอันงดงามพร้อมเรื่องราวหลายอารมณ์ ดังปรากฎในหนังสือ Framing Architecture นี้
[007]
Personally, I think the charm of architectural photography is when we make an attempt to take photographs of some places where few people have visited, or discover a view point others seem not to have noticed, and share them for other people to see. The excitement people express after seeing those images make me proud. To me, photography is about a journey and storytelling through images. Frequently, many people ask me, where is the fun in architectural photography? The question reminded me of when we were still in school. We made our way through to a small Le Corbusier’s chapel, Ronchamp. We were standing there, stroking the rough concrete surface and tears were coming out of our eyes, mumbling the word ‘beautiful’ a few times. I then realized where the fun in architectural photography was. Maybe because I am also an architect, I understand how long it takes for such building to be built, and how many people are needed to construct it. So the architecture holds true value within itself. Beautiful building should be captured by a good camera and a good film. Then, by processing the film carefully, the images may be kept as historical references.
โดยส่วนตัวแล้ว เสน่ห์ของงานถ่ายภาพสถาปัตยกรรมมันอยู่ตรงที่ ยิ่งเราดั้นด้น ไปถ่ายงานในที่ที่ไม่ค่อยมีคนเข้าไปถึง หรือค้นพบมุมมองที่คนอื่นมองไม่เห็น แล้วเอามาแบ่งปันให้คนอื่นได้เห็น ได้ตื่นเต้น รู้สึกภูมิใจ เป็นเรื่องของการเดินทาง และการเล่าเรื่องด้วยภาพ มีคนถามบ่อยๆ ว่างานถ่ายตึกสนุกตรงไหน ก็นึกไปถึง สมัยตอนเรียน ทีเ่ ราดัน้ ด้นไปถ่ายรูปโบสถ์เล็กๆ ของ Le Corbusier ที่ Ronchamp ไปยืนลูบๆ คล�ำๆ ผิวคอนกรีตทีห่ ยาบๆ สากๆ แล้วน�ำ้ตาไหล ยืนพึมพัมอยูค่ นเดียว ‘สวยจริงๆ’ ก็เลยส�ำเหนียกได้ว่า ความสุขของเราเวลาถ่ายรูปตึกมันอยู่ตรงนี้นี่เอง แล้วก็คงเพราะเป็นสถาปนิกด้วย เลยเข้าใจว่า ตึกหนึ่งหลัง กว่าจะสร้างเสร็จมันใช้ เวลานาน ใช้คนจ�ำนวนมากสร้าง เลยมีคณ ุ ค่าในตัวเอง ตึกดีๆ สวยๆ ก็นา่ จะถูกถ่าย ด้วยกล้องดีๆ ฟิล์มดีๆ ล้ า งอั ด โดยช่ า งฝี มื อ ประณี ต จะได้ มี รู ป เก็ บ ไว้ น านๆ เป็นพงศาวดาร เวลาจะอ้างอิงเชิงประวัติศาสตร์ก็ใช้ได้
PIRAK ANURAKYAWACHON ภิรกั ษ์ อนุรกั ษ์เยาวชน Photographer | ช่างภาพ [010]
Framing Architecture
BU Landmark Complex, Pathum Thani, Thailand 90mm (Equal to 24mm in 135 Camera) • Film 4x5 • ISO100 • 1min • F 4.5
[011]
Pirak Anurakyawachon
Wat Khao Buddhakhodom, Si Racha, Chon Buri, Thailand 90mm (Equal to 24mm in 135 Camera) • Film 4x5 • ISO100 • 1/2s • F 6.8
[012]
ภิรักษ์ อนุรักษ์เยาวชน
Maduzi Hotel, Bangkok, Thailand 40mm (Equal to 24mm in 135 Camera) • Film 6x6 • ISO100 • 1/15s • F 22
Maduzi Hotel, Bangkok, Thailand 40mm (Equal to 24mm in 135 Camera) • Film 6x6 • ISO100 • 30s • F 22
Practika Furniture Plant, Bangkok, Thailand 40mm (Equal to 24mm in 135 Camera) • Film 6x6 • ISO100 • 1/2s • F 22 [015]
Architecture expresses itself differently at each point in time, but the most important thing is to capture the feel of architecture at the specific moment and execute it from different points of view.
สถาปัตยกรรมจะแสดงอารมณ์ออกมาแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลา สิง่ ทีส่ �ำคัญทีส่ ดุ คือ การที่ต้องเดินเข้าไปจับอารมณ์ของสถาปัตยกรรมในช่วงขณะนั้น ให้ออกมา ในมุมมองทีแ่ ตกต่างออกไป
PRUK DEJKHAMHAENG พฤกษ์ เดชก�ำแหง Photographer | ช่างภาพ [016]
Framing Architecture
Pathum Thani, Thailand • Film 120 [017]
พฤกษ์ เดชกำ�แหง
Thames Barrier, London, England • Digital SLR [019]
[020]
To me, taking architectural photographs is to perceive the real experience which is beyond and different from a design process. It is like seeing the result of a design in its tangible form through width, length, depth, size, darkness and brightness, matt and gloss, hot and cold, order, direction and its continuity. I am happy to experience great designs, and capture it the way I see and prefer.
การถ่ายภาพสถาปัตยกรรมส�ำหรับผม คือการเข้าไปรับรูป้ ระสบการณ์จริง ทีน่ อกเหนือ และแตกต่างไปจากขั้นตอนการออกแบบ เป็นการเห็นผลลัพธ์จากการออกแบบ ทีเ่ ป็นรูปธรรม เห็นความกว้างยาวลึก เห็นความเล็กใหญ่ ความมืดสว่าง ความเงาด้าน ความร้อนหนาว เห็นล�ำดับและทิศทาง เห็นความต่อเนือ่ ง และเป็นความสุขทีไ่ ด้สัมผัส งานออกแบบที่ดี และได้ถ่ายทอดออกมาในมุมที่ตัวเองเห็นและชอบ
WISON TUNGTHUNYA วิสันต์ ตั้งธัญญา Photographer | ช่างภาพ [022]
Framing Architecture
Abandoned Buildings, Rama 3 Rd., Bangkok, Thailand 65mm • Transparency and B/W Negative Film 120 (6x12) • ISO100 • 1/15s • F 32
[023]
[024]
วิสันต์ ตั้งธัญญา
Chai Tour Head Office, Bangkok, Thailand 24mm • Digital SLR • ISO100 • 1/8s • F 16
Abandoned Buildings, Rama 3 Rd., Bangkok, Thailand 90mm • Transparency Film 120 (6x12) • ISO100 • 1/250s • F 8 [025]
All of the works presented here are from the first 2 years of my career. It was the time when I knew nothing and was tremendously eager to learn. I started with the architectural and landscape photo shoots. The first thing I learned was to look at an object in a big picture, 180 degrees. Then, I would be able to shoot the object in different angles, an unlimited number of times.
งานทั้งหมดนี้ เป็นงานที่เริ่มถ่ายรูปช่วงสองปีแรกของการท�ำงาน เป็นช่วงของ การเรียนรู้อย่างเมามัน จากการที่ไม่รู้อะไรเลยสักอย่าง เริ่มงานจากการถ่ายภาพ สถาปัตยกรรม และแลนด์สเคป และสิ่งที่ได้เรียนรู้เป็นอย่างแรกคือ มองสิ่งที่เรา จะถ่ายเป็นภาพใหญ่ในมุม 180 ํ รอบด้าน แล้วหลังจากนั้นจะสามารถถ่ายภาพ ในมุมที่แตกต่างได้จ�ำนวนนับไม่ถ้วน
tanapoL KAEWPRING ธนพล แก้วพริ้ง Photographer | ช่างภาพ [028]
Framing Architecture
The Chedi Chiang Mai Hotel, Chiang Mai, Thailand Film 120
[029]
[032]
ธนพล แก้วพริ้ง
Film Slide 135
Bangkok, Thailand 24mm • Digital SLR • ISO200 • 1/50s • F 18 [033]
I am so content when I am in the presence of great architecture, and it would be great if I happened to bring my camera.
ผมมีความสุขเวลาอยู่ในสเปซของสถาปัตยกรรมที่ดีและมันคงดีถ้าผมน�ำกล้อง ถ่ายรูปไปด้วย
TEERAWAT WINYARAT ธีรวัฒน์ วิญญรัตน์ Photographer | ช่างภาพ
[034]
Framing Architecture
National Science Museum, Berlin, Germany 75mm • Film 120 [035]
ธีรวัฒน์ วิญญรัตน์
[037]
[038]
I take photographs in order to communicate a story of life, even though some pictures are classified as architectural photos. Architecture intimates with people, places, and the environment, thus architecture can tell us about life. The black and white (analog) photo that has been through a well-developed process fulfills perfection in dimensions of light and shadows. It drives the beauty out in a way digital media is unable to imitate.
ผมถ่ายภาพเพื่อเล่าเรื่องวิถีชีวิตผู้คน บางภาพอาจถูกจัดอยู่ในประเภทภาพถ่าย สถาปัตยกรรม เพราะสถาปัตยกรรมเกีย่ วข้องใกล้ชดิ กับคน สถานที่ สภาพแวดล้อม สถาปัตยกรรมจึงบอกเล่าชีวิตของคนโดยตัวเอง ภาพถ่ายขาวด�ำ (analog) ผ่าน กระบวนการล้างอัดอย่างดี ช่วยเติมเต็มความสมบูรณ์ในมิติของแสงและเงา ขับส่ง ความงามในลักษณะที่สื่อ digital ยังไม่สามารถลอกเลียนแบบได้
TAWATCHAI PATTANAPORN ธวัชชัย พัฒนาภรณ์ Photographer | ช่างภาพ [040]
Framing Architecture
Klong Suan Market, Chachoengsao, Thailand 35mm • Film 135 • ISO400
[041]
Tawatchai Pattanaporn
Central Mosque, Pattani, Thailand 75mm • Film 120 • ISO800 • 1/15s • F 5.6
[044]
Central Mosque, Pattani, Thailand 75mm • Film 120 • ISO800 • 1/15s • F 5.6
ธวัชชัย พัฒนาภรณ์
Bangkok, Thailand 75mm • Film 120 • ISO400 [045]
Perhaps the declination and imperfection of local buildings make it necessary for them to be disposed of. But within that imperfection, I feel like these buildings are alive. There are tales to be told through the traces of time, seasons and multiple owners who did things to the buildings with or without intention. With the mutual aid of human and nature, the journal of life is continually being written but one day, these memories will be erased and replaced by modernity.
ความทรุดโทรมและความไม่สมบูรณ์อาจเป็นความเสือ่ มโทรมทีต่ อ้ งก�ำจัดทิง้ ไป แต่ใน ความไม่สมบูรณ์นั้น ผมรู้สึกเหมือนว่าตึกรามบ้านช่องเหล่านั้นมีชีวิต และพวกเขา เล่าเรือ่ งบางอย่างจากร่องรอยทีผ่ า่ นกาลเวลา ฤดูกาล และหลายเจ้าของ ทัง้ ทีต่ งั้ ใจและ ไม่ตงั้ ใจท�ำบางอย่างกับสิง่ ก่อสร้างนัน้ ๆ แต่ดว้ ยความร่วมมือของมนุษย์และธรรมชาติ เขียนบันทึกความทรงจ�ำร่วมกันนัน้ จะถูกลบล้างไปสักวัน พร้อมๆ กับการแทนทีด่ ว้ ย ความทันสมัย
SUPACHAI KETKAROONKUL ศุภชัย เกศการุณกุล Photographer | ช่างภาพ [050]
Framing Architecture
Yaowarat Rd., Bangkok, Thailand 90mm • Film 135 • ISO160 • F 2.8 [051]
Supachai Ketkaroonkul
Bang Lamphu, Bangkok, Thailand 100mm • Film 120 • ISO160 • F 3.5 [052]
Supachai Ketkaroonkul
Yaowarat Rd., Bangkok, Thailand 100mm • Film 120 • ISO160 • F 3.5 [054]
It does not matter how big or small the architecture is, as its value lies in its functions and appropriate design. On the other hand, photography does not care what the architecture’s functions are, because it focuses on people’s emotions and views toward that architecture.
สถาปัตยกรรม ไม่ส�ำคัญว่าใหญ่หรือเล็ก เพราะคุณค่าของมันอยูท่ ปี่ ระโยชน์ใช้สอย และการออกแบบที่ลงตัว แต่ภาพถ่ายไม่ได้สนใจกับประโยชน์ใช้สอยเหล่านั้น เพราะ มุ่งเน้นความรู้สึก ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงอารมณ์และมุมมองของภาพได้
ANUCHAI SECHARUNPUTONG อนุชัย ศรีจรูญพู่ทอง Photographer | ช่างภาพ [056]
Framing Architecture
Suvarnabhumi Airport, Bangkok, Thailand 24mm • Film 135
[057]
Anuchai Secharunputong
[060]
อนุชัย ศรีจรูญพู่ทอง
Bangkok Railway Station, Bangkok, Thailand 16mm • Digital SLR • ISO500 • 1/250s • F 16
[061]
The love of photography and nature leads me to how I take my pictures. Different places, and at different times, when I press my shutter, I try to mix seemingly harsh architecture with the gentleness and peacefulness of the trees. I chose a Digital Infrared camera as a capturing tool so the building is in harmony with the trees; tender and sweet. The images seem shady and cool, even though I took these images in the bright sunlight. I call these dream-like images ‘My Dream’.
ใช้ความรักการถ่ายภาพ กับความรักธรรมชาติเป็นแนวในการถ่ายภาพ ต่างสถานที่ ต่างเวลาและต่างปี เมือ่ จะกด shutter จึงพยามยามผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรม ทีด่ แู ข็งกระด้างกับความอ่อนช้อย และความร่มเย็นของต้นไม้ไว้ในภาพเดียวกัน เลือก ใช้กล้อง digital Infrared มาถ่ายเพือ่ ให้สงิ่ ก่อสร้างและต้นไม้ใบหญ้าดูกลมกลืน อ่อนโยนและอ่อนหวาน ดูภาพแล้วร่มเย็น ทัง้ ๆ ทีถ่ า่ ยภาพในสภาพแสงแดดแรงเปรีย้ ง เหมือนภาพในฝัน จึงตั้งชื่อภาพโดยรวมว่า ‘My Dream’
VANNEE CHUTCHAWANTIPAKORN วรรณี ชัชวาลทิพากร Photographer | ช่างภาพ [072]
Framing Architecture
Phra Nakhon Khiri Historical Park, Phetchaburi, Thailand 24mm • Digital SLR • ISO200 • 1/400s • F 9
[073]
’Rong Wong-Savun
Wat Phra Samut Chedi, Samut Prakan, Thailand 14mm • Digital SLR • ISO200 • 1/50s • F 13 [076]
วรรณี ชัชวาลทิพากร
Wat Phra That Chae Hang, Nan, Thailand 24mm • Digital SLR • ISO400 • 1/250s • F 16 [077]
From a bird eyes’ view, we can see the layout of major royal temples on Rattanakosin Island; the positioning of an ordination hall, an assembly hall, a stupa, and monks’ houses. The dawning light illuminates the front elevation of the temple, which faces the east. This set of photographs is taken in the year that Bangkok turned 222 years old.
ภาพมุมสูง (bird eyes’ view) เห็นผังของพระอารามหลวงที่ส�ำคัญในบริเวณ เกาะรัตนโกสินทร์ การวางต�ำแหน่งต่างๆ ของพระอุโบสถ พระวิหาร พระเจดีย์ กุฏิพระสงฆ์ พระอาทิตย์ยามเช้าที่สาดส่องเข้าด้านหน้าพระอุโบสถซึ่งหันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก เป็นภาพชุดที่บันทึกในปีที่กรุงเทพมหานครครบรอบ 222 ปี
WARANAN CHUTCHAWANTIPAKORN วรนันทน์ ชัชวาลทิพากร Photographer, National Artist [078]
| ช่างภาพ, ศิลปินแห่งชาติ
Framing Architecture
Wat Suthat Thepwararam, Bangkok, Thailand 53mm • Digital SLR • ISO400 • 1/500s • F 11
[079]
’Rong Wong-Savun
[082]
วรนันทน์ ชัชวาลทิพากร
Wat Arun Ratchawararam, Bangkok, Thailand 85mm • Digital SLR • ISO400 • 1/500s • F 13 [083]
As architecture student, I must have taken thousands of slides and photographs of buildings from all over the world by past and present masters, as well as buildings of historical or archaeological interest. Later, as a teacher and practitioner, the habit of seeing the built environment, including my humble own creation through the student’s eye and the photo frame, persists. In this case, seeing and creating are interchangeable. It is to do with light, colour, shadows, apparitions, and ultimately timelessness..
SUMET JUMSAI สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา Architect, National Artist [086]
| สถาปนิก, ศิลปินแห่งชาติ
Framing Architecture
Paris, France • Digital Compact
Paris, France • Digital Compact [087]
The selected images presented here demonstrate good quality space. A suitable layout of buildings can create pleasant open plazas with a cheerful sense of living. Sometimes the space is built up of narrow and interesting hallways, enhancing the dimensions. Sometimes the walls have different textures, rough and delicate, which enhance the beauty. The different levels of roofs made of the same material can also create unity.
ภาพที่เลือกมาเป็นภาพแสดงพื้นที่ว่างที่มีคุณภาพ เพราะเกิดจากการวางอาคาร อย่างเหมาะสม ท�ำให้เกิดลานโล่งซึง่ มีสดั ส่วนทีน่ า่ อยู่ มีชวี ติ ชีวา หรือบางครัง้ เกิดช่อง ทางเดินที่แคบแต่น่าสนใจ มีมิติ ผนังของอาคารบางครั้งมีพื้นผิวที่มีความแตกต่าง เพราะมีทั้งผิวหยาบและผิวละเอียด ช่วยเสริมให้เกิดความสวยงาม ระดับหลังคาที่ แตกต่างกันแต่ใช้วัสดุมุงหลังคาที่เป็นชนิดเดียวกันทั้งหมด ท�ำให้เกิดเอกภาพ
ONGARD SATRABHANDHU องอาจ สาตรพันธุ์ Architect, National Artist [090]
| สถาปนิก, ศิลปินแห่งชาติ
Framing Architecture
Dali, China 8mm • Digital Compact • ISO100 • 1/147s • F 5.6
Lijiang, China 8mm • Digital Compact • ISO100 • 1/213s • F 2.8
[091]
I like to take candid style photos, and if architecture is a part of the picture, I would be satisfied. The picture can turn out good or bad depending on luck and skill. We need both in order to take good photos. This set of photographs presents architecture with light and shadow. Most of the time, I intend to shoot on an angle that focuses on an object or the repetition of materials, especially architectural patterns such as rows of overlapped columns and unique architectural layering etc. Furthermore, I also like to shoot architectural details. What is more difficult is shooting portraits, for which I am not satisfied with based upon my trials.
ผมชอบถ่ายภาพในสไตล์ candid ถ้าเป็นการถ่ายภาพ candid ทีม่ สี ถาปัตยกรรม เข้าไปมีสว่ นอยูด่ ว้ ย ก็ถอื ว่าสมหวังในการถ่ายภาพนัน้ ๆ แต่ภาพทีอ่ อกมาจะดีหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับโชคและฝีมือ ผมว่า เราต้องมีทั้ง 2 อย่าง ที่จะท�ำให้ได้ถ่ายภาพที่ดี ภาพทีถ่ า่ ยมาในชุดนีก้ เ็ ป็นเรือ่ งของสถาปัตยกรรมและแสงเงา ส่วนมากถ้าตัง้ ใจถ่าย โดยใช้มมุ กล้องทีเ่ น้น วัตถุหรือ การถ่ายภาพการซ�ำ้ๆ กันของวัตถุ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าได้ภาพที่เป็น แพทเทิร์น องค์ประกอบของสถาปัตยกรรม เช่น เสาอาคารที่เรียง รายซ้อนกัน การซ้อนกันของสถาปัตยกรรมที่มีเอกลักษณ์ ผมชอบภาพลักษณะนี้ เป็นการเฉพาะ นอกจากนีอ้ าจเป็นเรือ่ งรายละเอียดของงานสถาปัตยกรรม และทีย่ าก กว่านัน้ คือการถ่ายภาพ portrait ซึง่ พยายามอย่างไรก็ยงั ออกมาไม่ดี
PRABHAKORN VADANYAKUL ประภากร วทานยกุล Architect | สถาปนิก [098]
Framing Architecture
The Hassan Mosque, Casablanca, Turkey 16-35mm • 200mm • Digital SLR • ISO1000 • 1/250s • F 18
[099]
Details of materials or building elements are often viewed as a ‘supporting role’, while they actually encompass a significant part in fulfilling building and architectural excellence. Some people overlook the importance of these details and put more attention on the overall appearance. Taking photos of architectural details allows us to appreciate the fineness and attentiveness of that architecture. It allows us to notice whether the architect perceived architecture only on the outside appearance, or designed it with care, as considered by its visible details.
รายละเอียดของวัสดุหรือองค์ประกอบอาคารทีถ่ กู มองเป็นเพียง ‘ตัวประกอบ’ เป็นสิง่ ช่วยเติมเต็มให้อาคารหรืองานสถาปัตยกรรมมีความสมบูรณ์ บางคนอาจไม่ได้มอง เห็นเป็นสิง่ ส�ำคัญเทียบเท่ากับหน้าตาทีป่ รากฏโฉม การถ่ายภาพรายละเอียดทีอ่ ยูใ่ น งานสถาปัตยกรรม ท�ำให้เราได้เห็นถึงความประณีต ความใส่ใจในงานสถาปัตยกรรม ท�ำให้เราได้รู้ว่าผู้ออกแบบอาคารนั้น มองสถาปัตยกรรมแค่เพียงเปลือกนอกหรือ ออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างละเมียดจากรายละเอียดทีป่ รากฏให้เห็นนัน้
KRISADA BOONCHALEOW กฤษฎา บุญเฉลียว Architect | สถาปนิก [114]
Framing Architecture
Bandum, Chiang Rai,Thailand 65mm • Digital SLR • ISO250 • 1/250s • F 5 [115]
I like taking pictures, especially of the places I have never been before. I am always eager to take pictures all over the place. One time, I had visited a public park in France. I did not have much time to spend there and by the size of it, strolling around the park would take at least an hour. Other people would just find a comfortable corner to relax, whilst I was hopping around, taking photos of the whole park. I prefer a compact camera as it is handy to carry around. However, when my daughter was born, I wanted to take beautiful portraits of my daughter so I finally bought a SLR, but still used it together with my compact camera. In general, I don’t have a lot of photographic skills, but my perspective drawing skills certainly help my photography.
ผมชอบถ่ายภาพ โดยเฉพาะกับสถานที่ใหม่ๆ ที่ตื่นตาตื่นใจ อยากเก็บภาพทุกมุม เท่าทีท่ �ำได้ ครัง้ หนึง่ ได้มโี อกาสไปทีส่ วนสาธารณะแห่งหนึง่ ในฝรัง่ เศส มีเวลาอยูท่ นี่ นั่ ไม่นานนัก จากขนาดของสวนฯ คิดว่าถ้าเดินชมรอบจะใช้เวลาไม่น้อยกว่าหนึ่ง ชั่วโมง ในขณะที่คนอื่นๆ หามุมนั่งเล่นพักผ่อน แต่ผมกลับใช้เวลาเท่าที่มีทั้งเดินและ วิ่งถ่ายภาพ จนได้ภาพรอบสวน ผมเป็นคนชอบใช้กล้อง compact เพราะพกง่าย ไม่เป็นภาระในการเดินทาง เมื่อมีลูกสาวอยากถ่ายรูป portrait ของลูกให้สวยจึงซื้อ กล้อง SLR แต่ก็ยังใช้ร่วมกับกล้อง compact อยู่ดี ปกติเป็นคนที่ไม่มีทักษะในการ ใช้กล้องมากนัก แต่การมีีทักษะในการเขียนภาพ perspective ของผม ช่วยในการ ถ่ายภาพได้มาก
KIATTISAK VETEEWOOTACHARN เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ Architect | สถาปนิก [126]
Framing Architecture
Leeum Museum, Seoul, South Korea 12mm • Digital SLR • ISO400 • 1/640s • F 5.6
Guggenheim Museum, Bilbao, Spain 5.8mm • Digital Compact • ISO200 • 1/6s • F 8.5 [127]
The glamour of dusk and the colors of the night enhance ‘the vibrant sense’ of architecture in some surprising ways. The scene of a bright blue sky contrasts with various colored lights from buildings. The moving lines of light on the streets resemble intense and stressful working people who are ready to reveal and liberate their true selves in search of the festive night. All these charms allure me to wholeheartedly fall in love with photography, especially of urban fabrics.
เสน่ห์แห่งราตรี สีสันแห่งค�่ำคืน สิ่งที่ช่วยท�ำให้สถาปัตยกรรม ‘คึกคัก’ ได้อย่าง ประหลาด เมือ่ ท้องฟ้าสีน�ำ้เงินสดตัดกับแสงไฟหลากสีของเหล่าอาคาร เส้นสายแห่ง ความเคลื่อนไหวของแสงสีบนถนน ราวกับผู้คนที่เคร่งขรึมตึงเครียดในเวลางาน ยามกลางวันนั้นได้เปิดเผยตัวตนที่แท้จริง พร้อมที่ปลดปล่อยหาความสนุกสนาน ครึกครื้นในยามค�่ำคืน เสน่ห์เหล่านี้ที่ท�ำให้ผมรักที่จะถ่ายรูปภูมิทัศน์เมืองเป็นชีวิต จิตใจเลยทีเดียว
VORRARIT ANANTSORRARAK วรฤทธิ์ อนันต์สรรักษ์ Landscape Architect [130]
| ภูมิสถาปนิก
Framing Architecture
Hong Kong 24mm • Digital SLR • ISO200 • 4s • F 11
Hong Kong 50mm • Digital SLR • ISO200 • 5s • F 11 [131]
Photographic Images of buildings present us with aspects of architecture that we normally overlook. In the normal run of affairs, streets and rooms, walls and windows are expected to serve our interests not sustain them. Accomplishing this involves a special kind of anachronism, breaking with the temporal flow of experience in order to notice its spatial and material premises. Once this is done, once the camera frame is used to stop time, single aspects of buildings can be seen as decisive in the construction of a setting. The images are truly significant because they allow us to see more clearly what we thought we already knew.
ภาพสถาปัตยกรรมน�ำเสนอมิติของอาคารที่เราอาจมองผ่านเลย สรรพสิ่งรอบตัว ดูเหมือนจะเกิดขึน้ เพือ่ รองรับมิใช่เรียกร้อง หากเรามองผ่านมิตแิ รกของความสัมพันธ์ นัน้ เมือ่ กรอบของภาพได้หยุดเวลาไว้ชวั่ ขณะหนึง่ ความหมายของอาคารในแง่มมุ อืน่ อาจเริ่มเผยตัวตน ภาพสถาปัตยกรรมนั้นมีความหมายก็ต่อเมื่อมันสามารถน�ำพา ให้จินตนาการของเราเดินทางไปได้ในเส้นทางที่เราคุ้นเคย
TONKAO PANIN ต้นข้าว ปาณินท์ Lecturer | อาจารย์มหาวิทยาลัย [146]
Framing Architecture
Altstadt, Vienna, Austria • Film 135 [147]
my stranger little friend always making me play always making me moving toward the unknown always making me feel like flowing, reaching somewhere always making me remain alive, never dry up never stagnant always making me remain fresh, sometimes remain pure, sometimes silent and serene always give me joy with him a surprise awaiting with him there is wonder with him what is going to happen next with him every moment is a search for surprise, never ending, suspense and mystery with him a new door always opens up my stranger little friend who always gently reminds me the feeling of aloneness my camera
LEK BUNNAG เมธา บุนนาค Architect | สถาปนิก [158]
Framing Architecture
Si Satchanalai Historical Park, Sukhothai, Thailand 200mm • Digital SLR • ISO100 • 3.2s • F 32
[159]
“I call architecture Frozen Music,” said the German poet Johann Wolfgang von Goethe. Photographic images of architecture freeze essential moments, and distinguish the melody of each and every elemental manifold that was orchestrated into an architectural ensemble. Arresting architectural images are similar to poetic musical performances for once occurred, they are eternally etched in our memory, irreplaceable and forever unrepeatable.
“ดนตรีแช่แข็ง (Frozen Music)” นั้นคือ แนวคิดของเกอเต้ (Jochann Wolfgang Von Goethe) นักประพันธ์เอก ชาวเยอรมัน ส�ำหรับผม คิดว่าภาพถ่ายทางสถาปัตยกรรมแต่ละภาพ น่าจะสามารถ จับดนตรีที่แช่แข็ง แยกเสียงที่ได้ยินในชั่วขณะนั้นว่าใช้เครื่องดนตรีชนิดไหนบรรเลง และภาพภ่ายทีด่ นี า่ จะเหมือนกับบทบรรเลงเพลงงดงาม ทีเ่ กิดขึน้ ได้ครัง้ เดียวเท่านั้น ไม่มีซ�ำ้อีก
SOMKID PAIMPIYACHAT สมคิด เปี่ยมปิยชาติ
Managing Director Publishing [166]
| ผู้บริหารสำ�นักพิมพ์
[168]
The wall is the main element of the building regardless of its era or form, just like garments humans wear on their bodies. We have invented, designed and selected various materials to build walls, to protect our lives and properties. Nowadays, luxurious and abundant materials could make us forget the simple beauty of some old wall panels, or amazing local wisdom such as walls made out of hay mixed with mud, or the weaving bamboo frame covered with white plaster mixed with molasses. From the shadow of the past, on the wall of an ancient clay house which reflects the condition of a community 3,000 years ago, to the discernibly colorful plaster and galvanized walls in the present time, we succeed in building secure shelter. Conversely, we also attempt to blockade and separate ourselves from nature as much as we can. This kind of success actually costs a fortune.
ผนังก�ำแพง คือองค์ประกอบส�ำคัญของอาคารสถานทีไ่ ม่วา่ ในยุคสมัยไหนรูปแบบใด เช่นเดียวกับเครือ่ งนุง่ ห่มทีม่ นุษย์ใช้หอ่ หุม้ ร่างกาย เราได้คดิ ค้นออกแบบและเลือกสรร วัสดุต่างชนิดมาสร้างฝาผนังเพื่อปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน ตัวเลือกที่เลิศหรูและ เหลือเฟือในยุคปัจจุบนั อาจท�ำให้เราหลงลืมความง่ายงามของฝาบ้านเก่าๆ หรือความ น่าทึ่งของภูมิปัญญาชาวบ้าน ดังเช่น ผนังที่ก่อด้วยเศษฟางผสมดินโคลน หรือ โครงไม้ไผ่สานฉาบปูนขาวผสมกากน�ำ้ตาล จากแง่เงาอดีตบนผนังบ้านดินที่จ�ำลอง สภาพชุมชนยุคสามพันปีก่อน สู่สีสันสะดุดตาบนผนังปูนและแผ่นสังกะสี เราประสบ ความส�ำเร็จในการสร้างที่อยู่อาศัยให้มั่นคงปลอดภัย ทว่า ในขณะเดียวกัน เราก็ พยายามปิดล้อมตัวเอง แยกวิถีชีวิตออกจากวิถีธรรมชาติให้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ คิดดูแล้ว ความส�ำเร็จชนิดนี้ มีราคาที่ต้องจ่ายไม่น้อยเลยทีเดียว
CHIRANAN PITPREECHA จิระนันท์ พิตรปรีชา
Writer (S.E.A. Write Award) [172]
| กวีซีไรต์
Framing Architecture
Bangkok, Thailand Digital Compact • Auto Setting
[173]
‘Architecture’ does not only reflect on the richness of design intellect and human construction, but also reflects on religious faith or belief. It can be said that these are powers driving human to create miraculous pieces of architecture that become monuments decorating the world such as the large Buddhist temple Burobudur in Indonesia, Swayambhunath in Nepal or a small but gracious temple like Wat Xieng Thong in Luang Phrabang, Laos. The power of human faith leads me to learn, collect, and capture images of the architecture of the world, and to present it as a documentary with passion … without boredom and without end.
‘สถาปัตยกรรม’ ไม่เพียงสะท้อนถึงความเจริญก้าวหน้าทางภูมิปัญญาด้านการ ออกแบบและการก่อสร้างของมนุษย์ หากยังบ่งบอกถึงแรงศรัทธาในศาสนาหรือคติ ความเชือ่ ซึง่ กล่าวได้วา่ เป็นพลังผลักดันส�ำคัญ ให้มนุษย์สร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรม ชิน้ เยี่ยมเป็นอนุสรณ์สถานประดับโลก ไม่ว่าจะเป็น ศาสนสถานขนาดใหญ่อย่าง ‘บรมพุทโธ’ ในอินโดนีเซีย ‘สวยัมภูนาถ’ ในเนปาล หรือขนาดเล็กแต่วิจิตรตาด้วย ศิลปะไร้มายาอย่างพระอุโบสถ วัดเชียงทอง ที่หลวงพระบางในลาว พลังศรัทธาของ มวลมนุษย์น�ำพาผมไปศึกษาเรียนรู้ เก็บข้อมูลและบันทึกภาพสถาปัตยกรรมของ โลก มาน�ำเสนอเป็นงานสารคดีด้วยใจศรัทธา ... มิรู้เบื่อและไม่รู้จบ
TEERAPARB LOHITKUN ธีรภาพ โลหิตกุล Writer | นักเขียน
[176]
Framing Architecture
Business Area, Silom Rd., Bangkok, Thailand 180mm • Film 35 • ISO100 • 1/60s • F 8
[177]
I am fond of the clash between living and non-living things such as human versus architecture. They continuously react to one another and sometimes, these reactions can inject life into the non-living architecture.
ผมชอบการปะทะกันระหว่างสิง่ มีชวี ติ กับสิง่ ไม่มชี วี ติ เช่น คนกับสถาปัตยกรรม ทีม่ ัก มีปฏิกิริยาต่อกันเสมอ และบางครั้งมันก็ท�ำให้สถาปัตยกรรมที่ไม่มีชีวิต กลายเป็น สิ่งมีชีวิตขึ้นมาได้
MAYTHEE NOIJINDA เมธี น้อยจินดา Musician | นักดนตรี [188]
Framing Architecture
Spain • Digital Compact
Frankfurt, Germany • Digital Compact
[189]
“A picture is worth a thousand words”, this quote could probably influence photographers to capture the feelings of the passersby. However, because people can change from time to time, the story in the picture can be altered. The architecture, in contrast, remains in its graceful feature of its time facing the changing surrounding as if it is a person who has seen so much of the world. People probably smile when being shot but the architectures do not. Instead, they often open up their arms and wait for the photographs to be taken.
อาจเพราะมีค�ำกล่าวทีว่ า่ “ภาพหนึง่ ภาพ แทนค�ำนับพัน” คนเราเลยมักจะเลือกบันทึก ภาพอารมณ์ของผู้คนที่พบเจอระหว่างทาง แต่เป็นเพราะผู้คนนั้นเปลี่ยนแปลงได้ ภาพที่บันทึกมาในวันหนึ่งอาจกลับกลายเมื่อเวลาผ่านเลย แต่สถาปัตยกรรมนั้น จะติดตรึงอยูใ่ นยุคของตนเอง สง่าผ่าเผย ยืดหน้าท้าทายความเปลีย่ นแปลงรอบตัว และให้อารมณ์เช่นผู้ที่มองเห็นโลกมานานและหนักหน่วง ผู้คนอาจยิ้มให้ยามรู้ตัวว่า ถูกบันทึกภาพ สถาปัตยกรรมจะไม่ยิ้ม แต่บ่อยครั้งที่อ้าแขนรอรับการบันทึกภาพ ไว้อย่างอ่อนโยน
INTHIRA CHAROENPURA อินทิรา เจริญปุระ Employee | รับจ้าง [192]
Framing Architecture
Workpoint Studio, Pathum Thani, Thailand • Mobile Phone [193]
Only a few people knew that before my father became an author, he was a professional photographer who dreamt of becoming an architect. Although some time would pass until he became a writer, he would always have his camera beside him every time he was on a trip. He would bring the camera with him wherever he went, taking photos, together with writing in some journals. This set of photographs is pictures of Rama I Bridge after a renovation in 1957. I believe my father intended to capture the atmosphere of people who had gathered to see the bridge after it had been restored. I cannot assume what my father really wanted to communicate from these pictures but I do believe these can convey the story of an event from the past to the present. The photos act as a ‘bridge’, connecting both eras for today’s Thai people to understand the past of this big city called ‘Bangkok’. Saroengrong Wong-Savun | Son
หลายคนอาจจะไม่ทราบว่าก่อนทีพ ่ อ่ จะเป็นนักเขียน พ่อเคยเป็นช่างภาพอาชีพ ผูฝ้ ัน อยากเป็นสถาปนิกมาก่อน แม้เวลาล่วงมาจนเป็นนักเขียน ทุกครัง้ ทีเ่ ดินทางพ่อจะมี กระเป๋ากล้องติดตัวเสมอ พ่อจะพกกล้องไปทุกทีท่ พ ี่ อ่ ไป และถ่ายภาพบันทึกเรื่องราว พร้อมๆ กับการจดบันทึกของพ่อ ภาพชุดนีเ้ ป็นภาพสะพานพุทธฯ หลังปิดปรับปรุง ประมาณปี พ.ศ. 2500 เข้าใจว่าพ่อตั้งใจไปถ่ายเก็บบรรยากาศของผู้คนที่พากันไป ดูสะพานหลังจากการบูรณะ ผมไม่อาจคาดเดาได้ว่าในภาพถ่าย พ่อต้องการสื่อสาร อะไรออกมา แต่ผมเชือ่ ว่าภาพเหล่านีส้ อื่ สารถึงเหตุการณ์ บอกเล่าเรือ่ งราวจากอดีต มายังปัจจุบนั ท�ำหน้าทีเ่ ป็น ‘สะพาน’ เชือ่ มยุคสมัยเข้าด้วยกันได้ ให้คนในยุคปัจจุบนั เข้าใจอดีตที่ผ่านมาของเมืองใหญ่ที่เรียกตัวเองว่ากรุงเทพฯ แห่งนี้ สเริงรงค์ วงษ์สวรรค์ | บุตร
’Rong Wong-Savun ’รงค์ วงษ์สวรรค์ Writer, National Artist [208]
| นักเขียน, ศิลปินแห่งชาติ
Framing Architecture
Rama l Bridge, Bangkok, Thailand • Film 120 [209]