176
ส่ วนที่ 6 การติดตามและประเมินผลการนำาแผนพัฒนาสามปี ไปปฏิบัติ เนื่องด้วยการติดตามและประเมินผลโครงการเป็ นหน้าที่ที่สาำ คัญอย่างหนึ่งในการดำาเนินงานพัฒนา องค์การบริ หารส่วนตำาบล ดังนั้น องค์การบริ หารส่ วนตำาบลจึงจำาเป็ นต้องมีองค์กรที่ทาำ หน้าที่ติดตามและ ประเมินผลการพัฒนา สำาหรับการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาขององค์การบริ หารส่ วนตำาบลนั้น ระเบียบกระทรวง มหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 ข้อ 28 ได้กาำ หนดให้ผู ้ บริ หารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย สมาชิกสภา ท้องถิ่นที่สภาท้องถิ่นคัดเลือก ผูแ้ ทนประชาคมท้องถิ่นที่ประชาคมท้องถิ่นคัดเลือก ผูแ้ ทนหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องที่ผบู ้ ริ หารท้องถิ่นคัดเลือก หัวหน้าส่ วนการบริ หารที่คดั เลือกกันเอง และผูท้ รงคุณวุฒิ ที่ผบู ้ ริ หาร ท้องถิ่นคัดเลือก ซึ่งคณะกรรมการฯ อาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรื อคณะทำางานขึ้นช่วยในการติดตาม และประเมินผลได้ตามความเหมาะสม โดยการที่คณะกรรมการมาจากหน่วยงานหลายฝ่ ายนี้ จะทำาให้การ ติดตามและประเมินผลเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและผลของการประเมินสามารถวัดผลบรรลุและวัดความ สำาเร็ จของโครงการเพื่อนำาไปใช้ในการแก้ไขหรื อปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานของโครงการได้อย่างแท้จริ ง องค์ กรรับผิดชอบในการติดตามและประเมินผล คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตำาบลพระแท่น ประกอบด้วย (1) นายประสาร บรรจบสมัย ผูแ้ ทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประธาน กรรมการ (2) นางสมศรี บัวกลิ่น ผูแ้ ทนสมาชิกสภาฯ กรรมการ (3) นายวินยั สุทธิบุตร ผูแ้ ทนสมาชิกสภาฯ กรรมการ (4) นายธนกฤต ดำาทะมิส ผูแ้ ทนสมาชิกสภาฯ กรรมการ (5) นายมะโนช โพธิ์ทอง ผูแ้ ทนประชาคม กรรมการ (6) นายสำาราญ นามาบ ผูแ้ ทนประชาคม กรรมการ (7) ผูอ้ าำ นวยการโรงเรี ยนบ้านไร่ ร่วมวิทยาคาร ผูแ้ ทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรรมการ (8) นางสาวสุพิชญาน์ เฉลิมศักดิ์ หัวหน้าส่ วนการบริ หาร กรรมการ (9) นายโสภณ เหมระ ผูท้ รงคุณวุฒิ กรรมการ (10) นายเรื องรอง แก้วน้อย ผูท้ รงคุณวุฒิ กรรมการ
(11) นายขจรศักดิ์ สุขเจริ ญ เลขานุการ แผนพัฒนาสามปี อบต.พระแท่น
หัวหน้าส่ วนการบริ หาร
กรรมการและ
177
คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น มีอาำ นาจหน้าที่ ดังนี้ (1) กำาหนดแนวทาง วิธีการในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา (2) ดำาเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา (3) รายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาต่อผูบ้ ริ หารท้อง ถิ่น เพื่อให้ผบู ้ ริ หารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น และประกาศผลการติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทัว่ กันอย่างน้อยปี ละหนึ่งครั้ง ภายในเดือน ธันวาคมของทุกปี ทั้งนี้ให้ติดประกาศโดยเปิ ดเผยไม่นอ้ ยกว่าสามสิ บวัน (4) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรื อคณะทำางานเพื่อช่วยปฏิบตั ิงานตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์ของประชาชนโดยส่วนรวม และเพื่อให้การบริ หารงานขององค์กรปกครองส่ วนท้อง ถิ่นสอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทยอาจจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการ ดำาเนินงานตามแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นได้ตามความเหมาะสม การกำาหนดวิธีการติดตามและประเมินผล จุดมุ่งหมายสำาคัญของการประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ น้ ัน คือ การประเมินว่ามีการนำาแผน ยุทธศาสตร์ ไปปฏิบตั ิอย่างแท้จริ งเพียงใด และได้ผลเป็ นอย่างไรเพื่อที่จะสามารถวัดความสัมฤทธิ์ ผลของ แผนยุทธศาสตร์ได้ ในขณะเดียวกันก็สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้เป็ นสมมุติฐานในการจัดทำาแผน ยุทธศาสตร์ ฉบับต่อไปได้ ดังนั้น การที่จะประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาในภาพรวมได้ จำาเป็ นต้อง ประเมินผลการปฏิบตั ิในแต่ละแนวทางการพัฒนาก่อน เพื่อนำาไปสู่การวัดความสำาเร็ จของยุทธศาสตร์ ซึ่งจะ แสดงให้เห็นได้วา่ การพัฒนาเป็ นไปในแนวทางใด บรรลุวตั ถุประสงค์ของการพัฒนาที่ยงั ยืนและตอบสนอง ต่อวิสยั ทัศน์หรื อไม่ ดังนั้นในขั้นต้น องค์การบริ หารส่ วนตำาบลจึงต้องติดตามประเมินผลแผนพัฒนาสามปี ให้ได้ขอ้ มูลข้อเท็จจริ ง อันจะนำามาสู่บทสรุ ปที่ไม่บิดเบือนจากผลการปฏิบตั ิจริ งที่เกิดขึ้ น แนวทางและวิธีการขั้นตอนในการติดตามและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาและแผนพัฒนา สามปี การติดตาม (Monitoring) การติดตามนั้น จะทำาให้เราทราบได้วา่ ขณะนี้ ได้มีการปฏิบตั ิตามแผนยุทธศาสตร์ หรื อแผนสามปี ถึง ระยะใดแล้ว ซึ่งเทคนิคอย่างง่ายที่สามารถใช้เป็ นเครื่ องมือในการติดตามได้ เช่น Gant Chart ที่จะทำาให้ หน่วยงานสามารถติดตามได้วา่ การดำาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ หรื อแผนสามปี มีการดำาเนินการในช่วงใด
ตรงกำาหนดระยะเวลาที่กาำ หนดไว้หรื อไม่ แผนปฏิบตั ิการก็จะเป็ นเครื่ องมือสำาคัญในการติดตามผลการ ดำาเนินงาน แผนพัฒนาสามปี อบต.พระแท่น
178
การประเมินผล (Evaluation) การประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ จำาเป็ นต้องมีเกณฑ์มาตรฐาน (Standard Criteria) และตัวชี้วดั (Indicators) เพื่อใช้เป็ นกรอบในการประเมินเพื่อให้เกิดความชัดเจน เป็ นระบบ มีมาตรฐานและเป็ นที่ ยอมรับ โดยประกอบด้วยเกณฑ์ที่สาำ คัญ ใน 2 ระดับ คือ เกณฑ์การประเมินหน่วยงาน และเกณฑ์การ ประเมินโครงการ ซึ่งสรุ ปได้ดงั นี้ เกณฑ์ มาตรฐานและตัวชี้วดั การประเมินผลหน่ วยงาน ประกอบด้วย 7 เกณฑ์ 22 ตัวชี้วดั ดังนี้ 1. เกณฑ์สมั ฤทธิ์ผลและการบรรลุวตั ถุประสงค์ของนโยบาย (Achievement) เป็ นการประเมินความสำาเร็ จโดยพิจารณาเปรี ยบเทียบผลการดำาเนินงานของหน่วยงานที่นาำ นโยบายไปปฏิบตั ิ กับวัตถุประสงค์ที่กาำ หนดไว้ในนโยบาย โดยเป็ นการประเมินผลขององค์กร 2 ส่ วน คือ ผลในภาพรวมและระดับปฏิบตั ิการ ผลการดำาเนินงานจะต้องเปิ ดเผยให้สาธารณชนทราบอย่างกว้างขวาง ำ อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอและมี กาำ หนดระยะเวลาที่ชดั เจน อาจเป็ นทุกไตรมาส หรื อผลการดำาเนินงานประ จำาปี สัมฤทธิ ผล รวมถึงการดำาเนินงานที่มุ่งการบรรลุเป้ าหมายเชิงกลยุทธ์ในระยะยาว โดยมีตวั ชี้ วดั ที่สาำ คัญ 2 ประการ คือ ผลผลิต (Outputs) ประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ 1) ผลผลิตในภาพรวม (Overall Outputs) เป็ นการประเมินผลผลิตเทียบกับเป้ าหมายเชิงกลยุทธ์ โดยเปรี ยบเทียบผลการดำาเนินงานที่เกิดขึ้นจริ งกับเป้ าหมายรวมขององค์กรในสายตาของสมาชิกขององค์กร และประชาชนผูร้ ับบริ การ การประเมินผลดังกล่าวมีลกั ษณะที่เป็ นพลวัตร (Dynamic) และมีปฏิสมั พันธ์กบั สภาวะแวดล้อมของภายนอกองค์กร 2) ผลผลิตระดับปฏิบตั ิการ (Operation Outputs) เป็ นการประเมินผลโดยพิจารณาระดับการ บรรลุเป้ าหมายตามแผนปฏิบตั ิการ โดยอาจพิจารณาจากผลผลิตต่อหน่วยกำาลังคนระดับการบริ การต่อหน่วย เวลา สัดส่ วนของต้นทุนและผลตอบแทน สถานภาพทางการเงิน สิ นทรัพย์และหนี้ ที่ไม่ก่อให้เกิดผล ตอบแทน (Non - performing loan) คุณภาพของผลผลิตและบริ การสาธารณะ ประสิ ทธิ ภาพการใช้ ทรัพยากรขององค์กร การประหยัดพลังงานและการรักษาสภาวะแวดล้อม 2. เกณฑ์ความเสมอภาคและความเป็ นธรรมในสังคม ประกอบด้วยตัวชี้วดั ที่สาำ คัญ 4 ประการคือ
1) การเข้าถึง เน้นความสำาคัญในเรื่ องโอกาสของประชาชน โดยเฉพาะผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมให้ ได้รับบริ การสาธารณะ 2) การจัดสรรทรัพยากร พิจารณาถึงความเป็ นธรรมในการจัดสรรทรัพยากรให้กบั ประชาชน 3) การกระจายผลประโยชน์ เน้นความเป็ นธรรมในการกระจายผลประโยชน์หรื อผลตอบแทน ให้แก่สมาชิกในสังคม แผนพัฒนาสามปี อบต.พระแท่น 179 4) ความเสมอภาค เน้นความเป็ นธรรมเพื่อให้หลักประกันเรื่ องสิ ทธิ และโอกาสในการได้รับ บริ การสาธารณะโดยปราศจากอคติ ไม่แบ่งแยกกลุ่ม 3. เกณฑ์ความสามารถและคุณภาพในการให้บริ การ ประกอบด้วยตัวชี้วดั 4 ประการ 1) สมรรถนะของหน่วยงาน เป็ นตัวชี้ วดั ความสามารถในการให้บริ การและตอบสนองความ ต้องการของประชาชนกลุ่มเป้ าหมาย 2) ความทัว่ ถึงและเพียงพอ พิจารณาถึงความครอบคลุม ความเพียงพอ และความครบถ้วนของ การให้บริ การทั้งในด้านกลุ่มเป้ าหมายที่รับบริ การและระยะเวลาที่บริ การ ำ 3) ความถี่ในการให้บริ การ เป็ นตัวชี้ วดั ระดับการบริ การต่อหน่วยเวลาว่ามีความสม่าเสมอต่ อ ภารกิจนั้นหรื อไม่ 4) ประสิ ทธิภาพการให้บริ การ เป็ นการชี้ วดั ประสิ ทธิ ภาพขององค์กรที่มุ่งเน้นการบริ การที่ รวดเร็ ว ทันเวลา มีการใช้ทรัพยากรที่เหมาะสม ซึ่งในทางปฏิบตั ิจาำ เป็ นต้องกำาหนดมาตรฐานการบริ การไว้ เป็ นแนวทาง 4. เกณฑ์ความรับผิดชอบต่อหน่วยงาน ประกอบด้วยตัวชี้วดั 4 ประการ 1) พันธกิจต่อสังคม เป็ นตัวชี้ วดั ที่แสดงถึงภารกิจของหน่วยงานที่มีต่อสังคมพิจารณาได้จาก วิสยั ทัศน์ นโยบาย แผนงานของหน่วยงาน 2) ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ เป็ นตัวชี้ วดั ถึงความรับผิดชอบต่อประชากรกลุ่มเป้ าหมาย 3) การให้หลักประกันความเสี่ ยง เป็ นตัวชี้ วดั ที่มีความสำาคัญเพื่อให้หลักประกันว่าประชาชน ผูร้ ับบริ การจะได้รับความคุม้ ครองและหรื อการชดเชยจากหน่วยงาน หากมีความเสี ยหายที่เกิดขึ้ นจากการ ปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน 4) การยอมรับข้อผิดพลาด เป็ นตัวชี้ วดั ถึงความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หารระดับสู งและเจ้าหน้าที่ ของหน่วยงาน ที่จะยอมรับต่อสาธารณชนในกรณี ที่เกิดความผิดพลาดในการบริ การหรื อการปฏิบตั ิงาน 5. เกณฑ์การตอบสนองความต้องการของประชาชน ประกอบด้วยชี้วดั ที่สาำ คัญ 4 ประการ คือ
1) การกำาหนดประเด็นปัญหา การกำาหนดประเด็นปัญหาที่มาจากประชาชนผูร้ ับบริ การและมี การพิจารณาจัดลำาดับความสำาคัญ 2) การรับฟังความคิดเห็น เป็ นตัวชี้ ถึงระบบเปิ ดกว้างในการรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ของประชาชนผูร้ ับบริ การ 3) มาตรการเชิงยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหา เป็ นตัวชี้ วดั ถึงความพร้อมในการแก้ปัญหาให้กบั ประชาชนผูร้ ับบริ การที่มีท้ งั มาตรการระยะสั้นและระยะยาวรวมทั้งเปิ ดกว้างให้สาธารณชนได้รับทราบและมี แผนพัฒนาสามปี อบต.พระแท่น 180 ส่ วนร่ วมในการตรวจสอบ 4) ความรวดเร็ วในการแก้ปัญหา เป็ นตัวชี้ วดั การตอบสนองในการแก้ไขปั ญหา การให้ความ สำาคัญและการกำาหนดมาตรการแก้ไขปัญหาด้วยความรวดเร็ ว มีประสิ ทธิ ภาพ ไม่ละเลยเพิกเฉยต่อปั ญหา 6. เกณฑ์ความพึงพอใจของลูกค้า ประกอบด้วยตัวชี้วดั 2 ประการ คือ 1) ระดับความพึงพอใจ เป็ นตัวชี้วดั ความเห็นของประชาชนที่มีต่อหน่วยงานซึ่งเกี่ยวข้องกับ คุณภาพการปฏิบตั ิงาน 2) การยอมรับหรื อคัดค้าน เป็ นตัวชี้ วดั ระดับการยอมรับมาตรการ นโยบายของหน่วยงานซึ่ง พิจารณาจากสัดส่วนการยอมรับหรื อคัดค้าน เนื่องมาจากผลกระทบของนโยบายของหน่วยงาน 7. เกณฑ์ผลเสี ยหายต่อสังคม ประกอบด้วยตัวชี้วดั ที่สาำ คัญ 2 ประการ คือ 1) ผลกระทบภายนอก เป็ นตัวชี้วดั ว่าหน่วยงานก่อให้เกิดผลกระทบซึ่งสร้างความเสี ยหายจาก การดำาเนินงานแก่ประชาชนหรื อไม่ โดยอาจวัดจากขนาดและความถี่จากการเสี ยหายที่เกิดขึ้ น เช่น การ ำ ำ วมใหญ่ ก่อสร้างถนนขวางทางน้าหลากทำ าให้เกิดปัญหาน้าท่ 2) ต้นทุนทางสังคม เป็ นตัวชี้ วดั ผลเสี ยหายที่สังคมต้องแบกภาระ เช่น ค่าใช้จ่ายในการฟื้ นฟู บูรณะความเสี ยหายที่เกิดขึ้น เกณฑ์และตัวชี้วดั ผลการดำาเนินงานจะเป็ นการพิจารณาเกณฑ์รวม (Multiple criteria and indicators) และสามารถใช้เป็ นกรอบหรื อเครื่ องมือในการประเมินผลลัพธ์สุดท้ายและผลกระทบในการ ดำาเนินงานในภาพรวม เพื่อใช้เป็ นบรรทัดฐานในการเปรี ยบเทียบผลการดำาเนินงานกับระดับการบรรลุผล และการสนองตอบความพึงพอใจของลูกค้าหรื อประชากรกุล่มเป้ าหมาย สำาหรับค่าตัวแปร (Attributes) อาจ แตกต่างกันไปขึ้นอยูก่ บั ลักษณะกิจกรรมการดำาเนินงานของหน่วยงาน เกณฑ์ มาตรฐานและตัวชี้วดั การประเมินผลโครงการ การประเมินผลโครงการ จำาเป็ นต้องมีเกณฑ์และตัวชี้ วดั เพื่อเป็ นเครื่ องมือกำาหนดกรอบทิศทางใน การวิเคราะห์และประเมินผลโครงการ ประกอบด้วยเกณฑ์ที่สาำ คัญ 8 เกณฑ์ ด้วยกันคือ
1. เกณฑ์ความก้าวหน้า (Progress) เป็ นการพิจารณาเปรี ยบเทียบผลของการดำาเนินกิจกรรมกับเป้ าหมายที่กาำ หนดตามแผน การประเมิน ความก้าวหน้ามุ่งที่จะตอบคำาถามว่า การดำาเนินกิจกรรมตามโครงการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่กาำ หนด หรื อไม่ เป็ นไปตามกรอบเวลาหรื อไม่และประสบกับปั ญหาอุปสรรคอะไรบ้าง ประกอบด้วยตัวชี้ วดั 4 ประการ คือ แผนพัฒนาสามปี อบต.พระแท่น
181
1) ผลผลิตเทียบกับเป้ าหมายรวมในช่วงเวลา เป็ นการดูสดั ส่ วนของผลผลิต (Outputs) ของ ำ โครงการว่าบรรลุเป้ าหมายมากน้อยเพียงใด อาทิ ความยาวของถนนที่สร้างได้ จำานวนแหล่งน้าขนาดเล็ กเพื่อ การเกษตร สัดส่วนปริ มาณภารงานการก่อสร้าง เทียบกับเป้ าหมายรวมในช่วงเวลาที่กาำ หนด 2) จำานวนกิจกรรมแล้วเสร็ จ เนื่องจากโครงการประกอบด้วยชุดกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย จึง จำาเป็ นต้องมีตวั ชี้วดั ความก้าวหน้า โดยพิจารณาจำานวนกิจกรรมและประเภทของกิจกรรมที่ได้ดาำ เนินการไป แล้ว ทั้งกิจกรรมหลัก กิจกรรมพื้นฐาน กิจกรรมรอง และกิจกรรมเสริ ม ในช่วงระยะเวลาอาจเป็ นสัปดาห์ เดือน ไตรมาส หรื อระยะของโครงการ (Phase) 3) ทรัพยากรที่ใช้ไปในช่วงเวลา เป็ นตัวชี้ วดั ความก้าวหน้าของการใช้ทรัพยากรในโครงการ ซึ่ ง ครอบคลุมด้านงบประมาณโครงการ ได้แก่ งบประมาณที่ใช้ไป งบประมาณที่อยูร่ ะหว่างผูกพัน เงินงวด และแผนการใช้จ่ายงบประมาณโครงการ และอัตราการใช้บุคลากรสัมพัทธ์กบั เวลา ในรู ปของคน - วัน (Man - day) หรื อ คน - เดือน (Man - month) 4) ระยะเวลาที่ใช้ไป เป็ นตัวชี้วดั ความก้าวหน้าเพื่อดูวา่ ได้ใช้เวลาไปเท่าใดแล้วและเหลือระยะ เวลาอีกเท่าใดจึงจะครบกำาหนดแล้วเสร็ จ โดยจะสามารถใช้เป็ นเกณฑ์ประเมินและควบคุมกิจกรรมให้บรรลุ ตามเป้ าหมายด้านเวลา และเพื่อทราบถึงระยะเวลาที่จะต้องใช้จริ งเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายรวม 2. เกณฑ์ประสิ ทธิภาพ (Efficiency) การประเมินประสิ ทธิภาพเป็ นการเปรี ยบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับทรัพยากรที่ใช้ไปในการดำาเนินงาน ทรัพยากรที่ใช่นอกจากงบประมาณแล้ว ยังหมายรวมถึงทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรทางการจัดการและเวลา ที่ใช้ไปในการดำาเนินงาน ประกอบด้วยตัวชี้ วดั 4 ประการ คือ 1) สัดส่วนผลผลิตต่อค่าใช้จ่าย เป็ นตัวชี้ วดั ประสิ ทธิ ภาพการใช้ทรัพยากรทางการเงินของ โครงการ เพื่อให้ได้ผลผลิตที่เหมาะสมและคุม้ ค่ากับการลงทุน ซึ่งจะช่วยให้เกิดการใช้จ่ายเป็ นไปอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ สมประโยชน์ ลดค่าใช้จ่ายและประหยัดต้นทุนการผลิต 2) ผลิตภาพต่อกำาลังคน เป็ นตัวชี้ วดั ประสิ ทธิ ภาพการผลิตต่อบุคลากรหรื อเจ้าหน้าที่โครงการ ซึ่งนอกจากจะเป็ นตัวชี้ถึงประสิ ทธิภาพการดำาเนินงานแล้ว ยังแสดงถึงสมรรถนะและศักยภาพของทรัพยากร
บุคคลในการดำาเนินโครงการ และจะเป็ นแนวทางในการปรับขนาดกำาลังคนที่เหมาะสมในการดำาเนิน กิจกรรม และการเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรในระยะยาวอีกด้วย 3) ผลิตภาพต่อหน่วยเวลา เป็ นตัวชี้วดั ประสิ ทธิ ภาพการผลิตในช่วงเวลา อาทิ จำานวนครัวเรื อน ที่ได้รับการอบรมอาชีพเสริ มนอกภาคเกษตรต่อเดือน จำานวนนักเรี ยนที่เข้าเรี ยนต่อตามโครงการขยายโอกาส ทางการศึกษาในแต่ละปี จำานวนผูป้ ระกอบการรายย่อยที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนในแต่ละช่วงไตรมาส 4) การประหยัดทรัพยากรการจัดการ เป็ นตัวชี้ วดั ความสามารถของโครงการในการประหยัด ทรัพยากรทางการบริ หารจัดการ อาทิ การปรับลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาำ เป็ นในการดำาเนินโครงการ การตัดทอน ขั้นตอนการปฏิบตั ิซ่ ึงส่งผลต่อการลดค่าใช้จ่ายของโครงการ การประหยัดค่าพลังงานและค่าสาธารณูปการ แผนพัฒนาสามปี อบต.พระแท่น 182 คิดเป็ นร้อยละของค่าใช้จ่ายรวม 3. เกณฑ์ประสิ ทธิผล (Effectiveness) การประเมินประสิ ทธิผล เป็ นเกณฑ์พิจารณาระดับการบรรลุวตั ถุประสงค์เฉพะด้าน โดยดูจาก ผลลัพธ์จากการดำาเนินงาน ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของประชากรกลุ่มเป้ าหมายตามโครงการประกอบด้วย ตัวชี้วดั 4 ประการ คือ 1) ระดับการบรรลุเป้ าหมาย เป็ นตัวชี้วดั ว่าโครงการบรรลุเป้ าหมายด้านใดบ้างและการบรรลุเป้ า หมายส่ งผลต่อประชากรเป้ าหมายอย่างไร โดยสามารถวัดการเปลี่ยนแปลงในเชิงปริ มาณและคุณภาพของ ประชากรเป้ าหมาย อาทิ การบรรลุเป้ าหมายด้านเศรษฐกิจ สังคม 2) ระดับการมีส่วนร่ วม เป็ นตัวชี้ วดั ความสำาเร็ จโดยให้ความสำาคัญกับมิติการมีส่วนร่ วม โดย สามารถอธิ บายความสัมพันธ์เชิงเหตุผลได้วา่ การมีส่วนร่ วมของประชาชนส่ งผลต่อระดับความสำาเร็ จมาก น้อยเพียงไร และโครงการจะปรับปรุ งส่งเสริ มการมีส่วนร่ วมได้อย่างไร ระดับการมีส่วนร่ วมสามารถสำาเร็ จ มากน้อยเพียงไร และโครงการจะปรับปรุ งส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมไอย่างไร ระดับการมีส่วนร่ วมสามารถ วัดจาก จำานวนประชากร ความถี่ ระดับและกิจกรรม ซึ่งครอบคลุมการร่ วมตัดสิ นใจ วางแผนและติดตาม ผล 3) ระดับความพึงพอใจ เป็ นเกณฑ์วดั ระดับการยอมรับ โดยอาจพิจารณาจากสัดส่ วนของ ประชากรเป้ าหมายที่พึงพอใจกับบริ การของรัฐ สัดส่ วนของครัวเรื อนที่พอใจการปฏิบตั ิหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ โครงการ ระดับความพึงพอใจในมาตรการตามโครงการ 4) ความเสี่ ยงของโครงการ เป็ นตัวชี้ วดั ประสิ ทธิ ผลเพื่อดูวา่ โครงการมีความเสี่ ยงในการบรรลุ เป้ าหมายด้านใดด้านหนึ่งหรื อเป้ าหมายรวมของโครงการหรื อไม่ ซึ่ งค่าความเสี่ ยงจะประเมินจากการ เปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมของโครงการ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและสิ่ งแวดล้อมทั้งระยะสั้น และระยะยาว 4. เกณฑ์ผลกระทบ (Impacts)
เป็ นการพิจารณาผลกระทบโดยรวมต่อประชากรกลุ่มเป้ าหมาย ชุมชน สังคมและหน่วยงานในภาพ รวม เป็ นผลกระทบระยะยาว ผลกระทบอาจมีท้ งั ที่มุ่งหวัง (Intended impacts) และผลกระทบที่ไม่ได้มุ่ง หวัง (Unintended impacts) ซึ่งอาจเป็ นผลด้านบวกหรื อด้านลบก็ได้ ประกอบด้วยตัวชี้ วดั 3 ประการ คือ 1) คุณภาพชีวิต เป็ นตัวชี้ วดั ผลกระทบต่อการพัฒนาหรื อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรกลุ่ม เป้ าหมาย อาทิ รายได้ ความเป็ นอยู่ โอกาสทางการศึกษา การมีงานทำา สุ ขอนามัยสภาพแวดล้อมของครัว เรื อน ชุมชน โดยสมารถวัดจากสัดส่วนครัวเรื อนหรื อประชากรที่ได้รับบริ การจากโครงการพัฒนาที่ส่งผลก ระทบต่อคุณภาพชีวิตที่ดี หรื อมาตรฐานการดำารงชีพ 2) ทัศนคติและความเข้าใจ เป็ นตัวชี้ วดั ผลกระทบโดยมุ่งเรื่ องทัศนคติและความเข้าใจของ แผนพัฒนาสามปี อบต.พระแท่น
183
ประชากรกลุ่มเป้ าหมายที่มีต่อโครงการ โดยสามารถวัดระดับ (Scale) ทั้งเชิงบวกและลบต่อตัวโครงการเอง โดยเฉพาะวัตถุประสงค์และมาตรการ นโยบาย ผลประโยชน์ของโครงการ ความพึงพอใจในการรับบริ การ และทัศนคติต่อผูบ้ ริ หารและเจ้าหน้าที่โครงการ 3) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เป็ นตัวชี้ วดั ผลกระทบโดยให้ความสำาคัญเรื่ องการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของกลุ่มเป้ าหมาย โดยเปรี ยบเทียบระยะก่อนและหลังมีโครงการ อาทิ สัดส่ วนของครัวเรื อนที่ ยอมรับเทคโนโลยีการผลิตที่รักษาสิ่ งแวดล้อม จำานวนเกษตรกรที่ทาำ การเกษตรแบบธรรมชาติมากขึ้น 5. เกณฑ์ความสอดคล้อง (Relevance) เกณฑ์การประเมินความสอดคล้องมุ่งพิจารณาว่าวัตถุประสงค์ของโครงการสอดคล้องกับความ ต้องการหรื อสามารถแก้ไขปัญหาตามที่กาำ หนดไว้แต่ตน้ หรื อไม่ ซึ่งจำาเป็ นต้องมีการประเมินความต้องการ ที่แท้จริ ง ตลอดจนจะต้องตอบคำาถามด้วยว่า แนวทางและกลยุทธ์ที่ใช้ในการดำาเนินงานสอดคล้องกับการ แก้ไขปั ญหาที่เป็ นจริ งได้หรื อไม่ ประกอบด้วยตัวชี้ วดั สำาคัญ 3 ประการ คือ 1) ประเด็นปัญหาหลัก ซึ่งพิจารณาจากจำานวนเรื่ องหรื อประเด็นปั ญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้ น ทั้งที่ได้รับการแก้ไขแล้วและที่ยงั ไม่สามารถแก้ไข รวมถึงการจัดลำาดับความสำาคัญของปั ญหาตามความเร่ ง ด่วน ตามความรุ นแรงของปัญหา 2) มาตรการหรื อกลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหา เป็ นตัวชี้ วดั ความสอดคล้องกับการแก้ไขปั ญหา ซึ่ ง เป็ นมาตรการทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยสามารถดูได้จากมาตรการที่ผบู ้ ริ หารโครงการนำามาใช้ตลอดช่วง ระยะเวลาของการดำาเนินโครงการ และความสอดคล้องกับปั ญหาหลัก 3) ความต้องการหรื อข้อเรี ยกร้องของประชากรกลุ่มเป้ าหมาย เป็ นตัวชี้ วดั ถึงความต้องการของ ผูร้ ับบริ การในการแก้ไขปัญหาที่ประสบอยู่ อาทิ คำาร้องเรี ยน ข้อร้องทุกข์ ให้แก้ไขปั ญหาเพื่อสนองตอบ ประชากรกลุ่มเป้ าหมายตามโครงการที่ไม่ได้รับผลประโยชน์จากการดำาเนินโครงการ หรื อได้รับความเสี ย
หายจากการดำาเนินโครงการซึ่งจะเป็ นตัวชี้ วดั ความสอดคล้องในการดำาเนินโครงการและสนองตอบต่อความ ต้องการของประชากรเป้ าหมาย 6. เกณฑ์ความยัง่ ยืน (Sustainbility) เป็ นเกณฑ์การพิจารณาที่สืบเนื่องจากความสอดคล้อง โดยพิจารณาระดับความต่อเนื่องของกิจกรรม ว่าจะสามารถดำาเนินต่อไปได้โดยไม่มีการใช้งบประมาณจากภายนอกโครงการ ความสามารถในการเลี้ ยงตัว เองได้ นอกจากนี้ ยงั หมายรวมถึงความสามรถในการขยายกิจกรรมไปยังพื้นที่แห่ งใหม่ประกอบด้วยตัวชี้วดั ที่ สำาคัญ 3 ประการ คือ 1) ความอยูร่ อดด้านเศรษฐกิจ (Economic viability) เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรทางการ เงินของโครงการ อาทิ จำานวนงบประมาณของโครงการ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ภาระผูกพัน สัดส่ วน ค่าใช้จ่ายเทียบกับผลผลิตที่ได้ แหล่งสนับสนุนงบประมาณ ปริ มาณงบประมาณ หรื อเงินทุนหมุนเวียน จำานวน และขนาดกองทุนดำาเนินโครงการ ซึ่งเป็ นตัวบ่งชี้ ถึงความอยูร่ อดทางเศรษฐกิจของโครงการ แผนพัฒนาสามปี อบต.พระแท่น 184 2) สมรรถนะด้านสถาบัน (Institutional capacity) เป็ นตัวชี้วดั ความสามารถของหน่วยงานใน การบริ หารโครงการ การพัฒนาองค์กรประชาชน การมีส่วนร่ วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระดับการมีส่วน ร่ วมของประชากรกลุ่มเป้ าหมายในกระบวนการตัดสิ นใจ การวางแผนงานและบริ หารโครงการ และการ ปรับปรุ งระเบียบวิธีการปฏิบตั ิที่เอื้อต่อการดำาเนินโครงการ 3) ความเป็ นไปได้ในการขยายผล เป็ นตัวชี้ วดั ความยัง่ ยืนโดยพิจารณาความสามารถในการพึ่ง ตัวเอง โอกาสและช่องทางในการขยายผลการดำาเนินโครงการกรณี โครงการประสบผลสำาเร็ จด้วยดี ทั้งการ ขยายผลตามแนวราบ กล่าวคือ การเพิ่มกิจกรรมโครงการ การเพิ่มจำานวนประชากรเป้ าหมาย การขยาย กำาลังผลิตของโครงการเดิมและการขยายผลในแนวดิ่ง ได้แก่ การขยายพื้นที่โครงการ การขยายเครื อข่าย โครงการและการยกระดับโครงการเป็ นระดับชาติ 7. เกณฑ์ความเป็ นธรรม (Equity) เป็ นเกณฑ์ที่มุ่งให้เกิดความเป็ นธรรมในสังคม (Social equity) โดยพิจารณาถึงผลลัพธ์และผลกระ ทบจากการดำาเนินโครงการ โดยยึดหลักการว่าประชากรกลุ่มเป้ าหมายจะได้รับหลักประกันเรื่ องความเป็ น ธรรม ความเสมอภาค ความทัว่ ถึง ในการรับบริ การ การจัดสรรคุณค่า (values) และการกระจายผล ตอบแทนที่เสมอภาคเท่าเทียมกัน ประกอบด้วยตัวชี้ วดั 3 ประการ คือ 1) ความเป็ นธรรมระหว่างกลุ่มอาชีพ เป็ นตัวชี้ วดั ที่ให้ความเป็ นธรรมโดยให้ความสำาคัญทุกกลุ่ม ำ กลุ่มเกษตรและกลุ่มอาชีพอื่น การ ย่อย ในสังคม อาทิ ความเป็ นธรรมในการจัดสรรทรัพยากรแหล่งน้าแก่ จัดหาตำาแหน่งให้กบั ผูว้ า่ งงานและผูถ้ ูกเลิกจ้าง มาตรการลดผลกระทบทางสังคม ปั ญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่จดั ให้แก่ประชากรทุกสาขาอาชีพ
2) ความเป็ นธรรมระหว่างเพศ เป็ นตัวชี้ วดั ที่ให้ความสำาคัญเรื่ องความเป็ นธรรมระหว่างเพศ ซึ่ง เป็ นตัวชี้วดั ความสำาคัญมากขึ้นในการประเมินโครงการพัฒนา โดยดูวา่ การดำาเนินโครงการให้ความเสมอ ภาคระหว่างเพศ หรื อมีการเลือกปฏิบตั ิระหว่างเพศ (Gender discrimination) หรื อไม่ โดยสามารถพิจารณา เรื่ องความเท่าเทียมในโอกาส บทบาทระหว่างหญิง/ชาย การปฏิบตั ิที่เคารพสิ ทธิ ของสตรี 8. เกณฑ์ความเสี ยหายของโครงการ (Externalities) เป็ นเกณฑ์ที่สาำ คัญในการประเมินโครงการเพื่อเป็ นหลักประกันว่า การดำาเนินโครงการจะไม่ก ่อให้ เกิดความเสี ยหายหรื อผลกระทบด้านลบต่อสังคม หรื อชุมชน ประกอบด้วยตัวชี้ วดั ที่สาำ คัญ 3 ประการ คือ 1) ผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อม เป็ นตัวชี้วดั ความเสี ยหายด้านสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งเป็ นผลจากการ ดำาเนินโครงการ โดยเป็ นการวัดและประเมินเปรี ยบเทียบผลที่เกิดขึ้ นจริ งกับการศึกษาผลกระทบด้านสิ่ ง แวดล้อม (Environmental Impact Assessment - EIA) ในช่วงก่อนทำาโครงการ เพื่อให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย รับผิดชอบและมีการชดเชยความเสี ยหายจากผลกระทบในลักษณะที่เหมาะสมและเป็ นธรรมแก่ผเู ้ สี ยหาย เพื่อเป็ นหลักประกันความเสี่ ยงให้กบั สังคม และเป็ นมาตรฐานทางจริ ยธรรมของผูอ้ นุมตั ิและผูด้ าำ เนิน โครงการ แผนพัฒนาสามปี อบต.พระแท่น 185 2) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ เป็ นตัวชี้ วดั ผลกระทบหรื อความเสี ยหายทางด้านเศรษฐกิจที่เกิดจาก โครงการพัฒนาของรัฐ ในลักษณะของผลกระทบภายนอก (Externalities) ซึ่งสร้างภาระให้กบั ประชาชน และชุมชนโดยรอบ ที่ตอ้ งแบกรับค่าใช้จ่ายเป็ นต้นทุนทางสังคม (Social costs) ที่ตอ้ งเสี ยไป อาทิ พื้นที่ ำ วมเสี ยหายจากโครงการสร้างเขื่อน การเกษตรที่ถูกน้าท่ 3) ผลกระทบด้านสังคมและวัฒนธรรม เป็ นตัวชี้ วดั ความเสี ยหายที่เกิดจากการดำาเนินโครงการ และส่ งผลกระทบด้านสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน อาทิ การดำาเนินงานที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การ สูญเสี ยโครงสร้าง แบบแผนและวิถีการดำาเนินชีวิตที่ดี ความเสื่ อมถอยของขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ความเชื่อ ความเอื้ออาทร ความร่ วมมือและความช่วยเหลือเกื้อกูลของชุมชนดั้งเดิม เกณฑ์และตัวชี้วดั ดังกล่าวข้างต้นสามารถใช้เป็ นเครื่ องมือในการประเมินผลโครงการ ซึ่งครอบคลุม มิติ ด้านเศรษฐกิจ สังคม มิติดา้ นการบริ หารจัดการ มิติดา้ นทรัพยากร และมิติดา้ นสิ ่ งแวดล้อม เกณฑ์และ ตัวชี้วดั จะเป็ นประโยชน์ในการติดตามและประเมินผลโครงการ ในลักษณะที่เป็ นพลวัตร ในทุกขั้นตอน ของกระบวนการโครงการ เพื่อวัดถึงความสำาเร็ จและความล้มเหลวของโครงการพัฒนาด้านต่าง ๆ ซึ่ งในทาง ปฏิบตั ิ จำาเป็ นต้องนำามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะโครงการ โดยกำาหนดและวัดตัวแปรเฉพาะเพื่อ ประมวลเป็ นตัวชี้วดั รวม (Composit indicators) ของแต่ละโครงการต่อไป การกำาหนดห้ วงเวลาในการติดตามและประเมินผล
คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตำาบล กำาหนดห้วงเวลาในการ ติดตามประเมินผลโครงการ โดยคำานึงถึงความเหมาะสมของแต่ละโครงการ ทั้งนี้ควรกำาหนดห้วงเวลาใน การติดตามและประเมินผลอย่างน้อยโครงการละ 1 ครั้ง และประเมินผลโครงการในภาพรวมอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง แล้วรายงานผลและเสนอความเห็นซึ่ งได้จากการติดตามและประเมินผลต่อผูบ้ ริ หารท้องถิ ่น เพื่อให้ผู ้ บริ หารท้องถิ่นนำาเสนอต่อสภาท้องถิ่น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น และประกาศผลการติดตามและ ประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทัว่ กัน อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ภายในเดือนธันวาคม ของทุกปี ทั้งนี้ให้ติดประกาศโดยเปิ ดเผยไม่นอ้ ยกว่าสามสิ บวัน